คู่มือผู้รับการฝึก ช่างบำรุงรักษารถยนต์ ระดับ 2 โมดูล 3

Page 1

หนาปก



คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

คูมือผูรับการฝก 0920163100502 สาขาชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 2

ชุดการฝกตามความสามารถ (CBT)

โมดูลการฝกที่ 3 09210106 วิทยาศาสตรประยุกต

กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน



คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

คํานํา

คูมือผูรับการฝก สาขาชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 2 โมดูล 3 วิทยาศาสตรประยุกต ฉบับนี้ เปนสวนหนึ่งของ หลักสูตรฝกอบรมฝมือแรงงานตามความสามารถ (Competency Based Training : CBT) ซึ่งพัฒนาขึ้นเพื่อใชเปนเอกสาร ประกอบการจัดการฝกอบรมกับชุดการฝกตามความสามารถ โดยไดดําเนินการภายใตโครงการพัฒนาระบบฝกและชุดการฝก ตามความสามารถเพื่อการพัฒนาฝมือแรงงาน ดวยระบบการฝกตามความสามารถ (Competency Based Workforce Skill Training System) พ.ศ. 2560 โดยมีวัตถุประสงคเพื่อใหครูฝกไดใชเปนเครื่องมือในการบริหารจัดการการฝกอบรมใหเปนไป ตามหลักสูตร กลาวคือ สามารถอธิบายเกี่ยวกับการขยายตัวของโลหะ ความฝด ความเร็ว อัตราเรง แรงบิด คานงัด งาน พลังงาน อัตราทด และหลักการของไฮดรอลิก รวมทั้งแสดงวิธีการคํานวณหาความเร็ว อัตราเรง และอัตราทดได ตลอดจน ติดตามความกาวหนาของผูรับการฝกอบรม ในดานความสามารถหรือสมรรถนะใหเปนไปตามมาตรฐานที่กําหนด ระบบการฝกอบรมตามความสามารถเปนระบบการฝกอบรมที่สงเสริมใหผูรับการฝกอบรมสามารถฝกฝนเรียนรูได ตามพื้นฐานความสามารถของตนในเวลาที่มีความสะดวก โดยเนนในเรื่องของการสงมอบการฝกอบรมที่หลากหลายไปใหแก ผูรับ การฝ กอบรม และต องการให ผู รั บ การฝ ก อบรมเกิด การเรี ย นรู ดว ยตนเอง การฝกปฏิบัติจ ะดํ าเนิน การในรู ป แบบ Learning by Doing และเนนผลลัพธการฝกอบรมในการที่ทําใหผูรับการฝกอบรมมีความสามารถในการปฏิบัติงานตามที่ ตลาดแรงงานตองการ โดยยึดความสามารถของผูรับการฝกเปนหลัก การฝกอบรมในระบบดังกลาว จึงเปนรูปแบบการ ฝกอบรมที่สามารถรองรับการพัฒนารายบุคคลไดเปนอยางดี นอกจากนี้ เนื้อหาวิชาในหลักสูตรการฝกตามความสามารถ (Competency Based Curriculum : CBC) ซึ่งไดจากการวิเคราะหงานอาชีพ (Job Analysis) ในแตละสาขาอาชีพ จะถูก กําหนดเปนรายการความสามารถหรือสมรรถนะ (Competency) ที่ผูรับการฝกอบรมจําเปนตองใชในการปฏิบัติงาน และ สอดคลองกับความตองการของสถานประกอบกิจการและภาคอุตสาหกรรม ซึ่งผูรับการฝกจะตองเรียนรูและฝกฝนจนกวาจะ สามารถปฏิบัติเองได ตามมาตรฐานที่กําหนดในแตละรายการความสามารถ ทั้งนี้ การสงมอบการฝก สามารถดําเนินการได ทั้งรูปแบบการเรียนรูผานสื่อสิ่งพิมพ (Paper Based) และผานสื่อคอมพิวเตอร (Computer Based) โดยผูรับการฝกสามารถ เรียนรูไดดวยตนเอง (Self-Learning) ที่บานหรือที่ทํางาน และเขารับการฝกภาคปฏิบัติตามความพรอม ตามความสะดวก ของตน หรือตามแผนการฝก หรือตามตารางการนัดหมาย การฝกหรือทดสอบประเมินผลความรูความสามารถกับหนวยฝก โดยมีครูฝกหรือผูสอนคอยใหคําปรึกษา แนะนําและจัดเตรียมการฝกภาคปฏิบัติ รวมถึงจัดเตรียมและดําเนินการทดสอบ ประเมินผลในลักษณะตาง ๆ อันจะทําใหสามารถเพิ่มจํานวนผูรับการฝกไดมากยิ่งขึ้น ชวยประหยัดเวลาในการเดินทาง และ ประหยั ด งบประมาณค า ใช จ า ยในการพั ฒ นาฝ มือแรงงานใหแกกําลังแรงงานในระยะยาว จึงถือเปน รูป แบบการฝกที่มี ความสําคัญตอการพัฒนาฝมือแรงงาน ทั้งในปจจุบันและอนาคต ซึ่งหากมีการนําระบบการฝกอบรมตามความสามารถมาใช ในการพัฒนาฝมือแรงงาน จะชวยทําใหประชาชน ผูใชแรงงานผูวางงาน นักเรียน นักศึกษา และผูประกอบอาชีพอิสระ สามารถเขาถึงการฝกอบรมเพื่อพัฒนาตนเองไดอยางสะดวก และไดรับประโยชนอยางทั่วถึงมากยิ่งขึ้น

กรมพัฒนาฝมือแรงงาน ก กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน



คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

สารบั ญ

เรื่อง

หนา

คํานํา

สารบัญ

ขอแนะนําสําหรับผูรับการฝก

1

โมดูลการฝกที่ 3 09210106 วิทยาศาสตรประยุกต หัวขอวิชาที่ 1 0921010601 การขยายตัวของโลหะเนื่องจากความรอนและการใชงาน

14

หัวขอวิชาที่ 2 0921010602 ความฝดและการใชงาน

22

หัวขอวิชาที่ 3 0921010603 ความเร็วและอัตราเรง

30

หัวขอวิชาที่ 4 0921010604 แรงบิดและคานงัด

54

หัวขอวิชาที่ 5 0921010605 งานและพลังงาน

63

หัวขอวิชาที่ 6 0921010606 การคํานวณอัตราทด

71

หัวขอวิชาที่ 7 0921010607 หลักการของไฮดรอลิกที่เกี่ยวกับการทํางาน

101

คณะผูจัดทําโครงการ

107

ข กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน



คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

ขอแนะนําสําหรับผูร ับการฝก ขอแนะนําสําหรับผูรับการฝก คือ คําอธิบายเกี่ยวกับรายละเอียดของคูมือ และขั้นตอนการเขารับการฝก ซึ่งมีอยูดวยกัน 6 ขอ ดังนี้

1. รายละเอียดของคูมือ 1.1 โมดูลการฝก / หัวขอวิชา หมายถึง โมดูลการฝกที่ครูฝกตองจัดการฝกอบรม โดยภายในโมดูลจะประกอบไปดวย หัวขอวิชาที่ผูรับ การฝ กต องเรี ย นรู และฝ กฝน ซึ่งมีรหัสโมดูล และรหัส หัว ข อวิ ชาเปนตัว กําหนดความสามารถ ที่ตองเรียนรู 1.2 ระยะเวลาการฝก หมายถึง จํานวนชั่วโมงในการฝกอบรม เพื่อใหบรรลุตามวัตถุประสงคของแตละโมดูล 1.3 ระบบการฝกตามความสามารถ (CBT) หมายถึง ระบบการฝกที่เกิดจากการนําความรู ทักษะ ความสามารถ (Competency) ที่จําเปนสําหรับการทํางานมาเปนฐาน (Based) ของการจัดฝกอบรม หรือนํามากําหนดเปนเนื้อหา (Content) และเกณฑก ารประเมิน การฝก อบรม ทํา ใหผูรับ การฝก อบรมมีค วามสามารถ (Competency) ตามเกณฑมาตรฐานที่กําหนด และตามความสามารถในการเรียนรูของผูรับการฝกเปนหลัก 1.4 ชุดการฝก หมายถึง สื่อสิ่งพิมพ และสื่ออิเล็กทรอนิกส ใชสําหรับเปนอุปกรณชวยฝก โดยแตละโมดูลประกอบดวย คูมือครูฝก คูมือผูรับการฝก คูมือประเมิน สื่อวีดิทัศน 1.5 ระบบจัดการฝกดวยคอมพิวเตอร (Computer Managed Instruction : CMI) หมายถึง การนําระบบคอมพิวเตอร และเทคโนโลยีสารสนเทศ ซึ่งใชในการจัดการเรียนรูและฝกอบรม เชน ระบบรับสมัครออนไลน ระบบลงทะเบียน เขา รับ การฝก อบรมออนไลน ระบบการฝก อบรมภาคทฤษฎีผานอุป กรณอิเ ล็ก ทรอนิก สห รือ อุป กรณสื่อสาร แบบพกพา การทดสอบออนไลน การบันทึกผลการฝกอัตโนมัติ และการออกใบวุฒิบัตรอิเล็กทรอนิกส เปนตน โดยการเขา ใชงานระบบ แบงสว นการใชงานตามความรับ ผิดชอบของผูมีสว นไดสว นเสีย ดังภาพในหนาที่ 2 ซึ่งรายละเอียดการใชงานของผูเขารับการฝกสามารถดูไดจากลิงค mlearning.dsd.go.th/download/files/trainee.pdf

1 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

.

2 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

2. ผังการฝกอบรม

3 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

3. วิธีการฝกอบรม 3.1 ผูรับการฝก ทําความเขาใจการฝกอบรมในระบบ CBT ซึ่งสามารถฝกอบรมได 3 รูปแบบ คือ 3.1.1 การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) 3.1.2 การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม (Offline) 3.1.3 การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน (Online) โดยในแตละรูปแบบจะมีรายละเอียดแตกตางกัน ดังนี้ 3.1.1 การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) คือ การฝก อบรมที่ผูรับ การฝกเรีย นรูภ าคทฤษฎี (ดา นความรู) ดว ยตนเอง โดยครูฝก เปน ผูสงมอบ คูมือผูรับการฝกที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) และวีดิทัศน (DVD) แกผูรับการฝก และฝกภาคปฏิบัติ (ดานทักษะ) ที่ศูนยฝกอบรม การฝกภาคทฤษฎี - ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีดวยตนเอง โดยใชคูมือผูรับการฝกที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) และวีดิทัศน (DVD) ที่ครูฝกสงมอบให การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบ แลวสงกระดาษคําตอบ ใหครูฝก เพื่อตรวจและประเมินผล 2) ครูฝกประเมินแบบทดสอบกอนฝก - ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลั กสูตร จะมีสิท ธิ์ข อเขา รับ การฝก ภาคปฏิบัติ (ถา มี) หรือ เขา รับ การฝก ในโมดูล ถั ด ไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได - ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหา จากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 3) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) ลงในกระดาษคําตอบ แลวสงใหครูฝกตรวจ และประเมินผล โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก การฝกภาคปฏิบัติ 1) ผูรับการฝกตรวจสอบวันฝกภาคปฏิบัติที่ศูนยฝกอบรม - หากครูฝกกําหนดวันฝกและหองฝกโดยระบุชื่อผูรับการฝกไวแลว ใหผูรับการฝกมา ฝกภาคปฏิบัติใหตรงวันและเวลาที่กําหนด - หากครูฝกกําหนดวันฝกและหองฝกแตไมไดระบุชื่อผูรับการฝก ใหผูรับการฝกลงชื่อ ในวันและเวลาที่ตนเองสะดวก

4 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

2) ผูรับการฝกศึกษาใบขั้นตอนปฏิบัติงานกอนเขารับการฝกภาคปฏิบัติ 3) เมื่อถึงวันฝกภาคปฏิบัติ ใหผูรับการฝกฟงคําชี้แจงขั้นตอนการปฏิบัติงานจากครูฝก แลวฝก ปฏิบัติงานตามขั้นตอน 4) ผูรับการฝกสงผลงานใหครูฝกประเมินผล และวิเคราะหผลงานรวมกับครูฝกเพื่อใหมาตรฐาน เปนไปตามเกณฑการประเมิน การประเมินผลภาคปฏิบัติ 1) ผูรับการฝกตรวจสอบวันสอบภาคปฏิบัติที่ศูนยฝกอบรม - หากครูฝกกําหนดวันสอบและหองสอบโดยระบุชื่อผูรับการฝกไวแลว ใหผูรับการฝก มาสอบภาคปฏิบัติใหตรงวันและเวลาที่กําหนด - หากครูฝกกําหนดวันสอบและหองสอบแตไมไดระบุชื่อผูรับการฝก ใหผูรับการฝกลงชื่อ ในวันและเวลาที่ตนเองสะดวก 2) เมื่อถึงวันสอบภาคปฏิบัติ ใหผูรับการฝกฟงคําชี้แจงจากครูฝก แลวสอบปฏิบัติงานตามคําชี้แจง 3) ผูรับการฝกสงผลงานใหครูฝกตรวจผลงานและกรอกคะแนนลงในใบประเมินโดยตองผานเกณฑ รอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จึงจะผานการฝกโมดูลนั้น 4) ผูรับการฝกดูประกาศผลการทดสอบภาคปฏิบัติจากครูฝก 3.1.2 การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม (Offline) คือ การฝกอบรมที่ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีจากครูฝก และฝกภาคปฏิบัติที่ศูนยฝกอบรม การฝกภาคทฤษฎี ­ ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีจากครูฝกโดยใชสื่อสิ่งพิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) และวีดิทัศน (DVD) ที่ศูนยฝกอบรม การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบ แลวสงกระดาษคําตอบ ใหครูฝกตรวจและประเมินผล 2) ครูฝกประเมินแบบทดสอบกอนฝก - ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลั กสูตร ผูรับการฝกจะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได - ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเอง จนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 3) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) ลงในกระดาษคําตอบ แลวสงใหครูฝกตรวจ และประเมินผล โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก 5 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

การฝกภาคปฏิบัติ 1) ผูรับการฝกตรวจสอบวันฝกภาคปฏิบัติที่ศูนยฝกอบรม - หากครูฝกกําหนดวันฝกและหองฝกโดยระบุชื่อผูรับการฝกไวแลว ใหผูรับการฝกมา ฝกภาคปฏิบัติใหตรงวันและเวลาที่กําหนด - หากครูฝกกําหนดวันฝกและหองฝกแตไมไดระบุชื่อผูรับการฝก ใหผูรับการฝกลงชื่อ ในวันและเวลาที่ตนเองสะดวก 2) ผูรับการฝกศึกษาใบขั้นตอนปฏิบัติงานกอนเขารับการฝกภาคปฏิบัติ 3) เมื่อถึงวันฝกภาคปฏิบัติ ใหผูรับการฝกฟงคําชี้แจงขั้นตอนการปฏิบัติงานจากครูฝก แลวฝก ปฏิบัติงานตามขั้นตอน 4) ผูรับการฝกสงผลงานใหครูผูฝกประเมินผล และวิเคราะหผลงานรวมกับครูฝกเพื่อใหมาตรฐาน เปนไปตามเกณฑการประเมิน การประเมินผลภาคปฏิบัติ 1) ผูรับการฝกตรวจสอบวันสอบภาคปฏิบัติที่ศูนยฝกอบรม - หากครูฝกกําหนดวันสอบและหองสอบโดยระบุชื่อผูรับการฝกไวแลว ใหผูรับการฝก มาสอบภาคปฏิบัติใหตรงวันและเวลาที่กําหนด - หากครูฝกกําหนดวันสอบและหองสอบแตไมไดระบุชื่อผูรับการฝก ใหผูรับการฝกลงชื่อ ในวันและเวลาที่ตนเองสะดวก 2) เมื่อถึงวันสอบภาคปฏิบัติ ใหผูรับการฝกฟงคําชี้แจงจากครูฝก แลวสอบปฏิบัติงานตามคําชี้แจง 3) ผูรับการฝกสงผลงานใหครูฝกตรวจผลงานและกรอกคะแนนลงในใบประเมินโดยตองผานเกณฑ รอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จึงจะผานการฝกโมดูลนั้น 4) ผูรับการฝกดูประกาศผลการทดสอบภาคปฏิบัติจากครูฝก 3.1.3 การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน (Online) คือ การฝกอบรมที่ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีดวยตนเองผานระบบจัดการฝกดวยคอมพิวเตอร หรือ CMI โดยใชคูมือผูรับการฝกที่เปนสื่อออนไลนในแอปพลิเคชัน DSD m-Learning และฝกภาคปฏิบัติที่ศูนยฝกอบรม วิธีดาวนโหลดแอปพลิเคชัน DSD m-Learning ­ ผูรับการฝกดาวนโหลดแอปพลิ เคชัน DSD m-Learning ซึ่งวิธีการดาวนโหลดแอปพลิ เ คชั น สามารถแบงออกเปน 2 ชองทางตามแตละระบบปฏิบัติการ คือ 1) ผูรับการฝกที่ใชเครื่องมือสื่อสารอิเล็กทรอนิกส ระบบปฏิบัติการ iOS คนหา แอปพลิเคชัน DSD m-Learning ใน App Store จากนั้นกดดาวนโหลด เพื่อติดตั้งบนเครื่องมือสื่อสาร และเขาใชงานโดยกรอก Username และ Password ตามที่เคยลงทะเบียนไว

6 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

2) ผูรับการฝกที่ใชเครื่องมือสื่ อสารอิเล็ กทรอนิกส ระบบปฏิบัติการ Android คนหา แอปพลิ เ คชั น DSD m-Learning ใน Google Play Store จากนั้ น กดดาวน โ หลด เพื่อติดตั้งบนเครื่องมือสื่อสาร และเขาใชงานโดยกรอก Username และ Password ตามที่เคยลงทะเบียนไว การฝกภาคทฤษฎี ­ ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีดวยตนเอง จากคูมือผูรับการฝก ซึ่งเปนสื่อออนไลนบนแอปพลิเคชัน DSD m-Learning การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในแอปพลิเคชัน โดยระบบจะตรวจและประเมินผล อัตโนมัติ - ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลั กสูตร ผูรับการฝกจะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได - ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเอง จนเขาใจแลวจึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก การฝกภาคปฏิบัติ 1) ผูรับการฝกตรวจสอบวันฝกภาคปฏิบัติในแอปพลิเคชัน - หากครูฝกกําหนดวันฝกและหองฝกโดยระบุชื่อผูรับการฝกไวแลว ใหผูรับการฝกมา ฝกภาคปฏิบัติใหตรงวันและเวลาที่กําหนด - หากครูฝกกําหนดวันฝกและหองฝกแตไมไดระบุชื่อผูรับการฝก ใหผูรับการฝกลงชื่อ ในวันและเวลาที่ตนเองสะดวก 2) ผูรับการฝกศึกษาใบขั้นตอนปฏิบัติงานกอนเขารับการฝกภาคปฏิบัติ 3) เมื่อถึงวันฝกภาคปฏิบัติ ใหผูรับการฝกฟงคําชี้แจงขั้นตอนการปฏิบัติงานจากครูฝก แลวฝก ปฏิบัติงานตามขั้นตอน 4) ผูรับการฝกสงผลงานใหครูผูฝกประเมินผล และวิเคราะหผลงานรวมกับครูฝกเพื่อใหมาตรฐาน เปนไปตามเกณฑการประเมิน การประเมินผลภาคปฏิบัติ 1) ผูรับการฝกตรวจสอบวันสอบภาคปฏิบัติในแอปพลิเคชัน - หากครูฝกกําหนดวันสอบและหองสอบโดยระบุชื่อผูรับการฝกไวแลว ใหผูรับการฝก มาสอบภาคปฏิบัติใหตรงวันและเวลาที่กําหนด 7 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

- หากครูฝกกําหนดวันสอบและหองสอบแตไมไดระบุชื่อผูรับการฝก ใหผูรับการฝกลงชื่อ ในวันและเวลาที่ตนเองสะดวก 2) เมื่อถึงวันสอบภาคปฏิบัติ ใหผูรับการฝกฟงคําชี้แจงจากครูฝก แลวสอบปฏิบัติงานตามคําชี้แจง 3) ผูรับการฝกสงผลงานใหครูฝกตรวจผลงานและกรอกคะแนนลงในใบประเมินโดยตองผานเกณฑ รอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จึงจะผานการฝกโมดูลนั้น 4) ผูรับการฝกดูประกาศผลการทดสอบภาคปฏิบัติในแอปพลิเคชัน 3.2 ครูฝกชี้แจงรูปแบบการฝกอบรมทั้ง 3 รูปแบบแกผูรับการฝก เพื่อทําการตกลงรูปแบบการฝกอบรมรวมกับผูรับการฝก โดยใหผูรับการฝกเลือกวิธีที่สะดวก 3.3 ครูฝกวางแผนการฝกตลอดหลักสูตรรวมกันกับผูรับการฝก 4. อุปกรณชวยฝกและชองทางการเขาถึงอุปกรณชวยฝก ผูรับการฝกสามารถเลือกใชอุปกรณชวยฝกได 2 รูปแบบ คือ รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) และรูปแบบระบบจัดการฝก ดวยคอมพิวเตอร หรือ CMI (Online) โดยมีชองทางการเขาถึงอุปกรณชวยฝกแตละรูปแบบแตกตางกัน ดังนี้ 4.1 รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝก เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมิน เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 4.2 รูปแบบระบบจัดการฝกดวยคอมพิวเตอร หรือ CMI (Online) ดังนี้ - คูมือผูรับการฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ

5. การวัดและประเมินผล 5.1 การประเมินผลภาคทฤษฎี (ดานความรู) ประเมินผลจากแบบทดสอบภาคทฤษฎีกอนฝก และแบบทดสอบภาคทฤษฎีหลังฝก โดยกําหนดเกณฑการใหคะแนน และการระบุความสามารถดานความรู ดังนี้ เกณฑการใหคะแนน ภาคทฤษฎี ตั้งแตรอยละ 70 ขึ้นไป ต่ํากวารอยละ 70

เกณฑการประเมิน ความสามารถ ผาน (C) ไมผาน (NYC) 8

กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

5.2 การประเมินผลภาคปฏิบัติ (ดานทักษะ) ประเมินผลจากแบบทดสอบภาคปฏิบัติกอนฝก และแบบทดสอบภาคปฏิบัติหลังฝก โดยกําหนดเกณฑการใหคะแนน และการระบุความสามารถดานทักษะ ดังนี้ เกณฑการประเมิน ภาคปฏิบัติ ตั้งแตรอยละ 70 ขึ้นไป หรือทํา ไดตามเกณฑการปฏิบัติงาน ต่ํากวารอยละ 70 หรือ ไม สามารถทําได ตามเกณฑการปฏิบัติงาน

เกณฑการประเมิน ความสามารถ ผาน (C) ไมผาน (NYC)

ผูรับการฝกจะไดรับการประเมินผลการฝกจากครูฝก โดยจะตองสามารถปฏิบัติตามความสามารถในแตละโมดูลนั้น ๆ ไดตามเกณฑที่กําหนด จึงจะถือวาผานการฝกโมดูลนั้น และเมื่อผานการฝกครบทุกโมดูล จึงจะถือวาฝกครบชุดการฝกนั้น ๆ แลว

6. เงื่อนไขการผานการฝก ผูรับการฝกที่จะผานโมดูลการฝก ตองไดรับคารอยละของคะแนนการทดสอบหลังฝก ภาคทฤษฏี คะแนนรวมไมต่ํากวารอยละ 70 ภาคปฏิบัติ คะแนนรวมไมต่ํากวารอยละ 70 โดยคะแนนรวมจะถูกนํามาคิดแบงเปนสัดสวน ภาคทฤษฏี คิดเปนรอยละ 20 ภาคปฏิบัติ คิดเปนรอยละ 80 เมื่อนําคะแนนมารวมกัน ผูรับการฝกจะตองไดไมต่ํากวารอยละ 70 จึงจะผานเกณฑ ทั้งนี้ ผูรับการฝกจะตองทําคะแนนผานเกณฑทั้งภาคทฤษฏีและภาคปฏิบัติ จึงจะผานโมดูลการฝก

9 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

รายละเอียดหลักสูตร หลักสูตรฝกอบรมฝมือแรงงานตามความสามารถ สาขาชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 2 กรมพัฒนาฝมือแรงงาน กระทรวงแรงงาน

รหัสหลักสูตร 0920163100502

1. ขอบเขตของหลักสูตร หลักสูตรนี้พัฒนาขึ้นใหครอบคลุมดานความรู ทักษะ และเจตคติแกผูรับการฝ กใน สาขาชางบํารุงรักษารถยนต เพื่อใหมีความรู ความสามารถและทัศนคติตามมาตรฐานฝมือแรงงานแหงชาติ สาขาชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 2 ดังนี้ 1.1 มีความรูเกี่ยวกับความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน 1.2 มีความรูเกี่ยวกับคณิตศาสตรชางยนต 1.3 มีความรูเกี่ยวกับวิทยาศาสตรประยุกต 1.4 มีความรูเกี่ยวกับวัสดุ และสมบัติของวัสดุที่ใชในการปฏิบัติงาน 1.5 มีความรูเกี่ยวกับเครื่องมือพื้นฐานทางดานชางยนต 1.6 มีความรูเกี่ยวกับการวิเคราะหและแกไขขอขัดของ ความเสียหายเบื้องตน 1.7 มีความรูเกี่ยวกับการหลอลื่นและการเลือกใชสารหลอลื่น 1.8 มีความรูเกี่ยวกับการทํารายงานสถิติ รวมถึงการทําระบบติดตามลูกคาเบื้องตน 2. ระยะเวลาการฝก ผู รั บ การฝ กจะได รั บ การฝ ก ในภาคทฤษฎี และภาคปฏิบัติ โดยสถาบัน พัฒ นาฝมือแรงงาน หรือสํานักงานพัฒนา ฝมือแรงงานที่เปนหนวยฝกตามความสามารถใชระยะเวลาในการฝก 113 ชั่วโมง เนื่ อ งจากเป น การฝ ก ที่ ขึ้ น อยู กั บ พื้ น ฐานความรู ทั ก ษะ ความสามารถและความพร อ มของผู รั บ การฝ ก แตละคน มีผลใหผูรับการฝกจบการฝกไม พร อมกัน สามารถจบกอนหรื อเกินระยะเวลาที่กําหนดไว ในหลั กสูตรได หนวยฝกจึงตองบริหารระยะเวลาในการฝกใหเหมาะสมตามความจําเปน ทั้งนี้ ใหอยูในดุลยพินิจของผูอํานวยการ สถาบันพัฒนาฝมือแรงงาน หรือผูอํานวยการสํานักงานพัฒนาฝมือแรงงานที่เปนหนวยฝกตามความสามารถจะเห็นสมควร 3. หนวยความสามารถและโมดูลการฝก จํานวนหนวยความสามารถ 8 หนวย จํานวนโมดูลการฝก 8 โมดูล

10 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

4. วุฒิบัตร 4.1 ชื่อเต็ม : วุฒิบัตรพัฒนาฝมือแรงงาน สาขาชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 2 4.2 ชื่อยอ : วพร. สาขาชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 2 4.3 ผู รั บ การฝ ก ที่ ผ า นการประเมิ น ผลหรื อ ผ า นการฝ ก ครบทุ ก หน ว ยความสามารถ จะได รั บ วุ ฒิ บั ต ร วพร. สาขาชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 2

11 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

รายละเอียดโมดูลการฝกที่ 3 1. ชื่อหลักสูตร

รหัสหลักสูตร 0920163100501 2. ชื่อโมดูลการฝก วิทยาศาสตรประยุกต รหัสโมดูลการฝก 09210106 3. ระยะเวลาการฝก รวม 7 ชั่วโมง ทฤษฎี 4 ชั่วโมง ปฏิบัติ 3 ชั่วโมง 4. ขอบเขตของหนวย หน ว ยการฝ กนี้ พั ฒ นาขึ้น ใหครอบคลุมดานความรู ทักษะ และเจตคติแกผูรับ การฝ ก การฝก เพื่อใหมีความสามารถ ดังนี้ 1. อธิบายการขยายตัวของโลหะเนื่องจากความรอนและการใชงานได 2. อธิบายเกี่ยวกับความฝดและการใชงานได 3. อธิบายเกี่ยวกับความเร็วและอัตราเรงได 4. คํานวณความเร็วและอัตราเรงได 5. อธิบายเกี่ยวกับแรงบิดและคานงัดได 6. อธิบายเกี่ยวกับงานและพลังงานได 7. อธิบายเกี่ยวกับอัตราทดได 8. คํานวณอัตราทดได 9. อธิบายหลักการของไฮดรอลิกที่เกี่ยวกับการทํางานได 5. พื้นฐาน ผูสมัครเขารับการฝกตองมีคุณสมบัติ ดังตอไปนี้ ความสามารถของ 1. มีความรูเรื่องสถานะของสาร ผูรับการฝก 2. มีความรูเรื่องกลศาสตรพื้นฐาน 3. มีความรูเรื่องคณิตศาสตรประยุกต 4. ผูรับการฝกผานระดับ 1 มาแลว 5. ผูรับการฝกผานโมดูลที่ 2 มาแลว 6. ผลลัพธการเรียนรู : เมื่อสําเร็จการฝกในโมดูลนี้แลวผูรับการฝกสามารถปฏิบัติงานโดยมีความรูความสามารถและ ใชระยะเวลาฝก ดังนี้ ระยะเวลาฝก (ชั่วโมง : นาที) ผลลัพธการเรียนรู ชื่อหัวขอวิชา ทฤษฎี ปฏิบัติ รวม 1. อธิ บายการขยายตั ว ของโลหะ หัวขอที่ 1 : การขยายตัวของโลหะเนื่องจาก 0:30 0:30 เนื่องจากความรอนและ ความรอนและการใชงาน สาขาชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 2

12 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9.

การใชงานได อธิบายเกี่ยวกับความฝดและ การใชงานได อธิบายเกี่ยวกับความเร็วและ อัตราเรงได คํานวณความเร็วและอัตราเรงได อธิบายเกี่ยวกับแรงบิดและคานงัดได อธิบายเกี่ยวกับงานและพลังงานได อธิบายเกี่ยวกับอัตราทดได คํานวณอัตราทดได อธิบายหลักการของไฮดรอลิกที่ เกี่ยวกับการทํางานได

หัวขอที่ 2 : ความฝดและการใชงาน

0:15

-

0:15

หัวขอที่ 3 : ความเร็วและอัตราเรง

1:00

1:30

2:00

หัวขอที่ 4 : แรงบิดและคานงัด หัวขอที่ 5 : งานและพลังงาน หัวขอที่ 6 : การคํานวณอัตราทด

0:30 0:30 0:45

1:30

0:30 0:45 2:00

หัวขอที่ 7 : หลักการของไฮดรอลิกที่เกี่ยวกับ การทํางาน รวมทั้งสิ้น

0:30

-

1:00

4:00

3:00

7:00

13 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

รายละเอียดหัวขอวิชาที่ 1 0921010601 การขยายตัวของโลหะเนื่องจากความรอนและการใชงาน (ใบแนะนํา) 1. ผลลัพธการเรียนรู - อธิบายการขยายตัวของโลหะ เนื่องจากความรอนและการใชงานได

2. หัวขอสําคัญ 1. การขยายตัวของโลหะ 2. การนําไปใชงาน

3. วิธีการฝกอบรม การฝกอบรมสามารถเลือกได 3 รูปแบบ คือ 1) การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ 2) การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม 3) การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน ดังรายละเอียดในขอแนะนําสําหรับสําหรับผูรับการฝก

4. อุปกรณชวยฝก อุปกรณชวยฝกสามารถเลือกใชงานได 2 รูปแบบ คือ 1. รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝก เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมิน เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 2. รูปแบบอิเล็กทรอนิกส (Online) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ

14 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

5. การรับการฝกอบรม 1. ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Post-Test) แลวสงใหครูฝกหรือระบบประเมินผลตามวิธีที่เลือกฝกอบรม 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหผูรับการฝกเขาฝกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝกอบรมภาคทฤษฎี ใหผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝก และฝกหัดทําใบทดสอบทายหัวขอวิชา 3. เมื่อผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝกประจําโมดูลนั้นเขาใจแลว ใหทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) แลวสงให ครูฝกหรือระบบประเมินผลเชนเดียวกับแบบทดสอบกอนฝก

6. การวัดผล 1. ผูรับการฝกสงแบบทดสอบกอนฝก ใหครูฝกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎีตามวิธีที่เลือกฝกอบรม 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2. ผูรับการฝกสงแบบทดสอบหลังฝก ใหครูฝกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎี โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมิน แบบทดสอบกอนฝก

7. บรรณานุกรม การขยายตัวของวัตถุเนื่องจากความรอน. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : https://www.sites.google.com/site/khwamrxnnifisiks/kar-khyay-taw-khxng-watthu-neuxngcakkhwam-rxn ยอดชาย จอมพล. 2556. ฟสิกสยุคใหมเบื้องตน, ฟสิกสอะตอม, ฟสิกสนิวเคลียร. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://einstein.sc.mahidol.ac.th/~wsiripun/courses/scpy155/Lecture7/sld015.htm ณภัทรษกร สารพัฒน. 2557. ความรอนและอุณหพลศาสตร. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : https://www.slideshare.net/napatsakon/8-37268393 ภาควิชาฟสิกส คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล. ปริมาณความรอนและกลไกการถายโอนความรอน. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://www.rmutphysics.com/physics/oldfront/85/heat.html

15 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

ใบขอมูล หัวขอวิชาที่ 1 การขยายตัวของโลหะเนื่องจากความรอนและการใชงาน ความรอน คือ พลังงานที่ถายเทจากสสารหนึ่งไปยังสสารหรือระบบอื่น โดยอาศัยความแตกตางของอุณหภูมิ เมื่อนําสสาร สองชนิดที่มีอุณหภูมิตางกันมาไวดวยกันจะมีการถายเทความรอน ทําใหอุณหภูมิของสสารที่เย็นกวาสูงขึ้น และอุณหภูมิของ สสารที่รอนกวาต่ําลง 1. การขยายตัวของวัตถุเนื่องจากความรอน วัตถุโดยทั่วไปเมื่อไดรับความรอนจะขยายตัว การขยายตัวของวัตถุจะขึ้นอยูกับรูปราง ตามภาพที่ 1.1 คือ - วัตถุที่มีความยาวมีลักษณะเปนเสน จะมีการขยายตัวตามเสน (การขยายตัวตามยาว) (Linear Expansion) - วัตถุที่เปนแผนจะมีการขยายตัวตามพื้นที่ (Area Expansion) - วัตถุที่มีรูปรางเปนปริมาตรจะมีการขยายตัวตามปริมาตร (Volume Expansion) ในทางกลับกันถาวั ตถุ สูญเสียความรอนก็จะหดตัว 1.1 คาสัมประสิทธิ์การขยายตัวเนื่องจากความรอน คาสัมประสิทธิ์การขยายตัวเนื่องจากความรอน (Thermal Expansion Coefficient- COE) คือคาความแตกตาง ของความยาวหรือปริมาตรของชิ้นงานที่เปลี่ยนไปเมื่ออุณหภูมิเปลี่ยนแปลงไป 1 °C เมื่อเทียบกับความยาวหรือปริมาตร เริ่มตน คาสัมประสิทธิ์การขยายตัวเนื่องจากความรอนนั้นเปนคุณลักษณะเฉพาะของวัสดุนั้น ๆ ซึ่งขึ้นอยูกับองคประกอบ ทางเคมีของวัสดุ โครงสรางผลึก อุณหภูมิของจุดหลอมตัว (Melting Point) ความหนาแนนของชิ้นงาน และอุณหภูมิใน การเผา ระหว างการสงผ านความรอนพลังงานที่สะสมอยูในแรงยึดเหนี่ยวระหวางโมเลกุลจะมีการเปลี่ย นแปลง เมื่อ พลังงานที่เก็บไวเพิ่มขึ้น ความยาวของพันธะในโมเลกุลก็จะมากขึ้นตาม ดังนั้น ของแข็งจึ งขยายตัวเมื่อไดรับ ความร อน และหดตัวเมื่อเย็ นลง การตอบสนองต อการเปลี่ยนแปลงของ อุณหภูมิสามารถแสดงเปนคาสัมประสิทธิ์ของการขยายตัวจากความรอนของมัน คําวา สัมประสิทธิ์ของการขยายตัวจากความรอน ใชใน 2 ลักษณะ - เปนสัมประสิทธิ์ของการขยายตัวจากความรอน เชิงปริมาตร - เปนสัมประสิทธิ์ของการขยายตัวจากความรอน เชิงเสน

16 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

โดยทั่วไปจะคํานวณคาสัมประสิทธิ์การขยายตัวเนื่องจากความรอน ไดจากสมการตอไปนี้

ภาพที่ 1.1 การขยายตัวเนื่องจากความรอนในแบบตาง ๆ โดยที่

α

= สัมประสิทธิ์การขยายตัวเนื่องจากความรอน

t

= อุณหภูมิหอง

t’

= อุณหภูมิสูงสุดที่ใชวัด

L0

= ความยาวของชิ้นงานที่อุณหภูมิหอง

L

= ความยาวของชิ้นงานที่อุณหภูมิสูงสุด

∆L

= ความแตกตางระหวางความยาวของชิ้นงานที่อุณหภูมิสูงสุดและอุณหภูมิหอง

A

= พื้นที่ของชิ้นงานที่อุณหภูมิสูงสุด

A0

= พื้นที่ของชิ้นงานที่อุณหภูมิหอง

∆A

= ความแตกตางระหวางพื้นที่ของชิ้นงานที่อุณหภูมิสูงสุดและอุณหภูมิหอง

∆T

= ความแตกตางระหวางอุณหภูมิสูงสุดที่ใชวัดและอุณหภูมิหอง

oC

= องศาเซลเซียส เปนหนวยวัดอุณหภูมิหนวยหนึ่งในระบบเอสไอ (SI)

17 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

ตารางที่ 1.1 แสดงคาเฉลี่ยของสัมประสิทธิ์การขยายตัวเชิงเสน (oC)-1

ของแข็ง

α

ยางแข็ง

8.00x10-5

สังกะสี

3.50x10-5

ตะกั่ว

2.76x10-5

อะลูมิเนียม

2.20x10-5

ทองเหลือง

1.89x10-5

ทองแดง

1.67x10-5

เหล็กกลา

1.19x10-5

แกว

(7.80-9.70)x10-6

ไม

(3.00-5.00)x10-6

ควอตซ

0.20x10-6

1.2 คุณสมบัติที่สําคัญเกี่ยวกับการขยายตัวของของแข็ง สมบัติที่สําคัญ ๆ เกี่ยวกับการขยายตัวของของแข็ง มีดังนี้ 1) ของแข็งตางชนิดกัน ถาเดิมมีความยาวเทากัน เมื่อรอนขึ้นเทากันจะมีสวนขยายตัวเพิ่มขึ้นไมเทากัน 2) ของแข็งชนิดเดียวกัน ถาเดิมมีความยาวเทากัน เมื่อรอนขึ้นเทากันจะมีสวนขยายตัวเพิ่มขึ้นเทากัน 3) การขยายตัวของวัตถุเ ปนเรื่องที่สําคัญมากในทางวิศวกรรม เชน การวางเหล็กรางรถไฟ การขึงสาย ไฟฟาแรงสูง เปนตน 2. การประยุกตใชงาน สําหรับการประยุกตโดยใชสมบัติการขยายตัวจากความรอน ตัวอยางเชน เทอรโมมิเตอรแบบแถบโลหะคู (bi-metal) ซึ่ง ประกอบดวยแถบโลหะสองชนิดที่มีคาสัมประสิทธิ์การขยายตัวไมเทากัน เมื่อไดรับความรอน โลหะทั้งสองชนิดจะขยายตัวไม เทากัน ทําใหโกงขึ้น และเทอรโมมิเตอรปรอทซึ่งเมื่อไดรับความรอนจะเกิดการขยายตัวของปรอท ทําใหสามารถอานอุณหภูมิได นอกจากนั้น การขยายตัวจากความรอนยังถูกนํามาใชในเชิงกลเพื่อทําใหชิ้นสวนยึดกันพอดีกับสวนอื่น ๆ เชน การขยายตัว ของคอนกรีตเสริมเหล็กที่ใชทําถนน การขยายตัวของรางรถไฟ เปนตน

18 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

ภาพที่ 1.2 การประยุกตใชงาน

19 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

ใบทดสอบ คําชี้แจง ใหผูรับการฝกพิจารณาขอความตอไปนี้วา ถูก หรือ ผิด และทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบ ถูก

ผิด

ขอความ 1. วัตถุที่มีความยาว และมีลักษณะเปนเสน จะมีการขยายตัวตามพื้นที่ 2. ของแข็งจะขยายตัวเมื่อไดรับความรอน และหดตัวเมื่อเย็นลง 3. คาเฉลี่ยของสัมประสิทธิ์การขยายตัวเชิงเสนของตะกั่ว มีคาเทากับ 2.20 x 10-5 4. สัมประสิทธิ์การขยายตัวจากความรอน แบงออกเปน 2 ลักษณะ คือเชิงเสนกับ เชิงปริมาตร 5. ของแข็งตางชนิดกันที่มีความยาวเทากัน เมื่อไดรับความรอนก็จะขยายตัวจนมี ขนาดเทากัน 6. ค า สั ม ประสิ ท ธิ์ ก ารขยายตั ว เนื่ อ งจากความร อ นขึ้ น อยู กั บ หลายป จ จั ย เช น โครงสรางผลึก อุณหภูมิของจุดหลอมตัว ความหนาแนนของชิ้นงาน และอุณหภูมิ ในการเผา 7.เทอรโมมิเตอรแบบแถบโลหะคู คือหนึ่งในเครื่องมือที่นําสมบัติการขยายตัวจาก ความรอนมาใช 8. วัตถุที่เปนแผนจะขยายตัวตามปริมาตร 9. คาเฉลี่ยของสัมประสิทธิ์การขยายตัวเชิงเสนของตะกั่ว มีคามากกวาคาเฉลี่ยของ สัมประสิทธิ์การขยายตัวเชิงเสนของเหล็กกลา 10. เมื่อนําสสารทั้งสองชนิดที่มีอุณหภูมิตางกันมาวางไวดวยกัน สสารที่เย็นกวาจะ รอนขึ้น

20 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

กระดาษคําตอบ ขอ

ถูก

ผิด

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

21 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

รายละเอียดหัวขอวิชาที่ 2 0921010602 ความฝดและการใชงาน (ใบเตรียมการสอน) 1. ผลลัพธการเรียนรู - อธิบายเกี่ยวกับความฝดและการใชงานได

2. หัวขอสําคัญ - ความฝดและการนําไปใชงาน

3. วิธีการฝกอบรม การฝกอบรมสามารถเลือกได 3 รูปแบบ คือ 1) การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ 2) การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม 3) การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน ดังรายละเอียดในขอแนะนําสําหรับสําหรับผูรับการฝก

4. อุปกรณชวยฝก อุปกรณชวยฝกสามารถเลือกใชงานได 2 รูปแบบ คือ 1. รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝก เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมิน เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 2. รูปแบบอิเล็กทรอนิกส (Online) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ

22 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

5. การรับการฝกอบรม 1. ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Post-Test) แลวสงใหครูฝกหรือระบบประเมินผลตามวิธีที่เลือกฝกอบรม 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหผูรับการฝกเขาฝกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝกอบรมภาคทฤษฎี ใหผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝก และฝกหัดทําใบทดสอบทายหัวขอวิชา 3. เมื่อผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝกประจําโมดูลนั้นเขาใจแลว ใหทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) แลวสงให ครูฝกหรือระบบประเมินผลเชนเดียวกับแบบทดสอบกอนฝก

6. การวัดผล 1. ผูรับการฝกสงแบบทดสอบกอนฝก ใหครูฝกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎีตามวิธีที่เลือกฝกอบรม 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2. ผูรับการฝกสงแบบทดสอบหลังฝก ใหครูฝกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎี โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมิน แบบทดสอบกอนฝก

7. บรรณานุกรม ความฝด. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : https://web.ku.ac.th/schoolnet/snet3/supinya/friction/friction.htm ความฝด. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : https://classesphysics.wordpress.com/category/ความฝด แรงเสียดทาน. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://www.vcharkarn.com/blog/39608 วรโชติ หรือตระกูล. 2556. แรงเสียดทานหรือความฝด. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : https://sites.google.com/site/wasduhlxlunninganxutsahkrrm/chnid-khxng-wasdu-hlx-lun/raeng-seiydthan-hrux-khwam-fud

23 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

ใบขอมูล หัวขอวิชาที่ 2 ความฝดและการนําไปใชงาน 1. แรงเสียดทานหรือความฝด (Friction) การเคลื่อนที่วัตถุสองชิ้นที่สัมผัสกันในทิศทางตรงกันขามจะเกิดความตานทานตอการเคลื่อนที่ซึ่งเรียกวา ความฝด โดย แรงที่เกิดขึ้นเพื่อตอตานการเคลื่อนที่ระหวางผิวสัมผัสของวัตถุนั้นเรียกวา แรงเสียดทาน 2. ชนิดของแรงเสียดทาน แรงเสียดทานมี 2 ชนิด คือ 2.1 แรงเสีย ดทานสถิต (Static Friction) คือ แรงเสีย ดทานที่เ กิด ขึ้น ระหวา งผิว สัม ผัส ของวัต ถุในสภาวะที่วัตถุ ไดรับแรงกระทําแลวอยูนิ่ง กรณีนี้คาแรงเสียดทานสถิตมีหลายคา (ตามแรงดึงหรือแรงผลักวัตถุ) จนถึงคาแรงเสียดทาน ที่ วั ต ถุ เ ริ่ ม จะเคลื่ อ นที่ ซึ่ ง มี ค า มาก เรี ย กว า แรงเสียดทานสถิตพอดีเคลื่อนที่ หรือแรงเสียดทาน ณ ขีดจํากัด 2.2 แรงเสียดทานจลน (Kinetic Friction) คือ แรงเสียดทานที่เกิดขึ้นระหวางผิวสัมผัสของวัตถุในสภาวะที่วัตถุไดรับ แรงกระทําแลวเคลื่อนที่ดวยความเร็วคงที่

ภาพที่ 2.1 กราฟแสดงแรงเสียดทานจลนและแรงเสียดทานสถิต

24 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

3. ปจจัยที่ทําใหเกิดแรงเสียดทาน แรงเสียดทานจะมีคามากหรือนอยขึ้นอยูกับ 1) แรงกดตั้งฉากกับผิวสัมผัส ถาแรงกดตัวฉากกับผิวสัมผัสมากจะเกิดแรงเสียดทานมาก ถาแรงกดตั้งฉากกับ ผิวสัมผัสนอยจะเกิดแรงเสียดทานนอย 2) ลักษณะของผิว สัมผัส ถาผิว สัมผัส หยาบขรุขระจะเกิดแรงเสีย ดทานมาก สว นผิว สัมผัส เรีย บลื่น จะเกิด แรงเสียดทานนอย 3) ชนิดของผิวสัมผัส เชน คอนกรีตกับเหล็ก เหล็กกับไม จะเห็นวาผิวสัมผัสแตละคู มีความหยาบ ขรุขระ หรือ เรียบลื่น เปนมันแตกตางกัน ทําใหเกิดแรงเสียดทานไมเทากัน

ภาพที่ 2.2 การทดสอบแรงเสียดทาน 4. ขอดีและขอเสียของแรงเสียดทาน ขอดี - เพิ่มการยึดเกาะระหวางของสองสิ่งเพื่อใหเกิดการเคลื่อนที่ไดอยางมีประสิทธิภาพ และไมเกิดความเสียหาย เชน แรงเสียดทานระหวางรองเทากับพื้นทําใหเราเดินหรือวิ่งไปได ถาแรงเสียดทานนอยมากจะทําใหลื่นลม ไดงาย ดังนั้น พื้นรองเทาจึงตองมีลวดลาย เพื่อใหเกิดแรงเสียดทาน ขอเสีย - แรงเสียดทานทําใหวัตถุเคลื่อนที่ชา จึงตองใชแรงมากขึ้นเพื่อเอาชนะแรงเสียดทานทําใหสิ้นเปลืองพลังงานมาก

25 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

5. การเพิ่มและลดแรงเสียดทานสําหรับการนําไปใชงาน 5.1 การเพิ่มแรงเสียดทาน แมวาแรงเสียดทานจะทําใหสิ้นเปลืองพลังงานมากในการทําใหวัตถุ เคลื่อนที่ แตในบางกรณีแรงเสียดทานก็ มี ประโยชนตอการเคลื่อนที่ของยานพาหนะ เชน 1) ขณะที่รถแลน จะตองมีแรงเสียดทานระหวางลอกับถนน เพื่อทําใหรถเคลื่อนที่ไปไดตามทิศทางที่ตองการ 2) ยางรถยนตจําเปนตองมีดอกยางเปนลวดลาย เพื่อเพิ่มแรงเสียดทานระหวางลอกับถนน 3) ขณะหยุดรถ หรือเบรกใหรถหยุดหรือแลนชาลง จะตองเกิดแรงเสียดทาน เพื่อทําใหลอหยุดหมุนหรือ หมุนชาลง 4) การเดิน การวิ่ง ตองการแรงเสียดทานมาชวยในการเคลื่อนที่ ดังนั้น จึงควรใสรองเทาพื้นยาง ไมควรใส รองเทาพื้นไม เพราะรองเทาพื้นยางใหแรงเสียดทานกับพื้นทางเดินไดมากกวาพื้นรองเทาที่เปนไม ทําให เดินไดงายกวาและเร็วกวาโดยไมลื่นไถล นอกจากนี้พื้นรองเทาตองมีลวดลาย เพื่อเพิ่มแรงเสียดทาน ระหวางผิวสัมผัส

ภาพที่ 2.3 แสดงแรงและทิศทางของแรงตาง ๆ ดังนั้น เพื่อใหการเคลื่อนที่ของยานพาหนะมีประสิทธิภาพและความปลอดภัย อุปกรณหรือสวนประกอบ ของยานพาหนะบางสว นจึง ตอ งมีก ารลดแรงเสีย ดทาน และบางสว นตอ งมีก ารเพิ ่ม แรงเสีย ดทาน ขึ้นอยูกับความเหมาะสมในการใชงาน

26 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

5.2 การลดแรงเสียดทาน การลดแรงเสียดทาน ทําไดหลายวิธี ดังนี้ 1) การใชอุปกรณตาง ๆ เชน ลอ บุช และตลับลูกปน - ลอ เปนสิ่งจําเปนมากสําหรับยานพาหนะทางบก เพราะสามารถลดแรงเสียดทานระหวางผิวสัมผัส - บุช เปนโลหะทรงกระบอกกลวง สวนที่สัมผัสกับชิ้นสวนที่เคลื่อนที่จะมีผิวเรียบและลื่น - ตลับลูกปน ลักษณะเปนลูกเหล็กกลมอยูในเบาที่รองรับ ผิวเรียบลื่นและกลิ้งได ทําใหวงแหวน ทั้งสองหมุนไดรอบตัว เครื่องจักรแทบทุกชนิดจะตองมีตลับลูกปนใสในแกนหมุนของเครื่องยนต 2) การใชน้ํามันหลอลื่นบริเวณขอตอ จุดหมุน และผิวหนาสัมผัสตาง ๆ 3) การลดแรงกดระหวางผิวสัมผัส เชน ลดจํานวนสิ่งของที่บรรทุกใหนอยลง ทาใหการลากวัตถุใหเคลื่อนที่ ดวยแรงดึงนอยลง 4) การทําใหผิวสัมผัสเรียบลื่น เชน การใชถุงพลาสติกหุมถุงทราย พื้นถนนที่เปยกจะลื่นกวาพื้นถนนที่แหง

27 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

ใบทดสอบ คําชี้แจง ใหผูรับการฝกพิจารณาขอความตอไปนี้วา ถูก หรือ ผิด และทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบ ถูก

ผิด

ขอความ 1. แรงเสียดทานมี 2 ชนิด คือ แรงเสียดทานสถิต และแรงเสียดทานจลน 2. แรงเสี ย ดทานสถิต คือ แรงเสีย ดทานที่เ กิดขึ้น ระหวางผิว สัมผัสของวัตถุใน สภาวะที่วัตถุไดรับแรงกระทําแลวคลื่อนที่ดวยความเร็วคงที่ 3. แรงกดตั้งฉากกับผิวสัมผัส คือหนึ่งในปจจัยที่ทําใหเกิดแรงเสียดทาน 4. ถาแรงกดตั้งฉากกับผิวสัมผัสมาก จะชวยลดแรงเสียดทานใหนอยลง 5. ชนิดของผิวสัมผัส ไมมีผลกับแรงเสียดทาน 6. ขณะหยุดรถ จะเกิดแรงเสียดทานที่ทําใหลอหยุดหมุนหรือหมุนชาลง 7. แรงเสียดทาน ณ ขีดจํากัด หมายถึง แรงเสียดทานเมื่อวัตถุเริ่มเคลื่อนที่ 8.บุช มีลักษณะเปนลูกเหล็กกลม ผิวเรียบลื่น กลิ้งได และมีวงแหวนสองขาง 9. ตลับลูกปน เปนหนึ่งในอุปกรณที่ชวยลดแรงเสียดทาน 10. การเพิ่มจํานวนสิ่งของที่บรรทุกใหมากขึ้น จะชวยลดแรงกดระหวางผิวสัมผัส

28 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

กระดาษคําตอบ ขอ

ถูก

ผิด

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

29 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

รายละเอียดหัวขอวิชาที่ 3 0921010603 ความเร็วและอัตราเรง (ใบแนะนํา) 1. ผลลัพธการเรียนรู 1. คํานวณเกี่ยวกับความเร็วและอัตราเรงได 2. คํานวณความเร็วและอัตราเรงได

2. หัวขอสําคัญ 1. ความเร็ว 2. ความเรง 3. อัตราเรง

3. วิธีการฝกอบรม การฝกอบรมสามารถเลือกได 3 รูปแบบ คือ 1) การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ 2) การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม 3) การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน ดังรายละเอียดในขอแนะนําสําหรับผูรับการฝก

4. อุปกรณชวยฝก อุปกรณชวยฝกสามารถเลือกใชงานได 2 รูปแบบ คือ 1. รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝก เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมิน เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 2. รูปแบบอิเล็กทรอนิกส (Online) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 30 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

5. การรับการฝกอบรม 1. ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Post-Test) แลวสงใหครูฝกหรือระบบประเมินผลตามวิธีที่เลือกฝกอบรม 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหผูรับการฝกเขาฝกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝกอบรมภาคทฤษฎี ใหผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝก และฝกหัดทําใบทดสอบทายหัวขอวิชา 3. เมื่อผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝกประจําโมดูลนั้นเขาใจแลว ใหทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) แลวสงให ครูฝกหรือระบบประเมินผลเชนเดียวกับแบบทดสอบกอนฝก 4. การฝกอบรมภาคปฏิบัติ ผูรับการฝกอานและทําความเขาใจกับใบงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน และเกณฑการวัด และประเมินผลงาน 5. ผูรับการฝกเขารับการฝกที่ศูนยฝกอบรมทีล่ งทะเบียนหรือจองไว 6. ผูรับการฝกอานระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับความปลอดภัยในการฝกของหนวยฝก 7. ผูรับการฝกฟงคําชี้แจงลําดับการปฏิบัติงานตามใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน 8. ผูรับการฝกปฏิบัติงานตามใบงาน แลวสงใหครูฝกตรวจประเมินผล 9. ผูรับการฝกที่คะแนนผลงานผานเกณฑรอยละ 70 สามารถขอทดสอบเพื่อจบโมดูลที่ฝกกับครูฝก

6. การวัดผล 1. ผูรับการฝกสงแบบทดสอบกอนฝก ใหครูฝกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎีตามวิธีที่เลือกฝกอบรม 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2. ผูรับการฝกสงแบบทดสอบหลังฝก ใหครูฝกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎี โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมิน แบบทดสอบกอนฝก 3. ผูรับการฝกสงผลงานในการฝกภาคปฏิบัติใหครูฝกตรวจประเมินผลงานของผูรับการฝก โดยตองผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จึงจะมีสิทธิ์เขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูล ที่ครูฝกกําหนดได

31 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

7. บรรณานุกรม ความเรง. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://physicsworld.nanacity.com/physicsworld/talkto.htm ความเร็ว. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : https://th.wikipedia.org/wiki/ความเร็ว รังศิยา จันตะเฆ. 2559. อัตราเร็วและความเร็ว. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : https://rectilinearmotion.wordpress.com/อัตราเร็วและความเร็ว/ อัตราเรง. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://thn2451777physics.blogspot.com/2016/09/blog-post_63.html

32 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

ใบขอมูล หัวขอวิชาที่ 3 ความเร็วและอัตราเรง 1. ความเร็ว กอนการเรียนรูเรื่องความเร็ว ควรทําความรูจักกับปริมาณทางฟสิกส มี 2 ประเภทดังตอไปนี้ ปริมาณสเกลาร คือ ปริมาณที่บอกขนาดเพียงอยางเดียว เชน มวล อุณหภูมิ เวลา พลังงาน ความหนาแนน ระยะทาง และ อัตราเร็ว ปริมาณเวกเตอร คือ ปริมาณที่บอกทั้งขนาดและทิศทาง เชน แรง โมเมนต การกระจัด ความเร็ว อัตราเร็ว ความเร็ว อัตราเรง ความเรง เกี่ยวของกับการเคลื่อนที่ในแนวตรง ซึ่งปริมาณที่เกี่ยวของกับการเคลื่อนที่ของ วัตถุในแนวตรง แบงออกเปน 2 ประเภท คือ 1) ระยะทาง คือ ระยะหรือความยาวตามเสนทางที่วัตถุเคลื่อนที่จริง โดยคํานึงถึงทิศทาง เปนปริมาณสเกลาร มี หนวยเปนเมตร 2) การกระจัด คือ ระยะหรือความยาวจากจุดเริ่มตนไปยังจุดสุดทายที่วัตถุเคลื่อนที่ โดยตองคํานึงถึงทิศทาง เปนปริมาณเวกเตอร มีหนวยเปนเมตร ความเร็ว คือ การกระจัดของวัตถุในหนึ่งหนวยเวลา เปนปริมาณเวกเตอร มีหนวยเปน เมตร/วินาที เปนปริมาณเวกเตอร เพราะมีการบอกทั้งขนาดและทิศทาง มีหนวยเปน เมตร/วินาที (m / s) สามารถคํานวณไดโดยใชสูตรตอไปนี้ หนวย เมตร/วินาที ( m / s ) กําหนดให

คือ ความเร็ว (Velocity) หนวย เมตร/วินาที (m/s) คือ การกระจัด (Displacement) หนวย เมตร (m) t

คือ เวลา (Time) หนวย วินาที (s)

ภาพที่ 3.1 กราฟแสดงความเร็ว 33 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

2. อัตราเร็ว อัตราเร็ว คือ ระยะทางที่วัตถุเคลื่อนที่จริงในหนึ่งหนวยเวลา เปนปริมาณสเกลาร มีหนวยเปน เมตร/วินาที ถาในทุก ๆ หนว ยเวลา วัตถุเคลื่อนที่ดวยอัตราเร็วคงที่ตลอดการเคลื่อนที่ จะเรียกวาวัตถุเคลื่อนที่ดวยอัตราเร็วสม่ําเสมอ หรืออัตราเร็ว คงที่ อยางไรก็ตาม หากในแตละหนวยเวลา วัตถุเคลื่อนที่ดวยอัตราเร็วหรือความเร็วที่แตกตางกัน กลาวคือ วัตถุเคลื่อนที่ดวย อัตราเรง หรือ ความเรง จะสามารถหาคาอัตราเร็วหรือความเร็วได 2 ลักษณะ ดังนี้ 1) อัต ราเร็ว ขณะใดขณะหนึ่ง หรือ ความเร็ว ขณะใดขณะหนึ่ง ซึ่ง เปน การหาคา อัตราเร็ว หรือความเร็ว ใน ชวงเวลาสั้น ๆ ชวงใดชวงหนึ่งของการเคลื่อนที่ 2) อัตราเร็วเฉลี่ยหรือความเร็วเฉลี่ย คือการหาคาอัตราเร็วหรือความเร็วหลังจากมีการเคลื่อนที่ โดยคํานวณจาก การเฉลี่ยระยะทางทั้งหมดของการเคลื่อนที่ในหนึ่งหนวยเวลา หรือการเฉลี่ยการกระจัดของการเคลื่อนที่ใน หนึ่งหนวยเวลา ทั้งนี้ อัตราเร็วจะบงบอกเพียงวาวัตถุยายตําแหนงเร็วหรือชา โดยไมไดระบุวาวัตถุยายไปในทิศทางใด 3. ความเรง (acceleration) ความเรง คือ ความเร็วที่เปลี่ยนไปในหนึ่งหนวยเวลา เปนปริมาณเวกเตอร ความเรงอาจมีคาเปนบวกหรือลบ กลาวคือ ความเรงที่เกิดจากความเร็วที่เพิ่มขึ้นในหนึ่งหนวยเวลาจะใชสัญลักษณ +a และ ความหนวงที่เกิดจากความเร็วที่ลดลงใน หนึ่งหนวยเวลาใชสัญลักษณ -a โดยสามารถเขียนเปนความสัมพันธระหวางความเร็วและเวลาไดวา v v v v ∆V หรือ av = v2 − v1 a= t1 − t 2 ∆t

กําหนดให

v a

= ความเรง (m/s2)

v ∆v

= ความเร็วสุดทาย- ความเร็วเริ่มตน (m/s)

∆t

= ระยะเวลาทั้งหมดที่วัตถุใชในการเคลื่อนที่ (s)

3.1 คํานิยามของความเรงขณะหนึ่ง และความเรงเฉลี่ย ความเรงขณะหนึ่ง คือ ความเรงในชวงเวลาสั้น ๆ ความเรงเฉลี่ย คือ อัตราสวนระหวางความเร็วที่เปลี่ยนไปทั้งหมดกับชวงเวลาที่เปลี่ยนความเร็วนั้น นอกจากสูตรการคํานวณการเคลื่อนที่ในแนวเสนตรง ยังมีสูตรการคํานวณการเคลื่อนที่แบบมีความเรงอีก 4 สูตร ไดแก

34 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

1)

s=

(v + u ) t 2

2) v = u + at 3) 4)

s = ut +

1 2 at 2

v 2 = u 2 + 2as

เมื่อกําหนดให

s = ระยะทาง (Distance) (m) v = อัตราเร็วปลาย, อัตราเร็วสุดทาย (Velocity) (m/s) u = อัตราเร็วตน, อัตราเร็วเริ่มตน (m/s) t = เวลา (Time) (s) a = ความเรง (Acceleration) (m/s2)

ภาพที่ 3.2 การเคลื่อนที่แบบมีความเรง จากภาพที่ 3.2 วัตถุมวล (m) ความเร็วตน (u) เคลื่อนที่ไปในระยะเวลา (t) ไดระยะทางเทากับ (s) จนมีความเร็ว ปลาย (v) และขณะที่กําลังเคลื่อนที่มีอัตราเรง (a) เกิดขึ้น ซึ่งเปนแบบทั่วไปในการใชตั้งคําถามเกี่ยวกับการเคลื่อนที่แบบ มีความเรง 4. อัตราเรง อัตราเรง คือ อัตราเร็วที่เปลี่ยนแปลงไปในหนึ่งหนวยเวลา เปนปริมาณสเกลาร มีหนวยเปน เมตร/วินาที2 เชน รถยนต วิ่งดวยอัตราเรง 2 กิโลเมตรตอชั่วโมง2 หมายความวา ทุก ๆ 1 ชั่วโมง รถยนตจะวิ่งดวยอัตราเร็วที่เพิ่มขึ้น 2 กิโลเมตรตอ ชั่วโมง โดยไมไดคํานึงถึงทิศทางที่วิ่ง

35 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

ตัวอยาง ขับรถจากจุดสตารทไปยังเสนชัย โดยมีความเร็วปลาย 140 กิโลเมตรตอชั่วโมง (km/hr) ใชเวลา 5 นาที จงหาอัตราเรง จากโจทย แปลงหนวยความเร็วปลาย จาก กิโลเมตรตอชั่วโมง (km/hr) เปน เมตรตอวินาที (m/s) 1 กิโลเมตร

=

1000 เมตร

1 ชั่วโมง

=

360 วินาที

=

140 x

ดังนั้น

v

และแปลงเวลาจากหนวยนาที เปนวินาที 1 นาที ดังนั้น

1000

3600

=

60 วินาที

=

5 x 60

v

=

u + at

a

=

v−u

t

m/s

=

300 นาที

คํานวณหาอัตราเรง จากสูตร

t

จากโจทย กําหนดใหขับรถจากจุดสตารท ดังนั้น ความเร็วตน (u) = 0 m/s a

= = = =

v−u t v−0

=

t 140 ×1000

300 × 3600

v t

0.13 m/s2

ดังนั้น อัตราเรง (a) เทากับ 0.13 m/s2

36 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

ใบทดสอบ ตอนที่ 1 คําชี้แจง ใหผูรับการฝกจับคูโจทยและคําตอบใหถูกตอง โดยทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบ ขอ

โจทย

1

a

2

s

3

t

4

v

5

u

ขอ

คําตอบ

ระยะทาง มีหนวยเปน เมตร (m)

เวลา มีหนวยเปน วินาที (s)

อัตราเร็วตน มีหนวยเปน เมตรตอวินาที (m/s)

อัตราเร็วปลาย มีหนวยเปน เมตรตอวินาที (m/s)

ความเรง มีหนวยเปน เมตรตอวินาที2 (m/s2)

37 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

ตอนที่ 2 คําชี้แจง ใหผูรับการฝกพิจารณาขอความตอไปนี้วา ถูก หรือ ผิด และทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบ ถูก

ผิด

ขอความ 6. อัต ราเร็ว คือ ระยะทางที่วัต ถุเ คลื่อ นที่ไ ดใ นหนึ่ง หนว ยเวลา จัด เปน ปริมาณ เวกเตอร 7. ความเร็ว คือ การกระจัดของวัตถุในหนึ่งหนวยเวลา มีหนวยเปน เมตร/วินาที (m / s) 8. ความเรง คือ ความเร็วที่เปลี่ยนไปในหนึ่งหนวยเวลา จัดเปนปริมาณสเกลาร 9. สูตรในการคํานวณหาความเรง คือ

v v ∆V a= ∆t

10. อัตราเร็ว จะสามารถบอกไดวาวัตถุยายตําแหนงเร็วหรือชา แตไมสามารถระบุได วาวัตถุจะยายไปในทิศทางใด

38 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

ตอนที่ 3 คําชี้แจง ใหผูรับการฝกทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบขอที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว 11. จากโจทยตอไปนี้ ควรคํานวณโดยใชสูตรใด “รถยนตคันหนึ่งเคลื่อนที่ออกจากจุดหยุดนิ่งดวยความเรงเทากับ 2 เมตรตอวินาที2 (m/s2) ในเวลา 6 วินาที (s) จงหา ระยะทางที่เคลื่อนที่ได” ก. . ข. ค.

s=

(v + u ) t 2

v 2 = u 2 + 2as

s = ut +

1 2 at 2

ง. v = u + at 12. รถยนตคันหนึ่งเคลื่อนที่ออกจากจุดหยุดนิ่งดวยความเรงเทากับ 5 เมตรตอวินาที2 (m/s2) ในเวลา 15 วินาที (s) จงหา ระยะทางที่เคลื่อนที่ได ก. .5 เมตร (m) ข. 575.3 เมตร (m) ค. 584.2 เมตร (m) ง. 534.6 เมตร (m) 13. ถาวัตถุ A เคลื่อนที่ดวยอัตราเร็วเริ่มตน 5 เมตรตอวินาที เมื่อเวลาผานไป 10 วินาที วัตถุ A ยังเคลื่อนอยูในแนวเดิม โดย มีความเร็วเปลี่ยนไปเปน 20 เมตร/วินาที จงหาความเรงของวัตถุ ก. 2.5 เมตรตอวินาที2 (m/s2) ข. 1.5 เมตรตอวินาที2 (m/s2) ค. 10.5 เมตรตอวินาที2 (m/s2) ง. 20.5 เมตรตอวินาที2 (m/s2)

39 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

14. รถจักรยานยนตคันหนึ่งเริ่มเคลื่อนที่จากที่อยูนิ่งและความเรง 5 เมตรตอวินาที ถาใชเวลา 10 วินาที รถจักรยานยนตนี้ 2

จะเคลื่อนที่ดวยความเร็วเทาไร ก. 20 เมตรตอวินาที (m/s) ข. 60 เมตรตอวินาที (m/s) ค. 10 เมตรตอวินาที (m/s) ง. 50 เมตรตอวินาที (m/s)

15. รถคันหนึ่งเคลื่อนที่บนถนนตรงจากหยุดนิ่ง จนกระทั่งมีความเร็วเปน 25 เมตร/วินาที ในชวงเวลา 10วินาที ความเรง ของรถยนตคันนี้มีคาเทาใด ก. 2.5 เมตรตอวินาที2 (m/s2) ข. 1.5 เมตรตอวินาที2 (m/s2) ค. 15 เมตรตอวินาที2 (m/s2) ง. 10.5 เมตรตอวินาที2 (m/s2)

40 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

กระดาษคําตอบ ตอนที่ 1 จับคู ขอ

1 2 3 4 5 ตอนที่ 2 ถูกผิด ขอ

ถูก

ผิด

6 7 8 9 10 ตอนที่ 3 ปรนัย ขอ

11 12 13 14 15

41 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

ใบงาน ใบงานที่ 3.1 การคํานวณหาความเร็วและระยะทาง 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. คํานวณความเร็วและอัตราเรงได 2. ปฏิบัติงานคํานวณความเร็วและระยะทางได 3. ปฏิบัติงานโดยคํานึงถึงความปลอดภัย

2. ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงาน - ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงานรวม 45 นาที 3. คําชี้แจง ใหผูรับการฝกคํานวณหาความเร็วโดยใชสูตรคํานวณการเคลื่อนที่แนวตรง ตามโจทยที่กําหนด พรอมทั้งแสดง วิธีทํา 1. กรณีที่ตองการใหรถเคลื่อนที่ในระยะทาง 25 กิโลเมตร (km) ในเวลา 30 นาที (min) จงคํานวณหาความเร็ว 2. รถยนต คั น หนึ่ ง เคลื่ อ นที่ จ ากจุ ด หยุ ด นิ่ ง ด ว ยความเร ง 18 เมตรต อ วิ น าที กํา ลั ง สอง (m/s 2 ) เมื่ อ เวลาผ า นไป 50 วินาที (s) ความเร็ว ณ ขณะนั้นนั้น และระยะทางที่รถเคลื่อนที่ไป จะมีคาเทากับเทาใด

42 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ 3.1 การคํานวณหาความเร็วและระยะทาง 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับใบงาน 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้น ที่ปฏิ บัติงาน ไมใหมีอุปกรณ อื่น ๆ ที่ไมเกี่ยวข อง หรือวัสดุอันตราย เชน สายไฟฟ า วางกีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมอุปกรณปฐมพยาบาลเบื้องตน ในกรณีเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัติงาน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตาง ๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน 1. กระดาษ A4 (สีขาว)

จํานวน 1 ชุด

2. ปากกา

จํานวน 1 ดาม

3. ดินสอ

จํานวน 1 แทง

43 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

2. ลําดับการปฏิบัติงาน การคํานวณหาความเร็วและระยะทาง ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คําอธิบาย

1. เตรียมวัสดุ

เตรียมกระดาษและเครื่องเขียนใหพรอม

2. คํานวณหาความเร็ว

อานโจทย และคํานวณคาความเร็วตามที่ โจทยกําหนด โดยแสดงวิธีทําอยางละเอียด ลงในกระดาษ

3. ตรวจสอบความถูกตอง

ตรวจสอบความถูกตองของคําตอบอีกครั้ง

44 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คําอธิบาย

4. ทําความสะอาดและจัดเก็บวัสดุ

ขอควรระวัง

ทําความสะอาดบริเวณสถานที่ปฏิบัติงาน และจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และอุ ป กรณ ใ ห เรียบรอย

3. ตรวจสอบการทํางาน ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับที่

รายการตรวจสอบ

เกณฑการพิจารณา

1

เตรียมวัสดุอยางถูกตองและครบถวน

ความถูกตองตามวิธีการใชงาน

2

การปฏิ บั ติ ง านได ถู ก ต อ ง เป น ไปตามลํ า ดั บ ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ขั้นตอน

3

การแสดงวิธีทําตามโจทยขอที่ 1

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

4

การแสดงวิธีทําตามโจทยขอที่ 2

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

5

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

6

การจัดเก็บวัสดุหลังปฏิบัติงาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

7

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ทันเวลาที่กําหนด

45 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ลําดับที่

1

รายการตรวจสอบ

เตรียมวัสดุอยางถูกตองและครบถวน

ขอกําหนดในการใหคะแนน

เตรียมวัสดุอยางถูกตอง ครบถวนทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน

คะแนน เต็ม 3

เตรียมวัสดุไมครบถวน หรือ ไมถกู ตอง อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน เตรียมวัสดุกรณไมครบถวนและไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2

การปฏิบัติงานไดถูกตอง เปนไปตามลําดับขั้นตอน

ถูกตองและเปนไปตามลําดับขั้นตอน

3

ใหคะแนน 3 คะแนน ถูกตอง แตสลับขั้นตอนปฏิบัติงานในบางขั้นตอน ใหคะแนน 2 คะแนน ถูกตอง แตปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 1 คะแนน ไมถูกตอง และปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 3

การแสดงวิธีทาํ ตามโจทยขอ ที่ 1

แสดงวิธีทําไดถูกตอง ครบถวน

5

ใหคะแนน 5 คะแนน แสดงวิธีทําไดถูกตอง แตคําตอบไมถูกตอง ใหคะแนน 3 คะแนน แสดงวิธีทําไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 4

การแสดงวิธีทําตามโจทยขอที่ 2

แสดงวิธีทําไดถูกตอง ครบถวน

5

ใหคะแนน 5 คะแนน แสดงวิธีทําไดถูกตอง แตคําตอบไมถูกตอง ใหคะแนน 3 คะแนน แสดงวิธีทําไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 5

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไดสะอาดเรียบรอย และครบทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน

46 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

3

คะแนนที่ได


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

ลําดับที่

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดในการใหคะแนน

คะแนน เต็ม

คะแนนที่ได

ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย หรือไมครบทุกชิ้น อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย และไมครบทุกชิ้น ใหคะแนน 1 คะแนน ไมทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 6

จัดเก็บวัสดุหลังปฏิบัติงาน

จัดเก็บวัสดุอยางถูกตอง ครบถวนทุกชิ้น

3

ใหคะแนน 3 คะแนน จัดเก็บวัสดุไมถูกตองและไมครบถวน หรือ ไมจัดเก็บวัสดุ ใหคะแนน 0 คะแนน 7

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ปฏิบัติงานไดอยางสมบูรณภายในเวลาทีก่ ําหนด

3

ใหคะแนน 3 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดไมเกิน 5 นาที ใหคะแนน 2 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดมากกวา 5 นาที ใหคะแนน 1 คะแนน คะแนนเต็ม

25

หมายเหตุ หากผูเขารับการฝกไดรับคะแนน 18 คะแนนขึ้นไป (คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70) ใหผูเขารับการฝก ขอเขารับการทดสอบภาคปฏิบัติได

47 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

ใบงาน ใบงานที่ 3.2 การคํานวณหาความเร็วและอัตราเรง 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. คํานวณความเร็วและอัตราเรงได 2. ปฏิบัติงานคํานวณความเร็วและอัตราเรงได 3. ปฏิบัติงานโดยคํานึงถึงความปลอดภัย

2. ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงาน - ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงานรวม 45 นาที 3. คําชี้แจง ใหผูรับการฝกคํานวณหาความเร็วและอัตราเรงโดยใชสูตรคํานวณการเคลื่อนที่แนวตรง ตามโจทยที่กําหนด พรอมทั้งแสดงวิธีทํา 1. กรณีที่ตองการใหรถเคลื่อนที่ในระยะทาง 40 กิโลเมตร ในเวลา 30 นาที จงคํานวณหาความเร็ว 2. กรณีที่ตองการรถจักรยานเคลื่อนที่ในเวลา 45 นาที ใหไดระยะทาง 150 กิโลเมตร รถจักรยานจะตองมีความเร็วและ อัตราเรงเทาไหร

48 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ 3.2 การคํานวณหาความเร็วและอัตราเรง 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับใบงาน 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้น ที่ปฏิ บัติงาน ไมใหมีอุปกรณ อื่น ๆ ที่ไมเกี่ยวข อง หรือวัสดุอันตราย เชน สายไฟฟ า วางกีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมอุปกรณปฐมพยาบาลเบื้องตน ในกรณีเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัติงาน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตาง ๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน 1. กระดาษ A4 (สีขาว)

จํานวน 1 ชุด

2. ปากกา

จํานวน 1 ดาม

3. ดินสอ

จํานวน 1 แทง

49 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

2. ลําดับการปฏิบัติงาน การคํานวณหาความเร็วและอัตราเรง ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1. เตรียมวัสดุ

คําอธิบาย เตรียมกระดาษและเครื่องเขียนให พรอม

2. คํานวณหาความเร็วและอัตราเรง

อานโจทย และคํานวณคาความเร็วและ อัตราเรงตามที่โจทยกําหนด โดยแสดง วิธีทําอยางละเอียดลงในกระดาษ

3. ตรวจสอบความถูกตอง

ตรวจสอบความถูกตองของคําตอบอีก ครั้ง

50 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คําอธิบาย

4. ทําความสะอาดและจัดเก็บวัสดุ

ทํ า ค ว า ม ส ะ อ า ด บ ริ เ ว ณ ส ถ า น ที่ ปฏิบัติงาน และจัดเก็บ เครื่องมือและ อุปกรณใหเรียบรอย

3. ตรวจสอบการทํางาน ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับที่

รายการตรวจสอบ

เกณฑการพิจารณา

1

เตรียมวัสดุอยางถูกตองและครบถวน

ความถูกตองตามวิธีการใชงาน

2

การปฏิ บั ติ ง านได ถู ก ต อ ง เป น ไปตามลํ า ดั บ ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ขั้นตอน

3

การแสดงวิธีทําตามโจทยขอที่ 1

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

4

การแสดงวิธีทําตามโจทยขอที่ 2

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

5

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

6

การจัดเก็บวัสดุหลังปฏิบัติงาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

7

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ทันเวลาที่กําหนด

51 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ลําดับที่

1

รายการตรวจสอบ

เตรียมวัสดุอยางถูกตองและครบถวน

ขอกําหนดในการใหคะแนน

เตรียมวัสดุอยางถูกตอง ครบถวนทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน

คะแนน เต็ม

3

เตรียมวัสดุไมครบถวน หรือ ไมถกู ตอง อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน เตรียมวัสดุกรณไมครบถวนและไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2

การปฏิบัติงานไดถูกตอง เปนไปตามลําดับขั้นตอน

ถูกตองและเปนไปตามลําดับขั้นตอน

3

ใหคะแนน 3 คะแนน ถูกตอง แตสลับขั้นตอนปฏิบัติงานในบางขั้นตอน ใหคะแนน 2 คะแนน ถูกตอง แตปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 1 คะแนน ไมถูกตอง และปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 3

การแสดงวิธีทาํ ตามโจทยขอ ที่ 1

แสดงวิธีทําไดถูกตอง ครบถวน

5

ใหคะแนน 5 คะแนน แสดงวิธีทําไดถูกตอง แตคําตอบไมถูกตอง ใหคะแนน 3 คะแนน แสดงวิธีทําไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 4

การแสดงวิธีทําตามโจทยขอที่ 2

แสดงวิธีทําไดถูกตอง ครบถวน

5

ใหคะแนน 5 คะแนน แสดงวิธีทําไดถูกตอง แตคําตอบไมถูกตอง ใหคะแนน 3 คะแนน แสดงวิธีทําไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 5

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไดสะอาดเรียบรอย และครบทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน

52 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

3

คะแนนที่ได


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

ลําดับที่

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดในการใหคะแนน

คะแนน เต็ม

คะแนนที่ได

ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย หรือไมครบทุกชิ้น อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย และไมครบทุกชิ้น ใหคะแนน 1 คะแนน ไมทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 6

จัดเก็บวัสดุหลังปฏิบัติงาน

จัดเก็บวัสดุอยางถูกตอง ครบถวนทุกชิ้น

3

ใหคะแนน 3 คะแนน จัดเก็บวัสดุไมถูกตองและไมครบถวน หรือ ไมจัดเก็บวัสดุ ใหคะแนน 0 คะแนน 7

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ปฏิบัติงานไดอยางสมบูรณภายในเวลาทีก่ ําหนด

3

ใหคะแนน 3 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดไมเกิน 5 นาที ใหคะแนน 2 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดมากกวา 5 นาที ใหคะแนน 1 คะแนน คะแนนเต็ม

25

หมายเหตุ หากผูเขารับการฝกไดรับคะแนน 18 คะแนนขึ้นไป (คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70) ใหผูเขารับการฝก ขอเขารับการทดสอบภาคปฏิบัติได

53 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

รายละเอียดหัวขอวิชาที่ 4 0921010604 แรงบิดและคานงัด (ใบแนะนํา) 1. ผลลัพธการเรียนรู - อธิบายเกี่ยวกับแรงบิดและคานงัดได

2. หัวขอสําคัญ - แรงบิดและคานงัด

3. วิธีการฝกอบรม การฝกอบรมสามารถเลือกได 3 รูปแบบ คือ 1) การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ 2) การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม 3) การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน ดังรายละเอียดในขอแนะนําสําหรับผูรับการฝก

4. อุปกรณชวยฝก อุปกรณชวยฝกสามารถเลือกใชงานได 2 รูปแบบ คือ 1. รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝก เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมิน เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 2. รูปแบบอิเล็กทรอนิกส (Online) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ

54 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

5. การรับการฝกอบรม 1. ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Post-Test) แลวสงใหครูฝกหรือระบบประเมินผลตามวิธีที่เลือกฝกอบรม 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหผูรับการฝกเขาฝกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝกอบรมภาคทฤษฎี ใหผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝก และฝกหัดทําใบทดสอบทายหัวขอวิชา 3. เมื่อผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝกประจําโมดูลนั้นเขาใจแลว ใหทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) แลวสงให ครูฝกหรือระบบประเมินผลเชนเดียวกับแบบทดสอบกอนฝก

6. การวัดผล 1. ผูรับการฝกสงแบบทดสอบกอนฝก ใหครูฝกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎีตามวิธีที่เลือกฝกอบรม 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2. ผูรับการฝกสงแบบทดสอบหลังฝก ใหครูฝกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎี โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมิน แบบทดสอบกอนฝก

7. บรรณานุกรม โครงการสารานุกรมไทยสําหรับเยาวชน โดยพระราชประสงคในพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว. คานงัด. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://kanchanapisek.or.th/kp6/sub/book/book.php?book=1&chap=6&page=t1-6infodetail01.html

55 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

ใบขอมูล หัวขอวิชาที่ 4 แรงบิดและคานงัด 1. แรงบิดหรือทอรก (Torque) แรงบิดหรือทอรก คือ แรงที่พยายามจะหมุนมวล ตัวอยางเชน การสรางทอรกโดยการใชประแจขันนอต แรงที่กระทํากับ ดามจับ หรือ ทอรกที่พยายามหมุนนอตใหแนน หนวยอังกฤษของทอรก คือ ปอนด - นิ้ว หรือ ปอนด-ฟุต หนวย SI ของทอรก

คือ นิวตัน – เมตร

หนวยเมตริกของทอรก คือ กิโลกรัม – เซนติเมตร หนวยของทอรกเกิดจาก แรง คูณดวย ระยะทาง โดยเปนแรงที่กระทํากับระยะทางที่วัดหางจากจุดหมุนในแนวตั้งฉาก เครื่องยนตจะตองสรางทอรก เพื่อหมุนเพลาขอเหวี่ยง สูตรการคํานวณ กําหนดให

T

=Fxs

T

= แรงบิดหรือทอรก (นิวตัน-เมตร)

F

= คาของแรงที่กระทํา (นิวตัน)

s

= ระยะทางที่วัดจากจุดหมุนในแนวตั้งฉาก (เมตร)

ภาพที่ 4.1 การเกิดแรงบิด

56 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

2. คานงัด คานงัด คือเครื่องผอนแรงขั้นพื้น ฐาน ซึ่งประกอบดว ยแขนรับแรงสองขางยื่นออกไปจากจุดค้ํา โดยแขนขางสั้นรับ แรงตานทานและแขนขางยาวรับแรงพยายาม แรงที่กระทําจะเปนสัดสวนตามอัตราสวนของความยาวของแขนคานงัด ซึ่งวัด ระหวางจุดหมุน และจุดที่มีแรงมากระทําที่ปลายแตละดานของคานงัด โดยไดมีการจําแนกไว 3 ระดับดวยกัน ตามตําแหนง ของจุดหมุน แรงตานทานและแรงพยายาม 2.1 คานงัดระดับที่ 1

ภาพที่ 4.2 คานงัดระดับที่ 1 เปนคานที่มีจุดหมุนระหวางแรงตานทาน และแรงพยายาม และกระทําโดยออกแรงไปบนสวนหนึ่งของคานนั้น เพื่อเอาชนะแรงตาน ตัวอยางเชน ไมกระดก กรรไกร คันโยกสูบน้ํา เปนตน 2.2 คานงัดระดับที่ 2

ภาพที่ 4.3 คานงัดระดับที่ 2 เปนคานงัดที่มีแรงตานทานอยูระหวางจุดหมุน และแรงพยายาม โดยจะตองออกแรงตรงปลายเพื่อเอาชนะแรง ตาน ตัวอยางเชน รถเข็นทราย ที่เปดฝาน้ําอัดลม รถไถนาแบบเดินตาม เปนตน

57 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

2.3 คานงัดระดับที่ 3

ภาพที่ 4.4 คานงัดระดับที่ 3 เปนคานงัดที่มีแรงกระทําอยูระหวางจุดหมุนกับแรงตานทาน โดยจะตองออกแรงยกตรงกลางของคานเพื่อเอาชนะ แรงตาน ตัวอยางเชน ตะเกียบ คีมคีบอาหาร เปนตน เครื่องมือที่เปนตัวอยางที่นําคานงัดมาใชซึ่งเห็นไดอยางชัดเจนคือ เครื่องชั่งชนิดแขนเดียว หากแบงแขนขางยาว ของเครื่องชั่งออกเปนชองเทา ๆ กันใหมีความยาวเปน 10 เทาของแขนขางสั้น เมื่อใชตุมน้ําหนัก 10 กิโลกรัมแขวนไวที่ ปลายแขนขางยาวก็จะสามารถถวงตานน้ําหนักขนาด 100 กิโลกรัมไดพอดี โดยคานงัดจะอยูนิ่งซึ่งเรียกลักษณะนี้วา สมดุล จากตัวอยางจะเห็นวา ผลคูณของน้ําหนักและระยะทางจากจุดค้ําในแตละขางมีคาเทากันเมื่อสมดุล ซึ่งผลคูณของแรง และระยะตั้งฉากจากแรงไปยังจุดค้ําเรียกวา โมเมนต

โดยการหาแรงจากคานงัดสามารถคํานวณไดจากสูตร R×a=P×b R = แรงตานทาน P = แรงพยายาม a = ระยะจากแรงตานทานถึงจุดค้ํา b = ระยะจากแรงพยายามถึงจุดค้ํา

58 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

ตัวอยาง จงหาแรงตานทาน R ที่จุด A เมื่อมีแรงมากระทําที่จุด B โดยมีแรง 200 N ซึ่งมีจุดค้ําหางจากจุด A 3 เมตร และ หางจาก จุด B 6 เมตร จากสูตร

R×a =

P×b

R

P ×b

= = =

a 200 ×6 3

400 N

ดังนั้น แรงตานทาน (R) เทากับ 400 นิวตัน

59 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

ใบทดสอบ ตอนที่ 1 คําชี้แจง ใหผูรับการฝกพิจารณาขอความตอไปนี้วา ถูก หรือ ผิด และทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบ ถูก

ผิด

ขอความ 1. แรงบิด คือ แรงที่พยายามจะหมุนมวล เชน การสรางทอรกโดยใชประแจขัน นอต เปนตน 2. คานงัด แรงที่กระทําจะเปน สัดสวนตามอัตราสวนของความยาวแขน ซึ่งวัด ระหวางจุดหมุน และจุดที่มีแรงมากระทําที่ปลายแตละดานของคานงัด 3. ตัวแปร R คือ แรงพยายาม และตัวแปร P คือ แรงตานทาน 4. ตัวอยางการนําคานงัดระดับที่ 2 มาใชผลิตเครื่องมือ เชน การผลิตคีมคีบอาหาร การผลิตตะเกียบ และการผลิตกรรไกร เปนตน 5. คานงัดที่มีแรงตานทานอยูระหวางจุดหมุนและแรงพยายาม คือ คานงัดระดับที่ 3

ตอนที่ 2 คําชี้แจง ใหผูรับการฝกทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบขอที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว 6. ขอใด คือหนวยเมตริกของทอรก ก. นิวตัน – เมตร ข. กิโลกรัม – เซนติเมตร ค. ปอนด – ฟุต ง. ปอนด – นิ้ว 7. ขอใด คือสูตรการคํานวณแรงบิดหรือทอรก ก. R x a = P x b ข. T = F x s ค. T = ง. P =

Pxb a Rxa b

60 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

8. คานงัดระดับใด ที่มีจุดหมุนอยูระหวางแรงตานทานกับแรงพยายาม ก. คานงัดระดับที่ 1 ข. คานงัดระดับที่ 2 ค. คานงัดระดับที่ 3 ง. คานงัดระดับที่ 4 9. ผลคูณของแรงและระยะตั้งฉากจากแรงไปยังจุดหมุนเรียกวาอะไร ก. ทอรก ข. แรงตานทาน ค. โมเมนต ง. แรงพยายาม 10. วิชัยใชประแจปากตายความยาว 0.2 เมตร หมุนนอตโดยออกแรงหมุนขนาด 3.5 นิวตัน ในแนวตั้งฉากกับดามประแจ วิชัยจะตองปอนแรงบิดขนาดเทาไรนอตจึงจะหมุน ก. 4.2 นิวตัน-เมตร ข. 0.7 นิวตัน-เมตร ค. 2.8 นิวตัน-เมตร ง. 3.5 นิวตัน-เมตร

61 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

กระดาษคําตอบ ตอนที่ 1 ถูกผิด ขอ

ถูก

ผิด

1 2 3 4 5 ตอนที่ 2 ปรนัย ขอ

6 7 8 9 10

62 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

รายละเอียดหัวขอวิชาที่ 5 0921010605 งานและพลังงาน (ใบแนะนํา) 1. ผลลัพธการเรียนรู - อธิบายเกี่ยวกับงานและพลังงานได

2. หัวขอสําคัญ - งานและพลังงาน

3. วิธีการฝกอบรม การฝกอบรมสามารถเลือกได 3 รูปแบบ คือ 1) การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ 2) การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม 3) การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน ดังรายละเอียดในขอแนะนําสําหรับผูรับการฝก

4. อุปกรณชวยฝก อุปกรณชวยฝกสามารถเลือกใชงานได 2 รูปแบบ คือ 1. รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝก เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมิน เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 2. รูปแบบอิเล็กทรอนิกส (Online) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ

63 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

5. การรับการฝกอบรม 1. ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Post-Test) แลวสงใหครูฝกหรือระบบประเมินผลตามวิธีที่เลือกฝกอบรม 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหผูรับการฝกเขาฝกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝกอบรมภาคทฤษฎี ใหผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝก และฝกหัดทําใบทดสอบทายหัวขอวิชา 3. เมื่อผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝกประจําโมดูลนั้นเขาใจแลว ใหทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) แลวสงให ครูฝกหรือระบบประเมินผลเชนเดียวกับแบบทดสอบกอนฝก

6. การวัดผล 1. ผูรับการฝกสงแบบทดสอบกอนฝก ใหครูฝกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎีตามวิธีที่เลือกฝกอบรม 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2. ผูรับการฝกสงแบบทดสอบหลังฝก ใหครูฝกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎี โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมิน แบบทดสอบกอนฝก

7. บรรณานุกรม ณภัทรษกร สารพัฒน. 2557. งานและพลังงาน. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : https://www.slideshare.net/napatsakon/5-41237289

64 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

ใบขอมูล หัวขอวิชาที่ 5 งานและพลังงาน 1. งาน (Work) งาน คือ ผลคูณของแรงกับระยะทางตามแนวแรง แรงเปนปริมาณสเกลลาร มีหนวย เปนจูลหรือนิวตัน - เมตร (J , N - m) จากสูตร กําหนดให

W=FxS

F แทนแรงที่กระทําตอวัตถุ หนวยเปน นิวตัน (N) S แทนระยะทาง หนวยเปน เมตร (m) W แทน งาน หนวยเปน จูล (J)

วัตถุเคลื่อนที่ไปอาจจะเกิดหรือไมเกิดงานก็ได 2. พลังงาน (Energy) พลังงาน คือ ความสามารถในการทํางานของวัตถุหรือสารใด ๆ มีหลายรูปแบบ โดยสามารถเปลี่ยนรูปไดภายใตสภาวะที่ เหมาะสม ในทางอุณหพลศาสตร สารตัวกลางที่ใชในระบบอาจมีพลังงานอยูในรูปแบบตาง ๆ เชน พลังงานศักย พลังงานจลน พลังงานภายใน หรือ พลังงานจากการไหลของของไหล เปนตน ลักษณะของพลังงาน 2.1 พลังงานกลของวัตถุ พลังงานกลของวัตถุ เปน พลังงานที่อยูในรูปของกลศาสตร คือ อยูในรูปของแรงและการเคลื่อนที่ของวัตถุ ซึ่ง จะแบงออกเปน 2 ลักษณะ คือ 1) พลังงานศักย (Potential Energy ; Ep) พลังงานศักย เปนพลังงานของวัตถุในขณะที่หยุดนิ่ง ซึ่งพลังงานเหลานี้จะเปนการสะสมของงานที่เกิดขึ้น ทําใหวัตถุมีพลังงานเกิดขึ้น แมวัตถุจะหยุดนิ่งอยูก็ตาม พลังงานศักยยังแบงออกเปน 2 ลักษณะ คือ - พลังงานศักยโนมถวง เปนพลังงานในขณะที่วัตถุอยูบนที่สูง ซึ่งคาของพลังงานจะเกิด ขึ้นเมื่อ วัตถุขึ้นไปอยูที่สูง หรือวัตถุถูกยกจากดานลางขึ้นไปอยูที่สูงจะทําใหวัตถุมีพลังงานศักยเกิดขึ้น โดยคาของพลังงานศักยจะมีคาเทากับงานที่ยกวัตถุขึ้นไป Ep = mgh พลังงานศักยโ นมถว งจะถูกนํามาใชในรูป ของงาน โดยการปลอยใหวัตถุต กลงมา เชน การ ตอกเสาเข็มโดยใชปนจั่น การหมุนกังหันโดยน้ําตก เปนตน 65 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

- พลังงานศักยยืดหยุน เปนพลังงานศักยของวัตถุที่ติดกับสปริงที่ถูกทําใหยืดออก หรือหดเขาซึ่ง ในการที่จะยืดสปริงหรือหดสปริงจะตองออกแรงดัน หรือดึงทําใหเกิดงาน แตงานที่เกิดขึ้นจะ ไมเทากับผลคูณของแรงกับระยะทาง เพราะแรงที่ออกมีคาไมคงที่แปรไปตามคาคงที่ของสปริง ที่เรียกวา “คานิจของสปริง (k)” และ “ระยะที่ยืดหรือหด (x)” เราจะหาคาของพลังงานไดจาก

เมื่อ

k เปนคานิจของสปริง หนวยเปน N/m x เปนระยะที่ยืดหรือหด หนวยเปน m

2) พลังงานจลน (Kinetic Energy ; Ek) พลังงานจลน คือพลังงานที่สะสมอยูในวัตถุอันเนื่องจากอัตราเร็วของวัตถุ มีขนาดเทากับงานตานการ เคลื่อนที่ของวัตถุจนหยุดนิ่ง

ภาพที่ 5.1 การเคลื่อนที่ของวัตถุที่มีและไมมีพลังงานจลน เมื่อแรงกระทําตอวัตถุนานขึ้นจะเกิดงานมากขึ้น ในทํานองเดียวกัน วัตถุจะเคลื่อนที่ดวยความเร็วมากขึ้น พลังงานจลนของวัตถุจะมีคามากขึ้นตามความเร็ว ซึ่งคาของพลังงานจลนจะหาไดจาก

เมื่อ

m

คือ มวลของวัตถุ มีหนวยเปน kg

v

คือ ความเร็ว มีหนวยเปน m/s

Ek

คือ พลังงานจลน มีหนวยเปน J

2.2 พลังงานความรอน (DQ) พลังงานความรอนจะมีการเคลื่อนที่ได โดยการเคลื่อนที่ของพลังงานความรอนจะแบงออกเปนลักษณะใหญ ๆ ได 3 แบบ คือ 1) การนําความรอน การนําความรอน เปนการเคลื่อนที่ของพลังงานความรอนผานตัวกลาง ถามีลักษณะเปนโลหะจะนํา ความรอนไดดีกวาอโลหะ ดังนั้น จึงนิยมใชโลหะทําภาชนะที่ใชสําหรับหุงตมอาหาร 66 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

2) การพาความรอน เปนการเคลื่อนที่ของความรอนโดยการไหลไปกับน้ําหรืออากาศ คือ อุณหภูมิสูงจะเคลื่อนที่ขึ้นขางบน สวนอุณหภูมิต่ําจะเคลื่อนเขามาแทนที่ ผลจากการพาความรอน โดยจะใชน้ําหรือลมเปนตัวชวยพาความรอน ออกจากวัตถุตาง ๆ เชน การระบายความรอนในรถยนต 3) การแผรังสี เปนการเคลื่อนที่ของความรอนที่ไมตองอาศัยตัวกลางเปนตัวนําหรือพาความรอน เชน ดวงอาทิตยจะแผ รังสี โดยไมมีตัวนํามายังโลก 2.3 พลังงานคลื่นแมเหล็กไฟฟา คลื่นแมเหล็กไฟฟาเปนคลื่นที่ประกอบดวยสนามแมเหล็ก และสนามไฟฟาเคลื่อนที่ไปพรอมกันในลักษณะตั้งฉาก โดยไมตองอาศัยตัวกลาง เคลื่อนที่ในสุญญากาศหรืออากาศดวยความเร็วสูงเทากับ 3 x 108 m/s คลื่น แมเ หล็กไฟฟา แบงออกหลายชนิดตามความยาวคลื่น และความถี่ แมกซ แพลงค เปนผูที่คนพบพลังงานของคลื่นแมเหล็กไฟฟา จากการดูดกลืนพลังงานของวัตถุดํา พบวาพลังงาน ของคลื่นแมเหล็กไฟฟามีลักษณะเปนกอนพลังงานที่เรียกวา โฟตอน (Photon) พลังงานแตละโฟตอนจะมีความสัมพันธ กับความถี่ของคลื่นตามสูตร

67 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

ใบทดสอบ ตอนที่ 1 คําชี้แจง ใหผูรับการฝกจับคูโจทยและคําตอบใหถูกตอง โดยทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบ ขอ

โจทย

ขอ

คําตอบ

1

W

A

มวล

2

S

B

ความเร็ว

3

X

C

พลังงานจลน

4

K

D

ระยะทาง

5

F

E

คานิจของสปริง

6

Ek

F

งาน

7

V

G

แรง

8

M

H

ระยะที่ยืดหรือหด

9

Ep

I

ความสูง

10

H

J

พลังงานศักย

ตอนที่ 2 คําชี้แจง ใหผูรับการฝกทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบขอที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว 11. พลังงานกลวัตถุ แบงออกเปนพลังงานชนิดใดบาง ก. พลังงานศักย – พลังงานคลื่นแมเหล็กไฟฟา ข. พลังงานจลน – พลังงานศักย ค. พลังงานความรอน – พลังงานคลื่นแมเหล็กไฟฟา ง. พลังงานศักย – พลังงานความรอน

68 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

12. พลังงานที่สะสมอยูในวัตถุอันเนื่องมาจากอัตราเร็วของวัตถุ คือพลังงานชนิดใด ก. พลังงานศักย ข. พลังงานความรอน ค. พลังงานจลน ง. พลังงานคลื่นแมเหล็กไฟฟา 13. ขอใด คือความหมายของพลังงานศักยโนมถวง ก. พลังงานของวัตถุที่ยึดติดกับสปริงที่ถูกทําใหหดเขาหรือยืดออก ข. พลังงานในขณะที่วัตถุอยูบนที่สูง หรือถูกยกจากดานลางขึ้นไปบนที่สูง ค. พลังงานในขณะที่วัตถุกําลังเคลื่อนที่ดวยอัตราเร็ว ง. พลังงานที่เคลื่อนที่ในอากาศหรือสุญญากาศดวยความเร็วสูง 14. ขอใด แสดงถึงการเคลื่อนที่ของพลังงานความรอนที่ไมตองอาศัยตัวกลาง ก. การนําความรอน ข. การพาความรอน ค. การแผรังสีความรอน ง. การถายเทความรอน 15. ขอใด คือหนวยของคานิจของสปริง ก. นิวตันตอเมตร (N/m) ข. เมตร (m) ค. จูล (J) ง. เมตรตอวินาที (m/s)

69 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

กระดาษคําตอบ ตอนที่ 1 จับคู ขอ

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 ตอนที่ 2 ปรนัย ขอ

11 12 13 14 15

70 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

รายละเอียดหัวขอวิชาที่ 6 0921010606 การคํานวณอัตราทด (ใบแนะนํา) 1. ผลลัพธการเรียนรู 1. อธิบายเกี่ยวกับอัตราทดได 2. คํานวณอัตราทดได

2. หัวขอสําคัญ - การคํานวณอัตราทด

3. วิธีการฝกอบรม การฝกอบรมสามารถเลือกได 3 รูปแบบ คือ 1) การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ 2) การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม 3) การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน ดังรายละเอียดในขอแนะนําสําหรับผูรับการฝก

4. อุปกรณชวยฝก อุปกรณชวยฝกสามารถเลือกใชงานได 2 รูปแบบ คือ 1. รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝก เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมิน เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 2. รูปแบบอิเล็กทรอนิกส (Online) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ

71 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

5. การรับการฝกอบรม 1. ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Post-Test) แลวสงใหครูฝกหรือระบบประเมินผลตามวิธีที่เลือกฝกอบรม 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหผูรับการฝกเขาฝกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝกอบรมภาคทฤษฎี ใหผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝก และฝกหัดทําใบทดสอบทายหัวขอวิชา 3. เมื่อผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝกประจําโมดูลนั้นเขาใจแลว ใหทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) แลวสงให ครูฝกหรือระบบประเมินผลเชนเดียวกับแบบทดสอบกอนฝก 4. การฝกอบรมภาคปฏิบัติ ผูรับการฝกอานและทําความเขาใจกับใบงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน และเกณฑการวัด และประเมินผลงาน 5. ผูรับการฝกเขารับการฝกที่ศูนยฝกอบรมที่ลงทะเบียนหรือจองไว 6. ผูรับการฝกอานระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับความปลอดภัยในการฝกของหนวยฝก 7. ผูรับการฝกฟงคําชี้แจงลําดับการปฏิบัติงานตามใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน 8. ผูรับการฝกปฏิบัติงานตามใบงาน แลวสงใหครูฝกตรวจประเมินผล 9. ผูรับการฝกที่คะแนนผลงานผานเกณฑรอยละ 70 สามารถขอทดสอบเพื่อจบโมดูลที่ฝกกับครูฝก

6. การวัดผล 1. ผูรับการฝกสงแบบทดสอบกอนฝก ใหครูฝกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎีตามวิธีที่เลือกฝกอบรม 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2. ผูรับการฝกสงแบบทดสอบหลังฝก ใหครูฝกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎี โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมิน แบบทดสอบกอนฝก 3. ผูรับการฝกสงผลงานในการฝกภาคปฏิบัติใหครูฝกตรวจประเมินผลงานของผูรับการฝก โดยตองผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จึงจะมีสิทธิ์เขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูล ที่ครูฝกกําหนดได

7. บรรณานุกรม การคํานวณหาอัตราทดในเกียรรถยนต. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://www.tatc.ac.th/files/09021213134814_11072610102229.pdf 72 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

ใบขอมูล หัวขอวิชาที่ 6 การคํานวณอัตราทด อัตราทด คือ อัตราสวนของเฟองขับ (เพลาขอเหวี่ยง) ตออัตราสวนของเฟองตาม (ชุดเฟองเกียร) เชน อัตราทด 1 ตอ 3 คือ เมื่อเพลาขอเหวี่ยงหมุน 1 รอบ ชุดเฟองเกียรจะหมุนไป 3 รอบ เปนตน 1. การหาอัตราทดเกียร อั ต ราทดเกี ย ร เป น ป จ จั ย สํ า คั ญ ที่ ตองคํ า นึ งถึ งในการเลือกเฟองเกีย รใหเหมาะกับ รถยนต ยิ่งอัตราทดมีคามาก คา ความเร็วของเฟองและแรงบิดหรือทอรกจะแตกตางกันมาก ตารางที่ 1.1 แสดงตัวอยางอัตราทดเกียรของรถยนต ลําดับเกียร

รถกระบะเกียร ธรรมดา

รถเกงเกียรธรรมดา

รถเกงเกียรออโต

1

4.313

3.545

2.875

2

2.330

2.158

1.568

3

1.436

1.478

1.000

4

1.000

1.129

0.697

5

0.838

0.886

เกียรถอยหลัง

4.220

3.333

2.300

เกียรที่มีอัตราทดสูงจะใหแรงบิดมาก เชน เกียร 1 เกียร 2 ในรถยนตหรือรถจักรยานยนต เรานิยมเรียกวา “เกียรต่ํา” และเกียรที่มีอัตราทดของเฟองต่ําจะใหแรงบิดนอย เชน เกียร 4 และเกียร 5 เรานิยมเรียกวา “เกียรสูง” เราจะใชเกียรต่ํา เมื่อเวลารถออกตัวหรือขึ้นที่ลาดชัน และจะใชเกียรสูงเมื่อขับรถดวยอัตราเร็วพอสมควรอยูแลว และตองการเพิ่มอัตราเร็วให สูงขึ้นตองอาศัยแรงที่มากกวาแรงที่ใชในการออกตัว รวมทั้งการขับรถขึ้นที่ลาดชันก็ตองใชแรงมากกวาการขับรถบนพื้นราบ ดวย

73 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

1.1 การคํานวณหาอัตราทดเกียร กําหนดให

T

คือ จํานวนฟนของเฟองเกียร

in

คือ จํานวนอัตราทดเกียรตาง ๆ

a - h คือ จํานวนเฟองเกียรตาง ๆ ภาพที่ 6.1 โครงสรางของเกียรรถยนตแบบธรรมดา ตัวอยาง ดังนั้น Ta = เฟองขับ Tb = เฟองตาม Tc = เฟองขับ Td = เฟองตาม ดังนั้น จะไดสูตรคือ

in

=

จํานวนฟนเฟองตามคูณกัน จํานวนฟนเฟองขับคูณกัน

in

=

(Tb × Td) (Ta × Tc)

74 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

1.2 การหาความเร็วรอบของเฟองเกียรบนเพลาหลัก กําหนดให N = ความเร็วรอบ (รอบ/นาที) โดยที่โจทยจะกําหนดความเร็วรอบมาให เชน 1500 รอบ/นาที ดังนั้น N

=

ความเร็วรอบของเฟองขับ × จํานวนฟนของเฟองขับ จํานวนฟนของเฟองตาม

N

=

Na × Ta Tb

ตัวอยาง

จากรูปกําหนดใหจํานวนฟนเฟองเกียร คือ Ta = 20 Tb = 35 Tc = 23 Td = 38 Te = 18 Tf = 29 Tg = 26 Th = 16 ใหคํานวณหาดังนี้ 1. จงหาอัตราทดในแตละเกียร 2. กําหนดใหเพลาคลัตชหมุน 1250 รอบ/นาที จงคํานวณหาความเร็วรอบในแตละเกียร

75 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

1.3 จงหาอัตราทดในแตละเกียร วิธีทํา 1.3.1 หาอัตราทดเกียร 1 จากรูป

1) เฟอง a ขบอยูกับเฟอง b 2) เลื่อนเฟอง d มาขบกับเฟอง c d = 38

a = 20

c = 23

b = 35

76 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

1.3.2 หาอัตราทดเกียร 2 จากรูป

1) เฟอง a ขบอยูกับเฟอง b 2) เลื่อนเฟอง f มาขบกับเฟอง e f = 29

a = 20

e = 18

b = 35

1.3.3 หาอัตราทดเกียร 3 จากรูป

1) เลื่อนเฟอง f มาขบกับเฟอง a โดยมีฟนเฟอง i กับเฟอง j รองรับอยู I a

j f

77 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

เปนการสงกําลังโดยตรง เพราะฉะนั้นอัตราทดจะเทากับ 1:1 โดยที่เพลาคลัตชกําหนดมาให 1250 รอบ/ นาที เพลาหลักก็จะหมุน 1250 รอบ/นาที เชนกัน 1.3.4 หาอัตราทดเกียรถอยหลัง R (Reverse) จากรูป

1) เฟอง a ขบอยูกับเฟอง b 2) เลื่อนเฟอง d มาขบกับเฟอง g d = 38

a = 20

g = 26

b = 35

1.4 กําหนดใหเพลาคลัตชหมุน 1250 รอบ/นาที จงคํานวณหาความเร็วรอบ ในแตละเกียร วิธีทํา 1.4.1 คํานวณหาความเร็วรอบของเฟอง b

78 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

1.4.2 คํานวณหาความเร็วรอบของเกียร 1 1) Nb = Nc เพราะอยูบนเพลาเดียวกัน 2) เลื่อนเฟอง d มาขบกับเฟอง c ความเร็วรอบของเฟองขับ x จํานวนฟนเฟองขับ Nd = จํานวนฟนเฟองตาม = = =

∴ ความเร็วรอบของเฟอง d

N c × Tc Td 714.3 × 23 38

432.339 รอบ/นาที =

432.34 รอบ/นาที

1.4.3 คํานวณหาความเร็วรอบของเกียร 2 1) Nb = Ne

เพราะอยูบนเพลาเดียวกัน

2) เลื่อนเฟอง f มาขบกับเฟอง e Nf

=

= = =

ความเร็วรอบของเฟองขับ x จํานวนฟนเฟองขับ จํานวนฟนเฟองตาม

N e × Te Tf

714.3 × 18 29 443.358 รอบ/นาที

79 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

∴ ความเร็วรอบของเฟอง f

=

443.358 รอบ/นาที

1.4.4 คํานวณหาความเร็วรอบของเกียร 3 เลื่อนเฟอง f มาขบกับเฟอง a โดยมีเฟอง i กับเฟอง j รองรับอยู เพราะฉะนั้นเกียร 3 เพลาหลักจะมี ความเร็วเทากับเพลาคลัตช เปนการสงกําลังโดยตรง เมื่อเพลาคลัตชมีความเร็วรอบเทากับ 1250 รอบ/ นาที เพลาหลักก็จะมีความเร็วรอบเทากับ 1250 รอบ/นาที เชนกัน 1.4.5 หาความเร็วรอบของเกียร R 1) คํานวณหาความเร็วรอบของเฟอง h กอน 2) Nb = Ng เพราะอยูบนเพลาเดียวกัน 3) เลื่อนเฟอง d มาขบกับเฟอง h และ g คํานวณหาความเร็วรอบของเฟอง h Nh

ความเร็วรอบของเฟองขับxจํานวนฟนของเฟองขับ

=

N g × Tg Th

=

∴ ความเร็วรอบของเฟอง h

จํานวนฟนของเฟองตาม 714.3 × 26 16

=

=

1160.8 รอบ/นาที

1160.8 รอบ/นาที

1.4.6 หาความเร็วรอบของเกียร R ND

หรือ

N g × Tg

=

=

ความเร็วรอบของเฟองขับxจํานวนฟนของเฟองขับ จํานวนฟนของเฟองตาม

N h × Th Td

Td 1160.8 × 16 714.3 × 26 = 38 38 488.73 รอบ/นาที = 488.75 รอบ/นาที ∴ ความเร็วรอบของเฟอง d เพลาหลักจะหมุน = 488.73 รอบ/นาที 80 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

2. การหารอบของพูลเลย จะกําหนดให

ดังนั้น

d1

=

ขนาดเสนผานศูนยกลางของพูลเลยตัวที่ 1

d2

=

ขนาดเสนผานศูนยกลางของพูลเลยตัวที่ 2

n1

=

ความเร็วรอบของพูลเลยตัวที่ 1

n2

=

ความเร็วรอบของพูลเลยตัวที่ 2

n2

=

ขนาดเสนผานศูนยกลางของพูลเลยตัวที่ 1 × ความเร็วรอบของพูลเลยตัวที่ 1

n2

=

d 1 × n1

ตัวอยาง

ขนาดเสนผานศูนยกลางของพูลเลยตัวที่ 2

d2

จงคํานวณหาความเร็วรอบของพูลเลยตัวที่ 2

ใหคํานวณหาดังนี้ 1) คํานวณหาความเร็วรอบของพูลเลยตัวที่ 2 2) คํานวณหาอัตราทดพูลเลย

81 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

2.1 คํานวณหาความเร็วรอบของพูลเลยตัวที่ 2 วิธีทํา กําหนดให d1 = 270 มิลลิเมตร จากสูตร

d2 = 80 มิลลิเมตร

n2

=

n2

=

n2

=

d 1 × n1

d2 270 × 1300 80

4,388 รอบ/นาที

2.2 คํานวณหาอัตราทดพูลเลย วิธีทํา จากสูตร

i

= = =

n1

n2 1300

4388

0.3

ดังนั้น อัตราทด (i) เทากับ 0.3 : 1

จากสูตร

i

= = =

n2

n1 80

270

0.3

ดังนั้น อัตราทด (i) เทากับ 0.3 : 1

82 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

n1 = 1300 รอบ/นาที


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

ใบทดสอบ คําชี้แจง ใหผูรับการฝกทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบขอที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว 1. ขอใด คือ ความหมายของอัตราทด ก. อัตราสวนระหวางพูลเลย กับ ชุดเฟองเกียร ข. อัตราสวนระหวางพูลเลย กับ เพลาขอเหวี่ยง ค. อัตราสวนระหวางเพลาขอเหวี่ยง กับ พูลเลย ง. อัตราสวนระหวางเฟองขับ กับ เฟองตาม 2. ในการคํานวณหาอัตราทดเกียร ตัวแปร T มีความหมายวาอะไร ก. จํานวนอัตราทดเกียร ข. จํานวนฟนของเฟองเกียร ค. จํานวนรอบของเฟองขับ ง. จํานวนรอบของเฟองตาม 3. ในการคํานวณหาอัตราทดเกียร ตัวแปร Na มีความหมายวาอะไร ก. จํานวนอัตราทดเกียร ข. จํานวนฟนของเฟองเกียร ค. จํานวนรอบของเฟองขับ ง. จํานวนรอบของเฟองตาม 4. ความเร็วรอบของเฟองเกียรบนเพลาหลัก สามารถคํานวณไดโดยใชสูตรใด ก. ข. ค. ง.

Na × Ta

Tb d 1 × n1

d2 Tb × Td Ta d 2 × n2 n1

83 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

จากภาพ จงตอบคําถาม ขอ 5-8

5. ขอใด คือตําแหนงของเฟองขับ ก. a และ b ข. a และ c ค. b และ c ง. b และ d

6.

เมื่อนําจํานวนฟนของเฟองขับทั้งหมดมาบวกกัน จะไดเทากับเทาไหร ก. 49 ข. 55 ค. 64 ง. 59

84 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

7.

เมื่อนําจํานวนฟนของเฟองตามทั้งหมดมาคูณกัน จะไดเทากับเทาไหร ก. 580 ข. 700 ค. 1,015 ง. 870

8.

ขอใด คืออัตราทดเกียรที่คํานวณไดตามภาพ ก. 1.24 : 1 ข. 0.88 : 1 ค. 1.69 : 1 ง. 0.59 : 1

9. กําหนดให เสนผานศูนยกลางของพูลเลยตัวที่ 1 และตัวที่ 2 เทากับ 125 และ 50 มิลลิเมตร ตามลําดับ โดยความเร็ว รอบของพูลเลยตัวที่ 2 เทากับ 100 รอบตอนาที จงหาความเร็วรอบของพูลเลยตัวที่ 1 ก. 25 รอบตอนาที ข. 30 รอบตอนาที 85 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

ค. 50 รอบตอนาที ง. 40 รอบตอนาที 10. กําหนดให เสนผานศูนยกลางของพูลเลยตัวที่ 2 เทากับ 80 มิลลิเมตร ความเร็วรอบของพูลเลยตัวที่ 2 เทากับ 40 รอบ ตอนาที และความเร็วรอบของพูลเลยตัวที่ 1 เทากับ 100 รอบตอนาที จงหาเสนผานศูนยกลางของพูลเลยตัวที่ 1 ก. 46 มิลลิเมตร ข. 28 มิลลิเมตร ค. 64 มิลลิเมตร ง. 32 มิลลิเมตร

86 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

กระดาษคําตอบ ขอ

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

87 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

ใบงาน ใบงานที่ 6.1 การคํานวณหาอัตราทดเฟองเกียร 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. คํานวณอัตราทดได 2. ปฏิบัติงานคํานวณอัตราทดได 3. ปฏิบัติงานโดยคํานึงถึงความปลอดภัย

2. ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงาน - ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงานรวม 45 นาที 3. คําชี้แจง ใหผูรับการฝกคํานวณหาอัตราทดเฟองเกียรและความเร็วรอบตามที่โจทยกําหนด พรอมทั้งแสดงวิธีทํา

1. คํานวณอัตราทดเฟองเกียร โดยกําหนดให เฟองขับที่ 1 (Ta)

= 24 ฟน

เฟองตามที่ 1 (Tb)

= 48 ฟน

เฟองขับที่ 2 (Tc)

= 40 ฟน

เฟองตามที่ 2 (Td)

= 120 ฟน

สูตรการคํานวณอัตราทดเฟองเกียร

=

= 88 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

จํานวนฟนเฟองตามคูณกัน จํานวนฟนเฟองขับคูณกัน (Tb × Td) (Ta × Tc)


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

2. คํานวณความเร็วรอบของเฟองตามที่ 2 (Td) โดยกําหนดให เพลาคลัตชหมุนที่ 1,500 รอบตอนาที (ในแตละเกียร) สูตรการคํานวณความเร็วรอบ

N

N

=

ความเร็วรอบของเฟองขับ × จํานวนฟนของเฟอง จํานวนฟนของเฟองตาม

=

89 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

Na × Ta Tb


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ 6.1 การคํานวณหาอัตราทดเฟองเกียร 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับใบงาน 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้น ที่ปฏิ บัติงาน ไมใหมีอุปกรณ อื่น ๆ ที่ไมเกี่ยวข อง หรือวัสดุอันตราย เชน สายไฟฟ า วางกีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมอุปกรณปฐมพยาบาลเบื้องตน ในกรณีเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัติงาน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตาง ๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน 1. กระดาษ A4 (สีขาว)

จํานวน 1 ชุด

2. ปากกา

จํานวน 1 ดาม

3. ดินสอ

จํานวน 1 แทง

90 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

2. ลําดับการปฏิบัติงาน การคํานวณหาอัตราทดเฟองเกียร ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คําอธิบาย

1. เตรียมวัสดุ

เตรียมกระดาษและเครื่องเขียนใหพรอม

2. คํานวณหาอัตราทดเฟองเกียรและความเร็วรอบ

อ า นโจทย และคํ า นวณค า อั ต ราทด เฟ อ งเกี ย ร แ ละความเร็ ว รอบตามที่ โจทย กํ า หนด โดยแสดงวิ ธี ทํ า อย า ง ละเอียดลงในกระดาษ

3. ตรวจสอบความถูกตอง

ตรวจสอบความถูก ตอ งของคํ า ตอบ อีกครั้ง

4. ทําความสะอาดและจัดเก็บวัสดุ

ทํ า ค ว า ม ส ะ อ า ด บ ริ เ ว ณ ส ถ า น ที่ ปฏิบัติงาน และจัดเก็บ เครื่องมื อ และ อุปกรณใหเรียบรอย

91 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

3. ตรวจสอบการทํางาน ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับที่

รายการตรวจสอบ

เกณฑการพิจารณา

1

เตรียมวัสดุอยางถูกตองและครบถวน

ความถูกตองตามวิธีการใชงาน

2

การปฏิ บั ติ ง านได ถู ก ต อ ง เป น ไปตามลํ า ดั บ ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ขั้นตอน

3

การแสดงวิธีทําตามโจทยขอที่ 1

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

4

การแสดงวิธีทําตามโจทยขอที่ 2

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

5

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

6

การจัดเก็บวัสดุหลังปฏิบัติงาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

7

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ทันเวลาที่กําหนด

92 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ลําดับที่

1

รายการตรวจสอบ

เตรียมวัสดุอยางถูกตองและครบถวน

ขอกําหนดในการใหคะแนน

เตรียมวัสดุอยางถูกตอง ครบถวนทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน

คะแนน เต็ม

3

เตรียมวัสดุไมครบถวน หรือ ไมถกู ตอง อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน เตรียมวัสดุกรณไมครบถวนและไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2

การปฏิบัติงานไดถูกตอง เปนไปตามลําดับขั้นตอน

ถูกตองและเปนไปตามลําดับขั้นตอน

3

ใหคะแนน 3 คะแนน ถูกตอง แตสลับขั้นตอนปฏิบัติงานในบางขั้นตอน ใหคะแนน 2 คะแนน ถูกตอง แตปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 1 คะแนน ไมถูกตอง และปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 3

การแสดงวิธีทาํ ตามโจทยขอ ที่ 1

แสดงวิธีทําไดถูกตอง ครบถวน

5

ใหคะแนน 5 คะแนน แสดงวิธีทําไดถูกตอง แตคําตอบไมถูกตอง ใหคะแนน 3 คะแนน แสดงวิธีทําไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 4

การแสดงวิธีทําตามโจทยขอที่ 2

แสดงวิธีทําไดถูกตอง ครบถวน

5

ใหคะแนน 5 คะแนน แสดงวิธีทําไดถูกตอง แตคําตอบไมถูกตอง ใหคะแนน 3 คะแนน แสดงวิธีทําไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 5

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไดสะอาดเรียบรอย และครบทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน

93 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

3

คะแนนที่ได


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

ลําดับที่

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดในการใหคะแนน

คะแนน เต็ม

คะแนนที่ได

ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย หรือไมครบทุกชิ้น อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย และไมครบทุกชิ้น ใหคะแนน 1 คะแนน ไมทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 6

จัดเก็บวัสดุหลังปฏิบัติงาน

จัดเก็บวัสดุอยางถูกตอง ครบถวนทุกชิ้น

3

ใหคะแนน 3 คะแนน จัดเก็บวัสดุไมถูกตองและไมครบถวน หรือ ไมจัดเก็บวัสดุ ใหคะแนน 0 คะแนน 7

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ปฏิบัติงานไดอยางสมบูรณภายในเวลาทีก่ ําหนด

3

ใหคะแนน 3 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดไมเกิน 5 นาที ใหคะแนน 2 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดมากกวา 5 นาที ใหคะแนน 1 คะแนน คะแนนเต็ม

25

หมายเหตุ หากผูเขารับการฝกไดรับคะแนน 18 คะแนนขึ้นไป (คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70) ใหผูเขารับการฝก ขอเขารับการทดสอบภาคปฏิบัติได

94 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

ใบงาน ใบงานที่ 6.2 การคํานวณหาอัตราทดพูลเลย 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. คํานวณอัตราทดได 2. ปฏิบัติงานคํานวณอัตราทดได 3. ปฏิบัติงานโดยคํานึงถึงความปลอดภัย

2. ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงาน - ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงานรวม 45 นาที 3. คําชี้แจง ใหผูรับการฝกคํานวณหาอัตราทดพูลเลยและความเร็วรอบตามที่โจทยกําหนด พรอมทั้งแสดงวิธีทํา โดยกําหนดให เสนผานศูนยกลางของพูลเลยขับ (d1 )

= 150 มิลลิเมตร

เสนผานศูนยกลางของพูลเลยตาม (d2 )

= 90 มิลลิเมตร

ความเร็วรอบของพูลเลยขับ (n1 )

= 1,500 รอบตอนาที

95 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ 6.2 การคํานวณหาอัตราทดพูลเลย 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับใบงาน 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้น ที่ปฏิ บัติงาน ไมใหมีอุปกรณ อื่น ๆ ที่ไมเกี่ยวข อง หรือวัสดุอันตราย เชน สายไฟฟ า วางกีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมอุปกรณปฐมพยาบาลเบื้องตน ในกรณีเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัติงาน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตาง ๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน 1. กระดาษ A4 (สีขาว)

จํานวน 1 ชุด

2. ปากกา

จํานวน 1 ดาม

3. ดินสอ

จํานวน 1 แทง

96 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

2. ลําดับการปฏิบัติงาน การคํานวณหาอัตราทดพูลเลย ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1. เตรียมวัสดุ

คําอธิบาย เตรียมกระดาษและเครื่องเขียนให พรอม

2. คํานวณหาอัตราทดพูลเลยและความเร็วรอบ

อานโจทย และคํานวณคาอัตราทดพูลเลย และความเร็วรอบตามที่โจทยกําหนด โดยแสดงวิ ธี ทํ า อย า งละเอี ย ดลงใน กระดาษ

3. ตรวจสอบความถูกตอง

ตรวจสอบความถูกตองของคําตอบอีก ครั้ง

4. ทําความสะอาดและจัดเก็บวัสดุ

ทํ า ค ว า ม ส ะ อ า ด บ ริ เ ว ณ ส ถ า น ที่ ปฏิบัติงาน และจัดเก็บ เครื่องมือและ อุปกรณใหเรียบรอย

97 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

3. ตรวจสอบการทํางาน ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับที่

รายการตรวจสอบ

เกณฑการพิจารณา

1

เตรียมวัสดุอยางถูกตองและครบถวน

ความถูกตองตามวิธีการใชงาน

2

การปฏิ บั ติ ง านได ถู ก ต อ ง เป น ไปตามลํ า ดั บ ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ขั้นตอน

3

การแสดงวิธีทําตามโจทยขอที่ 1

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

4

การแสดงวิธีทําตามโจทยขอที่ 2

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

5

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

6

การจัดเก็บวัสดุหลังปฏิบัติงาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

7

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ทันเวลาที่กําหนด

98 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ลําดับที่

1

รายการตรวจสอบ

เตรียมวัสดุอยางถูกตองและครบถวน

ขอกําหนดในการใหคะแนน

เตรียมวัสดุอยางถูกตอง ครบถวนทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน

คะแนน เต็ม

3

เตรียมวัสดุไมครบถวน หรือ ไมถกู ตอง อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน เตรียมวัสดุกรณไมครบถวนและไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2

การปฏิบัติงานไดถูกตอง เปนไปตามลําดับขั้นตอน

ถูกตองและเปนไปตามลําดับขั้นตอน

3

ใหคะแนน 3 คะแนน ถูกตอง แตสลับขั้นตอนปฏิบัติงานในบางขั้นตอน ใหคะแนน 2 คะแนน ถูกตอง แตปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 1 คะแนน ไมถูกตอง และปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 3

การแสดงวิธีทาํ ตามโจทยขอ ที่ 1

แสดงวิธีทําไดถูกตอง ครบถวน

5

ใหคะแนน 5 คะแนน แสดงวิธีทําไดถูกตอง แตคําตอบไมถูกตอง ใหคะแนน 3 คะแนน แสดงวิธีทําไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 4

การแสดงวิธีทําตามโจทยขอที่ 2

แสดงวิธีทําไดถูกตอง ครบถวน

5

ใหคะแนน 5 คะแนน แสดงวิธีทําไดถูกตอง แตคําตอบไมถูกตอง ใหคะแนน 3 คะแนน แสดงวิธีทําไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 5

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไดสะอาดเรียบรอย และครบทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน

99 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

3

คะแนนที่ได


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

ลําดับที่

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดในการใหคะแนน

คะแนน เต็ม

คะแนนที่ได

ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย หรือไมครบทุกชิ้น อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย และไมครบทุกชิ้น ใหคะแนน 1 คะแนน ไมทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 6

จัดเก็บวัสดุหลังปฏิบัติงาน

จัดเก็บวัสดุอยางถูกตอง ครบถวนทุกชิ้น

3

ใหคะแนน 3 คะแนน จัดเก็บวัสดุไมถูกตองและไมครบถวน หรือ ไมจัดเก็บวัสดุ ใหคะแนน 0 คะแนน 7

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ปฏิบัติงานไดอยางสมบูรณภายในเวลาทีก่ ําหนด

3

ใหคะแนน 3 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดไมเกิน 5 นาที ใหคะแนน 2 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดมากกวา 5 นาที ใหคะแนน 1 คะแนน คะแนนเต็ม

25

หมายเหตุ หากผูเขารับการฝกไดรับคะแนน 18 คะแนนขึ้นไป (คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70) ใหผูเขารับการฝก ขอเขารับการทดสอบภาคปฏิบัติได

100 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

รายละเอียดหัวขอวิชาที่ 7 0921010607 หลักการของไฮดรอลิกที่เกี่ยวกับการทํางาน (ใบแนะนํา) 1. ผลลัพธการเรียนรู - อธิบายหลักการของไฮดรอลิกที่เกี่ยวกับการทํางาน

2. หัวขอสําคัญ - หลักการของไฮดรอลิก

3. วิธีการฝกอบรม การฝกอบรมสามารถเลือกได 3 รูปแบบ คือ 1) การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ 2) การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม 3) การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน ดังรายละเอียดในขอแนะนําสําหรับผูรับการฝก

4. อุปกรณชวยฝก อุปกรณชวยฝกสามารถเลือกใชงานได 2 รูปแบบ คือ 1. รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝก เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมิน เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 2. รูปแบบอิเล็กทรอนิกส (Online) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ

101 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

5. การรับการฝกอบรม 1. ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Post-Test) แลวสงใหครูฝกหรือระบบประเมินผลตามวิธีที่เลือกฝกอบรม 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหผูรับการฝกเขาฝกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝกอบรมภาคทฤษฎี ใหผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝก และฝกหัดทําใบทดสอบทายหัวขอวิชา 3. เมื่อผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝกประจําโมดูลนั้นเขาใจแลว ใหทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) แลวสงให ครูฝกหรือระบบประเมินผลเชนเดียวกับแบบทดสอบกอนฝก

6. การวัดผล 1. ผูรับการฝกสงแบบทดสอบกอนฝก ใหครูฝกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎีตามวิธีที่เลือกฝกอบรม 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2. ผูรับการฝกสงแบบทดสอบหลังฝก ใหครูฝกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎี โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมิน แบบทดสอบกอนฝก

7. บรรณานุกรม ระบบเบรก. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://eng.sut.ac.th/me/meold/2_2552/436301/auto%20bak.pdf

102 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

ใบขอมูล หัวขอวิชาที่ 7 หลักการของไฮดรอลิกที่เกี่ยวกับการทํางาน 1. ระบบไฮดรอลิก (Hydraulic) ระบบไฮดรอลิก คือ ระบบการสรา งควบคุมและถายทอดพลังงานและกําลังงาน โดยการอัดน้ํามัน ไฮดรอลิกไปให อุปกรณเปลี่ยนความดันของน้ํามันไฮดรอลิก (Hydraulic Oil) เปนพลังงานกล หรือ ไปชุดงาน โดยระบบตองอาศัยอุปกรณ หลัก ๆ ดังนี้

ภาพที่ 7.1 อุปกรณของไฮดรอลิก 1) ปมไฮดรอลิก (Hydraulic Pump) อุปกรณสรางความดันน้ํามันใหสูงขึ้น 2) วาลวไฮดรอลิก (Hydraulic Valve) อุปกรณควบคุมแรงดัน, อุปกรณควบคุมการไหล, อุปกรณควบคุมทิศทาง 3) อุปกรณ Actuator หรือ กระบอกสูบไฮดรอลิก (Hydraulic Cylinder) อุปกรณที่ใชสําหรับเปลี่ยนกําลังงาน ความดัน และความเร็วของน้ํามันไฮดรอลิกเปนกําลังงานกลในแนวเสนตรง เพื่อนําไปใชในการขับเคลื่อน อุปกรณตาง ๆ ในการดัน ยก ดึง หรือขับเคลื่อนชิ้นงาน 4) ทอไฮดรอลิก (Hydraulic Pipe) สําหรับสงผานน้ํามันไฮดรอลิกไปยังอุปกรณไฮดรอลิกตาง ๆ 5) น้ํามันไฮดรอลิก (Hydraulic Oil) เปนของเหลวที่สงผานความดันใหเปนพลังงานกล 6) ถังน้ํามันไฮดรอลิก (Oil tank, Reservoir) เก็บน้ํามัน ปรับสภาพน้ํามันใหสะอาดและมีอุณหภูมิเหมาะสมกับ การใชงาน 7) กรองน้ํามันไฮดรอลิก (Filter) กรอง-ดักจับสิ่งสกปรก ฝุนผง เศษโลหะ ที่มาพรอมกับน้ํามันภายในรถยนต หลักการทํางานของระบบไฮดรอลิกถูกนํามาใชกับระบบเบรก เมื่อเหยียบแปนเบรกจะเปนไปตามหลักการ ของคานดีด คานงัดคือ ออกแรงเพียงเล็กนอยจะเกิดเปนแรงที่มากขึ้นไปยังแมปมเบรก แลวเปลี่ยนไปเปน แรงดันไฮดรอลิกสงผานทางทอนํ้ามันเบรกไปยังกระบอกเบรกแตละตัว แลวสงไปยังผาเบรกและผาดิสกเบรก 103 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

เพื่อสรางแรงเบรกตามกฎของปาสคาล แรงดันจากภายนอกที่อัดน้ํามันจํานวนจํากัดจะถูกสงเปนหนวยเดียว ไปยังทุกทิศทาง ซึ่งเมื่อใชหลักการนี้กับวงจรไฮดรอลิกในระบบเบรก แรงดันที่เกิดขึ้นในแมปมเบรกจะถูก สงไปยังทุกกระบอกเบรกเทา ๆ กัน แตแรงเบรกจะแตกตางกันไปตามขนาดเสนผานศูนยกลางของกระบอก เบรก

ภาพที่ 7.2 ระบบเบรกรถยนต

104 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

ใบทดสอบ คําชี้แจง ใหผูรับการฝกพิจารณาขอความตอไปนี้วา ถูก หรือ ผิด และทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบ ถูก

ผิด

ขอความ 1. ระบบไฮดรอลิก ทํางานโดยอัดน้ํามัน ไฮดรอลิกไปใหอุป กรณเ ปลี่ย นความดัน ของน้ํามันไฮดรอลิกเปนพลังงานกล 2. วาลวไฮดรอลิก คือ อุปกรณสรางความดันน้ํามันใหสูงขึ้น 3. กระบอกสูบไฮดรอลิก คือ อุปกรณที่ใชสําหรับเปลี่ยนกําลังงาน ความดัน และ ความเร็วของน้ํามันไฮดรอลิกเปนกําลังงานกลในแนวเสนตรง 4. Hydraulic pipe ใชสําหรับสงผานพลังงานกลไปยังอุปกรณไฮดรอลิกตาง ๆ 5. ระบบเบรก คือหนึ่งในระบบการทํางานที่ใชหลักการเดียวกับระบบไฮดรอลิก 6. ถังน้ํามันไฮดรอลิก ใชสําหรับสงน้ํามันไฮดรอลิกไปใหอุปกรณตาง ๆ ในระบบ 7.อุปกรณควบคุมการไหลหรือแรงดัน เรียกวา วาลวไฮดรอลิก 8. แรงเบรกจะแตกตางกันไปตามขนาดของเสนผานศูนยกลางของกระบอกเบรก 9. น้ํามันไฮดรอลิก คือ ของเหลวที่ทําใหพลังงานกลกลายสภาพเปนแรงดัน 10.เมื่อออกแรงเหยียบที่แปนเบรกเพียงเล็กนอย จะเกิดเปนแรงที่มากขึ้นไปยังแมปม เบรก แลวเปลี่ยนเปนแรงดันไฮดรอลิก

105 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

กระดาษคําตอบ ขอ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

ถูก

ผิด

106 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

คณะผูจัดทําโครงการ คณะผูบริหาร 1. นายสุทธิ

สุโกศล

อธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน

2. นางถวิล

เพิ่มเพียรสิน

รองอธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน

3. นายธวัช

เบญจาทิกุล

รองอธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน

4. นายสุรพล

พลอยสุข

รองอธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน

5. วาที่รอยตรี สมศักดิ์ พรหมดํา

ผูอํานวยการสํานักพัฒนาผูฝกและเทคโนโลยีการฝก

6. นางเพ็ญประภา

ศิริรัตน

ผูอํานวยการกลุมงานพัฒนาระบบการฝก

7. นายวัชรพงษ

มุขเชิด

ผูอํานวยการสํานักงานรับรองความรูความสามารถ

คําเงิน

ภาควิชาวิศวกรรมโทรคมนาคม คณะวิศวกรรมศาสตร

คณะที่ปรึกษาโครงการ 1. ผศ. ดร. มนตรี

สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 2. รศ. ดร. วิสุทธิ์

สุนทรกนกพงศ

ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟาสื่อสาร คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

3. ผศ. สันติ

ตันตระกูล

ภาควิชาครุศาสตรวิศวกรรม คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

4. นายสุระชัย

พิมพสาลี

ภาควิชาครุศาสตรวิศวกรรม คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

5. นายวินัย

ใจกลา

ภาควิชาครุศาสตรวิศวกรรม คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

6. นายวราวิช

กําภู ณ อยุธยา

สํานักบริหารงานวิจัยและนวัตกรรมพระจอมเกลาลาดกระบัง สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

7. นายมนตรี

ประชารัตน

แผนกวิชาชางไฟฟา วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี

8. นายธเนศ

วงควัฒนานุรักษ

แผนกวิชาชางไฟฟา วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี

9. นายณัฐวุฒิ

เสรีธรรม

แผนกวิชาชางไฟฟา วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี

10. นายหาญยงค

หอสุขสิริ

แผนกวิชาโลหะการ วิทยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษก มหานคร

11. นายสวัสดิ์

บุญเถื่อน แผนกวิชาชางยนต วิทยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษก มหานคร 107 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 3

108 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.