คู่มือผู้รับการฝึก ช่างเครื่องปรับอากาศ ระดับ 2 โมดูล 4

Page 1

หน้าปก



คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 4

คู่มือผู้รับการฝึก 0920164170202 สาขาช่างเครื่องปรับอากาศในบ้าน และการพาณิชย์ขนาดเล็ก ระดับ 2

ชุดการฝึกตามความสามารถ (CBT)

โมดูลการฝึกที่ 4 09217208 หลักการทางานของมอเตอร์ไฟฟ้า 1 เฟสและ 3 เฟส (Single/ Three Phase Motor) การต่อมอเตอร์หลายความเร็ว กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน



คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 4

คานา คู่มือผู้รับการฝึก สาขาช่างเครื่องปรับอากาศในบ้านและการพาณิชย์ขนาดเล็ก ระดับ 2 โมดูล 4 หลักการทางาน ของมอเตอร์ไฟฟ้า 1 เฟสและ 3 เฟส(Single/ Three Phase Motor) การต่อมอเตอร์หลายความเร็ว ฉบับนี้ เป็นส่วนหนึ่ง ของหลักสูตรฝึกอบรมฝีมือแรงงานตามความสามารถ (Competency Based Training : CBT) ซึ่งพัฒนาขึ้นเพื่อใช้เป็นเอกสาร ประกอบการจัดการฝึกอบรมกับชุดการฝึกตามความสามารถ โดยได้ดาเนินการภายใต้โครงการพัฒนาระบบฝึกและชุดการฝึก ตามความสามารถเพื่อการพัฒนาฝีมือแรงงาน ด้วยระบบการฝึ กตามความสามารถ (Competency Based Workforce Skill Training System) พ.ศ. 2560 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ผู้รับการฝึกได้ใช้เป็นเครื่องมือในการฝึกอบรมให้เป็นไปตามหลักสูตร กล่าวคือ หลังเรียนจบโมดูลการฝึก ผู้รับการฝึกสามารถอธิบายหลักการทางานของมอเตอร์ไฟฟ้า 1 เฟส 3 เฟส วิธีการต่อ มอเตอร์ ต่อมอเตอร์หลายความเร็วได้อย่างถูกต้อง ระบบการฝึกอบรมตามความสามารถเป็นระบบการฝึกอบรมที่ส่งเสริมให้ผู้รับการฝึกอบรมสามารถฝึกฝนเรียนรู้ได้ ตามพื้นฐานความสามารถของตนในเวลาที่มีความสะดวก โดยเน้นในเรื่องของการส่งมอบการฝึกอบรมที่หลากหลายไปให้แก่ ผู้ รับการฝึ กอบรม และต้องการให้ ผู้ รั บ การฝึ ก อบรมเกิด การเรี ยนรู้ ด้ว ยตนเอง การฝึ กปฏิบัติจะด าเนิน การในรู ป แบบ Learning by Doing และเน้นผลลัพธ์การฝึกอบรมในการที่ทาให้ผู้รับการฝึกอบรมมีความสามารถในการปฏิบัติงานตามที่ ตลาดแรงงานต้องการ โดยยึดความสามารถของผู้รับ การฝึกเป็นหลัก การฝึกอบรมในระบบดังกล่าว จึงเป็นรูปแบบการ ฝึกอบรมที่สามารถรองรับการพัฒนารายบุคคลได้เป็นอย่างดี นอกจากนี้ เนื้อหาวิชาในหลักสูตรการฝึกตามความสามารถ (Competency Based Curriculum : CBC) ซึ่งได้จากการวิเคราะห์งานอาชีพ (Job Analysis) ในแต่ละสาขาอาชีพ จะถูก กาหนดเป็นรายการความสามารถหรือสมรรถนะ (Competency) ที่ผู้รับการฝึกอบรมจาเป็นต้องใช้ในการปฏิบัติงาน และ สอดคล้องกับความต้องการของสถานประกอบกิจการและภาคอุตสาหกรรม ซึ่งผู้รับการฝึกจะต้องเรียนรู้และฝึกฝนจนกว่าจะ สามารถปฏิบัติเองได้ ตามมาตรฐานที่กาหนดในแต่ ละรายการความสามารถ ทั้งนี้ การส่งมอบการฝึก สามารถดาเนินการได้ ทั้งรูปแบบการเรียนรู้ผ่านสื่อสิ่งพิมพ์ (Paper Based) และผ่านสื่อคอมพิวเตอร์ (Computer Based) โดยผู้รับการฝึกสามารถ เรียนรู้ได้ด้วยตนเอง (Self-Learning) ที่บ้านหรือที่ทางาน และเข้ารับการฝึกภาคปฏิบัติตามความพร้อม ตามความสะดวก ของตน หรือตามแผนการฝึก หรือตามตารางการนัดหมาย การฝึกหรือทดสอบประเมินผลความรู้ความสามารถกับหน่วยฝึก โดยมีครูฝึกหรือผู้สอนคอยให้คาปรึกษา แนะนาและจัดเตรียมการฝึกภาคปฏิบัติ รวมถึงจัดเตรียมและดาเนินการทดสอบ ประเมินผลในลักษณะต่าง ๆ อันจะทาให้สามารถเพิ่มจานวนผู้รับการฝึกได้มากยิ่งขึ้น ช่วยประหยัดเวลาในการเดินทาง และ ประหยั ดงบประมาณค่าใช้จ่ ายในการพัฒ นาฝี มือแรงงานให้ แก่กาลั งแรงงานในระยะยาว จึงถือเป็นรูปแบบการฝึ กที่มี ความสาคัญต่อการพัฒนาฝีมือแรงงาน ทั้งในปัจจุบันและอนาคต ซึ่งหากมีการนาระบบการฝึกอบรมตามความสามารถมาใช้ ในการพัฒนาฝีมือแรงงาน จะช่วยทาให้ประชาชน ผู้ใช้แรงงานผู้ว่างงาน นักเรียน นักศึกษา และผู้ประกอบอาชีพอิสระ สามารถเข้าถึงการฝึกอบรมเพื่อพัฒนาตนเองได้อย่างสะดวก และได้รับประโยชน์อย่างทั่วถึงมากยิ่งขึ้น กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน

ก กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน



คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 4

สารบัญ เรื่อง

หน้า

คานา

สารบัญ

ข้อแนะนาสาหรับผู้รับการฝึก

1

โมดูลการฝึกที่ 4 09217208 หลักการทางานของมอเตอร์ไฟฟ้า 1 เฟส และ 3 เฟส (Single/Three Phase Motor) การต่อมอเตอร์หลายความเร็ว หัวข้อวิชาที่ 1 0921720801 หลักการทางานของมอเตอร์ไฟฟ้า หัวข้อวิชาที่ 2 0921720802 การต่อมอเตอร์หลายความเร็ว คณะผู้จัดทาโครงการ

ข กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน

14 25 44



คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 4

ข้อแนะนาสาหรับผูร้ ับการฝึก ข้อแนะนาสาหรับผู้รับการฝึก คือ คาอธิบายเกี่ยวกับรายละเอียดของคู่มือ และขั้นตอนการเข้ารับการฝึก ซึ่งมีอยู่ด้วยกัน 6 ข้อ ดังนี้

1. รายละเอียดของคู่มือ 1.1 โมดูลการฝึก / หัวข้อวิชา หมายถึง โมดูลการฝึกที่ครูฝึกต้องจัดการฝึกอบรม โดยภายในโมดูลจะประกอบไปด้วย หัว ข้อ วิช าที ่ ผู ้ร ับ การฝึก ต้อ งเรีย นรู ้แ ละฝึก ฝน ซึ ่ง มีร หัส โมดูล และรหัส หัว ข้อ วิช าเป็น ตัว ก าหนด ความสามารถที่ต้องเรีย นรู้ 1.2 ระยะเวลาการฝึก หมายถึง จานวนชั่วโมงในการฝึกอบรม เพื่อให้บรรลุตามวัตถุประสงค์ของแต่ละโมดูล 1.3 ระบบการฝึกตามความสามารถ (CBT) หมายถึง ระบบการฝึกที่เกิดจากการนาความรู้ ทักษะ ความสามารถ (Competency) ที่จาเป็นสาหรับการทางานมาเป็นฐาน (Based) ของการจัดฝึกอบรม หรือนามากาหนดเป็น เนื้ อ หา (Content) และเกณฑ์ก ารประเมิน การฝึก อบรม ท าให้ผู ้ร ับ การฝึก อบรมมีค วามสามารถ (Competency) ตามเกณฑ์มาตรฐานที่กาหนด และตามความสามารถในการเรียนรู้ของผู้รับการฝึกเป็นหลัก 1.4 ชุ ด การฝึ ก หมายถึ ง สื่ อ สิ่ ง พิ ม พ์ และสื่ อ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ ใช้ ส าหรั บ เป็ น อุ ป กรณ์ ช่ ว ยฝึ ก โดยแต่ ล ะโมดู ล ประกอบด้วย คู่มือครูฝึก คู่มือผู้รับการฝึก คู่มือประเมิน สื่อวีดิทัศน์ 1.5 ระบบจั ด การฝึ ก ด้ ว ยคอมพิ ว เตอร์ (Computer Managed Instruction : CMI) หมายถึ ง การน าระบบ คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ซึ่งใช้ในการจัดการเรียนรู้และฝึกอบรม เช่น ระบบรับสมัครออนไลน์ ระบบลงทะเบียนเข้ารับการฝึกอบรมออนไลน์ ระบบการฝึกอบรมภาคทฤษฎีผ่านอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์หรือ อุป กรณ์สื ่อ สารแบบพกพา การทดสอบออนไลน์ การบันทึกผลการฝึ ก อัตโนมัติ และการออกใบวุ ฒิ บั ต ร อิเล็กทรอนิกส์ เป็นต้น โดยการเข้าใช้งานระบบ แบ่งส่วนการใช้งานตามความรับผิ ดชอบของผู้มีส่วนได้ส่ว น เสียดังภาพในหน้า 2 ซึ่ง รายละเอียดการใช้งานของผู้เข้ารับการฝึกสามารถดูได้จากลิงค์ mlearning.dsd.go.th/download/files/trainee.pdf

1 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 4

2 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 4

2. ผังการฝึกอบรม

3 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 4

3. วิธีการฝึกอบรม 3.1 ผู้รับการฝึก ทาความเข้าใจการฝึกอบรมในระบบ CBT ซึ่งสามารถฝึกอบรมได้ 3 รูปแบบ คือ 3.1.1 การฝึกอบรมด้วยการส่งมอบสื่อสิ่งพิมพ์ (Offline) 3.1.2 การฝึกอบรมที่ศูนย์ฝึกอบรม (Offline) 3.1.3 การฝึกอบรมด้วยสื่อในระบบออนไลน์ (Online) โดยในแต่ละรูปแบบจะมีรายละเอียดแตกต่างกัน ดังนี้ 3.1.1 การฝึกอบรมด้วยการส่งมอบสื่อสิ่งพิมพ์ (Offline) คือ การฝึกอบรมที่ผู้รับ การฝึกเรียนรู้ภาคทฤษฎี (ด้านความรู้) ด้ว ยตนเอง โดยครูฝึกเป็นผู้ส่งมอบ คู่มือผู้รับการฝึกที่พิมพ์จ ากสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) และวีดิทัศน์ (DVD) แก่ผู้รับการฝึก และฝึกภาคปฏิบัติ (ด้านทักษะ) ที่ศูนย์ฝึกอบรม การฝึกภาคทฤษฎี - ผู้รับการฝึกเรียนรู้ภาคทฤษฎีด้วยตนเอง โดยใช้คู่มือผู้รับการฝึกที่พิมพ์จากสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) และวีดิทัศน์ (DVD) ที่ครูฝึกส่งมอบให้ การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ผู้รับการฝึกทาแบบทดสอบก่อนฝึก (Pre-Test) ลงในกระดาษคาตอบ แล้วส่งกระดาษคาตอบ ให้ครูฝึก เพื่อตรวจและประเมินผล 2) ครูฝึกประเมินแบบทดสอบก่อนฝึก - ถ้าผลการประเมินผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ตามที่กาหนดในเอกสารโครงร่างหลักสูตร จะมีสิท ธิ์ ข อเข้า รับ การฝึก ภาคปฏิบัติ (ถ้า มี) หรือ เข้า รับ การฝึก ในโมดูล ถัด ไป หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลที่ครูฝึกกาหนดได้ - ถ้าผลการประเมินต่ากว่าร้อยละ 70 ให้ครูฝึกมอบหมายให้ผู้รับการฝึกศึกษาเนื้อหา จากสื่อด้วยตนเองจนเข้าใจ จึงทาแบบทดสอบหลังฝึก (Post-Test) 3) ผู้รับการฝึกทาแบบทดสอบหลังฝึก (Post-Test) ลงในกระดาษคาตอบ แล้วส่งให้ครูฝึกตรวจ และประเมินผล โดยใช้หลักเกณฑ์เดียวกับการประเมินแบบทดสอบก่อนฝึก การฝึกภาคปฏิบัติ 1) ผู้รับการฝึกตรวจสอบวันฝึกภาคปฏิบัติที่ศูนย์ฝึกอบรม - หากครูฝึกกาหนดวันฝึกและห้องฝึกโดยระบุชื่อผู้รับการฝึกไว้แล้ว ให้ผู้รับการฝึก มาฝึกภาคปฏิบัติให้ตรงวันและเวลาที่กาหนด - หากครูฝึกกาหนดวันฝึกและห้องฝึกแต่ไม่ได้ระบุชื่อผู้รับการฝึก ให้ผู้รับการฝึกลงชื่อ ในวันและเวลาที่ตนเองสะดวก

4 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 4

2) ผู้รับการฝึกศึกษาใบขั้นตอนปฏิบัติงานก่อนเข้ารับการฝึกภาคปฏิบัติ 3) เมื่อถึงวันฝึกภาคปฏิบัติ ให้ผู้รับการฝึกฟังคาชี้แจงขั้นตอนการปฏิบัติงานจากครูฝึก แล้วฝึก ปฏิบัติงานตามขั้นตอน 4) ผู้รับการฝึกส่งผลงานให้ครูผู้ฝึกประเมินผล และวิเคราะห์ผลงานร่วมกับครูฝึกเพื่อให้มาตรฐาน เป็นไปตามเกณฑ์การประเมิน การประเมินผลภาคปฏิบัติ 1) ผู้รับการฝึกตรวจสอบวันสอบภาคปฏิบัติที่ศูนย์ฝึกอบรม - หากครูฝึกกาหนดวันสอบและห้องสอบโดยระบุชื่อผู้รับการฝึกไว้แล้ว ให้ผู้รับการฝึก มาสอบภาคปฏิบัติให้ตรงวันและเวลาที่กาหนด - หากครูฝึกกาหนดวันสอบและห้องสอบแต่ไม่ได้ระบุชื่อผู้รับการฝึก ให้ผู้รับการฝึกลงชื่อ ในวันและเวลาที่ตนเองสะดวก 2) เมื่อถึงวันสอบภาคปฏิบัติ ให้ผู้รับการฝึกฟังคาชี้แจงจากครูฝึก แล้วสอบปฏิบัติงานตามคาชี้แจง 3) ผู้รับการฝึกส่งผลงานให้ครูฝึกตรวจผลงานและกรอกคะแนนลงในใบประเมินโดยต้องผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 70 ตามที่กาหนดในเอกสารโครงร่างหลักสูตร จึงจะผ่านการฝึกโมดูลนั้น 4) ผู้รับการฝึกดูประกาศผลการทดสอบภาคปฏิบัติจากครูฝึก 3.1.2 การฝึกอบรมที่ศูนย์ฝึกอบรม (Offline) คือ การฝึกอบรมที่ผู้รับการฝึกเรียนรู้ภาคทฤษฎีจากครูฝึก และฝึกภาคปฏิบัติที่ศูนย์ฝึกอบรม การฝึกภาคทฤษฎี - ผู้รับการฝึกเรียนรู้ภาคทฤษฎีจากครูฝึกโดยใช้สื่อสิ่งพิมพ์จากสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) และวีดิทัศน์ (DVD) ที่ศูนย์ฝึกอบรม การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ผู้รับการฝึกทาแบบทดสอบก่อนฝึก (Pre-Test) ลงในกระดาษคาตอบ แล้วส่งกระดาษคาตอบ ให้ครูฝึกตรวจและประเมินผล 2) ครูฝึกประเมินแบบทดสอบก่อนฝึก - ถ้าผลการประเมินผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ตามที่กาหนดในเอกสารโครงร่างหลักสูตร ผู้รับการฝึกจะมีสิทธิ์ขอเข้ารับการฝึกภาคปฏิบัติ (ถ้ามี) หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลถัดไป หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลที่ครูฝึกกาหนดได้ - ถ้าผลการประเมินต่ากว่าร้อยละ 70 ให้ผู้รับ การฝึกศึกษาเนื้อหาจากสื่อด้วยตนเอง จนเข้าใจ จึงทาแบบทดสอบหลังฝึก (Post-Test) 3) ผู้รับการฝึกทาแบบทดสอบหลังฝึก (Post-Test) ลงในกระดาษคาตอบ แล้วส่งให้ครูฝึกตรวจ และประเมินผล โดยใช้หลักเกณฑ์เดียวกับการประเมินแบบทดสอบก่อนฝึก 5 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 4

การฝึกภาคปฏิบัติ 1) ผู้รับการฝึกตรวจสอบวันฝึกภาคปฏิบัติที่ศูนย์ฝึกอบรม - หากครูฝึกกาหนดวันฝึกและห้องฝึกโดยระบุชื่อผู้รับการฝึกไว้แล้ว ให้ผู้รับการฝึก มาฝึกภาคปฏิบัติให้ตรงวันและเวลาที่กาหนด - หากครูฝึกกาหนดวันฝึกและห้องฝึกแต่ไม่ได้ระบุชื่อผู้รับการฝึก ให้ผู้รับการฝึกลงชื่อ ในวันและเวลาที่ตนเองสะดวก 2) ผู้รับการฝึกศึกษาใบขั้นตอนปฏิบัติงานก่อนเข้ารับการฝึกภาคปฏิบัติ 3) เมื่อถึงวันฝึกภาคปฏิบัติ ให้ผู้รับการฝึกฟังคาชี้แจงขั้นตอนการปฏิบัติงานจากครูฝึก แล้วฝึก ปฏิบัติงานตามขั้นตอน 4) ผู้รับการฝึกส่งผลงานให้ครูผู้ฝึกประเมินผล และวิเคราะห์ผลงานร่วมกับครูฝึกเพื่อให้มาตรฐาน เป็นไปตามเกณฑ์การประเมิน การประเมินผลภาคปฏิบัติ 1) ผู้รับการฝึกตรวจสอบวันสอบภาคปฏิบัติที่ศูนย์ฝึกอบรม - หากครูฝึกกาหนดวันสอบและห้องสอบโดยระบุชื่อผู้รับการฝึกไว้แล้ว ให้ผู้รับการฝึก มาสอบภาคปฏิบัติให้ตรงวันและเวลาที่กาหนด - หากครูฝึกกาหนดวันสอบและห้องสอบแต่ไม่ได้ระบุชื่อผู้รับการฝึก ให้ผู้รับการฝึกลงชื่อ ในวันและเวลาที่ตนเองสะดวก 2) เมื่อถึงวันสอบภาคปฏิบัติ ให้ผู้รับการฝึกฟังคาชี้แจงจากครูฝึก แล้วสอบปฏิบัติงานตามคาชี้แจง 3) ผู้รับการฝึกส่งผลงานให้ครูฝึกตรวจผลงานและกรอกคะแนนลงในใบประเมินโดยต้องผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 70 ตามที่กาหนดในเอกสารโครงร่างหลักสูตร จึงจะผ่านการฝึกโมดูลนั้น 4) ผู้รับการฝึกดูประกาศผลการทดสอบภาคปฏิบัติจากครูฝึก 3.1.3 การฝึกอบรมด้วยสื่อในระบบออนไลน์ (Online) คือ การฝึกอบรมที่ผู้รับการฝึกเรียนรู้ภาคทฤษฎีด้วยตนเองผ่านระบบจัดการฝึกด้วยคอมพิวเตอร์ หรือ CMI โดยใช้คู่มือผู้รับการฝึกที่เป็นสื่อออนไลน์ในแอปพลิเคชัน DSD m-Learning และฝึกภาคปฏิบัติที่ศูนย์ฝึกอบรม วิธีดาวน์โหลดแอปพลิเคชัน DSD m-Learning - ผู้รับการฝึกดาวน์โหลดแอปพลิเคชัน DSD m-Learning ซึ่งวิธีการดาวน์โหลดแอปพลิเคชัน สามารถแบ่งออกเป็น 2 ช่องทางตามแต่ละระบบปฏิบัติการ คือ 1) ผู้รับการฝึกที่ใช้เครื่องมือสื่อสารอิเล็กทรอนิกส์ ระบบปฏิบัติการ iOS ค้นหา แอปพลิเคชัน DSD m-Learning ใน App Store จากนั้นกดดาวน์โหลด เพื่อติดตั้งบนเครื่องมือสื่อสาร และเข้าใช้งานโดยกรอก Username และ Password ตามที่เคยลงทะเบียนไว้

6 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 4

2) ผู้รับการฝึกที่ใช้เครื่องมือสื่อสารอิเล็กทรอนิกส์ ระบบปฏิบัติการ Android ค้นหา แอปพลิเคชัน DSD m-Learning ใน Google Play Store จากนั้นกดดาวน์โหลด เพื่อติดตั้งบนเครื่องมือสื่อสาร และเข้าใช้งานโดยกรอก Username และ Password ตามที่เคยลงทะเบียนไว้ การฝึกภาคทฤษฎี - ผู้รับการฝึกเรียนรู้ภาคทฤษฎีด้วยตนเอง จากคู่มือผู้รับการฝึก ซึ่งเป็นสื่อออนไลน์บนแอปพลิเคชัน DSD m-Learning การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ผู้ รั บการฝึ กท าแบบทดสอบก่ อนฝึ ก (Pre-Test) ลงในแอปพลิ เคชั น โดยระบบจะตรวจและ ประเมินผลอัตโนมัติ - ถ้าผลการประเมินผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ตามที่กาหนดในเอกสารโครงร่างหลักสูตร ผู้รับการฝึกจะมีสิทธิ์ขอเข้ารับการฝึกภาคปฏิบัติ (ถ้ามี) หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลถัดไป หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลที่ครูฝึกกาหนดได้ - ถ้าผลการประเมินต่ากว่าร้อยละ 70 ให้ผู้รับการฝึกศึกษาเนื้ อหาจากสื่อด้วยตนเอง จนเข้าใจแล้วจึงทาแบบทดสอบหลังฝึก (Post-Test) 2) ผู้รับการฝึกทาแบบทดสอบหลังฝึก โดยใช้หลักเกณฑ์เดียวกับการประเมินแบบทดสอบก่อนฝึก การฝึกภาคปฏิบัติ 1) ผู้รับการฝึกตรวจสอบวันฝึกภาคปฏิบัติในแอปพลิเคชัน - หากครูฝึกกาหนดวันฝึกและห้องฝึกโดยระบุชื่อผู้รับการฝึกไว้แล้ว ให้ผู้รับการฝึก มาฝึกภาคปฏิบัติให้ตรงวันและเวลาที่กาหนด - หากครูฝึกกาหนดวันฝึกและห้องฝึกแต่ไม่ได้ระบุชื่อผู้รับการฝึก ให้ผู้รับการฝึกลงชื่อ ในวันและเวลาที่ตนเองสะดวก 2) ผู้รับการฝึกศึกษาใบขั้นตอนปฏิบัติงานก่อนเข้ารับการฝึกภาคปฏิบัติ 3) เมื่อถึงวันฝึกภาคปฏิบัติ ให้ผู้รับการฝึกฟังคาชี้แจงขั้นตอนการปฏิบัติงานจากครูฝึก แล้วฝึก ปฏิบัติงานตามขั้นตอน 4) ผู้รับการฝึกส่งผลงานให้ครูผู้ฝึกประเมินผล และวิเคราะห์ผลงานร่วมกับครูฝึกเพื่อให้มาตรฐาน เป็นไปตามเกณฑ์การประเมิน การประเมินผลภาคปฏิบัติ 1) ผู้รับการฝึกตรวจสอบวันสอบภาคปฏิบัติในแอปพลิเคชัน - หากครูฝึกกาหนดวันสอบและห้องสอบโดยระบุชื่อผู้รับการฝึกไว้แล้ว ให้ผู้รับการฝึก มาสอบภาคปฏิบัติให้ตรงวันและเวลาที่กาหนด

7 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 4

- หากครูฝึกกาหนดวันสอบและห้องสอบแต่ไม่ได้ระบุชื่อผู้รับการฝึก ให้ผู้รับการฝึกลง ชื่อในวันและเวลาที่ตนเองสะดวก 2) เมื่อถึงวันสอบภาคปฏิบัติ ให้ผู้รับการฝึกฟังคาชี้แจงจากครูฝึก แล้วสอบปฏิบัติงานตามคาชี้แจง 3) ผู้รับการฝึกส่งผลงานให้ครูฝึกตรวจผลงานและกรอกคะแนนลงในใบประเมินโดยต้องผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 70 ตามที่กาหนดในเอกสารโครงร่างหลักสูตร จึงจะผ่านการฝึกโมดูลนั้น 4) ผู้รับการฝึกดูประกาศผลการทดสอบภาคปฏิบัติในแอปพลิเคชัน 3.2 ครูฝึกชี้แจงรูปแบบการฝึกอบรมทั้ง 3 รูปแบบแก่ผู้รับการฝึก เพื่อทาการตกลงรูปแบบการฝึกอบรมร่วมกับผู้รับการฝึก โดยให้ผู้รับการฝึกเลือกวิธีที่สะดวก 3.3 ครูฝึกวางแผนการฝึกตลอดหลักสูตรร่วมกันกับผู้รับการฝึก

4. อุปกรณ์ช่วยฝึกและช่องทางการเข้าถึงอุปกรณ์ช่วยฝึก ผู้รับการฝึกสามารถเลือกใช้อุปกรณ์ช่วยฝึกได้ 2 รูปแบบ คือ รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ์ (Offline) และรูปแบบระบบจัดการฝึก ด้วยคอมพิวเตอร์ หรือ CMI (Online) โดยมีช่องทางการเข้าถึงอุปกรณ์ช่วยฝึกแต่ละรูปแบบแตกต่างกัน ดังนี้ 4.1 รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ์ (Offline) ประกอบด้วย - คู่มือผู้รับการฝึก เพื่อใช้ศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คู่มือการประเมิน เพื่อใช้ในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน์ (DVD) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 4.2 รูปแบบระบบจัดการฝึกด้วยคอมพิวเตอร์ หรือ CMI (Online) ดังนี้ - คู่มือผู้รับการฝึกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) เพื่อใช้ศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คู่มือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) เพื่อใช้ในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน์ (Online) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ

5. การวัดและประเมินผล 5.1 การประเมินผลภาคทฤษฎี (ด้านความรู้) ประเมินผลจากแบบทดสอบภาคทฤษฎีก่อนฝึก และแบบทดสอบภาคทฤษฎีหลังฝึก โดยกาหนดเกณฑ์การให้คะแนน และการระบุความสามารถด้านความรู้ ดังนี้ เกณฑ์การให้คะแนน ภาคทฤษฎี ตั้งแต่ร้อยละ 70 ขึ้นไป ต่ากว่าร้อยละ 70

เกณฑ์การประเมิน ความสามารถ ผ่าน (C) ไม่ผ่าน (NYC) 8

กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 4

5.2 การประเมินผลภาคปฏิบัติ (ด้านทักษะ) ประเมินผลจากแบบทดสอบภาคปฏิบัติก่อนฝึก และแบบทดสอบภาคปฏิบัติหลังฝึก โดยกาหนดเกณฑ์การให้คะแนน และการระบุความสามารถด้านทักษะ ดังนี้ เกณฑ์การประเมิน ภาคปฏิบัติ ตั้งแต่ร้อยละ 70 ขึ้นไป หรือทา ได้ตามเกณฑ์การปฏิบัติงาน ต่ากว่าร้อยละ 70 หรือ ไม่ สามารถทาได้ ตามเกณฑ์การปฏิบัติงาน

เกณฑ์การประเมิน ความสามารถ ผ่าน (C) ไม่ผ่าน (NYC)

ผู้รับการฝึกจะได้รับการประเมินผลการฝึกจากครูฝึก โดยจะต้องสามารถปฏิบัติตามความสามารถในแต่ละโมดูลนั้น ๆ ได้ตามเกณฑ์ที่กาหนด จึงจะถือว่าผ่านการฝึกโมดูลนั้น และเมื่อผ่านการฝึกครบทุกโมดูล จึงจะถือว่าฝึกครบชุดการฝึกนั้น ๆ แล้ว

6. เงื่อนไขการผ่านการฝึก ผู้รับการฝึกที่จะผ่านโมดูลการฝึก ต้องได้รับค่าร้อยละของคะแนนการทดสอบหลังฝึก ภาคทฤษฏี คะแนนรวมไม่ต่ากว่าร้อยละ 70 ภาคปฏิบัติ คะแนนรวมไม่ต่ากว่าร้อยละ 70 โดยคะแนนรวมจะถูกนามาคิดแบ่งเป็นสัดส่วน ภาคทฤษฏี คิดเป็นร้อยละ 20 ภาคปฏิบัติ คิดเป็นร้อยละ 80 เมื่อนาคะแนนมารวมกัน ผู้รับการฝึกจะต้องได้ไม่ต่ากว่าร้อยละ 70 จึงจะผ่านเกณฑ์ ทั้งนี้ ผู้รับการฝึกจะต้องทาคะแนนผ่านเกณฑ์ทั้งภาคทฤษฏีและภาคปฏิบัติ จึงจะผ่านโมดูลการฝึก

9 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 4

รายละเอียดหลักสูตร หลักสูตรฝึกอบรมฝีมือแรงงานตามความสามารถ สาขาช่างเครื่องปรับอากาศในบ้าน และการพาณิชย์ขนาดเล็ก ระดับ 2 กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน กระทรวงแรงงาน

รหัสหลักสูตร 0920164170202

1. ขอบเขตของหลักสูตร หลักสูตรนี้พัฒ นาขึ้น ให้ครอบคลุมด้านความรู้ ทั กษะ และเจตคติแก่ผู้รับการฝึกในสาขาช่างเครื่องปรับอากาศ ในบ้า นและการพาณิช ย์ข นาดเล็ก เพื่อให้มีความรู้ ความสามารถและทัศนคติตามมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติ สาขาช่างเครื่องปรับอากาศในบ้านและการพาณิชย์ขนาดเล็ก ระดับ 2 ดังนี้ 1.1 มีความรู้เกี่ยวกับสัญลักษณ์ทางไฟฟ้า การอ่านแบบ และวงจรทางไฟฟ้า 1.2 มีความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวงจรไฟฟ้าในเครื่องปรับอากาศระบบ 3 เฟส อุปกรณ์และหลักการทางานของ ระบบควบคุมต่าง ๆ ที่อยู่ในเครื่องปรับอากาศ 1.3 มีความรู้ความสามารถในการตัด ปรับแต่ง ขยาย บาน ดัด และเชื่อมท่อ 1.4 มีความรู้ ความสามารถเกี่ย วกับ หลั ก การทางานของมอเตอร์ ไฟฟ้ า 1 เฟส 3 เฟส และการต่อมอเตอร์ หลายความเร็ว 1.5 มีความรู้เกี่ยวกับการเลือกใช้ชนิดและขนาดของคอมเพรสเซอร์ได้อย่างเหมาะสม 1.6 มีความรู้ความสามารถในการประกอบติดตั้งระบบท่อสารทาความเย็นที่ใช้ในเครื่องปรับอากาศ 1.7 มีความรู้ความสามารถเกี่ยวกับหลักการและวิธีการหล่อลื่นอุปกรณ์ในระบบเครื่องปรับอากาศ 1.8 มีความรู้เกี่ยวกับการจัดเก็บสารทาเย็น เพื่อการเคลื่อนย้ายหรือการซ่อมบารุงโดยการปั๊มดาวน์ หรือใช้ เครื่องเก็บสารทาความเย็นอย่างถูกต้อง และการจัดเก็บอุปกรณ์ระบบสารทาความเย็นเพื่อป้องกันความชื้น 1.9 มีความรู้ความสามารถในการทาความสะอาดระบบ เมื่อภายในระบบมีความชื้น 1.10 มีความรู้ความสามารถในการตรวจสอบการทางานเครื่องปรับอากาศ และการวัดค่าต่าง ๆ 1.11 มีความรู้ความสามารถในการวิเคราะห์และแก้ไขข้อขัดข้องของเครื่องปรับอากาศ 2. ระยะเวลาการฝึก ผู้ รั บ การฝึ กจะได้รั บ การฝึ ก ในภาคทฤษฎี และภาคปฏิบั ติ โดยสถาบันพัฒ นาฝี มือแรงงาน หรือสานักงานพัฒนา ฝีมือแรงงานที่เป็นหน่วยฝึกตามความสามารถใช้ระยะเวลาในการฝึก 72 ชั่วโมง 10 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 4

เนื่ อ งจากเป็ น การฝึ ก ที่ ขึ้ น อยู่ กั บ พื้ น ฐานความรู้ ทั ก ษะ ความสามารถและความพร้ อ มของผู้ รั บ การฝึ ก แต่ละคน มีผลให้ผู้รับการฝึกจบการฝึกไม่พร้ อมกัน สามารถจบก่อนหรือเกินระยะเวลาที่กาหนดไว้ในหลั กสูตรได้ หน่วยฝึกจึงต้องบริหารระยะเวลาในการฝึกให้เหมาะสมตามความจาเป็น ทั้งนี้ ให้อยู่ในดุลยพินิจของผู้อานวยการ สถาบันพัฒนาฝีมือแรงงาน หรือผู้อานวยการสานักงานพัฒนาฝีมือแรงงานที่เป็นหน่วยฝึกตามความสามารถจะเห็นสมควร 3. หน่วยความสามารถและโมดูลการฝึก จานวนหน่วยความสามารถ 11 หน่วย จานวนโมดูลการฝึก 11 โมดูล 4. วุฒิบัตร 4.1 ชื่อเต็ม : วุฒิบัตรพัฒนาฝีมือแรงงาน สาขา ช่างเครื่องปรับอากาศในบ้านและการพาณิชย์ขนาดเล็ก ระดับ 2 4.2 ชื่อย่อ : วพร. สาขา ช่างเครื่องปรับอากาศในบ้านและการพาณิชย์ขนาดเล็ก ระดับ 2 4.3 ผู้ รั บ การฝึ ก ที่ ผ่ า นการประเมิ น ผลหรื อ ผ่ า นการฝึ ก ครบทุ ก หน่ ว ยความสามารถ จะได้ รั บ วุ ฒิ บั ต ร วพร. สาขา ช่างเครื่องปรับอากาศในบ้านและการพาณิชย์ขนาดเล็ก ระดับ 2

11 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 4

รายละเอียดโมดูลการฝึกที่ 4 1. ชื่อหลักสูตร

สาขาช่างเครื่องปรับอากาศในบ้านและการพาณิชย์ขนาดเล็ก รหัสหลักสูตร ระดับ 2 0920164170202 2. ชื่อโมดูลการฝึก หลักการทางานของมอเตอร์ไฟฟ้า 1 เฟส และ 3 เฟส รหัสโมดูลการฝึก (Single/Three Phase Motor) การต่อมอเตอร์ 09217208 หลายความเร็ว 3. ระยะเวลาการฝึก รวม 5 ชั่วโมง 45 นาที ทฤษฎี 2 ชั่วโมง 15 นาที ปฏิบัติ 3 ชั่วโมง 30 นาที 4. ขอบเขตของหน่ว ย หน่ ว ยการฝึ กนี้ พัฒ นาขึ้นให้ ครอบคลุ มด้านความรู้ ทักษะ และเจตคติแก่ผู้ รับการฝึ ก การฝึก เพื่อให้มีความสามารถ ดังนี้ 1. อธิบายหลักการทางานของมอเตอร์ไฟฟ้า 1 เฟส และ 3 เฟส (Single/Three Phase Motor) ได้ 2. อธิบายวิธีการต่อมอเตอร์หลายความเร็วได้ 3. ต่อมอเตอร์หลายความเร็วได้ 5. พื้นฐาน ผู้สมัครเข้ารับการฝึกต้องมีคุณสมบัติ ดังต่อไปนี้ ความสามารถของ 1. มีความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับหลักการทางานของมอเตอร์ไฟฟ้า 1 เฟส 3 เฟส วิธีการต่อ ผู้รับการฝึก มอเตอร์ ต่อมอเตอร์หลายความเร็ว หรือผ่านการฝึกอบรมที่เกี่ยวข้องจากหน่วยงาน หรือสถาบันที่เชื่อถือได้ 2. ผู้รับการฝึกผ่านระดับที่ 1 มาแล้ว 3. ผู้รับการฝึกผ่านโมดูลที่ 3 มาแล้ว 6. ผลลัพธ์การเรียนรู้ : เมื่อสาเร็จการฝึกในโมดูลนี้แล้วผู้รับการฝึกสามารถปฏิบัติงานโดยมีความรู้ความสามารถและใช้ ระยะเวลาฝึก ดังนี้ ระยะเวลาฝึก (ชั่วโมง : นาที) ผลลัพธ์การเรียนรู้ ชื่อหัวข้อวิชา ทฤษฎี ปฏิบัติ รวม 1. อธิบายหลักการทางานของ หัวข้อที่ 1 : หลักการทางานของมอเตอร์ไฟฟ้า 1:30 1:30 มอเตอร์ไฟฟ้า 1 เฟส และ 3 เฟส (Single/Three Phase Motor) ได้ 2. อธิบายวิธีการต่อมอเตอร์ หัวข้อที่ 2 : การต่อมอเตอร์หลายความเร็ว 0:45 3:30 4:15 หลายความเร็วได้ 12 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 4

3. ต่อมอเตอร์หลายความเร็วได้ รวมทั้งสิ้น

2:15

13 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน

3:30

5:45


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 4

รายละเอียดหัวข้อวิชาที่ 1 0921720801 หลักการทางานของมอเตอร์ไฟฟ้า (ใบแนะนา) 1. ผลลัพธ์การเรียนรู้ - อธิบายหลักการทางานของมอเตอร์ไฟฟ้า 1 เฟส และ 3 เฟส (Single/Three Phase Motor) ได้

2. หัวข้อสาคัญ 1. หลักการทางานของมอเตอร์ไฟฟ้า 1 เฟส 2. หลักการทางานของมอเตอร์ไฟฟ้า 3 เฟส

3. วิธีการฝึกอบรม การฝึกอบรมสามารถเลือกได้ 3 รูปแบบ คือ 1) การฝึกอบรมด้วยการส่งมอบสื่อสิ่งพิมพ์ 2) การฝึกอบรมที่ศูนย์ฝึกอบรม 3) การฝึกอบรมด้วยสื่อในระบบออนไลน์ ดังรายละเอียดในข้อแนะนาสาหรับผู้รับการฝึก

4. อุปกรณ์ช่วยฝึก อุปกรณ์ช่วยฝึกสามารถเลือกใช้งานได้ 2 รูปแบบ คือ 1. รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ์ (Offline) ประกอบด้วย - คู่มือผู้รับการฝึก เพื่อใช้ศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คู่มือการประเมิน เพื่อใช้ในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน์ (DVD) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 2. รูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ (Online) ประกอบด้วย - คู่มือผู้รับการฝึกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) เพื่อใช้ศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คู่มือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) เพื่อใช้ในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน์ (Online) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ

14 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 4

5. การรับการฝึกอบรม 1. ผู้รับการฝึกทาแบบทดสอบก่อนฝึก (Post-Test) แล้วส่งให้ครูฝึกหรือระบบประเมินผลตามวิธีที่เลือกฝึกอบรม 1.1 ถ้าผลการประเมินผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ตามที่กาหนดในเอกสารโครงร่างหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเข้ารับการฝึก ภาคปฏิบัติ (ถ้ามี) หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลถัดไป หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลที่ครูฝึกกาหนดได้ 1.2 ถ้าผลการประเมินต่ากว่าร้อยละ 70 ให้ผู้รับการฝึกเข้าฝึกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝึกอบรมภาคทฤษฎี ให้ผู้รับการฝึกศึกษาคู่มือผู้รับการฝึก และฝึกหัดทาใบทดสอบท้ายหัวข้อวิชา 3. เมื่อผู้รับการฝึกศึกษาคู่มือผู้รับการฝึกประจาโมดูลนั้นเข้าใจแล้ว ให้ทาแบบทดสอบหลังฝึก (Post-Test) แล้วส่งให้ ครูฝึกหรือระบบประเมินผลเช่นเดียวกับแบบทดสอบก่อนฝึก

6. การวัดผล 1. ผู้รับการฝึกส่งแบบทดสอบก่อนฝึก ให้ครูฝึกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎีตามวิธีที่เลือกฝึกอบรม 1.1 ถ้าผลการประเมินผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ตามที่กาหนดในเอกสารโครงร่างหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเข้ารับการฝึก ภาคปฏิบัติ (ถ้ามี) หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลถัดไปได้ 1.2 ถ้าผลการประเมินต่ากว่าร้อยละ 70 ให้ครูฝึกมอบหมายให้ผู้รับการฝึกศึกษาเนื้อหาจากสื่อด้วยตนเองจน เข้าใจ จึงทาแบบทดสอบหลังฝึก (Post-Test) 2. ผู้รับการฝึกส่งแบบทดสอบหลังฝึก ให้ครูฝึกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎี โดยใช้หลักเกณฑ์เดียวกับการ ประเมินแบบทดสอบก่อนฝึก

7. บรรณานุกรม พันธ์ศักดิ์ พุฒิมานิตพงศ์ และคณะ. 2558. งานไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์. กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์ศูนย์ส่งเสริมอาชีวะ. ศุภชัย เก้าเอี้ยน และปลวัชร เต่งภู่. 2557. การควบคุมมอเตอร์ไฟฟ้า. นนทบุรี : ศูนย์หนังสือเมืองไทย. อานาจ ทองผาสุก และวิทยา ประยงค์พันธุ์. ม.ป.ป. การควบคุมมอเตอร์. ม.ป.ท.

15 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 4

ใบข้อมูล หัวข้อวิชาที่ 1 หลักการทางานของมอเตอร์ไฟฟ้า มอเตอร์ไฟฟ้าแบ่งออกตามการใช้ของกระแสไฟฟ้าได้ 2 ชนิด คือ มอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง (D.C. MOTOR) ซึ่งต้องใช้ ไฟฟ้ า กระแสตรงป้ อ นเข้ า ขดลวดอาร์ เ มเจอร์ แ ล้ ว ท าให้ เ กิ ด การตั ด กั น กั บ สนามแม่ เ หล็ ก ส่ ง ผลให้ เ กิ ด แรงผลั ก และดู ด สนามแม่ เ หล็ ก ของมอเตอร์ ส่ ว นหนึ่ ง เกิ ด ขึ้ น จากแม่ เ หล็ ก ถาวรซึ่ ง จะถู ก ยึ ด ติ ด กั บ แผ่ น เหล็ ก โดยปกติ ส่ ว นนี้ จะยึดอยู่กับที่และมีขดลวดเหนี่ยวนาพันอยู่กับแกนหมุนของมอเตอร์

ภาพที่ 1.1 ตัวอย่างมอเตอร์กระแสตรง และวงจรของมอเตอร์ สาหรับมอเตอร์อีกชนิดซึ่งเป็นส่วนสาคัญที่จะได้รับการกล่าวถึงในบทเรียนนี้ คือ มอเตอร์ไฟฟ้ากระแสสลับ (A.C. Motor) ซึ่งเป็นที่นิยมมากกว่ามอเตอร์กระแสตรง เนื่องจากมีความเร็วรอบเกือบคงที่ ราคาถูกกว่าเมื่อเทียบกับมอเตอร์กระแสตรง ที่มีขนาดพิกัดกาลังเท่ากัน สามารถบารุงรักษาง่าย มีความแข็งแรงทนทาน รวมถึงสามารถต่อใช้งานกับระบบไฟฟ้าของไทยได้ โดยตรงเพราะเป็นระบบไฟฟ้ากระแสสลับ มอเตอร์ไฟฟ้ากระแสสลับสามารถแบ่งตามระบบการป้อนไฟฟ้ากระแสสลับ ให้กับมอเตอร์ได้ 2 ชนิด คือ มอเตอร์ชนิด 1 เฟส และมอเตอร์ชนิด 3 เฟส

ภาพที่ 1.2 วงจรมอเตอร์กระแสสลับชนิด 1 เฟส 16 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 4

ภาพที่ 1.3 วงจรมอเตอร์กระแสสลับชนิด 3 เฟส ทั้งนี้ มอเตอร์ไฟฟ้ากระแสสลับ มีหลักการทางานใกล้เคียงกับ มอเตอร์กระแสตรง แต่ต่างกัน ที่มอเตอร์กระแสสลับ จะใช้ไฟฟ้ากระแสสลับป้อนไฟเข้าที่ขดลวดแทน และทาให้เกิดการตัดกันกับสนามแม่เหล็กเพื่อทาให้มอเตอร์หมุน การทางานเบื้องต้นของมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสสลับ คือ เมื่อจ่ายแรงดันไฟฟ้าให้สลิปปริงผ่านไปขดลวดอาร์เมเจอร์ด้าน สีเหลืองเป็นบวก (+) ด้านสีฟ้าเป็น (-) ทาให้ขดลวดอาร์เมเจอร์เกิดสนามแม่เหล็กไฟฟ้าผลักดันกับสนามแม่เหล็กถาวร เมื่อใช้กฎมือซ้ายของเฟลมมิ่งในการหาทิศ ทางการเคลื ่ อ นที ่ จะพบว่า ขดลว ดอาร์เ มเจอร์ด ้า นซ้า ย (สีเ หลือ ง) หมุน เคลื่อ นที่ขึ้น ด้า นบน ส่ว นด้านขวา (สีฟ้า) หมุนเคลื่อนที่ล งข้างล่าง นั่นคือ เกิดการหมุนของขดลวดอาร์เมเจ อร์ ในทิศทางตามเข็มนาฬิกา

ภาพที่ 1.4 การทางานเบื้องต้นของมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสสลับ ในขณะที่ขดลวดอาร์เมเจอร์หมุนสลับตาแหน่งพร้อมกับจ่ายแรงดันไฟสลับให้สลิปริงเกิดการสลับขั้ว โดยจ่ายแรงดันไฟสลับ ให้ด้านสีเหลืองเป็นลบ (-) ส่วนด้านสีฟ้าเป็นบวก (+) เมื่อใช้กฎมือซ้ายของเฟลมมิ่งในการหาทิศทางการเคลื่อนที่จะพบว่ า ขดลวดอาร์เมเจอร์ด้านซ้าย (สีฟ้า) หมุนเคลื่อนที่ขึ้นด้านบน และด้านขวา (สีเหลือง) หมุนลงด้านล่าง จึงทาให้ขดลวดอาร์เมเจอร์

17 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 4

หมุนในทิศทางตามเข็มนาฬิกาอย่างต่อเนื่อง และทาให้มอเตอร์ไฟฟ้ากระแสลับหมุนทางานในทิศทางตามเข็มนาฬิ กา เช่นกัน โดยทั่วไป มอเตอร์ทุกประเภทจะมีส่วนประกอบหลักคล้ายกันคือ สเตเตอร์หรือตัวที่อยู่กับที่ และโรเตอร์หรือตัวหมุน ซึง่ ส่วนประกอบของมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสสลับ ได้แก่

ภาพที่ 1.5 ส่วนประกอบของมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสสลับ - สเตเตอร์หรือตัวอยู่กับที่ ประกอบด้วยโครงของมอเตอร์ แกนเหล็กสเตเตอร์ และขดลวด - โรเตอร์หรือตัวหมุน - ฝาครอบ ทามาจากเหล็กหล่อ เจาะรูตรงกลางและคว้านเป็นรูกลมใหญ่เพื่ออัดแบริ่งหรือตลับลูกปืนรองรับ แกนเพลาของโรเตอร์ - ใบพัด ทาจากเหล็กหล่อ มีลักษณะเท่ากันทุกครีบ สวมยึดอยู่บนเพลาด้านตรงข้ามกับเพลางาน ใบพัด จะช่วยในการระบายอากาศและความร้อน ส่วนใหญ่จะมีในมอเตอร์ 1 เฟสขนาดเล็กไปจนถึงขนาดใหญ่ และ มอเตอร์ 3 เฟส เช่นเดียวกับฝาครอบใบพัด - สลักเกลียว มีลักษณะเป็นเกลียวตลอด ถ้าเป็นมอเตอร์ 1 เฟสขนาดเล็ก เช่น มอเตอร์ส ปลิทเฟสจะเป็น สลักเกลียวยาวตลอดตัวมอเตอร์ ทาเกลียวเฉพาะด้านปลายและมี นอตขันยึดไว้ จึงมี สลักเกลียว 4 ตัว หากเป็นมอเตอร์ 3 เฟส จะประกอบด้วยสลักเกลียว 8 ตัว ทาหน้าที่ยึดฝาครอบให้ติดกับโครง 1. หลักการทางานมอเตอร์ไฟฟ้า 1 เฟส มอเตอร์แบบหนึ่งเฟส (Single Phase Motor) ส่วนใหญ่เป็นมอเตอร์ขนาดเล็ก มีกาลังพิกัดต่ากว่า 1 แรงม้า ขนาดใหญ่สุด ไม่เกิน 5 แรงม้า มีการพันขดลวดเป็นแบบ 1 เฟส โดยต่อเข้ากับแหล่งจ่ายไฟฟ้า 220 โวลต์ มอเตอร์เหนี่ยวนา 1 เฟส ไม่ส ามารถเริ่ม เดิน ด้ว ยตัว เองได้ จึง ต้อ งมีตัว ช่ว ยเดิน โดยการเพิ่ ม ขดลวดอีก 1 ชุด คือ ขดลวดช่วยเดิน (Auxiliary Winding) ทั้งนี้ สามารถแบ่งตามลักษณะโครงสร้างและลักษณะการเริ่มเดินได้ 2 กลุ่ม คือ 18 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 4

1.1 มอเตอร์เหนี่ยวนาหนึ่งเฟส (Single Phase Induction) ได้แก่ 1) สปลิ ทเฟสมอเตอร์ (Split Phase Motor) มีขนาดแรงม้าขนาดตั้ งแต่ 1/4, 1/3 และ 1/2 แรงม้ า โดยมีขนาดไม่เกิน 1 แรงม้า นิยมเรียกสปลิทเฟสมอเตอร์นี้ว่า อินดักชั่นมอเตอร์ (Induction Motor) นิยมใช้งานมากในเครื่องซักผ้า ตู้เย็น และเครื่องสูบน้าขนาดเล็ก

ภาพที่ 1.6 สปลิทเฟสมอเตอร์ 2) คาปาซิเตอร์มอเตอร์ (Capacitor Motor) มีลักษณะคล้ายสปลิทเฟสมอเตอร์ แต่มีแรงบิด ขณะสตาร์ท สูงกว่า โดยใช้กระแสไฟขณะสตาร์ทน้อย เมื่อความเร็วมอเตอร์ประมาณร้อยละ 75 ของความเร็วพิกัด จะมีสวิตช์แรงเหวี่ยงหนีศูนย์กลางเป็นตัวตัดคาปาซิเตอร์และขดสตาร์ทออกจากวงจร คาปาซิเตอร์มอเตอร์ มีขนาดตั้งแต่ 1-2 แรงม้าถึง 10 แรงม้า นิยมใช้งานใน ตู้แช่ตู้เย็น เครื่องอัดลม และปั๊มน้า

ภาพที่ 1.7 คาปาซิเตอร์มอเตอร์ 3) เชดเดดโพลมอเตอร์ (Shaded Pole Motor) หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่ามอเตอร์แบบบังขั้ว เป็นมอเตอร์ ขนาดเล็กที่สุ ด มีแรงบิดเริ่ มหมุนต่ามาก นาไปใช้งานกับเครื่องใช้ไฟฟ้าขนาดเล็ ก เช่น ไดร์เป่าผม พัดลมขนาดเล็ก เป็นต้น

19 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 4

ภาพที่ 1.8 เชดเดดโพลมอเตอร์ 1.2 มอเตอร์หนึ่งเฟสที่มีตัวหมุน ลักษณะเป็นทุ่นอาร์เมเจอร์ ใช้ขดลวดทองแดงพันปลายสายต่อเข้ากับ คอมมิวเทเตอร์ ได้แก่ 1) รีพัลชั่นมอเตอร์ (Repulsion Motor) ให้แรงบิดขนาดเริ่มเดินสูงประมาณ 350% ของแรงบิดเต็มพิกัด และ มีกระแสไฟฟ้าขณะเริ่มเดินประมาณ 3 - 4 เท่าของกระแสขณะโหลดเต็มพิกัด เหมาะสาหรับใช้งานที่ ต้องการแรงบิดเริ่มหมุนมาก ๆ เช่น เครื่องปั๊มลมขนาดใหญ่ เครื่องทาความเย็นขนาดใหญ่ หรือตู้แช่ เป็น ต้น

ภาพที่ 1.9 รีพัลชั่นมอเตอร์ 2) ยู นิ เ วอร์ แ ซลมอเตอร์ (Universal Motor) เป็ น มอเตอร์ ข นาดเล็ ก มี ข นาดก าลั ง ไฟฟ้ า ตั้ ง แต่ 1/200 แรงม้าถึง 1/30 แรงม้า นาไปใช้ได้กับแหล่ งจ่า ยไฟฟ้า กระแสตรง และใช้ได้ กับ แหล่ง จ่า ย ไฟฟ้ากระแสสลับชนิด 1 เฟสให้แรงบิดเริ่มหมุนสูงนาไปปรับความเร็วได้ ทั้ง ปรับความเร็วได้ง่าย ทั้งวงจรลดแรงดันและวงจรควบคุมอิเล็กทรอนิกส์ นิยมนาไปใช้ เป็นตัวขับเครื่องใช้ไฟฟ้าภายในบ้าน และเครื่องมือช่าง เช่น เครื่องบดและผสมอาหาร มีด โกนหนวดไฟฟ้า มอเตอร์จักรเย็บผ้า สว่านไฟฟ้า เป็นต้น

20 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 4

ภาพที่ 1.10 ยูนิเวอร์แซลมอเตอร์ 2. หลักการทางานมอเตอร์ไฟฟ้า 3 เฟส มอเตอร์เหนี่ยวนาสามเฟส เป็นมอเตอร์ที่นิยมในโรงงานอุตสาหกรรม มีกาลังพิกัดต่ากว่า 1-2 แรงม้า จนถึงขนาด แรงม้าสูง มีการพันขดลวดที่สเตเตอร์ 3 ชุด ต่อใช้งานกับระบบไฟ 3 เฟส 380 โวลต์ เพื่อทาให้เกิดสนามแม่เหล็กหมุน ที่สเตเตอร์ และโรเตอร์จะหมุนตามทิศทางของสนามแม่เหล็กหมุน สามารถแบ่งออกตามโครงสร้างและหลักการทางาน ของมอเตอร์ได้ 2 แบบ คือ 2.1 มอเตอร์กระแสสลับ 3 เฟส แบบอินดักชั่น (3 Phase Induction Motor) มอเตอร์ไฟสลับ 3 เฟสที่มีคุณสมบัติที่ดี คือมีความเร็วรอบคงที่เนื่องจากความเร็วรอบของอินดักชั่นมอเตอร์ ขึ้นอยู่กับความถี่ (Frequency) ของแหล่งกาเนิดไฟฟ้ากระแสสลับ มีราคาถูก โครงสร้างไม่ซับซ้อน สะดวกในการ บารุงรักษาเพราะไม่มี คอมมิวเทเตอร์ และแปรงถ่านเหมือนมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง เมื่อใช้ร่วมกันเครื่องควบคุม ความเร็วแบบอินเวอร์เตอร์ (Invertor) สามารถควบคุมความเร็ว (Speed) ได้ตั้งแต่ศูนย์จนถึงความเร็วตามพิกัดของ มอเตอร์ นิยมใช้กันมาก เป็นต้นกาลังในโรงงานอุตสาหกรรม ขับเคลื่อนลิฟท์ ขับเคลื่อนสายพานลาเลียง ขับเคลื่อน เครื่องจักรไฟฟ้า เช่น เครื่องไส เครื่องกลึง มอเตอร์อินดักชั่นมี 2 แบบ แบ่งตามลักษณะตัวหมุนคือ 1) อินดักชั่นมอเตอร์ที่มีโรเตอร์แบบกรงกระรอก (Squirrel Cage Induction Motor) มีโครงสร้างแบบ กรงกระรอกเหมือนกับโรเตอร์ของสปลิทเฟสมอเตอร์ นิยมใช้ในงานอุตสาหกรรม เนื่องจากสร้างง่ายใช้ การบารุงรักษาน้อย มีความทนทาน และราคาถูก

ภาพที่ 1.11 มอเตอร์แบบกรงกระรอก 21 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 4

2) อิ น ดั ก ชั่ น มอเตอร์ ที่ มี โ รเตอร์ แ บบขดลวด (Wound Rotor Induction Motors) หรื อ เรี ย ก อีกอย่างหนึ่งว่า สลิปริงมอเตอร์ (Slip Ring Motor) การพันขดลวดสเตเตอร์มีลักษณะเดี ยวกับ มอเตอร์แบบแรก ต่างกันที่โรเตอร์จะพันด้วยขดลวดทองแดงสามเฟสและต่อแบบสตาร์ปลายสาย ของขดลวดทั้งสามเฟสจะต่อเข้ากับสลิปริงสามวงผ่าน แปรงถ่านเข้ากับความต้านทานภายนอก ที่ปรับค่าได้ นิยมใช้ในงานอุตสาหกรรมหนัก เช่น ใช้ในการขับลูกกลิ้ง ลูกรีด โรงงานถลุงเหล็ก แปรรูปเหล็ก เป็นต้น

ภาพที่ 1.12 มอเตอร์แบบพันขดลวด 2.2

มอเตอร์ ไฟฟ้า กระแสสลั บ 3 เฟส แบบซิงโครนัส (3 Phase Synchronous Motor) เป็นมอเตอร์ที่ใหญ่ที่สุด ที่ขนาดพิกัดของกาลังไฟฟ้าตั้งแต่ 150 kW (200 HP) จนถึง 15 MW (20000 HP) มีความเร็วตั้งแต่ 150 ถึง 1800 RPM

ภาพที่ 1.13 มอเตอร์ซิงโครนัสมอเตอร์

22 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 4

ใบทดสอบ คาชี้แจง ให้ผู้รับการฝึกทาเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคาตอบข้อที่ถูกที่สุดเพียงข้อเดียว

1. จากรูปเป็นมอเตอร์ไฟฟ้าชนิดใด ก. รีพัลชั่นมอเตอร์ ข. สปลิทเฟสมอเตอร์ ค. มอเตอร์แบบพันขดลวด ง. มอเตอร์ซิงโครนัสมอเตอร์ 2. ข้อใดต่อไปนี้กล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับหลักการทางานของมอเตอร์ไฟฟ้า 1 เฟส ก. สปลิทเฟสมอเตอร์ มีขนาดแรงม้าขนาดตั้งแต่ 1/4, 1/3 และ 1/2 แรงม้า ข. รีพัลชั่นมอเตอร์ให้แรงบิดขนาดเริ่มเดินสูงประมาณ 350% ของแรงบิดเต็มพิกัด ค. ยูนิเวอร์แซลมอเตอร์เป็นมอเตอร์ขนาดเล็กมีขนาดกาลังไฟฟ้าตั้งแต่ 1/200 แรงม้าถึง 1/30 แรงม้า ง. เชดเดดโพลมอเตอร์ หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่ามอเตอร์แบบบังขั้ว เป็นมอเตอร์ขนาดใหญ่ที่สุด มีแรงบิดเริ่มหมุนสูงที่สุด 3. ข้อใดต่อไปนี้กล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับอินดักชั่นมอเตอร์ ก. อินดักชั่นมอเตอร์ที่มีโรเตอร์แบบกรงกระรอก สร้างยาก ต้องบารุงรักษาสม่าเสมอ ราคาสูง และไม่ทนทาน ข. อินดักชั่นมอเตอร์ที่มีโรเตอร์แบบกรงกระรอกนิยมใช้ในงานอุตสาหกรรม ค. อินดักชั่นมอเตอร์ที่มีโรเตอร์แบบขดลวด นิยมใช้ในงานอุตสาหกรรมหนัก เช่น ใช้ในการขับลูกกลิ้ง ลูกรีด โรงงานถลุงเหล็ก ง. อินดักชั่นมอเตอร์ที่มีโรเตอร์แบบขดลวด โรเตอร์จะพันด้วยขดลวดทองแดงสามเฟสและต่อแบบสตาร์ ปลายสายของขดลวดทั้งสามเฟสจะต่อเข้ากับสลิปริง

23 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 4

กระดาษคาตอบ ข้อ

1 2 3

24 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 4

รายละเอียดหัวข้อวิชาที่ 2 0921720802 การต่อมอเตอร์หลายความเร็ว (ใบแนะนา) 1. ผลลัพธ์การเรียนรู้ 1. อธิบายวิธีการต่อมอเตอร์หลายความเร็วได้ 2. ต่อมอเตอร์หลายความเร็วได้

2. หัวข้อสาคัญ - การต่อมอเตอร์หลายความเร็ว 3. วิธีการฝึกอบรม การฝึกอบรมสามารถเลือกได้ 3 รูปแบบ คือ 1) การฝึกอบรมด้วยการส่งมอบสื่อสิ่งพิมพ์ 2) การฝึกอบรมที่ศูนย์ฝึกอบรม 3) การฝึกอบรมด้วยสื่อในระบบออนไลน์ ดังรายละเอียดในข้อแนะนาสาหรับผู้รับการฝึก

4. อุปกรณ์ช่วยฝึก อุปกรณ์ช่วยฝึกสามารถเลือกใช้งานได้ 2 รูปแบบ คือ 1. รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ์ (Offline) ประกอบด้วย - คู่มือผู้รับการฝึก เพื่อใช้ศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คู่มือการประเมิน เพื่อใช้ในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน์ (DVD) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 2. รูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ (Online) ประกอบด้วย - คู่มือผู้รับการฝึกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) เพื่อใช้ศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คู่มือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) เพื่อใช้ในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน์ (Online) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ

25 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 4

5. การรับการฝึกอบรม 1. ผู้รับการฝึกทาแบบทดสอบก่อนฝึก (Post-Test) แล้วส่งให้ครูฝึกหรือระบบประเมินผลตามวิธีที่เลือกฝึกอบรม 1.1 ถ้าผลการประเมินผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ตามที่กาหนดในเอกสารโครงร่างหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเข้ารับการฝึก ภาคปฏิบัติ (ถ้ามี) หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลถัดไป หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลที่ครูฝึกกาหนดได้ 1.2 ถ้าผลการประเมินต่ากว่าร้อยละ 70 ให้ผู้รับการฝึกเข้าฝึกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝึกอบรมภาคทฤษฎี ให้ผู้รับการฝึกศึกษาคู่มือผู้รับการฝึก และฝึกหัดทาใบทดสอบท้ายหัวข้อวิชา 3. เมื่อผู้รับการฝึกศึกษาคู่มือผู้รับการฝึกประจาโมดูลนั้นเข้าใจแล้ว ให้ทาแบบทดสอบหลังฝึก (Post-Test) แล้วส่งให้ ครูฝึกหรือระบบประเมินผลเช่นเดียวกับแบบทดสอบก่อนฝึก 4. การฝึกอบรมภาคปฏิบัติ ผู้รับการฝึกอ่านและทาความเข้าใจกับใบงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน และเกณฑ์การวัด และประเมินผลงาน 5. ผู้รับการฝึกเข้ารับการฝึกที่ศูนย์ฝึกอบรมที่ลงทะเบียนหรือจองไว้ 6. ผู้รับการฝึกอ่านระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับความปลอดภัยในการฝึกของหน่วยฝึก 7. ผู้รับการฝึกฟังคาชี้แจงลาดับการปฏิบัติงานตามใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน 8. ผู้รับการฝึกปฏิบัติงานตามใบงาน แล้วส่งให้ครูฝึกตรวจประเมินผล 9. ผู้รับการฝึกที่คะแนนผลงานผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 สามารถขอทดสอบเพื่อจบโมดูลที่ฝึกกับครูฝึก

6. การวัดผล 1. ผู้รับการฝึกส่งแบบทดสอบก่อนฝึก ให้ครูฝึกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎีตามวิธีที่เลือกฝึกอบรม 1.1 ถ้าผลการประเมินผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ตามที่กาหนดในเอกสารโครงร่างหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเข้ารับการฝึก ภาคปฏิบัติ (ถ้ามี) หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลถัดไปได้ 1.2 ถ้าผลการประเมินต่ากว่าร้อยละ 70 ให้ครูฝึกมอบหมายให้ผู้รับการฝึกศึกษาเนื้อหาจากสื่อด้วยตนเองจน เข้าใจ จึงทาแบบทดสอบหลังฝึก (Post-Test) 2. ผู้รับการฝึกส่งแบบทดสอบหลังฝึก ให้ครูฝึกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎี โดยใช้หลักเกณฑ์เดียวกับการ ประเมินแบบทดสอบก่อนฝึก 3. ผู้รับการฝึกส่งผลงานในการฝึกภาคปฏิบัติให้ครูฝึกตรวจประเมินผลงานของผู้รับการฝึก โดยต้องผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ตามที่กาหนดในเอกสารโครงร่างหลักสูตร จึงจะมีสิทธิ์เข้ารับการฝึกในโมดูลถัดไป หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลที่ ครูฝึกกาหนดได้

26 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 4

7. บรรณานุกรม ฉัตรชาญ ทองจับ. 2557. เครื่องทาความเย็น. ปทุมธานี : สกายบุ๊กส์ วีระศักดิ์ มะโนน้อม และสมชาย วณารักษ์. 2558. เครื่องทาความเย็นและปรับอากาศ. นนทบุรี : เอมพันธ์ สุขสันติ์ หวังสถิตย์วงษ์ และศักรินทร์ เทิดกตัญญูพงศ์. 2549. การออกแบบระบบไฟฟ้า. กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์ศูนย์ส่งเสริมวิชาการ. อานาจ ทองผาสุก และวิทยา ประยงค์พันธุ์. ม.ป.ป. การควบคุมมอเตอร์. ม.ป.ท.

27 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 4

ใบข้อมูล หัวข้อวิชาที่ 2 การต่อมอเตอร์หลายความเร็ว 1. การต่อมอเตอร์หลายความเร็ว 1.1 การควบคุมความเร็วด้วยวิธีการเปลี่ยนแปลงค่าแรงดันไฟฟ้า การเปลี่ ย นแปลงค่ า แรงดั น ไฟฟ้ า ที่ ป้ อ นให้ กั บ มอเตอร์ ไ ฟฟ้ า ซึ่ ง เป็ น การเปลี่ ย นแปลงค่ า สลิ ป นั้ น แม้ ว่ า แรงดันไฟฟ้าที่จ่ายให้กับมอเตอร์ ไฟฟ้าที่มีโรเตอร์แบบกรงกระรอกจะเปลี่ยนแปลงไป 10 เปอร์เซ็นต์ ค่าของความเร็ว จะเปลี่ยนแปลงน้อยมาก ถ้าเปลี่ยนแปลงค่าของแรงดันไฟฟ้าต่อไปอีกก็จะทาให้ค่าแรงบิดสูงสุ ดและกาลังสูงสุดของ มอเตอร์ไฟฟ้าเปลี่ยนแปลงอย่างมาก จึงไม่สามารถนาไปใช้งานได้อย่ างถูกต้อง ซึ่งในการควบคุมแบบนี้ต้ องอาศัยแรง เฉื่อยของโหลดเพื่อทาให้ความเร็วรอบนั้นมีการเปลี่ยนแปลง การควบคุมความเร็วมอเตอร์ไฟฟ้าด้วยวิธีการเปลี่ยนแปลงค่าแรงดันไฟฟ้า สามารถนาไปใช้ในการควบคุม การเริ่มหมุนและปรับความเร็วรอบของมอเตอร์ไฟฟ้าได้ โดยเริ่มจาก การปรับแรงดันไฟฟ้าให้เพิ่มขึ้น ซึ่งจะช่วยลด การกระชากของกระแสไฟฟ้าในขณะที่เริ่มหมุนได้ การลดกระแสไฟฟ้าในขณะเริ่มหมุนนั้นมีความจาเป็นมากสาหรับการใช้งาน มอเตอร์ไฟฟ้าขนาดใหญ่ และจะช่วยลดความเสียหายที่จะเกิดขึ้นกับโหลดได้ ส่วนการปรับความเร็วรอบจะใช้หลักการ ปรับแรงดันไฟฟ้าโดยให้ความถี่มีค่าคงที่ เป็นการปรับความเร็วรอบที่ง่าย แต่ก็มีข้อจากัดคือ การปรับความเร็วรอบ ให้ลดลงโดยการลดแรงดันไฟฟ้า จะส่งผลทาให้แรงบิดลดลง เป็นสาเหตุทาให้มอเตอร์ไฟฟ้าไม่สามารถฉุดโหลดต่อไปได้ ทั้งนี้การควบคุมความเร็วด้วยวิธีการเปลี่ยนแปลงค่าแรงดันไฟฟ้าเป็นวิธีที่เหมาะกับมอเตอร์ไฟฟ้าที่มีโรเตอร์แบบ คอมมิวเทเตอร์ 1.2 การควบคุมความเร็วด้วยวิธีการเปลี่ยนแปลงจานวนขั้วแม่เหล็ก มอเตอร์ไฟฟ้าเหนี่ยวนา 3 เฟส โรเตอร์แบบกรงกระรอก เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงการต่อ ปลายสายขดลวดที่ สเตเตอร์ จะท าให้ ขั้ ว แม่ เ หล็ ก ที่ เ กิ ด ขึ้ น ที่ ส เตเตอร์ เ ปลี่ ย นแปลง เป็ น ผลท าให้ ค วามเร็ ว รอบของมอเตอร์ ไ ฟฟ้ า เปลี่ย นแปลงไปด้วย ลักษณะการเปลี่ยนแปลงความเร็ว จะเป็นขั้นๆ ซึ่งในการเปลี่ยนแปลงความเร็วด้วยวิธีการนี้ ใช้ได้เฉพาะมอเตอร์ไฟฟ้าเหนี่ยวนา 3 เฟส โรเตอร์แบบกรงกระรอก การปรับความเร็วของมอเตอร์ไฟฟ้าเหนี่ยวนา โดยการเปลี่ยนแปลงจานวนขั้วแม่เหล็ก สามารถแบ่งได้ 2 ลักษณะคือ การใช้ขดลวดสเตเตอร์เพียงชุดเดียว และการใช้ ขดลวดสเตเตอร์หลายชุด

28 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 4

1) การใช้ขดลวดสเตเตอร์เพียงชุดเดียว การเปลี ่ย นแปลงวิธ ีก ารต่อ สายของขดลวดสเตเตอร์ โดยอาศัย หลัก การคอนซีเ ควนซ์โ พล (Consequence Pole) หรือเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า “มอเตอร์แบบดาห์ลานเดอร์ (Dahlander Motor)” ซึ่งวิธีนี้ ใช้ได้กับมอเตอร์ไฟฟ้า 2 ความเร็ว โดยมีอัตราส่วนของความเร็วรอบ 2 : 1

รูปที่ 2.1 มอเตอร์แบบดาห์ลานเดอร์ เมื่อพิจารณามอเตอร์แบบดาห์ลานเดอร์ที่เปลี่ยนขั้วแม่เหล็กจาก 2 ขั้วเป็น 4 ขั้ว ความเร็ วรอบจะ เปลี่ยนแปลงจาก 3,000 รอบต่อนาที ไปเป็น 1,500 รอบต่อนาที หรือจากขั้วแม่เหล็ก 4 ขั้ว เป็น 8 ขั้ว จะทาให้ความเร็วรอบเปลี่ยนแปลงจาก 1,500 รอบต่อนาที ไปเป็น 750 รอบต่อนาที

(ก) การต่อขดลวดมอเตอร์ไฟฟ้าความเร็วรอบต่า

(ข) การต่อขดลวดมอเตอร์ไฟฟ้าความเร็วรอบสูง

รูปที่ 2.2 วงจรการต่อขดลวดมอเตอร์แบบดาห์ลานเดอร์ที่ใช้ขดลวดสเตเตอร์เพียงชุดเดียว จากรูปที่ 2.2 การต่อวงจรขดลวดของมอเตอร์แบบดาห์ลานเดอร์แบบ 2 ความเร็ว และ มีแรงบิดคงที่ในรูป ที่ 2.2 (ก) มอเตอร์ไฟฟ้ามีความเร็วรอบต่า และในรูปที่ 2.2 (ข) มอเตอร์ไฟฟ้า มีความเร็วรอบสูง ดังตารางที่ 2.1

29 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 4

ตารางที่ 2.1 การต่อขั้วสายมอเตอร์แบบดาห์ลานเดอร์ที่มีขดลวดสเตเตอร์เพียงชุดเดียว ความเร็วรอบ

สายป้อนแรงดันไฟฟ้าอินพุต 3

ลักษณะขั้วต่อสาย

1

2

3

ต่า

U

V

W

2U,2V,2W เปิดวงจร

สูง

U

V

W

1U,1V,1W ต่อเข้าด้วยกัน

2) การใช้ขดลวดสเตเตอร์หลายชุด เมื่อต้องการอัตราส่วนของความเร็วอื่นๆ ต้องใช้มอเตอร์ไฟฟ้าที่มีขดลวดสเตเตอร์ 2 ชุด โดยชุดที่ 1 มีความเร็วรอบเดียว และชุดที่ 2 มีอีก 2 ความเร็วรอบ ทั้งนี้ ความเร็ว รอบขึ้นอยู่กับจานวนขั้วแม่เหล็ก กาหนดให้มอเตอร์ไฟฟ้ามีขั้วแม่เหล็กเป็นแบบ 8/6/4 ขั้วแม่เหล็ก ความเร็วที่ 6 ขั้วแม่เหล็ก ใช้กับขดลวด ชุดที่ 1 และความเร็วที่ 8 และ 4 ขั้วแม่เหล็ก ใช้ขดลวดชุดเดียวกัน การต่อขดลวดมอเตอร์แบบดาห์ลานเดอร์ สังเกตจากอัตราส่วนของขั้วแม่เหล็ก จะเป็น 2 : 1 ขดลวดทั้ง 2 ชุดอยู่ในมอเตอร์ไฟฟ้าเดียวกัน

1U 1V 1W

M3 ~ 8 / 4 + 6P

3U 3V 3W

2U 2V 2W รูปที่ 2.3 แสดงจุดต่อที่ใช้ขดลวดสเตเตอร์หลายชุดในมอเตอร์แบบดาห์ลานเดอร์ จากรูปที่ 2.3 ตัวเลข 1, 2, 3 และตัวอักษร U, V, W แสดงถึงจุดต่อของขดลวดที่สเตเตอร์ หมายเลข 1 คือความเร็วรอบต่าสุด (8 ขั้วแม่เหล็ก) หมายเลข 2 คือความเร็วรอบปานกลาง (6 ขั้วแม่เหล็ก) หมายเลข 3 คือความเร็วรอบสูงสุด (4 ขั้วแม่เหล็ก)ตัวเลข 8/4 + 6P คือ ขดลวดสเตเตอร์ มี 2 ชุด (8/4 ขดลวดมี 2 ความเร็ว และ 6P ขดลวดมีความเร็วเดียว)

30 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 4

(ก) มอเตอร์หมุนช้า จ่ายไฟเข้าเฉพาะที่ 1U, 1V และ 1W

(ข) มอเตอร์หมุนปานกลาง จ่ายไฟเข้าเฉพาะที่ 2U, 2V และ 2W

(ค) มอเตอร์หมุนเร็ว จ่ายไฟเข้าเฉพาะที่ 3U, 3V และ 3W โดยต่อร่วม 1U, 1V และ 1W เข้าด้วยกัน รูปที่ 2.4 วงจรการต่อขดลวดมอเตอร์แบบดาห์ลานเดอร์ที่ใช้ขดลวดสเตเตอร์หลายชุด

31 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 4

จากรูปที่ 2.4 เป็นการต่อขดลวดมอเตอร์แบบดาห์ลานเดอร์ที่มี 3 ความเร็วรอบ ในรูปวงจรที่ 2.4 (ก) วงจรขดลวดสเตเตอร์จ านวน 8 ขั้วแม่เหล็ก มีความเร็วรอบที่ 750 รอบต่อนาที วงจรที่ 2.4 (ข) วงจร ขดลวดสเตเตอร์จานวน 6 ขั้วแม่เหล็ก มีความเร็วรอบที่ 1,000 รอบต่อนาที วงจรที่ 2.4 (ค) วงจรขดลวดสเตเตอร์ จานวน 4 ขั้วแม่เหล็ก มีความเร็วรอบที่ 1,500 รอบต่อนาที (สังเกตได้จากในรูป ถ้าตัวเลขน้อยแสดงถึง ความเร็วรอบต่า และตัวเลข มากแสดงถึงความเร็วรอบสูง) มอเตอร์ไฟฟ้าแบบนี้จะมีขั้วแม่เหล็กอยู่คู่หนึ่งที่ มีอัตราส่วนของขั้วแม่เหล็กเป็น 2 : 1 เช่น 12/8/6 ขั้วแม่เหล็ก, 12/6/4 ขั้วแม่เหล็ก และ 6/4/2 ขั้วแม่เหล็ก ตารางที่ 2.2 การต่อขั้วสายมอเตอร์แบบดาห์ลานเดอร์ที่มีขดลวดสเตเตอร์หลายชุด ความเร็วรอบ

สายป้อนแรงดันไฟฟ้าอินพุต 3

ลักษณะขั้วต่อสาย

1

2

3

ต่า

U

V

W

2U,2V,2W,3U,3V,3W เปิดวงจร

กลาง

U

V

W

1U,1V,1W,3U,3V,3W เปิดวงจร

สูง

3U

3V

3W

2U,2V,2W เปิดวงจรและ 1U,1V,1W ต่อเข้าด้วยกัน

ในการควบคุมความเร็วรอบด้วยวิธีการต่อปลายสายขดลวดสเตเตอร์ ผู้ใช้งานจะต้องมีความรู้เรื่อง การควบคุมมอเตอร์ไฟฟ้าเหนี่ยวนา 3 เฟส และเข้าใจถึงวิธีการต่อขดลวดที่ สามารถเริ่มหมุนในทิศทางที่ กาหนดได้อย่างถูกต้อง

32 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 4

ใบทดสอบ คาชี้แจง ให้ผู้รับการฝึกทาเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคาตอบข้อที่ถูกที่สุดเพียงข้อเดียว 1. การปรับความเร็วรอบให้ลดลงโดยการลดแรงดันไฟฟ้า จะส่งผลอย่างไรเป็นสาคัญ ก. ส่งผลทาให้แรงบิดลดลง ข. ส่งผลให้กระแสไฟขาด ค. ส่งผลให้มอเตอร์เสียหาย ง. ส่งผลให้แรงบิดเพิ่มขึ้น

2. จากรูปเป็นวงจรอะไร ก. วงจรไฟฟ้าความเร็วรอบสูง ข. วงจรกาลังมอเตอร์สองความเร็ว ค. วงจรควบคุมมอเตอร์หมุนเรียงลาดับความเร็ว ง. วงจรการต่อขดลวดมอเตอร์แบบดาห์ลานเดอร์ที่ใช้ขดลวดสเตเตอร์หลายชุด

33 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 4

3. จากรูปแสดงให้เห็นการทางานของมอเตอร์อย่างไร ก. มอเตอร์หมุนช้า จ่ายไฟเข้าเฉพาะที่ 1U, 1V และ 1W ข. มอเตอร์หมุนช้า จ่ายไฟเข้าเฉพาะที่ 1U ค. มอเตอร์หมุนเร็ว จ่ายไฟเข้าเฉพาะที่ 1U ง. มอเตอร์หมุนเร็ว จ่ายไฟเข้าเฉพาะที่ 1U, 1V และ 1W

34 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 4

กระดาษคาตอบ ข้อ

1 2 3

35 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 4

ใบงาน ใบงานที่ 2.1 การต่อวงจรกาลัง และวงจรควบคุมมอเตอร์สองความเร็ว 1. วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม - ต่อมอเตอร์หลายความเร็วได้

2. ระยะเวลาการฝึกปฏิบัติงาน - ระยะเวลาการฝึกปฏิบัติงานรวม 3 ชั่วโมง 30 นาที

3. คาชี้แจง ให้ผู้รับการฝึกต่อมอเตอร์สองความเร็ว

36 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 4

ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ 2.1 การต่อวงจรกาลัง และวงจรควบคุมมอเตอร์สองความเร็ว 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณ์ป้องกันส่วนบุคคล สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลก่อนเริ่มปฏิบัติงาน ได้แก่ - ถุงมือผ้า - รองเท้านิรภัย - ชุดปฏิบัติการช่าง 1.2 รับฟังคาสั่งจากครูฝึก พร้อมรับใบงาน 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้นที่ปฏิบัติงาน ไม่ให้มีอุปกรณ์อื่น ๆ ที่ไม่เกี่ยวข้อง หรือวัสดุอันตราย เช่น สายไฟฟ้า วางกีดขวางอยู่ 2. ดูแลไม่ให้บุคคลที่ไม่เกี่ยวข้องเข้ามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมชุดปฐมพยาบาลเพื่อใช้ในกรณีฉุกเฉิน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณ์ช่วยเหลือในกรณีฉุกเฉินต่าง ๆ รวมถึงวิธีการใช้อุปกรณ์เหล่านั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณ์ 1. ไขควงแฉก

จานวน 1 ตัว

2. ไขควงแบน

จานวน 1 ตัว

3. คีมช่างไฟฟ้า

จานวน 1 ตัว

4. คีมตัด

จานวน 1 ตัว

5. เครื่องวัดความเร็วรอบมอเตอร์

จานวน 1 ตัว

6. ชุดฝึกมอเตอร์ดาร์เลนเดอร์แบบ 2 ความเร็ว

จานวน 1 ตัว

7. เซอร์กิตเบรกเกอร์ 3P 20 A

จานวน 1 ตัว

8. มัลติมิเตอร์

จานวน 1 ตัว

หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือว่ามีสภาพพร้อมใช้งานหรือไม่ หากพบว่าเครื่องมือชิ้นใดชารุด ให้รายงานครูฝึกให้ทราบ

37 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 4

1.5 การเตรียมวัสดุ 1. แจ็ค สายเสียบชุดฝึก

จานวน 1 ชุด

2. เทปพันสายไฟ

จานวน 1 ม้วน

2. ลาดับการปฏิบัติงาน การต่อวงจรกาลัง และวงจรควบคุมมอเตอร์สองความเร็ว ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คาอธิบาย

ข้อควรระวัง

1. ใช้แจ็คสายเสียบต่อไดอะแกรมมอเตอร์ไฟฟ้า นาแจ็คสายเสียบชุดฝึกต่อวงจรตาม ให้ ค รู ฝึ ก ตรวจความพร้ อ มของ ดังรูป

ไดอะแกรม

อุปกรณ์และความพร้อมของวงจร ก่ อ นจ่ า ยกระแสไฟฟ้ า ทุ ก ครั้ ง ป้ อ ง กั น อั น ต ร า ย ที่ อ า จ ท า ใ ห้ เสียชีวิตได้

2. ต่อระบบไฟฟ้าสามเฟส

ต่อระบบไฟฟ้า 3 เฟส (L1, L2, L3) การต่อระบบไฟฟ้าสามเฟส ที่จ่าย เข้าที่มอเตอร์

ให้กับมอเตอร์ต้องต่อผ่านอุปกรณ์ ป้องกันเสมอ

38 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 4

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

3. ON เซอร์กิตเบรกเกอร์

คาอธิบาย

ON เซอร์กิตเบรกเกอร์

4. ใช้เครื่องวัดความเร็วรอบมอเตอร์ บันทึกผล ใช้เครื่องวัดความเร็วรอบมอเตอร์ บันทึกผล

5. OFF เซอร์กิตเบรกเกอร์

OFF เซอร์กิตเบรกเกอร์

39 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน

ข้อควรระวัง


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 4

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 6. ต่อวงจรตามไดอะแกรม

คาอธิบาย นาแจ็คสายเสียบชุดฝึกต่อวงจรตาม ไดอะแกรม

7. ต่อระบบไฟฟ้า 3 เฟส

ต่อระบบไฟฟ้า 3 เฟส (L1,L2,L3) เข้าที่มอเตอร์

8. ON เซอร์กิตเบรกเกอร์

จากนั้น ON เซอร์กิตเบรกเกอร์

9. วัดความเร็วรอบมอเตอร์

ใช้เครื่องวัดความเร็วรอบมอเตอร์

40 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน

ข้อควรระวัง


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 4

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คาอธิบาย

10. บันทึกผลและ OFF เซอร์กิตเบรกเกอร์

บันทึกผลและ OFF เซอร์กิตเบรกเกอร์

11. ส่งชิ้นงานเพื่อรับการประเมิน

ส่งชิ้นงานเพื่อรับการประเมิน

41 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน

ข้อควรระวัง


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 4

3. ตรวจสอบชิ้นงาน ตรวจสอบและบันทึกข้อบกพร่องต่อไปนี้ ลาดับที่ 1

2

รายการตรวจสอบ

เกณฑ์การพิจารณา

ความถูกต้องของวงจร 1.1 ต่อไดอะแกรมมอเตอร์ 2 ความเร็วแบบหมุนช้าได้ถูกต้อง

ความถูกต้องตามวิธีการปฏิบัติงาน

1.2 ต่อไดอะแกรมมอเตอร์ 2 ความเร็วแบบหมุนเร็วได้ถูกต้อง

ความถูกต้องตามวิธีการปฏิบัติงาน

1.3 ใช้เครื่องมือวัดความเร็วรอบมอเตอร์ได้ถูกต้อง

ความถูกต้องตามวิธีการปฏิบัติงาน

กิจนิสัย 2.1 เตรียมเครื่องมือและอุปกรณ์อย่างถูกต้องและครบถ้วน

ความถูกต้องตามวิธีการใช้งาน

2.2 สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลอย่างถูกต้องและ

ความถูกต้องตามวิธีการใช้งาน

ครบถ้วน ก่อนเริ่มปฏิบัติงาน 2.3 ปฏิบัติตามลาดับขั้นตอนการทางาน

ความถูกต้องตามวิธีการปฏิบัติงาน

2.4 ความปลอดภัยระหว่างการปฏิบัติงาน

ความถูกต้องตามวิธีการปฏิบัติงาน

2.5 การเก็บเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ์ และทาความสะอาดพื้นที่

ความถูกต้องตามวิธีการใช้งาน

ปฏิบัติงาน

42 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 4

ใบให้คะแนนการตรวจสอบ ลาดับที่ 1

รายการประเมิน

เกณฑ์การให้คะแนน

คะแนนเต็ม

การปฏิบัติงาน

15

1.1 ต่อไดอะแกรมมอเตอร์ 2 ความเร็วแบบหมุน - ต่อไดอะแกรมมอเตอร์ 2 ความเร็วแบบหมุนช้า ได้ถูกต้องสมบูรณ์ทุก

5

ช้าได้ถูกต้อง

คะแนนที่ได้

จุด ให้คะแนน 5 คะแนน - ต่อไดอะแกรมมอเตอร์ 2 ความเร็วแบบหมุนช้า ผิด 1 จุด ให้คะแนน 3 คะแนน - ต่อไดอะแกรมมอเตอร์ 2 ความเร็วแบบหมุนช้า ผิดตั้งแต่ 2 จุด ให้ คะแนน 1 คะแนน

1.2 ต่อไดอะแกรมมอเตอร์ 2 ความเร็วแบบหมุน - ต่อไดอะแกรมมอเตอร์ 2 ความเร็วแบบหมุนเร็ว ได้ถูกต้องสมบูรณ์ เร็วได้ถูกต้อง

5

ทุกจุด ให้คะแนน 5 คะแนน - ต่อไดอะแกรมมอเตอร์ 2 ความเร็วแบบหมุนเร็ว ผิด 1 จุด ให้คะแนน 3 คะแนน - ต่อไดอะแกรมมอเตอร์ 2 ความเร็วแบบหมุนเร็ว ผิดตั้งแต่ 2 จุด ให้ คะแนน 1 คะแนน

1.3 ใช้เครื่องมือวัดความเร็วรอบมอเตอร์ได้

- ใช้เครื่องมือวัดความเร็วมอเตอร์ได้ถูกต้อง ให้คะแนน 5 คะแนน

ถูกต้อง

- ใช้เครื่องมือวัดความเร็วมอเตอร์ได้แต่ช้าไม่ชานาญ ให้คะแนน 3

5

คะแนน - ใช้เครื่องมือวัดความเร็วมอเตอร์โดยขอให้เพื่อนหรือครูช่วย ให้ คะแนน 1 คะแนน 2

กิจนิสัย

5

2.1 เตรียมเครื่องมือและอุปกรณ์อย่างถูกต้องและ - ปฏิบัติได้ครบถ้วน ถูกต้อง ให้คะแนน 1 คะแนน ครบถ้วน - ปฏิบัติไม่ครบถ้วน ไม่ถูกต้อง ให้คะแนน 0 คะแนน

1

2.2 สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล

- ปฏิบัติได้ครบถ้วน ถูกต้อง ให้คะแนน 1 คะแนน

1

อย่างถูกต้องและครบถ้วน ก่อนเริ่มปฏิบตั ิงาน

- ปฏิบัติไม่ครบถ้วน ไม่ถูกต้อง ให้คะแนน 0 คะแนน

2.3 ปฏิบัติตามลาดับขั้นตอนการทางาน

- ปฏิบัติได้ครบถ้วน ถูกต้อง ให้คะแนน 1 คะแนน

1

- ปฏิบัติไม่ครบถ้วน ไม่ถูกต้อง ให้คะแนน 0 คะแนน 2.4 ความปลอดภัยระหว่างการปฏิบัติงาน

- ปฏิบัติได้ครบถ้วน ถูกต้อง ให้คะแนน 1 คะแนน

1

- ปฏิบัติไม่ครบถ้วน ไม่ถูกต้อง ให้คะแนน 0 คะแนน 2.5 การเก็บเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ์ และทา

- ปฏิบัติได้ครบถ้วน ถูกต้อง ให้คะแนน 1 คะแนน

ความสะอาดพื้นที่ปฏิบัติงาน

- ปฏิบัติไม่ครบถ้วน ไม่ถูกต้อง ให้คะแนน 0 คะแนน คะแนนเต็ม

1 20

หมายเหตุ หากผู้เข้ารับการฝึกได้รับคะแนน 14 คะแนนขึ้นไป (คะแนนมากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 70) ให้ผู้เข้ารับการฝึก ขอเข้ารับการทดสอบภาคปฏิบัติได้ 43 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 4

คณะผู้จัดทาโครงการ คณะผู้บริหาร 1. นายสุทธิ

สุโกศล

อธิบดีกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน

2. นางถวิล

เพิ่มเพียรสิน

รองอธิบดีกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน

3. นายธวัช

เบญจาทิกุล

รองอธิบดีกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน

4. นายสุรพล

พลอยสุข

รองอธิบดีกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน

5. ว่าที่ร้อยตรี สมศักดิ์ พรหมดา

ผู้อานวยการสานักพัฒนาผู้ฝึกและเทคโนโลยีการฝึก

6. นางเพ็ญประภา

ศิริรัตน์

ผู้อานวยการกลุ่มงานพัฒนาระบบการฝึก

7. นายวัชรพงษ์

มุขเชิด

ผู้อานวยการสานักงานรับรองความรู้ความสามารถ

คาเงิน

ภาควิชาวิศวกรรมโทรคมนาคม คณะวิศวกรรมศาสตร์

คณะที่ปรึกษาโครงการ 1. ผศ. ดร. มนตรี

สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง 2. รศ. ดร. วิสุทธิ์

สุนทรกนกพงศ์

ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้าสื่อสาร คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง

3. ผศ. สันติ

ตันตระกูล

ภาควิชาครุศาสตร์วิศวกรรม คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง

4. นายสุระชัย

พิมพ์สาลี

ภาควิชาครุศาสตร์วิศวกรรม คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง

5. นายวินัย

ใจกล้า

ภาควิชาครุศาสตร์วิศวกรรม คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง

6. นายวราวิช

กาภู ณ อยุธยา

สานักบริหารงานวิจัยและนวัตกรรมพระจอมเกล้าลาดกระบัง สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง

7. นายมนตรี

ประชารัตน์

แผนกวิชาช่างไฟฟ้า วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี

8. นายธเนศ

วงค์วัฒนานุรักษ์

แผนกวิชาช่างไฟฟ้า วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี

9. นายณัฐวุฒิ

เสรีธรรม

แผนกวิชาช่างไฟฟ้า วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี

10. นายหาญยงค์

หอสุขสิริ

แผนกวิชาโลหะการ วิทยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษก มหานคร

11. นายสวัสดิ์

บุญเถื่อน

แผนกวิชาช่างยนต์ วิทยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษก มหานคร 44 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 4

45 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.