หน้าปก
คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 5
คู่มือผู้รับการฝึก 0920164170202 สาขาช่างเครื่องปรับอากาศในบ้านและการพาณิชย์ขนาดเล็ก ระดับ 2
ชุดการฝึกตามความสามารถ (CBT)
โมดูลการฝึกที่ 5 09217307 การเลือกใช้ชนิดและขนาดของคอมเพรสเซอร์ ได้อย่างเหมาะสม
กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 5
คานา คู่มือผู้รับการฝึก สาขาช่างเครื่องปรับอากาศในบ้านและการพาณิชย์ขนาดเล็ก ระดับ 2 โมดูล 5 การเลือกใช้ชนิด และขนาดของคอมเพรสเซอร์ได้อย่างเหมาะสมฉบับนี้ เป็นส่วนหนึ่งของหลักสูตรฝึกอบรมฝีมือแรงงานตามความสามารถ (Competency Based Training : CBT) ซึ่งพัฒนาขึ้นเพื่อใช้เป็นเอกสารประกอบการจัดการฝึกอบรมกับชุดการฝึ กตาม ความสามารถ โดยได้ดาเนินการภายใต้โครงการพัฒนาระบบฝึกและชุดการฝึกตามความสามารถเพื่อการพัฒนาฝีมือแรงงาน ด้ ว ยระบบการฝึ ก ตามความสามารถ (Competency Based Workforce Skill Training System) พ.ศ. 2560 โดยมี วัตถุประสงค์เพื่อให้ผู้รับการฝึกได้ใช้เป็นเครื่องมือในการฝึกอบรมให้เป็นไปตามหลักสูตร กล่าวคือ หลังเรียนจบโมดูลการฝึก ผู้รับการฝึกสามารถอธิบายสัญลักษณ์ทางไฟฟ้าแบบและวงจรทางไฟฟ้าได้อย่างถูกต้อง ระบบการฝึกอบรมตามความสามารถเป็นระบบการฝึกอบรมที่ส่งเสริมให้ผู้รับการฝึกอบรมสามารถฝึกฝนเรียนรู้ได้ ตามพื้นฐานความสามารถของตนในเวลาที่มีความสะดวก โดยเน้นในเรื่องของการส่งมอบการฝึกอบรมที่หลากหลายไปให้แก่ ผู้ รับการฝึ กอบรม และต้องการให้ ผู้ รั บ การฝึ ก อบรมเกิด การเรี ยนรู้ ด้ว ยตนเอง การฝึ กปฏิบัติจะด าเนิน การในรู ป แบบ Learning by Doing และเน้นผลลัพธ์การฝึกอบรมในการที่ทาให้ผู้รับการฝึกอบรมมีความสามารถในการปฏิบัติงานตามที่ ตลาดแรงงานต้องการ โดยยึดความสามารถของผู้รับ การฝึกเป็นหลัก การฝึกอบรมในระบบดังกล่าว จึงเป็นรูปแบบการ ฝึกอบรมที่สามารถรองรับการพัฒนารายบุคคลได้เป็นอย่างดี นอกจากนี้ เนื้อหาวิชาในหลักสู ตรการฝึกตามความสามารถ (Competency Based Curriculum : CBC) ซึ่งได้จากการวิเคราะห์งานอาชีพ (Job Analysis) ในแต่ละสาขาอาชีพ จะถูก กาหนดเป็นรายการความสามารถหรือสมรรถนะ (Competency) ที่ผู้รับการฝึกอบรมจาเป็นต้องใช้ในการปฏิบัติงาน และ สอดคล้องกับความต้องการของสถานประกอบกิจการและภาคอุตสาหกรรม ซึ่งผู้รับการฝึกจะต้องเรียนรู้และฝึกฝนจนกว่าจะ สามารถปฏิบัติเองได้ ตามมาตรฐานที่กาหนดในแต่ละรายการความสามารถ ทั้งนี้ การส่งมอบการฝึก สามารถดาเนินการได้ ทั้งรูปแบบการเรียนรู้ผ่านสื่อสิ่งพิมพ์ (Paper Based) และผ่านสื่อคอมพิวเตอร์ (Computer Based) โดยผู้รับการฝึกสามารถ เรียนรู้ได้ด้วยตนเอง (Self-Learning) ที่บ้านหรือที่ทางาน และเข้ารับการฝึกภาคปฏิบัติตามความพร้อม ตามความสะดวก ของตน หรือตามแผนการฝึก หรือตามตารางการนัดหมาย การฝึกหรือทดสอบประเมินผลความรู้ความสามารถกับหน่วยฝึก โดยมีครูฝึกหรือผู้สอนคอยให้คาปรึกษา แนะนาและจัดเตรียมการฝึกภาคปฏิบัติ รวมถึงจัดเตรียมและดาเนินการทดสอบ ประเมินผลในลักษณะต่าง ๆ อันจะทาให้สามารถเพิ่มจานวนผู้รับการฝึกได้มากยิ่งขึ้น ช่วยประหยัดเวลาในการเดินทาง และ ประหยั ดงบประมาณค่าใช้จ่ ายในการพัฒ นาฝี มือแรงงานให้ แก่กาลั ง แรงงานในระยะยาว จึงถือเป็นรูปแบบการฝึ กที่มี ความสาคัญต่อการพัฒนาฝีมือแรงงาน ทั้งในปัจจุบันและอนาคต ซึ่งหากมีการนาระบบการฝึกอบรมตามความสามารถมาใช้ ในการพัฒนาฝีมือแรงงาน จะช่วยทาให้ประชาชน ผู้ใช้แรงงานผู้ว่างงาน นักเรียน นักศึกษา และผู้ประกอบอาชีพอิสระ สามารถเข้าถึงการฝึกอบรมเพื่อพัฒนาตนเองได้อย่างสะดวก และได้รับประโยชน์อย่างทั่วถึงมากยิ่งขึ้น กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน
ก กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 5
สารบัญ เรื่อง
หน้า
คานา
ก
สารบัญ
ข
ข้อแนะนาสาหรับผู้รับการฝึก
1
โมดูลการฝึกที่ 5 09217307 การเลือกใช้ชนิดและขนาดของคอมเพรสเซอร์ได้อย่างเหมาะสม หัวข้อวิชาที่ 1 0921730701 การเลือกคอมเพรสเซอร์ที่เหมาะสม
11
คณะผู้จัดทาโครงการ
20
ข กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 5
ข้อแนะนาสาหรับผูร้ ับการฝึก ข้อแนะนาสาหรับผู้รับการฝึก คือ คาอธิบายเกี่ยวกับรายละเอียดของคู่มือ และขั้นตอนการเข้ารับการฝึก ซึ่งมีอยู่ด้วยกัน 6 ข้อ ดังนี้
1. รายละเอียดของคู่มือ 1.1 โมดูลการฝึก / หัวข้อวิชา หมายถึง โมดูลการฝึกที่ครูฝึกต้องจัดการฝึกอบรม โดยภายในโมดูลจะประกอบไปด้วย หัวข้อวิชาที่ผู้รับ การฝึ กต้องเรี ย นรู้ และฝึกฝน ซึ่งมีรหัสโมดูล และรหัส หัว ข้อวิชาเป็นตัว กาหนดความสามารถ ที่ต้องเรียนรู้ 1.2 ระยะเวลาการฝึก หมายถึง จานวนชั่วโมงในการฝึกอบรม เพื่อให้บรรลุตามวัตถุประสงค์ของแต่ละโมดูล 1.3 ระบบการฝึกตามความสามารถ (CBT) หมายถึง ระบบการฝึกที่เกิดจากการนาความรู้ ทักษะ ความสามารถ (Competency) ที่จาเป็นสาหรับการทางานมาเป็นฐาน (Based) ของการจัดฝึกอบรม หรือนามากาหนดเป็นเนื้อหา (Content) และเกณฑ์ก ารประเมิน การฝึก อบรม ทาให้ผู้รับ การฝึก อบรมมีค วามสามารถ (Competency) ตามเกณฑ์มาตรฐานที่กาหนด และตามความสามารถในการเรียนรู้ของผู้รับการฝึกเป็นหลัก 1.4 ชุดการฝึก หมายถึง สื่อสิ่งพิมพ์ และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ใช้สาหรับเป็นอุปกรณ์ช่วยฝึก โดยแต่ละโมดูลประกอบด้วย คู่มือครูฝึก คู่มือผู้รับการฝึก คู่มือประเมิน สื่อวีดิทัศน์ 1.5 ระบบจัดการฝึกด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer Managed Instruction : CMI) หมายถึง การนาระบบคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศ ซึ่งใช้ในการจัดการเรียนรู้และฝึกอบรม เช่น ระบบรับสมัครออนไลน์ ระบบลงทะเบียน เข้า รับ การฝึก อบรมออนไลน์ ระบบการฝึก อบรมภาคทฤษฎีผ่านอุปกรณ์อิเล็ก ทรอนิก ส์ห รือ อุปกรณ์สื่อสาร แบบพกพา การทดสอบออนไลน์ การบันทึกผลการฝึกอัตโนมัติ และการออกใบวุฒิบัตรอิเล็กทรอนิกส์ เป็นต้น โดยการเข้า ใช้ง านระบบ แบ่งส่ว นการใช้ง านตามความรับผิด ชอบของผู้มีส่ว นได้ส่ว นเสีย ดัง ภาพในห น้า 2 ซึ่งรายละเอียดการใช้งานของผู้เข้ารับการฝึกสามารถดูได้จากลิงค์ mlearning.dsd.go.th/download/files/trainee.pdf
1 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 5
2 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 5
2. ผังการฝึกอบรม
3 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 5
3. วิธีการฝึกอบรม 3.1 ผู้รับการฝึก ทาความเข้าใจการฝึกอบรมในระบบ CBT ซึ่งสามารถฝึกอบรมได้ 3 รูปแบบ คือ 3.1.1 การฝึกอบรมด้วยการส่งมอบสื่อสิ่งพิมพ์ (Offline) 3.1.2 การฝึกอบรมที่ศูนย์ฝึกอบรม (Offline) 3.1.3 การฝึกอบรมด้วยสื่อในระบบออนไลน์ (Online) โดยในแต่ละรูปแบบจะมีรายละเอียดแตกต่างกัน ดังนี้ 3.1.1 การฝึกอบรมด้วยการส่งมอบสื่อสิ่งพิมพ์ (Offline) คือ การฝึก อบรมที่ผู้รับ การฝึกเรียนรู้ภ าคทฤษฎี (ด้า นความรู้) ด้ว ยตนเอง โดยครูฝึก เป็นผู้ส่งมอบ คู่มือผู้รับการฝึกที่พิมพ์จากสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) และวีดิทัศน์ (DVD) แก่ผู้รับการฝึก และฝึกภาคปฏิบัติ (ด้านทักษะ) ที่ศูนย์ฝึกอบรม การฝึกภาคทฤษฎี - ผู้รับการฝึกเรียนรู้ภาคทฤษฎีด้วยตนเอง โดยใช้คู่มือผู้รับการฝึกที่พิมพ์จากสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) และวีดิทัศน์ (DVD) ที่ครูฝึกส่งมอบให้ การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ผู้รับการฝึกทาแบบทดสอบก่อนฝึก (Pre-Test) ลงในกระดาษคาตอบ แล้วส่งกระดาษคาตอบ ให้ครูฝึก เพื่อตรวจและประเมินผล 2) ครูฝึกประเมินแบบทดสอบก่อนฝึก - ถ้าผลการประเมินผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ตามที่กาหนดในเอกสารโครงร่างหลั กสูตร จะมีสิท ธิ์ข อเข้า รับ การฝึก ภาคปฏิบัติ (ถ้า มี) หรือ เข้า รับ การฝึก ในโมดูล ถัด ไป หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลที่ครูฝึกกาหนดได้ - ถ้าผลการประเมินต่ากว่าร้อยละ 70 ให้ครูฝึกมอบหมายให้ผู้รับการฝึกศึกษาเนื้อหา จากสื่อด้วยตนเองจนเข้าใจ จึงทาแบบทดสอบหลังฝึก (Post-Test) 3) ผู้รับการฝึกทาแบบทดสอบหลังฝึก (Post-Test) ลงในกระดาษคาตอบ แล้วส่งให้ครูฝึกตรวจ และประเมินผล โดยใช้หลักเกณฑ์เดียวกับการประเมินแบบทดสอบก่อนฝึก 3.1.2 การฝึกอบรมที่ศูนย์ฝึกอบรม (Offline) คือ การฝึกอบรมที่ผู้รับการฝึกเรียนรู้ภาคทฤษฎีจากครูฝึก และฝึกภาคปฏิบัติที่ศูนย์ฝึกอบรม การฝึกภาคทฤษฎี - ผู้รับการฝึกเรียนรู้ภาคทฤษฎีจากครูฝึกโดยใช้สื่อสิ่งพิมพ์จากสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) และวีดิทัศน์ (DVD) ที่ศูนย์ฝึกอบรม
4 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 5
การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ผู้รับการฝึกทาแบบทดสอบก่อนฝึก (Pre-Test) ลงในกระดาษคาตอบ แล้วส่งกระดาษคาตอบ ให้ครูฝึกตรวจและประเมินผล 2) ครูฝึกประเมินแบบทดสอบก่อนฝึก - ถ้าผลการประเมินผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ตามที่กาหนดในเอกสารโครงร่างหลั กสูตร ผู้รับการฝึกจะมีสิทธิ์ขอเข้ารับการฝึกภาคปฏิบัติ (ถ้ามี) หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลถัดไป หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลที่ครูฝึกกาหนดได้ - ถ้าผลการประเมินต่ากว่าร้อยละ 70 ให้ผู้รับการฝึกศึกษาเนื้อหาจากสื่อด้วยตนเอง จนเข้าใจ จึงทาแบบทดสอบหลังฝึก (Post-Test) 3) ผู้รับการฝึกทาแบบทดสอบหลังฝึก (Post-Test) ลงในกระดาษคาตอบ แล้วส่งให้ครูฝึกตรวจ และประเมินผล โดยใช้หลักเกณฑ์เดียวกับการประเมินแบบทดสอบก่อนฝึก 3.1.3 การฝึกอบรมด้วยสื่อในระบบออนไลน์ (Online) คือ การฝึกอบรมที่ผู้รับการฝึกเรียนรู้ภาคทฤษฎีด้วยตนเองผ่านระบบจัดการฝึกด้วยคอมพิวเตอร์ หรือ CMI โดยใช้คู่มือผู้รับการฝึกที่เป็นสื่อออนไลน์ในแอปพลิเคชัน DSD m-Learning และฝึกภาคปฏิบัติที่ศูนย์ฝึกอบรม วิธีดาวน์โหลดแอปพลิเคชัน DSD m-Learning - ผู้รับการฝึกดาวน์โหลดแอปพลิ เคชัน DSD m-Learning ซึ่งวิธีการดาวน์โหลดแอปพลิ เ คชัน สามารถแบ่งออกเป็น 2 ช่องทางตามแต่ละระบบปฏิบัติการ คือ 1) ผู้รับการฝึกที่ใช้เครื่องมือสื่อสารอิเล็กทรอนิกส์ ระบบปฏิบัติการ iOS ค้นหา แอปพลิเคชัน DSD m-Learning ใน App Store จากนั้นกดดาวน์โหลด เพื่อติดตั้งบนเครื่องมือสื่อสาร และเข้าใช้งานโดยกรอก Username และ Password ตามที่เคยลงทะเบียนไว้ 2) ผู้รับการฝึกที่ใช้เครื่องมือสื่ อสารอิเล็ กทรอนิกส์ ระบบปฏิบัติการ Android ค้นหา แอปพลิ เ คชั น DSD m-Learning ใน Google Play Store จากนั้ น กดดาวน์ โ หลด เพื่อติดตั้งบนเครื่องมือสื่อสาร และเข้าใช้งานโดยกรอก Username และ Password ตามที่เคยลงทะเบียนไว้ การฝึกภาคทฤษฎี - ผู้รับการฝึกเรียนรู้ภาคทฤษฎีด้วยตนเอง จากคู่มือผู้รับการฝึก ซึ่งเป็นสื่อออนไลน์บนแอปพลิเคชัน DSD m-Learning การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ผู้รับการฝึกทาแบบทดสอบก่อนฝึก (Pre-Test) ลงในแอปพลิเคชัน โดยระบบจะตรวจและประเมินผล อัตโนมัติ
5 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 5
- ถ้าผลการประเมินผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ตามที่กาหนดในเอกสารโครงร่างหลั กสูตร ผู้รับการฝึกจะมีสิทธิ์ขอเข้ารับการฝึกภาคปฏิบัติ (ถ้ามี) หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลถัดไป หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลที่ครูฝึกกาหนดได้ - ถ้าผลการประเมินต่ากว่าร้อยละ 70 ให้ผู้รับการฝึกศึกษาเนื้อหาจากสื่อด้วยตนเอง จนเข้าใจแล้วจึงทาแบบทดสอบหลังฝึก (Post-Test) 2) ผู้รับการฝึกทาแบบทดสอบหลังฝึก โดยใช้หลักเกณฑ์เดียวกับการประเมินแบบทดสอบก่อนฝึก 3.2 ครูฝึกชี้แจงรูปแบบการฝึกอบรมทั้ง 3 รูปแบบแก่ผู้รับการฝึก เพื่อทาการตกลงรูปแบบการฝึกอบรมร่วมกับผู้รับการฝึก โดยให้ผู้รับการฝึกเลือกวิธีที่สะดวก 3.3 ครูฝึกวางแผนการฝึกตลอดหลักสูตรร่วมกันกับผู้รับการฝึก 4. อุปกรณ์ช่วยฝึกและช่องทางการเข้าถึงอุปกรณ์ช่วยฝึก ผู้รับการฝึกสามารถเลือกใช้อุปกรณ์ช่วยฝึกได้ 2 รูปแบบ คือ รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ์ (Offline) และรูปแบบระบบจัดการฝึก ด้วยคอมพิวเตอร์ หรือ CMI (Online) โดยมีช่องทางการเข้าถึงอุปกรณ์ช่วยฝึกแต่ละรูปแบบแตกต่างกัน ดังนี้ 4.1 รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ์ (Offline) ประกอบด้วย - คู่มือผู้รับการฝึก เพื่อใช้ศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คู่มือการประเมิน เพื่อใช้ในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน์ (DVD) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 4.2 รูปแบบระบบจัดการฝึกด้วยคอมพิวเตอร์ หรือ CMI (Online) ดังนี้ - คู่มือผู้รับการฝึกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) เพื่อใช้ศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คู่มือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) เพื่อใช้ในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน์ (Online) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ
5. การวัดและประเมินผล 5.1 การประเมินผลภาคทฤษฎี (ด้านความรู้) ประเมินผลจากแบบทดสอบภาคทฤษฎีก่อนฝึก และแบบทดสอบภาคทฤษฎีหลังฝึก โดยกาหนดเกณฑ์การให้คะแนน และการระบุความสามารถด้านความรู้ ดังนี้ เกณฑ์การให้คะแนน ภาคทฤษฎี ตั้งแต่ร้อยละ 70 ขึ้นไป ต่ากว่าร้อยละ 70
เกณฑ์การประเมิน ความสามารถ ผ่าน (C) ไม่ผ่าน (NYC) 6
กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 5
ผู้รับการฝึกจะได้รับการประเมินผลการฝึกจากครูฝึก โดยจะต้องสามารถปฏิบัติตามความสามารถในแต่ละโมดูลนั้น ๆ ได้ตามเกณฑ์ที่กาหนด จึงจะถือว่าผ่านการฝึกโมดูลนั้น และเมื่อผ่านการฝึกครบทุกโมดูล จึงจะถือว่าฝึกครบชุดการฝึกนั้น ๆ แล้ว
6. เงื่อนไขการผ่านการฝึก ผู้รับการฝึกที่จะผ่านโมดูลการฝึก ต้องได้รับค่าร้อยละของคะแนนการทดสอบภาคทฤษฏี คะแนนรวมไม่ต่ากว่าร้อยละ 70 จึงจะผ่านโมดูลการฝึก
7 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 5
รายละเอียดหลักสูตร หลักสูตรฝึกอบรมฝีมือแรงงานตามความสามารถ สาขาช่างเครื่องปรับอากาศในบ้าน และการพาณิชย์ขนาดเล็ก ระดับ 2 กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน กระทรวงแรงงาน
รหัสหลักสูตร 0920164170202
1. ขอบเขตของหลักสูตร หลั กสู ตรนี้ พัฒ นาขึ้น ให้ ครอบคลุ มด้านความรู้ ทักษะ และเจตคติแก่ผู้ รับการฝึ กในสาขาช่างเครื่องปรับอากาศ ภายในบ้านและการพาณิชย์ขนาดเล็ก เพื่อให้มีความรู้ความสามารถและทัศนคติ ตามมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่ งชาติ สาขาช่างเครื่องปรับอากาศในบ้านและการพาณิชย์ขนาดเล็ก ระดับ 2 ดังนี้ 1.1 มีความรู้เกี่ยวกับสัญลักษณ์ทางไฟฟ้า การอ่านแบบ และวงจรทางไฟฟ้า 1.2 มีความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวงจรไฟฟ้าในเครื่องปรับอากาศระบบ 3 เฟส อุปกรณ์และหลักการทางานของ ระบบควบคุมต่าง ๆ ที่อยู่ในเครื่องปรับอากาศ 1.3 มีความรู้ความสามารถในการตัด ปรับแต่ง ขยาย บาน ดัด และเชื่อมท่อ 1.4 มีความรู้ความสามารถเกี่ยวกับหลัก การทางานของมอเตอร์ไฟฟ้า 1 เฟส 3 เฟส และการต่อมอเตอร์หลาย ความเร็ว 1.5 มีความรู้เกี่ยวกับการเลือกใช้ชนิดและขนาดของคอมเพรสเซอร์ได้อย่างเหมาะสม 1.6 มีความรู้ความสามารถในการประกอบติดตั้งระบบท่อสารทาความเย็นที่ใช้ในเครื่องปรับอากาศ 1.7 มีความรู้ความสามารถเกี่ยวกับหลักการและวิธีการหล่อลื่นอุปกรณ์ในระบบเครื่องปรับอากาศ 1.8 มีความรู้เกี่ยวกับการจัดเก็บสารทาเย็น เพื่อการเคลื่อนย้ายหรือการซ่อมบารุงโดยการปั๊มดาวน์ หรือใช้เครื่อง เก็บสารทาความเย็นอย่างถูกต้อง และการจัดเก็บอุปกรณ์ระบบสารทาความเย็นเพื่อป้องกันความชื้น 1.9 มีความรู้ความสามารถในการทาความสะอาดระบบ เมื่อภายในระบบมีความชื้น 1.10 มีความรู้ความสามารถในการตรวจสอบการทางานเครื่องปรับอากาศ และการวัดค่าต่าง ๆ 1.11 มีความรู้ความสามารถในการวิเคราะห์และแก้ไขข้อขัดข้องของเครื่องปรับอากาศ 2. ระยะเวลาการฝึก ผู้ รั บ การฝึ กจะได้รั บ การฝึ ก ในภาคทฤษฎี และภาคปฏิบั ติ โดยสถาบันพัฒ นาฝี มือแรงงาน หรือสานักงานพัฒนา ฝีมือแรงงานที่เป็นหน่วยฝึกตามความสามารถใช้ระยะเวลาในการฝึก 72 ชั่วโมง เนื่ อ งจากเป็ น การฝึ ก ที่ ขึ้ น อยู่ กั บ พื้ น ฐานความรู้ ทั ก ษะ ความสามารถและความพร้ อ มของผู้ รั บ การฝึ ก แต่ละคน มีผลให้ผู้รับการฝึกจบการฝึกไม่พร้ อมกัน สามารถจบก่อนหรือเกินระยะเวลาที่กาหนดไว้ในหลั กสูตรได้ 8 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 5
หน่วยฝึกจึงต้องบริหารระยะเวลาในการฝึกให้เหมาะสมตามความจาเป็น ทั้งนี้ ให้อยู่ในดุลยพินิจของผู้อานวยการ สถาบันพัฒนาฝีมือแรงงาน หรือผู้อานวยการสานักงานพัฒนาฝีมือแรงงานที่เป็นหน่วยฝึกตามความสามารถจะเห็นสมควร 3. หน่วยความสามารถและโมดูลการฝึก จานวนหน่วยความสามารถ 11 หน่วย จานวนโมดูลการฝึก 11 โมดูล 4. วุฒิบัตร 4.1 ชื่อเต็ม : วุฒิบัตรพัฒนาฝีมือแรงงาน สาขาช่างเครื่องปรับอากาศภายในบ้านและการพาณิชย์ขนาดเล็ก ระดับ 2 4.2 ชื่อย่อ : วพร. สาขาช่างเครื่องปรับอากาศภายในบ้านและการพาณิชย์ขนาดเล็ก ระดับ 2 4.3 ผู้ รั บ การฝึ ก ที่ ผ่ า นการประเมิ น ผลหรื อ ผ่ า นการฝึ ก ครบทุ ก หน่ ว ยความสามารถ จะได้ รั บ วุ ฒิ บั ต ร วพร. สาขาช่างเครื่องปรับอากาศภายในบ้านและการพาณิชย์ขนาดเล็ก ระดับ 2
9 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 5
รายละเอียดโมดูลการฝึกที่ 5 1. ชื่อหลักสูตร
สาขาช่างเครื่องปรับอากาศในบ้านและการพาณิชย์ขนาดเล็ก รหัสหลักสูตร ระดับ 2 0920164170202 2. ชื่อโมดูลการฝึก การเลือกใช้ชนิดและขนาดของคอมเพรสเซอร์ รหัสโมดูลการฝึก ได้อย่างเหมาะสม 09217307 3. ระยะเวลาการฝึก รวม 1 ชั่วโมง ทฤษฎี 1 ชั่วโมง ปฏิบัติ - ชั่วโมง 4. ขอบเขตของหน่ว ย หน่ ว ยการฝึ กนี้ พัฒ นาขึ้นให้ ครอบคลุ มด้านความรู้ ทักษะ และเจตคติแก่ผู้ รับ การฝึ ก การฝึก เพื่อให้มีความสามารถ ดังนี้ - อธิบายวิธีการเลือกใช้ชนิดและขนาดของคอมเพรสเซอร์ได้อย่างเหมาะสม 5. พื้นฐาน ผู้สมัครเข้ารับการฝึกต้องมีคุณสมบัติ ดังต่อไปนี้ ความสามารถของ 1. มีความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับ วิธีการเลือกใช้ชนิดและขนาดของคอมเพรสเซอร์ได้อย่าง ผู้รับการฝึก เหมาะสม หรือผ่านการฝึกอบรมที่เกี่ยวข้องจากหน่วยงานหรือสถาบันที่เชื่อถือได้ 2. ผู้รับการฝึกผ่านระดับ 1 มาแล้ว 3. ผู้รับการฝึกผ่านโมดูลที่ 4 มาแล้ว 6. ผลลัพธ์การเรียนรู้ : เมื่อสาเร็จการฝึกในโมดูลนี้แล้วผู้รับการฝึกสามารถปฏิบัติงานโดยมีความรู้ความสามารถและใช้ ระยะเวลาฝึก ดังนี้ ระยะเวลาฝึก (ชั่วโมง : นาที) ผลลัพธ์การเรียนรู้ ชื่อหัวข้อวิชา ทฤษฎี ปฏิบัติ รวม อธิบายวิธีการเลือกใช้ชนิดและ หัวข้อที่ 1 : การเลือกคอมเพรสเซอร์ที่ เหมาะสม 1:00 1:00 ขนาดของคอมเพรสเซอร์ ได้อย่างเหมาะสม รวมทั้งสิ้น 1:00 1:00
10 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 5
รายละเอียดหัวข้อวิชาที่ 1 0921730701 การเลือกคอมเพรสเซอร์ที่เหมาะสม (ใบแนะนา) 1. ผลลัพธ์การเรียนรู้ - อธิบายวิธีการเลือกใช้ชนิดและขนาดของคอมเพรสเซอร์ได้อย่างเหมาะสม
2. หัวข้อสาคัญ - การเลือกคอมเพรสเซอร์ที่เหมาะสม
3. วิธีการฝึกอบรม การฝึกอบรมสามารถเลือกได้ 3 รูปแบบ คือ 1) การฝึกอบรมด้วยการส่งมอบสื่อสิ่งพิมพ์ 2) การฝึกอบรมที่ศูนย์ฝึกอบรม 3) การฝึกอบรมด้วยสื่อในระบบออนไลน์ ดังรายละเอียดในข้อแนะนาสาหรับผู้รับการฝึก
4. อุปกรณ์ช่วยฝึก อุปกรณ์ช่วยฝึกสามารถเลือกใช้งานได้ 2 รูปแบบ คือ 1. รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ์ (Offline) ประกอบด้วย - คู่มือผู้รับการฝึก เพื่อใช้ศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คู่มือการประเมิน เพื่อใช้ในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน์ (DVD) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 2. รูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ (Online) ประกอบด้วย - คู่มือผู้รับการฝึกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) เพื่อใช้ศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คู่มือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) เพื่อใช้ในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน์ (Online) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ
11 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 5
5. การรับการฝึกอบรม 1. ผู้รับการฝึกทาแบบทดสอบก่อนฝึก (Post-Test) แล้วส่งให้ครูฝึกหรือระบบประเมินผลตามวิธีที่เลือกฝึกอบรม 1.1 ถ้าผลการประเมินผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ตามที่กาหนดในเอกสารโครงร่างหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเข้ารับการฝึก ภาคปฏิบัติ (ถ้ามี) หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลถัดไป หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลที่ครูฝึกกาหนดได้ 1.2 ถ้าผลการประเมินต่ากว่าร้อยละ 70 ให้ผู้รับการฝึกเข้าฝึกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝึกอบรมภาคทฤษฎี ให้ผู้รับการฝึกศึกษาคู่มือผู้รับการฝึก และฝึกหัดทาใบทดสอบท้ายหัวข้อวิชา 3. เมื่อผู้รับการฝึกศึกษาคู่มือผู้รับการฝึก ประจาโมดูลนั้นเข้าใจแล้ว ให้ทาแบบทดสอบหลังฝึก (Post-Test) แล้วส่งให้ ครูฝึกหรือระบบประเมินผลเช่นเดียวกับแบบทดสอบก่อนฝึก
6. การวัดผล 1. ผู้รับการฝึกส่งแบบทดสอบก่อนฝึก ให้ครูฝึกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎีตามวิธีที่เลือกฝึกอบรม 1.1 ถ้าผลการประเมินผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ตามที่กาหนดในเอกสารโครงร่างหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเข้ารับการฝึก ภาคปฏิบัติ (ถ้ามี) หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลถัดไปได้ 1.2 ถ้าผลการประเมินต่ากว่าร้อยละ 70 ให้ครูฝึกมอบหมายให้ผู้รับการฝึกศึกษาเนื้อหาจากสื่อด้วยตนเองจนเข้าใจ จึงทาแบบทดสอบหลังฝึก (Post-Test) 2. ผู้รับการฝึกส่งแบบทดสอบหลังฝึก ให้ครูฝึกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎี โดยใช้หลักเกณฑ์เดียวกับการประเมิน แบบทดสอบก่อนฝึก
7. บรรณานุกรม มงคล พูนโตนด. 2557. เครื่องทาความเย็น. นนทบุรี : ศูนย์หนังสือเมืองไทย. วีระศักดิ์ มะโนน้อม และสมชาย วณารักษ์. 2556. เครื่องทาความเย็นและปรับอากาศ. กรุงเทพฯ : เอมพันธ์
12 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 5
ใบข้อมูล หัวข้อวิชาที่ 1 การเลือกคอมเพรสเซอร์ที่เหมาะสม 1. การเลือกคอมเพรสเซอร์ที่เหมาะสม คอมเพรสเซอร์ (Compressor) เป็นอุปกรณ์หลักที่สาคัญในระบบการทาความเย็น ทาหน้าที่ในการดูดสารทาความเย็น ในสถานะแก๊สที่มีค่าความดันและอุณหภูมิต่ามาอัด ทาให้ค่าความดันและอุณหภูมิสูงขึ้นโดยยังคงสถานะแก๊สอยู่ แล้วส่งไปกลั่นตัว เป็นของเหลวในคอนเดนเซอร์ ด้ว ยการระบายความร้อนออกจากสารความเย็น คอมเพรสเซอร์สามารถจาแนกออกได้ เป็น 2 ลักษณะ คือ 1.1 จาแนกตามลักษณะโครงสร้าง (Type of Structure) การแบ่ งประเภทแบบนี้ จะพิจ ารณาจากโครงสร้างที่แตกต่างกันของคอมเพรสเซอร์ และอุปกรณ์ขับเคลื่ อน สามารถแบ่งออกได้เป็น 3 แบบ คือ 1) คอมเพรสเซอร์แบบเปิด (Open Type Compressor) อาศัยการขับเคลื่อนโดยเครื่องยนต์ หรือ มอเตอร์ ไฟฟ้ า โดยที ่ต ัว คอมเพรสเซอร์จ ะแยกกัน อยู ่ก ับ ตัว ขับ (Motor) และใช้ต ัว ต่อ (Coupling) หรือ สายพาน (Belt) เชื่อมระหว่างเพลาของมอเตอร์และเพลาข้อเหวี่ยงของคอมเพรสเซอร์เข้าด้วยกัน ข้อดี ของคอมเพรสเซอร์นี้ คือ สามารถถอดส่วนประกอบออกมาเช็คและตรวจซ่อมได้ง่าย และข้อเสีย คือ เมื่อ ใช้งานเป็นเวลานานอาจเกิดการรั่วของน้ายาหรือน้ามันหล่อลื่นได้ ขณะทางานจะมีเสียงดัง รวมทั้งใช้ พื้นที่ขนาดใหญ่ในการติดตั้งคอมเพรสเซอร์ชนิดนี้ จะนิยมใช้กับระบบเครื่องทาความเย็นขนาดใหญ่ คอมเพรสเซอร์ของเครื่องปรับอากาศในรถยนต์ หรือ ห้องเย็น
ภาพที่ 1.1 คอมเพรสเซอร์แบบเปิด 2) คอมเพรสเซอร์ แ บบหุ้ ม ปิ ด (Hermetic Compressor) หรื อ ที่ นิ ย มเรี ย กกั น ว่ า แบบเฮอร์ เ มติ ค ตัวขับเคลื่อนถูกประกอบรวมกันอยู่ในโครงสร้างเดียว ข้อดี คือ มีขนาดเล็ก เกิดการสั่นสะเทือนน้อย 13 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 5
ทางานได้เงียบ ป้องกัน การรั่วไหลได้ดี จึงถูกนามาใช้กับเครื่องทาความเย็นในครัวเรือน ข้อเสีย คือ ไม่สามารถแยกส่วนใดส่วนหนึ่งออกมาซ่อมได้ เพราะคอมเพรสเซอร์ถูกประกอบติดกันไว้ด้วยวิธีการเชื่อม แบบปิดสนิท การถอดออกหรือการตรวจซ่อมจึงเป็นไปได้ยาก
ภาพที่ 1.2 คอมเพรสเซอร์แบบหุ้มปิด 3) คอมเพรสเซอร์แบบกึ่งปิด (Semi-Hermetic Compressor) เป็นคอมเพรสเซอร์ที่ตัวขับเคลื่อนถูก ประกอบ รวมกันในโครงสร้างเดียว โดยอาศัยสลักเกลียว (Bolt) เป็นตัวยึด ข้อดีของคอมเพรสเซอร์ชนิดนี้ คือ สามารถ ถอดส่วนประกอบออกมาเช็คและตรวจซ่อมได้ง่าย โดยที่โครงสร้างอื่นไม่ได้รับความเสียหาย คอมเพรสเซอร์ แบบกึ่งปิดสนิท จะนิยมใช้กับระบบทาความเย็นขนาดกลางไปจนถึงขนาดใหญ่
ภาพที่ 1.3 คอมเพรสเซอร์แบบกึ่งปิด 1.2 จาแนกตามวิธีการอัด (Compressor Method) สามารถแบ่งย่อยได้อีกหลายชนิด ดังนี้ 1) คอมเพรสเซอร์แบบลูกสูบ (Reciprocating Compressor) คอมเพรสเซอร์ชนิดนี้ จะอาศัยการทางานของ เพลาข้อเหวี่ยง (Crank Shaft) ในการขับเคลื่อนลูกสูบทาให้เกิดแรงอัด นิยมใช้กับเครื่องทาความเย็นขนาดเล็ก ๆ ประมาณ 167 บีทียูต่อชั่วโมง ไปจนถึงระบบเครื่องทาความเย็นขนาดใหญ่ประมาณ 50 ถึง 60 ตัน
14 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 5
ภาพที่ 1.4 แสดงคอมเพรสเซอร์แบบลูกสูบ 2) คอมเพรสเซอร์แบบโรตารี่ (Rotary Compressor) อาศัยการทางานของลูกสูบหมุนในการดูดอัดน้ายา โดย ใช้เพลาขับในการขับลู กสูบ แทนเพลาข้อเหวี่ยง ข้อดี คือ คอมเพรสเซอร์มีขนาดเล็ กกว่าแบบลู กสู บ จึงทางานได้เงียบและเกิดการสั่นสะเทือนน้อย นิยมนามาใช้กับเครื่องทาความเย็นในที่พักอาศัย สามารถใช้กับ เครื่องทาความเย็นทาขนาดใหญ่ได้ แต่จะมีความซับซ้อนมากในการออกแบบระบบ
ภาพที่ 1.5 แสดงคอมเพรสเซอร์แบบโรตารี่ 3) คอมเพรสเซอร์แบบสโครล (Scroll Compressor) ประกอบไปด้ว ยชิ้นส่ว นที่สาคัญอยู่ 2 ส่ว น โดย ส่วนแรกจะมีลักษณะเป็นก้นหอยอยู่กับที่ และอีกส่วนหนึ่งจะเป็นส่วนเคลื่อนที่ในลักษณะเยื้องศูนย์แทน การหมุนรอบแกน ข้อดีของคอมเพรสเซอร์นี้ คือ ทางานได้เงียบ เกิดการสั่นสะเทือนน้อย เนื่องจาก คอมเพรสเซอร์แบบนี้จะไม่อาศัยวาล์วหรือใบพัด ไม่ต้องใช้ลิ้นทางดูด – ทางส่ง ประสิทธิภาพสูงกว่า แบบลูกสูบประมาณ 10 ถึง 15% จึงนิยมนามาใช้กับระบบปรับอากาศในสานักงาน ที่พักอาศัย และ ระบบปรับอากาศภายในรถยนต์
15 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 5
ภาพที่ 1.6 แสดงคอมเพรสเซอร์แบบสโครล 4) คอมเพรสเซอร์แบบสกรู (Screw Compressor) อาศัยการทางานของเฟืองแบบสกรูจานวน 2 ตัว คือ สกรูตัวเมียและตัวผู้ โดยที่สกรูตัวเมียจะทาหน้าที่ในการเก็บน้ายา แล้วสกรูตัวผู้นั้นใช้สันเกลียวในการรีด น้ายาออก ข้อเสียของคอมเพรสเซอร์แบบสกรู คือ ในขณะที่ทางานนั้น ช่องว่างระหว่างเกลียวทั้งสอง จะมีน้ามันหล่อลื่นส่วนหนึ่งไหลออกไปพร้อม ๆ กับน้ายาจานวนมากตรงทางออกของคอมเพรสเซอร์ วิธีแก้ไขจะต้องติดตั้งอุปกรณ์แยกน้ามันหล่อลื่นไว้เสมอ เนื่องจากคอมเพรสเซอร์แบบสกรูมีประสิทธิภาพใน การทางานที่สูงมาก จึงเหมาะสาหรับใช้ในระบบปรับอากาศของอุตสาหกรรมขนาดใหญ่
ภาพที่ 1.7 คอมเพรสเซอร์แบบสกรู 5) คอมเพรสเซอร์แบบแรงเหวี่ยงหนีศูนย์กลาง (Centrifugal Compressor) หรือเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า แบบ หอยโข่ง การทางานของคอมเพรสเซอร์แบบนี้จะไม่อาศั ยลูกสูบหรือกระบอกสูบ แต่จะใช้ใบพัดหมุน ด้วยความเร็วรอบสูง ๆ เพิ่มค่าความดันให้กับสารทาความเย็น และอาศัยแรงเหวี่ยงหนีศูนย์กลาง ข้อดี ของคอมเพรสเซอร์นี้ คือ ใช้ค วามดัน ต่าเมื่อ เทีย บกับ คอมเพรสเซอร์อื่น ๆ เหมาะสาหรับ สารทา ความเย็นที่มีจุดเดือดสู ง นิยมใช้กับเครือ่ งปรับอากาศขนาดใหญ่ประมาณ 250 ถึง 1,000 ตัน
16 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 5
ภาพที่ 1.8 คอมเพรสเซอร์แบบแรงเหวี่ยงหนีศูนย์กลาง 6) คอมเพรสเซอร์แบบสวอชเพลต (Swash Plate Compressor) เป็นคอมเพรสเซอร์ที่มีกระบอกลูกสูบหลาย ชุด โดยเรี ย งตัว ในแนวนอนและลู กสู บจะเคลื่ อนที่ในกระบอกสู บ ด้ว ยการหมุนของแนวเพลตเอียง ข้อดี คือ มีรูปร่างกะทัดรัดแต่มีพิกัดทาความเย็นสูง จึงนิยมใช้กับเครื่องปรับอากาศรถยนต์
ภาพที่ 1.9 คอมเพรสเซอร์แบบสวอชเพลต
17 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 5
ใบทดสอบ คาชี้แจง ให้ผู้รับการฝึกทาเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคาตอบข้อที่ถูกที่สุดเพียงข้อเดียว 1. หน้าที่ของคอมเพรสเซอร์ คืออะไร ก. กรองฝุ่นด้านลมออก ข. กรองฝุ่นด้านลมเป่า ค. ดูดน้ามันและความชื้นมากรองให้สะอาดเพื่อการทาความเย็น ง. ดูดสารทาความเย็นที่มีค่าความดันและอุณหภูมิต่ามาอัดให้สูงขึ้น 2. การแบ่งชนิดของคอมเพรสเซอร์ มีหลักเกณฑ์ในการแบ่งกี่ประเภท อะไรบ้าง ก. 1 ประเภท คือ แบ่งตามจานวนขดลวด ข. 1 ประเภท คือ แบ่งตามมาตรฐานสากล ค. ประเภท คือ แบ่งตามลักษณะโครงสร้าง และแบ่งตามลักษณะการอัด ง. ประเภท คือ แบ่งตามลักษณะภายนอก และแบ่งตามลักษณะภายใน 3. การเลือกคอมเพรสเซอร์ต้องพิจารณาสิ่งใดเป็นอันดับแรก ก. ขนาด BTU ของเครื่องทาความเย็น ข. สารทาความเย็นที่ซื้อไว้ ค. ความเย็นที่ผู้อาศัยชอบ ง. พื้นที่ว่างติดตั้ง
18 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 5
กระดาษคาตอบ ข้อ
ก
ข
ค
1 2 3
19 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
ง
คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 5
คณะผู้จัดทาโครงการ คณะผู้บริหาร 1. นายสุทธิ
สุโกศล
อธิบดีกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน
2. นางถวิล
เพิ่มเพียรสิน
รองอธิบดีกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน
3. นายธวัช
เบญจาทิกุล
รองอธิบดีกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน
4. นายสุรพล
พลอยสุข
รองอธิบดีกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน
5. ว่าที่ร้อยตรี สมศักดิ์ พรหมดา
ผู้อานวยการสานักพัฒนาผู้ฝึกและเทคโนโลยีการฝึก
6. นางเพ็ญประภา
ศิริรัตน์
ผู้อานวยการกลุ่มงานพัฒนาระบบการฝึก
7. นายวัชรพงษ์
มุขเชิด
ผู้อานวยการสานักงานรับรองความรู้ความสามารถ
คาเงิน
ภาควิชาวิศวกรรมโทรคมนาคม คณะวิศวกรรมศาสตร์
คณะที่ปรึกษาโครงการ 1. ผศ. ดร. มนตรี
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง 2. รศ. ดร. วิสุทธิ์
สุนทรกนกพงศ์
ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้าสื่อสาร คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
3. ผศ. สันติ
ตันตระกูล
ภาควิชาครุศาสตร์วิศวกรรม คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
4. นายสุระชัย
พิมพ์สาลี
ภาควิชาครุศาสตร์วิศวกรรม คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
5. นายวินัย
ใจกล้า
ภาควิชาครุศาสตร์วิศวกรรม คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
6. นายวราวิช
กาภู ณ อยุธยา
สานักบริหารงานวิจัยและนวัตกรรมพระจอมเกล้าลาดกระบัง สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
7. นายมนตรี
ประชารัตน์
แผนกวิชาช่างไฟฟ้า วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี
8. นายธเนศ
วงค์วัฒนานุรักษ์
แผนกวิชาช่างไฟฟ้า วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี
9. นายณัฐวุฒิ
เสรีธรรม
แผนกวิชาช่างไฟฟ้า วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี
10. นายหาญยงค์
หอสุขสิริ
แผนกวิชาโลหะการ วิทยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษก มหานคร
11. นายสวัสดิ์
บุญเถื่อน
แผนกวิชาช่างยนต์ วิทยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษก มหานคร 20 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 5
21 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน