คู่มือผู้รับการฝึก ช่างบำรุงรักษารถยนต์ ระดับ 2 โมดูล 6

Page 1

หนาปก



คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

คูมือผูรับการฝก 0920163100502 สาขาชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 2

ชุดการฝกตามความสามารถ (CBT)

โมดูลการฝกที่ 6 09210302 การวิเคราะหขอขัดของ และความเสียหายเบื้องตน

กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน



คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

คํานํา

คูมือผูรับการฝก สาขาชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 2 โมดูล 6 การวิเคราะหขอขัดของและความเสียหายเบื้องตน ฉบับ นี้ เป น ส ว นหนึ่งของหลักสูตรฝกอบรมฝ มือแรงงานตามความสามารถ (Competency Based Training : CBT) ซึ่ง พัฒนาขึ้นเพื่อใชเปนเอกสารประกอบการจัดการฝกอบรมกับชุดการฝกตามความสามารถ โดยไดดําเนินการภายใตโครงการ พั ฒ นาระบบฝ ก และชุ ด การฝ ก ตามความสามารถเพื่ อ การพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน ด ว ยระบบการฝ ก ตามความสามารถ (Competency Based Workforce Skill Training System) พ.ศ. 2560 โดยมีวัตถุประสงคเพื่อใหครูฝกไดใชเปนเครื่องมือ ในการบริหารจัดการการฝกอบรมใหเปนไปตามหลักสูตร กลาวคือ สามารถวิเคราะหและแกไขขอขัดของที่เกี่ยวกับระบบตาง ๆ ของรถยนตได ตลอดจนติดตามความกาวหนาของผูรั บการฝ กอบรม ในดานความสามารถหรือสมรรถนะให เปน ไปตาม มาตรฐานที่กําหนด ระบบการฝกอบรมตามความสามารถเปนระบบการฝกอบรมที่สงเสริมใหผูรับการฝกอบรมสามารถฝกฝนเรียนรูได ตามพื้นฐานความสามารถของตนในเวลาที่มีความสะดวก โดยเนนในเรื่องของการสงมอบการฝกอบรมที่หลากหลายไปใหแก ผูรับ การฝ กอบรม และต องการให ผู รั บ การฝ ก อบรมเกิด การเรี ย นรู ดว ยตนเอง การฝกปฏิบัติจ ะดํ าเนิน การในรู ป แบบ Learning by Doing และเนนผลลัพธการฝกอบรมในการที่ทําใหผูรับการฝกอบรมมีความสามารถในการปฏิบัติงานตามที่ ตลาดแรงงานตองการ โดยยึดความสามารถของผูรับการฝกเปนหลัก การฝกอบรมในระบบดังกลาว จึงเปนรูปแบบการ ฝกอบรมที่สามารถรองรับการพัฒนารายบุคคลไดเปนอยางดี นอกจากนี้ เนื้อหาวิชาในหลักสูตรการฝกตามความสามารถ (Competency Based Curriculum : CBC) ซึ่งไดจากการวิเคราะหงานอาชีพ (Job Analysis) ในแตละสาขาอาชีพ จะถูก กําหนดเปนรายการความสามารถหรือสมรรถนะ (Competency) ที่ผูรับการฝกอบรมจําเปนตองใชในการปฏิบัติงาน และ สอดคลองกับความตองการของสถานประกอบกิจการและภาคอุตสาหกรรม ซึ่งผูรับการฝกจะตองเรียนรูและฝกฝนจนกวาจะ สามารถปฏิบัติเองได ตามมาตรฐานที่กําหนดในแตละรายการความสามารถ ทั้งนี้ การสงมอบการฝก สามารถดําเนินการได ทั้งรูปแบบการเรียนรูผานสื่อสิ่งพิมพ (Paper Based) และผานสื่อคอมพิวเตอร (Computer Based) โดยผูรับการฝกสามารถ เรียนรูไดดวยตนเอง (Self-Learning) ที่บานหรือที่ทํางาน และเขารับการฝกภาคปฏิบัติตามความพรอม ตามความสะดวก ของตน หรือตามแผนการฝก หรือตามตารางการนัดหมาย การฝกหรือทดสอบประเมินผลความรูความสามารถกับหนวยฝก โดยมีครูฝกหรือผูสอนคอยใหคําปรึกษา แนะนําและจัดเตรียมการฝกภาคปฏิบัติ รวมถึงจัดเตรียมและดําเนินการทดสอบ ประเมินผลในลักษณะตาง ๆ อันจะทําใหสามารถเพิ่มจํานวนผูรับการฝกไดมากยิ่งขึ้น ชวยประหยัดเวลาในการเดินทาง และ ประหยั ด งบประมาณค า ใช จ า ยในการพั ฒ นาฝ มือแรงงานใหแกกําลังแรงงานในระยะยาว จึงถือเปน รูป แบบการฝกที่มี ความสําคัญตอการพัฒนาฝมือแรงงาน ทั้งในปจจุบันและอนาคต ซึ่งหากมีการนําระบบการฝกอบรมตามความสามารถมาใช ในการพัฒนาฝมือแรงงาน จะชวยทําใหประชาชน ผูใชแรงงานผูวางงาน นักเรียน นักศึกษา และผูประกอบอาชีพอิสระ สามารถเขาถึงการฝกอบรมเพื่อพัฒนาตนเองไดอยางสะดวก และไดรับประโยชนอยางทั่วถึงมากยิ่งขึ้น กรมพัฒนาฝมือแรงงาน

ก กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน



คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

เรื่อง

สารบั ญ

หนา

คํานํา

สารบัญ

ขอแนะนําสําหรับผูรับการฝก

1

โมดูลการฝกที่ 6 09210302 การวิเคราะหขอขัดของและความเสียหายเบื้องตน หัวขอวิชาที่ 1 0921030201 เครือ่ งยนต หัวขอวิชาที่ 2 0921030202 ระบบสงกําลัง หัวขอวิชาที่ 3 0921030203 ระบบรองรับน้ําหนัก หัวขอวิชาที่ 4 0921030204 ระบบบังคับเลี้ยว หัวขอวิชาที่ 5 0921030205 ระบบเบรก หัวขอวิชาที่ 6 0921030206 ระบบไฟฟาในรถยนต หัวขอวิชาที่ 7 0921030207 ระบบอํานวยความสะดวก และความปลอดภัย หัวขอวิชาที่ 8 0921030208 ตัวถังรถยนต และสีรถยนต คณะผูจัดทําโครงการ

ข กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

15 48 88 124 146 176 207 237 253



คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ขอแนะนําสําหรับผูร ับการฝก ขอแนะนําสําหรับผูรับการฝก คือ คําอธิบายเกี่ยวกับรายละเอียดของคูมือ และขั้นตอนการเขารับการฝก ซึ่งมีอยูดวยกัน 6 ขอ ดังนี้

1. รายละเอียดของคูมือ 1.1 โมดูลการฝก / หัวขอวิชา หมายถึง โมดูลการฝกที่ครูฝกตองจัดการฝกอบรม โดยภายในโมดูลจะประกอบไปดวย หัวขอวิชาที่ผูรับ การฝ กต องเรี ย นรู และฝ กฝน ซึ่งมีรหัสโมดูล และรหัส หัว ข อวิ ชาเปนตัว กําหนดความสามารถ ที่ตองเรียนรู 1.2 ระยะเวลาการฝก หมายถึง จํานวนชั่วโมงในการฝกอบรม เพื่อใหบรรลุตามวัตถุประสงคของแตละโมดูล 1.3 ระบบการฝกตามความสามารถ (CBT) หมายถึง ระบบการฝกที่เกิดจากการนําความรู ทักษะ ความสามารถ (Competency) ที่จําเปนสําหรับการทํางานมาเปนฐาน (Based) ของการจัดฝกอบรม หรือนํามากําหนดเปนเนื้อหา (Content) และเกณฑก ารประเมิน การฝก อบรม ทํา ใหผูรับ การฝก อบรมมีค วามสามารถ (Competency) ตามเกณฑมาตรฐานที่กําหนด และตามความสามารถในการเรียนรูของผูรับการฝกเปนหลัก 1.4 ชุดการฝก หมายถึง สื่อสิ่งพิมพ และสื่ออิเล็กทรอนิกส ใชสําหรับเปนอุปกรณชวยฝก โดยแตละโมดูลประกอบดวย คูมือครูฝก คูมือผูรับการฝก คูมือประเมิน สื่อวีดิทัศน 1.5 ระบบจัดการฝกดวยคอมพิวเตอร (Computer Managed Instruction : CMI) หมายถึง การนําระบบคอมพิวเตอร และเทคโนโลยีสารสนเทศ ซึ่งใชในการจัดการเรียนรูและฝกอบรม เชน ระบบรับสมัครออนไลน ระบบลงทะเบียน เขา รับ การฝก อบรมออนไลน ระบบการฝก อบรมภาคทฤษฎีผานอุป กรณอิเ ล็ก ทรอนิก สห รือ อุป กรณสื่อสาร แบบพกพา การทดสอบออนไลน การบันทึกผลการฝกอัตโนมัติ และการออกใบวุฒิบัตรอิเล็กทรอนิกส เปนตน โดยการเข า ใช ง านระบบ แบงสว นการใช ง านตามความรั บ ผิด ชอบของผูมีสว นไดสว นเสีย ดัง ภาพในหนา 2 ซึ่งรายละเอียดการใชงานของผูเขารับการฝกสามารถดูไดจากลิงค mlearning.dsd.go.th/download/files/trainee.pdf

1 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

.

2 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

2. วิธีการใชงานระบบการฝกตามความสามารถ (CBT) วิธีการใชงานระบบการฝกตามความสามารถ (CBT) ในคูมือผูรับการฝก จะเริ่มตนที่ ค. ผังการฝกอบรม เพื่อให สอดคลองกับการนําคูมือผูรับการฝกไปใช จึงละเวน ก. ผังการจัดเตรียมระบบ และ ข. ผังการเปดรับสมัครและคัดเลือก ผูรับการฝก ค. ผังการฝกอบรม

3 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

คําอธิบาย 1. การฝกอบรม 1.1 ผูรับการฝก ทําความเขาใจการฝกอบรมในระบบ CBT ซึ่งสามารถฝกอบรมได 3 รูปแบบ คือ 1.1.1 การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) 1.1.2 การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม (Offline) 1.1.3 การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน (Online) โดยในแตละรูปแบบจะมีรายละเอียดแตกตางกัน ดังนี้ 1.1.1 การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) คือ การฝก อบรมที่ผูรับ การฝกเรีย นรูภ าคทฤษฎี (ดา นความรู) ดว ยตนเอง โดยครูฝก เปน ผูสงมอบ คูมือผูรับการฝกที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) และวีดิทัศน (DVD) แกผูรับการฝก และฝกภาคปฏิบัติ (ดานทักษะ) ที่ศูนยฝกอบรม การฝกภาคทฤษฎี - ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีดวยตนเอง โดยใชคูมือผูรับการฝกที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) และวีดิทัศน (DVD) ที่ครูฝกสงมอบให การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบ แลวสงกระดาษคําตอบ ใหครูฝก เพื่อตรวจและประเมินผล 2) ครูฝกประเมินแบบทดสอบกอนฝก - ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลั กสูตร จะมีสิท ธิ์ข อเขา รับ การฝก ภาคปฏิบัติ (ถา มี) หรือ เขา รับ การฝก ในโมดูล ถั ด ไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได - ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหา จากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 3) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) ลงในกระดาษคําตอบ แลวสงใหครูฝกตรวจ และประเมินผล โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก 1.1.2 การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม (Offline) คือ การฝกอบรมที่ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีจากครูฝก และฝกภาคปฏิบัติที่ศูนยฝกอบรม การฝกภาคทฤษฎี ­ ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีจากครูฝกโดยใชสื่อสิ่งพิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) และวีดิทัศน (DVD) ที่ศูนยฝกอบรม 4 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบ แลวสงกระดาษคําตอบ ใหครูฝกตรวจและประเมินผล 2) ครูฝกประเมินแบบทดสอบกอนฝก - ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลั กสูตร ผูรับการฝกจะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได - ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเอง จนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 3) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) ลงในกระดาษคําตอบ แลวสงใหครูฝกตรวจ และประเมินผล โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก 1.1.3 การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน (Online) คือ การฝกอบรมที่ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีดวยตนเองผานระบบจัดการฝกดวยคอมพิวเตอร หรือ CMI โดยใชคูมือผูรับการฝกที่เปนสื่อออนไลนในแอปพลิเคชัน DSD m-Learning และฝกภาคปฏิบัติที่ศูนยฝกอบรม วิธีดาวนโหลดแอปพลิเคชัน DSD m-Learning ­ ผูรับการฝกดาวนโหลดแอปพลิ เคชัน DSD m-Learning ซึ่งวิธีการดาวนโหลดแอปพลิ เ คชั น สามารถแบงออกเปน 2 ชองทางตามแตละระบบปฏิบัติการ คือ 1) ผูรับการฝกที่ใชเครื่องมือสื่อสารอิเล็กทรอนิกส ระบบปฏิบัติการ iOS คนหา แอปพลิเคชัน DSD m-Learning ใน App Store จากนั้นกดดาวนโหลด เพื่อติดตั้งบนเครื่องมือสื่อสาร และเขาใชงานโดยกรอก Username และ Password ตามที่เคยลงทะเบียนไว 2) ผูรับการฝกที่ใชเครื่องมือสื่อสารอิเล็กทรอนิกส ระบบปฏิบัติการ Android คนหาแอป พลิเคชัน DSD m-Learning ใน Google Play Store จากนั้นกดดาวนโหลด เพื่อติดตั้ง บนเครื่องมือสื่อสาร และเขาใชงานโดยกรอก Username และ Password ตามที่เคย ลงทะเบียนไว การฝกภาคทฤษฎี ­ ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีดวยตนเอง จากคูมือผูรับการฝก ซึ่งเปนสื่อออนไลนบนแอปพลิเคชัน DSD m-Learning การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในแอปพลิเคชัน โดยระบบจะตรวจและประเมินผล อัตโนมัติ

5 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

- ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลั กสูตร ผูรับการฝกจะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได - ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเอง จนเขาใจแลวจึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก 1.2 ครูฝกชี้แจงรูปแบบการฝกอบรมทั้ง 3 รูปแบบแกผูรับการฝก เพื่อทําการตกลงรูปแบบการฝกอบรมรวมกับผูรับการ ฝก โดยใหผูรับการฝกเลือกวิธีที่สะดวก 1.3 ครูฝกวางแผนการฝกตลอดหลักสูตรรวมกันกับผูรับการฝก 2. อุปกรณชวยฝกและชองทางการเขาถึงอุปกรณชวยฝก ผูรับการฝกสามารถเลือกใชอุปกรณชวยฝกได 2 รูปแบบ คือ รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) และรูปแบบระบบจัดการฝก ดวยคอมพิวเตอร หรือ CMI (Online) โดยมีชองทางการเขาถึงอุปกรณชวยฝกแตละรูปแบบแตกตางกัน ดังนี้ 2.1 รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝก เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมิน เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 2.2 รูปแบบระบบจัดการฝกดวยคอมพิวเตอร หรือ CMI (Online) ดังนี้ - คูมือผูรับการฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 3. การวัดและประเมินผล 3.1 การประเมินผลภาคทฤษฎี (ดานความรู) ประเมินผลจากแบบทดสอบภาคทฤษฎีกอนฝก และแบบทดสอบภาคทฤษฎีหลังฝก โดยกําหนดเกณฑการใหคะแนน และการระบุความสามารถดานความรู ดังนี้ เกณฑการใหคะแนน ภาคทฤษฎี ตั้งแตรอยละ 70 ขึ้นไป ต่ํากวารอยละ 70

เกณฑการประเมิน ความสามารถ ผาน (C) ไมผาน (NYC) 6

กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ผูรับการฝกจะไดรับการประเมินผลการฝกจากครูฝก โดยจะตองสามารถปฏิบัติตามความสามารถในแตละโมดูลนั้น ๆ ไดตาม เกณฑที่กําหนด จึงจะถือวาผานการฝกโมดูลนั้น และเมื่อผานการฝกครบทุกโมดูล จึงจะถือวาฝกครบชุดการฝกนั้น ๆ แลว 4. เงื่อนไขการผานการฝก ผูรับการฝกที่จะผานโมดูลการฝก ตองไดรับคารอยละของคะแนนการทดสอบหลังฝก ภาคทฤษฏี คะแนนรวมไมต่ํากวารอยละ 70 ภาคปฏิบัติ คะแนนรวมไมต่ํากวารอยละ 70 โดยคะแนนรวมจะถูกนํามาคิดแบงเปนสัดสวน ภาคทฤษฏี คิดเปนรอยละ 20 ภาคปฏิบัติ คิดเปนรอยละ 80 เมื่อนําคะแนนมารวมกัน ผูรับการฝกจะตองไดไมต่ํากวารอยละ 70 จึงจะผานเกณฑ ทั้งนี้ ผูรับการฝกจะตองทําคะแนนผานเกณฑทั้งภาคทฤษฏีและภาคปฏิบัติ จึงจะผานโมดูลการฝก

7 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ง. ผังการขึ้นทะเบียนผูสําเร็จการฝก

8 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

คําอธิบาย 1. ผูรับการฝกขอหนังสือรับรองหรือวุฒิบัตร 2. เจาหนาที่ตรวจสอบโมดูลการฝกที่ผูรับการฝกแตละคนผานครบตามเงื่อนไขหลักสูตรหรือไม ผานระบบ 2.1 ถาครบ ใหสําเร็จการฝกในหลักสูตรอยางสมบูรณ ซึ่งสามารถออกวุฒิบัตรแกผูรับการฝกไดตามขั้นตอน ดังนี้ 2.1.1 เจาหนาที่ออกวุฒิบัตรตัวจริง 2.1.2 เจาหนาที่ออกวุฒิบัตรดิจิทัลผานระบบ 2.1.3 ผูรับการฝกดาวนโหลดวุฒิบัตรดิจิทัลผานระบบ 2.2 ถ าไม ครบ จะไม จ บหลั กสู ตรแต ได รับ การรับ รองความสามารถบางโมดูลในรายการโมดูลที่สําเร็จ เทานั้น ซึ่งสามารถออกใบรับรองแกผูรับการฝกไดตามขั้นตอน ดังนี้ 2.2.1 เจาหนาที่ออกหนังสือรับรองตัวจริงเฉพาะโมดูลที่ผาน 2.2.2 เจาหนาที่ออกหนังสือรับรองดิจิทัลผานระบบ 2.2.3 ผูรับการฝกดาวนโหลดหนังสือรับรองดิจิทัลผานระบบ

9 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

รายละเอียดหลักสูตร หลักสูตรฝกอบรมฝมือแรงงานตามความสามารถ สาขาชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 2 กรมพัฒนาฝมือแรงงาน กระทรวงแรงงาน

รหัสหลักสูตร 0920163100502

1. ขอบเขตของหลักสูตร หลักสูตรนี้พัฒนาขึ้นใหครอบคลุมดานความรู ทักษะ และเจตคติแกผูรับการฝกในสาขาชางบํารุงรักษารถยนตเพื่อให มีความรู ความสามารถและทัศนคติตามมาตรฐานฝมือแรงงานแหงชาติ สาขาชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 2 ดังนี้ 1.1 มีความรูเกี่ยวกับความปลอดภัยในการปฏิบัติ 1.2 มีความรูเกี่ยวกับคณิตศาสตรชางยนต 1.3 มีความรูเกี่ยวกับวิทยาศาสตรประยุกต 1.4 มีความรูเกี่ยวกับวัสดุ และสมบัติของวัสดุที่ใชในการปฏิบัติงาน 1.5 มีความรูเกี่ยวกับเครื่องมือพื้นฐานทางดานชางยนต 1.6 มีความรูเกี่ยวกับการวิเคราะหและแกไขขอขัดของ ความเสียหายเบื้องตน 1.7 มีความรูเกี่ยวกับการหลอลื่นและการเลือกใชสารหลอลื่น 1.8 มีความรูเกี่ยวกับการทํารายงานสถิติ รวมถึงการทําระบบติดตามลูกคาเบื้องตน 2. ระยะเวลาการฝก ผู รั บ การฝ กจะได รั บ การฝ ก ในภาคทฤษฎี และภาคปฏิบัติ โดยสถาบัน พัฒ นาฝมือแรงงาน หรือสํานักงานพัฒนา ฝมือแรงงานที่เปนหนวยฝกตามความสามารถใชระยะเวลาในการฝก 84 ชั่วโมง เนื่ อ งจากเป น การฝ ก ที่ ขึ้ น อยู กั บ พื้ น ฐานความรู ทั ก ษะ ความสามารถและความพร อ มของผู รั บ การฝ ก แตละคน มีผลใหผูรับการฝกจบการฝกไม พร อมกัน สามารถจบกอนหรื อเกิ นระยะเวลาที่กําหนดไว ในหลั กสูตรได หนวยฝกจึงตองบริหารระยะเวลาในการฝกใหเหมาะสมตามความจําเปน ทั้งนี้ ใหอยูในดุลยพินิจของผูอํานวยการ สถาบันพัฒนาฝมือแรงงาน หรือผูอํานวยการสํานักงานพัฒนาฝมือแรงงานที่เปนหนวยฝกตามความสามารถจะเห็นสมควร 3. หนวยความสามารถและโมดูลการฝก จํานวนหนวยความสามารถ 8 หนวย จํานวนโมดูลการฝก 8 โมดูล

10 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

4. วุฒิบัตร 4.1 ชื่อเต็ม : วุฒิบัตรพัฒนาฝมือแรงงาน สาขาชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 2 4.2 ชื่อยอ : วพร. ชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 2 4.3 ผูรับการฝกที่ผานการประเมินผลหรือผานการฝกครบทุกหนวยความสามารถ จะไดรับวุฒิบัตร วพร. ชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 2

11 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

รายละเอียดโมดูลการฝกที่ 6 1. ชื่อหลักสูตร 2. ชื่อโมดูลการฝก 3. ระยะเวลาการฝก 4. ขอบเขตของหนวย การฝก

5. พื้นฐาน ความสามารถของ ผูรับการฝก

รหัสหลักสูตร 0920163100502 การวิเคราะหขอขัดของและความเสียหายเบื้องตน รหัสโมดูลการฝก 09210302 รวม 50 ชั่วโมง 45 นาที ทฤษฎี 7 ชั่วโมง 45 นาที ปฏิบัติ 43 ชั่วโมง หนวยการฝกนี้ พัฒนาขึ้นใหครอบคลุมดานความรู ทักษะ และเจตคติแกผูรับการฝก เพื่อใหมีความสามารถ ดังนี้ 1. วิเคราะหขอขัดของ ความเสียหายเบื้องตนของเครื่องยนตได 2. แกไขขอขัดของ ความเสียหายเบื้องตนของเครื่องยนตได 3. วิเคราะหขอขัดของ ความเสียหายเบื้องตนของระบบสงกําลังได 4. แกไขขอขัดของ ความเสียหายเบื้องตนของระบบสงกําลังได 5. วิเคราะหขอขัดของ ความเสียหายเบื้องตนของระบบรองรับน้ําหนักได 6. แกไขขอขัดของ ความเสียหายเบื้องตนของระบบรองรับน้ําหนักได 7. วิเคราะหขอขัดของ ความเสียหายเบื้องตนของระบบบังคับเลี้ยวได 8. แกไขขอขัดของ ความเสียหายเบื้องตนของระบบบังคับเลี้ยวได 9. วิเคราะหขอขัดของ ความเสียหายเบื้องตนของระบบเบรกได 10. แกไขขอขัดของ ความเสียหายเบื้องตนของระบบเบรกได 11. วิเคราะหขอขัดของ ความเสียหายเบื้องตนของระบบไฟฟาในรถยนตได 12. แกไขขอขัดของ ความเสียหายเบื้องตนของระบบไฟฟาในรถยนตได 13. วิเคราะหขอขัดของ ความเสียหายเบื้องตนของระบบอํานวยความสะดวก และความปลอดภัยได 14. แกไขขอขัดของ ความเสียหายเบื้องตนของระบบอํานวยความสะดวก และความปลอดภัยได 15. วิเคราะหขอขัดของ ความเสียหายเบื้องตนของตัวถังรถยนต และสีรถยนตได 16. แกไขขอขัดของ ความเสียหายเบื้องตนของตัวถังรถยนต และสีรถยนต ผูสมัครเขารับการฝกตองมีคุณสมบัติ ดังตอไปนี้ 1. มีความรูเรื่องสวนประกอบตาง ๆ ภายในรถยนต 2. มีความรูเรื่องการทํางานของสวนตาง ๆ ภายในรถยนต 3. มีความรูเรื่องการดูแลรักษาอุปกรณตาง ๆ ภายในรถยนตเบื้องตน 4. ผูรับการฝกผานระดับ 1 มาแลว สาขาชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 2

12 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

5. ผูรับการฝกผานโมดูลที่ 5 มาแลว 6. ผลลัพธการเรียนรู : เมื่อสําเร็จการฝกในโมดูลนี้แลวผูรับการฝกสามารถปฏิบัติงานโดยมีความรูความสามารถและใช ระยะเวลาฝก ดังนี้ ระยะเวลาฝก (ชั่วโมง : นาที) ผลลัพธการเรียนรู ชื่อหัวขอวิชา ทฤษฎี ปฏิบัติ รวม 1. วิเคราะหขอขัดของ ความเสียหาย หัวขอที่ 1 : เครื่องยนต 1:00 4:00 5:00 เบื้องตนของเครื่องยนตได 2. แกไขขอขัดของ ความเสียหาย เบื้องตนของเครื่องยนตได 3. วิเคราะหขอขัดของ หัวขอที่ 2 : ระบบสงกําลัง 0:45 6:00 6:45 ความเสียหายเบื้องตนของ ระบบสงกําลังได 4. แกไขขอขัดของ ความเสียหาย เบื้องตนของระบบสงกําลังได 5. วิเคราะหขอขัดของ หัวขอที่ 3 : ระบบรองรับน้ําหนัก 1:00 6:00 7:00 ความเสียหายเบื้องตนของ ระบบรองรับน้ําหนักได 6. แกไขขอขัดของ ความเสียหาย เบื้องตนของระบบรองรับ น้ําหนักได 7. วิเคราะหขอขัดของ หัวขอที่ 4 : ระบบบังคับเลี้ยว 1:30 6:00 7:30 ความเสียหายเบื้องตนของ ระบบบังคับเลี้ยวได 8. แกไขขอขัดของ ความเสียหาย เบื้องตนของระบบบังคับเลี้ยว ได 9. วิเคราะหขอขัดของ หัวขอที่ 5 : ระบบเบรก 0:45 6:00 6:45 ความเสียหายเบื้องตนของระบบ เบรกได 10.แกไขขอขัดของ ความเสียหาย เบื้องตนของระบบเบรกได 13 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

11.วิเคราะหขอขัดของ ความเสียหายเบื้องตนของ ระบบไฟฟาในรถยนตได 12.แกไขขอขัดของ ความเสียหายเบื้องตนของ ระบบไฟฟาในรถยนตได 13.วิเคราะหขอขัดของ ความเสียหายเบื้องตนของ ระบบอํานวยความสะดวก และ ความปลอดภัยได 14.แกไขขอขัดของ ความเสียหาย เบื้องตนของระบบอํานวย ความสะดวก และความปลอดภัยได 15.วิเคราะหขอขัดของ ความเสียหาย เบื้องตนของตัวถังรถยนต และ สีรถยนตได 16.แกไขขอขัดของ ความเสียหาย เบื้องตนของตัวถังรถยนต และ สีรถยนต

หัวขอที่ 6 : ระบบไฟฟาในรถยนต

0:45

6:00

6:45

หัวขอที่ 7 : ระบบอํานวยความสะดวก และความ ปลอดภัย

1:00

6:00

7:00

หัวขอที่ 8 : ตัวถังรถยนต และสีรถยนต

1:00

3:00

4:00

รวมทั้งสิ้น

7:45

43:00 50:45

14 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

รายละเอียดหัวขอวิชาที่ 1 0921030201 เครื่องยนต (ใบแนะนํา) 1. ผลลัพธการเรียนรู 1. วิเคราะหขอขัดของ ความเสียหายเบื้องตนของเครื่องยนตได 2. แกไขขอขัดของ ความเสียหายเบื้องตนของเครื่องยนตได

2. หัวขอสําคัญ 1. 2. 3. 4. 5.

สาเหตุของเครื่องยนตสตารทติดแลวเครื่องยนตสั่น สาเหตุของเครื่องยนตสตารทติดแลวดับ สาเหตุของเครื่องยนตเรงรอบไมขึ้น สาเหตุของเครื่องยนตสตารทไมติด เครื่องยนตความรอนสูง

3. วิธีการฝกอบรม การฝกอบรมสามารถเลือกได 3 รูปแบบ คือ 1) การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ 2) การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม 3) การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน ดังรายละเอียดในขอแนะนําสําหรับผูรับการฝก

4. อุปกรณชวยฝก อุปกรณชวยฝกสามารถเลือกใชงานได 2 รูปแบบ คือ 1. รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝก เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมิน เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 2. รูปแบบอิเล็กทรอนิกส (Online) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชในการทดสอบ 15 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

- สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ

5. การรับการฝกอบรม 1. ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Post-Test) แลวสงใหครูฝกหรือระบบประเมินผลตามวิธีที่เลือกฝกอบรม 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหผูรับการฝกเขาฝกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝกอบรมภาคทฤษฎี ใหผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝก และฝกหัดทําใบทดสอบทายหัวขอวิชา 3. เมื่อผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝกประจําโมดูลนั้นเขาใจแลว ใหทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) แลวสงให ครูฝกหรือระบบประเมินผลเชนเดียวกับแบบทดสอบกอนฝก 4. การฝกอบรมภาคปฏิบัติ ผูรับการฝกอานและทําความเขาใจกับใบงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน และเกณฑการวัด และประเมินผลงาน 5. ผูรับการฝกเขารับการฝกที่ศูนยฝกอบรมที่ลงทะเบียนหรือจองไว 6. ผูรับการฝกอานระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับความปลอดภัยในการฝกของหนวยฝก 7. ผูรับการฝกฟงคําชี้แจงลําดับการปฏิบัติงานตามใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน 8. ผูรับการฝกปฏิบัติงานตามใบงาน แลวสงใหครูฝกตรวจประเมินผล 9. ผูรับการฝกที่คะแนนผลงานผานเกณฑรอยละ 70 สามารถขอทดสอบเพื่อจบโมดูลที่ฝกกับครูฝก

6. การวัดผล 1. ผูรับการฝกสงแบบทดสอบกอนฝก ใหครูฝกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎีตามวิธีที่เลือกฝกอบรม 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2. ผูรับการฝกสงแบบทดสอบหลังฝก ใหครูฝกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎี โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมิน แบบทดสอบกอนฝก 3. ผูรับการฝกสงผลงานในการฝกภาคปฏิบัติใหครูฝกตรวจประเมินผลงานของผูรับการฝก โดยตองผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จึงจะมีสิทธิ์เขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ ครูฝกกําหนดได

16 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

7. บรรณานุกรม ประสานพงษ หาเรือนชีพ. 2553. งานไฟฟารถยนต. กรุงเทพฯ. ซีเอ็ดยูเคชั่น. ปญหาของเครื่องยนต. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : …….http://www.tpa.or.th/writer/read_this_book_topic.php?bookID=1494&pageid=9&read=true&count=true อาการเครื่องยนตสั่น. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://auto.sanook.com/58839/ สาเหตุของเครื่องยนตรอน. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://รักษรถ.com/สาเหตุของเครื่องยนตรอน-และวิธีแกไข ปญหา-15-ขอ/

17 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ใบขอมูล หัวขอวิชาที่ 1 เครื่องยนต เมื่อรถยนตผานการใชงานครบตามระยะที่คูมือกําหนด เครื่องยนตหรือสวนประกอบของเครื่องยนตอาจเสื่อมสภาพ ซึ่ง เปนอุปสรรคสําคัญตอการใชงาน และยังเปนสาเหตุหลักที่ทําใหเกิดอุบัติเหตุบนทองถนน ดังนั้น เมื่อพบความผิดปกติของ เครื่องยนต ผูเรียนตองสามารถวิเคราะหหาสาเหตุและแกไขขอขัดของที่เกิดขึ้นได โดยในที่นี้จะกลาวถึงสาเหตุและวิธีการ แกไขขอขัดของเครื่องยนตแกสโซลีน ซึ่งประกอบดวย 5 สาเหตุหลัก ดังนี้ 1. สาเหตุเครื่องยนตสตารทติดแลวเครื่องยนตสั่น อาการเครื่องยนตสั่น เบาแลวดับ และมีอัตราการกินน้ํามันเชื้อเพลิงสูง ถือเปนปญหาที่มีความเสี่ยงตอการใชงานรถยนต อยางยิ่ง ซึ่งอาการตาง ๆ ที่กลาวมานั้น อาจมีสาเหตุมาจากอุปกรณเหลานี้ 1) ยางแทนเครื่องเสื่อมสภาพ เมื่อยางแทนเครื่องเกิดการเสื่อมสภาพหรือชํารุด จะสงผลใหเครื่องยนตมีอาการ สั่น แตไมดับ โดยอาการสั่นนี้สามารถทดสอบได 2 วิธี คือ เมื่อสตารทรถยนตและเปดเครื่องปรับอากาศ เครื่องยนตจะเกิดอาการสั่นอยางชัดเจน และเมื่อคอมเพรสเซอรเครื่องปรับอากาศตัดอาการสั่นจะลดลง สวนวิธีที่ 2 คือ เขาเกียร D ปลอยใหรถออกตัวอยางชา ๆ และคอย ๆ เหยียบเบรก จะสังเกตเห็นอาการสั่น ของเครื่องยนตไดอยางชัดเจนเชนกัน 2) หัวเทียนไมสามารถจุดระเบิดที่กระบอกสูบใดกระบอกสูบหนึ่งได สามารถสังเกตไดจากสีและลักษณะของ หัวเทียน ถาหัวเทียนมีคราบสีดําแหง แสดงวาอัตราสวนผสมของน้ํามันเชื้อเพลิงมีมากกวาอากาศ ตองทําการ ปรับอัตราการจายน้ํามันเชื้อเพลิงใหม และเช็ดคราบที่หัวเทียนออก แตถาพบวาหัวเทียนมีน้ํามันหลอลื่น เครื่องเคลือบอยู ใหสันนิษฐานวามีการสึกหรอของชิ้นสวนเครื่องยนต ซึ่งอาจเกิดจากกระบอกสูบ ลูกสูบ หรือแหวนลูกสูบสึกหรอ ใหทําการตรวจสอบและเปลี่ยนชิ้นสวนเหลานั้นใหม

ภาพที่ 1.1 ตัวอยางหัวเทียนชํารุดแบบตาง ๆ

18 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

3) สายสุญญากาศ (Vacuum) รั่ว สายสุญญากาศที่ใชในเครื่องยนตแกสโซลีน มีหนาที่เรงไฟการจุดระเบิ ด ในชวงที่รอบเครื่องยนตเดินเร็ว เพื่อทําใหเครื่องยนตนิ่ง เงียบ ไมมีอาการสั่น แตถาสายสุญญากาศรั่ว จะ สงผลใหเครื่องยนตเกิดอาการสั่น

ภาพที่ 1.2 สายสุญญากาศ (Vacuum) ฉีกขาด 4) ลิ้นปกผีเสื้อ (Throttle Valve) สกปรก หากลิ้นปกผีเสื้อมีคราบเขมาเกาะติดมากจนหนาแนน จะทําให เครื่องยนตเดินไมเรียบ รอบเดินเบาของเครื่องยนตต่ําผิดปกติ จนเครื่องยนตสะดุดหรือดับได และเมื่อเรง รอบเครื่องยนต รอบก็จ ะขึ้น ชากวาปกติ ซึ่งปญหานี้สามารถแกไขไดโดยถอดวาลวปกผีเสื้อออกมาลาง ทําความสะอาดคราบเขมาออก เพื่อใหเครื่องยนตสามารถทํางานไดปกติ

ภาพที่ 1.3 ลิ้นปกผีเสื้อ (Throttle Valve) สกปรก 2. สาเหตุเครื่องยนตสตารทติดแลวดับ สาเหตุเครื่องยนตสตารทติดแลวดับ มีสาเหตุหลักมาจากอัตราสวนผสมของเชื้อเพลิงที่ไมเหมาะสม และประกายไฟ ในการจุดระเบิดของหัวเทียนแรงไมเพียงพอ โดยแตละวิธีมีการแกไขแตกตางกัน ดังนี้ 2.1 ปญหาอัตราสวนผสมน้ํามันเชื้อเพลิงไมเหมาะสม ปญหาอัตราสวนผสมน้ํามันเชื้อเพลิงไมเหมาะสม สามารถเกิดไดจากหลายสาเหตุ โดยแตละสาเหตุมีวิธีการแกไข ปญหาแตกตางกันออกไป ดังตารางที่ 1.1 19 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ตารางที่ 1.1 ปญหาขอขัดของที่เกิดจากอัตราสวนผสมเชื้อเพลิงที่ไมเหมาะสม สาเหตุ

ปญหาที่เกิด

มีอัตราการจายน้ํามันเชื้อเพลิงที่ มาก - เกิดเขมาควันมากเกินมาตรฐาน เกินไปจนเผาไหมไมหมด - ความผิดปกติของหัวฉีด

วิธีการแกไข - ทดสอบระบบหั ว ฉี ด น้ํ า มั น เชื้อเพลิง - ลางหัวฉีดน้ํามันเชื้อเพลิง - เปลี่ยนหัวฉีดน้ํามันเชื้อเพลิง ใหม

เกิดการอุดตันของอากาศที่ไหลเขา

- เครื่องยนตเดินเบาไมเรียบ

- ต ร ว จ ส อ บ ไ ส ก ร อ ง ต า ม

ทํ า ให น้ํ า มั น เชื้ อ เพลิ ง ผสมกั บ อากาศไม - เครื่องยนตเดินเบาแลวดับ ระยะทางที่กําหนดในคูมือ เพียงพอ - เครื่องยนตกิน น้ํามัน เชื้อเพลิงมาก - ทํ าความสะอาดกรองอากาศ เมื่อใชงานในเสน ทางที่มีฝุน เกินไป - มีกลิ่น น้ํามัน เชื้อเพลิงออกจาก การเผาไหม ไ ม ไ ด สั ด ส ว น เนื่ อ งจาก

ละอองจํานวนมากบอย ๆ - เปลี่ยนกรองน้ํามันเชื้อเพลิง

ทอไอเสีย

ระบบเชื้ อเพลิ งจ ายน้ํ ามั น เชื้ อ เพลิ ง มาก - มีเขมาควันออกจากทอไอเสีย หรือนอยเกินไป

(กรณีจายน้ํามันเชื้อเพลิง นอย) - ทดสอบระบบหัวฉีดน้ํามัน เชื้อเพลิง - ตรวจสอบและทําความสะอาด ทอทางของน้ํามันเชื้อเพลิง - ลางทําความสะอาดหัวฉีด เชื้อเพลิง - ตรวจสอบเซ็นเซอรตาง ๆ ของระบบฉีดเชื้อเพลิง อิเล็กทรอนิกส

น้ํามันเชื้อเพลิงมีสารปนเปอน เชน มี

- เปลี่ยนถายน้ํามันเชื้อเพลิงใหม

น้ํ า ผสมอยู ใ นน้ํ า มั น เชื้ อ เพลิ ง ทํ า ให เ กิ ด

- ล า งทํ า ความสะอาดระบบ

การเผาไหมไมหมด

เชื้อเพลิง 20 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ภาพที่ 1.4 หัวฉีดน้ํามันเชื้อเพลิงอุดตัน สําหรับเครื่องยนตแกสโซลีนควบคุมดวยระบบอิเล็กทรอนิกส ระบบอิเล็กทรอนิกส จะประกอบไปดวย ถังน้ํามันเชื้อเพลิง (Fuel Tank) ปมน้ํามันเชื้อเพลิง (Fuel Pump) กรอง น้ํามันเชื้อเพลิง (Fuel Filter) ทอจายน้ํามันเชื้อเพลิง (Delivery Pipe) ตัวควบคุมความดัน (Injector) และหัวฉีดสตารทเย็น (Cold Start Injector) เปนตน

ภาพที่ 1.5 สวนประกอบของระบบน้ํามันเชื้อเพลิง เมื่ อ ใช ง านเครื่ อ งยนต ไ ประยะหนึ่ ง กรองน้ํา มัน เชื้อ เพลิง อาจเกิด การอุด ตัน จากสภาพของน้ํา มัน เชื้อ เพลิง ที่ไมสะอาด สงผลใหการจายน้ํามันเชื้อเพลิงผิดปกติ เชน จายน้ํามันเชื้อเพลิงนอยเกินไป รอบเครื่องยนตเดินเบาไมเรียบ เรงเครื่องยนตรอบสูงแลวเครื่องสะดุด นอกจากนี้ยังมีผลทําใหหัวฉีดน้ํามันเชื้อเพลิงทํางานผิดปกติ หรือเกิดการอุดตันได อีกดวย จึงจําเปนตองมีการตรวจสอบและแกไข หรือเปลี่ยนชิ้นสวนที่เกี่ยวของตามสภาพการทํางาน

21 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ภาพที่ 1.6 เขมาควันจากทอไอเสีย 2.2 ปญหาประกายไฟในการจุดระเบิดของหัวเทียนแรงไมเพียงพอ ปญหาประกายไฟการจุดระเบิดหัวเทียนไมเพียงพอ หรือประกายไฟจากหัวเทียนออนลง สามารถเกิดไดหลาย สาเหตุ โดยแตละสาเหตุมีวิธีการแกไขที่แตกตางกันออกไป ดังที่แสดงในตาราง 1.2 ตารางที่ 1.2 ปญหาขอขัดของจากการเกิดประกายไฟของหัวเทียน สาเหตุ

ปญหาที่เกิด

วิธีการแกไข

หัวเทียนเสื่อมสภาพ

- เครื่องยนตดับ

- เปลี่ยนสายหัวเทียนใหม

สายไฟขาด ทําใหสงกระแสไฟไดต่ํา

- เครื่องยนตเดินเบา

- เปลี่ยนหัวเทียนใหม

เกินไป

- เครื่องยนตเดินสะดุดที่รอบ ความเร็วตาง ๆ - เครื่องยนตสั่นที่รอบเดินเบา

การจุดระเบิดกอนกําหนด (Preignitions) หรือเกิดหลังจากจังหวะที่

- มีเสียงอัดกระแทกที่เครื่องยนต เปนจังหวะ

จะตองจุดระเบิด คือ มีความผิดพลาด - เครื่องยนตเดินไมเรียบทุก ๆ ในจังหวะจุดระเบิด ความเร็วรอบ - เครื่องยนตไมมีกําลัง

22 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

- ปรับตั้งจังหวะการจุดระเบิดใหม


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ภาพที่ 1.7 ปลั๊กหัวเทียนชํารุดฉีกขาด 3. สาเหตุเครื่องยนตเรงรอบไมขึ้น สาเหตุเครื่องยนตเรงรอบไมขึ้น เกิดจากการประจุอากาศภายในกระบอกสูบมีอัตราสวนผสมตอน้ํามันเชื้อเพลิงไมเหมาะสม ทําใหกระบวนการเผาไหมไมมีประสิทธิภาพ เครื่องยนตทํางานไมสมบูรณ ดังรายละเอียดในตารางที่ 1.3 ตารางที่ 1.3 ปญหาขอขัดของจากการเกิดปญหาแรงอัดภายในกระบอกสูบที่ไมเพียงพอตอการจุดระเบิด สาเหตุ

ปญหาที่เกิด

วิธีการแกไข

แหวนลูกสูบเสื่อมสภาพ สงผลใหเกิด

เครื่องยนตเผาไหมไมสมบูรณ เกิดกาซ เปลี่ยนแหวนลูกสูบใหม

การรั่วไหลของไอดี ผานชองวาง

คารบอนมอนอกไซด (CO) ออกสู

ระหวางกระบอกสูบกับลูกสูบใน

บรรยากาศเกินมาตรฐาน

จังหวะอัด ลิ้นไอดี (Intake Valve) หรือลิ้นไอเสีย

- เปลี่ยนลิ้น (Valve) ใหม

(Exhaust Valve) ปดไมสนิท อาจเกิด

- ตีปลอกลิ้น (Valve) ใหม

จากบาลิ้นชํารุด เสียรูปทรง จึงทําให

- เจียระไนบาลิ้นใหม

เกิดการรั่วไหลขึ้นในจังหวะอัด

- ปรับตั้งระยะหางลิ้นใหม

รอยรั่วบริเวณฝาสูบ (Cylinder

- เครื่องยนตกําลังตกหรือไมมีกําลัง -

- เปลี่ยนปะเก็นใหม

Head) อาจเกิดจากปะเก็นชํารุด

เครื่องยนตเดินเบาไมเรียบ

- เจียระไนฝาสูบใหม

- การเผาไหมไมสมบูรณ

23 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ภาพที่ 1.8 ลิ้น (Valve) เสียรูปทรง 4. สาเหตุเครื่องยนตสตารทไมติด ปญหาเครื่องยนตสตารทไมติด สวนใหญเกิดจากแบตเตอรี่ไมสามารถเก็บพลังงานไฟฟา เพื่อจายใหกับเครื่องยนตได แต ทั้งนี้ก็ยังมีอีกหลายสาเหตุที่ทําใหเครื่องยนตสตารทไมติด ซึ่งอาจเกิดจากอุปกรณเหลานี้ 4.1 อัลเตอเนเตอร (Alternator) หรือ ไดชารจเสื่อม การตรวจสอบอั ล เตอเนเตอร (Alternator) สามารถทําไดโ ดยสตารทเครื่องยนตไวสักครู จากนั้น ถอดขั้ว ลบ แบตเตอรี่ออกขางหนึ่ง หากรถยนตมีอาการกระตุกและดับ เนื่องจากไมสามารถจายไฟไดเพียงพอ แสดงวาอัลเตอเนเตอร เสื่ อม (เฉพาะรถยนต ที่ไม ใช กล องควบคุ มอิ เ ล็กทรอนิกส) กรณีร ถยนตที่ใชกลองควบคุมระบบอิเล็กทรอนิกสขณะ เครื่องยนตทํางาน หามถอดขั้วแบตเตอรี่โดยเด็ดขาด 4.2 มอเตอรสตารทมีปญหา อาการมอเตอรสตารทมีปญหา คือ เมื่อทําการสตารทเครื่องยนต เครื่องยนตจะไมสามารถทํางานได ซึ่งสาเหตุหลัก ๆ อาจเกิดจากฟวสมอเตอรสตารทขาด สายไฟที่ตอไปยังมอเตอรสตารทหลุด หรือไฟแปรงถานที่อยูภายในมอเตอรสตารทหมด 4.3 แบตเตอรี่เสื่อมสภาพ อาการของแบตเตอรี่ที่ตรวจสอบไดชัดเจนคือ เปดสวิตชที่ตําแหนง ON ไฟที่หนาปดจะออนลงกวาปกติ หรือ กดแตรไมดัง หรือ กระจกหนาตางไมทํางาน หรือสัญญานไฟอื่น ๆ ทํางานผิดปกติไปจากเดิม ในกรณีนี้จําเปนตองมี การพวงแบตเตอรี่ในการสตารทเครื่องยนต ซึ่งมีวิธีการพวงแบตเตอรี่ที่ถูกวิธีดังนี้ 1) สายสีแดงตอขั้ว (+) รถยนตคันที่ใชงานไดกับรถยนตคันที่แบตเตอรี่เสื่อม 2) สายสีดําตอขั้ว (-) รถยนตคันที่ใชงานไดลงกราวดที่ตัวถัง 3) สตารทรถยนตคันที่ใชงานได และเรงเครื่องเล็กนอย 4) สตารทรถยนตคันที่แบตเตอรี่เสื่อสภาพ แลวเรงเครื่องยนตเล็กนอย 5) ถอดสายพวงแบตเตอรี่ออกตามลําดับ 4-3-2-1 24 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ภาพที่ 1.9 การพวงแบตเตอรี่ 5. เครื่องยนตมีความรอนสูง เครื่องยนตมีความรอนสูง หมายถึง อุณหภูมิของเครื่องยนตสูงในระดับที่สามารถสงผลกระทบตอเครื่องยนตได ซึ่งจะมี สัญญาณการแจงเตือน 2 รูปแบบ คือ แบบเข็มและแบบไฟเตือน โดยสาเหตุหลักที่ทําใหเครื่องยนตมีความรอนสูง มาจาก ระบบหลอเย็นภายในรถยนตทํางานผิดปกติหรือชํารุด เชน น้ําหลอเย็นในระบบไมเพียงพอ เปนตน ในกรณีที่เครื่องยนตมี อุณ หภูมิสูง ขึ้น อยางผิด ปกติ จนเครื่อ งยนตดับ แตไ มมีสัญ ญาณการแจง เตือ น เกิด จากความรอ นที่สูง เกิน ไป เรีย กวา “Over Heat”

ภาพที่ 1.10 เครื่องยนตมีความรอนสูงผิดปกติ

25 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ตารางที่ 1.4 ปญหาขอขัดของจากการเกิดปญหาแรงอัดภายในกระบอกสูบที่ไมเพียงพอตอการจุดระเบิด สาเหตุ

ปญหาที่เกิด

เครื่องยนตมีอุณหภูมิสูงผิดปกติ

- น้ําหลอเย็นภายในระบบระบาย ความรอนไมเพียงพอ

วิธีการแกไข - เติมน้ําหลอเย็นใหเต็มระบบ - แกไขรอยรั่วระบบระบายความรอน

- ปมน้ําชํารุด

- เปลี่ยนฝาปดหมอน้ําใหม

- สายพานขับปมน้ําขาด

- เปลี่ยนสายพานขับปมน้ํา

- วาลวน้ํา (Thermostat) ไมเปด

- เปลี่ยนวาลวน้ํา (Thermostat)

- พัดลมระบายความรอนไมทํางาน หรือทํางานผิดปกติ - รังผึ้งหมอน้ํามีสิ่งสกปรกอุดตัน

ใหม - ตรวจซอมพัดลมระบายความรอน หรือเปลี่ยนพัดลมระบายความรอน - ทําความสะอาดรังผึ้งหมอน้ําและ ลางภายในหมอน้ําใหสะอาด

ภาพที่ 1.11 วาลวน้ํา (Thermostat) ในกรณีที่ไมสามารถตรวจสอบความผิดปกติของระบบระบายความรอนของเครื่องยนตดวยสายตาหรือการสัมผัสไดจึง จําเปนตองใชเครื่องมือในการทดสอบหรือวิเคราะห เพื่อหาความชํารุดบกพรองของระบบระบายความรอน เชน เครื่องมือ ทดสอบระบบระบายความรอนเครื่องยนต เปนตน

ภาพที่ 1.12 เครื่องมือทดสอบระบบระบายความรอนเครื่องยนต 26 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ใบทดสอบ ตอนที่ 1 คําชี้แจง ใหผูรับการฝกทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบขอที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว 1. ขอใด คือ สาเหตุของความผิดปกติของหัวฉีด ก. น้ํามันเชื้อเพลิงมีสารปนเปอน ข. ระบบเชื้อเพลิงจายน้ํามันนอยเกินไป ค. มีอัตราการจายน้ํามันเชื้อเพลิงมากเกินไป ง. เกิดเขมาควันเกินมาตรฐาน 2. ขอใด ไมใช วิธีการแกไขปญหาเครื่องยนตเดินเบาแลวดับ ก. ตรวจสอบเซ็นเซอรของระบบฉีดเชื้อเพลิง ข. ปรับรอบเดินเบาใหเหมาะสม ค. ทําความสะอาดวงจรเดินเบา ง. เปลี่ยนน้ํามันหลอลื่น 3. หากบาลิ้นไอดีหรือไอเสียชํารุด เสียรูปทรง จะมีวิธีการแกปญหาอยางไร ก. ปรับตั้งระยะหางลิ้นใหม ข. เปลี่ยนปะเก็นใหม ค. เจียระไนบาลิ้นใหม ง. เปลี่ยนแหวนลูกสูบใหม 4. ขอใด คือ สาเหตุของอาการ Over Heat ก. ระบบหลอเย็นชํารุด ข. แบตเตอรี่เสื่อมสภาพ ค. อัลเตอเนเตอรชํารุด ง. หัวฉีดน้ํามันเชื้อเพลิงอุดตัน

27 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

5. ขอใด ไมใช วิธีการแกไขอาการ Over Heat ก. เปลี่ยนสายพานขับปมน้ํา ข. ประจุไฟแบตเตอรี่ใหม ค. เติมน้ําหลอเย็นใหไดระดับ ง. ตรวจสอบพัดลมระบายความรอน ตอนที่ 2 คําชี้แจง ใหผูรับการฝกพิจารณาขอความตอไปนี้วา ถูก หรือ ผิด และทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบ ถูก

ผิด

ขอความ 6. ฟวสมอเตอรสตารทขาด เปนสาเหตุหนึ่งที่ทําใหเกิดอาการ Over Heat 7. ถ า หั ว เที ย นมี ค ราบสี ดํ า แห ง แสดงว า อั ต ราส ว นผสมของน้ํ า มั น เชื้ อ เพลิ ง มี มากกวาอากาศ ตองทําการปรับอัตราการจายน้ํามันเชื้อเพลิงใหม 8. เสียงอัดกระแทกที่เครื่องยนต เกิดจากหัวเทียนเสื่อมสภาพหรือแบตเตอรี่หมด 9. สายสุญญากาศที่ใชในเครื่องยนตแกสโซลีน ทําหนาที่เรงไฟการจุดระเบิดในชวง ที่รอบเครื่องยนตเดินเบา เพื่อทําใหเครื่องยนตนิ่ง ไมมีอาการสั่น 10. หากการประจุอากาศภายในกระบอกสูบมีอัตราสวนผสมตอน้ํามันเชื้อเพลิง ไมเหมาะสม จะสงผลใหเครื่องยนตเรงรอบไมขึ้น

28 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

กระดาษคําตอบ ตอนที่ 1 ปรนัย ขอ

1 2 3 4 5 ตอนที่ 2 ถูกผิด ขอ

ถูก

ผิด

6 7 8 9 10

29 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ใบงาน ใบงานที่ 1.1 การเปลี่ยนกรองน้ํามันเชื้อเพลิง 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. แกไขขอขัดของ ความเสียหายเบื้องตนของเครื่องยนตได 2. ปฏิบัติงานเปลี่ยนกรองน้ํามันเชื้อเพลิงได 3. ปฏิบัติงานโดยคํานึงถึงความปลอดภัย

2. ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงาน - ระยะเวลาฝกปฏิบัติงานรวม 3 ชั่วโมง

3. คําชี้แจง ใหผูรับการฝกถอดเปลี่ยนกรองน้ํามันเชื้อเพลิงใหถูกตองตามขั้นตอน

30 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ 1.1 การเปลี่ยนกรองน้ํามันเชื้อเพลิง 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - ถุงมือผา - รองเทานิรภัย - ชุดปฏิบัติการชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับใบงาน 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้น ที่ปฏิบัติ งาน ไมใหมีอุปกรณ อื่น ๆ ที่ไมเกี่ยวข อง หรือวัสดุอันตราย เชน สายไฟฟ า วางกีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมอุปกรณปฐมพยาบาลเบื้องตน ในกรณีเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัติงาน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตาง ๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1. กระปองใสน้ํา

จํานวน 1 ใบ

2. เครื่องมือชางพื้นฐาน

จํานวน 1 ชุด

3. ผาคลุมรถสําหรับซอม

จํานวน 1 ชุด

4. รถยนตที่ใชเครื่องยนตดีเซล

จํานวน 1 คัน

หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือวามีสภาพพรอมใชงานหรือไม หากพบวาเครื่องมือชิ้นใดชํารุด ใหรายงานครูฝกใหทราบ 1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน 1. ผาเช็ดทําความสะอาด

จํานวน 1 ผืน

2. กรองน้ํามันเชื้อเพลิง

จํานวน 1 ชุด

31 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

2. ลําดับการปฏิบัติงาน การเปลี่ยนกรองน้ํามันเชื้อเพลิง ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คําอธิบาย

1. จอดรถ

โดยพื้นที่จอดรถตองมั่นคงและแข็งแรง

2. ดับเครื่องยนต

ดับเครื่องยนตและเขาเกียร

ขอควรระวัง

กรณีที่เปนรถยนตอัตโนมัติ ใหเขาเกียรใน ตําแหนง P ถาเปนเกียรธรรมดา ใหเขา เกียรที่ตําแหนงเกียรวาง ดึงเบรกมือ เพื่อปองกันรถไหล 3. เปดฝากระโปรงหนารถ และคลุมผาสําหรับซอม เปดฝากระโปรงรถพรอมล็อกไมค้ํายัน

ล็อกไมค้ํายันฝา

และใชผาคลุมสําหรับซอมคลุมที่สวนหนา

กระโปรงหนารถ

รถและบังโคลนซาย-ขวา

ทุกครั้ง เพื่อปองกัน ไมใหฝากระโปรงปด ระหวางปฏิบัติงาน

4. ถอดสายเซ็ น เซอร ต รวจสอบระดั บ น้ํ า มั น ดึ ง สายเซ็ น เซอร ต รวจสอบระดั บ น้ํ า มั น ระวั ง อย า ให ท อ น้ํ ามั น เชื้อเพลิง

เชื้อเพลิง จากนั้น คลายเข็มขัดรัดทอน้ํามัน เชื้ อ เพลิ ง เข า และท อ เชื้อเพลิงเขาและทอน้ํามันเชื้อเพลิงออก

32 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

น้ํามันเชื้อเพลิงออกอยู


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คําอธิบาย

ขอควรระวัง ในระดั บ ที่ ต่ํ า กว า ตั ว กรอง

5. ถอดกรองน้ํามันเชื้อเพลิงลูกเกา

คลายนอตยึดกรองน้ํ า มัน เชื้ อ เพลิง และ หมุนกรองน้ํามันเชื้อเพลิงลูกเกาออก

6. ลางหัวปมมือ

ลางหัวปมมือดวยน้ํามันเบนซิน และเช็ดให สะอาด

7. เปลี่ยนกรองน้ํามันเชื้อเพลิง

ใสกรองน้ํามันเชื้อเพลิงลูกใหม ประกบตัว ห า มก อ ประกา ย ไฟ รองเขากับหัวปมมือ และขันนอตยึดกรอง บริเวณปฏิบัติงาน น้ํามันเชื้อเพลิงใหแนน

33 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คําอธิบาย

8. เสียบสายเซ็นเซอรตรวจสอบระดับน้ํามัน

ขันเข็มขัดรัดทอน้ํามันเชื้อเพลิงเขาและทอ

เชื้อเพลิง

น้ํามันเชื้อเพลิงออก จากนั้น เสียบสาย เซ็นเซอรตรวจสอบระดับน้ํามันเชื้อเพลิง

9. ถอดปลั๊กถายน้ํา

วางกระปองรองไวดานลางของกรองน้ํามัน เชื้อเพลิง และถอดปลั๊กถายน้ํา

10. กดปุมปมมือ

กดปุ ม ป ม มื อ จนกระทั่ ง น้ํ า มั น เชื้ อ เพลิ ง ไหลออกมา จึงหยุดปม จากนั้น ประกอบ ปลั๊กถายน้ํา

34 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

11. ทดสอบการทํางาน

คําอธิบาย

ติดเครื่องยนต และสังเกตไฟเตือนน้ํ า ใน กรองน้ํามันเชื้อเพลิงบนหนาปด ซึ่งจะตอง ดับ

12. ทํ า ความสะอาดและจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และ ใชผาเช็ดทําความสะอาดบริเวณสถานที่ อุปกรณ

ปฏิ บั ติ ง าน และจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และ อุปกรณใหเรียบรอย

35 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

3. ตรวจสอบการทํางาน ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับที่ 1

รายการตรวจสอบ

เกณฑการพิจารณา

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ความถูกตองตามวิธีการใชงาน และครบถวน

2

สวมใส อุ ป กรณ ป อ งกั น อั น ตรายส ว นบุ ค คล ความถูกตองตามวิธีการใชงาน อยางถูกตองและครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน

3

การปฏิ บั ติ ง านได ถู ก ต อ ง เป น ไปตามลํ า ดั บ ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ขั้นตอน

4

การถอดและประกอบกรองน้ํามันเชื้อเพลิง

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

5

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

6

การจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ และวั ส ดุ ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน หลังปฏิบัติงาน

7

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ทันเวลาที่กําหนด

36 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ลําดับที่

1

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดในการใหคะแนน

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตองและ ครบถวน

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวนทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน

คะแนน เต็ม 3

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวน หรือ ไมถูกตอง อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวนและไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ไดแก ถุงมือผา

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลอยางถูกตอง

รองเทานิรภัย และชุดปฏิบัติการชางอยางถูกตอง ครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน

ครบทั้ง 3 ชนิด ใหคะแนน 3 คะแนน สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดถูกตอง 2 ชนิด

3

ใหคะแนน 2 คะแนน สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดถูกตองนอยกวา 2 ชนิด หรือไมสวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ใหคะแนน 0 คะแนน 3

การปฏิบัติงานไดถูกตอง เปนไปตามลําดับขั้นตอน

ถูกตองและเปนไปตามลําดับขั้นตอน ใหคะแนน 3 คะแนน

3

ถูกตอง แตสลับขั้นตอนปฏิบัติงานในบางขั้นตอน ใหคะแนน 2 คะแนน ถูกตอง แตปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 1 คะแนน ไมถูกตอง และปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 4

การถอดและประกอบกรองน้ํามันเชื้อเพลิง

ถอดและประกอบกรองน้ํามันเชื้อเพลิงถูกตองทุกขั้นตอน ใหคะแนน 5 คะแนน ถอดและประกอบกรองน้ํ า มั น เชื้ อ เพลิ ง ไม ถู ก ต อ งตาม ขั้นตอน 1 ขั้นตอน ใหคะแนน 4 คะแนน ถอดและประกอบกรองน้ํ า มั น เชื้ อ เพลิ ง ไม ถู ก ต อ งตาม ขั้นตอน 2 ขั้นตอน ใหคะแนน 3 คะแนน ถอดและประกอบกรองน้ํ า มั น เชื้ อ เพลิ ง ไม ถู ก ต อ งตาม ขั้นตอน 3 ขั้นตอน ใหคะแนน 2 คะแนน

37 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

5

คะแนนที่ได


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ลําดับที่

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดในการใหคะแนน

คะแนน เต็ม

คะแนนที่ได

ถอดและประกอบกรองน้ํ า มั น เชื้ อ เพลิ ง ไม ถู ก ต อ งตาม ขั้นตอนมากกวา 3 ขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 5

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไดสะอาดเรียบรอย

3

และครบทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย หรือไมครบทุกชิ้น อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย และไมครบทุกชิ้น ใหคะแนน 1 คะแนน ไมทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 6

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลังปฏิบัติงาน

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวนทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน

3

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมถกู ตอง หรือ ไมครบถวน อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมถกู ตองและ ไมครบถวน หรือไมจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 7

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ปฏิบัติงานไดอยางสมบูรณภายในเวลาทีก่ ําหนด

3

ใหคะแนน 3 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดไมเกิน 5 นาที ใหคะแนน 2 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดมากกวา 5 นาที ใหคะแนน 1 คะแนน คะแนนเต็ม

23

หมายเหตุ หากผูเขารับการฝกไดรับคะแนน 16 คะแนนขึ้นไป (คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70) ใหผูเขารับการฝก ขอเขารับการทดสอบภาคปฏิบัติได

38 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ใบงาน ใบงานที่ 1.2 การแกไขปญหาเครื่องยนตสตารทไมติด (กรณีมอเตอรสตารทชํารุด) 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. แกไขขอขัดของ ความเสียหายเบื้องตนของเครื่องยนตได 2. ปฏิบัติงานแกไขปญหาเครื่องยนตสตารทไมติด (กรณีมอเตอรสตารทชํารุด)ได 3. ปฏิบัติงานโดยคํานึงถึงความปลอดภัย

2. ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงาน - ระยะเวลาฝกปฏิบัติงานรวม 3 ชั่วโมง

3. คําชี้แจง ใหผูเขารับการฝกปฏิบัติงานแกไขปญหาเครื่องยนตสตารทไมติด (กรณีมอเตอรสตารทชํารุด) ใหถูกตองตาม ขั้นตอน

39 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ 1.2 การแกไขปญหาเครื่องยนตสตารทไมติด (กรณีมอเตอรสตารทชํารุด) 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - ถุงมือผา - แวนตานิรภัย - รองเทานิรภัย - ชุดปฏิบัติการชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับใบงาน 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้นที่ปฏิบัติงาน ไมใหมีอุปกรณอื่น ๆ ที่ไมเกี่ยวของ หรือวัสดุอันตราย เชน สายไฟฟา วางกีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมอุปกรณปฐมพยาบาลเบื้องตน ในกรณีเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัติงาน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตาง ๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1. รถยนต

จํานวน 1 คัน

2. มัลติมิเตอร

จํานวน 1 ตัว

3. ไฮโดรมิเตอร

จํานวน 1 อัน

หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือวามีสภาพพรอมใชงานหรือไม หากพบวาเครื่องมือชิ้นใดชํารุด ใหรายงานครูฝกใหทราบ 1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน 1. มอเตอรสตารท

จํานวน 1 ชุด

2. ผาเช็ดทําความสะอาด

จํานวน 1 ผืน

40 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

2. ลําดับการปฏิบัติงาน การแกไขปญหาเครื่องยนตสตารทไมติด (กรณีมอเตอรสตารทชํารุด) ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คําอธิบาย

1. จอดรถ

โดยพื้นที่จอดรถตองมั่นคงและแข็งแรง

2. ดับเครื่องยนต

ดับเครื่องยนตและเขาเกียร กรณีที่เปน รถยนตอัตโนมัติ ใหเขาเกียรในตําแหนง P ถาเปนเกียรธรรมดา ใหเขาเกียรที่ตําแหนง เกียรวาง ดึงเบรกมือ เพื่อปองกันรถไหล

41 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

3. เปดฝากระโปรงหนารถ และคลุมผาสําหรับซอม เป ด ฝากระโปรงรถพร อ มล็ อ กไม ค้ํ า ยั น ล็อกไมค้ํายันฝา และใชผาคลุมสําหรับซอมคลุมที่สวนหนา กระโปรงหนารถ รถและบังโคลนซาย-ขวา

ทุกครั้ง เพื่อปองกัน ไมใหฝากระโปรงปด ระหวางปฏิบัติงาน

4. ตรวจสอบสภาพขั้วแบตเตอรี่

ตรวจสอบสภาพขั้วบวกและขั้วลบของ

5. ตรวจสอบแรงเคลื่อนไฟฟา

แบตเตอรี่ โดยใชมือจับแลวทดลองโยก สาย ซึ่งจะตองไมโยกคลอน ตรวจสอบแรงเคลื่อนไฟฟาของแบตเตอรี่ โดยใชมัลติมิเตอร ซึ่งจะตองมีคา 12 โวลต

6. ตรวจสอบคาความถวงจําเพาะของน้ํากรด

ตรวจสอบคาความถวงจําเพาะดวย

แบตเตอรี่

ไฮโดรมิเตอร ซึ่งจะตองอยูในระดับปกติ

42 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 7. ถอดขั้วแบตเตอรี่

คําอธิบาย ถอดขั้วลบและขั้วบวกของแบตเตอรี่ออก

ขอควรระวัง ตองเริ่มถอดสาย แบตเตอรี่ขั้วลบกอน ขั้วบวกเสมอ เพื่อ ปองกันอันตรายจาก กระแสไฟฟา

8. ถอดมอเตอรสตารท

ถอดขั้ ว บวกของแบตเตอรี่ ที่ ต อ อยู กั บ มอเตอร ส ตาร ท ถอดสายสวิ ต ช ส ตาร ท และคลายนอตยึดมอเตอรสตารทออก

9. เปลี่ยนมอเตอรสตารท

ใสมอเตอรสตารทตัวใหม ขันนอตยึดให แนน เสียบสายสวิตชสตารท และตอ ขั้วบวกของแบตเตอรี่เขากับมอเตอร สตารท

43 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 10. ขันขั้วแบตเตอรี่

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

ขันขั้วบวกและขั้วลบของแบตเตอรี่ใหแนน ตองเริ่มใสสาย แบตเตอรี่ขั้วบวกกอน ขั้วลบเสมอ เพื่อ ปองกันอันตรายจาก กระแสไฟฟา

11. ทดสอบการทํางาน

ติดเครื่องยนต และดูวามอเตอรทํางาน ปกติหรือไม

12. ทํ า ความสะอาดและจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และ ใชผาเช็ดทําความสะอาดบริเวณสถานที่ อุปกรณ

ปฏิ บั ติ ง าน และจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และ อุปกรณใหเรียบรอย

44 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

3. ตรวจสอบการทํางาน ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับที่ 1

รายการตรวจสอบ

เกณฑการพิจารณา

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ความถูกตองตามวิธีการใชงาน และครบถวน

2

สวมใส อุ ป กรณ ป อ งกั น อั น ตรายส ว นบุ ค คล ความถูกตองตามวิธีการใชงาน อยางถูกตองและครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน

3

การปฏิ บั ติ ง านได ถู ก ต อ ง เป น ไปตามลํ า ดั บ ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ขั้นตอน

4

การตรวจสอบแบตเตอรี่

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

5

การถอดและประกอบมอเตอรสตารท

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

6

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

7

การจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ และวั ส ดุ ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน หลังปฏิบัติงาน

8

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ทันเวลาที่กําหนด

45 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ลําดับที่

1

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดในการใหคะแนน

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตองและ ครบถวน

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวนทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน

คะแนน เต็ม 3

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวน หรือ ไมถูกตอง อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน เตรียมเครือ่ งมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวนและไมถกู ตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ไดแก ถุงมือผา

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลอยางถูกตอง

แวนตานิรภัย รองเทานิรภัย และชุดปฏิบัติการชางอยาง ถูกตอง ครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน

ครบทั้ง 4 ชนิด ใหคะแนน 3 คะแนน สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดถูกตอง 3 ชนิด

3

ใหคะแนน 2 คะแนน สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดถูกตองนอยกวา 3 ชนิด หรือไมสวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ใหคะแนน 0 คะแนน 3

การปฏิบัติงานไดถูกตอง เปนไปตามลําดับขั้นตอน

ถูกตองและเปนไปตามลําดับขั้นตอน ใหคะแนน 3 คะแนน

3

ถูกตอง แตสลับขั้นตอนปฏิบัติงานในบางขั้นตอน ใหคะแนน 2 คะแนน ถูกตอง แตปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 1 คะแนน ไมถูกตอง และปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 4

การตรวจสอบแบตเตอรี่

ตรวจสอบแบตเตอรีถ่ ูกตองทุกขั้นตอน ใหคะแนน 5 คะแนน

5

ตรวจสอบแบตเตอรี่ไมถูกตองตามขั้นตอน 1 ขั้นตอน ใหคะแนน 3 คะแนน ตรวจสอบแบตเตอรี่ไมถูกตองตามขั้นตอน 2 ขั้นตอน ใหคะแนน 1 คะแนน ตรวจสอบแบตเตอรี่ไมถูกตองตามขั้นตอนมากกวา 2 ขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 5

การถอดและประกอบมอเตอรสตารท

ถอดและประกอบมอเตอรสตารทถูกตองทุกขั้นตอน ใหคะแนน 5 คะแนน

46 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

5

คะแนนที่ได


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ลําดับที่

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดในการใหคะแนน

คะแนน เต็ม

คะแนนที่ได

ถอดและประกอบมอเตอร สตาร ทไม ถู ก ต อ งตามขั้ น ตอน 1 ขั้นตอน ใหคะแนน 4 คะแนน ถอดและประกอบมอเตอร สตาร ทไม ถู ก ต อ งตามขั้ น ตอน 2 ขั้นตอน ใหคะแนน 3 คะแนน ถอดและประกอบมอเตอร สตาร ทไม ถู ก ต อ งตามขั้ น ตอน 3 ขั้นตอน ใหคะแนน 2 คะแนน ถอดและประกอบมอเตอร สตาร ทไม ถู ก ต อ งตามขั้ น ตอน มากกวา 3 ขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 6

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไดสะอาดเรียบรอย

3

และครบทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย หรือไมครบทุกชิ้น อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย และไมครบทุกชิ้น ใหคะแนน 1 คะแนน ไมทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 7

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลังปฏิบัติงาน

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวนทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน

3

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมถูกตอง หรือไมครบถวน อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมถูกตองและไมครบถวน หรือไมจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 8

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ปฏิบัติงานไดอยางสมบูรณภายในเวลาทีก่ ําหนด ใหคะแนน 3 คะแนน

3

ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดไมเกิน 5 นาที ใหคะแนน 2 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดมากกวา 5 นาที ใหคะแนน 1 คะแนน คะแนนเต็ม

28

หมายเหตุ หากผูเขารับการฝกไดรับคะแนน 20 คะแนนขึ้นไป (คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70) ใหผูเขารับการฝก ขอเขารับการทดสอบภาคปฏิบัติได 47 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

รายละเอียดหัวขอวิชาที่ 2 0921030202 ระบบสงกําลัง (ใบแนะนํา) 1. ผลลัพธการเรียนรู 1. วิเคราะหขอขัดของ ความเสียหายเบื้องตนของระบบสงกําลังได 2. แกไขขอขัดของ ความเสียหายเบื้องตนของระบบสงกําลังได

2. หัวขอสําคัญ 1. ความผิดปกติของเกียร 2. ความผิดปกติของคลัตช 3. ความผิดปกติของเฟองทาย

3. วิธีการฝกอบรม การฝกอบรมสามารถเลือกได 3 รูปแบบ คือ 1) การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ 2) การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม 3) การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน ดังรายละเอียดในขอแนะนําสําหรับผูรับการฝก

4. อุปกรณชวยฝก อุปกรณชวยฝกสามารถเลือกใชงานได 2 รูปแบบ คือ 1. รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝก เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมิน เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 2. รูปแบบอิเล็กทรอนิกส (Online) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 48 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

5. การรับการฝกอบรม 1. ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Post-Test) แลวสงใหครูฝกหรือระบบประเมินผลตามวิธีที่เลือกฝกอบรม 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหผูรับการฝกเขาฝกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝกอบรมภาคทฤษฎี ใหผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝก และฝกหัดทําใบทดสอบทายหัวขอวิชา 3. เมื่อผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝกประจําโมดูลนั้นเขาใจแลว ใหทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) แลวสงให ครูฝกหรือระบบประเมินผลเชนเดียวกับแบบทดสอบกอนฝก 4. การฝกอบรมภาคปฏิบัติ ผูรับการฝกอานและทําความเขาใจกับใบงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน และเกณฑการวัด และประเมินผลงาน 5. ผูรับการฝกเขารับการฝกที่ศูนยฝกอบรมที่ลงทะเบียนหรือจองไว 6. ผูรับการฝกอานระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับความปลอดภัยในการฝกของหนวยฝก 7. ผูรับการฝกฟงคําชี้แจงลําดับการปฏิบัติงานตามใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน 8. ผูรับการฝกปฏิบัติงานตามใบงาน แลวสงใหครูฝกตรวจประเมินผล 9. ผูรับการฝกที่คะแนนผลงานผานเกณฑรอยละ 70 สามารถขอทดสอบเพื่อจบโมดูลที่ฝกกับครูฝก

6. การวัดผล 1. ผูรับการฝกสงแบบทดสอบกอนฝก ใหครูฝกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎีตามวิธีที่เลือกฝกอบรม 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2. ผูรับการฝกสงแบบทดสอบหลังฝก ใหครูฝกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎี โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมิน แบบทดสอบกอนฝก 3. ผูรับการฝกสงผลงานในการฝกภาคปฏิบัติใหครูฝกตรวจประเมินผลงานของผูรับการฝก โดยตองผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จึงจะมีสิทธิ์เขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูล ที่ครูฝกกําหนดได

49 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

7. บรรณานุกรม ประสานพงษ หาเรือนชีพ. 2553. งานไฟฟารถยนต. กรุงเทพฯ. ซีเอ็ดยูเคชั่น. สาเหตุของอาการผิดปกติของระบบคลัตช. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://รักษรถ.com/สาเหตุของอาการผิดปกติ ของระบบคลัตช/ สาเหตุของอาการผิดปกติของหองสงกําลัง. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://รักษรถ.com/สาเหตุของอาการผิดปกติ ของหองสงกําลัง/

50 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ใบขอมูล หัวขอวิชาที่ 2 ระบบสงกําลัง ระบบสงกําลังรถยนต ระบบสงกําลังของรถยนตทําหนาที่ถายทอดการหมุนของเครื่องยนตไปยังลอ เพื่อใหรถยนตเคลื่อนที่ได โดยระบบสงกําลัง จะประกอบไปดวย ชุดคลัตช (Clutch) ชุดเกียร (Transmission) เพลาขับ (Drive shaft) ชุดเฟองทาย (Differential) เพลา (Axle) และ ลอ (Wheel)

ภาพที่ 2.1 ระบบสงกําลังรถยนต สวนประกอบของรถยนต สามารถแบงได 4 สวน คือ - เครื่องยนต ทําหนาที่เปนแหลงกําเนิดพลังงาน - ระบบสงกําลัง ทําหนาที่ถายทอดกําลังจากเครื่องยนตไปยังลอรถยนต - โครงรถยนต ทําหนาที่รองรับเครื่องยนต ระบบบังคับเลี้ยว ระบบรองรับน้ําหนัก ระบบพวงมาลัย และตัวถัง - ตัวถังรถยนต ประกอบดวย โครงสรางภายในหองโดยสาร ระบบปรับอากาศ ระบบไฟสองสวาง ระบบความปลอดภัย และอื่น ๆ

51 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

สวนประกอบและหนาที่ของระบบสงกําลัง - คลัตซ (Clutch) ทําหนาที่ตัดและตอกําลังระหวางเครื่องยนตกับกระปุกเกียร โดยอาศัยความฝดของแผนคลัตซ และลอชวย แรงเพื่อใชสําหรับการขับเคลื่อนรถยนต

ภาพที่ 2.2 แสดงลักษณะของชุดคลัตซ - กระปุกเกียร (Transmission) ทําหนาที่เปลี่ยนอัตราทดเพื่อเพิ่มหรือลดแรงบิด โดยรับกําลังจากเครื่องยนตผานชุดคลัตซสงมายังชุดเฟองใน กระปุกเกียร และสงตอไปยังลอ

ภาพที่ 2.3 แสดงลักษณะของกระปุกเกียร

52 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

- เพลากลาง (Propeller Shaft) ทําหนาที่สงกําลังจากกระปุกเกียรไปยังเฟองในระบบขับเคลื่อนลอหลัง ประกอบดวย ขอตอเลื่อน ขอตอออน เพลากลาง

ภาพที่ 2.4 แสดงลักษณะของเพลากลาง - เฟองทาย (Differential) ทําหนาที่รับสงกําลังจากเพลากลางและสงกําลังตอไปยังลอ ในขณะรถวิ่งทางตรง เฟองทายจะทําใหลอ ทั้งสองขางถูกขับใหหมุนดวยความเร็วเทากัน แตเมื่อรถเลี้ยวโคง เฟองทายจะทําใหลอดานนอกหมุนเร็วกวาดานใน ทําใหรถสามารถเลี้ยวโคงได

ภาพที่ 2.5 แสดงลักษณะของเฟองทาย

53 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

- เพลาทาย (Rear Axles) ทําหนาที่รับน้ําหนักในสวนทายของรถยนต เพลาทายมีหลายชนิดและนํามาใชงานกับรถยนตชนิดตาง ๆ ไมเหมือนกัน สําหรับชนิดที่ใชงานอยูในปจจุบันแบงออกได 3 ชนิด คือ เพลาทายแบบลอย เพลาทายแบบกึ่งลอย เพลาทายแบบลอย ¾

ภาพที่ 2.6 แสดงลักษณะของเพลาทาย คุณลักษณะของเกียรอัตโนมัติ เกียรอัตโนมัติ (Automatic Transmission) ทําหนาที่สงกําลังใหรถยนตสามารถขับเคลื่อนไปขางหนา หรือถอยหลัง ได เกียรอัตโนมัติสามารถเพิ่มหรือลดทอรกไดโดยไมตองเปลี่ยนตําแหนงเกียร เมื่อขับรถลงทางชัน การเขาเกียรต่ําจะชวย ใหการขับขี่ปลอดภัยขึ้น เนื่องจากเครื่องยนตจะชวย ตานทานการเคลื่อนที่ของรถยนต ซึ่งเปนการผอนคลายของระบบเบรก ขอดีของเกียรอัตโนมัติ - ผูขับขี่ไมตองเปลี่ยนเกียรและเหยียบคลัตซ เพราะรถยนตสามารถเปลี่ยนเกียรไดเอง ตามความเร็วของ รถยนต - ชวยลดภาระคลัตซขณะขับขี่รถในสภาพการจราจรคับคั่งหรือติดขัด ขอเสียของเกียรอัตโนมัติ - สิ้นเปลืองน้ํามันเชื้อเพลิงมากกวาเกียรธรรมดา - ราคารถยนตที่เปนเกียรอัตโนมัติมีราคาสูง

54 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

สวนประกอบหลักของเกียรอัตโนมัติ

ภาพที่ 2.7 แสดงสวนประกอบหลักของเกียรอัตโนมัติ - ทอรกคอนเวอรเตอร - ชุดเฟองแพลนเนตตารี่ - ชุดควบคุมการทํางาน - ระบบน้ํามันเกียร - ชุดควบคุมกลไกลควบคุมเกียร - ชุดเฟองทายและเพลาขับลอ ทอรกคอนเวอรเตอร คุณลักษณะของทอรกคอนเวอรเตอร - ทอรกคอนเวอรเตอรติดตั้งอยูบริเวณเพลารับกําลังของเกียร และยึดอยูบริเวณดานหลังของเพลาขอเหวี่ยง ดวยสกรูผานทางแผนขับทอรกคอนเวอรเตอร - สําหรับรถยนตเกียรอัตโนมัติ ทอรกคอนเวอรเตอรทําหนาที่เหมือนลอชวยแรง โดยใชแผนขับบาง ๆ รอบ แผนขับเปนเฟองวงแหวนใชสตารทเครื่องยนต ขณะแผนขับหมุน น้ําหนักของแผนขับจะกระจายไปทําให เกิดการสมดุล

55 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

หนาที่ของทอรกคอนเวอรเตอร - เพิ่มแรงบิดจากเครื่องยนต - ขับปมน้ํามันของระบบไฮดรอลิกเกียร - สลายแรงบิดจากการสั่นของเครื่องยนต - ชวยใหการหมุนของเครื่องยนตราบเรียบ - เปนคลัตซอัตโนมัติตัดและตอกําลังของเครื่องยนตกับเกียร สวนประกอบของทอรกคอนเวอรเตอร

ภาพที่ 2.8 แสดงสวนประกอบของทอรกคอนเวอรเตอร ทอรกคอนเวอรเตอรประกอบดวยอิมเพลเลอร เทอรไบน สเตเตอรและคลัตซทางเดียว - ปมอิมเพลเลอร (Pump Impeller) ประกอบดวยเสื้อทอรกคอนเวอรเตอร และครีบปมรูปโคงงอหลายแผน ขอบในของครีบปมเปนวงแหวนภายใน ชวยใหน้ํามันไหลคลอง - เทอรไบน (Turbine) เปนกังหันตามมีครีบหลายครีบติดอยูภายใน สวมแนนอยูกับเพลารับสงกําลังของ เกียรเมื่อใชรถในยานเกียร D 2 L หรือ R เทอรไบนไมหมุน แตถาอยูในยานเกียร P หรือ N เทอรไบนจะ หมุนอิสระไปกับปมอิมเพลเลอร

56 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

- สเตเตอร (Stator) จะติดตั้งอยูบนเพลาสเตเตอร ซึ่งยึดติดอยูกับเสื้อเกียรผานคลัตซทางเดียว ใบพัดของ สเตเตอรจะรับน้ํามันจากเทอรไบน และเปลี่ยนทิศทางใหไปกระทบดานหลัง ครีบของปมอิมเพลเลอร เพื่อเพิ่มกําลังใหกับปมดังกลาว คลัตซทางเดียวจะยอมใหสเตเตอรหมุนในทิศทางเดียวกับเพลาขอเหวี่ยง - คลัตซทางเดียว เมื่อรางตัวนอกพยายามหมุนในทิศทางตามลูกศร จะดันใหสวนบนของเดือยคลัตซเคลื่อนที่ ไป รางตัวนอกจึงหมุนได การสงถายกําลังของทอรกคอนเวอรเตอร - ถ า ใช พัดลมสองตั วหัน หน า เข า หากันเสีย บปลั๊กใหพัดลมตัว หนึ่งหมุน อีกตัว หนึ่งจะหมุน ตามทิศทาง เดียวกัน การหมุนดังกลาวเกิดจากการสงถายกําลังระหวางพัดลมทั้งสองตัว โดยมีอากาศเปนตัวกลาง การสงถายกําลัง - การทํางานของทอรกคอนเวอรเตอร จะใชปมอิมเพลเลอรแทนพัดลมตัวที่หนึ่ง และใชเทอรไบนแทนพัด ลมตัวที่สอง โดยใชน้ํามันเกียรอัตโนมัติเปนตัวกลางสําหรับการสงถายกําลังงาน - เมื่อปมอิมเพลเลอรหมุน น้ํามันในปมอิมเพลเลอรจะหมุนพรอมกับปมในทิศทางเดียวกัน - เมื่อปมอิมเพลเลอรหมุนเร็ว จะทําใหน้ํามันเริ่มไหลออกจากศูนยกลางของปมไปตามครีบไปกระทบกับ ครีบของเทอรไบน ทําใหเทอรไบนหมุนไปในทิศทางเดียวกับปมอิมเพลเลอร - หลังจากน้ํามันไปกระทบครีบของเทอรไบนน้ํา มันจะไหลยอนกลับไปที่ปมอิมเพลเลอรอยางตอเนื่อง 1. ความผิดปกติของเกียร ป ญ หาข อ ขั ด ข อ งที่ เ กิ ด กั บ กระปุ ก เกี ย ร ร ถยนต จะต อ งตรวจและหาตํ า แหน ง ที่ เ ป น สาเหตุ ข องป ญ หาก อ น โดยมี รายละเอียดในการตรวจสอบดังตอไปนี้ 1.1 เสียงภายในกระปุกเกียร สาเหตุอาจเกิดมาจากความบิดเบี้ยวของเพลา ชองวางระหวางบุชกับเพลา หรือปลอกดุม กับกามปูเกียร แตในกรณีที่มีเสียงดังขณะเปลี่ยนเกียร อาจมีสาเหตุมาจากคลัตชไมจากออกขณะเขาเกียร 1) ตรวจสอบรองเล็ก ๆ ในเฟองทองเหลืองของกลไกซิงโครเมต การสัมผัสเฟองทองเหลืองกับเฟองเกียรเกิด ลื่นไถล มีแรงฝดนอย ทําใหการปรับความเร็วของเกียรลดลง

57 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ภาพที่ 2.9 แสดงตําแหนงของรองเล็กในเฟองทองเหลือง 2) ระยะชองวางระหวางเฟองทองเหลืองกับเฟองเกียร เมื่อดันเฟองทองเหลืองใหแนบกับสวนกรวยของ เฟองเกียร จากนั้นใชฟลเลอรเ กจวัดระยะชองวางระหวางเฟองทองเหลืองกับเฟองเกียร จะมีร ะยะ ชองวางนอยลง เนื่องจากเกิดการสึกหรอที่เกิดขึ้นนี้จะทําใหเกิดเสียงดัง

ภาพที่ 2.10 แสดงการตรวจวัดระยะชองวางระหวางเฟองทองเหลืองกับเฟองเกียร 3) ยอดนูนของตัวหนอนของชุดเฟองซิงโครไนซ มีการสึกหรอมากทําใหเฟองทองเหลืองถูกดันนอยลง ทําให เกิดเสียงดังในขณะที่เปลี่ยนเกียร

58 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ภาพที่ 2.11 แสดงตําแหนงการตรวจความสูงของยอดนูนของตัวหนอนในชุดเฟองซิงโครไนซ 1.2 เปลี่ยนเกียรยาก มีรายละเอียดการตรวจสอบดังตอไปนี้ 1) อาจเกิดจากบุชกานตอควบคุมกระปุกเกียรซึ่งมีความซับซอน เกิดการสึกหรอที่บุชมาก 2) ตรวจสอบการสึกหรอของชิ้นสวนกระปุกเกียร

ภาพที่ 2.12 แสดงลักษณะของกานตอควบคุมกระปุกเกียรที่มีความซับซอน

59 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

2. ความผิดปกติของคลัตซ คลัตซทําหนาที่ตอและตัดกําลังเครื่องยนตที่สงไปยังหองสงกําลัง ซึ่งเปนหองสงแบบธรรมดา สําหรับตําแหนงของคลัตซ จะอยูระหวางเครื่องยนตกับหองสงกําลัง และควบคุมการทํางานของคลัตซดวยการเหยียบแปนคลัตซ โดยปญหาขอขัดของที่ เกิดขึ้นกับคลัตซ มีสาเหตุของอาการผิดปกติตาง ๆ ในระบบคลัตช ดังตอไปนี้

ภาพที่ 2.13 โครงสรางของระบบคลัตซ 1) คลัตชลื่นหรือเขาคลัตชไมสนิท อาการของรถยนต คือ รอบเครื่องยนตทํางานปกติ แตระบบเกียรไมทํางาน รถยนตจึงไมสามารถเคลื่อนที่ได ขณะผูขับขี่ยกเทาออกจากแปนคลัตช คลัตชจะเขากันไดสนิท และสามารถ ถายทอดกําลังจากเครื่องยนตไปยังหองสงกําลังไดอยางเต็มที่ แตถาหากคลัตชลื่น หรือถายทอดกําลังได ไมเต็มที่นั้น เปนอาการที่ผิดปกติของคลัตช ซึ่งมีสาเหตุดังตอไปนี้ - ระยะฟรีของกลไกปลดคลัตชไมเพียงพอ ทําใหคลัตชเขากันไดไมสนิท - ผาคลัตชสึกหรอมากเกินไป - มีน้ํามันหลอลื่น หรือจาระบีบนผาคลัตชทําใหเกิดการลื่นไถล - สปริงของแผนกดคลัตชออนเกินไปหรือหัก - ถาคลัตชเปนในระบบไฮดรอลิก แสดงวามีอากาศในระบบ - ระยะฟรีของแปนคลัตชไมเพียงพอ

60 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ภาพที่ 2.14 ระยะฟรีของแปนคลัตซ - แผนคลัตชบิดเบี้ยว - แผนกดคลัตชบิดเบี้ยว - นิ้วคลัตชติดคางแผนกดคลัตชติดคาง - คลัตชไมไดศูนย 2) คลัตชตัดกําลังไดไมเต็มที่ อาการของเครื่องยนต คือ รอบเครื่องยนตจะสั่น ขณะผูขับขี่เหยียบแปนคลัตช คลัตชจะตัดการถายทอดกําลัง แตถาคลัตชตัดการถายทอดกําลังไดไมเต็มที่จะทําใหแผนคลัตชนั้นยังคงหมุน อยู ทําใหเกิดความยากตอการเปลี่ยนเกียร และเปนสิ่งที่ทําใหผาคลัตชนั้นสึกหรอเร็วกวาปกติ ซึ่งสาเหตุ ดังกลาวนั้นมาจากอาการตอไปนี้ - มีน้ํามัน หลอลื่น หรือจาระบีบ นผาคลัตช ทําใหผาคลัต ชเ สื่อมสภาพ และเกิดอาการพองตัว ของผาคลัตช - มีอากาศในระบบคลัตชประเภทคลัตชไฮดรอลิก - ระยะฟรีของกลไกปลดคลัตชมากเกินไป ทําใหเมื่อเหยียบแปนคลัตชแลวไมสามารถปลดคลัตช ไดเต็มที่ - คลัตชไมไดศูนย - แผนคลัตชติดแนนบนรองเพลา จึงทําใหแผนคลัตชไมสามารถขยับตัวไดอยางอิสระ - ผาคลัตชฉีกหรือหลวมออกจากแผนคลัตช - แผนกดคลัตชบิดเบี้ยวจนทําใหเกิดความเสียหายกับแผนคลัตช 61 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

- ฝาครอบคลัตชบิดตัว - แขนปลดคลัตชโคงงอ - รองคุมของแผน คลั ต ชติด คา งอยูบ นร อ งเพลา จึงทําใหแผน คลัตชไมเคลื่อ นที่อ อกหา งจาก ผิวสัมผัสของลอชวยแรง - เครื่องยนตเดินเบาดวยอัตรารอบสูงมากกวา 900 Revolutions Per Minute (RPM) - อาการสั่นของคลัตซในขณะที่คลัตซสัมผัสกับลอชวยแรง - ระยะฟรีของคลัตชไมเพียงพอ - ผาคลัตชสึกหรอหรือแข็งเกินไป

ภาพที่ 2.15 ผาคลัตช - มีน้ํามันหลอลื่นหรือจาระบีบนผาคลัตช - มีการหลวมในระบบสงกําลังหรือชวงลาง - แผนคลัตชบิดตัว - ดุมของแผนคลัตชหลวม 3. ความผิดปกติของเฟองทาย ความผิดปกติของเฟองทายที่เกิดเสียงดังจากการชํารุด มีวิธีการสังเกตอาการผิดปกติไดหลายวิธีและตองใชความชํานาญ รวมทั้งเครื่องมือเฉพาะทางในการตรวจสอบ และในการตรวจสอบนั้นสามารถทําไดโดยใชทักษะสัมผัสตาง ๆ เริ่มจากการขับ รถยนตตามปกติไปในระยะเวลาหนึ่ง เพื่อใหนํ้ามันหลอลื่นในเฟองทายรถยนตรอนขึ้น จากนั้นปดเสียงของอุปกรณภายใน รถยนตทั้งหมด และพยายามแยกเสียงดังที่เกิดจากสวนตาง ๆ ภายในรถยนต เนื่องจากเสียงที่เกิดจากเฟองทายรถยนตจะมี

62 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

เสีย งคลา ยกับ เสีย งตา ง ๆ ภายในรถยนต เชน เสีย งที่เ กิด จากยางรถยนตเ คลื่อ นที่บ นพื้น ถนน เสีย งที่เ กิด จากลูกปน เสียงเครื่องยนต และเสียงของระบบเกียร 3.1 เสียงของยางรถยนต เปนเสียงที่สม่ําเสมอ ขึ้นอยูกับความเร็วของรถยนต และมีเสียงเปลี่ยนแปลงไป ตามผิวถนน ที่ขับแตกตางกัน หากเปรียบเทียบเสียงของเฟองทายรถยนตกับเสียงของยาง จะเห็นวาเสียงของเฟองทายจะ ไมเปลี่ยนแปลง เมื่อเราขับรถไปบนผิวถนนที่แตกตางกัน และเสียงจะเบาลงเมื่อความเร็วประมาณ 50 กิโลเมตร ตอชั่วโมง 3.2 เสียงของลูกปนลอ หรือลูกปนเพลาขางจะดังสม่ําเสมอ ถึงแมรถยนตจะวิ่งอยูบนผิวถนนที่แตกตางกัน ตรวจสอบได โดยการเหยียบเบรกเบา ๆ ขณะที่รถยนตมีความเร็วสม่ําเสมอ ถาเสียงดังเพราะแบริ่งลอหรือแบริ่งของเพลาขาง ระดับเสียงจะเปลี่ยนไป หรืออีกวิธีหนึ่งคือ การเลี้ยวรถโดยกะทันหัน ถาเปนเสียงของลูกปนลอ หรือลูกปนของ เพลาขางเสียงจะดังขึ้น 3.3 เสียงของระบบเกียร เราสามารถฟงได โดยการขับรถแลวเปลี่ยนเกียรตาง ๆ กัน ถาเปนเสียงของระบบเกียร เสียงจะดัง ขึ้นหรือเบาลง 3.4 เสียงของเครื่องยนต หรือเสียงจากทอไอเสีย ตรวจสอบไดโดยการขับรถไปดวยความเร็วจนเกิดเสียง จากนั้นให หยุดรถและเขาเกียรวาง แลวจึงเรงเครื่องยนตจนมีความเร็วรอบเครื่องยนตเทากับตอนแรก ถาหากยังเกิดเสียงดัง อีก แสดงวาเปนเสียงเครื่องยนตหรือเสียงจากทอไอเสีย

ภาพที่ 2.16 โครงสรางสวนประกอบภายในของเฟองทาย 63 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ใบทดสอบ ตอนที่ 1 คําชี้แจง ใหผูรับการฝกทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบขอที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว 1. สวนประกอบใด ทําหนาที่ตัดตอกําลังระหวางเครื่องยนตกับกระปุกเกียร ก. ลูกปนลอ ข. คลัตช ค. สเตเตอร ง. เฟองทาย 2. ขอใด ไมใช สาเหตุของอาการคลัตชตัดกําลังไมเต็มที่ ก. แผนกดคลัตชบิดตัว ข. ระยะฟรีของคลัตชไมเพียงพอ ค. ดุมของแผนคลัตชหลวม ง. ไมมีอากาศในระบบคลัตชไฮดรอลิก 3. ขอใด คือ หนาที่ของทอรกคอนเวอรเตอร ก. รับสงกําลังจากเครื่องยนตไปเพลากลาง ข. สลายแรงบิดจากการสั่นของเครื่องยนต ค. เพิ่มกําลังใหกับปมอิมเพลเลอร ง. รับน้ําหนักสวนทายของรถยนต 4. ขอใดกลาวไมถูกตอง เกี่ยวกับความผิดปกติของเกียร ก. เสียงในกระปุกเกียร เกิดจากความบิดเบี้ยวของเพลา ข. บุชสึกหรอ สงผลใหเปลี่ยนเกียรยาก ค. ชองวางระหวางบุชกับเพลา ทําใหน้ํามันเกียรลดลง ง. ถาชุดเฟองซิงโครไนซสึกหรอ จะทําใหเกิดเสียงดัง

64 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

5. ขอใด คือ หนาที่ของเพลากลาง ก. เปลี่ยนอัตราทดเพื่อเพิ่มหรือลดแรงบิด ข. สงกําลังจากกระปุกเกียรไปยังเฟองทาย ค. ขับปมน้ํามันของระบบไฮดรอลิกเกียร ง. ชวยใหเครื่องยนตหมุนไดราบเรียบ ตอนที่ 2 คําชี้แจง ใหผูรับการฝกพิจารณาขอความตอไปนี้วา ถูก หรือ ผิด และทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบ ถูก

ผิด

ขอความ 6. ขอดีของเกียรอัตโนมัติ คือ ผูขับขี่ไมตองเปลี่ยนเกียรและเหยียบคลัตซ เพราะ รถยนตสามารถเปลี่ยนเกียรไดเอง ตามความเร็วของรถยนต ชวยลดภาระคนขับ 7. เสียงจากทอไอเสีย ตรวจสอบไดโดยการเรงเครื่องยนตใหมีความเร็วรอบสูงอยูกับที่ 8. การทํางานของทอร กคอนเวอรเตอร จะใชเทอรไบน แทนพั ดลมตัว ที่ห นึ่ง ใช ปมอิมเพลเลอรแทนพัดลมตัวที่สอง และใชน้ํามันเกียรอัตโนมัติเปนตัวกลางสําหรับ การสงถายกําลังงาน 9. เสียงของระบบเกียร ตรวจสอบไดโดยการเปลี่ยนเกียรตาง ๆ แลวลองฟงเสียง ถาเปนเสียงของระบบเกียร เสียงจะดังขึ้นหรือคอยลง 10. เทอรไบน ประกอบดวยเสื้อทอรกคอนเวอรเตอร และครีบปมรูปโคงงอหลาย แผน โดยขอบในของครีบปมเปนวงแหวนภายใน ชวยใหน้ํามันไหลคลอง

65 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

กระดาษคําตอบ ตอนที่ 1 ปรนัย ขอ ก 1 2 3 4 5 ตอนที่ 2 ถูกผิด ขอ 6 7 8 9 10

ถูก

ผิด

66 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ใบงาน ใบงานที่ 2.1 การเปลี่ยนถายน้ํามันเกียรอัตโนมัติ 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. แกไขขอขัดของ ความเสียหายเบื้องตนของระบบสงกําลังได 2. ปฏิบัติงานเปลี่ยนถายน้ํามันเกียรอัตโนมัติได 3. ปฏิบัติงานโดยคํานึงถึงความปลอดภัย

2. ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงาน - ระยะเวลาฝกปฏิบัติงานรวม 3 ชั่วโมง 30 นาที

3. คําชี้แจง ใหผูรับการฝกปฏิบัติงานการเปลี่ยนถายน้ํามันเกียรอัตโนมัติใหถูกตองตามขั้นตอน

67 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ 2.1 การเปลี่ยนถายน้ํามันเกียรอัตโนมัติ 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - ถุงมือผา - แวนตานิรภัย - รองเทานิรภัย - ชุดปฏิบัติการชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับใบงาน 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้นที่ปฏิบัติงาน ไมใหมีอุปกรณอื่น ๆ ที่ไมเกี่ยวของ หรือวัสดุอันตราย เชน สายไฟฟา วางกีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมอุปกรณปฐมพยาบาลเบื้องตน ในกรณีเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัติงาน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตาง ๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1. กรวยรอง

จํานวน 1 อัน

2. เครื่องมือชางพื้นฐาน

จํานวน 1 ชุด

3. ถังรองเปลี่ยนถายน้ํามัน

จํานวน 1 ใบ

4. ถาดรองเปลี่ยนถายน้ํามัน

จํานวน 1 ใบ

5. ประแจวัดแรงบิด

จํานวน 1 อัน

6. ผาคลุมรถสําหรับซอม

จํานวน 1 ชุด

7. รถยนตที่ใชเกียรอัตโนมัติ

จํานวน 1 คัน

8. ลิฟตยกรถ

จํานวน 1 ตัว

หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือวามีสภาพพรอมใชงานหรือไม หากพบวาเครื่องมือชิ้นใดชํารุด ใหรายงานครูฝกใหทราบ 68 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน 1. น้ํามันเกียรอัตโนมัติ

จํานวน 4 ลิตร

2. น้ํามันเบนซิน

จํานวน 1 ลิตร

3. ผาเช็ดทําความสะอาด

จํานวน 1 ผืน

4. แหวนรองนอตถายน้ํามันเกียร

จํานวน 1 อัน

2. ลําดับการปฏิบัติงาน การเปลี่ยนถายน้ํามันเกียรอัตโนมัติ ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1. จอดรถ

คําอธิบาย จอดรถใหตรงกับตําแหนงของลิฟตยกรถ

2. ดับเครื่องยนต

ดับเครื่องยนตและเขาเกียรที่ตําแหนง P ดึงเบรกมือ เพื่อปองกันรถไหล

69 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

3. เปดฝากระโปรงหนารถ และคลุมผาสําหรับซอม เป ด ฝากระโปรงรถพร อ มล็ อ กไม ค้ํ า ยั น ล็อกไมค้ํายันฝา และใชผาคลุมสําหรับซอมคลุมที่สวนหนา กระโปรงหนารถทุก รถและบังโคลนซาย-ขวา

ครั้ง เพื่อปองกันไมให ฝากระโปรงปด ระหวางปฏิบัติงาน

4. ตรวจสอบระดับน้ํามันเกียรอัตโนมัติ

ตรวจสอบระดับน้ํามันเกียรที่ปลายกานวัด ซึ่งตองอยูระหวางขีด MIN และ MAX หรือ ขีด HOT กับ COLD

5. ยกรถขึ้น

ยกรถขึ้นจากพื้นดวยลิฟตยกรถ ใหสูง

ระวังอยาให มี คนหรื อ

ระดับสายตา

สิ่ ง กี ด ขวางใต ท อ งรถ หรื อ บริ เ วณใกล เ คี ย ง ขณะนํ า รถขึ้ น และ ระวังรถตกจากลิฟต ยกรถ

6. ทําความสะอาดนอตถายน้ํามันเกียรอัตโนมัติ (กอนถอดนอตถายน้ํามันเกียรอัตโนมัติ)

ใชผาเช็ดทําความสะอาดนอตถ ายน้ํา มัน เกียรอัตโนมัติ 70 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 7. วางถังรองน้ํามันเกียรอัตโนมัติ

คําอธิบาย วางถาดรองน้ํามันเกียรอัตโนมัติ ใหตรงกับ

ขอควรระวัง

ตําแหนงนอตถายน้ํามันเกียรอัตโนมัติ

8. ถอดนอตถายน้ํามันเกียรอัตโนมัติ

ถอดนอตถ า ยน้ํ า มั น เกี ย ร อั ต โนมั ติ อ อก ร ะ วั ง น้ํ า มั น เ กี ย ร และรอจนกระทั่งน้ํามันไหลออกหมด

9. ทําความสะอาดนอตถายน้ํามันเกียรอัตโนมัติ (หลังถอดนอตถายน้ํามันเกียรอัตโนมัติ)

กระเด็นเขาตา

ทํ า ความสะอาดนอตถ า ยน้ํ า มั น เกี ย ร ลางเศษโลหะที่ ติ ด อยู อัตโนมัติดวยน้ํามันเบนซิน

บนนอตเติ ม และนอต ถายน้ํามันเกียรออกให หมด เพื่อปองกัน เศษ โลหะปะปนกับน้ํามันที่ เปลี่ยนใหม

10. เปลี่ยนแหวนรองใหม

ประกอบแหวนรองนอตถ ายน้ํา มัน เกี ย ร อัตโนมัติ ตัวใหมเขาไปแทน

71 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 11. ขันนอตถายน้ํามันเกียรอัตโนมัติ

คําอธิบาย ประกอบนอตถายน้ํามันเกียรอัตโนมัติและ

ขอควรระวัง

ขั น ตามค า แรงขั น ที่ คู มื อ ซ อ มประจํ า รถยนตกําหนดดวยประแจวัดแรงบิด

12. นํารถลงพื้น

ลดระดั บ ลิ ฟ ต ย กรถจนกระทั่ ง รถอยู ใ น ระวังอยาให มี คนหรื อ ระดับปกติ

สิ่ ง กี ด ขวางใต ท อ งรถ หรื อ บริ เ วณใกล เ คี ย ง ขณะนํารถลง

13. เติมน้ํามันเกียรอัตโนมัติใหม

ตรวจสอบปริมาณน้ํามันเกียรจากถังรอง เปลี ่ย นถา ยน้ํ า มัน วา มีกี ่ล ิต ร แลว เติม น้ํา มัน เกีย รใ หมใ นปริม าณเทา กับ ที่ถา ย ออก

14. ตรวจสอบระดับน้ํามันเกียรอัตโนมัติ

ตรวจสอบระดับน้ํามันเกียรที่ปลายกานวัด ซึ่งตองอยูระหวางขีด MIN และ MAX หรือ ขีด HOT กับ COLD

72 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 15. ติดเครื่องยนต

คําอธิบาย ติดเครื่องยนตจนถึงอุณหภูมิทํางานปกติ

16. เหยียบเบรก และเปลี่ยนตําแหนงเกียร

ขณะเครื่องยนตทํางาน และเลื่อนตําแหนง เกียรไปตําแหนงตาง ๆ ทุกตําแหนงอยาง ชา ๆ จากนั้น เลื่อนเกียรกลับมาที่ตําแหนง P ดังเดิม

17. ตรวจสอบรอยรั่วซึม

ตรวจสอบรอยรั่วซึมบริเวณนอตถายน้ํามัน

18. ตรวจสอบระดั บ น้ํ า มั น เกี ย ร อั ต โนมั ติ ขณะ เกียรอัตโนมัติ เครื่องยนตทํางาน

วั ด ระดั บ น้ํ า มั น เกี ย ร อั ต โนมั ติ ข ณะติ ด เครื่องยนตอีกครั้ง หากไมไดระดับ ใหเติม จนไดระดับที่เหมาะสม

19. ทําความสะอาดและจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ ใชผาเช็ดทําความสะอาดบริเวณสถานที่ ปฏิ บั ติ ง าน และจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และ อุปกรณใหเรียบรอย

73 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

3. ตรวจสอบการทํางาน ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับที่ 1

รายการตรวจสอบ

เกณฑการพิจารณา

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ความถูกตองตามวิธีการใชงาน และครบถวน

2

สวมใส อุ ป กรณ ป อ งกั น อั น ตรายส ว นบุ ค คล ความถูกตองตามวิธีการใชงาน อยางถูกตองและครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน

3

การปฏิ บั ติ ง านได ถู ก ต อ ง เป น ไปตามลํ า ดั บ ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ขั้นตอน

4

การเปลี่ยนถายน้ํามันเกียรอัตโนมัติ

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

5

การตรวจวัดระดับเติมน้ํามันเกียรอัตโนมัติหลัง ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน การเปลี่ยนถาย

6

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

7

การจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ และวั ส ดุ ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน หลังปฏิบัติงาน

8

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ทันเวลาที่กําหนด

74 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ลําดับที่

1

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดในการใหคะแนน

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตองและ ครบถวน

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวนทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน

คะแนน เต็ม 3

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวน หรือ ไมถูกตอง อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน เตรียมเครือ่ งมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวนและไมถกู ตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ไดแก ถุงมือผา

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลอยางถูกตอง

รองเทานิรภัย แวนตานิรภัย และชุดปฏิบัติการชางอยาง ถูกตอง ครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน

ครบทั้ง 4 ชนิด ใหคะแนน 3 คะแนน สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดถูกตอง 3 ชนิด

3

ใหคะแนน 2 คะแนน สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดถูกตองนอยกวา 3 ชนิด หรือไมสวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ใหคะแนน 0 คะแนน 3

การปฏิบัติงานไดถูกตอง เปนไปตามลําดับขั้นตอน

ถูกตองและเปนไปตามลําดับขั้นตอน ใหคะแนน 3 คะแนน

3

ถูกตอง แตสลับขั้นตอนปฏิบัติงานในบางขั้นตอน ใหคะแนน 2 คะแนน ถูกตอง แตปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 1 คะแนน ไมถูกตอง และปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 4

การเปลี่ยนถายน้ํามันเกียรอัตโนมัติ

เปลี่ยนถายน้าํ มันเกียรอัตโนมัติไดถูกตองตามขั้นตอน ใหคะแนน 5 คะแนน เปลี่ยนถายน้ํามันเกียรอัตโนมัติไมถูกตองตามขั้นตอน 1 ขั้นตอน ใหคะแนน 4 คะแนน เปลี่ยนถายน้ํามันเกียรอัตโนมัติไมถูกตองตามขั้นตอน 2 ขั้นตอน ใหคะแนน 3 คะแนน เปลี่ยนถายน้ํามันเกียรอัตโนมัติไมถูกตองตามขั้นตอน 3 ขั้นตอน ใหคะแนน 2 คะแนน

75 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

5

คะแนนที่ได


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ลําดับที่

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดในการใหคะแนน

คะแนน เต็ม

เปลี่ ย นถ า ยน้ํ า มั น เกี ย ร อั ต โนมั ติ ไ ม ถู ก ต อ งตามขั้ น ตอน มากกวา 3 ขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 5

การตรวจวัดระดับเติมน้ํามันเกียรอัตโนมัติหลังการ

ตรวจวัดระดับน้ํามันเกียรอัตโนมัติไดถูกตองตามขั้นตอน

เปลี่ยนถาย

ใหคะแนน 5 คะแนน

5

ตรวจวัดระดับน้ํามันเกียรอัตโนมัติไมถูกตองตามขั้นตอน 1 ขั้นตอน ใหคะแนน 3 คะแนน ตรวจวัดระดับน้ํามันเกียรอัตโนมัติไมถูกตองตามขั้นตอน 2 ขั้นตอน ใหคะแนน 1 คะแนน ตรวจวัดระดับน้ํามันเกียรอัตโนมัติไมถูกตองตามขั้นตอน มากกวา 2 ขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 6

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไดสะอาดเรียบรอย และครบทุกชิ้น

3

ใหคะแนน 3 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย หรือไมครบทุกชิ้น อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย และไมครบทุกชิ้น ใหคะแนน 1 คะแนน ไมทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 7

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลังปฏิบัติงาน

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวนทุกชิ้น

3

ใหคะแนน 3 คะแนน จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมถกู ตอง หรือ ไมครบถวน อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมถกู ตองและ ไมครบถวน หรือไมจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 8

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ปฏิบัติงานไดอยางสมบูรณภายในเวลาทีก่ ําหนด ใหคะแนน 3 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดไมเกิน 5 นาที ใหคะแนน 2 คะแนน

76 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

3

คะแนนที่ได


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ลําดับที่

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดในการใหคะแนน

คะแนน เต็ม

คะแนนที่ได

ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดมากกวา 5 นาที ใหคะแนน 1 คะแนน คะแนนเต็ม

28

หมายเหตุ หากผูเขารับการฝกไดรับคะแนน 20 คะแนนขึ้นไป (คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70) ใหผูเขารับการฝก ขอเขารับการทดสอบภาคปฏิบัติได

77 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ใบงาน ใบงานที่ 2.2 การเปลี่ยนถายน้ํามันคลัตชและไลลมคลัตช 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. แกไขขอขัดของ ความเสียหายเบื้องตนของระบบสงกําลังได 2. ปฏิบัติงานเปลี่ยนถายน้ํามันคลัตชและไลลมคลัตชได 3. ปฏิบัติงานโดยคํานึงถึงความปลอดภัย

2. ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงาน - ระยะเวลาฝกปฏิบัติงานรวม 3 ชั่วโมง 30 นาที

3. คําชี้แจง ใหผูรับการฝกปฏิบัติงานเปลี่ยนถายน้ํามันคลัตซและไลลมคลัตช

78 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ 2.2 การเปลี่ยนถายน้ํามันคลัตชและไลลมคลัตช 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - ถุงมือผา - แวนตานิรภัย - รองเทานิรภัย - ชุดปฏิบัติการชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับใบงาน 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้นที่ปฏิบัติงาน ไมใหมีอุปกรณอื่น ๆ ที่ไมเกี่ยวของ หรือวัสดุอันตราย เชน สายไฟฟา วางกีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมอุปกรณปฐมพยาบาลเบื้องตน ในกรณีเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัติงาน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตาง ๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1. รถยนตที่ใชเกียรธรรมดา

จํานวน 1 คัน

2. ผาคลุมรถสําหรับซอม

จํานวน 1 ชุด

3. เครื่องมือชางพื้นฐาน

จํานวน 1 ชุด

4. ประแจวัดแรงบิด

จํานวน 1 อัน

5. ประแจขันนอตลอ

จํานวน 1 อัน

6. กระปองรองรับน้ํามันพรอมสายยางออนไลลม

จํานวน 1 ชุด

7. อุปกรณดูดน้ํามัน

จํานวน 1 ชุด

8. ลิฟตยกรถ

จํานวน 1 ตัว

หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือวามีสภาพพรอมใชงานหรือไม หากพบวาเครื่องมือชิ้นใดชํารุด ใหรายงานครูฝกใหทราบ 79 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน 1. น้ํามันคลัตช

จํานวน 1 ลิตร

2. ผาเช็ดทําความสะอาด

จํานวน 1 ผืน

2. ลําดับการปฏิบัติงาน การเปลี่ยนถายน้ํามันคลัตชและไลลมคลัตช ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1. จอดรถ

คําอธิบาย จอดรถใหตรงกับตําแหนงของลิฟตยกรถ

2. ดับเครื่องยนต

ดับเครื่องยนตและเขาเกียรที่ตําแหนง เกียรวาง ดึงเบรกมือ เพื่อปองกันรถไหล

80 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

3. เปดฝากระโปรงหนารถ และคลุมผาสําหรับซอม เป ด ฝากระโปรงรถพร อ มล็ อ กไม ค้ํ า ยั น ล็อกไมค้ํายันฝา และใชผาคลุมสําหรับซอมคลุมที่สวนหนา กระโปรงหนารถทุก รถและบังโคลนซาย-ขวา

ครั้ง เพื่อปองกันไมให ฝากระโปรงปด ระหวางปฏิบัติงาน

4. ดูดน้ํามันคลัตชจากกระปุก

ดูดน้ํามันคลัตชเกาออกจนหมด และเติม ระวังอยาใหน้ํามัน น้ํามันคลัตชใหมจนถึงระดับขีด MAX

คลัตชหกรดตัวถัง เพราะอาจทําใหสีของ รถยนตเสียหาย

5. เตรียมเหยียบคลัตช

ผู ป ฏิ บั ติ ง านคนหนึ่ ง เข า ไปในรถ และ

6. ยกรถขึ้น

เตรียมเหยียบคลัตช ยกรถขึ้นจากพื้นดวยลิฟตยกรถ

ระวังอยาให มี คนหรื อ สิ่ ง กี ด ขวางใต ท อ งรถ หรื อ บริ เ วณใกล เ คี ย ง

81 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คําอธิบาย

ขอควรระวัง ขณะนํ า รถขึ้ น และ ระวังรถตกจากลิฟต ยกรถ

7. เตรียมไลลมคลัตช

ใสสายยางออนไลลมคลัตชเขากับสกรูไล ลมคลัตช และวางขวดรับน้ํามันคลัตชเกา

8. คลายสกรูไลลมคลัตช

ย้ํ า คลั ต ช แล ว เหยี ย บคลั ต ช ค า งไว ใน ระหวางนั้นคลายนอตไลลมคลัตซ โดยให น้ํ า มั น คลั ต ซ ที่ ไ หลออกถู ก เก็ บ ไว ใ น กระปองรองรับน้ํามันคลัตซที่ตอสายไวกับ สกรูไลลมคลัตซ

9. บิดสกรูไลลมคลัตช

บิดสกรูไลลมคลัตช เมื่อน้ํามันคลัตช หยุด ขณะไล ล ม ต อ งเติ ม ไหล และไลล มตามขั้น ตอนที่ 6-7 ซ้ํ าไป น้ํ า มั น ค ลั ต ช ใ ห ไ ด เรื่ อ ย ๆ จนกระทั่ ง น้ํ า มั น ในกระป อ งใส ระดับอยูเสมอ และไมมีฟองอากาศ จึงขันสกรูใหแนน

82 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

10. ทดลองเหยียบคลัตช

ทดลองเหยี ย บคลั ต ช เ พื่ อ ตรวจสอบว า กามปูกดคลัตชทํางานเปนปกติหรือไม

11. นํารถลงพื้น

ลดระดั บ ลิ ฟ ต ย กรถจนกระทั่ ง รถอยู ใ น ระวังอยาให มี คนหรื อ ระดับปกติ

สิ่ ง กี ด ขวางใต ท อ งรถ หรื อ บริ เ วณใกล เ คี ย ง ขณะนํารถลง

12. ตรวจสอบระดับน้ํามันคลัตช

ตรวจสอบระดั บ น้ํ า มั น คลั ต ช อี ก ครั้ ง ซึ่ ง จะตองอยูที่ระดับขีด MAX

13. ติดเครื่องยนต

ติดเครื่องยนตจนถึงอุณหภูมิทํางานปกติ

14. เปลี่ยนตําแหนงเกียร

ขณะเครื่ อ งยนต ทํ า งาน เลื่ อ นตํ า แหน ง เกียรไปตําแหนงตาง ๆ ทุกตําแหนงอยาง ชา ๆ จากนั้น เลื่อนเกียรกลับมาที่ตําแหนง P ดังเดิม

83 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

15. ทํ า ความสะอาดและจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และ ใชผาเช็ดทําความสะอาดบริเวณสถานที่ อุปกรณ

ปฏิ บั ติ ง าน และจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และ อุปกรณใหเรียบรอย

84 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

3. ตรวจสอบการทํางาน ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับที่ 1

รายการตรวจสอบ

เกณฑการพิจารณา

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ความถูกตองตามวิธีการใชงาน และครบถวน

2

สวมใส อุ ป กรณ ป อ งกั น อั น ตรายส ว นบุ ค คล ความถูกตองตามวิธีการใชงาน อยางถูกตองและครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน

3

การปฏิ บั ติ ง านได ถู ก ต อ ง เป น ไปตามลํ า ดั บ ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ขั้นตอน

4

การไลลมน้ํามันคลัตช

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

5

การตรวจวัดระดับและเติมน้ํามันคลัตช

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

6

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

7

การจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ และวั ส ดุ ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน หลังปฏิบัติงาน

8

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ทันเวลาที่กําหนด

85 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ลําดับที่

1

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดในการใหคะแนน

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตองและ ครบถวน

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวนทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน

คะแนน เต็ม 3

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวน หรือ ไมถูกตอง อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน เตรียมเครือ่ งมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวนและไมถกู ตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ไดแก ถุงมือผา

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลอยางถูกตอง

แวนตานิรภัย รองเทานิรภัย และชุดปฏิบัติการชางอยาง ถูกตอง ครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน

ครบทั้ง 4 ชนิด ใหคะแนน 3 คะแนน สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดถูกตอง 3 ชนิด

3

ใหคะแนน 2 คะแนน สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดถูกตองนอยกวา 3 ชนิด หรือไมสวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ใหคะแนน 0 คะแนน 3

การปฏิบัติงานไดถูกตอง เปนไปตามลําดับขั้นตอน

ถูกตองและเปนไปตามลําดับขั้นตอน ใหคะแนน 3 คะแนน

3

ถูกตอง แตสลับขั้นตอนปฏิบัติงานในบางขั้นตอน ใหคะแนน 2 คะแนน ถูกตอง แตปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 1 คะแนน ไมถูกตอง และปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 4

การไลลมน้ํามันคลัตช

ไลลมน้ํามันคลัตชไดถูกตองตามขั้นตอน ใหคะแนน 5 คะแนน ไลลมน้ํามันคลัตชไมถูกตองตามขั้นตอน 1 ขั้นตอน ใหคะแนน 4 คะแนน ไลลมน้ํามันคลัตชไมถูกตองตามขั้นตอน 2 ขั้นตอน ใหคะแนน 3 คะแนน ไลลมน้ํามันคลัตชไมถูกตองตามขั้นตอน 3 ขั้นตอน ใหคะแนน 2 คะแนน ไลลมน้ํามันคลัตชไมถูกตองตามขั้นตอนมากกวา 1 ขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน

86 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

5

คะแนนที่ได


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ลําดับที่

5

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดในการใหคะแนน

การตรวจวัดระดับและเติมน้ํามันคลัตช

ตรวจวัดระดับน้ํามันคลัตชและเติมน้ํามันคลัตชใหอยูใน ระดับที่เหมาะสมได ใหคะแนน 5 คะแนน

คะแนน เต็ม

คะแนนที่ได

5

ตรวจวัดระดับน้ํามันคลัตชไมถูกตอง หรือ เติมน้ํามันคลัตช ในระดับที่ไมเหมาะสม อยางใดอยางหนึง่ ใหคะแนน 3 คะแนน ตรวจวัดระดับน้ํามันคลัตชไมถูกตอง และ เติมน้ํามันคลัตช ในระดับที่ไมเหมาะสม ใหคะแนน 0 คะแนน 6

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไดสะอาดเรียบรอย และครบทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน

3

ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย หรือไมครบทุกชิ้น อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย และไมครบทุกชิ้น ใหคะแนน 1 คะแนน ไมทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 7

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลังปฏิบัติงาน

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวนทุกชิ้น

3

ใหคะแนน 3 คะแนน จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมถกู ตอง หรือ ไมครบถวน อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมถกู ตองและ ไมครบถวน หรือไมจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 8

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ปฏิบัติงานไดอยางสมบูรณภายในเวลาทีก่ ําหนด ใหคะแนน 3 คะแนน

3

ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดไมเกิน 5 นาที ใหคะแนน 2 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดมากกวา 5 นาที ใหคะแนน 1 คะแนน คะแนนเต็ม

28

หมายเหตุ หากผูเขารับการฝกไดรับคะแนน 20 คะแนนขึ้นไป (คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70) ใหผูเขารับการฝก ขอเขารับการทดสอบภาคปฏิบัติได 87 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

รายละเอียดหัวขอวิชาที่ 3 0921030203 ระบบรองรับน้ําหนัก (ใบแนะนํา) 1. ผลลัพธการเรียนรู 1. วิเคราะหขอขัดของ ความเสียหายเบื้องตนของระบบรองรับน้ําหนักได 2. แกไขขอขัดของ ความเสียหายเบื้องตนของระบบรองรับน้ําหนักได

2. หัวขอสําคัญ - ความผิดปกติของระบบรองรับน้ําหนัก ไดแก ช็อคอัพ ลูกหมากปกนก บุชปกนก (Suspension Bush)

3. วิธีการฝกอบรม การฝกอบรมสามารถเลือกได 3 รูปแบบ คือ 1) การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ 2) การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม 3) การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน ดังรายละเอียดในขอแนะนําสําหรับผูรับการฝก

4. อุปกรณชวยฝก อุปกรณชวยฝกสามารถเลือกใชงานได 2 รูปแบบ คือ 1. รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝก เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมิน เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 2. รูปแบบอิเล็กทรอนิกส (Online) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ

88 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

5. การรับการฝกอบรม 1. ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Post-Test) แลวสงใหครูฝกหรือระบบประเมินผลตามวิธีที่เลือกฝกอบรม 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหผูรับการฝกเขาฝกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝกอบรมภาคทฤษฎี ใหผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝก และฝกหัดทําใบทดสอบทายหัวขอวิชา 3. เมื่อผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝกประจําโมดูลนั้นเขาใจแลว ใหทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) แลวสงให ครูฝกหรือระบบประเมินผลเชนเดียวกับแบบทดสอบกอนฝก 4. การฝกอบรมภาคปฏิบัติ ผูรับการฝกอานและทําความเขาใจกับใบงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน และเกณฑการวัด และประเมินผลงาน 5. ผูรับการฝกเขารับการฝกที่ศูนยฝกอบรมที่ลงทะเบียนหรือจองไว 6. ผูรับการฝกอานระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับความปลอดภัยในการฝกของหนวยฝก 7. ผูรับการฝกฟงคําชี้แจงลําดับการปฏิบัติงานตามใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน 8. ผูรับการฝกปฏิบัติงานตามใบงาน แลวสงใหครูฝกตรวจประเมินผล 9. ผูรับการฝกที่คะแนนผลงานผานเกณฑรอยละ 70 สามารถขอทดสอบเพื่อจบโมดูลที่ฝกกับครูฝก

6. การวัดผล 1. ผูรับการฝกสงแบบทดสอบกอนฝก ใหครูฝกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎีตามวิธีที่เลือกฝกอบรม 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2. ผูรับการฝกสงแบบทดสอบหลังฝก ใหครูฝกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎี โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมิน แบบทดสอบกอนฝก 3. ผูรับการฝกสงผลงานในการฝกภาคปฏิบัติใหครูฝกตรวจประเมินผลงานของผูรับการฝก โดยตองผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จึงจะมีสิทธิ์เขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูล ที่ครูฝกกําหนดได

89 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

7. บรรณานุกรม ประสานพงษ หาเรือนชีพ. 2553. งานไฟฟารถยนต. กรุงเทพฯ. ซีเอ็ดยูเคชั่น. โชคชํารุด. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : https://fortronth.wordpress.com/2013/09/02/โชคชํารุด-อันตราย/ ลักษณะการทํางานและสัญญาณเมื่อชํารุดของลูกหมาก. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : .......https://aacandtrw.wordpress.com/2013/11/08/ชวงลางเสียงดัง-ระวัง-2/

90 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ใบขอมูล หัวขอวิชาที่ 3 ระบบรองรับน้ําหนัก ระบบรองน้ําหนัก (Suspension System) หมายถึง ระบบการใชสปริง ช็อคอัพ และแกนตอตาง ๆ สําหรับใชเปนตัวรองรับ หรือคั่นกลางระหวางโครงรถ (Frame) ตัวถัง (Body) เครื่องยนต และระบบขับเคลื่อน กอนสงผานไปยังลอ และทําหนาที่ ลดแรงกระแทก ระบบรองรับน้ําหนักมีหลายแบบ แตละแบบทําหนาที่รับน้ําหนักของอุปกรณ รวมไปถึงน้ําหนักบรรทุก ซึ่งจะ อยูดานบนสปริง เรียกวา น้ําหนักเหนือสปริง (Sprung Weight) สวนน้ําหนักใตสปริง (Unsprung Weight) เปนน้ําหนัก ที่สปริงไมไดรองรับน้ําหนักสวนนี้ ไดแก ลอและยาง (Wheel and Tire) หามลอ (Break) และชุดเพลาทาย (Rear Axle) เปนตน หนาที่ของระบบรองรับน้ําหนัก 1) รองรับน้ําหนักเหนือสปริงและน้ําหนักบรรทุกโดยสปริงทําหนาที่ลดการสั่นสะเทือนจากสภาพพื้นผิวถนนไมเรียบ (Road Shock) 2) ชวยใหการบังคับรถมีประสิทธิภาพ ทําใหสิ่งของที่บรรทุกไมเกิดความเสียหาย 3) ลดความเสียหายที่จะเกิดขึ้นกับชิ้นสวนรถยนต จากการกระแทกกับพื้นผิวถนน 4) รักษาสมดุลตัวถังรถใหวิ่งไปบนถนนในทุกสภาพผิวถนน 5) ลดการโคลง (Rolling) และการโยนตัวของถัง (Pitching) ที่เกิดขึ้นใหนอยที่สุด หลักการของระบบรองรับน้ําหนักรถยนต มีดงั นี้ 1) ลดอาการโคลง และการโยนตัวของตัวถังรถ โดยการใชและติดตั้งขนาดของสปริงอยางเหมาะสม 2) ใชเครื่องผอนการสั่นสะเทือนรวมกับสปริง 3) ลดน้ําหนักใตสปริง (Unsprung Weight) ใหเหลือนอย เพื่อไมใหสงแรงกระแทกไปยังตัวถังและหองโดยสาร ภายใน ระบบรองรับน้ําหนัก ระบบกันสะเทือน ระบบแขวนลอ หรือระบบชวงลางนั้น มีห นาที่ล ดการสั่น สะเทือ นอัน เกิด จาก การกลิ้งของลอเมื่อสัมผัสกับพื้นผิวถนน ซึ่งเปนการลดการสั่นสะเทือนใหสงถายไปยังหองโดยสารนอยที่สุด โดยใชอุปกรณตาง ๆ เพื่อลดแรงสั ่ น สะเทื อ น เช น ช็ อ คอั พ ลู ก หมากปก นก บุช ปก นก เปน ตน ถา หากอุป กรณตา ง ๆ ถูก ใชง านเป น เวลานานย อมมีความเสียหายตอชิ้นสวนอุปกรณ โดยจะมีอาการดังตอไปนี้

91 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ภาพที่ 3.1 ระบบรองรับน้ําหนัก ช็อคอัพ มีหนาที่เปนตัวควบคุมการยุบตัว และการยืดตัวของสปริง (Coil Spring) แหนบ (Leaf Spring) และสปริงแบบแทง (Tortion Bar) อีกทั้งยังเปนอุปกรณที่มีความสําคัญชนิดหนึ่งในระบบรองรับของรถยนต เพื่อลดแรงกระแทก และคอย ควบคุมการทํางานของสปริงหรือแหนบ เมื่อรถยนตไดรับแรงกระแทกเนื่องจากสภาพถนน ช็อคอัพจะเปนตัวหนวง การ เคลื่อนที่ขึ้นและลงของตัวรถยนต เพื่อใหรถยนตไดรับแรงสะเทือนนอยที่สุด และควบคุมลอรถ ใหสัมผัสกับพื้นผิวของ ถนนขณะรถวิ่ง ช็อคอัพที่ใชในปจจุบัน อาศัยหลักการทํางานดวยระบบน้ํามันไฮดรอลิก (น้ํามันช็อคอัพ) โดยบรรจุไวในภาชนะ ทรงกระบอก และอาศัยแรงดันของลูกสูบ อัดใหน้ํามันไฮดรอลิกไหลผานรูเล็ก ๆ ที่อยูภายในลูกสูบ ซึ่งมีหนาที่ควบคุม และจํากัดการไหลของน้ํามันไฮดรอลิก วิธีการตรวจสอบสภาพของช็อคอัพสามารถตรวจสอบไดดังนี้ 1) ให สั งเกตหนา ยางของรถยนต ใหใชมือกดบริเวณดานบนของตัวถังรถทั้ งหน าและหลังหลาย ๆ ครั้ ง จากนั้นจึงปลอยมือ ยางจะมีการยืดและหด แตถามีการเดงหลาย ๆ ครั้ง แสดงวาช็อคอัพนั้นชํารุด 2) ในขณะที่ขับรถผานทางที่ขรุขระหรือทางลูกระนาด รถจะมีอาการโยนตัว สาเหตุมาจากสปริง หรือแหนบ ยืดและหดตัวอยางเต็มที่ จนยางกันกระแทกกับปกนกตัวบนอยูตลอดเวลา แสดงวาช็อคอัพไมมีแรงหนวง การเคลื่อนที่ของสปริง หรือแหนบเพียงพอ 3) ใหสังเกตเวลาขับขี่รถจะมีความรูสึกวาควบคุมรถไดยาก ซึ่งเกิดจากช็อคอัพไมสามารถควบคุมการดีดตัว ของสปริง หรือแหนบได ลอจะเตนจนหนาสัมผัสของยางลอยจากพื้นผิวของถนน ซึ่งทําใหรถเสียการทรงตัวได

92 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

4) ใหสังเกตวาช็อคอัพมีคราบน้ํามันไหลออกมาหรือไม แตถายังไมแนใจใหใชผาเช็ดแลวลองตรวจสอบอีก ครั้ง เพราะคราบน้ํามันดังกลาวอาจจะมาจากสารหลอลื่นแกนของช็อคอัพ ซึ่งแสดงวา ช็อคอัพชํารุด ควร ถอดช็อคอัพ ออกมาเพื่อทดสอบความหนืด จากนั้นวางตัวช็อคอัพใหตั้งฉากกับพื้น แลวสังเกตุความหนืด ของช็อคอัพ วิธีการสังเกตอาการชํารุดของช็อคอัพงาย ๆ คือ รถจะเริ่มมีอาการโคลง หรือ กระดอนผิดปกติ ขณะขับขี่สูญเสีย การควบคุมเมื่อเขาโคง หรือ ดอกยางรถมีลักษณะเปนบั้ง ไมเรียบเสมอกัน และมีคราบน้ํามันซึมออกขางกระบอกช็อคอัพ สาเหตุที่ตัวถังรถสั่นสะเทือน สาเหตุที่ตัวถังรถสั่นสะเทือนอาจมีผลมาจากน้ําหนักบรรทุก หรือสภาพของพื้นผิวถนน ตัวถังรถยนต จะถูกรองรับ ดวยสปริงน้ําหนักของตัวถังและสวนประกอบอื่น ๆ ที่ถูกรองรับดวยสปริง เรียกวา น้ําหนักเหนือสปริง หรือสปริงเวต สวนที่ไมไดรอบรับดวยปริง เชน ลอเพลา และสวนอื่น ๆ เรียกวาน้ําหนักใตสปริงหรืออันสปริงเวต โดยทั่วไปน้ําหนัก เหนือสปริงจะมีมากกวาน้ําหนักใตสปริง ซึ่งทําใหรถเกิดความนิ่มนวลและมีเสถียรภาพที่ดีกวา อาการสั่นสะเทือน และ การโคลงของตัวถังรถจําแนกออกไดดังนี้ อาการสั่นสะเทือนที่เกิดจากน้ําหนักเหนือสปริง (Sprung Weight) จะทําใหเกิดอาการดังนี้ 1) การโคลงตัว (Rolling) เปนอาการที่เกิดจากการยืดและยุบตัวของสปริง ทั้งสองดานไมเทากัน 2) การเต น (Bouncing) เป น การเคลื่อนตัว ของตัว ถั งรถ การเตน ของตัว ถั งรถเกิ ดจากการที่ร ถวิ่ ง ด ว ย ความเร็วสูงบนถนนที่คลื่น 3) การสาย (Yawing) เปนอาการเคลื่อนตัวของตัวถังรถ ในลักษณะขึ้นลงไปทางดานซายและขวา จะเกิดขึ้น พรอมกับการกระดอนของตัวถังรถ อาการสั่นสะเทือนที่เกิดจากน้ําหนักใตสปริง (Unsprung Weight) จะทําใหเกิดอาการดังนี้ 1) การมวนตัวของแหนบ (WindUp) เปนอาการสั่นสะเทือนเกิดจากแหนบของระบบรองรับที่พยายามมวน ตัวไปรอบ ๆ เพลา ขณะขับเคลื่อน 2) การกระดอน (Traming) เปนอาการสั่นสะเทือนของลอรถทั้งดานซายและดานขวา อาการกระดอนของลอ จะเกิดขึ้นกับรถยนตที่ใชระบบรองรับคานแข็ง 3) การกระโดด (Hopping) เปนอาการสั่นสะเทือนที่เกิดจากลอรถเตนขึ้นลง ซึ่งมักเกิดขึ้นเมื่อรถวิ่งบนถนน ที่พื้นผิวถนนเปนลูกคลื่น และขับขี่ผานดวยความเร็วสูง

93 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ภาพที่ 3.2 ช็อคอัพของรถยนต 1. ความผิดปกติของระบบรองรับน้ําหนัก ไดแก ช็อคอัพ ลูกหมากปกนก และบุชปกนก 1.1 ความผิดปกติของช็อคอัพ ช็อคอัพ เปนชิ้นสวนที่ใชในการรองรับแรงกระแทก และลดแรงสั่นสะเทือนของรถ มีหนาที่ยับยั้งการดีดตัวของ สปริ ง หรื อ ช ว งล า งให ส อดคล อ งกั บ สภาวะของผิว ถนน โดยช็อ คอัพ ที่มีคุณ ภาพสูง นั้น จะชว ยลดการเสีย ดสี และ การสึกหรอของยาง ตลอดจนลดการสึกหรอของระบบชวงลาง เชน ลูกหมาก บุชยาง ระบบกันสะเทือน รวมไปถึง การชวยใหรถยนตเขาโคงไดดี 1.1.1 อาการของช็อคอัพชํารุด ช็อคอัพที่ชํารุดจะสงผลใหระบบรองรับน้ําหนักและการบังคับเลี้ยวของรถยนตเปลี่ยนไป เชน รถจะมี อาการโคลงตัวขณะเลี้ยว ดอกยางสึกผิดปกติ การบังคับรถยากขึ้น และเกิดเสียงดัง ซึ่งอาจเกิดมาจากหลาย สาเหตุ เชน ระบบรองรับน้ําหนักสึกหรอ การตั้งศูนยลอไมถูกตอง หรือแรงดันของลมยางไมเหมาะสม ควร ตรวจสอบลูกหมากตาง ๆ ยางรองสปริงช็อคอัพ อยางนอย ทุก ๆ 40,000 กิโลเมตร อาการของช็อคอัพชํารุดนั้น จะสงผลดังตอไปนี้

94 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ภาพที่ 3.3 ช็อคอัพมีคราบน้ํามันไหลออกมา 1) รถกระแทกอยางรุนแรงจนไมสามารถหนวงการยึดหรือยุบตัวของสปริงได หากลอบดทับบน กอนกรวด หรือตกหลุม สปริงจะยุบและยืดตัวอยางเต็มที่เปนผลใหเกิดการกระแทกของชิ้นสวน ตาง ๆ 2) เสียการทรงตัว ควบคุมการขับขี่ไดยาก เนื่องจากสปริงและระบบรองรับน้ําหนักของรถยนตยก ลอยจากพื้นผิวถนน และหากเกิดในขณะขับรถเขาโคง แมช็อคอัพจะเสียเพียงขางเดียว ผลที่ เกิดขึ้นจะทําใหสมดุลในการทรงตัวของรถทั้งคันเสียไป ทําใหไมปลอดภัยขณะขับขี่ 3) ดอกยางสึกหรอผิดปกติ การชํารุดของช็อคอัพจะสงผลตอการสึกของยางเพิ่มขึ้น โดยยางจะมี ลักษณะการสึกเปนหลุม ลึกเปนชวง ๆ ยางรถยนตจะสัมผัสกับผิวถนนไมเต็มหนายาง และหาก เกิดในขณะที่ขับรถเขาโคง จะเสี่ยงตออุบัติเหตุมากขึ้น

ภาพที่ 3.4 ดอกยางสึกหรอผิดปกติ หมายเลข 1 การสึกหรอของดอกยางทั้งสองขาง หมายเลข 2 การสึกตรงกลางของดอกยาง 95 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

หมายเลข 3 การสึกลักษณะเปนลิ่ม หมายเลข 4 การสึกลักษณะดอกยางเปนลิ่ม ๆ ดานเดียว หมายเลข 5 การสึกเปนบั้ง ๆ 4) การชํารุดของช็อคอัพจะสงผลตอระยะเบรกของรถยนต ซึ่งเสี่ยงตอการเกิดอุบัติเหตุ 5) อาการเหินน้ํา (Hydroplane) ซึ่งเปนอาการที่เกิดขึ้นในชวงที่พื้นผิวถนนเปยกหรือมีน้ําขังทําให ยางรถยนตไมสัมผัสกับพื้นผิวถนน ซึ่งเสี่ยงตอการเกิดอุบัติเหตุ 6) การชํารุดของช็อคอัพทําใหรถโคลงตัว ซึ่งทําใหไฟหนาของรถยนตสองสวางไมคงที่ สงผลใหผูที่ ขับรถสวนมา อาจตาพรามัวสงผลใหประสิทธิภาพในการขับขี่นอยลง และทําใหเกิดอุบัติเหตุได

ภาพที่ 3.5 อาการเหินน้ํา 1.1.2 การตรวจสอบการชํารุดของช็อคอัพ วิธีการตรวจสอบที่งายที่สุด คือ การสังเกตจากสภาพภายนอก เชน สังเกตจากสภาพการสึกของดอกยาง การขับขี่บนทองถนนที่ไมนุมนวล แตยังมีอีกหลายวิธีในการตรวจสอบความบกพรองของช็อคอัพ ไดแก 1) เครื่องทดสอบช็อคอัพ (Shock Tester Machine) 2) การขับทดสอบ (Road Test) 3) การตรวจสอบจากสภาพภายนอก (Visual Around check) 4) การเทียบกับของใหม (Compare with new shock) 1.2 ความผิดปกติของลูกหมากปกนก ลูกหมากปกนกเปนสวนประกอบของระบบชวงลาง ซึ่งจะยึดติดอยูกับแขนปกนกดานลาง และถูกยึดติดกับชุดดุมลอ หรือดุมคอมา ซึ่งเปนสวนที่ใชรับแรงกระแทกที่มาจากลอของรถยนต

96 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ภาพที่ 3.6 ลูกหมากปกนก 1.2.1 อาการของลูกหมากปกนกฉีกขาด อาการลูกหมากป กนกชํ ารุ ดสวนใหญ มาจากการกระแทกอย างสม่ําเสมอ เชน การวิ่งผานหลุ มด ว ย ความเร็ว หรือวิ่งผานทางขรุขระดวยความเร็วสูง โดยเมื่อลูกหมากปกนกไดรับความเสียหายจะมีอาการควบคุม รถไดยาก มีเสียงดังขณะขับผานถนนขรุขระดวยความเร็วต่ํา หรืออาจมีเสียงดังขณะหมุนพวงมาลัยตอนรถจอด อยูก ับที่

ภาพที่ 3.7 ลูกหมากปกนกฉีกขาด 1.3 ความผิดปกติของลูกหมากคันชักตัวนอก ลูกหมากคันชักตัวนอก หรือลูกหมากปลายแร็ค เปนชิ้นสวนที่อยูในระบบพวงมาลัยแบบ Rack and pinion ซึ่ง ลูกหมากคันชักตัวนอกจะถูกยึดติดกับดุมลอเชนเดียวกับลูกหมากปกนก โดยอีกฝงหนึ่งจะถูกยึดติดกับลูกหมากแร็ค มี หนาที่ในการทําการควบคุมการหมุนของลอ ขณะรถวิ่งผานทางขรุขระนั้นจะดูดซับแรงสั่นสะเทือน และยังเปนตําแหนง ในการปรับมุมของลอ ซึ่งจะทําใหการวิ่งของรถยนตในแนวตรงสัมพันธกับหนายาง 97 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

1.3.1 อาการของลูกหมากคันชักตัวนอกชํารุด ในการขับขี่จะมีอาการของการหมุนเลี้ยวที่ตองใชระยะมากกวาปกติ พรอมมีเสียงของลูกหมากคันชัก ขณะขับผานถนนขรุขระ หรือตกหลุม

ภาพที่ 3.8 ลูกหมากคันชักตัวนอก 1.4 ความผิดปกติของลูกหมากแร็ค ลูก หมากแร็ค เปน ชิ้น สว นอุป กรณที่ติด อยูกับ แร็ ค ของพวงมาลัย ทํา หนา ที่ถา ยทอดแรงจากการหมุ น เลี้ยว ของพวงมาลัย โดยการดึงบังคับลอใหหมุนเลี้ยว และเปนจุดหมุนของลอรถยนต 1.4.1 อาการของลูกหมากแร็คชํารุด เมื่อหมุนเลี้ยว และขณะขับผานผิวถนนที่ขรุขระ พวงมาลัยจะเกิดอาการหมุนเลี้ยว โดยมีระยะมากกวาปกติ

ภาพที่ 3.9 ลูกหมากแร็ค

98 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

1.5 ความผิดปกติของบุชปกนก ชปกนก เปนระบบรองรับการสั่นสะเทือน มีลักษณะคลายกับ ขอตอกระดูก ซึ่งถูกติดตั้งไวใกลบริเวณแกนลอ โดยใชลูกหมากเปนตัวเชื่อมตอจึงทําใหปกนกสามารถรองรับการเคลื่อนไหวของรถยนตได ในการดูแลรักษานั้น สามารถทําไดโดยการอัดจาระบีเขาที่บริเวณหัวบุชปกนก ตามระยะทางทุก ๆ 20,000 กิโลเมตร หรือทุก ๆ 12 เดือน

ภาพที่ 3.10 ปกนกตัวลาง 1.6 ยางรถยนต ยางรถยนตเปนสวนประกอบหนึ่งของรถยนตที่ตองมีการดูแล และบํารุงรักษา ซึ่งสวนมากจะเนนเรื่องของลมยาง ดอกยาง ฯลฯ และการสลับยางสําหรับการสลับยางรถยนตควรปฏิบัติตามคูมือรถของรุนนั้น ๆ แตถาไมมีคูมือ สวนใหญ จะทําการสลับยางกันทุก ๆ 10,000 กิโลเมตร ในรถธรรมดาทั่วไป แตถาเปนรถขับเคลื่อน 4 ลอ จะทําการสลับยางทุก ๆ 4,000 กิโลเมตร สาเหตุที่ตองสลับยางรถยนต เนื่องจากมีการสึกหรอเกิดขึ้นระหวางใชงาน เชน รถขับเคลื่อนดวยลอหนา ยางลอ หนาก็จะเกิดการสึกหรอมากกวายางลอหลัง เนื่องจากใชในการขับเคลื่อนรถยนต ดังนั้นจึงควรสลับยางระหวางลอคูหนา กับลอคูหลัง เพื่อใหยางมีการสึกหรอที่เทาเทียมกัน และเมื่อถึงเวลาเปลี่ยนยางจะไดเปลี่ยนพรอมกันทั้ง 4 เสน

ภาพที่ 3.11 ยางรถยนต 99 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ใบทดสอบ ตอนที่ 1 คําชี้แจง ใหผูรับการฝกทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบขอที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว 1. ขอใด คือ การสั่นสะเทือนที่เกิดจากน้ําหนักใตสปริง ก. การสาย ข. การกระดอน ค. การเตน ง. การโคลงตัว 2. ขอใด ไมใช หนาที่ของระบบรองรับน้ําหนัก ก. ชวยใหการบังคับรถมีประสิทธิภาพ ข. รักษาสมดุลของตัวถังรถยนต ค. ลดความเสียหายที่เกิดขึ้นกับชิ้นสวนรถยนต ง. รองรับน้ําหนักใตสปริง และลดการสั่นสะเทือน 3. อุปกรณใด เปนสวนหนึ่งของน้ําหนักเหนือสปริง ก. หามลอ ข. ลอรถยนต ค. เครื่องยนต ง. ชุดเพลาทาย

100 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

4. ภาพตอไปนี้ แสดงการสึกหรอของยางแบบใด

ก. การสึกลักษณะเปนลิ่ม ข. การสึกตรงกลางของดอกยาง ค. การสึกเปนบั้ง ๆ ง. การสึกลักษณะดอกยางเปนลิ่ม ๆ ดานเดียว 5. อุปกรณชนิดใด ทําหนาที่ถายทอดแรงจากการหมุนของพวงมาลัย ก. บุชปกนก ข. ลูกหมากแร็ค ค. ลูกหมากปกนก ง. ช็อคอัพ

101 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ตอนที่ 2 คําชี้แจง ใหผูรับการฝกพิจารณาขอความตอไปนี้วา ถูก หรือ ผิด และทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบ ถูก

ผิด

ขอความ 6. การดูแลรักษาบุชปกนก ทําไดโดยการอัดจาระบีเขาที่บริเวณหัวบุชปกนก ตาม ระยะทางทุก ๆ 20,000 กิโลเมตร หรือทุก ๆ 12 เดือน 7. ลูกหมากแร็คที่ชํารุดจะสงผลใหระบบรองรับน้ําหนักและการบังคับเลี้ยวของ รถยนตเปลี่ยนไป เชน รถจะมีอาการโคลงตัวขณะเลี้ยว ดอกยางสึกผิดปกติ 8. ยางลอหนาจะสึกหรอมากกวายางลอหลัง เนื่องจากใชในการขับเคลื่อนรถยนต ดังนั้น จึง ควรสลับ ยางระหวา งลอ คูห นากับ ลอ คูห ลัง เพื่อใหย างมีก ารสึ ก หรอ ที่เทาเทียมกัน 9. อาการเหินน้ํา คือ อาการที่เกิดขึ้นในชวงที่พื้นผิวถนนเปยกหรือมีน้ําขังทําใหยาง รถยนตไมสัมผัสกับพื้นผิวถนน ซึ่งเสี่ยงตอการเกิดอุบัติเหตุ 10. อาการช็อคอัพชํารุดสวนใหญมาจากการกระแทก เชน การรถแลนผานหลุม ดวยความเร็ว หรือแลนผานทางขรุขระดวยความเร็วสูง

102 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

กระดาษคําตอบ ตอนที่ 1 ปรนัย ขอ

1 2 3 4 5 ตอนที่ 2 ถูกผิด ขอ

ถูก

ผิด

6 7 8 9 10

103 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ใบงาน ใบงานที่ 3.1 การสลับยางรถยนต 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. แกไขขอขัดของ ความเสียหายเบื้องตนของระบบรองรับน้ําหนักได 2. ปฏิบัติงานสลับยางรถยนตได 3. ปฏิบัติงานโดยคํานึงถึงความปลอดภัย

2. ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงาน - ระยะเวลาฝกปฏิบัติงานรวม 2 ชั่วโมง 30 นาที

3. คําชี้แจง ใหผูรับการฝกปฏิบัติงานสลับยางรถยนตใหถูกตองโดยไมตองใชยางอะไหล

104 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ 3.1 การสลับยางรถยนต 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - ถุงมือผา - รองเทานิรภัย - ชุดปฏิบัติการชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับใบงาน 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้น ที่ปฏิบัติ งาน ไมใหมีอุปกรณ อื่น ๆ ที่ไมเกี่ยวของ หรือวัสดุอันตราย เชน สายไฟฟ า วางกีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมอุปกรณปฐมพยาบาลเบื้องตน ในกรณีเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัติงาน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตาง ๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1. ประแจขันนอตลอ

จํานวน 1 อัน

2. ประแจวัดแรงบิด

จํานวน 1 อัน

3. รถยนต

จํานวน 1 คัน

4. ลิฟตยกรถ

จํานวน 1 ตัว

หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือวามีสภาพพรอมใชงานหรือไม หากพบวาเครื่องมือชิน้ ใดชํารุด ใหรายงานครูฝกใหทราบ 1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน - ผาเช็ดทําความสะอาด

จํานวน 1 ผืน

105 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

2. ลําดับการปฏิบัติงาน การสลับยางรถยนต ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คําอธิบาย

1. จอดรถ

จอดรถใหตรงกับตําแหนงของลิฟตยกรถ

2. ดับเครื่องยนต

ดับเครื่องยนตและเขาเกียร กรณีที่เปนรถยนตอัตโนมัติ ใหเขาเกียรใน ตําแหนง P ถาเปนเกียรธรรมดา ใหเขา เกียรที่ตําแหนงเกียรวาง ดึงเบรกมือ เพื่อปองกันรถไหล

3. คลายนอตลอดวยประแจขันนอตลอ

ใช ป ระแจคลายนอตล อ ออกที ล ะตั ว ตามลําดับ แคพอนอตหลวม

106 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 4. ยกรถขึ้น

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

ยกรถขึ้นจากพื้นดวยลิฟตยกรถ ใหลอลอย ระวังอยาให มี คนหรื อ ขึ้นจากพื้น

สิ่ ง กี ด ขวางใต ท อ งรถ หรื อ บริ เ วณใกล เ คี ย ง ขณะนํ า รถขึ้ น และ ระวังรถตกจากลิฟต ยกรถ

5. ถอดนอตลอดวยประแจขันนอตลอ

ใช ป ระแจถอดน อตล อ อ อก ที ล ะ ตั ว ตามลําดับ

6. ถอดลอออกจากดุมลอ

ถอดลอออกจากดุมลอ และวางลอรถยนต ระวั ง ล อ หล น ทั บ เท า ใหถูกตอง

หรื อ ส ว นอื่ น ๆ ของ รางกาย

107 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 7. สลับยาง

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

สลับยาง โดยนําลอคูหลังใสแทนลอคูหนา และนําลอคูหนาใสแทนลอคูหลัง

8. ใชมือขันนอตลอ

ขั น นอตล อ ที ล ะตั ว ตามลํ า ดั บ โดยใช มื อ หมุนนอตลอใหแนนแบบพอตึงมือ

9. ขันนอตลอซ้ําดวยประแจขันนอตลอ

ใชป ระแจขัน นอตลอ ขัน นอตซ้ําใหแ น น พอตึงมือ

10. นํารถลงพื้น

ลดระดั บ ลิ ฟ ต ย กรถจนกระทั่ ง รถอยู ใ น ระวังอยาให มี คนหรื อ ระดับปกติ

สิ่ ง กี ด ขวางใต ท อ งรถ หรื อ บริ เ วณใกล เ คี ย ง ขณะนํารถลง

108 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

11. ขันนอตลอซ้ําดวยประแจวัดแรงบิด

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

ใชประแจวัดแรงบิดขันนอตลอซ้ําอีกครั้ง ตั ้ง คา แรงบิด ใหต รง ตามลําดับ โดยตั้งคาแรงบิดใหตรงตามที่ ตามที่คูมือซอมประจํา คูมือซอมประจํารถยนตกําหนด

รถยนตกําหนด เพราะ หากขัน นอตลอ แนน ไมเ พีย งพอ นอตอาจ หลุดขณะเคลื่อนที่จ น เกิดอุบัติเหตุ

12. ทํ า ความสะอาดและจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และ ใชผาเช็ดทําความสะอาดบริเวณสถานที่ อุปกรณ

ปฏิ บั ติ ง าน และจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และ อุปกรณใหเรียบรอย

109 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

3. ตรวจสอบการทํางาน ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับที่ 1

รายการตรวจสอบ

เกณฑการพิจารณา

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตองและ ความถูกตองตามวิธีการใชงาน ครบถวน

2

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลอยางถูกตอง ความถูกตองตามวิธีการใชงาน และครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน

3

การปฏิบัติงานไดถูกตอง เปนไปตามลําดับขั้นตอน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

4

การคลายนอตลอกอนขึ้นแมแรง

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

5

การถอดนอตลอหลังขึ้นแมแรง

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

6

การขันนอตลอหลังประกอบยางอะไหล

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

7

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

8

การจัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลังปฏิบัติงาน ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

9

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ทันเวลาที่กําหนด

110 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ลําดับที่

1

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดในการใหคะแนน

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตองและ

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวนทุกชิ้น

ครบถวน

ใหคะแนน 3 คะแนน

คะแนน เต็ม 3

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวน หรือ ไมถูกตอง อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน เตรียมเครือ่ งมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวนและไมถกู ตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ไดแก ถุงมือผา

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลอยางถูกตอง

รองเทานิรภัย และชุดปฏิบัติการชางอยางถูกตอง

ครบทั้ง 3 ชนิด

ครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน

ใหคะแนน 3 คะแนน สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดถูกตอง 2 ชนิด

3

ใหคะแนน 2 คะแนน สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดถูกตองนอยกวา 2 ชนิด หรือไมสวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล หคะแนน 0 คะแนน 3

การปฏิบัติงานไดถูกตอง เปนไปตามลําดับขั้นตอน

ถูกตองและเปนไปตามลําดับขั้นตอน ใหคะแนน 3 คะแนน

3

ถูกตอง แตสลับขั้นตอนปฏิบัติงานในบางขั้นตอน ใหคะแนน 2 คะแนน ถูกตอง แตปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 1 คะแนน ไมถูกตอง และปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 4

การคลายนอตลอกอนขึ้นแมแรง

คลายนอตลอพอหลวม และปฏิบัติตามขั้นตอนอยางถูกตอง

5

ใหคะแนน 5 คะแนน คลายนอตลอหลุด หรือ ไมปฏิบัติตามขั้นตอน อยางหนึ่งอยางใด ใหคะแนน 3 คะแนน คลายนอตหลุด และไมปฏิบัติตามขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 5

การถอดนอตลอหลังขึ้นแมแรง

ถอดนอตลอตามขั้นตอนถูกตอง ใหคะแนน 5 คะแนน

111 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

5

คะแนนที่ได


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ลําดับที่

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดในการใหคะแนน

คะแนน เต็ม

ถอดนอตลอไมถูกตองตามขั้นตอน 1 ขัน้ ตอน ใหคะแนน 3 คะแนน ถอดนอตลอไมถูกตองตามขั้นตอน 2 ขัน้ ตอน ใหคะแนน 1 คะแนน ถอดนอตล อ ไม ถู ก ต อ งตามขั้ น ตอนมากกว า 2 ขั้ น ตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 6

การขันนอตลอหลังประกอบยางอะไหล

ขันนอตลอถูกตองตามขั้นตอน และไดคาแรงบิดตามที่

5

กําหนด ใหคะแนน 5 คะแนน ขันนอตลอไมถูกตองตามขั้นตอน หรือ ไดคาแรงบิด คลาดเคลื่อน อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 3 คะแนน ขันนอตลอไมถูกตองตามขั้นตอน และ ไดคาแรงบิด คลาดเคลื่อน ใหคะแนน 0 คะแนน 7

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไดสะอาดเรียบรอย

3

และครบทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย หรือไมครบทุกชิ้น อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย และไมครบทุกชิ้น ใหคะแนน 1 คะแนน ไมทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 8

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลังปฏิบัติงาน

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวนทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน

3

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมถกู ตอง หรือ ไมครบถวน อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมถกู ตองและ ไมครบถวน หรือไมจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 9

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ปฏิบัติงานไดอยางสมบูรณภายในเวลาทีก่ ําหนด ใหคะแนน 3 คะแนน

112 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

3

คะแนนที่ได


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ลําดับที่

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดในการใหคะแนน

คะแนน เต็ม

คะแนนที่ได

ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดไมเกิน 5 นาที ใหคะแนน 2 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดมากกวา 5 นาที ใหคะแนน 1 คะแนน คะแนนเต็ม

33

หมายเหตุ หากผูเขารับการฝกไดรับคะแนน 23 คะแนนขึ้นไป (คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70) ใหผูเขารับการฝก ขอเขารับการทดสอบภาคปฏิบัติได

113 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ใบงาน ใบงานที่ 3.2 การถอดและเปลี่ยนช็อคอัพ 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. แกไขขอขัดของ ความเสียหายเบื้องตนของระบบรองรับน้ําหนักได 2. ปฏิบัติงานถอดและเปลี่ยนช็อคอัพได 3. ปฏิบัติงานโดยคํานึงถึงความปลอดภัย

2. ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงาน - ระยะเวลาฝกปฏิบัติงานรวม 3 ชั่วโมง

3. คําชี้แจง ใหผูรับการฝกปฏิบัติงานถอดและเปลี่ยนช็อคอัพใหถูกตอง

114 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ 3.2 การถอดและเปลี่ยนช็อคอัพ 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - ถุงมือผา - รองเทานิรภัย - ชุดปฏิบัติการชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับใบงาน 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้นที่ปฏิบัติงาน ไมใหมีอุปกรณอื่น ๆ ที่ไมเกี่ยวของ หรือวัสดุอันตราย เชน สายไฟฟา วางกีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมอุปกรณปฐมพยาบาลเบื้องตน ในกรณีเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัติงาน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตาง ๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1. รถยนต

จํานวน 1 คัน

2. ลิฟตยกรถ

จํานวน 1 ตัว

3. ผาคลุมรถสําหรับซอม

จํานวน 1 ชุด

4. ประแจขันนอตลอ

จํานวน 1 อัน

5. ประแจวัดแรงบิด

จํานวน 1 อัน

6. เครื่องมือชางพื้นฐาน

จํานวน 1 ชุด

หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือวามีสภาพพรอมใชงานหรือไม หากพบวาเครื่องมือชิ้นใดชํารุด ใหรายงานครูฝกให ทราบ

115 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน 1. ช็อคอัพรถยนต

จํานวน 1 ชุด

2. ผาเช็ดทําความสะอาด

จํานวน 1 ผืน

2. ลําดับการปฏิบัติงาน การถอดและเปลี่ยนช็อคอัพ ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คําอธิบาย

1. จอดรถ

จอดรถใหตรงกับตําแหนงของลิฟตยกรถ

2. ดับเครื่องยนต

ดับเครื่องยนตและเขาเกียร กรณีที่เปนรถยนตอัตโนมัติ ใหเขาเกียรใน ตําแหนง P ถาเปนเกียรธรรมดา ใหเขา เกียรที่ตําแหนงเกียรวาง ดึงเบรกมือ เพื่อปองกันรถไหล

116 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

3. คลายนอตลอดวยประแจขันนอตลอ

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

ใช ป ระแจคลายนอตล อ ออกที ล ะตั ว ตามลําดับ แคพอนอตหลวม

4. ยกรถขึ้น

ยกรถขึ้นจากพื้นดวยลิฟตยกรถ ใหลอลอย ขึ้นจากพื้น

5. ถอดนอตลอดวยประแจขันนอตลอ

ใช ป ระแจถอดน อตล อ อ อก ที ล ะ ตั ว ระวั ง ล อ หล น ทั บ เท า ตามลําดับ และนําลอออก

หรื อ ส ว นอื่ น ๆ ของ รางกาย

6. ยกรถขึ้น

ปรับ ระดับ ลิฟ ตย กรถขึ ้น ใหส ูง ระดับ ระวังอยาให มี คนหรื อ สายตา

สิ่ ง กี ด ขวางใต ท อ งรถ หรื อ บริ เ วณใกล เ คี ย ง

117 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คําอธิบาย

ขอควรระวัง ขณะนํ า รถขึ้ น และ ระวังรถตกจากลิฟต ยกรถ

7. ถอดนอตยึดช็อคอัพ

ใชผาเช็ดทําความสะอาดนอตยึดช็อคอัพ จากนั้นใชประแจถอดนอตช็อคอัพตัวลาง และตัวบน แลวดึงช็อคอัพออก

8. เปลี่ยนช็อคอัพใหม

ประกอบช็อ คอัพ ใหม แลว ขัน นอต ยึดช็อคอัพตัวบน และตัวลาง ตามลําดับ

118 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

9. ใชมือขันนอตลอ

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

ใส ล อ เข า ที่ ดุ ม ล อ ขั น นอตล อ ที ล ะตั ว ตามลําดับ โดยใชมือหมุนนอตลอให แนน แบบพอตึงมือ

10. ขันนอตลอซ้ําดวยประแจขันนอตลอ

ใชป ระแจขัน นอตลอ ขัน นอตซ้ําใหแ น น พอตึงมือ

11. นํารถลงพื้น

ลดระดั บ ลิ ฟ ต ย กรถจนกระทั่ ง รถอยู ใ น ระวังอยาให มี คนหรื อ

12. ขันนอตลอซ้ําดวยประแจวัดแรงบิด

ระดับปกติ

สิ่ ง กี ด ขวางใต ท อ งรถ หรื อ บริ เ วณใกล เ คี ย ง ขณะนํารถขึ้น

ใชประแจวัดแรงบิดขันนอตลอซ้ําอีกครั้ง ตั ้ง คา แรงบิด ใหต รง ตามลําดับ โดยตั้งคาแรงบิดใหตรงตามที่ ตามที่คูมือซอมประจํา คูมือซอมประจํารถยนตกําหนด

รถยนตกําหนด เพราะ หากขัน นอตลอ แนน ไมเ พีย งพอ นอตอาจ

119 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คําอธิบาย

ขอควรระวัง หลุดขณะเคลื่อนที่จ น เกิดอุบัติเหตุ

13. ทดสอบช็อคอัพ

กดแก ม รถข า งที่ เ ปลี่ ย นช็ อ คอั พ เพื่ อ ดู วาช็อคอัพทํางานเปนปกติหรือไม

14. ทํ า ความสะอาดและจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และ ใชผาเช็ดทําความสะอาดบริเวณสถานที่ อุปกรณ

ปฏิ บั ติ ง าน และจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และ อุปกรณใหเรียบรอย

120 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

3. ตรวจสอบการทํางาน ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับที่ 1

รายการตรวจสอบ

เกณฑการพิจารณา

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ความถูกตองตามวิธีการใชงาน และครบถวน

2

สวมใส อุ ป กรณ ป อ งกั น อั น ตรายส ว นบุ ค คล ความถูกตองตามวิธีการใชงาน อยางถูกตองและครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน

3

การปฏิ บั ติ ง านได ถู ก ต อ ง เป น ไปตามลํ า ดั บ ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ขั้นตอน

4

การถอดช็อคอัพและประกอบช็อคอัพ

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

5

การทดสอบช็อคอัพ

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

6

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

7

การจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ และวั ส ดุ ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน หลังปฏิบัติงาน

8

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ทันเวลาที่กําหนด

121 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ลําดับที่

1

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดในการใหคะแนน

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตองและ ครบถวน

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวนทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน

คะแนน เต็ม 3

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวน หรือ ไมถูกตอง อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน เตรียมเครือ่ งมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวนและไมถกู ตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ไดแก ถุงมือผา

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลอยางถูกตอง

รองเทานิรภัย และชุดปฏิบัติการชางอยางถูกตอง ครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน

ครบทั้ง 3 ชนิด ใหคะแนน 3 คะแนน

3

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดถูกตอง 2 ชนิด ใหคะแนน 2 คะแนน สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดถูกตองนอยกวา 2 ชนิด หรือไมสวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ใหคะแนน 0 คะแนน 3

การปฏิบัติงานไดถูกตอง เปนไปตามลําดับขั้นตอน

ถูกตองและเปนไปตามลําดับขั้นตอน

3

ใหคะแนน 3 คะแนน ถูกตอง แตสลับขั้นตอนปฏิบัติงานในบางขั้นตอน ใหคะแนน 2 คะแนน ถูกตอง แตปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 1 คะแนน ไมถูกตอง และปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 4

การถอดช็อคอัพและประกอบช็อคอัพ

ถอดและประกอบช็อคอัพไดถูกตองตามขั้นตอน ใหคะแนน 5 คะแนน ถอดและประกอบช็อคอัพไมถูกตองตามขั้นตอน 1 ขั้นตอน ใหคะแนน 4 คะแนน ถอดและประกอบช็อคอัพไมถูกตองตามขั้นตอน 2 ขั้นตอน ใหคะแนน 3 คะแนน ถอดและประกอบช็อคอัพไมถูกตองตามขั้นตอน 3 ขั้นตอน ใหคะแนน 2 คะแนน

122 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

5

คะแนนที่ได


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ลําดับที่

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดในการใหคะแนน

คะแนน เต็ม

คะแนนที่ได

ถอดและประกอบช็อคอัพไมถูกตองตามขั้นตอน มากกวา 3 ขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 5

การทดสอบช็อคอัพ

ทดสอบช็อคอัพไดถูกตองตามขั้นตอน

3

ใหคะแนน 3 คะแนน ทดสอบช็อคอัพไมถูกตองตามขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 6

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไดสะอาดเรียบรอย

3

และครบทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย หรือไมครบทุกชิ้น อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย และไมครบทุกชิ้น ใหคะแนน 1 คะแนน ไมทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 7

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลังปฏิบัติงาน

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวนทุกชิ้น

3

ใหคะแนน 3 คะแนน จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมถกู ตอง หรือ ไมครบถวน อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมถกู ตองและ ไมครบถวน หรือไมจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 8

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ปฏิบัติงานไดอยางสมบูรณภายในเวลาทีก่ ําหนด ใหคะแนน 3 คะแนน

3

ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดไมเกิน 5 นาที ใหคะแนน 2 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดมากกวา 5 นาที ใหคะแนน 1 คะแนน คะแนนเต็ม

26

หมายเหตุ หากผูเขารับการฝกไดรับคะแนน 18 คะแนนขึ้นไป (คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70) ใหผูเขารับการฝก ขอเขารับการทดสอบภาคปฏิบัติได 123 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

รายละเอียดหัวขอวิชาที่ 4 0921030204 ระบบบังคับเลี้ยว (ใบแนะนํา) 1. ผลลัพธการเรียนรู 1. วิเคราะหขอขัดของ ความเสียหายเบื้องตนของระบบบังคับเลี้ยวได 2. แกไขขอขัดของ ความเสียหายเบื้องตนของระบบบังคับเลี้ยวได

2. หัวขอสําคัญ 1. ความผิดปกติของชุดเฟองบังคับเลี้ยว เลี้ยววงกวางขึ้นผิดปกติ เสียงดัง ฝด 2. ความผิดปกติของระบบพวงมาลัยหนัก

3. วิธีการฝกอบรม การฝกอบรมสามารถเลือกได 3 รูปแบบ คือ 1) การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ 2) การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม 3) การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน ดังรายละเอียดในขอแนะนําสําหรับผูรับการฝก

4. อุปกรณชวยฝก อุปกรณชวยฝกสามารถเลือกใชงานได 2 รูปแบบ คือ 1. รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝก เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมิน เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 2. รูปแบบอิเล็กทรอนิกส (Online) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ

124 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

5. การรับการฝกอบรม 1. ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Post-Test) แลวสงใหครูฝกหรือระบบประเมินผลตามวิธีที่เลือกฝกอบรม 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหผูรับการฝกเขาฝกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝกอบรมภาคทฤษฎี ใหผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝก และฝกหัดทําใบทดสอบทายหัวขอวิชา 3. เมื่อผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝกประจําโมดูลนั้นเขาใจแลว ใหทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) แลวสงให ครูฝกหรือระบบประเมินผลเชนเดียวกับแบบทดสอบกอนฝก 4. การฝกอบรมภาคปฏิบัติ ผูรับการฝกอานและทําความเขาใจกับใบงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน และเกณฑการวัด และประเมินผลงาน 5. ผูรับการฝกเขารับการฝกที่ศูนยฝกอบรมที่ลงทะเบียนหรือจองไว 6. ผูรับการฝกอานระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับความปลอดภัยในการฝกของหนวยฝก 7. ผูรับการฝกฟงคําชี้แจงลําดับการปฏิบัติงานตามใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน 8. ผูรับการฝกปฏิบัติงานตามใบงาน แลวสงใหครูฝกตรวจประเมินผล 9. ผูรับการฝกที่คะแนนผลงานผานเกณฑรอยละ 70 สามารถขอทดสอบเพื่อจบโมดูลที่ฝกกับครูฝก

6. การวัดผล 1. ผูรับการฝกสงแบบทดสอบกอนฝก ใหครูฝกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎีตามวิธีที่เลือกฝกอบรม 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2. ผูรับการฝกสงแบบทดสอบหลังฝก ใหครูฝกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎี โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมิน แบบทดสอบกอนฝก 3. ผูรับการฝกสงผลงานในการฝกภาคปฏิบัติใหครูฝกตรวจประเมินผลงานของผูรับการฝก โดยตองผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จึงจะมีสิทธิ์เขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูล ที่ครูฝกกําหนดได

125 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

7. บรรณานุกรม ประสานพงษ หาเรือนชีพ. 2553. งานไฟฟารถยนต. กรุงเทพฯ. ซีเอ็ดยูเคชั่น. ระบบบังคับเลี้ยว. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://carmaintenence.blogspot.com/2010/09/blogpost_18.html

126 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ใบขอมูล หัวขอวิชาที่ 4 ระบบบังคับเลี้ยว ระบบบังคับเลี้ยว หรือระบบพวงมาลัย แบงออกเปน 2 ประเภท คือ ระบบบังคับเลี้ยวแบบเฟองขับ-เฟองสะพาน สวนใหญ นิยมนํามาใชกับรถยนตประเภทขับเคลื่อนลอหนา และระบบบังคับเลี้ยวแบบลูกปนหมุนวน นิยมนํามาใชกับรถบรรทุ ก ทั้งนี้ ระบบพวงมาลัย ทั้งสองแบบ มีห นาที่ควบคุมการทํางานใหสัมพัน ธกัน กับ ความเร็ว ของรถยนต และควบคุมการเปลี่ยน ทิศทาง หากระบบบังคับเลี้ยวเกิดความเสียหาย อาจทําใหเกิดอันตรายกับผูขับขี่ ดังนั้น ระบบบังคับเลี้ยวควรอยูในสภาพที่ สมบูรณและพรอมใชงานเสมอ

ภาพที่ 4.1 สวนประกอบของระบบบังคับเลี้ยว

127 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ภาพที่ 4.2 ระบบบังคับเลี้ยวแบบเฟองขับ-เฟองสะพาน

ภาพที่ 4.3 ระบบบังคับเลี้ยวแบบลูกปนหมุนวน 1. ความผิดปกติของชุดเฟองบังคับเลี้ยว ความผิดปกติของชุดเฟองบังคับเลี้ยว เกิดจากการชํารุดหรือการสั่นคลอนของอุปกรณบางสวน ซึ่งมีวิธีแกไขดังนี้ - ชุดปลายคันชักคันสงหลวม หรือชํารุด แนวทางการแกไข คือ การขันชุดปลายคันชักคันสงใหแนน หรือ หากชํารุด ควรเปลี่ยนใหม - ชุดเฟองสะพาน เกิดการชํารุด แนวทางการแกไข คือ ควรซอมชุดเฟองของระบบบังคับเลี้ยว - ขอตอออนระบบบังคับเลี้ยว ชํารุด สึก หรือหลวม แนวทางการแกไข คือ ตรวจสอบและแกไข โดยขันขอตอ ใหแนนหรือเปลี่ยนใหม

128 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ภาพที่ 4.4 ตัวอยางขอตอออนของระบบบังคับเลี้ยว - บุชยางคันชักคันสงหลวมหรือชํารุด แนวทางการแกไข คือ การขันบุชยางคันชักคันสงใหแนนหรือหากเกิด การชํารุดควรเปลี่ยนใหม

ภาพที่ 4.5 บุชยางในระบบบังคับเลี้ยว - แกนพวงมาลัยหลวม แนวทางการแกไข คือ ควรตรวจหาบริเวณที่ชํารุดหรือสึก จากนั้นจึงขันนอตพวงมาลัย ใหไดมาตรฐาน 1.1 เลี้ยวกวางขึ้นหรือแคบลงผิดปกติ ปญหาที่รถยนตเลี้ยวกวางขึ้นหรือแคบลงผิดปกติ อาจเกิดจากการคลอนหรือหลวมของคันสง การคดงอของคันสง ลูกหมากคันสง ลูกปนลอ และกานตอตาง ๆ ทั้งนี้ อาจเกิดจากลอยางและการตั้งคาศูนยถวงลอ ตัวอยาง กรณีคันสงคดงอ ทําใหเลี้ยวแคบผิดปกติ

129 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ภาพที่ 4.6 ความแตกตางของรอยลอหมุนเมื่อหมุนพวงมาลัยกรณีปกติและคันสงคดงอ

130 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

1.2 เลี้ยวเสียงดัง ปญหารถยนตเลี้ยวเสียงดังที่เกิดจากความผิดปกติของชวงลางมีหลายลักษณะ ทั้งนี้ ตองสังเกตอาการของรถ รวมถึงจังหวะการขับวาเกิดเสียงในชวงใดรวมดวย ดังตัวอยางตอไปนี้ 1) ขณะขับรถยนตดวยความเร็วต่ําแลวมีเสียงดังเวลาเลี้ยวหรือตกหลุม จากใตทองดานหนาของรถยนต เปนไปไดวาลูกหมากคันชัก - คันสง หรือลูกหมากปลายเฟองสะพาน (Rack and Pinion) อาจจะหลวม อีกสาเหตุคือ ยางหุมเพลาขาดเปนเวลานานจึงทําใหมีเสียงดังผิดปกติ 2) มีเสียงดังเวลาผ านพื้ นผิว ถนนขรุขระ หรือในจังหวะที่ ขับผ านเนิน ชะลอความเร็ว แลวไดยินเสี ย งดั ง ผิดปกติใตทองรถ ถาเสียงเกิดขึ้นมาในจังหวะนี้เปนไปไดวาเปนเสียงที่เกิดจากความผิดปกติของบุชปกนก 3) มีเสียงดังเวลาเลี้ยวสุด สวนใหญจะพบในรถกระบะซึ่งมีสาเหตุมาจากบุชกันเลี้ยวสึก ทําใหเวลาเลี้ยวสุด เกิดการเสียดสีกันของชวงลาง 2. ความผิดปกติของระบบพวงมาลัย ระบบพวงมาลัยเพาเวอร คือ ระบบที่เขามาชวยลดการใชกําลังการหมุนพวงมาลัย ไปในทิศทางตาง ๆ ใหเบาลง เพื่อ ประโยชนในการหักเลี้ยวในพื้นที่แคบ ๆ และความสะดวกสบายในการขับขี่ พวงมาลัยเพาเวอรมีระบบแบบเฟองขับและเฟองสะพาน (rack and pinion) เพื่อบังคับและควบคุมแรงดันน้าํ มันไฮ ดรอลิกไปบริเวณลูกสูบเพาเวอร ซึ่งทํางานอยูในกระบอกสูบรวมกับเฟองสะพาน โดยมีปมขับเคลื่อนดวยสายพานตัว V จาก เพลาขอเหวี่ยงของเครื่องยนต

131 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ภาพที่ 4.7 พวงมาลัยเพาเวอรแบบเฟองขับและเฟองสะพาน ในกรณีที่ระบบพวงมาลัยสูญเสียแรงในการบังคับเลี้ยวจากระบบผอนแรง (Power) ระบบพวงมาลัยยังจะสามารถทํางาน ตอได แตอาจตองใชแรงในการหมุนพวงมาลัยมากกวาปกติ ซึ่งความผิดปกติของระบบพวงมาลัยสามารถตรวจสอบไดดังนี้ 2.1 พวงมาลัยหนัก พวงมาลัยหนักสามารถเกิดขึ้นไดหลายสาเหตุ มีดังนี้ 1) แรงดันลมยางต่ํา หรือไมเทากัน 2) ระบบรับแรงสะเทือนหลวมคลอน หรือการปรับตั้งระยะตาง ๆ ไมตรงตามมาตรฐาน 3) ระดับน้ํามันในกระปุกน้ํามันพวงมาลัยเพาเวอรต่ํา 4) การหลอลื่นไมเพียงพอในระบบพวงมาลัยธรรมดา 5) ชุดแกนพวงมาลัย หรือขอตอออนระบบบังคับเลี้ยวไมไดแนว 6) แรงดันปมพวงมาลัยเพาเวอรไมเพียงพอ 7) ปรับชุดเฟองบังคับเลี้ยวไมถูกตอง แนวทางการแกไขอาการพวงมาลัยหนัก ควรปฏิบัติดังนี้ 1) ควรเติมแรงดันลมยาง ตามที่กําหนด ถาหากแรงดันลมยางต่ํา หรือไมเทากัน 2) ระบบรับแรงสะเทือนหลวม ควรปรับตั้งใหไดศูนยหรือเปลี่ยนหากเกิดการชํารุด 132 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

3) ระดับน้ํามันในกระปุกน้ํามันพวงมาลัยเพาเวอรต่ํา ควรเติมน้ํามันใหอยูในระดับ Max หรือหากเกิดรั่วไหล ควรซอมหรือเปลี่ยนชิ้นสวนที่ชํารุดใหม 4) การหลอลื่นไมเพียงพอในระบบพวงมาลัยธรรมดา ควรตรวจการรั่วไหลและซอมหากเกิดการชํารุด 5) ตรวจสอบขอตอออน และชุดแกนพวงมาลัยของระบบบังคับเลี้ยววาหมุนไดคลอง หรือมีเสียงดังหรือไม 6) แรงดันน้ํามันพวงมาลัยเพาเวอรต่ํากวาเกณฑที่กําหนด ควรตรวจความตึงของสายพานปม หรือถาหาก ชํารุดใหเปลี่ยนปมพวงมาลัยเพาเวอรใหม 7) ปรับตั้งชุดเฟองบังคับเลี้ยวไมเหมาะสม ทําใหทํางานไมสัมพันธกัน อาจเขาไปขัดกันเอง ควรตรวจสอบ และปรับใหมใหถูกตอง 8) ปรับตั้งความตึงสายพานปมพวงมาลัยเพาเวอรหลวม หรือถาหากขาดควรเปลี่ยนสายพานใหม 9) ซอมปมพวงมาลัยเพาเวอร ในกรณีที่มีแรงดันไมเพียงพอ 10) ซอมชุดเฟองบังคับเลี้ยวเพาเวอรทชี่ ํารุด 2.2 อาการพวงมาลัยสั่น อาการพวงมาลัยสั่น อาจเกิดจากยางที่มีอายุการใชงานนาน หรือจากสาเหตุอื่น ๆ เชน พวงมาลัยสั่นขณะรถวิ่งดวย ความเร็วใดความเร็วหนึ่งอาจเกิดจากการถวงลอทั้ง 4 ลอที่ไมสมดุล ไมไดตามคามาตรฐาน การสั่นตามความเร็วของรถ อาจเปนเพราะลูกปนลอและช็อคอัพเสีย หรือยางแทนเครื่องและยางแทนเกียรชํารุดฉีกขาด เปนตน แนวทางการแกไขควรปฏิบัติดังนี้ 1) ตรวจสอบและตั้งศูนยลอ ในกรณียางและลอไมสมดุล 2) เปลี่ยนตลับลูกปนดุมลอหนาที่สึกหรอ 3) ตรวจสอบ หรือเปลี่ยนช็อคอัพและสปริงรองรับน้ําหนักดานหนารถ และควรเปลี่ยนทั้งซายและขวา หากมีการชํารุดเสียหาย 4) ตรวจสอบและขันนอตชุดปลายคันชักคันสงใหแนน หรือเปลี่ยนชิ้นสวนที่หลวมและชํารุดใหม 5) ปรับตั้ง หรือซอมชุดเฟองบังคับเลี้ยวที่ชํารุดและหลวม 2.3 พวงมาลัยดึงไปขางใดขางหนึ่ง พวงมาลัยดึงไปขางใดขางหนึ่ง สาเหตุสวนใหญเกิดจากรถยนตที่ไมไดตรวจสภาพการใชงานของยาง และการตั้ง ศูนยของลอหนา และหลังใหไดตามมาตรฐาน สําหรับแนวทางการแกไขควรปฏิบัติดังนี้ 1) ควรเติมลมยางตามแรงดันที่กําหนด และตรวจสภาพของยางอยางสม่ําเสมอ 2) ตรวจการชํารุดและเปลี่ยนชุดรับแรงสะเทือน และควรตั้งศูนยใหม 133 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

3) ตรวจเบรก หากเกิดการเบรกแลวติด 4) ตรวจชวงลางหาอาการที่ชํารุด และเปลี่ยนชิ้นสวนที่ชํารุดใหม 5) ซอมชุดเฟองบังคับเลี้ยวเพาเวอรที่ชํารุด

ภาพที่ 4.8 พวงมาลัยไมไดศูนย 2.4 ลอหนาสายหรือสั่น ลอหนาสายหรือสั่น มีสาเหตุมาจากความผิดปกติของระบบชวงลาง จึงสงผลมายังพวงมาลัย จึงทําใหการควบคุ ม รถยนตยากขึ้น สาเหตุหรืออาการพวงมาลัยสั่น มีดังนี้ 1) ลอ หรือยางไมสมดุล 2) ตลับลูกปนดุมลอหนาสึก หรือหลวม 3) ชุดรับแรงสะเทือนชํารุด 4) ชุดปลายคันชักคันสงหลวม หรือชํารุด 5) ชุดเฟองบังคับเลี้ยวชํารุด / หลวม แนวทางการแกไขอาการพวงมาลัยสั่น ควรปฏิบัติดังนี้ 1) ตรวจและตั้งศูนยตามจําเปน หากยางและลอไมสมดุลกัน 2) เปลี่ยนตลับลูกปนดุมลอหนาที่สึก และหลวม 3) ตรวจหรือเปลี่ยนชุดรับแรงสะเทือนและควรเปลี่ยนเปนคู หากชํารุด 4) ตรวจและขันชุดปลายคันชักคันสงใหแนน หรือเปลี่ยนชิ้นสวนที่ชํารุดใหม 5) ปรับหรือซอมชุดเฟองบังคับเลี้ยว ที่ชํารุดและหลวม

134 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ใบทดสอบ ตอนที่ 1 คําชี้แจง ใหผูรับการฝกทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบขอที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว 1. ขอใด ไมใช สาเหตุของอาการพวงมาลัยหนัก ก. ขอตอออนระบบบังคับเลี้ยวไมไดแนว ข. แรงดันลมยางต่ํา หรือไมเทากัน ค. ปรับชุดเฟองบังคับเลี้ยวไมถูกตอง ง. แกนพวงมาลัยหลวม 2. ปญหารถยนตเลี้ยวกวางขึ้นหรือแคบลงกวาปกติ อาจเกิดจากอะไร ก. แรงดันปมพวงมาลัยเพาเวอรไมเพียงพอ ข. คันสงหลวมคลอน ค. ผาเบรกสึกหรอ ง. ระดับน้ํามันเพาเวอรสูงเกินไป 3. หากชุดปลายคันสงหลวม จะมีวิธีแกไขอยางไร ก. เปลี่ยนบุชคันชักคันสงใหม ข. ขันขอตอใหแนนหรือเปลี่ยนขอตอใหม ค. ขันชุดปลายคันชักคันสงใหแนน ง. ซอมชุดเฟองของระบบบังคับเลี้ยว 4. พวงมาลัยสั่น มีสาเหตุมาจากอะไร ก. ชุดเฟองบังคับเลี้ยวชํารุด ข. น้ํามันเบรกในกระปุกมีมากเกินไป ค. ระบบหลอเย็นไมทํางาน ง. แปนเบรกชํารุด

135 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

5. ขอใด ไมใช วิธีแกปญหาพวงมาลัยสั่น ก. เปลี่ยนตลับลูกปนดุมลอหนาที่สึกหรอ ข. ตรวจและขันชุดปลายคันสงใหแนน ค. ซอมชุดเฟองบังคับเลี้ยว ง. เติมน้ํามันเบรกใหไดระดับ ตอนที่ 2 คําชี้แจง ใหผูรับการฝกพิจารณาขอความตอไปนี้วา ถูก หรือ ผิด และทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบ ถูก

ผิด

ขอความ 6. อาการพวงมาลัยสั่น หากสั่นตามความเร็วของรถ สาเหตุอาจเกิดจากลูกปนลอ และช็อคอัพเสีย หรือยางแทนเครื่องและยางแทนเกียรชํารุดฉีกขาด 7. หากระบบพวงมาลัยสูญเสียแรงในการบังคับเลี้ยวจากระบบผอนแรง ระบบ พวงมาลัยยังจะสามารถทํางานตอได แตตองใชแรงในการหมุนพวงมาลัยใหนอย กวาปกติ 8. อาการพวงมาลัย ดึง ไปขางใดขา งหนึ่ง สว นใหญเ กิดในรถยนตที่ไมไ ดต รวจ สภาพการใชงานของยาง และการตั้งศูนยของลอใหไดตามมาตรฐาน 9. พวงมาลัยเพาเวอรแบบเฟองขับและเฟองสะพาน (rack and pinion) ทํางาน โดยบังคับและควบคุมแรงดันน้ํามันไฮดรอลิกไปที่เฟองขับ เชนเดียวกับพวงมาลัย เพาเวอรแบบลูกปนหมุนวน 10. หากขณะที่ขับรถผานพื้นผิวถนนขรุขระ แลวไดยินเสียงดังผิดปกติใตทองรถ เปนไปไดวาเปนเสียงที่เกิดจากความผิดปกติของบุชปกนก

136 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

กระดาษคําตอบ ตอนที่ 1 ปรนัย ขอ

1 2 3 4 5 ตอนที่ 2 ถูกผิด ขอ

ถูก

ผิด

6 7 8 9 10

137 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ใบงาน ใบงานที่ 4.1 การตรวจสอบระยะฟรีพวงมาลัย 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. แกไขขอขัดของ ความเสียหายเบื้องตนของระบบบังคับเลี้ยวได 2. ปฏิบัติงานตรวจสอบระยะฟรีพวงมาลัยได 3. ปฏิบัติงานโดยคํานึงถึงความปลอดภัย

2. ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงาน - ระยะเวลาฝกปฏิบัติงานรวม 3 ชั่วโมง

3. คําชี้แจง ใหผูรับการฝกปฏิบัติงานตรวจสอบระยะฟรีพวงมาลัยใหถูกตอง

138 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ 4.1 การตรวจสอบระยะฟรีพวงมาลัย 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - ถุงมือผา - รองเทานิรภัย - ชุดปฏิบัติการชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับใบงาน 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้นที่ปฏิบัติงาน ไมใหมีอุปกรณอื่น ๆ ที่ไมเกี่ยวของ หรือวัสดุอันตราย เชน สายไฟฟา วางกีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมอุปกรณปฐมพยาบาลเบื้องตน ในกรณีเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัติงาน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตาง ๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1. รถยนตที่ใชกระปุกเกียรธรรมดา

จํานวน 1 คัน

2. ผาคลุมรถสําหรับซอม

จํานวน 1 ชุด

3. เครื่องมือชางพื้นฐาน

จํานวน 1 ชุด

หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือวามีสภาพพรอมใชงานหรือไม หากพบวาเครื่องมือชิ้นใดชํารุด ใหรายงานครูฝกใหทราบ 1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน 1. จาระบีหรือน้ํามันหลอลื่นอเนกประสงค

จํานวน 1 กระปอง

2. ผาเช็ดทําความสะอาด

จํานวน 1 ผืน

139 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

2. ลําดับการปฏิบัติงาน การตรวจสอบระยะฟรีพวงมาลัย ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1. จอดรถ

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

โดยพื้นที่จอดรถตองมั่นคงและแข็งแรง ตั้งลอและพวงมาลัยใหตรง

2. ดับเครื่องยนต

ดับเครื่องยนตและเขาเกียร กรณีที่เปนรถยนตอัตโนมัติ ใหเขาเกียร ในตําแหนง P ถาเปนเกียรธรรมดา ใหเขาเกียรที่ตําแหนงเกียรวาง ดึงเบรกมือ เพื่อปองกันรถไหล

3. เปดฝากระโปรงหนารถ และคลุมผาสําหรับซอม

เปดฝากระโปรงรถพรอมล็อกไมค้ํายัน

ล็อกไมค้ํายันฝา

และใชผาคลุมสําหรับซอมคลุมที่สวน

กระโปรงหนารถ

หนารถและบังโคลนซาย-ขวา

ทุกครั้ง เพื่อปองกัน ไมใหฝากระโปรงปด

ใชผาคลุมสําหรับซอมคลุมบริเวณเบาะ ระหวางปฏิบัติงาน พวงมาลัย และหัวเกียร 4. ตรวจสอบระยะฟรีพวงมาลัย

บิดสวิตชกุญแจไปที่ตําแหนง ON แลว ตรวจสอบระยะฟรี โดยค อ ย ๆ หมุ น พวงมาลัยไปทางซายและทางขวา หยุด

140 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คําอธิบาย หมุนพวงมาลัยเมื่อหมดระยะฟรี โดย พวงมาลัยจะเริ่มฝด

5. วัดระยะฟรีพวงมาลัย

วัดระยะฟรีพวงมาลัย ซึ่งจะตองมีระยะ 3 เซนติเมตร

6. ปรับตั้งระยะฟรีพวงมาลัย

หากมีระยะฟรีมากกวาหรือนอยกวา 3 เซนติเมตร ตองปรับตั้งระยะฟรีใหม โดยใชประแจคลายโบลตยึดนอต ปรับตั้งระยะฟรี ใชประแจแอล ขันนอตปรับตั้งระยะฟรี จากนั้น ขันโบลต ยึดยอตปรับตั้งระยะฟรีใหแนนดังเดิม

7. ตรวจสอบระยะฟรี

คอย ๆ หมุนพวงมาลัยไปทางซายและ ทางขวาอี ก ครั้ ง และวั ด ระยะฟรี ซึ่ ง จะตองมีระยะ 3 เซนติเมตร

141 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คําอธิบาย

8. ทดสอบการทํางาน

ติดเครื่องยนต และทดลองขับรถยนต โดยหมุนพวงมาลัยใหไดระยะ 3 เซนติเมตร ซึ่งรถยนตจะตองไมเลี้ยว

9. ทําความสะอาดและจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ

ใชผาเช็ดทําความสะอาดบริเวณสถานที่ ปฏิ บั ติ ง าน และจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และ อุปกรณใหเรียบรอย

142 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

3. ตรวจสอบการทํางาน ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับที่ 1

รายการตรวจสอบ

เกณฑการพิจารณา

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ความถูกตองตามวิธีการใชงาน และครบถวน

2

สวมใส อุ ป กรณ ป อ งกั น อั น ตรายส ว นบุ ค คล ความถูกตองตามวิธีการใชงาน อยางถูกตองและครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน

3

การปฏิ บั ติ ง านได ถู ก ต อ ง เป น ไปตามลํ า ดั บ ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ขั้นตอน

4

การตรวจสอบระยะฟรีกระปุกพวงมาลัย

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

5

การปรับตั้งระยะฟรีกระปุกพวงมาลัย

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

6

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

7

การจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ และวั ส ดุ ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน หลังปฏิบัติงาน

8

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ทันเวลาที่กําหนด

143 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ลําดับที่

1

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดในการใหคะแนน

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตองและ ครบถวน

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวนทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน

คะแนน เต็ม 3

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวน หรือ ไมถูกตอง อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน เตรียมเครือ่ งมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวนและไมถกู ตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ไดแก ถุงมือผา

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลอยางถูกตอง

รองเทานิรภัย และชุดปฏิบัติการชางอยางถูกตอง ครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน

ครบทั้ง 3 ชนิด ใหคะแนน 3 คะแนน

3

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดถูกตอง 2 ชนิด ใหคะแนน 2 คะแนน สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดถูกตองนอยกวา 2 ชนิด หรือไมสวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ใหคะแนน 0 คะแนน 3

การปฏิบัติงานไดถูกตอง เปนไปตามลําดับขั้นตอน

ถูกตองและเปนไปตามลําดับขั้นตอน

3

ใหคะแนน 3 คะแนน ถูกตอง แตสลับขั้นตอนปฏิบัติงานในบางขั้นตอน ใหคะแนน 2 คะแนน ถูกตอง แตปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 1 คะแนน ไมถูกตอง และปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 4

การตรวจสอบระยะฟรีกระปุกพวงมาลัย

ตรวจสอบระยะฟรีกระปุกพวงมาลัยไดถกู ตองตามขั้นตอน ใหคะแนน 5 คะแนน

5

ตรวจสอบระยะฟรีกระปุกพวงมาลัยไมถูกตองตามขั้นตอน 1 ขั้นตอน ใหคะแนน 3 คะแนน ตรวจสอบระยะฟรีกระปุกพวงมาลัยไมถูกตองตามขั้นตอน มากวา 1 ขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 5

การปรับตั้งระยะฟรีกระปุกพวงมาลัย

ปรับตั้งระยะฟรีกระปุกพวงมาลัยไดระยะที่ถูกตอง ใหคะแนน 5 คะแนน

144 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

5

คะแนนที่ได


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ลําดับที่

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดในการใหคะแนน

คะแนน เต็ม

คะแนนที่ได

ปรั บ ตั้ ง ระยะฟรี ก ระปุ ก พวงมาลั ย ได ร ะยะคลาดเคลื่ อ น 3 มิลลิเมตร ใหคะแนน 3 คะแนน ปรั บ ตั้ ง ระยะฟรี ก ระปุ ก พวงมาลั ย ได ร ะยะคลาดเคลื่ อ น 5 มิลลิเมตร ใหคะแนน 1 คะแนน ปรั บ ตั้ ง ระยะฟรี ก ระปุ ก พวงมาลั ย ได ร ะยะคลาดเคลื่ อ น มากกวา 5 มิลลิเมตร ใหคะแนน 0 คะแนน 6

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไดสะอาดเรียบรอย

3

และครบทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย หรือไมครบทุกชิ้น อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย และไมครบทุกชิ้น ใหคะแนน 1 คะแนน ไมทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 7

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลังปฏิบัติงาน

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวนทุกชิ้น

3

ใหคะแนน 3 คะแนน จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมถกู ตอง หรือ ไมครบถวน อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมถกู ตองและ ไมครบถวน หรือไมจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 8

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ปฏิบัติงานไดอยางสมบูรณภายในเวลาทีก่ ําหนด ใหคะแนน 3 คะแนน

3

ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดไมเกิน 5 นาที ใหคะแนน 2 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดมากกวา 5 นาที ใหคะแนน 1 คะแนน คะแนนเต็ม

28

หมายเหตุ หากผูเขารับการฝกไดรับคะแนน 20 คะแนนขึ้นไป (คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70) ใหผูเขารับการฝก ขอเขารับการทดสอบภาคปฏิบัติได 145 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

รายละเอียดหัวขอวิชาที่ 5 0921030205 ระบบเบรก (ใบแนะนํา) 1. ผลลัพธการเรียนรู 1. วิเคราะหขอขัดของ ความเสียหายเบื้องตนของระบบเบรกได 2. แกไขขอขัดของ ความเสียหายเบื้องตนของระบบเบรกได

2. หัวขอสําคัญ - ความผิดปกติของระบบเบรก ไดแก เบรกมีเสียงดัง เบรกสั่น เบรกจม เบรกไมอยู 3. วิธีการฝกอบรม การฝกอบรมสามารถเลือกได 3 รูปแบบ คือ 1) การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ 2) การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม 3) การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน ดังรายละเอียดในขอแนะนําสําหรับผูรับการฝก

4. อุปกรณชวยฝก อุปกรณชวยฝกสามารถเลือกใชงานได 2 รูปแบบ คือ 1. รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝก เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมิน เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 2. รูปแบบอิเล็กทรอนิกส (Online) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ

146 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

5. การรับการฝกอบรม 1. ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Post-Test) แลวสงใหครูฝกหรือระบบประเมินผลตามวิธีที่เลือกฝกอบรม 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหผูรับการฝกเขาฝกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝกอบรมภาคทฤษฎี ใหผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝก และฝกหัดทําใบทดสอบทายหัวขอวิชา 3. เมื่อผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝกประจําโมดูลนั้นเขาใจแลว ใหทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) แลวสงให ครูฝกหรือระบบประเมินผลเชนเดียวกับแบบทดสอบกอนฝก 4. การฝกอบรมภาคปฏิบัติ ผูรับการฝกอานและทําความเขาใจกับใบงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน และเกณฑการวัด และประเมินผลงาน 5. ผูรับการฝกเขารับการฝกที่ศูนยฝกอบรมที่ลงทะเบียนหรือจองไว 6. ผูรับการฝกอานระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับความปลอดภัยในการฝกของหนวยฝก 7. ผูรับการฝกฟงคําชี้แจงลําดับการปฏิบัติงานตามใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน 8. ผูรับการฝกปฏิบัติงานตามใบงาน แลวสงใหครูฝกตรวจประเมินผล 9. ผูรับการฝกที่คะแนนผลงานผานเกณฑรอยละ 70 สามารถขอทดสอบเพื่อจบโมดูลที่ฝกกับครูฝก

6. การวัดผล 1. ผูรับการฝกสงแบบทดสอบกอนฝก ใหครูฝกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎีตามวิธีที่เลือกฝกอบรม 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2. ผูรับการฝกสงแบบทดสอบหลังฝก ใหครูฝกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎี โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมิน แบบทดสอบกอนฝก 3. ผูรับการฝกสงผลงานในการฝกภาคปฏิบัติใหครูฝกตรวจประเมินผลงานของผูรับการฝก โดยตองผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จึงจะมีสิทธิ์เขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ ครูฝกกําหนดได

147 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

7. บรรณานุกรม ประสานพงษ หาเรือนชีพ. 2553. งานไฟฟารถยนต. กรุงเทพฯ. ซีเอ็ดยูเคชั่น. อําพล ซื่อตรง. การแกปญหางานชางยนต. กรุงเทพฯ. ศูนยสงเสริมวิชาการ. เบรกรถยนต. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://รักษรถ.com/เบรครถยนต

148 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ใบขอมูล หัวขอวิชาที่ 5 ความผิดปกติของระบบเบรก ระบบเบรกรถยนต เปนการลดหรือชะลอความเร็วรถยนต ซึ่งมีสวนประกอบของชิ้นสวนตาง ๆ ไดแก จานเบรกซึ่งทํา หนาที่หมุนไปพรอมกับลอ กระบอกเบรกอยูบริเวณแผงเบรก และฝกเบรกที่มีผาเบรกยึดติดอยู เปนตน ในการเหยียบเบรก ผาเบรกจะสัมผัสกับจานเบรกขณะกําลังหมุนอยู ทําใหเกิดแรงเสียดทานขึ้นระหวางจานเบรกกับผาเบรก โดยแรงเสียดทาน ที่เกิดขึ้น จึงเปนสาเหตุการสึกหรอของผาเบรก และจานเบรก

ภาพที่ 5.1 สวนประกอบของระบบเบรกรถยนต 1) หมอลมเบรก (Brake booster หรือ Power booster) ภายในจะเปนสุญญากาศชวยเพิ่มแรงกดที่รับมาจาก แปนเหยียบเบรกมากขึ้น 2) แมปมเบรก (Master cylinder) ทําหนาที่เปลี่ยนแรงที่รับมาจากหมอลมเบรกใหเปนแรงดันน้ํามันไฮดรอลิกหรือ แรงดันน้ํามันเบรก เพื่อที่จะสงผานทอน้ํามันเบรกไปยังชุดหามลอตอไป ซึ่งชุดหามลอมีอยูดวยกัน 2 ชนิด ไดแก - ชุดหามลอแบบดิสกเบรก (Disc brake) เมื่อไดรับแรงดันน้ํามันเบรก คาลิปเปอร (Caliper) ซึ่ง มีผาเบรก (Disc brake pad) ติดอยูจะหนีบผาเบรกเขากับจานเบรก - ชุดหามลอแบบดรัมเบรก (Drum brake) เมื่อไดรับแรงดันน้ํามันเบรกฝกเบรก (Brake shoe) ซึ่งมีผาเบรก (Drum brake pad) ติดอยูจะดันผาเบรกเขากับจานเบรก

149 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

1. ชนิดของระบบเบรก 1.1 ดรัมเบรก (Drum Brake) เปนอุปกรณสวนหนึ่งของระบบเบรก ทําหนาที่ในการหามลอซึ่งมีหลักการทํางานพื้นฐานของการขยายและหุบตัว ของฝกเบรกภายในจานเบรกดรัม โดยอาศัยแรงกลไกและไฮดรอลิก ดรัมเบรกจะประกอบดวย จานเบรกดรัม แผนหลัง เบรก ฝกเบรก กระบอกเบรกที่ลอ และสปริงดึงกลับฝกเบรก

ภาพที่ 5.2 สวนประกอบโครงสรางของดรัมเบรก จานเบรกดรัมจะยึดอยูกับดุมลอดวยสลักเกลียว ฝกเบรก สปริงดึงกลับฝกเบรก และกระบอกเบรกที่ลอ จะติดตั้ง อยูกับแผนหลังเบรกและสวมอยูในจานเบรกดรัม โดยไมมีการสัมผัสกันและหมุนไปพรอมกับลอ เมื่อทําการหามลอ ฝกเบรก จะถูกแรงสลักดันที่กระบอกเบรกที่ลอ ดันใหกางออกตานกับผนังของจานเบรกดรัม ดวยคาสัมประสิทธิ์ความฝดของ ผาเบรกที่ยึดติดอยูกับฝกเบรก จึงทําใหลอรถหมุนชาลง 1.2 ดิสกเบรก (disc brake) เป น อุ ป กรณ ส ว นหนึ่ ง ในระบบห า มล อ ของรถยนต ทําหนาที่ในการลดความเร็ ว และทํา ให ร ถหยุด ได ใ นทั น ที เชนเดียวกับดรัมเบรก ดิสกเบรกจะประกอบดวย จานโรเตอรที่ทําจากเหล็กหลอและติดตั้งใหหมุนเคลื่อนที่ไปพรอมกับ ลอรถยนต โดยที่มันจะหมุนอยูระหวางผาเบรกทั้งสองดาน และถูกผลักดันเพื่อใหเกิดความฝดขึ้นที่จานโรเตอรไดดวยแรงเบรก ที่เกิดจากลูกสูบ ซึ่งเปนผลมาจากแรงดันของไฮดรอลิกในขณะที่เหยียบเบรก

150 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ภาพที่ 5.3 สวนประกอบโครงสรางของดิสกเบรก 2. การตรวจสอบผาเบรก การตรวจสอบผาเบรก เปนสิ่งที่ควรตรวจสอบอยางสม่ําเสมอเพราะเปนสวนที่สึกหรอเร็วกวาสวนอื่น สามารถตรวจสอบ โดยเปรียบเทียบกับผาเบรกใหมที่มีความหนาเปน 100% แตถาหากเปนผาเบรกที่ใชแลวความหนาจะลดลงเรื่อย ๆ สําหรับ ระดับที่ไมปลอดภัย คือ ความหนาที่ต่ํากวา 40 – 30 % เพราะผาเบรกในชวงที่เหลือนอย จะทําใหเนื้อผาเบรกอาจหลุดได อีกทั้ง ยังสงผลใหแผนเหล็กสีกับจานเบรกจนสึกหรอ ดังนั้นหากมีอาการผิดปกติหรือมีการเสียดสี ควรรีบเปลี่ยนผาเบรกทันที

ภาพที่ 5.4 ผาเบรก

151 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

3. การเปลี่ยนถายน้ํามันเบรก การเปลี่ยนถายน้ําเบรกควรทําอยางนอยปละ 1 ครั้ง เนื่องจากน้ํามันเบรกมีสวนประกอบมาจากน้ํามันแร ซึ่งจะรวมตัว กับไอน้ําไดงาย จึงเปนสาเหตุของการเกิดสนิม และความรอนที่สูงเกินไปทําใหเกิดฟองอากาศในทอน้ํามัน หรือเปนฝุนผงที่สึกหรอ ของลูกยางเบรกเกิดการเสียดสีกับแมปมเบรก สงผลใหกระบอกเบรกเสียหายเร็วขึ้น สําหรับสีของน้ํามันเบรกสามารถบอก การเปลี่ยนของน้ํามันเบรก ไดจากภาพที่ 5.5 ดังนี้ หลอดที่ 1 คือ น้ํามันเบรกปกติ หลอดที่ 2 คือ น้ํามันเบรกที่มีน้ําผสมอยู และ หลอดที่ 3 คือ น้ํามันเบรกที่เสื่อมสภาพมีชิ้นสวนของซีลยางตาง ๆ ผสมอยู

ภาพที่ 5.5 สีของน้ํามันเบรก 4. อาการและความผิดปกติของระบบเบรก อาการและความผิดปกติของระบบเบรก สามารถเกิดขึ้นจาก 2 สาเหตุหลัก ๆ คือ การเสื่อมสภาพของระบบเบรก เชน เบรกไมอยู เบรกต่ํา เบรกติด เปนตน และความรอนจากการทํางานของระบบเบรก เชน เบรกสั่น เปนตน 4.1 เบรกไมอยู ขณะเหยียบเบรกจะรูสึกวา เบรกไมอยูหรือเบรกแข็ง จึงทําใหตองออกแรงเหยียบเบรกมากกวาปกติ สาเหตุเกิดจาก เชน แรงดูดสุญญากาศของหมอลมนอย หรือแผนไดอะแฟรมในหมอลมรั่ว เปนตน 4.2 เบรกต่ํา ขณะเหยียบเบรกจะรูสึกวา แปนเบรกจมลงกวาปกติ หรือเหยียบเบรกคางไวเบรกจะคอย ๆ จมลง ๆ สาเหตุเกิดจาก ลูกยางแมปมเบรกสึกหรอ หรือบวม จึงทําใหออกแรงเบรกมากขึ้น หรือเหยียบเบรกซ้ําหลายครั้ง 4.3 เบรกไมจาก (เบรกติด) อาการเหมือนเบรกทํางานอยูตลอดเวลา เบรกรอนมีกลิ่นไหม สาเหตุเกิดจาก ลูกยางกัน ฝุนของแมปมเบรกเสียน้ําจึงซึมเขาไปในกระบอกเบรก จนเกิดสนิม แกไขอาการคือ ถอดออกมาขัดสนิม ทั้งแมปม และกระบอกเบรก แตถาหากมีสนิมมากเกินไป ตองเปลี่ยนลูกสูบเบรก หรือแมปมทั้งชุด 4.4 เบรกแตก ขณะเหยียบเบรกแลวแปนเบรกจม ถึงแมเหยียบเบรกแลวรถยนตยังไมลดความเร็วลง

152 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

สาเหตุของอาการและความผิดปกติของระบบเบรก เกิดจากปจจัยตอไปนี้ 1) การรั่วซึมของน้ํามันเบรก 2) ผาเบรกบางมาก จึงทําใหหลุดออกจากจุดยึดผาเบรก เบรกจึงไมสามารถทํางานได 3) สายออนเบรกเมื่อใชงานเปนเวลานาน จะเกิดอาการบวม เมื่อมีการเหยียบเบรกทันทีทันใดจะทําใหมี แรงดันสูง สายออนเบรกอาจแตกได รวมไปถึงการติดตั้งสายออนเบรกที่ไมไดมาตรฐาน 4) ผาเบรกหมด ขณะเหยียบเบรกจะเกิดเสียงดัง แตสําหรับผาเบรกบางรุนจะมีสวนที่เปนหัวโลหะแตะกับ จานเบรกเพื่อใหเกิดเสียง ซึ่งเปนการสงสัญญาณเตือนทันที 5) เบรกสั่น มีอาการเมื่อเหยียบแปนเบรกเทาจะรูสึกวาลื่นสาเหตุเกิดจาก จานเบรกเกิดการคดบิดตัว เพราะ การใชงานหนักเกินไป 6) เบรกลื่น เกิดจากการใชงานเบรกติดตอกันหรือใชงานอยางหนัก ขณะขับรถดวยความเร็วสูง พอแตะ เบรกหลาย ๆ ครั้ง เกิดการลื่นของเบรกเสมือนไมเหยียบเบรก

ภาพที่ 5.6 เปรียบเทียบผาเบรกใหม (เห็นรองเบรก) และเกา (ไมเห็นรองเบรก)+

153 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ใบทดสอบ ตอนที่ 1 คําชี้แจง ใหผูรับการฝกทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบขอที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว 1. อุปกรณชนิดใด ทําหนาที่เปลี่ยนแรงที่รับมาจากหมอลมเบรกใหเปนแรงดันน้ํามันเบรก ก. ผาเบรก ข. แมปมเบรก ค. คาลิปเปอร ง. แปนเหยียบเบรก 2. หากเหยียบเบรกแลวแปนเบรกจมลงกวาปกติ แสดงวาเบรกผิดปกติอยางไร ก. เบรกไมอยู ข. เบรกแตก ค. เบรกไมจาก ง. เบรกต่ํา 3. เบรกรอนมีกลิ่นไหม เกิดจากสาเหตุใด ก. กระบอกเบรกเปนสนิม เกิดการติดขัด ข. แรงดูดสุญญากาศของหมอลมเบรกนอย ค. แผนไดอะแฟรมในหมอลมเบรกรั่ว ง. แปนเหยียบเบรกชํารุด 4. น้ํามันเบรกที่เสื่อมสภาพ จะมีสีตามขอใด ก. สีเหลืองเขม ข. สีแดงเขม ค. สีดําคล้ํา ง. สีเหลืองออน

154 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

5. ขอใด แสดงอาการผิดปกติเมื่อผาเบรกหมด ก. เหยียบเบรกแลวแปนเบรกจม ข. เหยียบเบรกแลวเกิดเสียงดัง ค. เหยียบเบรกแลวรูสึกลื่น ง. เหยียบเบรกแลวมีแรงดันสูง ตอนที่ 2 คําชี้แจง ใหผูรับการฝกพิจารณาขอความตอไปนี้วา ถูก หรือ ผิด และทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบ ถูก

ผิด

ขอความ 6.หากขณะเหยียบเบรกจะรูสึกวา เบรกไมอยูหรือเบรกลงลึกกวาปกติ จึงทําให ตองออกแรงเหยียบเบรกมากกวาปกติ แสดงวา เบรกต่ํา 7. สายออนเบรกเมื่อใชงานเปนเวลานาน จะเกิดอาการบวม เมื่อมีการเหยียบเบรก ทันทีทันใดจะทําใหมีแรงดันสูง สายออนเบรกอาจแตกได รวมไปถึงการติดตั้งสาย ออนเบรกที่ไมไดมาตรฐาน 8. เบรกสั่น เกิดจากการใชงานเบรกติดตอกันหรือใชงานอยางหนัก ขณะขับรถ ดวยความเร็วสูง พอแตะเบรกหลาย ๆ ครั้ง เกิดการลื่นของเบรกเสมือนไมเหยียบ เบรก 9. ความผิ ด ปกติ ข องระบบเบรก สามารถเกิ ด ขึ้ น จาก 2 สาเหตุ ห ลั ก ๆ คื อ การเสื่อมสภาพของระบบเบรก และความรอนจากการทํางานของระบบเบรก 10. ความรอนที่สูงเกินไปทําใหเกิดฟองอากาศในทอน้ํามัน หรือเปนฝุนผงที่สึก หรอของลูกยางเบรกเกิดการเสียดสีกับแมปมเบรก สงผลใหกระบอกเบรกเสียหาย เร็วขึ้น

155 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

กระดาษคําตอบ ตอนที่ 1 ปรนัย ขอ

1 2 3 4 5 ตอนที่ 2 ถูกผิด ขอ

ถูก

ผิด

6 7 8 9 10

156 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ใบงาน ใบงานที่ 5.1 การเปลี่ยนถายน้ํามันเบรกและไลลมเบรก 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. แกไขขอขัดของ ความเสียหายเบื้องตนของระบบเบรกได 2. ปฏิบัติงานเปลี่ยนถายน้ํามันเบรกและไลลมเบรกได 3. ปฏิบัติงานโดยคํานึงถึงความปลอดภัย

2. ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงาน - ระยะเวลาฝกปฏิบัติงานรวม 3 ชั่วโมง 30 นาที

3. คําชี้แจง ใหผูรับการฝกปฏิบัติงานเปลี่ยนถายน้ํามันเบรกและไลลมเบรกใหถูกตอง

157 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ 5.1 การเปลี่ยนถายน้ํามันเบรกและไลลมเบรก 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - ถุงมือผา - รองเทานิรภัย - ชุดปฏิบัติการชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับใบงาน 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้นที่ปฏิบัติงาน ไมใหมีอุปกรณอื่น ๆ ที่ไมเกี่ยวของ หรือวัสดุอันตราย เชน สายไฟฟา วางกีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมอุปกรณปฐมพยาบาลเบื้องตน ในกรณีเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัติงาน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตาง ๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1. กระปองรองรับน้ํามันพรอมสายยางออนไลลม

จํานวน 1 ชุด

2. เครื่องมือชางพื้นฐาน

จํานวน 1 ชุด

3. ประแจขันนอตลอ

จํานวน 1 อัน

4. ประแจวัดแรงบิด

จํานวน 1 อัน

5. ผาคลุมรถสําหรับซอม

จํานวน 1 ชุด

6. รถยนต

จํานวน 1 คัน

7. ลิฟตยกรถ

จํานวน 1 ตัว

8. อุปกรณดูดน้ํามัน

จํานวน 1 ชุด

หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือวามีสภาพพรอมใชงานหรือไม หากพบวาเครื่องมือชิ้นใดชํารุด ใหรายงานครูฝกใหทราบ

158 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน 1. น้ํามันเบรก

จํานวน 1 ลิตร

2. ผาเช็ดทําความสะอาด

จํานวน 1 ผืน

2. ลําดับการปฏิบัติงาน การเปลี่ยนถายน้ํามันเบรกและไลลมเบรก ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คําอธิบาย

1. จอดรถ

จอดรถใหตรงกับตําแหนงของลิฟตยกรถ

2. ดับเครื่องยนต

ดับเครื่องยนตและเขาเกียร กรณีที่เปนรถยนตอัตโนมัติ ใหเขาเกียรใน ตําแหนง P ถาเปนเกียรธรรมดา ใหเขา เกียรที่ตําแหนงเกียรวาง ดึงเบรกมือ เพื่อปองกันรถไหล

159 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คําอธิบาย

3. เปดฝากระโปรงหนารถ และคลุมผาสําหรับซอม เปดฝากระโปรงรถพรอมล็อกไมค้ํายัน

ขอควรระวัง ล็อกไมค้ํายันฝา

และใชผาคลุมสําหรับซอมคลุมที่สวนหนา กระโปรงหนารถ รถและบังโคลนซาย-ขวา

ทุกครั้ง เพื่อปองกัน ไมใหฝากระโปรงปด ระหวางปฏิบัติงาน

4. ดูดน้ํามันเบรกออกจากกระปุก

ดูดน้ําเบรกออกจากกระปุก และเติมน้ํามัน เบรกใหมใหไดระดับ

5. คลายนอตลอ

ใชป ระแจถอดนอตลอ ออกทีล ะตัว และ นําลอออกจากดุมลอ

6. ถอดลอออกจากดุมลอ

ยกรถขึ้นจนลอลอยจากพื้น คลายนอตลอ ระวั ง ล อ หล น ทั บ เท า และถอดลอออกจากดุมลอ

หรื อ ส ว นอื่ น ๆ ของ รางกาย

160 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

7. เตรียมเหยียบเบรก

ติดเครื่องยนต และเตรียมเหยียบเบรก

8. เตรียมไลลมเบรก

ใสสายยางออนไลลมเขากับสกรูไลลมเบรก ควรไลลมจากตําแหนง และวางประแจลงบนสกรูไลลม เพื่อเตรียม ที่ไกลที่สุดกอน ไลลมเบรก

161 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 9. ไลลมเบรก

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

ย้ําเบรก 2-3 ครั้ง แลวเหยียบเบรกคางไว ขณะไล ล ม ต อ งเติ ม ระหวางนั้น ใชประแจคลายสกรูไลลมเบรก น้ํามันเบรกใหไดระดับ จนกระทั่งน้ํามันหยุดไหล จึงขันสกรูกลับ

อยูเสมอ และควรไลลม

ไล ล มเบรกตามวิ ธี ก ารนี้ จนกว า น้ํ า มั น จากตํ า แหน ง ที่ ไ ก ล เ บ ร ก ใ ห ก ร ะ ป อ ง ไ ล ล ม ใ ส แ ล ะ ไ ม มี ที่สุดกอน ฟองอากาศ 10. ใสลอกลับเขาที่ดุมลอ

ดับเครื่องยนต ปรับระดับลิฟตยกรถ ใสลอ กลับเขาที่ดุมลอ และขันนอตลอจนแนน

11. ขันนอตลอดวยประแจวัดแรงบิด

นํารถลงพื้น และขันนอตลอซ้ําดวยประแจ ตั ้ง คา แรงบิด ใหต รง วัดแรงบิด

ตามที่คูมือซอมประจํา รถยนตกําหนด เพราะ หากขัน นอตลอ แนน ไมเ พีย งพอ นอตอาจ หลุด ขณะเคลื่อ นที่จ น เกิดอุบัติเหตุ

12. ทดสอบการทํางาน

ติดเครื่องยนต และทดลองเหยียบเบรก ซึ่ง เบรกจะตองไมจม

162 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คําอธิบาย

13. ทํ า ความสะอาดและจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และ ใชผาเช็ดทําความสะอาดบริเวณสถานที่ อุปกรณ

ปฏิ บั ติ ง าน และจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และ อุปกรณใหเรียบรอย

163 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

3. ตรวจสอบการทํางาน ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับที่ 1

รายการตรวจสอบ

เกณฑการพิจารณา

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ความถูกตองตามวิธีการใชงาน และครบถวน

2

สวมใส อุ ป กรณ ป อ งกั น อั น ตรายส ว นบุ ค คล ความถูกตองตามวิธีการใชงาน อยางถูกตองและครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน

3

การปฏิ บั ติ ง านได ถู ก ต อ ง เป น ไปตามลํ า ดั บ ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ขั้นตอน

4

การเปลี่ยนน้ํามันเบรก

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

5

การเตรียมไลลมเบรกและไลลมเบรก

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

6

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

7

การจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ และวั ส ดุ ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน หลังปฏิบัติงาน

8

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ทันเวลาที่กําหนด

164 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ลําดับที่

1

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดในการใหคะแนน

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตองและ ครบถวน

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวนทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน

คะแนน เต็ม 3

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวน หรือ ไมถูกตอง อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน เตรียมเครือ่ งมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวนและไมถกู ตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ไดแก ถุงมือผา

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลอยางถูกตอง

รองเทานิรภัย และชุดปฏิบัติการชางอยางถูกตอง ครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน

ครบทั้ง 3 ชนิด ใหคะแนน 3 คะแนน สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดถูกตอง 2 ชนิด

3

ใหคะแนน 2 คะแนน สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดถูกตองนอยกวา 2 ชนิด หรือไมสวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ใหคะแนน 0 คะแนน 3

การปฏิบัติงานไดถูกตอง เปนไปตามลําดับขั้นตอน

ถูกตองและเปนไปตามลําดับขั้นตอน ใหคะแนน 3 คะแนน

3

ถูกตอง แตสลับขั้นตอนปฏิบัติงานในบางขั้นตอน ใหคะแนน 2 คะแนน ถูกตอง แตปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 1 คะแนน ไมถูกตอง และปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 4

การเปลี่ยนน้ํามันเบรก

ดูดน้ํามันเบรกเกาจากกระปุกและเติมน้าํ มันเบรกใหมใน ระดับที่เหมาะสมไดถูกตองตามขั้นตอน ใหคะแนน 5 คะแนน ดูดน้ํามันเบรกเกาจากกระปุกไมถูกตองตามขั้นตอน หรือ เติมน้ํามันเบรกใหมในระดับที่ไมเหมาะสม อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 3 คะแนน ดูดน้ํามันเบรกเกาจากกระปุกไมถูกตองตามขั้นตอน และ เติมน้ํามันเบรกใหมในระดับที่ไมเหมาะสม ใหคะแนน 0 คะแนน

165 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

5

คะแนนที่ได


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ลําดับที่

5

รายการตรวจสอบ

การเตรียมไลลมเบรกและไลลมเบรก

ขอกําหนดในการใหคะแนน

ไลลมเบรกไดถูกตองตามขั้นตอน ใหคะแนน 5 คะแนน

คะแนน เต็ม 5

ไลลมเบรกไมถูกตองตามขั้นตอน 1 ขั้นตอน ใหคะแนน 4 คะแนน ไลลมเบรกไมถูกตองตามขั้นตอน 2 ขั้นตอน ใหคะแนน 3 คะแนน ไลลมเบรกไมถูกตองตามขั้นตอน 3 ขั้นตอน ใหคะแนน 2 คะแนน ไลลมเบรกไมถูกตองตามขั้นตอนมากกวา 3 ขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 6

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไดสะอาดเรียบรอย

3

และครบทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย หรือไมครบทุกชิ้น อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย และไมครบทุกชิ้น ใหคะแนน 1 คะแนน ไมทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 7

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลังปฏิบัติงาน

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวนทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน

3

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมถกู ตอง หรือ ไมครบถวน อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมถกู ตองและ ไมครบถวน หรือไมจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 8

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ปฏิบัติงานไดอยางสมบูรณภายในเวลาทีก่ ําหนด ใหคะแนน 3 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดไมเกิน 5 นาที ใหคะแนน 2 คะแนน

166 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

3

คะแนนที่ได


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ลําดับที่

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดในการใหคะแนน

คะแนน เต็ม

คะแนนที่ได

ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดมากกวา 5 นาที ใหคะแนน 1 คะแนน คะแนนเต็ม

28

หมายเหตุ หากผูเขารับการฝกไดรับคะแนน 20 คะแนนขึ้นไป (คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70) ใหผูเขารับการฝก ขอเขารับการทดสอบภาคปฏิบัติได

167 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ใบงาน ใบงานที่ 5.2 การทําความสะอาดดรัมเบรก 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. แกไขขอขัดของ ความเสียหายเบื้องตนของระบบเบรกได 2. ปฏิบัติงานทําความสะอาดดรัมเบรกได 3. ปฏิบัติงานโดยคํานึงถึงความปลอดภัย

2. ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงาน - ระยะเวลาฝกปฏิบัติงานรวม 2 ชั่วโมง 30 นาที

3. คําชี้แจง ใหผูรับการฝกทําความสะอาดดรัมเบรกใหถูกตองตามขั้นตอน

168 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ 5.2 การทําความสะอาดดรัมเบรก 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - ถุงมือผา - รองเทานิรภัย - ชุดปฏิบัติการชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับใบงาน 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้น ที่ปฏิบัติ งาน ไมใหมีอุปกรณ อื่น ๆ ที่ไมเกี่ยวข อง หรือวัสดุอันตราย เชน สายไฟฟ า วางกีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมอุปกรณปฐมพยาบาลเบื้องตน ในกรณีเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัติงาน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตาง ๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1. ประแจขันนอตลอ

จํานวน 1 อัน

2. ประแจวัดแรงบิด

จํานวน 1 อัน

3. ปมลม

จํานวน 1 ตัว

4. ปนเปาลม

จํานวน 1 ตัว

5. รถยนต

จํานวน 1 คัน

6. ลิฟตยกรถ

จํานวน 1 ตัว

หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือวามีสภาพพรอมใชงานหรือไม หากพบวาเครื่องมือชิ้นใดชํารุด ใหรายงานครูฝกใหทราบ 1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน 1. กระดาษทราย

จํานวน 1 ชุด

2. ผาเช็ดทําความสะอาด

จํานวน 1 ผืน 169 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

2. ลําดับการปฏิบัติงาน การทําความสะอาดดรัมเบรก ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คําอธิบาย

1. จอดรถ

จอดรถใหตรงกับตําแหนงของลิฟตยกรถ

2. ดับเครื่องยนต

ดับเครื่องยนตและเขาเกียร กรณีที่เปนรถยนตอัตโนมัติ ใหเขาเกียรใน ตําแหนง P ถาเปนเกียรธรรมดา ใหเขา เกียรที่ตําแหนงเกียรวาง หากดึงเบรกมือไว ตองปลดเบรกมือ

3. คลายนอตลอหลัง

ใชป ระแจถอดนอตลอ หลัง ออกทีล ะตัว และนําลอออกจากดุมลอ

170 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 4. ถอดลอออกจากดุมลอ

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

ยกรถขึ้นจนลอลอยจากพื้น คลายนอตลอ ระวั ง ล อ หล น ทั บ เท า และถอดลอออกจากดุมลอ

หรื อ ส ว นอื่ น ๆ ของ รางกาย

5. ถอดจานดรัมเบรก

ถอดจานดรัมเบรกออก และตรวจสอบ

6. ทําความสะอาดดรัมเบรก

ความบางของผาเบรกดวยสายตา ใชผ า ทรายหยาบ ขัด ทํ า ความสะอาด จานดรัมเบรกและผาเบรก จากนั้น เปา ทํา ความสะอาดชุด ปม ลอ เบรกและจาน เบรก

7. ประกอบชุดดรัมเบรก

ประกอบชุดดรัมเบรกเขาที่ตําแหนงเดิม

171 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 8. ใสลอกลับเขาที่ดุมลอ

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

ดับเครื่องยนต ปรับระดับลิฟตยกรถ ใสลอ ตั้งคาแรงบิดใหตรง กลับเขาที่ดุมลอ ขันนอตลอจนแนน และ ตามที่คูมือซอมประจํา ขันซ้ําดวยประแจวัดแรงบิด

รถยนตกําหนด เพราะ หากขันนอตลอแนนไม เพียงพอ นอตอาจหลุด ขณะเคลื่อนที่จนเกิด อุบัติเหตุ

9. ทดสอบการทํางาน

ติดเครื่องยนต และทดลองเหยียบเบรก ซึ่ง เบรกจะตองไมจม

10. ทํ า ความสะอาดและจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และ ใชผาเช็ดทําความสะอาดบริเวณสถานที่ อุปกรณ

ปฏิ บั ติ ง าน และจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และ อุปกรณใหเรียบรอย

172 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

3. ตรวจสอบการทํางาน ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับที่ 1

รายการตรวจสอบ

เกณฑการพิจารณา

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ความถูกตองตามวิธีการใชงาน และครบถวน

2

สวมใส อุ ป กรณ ป อ งกั น อั น ตรายส ว นบุ ค คล ความถูกตองตามวิธีการใชงาน อยางถูกตองและครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน

3

การปฏิ บั ติ ง านได ถู ก ต อ ง เป น ไปตามลํ า ดั บ ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ขั้นตอน

4

การถอดประกอบชุดดรัมเบรก

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

5

การทําความสะอาดชุดดรัมเบรก

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

6

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

7

การจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ และวั ส ดุ ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน หลังปฏิบัติงาน

8

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ทันเวลาที่กําหนด

173 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ลําดับที่

1

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดในการใหคะแนน

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตองและ ครบถวน

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวนทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน

คะแนน เต็ม 3

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวน หรือ ไมถูกตอง อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน เตรียมเครือ่ งมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวนและไมถกู ตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ไดแก ถุงมือผา

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลอยางถูกตอง

รองเทานิรภัย และชุดปฏิบัติการชางอยางถูกตอง ครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน

ครบทั้ง 3 ชนิด ใหคะแนน 3 คะแนน

3

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดถูกตอง 2 ชนิด ใหคะแนน 2 คะแนน สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดถูกตองนอยกวา 2 ชนิด หรือไมสวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ใหคะแนน 0 คะแนน 3

การปฏิบัติงานไดถูกตอง เปนไปตามลําดับขั้นตอน

ถูกตองและเปนไปตามลําดับขั้นตอน

3

ใหคะแนน 3 คะแนน ถูกตอง แตสลับขั้นตอนปฏิบัติงานในบางขั้นตอน ใหคะแนน 2 คะแนน ถูกตอง แตปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 1 คะแนน ไมถูกตอง และปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 4

การถอดประกอบชุดดรัมเบรก

ถอดประกอบชุดดรัมเบรกไดถูกตองตามขั้นตอน ใหคะแนน 5 คะแนน ถอดประกอบชุดดรัมเบรกไมถูกตองตามขั้นตอน 1 ขั้นตอน ใหคะแนน 3 คะแนน ถอดประกอบชุดดรัมเบรกไมถูกตองตามขั้นตอน 2 ขั้นตอน ใหคะแนน 1 คะแนน ถอดประกอบชุดดรัมเบรกไมถูกตองตามขั้นตอนมากกวา 2 ขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน

174 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

5

คะแนนที่ได


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ลําดับที่

5

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดในการใหคะแนน

การทําความสะอาดชุดดรัมเบรก

ทําความสะอาดชุดดรัมเบรกไดสะอาด และถูกตองตามขั้นตอน ใหคะแนน 5 คะแนน

คะแนน เต็ม

คะแนนที่ได

5

ทําความสะอาดชุดดรัมเบรกไมสะอาด หรือ ไมถูกตองตาม ขั้นตอน อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 3 คะแนน ทําความสะอาดชุดดรัมเบรกไมสะอาด และ ไมถูกตองตาม ขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 6

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไดสะอาดเรียบรอย

3

และครบทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย หรือไมครบทุกชิ้น อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย และไมครบทุกชิ้น ใหคะแนน 1 คะแนน ไมทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 7

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลังปฏิบัติงาน

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวนทุกชิ้น

3

ใหคะแนน 3 คะแนน จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมถกู ตอง หรือ ไมครบถวน อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมถกู ตองและ ไมครบถวน หรือไมจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 8

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ปฏิบัติงานไดอยางสมบูรณภายในเวลาทีก่ ําหนด ใหคะแนน 3 คะแนน

3

ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดไมเกิน 5 นาที ใหคะแนน 2 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดมากกวา 5 นาที ใหคะแนน 1 คะแนน คะแนนเต็ม

28

หมายเหตุ หากผูเขารับการฝกไดรับคะแนน 20 คะแนนขึ้นไป (คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70) ใหผูเขารับการฝก ขอเขารับการทดสอบภาคปฏิบัติได 175 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

รายละเอียดหัวขอวิชาที่ 6 0921030206 ระบบไฟฟาในรถยนต (ใบแนะนํา) 1. ผลลัพธการเรียนรู 1. วิเคราะหขอขัดของ ความเสียหายเบื้องตนของระบบไฟฟาในรถยนตได 2. แกไขขอขัดของ ความเสียหายเบื้องตนของระบบไฟฟาในรถยนตได

2. หัวขอสําคัญ 1. 2. 3. 4. 5.

ปญหาการลงกราวด สัญญาณไฟเลี้ยวกะพริบไมเทากัน ไมทํางาน ไฟเบรกไมติด ไฟหนาติดไมครบ ไมติด ไฟทายไมติด การตรวจสอบฟวสสวางและรีเลย (Relay) ไฟรูปเครื่องยนตติดสวางบนแผงหนาปด (Engine)

3. วิธีการฝกอบรม การฝกอบรมสามารถเลือกได 3 รูปแบบ คือ 1) การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ 2) การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม 3) การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน ดังรายละเอียดในขอแนะนําสําหรับผูรับการฝก

4. อุปกรณชวยฝก อุปกรณชวยฝกสามารถเลือกใชงานได 2 รูปแบบ คือ 1. รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝก เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมิน เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 2. รูปแบบอิเล็กทรอนิกส (Online) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชในการทดสอบ 176 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

- สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ

5. การรับการฝกอบรม 1. ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Post-Test) แลวสงใหครูฝกหรือระบบประเมินผลตามวิธีที่เลือกฝกอบรม 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหผูรับการฝกเขาฝกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝกอบรมภาคทฤษฎี ใหผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝก และฝกหัดทําใบทดสอบทายหัวขอวิชา 3. เมื่อผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝกประจําโมดูลนั้นเขาใจแลว ใหทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) แลวสงให ครูฝกหรือระบบประเมินผลเชนเดียวกับแบบทดสอบกอนฝก 4. การฝกอบรมภาคปฏิบัติ ผูรับการฝกอานและทําความเขาใจกับใบงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน และเกณฑการวัด และประเมินผลงาน 5. ผูรับการฝกเขารับการฝกที่ศูนยฝกอบรมที่ลงทะเบียนหรือจองไว 6. ผูรับการฝกอานระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับความปลอดภัยในการฝกของหนวยฝก 7. ผูรับการฝกฟงคําชี้แจงลําดับการปฏิบัติงานตามใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน 8. ผูรับการฝกปฏิบัติงานตามใบงาน แลวสงใหครูฝกตรวจประเมินผล 9. ผูรับการฝกที่คะแนนผลงานผานเกณฑรอยละ 70 สามารถขอทดสอบเพื่อจบโมดูลที่ฝกกับครูฝก

6. การวัดผล 1. ผูรับการฝกสงแบบทดสอบกอนฝก ใหครูฝกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎีตามวิธีที่เลือกฝกอบรม 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2. ผูรับการฝกสงแบบทดสอบหลังฝก ใหครูฝกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎี โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมิน แบบทดสอบกอนฝก 3. ผูรับการฝกสงผลงานในการฝกภาคปฏิบัติใหครูฝกตรวจประเมินผลงานของผูรับการฝก โดยตองผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จึงจะมีสิทธิ์เขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ ครูฝกกําหนดได

177 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

7. บรรณานุกรม ประสานพงษ หาเรือนชีพ. 2553. งานไฟฟารถยนต. กรุงเทพฯ. ซีเอ็ดยูเคชั่น. อําพล ซื่อตรง. การแกปญหางานชางยนต. กรุงเทพฯ. ศูนยสงเสริมวิชาการ.

178 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ใบขอมูล หัวขอวิชาที่ 6 การวิเคราะห และแกไขขอขัดของของระบบไฟฟาในรถยนต ระบบไฟฟาในรถยนต เปนระบบที่เปลี่ยนพลังงานไฟฟาจากแบตเตอรี่เพื่อใชประโยชนภายรถยนต ซึ่งสามารถนํามาใช ประโยชนไดหลากหลายรูปแบบ ทั้งเพื่อเปนระบบอํานวยความสะดวก ระบบสัญญาณเตือน และระบบไฟสองสวางตาง ๆ เมื่อระบบไฟฟาไดรับความเสียหายอาจสงผลใหเกิดอันตรายได เชน ระบบสัญญาณเตือนตาง ๆ ไมสามารถใชงานไดจนทํา ใหเกิดการชนของรถยนต เนื่องจากสัญญาณไฟเลี้ยวไมทํางาน เปนตน 1. ปญหาการลงกราวด 1.1 หลักการของการลงกราวด การลงกราวด คือ การติดตั้งสายดินเพิ่มเติมจากเดิมที่มาพรอมกับตัวรถ สายดิน (Ground Wire) ที่ติดตั้งเพิ่มเติม จากเดิมที่มาพรอมกับตัวรถ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการทํางานของวงจรไฟฟาและอิเล็กทรอนิกสตาง ๆ ใหสูงขึ้น โดยการ เพิ่มจุดลงดินของแบตเตอรี่ เพื่อใหการไหลเวียนของกระแสไฟฟาเปนไปอยางมีประสิทธิภาพไมติดขัด เปรียบเสมือนกับ การไปขยายทอน้ําใหใหญขึ้นเพื่อใหน้ําไหลไดโดยสะดวกและมีปริมาณเพิ่มขึ้น 1.2 ประโยชนของการลงกราวด เมื่อกระแสไฟฟาเกิดการไหลเวียนไดอยางมีคลองตัว ไมมีการติดขัด จะชวยเพิ่มประสิทธิภาพใหกับพลังงานไฟฟา ใหมีประสิทธิภาพสูงยิ่งขึ้น อุปกรณทางไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส สามารถทํางานไดอยางเต็มประสิทธิภาพ เชน ทําให ประกายไฟในการจุดระเบิดของหัวเทียนเพิ่มสูงขึ้น จึงทําใหเกิดการเผาไหมน้ํามันเชื้อเพลิงไดอยางสมบูรณ เปนผลใหเกิด การประหยัดน้ํามันเชื้อเพลิงขึ้น เครื่องยนตมีกําลังเพิ่มขึ้น เปนตน นอกจากนี้การที่อุปกรณไฟฟาและอิเล็กทรอนิ กส ทํางานไดอยางมีประสิทธิภาพนั้น อาจชวยใหอายุการใชงานของอุปกรณเหลานั้นจึงยืนนานขึ้นตามไปดวย เชน แบตเตอรี่ ซึ่งตามปกติจะมีอายุการใชงานไดเพียงประมาณ 1.5-2 ป ก็อาจยืดอายุแบตเตอรี่ไปไดถึง 3 ป เปนตน ทั้งนี้ประสิทธิภาพ ดังกลาวตองอยูที่การดูแลและบํารุงรักษาเปนอยางดีดวยเชนกัน 1.3 ขอเสียของการลงกราวด ขอเสียของการติดตั้งสาย Ground Wire คือ เปนการเพิ่มคาใชจายในการติดตั้ง ผูติดตั้งควรเลือกสินคาที่มีคุณภาพ และสายไฟนั้นควรจะเปนสายที่ทําจากเงินแท ซึ่งจะมีราคาที่สูง อยางไรก็ตามหากใชสายที่ทําจากทองแดงหรือทองแดง ชุบเงินจะเห็นผลไดนอย หรือแทบจะไมเห็นผล

179 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

1.4 กระแสไฟฟารั่วลงกราวด กระแสไฟฟารั่วในระบบ สามารถตรวจสอบไดจากแบตเตอรี่รถยนต โดยมีหลักการดังนี้ 1) ปดวงจรไฟฟาภายในรถยนตทั้งหมด 2) ถอดขั้วลบของแบตเตอรี่ออก และติดตั้งแอมปมิเตอรแทนโดยตอกันแบบอนุกรม

ภาพที่ 6.1 วงจรไฟฟาแบบอนุกรม 3) ตรวจสอบจากหนาจอแอมปมิเตอร ถารถยนตคันดังกลาวไมพบไฟรั่ว แอมปมิเตอรจะอยูที่เลข 0 แตหาก แอมปมิเตอรไมไดอยูที่เลข 0 ใหสันนิษฐานวา มีกระแสไฟรั่วลงกราวด 4) ถอดแอมปมิเตอรออกรอประมาณ 2 นาที เข็มแอมปมิเตอรจะตกลงมาตามปกติ 5) คนหาจุดที่เกิดกระแสไฟรัว่ ลงกราวด ที่ตําแหนงใด 1.5 แบตเตอรี่ 1.5.1 สภาวะการชารจ แบตเตอรี่ที่ชารจไฟเต็มที่ สารละลายภายในจะมีความเขมขนสูง คือคาความถวงจําเพาะประมาณ 1.28 โดยตรวจสอบดวยไฮโดรมิเตอร เมื่อแบตเตอรี่ถูกใชงานจนไฟหมด ความถวงจําเพาะจะลดลงจนถึง 1.15 1.5.2 สภาพของแบตเตอรี่ การทดสอบสภาพแบตเตอรี่ อาจหมายถึงการทดสอบความจุของแบตเตอรี่โดยการใชเครื่องทดสอบ การปลอยประจุอัตราสูง การใชเครื่องทดสอบควรปฏิบัติตามคูมือผูผลิต การทดสอบขึ้นอยูกับอุปกรณที่ใช แต โดยทั่วไปมักใชภาระเปนสามเทาของจํานวนแอมแปร-ชั่วโมงของแบตเตอรี่ ตัวอยางเชน พิกัดแบตเตอรี่เทากับ 60 แอมแปร-ชั่วโมง จะตั้งภาระประมาณ 180 แอมป

180 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

1.5.3 การทดสอบความถวงจําเพาะของแบตเตอรี่ การวัดคาความถวงจําเพาะของน้ํากรดแบตเตอรี่ (ถ.พ.) ทําไดโดยใชไฮโดรมิเตอรจุมเขาไปในชองเติม น้ํากรดแบตเตอรี่ชองใดชองหนึ่ง บีบลูกยางคางไว เพื่อดูดน้ํากรดเขามาในหลอดแกว จนกระทั่งลูกลอยภายใน หลอดแกวสามารถลอยไดอยางอิสระ จากนั้นอานคาความถวงจําเพาะที่วัดได โดยเทียบจากตาราง ดังนี้ คาความถวงจําเพาะ

ปริมาณประจุไฟแบตเตอรี่

1.260 – 1.280

มีไฟ 100 %

1.230 – 1.250

มีไฟ 75 – 99 %

1.200 – 1.220

มีไฟ 50 – 74 %

1.170 – 1.190

มีไฟ 25 – 49 %

1.160 – ต่ํากวา

ไมมีไฟ

จากนั้นคลายลูกยางเพื่อใหน้ํากรดไหลออกจากไฮโดรมิเตอร กอนเก็บเครื่องมือ และใชผาเช็ดรอบชอง เติมน้ํากรดแบตเตอรี่ใหสะอาด คาความถวงจําเพาะของน้ํากรดแบตเตอรี่ (ถ.พ.) ที่ควรวัดไดโดยปกติควรอยูที่ประมาณ 1.260 – 1.280 ที่อุณหภูมิหอง หากต่ํากวานี้ ตองนําแบตเตอรี่ไปประจุไฟใหม กอนนํามาวัดคาความถวงจําเพาะอีกครั้ง

ภาพที่ 6.2 การใชไฮโดรมิเตอร 181 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

1.5.4 การทดสอบสภาพแบตเตอรี่ 1) ตรวจสอบความถวงจําเพาะของแบตเตอรี่โดยใชไฮโดรมิเตอร -

เมื่อความถวงจําเพาะต่ํากวา 1.210 อยาใชการทดสอบแบบบรรจุประจุแบบอัตราสูง

-

ชารจแบตเตอรี่จนมีประจุเต็มที่

ภาพที่ 6.3 การทดสอบการปลอยประจุอัตราสูง 2) ตอเครื่องทดสอบเขากับแบตเตอรี่ (ถอดสายแบตเตอรี่กอนการทดสอบ) - ตองปดตัวควบคุมภาระกอน - สายสีแดงตอกับขั้วบวกของแบตเตอรี่ -

สายสีดําตอกับขั้วลบของแบตเตอรี่

-

การตอตองยึดกันอยางมั่นคง

3) เปดตัวควบคุมภาระและปรับคาที่อานบนแอมปมิเตอร 4) อานคาที่แสดงบนโวลตมิเตอร - เมื่ออานคาได 9.6 V หรือมากกวานี้แสดงวาแบตเตอรี่มีคุณภาพดี - เมื่ออานคาไดนอยกวา 9.6 V. ใหตรวจสอบคาความถวงจําเพาะอีกครั้งหนึ่งในเซลล ทั้งหมดเพื่อดูความแตกตาง - ถาความแตกตางกันระหวางชองเซลลไมเกิน 0.05 ใหชารจแบตเตอรี่และตรวจสอบ ซ้ําใหมทั้งหมดอีกครั้งหนึ่ง - เปลี่ยนแบตเตอรี่ใหมเมื่อความถวงจําเพาะแตกตางกันมากกวา 0.05 182 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

5) ใสฝาครอบชองเซลล 6) ติดตั้งแบตเตอรี่เขาที่เดิมและใสขั้วสายไฟตามเดิม 2. สัญญาณไฟเลี้ยวกะพริบไมเทากัน ไมทํางาน ไฟเบรกไมติด ระบบไฟสองสวางของรถยนต มีเพื่อใหผูขับขี่สามารถมองเห็นผูใชรถบนทองถนนและผูคนที่สัญจรไปมาบริเวณขางถนน ในเวลากลางคืนได ซึ่งระบบไฟสองสวางของรถยนตประกอบไปดวย ไฟหนา ไฟหรี่ และไฟทาย ซึ่งรวมไปถึงไฟถอยหลัง ไฟเลี้ยว ไฟฉุกเฉิน ไฟสองปาย และไฟเกง โดยมีวิธีการดูแลรักษาดังนี้ 1) ไฟหนา มี 2 ลักษณะ คือ ไฟต่ํา และไฟสูง ซึ่งมีระยะการสองสวางที่ไมเทากัน สําหรับการเปลี่ยนหลอดไฟในกรณี หลอดแฮโลเจน ควรจับที่บริเวณขั้วหลอด เพื่อปองกันรอยนิ้วมือในและความมันของมือ 2) ไฟหรี่และไฟทาย ทําหนาที่บอกตําแหนง และขนาดของตัวรถในเวลากลางคืน สําหรับใหผูใชรถใชถนน รวมกันระมัดระวัง 3) สัญญาณไฟเลี้ยว ทําหนาที่บอกทิศทางในการเลี้ยวของรถยนต ขณะเปดไฟเลี้ยว และกะพริบเพื่อบอกทิศทาง ในการเลี้ยว 4) สัญญาณไฟฉุ กเฉิ น โดยเมื ่อ กดสัญ ญาณไฟฉุก เฉิน ไฟเลี ้ย วจะติดพรอมกัน ทั้งสองดาน ทําหนาที่บ อก ตําแหนงของรถขณะเกิดอุบัติเหตุ หรือจอดรถอยูในบริเวณที่เสี่ยงต อการเกิ ดอุบัติเหตุ 5) ไฟเบรก ติดตั้งอยูบริเวณดานทายของรถยนต โดยไฟเบรกจะทําการสองสวางขึ้นทันทีขณะเบรก ทําหนาที่ปองกัน การชนทายในกรณีรถยนตทําการเบรก 6) ไฟถอยหลัง ติดตั้งอยูบ ริเวณทายรถยนต มีแสงสีขาว สําหรับสวิตชนี้จะอยูภายในกระปุกเกียร ขณะเขาเกีย ร ในตําแหนงถอยหลัง ลูกปนที่อยูภายในสวิตชจะทําการดันสปริงออก เพื่อใหหลอดไฟถอยหลังติดสวาง 7) ไฟสองสวางภายในหองโดยสาร จะติ ด ตั้ ง อยู บ ริ เ วณกึ่ ง กลางห อ งโดยสาร โดยไฟในหองโดยสารนั้นจะ ขึ้นอยูกับสวิตชควบคุม 3 ตําแหนง คือตําแหนง ON, OFF และ DOOR

183 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

3. ไฟหนาติดไมครบ ไมติด ไฟทายไมติด 3.1 การเปลี่ยนหลอดไฟหนารถยนต

ภาพที่ 6.4 หลอดไฟหนารถยนต แบบกึ่งซีลบีม 1) ปดสวิตชจุดระเบิด และสวิตชไฟหนา 2) ถอดหมอน้ํา และกรองอากาศออก 3) ปลดขั้วสายไฟดานหลังโคมไฟหนาออก 4) ดึงยางออก โดยกดที่ปุมบริเวณดานบนของยางหุม 5) บีบสปริงยึดหลอด และถอดหลอดไฟออก 6) เปลี่ยนหลอดไฟ โดยการประกอบหลอดไฟใหมนั้นตองมีชนิดเดียวกัน 7) ปรับตําแหนงปุมของหลอดไฟใหตรงกับรองบากที่โคมไฟหนารถ และยึดดวยสปริงล็อก 8) ประกอบยางหุมโดยใหเครื่องหมาย TOP อยูทางดานบน และกดใหแนน 9) เสียบขั้วตอสายไฟใหเขาจนล็อก 10) ตรวจสอบไฟหนา และทําการปรับตั้งระดับไฟ 3.2 การเปลี่ยนหลอดไฟแบบฐานลิ่ม

ภาพที่ 6.5 หลอดไฟแบบฐานลิ่ม

184 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ไฟแบบฐานลิ่ม เปนหลอดไฟที่มีไสเดียว และตัวนําหลอดจะสัมผัสโดยตรงกับขั้วของเบาหลอด สวนใหญนิยมใชกับไฟหรี่ ไฟเลี้ยวดานขาง และไฟหนาปทม สําหรับวิธีการเปลี่ยนหลอดไฟชนิดนี้ คือ ใหจับบริเวณหลอด จากนั้นดึงออกทางตรง ๆ แตถาเปลี่ยนหลอดใหดันเขาตรง ๆ 3.3 หลอดไฟแบบขั้วสองปลาย

ภาพที่ 6.6 หลอดไฟแบบขั้วสองปลาย หลอดไฟแบบขั้วสองปลายเปนหลอดไฟที่มีไสเดียว และมีขั้วที่ปลายทั้งสองดานของหลอด สวนใหญนิยมใชกับไฟ ในหองโดยสาร สําหรับวิธีการเปลี่ยนหลอดไฟชนิดนี้ คือ ใหดันบริเวณขั้วหลอดดานใดดานหนึ่งเพื่อเปดออกจากนั้นดึง หลอดออก และการเปลี่ยนหลอดไฟใหวางปลายดานหนึ่งเขากับรูของขั้วหลอดแลวจึงดันปลายอีกดานหนึ่งเขารูของหลอด

4. การตรวจสอบฟวสและรีเลย 4.1 การตรวจสอบฟวส ฟวสทําหนาที่ตัดไฟในวงจร สําหรับในกรณีที่ระบบไฟฟาในรถยนตเกิดการลัดวงจร เพื่อเปนการปองกันความเสียหาย ของระบบตาง ๆ โดยฟวสที่ใชในรถยนตนั้น มีอยูดวยกัน 3 รูปแบบ คือ ฟวสแบบเสียบ ฟวสแบบหลอด และฟวสแบบ สาย ถาหากมีวงจรตําแหนงในใดตําแหนงหนึ่งของรถยนตไมทํางาน ควรตรวจสอบฟวสเปนสิ่งแรก โดยการตรวจสอบ บริเวณฝาครอบกลองฟวสทั้งบริเวณหองเครื่องยนตและหองโดยสาร ซึ่งมีวิธีการเปลี่ยนฟวสดังนี้ 1) โดยทั่วไปกลองฟวสจะตั้งอยูใกลกับแบตเตอรี่ ในรถยนตบางรุน กลองฟวสอาจอยูภายในหองโดยสาร บริเวณดานผูขับขี่ หรือผูโดยสารดานหนา 2) เมื่อหงายฝากลองฟวส จะพบแผนผังระบุตําแหนงของฟวสที่ควบคุมระบบตาง ๆ ซึ่งจะแตกตางกันไป ตามรุนของรถยนต ใหตรวจสอบตําแหนงของฟวส โดยดูควบคูไปกับคูมือซอมบํารุงประจํารถยนต

185 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ภาพที่ 6.7 ตําแหนงของฟวสและรีเลยตาง ๆ 3) ใชตัวหนีบดึงฟวสนําฟวสออกมาจากกลอง แลวตรวจสอบฟวสวาทํางานเปนปกติหรือไม โดยมีวิธีการ ตรวจสอบ 2 วิธี ดังนี้ - ตรวจสอบโดยใชสายตา สังเกตดูขดลวดภายในฟวสวาขาดหรือไม - ตรวจสอบโดยใชมัลติมิเตอร ตอสายเครื่องมือวัดเขากับมัลติมิเตอรใหถูกตอง โดยตอสายสีแดง เขากับขั้วบวก และตอสายสีดําเขากับขั้วลบ ปรับยานการวัดไปที่คาความตานทาน R x 1 แตะ ปลายสายทั้งสีแดงและสีดําเขากับขาของฟวส หากเข็มของมัลติมิเตอรขึ้น แสดงวาฟวสไมขาด (ทํางานไดปกติ) แตหากเข็มของมัลติมิเตอรไมขยับ แสดงวาฟวสขาด 4.2 การตรวจสอบรีเลย การตรวจสอบรีเลย มีหลักการดังนี้ 1) เมื่อหงายฝากลองฟวส จะพบแผนผังระบุตําแหนงของฟวสและรีเลยที่ควบคุมระบบตาง ๆ ซึ่งจะแตกตาง กันไปตามรุนของรถยนต ใหตรวจสอบตําแหนงของรีเลย โดยดูควบคูไปกับคูมือซอมบํารุงประจํารถยนต 2) นํารีเลยออกมาจากกลองฟวส และตรวจสอบโดยใชมัลติมิเตอร ซึ่งในกรณีที่เปนรีเลยปกติเปด ขั้วของ รีเลยจะประกอบไปดวยขั้ว 30 (ขั้วไฟเขา) ขั้ว 85 (ขั้วไฟปอนใหรีเลยทํางาน) ขั้ว 86 (ขั้วลงดิน) และ ขั้ว 87 (ขั้วที่ตอไฟออกไปใชงาน) เมื่อตรวจสอบดวยมัลติมิเตอร ขั้ว 85 และ ขั้ว 86 จะตองตอถึงกัน สวนขั้ว 30 และขั้ว 87 จะตองตอไมถึงกัน จึงจะสามารถยืนยันไดวารีเลยใชงานไดปกติ 3) ตรวจสอบสายไฟและขั้วตอ -

สังเกตสวิตชสตารทอยูในตําแหนง off

-

ถอดคอนเน็คเตอรออกจากตัวรีเลย

186 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

-

ใชโอหมมิเตอรตรวจสอบความตอเนื่องระหวางขา 2 (BLK) ของคอนเน็คเตอรกับกราวดที่ตัวถัง จะตองเชื่อมตอถึงกัน ถาใชใหตรวจสอบขั้นตอนถัดไป แตถาไมถึงกันใหตรวจสอบสายไฟและ การเดินสายไฟใหม

-

วัดคาแรงดันตกครอมระหวางขั้วที่ 1 (YEL/BLU) และขั้วที่ 2 (BLK) ของขั้วตอดวยโวลตมิเตอร จะตองมีแรงดันไฟตกครอม ถาไมมีใหตรวจสอบฟวสของ ECU ขนาด 10A ที่กลองฟวส และ ตรวจสอบสายไฟและการเดินสายไฟใหม

-

ตอสายโวลตมิเตอรระหวางขั้วที่ 5 (BLK/YEL) และขั้วที่ 2 (BLK) จากนั้นบิดกุญแจไปที่ตําแหนง ON จะตองมีแรงดันตกครอมเกิดขึ้น ถาไมมี ใหตรวจสอบฟวสหมายเลข 2 และการเดินสายไฟ ระหวางสวิตชสตารทกับกลองฟวส

ภาพที่ 6.8 ขั้วตอรีเลย หลังจากตรวจสอบขางตนแลว แตอาการที่เกิดขึ้นก็ยังเปน ๆ หาย ๆ อาจเกิดมาจากปญหารอยบัดกรีราว ทําให เวลาที่อุณหภูมิสูงตะกั่วมีการออนตัวและแยกออกจากกัน ทําใหนําไฟฟาไดไมดี คือมีคาความตานทานมากขึ้น ทําให 187 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

แรงดันตกครอมนอยลงไมพอที่จะตอหนาสัมผัสรีเลยใหถึงกันไดจึงทําใหสตารทไมติด สามารถถอดตัววงจรของรี เลย ออกมาจากกลอง แลวย้ํารอยบัดกรีที่ราวใหม

5. ไฟรูปเครื่องยนตติดสวางบนแผงหนาปด (Engine) ไฟสัญญาณที่อยูบริเวณแผงหนาปดรถยนต ทําหนาที่แสดงใหผูขับขี่ทราบถึงอาการผิดปกติของระบบตาง ๆ ของรถยนต เมื่อกลองควบคุมพบปญหาภายในรถยนตไฟจะติดขึ้น โดยมีสีของไฟบอกระดับความปลอดภัย หรือความสําคัญของไฟเตือนนั้น ๆ ดังตารางตอไปนี้ ตารางที่ 1.1 สัญลักษณการเตือน สัญลักษณ

สาเหตุการเตือน

สัญลักษณ

สาเหตุการเตือน

เบรกมือ หรือน้ํามันเบรกต่ํา

ระบบไฟชารจของรถยนต

เข็มขัดนิรภัย

น้ํามันเครื่อง

ความรอนสูง

ระบบควบคุมเครื่องยนต

ตําแหนงของฝาถังน้ํามันเชื้อเพลิง

ระบบเบรกปองกันลอล็อก

ไลฝากระจังบังลม

ระบบปรับระดับไฟอัตโนมัติ

อุณหภูมิน้ําหลอเย็นต่ํา

ไฟหรี่ หรือ ไฟหนา

188 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ใบทดสอบ ตอนที่ 1 คําชี้แจง ใหผูรับการฝกทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบขอที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว 1. หากมีกระแสไฟฟารั่วลงกราวด เข็มของแอมปมิเตอรตรวจสอบจะเปนอยางไร ก. เข็มของแอมปมิเตอรจะไมกระดิก ข. เข็มของแอมปมิเตอรจะกระดิก ค. เข็มของมัลติมิเตอรชี้ที่เลข 12 ง. เข็มของมัลติมิเตอรเลื่อนไปทางขวาจนสุดหนาปด 2. การทดสอบสภาพของแบตเตอรี่ขนาด 50 แอมแปร-ชั่วโมง จะตั้งภาระประมาณเทาใด ก. 180 แอมป ข. 200 แอมป ค. 150 แอมป ง. 120 แอมป 3. การตรวจสอบรีเลยดวยมัลติมิเตอร ตองตรวจสอบขั้ว 85 พรอมกับขั้วใด ก. ขั้ว 87 ข. ขั้ว 60 ค. ขั้ว 30 ง. ขั้ว 86

4.

ขอใด คือความหมายของสัญลักษณเตือนนี้ ก. ความรอนสูง ข. น้ํามันเบรกต่ํา ค. ไลฝากระจังบังลม ง. ไฟหรี่ หรือ ไฟทาย 189 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

5. หากตรวจสอบรีเลยดวยโอหมมิเตอรแลวยังมีอาการผิดปกติ ควรทําอยางไร ก. ตรวจสอบรอยบัดกรี ข. ตรวจสอบใหมโดยใชแอมปมิเตอร ค. ตรวจสอบดวยกระแสไฟฟาแบตเตอรี่ ง. ตรวจสอบคาความถวงจําเพาะแบตเตอรี่ ตอนที่ 2 คําชี้แจง ใหผูรับการฝกพิจารณาขอความตอไปนี้วา ถูก หรือ ผิด และทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบ ถูก

ผิด

ขอความ 6.การตรวจสอบฟวสโดยใชมัลติมิเตอร ตองปรับยานการวัดไปที่คาความตานทาน Rx1 7. รอยบั ดกรี ราว ทําใหมีคาความตานทานลดลง และแรงดั น ตกคร อมน อยลง ไมพอที่จะตอหนาสัมผัสรีเลยใหถึงกันได จึงทําใหสตารทไมติด 8. คาความถวงจําเพาะของน้ํากรดแบตเตอรี่ (ถ.พ.) ที่ควรวัดไดโดยปกติควรอยูที่ ประมาณ 1.116 ที่อุณหภูมิหอง 9. การลงกราวด คื อ การติ ด ตั้ ง สายดิ น เพิ่ ม เติ ม จากเดิ ม ที่ ม าพร อ มกั บ ตั ว รถ สายดิ น (Ground Wire) ที่ ติ ด ตั้ ง เพิ่ ม เติ ม จากเดิ ม ที่ ม าพร อ มกั บ ตั ว รถ 10.การใชเครื่องทดสอบการปลอยประจุอัตราสูง โดยทั่วไปมักตั้งภาระเปนสองเทา ของจํานวนแอมแปร-ชั่วโมงของแบตเตอรี่

190 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

กระดาษคําตอบ ตอนที่ 1 ปรนัย ขอ

1 2 3 4 5 ตอนที่ 2 ถูกผิด ขอ

ถูก

ผิด

6 7 8 9 10

191 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ใบงาน ใบงานที่ 6.1 การเปลี่ยนหลอดไฟหนาแบบแฮโลเจน 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. ปฏิบัติงานเกี่ยวกับโครงสรางของระบบไฟฟาในรถยนตได 2. ปฏิบัติงานเปลี่ยนหลอดไฟหนาแบบแฮโลเจนได 3. ปฏิบัติงานโดยคํานึงถึงความปลอดภัย

2. ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงาน - ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงานรวม 2 ชั่วโมง 30 นาที 3. คําชี้แจง ใหผูรับการฝกเปลี่ยนหลอดไฟหนาแบบแฮโลเจน

192 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ 6.1 การเปลี่ยนหลอดไฟหนาแบบแฮโลเจน 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - ถุงมือผา - รองเทานิรภัย - ชุดปฏิบัติการชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับใบงาน 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้นที่ปฏิบัติงาน ไมใหมีอุปกรณอื่น ๆ ที่ไมเกี่ยวของ หรือวัสดุอันตราย เชน สายไฟฟา วางกีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมอุปกรณปฐมพยาบาลเบื้องตน ในกรณีเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัติงาน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตาง ๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1. เครื่องมือชางพื้นฐาน

จํานวน 1 ชุด

2. รถยนต

จํานวน 1 คัน

หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือวามีสภาพพรอมใชงานหรือไม หากพบวาเครื่องมือชิ้นใดชํารุด ใหรายงานครูฝกใหทราบ 1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน 1. ผาเช็ดทําความสะอาด

จํานวน 1 ผืน

2. หลอดไฟหนาแบบแฮโลเจน

จํานวน 1 ชุด

193 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

2. ลําดับการปฏิบัติงาน การเปลี่ยนหลอดไฟหนาแบบแฮโลเจน ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คําอธิบาย

1. จอดรถ

โดยพื้นที่ตองมั่นคงและแข็งแรง

2. ดับเครื่องยนต

ดับเครื่องยนตและเขาเกียร

ขอควรระวัง

กรณีที่เปนรถยนตอัตโนมัติ ให เขาเกียรในตําแหนง P ถาเปน เกียรธรรมดา ใหเขาเกียรที่ ตําแหนงเกียรวาง ดึงเบรกมือ เพื่อปองกันรถไหล 3. เปดฝากระโปรงหนารถ และคลุมผาสําหรับซอม

เปดฝากระโปรงรถพรอมล็ อกไม ล็อกไมค้ํายันฝากระโปรง ค้ํายัน และใชผาคลุมสําหรับซอม หนารถทุกครั้ง เพื่อ คลุ ม ที่ ส ว นหน า รถและบั ง โคลน ปองกันไมใหฝากระโปรง ซาย-ขวา

4. ถอดชุดหลอดไฟหนา

ถอดชุ ด หลอดไฟหน า ดึ ง ขั้ ว สายไฟ และนํ า ยางที ่เ บา ของ หลอดไฟออก

194 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ปด ระหวางปฏิบัติงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คําอธิบาย

5. ใสหลอดไฟดวงใหม

ขอควรระวัง

นําหลอดไฟหนาเดิมออก แลวใส ห า มใช มื อ จั บ หลอดไฟ หลอดใหมเขาไปแทน

ส ว นที่ เ ป น แก ว โดยตรง เพราะจะทํ า ให ห ลอดไฟ เสียหาย

6 ประกอบชุดหลอดไฟหนา

ประกบยางเขาที่เบาของหลอดไฟ และเ ส ีย บ ขั ้ว ส า ย ไ ฟ เ ขา กับ หลอดไฟดวงใหม จากนั้นประกอบ ชุด หลอดไฟหนา เขา ที ่ตํ า แหนง เดิม

7. ทําความสะอาดและจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ

ใชผาเช็ดทําความสะอาดบริเวณ สถานที่ปฏิบัติงาน และจัดเก็บ เครื่องมือและอุปกรณใหเรียบรอย

195 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

3. ตรวจสอบการทํางาน ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับที่ 1

รายการตรวจสอบ

เกณฑการพิจารณา

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตองและ

ความถูกตองตามวิธีการใชงาน

ครบถวน 2

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลอยางถูกตอง ความถูกตองตามวิธีการใชงาน และครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน

3

การปฏิบัติงานไดถูกตอง เปนไปตามลําดับขั้นตอน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

4

การถอดไฟหนาออก

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

5

การประกอบไฟหนา

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

6

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

7

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลังปฏิบัติงาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

8

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ทันเวลาที่กําหนด

196 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ลําดับที่

1

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดในการใหคะแนน

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตองและ ครบถวน

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวนทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน

คะแนน เต็ม 3

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวน หรือ ไมถูกตอง อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน เตรียมเครือ่ งมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวนและไมถกู ตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ไดแก ถุงมือผา

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลอยางถูกตอง

รองเทานิรภัย และชุดปฏิบัติการชางอยางถูกตอง ครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน

ครบทั้ง 3 ชนิด ใหคะแนน 3 คะแนน สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดถูกตอง 2 ชนิด

3

ใหคะแนน 2 คะแนน สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดถูกตองนอยกวา 2 ชนิด หรือไมสวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ใหคะแนน 0 คะแนน 3

การปฏิบัติงานไดถูกตอง เปนไปตามลําดับขั้นตอน

ถูกตองและเปนไปตามลําดับขั้นตอน ใหคะแนน 3 คะแนน

3

ถูกตอง แตสลับขั้นตอนปฏิบัติงานในบางขั้นตอน ใหคะแนน 2 คะแนน ถูกตอง แตปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 1 คะแนน ไมถูกตอง และปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 4

การถอดไฟหนาออก

ถอดไฟหนาออกไดถูกตองตามขั้นตอน

5

ใหคะแนน 5 คะแนน ถอดไฟหนาออกไมถูกตองตามขั้นตอน 1 ขั้นตอน ใหคะแนน 3 คะแนน ถอดไฟหนาออกไมถูกตองตามขั้นตอน 2 ขั้นตอน ใหคะแนน 1 คะแนน ถอดไฟหนาออกไมถูกตองตามขั้นตอนมากกวา 2 ขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 5

การประกอบไฟหนา

ประกอบไฟหนาตามขั้นตอนไดถกู ตองตามขั้นตอน

197 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

5

คะแนนที่ได


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ลําดับที่

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดในการใหคะแนน

คะแนน เต็ม

คะแนนที่ได

ใหคะแนน 5 คะแนน ประกอบไฟหน า ตามขั้ น ตอนไม ถู ก ต อ งตามขั้ น ตอน 1 ขั้นตอน ใหคะแนน 3 คะแนน ประกอบไฟหน า ตามขั้ น ตอนไม ถู ก ต อ งตามขั้ น ตอน 2 ขั้นตอน ใหคะแนน 1 คะแนน ประกอบไฟหน า ตามขั้ น ตอนไม ถู ก ต อ งตามขั้ น ตอน มากกวา 2 ขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 6

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไดสะอาดเรียบรอย และครบทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน

3

ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย หรือไมครบทุกชิ้น อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย และไมครบทุกชิ้น ใหคะแนน 1 คะแนน ไมทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 7

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลังปฏิบัติงาน

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวนทุกชิ้น

3

ใหคะแนน 3 คะแนน จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมถกู ตอง หรือ ไมครบถวน อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมถกู ตองและ ไมครบถวน หรือไมจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 8

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ปฏิบัติงานไดอยางสมบูรณภายในเวลาทีก่ ําหนด ใหคะแนน 3 คะแนน

3

ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดไมเกิน 5 นาที ใหคะแนน 2 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดมากกวา 5 นาที ใหคะแนน 1 คะแนน คะแนนเต็ม

28

หมายเหตุ หากผูเขารับการฝกไดรับคะแนน 20 คะแนนขึ้นไป (คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70) ใหผูเขารับการฝก ขอเขารับการทดสอบภาคปฏิบัติได 198 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ใบงาน ใบงานที่ 6.2 การตรวจสอบรีเลยโดยใชมัลติมิเตอร 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. แกไขขอขัดของ ความเสียหายเบื้องตนของระบบไฟฟาในรถยนตได 2. ปฏิบัติงานตรวจสอบรีเลยโดยใชมัลติมิเตอร 3. ปฏิบัติงานโดยคํานึงถึงความปลอดภัย

2. ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงาน - ระยะเวลาฝกปฏิบัติงานรวม 2 ชั่วโมง

3. คําชี้แจง ใหผูรับการฝกตรวจสอบรีเลยโดยใชมัลติมิเตอรใหถูกตอง

199 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ 6.2 การตรวจสอบรีเลยโดยใชมัลติมิเตอร 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - ถุงมือผา - รองเทานิรภัย - ชุดปฏิบัติการชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับใบงาน 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้น ที่ปฏิบัติ งาน ไมใหมีอุปกรณ อื่น ๆ ที่ไมเกี่ยวข อง หรือวัสดุอันตราย เชน สายไฟฟ า วางกีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมอุปกรณปฐมพยาบาลเบื้องตน ในกรณีเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัติงาน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตาง ๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1. รถยนต

จํานวน 1 คัน

2. มัลติมิเตอร

จํานวน 1 ตัว

3. ผาคลุมรถสําหรับซอม

จํานวน 1 ชุด

4. เครื่องมือชางพื้นฐาน

จํานวน 1 ชุด

หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือวามีสภาพพรอมใชงานหรือไม หากพบวาเครื่องมือชิ้นใดชํารุด ใหรายงานครูฝกใหทราบ 1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน 1. รีเลยชนิด 4 ขา

จํานวน 1 ตัว

2. ผาเช็ดทําความสะอาด

จํานวน 1 ผืน

200 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

2. ลําดับการปฏิบัติงาน การตรวจสอบรีเลยโดยใชมัลติมิเตอร ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1. จอดรถ

คําอธิบาย โดยพื้นที่จอดรถตองมั่นคงและแข็งแรง

2. ดับเครื่องยนต

ดับเครื่องยนตและเขาเกียร

ขอควรระวัง

กรณีที่เปนรถยนตอัตโนมัติ ใหเขาเกียร ในตําแหนง P ถาเปนเกียรธรรมดา ให เขาเกียรที่ตําแหนงเกียรวาง ดึงเบรกมือ ปองกันรถไหล 3. ตรวจสอบการทํางานของสวิตชควบคุมกระจกประตู ทดลองกดสวิ ต ช ก ระจกประตู หากมี กระจกบานใดไมเลื่อนลงเมื่อ กดสวิ ต ช ใหตรวจสอบรีเลย

4. เปดฝากระโปรงหนารถ และคลุมผาสําหรับซอม

เปดฝากระโปรงรถพรอมล็อกไม ค้ํ า ยั น ล็อกไมค้ํายันฝา และใชผาคลุมสําหรับซอมคลุมที่สวนหนา กระโปรงหนารถ รถและบังโคลนซาย-ขวา

ทุกครั้ง เพื่อปองกัน ไมใหฝากระโปรงปด ระหวางปฏิบัติงาน

201 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 5. หารีเลยจากกลองฟวส

คําอธิบาย เป ด กล อ งฟ ว ส แล ว หารี เ ลย ค วบคุ ม กระจกประตู

6. ตรวจสอบรีเลยดวยมัลติมิเตอร

ตรวจสอบรีเลยดวยมัลติมิเตอร โดยปรับ ย า นการวั ด ไปที่ ค า ความต า นทาน R x 10 และสังเกตเข็มของมัลติมิเตอร แตะเข็ ม ของมั ล ติ มิ เ ตอร เ ข า กั บ ขั้ ว 85 และขั้ว 86 จากนั้น อานคาที่วัดได และแตะเข็มของมัล ติ มิเตอรเ ขา กั บ ขั้ ว 87 และขั้ว 30 จากนั้น อานคาที่วัดได

7. เปลี่ยนรีเลย

หากพบวารีเลยเสีย เปลี่ยนรีเลยใหม

202 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน คําอธิบาย 8. ตรวจสอบการทํางานของสวิตชควบคุมกระจกประตู ทดลองกดสวิตชกระจกประตูอีกครั้ง ซึ่ง อีกครั้ง กระจกตองเลื่อนลงเปนปกติ

9. ทําความสะอาดและจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ

ใชผาเช็ดทําความสะอาดบริเวณสถานที่ ปฏิ บั ติ ง าน และจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และ อุปกรณใหเรียบรอย

203 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

3. ตรวจสอบการทํางาน ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับที่ 1

รายการตรวจสอบ

เกณฑการพิจารณา

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ความถูกตองตามวิธีการใชงาน และครบถวน

2

สวมใส อุ ป กรณ ป อ งกั น อั น ตรายส ว นบุ ค คล ความถูกตองตามวิธีการใชงาน อยางถูกตองและครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน

3

การปฏิ บั ติ ง านได ถู ก ต อ ง เป น ไปตามลํ า ดั บ ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ขั้นตอน

4

การตรวจสอบการทํ า งานของสวิ ต ช ค วบคุ ม ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน กระจกประตู

5

การตรวจสอบและเปลี่ยนรีเลย

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

6

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

7

การจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ และวั ส ดุ ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน หลังปฏิบัติงาน

8

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ทันเวลาที่กําหนด

204 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ลําดับที่

รายการตรวจสอบ

1

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตองและ ครบถวน

ขอกําหนดในการใหคะแนน

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวนทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน

คะแนน เต็ม 3

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวน หรือ ไมถูกตอง อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน เตรียมเครือ่ งมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวนและไมถกู ตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ไดแก ถุงมือผา

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลอยางถูกตอง

รองเทานิรภัย และชุดปฏิบัติการชางอยางถูกตอง ครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน

ครบทั้ง 3 ชนิด ใหคะแนน 3 คะแนน

3

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดถูกตอง 2 ชนิด ใหคะแนน 2 คะแนน สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดถูกตองนอยกวา 2 ชนิด หรือไมสวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ใหคะแนน 0 คะแนน 3

การปฏิบัติงานไดถูกตอง เปนไปตามลําดับขั้นตอน

ถูกตองและเปนไปตามลําดับขั้นตอน

3

ใหคะแนน 3 คะแนน ถูกตอง แตสลับขั้นตอนปฏิบัติงานในบางขั้นตอน ใหคะแนน 2 คะแนน ถูกตอง แตปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 1 คะแนน ไมถูกตอง และปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 4

การตรวจสอบการทํางานของสวิตชควบคุมกระจกประตู

ตรวจสอบการทํางานของสวิตชควบคุมกระจกประตูได ถูกตองตามขั้นตอน ใหคะแนน 5 คะแนน

5

ตรวจสอบการทํางานของสวิตชควบคุมกระจกประตูไม ถูกตองตามขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 5

การตรวจสอบและเปลี่ยนรีเลย

ตรวจสอบและเปลีย่ นรีเลยไดถูกตองตามขั้นตอน ใหคะแนน 5 คะแนน ตรวจสอบและเปลีย่ นรีเลยไมถูกตองตามขั้นตอน 1 ขั้นตอน ใหคะแนน 4 คะแนน

205 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

5

คะแนนที่ได


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ลําดับที่

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดในการใหคะแนน

คะแนน เต็ม

คะแนนที่ได

ตรวจสอบและเปลีย่ นรีเลยไมถูกตองตามขั้นตอน 2 ขั้นตอน ใหคะแนน 3 คะแนน ตรวจสอบและเปลีย่ นรีเลยไมถูกตองตามขั้นตอน 3 ขั้นตอน ใหคะแนน 2 คะแนน ตรวจสอบและเปลี่ยนรีเลยไมถูกตองตามขั้นตอนมากกวา 3 ขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 6

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไดสะอาดเรียบรอย

3

และครบทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย หรือไมครบทุกชิ้น อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย และไมครบทุกชิ้น ใหคะแนน 1 คะแนน ไมทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 7

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลังปฏิบัติงาน

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวนทุกชิ้น

3

ใหคะแนน 3 คะแนน จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมถกู ตอง หรือ ไมครบถวน อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมถกู ตองและ ไมครบถวน หรือไมจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 8

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ปฏิบัติงานไดอยางสมบูรณภายในเวลาทีก่ ําหนด ใหคะแนน 3 คะแนน

3

ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดไมเกิน 5 นาที ใหคะแนน 2 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดมากกวา 5 นาที ใหคะแนน 1 คะแนน คะแนนเต็ม

28

หมายเหตุ หากผูเขารับการฝกไดรับคะแนน 20 คะแนนขึ้นไป (คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70) ใหผูเขารับการฝก ขอเขารับการทดสอบภาคปฏิบัติได 206 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

รายละเอียดหัวขอวิชาที่ 7 0921030207 ระบบอํานวยความสะดวก และความปลอดภัย (ใบแนะนํา) 1. ผลลัพธการเรียนรู 1. วิเคราะหขอขัดของ ความเสียหายเบื้องตนของระบบอํานวยความสะดวก และความปลอดภัยได 2. แกไขขอขัดของ ความเสียหายเบื้องตนของระบบอํานวยความสะดวก และความปลอดภัยได

2. หัวขอสําคัญ 1. 2. 3. 4.

ความผิดปกติของระบบเซ็นทรัลล็อก ความผิดปกติของระบบปรับอากาศ ความผิดปกติของไฟเตือนระบบปองกันเบรกล็อก ABS (Anti-Lock Braking System) ความผิดปกติของระบบไฟฟาอุปกรณระบบอํานวยความสะดวก

3. วิธีการฝกอบรม การฝกอบรมสามารถเลือกได 3 รูปแบบ คือ 1) การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ 2) การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม 3) การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน ดังรายละเอียดในขอแนะนําสําหรับผูรับการฝก

4. อุปกรณชวยฝก อุปกรณชวยฝกสามารถเลือกใชงานได 2 รูปแบบ คือ 1. รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝก เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมิน เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 2. รูปแบบอิเล็กทรอนิกส (Online) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 207 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

5. การรับการฝกอบรม 1. ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Post-Test) แลวสงใหครูฝกหรือระบบประเมินผลตามวิธีที่เลือกฝกอบรม 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหผูรับการฝกเขาฝกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝกอบรมภาคทฤษฎี ใหผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝก และฝกหัดทําใบทดสอบทายหัวขอวิชา 3. เมื่อผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝกประจําโมดูลนั้นเขาใจแลว ใหทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) แลวสงให ครูฝกหรือระบบประเมินผลเชนเดียวกับแบบทดสอบกอนฝก 4. การฝกอบรมภาคปฏิบัติ ผูรับการฝกอานและทําความเขาใจกับใบงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน และเกณฑการวัด และประเมินผลงาน 5. ผูรับการฝกเขารับการฝกที่ศูนยฝกอบรมที่ลงทะเบียนหรือจองไว 6. ผูรับการฝกอานระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับความปลอดภัยในการฝกของหนวยฝก 7. ผูรับการฝกฟงคําชี้แจงลําดับการปฏิบัติงานตามใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน 8. ผูรับการฝกปฏิบัติงานตามใบงาน แลวสงใหครูฝกตรวจประเมินผล 9. ผูรับการฝกที่คะแนนผลงานผานเกณฑรอยละ 70 สามารถขอทดสอบเพื่อจบโมดูลที่ฝกกับครูฝก

6. การวัดผล 1. ผูรับการฝกสงแบบทดสอบกอนฝก ใหครูฝกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎีตามวิธีที่เลือกฝกอบรม 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2. ผูรับการฝกสงแบบทดสอบหลังฝก ใหครูฝกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎี โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมิน แบบทดสอบกอนฝก 3. ผูรับการฝกสงผลงานในการฝกภาคปฏิบัติใหครูฝกตรวจประเมินผลงานของผูรับการฝก โดยตองผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จึงจะมีสิทธิ์เขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ ครูฝกกําหนดได

7. บรรณานุกรม อําพล ซื่อตรง. การแกปญหางานชางยนต. กรุงเทพฯ. ศูนยสงเสริมวิชาการ.

208 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ใบขอมูล หัวขอวิชาที่ 7 การวิเคราะหและแกไขขอขัดของระบบอํานวยความสะดวก และความปลอดภัย ในปจ จุ บัน รถยนต ถูกผลิต ออกมาให มีมาตรฐานของระบบอํานวยความสะดวกและความปลอดภัย ซึ่งไดแก ระบบ เซ็นทรัลล็อก ระบบปรับอากาศ ระบบปองกันเบรกล็อก ABS (Anti-Lock Braking System) และระบบอํานวยความสะดวกตาง ๆ 1. ความผิดปกติของระบบเซ็นทรัลล็อก หนาที่ของระบบเซ็น ทรั ลล็ อก คือการเปด – ปดล็อกของประตูทุกบานพรอม ๆ กัน โดยการใชกุญแจหรื อรีโ มทใน การเปด-ปดล็อกประตู ซึ่งระบบเซ็ลทรัลล็อกจะมีชุดรีเลยทําหนาที่คอยสงสัญญาณ เพื่อจายกระแสไฟฟาไปยังชุดมอเตอรที่ ฝ ง อยู ใ นประตู ทุ ก บานเพื่ อ เป ด ล็ อ ก อยู บ ริ เ วณประตู ฝ ง คนขั บ เท า นั้ น ทั้ ง นี้ เ ซ็ น ทรั ล ล็ อ กยั ง มี ใ นรถยนต รุ น เก า ๆ อาทิ MERCEDES-BENZ เปนระบบเซ็นทรัลล็อกแบบใชแรงดันของสุญญากาศ เมื่อเราบิดกุญแจเพื่อเปดหรือปดล็อกประตู วาลว ของชุดสุญญากาศเซ็นทรัลล็อก จะสั่งงานใหชุดล็อกที่ประตูทํางานการทํางานของระบบเซ็นทรัลล็อก 1.1 การทํางานของระบบเซ็นทรัลล็อก รถยนตในรุนปจจุบัน จะมีระบบล็อกประตูรถยนตดวยระบบอิเล็กทรอนิกส ซึ่งทํางานโดยสวิตชควบคุมการล็อก ประตู ถูกติดตั้งอยูบริเวณดานขางของประตูรถยนต และมีสวิตชควบคุมการทํางานทั้งหมด โดยเรียกวา เซ็นทรัลล็อก (central lock) ระบบล็อกประตูรถยนตที่ใชกับรถยนตนั่ง จะมีการทํางานที่แตกตางกันไป ซึ่งขึ้นอยูกับแบบของรถยนต โดยมีหนาที่ดังนี้ 1) ควบคุมการล็อก และปลดล็อกประตูรถยนตดวยสวิตชควบคุมการล็อกประตู (door lock control switch) 2) การล็อก และปลดล็อกประตูรถยนตดวยลูกกุญแจ เชนเดียวกันกับการล็อก และปลดล็อกประตูรถยนต ทั่ว ๆ ไป 3) การปลดล็อกประตูรถยนตมี 2 ขั้นตอน คือ ขั้นตอนแรกของการปลดล็อกประตูรถยนต เมื่อประตูรถยนต ปลดล็อก ประตูบานที่ใชกุญแจจะปลดล็อกเทานั้น และขั้นตอนที่สอง เมื่อมีประตูหนึ่งถูกปลดล็อกประตู รถยนตบานอื่น ๆ จะถูกปลดล็อกดวยเชนกัน 4) ระบบล็อกประตูรถยนตจะไมทํางาน ถาหากมีลูกกุญแจสอดอยูในชองสวิตชจุดระเบิด 5) การรักษาความปลอดภัย เมื่อมีการนําลูกกุญแจออกจากสวิตชจุดระเบิด และประตูทั้งหมดถูกล็อกดวย ลูกกุญแจ หรือไมใชลูกกุญแจ ประตูรถยนตจะไมสามารถถูกปลดล็อกดวยสวิตชควบคุมการล็อกประตู 6) เมื่อสวิตชจุดระเบิดอยูในตําแหนงปด (OFF) ระบบเปด - ปดกระจกของประตูรถยนตดวยไฟฟาจะยั ง ทํางานตอไดอีกประมาณ 60 วินาที

209 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ภาพที่ 7.1 ระบบเซ็นทรัลล็อก 1.2 สวนประกอบของเซ็นทรัลล็อก 1.2.1 สวิตชควบคุมการล็อกประตู (door lock control switch) เปนสวิตชควบคุมการทํางานดวยระบบสัมผัส โดยระบบทั้งหมดที่สวิตชตัวนี้จะติดตั้งอยูบริเวณประตูดานขางของผูขับขี่ สําหรับการล็อกและปลดล็อก ประตูรถยนตทั้งหมด และในรถยนตบางรุนที่มีราคาแพงอาจติดตั้งสําหรับผูโดยสารรถยนตอีกดวย

ภาพที่ 7.2 สวิตชควบคุมการล็อกประตู

210 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

1.2.2 มอเตอรล็อกประตู (door lock motor) บรรจุอยูในประตู หลักการทํางานคือ เฟองล็อกจะถูกสปริงดึง กลับใหอยูในตําแหนงกึ่งกลาง เพื่อปองกันไมใหมอเตอรทํางานขณะที่ปุมล็อกประตูทํางาน ในสวนของ มอเตอรจะเปลี่ยนทิศทางการหมุนและปลดล็อกประตูรถยนต

ภาพที่ 7.3 มอเตอรล็อกประตู 1.2.3 สวิตชตรวจจับการทํางานของกุ ญแจ (key-operated switch) สวิตชนี้บรรจุอยูภายในอุ ปกรณ ล็ อก ประตู หลักการทํางาน คือ จะสงสัญญาณการล็อก หรือปลดล็อกประตูไปยังรีเลยควบคุมการล็อกประตู

ภาพที่ 7.4 สวิตชตรวจจับการทํางานของลูกกุญแจ 1.2.4 สวิตชจับตําแหนงล็อกประตู (door lock position switch) สวิตชนี้บรรจุอยูภายในอุปกรณล็อกประตู ประกอบดวย แผนหนาสัมผัส และแผนฐานสวิตช เมื่อเฟองล็อกอยูในตําแหนงล็อกสวิตชนี้จะตัดวงจร

211 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ภาพที่ 7.5 สวิตชจับตําแหนงล็อกประตู 1.2.5 สวิ ตช เ ตื อนไม ให ป ระตู ถู กล็ อก (key unlock warning switch) สวิตชนี้ถูกติด ตั้ งอยู บ ริเวณบนแกน พวงมาลัย สวิตซจะทํางานขณะมีลูกกุญแจสอดอยูเทานั้น 1.2.6 สวิตชเตือนการปดประตู (door courtesy switch) สวิตชจะทํางานขณะประตูเปดเทานั้น 1.2.7 รีเลยควบคุมการล็อกประตู (door lock control relay) มีสวนประกอบคือ รีเลย 2 ตัวจะควบคุมการไหล ของกระแสไฟฟาที่ไปยังมอเตอรล็อกประตู และวงจรอิเล็กทรอนิกส (IC) คอยควบคุมรีเลยทั้ง 2 ตัว ใหทํางาน สอดคลองกับสัญญาณจากสวิตชตาง ๆ 2. ความผิดปกติของระบบปรับอากาศ ระบบปรั บ อากาศภายในรถยนต มี ห ลั ก การทํ า งานของระบบการทํ า ความเย็ น แบบอั ด ไอ (vapor compression system) โดยคอมเพรสเซอร (compressor) จะทําหนาที่ดูดสารทําความเย็นจากอีวาเปอรเรเตอร (evaporator) สารทํา ความเย็นในขณะนั้นยังมีสถานะเปนแกส อีกทั้งคอมเพรสเซอร (compressor) ยังทําหนาที่อัดสารทําความเย็นออกไปที่ คอนเดนเซอร (condenser) ทํ า ให ส ารทํ า ความเย็ น มี อุ ณ หภู มิ แ ละความดั น เพิ่ ม สู ง ขึ้ น เมื่ อ สารทํ า ความเย็ น ไหลผ า น คอนเดนเซอร (condenser) จะทําใหอุณหภูมิลดต่ําลง และไหลผานไปยังรีซีฟเวอร/ดรายเออร (receiver/dryer) เพื่อกรอง สิ่งสกปรกและความชื้นที่ปนเปอนในสารทําความเย็น โดยสารทําความเย็นไหลผานไปที่แอ็คเพนชั่นวาลว (expansion valve) จากนั้นฉีดเปนฝอยละอองเขาไปในอีวาเปอรเรเตอร (evaporator) ทําใหสารทําความเย็นมีความดันต่ําและดูดความรอนจาก ภายนอก เพื่อใหมีสถานะกลายเปนแกส สงผลใหอุณหภูมิภายนอกลดลง และสารทําความเย็นที่เปนแกสจะถูกดูดเขาไปใน คอมเพรสเซอร (compressor) เพื่อเริ่มตนการทํางานใหมอีกครั้ง

212 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

2.1 น้ํายาแอรไมเต็มระบบ สาเหตุเกิดจากปริมาณน้ํายาแอรในปริมาณนอยที่สงจากคอมเพรสเซอรเพิ่มแรงดัน เขาสูแผงคอยลเย็น ทําให ปริมาณน้ํายาแอรเขาไปดูดจับความรอนภายในหองโดยสารไดนอยลง จึงทําใหภายในหองโดยสารมีอากาศรอน ทั้งทีอ่ าจ เกิดจากการใชงานที่ยาวนาน ขาดการเติมน้ํายาแอร หรือเกิดจากการรั่วซึมของน้ํายาแอรในระบบ 2.2 น้ํายาแอรรั่ว สาเหตุเกิดจากน้ํายาแอรรถยนตรั่วตามจุดเชื่อมตอตาง ๆ หรือในระบบแอรทั้งหมด ทําใหคาแรงดันของน้ํายาแอรตก ซึ่งสามารถตรวจสอบไดโดยนําน้ําสบู หรือผสมแชมพู ตีใหเปนฟองแลวทาตามรอยตอตาง ๆ ของระบบแอร ถามีแรงดัน ฟองสบูจ ะเกิดการลอยตัวขึ้น แสดงวามีรอยรั่วซึมตามรอยตอ หากตรวจพบควรขันใหแนนแลวทําการตรวจสอบอีกครั้ง 2.3 ระบบระบายความรอนบนแผงคอยลรอนระบายความรอนไดไมเพียงพอ

ภาพที่ 7.6 คอยลรอน สาเหตุเกิดจากพัดลมระบายความรอนหนาแผงคอยลรอน ไมทํางานหรือทํางานนอยลง จึงสงผลใหระบบระบาย ความรอนของน้ํายาแอรจากคอมเพรสเซอร ไมมีการระบายความรอนออกจากน้ํายาแอร หรือมีการระบายความรอนออก นอย ทําใหแอรไมเย็นเนื่องจากน้ํายาที่สงเขาคอยลเย็นมีอุณหภูมิสูง ในกรณีนี้ แอรจะเย็นตลอดขณะรถยนตเคลื่อนที่ เพราะมีลมจากภายนอกปะทะเขา มาดานหนาแผงคอยลรอน ชวยระบายความรอนของแผงคอยลร อนได สามารถ ตรวจสอบไดโดยเปดฝากระโปรงดานหนา ติดเครื่องยนต พรอมเปดแอร หากคอมเพรสเซอรทํางาน พัดลมหนาแผง คอยลรอนจะทํางานพรอมกัน แตถาพัดลมหนาแผงคอยลรอนไมทํางาน หรือหมุนชาและมีเสียงดัง แสดงวา พัดลม ดานหนาแผงคอยลรอนเสีย หรือเสื่อมสภาพ

213 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

2.4 ปญหาลูกสูบภายในคอมเพรสเซอรหลวมไมมีกําลังอัด ลูกสูบภายในคอมเพรสเซอรหลวม สงผลใหระดับแรงดันของน้ํายาแอรออกมาจากคอมเพรสเซอรลดลงและแรงดัน ของน้ํายาแอรมีปริมาณนอย ซึ่งไมเพียงพอสําหรับดูดซับความรอนภายในหองโดยสารได ทําใหระบบแอรไมเย็น สามารถ ตรวจสอบไดโดย ขณะติดเครื่องยนต เปดแอร แอรไมเย็นหรือเย็นนอย แกไขโดยการซอมคอมเพรสเซอรแอร 2.5 ปญหาชุดวาลว และดรายเออรอุดตัน ปญหาวาลว และดรายเออร อุดตัน ทํา ใหแรงดัน น้ํายาแอรที่อ อกจากคอมเพรสเซอรไ หลผานเขา คอยล เ ย็ น ไมสะดวก สงผลตอน้ํายาแอรที่ฉีดไมเพียงพอสําหรับการดูดซับความเย็นภายในหองโดยสารได ระบบแอรภายในหอง โดยสารจึงเย็นเปนชวง ๆ หรือไมเย็น สามารถตรวจสอบไดโดย การติดเครื่องยนตเปดแอร แอรมีระดับความเย็นนอย หรือไมเย็นเลย อีกทั้งยังมีเสียงดังบริเวณใกลคอยลเย็นในหองโดยสาร แตเมื่อเรงเครื่องยนตแอรมีระดับความเย็นขึ้น แสดงวา ชุดวาลว และดรายเออรเกิดการอุดตันแลว ทําการแกไขโดย การถอดเปลี่ยนชุดวาลวและดรายเออรใหม

3. ความผิดปกติของไฟเตือน ABS เมื่อหลอดไฟเตือนระบบปองกันเบรกล็อก (ABS) บนแผงหนาปดติดสวางขึ้น ในขณะเดียวกันนั้น กลองควบคุมการทํ างาน หรือกลองเครื่อง (ECU) จะเก็บรหัสขอผิดพลาดไวในหนวยความจํา ดังตารางตอไปนี้ ตัวอยางรถโตโยตา รุน A110 รหัส

การวิเคราะห

สวนที่ผิดปกติ

11

วงจรขาดในวงจรรีเลยโซลีนอยด

- ขดลวดภายในแอกทูเตอร

12

ลัดวงจรในวงจรรีเลยโซลีนอยด

- รีเลยโซลีนอยด

13

วงจรขาดในวงจรรีเลยมอเตอรปม

- ขดลวดและขั้วตอของ

14

ลัดวงจรในวงจรรีเลยมอเตอรปม

21

วงจรขาด หรือลัดวงจรในวงจรรีเลยโซลีนอยด 3 ตําแหนงของลอหนาขวา

22

วงจรขาด หรือลัดวงจรในวงจรรีเลยโซลีนอยด 3 ตําแหนงของลอหนาซาย

- โซลีนอยดแอกทูเอเตอร

23

วงจรขาด หรือลัดวงจรในวงจรรีเลยโซลีนอยด 3 ตําแหนงของลอหลัง

- ขดลวด และขั้วตอของ

วงจรรีเลยโซลินอยด - ECU

วงจรรีเลยโซลีนอยด

หรือลอหลังขวา 24

วงจรขาด หรือลัดวงจรในวงจรรีเลยโซลีนอยด 3 ตําแหนงของลอหลังซาย 214 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

- ECU


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

รหัส

การวิเคราะห

สวนที่ผิดปกติ

31

สัญญาณเซ็นเซอรความเร็วลอหนาขวาผิดพลาด

32

สัญญาณเซ็นเซอรความเร็วลอหนาซายผิดพลาด

- เซ็นเซอรความเร็ว

33

สัญญาณเซ็นเซอรความเร็วลอหลังขวาผิดพลาด

- โรเตอรเซ็นเซอรความเร็ว

34

สัญญาณเซ็นเซอรความเร็วลอหลังซายผิดพลาด

- ขดลวด และขั้วตอของเซ็นเซอร

35

วงจรขาดในเซ็นเซอรความเร็วหนาซาย และหลังขวา

36

วงจรขาดในเซ็นเซอรความเร็วหนาขวา และหลังซาย

- ECU

37

โรเตอรเซ็นเซอรความเร็วหนาซาย และขวาเสีย

- การติดตั้งเซ็นเซอร

ความเร็ว

- โรเตอรเซ็นเซอรความเร็วหนา - ECU 4. ระบบอํานวยความสะดวกอื่น ๆ 4.1 ระบบมาตรวัดอัจฉริยะ

ภาพที่ 7.7 ระบบมาตรวัดอัจฉริยะ มาตรวัดอัจฉริยะเปนมาตรวัดที่ใชในระบบมาตรวัดความเร็วรอบเครื่อง โดยมีทั้งแบบแอนะล็อก หรือดิจิทัล แตใน การแสดงคานั้ นจะเปนแบบดิจิ ทัล นอกจากนี้ยังสามารถแสดงอัตราสิ้น เปลืองเชื้อเพลิงของระยะทางที่น้ํา มัน ในถั ง สามารถใชวิ่งตอไปได แจงเตือนการเขาตรวจเช็คระยะ และบอกอุณหภูมิภายนอกรถได เปนตน

215 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

4.2 ระบบ Voice Control หรือระบบบลูทูธ

ภาพที่ 7.8 ระบบควบคุมสั่งการดวยเสียง ระบบนี้เปนระบบทีใ่ ชสําหรับการควบคุมการสั่งการดวยเสียง สามารถสั่งใหโทรศัพทมือถือโทรออก สั่งใหเปดเครื่อง เลนวิทยุ และเครื่องปรับอากาศ ไดอยางสะดวกสบายและปลอดภัย เนื่องจากไมตองละสายตาจากการขับขี่ 4.3 ปุมกด Start

ภาพที่ 7.9 ปุมกดเริ่มการทํางาน (ปุมกดสตารท) ปุมกด start เปนอุปกรณมาตรฐานในรถหลาย ๆ รุน รวมไปถึงในรถยนตที่ไมมีปุมสตารท ระบบการทํางาน คือ ใช กุญแจที่ประตูรถจะสามารถเหยียบเบรกและกดปุมสตารทรถได แตถาหากไมเหยียบเบรก สามารถใชงานไดเพียงเครื่องเสียง ภายในรถ ระบบแอร ระบบไฟฟา เปนตน

216 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

4.4 ระบบนําทาง

ภาพที่ 7.10 ระบบนําทางแบบเนวิเกเตอร ระบบนํ า ทางแบบเนวิ เ กเตอร (Navigator) หรื อ GPS (Global Positioning System) เป น ระบบที่ ส ามารถ แสดงผลขอมูลจราจรไดทันทีขณะเดินทาง

217 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ใบทดสอบ ตอนที่ 1 คําชี้แจง ใหผูรับการฝกทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบขอที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว 1. ขอใด คือ สาเหตุที่ระดับน้ํายาแอรออกจากคอมเพรสเซอรลดลง ก. กรองน้ํายาแอรเสื่อมสภาพ ข. ซีลเพลาคอมเพรสเซอรหลวม ค. พัดลมระบายความรอนเสีย ง. สวิตชเปดปดแอรชํารุด 2. การตรวจสอบน้ํายาแอรรั่ว สามารถทําไดโดยใชวัสดุใด ก. มัลติมิเตอร ข. เชือกไนลอน ค. น้ําสบู ง. ปนเปาลม 3. ชุดวาลวและดรายเออรอุดตัน จะทําใหเกิดปญหาใด ก. แอรเย็นเปนชวง ๆ หรือไมเย็น ข. แอรเย็นมาก ปรับลดแอรไมได ค. แอรเปดไมติด ง. ลมแอรออกเปนลมรอน 4. สถานการณใดตอไปนี้ที่ระบบล็อกประตูรถยนตจะไมทํางาน ก. น้ํามันเชื้อเพลิงเหลือต่ํากวาระดับ ข. มีลูกกุญแจสอดอยูในชองสวิตชจุดระเบิด ค. สวิตชจุดระเบิดอยูที่ตําแหนง ON ง. แบตเตอรี่รถยนตเสื่อม

218 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

5. สัญญาณเซ็นเซอรความเร็วลอซายผิดพลาด เกิดจากความผิดปกติที่สวนใด ก. ฟวสโซลีนอยด ข. รีเลยโซลีนอยด ค. โซลีนอยดแอกทูเอเตอร ง. โรเตอรเซ็นเซอร ตอนที่ 2 คําชี้แจง ใหผูรับการฝกพิจารณาขอความตอไปนี้วา ถูก หรือ ผิด และทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบ ถูก

ผิด

ขอความ 6. รี เ ลย ควบคุ มการล็อกประตู (door lock control relay) มี ส ว นประกอบคือ รีเลย 2 ตัวจะควบคุมการไหลของกระแสไฟฟาที่ไปยังมอเตอรล็อกประตู และวงจร อิเล็กทรอนิกส 7. เมื่อมีการนําลูกกุญแจออกจากสวิตชจุดระเบิด และประตูทั้งหมดถูกล็อกดวยลูก กุ ญ แจ หรือไม ใชลูกกุญ แจ ประตูร ถยนตจ ะไมส ามารถถูกปลดล็อกดว ยสวิตช ควบคุมการล็อกประตู 8. ระบบระบายความรอนชํารุด เกิดจากน้ํายาแอรรถยนตรั่วตามจุดเชื่อมตอตางๆ หรือในระบบแอรทั้งหมด ทําใหคาแรงดันของน้ํายาแอรตก 9.หากติ ด เครื่ อ งยนต เป ด แอร แล ว แอร มี ร ะดั บ ความเย็ น นอยหรือไมเย็นเลย อีกทั้ง ยังมีเสียงดังบริเวณใกลคอยลเย็นในหองโดยสาร แตเมื่อเรงเครื่องยนตแอรมี ระดับความเย็นขึ้น แสดงวา ชุดวาลว และดรายเออรอุดตัน 10. คอมเพรสเซอร ทําหนาที่ดูดสารทําความเย็นจากคอนเดนเซอร สารทําความเย็น ในขณะนั้นยังมีสถานะเปนแกส อีกทั้งคอมเพรสเซอร ยังทําหนาที่อัดสารทําความ เย็นออกไปที่อีวาเปอรเรเตอร

219 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

กระดาษคําตอบ ตอนที่ 1 ปรนัย ขอ

1 2 3 4 5 ตอนที่ 2 ถูกผิด ขอ

ถูก

ผิด

6 7 8 9 10

220 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ใบงาน ใบงานที่ 7.1 การเปลี่ยนมอเตอรพัดลมระบายความรอนของระบบปรับอากาศที่หมอน้ํา 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. แกไขขอขัดของ ความเสียหายเบื้องตนของระบบอํานวยความสะดวก และความปลอดภัยได 2. ปฏิบัติงานเปลี่ยนมอเตอรพัดลมระบายความรอนของระบบปรับอากาศที่หมอน้ําได 3. ปฏิบัติงานโดยคํานึงถึงความปลอดภัย

2. ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงาน - ระยะเวลาฝกปฏิบัติงานรวม 2 ชั่วโมง 30 นาที

3. คําชี้แจง ใหผูรับการฝกปฏิบัติงานเปลี่ยนมอเตอรพัดลมระบายความรอนของระบบปรับอากาศที่หมอน้ําใหถูกตอง

221 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ 7.1 การเปลี่ยนมอเตอรพัดลมระบายความรอนของระบบปรับอากาศที่หมอน้ํา 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - ถุงมือผา - รองเทานิรภัย - ชุดปฏิบัติการชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับใบงาน 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้น ที่ปฏิบัติ งาน ไมใหมีอุปกรณ อื่น ๆ ที่ไมเกี่ยวข อง หรือวัสดุอันตราย เชน สายไฟฟ า วางกีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมอุปกรณปฐมพยาบาลเบื้องตน ในกรณีเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัติงาน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตาง ๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1. รถยนต

จํานวน 1 คัน

2. ผาคลุมรถสําหรับซอม

จํานวน 1 ชุด

3. เครื่องมือชางพื้นฐาน

จํานวน 1 ชุด

4. มัลติมิเตอร

จํานวน 1 ตัว

หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือวามีสภาพพรอมใชงานหรือไม หากพบวาเครื่องมือชิ้นใดชํารุด ใหรายงานครูฝกใหทราบ 1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน 1. ผาเช็ดทําความสะอาด

จํานวน 1 ผืน

2. มอเตอรพัดลมระบายความรอน

จํานวน 1 ชุด

222 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

2. ลําดับการปฏิบัติงาน การเปลี่ยนมอเตอรพัดลมระบายความรอนของระบบปรับอากาศที่หมอน้ํา ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คําอธิบาย

1. จอดรถ

โดยพื้นที่ตองมั่นคงและแข็งแรง

2. ดับเครื่องยนต

ดับเครื่องยนตและเขาเกียร

ขอควรระวัง

กรณีที่เปนรถยนตอัตโนมัติ ใหเขาเกียรใน ตําแหนง P ถาเปนเกียรธรรมดา ใหเขา เกียรที่ตําแหนงเกียรวาง ดึงเบรกมือ เพื่อปองกันรถไหล 3. เปดฝากระโปรงหนารถ และคลุมผาสําหรับซอม

เป ด ฝากระโปรงรถพร อ มล็ อ กไม ค้ํ า ยั น ล็อกไมค้ํายันฝา และใชผาคลุมสําหรับซอมคลุมที่สวนหนา กระโปรงหนารถ รถและบังโคลนซาย-ขวา

ทุกครั้ง เพื่อปองกัน ไมใหฝากระโปรงปด ระหวางปฏิบัติงาน

4. ดึงขั้วสายไฟ

ดึ ง ขั้ ว สายไฟที่ ต อ เข า กั บ พั ด ลมระบาย ความรอนออก

223 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 5. วัดแรงดันไฟฟา

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

ติดเครื่องยนต และเปดแอร ใช มั ล ติ มิ เ ตอร วั ด แรงดั น ไฟฟ า กระแส ตรงที ่ป ลั ๊ก ตัว เมีย ของพั ด ลมระบาย ความรอน ซึ่งจะตองมีคาเทากับ 12 โวลต

6. คลายนอตยึดพัดลมระบายความรอน

ดับ เครื ่อ งยนต คลายนอตยึ ด พั ด ลม ระวังความรอนจาก ระบายความรอน และนําพัดลมออก

หมอน้ําหลังดับ เครื่องยนต

7. คลายนอตยึดใบพัดกับมอเตอร

คลายนอตยึดใบพัดกับมอเตอรออก และ ระวั ง ใบพั ด แตกหรื อ นําใบพัดออก

หั ก และระวั ง ใบพั ด บาดมือหรือสวนอื่น ๆ ของรางกาย

224 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

8. เปลี่ยนมอเตอรพัดลมระบายความรอน

คลายนอตยึ ด มอเตอร ออก และเปลี่ ย น มอเตอร ตั ว ใหม จากนั้ น ขั น นอตยึ ด มอเตอรใหแนน

9. ขันนอตยึดใบพัดกับมอเตอร

ประกอบใบพั ด เข า กั บ มอเตอร แล ว ขั น นอตยึดใหแนน

10. ขันนอตยึดพัดลมระบายความรอน

ประกอบพัดลมระบายความรอนกลับเขา ที่ตําแหนงเดิม แลวขันนอตยึดใหแนน

225 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

11. ทํ า ความสะอาดและจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และ ใชผาเช็ดทําความสะอาดบริเวณสถานที่ อุปกรณ

ปฏิ บั ติ ง าน และจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และ อุปกรณใหเรียบรอย

226 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

3. ตรวจสอบการทํางาน ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับที่ 1

รายการตรวจสอบ

เกณฑการพิจารณา

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตองและ

ความถูกตองตามวิธีการใชงาน

ครบถวน 2

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลอยางถูกตอง ความถูกตองตามวิธีการใชงาน และครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน

3

การปฏิบัติงานไดถูกตอง เปนไปตามลําดับขั้นตอน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

4

การวัดแรงดันไฟฟาที่พัดลมระบายความรอน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

5

การถอดประกอบมอเตอรพัดลมระบายความรอน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

6

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

7

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลังปฏิบัติงาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

8

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ทันเวลาที่กําหนด

227 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ลําดับที่

1

รายการตรวจสอบ

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตองและ ครบถวน

ขอกําหนดในการใหคะแนน

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวนทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน

คะแนน เต็ม 3

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวน หรือ ไมถูกตอง อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน เตรียมเครือ่ งมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวนและไมถกู ตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ไดแก ถุงมือผา

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลอยางถูกตอง

รองเทานิรภัย และชุดปฏิบัติการชางอยางถูกตอง ครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน

ครบทั้ง 3 ชนิด ใหคะแนน 3 คะแนน

3

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดถูกตอง 2 ชนิด ใหคะแนน 2 คะแนน สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดถูกตองนอยกวา 2 ชนิด หรือไมสวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ใหคะแนน 0 คะแนน 3

การปฏิบัติงานไดถูกตอง เปนไปตามลําดับขั้นตอน

ถูกตองและเปนไปตามลําดับขั้นตอน

3

ใหคะแนน 3 คะแนน ถูกตอง แตสลับขั้นตอนปฏิบัติงานในบางขั้นตอน ใหคะแนน 2 คะแนน ถูกตอง แตปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 1 คะแนน ไมถูกตอง และปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 4

การวัดแรงดันไฟฟาที่พัดลมระบายความรอน

วัดแรงดันไฟฟาดวยมัลติมิเตอรไดถูกตองตามขั้นตอน ใหคะแนน 5 คะแนน

5

วัดแรงดันไฟฟาดวยมัลติมิเตอรไมถูกตองตามขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 5

การถอดประกอบมอเตอรพัดลมระบายความรอน

ถอดประกอบมอเตอรพัดลมระบายความรอนไดถูกตองตาม ขั้นตอน ใหคะแนน 5 คะแนน ถอดประกอบมอเตอรพัดลมระบายความรอนไมถูกตองตาม ขั้นตอน 1 ขั้นตอน ใหคะแนน 4 คะแนน

228 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

5

คะแนนที่ได


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ลําดับที่

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดในการใหคะแนน

คะแนน เต็ม

คะแนนที่ได

ถอดประกอบมอเตอรพัดลมระบายความรอนไมถูกตองตาม ขั้นตอน 2 ขั้นตอน ใหคะแนน 3 คะแนน ถอดประกอบมอเตอรพัดลมระบายความรอนไมถูกตองตาม ขั้นตอน 3 ขั้นตอน ใหคะแนน 2 คะแนน ถอดประกอบมอเตอรพัดลมระบายความรอนไมถูกตองตาม ขั้นตอนมากกวา 3 ขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 6

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไดสะอาดเรียบรอย

3

และครบทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย หรือไมครบทุกชิ้น อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย และไมครบทุกชิ้น ใหคะแนน 1 คะแนน ไมทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 7

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลังปฏิบัติงาน

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวนทุกชิ้น

3

ใหคะแนน 3 คะแนน จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมถกู ตอง หรือ ไมครบถวน อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมถกู ตองและ ไมครบถวน หรือไมจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 8

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ปฏิบัติงานไดอยางสมบูรณภายในเวลาทีก่ ําหนด ใหคะแนน 3 คะแนน

3

ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดไมเกิน 5 นาที ใหคะแนน 2 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดมากกวา 5 นาที ใหคะแนน 1 คะแนน คะแนนเต็ม

28

หมายเหตุ หากผูเขารับการฝกไดรับคะแนน 20 คะแนนขึ้นไป (คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70) ใหผูเขารับการฝก ขอเขารับการทดสอบภาคปฏิบัติได 229 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ใบงาน ใบงานที่ 7.2 การเปลี่ยนมอเตอรกระจกมองขาง 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. แกไขขอขัดของ ความเสียหายเบื้องตนของระบบอํานวยความสะดวก และความปลอดภัยได 2. ปฏิบัติงานเปลี่ยนมอเตอรกระจกมองขางได 3. ปฏิบัติงานโดยคํานึงถึงความปลอดภัย

2. ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงาน - ระยะเวลาฝกปฏิบัติงานรวม 2 ชั่วโมง 30 นาที

3. คําชี้แจง ใหผูรับการฝกปฏิบัติงานเปลี่ยนมอเตอรกระจกมองขางรถยนต

230 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ 7.2 การเปลี่ยนมอเตอรกระจกมองขาง 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - ถุงมือผา - รองเทานิรภัย - ชุดปฏิบัติการชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับใบงาน 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้นที่ปฏิบัติงาน ไมใหมีอุปกรณอื่น ๆ ที่ไมเกี่ยวของ หรือวัสดุอันตราย เชน สายไฟฟา วางกีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมอุปกรณปฐมพยาบาลเบื้องตน ในกรณีเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัติงาน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตาง ๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1. รถยนต

จํานวน 1 คัน

2. ผาคลุมรถสําหรับซอม

จํานวน 1 ชุด

3. เครื่องมือชางพื้นฐาน

จํานวน 1 ชุด

4. ประแจบล็อก

จํานวน 1 ชุด

หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือวามีสภาพพรอมใชงานหรือไม หากพบวาเครื่องมือชิ้นใดชํารุด ใหรายงานครูฝก ใหทราบ 1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน 1. ผาเช็ดทําความสะอาด

จํานวน 1 ผืน

2. มอเตอรกระจกมองขาง

จํานวน 1 ชุด

231 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

2. ลําดับการปฏิบัติงาน การเปลี่ยนมอเตอรกระจกมองขาง ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คําอธิบาย

1. จอดรถ

โดยพื้นที่ตองมั่นคงและแข็งแรง

2. ดับเครื่องยนต

ดับเครื่องยนตและเขาเกียร

ขอควรระวัง

กรณีที่เปนรถยนตอัตโนมัติ ใหเขาเกียร ในตําแหนง P ถาเปนเกียรธรรมดา ให เขาเกียรที่ตําแหนงเกียรวาง ดึงเบรกมือ เพื่อปองกันรถไหล 3. เปดฝากระโปรงหนารถ และคลุมผาสําหรับซอม

ใช ผ า คลุ ม สํ า หรั บ ซ อ ม คลุ ม ที่ บ ริ เ วณ ล็อกไมค้ํายันฝา เบาะนั่ง พวงมาลัย และหัวเกียร

กระโปรงหนารถ ทุกครั้ง เพื่อปองกัน ไมใหฝากระโปรงปด ระหวางปฏิบัติงาน

4. เปดแผนปดกระจกมองขาง

ใชไขควงปากแบน งัดแผนปดกระจกมอง ใ ช ผ า ร อ ง บ ร ิเ ว ณ ขางดานใน

กระจกมองขา ง กอ น งัดแผนปดกระจก เพื่อ ปอ งกัน รอยขีด ขว น จากการใชไขควง

232 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 5. ถอดกระจกมองขาง

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

ใชป ระแจบล็อ กคลายนอตยึด กระจก ใช มื อ รองที่ ตั ว กระจก มองขางออก ดึงสายไฟออกจากมอเตอร ก อ น ค ล า ย น อ ต ตั ว จากนั้ น ใช ไ ขควงแฉกคลายนอตยึ ด สุดทาย เพราะกระจก มอเตอร และนํามอเตอรออก

จะหลุ ด ทั น ที ห ลั ง จาก คลายนอต

6. เปลี่ยนมอเตอรกระจกมองขาง

เปลี ่ย นมอเตอรต ัว ใหม ขั น นอตยึ ด มอเตอรใหแนน และเสียบสายไฟเข าที่ มอเตอร

7. ทดสอบการทํางาน

กดสวิตชพับกระจกมองขาง ซึ่งกระจก จะตองพับเก็บเปนปกติ

8. ประกอบกระจกมองขาง

ขันนอตยึดกระจกมองขาง และขันนอต ยึดแผนปดกระจกมองขางใหแนน

233 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

9. ทําความสะอาดและจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ ใชผาเช็ดทําความสะอาดบริเวณสถานที่ ปฏิ บั ติ ง าน และจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และ อุปกรณใหเรียบรอย

3. ตรวจสอบการทํางาน ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับที่ 1

รายการตรวจสอบ

เกณฑการพิจารณา

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตองและ

ความถูกตองตามวิธีการใชงาน

ครบถวน 2

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลอยางถูกตอง ความถูกตองตามวิธีการใชงาน และครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน

3

การปฏิบัติงานไดถูกตอง เปนไปตามลําดับขั้นตอน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

4

การถอดประกอบมอเตอรกระจกมองขาง

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

5

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

6

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลังปฏิบัติงาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

7

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ทันเวลาที่กําหนด

234 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ลําดับที่

1

รายการตรวจสอบ

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตองและ ครบถวน

ขอกําหนดในการใหคะแนน

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวนทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน

คะแนน เต็ม 3

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวน หรือ ไมถูกตอง อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน เตรียมเครือ่ งมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวนและไมถกู ตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ไดแก ถุงมือผา

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลอยางถูกตอง

รองเทานิรภัย และชุดปฏิบัติการชางอยางถูกตอง ครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน

ครบทั้ง 3 ชนิด ใหคะแนน 3 คะแนน สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดถูกตอง 2 ชนิด

3

ใหคะแนน 2 คะแนน สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดถูกตองนอยกวา 2 ชนิด หรือไมสวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ใหคะแนน 0 คะแนน 3

การปฏิบัติงานไดถูกตอง เปนไปตามลําดับขั้นตอน

ถูกตองและเปนไปตามลําดับขั้นตอน ใหคะแนน 3 คะแนน

3

ถูกตอง แตสลับขั้นตอนปฏิบัติงานในบางขั้นตอน ใหคะแนน 2 คะแนน ถูกตอง แตปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 1 คะแนน ไมถูกตอง และปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 4

การถอดประกอบมอเตอรกระจกมองขาง

ถอดประกอบมอเตอรกระจกมองขางไดถูกตองตามขั้นตอน ใหคะแนน 5 คะแนน ถอดประกอบมอเตอรกระจกมองขางไมถูกตองตามขั้นตอน 1 ขั้นตอน ใหคะแนน 4 คะแนน ถอดประกอบมอเตอรกระจกมองขางไมถูกตองตามขั้นตอน 2 ขั้นตอน ใหคะแนน 3 คะแนน ถอดประกอบมอเตอรกระจกมองขางไมถูกตองตามขั้นตอน 3 ขั้นตอน ใหคะแนน 2 คะแนน ถอดประกอบมอเตอรกระจกมองขางไมถูกตองตามขั้นตอน

235 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

5

คะแนนที่ได


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ลําดับที่

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดในการใหคะแนน

คะแนน เต็ม

คะแนนที่ได

มากกวา 3 ขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 5

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไดสะอาดเรียบรอย

3

และครบทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย หรือไมครบทุกชิ้น อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย และไมครบทุกชิ้น ใหคะแนน 1 คะแนน ไมทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 6

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลังปฏิบัติงาน

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวนทุกชิ้น

3

ใหคะแนน 3 คะแนน จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมถกู ตอง หรือ ไมครบถวน อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมถกู ตองและ ไมครบถวน หรือไมจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 7

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ปฏิบัติงานไดอยางสมบูรณภายในเวลาทีก่ ําหนด ใหคะแนน 3 คะแนน

3

ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดไมเกิน 5 นาที ใหคะแนน 2 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดมากกวา 5 นาที ใหคะแนน 1 คะแนน คะแนนเต็ม

23

หมายเหตุ หากผูเขารับการฝกไดรับคะแนน 16 คะแนนขึ้นไป (คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70) ใหผูเขารับการฝก ขอเขารับการทดสอบภาคปฏิบัติได

236 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

รายละเอียดหัวขอวิชาที่ 8 0921030208 ตัวถังรถยนต และสีรถยนต (ใบแนะนํา) 1. ผลลัพธการเรียนรู 1. วิเคราะหขอขัดของ ความเสียหายเบื้องตนของตัวถังรถยนต และสีรถยนตได 2. แกไขขอขัดของ ความเสียหายเบื้องตนของตัวถังรถยนต และสีรถยนต

2. หัวขอสําคัญ 1. รถโดนละอองสี 2. รถโดนยางมะตอย 3. รถโดนคราบโคลน

3. วิธีการฝกอบรม การฝกอบรมสามารถเลือกได 3 รูปแบบ คือ 1) การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ 2) การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม 3) การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน ดังรายละเอียดในขอแนะนําสําหรับผูรับการฝก

4. อุปกรณชวยฝก อุปกรณชวยฝกสามารถเลือกใชงานได 2 รูปแบบ คือ 1. รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝก เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมิน เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 2. รูปแบบอิเล็กทรอนิกส (Online) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 237 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

5. การรับการฝกอบรม 1. ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Post-Test) แลวสงใหครูฝกหรือระบบประเมินผลตามวิธีที่เลือกฝกอบรม 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหผูรับการฝกเขาฝกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝกอบรมภาคทฤษฎี ใหผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝก และฝกหัดทําใบทดสอบทายหัวขอวิชา 3. เมื่อผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝกประจําโมดูลนั้นเขาใจแลว ใหทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) แลวสงให ครูฝกหรือระบบประเมินผลเชนเดียวกับแบบทดสอบกอนฝก 4. การฝกอบรมภาคปฏิบัติ ผูรับการฝกอานและทําความเขาใจกับใบงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน และเกณฑการวัด และประเมินผลงาน 5. ผูรับการฝกเขารับการฝกที่ศูนยฝกอบรมที่ลงทะเบียนหรือจองไว 6. ผูรับการฝกอานระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับความปลอดภัยในการฝกของหนวยฝก 7. ผูรับการฝกฟงคําชี้แจงลําดับการปฏิบัติงานตามใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน 8. ผูรับการฝกปฏิบัติงานตามใบงาน แลวสงใหครูฝกตรวจประเมินผล 9. ผูรับการฝกที่คะแนนผลงานผานเกณฑรอยละ 70 สามารถขอทดสอบเพื่อจบโมดูลที่ฝกกับครูฝก

6. การวัดผล 1. ผูรับการฝกสงแบบทดสอบกอนฝก ใหครูฝกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎีตามวิธีที่เลือกฝกอบรม 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2. ผูรับการฝกสงแบบทดสอบหลังฝก ใหครูฝกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎี โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมิน แบบทดสอบกอนฝก 3. ผูรับการฝกสงผลงานในการฝกภาคปฏิบัติใหครูฝกตรวจประเมินผลงานของผูรับการฝก โดยตองผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จึงจะมีสิทธิ์เขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ ครูฝกกําหนดได

7. บรรณานุกรม ประสานพงษ หาเรือนชีพ. 2553. งานไฟฟารถยนต. กรุงเทพฯ. ซีเอ็ดยูเคชั่น. อําพล ซื่อตรง. การแกปญหางานชางยนต. กรุงเทพฯ. ศูนยสงเสริมวิชาการ. 238 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ใบขอมูล หัวขอวิชาที่ 8 การวิเคราะหและแกไขขอขัดของของตัวถังรถยนต และสีรถยนต รถยนตนอกจากเครื่องยนตที่สามารถใชงานไดดีและมีประสิทธิภาพยาวนานแลวนั้น อีกสิ่งหนึ่งคือคุณภาพของสีรถและ ความเงางามของรถ สําหรับการดูแลรถยนตใหสีสวยอยูตลอดเวลานั้น มีขอพึงระวังดังนี้ 1) ไมควรจอดรถบริเวณใกลกับโรงงานอุตสาหกรรมที่ปลอยสารเคมี เนื่องจากฝุนละออง หรือสารเคมี ที่ปลิวมา ติดผิวสีรถอาจจะเปนกรด หรือดางเขมขน จนสามารถกัดสีใหเปนจุดเปนดวงหรือทําใหสีออนตัวลงได 2) ควรจอดรถบริเวณที่รมหรือที่มีอากาศถายเทไดสะดวก ไมอับชื้น ถาหากจําเปนตองจอดกลางแดดควรใช ผาคลุมกันแดดไวดวย 3) เมื่อขับรถผานบริเวณที่มีฝุน โคลน หรือชายทะเล ควรลางฝุน โคลน หรือคราบตาง ๆ ออกใหหมด เพราะ คราบเหลานี้ สามารถดูดความชื้นไดดี และจะทําใหสีเสื่อมคุณภาพและกอใหเกิดสนิมไดงาย 4) อยาทําใหรถเกิดรอยขีดขวน เพราะจะทําใหสีหลุดรอน ตัวรถผุ และจะลามออกเปนบริเวณกวางเนื่องจาก รอยขีดขวน จะไมสามารถปองกันความชื้นระหวาง ผิวสีกับผิวโลหะได 5) หากคราบน้ํามันหรือสารเคมีตาง ๆ เปอนรถ ควรรีบใชผาชุบน้ําสะอาด หรือผสมสบูออน ๆ หรือ แชมพู สําหรับลางรถ เช็ดออกแลวลางดวยน้ําสะอาด ปญหาตาง ๆ เกี่ยวกับระบบงานสีรถยนต ปญหาสียน หรือสีแตกลายงา เกิดจากการพนสีทิ้งชวงระยะเวลาระหวางพนนอยเกินไป หรือเกิดจากการโปวพลาสติกที่มี ความชื้นมาก เมื่อมีการพนสีทับ จึงเกิดการระเหยตัวของความชื้นดานใตสีจนยนหรือพองตัว รวมไปถึงสีที่ใชพนตางชนิดกัน กับสีเดิมที่ใชพนมา สําหรับการแตกลายงาที่เกิดจากสีโปวเก็บรอยหนามากเกินไป หากใชไปเปนเวลานาน ๆ จะเกิดอาการ แตกราว ทางแกไขคือ ลอกสีเดิมออกทั้งหมด ดังนั้นชางพนสีควรมีความรอบคอบ มีประสบการณ เพื่อลดความเสียหายที่อาจจะ เกิดขึ้นได 1. รถโดนละอองสี เมื่อรถยนตมีละอองสีกระเซ็นหรือปลิวมาเกาะที่ตัวถังรถ ควรรีบดําเนินการขจัดละอองสีเหลานั้นอยางเรงดวน หากทิ้งไว เปนเวลานานเม็ดสีที่เกาะอยูบนตัวถังรถยนตจะฝงลงไปในชั้นแล็กเกอร ในเวลาที่แล็กเกอรเกิดการขยายตัวเนื่องจากความรอน สงผลใหขจัดละอองสียากกวาปกติ 1.1 วิธีขจัดละอองสีที่เกาะตัวถังของรถ วิธีขจัด ละอองสีที่เกาะตัว ถังของรถที่งายและสะดวกที่สุด คือ ใชดิน น้ํามัน วิทยาศาสตรสําหรับ ใชกับ รถยนต โดยปฏิบัติตามขั้นตอนตอไปนี้ 239 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

1) ลางรถยนตหรือลางเฉพาะบริเวณที่มีละอองสีเกาะอยูใหสะอาด โดยลางเศษฝุน ทราย หรือกรวดออกให เพื่อปองกันรอยขีดขวน 2) ฉี ด น้ํ า ยาอเนกประสงค ล งบริ เ วณที่ จ ะใชดิ น น้ํ ามั น ลู บ ทํ าความสะอาดละอองสี ในกรณี ที่ ไ ม มี น้ํ า ยา อเนกประสงค ใ ห ใ ช ส บู ล า งรถผสมกั บ น้ํ า อย า งเข ม ข น ฉี ด ลงไปบริ เ วณที่ ต อ งการใช ดิ น น้ํ า มั น ลู บ เชนเดียวกัน

ภาพที่ 8.1 ฉีดสเปยอเนกประสงคบริเวณที่มีละอองสี 3) ปนดินน้ํามันเปนกอนเล็ก ๆ จากนั้นทําใหดินน้ํามันมีลักษณะเปนแผนกลม

ภาพที่ 8.2 ปนดินน้ํามันใหมีลักษณะเปนแผนกลม 4) ใชดินน้ํามันลูบบริเวณที่มีละอองสีเกาะอยู จนกวาละอองสีจะหลุดออกทั้งหมด

ภาพที่ 8.3 ใชดินน้ํามันลูบบริเวณที่มีละอองสี 2. รถโดนยางมะตอย เมื่อตองขับรถผานบริเวณที่มีการซอมแซมพื้นผิวถนนหรือลาดยางมะตอยใหม อาจทําใหมีเศษยางมะตอยกระเด็นมาเกาะ บริเวณลอ บังโคลน หรือตัวถังของรถได ดังนั้น ควรรีบทําความสะอาดกอนที่คราบจะแหงแข็งติด สงผลใหทําความสะอาดได ยากกวาปกติ 240 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ภาพที่ 8.4 รถที่มีคราบยางมะตอย 2.1 คุณสมบัติของยางมะตอย 1) การยึดและประสาน (Connection) คือ ทําหนาที่เชื่อมวัสดุใหติดกัน เชน ผสมยางมะตอยกับหิน เพื่อ การยึดเกาะ สําหรับใชทําผิวถนน เปนตน 2) การปองกันน้ําซึมผาน (Waterproofing) เมื่อเคลือบวัสดุดวยยางมะตอยแลว น้ําจะซึมผานไดยาก 3) ยางมะตอยเปนของเหลวหรือออนตัวเมื่อถูกความรอน และแข็งตัวเมื่อเย็นลง 2.2 วิธีขจัดคราบยางมะตอย เมื่อรถถูกคราบ สามารถลางทําความสะอาดไดดวยตนเอง ตามขั้นตอไปนี้ 1) ลางรถยนตหรือลางเฉพาะบริเวณที่มีคราบยางมะตอยใหสะอาด โดยใชน้ําฉีดบริเวณคาบยางมะตอย 2) ใชผาชุบน้ํามันสนหรือน้ํามันกาด และนํามาเช็ดบริเวณที่มีคราบยางมะตอย จนกวาคราบจะหลุดออก ทั้งหมด 3) หลั งจากนั้ น ให ล า งรถใหม อีกครั้ง โดยบริเวณที่เคยมีคราบยางมะตอยติดอยู เพื่อลางน้ํามัน สนหรือ น้ํามันกาดออกใหหมด เนื่องจากถาทิ้งไวนานอาจทําลายชั้นสีของรถได 3. รถโดนคราบโคลน เมื่อตองขับรถผานบริเวณพื้นดินที่เปยกชื้น หรือบริเวณที่มีน้ําทวมขัง อาจมีคราบโคลนเกาะติดบริเวณลอ บังโคลน ใตทองรถ หรือตัวถังของรถได เมื่อเกิดคราบดังกลาวควรเรงดําเนินการทําความสะอาด เพราะหากทิ้งไวนานจนคราบโคลน แหงติดเปนคราบแข็ง อาจสงผลใหสีผิวของรถยนตเสื่อมลงได

ภาพที่ 8.5 รถที่มีคราบโคลนเกาะอยู 241 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

3.1 วิธีทําความสะอาดคราบโคลน 1) เมื่อรถมีคราบโคลนเกาะอยูไมควรจอดรถตากแดด เพราะอาจทําใหคราบฝงแนนเขาไปจนถึงเนื้อสีของรถ 2) หามใชผาแหงเช็ดคราบโคลนโดยเด็ดขาด เพราะอาจเกิดการขูดหรือขวนสีรถยนตจนเกิดรอยได 3) เมื่อรถมีคราบโคลนเกาะอยูควรลางทําความสะอาดทันที หรือใชน้ําฉีดลางคราบโคลนออกกอน 4) จากนั้นเช็ดทําความสะอาดใหแหง เพื่อปองกันการเกิดคราบน้ํา

ภาพที่ 8.6 เช็ดทําความสะอาดรถ 4. การลางรถอยางถูกวิธี การลางรถยนตเปนประจําชวยใหคราบสกปรกไมเกาะแนน นอกจากนี้ยังทําใหสีของรถยนตเงางาม ดังนั้นควรลางรถยนต สัปดาหละ 1 ครั้ง ไมควรใชไมขนไกปดฝุนกอนลางรถ เพราะการปดฝุนจะทําใหฝุน หรือทรายที่ติดอยูบนรถขูดสี และทําให เปนรอยได ขั้นตอนการทําความสะอาดมีดังนี้ 1) ฉีดน้ําสะอาดใหทั่วตัวถังรถยนต เพื่อทําใหตัวถังเปยกและขจัดคราบสกปรกบนพื้นผิวของตัวถังรวมไปถึง การทําความสะอาดสิ่งสกปรกบริเวณลอ 2) ทําความสะอาดโดยใชฟองน้ําและน้ํายาทําความสะอาดรถยนตเช็ดบริเวณบนสุดกอน เพราะสิ่งสกปรกจะ ไหลจากดานบนลงสูดานลาง 3) ใชน้ําสะอาดลางน้ํายาทําความสะอาดรถยนตใหทั่วตัวถัง 4) นําผาสะอาดที่แหงเช็ดคราบน้ําที่เกาะอยูบริเวณตัวถัง โดยเริ่มเช็ดบริเวณกระจกเปนอันดับแรก จากนั้นให นําผาสะอาดที่ไมแหงและไมเปยกเกินไปมาเช็ดบริเวณตัวถัง โดยทําการเช็ดจากบนลงลาง

ภาพที่ 8.7 การลางรถ 242 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ใบทดสอบ ตอนที่ 1 คําชี้แจง ใหผูรับการฝกทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบขอที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว 1. ขอใด คือ สาเหตุของปญหาสียน ก. คราบฝุนและโคลนที่จับบนตัวถัง ข. ลางรถยนตไมสะอาด ค. ทิ้งชวงเวลาในการพนสีนอยเกินไป ง. รถโดนความรอน 2. การขจัดละอองสีที่เกาะติดอยูบนตัวถัง สามารถทําไดโดยใชวัสดุใด ก. ฟองน้ํา ข. ดินน้ํามันวิทยาศาสตร ค. น้ํามันพืช ง. แอลกอฮอล 3. การขจัดคราบยางมะตอย สามารถทําไดโดยใชวัสดุใด ก. กาวยาง ข. แล็กเกอร ค. น้ํามันเบนซิน ง. น้ํามันสน 4. การทําความสะอาดรถที่ถูกวิธี ควรเริ่มจากการลางสวนใดกอน ก. ลอ ข. หลังคา ค. ประตู ง. กระจกหนา

243 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

5. ขอใดกลาวถูกตอง เกี่ยวกับการทําความสะอาดคราบโคลน ก. ใชน้ํามันกาดชโลมบริเวณที่มีคราบโคลน ข. ไมควรจอดรถที่เปอนคราบโคลนในพื้นที่ที่มีแดดจัด ค. ควรแกปญหาดวยการพนสีใหมทับ ง. ฉีดพนทําความสะอาดคราบโคลนดวยแอลกอฮอล ตอนที่ 2 คําชี้แจง ใหผูรับการฝกพิจารณาขอความตอไปนี้วา ถูก หรือ ผิด และทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบ ถูก

ผิด

ขอความ 6. การแกปญหาคราบยางมะตอย จะตองลอกสีเดิมออกทั้งหมด โดยใชชางพนสีที่ มีประสบการณ 7. หากคราบน้ํามันหรือสารเคมีตาง ๆ เปอนรถ ควรรีบใชผาชุบน้ําสะอาด หรือ ผสมสบูออน ๆ หรือ แชมพูสําหรับลางรถ เช็ดออกแลวลางดวยน้ําสะอาด 8. การกําจัดคราบละอองสี เริ่มตนโดยใชดินน้ํามันลูบบริเวณที่มีละอองสีเกาะอยู ทันที โดยไมตองฉีดน้ํายาลางรถ 9. หากรถโดนละอองสี ไมควรทิ้งไวเปนเวลานาน เพราะเม็ดสีที่เกาะอยูบนตัวถัง รถยนตจะฝงลงไปในชั้นแล็กเกอร ทําใหขจัดละอองสียากกวาปกติ 10. การล า งรถที่ ถู ก วิ ธี ควรเริ่ ม จากการใชไมขนไกปดฝุนกอนลางรถ เพื่อขจัด ฝุนละอองที่จับอยูบนตัวรถ

244 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

กระดาษคําตอบ ตอนที่ 1 ปรนัย ขอ

1 2 3 4 5 ตอนที่ 2 ถูกผิด ขอ

ถูก

ผิด

6 7 8 9 10

245 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ใบงาน ใบงานที่ 8.1 การลางรถอยางถูกวิธี 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. แกไขขอขัดของ ความเสียหายเบื้องตนของตัวถังรถยนต และสีรถยนต 2. ปฏิบัติงานทําความสะอาดคราบดินโคลนบนรถยนตได 3. ปฏิบัติงานโดยคํานึงถึงความปลอดภัย

2. ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงาน - ระยะเวลาฝกปฏิบัติงานรวม 2 ชั่วโมง

3. คําชี้แจง ใหผูรับการฝกปฏิบัติทําความสะอาดคราบดินโคลนบนรถยนตตามขั้นตอนที่ถูกตอง

246 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ 8.1 การลางรถอยางถูกวิธี 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - ชุดปฏิบัติการชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับใบงาน 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้นที่ปฏิบัติงาน ไมใหมีอุปกรณอื่น ๆ ที่ไมเกี่ยวของ หรือวัสดุอันตราย เชน สายไฟฟา วางกีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมอุปกรณปฐมพยาบาลเบื้องตน ในกรณีเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัติงาน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตาง ๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1. รถยนต

จํานวน 1 คัน

2. กระปองใสน้ํา

จํานวน 1 ใบ

หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือวามีสภาพพรอมใชงานหรือไม หากพบวาเครื่องมือชิ้นใดชํารุด ใหรายงานครูฝกใหทราบ 1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน 1. ฟองน้ําทําความสะอาดรถยนต

จํานวน 1 อัน

2. ฟองน้ําทําความสะอาดลอรถยนต

จํานวน 1 อัน

3. น้ํายาทําความสะอาดรถยนต

จํานวน 1 แกลลอน

4. น้ํายาทําความสะอาดลอรถยนต

จํานวน 1 แกลลอน

5. ผาชามัวร

จํานวน 1 ผืน

6. ผาเช็ดทําความสะอาด

จํานวน 1 ผืน

247 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

2. ลําดับการปฏิบัติงาน การทําความสะอาดคราบดินโคลนบนรถยนต ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คําอธิบาย

1. จอดรถ

โดยพื้นที่ตองมั่นคงและแข็งแรง

2. ดับเครื่องยนต

ดับเครื่องยนตและเขาเกียร กรณีที่เปนรถยนตอัตโนมัติ ใหเขาเกียร ในตําแหนง P ถาเปนเกียรธรรมดา ให เขาเกียรที่ตําแหนงเกียรวาง ดึงเบรกมือ เพื่อปองกันรถไหล

3. ฉีดพรมน้ําลงบนตัวรถ

ฉีด พรมน้ํ า ใหทั ่ว รถ เพื ่อ ขจัด เศษฝุ น และคราบโคลนบนตัวรถ

4. ทําความสะอาดลอรถ

ชโลมน้ํ า ยาทํ า ความสะอาดลงบนลอ ทั้ง 4 ลอ ใชฟองน้ําขัด และใชน้ําฉีดลาง ใหสะอาด

248 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คําอธิบาย

5. ทําความสะอาดตัวถังรถ

ชโลมน้ํายาทําความสะอาดลงบนตัว ถัง รถยนต โดยเริ่มชโลมจากสว นบนของ รถ ไปยังสวนลางของรถ ใชฟองน้ําขั ด และใชน้ําฉีดลางใหสะอาด

6. เช็ดรถใหแหง

ใชผาชามัวรเช็ดน้ําใหแหงจากส ว นบน ไปยังสวนลางของรถ

7. ทําความสะอาดและจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ

ใชผาเช็ดทําความสะอาดบริเวณสถานที่ ปฏิ บั ติ ง าน และจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และ อุปกรณใหเรียบรอย

249 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

3. ตรวจสอบการทํางาน ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับที่ 1

รายการตรวจสอบ

เกณฑการพิจารณา

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตองและ

ความถูกตองตามวิธีการใชงาน

ครบถวน 2

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลอยางถูกตอง ความถูกตองตามวิธีการใชงาน และครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน

3

การปฏิบัติงานไดถูกตอง เปนไปตามลําดับขั้นตอน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

4

การลางทําความสะอาดรถอยางถูกวิธี

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

5

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

6

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลังปฏิบัติงาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

7

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ทันเวลาที่กําหนด

250 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ลําดับที่

1

รายการตรวจสอบ

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตองและ ครบถวน

ขอกําหนดในการใหคะแนน

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวนทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน

คะแนน เต็ม 3

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวน หรือ ไมถูกตอง อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน เตรียมเครือ่ งมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวนและไมถกู ตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ไดแก

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลอยางถูกตอง

ชุดปฏิบัติการชางอยางถูกตอง กอนเริ่มปฏิบัติงาน

ใหคะแนน 3 คะแนน ไมสวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล

3

ใหคะแนน 0 คะแนน 3

การปฏิบัติงานไดถูกตอง เปนไปตามลําดับขั้นตอน

ถูกตองและเปนไปตามลําดับขั้นตอน ใหคะแนน 3 คะแนน

3

ถูกตอง แตสลับขั้นตอนปฏิบัติงานในบางขั้นตอน ใหคะแนน 2 คะแนน ถูกตอง แตปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 1 คะแนน ไมถูกตอง และปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 4

การลางทําความสะอาดรถอยางถูกวิธี

ลางทําความสะอาดรถอยางถูกตองตามขั้นตอน ใหคะแนน 5 คะแนน ลางทําความสะอาดรถไมถูกตองตามขั้นตอน 1 ขั้นตอน ใหคะแนน 4 คะแนน ลางทําความสะอาดรถไมถูกตองตามขั้นตอน 2 ขั้นตอน ใหคะแนน 3 คะแนน ลางทําความสะอาดรถไมถูกตองตามขั้นตอน 3 ขั้นตอน ใหคะแนน 2 คะแนน ลางทําความสะอาดรถไมถูกตองตามขั้นตอนมากกวา 3 ขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน

251 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

5

คะแนนที่ได


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ลําดับที่

5

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดในการใหคะแนน

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไดสะอาดเรียบรอย และครบทุกชิ้น

คะแนน เต็ม

คะแนนที่ได

3

ใหคะแนน 3 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย หรือไมครบทุกชิ้น อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย และไมครบทุกชิ้น ใหคะแนน 1 คะแนน ไมทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 6

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลังปฏิบัติงาน

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวนทุกชิ้น

3

ใหคะแนน 3 คะแนน จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมถกู ตอง หรือ ไมครบถวน อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมถกู ตองและ ไมครบถวน หรือไมจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 7

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ปฏิบัติงานไดอยางสมบูรณภายในเวลาทีก่ ําหนด ใหคะแนน 3 คะแนน

3

ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดไมเกิน 5 นาที ใหคะแนน 2 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดมากกวา 5 นาที ใหคะแนน 1 คะแนน คะแนนเต็ม

23

หมายเหตุ หากผูเขารับการฝกไดรับคะแนน 16 คะแนนขึ้นไป (คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70) ใหผูเขารับการฝก ขอเขารับการทดสอบภาคปฏิบัติได

252 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

คณะผูจัดทําโครงการ คณะผูบริหาร 1. นายสุทธิ

สุโกศล

อธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน

2. นางถวิล

เพิ่มเพียรสิน

รองอธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน

3. นายธวัช

เบญจาทิกุล

รองอธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน

4. นายสุรพล

พลอยสุข

รองอธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน

5. วาที่รอยตรี สมศักดิ์ พรหมดํา

ผูอํานวยการสํานักพัฒนาผูฝกและเทคโนโลยีการฝก

6. นางเพ็ญประภา

ศิริรัตน

ผูอํานวยการกลุมงานพัฒนาระบบการฝก

7. นายวัชรพงษ

มุขเชิด

ผูอํานวยการสํานักงานรับรองความรูความสามารถ

คําเงิน

ภาควิชาวิศวกรรมโทรคมนาคม คณะวิศวกรรมศาสตร

คณะที่ปรึกษาโครงการ 1. ผศ. ดร. มนตรี

สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 2. รศ. ดร. วิสุทธิ์

สุนทรกนกพงศ

ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟาสื่อสาร คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

3. ผศ. สันติ

ตันตระกูล

ภาควิชาครุศาสตรวิศวกรรม คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

4. นายสุระชัย

พิมพสาลี

ภาควิชาครุศาสตรวิศวกรรม คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

5. นายวินัย

ใจกลา

ภาควิชาครุศาสตรวิศวกรรม คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

6. นายวราวิช

กําภู ณ อยุธยา

สํานักบริหารงานวิจัยและนวัตกรรมพระจอมเกลาลาดกระบัง สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

7. นายมนตรี

ประชารัตน

แผนกวิชาชางไฟฟา วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี

8. นายธเนศ

วงควัฒนานุรักษ

แผนกวิชาชางไฟฟา วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี

9. นายณัฐวุฒิ

เสรีธรรม

แผนกวิชาชางไฟฟา วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี

10. นายหาญยงค

หอสุขสิริ

แผนกวิชาโลหะการ วิทยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษก มหานคร

11. นายสวัสดิ์

บุญเถื่อน

แผนกวิชาชางยนต วิทยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษก มหานคร 253 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

254 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.