หน้าปก
คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 8
คู่มือผู้รับการฝึก 0920164170202 สาขาช่างเครื่องปรับอากาศในบ้านและการพาณิชย์ขนาดเล็ก ระดับ2
ชุดการฝึกตามความสามารถ (CBT)
โมดูลการฝึกที่ 8 09217310 วิธีการจัดเก็บสารทาเย็น เพื่อการเคลื่อนย้ายหรือ การซ่อมบารุงโดยการปั๊มดาวน์ หรือใช้เครื่องเก็บ สารทาความเย็นอย่างถูกต้อง และการจัดเก็บอุปกรณ์ ระบบสารทาความเย็นเพื่อป้องกันความชื้น กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 8
คานา คู่มือผู้รับการฝึก สาขาช่างเครื่องปรับอากาศในบ้านและการพาณิชย์ขนาดเล็ก ระดับ 2 โมดูล 8 วิธีการจัดเก็บ สารทาเย็น เพื่อการเคลื่อนย้ายหรือการซ่อมบารุงโดยการปั๊มดาวน์ หรือใช้เครื่องเก็บสารทาความเย็นอย่างถูกต้อง และ การจัดเก็บ อุป กรณ์ร ะบบสารทาความเย็น เพื่อป้องกันความชื้น ฉบับนี้ เป็นส่วนหนึ่งของหลักสูตรฝึกอบรมฝีมือแรงงานตาม ความสามารถ (Competency Based Training : CBT) ซึ่งพัฒนาขึ้นเพื่อใช้เป็นเอกสารประกอบการจัดการฝึกอบรมกับชุดการฝึก ตามความสามารถ โดยได้ดาเนินการภายใต้โครงการพัฒนาระบบฝึกและชุดการฝึกตามความสามารถเพื่อการพัฒนาฝีมือแรงงาน ด้วยระบบการฝึกตามความสามารถ (Competency Based Workforce Skill Training System) พ.ศ. 2560 โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อให้ผู้รับการฝึกได้ใช้เป็นเครื่องมือในการฝึกอบรมให้เป็นไปตามหลักสูตร กล่าวคือ หลังเรียนจบโมดูลการฝึก ผู้รับการฝึก สามารถอธิบายวิธีการจัดเก็บ เคลื่อนย้าย ซ่อมบารุง โดยการปั๊มดาวน์หรือใช้เครื่องเก็บสารทาความเย็นได้อย่างถูกต้อง ระบบการฝึกอบรมตามความสามารถเป็นระบบการฝึกอบรมที่ส่งเสริมให้ผู้รับ การฝึกอบรมสามารถฝึกฝนเรียนรู้ได้ ตามพื้นฐานความสามารถของตนในเวลาที่มีความสะดวก โดยเน้นในเรื่องของการส่งมอบการฝึกอบรมที่หลากหลายไปให้แก่ ผู้ รับการฝึ กอบรม และต้องการให้ ผู้ รั บ การฝึ ก อบรมเกิด การเรี ยนรู้ ด้ว ยตนเอง การฝึ กปฏิบัติจะด าเนิน การในรู ป แบบ Learning by Doing และเน้นผลลัพธ์การฝึกอบรมในการที่ทาให้ผู้รับการฝึกอบรมมีความสามารถในการปฏิบัติงานตามที่ ตลาดแรงงานต้องการ โดยยึดความสามารถของผู้รับ การฝึกเป็นหลัก การฝึกอบรมในระบบดังกล่าว จึงเป็นรูปแบบการ ฝึกอบรมที่สามารถรองรับการพัฒนารายบุคคลได้เป็นอย่างดี นอกจากนี้ เนื้อหาวิ ชาในหลักสูตรการฝึกตามความสามารถ (Competency Based Curriculum : CBC) ซึ่งได้จากการวิเคราะห์งานอาชีพ (Job Analysis) ในแต่ละสาขาอาชีพ จะถูก กาหนดเป็นรายการความสามารถหรือสมรรถนะ (Competency) ที่ผู้รับการฝึกอบรมจาเป็นต้องใช้ในการปฏิบัติงาน และ สอดคล้องกับความต้องการของสถานประกอบกิจการและภาคอุตสาหกรรม ซึ่งผู้รับการฝึกจะต้องเรียนรู้และฝึกฝนจนกว่าจะ สามารถปฏิบัติเองได้ ตามมาตรฐานที่กาหนดในแต่ละรายการความสามารถ ทั้งนี้ การส่งมอบการฝึก สามารถดาเนินการได้ ทั้งรูปแบบการเรียนรู้ผ่านสื่อสิ่งพิมพ์ (Paper Based) และผ่านสื่อคอมพิวเตอร์ (Computer Based) โดยผู้รับการฝึกสามารถ เรียนรู้ได้ด้วยตนเอง (Self-Learning) ที่บ้านหรือที่ทางาน และเข้ารับการฝึกภาคปฏิบัติตามความพร้อม ตามความสะดวก ของตน หรือตามแผนการฝึก หรือตามตารางการนัดหมาย การฝึกหรือทดสอบประเมินผลความรู้ความสามารถกับหน่วยฝึก โดยมีครูฝึกหรือผู้สอนคอยให้คาปรึกษา แนะนาและจัดเตรียมการฝึกภาคปฏิบัติ รวมถึงจัดเตรียมและดาเนินการทดสอบ ประเมินผลในลักษณะต่าง ๆ อันจะทาให้สามารถเพิ่มจานวนผู้รับการฝึกได้มากยิ่งขึ้น ช่วยประหยัดเวลาในการเดินทาง และ ประหยั ดงบประมาณค่าใช้จ่ ายในการพัฒ นาฝี มือแรงงานให้ แก่กาลั งแรงงานในระยะยาว จึงถือเป็นรูปแบบการฝึ กที่มี ความสาคัญต่อการพัฒนาฝีมือแรงงาน ทั้งในปัจจุบันและอนาคต ซึ่งหากมีการนาระบบการฝึกอบรมตามความสามารถมาใช้ ในการพัฒนาฝีมือแรงงาน จะช่วยทาให้ประชาชน ผู้ใช้แรงงานผู้ว่างงาน นักเรียน นักศึกษา และผู้ประกอบอาชีพอิสระ สามารถเข้าถึงการฝึกอบรมเพื่อพัฒนาตนเองได้อย่างสะดวก และได้รับประโยชน์อย่างทั่วถึงมากยิ่งขึ้น กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน
ก กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 8
สารบัญ เรื่อง
หน้า
คานา
ก
สารบัญ
ข
ข้อแนะนาสาหรับผู้รับการฝึก
1
โมดูลการฝึกที่ 809217310 วิธีการจัดเก็บสารทาเย็น เพื่อการเคลื่อนย้ายหรือการซ่อมบารุงโดยการปั๊มดาวน์ หรือใช้เครื่องเก็บสารทาความเย็นอย่างถูกต้อง และการจัดเก็บอุปกรณ์ระบบ สารทาความเย็นเพื่อป้องกันความชื้นผลกระทบของสารเจือปนใน สารทาความเย็น หัวข้อวิชาที่ 1 0921731001การจัดเก็บสารทาความเย็น หัวข้อวิชาที่ 2 0921731002การจัดเก็บอุปกรณ์ระบบสารทาความเย็น คณะผู้จัดทาโครงการ
ข กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
12 19 26
คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 8
ข้อแนะนาสาหรับผูร้ ับการฝึก ข้อแนะนาสาหรับผู้รับการฝึก คือ คาอธิบายเกี่ยวกับรายละเอียดของคู่มือ และขั้นตอนการเข้ารับการฝึก ซึ่งมีอยู่ด้วยกัน 6 ข้อ ดังนี้
1. รายละเอียดของคู่มือ 1.1 โมดูลการฝึก / หัวข้อวิชา หมายถึง โมดูลการฝึกที่ครูฝึกต้องจัดการฝึกอบรม โดยภายในโมดูลจะประกอบไปด้วย หัวข้อวิชาที่ผู้รับ การฝึ กต้องเรี ย นรู้ และฝึกฝน ซึ่งมีรหัสโมดูล และรหัส หัว ข้อวิชาเป็นตัว กาหนดความสามารถ ที่ต้องเรียนรู้ 1.2 ระยะเวลาการฝึก หมายถึง จานวนชั่วโมงในการฝึกอบรม เพื่อให้บรรลุตามวัตถุประสงค์ของแต่ละโมดูล 1.3 ระบบการฝึกตามความสามารถ (CBT) หมายถึง ระบบการฝึก ที่เกิดจากการนาความรู้ ทักษะ ความสามารถ (Competency) ที่จาเป็นสาหรับการทางานมาเป็นฐาน (Based) ของการจัดฝึกอบรม หรือนามากาหนดเป็นเนื้อหา (Content) และเกณฑ์ก ารประเมิน การฝึก อบรม ทาให้ผู้รับ การฝึก อบรมมีค วามสามารถ ( Competency) ตามเกณฑ์มาตรฐานที่กาหนด และตามความสามารถในการเรียนรู้ของผู้รับการฝึกเป็นหลัก 1.4 ชุดการฝึก หมายถึง สื่อสิ่งพิมพ์ และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ใช้สาหรับเป็นอุปกรณ์ช่วยฝึก โดยแต่ละโมดูลประกอบด้วย คู่มือครูฝึก คู่มือผู้รับการฝึก คู่มือประเมิน สื่อวีดิทัศน์ 1.5 ระบบจัดการฝึกด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer Managed Instruction : CMI) หมายถึง การนาระบบคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศ ซึ่งใช้ในการจัดการเรียนรู้และฝึกอบรม เช่น ระบบรับสมัครออนไลน์ ระบบลงทะเบียน เข้า รับ การฝึก อบรมออนไลน์ ระบบการฝึก อบรมภาคทฤษฎีผ่านอุปกรณ์อิเล็ก ทรอนิก ส์ห รือ อุปกรณ์สื่อสาร แบบพกพา การทดสอบออนไลน์ การบันทึกผลการฝึกอัตโนมัติ และการออกใบวุฒิบัตรอิเล็กทรอนิกส์ เป็นต้น โดยการเข้า ใช้ง านระบบ แบ่งส่ว นการใช้ง านตามความรับผิด ชอบของผู้มีส่ว นได้ส่ว นเสีย ดัง ภาพในหน้า 2 ซึ่งรายละเอียดการใช้งานของผู้เข้ารับการฝึกสามารถดูได้จากลิงค์ mlearning.dsd.go.th/download/files/trainee.pdf
1 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 8
2 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 8
2. ผังการฝึกอบรม
3 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 8
3. วิธีการฝึกอบรม 3.1 ผู้รับการฝึก ทาความเข้าใจการฝึกอบรมในระบบ CBT ซึ่งสามารถฝึกอบรมได้ 3 รูปแบบ คือ 3.1.1 การฝึกอบรมด้วยการส่งมอบสื่อสิ่งพิมพ์ (Offline) 3.1.2 การฝึกอบรมที่ศูนย์ฝึกอบรม (Offline) 3.1.3 การฝึกอบรมด้วยสื่อในระบบออนไลน์ (Online) โดยในแต่ละรูปแบบจะมีรายละเอียดแตกต่างกัน ดังนี้ 3.1.1 การฝึกอบรมด้วยการส่งมอบสื่อสิ่งพิมพ์ (Offline) คือ การฝึก อบรมที่ผู้รับ การฝึกเรียนรู้ภ าคทฤษฎี (ด้า นความรู้) ด้ว ยตนเอง โดยครูฝึก เป็นผู้ส่งมอบ คู่มือผู้รับการฝึกที่พิมพ์จากสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) และวีดิทัศน์ (DVD) แก่ผู้รับการฝึก และฝึกภาคปฏิบัติ (ด้านทักษะ) ที่ศูนย์ฝึกอบรม การฝึกภาคทฤษฎี - ผู้รับการฝึกเรียนรู้ภาคทฤษฎีด้วยตนเอง โดยใช้คู่มือผู้รับการฝึกที่พิมพ์จากสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) และวีดิทัศน์ (DVD) ที่ครูฝึกส่งมอบให้ การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ผู้รับการฝึกทาแบบทดสอบก่อนฝึก (Pre-Test) ลงในกระดาษคาตอบ แล้วส่งกระดาษคาตอบ ให้ครูฝึก เพื่อตรวจและประเมินผล 2) ครูฝึกประเมินแบบทดสอบก่อนฝึก - ถ้าผลการประเมินผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ตามที่กาหนดในเอกสารโครงร่างหลั กสูตร จะมีสิท ธิ์ข อเข้า รับ การฝึก ภาคปฏิบัติ (ถ้า มี) หรือ เข้า รับ การฝึก ในโมดูล ถัด ไป หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลที่ครูฝึกกาหนดได้ - ถ้าผลการประเมินต่ากว่าร้อยละ 70 ให้ครูฝึกมอบหมายให้ผู้รับการฝึกศึกษาเนื้อหา จากสื่อด้วยตนเองจนเข้าใจ จึงทาแบบทดสอบหลังฝึก (Post-Test) 3) ผู้รับการฝึกทาแบบทดสอบหลังฝึก (Post-Test) ลงในกระดาษคาตอบ แล้วส่งให้ครูฝึกตรวจ และประเมินผล โดยใช้หลักเกณฑ์เดียวกับการประเมินแบบทดสอบก่อนฝึก 3.1.2 การฝึกอบรมที่ศูนย์ฝึกอบรม (Offline) คือ การฝึกอบรมที่ผู้รับการฝึกเรียนรู้ภาคทฤษฎีจากครูฝึก และฝึกภาคปฏิบัติที่ศูนย์ฝึกอบรม การฝึกภาคทฤษฎี - ผู้รับการฝึกเรียนรู้ภาคทฤษฎีจากครูฝึกโดยใช้สื่อสิ่งพิมพ์จากสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) และวีดิทัศน์ (DVD) ที่ศูนย์ฝึกอบรม
4 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 8
การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ผู้รับการฝึกทาแบบทดสอบก่อนฝึก (Pre-Test) ลงในกระดาษคาตอบ แล้วส่งกระดาษคาตอบ ให้ครูฝึกตรวจและประเมินผล 2) ครูฝึกประเมินแบบทดสอบก่อนฝึก - ถ้าผลการประเมินผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ตามที่กาหนดในเอกสารโครงร่างหลั กสูตร ผู้รับการฝึกจะมีสิทธิ์ขอเข้ารับการฝึกภาคปฏิบัติ (ถ้ามี) หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลถัดไป หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลที่ครูฝึกกาหนดได้ - ถ้าผลการประเมินต่ากว่าร้อยละ 70 ให้ผู้รับการฝึกศึกษาเนื้อหาจากสื่อด้วยตนเอง จนเข้าใจ จึงทาแบบทดสอบหลังฝึก (Post-Test) 3) ผู้รับการฝึกทาแบบทดสอบหลังฝึก (Post-Test) ลงในกระดาษคาตอบ แล้วส่งให้ครูฝึกตรวจ และประเมินผล โดยใช้หลักเกณฑ์เดียวกับการประเมินแบบทดสอบก่อนฝึก 3.1.3 การฝึกอบรมด้วยสื่อในระบบออนไลน์ (Online) คือ การฝึกอบรมที่ผู้รับการฝึกเรียนรู้ภาคทฤษฎีด้วยตนเองผ่านระบบจัดการฝึกด้วยคอมพิวเตอร์ หรือ CMI โดยใช้คู่มือผู้รับการฝึกที่เป็นสื่อออนไลน์ในแอปพลิเคชัน DSD m-Learning และฝึกภาคปฏิบัติที่ศูนย์ฝึกอบรม วิธีดาวน์โหลดแอปพลิเคชัน DSD m-Learning - ผู้รับการฝึกดาวน์โหลดแอปพลิ เคชัน DSD m-Learning ซึ่งวิธีการดาวน์โหลดแอปพลิ เ คชัน สามารถแบ่งออกเป็น 2 ช่องทางตามแต่ละระบบปฏิบัติการ คือ 1) ผู้รับการฝึกที่ใช้เครื่องมือสื่อสารอิเล็กทรอนิกส์ ระบบปฏิบัติการ iOS ค้นหา แอปพลิเคชัน DSD m-Learning ใน App Store จากนั้นกดดาวน์โหลด เพื่อติดตั้งบนเครื่องมือสื่อสาร และเข้าใช้งานโดยกรอก Username และ Password ตามที่เคยลงทะเบียนไว้ 2) ผู้รับการฝึกที่ใช้เครื่องมือสื่ อสารอิเล็ กทรอนิกส์ ระบบปฏิบัติการ Android ค้นหา แอปพลิ เ คชั น DSD m-Learning ใน Google Play Store จากนั้ น กดดาวน์ โ หลด เพื่อติดตั้งบนเครื่องมือสื่อสาร และเข้าใช้งานโดยกรอก Username และ Password ตามที่เคยลงทะเบียนไว้ การฝึกภาคทฤษฎี - ผู้รับการฝึกเรียนรู้ภาคทฤษฎีด้วยตนเอง จากคู่มือผู้รับการฝึก ซึ่งเป็นสื่อออนไลน์บนแอปพลิเคชัน DSD m-Learning การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ผู้รับการฝึกทาแบบทดสอบก่อนฝึก (Pre-Test) ลงในแอปพลิเคชัน โดยระบบจะตรวจและประเมินผล อัตโนมัติ
5 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 8
- ถ้าผลการประเมินผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ตามที่กาหนดในเอกสารโครงร่างหลั กสูตร ผู้รับการฝึกจะมีสิทธิ์ขอเข้ารับการฝึกภาคปฏิบัติ (ถ้ามี) หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลถัดไป หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลที่ครูฝึกกาหนดได้ - ถ้าผลการประเมินต่ากว่าร้อยละ 70 ให้ผู้รับการฝึกศึกษาเนื้อหาจากสื่อด้วยตนเอง จนเข้าใจแล้วจึงทาแบบทดสอบหลังฝึก (Post-Test) 2) ผู้รับการฝึกทาแบบทดสอบหลังฝึก โดยใช้หลักเกณฑ์เดียวกับการประเมินแบบทดสอบก่อนฝึก 3.2 ครูฝึกชี้แจงรูปแบบการฝึกอบรมทั้ง 3 รูปแบบแก่ผู้รับการฝึก เพื่อทาการตกลงรูปแบบการฝึกอบรมร่วมกับผู้รับการฝึก โดยให้ผู้รับการฝึกเลือกวิธีที่สะดวก 3.3 ครูฝึกวางแผนการฝึกตลอดหลักสูตรร่วมกันกับผู้รับการฝึก
4. อุปกรณ์ช่วยฝึกและช่องทางการเข้าถึงอุปกรณ์ช่วยฝึก ผู้รับการฝึกสามารถเลือกใช้อุปกรณ์ช่วยฝึกได้ 2 รูปแบบ คือ รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ์ (Offline) และรูปแบบระบบจัดการฝึก ด้วยคอมพิวเตอร์ หรือ CMI (Online) โดยมีช่องทางการเข้าถึงอุปกรณ์ช่วยฝึกแต่ละรูปแบบแตกต่างกัน ดังนี้ 4.1 รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ์ (Offline) ประกอบด้วย - คู่มือผู้รับการฝึก เพื่อใช้ศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คู่มือการประเมิน เพื่อใช้ในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน์ (DVD) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 4.2 รูปแบบระบบจัดการฝึกด้วยคอมพิวเตอร์ หรือ CMI (Online) ดังนี้ - คู่มือผู้รับการฝึกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) เพื่อใช้ศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คู่มือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) เพื่อใช้ในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน์ (Online) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ
5. การวัดและประเมินผล 5.1 การประเมินผลภาคทฤษฎี (ด้านความรู้) ประเมินผลจากแบบทดสอบภาคทฤษฎีก่อนฝึก และแบบทดสอบภาคทฤษฎีหลังฝึก โดยกาหนดเกณฑ์การให้คะแนน และการระบุความสามารถด้านความรู้ ดังนี้ เกณฑ์การให้คะแนน ภาคทฤษฎี ตั้งแต่ร้อยละ 70 ขึ้นไป ต่ากว่าร้อยละ 70
เกณฑ์การประเมิน ความสามารถ ผ่าน (C) ไม่ผ่าน (NYC) 6
กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 8
ผู้รับการฝึกจะได้รับการประเมินผลการฝึกจากครูฝึก โดยจะต้องสามารถปฏิบัติตามความสามารถในแต่ละโมดูลนั้น ๆ ได้ตามเกณฑ์ที่กาหนด จึงจะถือว่าผ่านการฝึกโมดูลนั้น และเมื่อผ่านการฝึกครบทุกโมดูล จึงจะถือว่าฝึกครบชุดการฝึกนั้น ๆ แล้ว
6. เงื่อนไขการผ่านการฝึก ผู้รับการฝึกที่จะผ่านโมดูลการฝึก ต้องได้รับค่าร้อยละของคะแนนการทดสอบภาคทฤษฏี คะแนนรวมไม่ต่ากว่าร้อยละ 70 จึงจะผ่านโมดูลการฝึก
7 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 8
รายละเอียดหลักสูตร หลักสูตรฝึกอบรมฝีมือแรงงานตามความสามารถ สาขาช่างเครื่องปรับอากาศในบ้าน และการพาณิชย์ขนาดเล็ก ระดับ 2กรมพัฒนาฝีมือ แรงงาน กระทรวงแรงงาน
รหัสหลักสูตร 0920164170202
1. ขอบเขตของหลักสูตร หลักสูตรนี้พัฒ นาขึ้น ให้ครอบคลุมด้านความรู้ ทั กษะ และเจตคติแก่ผู้รับการฝึก ในสาขาช่างเครื่อ งปรับ อากาศใน บ้านและการพาณิชย์ ขนาดเล็ ก เพื่อให้มีความรู้ ความสามารถและทัศนคติตามมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติ สาขาช่าง เครื่องปรับอากาศในบ้านและการพาณิชย์ขนาดเล็ก ระดับ 2 ดังนี้ 1.1 มีความรู้ความสามารถเกี่ยวกับสัญลักษณ์ทางไฟฟ้า การอ่านแบบ และวงจรทางไฟฟ้า 1.2 มีความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวงจรไฟฟ้าในเครื่องปรับอากาศระบบ 3 เฟส อุปกรณ์และหลักการทางานของ ระบบควบคุมต่าง ๆ ที่อยู่ในเครื่องปรับอากาศ 1.3 มีความรู้ความสามารถในการตัด ปรับแต่ง ขยาย บาน ดัด และเชื่อมท่อ 1.4 มีค วามรู้ ความสามารถเกี่ยวกับหลักการทางานของมอเตอร์ไฟฟ้า 1 เฟส 3 เฟส และการต่อมอเตอร์หลาย ความเร็ว 1.5 มีความรู้เกี่ยวกับการเลือกใช้ชนิดและขนาดของคอมเพรสเซอร์ได้อย่างเหมาะสม 1.6 มีความรู้ความสามารถในการประกอบติดตั้งระบบท่อสารทาความเย็นที่ใช้ในเครื่องปรับอากาศ 1.7 มีความรู้ความสามารถเกี่ยวกับหลักการและวิธีการหล่อลื่นอุปกรณ์ในระบบเครื่องปรับอากาศ 1.8 มีความรู้เกี่ยวกับการจัดเก็บสารทาเย็น เพื่อการเคลื่อนย้ายหรือการซ่อมบารุงโดยการปั๊มดาวน์ หรือใช้เครื่อง เก็บสารทาความเย็นอย่างถูกต้อง และการจัดเก็บอุปกรณ์ระบบสารทาความเย็นเพื่อป้องกันความชื้น 1.9 มีความรู้ความสามารถในการทาความสะอาดระบบ เมื่อภายในระบบมีความชื้น 1.10 มีความรู้ความสามารถในการตรวจสอบการทางานเครื่องปรับอากาศและการวัดค่าต่างๆ 1.11 มีความรู้ความสามารถในการวิเคราะห์และแก้ไขข้อขัดข้องของเครื่องปรับอากาศ 2. ระยะเวลาการฝึก ผู้ รั บ การฝึ กจะได้รั บ การฝึ ก ในภาคทฤษฎี และภาคปฏิบั ติ โดยสถาบันพัฒ นาฝี มือแรงงาน หรือสานักงานพัฒนา ฝีมือแรงงานที่เป็นหน่วยฝึกตามความสามารถใช้ระยะเวลาในการฝึก72 ชั่วโมง
8 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 8
เนื่ อ งจากเป็ น การฝึ ก ที่ ขึ้ น อยู่ กั บ พื้ น ฐานความรู้ ทั ก ษะ ความสามารถและความพร้ อ มของผู้ รั บ การฝึ ก แต่ละคน มีผลให้ผู้รั บ การฝึ กจบการฝึกไม่พร้ อ มกัน สามารถจบก่อ นหรือ เกินระยะเวลาที่กาหนดไว้ในหลักสูตรได้ หน่ว ยฝึกจึงต้องบริหารระยะเวลาในการฝึกให้เหมาะสมตามความจาเป็น ทั้งนี้ ให้อยู่ในดุลยพินิจของผู้อานวยการ สถาบันพัฒนาฝีมือแรงงาน หรือผู้อานวยการสานักงานพัฒนาฝีมือแรงงานที่เป็นหน่วยฝึกตามความสามารถจะเห็นสมควร 3. หน่วยความสามารถและโมดูลการฝึก จานวนหน่วยความสามารถ 11 หน่วย จานวนโมดูลการฝึก 11 โมดูล 4. วุฒิบัตร 4.1 ชื่อเต็ม : วุฒิบัตรพัฒนาฝีมือแรงงาน สาขา ช่างเครื่องปรับอากาศในบ้านและการพาณิชย์ขนาดเล็ก ระดับ 2 4.2 ชื่อย่อ : วพร. สาขา ช่างเครื่องปรับอากาศในบ้านและการพาณิชย์ขนาดเล็ก ระดับ 2 4.3 ผู้ รั บ การฝึ ก ที่ ผ่ า นการประเมิ น ผลหรื อ ผ่ า นการฝึ ก ครบทุ ก หน่ ว ยความสามารถ จะได้ รั บ วุ ฒิ บั ต ร วพร. สาขา ช่างเครื่องปรับอากาศในบ้านและการพาณิชย์ขนาดเล็ก ระดับ 2
9 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 8
รายละเอียดโมดูลการฝึกที่ 8 1. ชื่อหลักสูตร
สาขาช่างเครื่องปรับอากาศในบ้านและการพาณิชย์ขนาดเล็ก รหัสหลักสูตร ระดับ 2 0920164170202 2. ชื่อโมดูลการฝึก วิธีการจัดเก็บสารทาเย็น เพื่อการเคลื่อนย้ายหรือการซ่อม รหัสโมดูลการฝึก บารุงโดยการปั๊มดาวน์ หรือใช้เครื่องเก็บสารทาความเย็น 09217310 อย่างถูกต้อง และการจัดเก็บอุปกรณ์ระบบสารทาความเย็น เพื่อป้องกันความชื้น 3. ระยะเวลาการฝึก รวม 1 ชั่วโมง 30นาที ทฤษฎี 1 ชั่วโมง 30นาที ปฏิบัติ - ชัว่ โมง 4. ขอบเขตของหน่ว ย หน่วยการฝึกนี้ พัฒนาขึ้นให้ครอบคลุ มด้านความรู้ ทักษะ และเจตคติแก่ผู้รับการฝึ ก การฝึก เพื่อให้มีความสามารถ ดังนี้ 1. อธิบายวิธีการจัดเก็บสารทาความเย็น เพื่อการเคลื่อนย้ายหรือการซ่อมบารุง โดยการปั๊มดาวน์ หรือใช้เครื่องเก็บสารทาความเย็นได้ 2. อธิบายวิธีการจัดเก็บอุปกรณ์ระบบสารทาความเย็นเพื่อป้องกันความชื้นได้ 5. พื้นฐาน ผู้สมัครเข้ารับการฝึกต้องมีคุณสมบัติ ดังต่อไปนี้ ความสามารถของ 1. มีความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับ วิธีการจัดเก็บ เคลื่อนย้าย ซ่อมบารุง โดยการปั๊มดาวน์หรือ ผู้รับการฝึก ใช้เครื่องเก็บสารทาความเย็น หรือผ่านการฝึกอบรมที่เกี่ยวข้องจากหน่วยงานหรือ สถาบันที่เชื่อถือได้ 2. ผู้รับการฝึกผ่านระดับ 1 มาแล้ว 3. ผู้รับการฝึกผ่านโมดูลที่ 7 มาแล้ว 6. ผลลัพธ์การเรียนรู้ :เมื่อสาเร็จการฝึกในโมดูลนี้แล้วผู้รับการฝึกสามารถปฏิบัติงานโดยมีความรู้ความสามารถและใช้ ระยะเวลาฝึก ดังนี้ ระยะเวลาฝึก (ชั่วโมง: นาที) ผลลัพธ์การเรียนรู้ ชื่อหัวข้อวิชา ทฤษฎี ปฏิบัติ รวม หัวข้อที่ 1: การจัดเก็บสารทาความเย็น 0:45 0:45 1. อธิบายวิธีการจัดเก็บ สารทาความเย็น เพื่อ การเคลื่อนย้ายหรือการซ่อม บารุงโดยการปั๊มดาวน์ หรือใช้ เครื่องเก็บสารทาความเย็นได้
10 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 8
2. อธิบายวิธีการจัดเก็บอุปกรณ์ ระบบสารทาความเย็นเพื่อ ป้องกันความชื้นได้
หัวข้อที่ 2 : การจัดเก็บอุปกรณ์ระบบ สารทาความเย็น รวมทั้งสิ้น
11 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
0:45
-
0:45
1:30
-
1:30
คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 8
รายละเอียดหัวข้อวิชาที่ 1 0921731001การจัดเก็บสารทาความเย็น (ใบแนะนา) 1. ผลลัพธ์การเรียนรู้ - อธิบ ายวิธีการจัดเก็บสารทาความเย็น เพื่อเครื่องย้ายหรือซ่อมแซมบารุงโดยการปั๊มดาวน์ หรือใช้เครื่องเก็บ สารทาความเย็ นได้
2. หัวข้อสาคัญ - การจัดเก็บสารทาความเย็น
3. วิธีการฝึกอบรม การฝึกอบรมสามารถเลือกได้ 3 รูปแบบ คือ 1) การฝึกอบรมด้วยการส่งมอบสื่อสิ่งพิมพ์ 2) การฝึกอบรมที่ศูนย์ฝึกอบรม 3) การฝึกอบรมด้วยสื่อในระบบออนไลน์ ดังรายละเอียดในข้อแนะนาสาหรับผู้รับการฝึก
4. อุปกรณ์ช่วยฝึก อุปกรณ์ช่วยฝึกสามารถเลือกใช้งานได้ 2 รูปแบบ คือ 1. รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ์ (Offline) ประกอบด้วย - คู่มือผู้รับการฝึก เพื่อใช้ศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คู่มือการประเมิน เพื่อใช้ในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน์ (DVD) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 2. รูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ (Online) ประกอบด้วย - คู่มือผู้รับการฝึกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) เพื่อใช้ศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คู่มือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) เพื่อใช้ในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน์ (Online) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ
12 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 8
5. การรับการฝึกอบรม 1. ผู้รับการฝึกทาแบบทดสอบก่อนฝึก (Post-Test) แล้วส่งให้ครูฝึกหรือระบบประเมินผลตามวิธีที่เลือกฝึกอบรม 1.1 ถ้าผลการประเมินผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ตามที่กาหนดในเอกสารโครงร่างหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเข้ารับการฝึก ภาคปฏิบัติ (ถ้ามี) หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลถัดไป หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลที่ครูฝึกกาหนดได้ 1.2 ถ้าผลการประเมินต่ากว่าร้อยละ 70 ให้ผู้รับการฝึกเข้าฝึกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝึกอบรมภาคทฤษฎี ให้ผู้รับการฝึกศึกษาคู่มือผู้รับการฝึก และฝึกหัดทาใบทดสอบท้ายหัวข้อวิชา 3. เมื่อผู้รับการฝึกศึกษาคู่มือผู้รับการฝึกประจาโมดูลนั้นเข้าใจแล้ว ให้ทาแบบทดสอบหลังฝึก (Post-Test) แล้วส่งให้ ครูฝึกหรือระบบประเมินผลเช่นเดียวกับแบบทดสอบก่อนฝึก
6. การวัดผล 1. ผู้รับการฝึกส่งแบบทดสอบก่อนฝึก ให้ครูฝึกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎีตามวิธีที่เลือกฝึกอบรม 1.1 ถ้าผลการประเมินผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ตามที่กาหนดในเอกสารโครงร่างหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเข้ารับการฝึก ภาคปฏิบัติ (ถ้ามี) หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลถัดไปได้ 1.2 ถ้าผลการประเมินต่ากว่าร้อยละ 70 ให้ครูฝึกมอบหมายให้ผู้รับการฝึกศึกษาเนื้อหาจากสื่อด้วยตนเองจน เข้าใจ จึงทาแบบทดสอบหลังฝึก (Post-Test) 2. ผู้รับการฝึกส่งแบบทดสอบหลังฝึก ให้ครูฝึกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎี โดยใช้หลักเกณฑ์เดียวกับการ ประเมินแบบทดสอบก่อนฝึก
7. บรรณานุกรม ฉัตรชาญ ทองจับ. 2557. เครื่องทาความเย็นและปรับอากาศ.ปทุมธานี : สกายบุ๊กส์ มงคล พูลโตนด. 2557.. เครื่องทาความเย็น. กรุงเทพฯ : ศูนย์หนังสือเมืองไทย วีระศักดิ์ มะโนน้อม และสมชาย วณารักษ์. 2556. เครื่องทาความเย็นและปรับอากาศ. กรุงเทพฯ : เอมพันธ์
13 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 8
ใบข้อมูล หัวข้อวิชาที่ 1 การจัดเก็บสารทาความเย็น 1. การจัดเก็บสารทาความเย็น การจัดเก็บสารทาความความเย็นจากเครื่องปรับอากาศเป็นขั้นตอนที่มีความสาคัญอย่างมาก เนื่องจากบริเวณที่มี การติดตั้งเครื่องปรับอากาศจะต้องมีการซ่อมบารุงหรือทาความสะอาดเป็นประจา และจาเป็นจะต้องจัดเก็บสารทาความเย็น ออกมาเสียก่อน ดังนั้น การจัดเก็บสารทาความเย็นต้องทาการต่อวงจรดูดสารทาความเย็นออกมาให้ถูกต้องและเรียบร้อยที่สุด 1.1 การปั๊มดาวน์ การปั๊มดาวน์ คือการดูดน้ายาสารทาความเย็นในระบบทั้งหมดมาเก็บไว้ที่ชุดคอยล์ร้อน (Condensing Unit) จะทาเมื่อต้องการถอดแอร์ย้ายตาแหน่งการติดตั้ง โดยไม่ต้องการปล่อยสารทาความเย็นออกไปในอากาศ ซึ่งการปั๊มดาวน์ สามารถทาได้เฉพาะเครื่องปรับอากาศที่มี Stop Valve เท่านั้น โดยมีหลักการคือ ปิด Stop Valve ด้านส่งไว้ แล้วเปิด Stop Valve ด้านดูด ให้คอมเพรสเซอร์ ทางาน ดูดน้ายาแอร์ทั้งหมดกลับมาที่คอยล์ร้อนเมื่อดูดหมดก็ทาการปิ ด Stop Valve ด้านดูดล็อกน้ายาเอาไว้ ขั้นตอนการปั๊มดาวน์ 1) เปิดฝาเครื่อง 2) คลายฝาครอบ Stop Valve ออกจะเห็นรูหกเหลี่ยม สาหรับใส่ประแจหกเหลี่ยมเพื่อเปิด-ปิด Stop Valve 3) ต่อสายเกจวาล์วเข้าที่วาล์วบริการทั้งด้านส่งและด้านดูด และเปิดวาล์วเกจน้ายา สังเกตเข็มจะดีดขึ้นไป ตามเข็มนาฬิกา นั่นคือแรงดันขณะคอมเพรสเซอร์แอร์ไม่ทางาน 4) ปิด Stop Valve ด้านส่งให้สนิท ด้านดูดปิดแค่ครึ่งเดียว 5) ใช้คลิปแอมป์คล้องกับสายไฟฟ้าที่ใช้จ่ายให้เครื่องปรับอากาศโดยคล้องที่สายไฟฟ้าขั้ว L หรือขั้วที่มีไฟ เพื่ อ วั ด กระแสไฟฟ้ า ขณะท าการปั๊ ม ดาวน์ หากมี ก ระแสสู ง เกิ น ไปกว่ า ที่ เ ครื่ อ งก าหนดไว้ ให้ ท าการสั บสวิ ตช์ ไฟฟ้ าลง ปิ ดเครื่ องปรั บอากาศทั นที เพื่ อความปลอดภั ย เพราะแรงดั นสู งสะสม ที่คอมเพรสเซอร์กระแสไฟฟ้าสูงเกินไปคอมเพรสเซอร์อาจเกิดระเบิดได้
14 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 8
ภาพที่ 1.1 คลิปแอมป์คล้องกับสายไฟฟ้าที่ใช้จ่ายให้เครื่องปรับอากาศ 6) วิธีการขั้นนี้ต้องทาด้วยความรวดเร็ว และสั้นที่สุดไม่ควรนานเกินกว่า 20 วินาที เพราะถ้านานกว่านั้น คอมเพรสเซอร์จะมีอุณหภูมิสูงขึ้นกว่าปรกติและอาจระเบิดได้ ทาการเปิดเครื่องปรับอากาศและรอให้ คอมเพรสเซอร์ทางาน เมื่อคอมเพรสเซอร์ทางานให้สังเกตแรงดันน้ายาที่เกจวัดแรงดันน้ายาด้านส่ง และด้านดูดจะลดลงพร้อมๆกัน และสังเกตคลิปแอมป์มิเตอร์ว่ากระแสไฟฟ้าไม่เกินกว่าที่เครื่องกาหนด เมื่อแรงดันน้ายาใกล้ถึง 0 psi ให้ปิด Stop Valve ด้านดูดและเครื่องปรับอากาศทันที เพื่อป้องกันไม่ให้ น้ ายาแอร์ ไหลย้ อนกลั บ ไปในระบบ เมื่อทาตามขั้นตอนเสร็จเรียบร้อยแล้ วถอดสายเกจน้ายาออก ประกอบฝาครอบ Stop Valve
ภาพที่ 1.2 เมื่อแรงดันน้ายาใกล้ถึง 0 psi ให้ปิด Stop Valve 1.2 การดูดเก็บสารทาความเย็นโดยใช้เครื่องดูดเก็บน้ายาเครื่องปรับอากาศ การดูดเก็บสารทาความเย็นโดยใช้เครื่องดูดเก็บน้ายาเครื่องปรับอากาศเป็นอีกวิธีหนึ่งที่สามารถทาได้ในกรณีที่ไม่ มี Service Valve โดยน้ายาที่ถูกดูดออกมาจะอยู่ในถัง Recovery Cylinder
15 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 8
ขั้นตอนในการดูดสารทาความเย็น 1) เริ่มจากต่อแมนิโฟลด์เกจเข้ากับด้านความดันต่าและความดันสูงของส่วนคอยล์ร้อน 2) ต่ อ มาให้ ท าการต่ อ สายสี เ หลื อ งจากแมนิ โ ฟลด์ เ กจเข้ า กั บ Filter Drier ที่ เ ชื่ อ มต่ อ กั บ ช่ อ ง In ของเครื่องดูดเก็บน้ายา 3) ต่อสายจากช่อง Out ของเครื่องดูดเก็บน้ายาเข้าที่ด้านสีน้าเงินของ Recovery Cylinder 4) จากนั้นให้เปิดการทางานของเครื่องดูดเก็บน้ายาเพื่อทาการดูดน้ายาเครื่องปรับอากาศออกมา ซึ่งก่อนที่ น้ายาจะเข้าไปสู่เครื่องดูดเก็บน้ายานั้นจะผ่าน Filter Drier ทาการดูดซับความชื้นและสิ่งสกปรกออก จากตัว น้ ายาเครื่ องปรั บ อากาศ เมื่อทาการกรองเสร็จตัว เครื่องจะส่ งน้ายาเครื่อ งปรับอากาศไว้ ที่ Recovery Cylinder (โดยระยะเวลาในการทางานจะขึ้นกับชนิดและรุ่นที่ผู้ปฏิบัติงานเลือกใช้) 5) เมื่อเครื่องหยุดทางานให้สังเกตแมนิโฟลด์เกจทางด้านความดันต่าว่ามีค่าเท่ากับ 0 psig หรือไม่ หากมี ค่ า เท่ า กั บ 0psig แสดงว่ า น้ ายาในเครื่ อ งปรั บ อากาศถู ก ดู ด หมดแล้ ว หากยั ง ไม่ ถึ ง 0 psig ให้ ทาการเดินเครื่องเก็บสารทาความเย็นอีกครั้ง เพื่อทาการดูดน้ายาเครื่องปรับอากาศที่อาจลงเหลืออยู่ 6) หลังจากที่ปฏิบัติงานเสร็จให้ทาการเก็บอุปกรณ์และทาความสะอาดบริเวณที่ปฏิบัติงาน
16 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 8
ใบทดสอบ คาชี้แจง ให้ผู้รับการฝึกทาเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคาตอบข้อที่ถูกที่สุดเพียงข้อเดียว 1. ในการดูดเก็บสารทาความเย็นโดยใช้เครื่องดูดเก็บน้ายาเครื่องปรับอากาศนั้น เมื่อทาการเดินเครื่องเสร็จแล้ว พบว่าแมนิโฟลด์เกจทางด้านความดันต่ามีค่าเท่ากับ 10 psig จะมีวิธีดาเนินการอย่างไร ก. เดินเครื่องเก็บสารทาความเย็นอีกครั้ง ข. ทาการเก็บอุปกรณ์ ค. ปิด Stop Valve ทันที ง. นาสายด้านความดันต่าออกจากเครื่อง 2. ก่อนที่น้ายาเครื่องปรับอากาศไหลเข้าสู่เครื่องดูดเก็บน้ายาเครื่องปรับอากาศ จะถูกกรองความชื้นและสิ่งสกปรกด้วย อุปกรณ์ใด ก. Oil Drier ข. Filter Drier ค. Recovery Cylinder ง. Stop Valve 3. การปั๊มดาวน์มีหลักการอย่างไร ก. ดูดน้ายาสารทาความเย็นในระบบทั้งหมดมาเก็บไว้ที่ชุดคอยล์ร้อน ข. ดูดน้ายาสารทาความเย็นในระบบทั้งหมดมาเก็บไว้ที่ถัง ค. ปล่อยสารทาความเย็นในระบบทั้งหมดทิ้งเพื่อเติมใหม่
ง. เติมสารทาความเย็นในระบบให้มีปริมาณตามที่กาหนด
17 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 8
กระดาษคาตอบ ข้อ
ก
ข
ค
1 2 3
18 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
ง
คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 8
รายละเอียดหัวข้อวิชาที่ 2 0921731002 การจัดเก็บอุปกรณ์ระบบสารทาความเย็น (ใบแนะนา) 1. ผลลัพธ์การเรียนรู้ - อธิบ ายการจัดเก็บอุปกรณ์ระบบสารทาความเย็นเพื่อป้องกันความชื้นได้
2. หัวข้อสาคัญ - การจัดเก็บอุปกรณ์ระบบสารทาความเย็น
3. วิธีการฝึกอบรม การฝึกอบรมสามารถเลือกได้ 3 รูปแบบ คือ 1) การฝึกอบรมด้วยการส่งมอบสื่อสิ่งพิมพ์ 2) การฝึกอบรมที่ศูนย์ฝึกอบรม 3) การฝึกอบรมด้วยสื่อในระบบออนไลน์ ดังรายละเอียดในข้อแนะนาสาหรับผู้รับการฝึก
4. อุปกรณ์ช่วยฝึก อุปกรณ์ช่วยฝึกสามารถเลือกใช้งานได้ 2 รูปแบบ คือ 1. รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ์ (Offline) ประกอบด้วย - คู่มือผู้รับการฝึก เพื่อใช้ศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คู่มือการประเมิน เพื่อใช้ในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน์ (DVD) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 2. รูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ (Online) ประกอบด้วย - คู่มือผู้รับการฝึกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) เพื่อใช้ศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คู่มือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) เพื่อใช้ในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน์ (Online) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ
19 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 8
5. การรับการฝึกอบรม 1. ผู้รับการฝึกทาแบบทดสอบก่อนฝึก (Post-Test) แล้วส่งให้ครูฝึกหรือระบบประเมินผลตามวิธีที่เลือกฝึกอบรม 1.1 ถ้าผลการประเมินผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ตามที่กาหนดในเอกสารโครงร่างหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเข้ารับการฝึก ภาคปฏิบัติ (ถ้ามี) หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลถัดไป หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลที่ครูฝึกกาหนดได้ 1.2 ถ้าผลการประเมินต่ากว่าร้อยละ 70 ให้ผู้รับการฝึกเข้าฝึกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝึกอบรมภาคทฤษฎี ให้ผู้รับการฝึกศึกษาคู่มือผู้รับการฝึก และฝึกหัดทาใบทดสอบท้ายหัวข้อวิชา 3. เมื่อผู้รับการฝึกศึกษาคู่มือผู้รับการฝึกประจาโมดูลนั้นเข้าใจแล้ว ให้ทาแบบทดสอบหลังฝึก (Post-Test) แล้วส่งให้ ครูฝึกหรือระบบประเมินผลเช่นเดียวกับแบบทดสอบก่อนฝึก
6. การวัดผล 1. ผู้รับการฝึกส่งแบบทดสอบก่อนฝึก ให้ครูฝึกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎีตามวิธีที่เลือกฝึกอบรม 1.1 ถ้าผลการประเมินผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ตามที่กาหนดในเอกสารโครงร่างหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเข้ารับการฝึก ภาคปฏิบัติ (ถ้ามี) หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลถัดไปได้ 1.2 ถ้าผลการประเมินต่ากว่าร้อยละ 70 ให้ครูฝึกมอบหมายให้ผู้รับการฝึกศึกษาเนื้อหาจากสื่อด้วยตนเองจน เข้าใจ จึงทาแบบทดสอบหลังฝึก (Post-Test) 2. ผู้รับการฝึกส่งแบบทดสอบหลังฝึก ให้ครูฝึกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎี โดยใช้หลักเกณฑ์เดียวกับการ ประเมินแบบทดสอบก่อนฝึก
7. บรรณานุกรม ฉัตรชาญ ทองจับ. 2557. เครื่องทาความเย็นและปรับอากาศ.ปทุมธานี : สกายบุ๊กส์ มงคล พูลโตนด. 2557.. เครื่องทาความเย็น. กรุงเทพฯ : ศูนย์หนังสือเมืองไทย
20 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 8
ใบข้อมูล หัวข้อวิชาที่ 2 การจัดเก็บอุปกรณ์ระบบสารทาความเย็น 1. การจัดเก็บอุปกรณ์ระบบสารทาความเย็นกรณีถอดพักเครื่องโดยไม่ติดตั้งในทันที การจัด เก็บ อุ ป กรณ์ ใ นระบบสารท าคว ามเย็ น กรณีพ ัก เครื ่ อ งไว้น านหรื อ เคลื ่ อ นย้า ยในระยะที ่ ไ กล ไม่ส ามารถทาการติดตั้งระบบได้อย่ างต่อเนื่ องนั้น ช่างที่ทาการถอดเก็บอุปกรณ์ ส ามารถแบ่งวิธีจัดเก็บได้ 2 ส่ ว นคือ 1) การจัดเก็บอุปกรณ์ระบบสารทาความเย็นในส่วนของคอยล์ร้อน และ 2) การจัดเก็บอุปกรณ์ระบบสารทาความเย็นใน ส่วนของคอยล์เย็น 1) การจัดเก็บอุปกรณ์ระบบสารทาความเย็นในส่วนของคอยล์ร้อน (Pump Down) - ต่อสายแมนิโฟลด์เกจ ด้านความดันต่ากับท่อทางดูด - เปิ ด เครื่ อ งอากาศให้ ท างาน จากนั้ น ใช้ ป ระแจหกเหลี่ ย มปิ ด วาล์ ว ท่ อ ทางส่ ง (ท่ อ เล็ ก ) ในขณะที่ยังให้คอมเพรสเซอร์ทางาน - ปล่ อ ยให้ ค อมเพรสเซอร์ ท างาน จากนั้ น สั ง เกตเข็ ม แมนิ โ ฟลด์ เ กจจะต่ าลงมาถึ ง 10 psi แล้วใช้ประแจปิดวาล์วท่อทางดูด (ท่อใหญ่) - ปิดเครื่องปรับอากาศ หยุดการทางานของคอมเพรสเซอร์ (ปิดเมนเบรกเกอร์) จบขั้นตอนการ Pump Down - ถอดแมนิโฟลด์เกจออก และถอดข้อต่อ (แฟร์นัต) ด้านส่งและด้านดูดออก - ใช้ฝาครอบปิดที่เซอร์วิสวาล์วทางด้าน High และด้าน Low ของคอนเดนซิ่ง 2) การจัดเก็บอุปกรณ์ระบบสารทาความเย็นในส่วนของคอยล์เย็น (ทาต่อเนื่องจากส่วนของคอยล์ร้อน)
ภาพที่ 2.1 ใส่ข้อต่อท่อด้านหนึ่ง 21 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 8
- ทาการใส่ข้อต่อท่อทางออกของคอยล์เย็น (ท่อใหญ่) แล้วเชื่อมปิดปลายท่อ
ภาพที่ 2.2 ปลายท่ออีกด้านใส่หัวเซอร์วิสวาล์ว - อีกด้านหนึ่งเป็นท่อทางเข้าของคอยล์เย็น (ท่อเล็ก) ให้ใส่วาล์วลูกศรเพื่อทาการปิดเช่นกัน - นาแมนิโฟลด์เกจทางด้านแรงดันต่ามาต่อกับวาล์วลูกศร ส่วนอีกด้านหนึ่งต่อ กับเครื่องสุญญากาศ - เปิดเครื่องสุญญากาศ เพื่อทาระบบคอยล์เย็นให้เป็นสุญญากาศ (30 นิ้วปรอท) - ปิดวาล์วแมนิโฟลด์เกจและปิดเครื่องสุญญากาศ - ถอดสายแมนิโฟลด์เกจออกจากเครื่องสุญญากาศแล้วนาไปต่อกับถังไนโตรเจน - เปิดวาล์วที่ถังไนโตรเจน (50 ปอนด์ต่อตารางนิ้ว) เปิดวาล์วที่แมนิโฟลด์เกจ สังเกตเข็ม ที่หน้าปัดแมนิโฟลด์เกจที่ 50 ปอนด์ต่อตารางนิ้ว จากนั้นปิดวาล์วที่แมนิโฟลด์เกจและวาล์ว ที่ถังไนโตรเจน - ใช้คีมบีบปลายท่อเพื่อไม่ให้ไนโตรเจนออก - ถอดสายแมนิโฟลด์เกจออกจากวาล์วลูกศร
ภาพที่ 2.3 ตาแหน่งที่ใช้คีมบีบท่อด้านเซอร์วิสวาล์วและทาการเชื่อมปิด 22 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 8
- ตัดท่อทองแดงระหว่างวาล์วลูกศรกับคีมที่บีบท่ออยู่และเชื่อมปิดปลายท่อ - รอจนชิ้นงานเย็นจึงปลดคีมบีบท่อออก
ภาพที่ 2.4 ปลอกท่อสาหรับสวมปิดท่อแอร์ ในปัจจุบันผู้ผลิตเครื่องปรับอากาศได้ผลิตปลอกท่อออกจาหน่ายเพื่อให้สะดวกและง่ายต่อการป้องกันความชื้นเข้า ระบบสาหรับการขนย้ายเครื่องปรับอากาศซึ่งหาซื้อได้ทั่วไป
23 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 8
ใบทดสอบ คาชี้แจง ให้ผู้รับการฝึกทาเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคาตอบข้อที่ถูกที่สุดเพียงข้อเดียว 1. การจัดเก็บอุปกรณ์ระบบสารทาความเย็นกรณีถอดพักเครื่องโดยไม่ติดตั้งในทันทีต้องทาสุญญากาศระบบอย่างไร ก. ทาสุญญากาศระบบในคอยล์ร้อนเท่านั้น ข. ทาสุญญากาศระบบในคอยล์เย็นเท่านั้น ค. ทาสุญญากาศระบบในคอยล์ร้อนและคอยล์เย็น ง. เลือกทาแค่คอยล์ร้อนหรือคอยล์เย็นเพียงส่วนใดส่วนหนึ่ง 2. วัสดุ อุปกรณ์ ชนิดใดต่อไปนี้ใช้ในการป้องกันความชื้นเข้าระบบในระหว่างรอการเคลื่อนย้ายเครื่องปรับอากาศ ก. ปลอกท่อสาหรับสวมปิดท่อแอร์ ข. เครื่องทาสุญญากาศ ค. แมนิโฟลด์เกจ ง. คีม 3. ประแจหกเหลี่ยมใช้ทาอะไร ในขั้นตอนการเก็บสารทาความเย็น ก. ใช้ในการเปิด-ปิด Stop Valve ข. ใช้ในการเปิด-ปิดถังไนโตรเจน ค. ใช้ในการเปิด-ปิดเครื่องสุญญากาศ ง. ใช้ในการเปิด-ปิดเมนเบรกเกอร์
24 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 8
กระดาษคาตอบ ข้อ
ก
ข
ค
1 2 3
25 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
ง
คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 8
คณะผู้จัดทาโครงการ คณะผู้บริหาร 1. นายสุทธิ
สุโกศล
อธิบดีกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน
2. นางถวิล
เพิ่มเพียรสิน
รองอธิบดีกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน
3. นายธวัช
เบญจาทิกุล
รองอธิบดีกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน
4. นายสุรพล
พลอยสุข
รองอธิบดีกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน
5. ว่าที่ร้อยตรี สมศักดิ์ พรหมดา
ผู้อานวยการสานักพัฒนาผู้ฝึกและเทคโนโลยีการฝึก
6. นางเพ็ญประภา
ศิริรัตน์
ผู้อานวยการกลุ่มงานพัฒนาระบบการฝึก
7. นายวัชรพงษ์
มุขเชิด
ผู้อานวยการสานักงานรับรองความรู้ความสามารถ
คาเงิน
ภาควิชาวิศวกรรมโทรคมนาคม คณะวิศวกรรมศาสตร์
คณะที่ปรึกษาโครงการ 1. ผศ. ดร. มนตรี
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง 2. รศ. ดร. วิสุทธิ์
สุนทรกนกพงศ์
ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้าสื่อสาร คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
3. ผศ. สันติ
ตันตระกูล
ภาควิชาครุศาสตร์วิศวกรรม คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
4. นายสุระชัย
พิมพ์สาลี
ภาควิชาครุศาสตร์วิศวกรรม คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
5. นายวินัย
ใจกล้า
ภาควิชาครุศาสตร์วิศวกรรม คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
6. นายวราวิช
กาภู ณ อยุธยา
สานักบริหารงานวิจัยและนวัตกรรมพระจอมเกล้าลาดกระบัง สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
7. นายมนตรี
ประชารัตน์
แผนกวิชาช่างไฟฟ้า วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี
8. นายธเนศ
วงค์วัฒนานุรักษ์
แผนกวิชาช่างไฟฟ้า วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี
9. นายณัฐวุฒิ
เสรีธรรม
แผนกวิชาช่างไฟฟ้า วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี
10. นายหาญยงค์
หอสุขสิริ
แผนกวิชาโลหะการ วิทยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษก มหานคร
11. นายสวัสดิ์
บุญเถื่อน
แผนกวิชาช่างยนต์ วิทยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษก มหานคร 26 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 8
27 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน