หน้าปก
คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 9
คู่มือผู้รับการฝึก 0920164170202 สาขาช่างเครื่องปรับอากาศในบ้านและการพาณิชย์ขนาดเล็ก ระดับ 2
ชุดการฝึกตามความสามารถ (CBT)
โมดูลการฝึกที่ 9 09217311 การทาความสะอาดระบบ เมื่อภายในระบบ มีความชื้น
กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 9
คานา คู่มือผู้รับการฝึก สาขาช่างเครื่องปรับอากาศในบ้านและการพาณิชย์ขนาดเล็ก ระดับ 2 โมดูล 9 การทาความสะอาด ระบบ เมื่อภายในระบบมีความชื้นฉบับนี้ เป็นส่วนหนึ่งของหลักสูตรฝึกอบรมฝีมือแรงงานตามความสามารถ (Competency Based Training : CBT) ซึง่ พัฒนาขึ้นเพื่อใช้เป็นเอกสารประกอบการจัดการฝึกอบรมกับชุดการฝึกตามความสามารถ โดยได้ ดาเนินการภายใต้โครงการพัฒนาระบบฝึกและชุดการฝึกตามความสามารถเพื่อการพัฒนาฝีมือแรงงาน ด้วยระบบการฝึกตาม ความสามารถ (Competency Based Workforce Skill Training System) พ.ศ. 2560 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ ผู้รับการ ฝึกได้ใช้เป็นเครื่องมือในการฝึกอบรมให้เป็นไปตามหลักสูตร กล่าวคือ หลังเรียนจบโมดูลการฝึก ผู้รับการฝึกสามารถอธิบาย วิธีการทาความสะอาดระบบ เมื่อภายในระบบมีความชื้นได้อย่างถูกต้อง ระบบการฝึกอบรมตามความสามารถเป็นระบบการฝึกอบรมที่ส่งเสริมให้ผู้รับการฝึกอบรมสามารถฝึกฝนเรียนรู้ได้ ตามพื้นฐานความสามารถของตนในเวลาที่มีความสะดวก โดยเน้นในเรื่องของการส่งมอบการฝึกอบรมที่หลากหลายไปให้แก่ ผู้ รับการฝึ กอบรม และต้องการให้ ผู้ รั บ การฝึ ก อบรมเกิด การเรี ยนรู้ ด้ว ยตนเอง การฝึ กปฏิบัติจะด าเนิน การในรู ป แบบ Learning by Doing และเน้นผลลัพธ์การฝึกอบรมในการที่ทาให้ผู้รับการฝึกอบรมมีความสามารถในการปฏิบัติงานตามที่ ตลาดแรงงานต้องการ โดยยึดความสามารถของผู้รับ การฝึกเป็นหลัก การฝึกอบรมในระบบดังกล่าว จึงเป็นรูปแบบการ ฝึกอบรมที่สามารถรองรับการพัฒนารายบุคคลได้เป็นอย่างดี นอกจากนี้ เนื้อหาวิชาในหลั กสูตรการฝึกตามความสามารถ (Competency Based Curriculum : CBC) ซึ่งได้จากการวิเคราะห์งานอาชีพ (Job Analysis) ในแต่ละสาขาอาชีพ จะถูก กาหนดเป็นรายการความสามารถหรือสมรรถนะ (Competency) ที่ผู้รับการฝึกอบรมจาเป็นต้องใช้ในการปฏิบัติงาน และ สอดคล้องกับความต้องการของสถานประกอบกิจการและภาคอุตสาหกรรม ซึ่งผู้รับการฝึกจะต้องเรียนรู้และฝึกฝนจนกว่าจะ สามารถปฏิบัติเองได้ ตามมาตรฐานที่กาหนดในแต่ละรายการความสามารถ ทั้งนี้ การส่งมอบการฝึก สามารถดาเนินการได้ ทั้งรูปแบบการเรียนรู้ผ่านสื่อสิ่งพิมพ์ (Paper Based) และผ่านสื่อคอมพิวเตอร์ (Computer Based) โดยผู้รับการฝึกสามารถ เรียนรู้ได้ด้วยตนเอง (Self-Learning) ที่บ้านหรือที่ทางาน และเข้ารับการฝึกภาคปฏิบัติตามความพร้อม ตามความสะดวก ของตน หรือตามแผนการฝึก หรือตามตารางการนัดหมาย การฝึกหรือทดสอบประเมินผลความรู้ความสามารถกับหน่วยฝึก โดยมีครูฝึกหรือผู้สอนคอยให้คาปรึกษา แนะนาและจัดเตรียมการฝึกภาคปฏิบัติ รวมถึงจัดเตรียมและดาเนินการทดสอบ ประเมินผลในลักษณะต่าง ๆ อันจะทาให้สามารถเพิ่มจานวนผู้รับการฝึกได้มากยิ่งขึ้น ช่วยประหยัดเวลาในการเดินทาง และ ประหยั ดงบประมาณค่าใช้จ่ ายในการพัฒ นาฝี มือแรงงานให้ แก่กาลั งแรงงานในระยะยาว จึงถือเป็นรูปแบบการฝึ กที่มี ความสาคัญต่อการพัฒนาฝีมือแรงงาน ทั้งในปัจจุบันและอนาคต ซึ่งหากมีการนาระบบการฝึกอบรมตามความสามารถมาใช้ ในการพัฒนาฝีมือแรงงาน จะช่วยทาให้ประชาชน ผู้ใช้แรงงานผู้ว่างงาน นักเรียน นักศึกษา และผู้ประกอบอาชีพอิ สระ สามารถเข้าถึงการฝึกอบรมเพื่อพัฒนาตนเองได้อย่างสะดวก และได้รับประโยชน์อย่างทั่วถึงมากยิ่งขึ้น กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน
ก กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 9
สารบัญ เรื่อง
หน้า
คานา
ก
สารบัญ
ข
ข้อแนะนาสาหรับผู้รับการฝึก
1
โมดูลการฝึกที่ 9 09217311 การทาความสะอาดระบบ เมื่อภายในระบบมีความชื้น หัวข้อวิชาที่ 1 0921731101 การทาความสะอาดระบบ คณะผู้จัดทาโครงการ
ข กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
13 33
คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 9
ข้อแนะนาสาหรับผูร้ ับการฝึก ข้อแนะนาสาหรับผู้รับการฝึก คือ คาอธิบายเกี่ยวกับรายละเอียดของคู่มือ และขั้นตอนการเข้ารับการฝึก ซึ่งมีอยู่ด้วยกัน 6 ข้อ ดังนี้
1. รายละเอียดของคู่มือ 1.1 โมดูลการฝึก / หัวข้อวิชา หมายถึง โมดูลการฝึกที่ครูฝึกต้องจัดการฝึกอบรม โดยภายในโมดูลจะประกอบไปด้วย หัวข้อวิชาที่ผู้รับ การฝึ กต้องเรี ย นรู้ และฝึกฝน ซึ่งมีรหัสโมดูล และรหัส หัว ข้อวิชาเป็นตัว กาหนดความสามารถ ที่ต้องเรียนรู้ 1.2 ระยะเวลาการฝึก หมายถึง จานวนชั่วโมงในการฝึกอบรม เพื่อให้บรรลุตามวัตถุประสงค์ของแต่ละโมดูล 1.3 ระบบการฝึกตามความสามารถ (CBT) หมายถึง ระบบการฝึกที่เกิดจากการนาความรู้ ทักษะ ความสามารถ (Competency) ที่จาเป็นสาหรับการทางานมาเป็นฐาน (Based) ของการจัดฝึกอบรม หรือนามากาหนดเป็นเนื้อหา (Content) และเกณฑ์ก ารประเมิน การฝึก อบรม ทาให้ผู้รับ การฝึก อบรมมีค วามสามารถ ( Competency) ตามเกณฑ์มาตรฐานที่กาหนด และตามความสามารถในการเรียนรู้ของผู้รับการฝึกเป็นหลัก 1.4 ชุดการฝึก หมายถึง สื่อสิ่งพิมพ์ และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ใช้สาหรับเป็นอุปกรณ์ช่วยฝึก โดยแต่ละโมดูลประกอบด้วย คู่มือครูฝึก คู่มือผู้รับการฝึก คู่มือประเมิน สื่อวีดิทัศน์ 1.5 ระบบจัดการฝึกด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer Managed Instruction : CMI) หมายถึง การนาระบบคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศ ซึ่งใช้ในการจัดการเรียนรู้และฝึกอบรม เช่น ระบบรับสมัครออนไลน์ ระบบลงทะเบียน เข้า รับ การฝึก อบรมออนไลน์ ระบบการฝึก อบรมภาคทฤษฎีผ่านอุปกรณ์อิเล็ก ทรอนิก ส์ห รือ อุปกรณ์สื่อสาร แบบพกพา การทดสอบออนไลน์ การบันทึกผลการฝึกอัตโนมัติ และการออกใบวุฒิบัตรอิเล็กทรอนิกส์ เป็นต้น โดยการเข้า ใช้ง านระบบ แบ่งส่ว นการใช้ง านตามความรับผิด ชอบของผู้มีส่ว นได้ส่ว นเสีย ดัง ภาพในหน้า 2 ซึ่งรายละเอียดการใช้งานของผู้เข้ารับการฝึกสามารถดูได้จากลิงค์ mlearning.dsd.go.th/download/files/trainee.pdf
1 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 9
2 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 9
2. ผังการฝึกอบรม
3 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 9
3. วิธีการฝึกอบรม 3.1 ผู้รับการฝึก ทาความเข้าใจการฝึกอบรมในระบบ CBT ซึ่งสามารถฝึกอบรมได้ 3 รูปแบบ คือ 3.1.1 การฝึกอบรมด้วยการส่งมอบสื่อสิ่งพิมพ์ (Offline) 3.1.2 การฝึกอบรมที่ศูนย์ฝึกอบรม (Offline) 3.1.3 การฝึกอบรมด้วยสื่อในระบบออนไลน์ (Online) โดยในแต่ละรูปแบบจะมีรายละเอียดแตกต่างกัน ดังนี้ 3.1.1 การฝึกอบรมด้วยการส่งมอบสื่อสิ่งพิมพ์ (Offline) คือ การฝึก อบรมที่ผู้รับ การฝึกเรียนรู้ภ าคทฤษฎี (ด้า นความรู้) ด้ว ยตนเอง โดยครูฝึก เป็นผู้ส่งมอบ คู่มือผู้รับการฝึกที่พิมพ์จ ากสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) และวีดิทัศน์ (DVD) แก่ผู้รับการฝึก และฝึกภาคปฏิบัติ (ด้านทักษะ) ที่ศูนย์ฝึกอบรม การฝึกภาคทฤษฎี - ผู้รับการฝึกเรียนรู้ภาคทฤษฎีด้วยตนเอง โดยใช้คู่มือผู้รับการฝึกที่พิมพ์จากสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) และวีดิทัศน์ (DVD) ที่ครูฝึกส่งมอบให้ การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ผู้รับการฝึกทาแบบทดสอบก่อนฝึก (Pre-Test) ลงในกระดาษคาตอบ แล้วส่งกระดาษคาตอบ ให้ครูฝึก เพื่อตรวจและประเมินผล 2) ครูฝึกประเมินแบบทดสอบก่อนฝึก - ถ้าผลการประเมินผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ตามที่กาหนดในเอกสารโครงร่างหลั กสูตร จะมีสิท ธิ์ ข อเข้า รับ การฝึก ภาคปฏิบัติ (ถ้า มี) หรือ เข้า รับ การฝึก ในโมดูล ถัด ไป หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลที่ครูฝึกกาหนดได้ - ถ้าผลการประเมินต่ากว่าร้อยละ 70 ให้ครูฝึกมอบหมายให้ผู้รับการฝึกศึกษาเนื้อหา จากสื่อด้วยตนเองจนเข้าใจ จึงทาแบบทดสอบหลังฝึก (Post-Test) 3) ผู้รับการฝึกทาแบบทดสอบหลังฝึก (Post-Test) ลงในกระดาษคาตอบ แล้วส่งให้ครูฝึกตรวจ และประเมินผล โดยใช้หลักเกณฑ์เดียวกับการประเมินแบบทดสอบก่อนฝึก การฝึกภาคปฏิบัติ 1) ผู้รับการฝึกตรวจสอบวันฝึกภาคปฏิบัติที่ศูนย์ฝึกอบรม - หากครูฝึกกาหนดวันฝึกและห้องฝึกโดยระบุชื่อผู้รับการฝึกไว้แล้ว ให้ผู้รับการฝึกมา ฝึกภาคปฏิบัติให้ตรงวันและเวลาที่กาหนด - หากครูฝึกกาหนดวันฝึกและห้องฝึกแต่ไม่ได้ระบุชื่อผู้รับการฝึก ให้ผู้รับการฝึกลงชื่อ ในวันและเวลาที่ตนเองสะดวก
4 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 9
2) ผู้รับการฝึกศึกษาใบขั้นตอนปฏิบัติงานก่อนเข้ารับการฝึกภาคปฏิบัติ 3) เมื่อถึงวันฝึกภาคปฏิบัติ ให้ผู้รับการฝึกฟังคาชี้แจงขั้นตอนการปฏิบัติงานจากครูฝึก แล้วฝึก ปฏิบัติงานตามขั้นตอน 4) ผู้รับการฝึกส่งผลงานให้ครูผู้ฝึกประเมินผล และวิเคราะห์ผลงานร่วมกับครูฝึกเพื่อให้มาตรฐาน เป็นไปตามเกณฑ์การประเมิน การประเมินผลภาคปฏิบัติ 1) ผู้รับการฝึกตรวจสอบวันสอบภาคปฏิบัติที่ศูนย์ฝึกอบรม - หากครูฝึกกาหนดวันสอบและห้องสอบโดยระบุชื่อผู้รับการฝึกไว้แล้ว ให้ผู้รับการฝึก มาสอบภาคปฏิบัติให้ตรงวันและเวลาที่กาหนด - หากครูฝึกกาหนดวันสอบและห้องสอบแต่ไม่ได้ระบุชื่อผู้รับการฝึก ให้ผู้รับการฝึกลงชื่อ ในวันและเวลาที่ตนเองสะดวก 2) เมื่อถึงวันสอบภาคปฏิบัติ ให้ผู้รับการฝึกฟังคาชี้แจงจากครูฝึก แล้วสอบปฏิบัติงานตามคาชี้แจง 3) ผู้รับการฝึกส่งผลงานให้ครูฝึกตรวจผลงานและกรอกคะแนนลงในใบประเมินโดยต้องผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 70 ตามที่กาหนดในเอกสารโครงร่างหลักสูตร จึงจะผ่านการฝึกโมดูลนั้น 4) ผู้รับการฝึกดูประกาศผลการทดสอบภาคปฏิบัติจากครูฝึก 3.1.2 การฝึกอบรมที่ศูนย์ฝึกอบรม (Offline) คือ การฝึกอบรมที่ผู้รับการฝึกเรียนรู้ภาคทฤษฎีจากครูฝึก และฝึกภาคปฏิบัติที่ศูนย์ฝึกอบรม การฝึกภาคทฤษฎี - ผู้รับการฝึกเรียนรู้ภาคทฤษฎีจากครูฝึกโดยใช้สื่อสิ่งพิมพ์จากสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) และวีดิทัศน์ (DVD) ที่ศูนย์ฝึกอบรม การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ผู้รับการฝึกทาแบบทดสอบก่อนฝึก (Pre-Test) ลงในกระดาษคาตอบ แล้วส่งกระดาษคาตอบ ให้ครูฝึกตรวจและประเมินผล 2) ครูฝึกประเมินแบบทดสอบก่อนฝึก - ถ้าผลการประเมินผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ตามที่กาหนดในเอกสารโครงร่างหลั กสูตร ผู้รับการฝึกจะมีสิทธิ์ขอเข้ารับการฝึกภาคปฏิบัติ (ถ้ามี) หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลถัดไป หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลที่ครูฝึกกาหนดได้ - ถ้าผลการประเมินต่ากว่าร้อยละ 70 ให้ผู้รับ การฝึกศึกษาเนื้อหาจากสื่อด้วยตนเอง จนเข้าใจ จึงทาแบบทดสอบหลังฝึก (Post-Test) 3) ผู้รับการฝึกทาแบบทดสอบหลังฝึก (Post-Test) ลงในกระดาษคาตอบ แล้วส่งให้ครูฝึกตรวจ และประเมินผล โดยใช้หลักเกณฑ์เดียวกับการประเมินแบบทดสอบก่อนฝึก 5 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 9
การฝึกภาคปฏิบัติ 1) ผู้รับการฝึกตรวจสอบวันฝึกภาคปฏิบัติที่ศูนย์ฝึกอบรม - หากครูฝึกกาหนดวันฝึกและห้องฝึกโดยระบุชื่อผู้รับการฝึกไว้แล้ว ให้ผู้รับการฝึกมา ฝึกภาคปฏิบัติให้ตรงวันและเวลาที่กาหนด - หากครูฝึกกาหนดวันฝึกและห้องฝึกแต่ไม่ได้ระบุชื่อผู้รับการฝึก ให้ผู้รับการฝึกลงชื่อ ในวันและเวลาที่ตนเองสะดวก 2) ผู้รับการฝึกศึกษาใบขั้นตอนปฏิบัติงานก่อนเข้ารับการฝึกภาคปฏิบัติ 3) เมื่อถึงวันฝึกภาคปฏิบัติ ให้ผู้รับการฝึกฟังคาชี้แจงขั้นตอนการปฏิบัติงานจากครูฝึก แล้วฝึก ปฏิบัติงานตามขั้นตอน 4) ผู้รับการฝึกส่งผลงานให้ครูผู้ฝึกประเมินผล และวิเคราะห์ผลงานร่วมกับครูฝึกเพื่อให้มาตรฐาน เป็นไปตามเกณฑ์การประเมิน การประเมินผลภาคปฏิบัติ 1) ผู้รับการฝึกตรวจสอบวันสอบภาคปฏิบัติที่ศูนย์ฝึกอบรม - หากครูฝึกกาหนดวันสอบและห้องสอบโดยระบุชื่อผู้รับการฝึกไว้แล้ว ให้ผู้รับการฝึก มาสอบภาคปฏิบัติให้ตรงวันและเวลาที่กาหนด - หากครูฝึกกาหนดวันสอบและห้องสอบแต่ไม่ได้ระบุชื่อผู้รับการฝึก ให้ผู้รับการฝึกลงชื่อ ในวันและเวลาที่ตนเองสะดวก 2) เมื่อถึงวันสอบภาคปฏิบัติ ให้ผู้รับการฝึกฟังคาชี้แจงจากครูฝึก แล้วสอบปฏิบัติงานตามคาชี้แจง 3) ผู้รับการฝึกส่งผลงานให้ครูฝึกตรวจผลงานและกรอกคะแนนลงในใบประเมินโดยต้องผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 70 ตามที่กาหนดในเอกสารโครงร่างหลักสูตร จึงจะผ่านการฝึกโมดูลนั้น 4) ผู้รับการฝึกดูประกาศผลการทดสอบภาคปฏิบัติจากครูฝึก 3.1.3 การฝึกอบรมด้วยสื่อในระบบออนไลน์ (Online) คือ การฝึกอบรมที่ผู้รับการฝึกเรียนรู้ภาคทฤษฎีด้วยตนเองผ่านระบบจัดการฝึกด้วยคอมพิวเตอร์ หรือ CMI โดยใช้คู่มือผู้รับการฝึกที่เป็นสื่อออนไลน์ในแอปพลิเคชัน DSD m-Learning และฝึกภาคปฏิบัติที่ศูนย์ฝึกอบรม วิธีดาวน์โหลดแอปพลิเคชัน DSD m-Learning - ผู้รับการฝึกดาวน์โหลดแอปพลิ เคชัน DSD m-Learning ซึ่งวิธีการดาวน์โหลดแอปพลิ เ คชัน สามารถแบ่งออกเป็น 2 ช่องทางตามแต่ละระบบปฏิบัติการ คือ 1) ผู้รับการฝึกที่ใช้เครื่องมือสื่อสารอิเล็กทรอนิกส์ ระบบปฏิบัติการ iOS ค้นหา แอปพลิเคชัน DSD m-Learning ใน App Store จากนั้นกดดาวน์โหลด เพื่อติดตั้งบนเครื่องมือสื่อสาร และเข้าใช้งานโดยกรอก Username และ Password ตามที่เคยลงทะเบียนไว้
6 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 9
2) ผู้รับการฝึกที่ใช้เครื่องมือสื่ อสารอิเล็ กทรอนิกส์ ระบบปฏิบัติการ Android ค้นหา แอปพลิ เ คชั น DSD m-Learning ใน Google Play Store จากนั้ น กดดาวน์ โ หลด เพื่อติดตั้งบนเครื่องมือสื่อสาร และเข้าใช้งานโดยกรอก Username และ Password ตามทีเ่ คยลงทะเบียนไว้ การฝึกภาคทฤษฎี - ผู้รับการฝึกเรียนรู้ภาคทฤษฎีด้วยตนเอง จากคู่มือผู้รับการฝึก ซึ่งเป็นสื่อออนไลน์บนแอปพลิเคชัน DSD m-Learning การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ผู้รับการฝึกทาแบบทดสอบก่อนฝึก (Pre-Test) ลงในแอปพลิเคชัน โดยระบบจะตรวจและประเมินผล อัตโนมัติ - ถ้าผลการประเมินผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ตามที่กาหนดในเอกสารโครงร่างหลั กสูตร ผู้รับการฝึกจะมีสิทธิ์ขอเข้ารับการฝึกภาคปฏิบัติ (ถ้ามี) หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลถัดไป หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลที่ครูฝึกกาหนดได้ - ถ้าผลการประเมินต่ากว่าร้อยละ 70 ให้ผู้รับการฝึกศึกษาเนื้อหาจากสื่อด้วยตนเอง จนเข้าใจแล้วจึงทาแบบทดสอบหลังฝึก (Post-Test) 2) ผู้รับการฝึกทาแบบทดสอบหลังฝึก โดยใช้หลักเกณฑ์เดียวกับการประเมินแบบทดสอบก่อนฝึก การฝึกภาคปฏิบัติ 1) ผู้รับการฝึกตรวจสอบวันฝึกภาคปฏิบัติในแอปพลิเคชัน - หากครูฝึกกาหนดวันฝึกและห้องฝึกโดยระบุชื่อผู้รับการฝึกไว้แล้ว ให้ผู้รับการฝึกมา ฝึกภาคปฏิบัติให้ตรงวันและเวลาที่กาหนด - หากครูฝึกกาหนดวันฝึกและห้องฝึกแต่ไม่ได้ระบุชื่อผู้รับการฝึก ให้ผู้รับการฝึกลงชื่อ ในวันและเวลาที่ตนเองสะดวก 2) ผู้รับการฝึกศึกษาใบขั้นตอนปฏิบัติงานก่อนเข้ารับการฝึกภาคปฏิบัติ 3) เมื่อถึงวันฝึกภาคปฏิบัติ ให้ผู้รับการฝึกฟังคาชี้แจงขั้นตอนการปฏิบัติงานจากครูฝึก แล้วฝึก ปฏิบัติงานตามขั้นตอน 4) ผู้รับการฝึกส่งผลงานให้ครูผู้ฝึกประเมินผล และวิเคราะห์ผลงานร่วมกับครูฝึกเพื่อให้มาตรฐาน เป็นไปตามเกณฑ์การประเมิน การประเมินผลภาคปฏิบัติ 1) ผู้รับการฝึกตรวจสอบวันสอบภาคปฏิบัติในแอปพลิเคชัน - หากครูฝึกกาหนดวันสอบและห้องสอบโดยระบุชื่อผู้รับการฝึกไว้แล้ว ให้ผู้รับการฝึก มาสอบภาคปฏิบัติให้ตรงวันและเวลาที่กาหนด
7 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 9
- หากครูฝึกกาหนดวันสอบและห้องสอบแต่ไม่ได้ระบุชื่อผู้รับการฝึก ให้ผู้รับการฝึกลงชื่อ ในวันและเวลาที่ตนเองสะดวก 2) เมื่อถึงวันสอบภาคปฏิบัติ ให้ผู้รับการฝึกฟังคาชี้แจงจากครูฝึก แล้วสอบปฏิบัติงานตามคาชี้แจง 3) ผู้รับการฝึกส่งผลงานให้ครูฝึกตรวจผลงานและกรอกคะแนนลงในใบประเมินโดยต้องผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 70 ตามที่กาหนดในเอกสารโครงร่างหลักสูตร จึงจะผ่านการฝึกโมดูลนั้น 4) ผู้รับการฝึกดูประกาศผลการทดสอบภาคปฏิบัติในแอปพลิเคชัน 3.2 ครูฝึกชี้แจงรูปแบบการฝึกอบรมทั้ง 3 รูปแบบแก่ผู้รับการฝึก เพื่อทาการตกลงรูปแบบการฝึกอบรมร่วมกับผู้รับการฝึก โดยให้ผู้รับการฝึกเลือกวิธีที่สะดวก 3.3 ครูฝึกวางแผนการฝึกตลอดหลักสูตรร่วมกันกับผู้รับการฝึก
4. อุปกรณ์ช่วยฝึกและช่องทางการเข้าถึงอุปกรณ์ช่วยฝึก ผู้รับการฝึกสามารถเลือกใช้อุปกรณ์ช่วยฝึกได้ 2 รูปแบบ คือ รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ์ (Offline) และรูปแบบระบบจัดการฝึก ด้วยคอมพิวเตอร์ หรือ CMI (Online) โดยมีช่องทางการเข้าถึงอุปกรณ์ช่วยฝึกแต่ละรูปแบบแตกต่างกัน ดังนี้ 4.1 รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ์ (Offline) ประกอบด้วย - คู่มือผู้รับการฝึก เพื่อใช้ศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คู่มือการประเมิน เพื่อใช้ในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน์ (DVD) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 4.2 รูปแบบระบบจัดการฝึกด้วยคอมพิวเตอร์ หรือ CMI (Online) ดังนี้ - คู่มือผู้รับการฝึกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) เพื่อใช้ศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คู่มือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) เพื่อใช้ในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน์ (Online) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ
5. การวัดและประเมินผล 5.1 การประเมินผลภาคทฤษฎี (ด้านความรู้) ประเมินผลจากแบบทดสอบภาคทฤษฎีก่อนฝึก และแบบทดสอบภาคทฤษฎีหลังฝึก โดยกาหนดเกณฑ์การให้คะแนน และการระบุความสามารถด้านความรู้ ดังนี้ เกณฑ์การให้คะแนน ภาคทฤษฎี ตั้งแต่ร้อยละ 70 ขึ้นไป ต่ากว่าร้อยละ 70
เกณฑ์การประเมิน ความสามารถ ผ่าน (C) ไม่ผ่าน (NYC) 8
กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 9
5.2 การประเมินผลภาคปฏิบัติ (ด้านทักษะ) ประเมินผลจากแบบทดสอบภาคปฏิบัติก่อนฝึก และแบบทดสอบภาคปฏิบัติหลังฝึก โดยกาหนดเกณฑ์การให้คะแนน และการระบุความสามารถด้านทักษะ ดังนี้ เกณฑ์การประเมิน ภาคปฏิบัติ ตั้งแต่ร้อยละ 70 ขึ้นไป หรือทา ได้ตามเกณฑ์การปฏิบัติงาน ต่ากว่าร้อยละ 70 หรือ ไม่ สามารถทาได้ ตามเกณฑ์การปฏิบัติงาน
เกณฑ์การประเมิน ความสามารถ ผ่าน (C) ไม่ผ่าน (NYC)
ผู้รับการฝึกจะได้รับการประเมินผลการฝึกจากครูฝึก โดยจะต้องสามารถปฏิบัติตามความสามารถในแต่ละโมดูลนั้น ๆ ได้ตามเกณฑ์ที่กาหนด จึงจะถือว่าผ่านการฝึกโมดูลนั้น และเมื่อผ่านการฝึกครบทุกโมดูล จึงจะถือว่าฝึกครบชุดการฝึกนั้น ๆ แล้ว
6. เงื่อนไขการผ่านการฝึก ผู้รับการฝึกที่จะผ่านโมดูลการฝึก ต้องได้รับค่าร้อยละของคะแนนการทดสอบหลังฝึก ภาคทฤษฏี คะแนนรวมไม่ต่ากว่าร้อยละ 70 ภาคปฏิบัติ คะแนนรวมไม่ต่ากว่าร้อยละ 70 โดยคะแนนรวมจะถูกนามาคิดแบ่งเป็นสัดส่วน ภาคทฤษฏี คิดเป็นร้อยละ 20 ภาคปฏิบัติ คิดเป็นร้อยละ 80 เมื่อนาคะแนนมารวมกัน ผู้รับการฝึกจะต้องได้ไม่ต่ากว่าร้อยละ 70 จึงจะผ่านเกณฑ์ ทั้งนี้ ผู้รับการฝึกจะต้องทาคะแนนผ่านเกณฑ์ทั้งภาคทฤษฏีและภาคปฏิบัติ จึงจะผ่านโมดูลการฝึก
9 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 9
รายละเอียดหลักสูตร หลักสูตรฝึกอบรมฝีมือแรงงานตามความสามารถ สาขาช่างเครื่องปรับอากาศในบ้าน และการพาณิชย์ขนาดเล็ก ระดับ 2 กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน กระทรวงแรงงาน
รหัสหลักสูตร 0920164170202
1. ขอบเขตของหลักสูตร หลักสูตรนี้พัฒ นาขึ้น ให้ครอบคลุมด้านความรู้ ทั กษะ และเจตคติแก่ผู้รับการฝึกในสาขาช่างเครื่องปรับอากาศ ในบ้านและการพาณิชย์ ขนาดเล็ก เพื่อให้มีความรู้ ความสามารถและทัศนคติตามมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติ สาขา ช่างเครื่องปรับอากาศในบ้านและการพาณิชย์ขนาดเล็ก ระดับ 2 ดังนี้ 1.1 มีความรู้ความสามารถเกี่ยวกับสัญลักษณ์ทางไฟฟ้า การอ่านแบบ และวงจรทางไฟฟ้า 1.2 มีความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวงจรไฟฟ้าในเครื่องปรับอากาศระบบ 3 เฟส อุปกรณ์และหลักการทางานของ ระบบควบคุมต่าง ๆ ที่อยู่ในเครื่องปรับอากาศ 1.3 มีความรู้ความสามารถในการตัด ปรับแต่ง ขยาย บาน ดัด และเชื่อมท่อ 1.4 มีความรู้ ความสามารถเกี่ยวกับหลักการทางานของมอเตอร์ไฟฟ้า 1 เฟส 3 เฟส และการต่อมอเตอร์ หลายความเร็ว 1.5 มีความรู้เกี่ยวกับการเลือกใช้ชนิดและขนาดของคอมเพรสเซอร์ได้อย่างเหมาะสม 1.6 มีความรู้ความสามารถในการประกอบติดตั้งระบบท่อสารทาความเย็นที่ใช้ในเครื่องปรับอากาศ 1.7 มีความรู้ความสามารถเกี่ยวกับหลักการและวิธีการหล่อลื่นอุปกรณ์ในระบบเครื่องปรับอากาศ 1.8 มีความรู้เกี่ยวกับการจัดเก็บสารทาเย็น เพื่อการเคลื่อนย้ายหรือการซ่อมบารุงโดยการปั๊มดาวน์ หรือ ใช้เครื่องเก็บสารทาความเย็นอย่างถูกต้อง และการจัดเก็บอุปกรณ์ระบบสารทาความเย็นเพื่อป้องกันความชื้น 1.9 มีความรู้ความสามารถในการทาความสะอาดระบบ เมื่อภายในระบบมีความชื้น 1.10 มีความรู้ความสามารถในการตรวจสอบการทางานเครื่องปรับอากาศ และการวัดค่าต่าง ๆ 1.11 มีความรู้ความสามารถในการวิเคราะห์และแก้ไขข้อขัดข้องของเครื่องปรับอากาศ 2. ระยะเวลาการฝึก ผู้ รั บ การฝึ กจะได้รั บ การฝึ ก ในภาคทฤษฎี และภาคปฏิบั ติ โดยสถาบันพัฒ นาฝี มือแรงงาน หรือสานักงานพัฒนา ฝีมือแรงงานที่เป็นหน่วยฝึกตามความสามารถใช้ระยะเวลาในการฝึก 72 ชั่วโมง
10 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 9
เนื่ อ งจากเป็ น การฝึ ก ที่ ขึ้ น อยู่ กั บ พื้ น ฐานความรู้ ทั ก ษะ ความสามารถและความพร้ อ มของผู้ รั บ การฝึ ก แต่ละคน มีผลให้ผู้รับการฝึกจบการฝึกไม่พร้ อมกัน สามารถจบก่อนหรือเกินระยะเวลาที่กาหนดไว้ในหลั กสูตรได้ หน่วยฝึกจึงต้องบริหารระยะเวลาในการฝึกให้เหมาะสมตามความจาเป็น ทั้งนี้ ให้อยู่ในดุลยพินิจของผู้อานวยการ สถาบันพัฒนาฝีมือแรงงาน หรือผู้อานวยการสานักงานพัฒนาฝีมือแรงงานที่เป็นหน่วยฝึกตามความสามารถจะเห็นสมควร 3. หน่วยความสามารถและโมดูลการฝึก จานวนหน่วยความสามารถ 11 หน่วย จานวนโมดูลการฝึก 11 โมดูล 4. วุฒิบัตร 4.1 ชื่อเต็ม : วุฒิบัตรพัฒนาฝีมือแรงงาน สาขา ช่างเครื่องปรับอากาศในบ้านและการพาณิชย์ขนาดเล็ก ระดับ 2 4.2 ชื่อย่อ : วพร. สาขา ช่างเครื่องปรับอากาศในบ้านและการพาณิชย์ขนาดเล็ก ระดับ 2 4.3 ผู้ รั บ การฝึ ก ที่ ผ่ า นการประเมิ น ผลหรื อ ผ่ า นการฝึ ก ครบทุ ก หน่ ว ยความสามารถ จะได้ รั บ วุ ฒิ บั ต ร วพร. สาขา ช่างเครื่องปรับอากาศในบ้านและการพาณิชย์ขนาดเล็ก ระดับ 2
11 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 9
รายละเอียดโมดูลการฝึกที่ 9 1. ชื่อหลักสูตร
สาขาช่างเครื่องปรับอากาศในบ้านและการพาณิชย์ขนาดเล็ก ระดับ 2 การทาความสะอาดระบบ เมื่อภายในระบบมีความชื้น
รหัสหลักสูตร 0920164170202 2. ชื่อโมดูลการฝึก รหัสโมดูลการฝึก 09217311 3. ระยะเวลาการฝึก รวม 4 ชั่วโมง 15 นาที ทฤษฎี 45 นาที ปฏิบัติ 3 ชั่วโมง 30 นาที 4. ขอบเขตของหน่ว ย หน่ ว ยการฝึ กนี้ พัฒ นาขึ้นให้ ครอบคลุ มด้านความรู้ ทักษะ และเจตคติแก่ผู้ รับการฝึ ก การฝึก เพื่อให้มีความสามารถ ดังนี้ 1. อธิบายวิธีการทาความสะอาดระบบ เมื่อภายในระบบมีความชื้น 2. ทาความสะอาดระบบ เมื่อภายในระบบมีความชื้น 5. พื้นฐาน ผู้สมัครเข้ารับการฝึกต้องมีคุณสมบัติ ดังต่อไปนี้ ความสามารถของ 1. มีความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับ วิธีการทาความสะอาดระบบ เมื่อภายในระบบมีความชื้น ผู้รับการฝึก หรือผ่านการฝึกอบรมทีเ่ กี่ยวข้องจากหน่วยงานหรือสถาบันที่เชื่อถือได้ 2. ผู้รับการฝึกผ่านระดับ 1 มาแล้ว 3. ผู้รับการฝึกผ่านโมดูลที 8 มาแล้ว 6. ผลลัพธ์การเรียนรู้ : เมื่อสาเร็จการฝึกในโมดูลนี้แล้วผู้รับการฝึกสามารถปฏิบัติงานโดยมีความรู้ความสามารถและใช้ ระยะเวลาฝึก ดังนี้ ระยะเวลาฝึก (ชั่วโมง : นาที) ผลลัพธ์การเรียนรู้ ชื่อหัวข้อวิชา ทฤษฎี ปฏิบัติ รวม 1. อธิบายวิธีการทาความสะอาด หัวข้อที่ 1 : การทาความสะอาดระบบ 0:45 3:30 4:15 ระบบ เมื่อภายในระบบ มีความชื้น 2. ทาความสะอาดระบบ เมื่อภายในระบบมีความชื้น รวมทั้งสิ้น 0:45 3:30 4:15
12 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 9
รายละเอียดหัวข้อวิชาที่ 1 0921731101 การทาความสะอาดระบบ (ใบแนะนา) 1. ผลลัพธ์การเรียนรู้ 1. อธิบายวิธีการทาความสะอาดระบบ เมื่อภายในระบบมีความชื้น 2. ทาความสะอาดระบบ เมื่อภายในระบบมีความชื้น
2. หัวข้อสาคัญ - การทาความสะอาดระบบ
3. วิธีการฝึกอบรม การฝึกอบรมสามารถเลือกได้ 3 รูปแบบ คือ 1) การฝึกอบรมด้วยการส่งมอบสื่อสิ่งพิมพ์ 2) การฝึกอบรมที่ศูนย์ฝึกอบรม 3) การฝึกอบรมด้วยสื่อในระบบออนไลน์ ดังรายละเอียดในข้อแนะนาสาหรับผู้รับการฝึก
4. อุปกรณ์ช่วยฝึก อุปกรณ์ช่วยฝึกสามารถเลือกใช้งานได้ 2 รูปแบบ คือ 1. รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ์ (Offline) ประกอบด้วย - คู่มือผู้รับการฝึก เพื่อใช้ศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คู่มือการประเมิน เพื่อใช้ในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน์ (DVD) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 2. รูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ (Online) ประกอบด้วย - คู่มือผู้รับการฝึกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) เพื่อใช้ศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คู่มือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) เพื่อใช้ในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน์ (Online) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ
13 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 9
5. การรับการฝึกอบรม 1. ผู้รับการฝึกทาแบบทดสอบก่อนฝึก (Post-Test) แล้วส่งให้ครูฝึกหรือระบบประเมินผลตามวิธีที่เลือกฝึกอบรม 1.1 ถ้าผลการประเมินผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ตามที่กาหนดในเอกสารโครงร่างหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเข้ารับการฝึก ภาคปฏิบัติ (ถ้ามี) หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลถัดไป หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลที่ครูฝึกกาหนดได้ 1.2 ถ้าผลการประเมินต่ากว่าร้อยละ 70 ให้ผู้รับการฝึกเข้าฝึกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝึกอบรมภาคทฤษฎี ให้ผู้รับการฝึกศึกษาคู่มือผู้รับการฝึก และฝึกหัดทาใบทดสอบท้ายหัวข้อวิชา 3. เมื่อผู้รับการฝึกศึกษาคู่มือผู้รับการฝึกประจาโมดูลนั้นเข้าใจแล้ว ให้ทาแบบทดสอบหลังฝึก (Post-Test) แล้วส่งให้ ครูฝึกหรือระบบประเมินผลเช่นเดียวกับแบบทดสอบก่อนฝึก 4. การฝึกอบรมภาคปฏิบัติ ผู้รับการฝึกอ่านและทาความเข้าใจกับใบงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน และเกณฑ์การวัด และประเมินผลงาน 5. ผู้รับการฝึกเข้ารับการฝึกที่ศูนย์ฝึกอบรมที่ลงทะเบียนหรือจองไว้ 6. ผู้รับการฝึกอ่านระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับความปลอดภัยในการฝึกของหน่วยฝึก 7. ผู้รับการฝึกฟังคาชี้แจงลาดับการปฏิบัติงานตามใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน 8. ผู้รับการฝึกปฏิบัติงานตามใบงาน แล้วส่งให้ครูฝึกตรวจประเมินผล 9. ผู้รับการฝึกที่คะแนนผลงานผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 สามารถขอทดสอบเพื่อจบโมดูลที่ฝึกกับครูฝึก
6. การวัดผล 1. ผู้รับการฝึกส่งแบบทดสอบก่อนฝึก ให้ครูฝึกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎีตามวิธีที่เลือกฝึกอบรม 1.1 ถ้าผลการประเมินผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ตามที่กาหนดในเอกสารโครงร่างหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเข้ารับการฝึก ภาคปฏิบัติ (ถ้ามี) หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลถัดไปได้ 1.2 ถ้าผลการประเมินต่ากว่าร้อยละ 70 ให้ครูฝึกมอบหมายให้ผู้รับการฝึกศึกษาเนื้อหาจากสื่อด้วยตนเองจน เข้าใจ จึงทาแบบทดสอบหลังฝึก (Post-Test) 2. ผู้รับการฝึกส่งแบบทดสอบหลังฝึก ให้ครูฝึกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎี โดยใช้หลักเกณฑ์เดียวกับการ ประเมินแบบทดสอบก่อนฝึก 3. ผู้รับการฝึกส่งผลงานในการฝึกภาคปฏิบัติให้ครูฝึกตรวจประเมินผลงานของผู้รับการฝึก โดยต้องผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ตามที่กาหนดในเอกสารโครงร่างหลักสูตร จึงจะมีสิทธิ์เข้ารับการฝึกในโมดูลถัดไป หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลที่ ครูฝึกกาหนดได้
7. บรรณานุกรม สุรศักดิ์ นาคาลักษณ์. 2555. การทา Vacuum ในระบบเครื่องทาความเย็น. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : https://www.gotoknow.org/posts/302076
14 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 9
ใบข้อมูล หัวข้อวิชาที่ 1 การทาความสะอาดระบบ ความชื้นเมื่ออยู่ในระบบทาความเย็น จะเป็นตัวขัดขวางประสิทธิภาพในการทาความเย็น ทาให้เครื่องปรับอากาศ ทางานได้ไม่เต็มประสิทธิภาพและเมื่อความชื้นที่หลงเหลืออยู่ในระบบผสมเข้ากับสารทาความเย็นในระบบ ส่งผลให้สารทาความเย็น ทาปฏิกิริยากับความชื้นจนเกิดเป็นกรดไฮโดรคลอลิค ซึ่งมีสภาพเป็นกรดสามารถกัดกร่อนโลหะต่าง ๆ ได้ จึงเป็นอันตราย กับระบบท่อนาสารทาความเย็น อีกทั้งน้ามันหล่อลื่นที่อยู่ในระบบจะมีคุณสมบัติในการดูดความชื้นได้ดี เมื่อมาเจอกับ กรดไฮโดรคลอลิค น้ามันหล่อลื่นจะมีความหนืดมากขึ้น อาจก่อตัวเกิดเป็นตะกรัน ส่งผลให้ความสามารถในการหล่อลื่นของ น้ามันลดลง และทาให้คอมเพรสเซอร์มีอายุการใช้งานลดลง อย่ างไรก็ตาม การทาความสะอาดระบบยั งสามารถทาได้เมื่อเกิดกรณี ที่แอร์ ไม่เย็น มอเตอร์คอมเพรสเซอร์ ไ หม้ ท่อแอร์ อุดตัน ฯลฯ ส าหรั บ การทาความสะอาดระบบนั้น สามารถทาได้ 2 วิธ ีคือ 1) การทาความสะอาดระบบด้ว ย เครื่องปั๊มสุญญากาศ และ 2) การทาความสะอาดระบบด้วยน้ายา F-11 1. การทาความสะอาดระบบด้วยเครื่องปั๊มสุญญากาศ การทาความสะอาดระบบด้วยเครื่องปั๊มสุญญากาศ คือ การดูดอากาศออกโดยใช้เครื่องปั๊มทาสุญญากาศ (Vacuum Pump) ซึง่ เป็นวิธีที่มีประสิทธิภาพสูง โดยเครื่องทาสุญญากาศสามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภทคือ 1.1 เครื่องทาสุญญากาศแบบธรรมดา (Low Vacuum Pump) เครื่องทาสุญญากาศแบบธรรมดา ใช้สาหรับดูดอากาศเพื่อทาสุญญากาศในระบบทาความเย็นทั่วไป เป็นเครื่องที่ นิยมใช้กัน เนื่องจากมีราคาย่อมเยา โดยเครื่องทาสุญญากาศแบบธรรมดาจะมีความสามารถในการดูดอากาศให้เป็น สุญญากาศได้ต่าสุดอยู่ที่ 25 - 27 นิ้วปรอท หลังจากทาสุญญากาศในระบบทาความเย็นแล้ว ต่อมาจะทาการดูดความชื้น ด้วยอุปกรณ์ Dryer Filter ซึ่งเป็นอุปกรณ์ที่ทาหน้าที่ในการกรองสิ่งแปลกปลอมและดูดความชื้นในระบบเครื่องปรับอากาศ อีกครั้งเพื่อให้เป็นสุญญากาศทั้งหมด
ภาพที่ 1.1 เครื่องทาสุญญากาศแบบธรรมดา 15 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 9
1.2 เครื่องทาสุญญากาศแบบประสิทธิภาพสูง (High Vacuum Pump) เครื่องทาสุญญากาศแบบประสิทธิภาพสูงเป็นเครื่องที่นิยมใช้กับ เครื่องปรับอากาศขนาดใหญ่ โดยตัว เครื่อง สามารถดูดอากาศออกจากระบบได้เร็วและดีกว่าเครื่องทาสุญญากาศแบบธรรมดา และทาให้ระบบเป็นสุญญากาศในระดับ ที่ ต่ าไปกว่ า 29 ถึ ง 30 นิ้ ว ปรอท ซึ่ ง เป็ น ระดั บ ที่ ต่ ามากจนถึ ง ระดั บ ที่ เ ป็ น สุ ญ ญากาศที่ ส มบู ร ณ์ เมื่ อ ในระบบ เป็นสุญญากาศที่สมบูรณ์ จะทาให้ความชื้นและไอน้าเปลี่ยนสภาพเป็นแก๊สจะถูกดูดออกไป อีกทั้งยังสามารถนามาใช้ กับระบบทาความเย็นได้ทกุ ประเภท ข้อเสีย คือ ตัวเครื่องมีราคาสูง
ภาพที่ 1.2 เครื่องทาสุญญากาศแบบประสิทธิภาพสูง ขั้นตอนในการทาสุญญากาศด้วยปั๊มสุญญากาศ หรือ Vacuum 1) ต่อแมนิโฟลด์เกจกับเครื่องปรับอากาศ โดยต่อสายสีน้าเงินเข้ากับท่อทางดูด สายสีแดงต่อกับ ท่อของเหลว และสายสีเหลืองต่อกับเครื่องทาสุญญากาศ 2) หมุนเปิดวาล์วทั้งด้านความดันต่าและความดันสูง 3) เดินเครื่องทาสุญญากาศเพื่อดูดอากาศและความชื้นอย่างน้อยประมาณ 45 นาที 4) สังเกตดู Compound Gauge จะต่าลงกว่า 0 ไปเป็นสเกล Vacuum คือจะลงมาถึง 29 นิ้วปรอท 5) เดินเครื่องทาสุญญากาศ อีกประมาณ 15 นาที ปิดวาล์วที่เกจทางด้านความดันต่า ด้านความดันสู ง และปิดเครื่องทาสุญญากาศ 6) รอประมาณ 5 นาที เพื่อตรวจสอบการรั่ว หากมีรอยรั่ว เกจความดันจะเพิ่ มขึ้ นจากตาแหน่ ง เดิ ม ให้แก้ไขซ่อมแซมรอยรั่ว และทาสุญญากาศต่อไปอีก 7) ปิ ดวาล์ ว ทางด้านความดัน ต่ าของเกจแล้ ว น าเครื่ อ งท าสุ ญญากาศมาทาการต่ อ ใช้ งานใหม่ อี ก ครั้ ง เปิดเครื่องทาสุญญากาศอีกอย่างน้อย 45 นาที และเข็มของเกจชี้ต่ากว่า 29 นิ้วปรอท ให้ปิดวาล์ว ของเกจทั้งสองด้าน โดยใช้ประแจหกเหลี่ยมคลายออกจนสุด ปิดฝาวาล์ว 8) เตรียมการบรรจุสารทาความเย็นต่อไป 16 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 9
ภาพที่ 1.3 การทาสุญญากาศของระบบปรับอากาศ ข้อควรระวังในขณะดาเนินการทาสุญญากาศระบบปรับอากาศ - ในการทาสุญญากาศทุกครั้งจะต้องตั้งวาล์วเปิด-ปิดให้อยู่ในจุดที่ถูกต้องตามขั้นตอนเสมอ - ช่ว งระยะเวลาขั้น ตอนในการปฏิบั ติทาสุ ญญากาศระบบ สามารถเปลี่ ยนแปลงได้ขึ้นอยู่ กับ ขนาด ของเครื่องปรับอากาศและเครื่องดูดสุญญากาศที่ใช้ ข้อแนะนาในการใช้ Low Vacuum Pump ในขั้นตอนแรก หากใช้วิธีหยุด การทางานเครื่องปรับอากาศแล้ ว บรรจุส ารทาความเย็น อย่า งเดีย วกับ ที่ร ะบบ High Vacuum Pump ใช้ ควรปล่อ ยทิ้ง ไว้ไ ม่น้อ ยกว่า 1 ชั่ว โมง และปล่อยทิ้งไว้เพื่อให้ทาสุญญากาศใหม่ประมาณ 3 ครั้ง ซึ่งทาให้ระบบไม่มีอากาศและมีความชื้นน้อยที่สุดได้เช่นกัน เมื่อทาสุญญากาศระบบเรียบร้อย จะต้องทาการบรรจุสารทาความเย็นทันทีไม่ควรปล่อยระบบทิ้งไว้ในลักษณะเป็น สุญญากาศ โดยการเติมสารทาความเย็นสามารถเติมได้ 2 วิธี ดังนี้ 1) การเติ ม สารท าความเย็ น ที่ มี ส ถานะเป็น ของเหลว ให้ ช่ า งเติ ม สารท าความเย็ นด้ ว ยวิธีก ารคว่าถัง นอกจากนี้ วิธีนี้ ยั งสามารถใช้ในกรณีที่น้ายาในถังเหลื อปริมาณน้อยหรือกรณีที่ต้องการเติมน้ายา อย่างรวดเร็ว สาหรับวิธีการเติมสารทาความเย็นให้เติมสารทาความเย็นเข้าด้าน Liquid และต้องมี เซอร์วิสวาล์วด้านความดันสูง ข้อควรระวังคือช่างควรหลีกเลี่ยงการเติมน้ายาในขณะที่เครื่องกาลังทางาน
17 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 9
ภาพที่ 1.4 การเติมน้ายาแบบคว่าถัง 2) การเติมสารทาความเย็นที่มีสถานะเป็นแก๊ส ให้ช่างเติมสารทาความเย็นแบบวางถังปกติ และเติมสาร ทาความเย็นเข้าทางด้าน Suction เท่านั้น ขณะเติมน้ายาห้ามเปิดวาล์วด้านความดันสูงเด็ดขาด เนื่องจาก จะทาให้แรงดันในระบบสูงกว่าแรงดันน้ายาในถัง ส่งผลให้น้ายาและน้ามันเข้าไปผสมในถังและอาจเกิด การระเบิดได้
18 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 9
ภาพที่ 1.5 การเติมน้ายาแบบวางถังปกติ 2. การทาความสะอาดระบบด้วยน้ายา F-11
ภาพที่ 1.6 การทาความสะอาดระบบด้วยเครื่องและน้ายา การท าความสะอาดด้ ว ยน้ ายา F-11 ถื อ เป็ น อี ก วิ ธี ก ารที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพและนิ ย มท าโดยทั่ ว ไปในการล้ า ง ทาความสะอาดระบบทาความเย็น ซึ่งมีวิธีการดังนี้ 1) ถอดคอมเพรสเซอร์ ไดเออร์ และเอ็กซ์แพนชั่นวาล์ว ออกจากระบบ แล้วใส่วาล์วเซอร์วิส 2) เตรียมกระบอกฉีดอัดน้ายา เพื่อเตรียมล้างระบบด้านคอยล์ร้อน 19 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 9
3) เปิดวาล์วควบคุมที่ถังไนโตรเจน แล้วค่อย ๆ เปิดวาล์วที่แมนิโฟลด์เกจอีกทางหนึ่ง โดยค่อย ๆ เปิดวาล์ว เกจเพิ่ ม แรงดั น ให้ ไ นโตรเจนไปล้ า งสิ่ ง สกปรกภายในท่ อ คอยล์ ร้ อ น ขณะเดี ย วกั น ก็ ใ ช้ นิ้ ว มื อ อุดปลายอีกด้านหนี่งของท่อทางออกคอยล์ร้อน อุดแล้วปล่อยจะมีเศษสิ่งสกปรกภายในท่อติดออกมา ทาการอุดและปล่อยไล่ล้างระบบจนกระทั่งสิ่งที่ออกมาเป็นของเหลวใสระบบจึงสะอาด ใช้ไนโตรเจน ไล่น้ายา F-11 ออกจากระบบให้หมด 4) เตรียมกระบอกฉีดน้ายา F-11 ต่อเข้ากับเกจและถังไนโตรเจน แล้วเทน้ายา F-11 ใส่ลงในกระบอกอัด น้ายาเพื่อเตรียมล้างระบบด้านคอยล์เย็น 5) เปิดวาล์วควบคุมที่ถังไนโตรเจนที่ความดัน 180 PSIG แล้วค่อย ๆ เปิดวาล์วที่แมนิโฟลด์เกจอีกทอดหนึ่ง โดยค่อย ๆ เปิดวาล์วเกจเพิ่มความดันให้ไนโตรเจรไปล้างสิ่งสกปรกภายในท่อคอยล์เย็น ขณะเดียวกัน ก็ใช้นิ้วมืออุดปลายท่ออีกด้านหนึ่งของท่อทางออกของคอยล์เย็นอุดแล้วปล่อย จะมีเศษสิ่งสกปรก ภายในท่อติดออกมา ทาการอุดและปล่อยไล่ล้างระบบจนกระทั่งระบบสะอาด โดยต้องใช้ไนโตรเจน ไล่ F-11 ออกจากระบบให้หมด 6) เปลี่ยนคอมเพรสเซอร์ และไดเออร์ตัวใหม่ (กรณีคอมเพสเซอร์ไหม้) เชื่อมคอมเพรสเซอร์และไดเออร์เข้าระบบ 7) ชาร์จน้ายา และตรวจสอบการรั่วโดยใช้ปั๊มแวคคั่มชนิด 2 ชั้นดูดอากาศ และความชื้นออกจากระบบให้หมด จากนั้นเมื่อภายในระบบเป็นสุญญากาศที่ 20 - 50 ไมครอนแล้ว จึงจะชาร์จยาเข้าระบบในปริมาณที่ ถูกต้องตามที่เครื่องแต่ละรุ่นหรือชนิดกาหนดไว้อย่าให้มากหรือน้อยจนเกินไป เพราะหาเติมน้ายามาก หรือน้อยจนเกินไปอาจส่งผลให้แอร์ไม่เย็น ท่ออุดตัน มีน้าแข็งเกาะตามท่อ หรือแผ่นกรอง จากนั้น ทาการตรวจสอบหารอยรั่วโดยใช้เครื่องตรวจสอบระบบอิเล็กทรอนิกส์ อย่างไรก็ตามการล้างชิ้นส่วนด้วย F-11 ควรล้างในบริเวณที่มีอากาศถ่ายเท และในการใช้ปั๊มอัดแรงดันล้างระบบ จะต้องไม่มากเกินไปเพราะอาจเกิดระเบิดขึ้นได้
20 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 9
ใบทดสอบ คาชี้แจง ให้ผู้รับการฝึกทาเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคาตอบข้อที่ถูกที่สุดเพียงข้อเดียว 1. ชนิดของเครื่องดูดสุญญากาศมีกี่ชนิด อะไรบ้าง ก. 2 ชนิด คือ Short Vacuum Pump และ High Vacuum Pump ข. 2 ชนิด คือ Low Vacuum Pump และ High Vacuum Pump ค. 1 ชนิด คือ F-11 Vacuum Pump ง. 1 ชนิด คือ Vacuum Pump 2. เมื่อปฏิบัติงานในการเริ่มดูดสุญญากาศควรทาสิ่งใดเป็นอันดับแรก ก. ตรวจสอบรอยรั่ว ข. เติมสารทาความเย็น ค. ทดสอบการทางานของเครื่อง ง. ปรับอุณหภูมิที่ 25 องศา 3. การใช้วิธี Low Vacuum Pump จานวนประมาณการกี่ครั้งทีจ่ ะทาให้เหลือความชื้นน้อยที่สุด ก. 3 ครั้ง ข. 8 ครั้ง ค. 12 ครั้ง ง. 15 ครั้ง 4. การเติมสารทาความเย็นมีรูปแบบการวางถังกี่รูปแบบ ก. 2 แบบ คือ คว่าถัง และตะแคงถัง ข. 2 แบบ คือ คว่าถัง และวางถังปกติ ค. 1 แบบ คือ วางถังปกติ ง. 1 แบบ คือ คว่าถัง
21 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 9
5. หากต้องการล้างระบบด้วยน้ายา F-11 ต้องเติมน้ายาที่ใด ก. ไว้ในขวดตามปกติ ข. บีกเกอร์ ค. ถังไนโตรเจน ง. กระบอกฉีดน้ายา 6. ควรทาให้ระบบเป็นสุญญากาศที่ระดับใดก่อนเติมน้ายา ก. 20-50 ไมครอน ข. 100-120 ไมครอน ค. 10-20 ไมครอน ง. 1-10 ไมครอน
22 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 9
กระดาษคาตอบ ข้อ
ก
ข
ค
1 2 3 4 5 6
23 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
ง
คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 9
ใบงาน ใบงานที่ 1.1 การทาความสะอาดระบบ 1. วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม - ทาความสะอาดระบบ เมื่อภายในระบบมีความชื้น
2. ระยะเวลาการฝึกปฏิบัติงาน - ระยะเวลาการฝึกปฏิบัติงานรวม 3 ชั่วโมง 30 นาที
3. คาชี้แจง ให้ผู้รับการฝึกทาความสะอาดระบบ ที่มีความชื้นปนเปื้อนอยู่ในระบบ
*หมายเหตุ เนื่องจากฟิลเตอร์ดรายเออร์ที่เครื่องล้างระบบ เป็นตัวกรองน้ามันจึงควรเปลี่ยนฟิลเตอร์ดรายเออร์ ในครั้งต่อไปในการใช้งาน
24 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 9
ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ 1.1 การทาความสะอาดระบบ 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณ์ป้องกันส่วนบุคคล สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลก่อนเริ่มปฏิบัติงาน ได้แก่ - ถุงมือผ้า - รองเท้านิรภัย - ชุดปฏิบัติการช่าง 1.2 รับฟังคาสั่งจากครูฝึก พร้อมรับใบงาน 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้นที่ปฏิบัติงาน ไม่ให้มีอุปกรณ์อื่น ๆ ที่ไม่เกี่ยวข้อง หรือวัสดุอันตราย เช่น สายไฟฟ้า วางกีดขวางอยู่ 2. ดูแลไม่ให้บุคคลที่ไม่เกี่ยวข้องเข้ามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมชุดปฐมพยาบาลเพื่อใช้ในกรณีฉุกเฉิน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณ์ช่วยเหลือในกรณีฉุกเฉินต่าง ๆ รวมถึงวิธีการใช้อุปกรณ์เหล่านั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณ์ต่อผู้รับการฝึก 1 คน 1. แมนิโฟลด์เกจ
จานวน 1 เครื่อง
2. คลิปแอมป์
จานวน 1 เครื่อง
3. เครื่องปรับอากาศ
จานวน 1 ชุด
4. ชุดเชื่อมแก๊ส (ถ้ามีอาการรั่ว)
จานวน 1 เครื่อง
5. ปั๊มสุญญากาศ
จานวน 1 เครื่อง
หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือว่ามีสภาพพร้อมใช้งานหรือไม่ หากพบว่าเครื่องมือชิ้นใดชารุด ให้รายงานครูฝึกให้ทราบ
25 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 9
1.5 การเตรียมวัสดุต่อผู้รับการฝึก 1 คน 1. กระบอกอัดน้ายา
จานวน 1 อัน
2. เซอร์วิสวาล์ว พร้อมไส้ศร
จานวน 2 ชุด
3. ไดเออร์
จานวน 1 เครื่อง
4. ถังน้ายา R-22
จานวน 1 ถัง
5. ถังไนโตรเจน
จานวน 1 ถัง
6. น้ายาล้างระบบ F-11
จานวน 1 ถัง
26 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 9
2. ลาดับการปฏิบัติงาน การทาความสะอาดระบบ ขั้นตอนการปฏิบัติงาน
คาอธิบาย
1. ถอดอุปกรณ์ออกจากระบบ และใส่เซอร์วิสวาล์ว
ข้อควรระวัง
ถอดคอมเพรสเซอร์ ไดเออร์ ถั ง ไนโตรเจนจะต้ อ งใส่ ฝ า และเอ็กซ์แพนชั่นวาล์วออกจาก ครอบวาล์ ว เพื่ อ ป้ อ งกั น การ ระบบ แล้วใส่เซอร์วิสวาล์ว
กระแทกของตั ว วาล์ ว และ ต้ อ งมี โ ซ่ รั ด ถั ง ให้ แ น่ น หนา ป้องกันถังล้ม
2. เทน้ายา F-11 ลงในกระบอกฉีดน้ายาที่ต่อเข้ากับ เตรียมกระบอกอัดน้ายา F-11 ในการปล่อยแก๊สไนโตรเจนไป เกจและถังไนโตรเจน เตรียมล้างคอยล์ร้อน
ต่อเข้ากับเกจและถังไนโตรเจน ใช้ งาน จะต้ อ งต่ อ ผ่ า นวาล์ ว แล้ ว เทน้ ายา F-11 ใส่ ล งใน ควบคุ ม ความดั น เสมอ เพื่ อ กระบอกฉีดน้ายาเพื่อเตรียมล้าง ควบคุ ม ความดั น เข้ า ระบบ ระบบที่คอยล์ร้อน
ไม่ ใ ห้ เ กิ น 150 ปอนด์ ต่ อ ตารางนิ้ว
3. ล้างระบบที่คอยล์ร้อน แล้วใช้ไนโตรเจนไล่น้ายา
ล้ า ง ร ะ บ บ ที่ ค อ ย ล์ ร้ อ น จ น
F-11 ออกจากระบบ
สะอาดและใช้ไนโตรเจนไล่น้ายา F-11 ออกจากระบบให้หมด
27 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 9
ขั้นตอนการปฏิบัติงาน
คาอธิบาย
4. เตรียมกระบอกน้ายา แล้วเทน้ายาเพื่อเตรียมล้าง เตรียมกระบอกอัดน้ายา แล้วเท ระบบคอยล์เย็น
น้ายา F-11 ใส่ลงไปในกระบอก อั ด น้ายาเพื่อเตรียมล้ างระบบที่ คอยล์เย็น
5. ล้างระบบคอยล์เย็น แล้วใช้ไนโตรเจนไล่น้ายา F-
ล้างระบบที่คอยล์เย็นจนสะอาด
11 ออกจากระบบให้หมด
และใช้ไนโตรเจนไล่น้ายา F-11 ออกจากระบบให้หมด
6. เชื่อมอุปกรณ์ที่เปลี่ยนใหม่เข้าสู่ระบบ
เชื่ อ มคอมเพรสเซอร์ ไดเออร์ และเอ็ ก ซ์ แ พนชั่ น วาล์ ว เข้ า ระบบ
28 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
ข้อควรระวัง
คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 9
ขั้นตอนการปฏิบัติงาน
คาอธิบาย
7. ตรวจสอบรอยรั่วด้วยไนโตรเจน และใช้ฟองสบู่
ตรวจสอบรอยรั่ ว ด้ ว ยการอั ด
ทดสอบรอยรั่ว ตามจุดที่เชื่อมต่อ
ไนโตรเจนเข้ า สู่ ร ะบบ และใช้ ฟองสบู่ทดสอบรอยรั่ว ตามจุดที่ เชื่อมต่อ
8. ทาสุญญากาศระบบ
ทาสุญญากาศระบบ
9. เติมน้ายาแล้วทดสอบระบบ
เติมน้ายาและทดสอบ เครื่องปรับอากาศ
29 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
ข้อควรระวัง
คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 9
3. ตรวจสอบชิ้นงาน ตรวจสอบและบันทึกข้อบกพร่องต่อไปนี้ ลาดับที่ 1
2
รายการตรวจสอบ
เกณฑ์การพิจารณา
การป้องกันความชื้น 1.1 ต่ออุปกรณ์เพื่อเตรียมล้างระบบคอยล์ร้อนได้ถูกต้อง
ความถูกต้องตามวิธีการปฏิบัติงาน
1.2 ล้างระบบคอยล์ร้อนได้สะอาด ถูกต้อง
ความถูกต้องตามวิธีการปฏิบัติงาน
1.3 ต่ออุปกรณ์เพื่อเตรียมล้างระบบคอยล์เย็นได้ถูกต้อง
ความถูกต้องตามวิธีการปฏิบัติงาน
1.4 ล้างระบบคอยล์เย็นได้สะอาด ถูกต้อง
ความถูกต้องตามวิธีการปฏิบัติงาน
กิจนิสัย 2.1 เตรียมเครื่องมือและอุปกรณ์อย่างถูกต้องและครบถ้วน
ความถูกต้องตามวิธีการใช้งาน
2.2 สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลอย่างถูกต้องและ
ความถูกต้องตามวิธีการใช้งาน
ครบถ้วน ก่อนเริ่มปฏิบัติงาน 2.3 ปฏิบัติตามลาดับขั้นตอนการทางาน
ความถูกต้องตามวิธีการปฏิบัติงาน
2.4 ความปลอดภัยระหว่างการปฏิบัติงาน
ความถูกต้องตามวิธีการปฏิบัติงาน
2.5 การเก็บเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ์ และทาความสะอาดพื้นที่
ความถูกต้องตามวิธีการใช้งาน
ปฏิบัติงาน
30 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 9
ใบให้คะแนนการตรวจสอบ ลาดับที่ 1
รายการประเมิน
เกณฑ์การให้คะแนน
คะแนนเต็ม
การปฏิบัติงาน
20
1.1 ต่ออุปกรณ์เพื่อเตรียมล้างระบบคอยล์ร้อนได้ - ตัดอุปกรณ์ออกจากระบบและเชื่อมต่ออุปกรณ์ถูกต้อง ให้คะแนน 5
5
ถูกต้อง
คะแนน - ตัดอุปกรณ์ออกจากระบบและเชื่อมต่ออุปกรณ์ผิด 1 จุด ให้คะแนน 3 คะแนน - ตัดอุปกรณ์ออกจากระบบและเชื่อมต่ออุปกรณ์ผิดตั้งแต่ 2 จุด ให้ คะแนน 1 คะแนน
1.2 ล้างระบบคอยล์ร้อนได้สะอาด ถูกต้อง
- ล้างระบบได้สะอาด ไม่มีน้ายา F-11 เหลืออยู่ในระบบ ให้คะแนน 5
5
คะแนน - ล้างระบบได้สะอาด แต่ยังมีสิ่งสกปรกเล็กน้อย ให้คะแนน 3 คะแนน - ล้างระบบได้แต่ยังมีคราบน้ามันหลงเหลือ ให้คะแนน 1 คะแนน 1.3 ต่ออุปกรณ์เพื่อเตรียมล้างระบบคอยล์เย็นได้ - ตัดอุปกรณ์ออกจากระบบและเชื่อมต่ออุปกรณ์ถูกต้อง ให้คะแนน 5 ถูกต้อง
5
คะแนน - ตัดอุปกรณ์ออกจากระบบและเชื่อมต่ออุปกรณ์ผิด 1 จุด ให้คะแนน 3 คะแนน - ตัดอุปกรณ์ออกจากระบบและเชื่อมต่ออุปกรณ์ผิดตั้งแต่ 2 จุด ให้ คะแนน 1 คะแนน
1.4 ล้างระบบคอยล์เย็นได้สะอาด ถูกต้อง
- ล้างระบบได้สะอาด ไม่มีน้ายา F-11 เหลืออยู่ในระบบ ให้คะแนน 5
5
คะแนน - ล้างระบบได้สะอาด แต่ยังมีสิ่งสกปรกเล็กน้อย ให้คะแนน 3 คะแนน - ล้างระบบได้แต่ยังมีคราบน้ามันหลงเหลือ ให้คะแนน 1 คะแนน 2
กิจนิสัย
5
2.1 เตรียมเครื่องมือและอุปกรณ์อย่างถูกต้องและ - ปฏิบัติได้ครบถ้วน ถูกต้อง ให้คะแนน 1 คะแนน ครบถ้วน - ปฏิบัติไม่ครบถ้วน ไม่ถูกต้อง ให้คะแนน 0 คะแนน
1
2.2 สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล
- ปฏิบัติได้ครบถ้วน ถูกต้อง ให้คะแนน 1 คะแนน
1
อย่างถูกต้องและครบถ้วน ก่อนเริ่มปฏิบตั ิงาน
- ปฏิบัติไม่ครบถ้วน ไม่ถูกต้อง ให้คะแนน 0 คะแนน
2.3 ปฏิบัติตามลาดับขั้นตอนการทางาน
- ปฏิบัติได้ครบถ้วน ถูกต้อง ให้คะแนน 1 คะแนน - ปฏิบัติไม่ครบถ้วน ไม่ถูกต้อง ให้คะแนน 0 คะแนน
1
2.4 ความปลอดภัยระหว่างการปฏิบัติงาน
- ปฏิบัติได้ครบถ้วน ถูกต้อง ให้คะแนน 1 คะแนน
1
- ปฏิบัติไม่ครบถ้วน ไม่ถูกต้อง ให้คะแนน 0 คะแนน 2.5 การเก็บเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ์ และทา
- ปฏิบัติได้ครบถ้วน ถูกต้อง ให้คะแนน 1 คะแนน
ความสะอาดพื้นที่ปฏิบัติงาน
- ปฏิบัติไม่ครบถ้วน ไม่ถูกต้อง ให้คะแนน 0 คะแนน คะแนนเต็ม
1 25
31 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คะแนนที่ได้
คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 9
หมายเหตุ หากผู้เข้ารับการฝึกได้รับคะแนน 18 คะแนนขึ้นไป (คะแนนมากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 70) ให้ผู้เข้ารับการฝึก ขอเข้ารับการทดสอบภาคปฏิบัติได้
32 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 9
คณะผู้จัดทาโครงการ คณะผู้บริหาร 1. นายสุทธิ
สุโกศล
อธิบดีกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน
2. นางถวิล
เพิ่มเพียรสิน
รองอธิบดีกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน
3. นายธวัช
เบญจาทิกุล
รองอธิบดีกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน
4. นายสุรพล
พลอยสุข
รองอธิบดีกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน
5. ว่าที่ร้อยตรี สมศักดิ์ พรหมดา
ผู้อานวยการสานักพัฒนาผู้ฝึกและเทคโนโลยีการฝึก
6. นางเพ็ญประภา
ศิริรัตน์
ผู้อานวยการกลุ่มงานพัฒนาระบบการฝึก
7. นายวัชรพงษ์
มุขเชิด
ผู้อานวยการสานักงานรับรองความรู้ความสามารถ
คาเงิน
ภาควิชาวิศวกรรมโทรคมนาคม คณะวิศวกรรมศาสตร์
คณะที่ปรึกษาโครงการ 1. ผศ. ดร. มนตรี
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง 2. รศ. ดร. วิสุทธิ์
สุนทรกนกพงศ์
ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้าสื่อสาร คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
3. ผศ. สันติ
ตันตระกูล
ภาควิชาครุศาสตร์วิศวกรรม คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
4. นายสุระชัย
พิมพ์สาลี
ภาควิชาครุศาสตร์วิศวกรรม คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
5. นายวินัย
ใจกล้า
ภาควิชาครุศาสตร์วิศวกรรม คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
6. นายวราวิช
กาภู ณ อยุธยา
สานักบริหารงานวิจัยและนวัตกรรมพระจอมเกล้าลาดกระบัง สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
7. นายมนตรี
ประชารัตน์
แผนกวิชาช่างไฟฟ้า วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี
8. นายธเนศ
วงค์วัฒนานุรักษ์
แผนกวิชาช่างไฟฟ้า วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี
9. นายณัฐวุฒิ
เสรีธรรม
แผนกวิชาช่างไฟฟ้า วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี
10. นายหาญยงค์
หอสุขสิริ
แผนกวิชาโลหะการ วิทยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษก มหานคร
11. นายสวัสดิ์
บุญเถื่อน
แผนกวิชาช่างยนต์ วิทยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษก มหานคร 33 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 9
12.
34 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน