คู่มือผู้รับการฝึก ช่างเครื่องปรับอากาศ ระดับ 3 โมดูล 10

Page 1

หน้าปก



คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝึ ก ที่ 10

คู่มือผู้รับการฝึก 0920164170203 สาขาช่างเครื่องปรับอากาศในบ้านและการพาณิชย์ขนาดเล็ก ระดับ 3

ชุดการฝึกตามความสามารถ (CBT)

โมดูลการฝึกที่ 10 09217321 การประหยัดพลังงานไฟฟ้า การคานวณหา กาลังไฟฟ้าของมอเตอร์ การคานวณหาความเร็วรอบ ของมอเตอร์ การคานวณค่าใช้จ่ายค่ากระแสไฟฟ้าที่ เครื่องปรับอากาศใช้ กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน



คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝึ ก ที่ 10

คานา คู่มือผู้รับการฝึก สาขาช่างเครื่องปรับอากาศในบ้านและการพาณิชย์ขนาดเล็ก ระดับ 3 โมดูล 10 การประหยัด พลังงานไฟฟ้า การคานวณหากาลั งไฟฟ้าของมอเตอร์ การคานวณหาความเร็วรอบของมอเตอร์ การคานวณค่าใช้จ่ าย ค่ า กระแสไฟฟ้ า ที่ เ ครื่ อ งปรั บ อากาศใช้ ฉ บั บ นี้ เป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ของหลั ก สู ต รฝึ ก อบรมฝี มื อ แรงงานตามความสามารถ (Competency Based Training : CBT) ซึ่งพัฒนาขึ้นเพื่อใช้เป็นเอกสารประกอบการจัดการฝึกอบรมกับชุดการฝึ กตาม ความสามารถ โดยได้ดาเนินการภายใต้โครงการพัฒนาระบบฝึกและชุ ดการฝึกตามความสามารถเพื่อการพัฒนาฝีมือแรงงาน ด้ ว ยระบบการฝึ ก ตามความสามารถ (Competency Based Workforce Skill Training System) พ.ศ. 2560 โดยมี วัตถุประสงค์เพื่อให้ผู้รับการฝึกได้ใช้เป็นเครื่องมือในการฝึกอบรมให้เป็นไปตามหลักสูตร กล่าวคือ หลังเรียนจบโมดูลการฝึก ผู้รับการฝึกสามารถอธิบายการประหยัดพลังงานไฟฟ้า คานวณหากาลังไฟฟ้า ความเร็วรอบมอเตอร์ และคานวณค่าใช้จ่ายค่า กระแสไฟฟ้าที่ใช้ในเครื่องปรับอากาศได้อย่างถูกต้อง ระบบการฝึกอบรมตามความสามารถเป็นระบบการฝึกอบรมที่ส่งเสริมให้ผู้รับการฝึกอบรมสามารถฝึกฝนเรียนรู้ได้ ตามพื้นฐานความสามารถของตนในเวลาที่มีความสะดวก โดยเน้นในเรื่องของการส่งมอบการฝึกอบรมที่หลากหลายไปให้แก่ ผู้ รับการฝึ กอบรม และต้องการให้ ผู้ รั บ การฝึ ก อบรมเกิด การเรี ยนรู้ ด้ว ยตนเอง การฝึ กปฏิบัติจะด าเนิน การในรู ป แบบ Learning by Doing และเน้นผลลัพธ์การฝึกอบรมในการที่ทาให้ผู้รับการฝึกอบรมมีความสามารถในการปฏิบัติงานตามที่ ตลาดแรงงานต้องการ โดยยึดความสามารถของผู้รับการฝึกเป็นหลัก การฝึกอบรมในระบบดังกล่าว จึงเป็นรูปแบบการ ฝึกอบรมที่สามารถรองรับการพัฒนารายบุคคลได้เป็นอย่างดี นอกจากนี้ เนื้อหาวิชาในหลักสูตรการฝึกตามความสามารถ (Competency Based Curriculum : CBC) ซึ่งได้จากการวิเคราะห์งานอาชีพ (Job Analysis) ในแต่ละสาขาอาชีพ จะถูก กาหนดเป็นรายการความสามารถหรือสมรรถนะ (Competency) ที่ผู้รับการฝึกอบรมจาเป็นต้องใช้ในการปฏิบัติงาน และ สอดคล้องกับความต้องการของสถานประกอบกิจการและภาคอุตสาหกรรม ซึ่งผู้รับการฝึกจะต้องเรียนรู้และฝึกฝนจนกว่าจะ สามารถปฏิบัติเองได้ ตามมาตรฐานที่กาหนดในแต่ละรายการความสามารถ ทั้งนี้ การส่งมอบการฝึก สามารถดาเนินการได้ ทั้งรูปแบบการเรียนรู้ผ่านสื่อสิ่งพิมพ์ (Paper Based) และผ่านสื่อคอมพิวเตอร์ (Computer Based) โดยผู้รับการฝึกสามารถ เรียนรู้ได้ด้วยตนเอง (Self-Learning) ที่บ้านหรือที่ทางาน และเข้ารับการฝึกภาคปฏิบัติตามความพร้อม ตามความสะดวก ของตน หรือตามแผนการฝึก หรือตามตารางการนัดหมาย การฝึกหรือทดสอบประเมินผลความรู้ความสามารถกับหน่วยฝึก โดยมีครูฝึกหรือผู้สอนคอยให้คาปรึกษา แนะนาและจัดเตรียมการฝึกภาคปฏิบัติ รวมถึงจัดเตรียมและดาเนินการทดสอบ ประเมินผลในลักษณะต่าง ๆ อันจะทาให้สามารถเพิ่มจานวนผู้รับการฝึกได้มากยิ่งขึ้น ช่วยประหยัดเวลาในการเดินทาง และ ประหยั ดงบประมาณค่าใช้จ่ ายในการพัฒ นาฝี มือแรงงานให้ แก่กาลั งแรงงานในระยะยาว จึงถือเป็ นรูปแบบการฝึ กที่มี ความสาคัญต่อการพัฒนาฝีมือแรงงาน ทั้งในปัจจุบันและอนาคต ซึ่งหากมีการนาระบบการฝึกอบรมตามความสามารถมาใช้ ในการพัฒนาฝีมือแรงงาน จะช่วยทาให้ประชาชน ผู้ใช้แรงงานผู้ว่างงาน นักเรียน นักศึกษา และผู้ประกอบอาชีพอิสระ สามารถเข้าถึงการฝึกอบรมเพื่อพัฒนาตนเองได้อย่างสะดวก และได้รับประโยชน์อย่างทั่วถึงมากยิ่งขึ้น กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน ก กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน



คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝึ ก ที่ 10

สารบัญ เรื่อง

หน้า

คานา

สารบัญ

ข้อแนะนาสาหรับผู้รับการฝึก

1

โมดูลการฝึกที่ 1 09217321 การประหยัดพลังงานไฟฟ้า การคานวณหากาลังไฟฟ้าของมอเตอร์ การคานวณหาความเร็วรอบของมอเตอร์ การคานวณค่าใช้จ่ายค่ากระแสไฟฟ้าที่ เครื่องปรับอากาศใช้ หัวข้อวิชาที่ 1 0921732101 การประหยัดพลังงานไฟฟ้า หัวข้อวิชาที่ 2 0921732102 การคานวณเกี่ยวกับการทางานของมอเตอร์ หัวข้อวิชาที่ 3 0921732103 การคานวณค่าใช้จ่ายในการใช้เครื่องปรับอากาศ คณะผู้จัดทาโครงการ

12 21 31 38

ข กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน



คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝึ ก ที่ 10

ข้อแนะนาสาหรับผูร้ ับการฝึก ข้อแนะนาสาหรับผู้รับการฝึก คือ คาอธิบายเกี่ยวกับรายละเอียดของคู่มือ และขั้นตอนการเข้ารับการฝึก ซึ่งมีอยู่ด้วยกัน 6 ข้อ ดังนี้

1. รายละเอียดของคู่มือ 1.1 โมดูลการฝึก / หัวข้อวิชา หมายถึง โมดูลการฝึกที่ครูฝึกต้องจัดการฝึกอบรม โดยภายในโมดูลจะประกอบไปด้วย หัวข้อวิชาที่ผู้รับ การฝึ กต้องเรี ย นรู้ และฝึกฝน ซึ่งมีรหัสโมดูล และรหัส หัว ข้อวิชาเป็นตัว กาหนดความสามารถ ที่ต้องเรียนรู้ 1.2 ระยะเวลาการฝึก หมายถึง จานวนชั่วโมงในการฝึกอบรม เพื่อให้บรรลุตามวัตถุประสงค์ของแต่ละโมดูล 1.3 ระบบการฝึกตามความสามารถ (CBT) หมายถึง ระบบการฝึก ที่เกิดจากการนาความรู้ ทักษะ ความสามารถ (Competency) ที่จาเป็นสาหรับการทางานมาเป็นฐาน (Based) ของการจัดฝึกอบรม หรือนามากาหนดเป็นเนื้อหา (Content) และเกณฑ์ก ารประเมิน การฝึก อบรม ทาให้ผู้รับ การฝึก อบรมมีค วามสามารถ ( Competency) ตามเกณฑ์มาตรฐานที่กาหนด และตามความสามารถในการเรียนรู้ของผู้รับการฝึกเป็นหลัก 1.4 ชุดการฝึก หมายถึง สื่อสิ่งพิมพ์ และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ใช้สาหรับเป็นอุปกรณ์ช่วยฝึก โดยแต่ละโมดูลประกอบด้วย คู่มือครูฝึก คู่มือผู้รับการฝึก คู่มือประเมิน สื่อวีดิทัศน์ 1.5 ระบบจัดการฝึกด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer Managed Instruction : CMI) หมายถึง การนาระบบคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศ ซึ่งใช้ในการจัดการเรียนรู้และฝึกอบรม เช่น ระบบรับสมัครออนไลน์ ระบบลงทะเบียน เข้า รับ การฝึก อบรมออนไลน์ ระบบการฝึก อบรมภาคทฤษฎีผ่านอุปกรณ์อิเล็ก ทรอนิก ส์ห รือ อุปกรณ์สื่อสาร แบบพกพา การทดสอบออนไลน์ การบันทึกผลการฝึกอัตโนมัติ และการออกใบวุฒิบัตรอิเล็กทรอนิกส์ เป็นต้น โดยการเข้า ใช้ง านระบบ แบ่งส่ว นการใช้ง านตามความรับผิด ชอบของผู้มีส่ว นได้ส่ว นเสีย ดัง ภาพในหน้า 2 ซึ่งรายละเอียดการใช้งานของผู้เข้ารับการฝึกสามารถดูได้จากลิงค์ mlearning.dsd.go.th/download/files/trainee.pdf

1 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝึ ก ที่ 10

2 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝึ ก ที่ 10

2. ผังการฝึกอบรม

3 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝึ ก ที่ 10

3. วิธีการฝึกอบรม 3.1 ผู้รับการฝึก ทาความเข้าใจการฝึกอบรมในระบบ CBT ซึ่งสามารถฝึกอบรมได้ 3 รูปแบบ คือ 3.1.1 การฝึกอบรมด้วยการส่งมอบสื่อสิ่งพิมพ์ (Offline) 3.1.2 การฝึกอบรมที่ศูนย์ฝึกอบรม (Offline) 3.1.3 การฝึกอบรมด้วยสื่อในระบบออนไลน์ (Online) โดยในแต่ละรูปแบบจะมีรายละเอียดแตกต่างกัน ดังนี้ 3.1.1 การฝึกอบรมด้วยการส่งมอบสื่อสิ่งพิมพ์ (Offline) คือ การฝึก อบรมที่ผู้รับ การฝึกเรียนรู้ภ าคทฤษฎี (ด้า นความรู้) ด้ว ยตนเอง โดยครูฝึก เป็นผู้ส่งมอบ คู่มือผู้รับการฝึกที่พิมพ์จากสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) และวีดิทัศน์ (DVD) แก่ผู้รับการฝึก และฝึกภาคปฏิบัติ (ด้านทักษะ) ที่ศูนย์ฝึกอบรม การฝึกภาคทฤษฎี - ผู้รับการฝึกเรียนรู้ภาคทฤษฎีด้วยตนเอง โดยใช้คู่มือผู้รับการฝึกที่พิมพ์จากสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) และวีดิทัศน์ (DVD) ที่ครูฝึกส่งมอบให้ การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ผู้รับการฝึกทาแบบทดสอบก่อนฝึก (Pre-Test) ลงในกระดาษคาตอบ แล้วส่งกระดาษคาตอบ ให้ครูฝึก เพื่อตรวจและประเมินผล 2) ครูฝึกประเมินแบบทดสอบก่อนฝึก - ถ้าผลการประเมินผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ตามที่กาหนดในเอกสารโครงร่างหลั กสู ตร จะมีสิท ธิ์ข อเข้า รับ การฝึก ภาคปฏิบัติ (ถ้า มี) หรือ เข้า รับ การฝึก ในโมดูล ถัด ไป หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลที่ครูฝึกกาหนดได้ - ถ้าผลการประเมินต่ากว่าร้อยละ 70 ให้ครูฝึกมอบหมายให้ผู้รับการฝึกศึกษาเนื้อหา จากสื่อด้วยตนเองจนเข้าใจ จึงทาแบบทดสอบหลังฝึก (Post-Test) 3) ผู้รับการฝึกทาแบบทดสอบหลังฝึก (Post-Test) ลงในกระดาษคาตอบ แล้วส่งให้ครูฝึกตรวจ และประเมินผล โดยใช้หลักเกณฑ์เดียวกับการประเมินแบบทดสอบก่อนฝึก 3.1.2 การฝึกอบรมที่ศูนย์ฝึกอบรม (Offline) คือ การฝึกอบรมที่ผู้รับการฝึกเรียนรู้ภาคทฤษฎีจากครูฝึก และฝึกภาคปฏิบัติที่ศูนย์ฝึกอบรม การฝึกภาคทฤษฎี - ผู้รับการฝึกเรียนรู้ภาคทฤษฎีจากครูฝึกโดยใช้สื่อสิ่งพิมพ์จากสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) และวีดิทัศน์ (DVD) ที่ศูนย์ฝึกอบรม

4 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝึ ก ที่ 10

การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ผู้รับการฝึกทาแบบทดสอบก่อนฝึก (Pre-Test) ลงในกระดาษคาตอบ แล้วส่งกระดาษคาตอบ ให้ครูฝึกตรวจและประเมินผล 2) ครูฝึกประเมินแบบทดสอบก่อนฝึก - ถ้าผลการประเมินผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ตามที่กาหนดในเอกสารโครงร่างหลั กสูตร ผู้รับการฝึกจะมีสิทธิ์ขอเข้ารับการฝึกภาคปฏิบัติ (ถ้ามี) หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลถัดไป หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลที่ครูฝึกกาหนดได้ - ถ้าผลการประเมินต่ากว่าร้อยละ 70 ให้ผู้รับการฝึกศึกษาเนื้อหาจากสื่อด้วยตนเอง จนเข้าใจ จึงทาแบบทดสอบหลังฝึก (Post-Test) 3) ผู้รับการฝึกทาแบบทดสอบหลังฝึก (Post-Test) ลงในกระดาษคาตอบ แล้วส่งให้ครูฝึกตรวจ และประเมินผล โดยใช้หลักเกณฑ์เดียวกับการประเมินแบบทดสอบก่อนฝึก 3.1.3 การฝึกอบรมด้วยสื่อในระบบออนไลน์ (Online) คือ การฝึกอบรมที่ผู้รับการฝึกเรียนรู้ภาคทฤษฎีด้วยตนเองผ่านระบบจัดการฝึกด้วยคอมพิวเตอร์ หรือ CMI โดยใช้คู่มือผู้รับการฝึกที่เป็นสื่อออนไลน์ในแอปพลิเคชัน DSD m-Learning และฝึกภาคปฏิบัติที่ศูนย์ฝึกอบรม วิธีดาวน์โหลดแอปพลิเคชัน DSD m-Learning - ผู้รับการฝึกดาวน์โหลดแอปพลิ เคชัน DSD m-Learning ซึ่งวิธีการดาวน์โหลดแอปพลิ เ คชัน สามารถแบ่งออกเป็น 2 ช่องทางตามแต่ละระบบปฏิบัติการ คือ 1) ผู้รับการฝึกที่ใช้เครื่องมือสื่อสารอิเล็กทรอนิกส์ ระบบปฏิบัติการ iOS ค้นหา แอปพลิเคชัน DSD m-Learning ใน App Store จากนั้นกดดาวน์โหลด เพื่อติดตั้งบนเครื่องมือสื่อสาร และเข้าใช้งานโดยกรอก Username และ Password ตามที่เคยลงทะเบียนไว้ 2) ผู้รับการฝึกที่ใช้เครื่องมือสื่ อสารอิเล็ กทรอนิกส์ ระบบปฏิบัติการ Android ค้นหา แอปพลิ เ คชั น DSD m-Learning ใน Google Play Store จากนั้ น กดดาวน์ โ หลด เพื่อติดตั้งบนเครื่องมือสื่อสาร และเข้าใช้งานโดยกรอก Username และ Password ตามที่เคยลงทะเบียนไว้ การฝึกภาคทฤษฎี - ผู้รับการฝึกเรียนรู้ภาคทฤษฎีด้วยตนเอง จากคู่มือผู้รับการฝึก ซึ่งเป็นสื่อออนไลน์บนแอปพลิเคชัน DSD m-Learning การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ผู้รับการฝึกทาแบบทดสอบก่อนฝึก (Pre-Test) ลงในแอปพลิเคชัน โดยระบบจะตรวจและประเมินผล อัตโนมัติ

5 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝึ ก ที่ 10

- ถ้าผลการประเมินผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ตามที่กาหนดในเอกสารโครงร่างหลั กสูตร ผู้รับการฝึกจะมีสิทธิ์ขอเข้ารับการฝึกภาคปฏิบัติ (ถ้ามี) หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลถัดไป หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลที่ครูฝึกกาหนดได้ - ถ้าผลการประเมินต่ากว่าร้อยละ 70 ให้ผู้รับการฝึกศึกษาเนื้อหาจากสื่อด้วยตนเอง จนเข้าใจแล้วจึงทาแบบทดสอบหลังฝึก (Post-Test) 2) ผู้รับการฝึกทาแบบทดสอบหลังฝึก โดยใช้หลักเกณฑ์เดียวกับการประเมินแบบทดสอบก่อนฝึก 3.2 ครูฝึกชี้แจงรูปแบบการฝึกอบรมทั้ง 3 รูปแบบแก่ผู้รับการฝึก เพื่อทาการตกลงรูปแบบการฝึกอบรมร่วมกับผู้รับการฝึก โดยให้ผู้รับการฝึกเลือกวิธีที่สะดวก 3.3 ครูฝึกวางแผนการฝึกตลอดหลักสูตรร่วมกันกับผู้รับการฝึก

4. อุปกรณ์ช่วยฝึกและช่องทางการเข้าถึงอุปกรณ์ช่วยฝึก ผู้รับการฝึกสามารถเลือกใช้อุปกรณ์ช่วยฝึกได้ 2 รูปแบบ คือ รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ์ (Offline) และรูปแบบระบบจัดการฝึก ด้วยคอมพิวเตอร์ หรือ CMI (Online) โดยมีช่องทางการเข้าถึงอุปกรณ์ช่วยฝึกแต่ละรูปแบบแตกต่างกัน ดังนี้ 4.1 รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ์ (Offline) ประกอบด้วย - คู่มือผู้รับการฝึก เพื่อใช้ศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คู่มือการประเมิน เพื่อใช้ในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน์ (DVD) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 4.2 รูปแบบระบบจัดการฝึกด้วยคอมพิวเตอร์ หรือ CMI (Online) ดังนี้ - คู่มือผู้รับการฝึกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) เพื่อใช้ศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คู่มือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) เพื่อใช้ในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน์ (Online) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ

5. การวัดและประเมินผล 5.1 การประเมินผลภาคทฤษฎี (ด้านความรู้) ประเมินผลจากแบบทดสอบภาคทฤษฎีก่อนฝึก และแบบทดสอบภาคทฤษฎีหลังฝึก โดยกาหนดเกณฑ์การให้คะแนน และการระบุความสามารถด้านความรู้ ดังนี้ เกณฑ์การให้คะแนน ภาคทฤษฎี ตั้งแต่ร้อยละ 70 ขึ้นไป ต่ากว่าร้อยละ 70

เกณฑ์การประเมิน ความสามารถ ผ่าน (C) ไม่ผ่าน (NYC) 6

กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝึ ก ที่ 10

ผู้รับการฝึกจะได้รับการประเมินผลการฝึกจากครูฝึก โดยจะต้องสามารถปฏิบัติตามความสามารถในแต่ละโมดูลนั้น ๆ ได้ตามเกณฑ์ที่กาหนด จึงจะถือว่าผ่านการฝึกโมดูลนั้น และเมื่อผ่านการฝึกครบทุกโมดูล จึงจะถือว่าฝึกครบชุดการฝึกนั้น ๆ แล้ว

6. เงื่อนไขการผ่านการฝึก ผู้รับการฝึกที่จะผ่านโมดูลการฝึก ต้องได้รับค่าร้อยละของคะแนนการทดสอบภาคทฤษฏี คะแนนรวมไม่ต่ากว่าร้อยละ 70 จึงจะผ่านโมดูลการฝึก

7 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝึ ก ที่ 10

รายละเอียดหลักสูตร หลักสูตรฝึกอบรมฝีมือแรงงานตามความสามารถ สาขาช่างเครื่องปรับอากาศในบ้านและ การพาณิชย์ขนาดเล็ก ระดับ 3 กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน กระทรวงแรงงาน

รหัสหลักสูตร 0920164170203

1. ขอบเขตของหลักสูตร หลักสูตรนี้พัฒ นาขึ้น ให้ ครอบคลุมด้านความรู้ ทักษะ และเจตคติแก่ผู้รับการฝึ ก ในสาขาช่างเครื่องปรับอากาศ ในบ้านและการพาณิชย์ ขนาดเล็ก เพื่อให้มีความรู้ ความสามารถและทัศนคติตามมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติ สาขา ช่างเครื่องปรับอากาศในบ้านและการพาณิชย์ขนาดเล็ก ระดับ 3 ดังนี้ 1.1 มีความรู้ความสามารถเกี่ยวกับสัญลักษณ์สากลของอุปกรณ์ และเขียนแบบร่างเพื่อแสดงแผนผังการติดตั้ง เครื่องปรับอากาศ 1.2 มีความรู้ความสามารถในการใช้เครื่องมือวัดต่าง ๆ ที่ใช้ในเครื่องปรับอากาศ 1.3 มีความรู้ เกี่ย วกับ การทาความเย็ น ด้ว ยระบบระเหยตรง (Direct Expansion System) และระบบน้าเย็ น (Chilled Water System) 1.4 มีความรู้ เกี่ย วกับ ระบบสารทาความเย็ นท่ว ม (Flooded System) และไดเร็กเอ็กซ์ แพนชั่นวาล์ ว (Direct Expansion Valve) 1.5 มีความรู้เกี่ยวกับองค์ประกอบที่มีผลต่อสมรรถนะของคอนเดนเซอร์ และแฟนคอยล์แบบครีบ 1.6 มีความรู้เกี่ยวกับองค์ประกอบที่มีผลต่อสมรรถนะของคอนเดนเซอร์แบบระบายความร้อนด้วยน้า 1.7 มีความรู้เกี่ยวกับพื้นผิวถ่ายเทความร้อนผ่านชั้นตัวนาความร้อนลาดับต่าง ๆ 1.8 มีความรู้ความสามารถในการแขวนหรือยึดท่อให้มั่นคง 1.9 มีความรู้เกี่ยวกับผลกระทบของสารเจือปนในสารทาความเย็น 1.10 มีความรู้เกี่ยวกับการประหยัดพลังงานไฟฟ้า การคานวณหากาลังไฟฟ้าของมอเตอร์ การคานวณหาความเร็วรอบ ของมอเตอร์ การคานวณค่าใช้จ่ายค่ากระแสไฟฟ้าที่เครื่องปรับอากาศใช้ 1.11 มีความรู้เกี่ยวกับหลักความปลอดภัยในการทางาน 2. ระยะเวลาการฝึก ผู้ รั บ การฝึ กจะได้รั บ การฝึ ก ในภาคทฤษฎี และภาคปฏิบัติ โดยสถาบันพัฒ นาฝี มือแรงงาน หรือ สานักงานพัฒนา ฝีมือแรงงานที่เป็นหน่วยฝึกตามความสามารถใช้ระยะเวลาในการฝึก 50 ชั่วโมง 8 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝึ ก ที่ 10

เนื่ อ งจากเป็ น การฝึ ก ที่ ขึ้ น อยู่ กั บ พื้ น ฐานความรู้ ทั ก ษะ ความสามารถและความพร้ อ มของผู้ รั บ การฝึ ก แต่ละคน มีผลให้ผู้รับการฝึกจบการฝึกไม่พร้ อมกัน สามารถจบก่อนหรือเกินระยะเวลาที่กาหนดไว้ในหลั กสูตรได้ หน่วยฝึกจึงต้องบริหารระยะเวลาในการฝึกให้เหมาะสมตามความจาเป็น ทั้ งนี้ ให้อยู่ในดุลยพินิจของผู้อานวยการ สถาบันพัฒนาฝีมือแรงงาน หรือผู้อานวยการสานักงานพัฒนาฝีมือแรงงานที่เป็นหน่วยฝึกตามความสามารถจะเห็นสมควร 3. หน่วยความสามารถและโมดูลการฝึก จานวนหน่วยความสามารถ 11 หน่วย จานวนโมดูลการฝึก 11 โมดูล 4. วุฒิบัตร 4.1 ชื่อเต็ม : วุฒิบัตรพัฒนาฝีมือแรงงาน สาขา ช่างเครื่องปรับอากาศในบ้านและการพาณิชย์ขนาดเล็ก ระดับ 3 4.2 ชื่อย่อ : วพร. สาขา ช่างเครื่องปรับอากาศในบ้านและการพาณิชย์ขนาดเล็ก ระดับ 3 4.3 ผู้ รั บ การฝึ ก ที่ ผ่ า นการประเมิ น ผลหรื อ ผ่ า นการฝึ ก ครบทุ ก หน่ ว ยความสามารถ จะได้ รั บ วุ ฒิ บั ต ร วพร. สาขา ช่างเครื่องปรับอากาศในบ้านและการพาณิชย์ขนาดเล็ก ระดับ 3

9 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝึ ก ที่ 10

รายละเอียดโมดูลการฝึกที่ 10 1. ชื่อหลักสูตร

สาขาช่างเครื่องปรับอากาศในบ้านและการพาณิชย์ขนาดเล็ก รหัสหลักสูตร ระดับ 3 0920164170203 2. ชื่อโมดูลการฝึก การประหยัดพลังงานไฟฟ้า การคานวณหากาลังไฟฟ้า รหัสโมดูลการฝึก ของมอเตอร์ การคานวณหาความเร็วรอบของมอเตอร์ 09217321 การคานวณค่าใช้จ่ายค่ากระแสไฟฟ้าที่เครื่องปรับอากาศใช้ 3. ระยะเวลาการฝึก รวม 1 ชั่วโมง 45 นาที ทฤษฎี 1 ชั่วโมง 45 นาที ปฏิบัติ - ชัว่ โมง 4. ขอบเขตของหน่ว ย หน่วยการฝึกนี้ พัฒนาขึ้นให้ครอบคลุ มด้านความรู้ ทักษะ และเจตคติแก่ผู้รับ การฝึ ก การฝึก เพื่อให้มีความสามารถ ดังนี้ 1. อธิบายการประหยัดพลังงานไฟฟ้าได้ 2. อธิบายและคานวณหากาลังไฟฟ้าของมอเตอร์ได้ 3. อธิบายและคานวณหาความเร็วรอบของมอเตอร์ได้ 4. อธิบายและคานวณค่าใช้จ่ายค่ากระแสไฟฟ้าที่ใช้ในเครื่องปรับอากาศได้ 5. พื้นฐาน ผู้สมัครเข้ารับการฝึกต้องมีคุณสมบัติ ดังต่อไปนี้ ความสามารถของ 1. มีความรู้พื้นฐานสามารถอธิบายการประหยัดพลังงานไฟฟ้า คานวณหากาลังไฟฟ้า ผู้รับการฝึก ความเร็วรอบมอเตอร์ และคานวณค่าใช้จ่ายค่ากระแสไฟฟ้าที่ใช้ในเครื่องปรับอากาศ หรือผ่านการฝึกอบรมที่เกี่ยวข้องจากหน่วยงานหรือสถาบันที่เชื่อถือได้ 2. ผู้รับการฝึกผ่านการฝึกในโมดูล 9 มาแล้ว 6. ผลลัพธ์การเรียนรู้ :เมื่อสาเร็จการฝึกในโมดูลนี้แล้วผู้รับการฝึกสามารถปฏิบัติงานโดยมีความรู้ความสามารถและใช้ ระยะเวลาฝึก ดังนี้ ระยะเวลาฝึก (ชั่วโมง: นาที) ผลลัพธ์การเรียนรู้ ชื่อหัวข้อวิชา ทฤษฎี ปฏิบัติ รวม 1. อธิบายการประหยัด หัวข้อที่ 1 : การประหยัดพลังงานไฟฟ้า 0:30 0:30 พลังงานไฟฟ้าได้ 2. อธิบายและคานวณ หัวข้อที่ 2 : การคานวณเกี่ยวกับการทางานของ 0:45 0:45 หากาลังไฟฟ้าของมอเตอร์ได้ มอเตอร์ 3. อธิบายและคานวณ หาความเร็วรอบ ของมอเตอร์ได้ 10 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝึ ก ที่ 10

4. อธิบายและคานวณค่าใช้จ่าย หัวข้อที่ 3 : การคานวณค่าใช้จ่ายในการใช้ ค่ากระแสไฟฟ้าที่ใช้ใน เครื่องปรับอากาศ เครื่องปรับอากาศได้ รวมทั้งสิ้น

11 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน

0:30

-

0:30

1:45

-

1:45


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝึ ก ที่ 10

รายละเอียดหัวข้อวิชาที่ 1 0921732101 การประหยัดพลังงานไฟฟ้า (ใบแนะนา) 1. ผลลัพธ์การเรียนรู้ - อธิบายการประหยัดพลังงานไฟฟ้าได้

2. หัวข้อสาคัญ - การประหยัดพลังงานไฟฟ้า

3. วิธีการฝึกอบรม การฝึกอบรมสามารถเลือกได้ 3 รูปแบบ คือ 1) การฝึกอบรมด้วยการส่งมอบสื่อสิ่งพิมพ์ 2) การฝึกอบรมที่ศูนย์ฝึกอบรม 3) การฝึกอบรมด้วยสื่อในระบบออนไลน์ ดังรายละเอียดในข้อแนะนาสาหรับผู้รับการฝึก

4. อุปกรณ์ช่วยฝึก อุปกรณ์ช่วยฝึกสามารถเลือกใช้งานได้ 2 รูปแบบ คือ 1. รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ์ (Offline) ประกอบด้วย - คู่มือผู้รับการฝึก เพื่อใช้ศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คู่มือการประเมิน เพื่อใช้ในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน์ (DVD) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 2. รูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ (Online) ประกอบด้วย - คู่มือผู้รับการฝึกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) เพื่อใช้ศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คู่มือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) เพื่อใช้ในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน์ (Online) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ

12 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝึ ก ที่ 10

5. การรับการฝึกอบรม 1. ผู้รับการฝึกทาแบบทดสอบก่อนฝึก (Post-Test) แล้วส่งให้ครูฝึกหรือระบบประเมินผลตามวิธีที่เลือกฝึกอบรม 1.1 ถ้าผลการประเมินผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ตามที่กาหนดในเอกสารโครงร่างหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเข้ารับการฝึก ภาคปฏิบัติ (ถ้ามี) หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลถัดไป หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลที่ครูฝึกกาหนดได้ 1.2 ถ้าผลการประเมินต่ากว่าร้อยละ 70 ให้ผู้รับการฝึกเข้าฝึกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝึกอบรมภาคทฤษฎี ให้ผู้รับการฝึกศึกษาคู่มือผู้รับการฝึก และฝึกหัดทาใบทดสอบท้ายหัวข้อวิชา 3. เมื่อผู้รับการฝึกศึกษาคู่มือผู้รับการฝึก ประจาโมดูลนั้นเข้าใจแล้ว ให้ทาแบบทดสอบหลังฝึก (Post-Test) แล้วส่งให้ ครูฝึกหรือระบบประเมินผลเช่นเดียวกับแบบทดสอบก่อนฝึก

6. การวัดผล 1. ผู้รับการฝึกส่งแบบทดสอบก่อนฝึก ให้ครูฝึกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎีตามวิธีที่เลือกฝึกอบรม 1.1 ถ้าผลการประเมินผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ตามที่กาหนดในเอกสารโครงร่างหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเข้ารับการฝึก ภาคปฏิบัติ (ถ้ามี) หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลถัดไปได้ 1.2 ถ้าผลการประเมินต่ากว่าร้อยละ 70 ให้ครูฝึกมอบหมายให้ผู้รับการฝึกศึกษาเนื้อหาจากสื่อด้วยตนเองจนเข้าใจ จึงทาแบบทดสอบหลังฝึก (Post-Test) 2. ผู้รับการฝึกส่งแบบทดสอบหลังฝึก ให้ครูฝึกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎี โดยใช้หลักเกณฑ์เดียวกับการประเมิน แบบทดสอบก่อนฝึก

7. บรรณานุกรม กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน กระทรวงพลังงาน. 2556. ระบบการทาความเย็น. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : http://www2.dede.go.th/bhrd/old/web_display/websemple/Industrial(PDF)/Bay29%20Refrigeration.pdf ฤชากร จิรกาลวสาน. 2550. ภาระและประสิทธิภาพมอเตอร์. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : http://www.acat.or.th/download/acat_or_th/journal-11/11%20-%2006.pdf

13 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝึ ก ที่ 10

ใบข้อมูล หัวข้อวิชาที่ 1 การประหยัดพลังงานไฟฟ้า 1. การประหยัดพลังงานไฟฟ้า ปัจจุบันประเทศไทยกาลังประสบปัญหาเกี่ยวกับพลังงานที่มีจานวนลดน้อยลง เนื่องจากมีประชากรเพิ่มมากขึ้น และมี เทคโนโลยีมากขึ้น ทาให้ประชากรมีความต้องการในการใช้พลังงานมีมากขึ้น ส่งผลให้เกิดปัญหาการขาดแคลนพลังงาน และการทาลายทรัพยากรที่เพิ่มมากขึ้นเพื่อผลิตเป็นพลังงานสาหรับใช้ในครัวเรือนและธุรกิจอุตสาหกรรม เช่น ระบบปรับอากาศ ระบบแสงสว่าง อุปกรณ์ไฟฟ้าอิเล็กทรอนิกส์ และเครื่องจักรต่าง ๆ เป็นต้น ดังนั้นจึงเป็นเรื่องจาเป็นสาหรับทุกคนในการร่วมมือกัน ประหยัดการใช้พลังงานและเลือกใช้อย่างมีประสิทธิภาพ เนื่องจากเครื่องประอากาศเป็นอุปกรณ์ไฟฟ้าที่ใช้พลังงานไฟฟ้ามาก แต่มีความจาเป็นต่อประชาชนไม่ว่าจะเป็นการใช้ในบ้าน ที่อยู่อาศัย อาคารสานักงานหรือแม้แต่โรงงานอุตสาหกรรม จึงต้องคานึงถึงการใช้งานอย่างประหยัดพลังงาน โดยแนวทาง การประหยัดพลังงานในระบบทาความเย็น มีดังต่อไปนี้ ตารางที่ 1.1 แสดงแนวทางการประหยัดพลังงานและวิธีดาเนินการที่เหมาะสม แนวทางการประหยัดพลังงาน

วิธีดาเนินการ

1. ลดภาระการท าความเย็ น - เลือ กใช้ว ัส ดุที่มีคุณ สมบัติเ ป็น ฉนวนความร้อ นที่ดีส าหรับ ผนั ง จากภายนอกให้ เหลื อ น้ อย ที่สุด

และมีการตรวจสอบสม่าเสมอ - ลดการรั่วไหลอากาศภายนอกเข้าสู่ภายในระบบห้องเย็น

2. ลดภาระการท าความเย็ น - ป้องกันมิให้แสงแดดกระทบผนังโดยตรง ภายในให้น้อยที่สุด

- สอบเทียบเครื่องวัดและปรับตั้งอุณหภูมิให้เหมาะสมกับการใช้งาน - ปรับปรุงระบบแสงสว่างภายในห้องให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้น - เลือกใช้อุปกรณ์ไฟฟ้าภายในห้องเย็นที่มีประสิทธิภาพสูง

3. เพิ่มสัมประสิทธิ์สมรรถนะ - ควบคุมปริมาณสารทาความเย็นในระบบให้เหมาะสม (COP) ให้สูงสุด

- ทาความสะอาดพื้นที่ผิวแลกเปลี่ยนความร้อนระหว่างสารทาความเย็น กับน้าหรืออากาศ - ควบคุมปริมาณน้าหรืออากาศให้ไหลผ่านขดท่อแลกเปลี่ยนความร้อน ในอัตราที่เหมาะสม - เพิ่มขนาดพื้นที่ผิวแลกเปลี่ยนความร้อน 14 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝึ ก ที่ 10

แนวทางการประหยัดพลังงาน

วิธีดาเนินการ - ปรับตั้งหรือเลือกใช้ลิ้นลดความดันที่มีขนาดเหมาะสม - ปรับตั้งอุณหภูมิการทาความเย็นให้เหมาะสม - ใช้น้าหรืออากาศที่มีอุณหภูมิต่าเข้าระบายความร้อน - ใช้ระบบระบายความร้อนด้วยน้าแทนอากาศ - เลือกใช้เครื่องอัดที่มีประสิทธิภาพสูง

4. เ พิ่ ม ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ ข อ ง - เมื่อมอเตอร์ไหม้หรือมีอายุการใช้งานมากกว่า 5 ปี ควรเปลี่ยนใหม่ มอเตอร์ที่คอมเพรสเซอร์ให้ โดยเลือกใช้คอมเพรสเซอร์ประสิทธิภาพสูง สูงสุด - คอมเพรสเซอร์ ข นาดใหญ่ ค วรซ่ อ มมอเตอร์ ไ ม่ เ กิ น 3 ครั้ ง เพราะมอเตอร์ไหม้แต่ละครั้งประสิทธิภาพจะลดลง 4% - อัดจารบีหรือสารหล่อลื่นเป็นประจา - เปลี่ยนลูกปืนเมื่อหมดอายุการใช้งาน - เปลี่ยนไปใช้มอเตอร์ประสิทธิภาพสูง 5. เพิ่มประสิทธิภาพระบบ

- ปรับความตึงสายพานให้เหมาะสม

ส่งกาลังระหว่างเครื่องอัด

- เปลี่ยนสายพานเมื่อหมดอายุการใช้งาน

สารทาความเย็นกับ

- ใส่สายพานให้ครบตามจานวนที่ออกแบบ

มอเตอร์ให้สูงที่สุด

- เลือกใช้สายพานที่มีประสิทธิภาพสูง

6. ลดชั่วโมงการใช้งาน

- เปิดใช้งานให้ช้าที่สุด - ปิดก่อนเลิกใช้งานเร็วที่สุด - ลดจานวนเดินเครื่องท าความเย็ นเมื่อภาระการท าความเย็ น ของ ระบบต่า

7. ลดพลังงานไฟฟ้าที่ใช้กับ

- เปิดใช้งานในจานวนที่เหมาะสม

อุปกรณ์ประกอบของระบบ - เลือกใช้งานอุปกรณ์ชุดที่มีประสิทธิภาพสูงเป็นหลัก เช่น ปั๊มน้า หอผึ่งเย็น - ปรับปรุงเปลี่ยนแปลงอุปกรณ์ให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้น เครื่องส่งหรือจ่ายลมเย็น - ใช้งานอุปกรณ์ในจุดที่มีประสิทธิภาพสูงสุด

15 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝึ ก ที่ 10

แนวทางการประหยัดพลังงาน

วิธีดาเนินการ

8. ลดชั่ ว โมงการใช้ ง านของ - ควบคุมชุดระบายความร้อนให้ทางานตามการทางานของเครื่องอัด อุปกรณ์ประกอบ - เดินอุปกรณ์ประกอบให้เหมาะสมกับภาระ - ควบคุมเวลาการเปิดโดยไม่เปิดก่อนเวลาทางานนานเกินไป และปิดทันที เมื่อเลิกงาน ทั้ ง นี้ ร ะบบท าความเย็ น อุ ต สาหกรรมเป็ น ระบบที่ ใ ช้ พ ลั ง งานไฟฟ้ า ขนาด 380 Volt 3 Phase 50 Hz ซึ่ ง ถื อ ว่ า ใช้กาลังไฟฟ้าที่สูง แม้ว่ารูปแบบระบบการทาความเย็นนั้นไม่ได้ต่างจากรูปแบบการทาความเย็นของเครื่องปรับอากาศขนาด เล็กที่ใช้ในครัวเรือน หากแต่มีหลักการต่างกันเล็กน้อยคือ เมื่ออาคารหรือพื้นที่ใช้งานมีขนาดใหญ่ การให้อีวาพอ เรเตอร์ ทาความเย็นโดยตรงอาจมีความเย็นไม่เพียงพอหรืออาจทาให้เครื่องปรับอากาศทางานหนักเกินไป จึงเปลี่ยนไปทาความเย็น ให้กับ น้าก่อ น เมื่อ น้าเย็น แล้ว จึง ใช้น้าเป็น ตัว กลางถ่ า ยทอดความเย็น ต่ อ ไปยัง อุป กรณ์ต่ า ง ๆ การเพิ่ม ประสิท ธิ ภ าพ และการประหยัดพลังงานให้ระบบทาความเย็นอุตสาหกรรมนั้น ใช้หลักการพื้นฐานในการดูแลควบคุมอุปกรณ์หลัก 4 อย่าง ดังต่อไปนี้ 1.1 คอมเพรสเซอร์ (Compressor)

ภาพที่ 1.1 มอเตอร์คอมเพรสเซอร์ 1)

ติดตั้งระบบจัดการคอมเพรสเซอร์ เพื่อจัดลาดับการทางานของคอมเพรสเซอร์ให้เป็นไปตามภาระความเย็น และเกิดประสิทธิภาพสูงสุด

2)

ขนาดและชุดควบคุมคอมเพรสเซอร์ต้องถูกต้องเหมาะสมกับภาระความเย็น

3)

หมั่นบารุงรักษาคอมเพรสเซอร์อย่างสม่าเสมอ

4)

เลือกใช้มอเตอร์ที่มีประสิทธิภาพสูง

16 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝึ ก ที่ 10

1.2 คอนเดนเซอร์ (Condenser)

ภาพที่ 1.2 คอนเดนเซอร์ 1)

ลดความดันที่คอนเดนเซอร์ โดยการเพิ่มขนาดหรือจานวนคอนเดนเซอร์เพื่อลดภาระการทางานของ คอมเพรสเซอร์

2)

อุณหภูมิการควบแน่นควรต่าที่สุดเท่าที่จะทาได้ เพื่อลดการใช้พลังงาน

3)

เดินพัดลมคอนเดนเซอร์และเครื่องสูบน้าให้มากตัวที่สุด เพื่อให้อุณหภูมิควบแน่นต่าสุด

4)

ทาความสะอาดหัวฉีด (Spray Nozzles) ของคอนเดนเซอร์อย่างสม่าเสมอ

5)

รักษาพื้นผิวของคอนเดนเซอร์ให้สะอาดและน้าที่ใช้ต้องผ่านการปรับสภาพแล้ว

6)

ไล่อากาศและแก๊สที่ไม่กลั่นตัวออกจากคอนเดนเซอร์ให้หมด

1.3 อุปกรณ์ควบคุมสารทาความเย็น (Expansion Valve)

ภาพที่ 1.3 อุปกรณ์ควบคุมสารทาความเย็น 1)

ใช้ระบบควบคุมการป้อนสารทาความเย็นแทนการปรับหรี่วาล์วด้วยมือ เพื่อให้การส่งจ่ายสารความเย็น ตรงตามภาระความเย็น

2)

เปลี่ยนการควบคุมแรงดันในอีวาพอเรเตอร์ด้วยการหรี่วาล์วมาเป็นการควบคุมแบบป้อนน้ายาตามภาระความเย็น 17 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝึ ก ที่ 10

1.4 อีวาพอเรเตอร์ (Evaporator)

ภาพที่ 1.4 อีวาพอเรเตอร์ (ชิลเลอร์) 1)

ติ ดตั้ งระบบแยกไอสารท าความเย็ นบางส่ วนกลั บไปอั ดที่ ช่ องความดั นด้ านกลางของคอมเพรสเซอร์ แบบสกรู ทาให้เพิ่มความสามารถในการทาความเย็นของอีวาพอเรเตอร์

2)

เพิ่มอุณหภูมิในอีวาพอเรเตอร์ การถ่ายน้ามันหรือสิ่งสกปรกออกจากระบบน้ายาเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ของการเปลี่ยนความร้อนเป็นการเพิ่มอุณหภูมิของอีวาพอเรเตอร์

3)

พื้นผิวของอีวาพอเรเตอร์ต้องมากพอ เพื่อให้การถ่ายเทความร้อนทาได้สูงสุด

4)

ใช้พัดลมและมอเตอร์ที่มีประสิทธิภาพสูงในห้องเย็นและห้องแช่แข็ง

5)

ควบคุมความร้อนภายนอกไม่ให้เข้ามาในห้องเย็นมากเกินไป

18 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝึ ก ที่ 10

ใบทดสอบ คาชี้แจง ให้ผู้รับการฝึกทาเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคาตอบข้อที่ถูกที่สุดเพียงข้อเดียว 1. ข้อใดเป็นการเพิ่มสัมประสิทธิ์สมรรถนะให้สูงที่สุด ก. เลือกใช้เครื่องอัดที่มีประสิทธิภาพสูง ข. ป้องกันมิให้แสงแดงกระทบผนังโดยตรง ค. เพิ่มขนาดพื้นที่ผิวแลกเปลี่ยนความร้อน ง. เลือกใช้วัสดุที่มีคุณสมบัติเป็นฉนวนความร้อน 2. เมื่อมอเตอร์มีอายุการใช้งานเกิน 5 ปี ควรทาอะไร ก. ซ่อม ข. เปลี่ยน ค. อัดจาระบี ง. ตรวจสอบ 3. ข้อใดเป็นการลดใช้พลังงานมากที่สุด ก. เปิดใช้งานเท่าที่จาเป็น ข. เปิดใช้งานในจานวนที่เหมาะสม ค. ปรับปรุงอุปกรณ์ในจุดทีมีประสิทธิภาพสูงสุด ง. เลือกใช้งานอุปกรณ์ชุดที่มีประสิทธิภาพสูงเป็นหลัก

19 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝึ ก ที่ 10

กระดาษคาตอบ ข้อ

1 2 3

20 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝึ ก ที่ 10

รายละเอียดหัวข้อวิชาที่ 2 0921732102 การคานวณเกี่ยวกับการทางานของมอเตอร์ (ใบแนะนา) 1. ผลลัพธ์การเรียนรู้ 1. อธิบายและคานวณหากาลังไฟฟ้าของมอเตอร์ได้ 2. อธิบายและคานวณหาความเร็วรอบของมอเตอร์ได้

2. หัวข้อสาคัญ 1. การคานวณกาลังมอเตอร์ไฟฟ้า 2. การคานวณหาความเร็วรอบของมอเตอร์

3. วิธีการฝึกอบรม การฝึกอบรมสามารถเลือกได้ 3 รูปแบบ คือ 1) การฝึกอบรมด้วยการส่งมอบสื่อสิ่งพิมพ์ 2) การฝึกอบรมที่ศูนย์ฝึกอบรม 3) การฝึกอบรมด้วยสื่อในระบบออนไลน์ ดังรายละเอียดในข้อแนะนาสาหรับผู้รับการฝึก

4. อุปกรณ์ช่วยฝึก อุปกรณ์ช่วยฝึกสามารถเลือกใช้งานได้ 2 รูปแบบ คือ 1. รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ์ (Offline) ประกอบด้วย - คู่มือผู้รับการฝึก เพื่อใช้ศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คู่มือการประเมิน เพื่อใช้ในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน์ (DVD) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 2. รูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ (Online) ประกอบด้วย - คู่มือผู้รับการฝึกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) เพื่อใช้ศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คู่มือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) เพื่อใช้ในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน์ (Online) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ

21 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝึ ก ที่ 10

5. การรับการฝึกอบรม 1. ผู้รับการฝึกทาแบบทดสอบก่อนฝึก (Post-Test) แล้วส่งให้ครูฝึกหรือระบบประเมินผลตามวิธีที่เลือกฝึกอบรม 1.1 ถ้าผลการประเมินผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ตามที่กาหนดในเอกสารโครงร่างหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเข้ารับการฝึก ภาคปฏิบัติ (ถ้ามี) หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลถัดไป หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลที่ครูฝึกกาหนดได้ 1.2 ถ้าผลการประเมินต่ากว่าร้อยละ 70 ให้ผู้รับการฝึกเข้าฝึกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝึกอบรมภาคทฤษฎี ให้ผู้รับการฝึกศึกษาคู่มือผู้รับการฝึก และฝึกหัดทาใบทดสอบท้ายหัวข้อวิชา 3. เมื่อผู้รับการฝึกศึกษาคู่มือผู้รับการฝึก ประจาโมดูลนั้นเข้าใจแล้ว ให้ทาแบบทดสอบหลังฝึก (Post-Test) แล้วส่งให้ ครูฝึกหรือระบบประเมินผลเช่นเดียวกับแบบทดสอบก่อนฝึก

6. การวัดผล 1. ผู้รับการฝึกส่งแบบทดสอบก่อนฝึก ให้ครูฝึกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎีตามวิธีที่เลือกฝึกอบรม 1.1 ถ้าผลการประเมินผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ตามที่กาหนดในเอกสารโครงร่างหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเข้ารับการฝึก ภาคปฏิบัติ (ถ้ามี) หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลถัดไปได้ 1.2 ถ้าผลการประเมินต่ากว่าร้อยละ 70 ให้ครูฝึกมอบหมายให้ผู้รับการฝึกศึกษาเนื้อหาจากสื่อด้วยตนเองจนเข้าใจ จึงทาแบบทดสอบหลังฝึก (Post-Test) 2. ผู้รับการฝึกส่งแบบทดสอบหลังฝึก ให้ครูฝึกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎี โดยใช้หลักเกณฑ์เดียวกับการประเมิน แบบทดสอบก่อนฝึก

7. บรรณานุกรม ฤชากร จิรกาลวสาน. 2550. ภาระและประสิทธิภาพมอเตอร์. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : http://www.acat.or.th/download/acat_or_th/journal-11/11%20-%2006.pdf

22 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝึ ก ที่ 10

ใบข้อมูล หัวข้อวิชาที่ 2 การคานวณเกี่ยวกับการทางานของมอเตอร์ มอเตอร์ไฟฟ้าเป็นอุปกรณ์ที่นิยมใช้กันอย่างแพร่หลาย เนื่องจากเป็นอุปกรณ์ที่ใช้ควบคุมเครื่องจักรกลต่าง ๆ ในงาน อุตสาหกรรมมอเตอร์มีหลายแบบหลายชนิดที่ใช้ให้เหมาะสมกับงานดังนั้นเราจึงต้องเลือกใช้มอเตอร์ไฟฟ้าให้เหมาะสม โดย นอกจากคุณสมบัติของมอเตอร์แต่ละชนิดแล้ว ต้องทราบถึงกาลังและความเร็วรอบของมอเตอร์เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด ในการใช้งานของมอเตอร์นั้น ๆ 1. การคานวณกาลังมอเตอร์ไฟฟ้า ในการคานวณกาลังของมอเตอร์ไฟฟ้า ผู้ปฏิบัติงานต้องทราบถึง แรงม้า ซึ่งเป็นหน่วยวัด “พลังงาน” ตัวอย่างเช่น 1 แรงม้า เท่ากับ 550 ฟุต – ปอนด์ / วินาที หมายความว่า พลังงาน ที่สามารถยกน้าหนักขนาด 1 ปอนด์ ขึ้นในแนวดิ่งเป็นระยะทาง ได้ 550 ฟุต ภายในเวลา 1 วินาที นอกจากนั้น 1 แรงม้า ยังมีค่าที่แปลงเป็นหน่วยต่าง ๆ ได้ ดังนี้ 1 แรงม้า = 2,545 บี.ที.ยู./ชั่วโมง = 746 วัตต์ ทั้งนี้ การคานวณค่าของแรงม้ามาจากสูตร งาน(W)

= แรง (F) X ระยะทาง (S)

พลังงาน(P) = งาน (W )ต่อหน่วยเวลา(วินาที) มีชื่อหน่วย วัตต์ (Watt) โดย1 วัตต์ = 1 จูลต่อวินาที หรือ = งาน (W) X ความเร็ว (V) เมตรต่อวินาที (P = W x V) จากข้อมูลของเครื่องยนต์ที่เรามักจะเห็นได้จาก สเป็ค (Catalogue) หรือป้ายบอกข้อมูล (Name Plate) ของมอเตอร์ไฟฟ้า กรณีที่ใช้มอเตอร์เป็นต้นกาลัง เราก็จะสามารถคานวณหากาลังเครื่องจักรได้ ตัวอย่างการคานวณ เครื่องยนต์มีกาลัง 1,500 วัตต์ จะประเมินแรงม้าได้เท่ากับเท่าไร เครื่องยนต์มีกาลัง เมื่อ 1 แรงม้า ดังนั้น

= 1,500 วัตต์ = 746 วัตต์ = 1,500 / 746 = 2.01 แรงม้า

23 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝึ ก ที่ 10

เมื่อทราบถึงการคานวณแรงม้าแล้ว จะสามารถประเมินแรงม้าเปรียบเทียบโดยนามาใช้กับ มอเตอร์ไฟฟ้าได้ กรณี ที่ มอเตอร์ไฟฟ้ามี Name Plate และ Catalogue รวมถึงผลิตได้ตามมาตรฐานที่กระทรวงอุตสาหกรรมยอมรับ ทั้งนี้ ปกติมอเตอร์ จะมีป้ายที่ระบุ แรงม้า (HP) ไว้โดยตรงซึ่งให้ถือเอาค่าแรงม้านั้น แต่หากระบุเป็นกิโลวัตต์ หรือวัตต์ (KW หรือ W) ก็จะ สามารถคานวณหาแรงม้าได้ดังนี้ จากสูตร แรงม้า (HP) = กิโลวัตต์ (KW) 0.746 หรือ

= วัตต์ (W) 746

สูตรหากาลังไฟฟ้าของมอเตอร์ไฟฟ้า 1 เฟส P1Ø = VpIp cosθ P

= กาลังไฟฟ้า (วัตต์)

V

= แรงดันไฟฟ้า (โวลต์)

I

= กระแสไฟฟ้า (แอมแปร์)

cosθ = ค่าตัวประกอบกาลังไฟฟ้า สูตรหากาลังไฟฟ้าของมอเตอร์ไฟฟ้า 3 เฟส P3Ø = √3 VI Ilcosθ ตัวอย่างการคานวณหาค่ากาลังไฟฟ้าของมอเตอร์ 1 เฟส และ 3 เฟส ตัวอย่างที่ 1

มอเตอร์ไฟฟ้า 1 เฟส 220 V 50 Hz กินกระแส 4.5 A ค่าตัวประกอบกาลัง (P.F.) = 0.8 จงหาว่า

มอเตอร์ตัวนี้มีขนาดกี่วัตต์ และคิดเป็นกี่แรงม้า (H.P.) P1Ø = VpIp cosθ = 220 x 4.5 x 0.8 = 792 วัตต์ คิดเป็นแรงม้า (H.P.)

=

792 746

= 1.06 แรงม้า

24 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝึ ก ที่ 10

ตัวอย่างที่ 2

มอเตอร์ไฟฟ้า 3 เฟส 380 V 50 Hz มอเตอร์ตัวนี้กินกระแส 5 A ค่าตัวประกอบกาลัง (P.F.) = 0.75

จงหาว่ามอเตอร์ตัวนี้มีขนาดกี่วัตต์ และคิดเป็นกี่แรงม้า (H.P.) P3Ø = √3 VI Ilcosθ = √3 x 380 x 5 x 0.75 = 2,468.2 วัตต์ คิดเป็นแรงม้า (H.P.)

=

2,468.2 746

= 3.309 แรงม้า

หมายเหตุ ถ้าเครื่องจักรมีมอเตอร์ขับหลายตัว แรงม้าเครื่องจักรคือผลรวมแรงม้าของมอเตอร์ทุกตัว แต่ในกรณีที่มอเตอร์ไฟฟ้าเก่าไม่มี Name Plate และ Catalogue หรือผลิตไม่ตรงตามมาตรฐานที่กระทรวงอุตสาหกรรมยอมรับ การคานวณหาแรงม้าเปรียบเทียบสามารถทาได้โดยการวัดค่า Frame Size ของมอเตอร์แล้วเปรียบเทียบค่าแรงม้าจากตารางที่ 2.1 ตารางที่ 2.1 แสดงการเปรียบเทียบค่า Frame Size ของมอเตอร์กบั ค่าแรงม้า Distance Between of Frame Size

HP At Freq.50 Hz

Bolts

Height Of Bhaft "H"

Side View

Front

(mm.)

"D "

View "A"

(mm.)

(mm.)

3000 RPM

1500 RPM

1000 RPM

750 RPM

(2 Poles)

(4 Poles)

(6 Poles)

(8 Poles)

90 S

90

100

140

2

1.5

1

0.5

90 L

90

125

140

3

2

1.5

0.75

100 L

100

140

160

4

3,4

2

1,1.5

112 M

112

140

190

5.5

5.5

3

2

132 S

132

140

216

7.5, 10

7.5

4

3

132 M

132

178

216

-

10

5.5, 7.5

4

160 M

160

210

254

15, 20

15

10

5.5, 7.5

160 L

160

254

254

25

20

15

10

180 M

180

241

279

30

25

-

-

180 L

180

279

279

-

30

20

15

200 L

200

305

318

40, 50

40

25, 30

20

225 S

225

286

356

-

50

-

25

225 M

225

311

356

60

60

40

30

25 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝึ ก ที่ 10

Frame Size

Height Of

Distance Between of Bolts

Bhaft "H"

Side View

Front

(mm.)

"D "

View "A"

(mm.)

(mm.)

HP At Freq.50 Hz 3000 RPM

1500 RPM

1000 RPM

750 RPM

(2 Poles)

(4 Poles)

(6 Poles)

(8 Poles)

250 S

250

311

406

-

-

-

40

250 M

250

349

406

75

75

50

40

280 S

280

368

457

100

100

60

50

280 M

280

419

457

125

125

75

60

315 S

315

406

508

150

150

100

75

315 M

315

457

508

180

180

125

100

315 L

315

711

508

220

220

150

150

355 S

355

500

610

270

270

180

150

355 M

355

560

610

270

340

220

180

355 L

355

630

610

340

340

270

220

400 S

400

560

686

430

430

340

270

400 M

400

630

686

545

545

430

340

400 L

400

710

686

-

610

480

380

450 M

450

840

760

680

680

480

380

450 L

450

950

760

820

820

545

455

500 M

500

910

860

-

-

680

545

500 L

500

1050

860

-

-

-

680

26 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝึ ก ที่ 10

ตัวอย่าง

ภาพที่ 2.1 ตัวอย่างมอเตอร์ มอเตอร์มีระยะความสูงระหว่างจุดกึ่งกลางแกนเพลากับฐานมอเตอร์ 100 มม. ระยะห่างระหว่างจุดยึดฐานมอเตอร์ ด้านข้าง 140 มม. และด้านหน้า 160 มม. ความเร็วรอบ 1500 รอบ/นาที ที่ความถี่ 50 Hz (เป็นความถี่ปกติของกระแสไฟฟ้า ที่ใช้) เมื่อเทียบกับตารางที่ 2.1 จะได้แรงม้าเปรียบเทียบ เท่ากับ 3, 4 แรงม้า โดยเลือกใช้ที่แรงม้าสูงสุดคือ 4 แรงม้า 2. การคานวณหาความเร็วรอบของมอเตอร์ มอเตอร์มีความเร็วรอบตามทฤษฎี (Synchronous Speed) Ns ดังต่อไปนี้ Ns

= 120F/P......................................................(1)

Ns

= ความเร็วรอบ รอบ/นาที (RPM)

F

= ความถี่ประเทศไทย ญี่ปุ่น และอังกฤษใช้ 50 Hz ส่วนสหรัฐอเมริกาใช้ 60 Hz

P = ขั้ว (Poles) แม่เหล็กไฟฟ้า 2, 4, 6, ………… ตัวอย่างการคานวณหาความเร็วรอบของมอเตอร์ไฟฟ้า มอเตอร์ไฟฟ้า 3 เฟสตัวหนึ่ง ใช้กับแรงดันไฟฟ้า 380 V 50 Hz มีจานวนขั้วแม่เหล็ก 4 ขั้ว จงหาความเร็วรอบของมอเตอร์ตัวนี้ Ns

=

=

120F P

120 x 50 4

= 1500 รอบ/นาที

ทางปฏิบัติหรือรอบจริงของมอเตอร์จะมีค่า Slip ทางไฟฟ้าที่ทาให้ความเร็วลดลง 1% - 4% ซึ่งผู้ผลิตจะบอกมาทางอ้อมนั่นคือ บอกความเร็วรอบมอเตอร์ตามพิกัดมา ในแผ่นป้ายบอกคุณสมบัติเช่น 7.5 kW, 380/50/1,450 RPM แสดงว่าเป็นมอเตอร์ 4 ขั้ว 27 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝึ ก ที่ 10

ความเร็วรอบตามทฤษฎี 1500 RPM ค่า Slip ทางไฟฟ้าคือ (1500 – 1450)/1500 = 3.3% ในการใช้งานจริงมักจะใช้ไม่ถึงพิกัด (ทางานเบา) ดังนั้น ความเร็วจะเพิ่มขึ้นเล็กน้อย เช่น มอเตอร์ขนาดพิกัด 10HP (7.5 kW), 1450 RPM ถ้านามาใช้ฉุดปั๊ม ที่ต้องการกาลังเพลา 5 HP ก็จะเรียกว่าทางาน 50% ของภาระพิกัด (50% Load) ความเร็วที่วัดได้จริงอาจจะเป็น (1450 RPM) อย่างไรก็ต ามความเร็ว รอบที่เปลี่ย นเนื่องจากภาระคิด เป็นร้อ ยละ ถือว่าน้อยมาก เช่น ในกรณีข้า งต้น เปลี่ยนไปแค่ (1470 – 1450)/1450 x 100 = 1.4% เท่านั้น ดังนั้นในทางปฏิบัติต้องมองว่าคงที่ ตัวอย่างเช่น พัดลมระบายอากาศแบบต่อขับตรง ด้วยมอเตอร์ 4 ขั้ว ขนาด 1 แรงม้า จะเปลี่ยนเป็นมอเตอร์ 4 ขั้ว 2 แรงม้า จะไม่สามารถทาให้ดูดลมมากขึ้นได้เลย เพราะความเร็วรอบ เปลี่ยนน้อยมาก ไม่มีความหมาย การเปลี่ยนรอบมอเตอร์เหนี่ยวนาทาได้โดยการพันมอเตอร์แบบหลาย ๆ ขั้ว ความเร็วจึงเปลี่ยนได้ในช่วงที่จากัดซึ่งก็ยังใช้กันอยู่ ในพัดลมของเครื่องปรับอากาศขนาดเล็ก สมัยก่อนการเปลี่ยนรอบมอเตอร์อย่างละเอียดจะทาได้ยาก ปัจจุบันมีการผลิต VSD (Variable Speed Drive) ทาให้สามารถทาได้ง่ายแต่ลงทุนสูง VSD แบบที่ใช้มากก็โดยการเปลี่ยนความถี่ (F) นั่นคือเปลี่ยนจาก 50 Hz เป็นความถี่อื่น ๆ ได้อย่างละเอียด เพราะความเร็วรอบ = 120F/P นั่นคือความเร็วรอบเป็นสัดส่วนโดยตรงกับความถี่

28 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝึ ก ที่ 10

ใบทดสอบ คาชี้แจง ให้ผู้รับการฝึกทาเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคาตอบข้อที่ถูกที่สุดเพียงข้อเดียว 1. ตู้เย็นหลังหนึ่งใช้พลังงานไฟฟ้าไป 200 จูลในเวลา 10 วินาที ตู้เย็นหลังนี้มีกำลังไฟฟ้าเท่าไร ก. 15 วัตต์ ข. 20 วัตต์ ค. 25 วัตต์ ง. 30 วัตต์ 2. ข้อใดคือความเร็วรอบมอเตอร์ ตามทฤษฎี ก. 12F/P ข. 20F/P ค. 120F/P ง. 200F/P 3. จากทฤษฎีความเร็วรอบ F คืออะไร ก. ความถี่ ข. ขั้วแม่เหล็ก ค. รอบในการหมุน ง. ขนาดของมอเตอร์

29 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝึ ก ที่ 10

กระดาษคาตอบ ข้อ

1 2 3

30 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝึ ก ที่ 10

รายละเอียดหัวข้อวิชาที่ 3 0921732103 การคานวณค่าใช้จ่ายในการใช้เครื่องปรับอากาศ (ใบแนะนา) 1. ผลลัพธ์การเรียนรู้ - อธิบายและคานวณค่าใช้จ่ายค่ากระแสไฟฟ้าที่ใช้ในเครื่องปรับอากาศได้

2. หัวข้อสาคัญ - การคานวณค่าใช้จ่ายในการใช้เครื่องปรับอากาศ

3. วิธีการฝึกอบรม การฝึกอบรมสามารถเลือกได้ 3 รูปแบบ คือ 1) การฝึกอบรมด้วยการส่งมอบสื่อสิ่งพิมพ์ 2) การฝึกอบรมที่ศูนย์ฝึกอบรม 3) การฝึกอบรมด้วยสื่อในระบบออนไลน์ ดังรายละเอียดในข้อแนะนาสาหรับผู้รับการฝึก

4. อุปกรณ์ช่วยฝึก อุปกรณ์ช่วยฝึกสามารถเลือกใช้งานได้ 2 รูปแบบ คือ 1. รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ์ (Offline) ประกอบด้วย - คู่มือผู้รับการฝึก เพื่อใช้ศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คู่มือการประเมิน เพื่อใช้ในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน์ (DVD) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 2. รูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ (Online) ประกอบด้วย - คู่มือผู้รับการฝึกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) เพื่อใช้ศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คู่มือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) เพื่อใช้ในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน์ (Online) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ

31 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝึ ก ที่ 10

5. การรับการฝึกอบรม 1. ผู้รับการฝึกทาแบบทดสอบก่อนฝึก (Post-Test) แล้วส่งให้ครูฝึกหรือระบบประเมินผลตามวิธีที่เลือกฝึกอบรม 1.1 ถ้าผลการประเมินผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ตามที่กาหนดในเอกสารโครงร่างหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเข้ารับการฝึก ภาคปฏิบัติ (ถ้ามี) หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลถัดไป หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลที่ครูฝึกกาหนดได้ 1.2 ถ้าผลการประเมินต่ากว่าร้อยละ 70 ให้ผู้รับการฝึกเข้าฝึกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝึกอบรมภาคทฤษฎี ให้ผู้รับการฝึกศึกษาคู่มือผู้รับการฝึก และฝึกหัดทาใบทดสอบท้ายหัวข้อวิชา 3. เมื่อผู้รับการฝึกศึกษาคู่มือผู้รับการฝึก ประจาโมดูลนั้นเข้าใจแล้ว ให้ทาแบบทดสอบหลังฝึก (Post-Test) แล้วส่งให้ ครูฝึกหรือระบบประเมินผลเช่นเดียวกับแบบทดสอบก่อนฝึก

6. การวัดผล 1. ผู้รับการฝึกส่งแบบทดสอบก่อนฝึก ให้ครูฝึกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎีตามวิธีที่เลือกฝึกอบรม 1.1 ถ้าผลการประเมินผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ตามที่กาหนดในเอกสารโครงร่างหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเข้ารับการฝึก ภาคปฏิบัติ (ถ้ามี) หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลถัดไปได้ 1.2 ถ้าผลการประเมินต่ากว่าร้อยละ 70 ให้ครูฝึกมอบหมายให้ผู้รับการฝึกศึกษาเนื้อหาจากสื่อด้วยตนเองจนเข้าใจ จึงทาแบบทดสอบหลังฝึก (Post-Test) 2. ผู้รับการฝึกส่งแบบทดสอบหลังฝึก ให้ครูฝึกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎี โดยใช้หลักเกณฑ์เดียวกับการประเมิน แบบทดสอบก่อนฝึก

7. บรรณานุกรม กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน กระทรวงพลังงาน. 2556. ระบบการทาความเย็น. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : http://www2.dede.go.th/bhrd/old/web_display/websemple/Industrial(PDF)/Bay29%20Refrigeration.pdf ดิ แอร์ คอน. 2553. วิธีการคานวณค่าไฟ. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : http://www2.dede.go.th/bhrd/old/web_display/websemple/Industrial

32 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝึ ก ที่ 10

ใบข้อมูล หัวข้อวิชาที่ 3 การคานวณค่าใช้จ่ายในการใช้เครื่องปรับอากาศ 1. การคานวณค่าใช้จ่ายในการใช้เครื่องปรับอากาศ เครื่องปรับอากาศเป็นอุปกรณ์ไฟฟ้าที่ใช้พลังงานมากและสิ้นเปลืองค่าใช้จ่ายสูง โดยเห็นจากพลังงานไฟฟ้าโดยรวมของ เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน ซึ่ง 50-80 % มาจากพลังงานที่ใช้กับเครื่องปรับอากาศ ดังนั้น จึงควรทราบและทาความเข้าใจ เรื่องค่าใช้จ่ายเพื่อนาไปพิจารณาประกอบการเลือกซื้อและใช้เครื่องปรับอากาศ การคานวณค่าไฟฟ้าจากเครื่องปรับอากาศ สามารถคานวณโดยใช้ค่ากาลังไฟฟ้าของเครื่องปรับอากาศคูณจานวนชั่วโมง การใช้งานจริง ดังสูตร W=Pxh W = พลังงานไฟฟ้า (กิโลวัตต์ – ชั่วโมง) P = กาลังไฟฟ้า (วัตต์) h = ชั่วโมงการใช้งาน (ชั่วโมง) ซึ่งเมือ่ ได้ค่าพลังงานไฟฟ้าใช้งานจริงใน 1 เดือนแล้ว ให้นาค่าพลังงานไฟฟ้าที่เป็น (ยูนิต) มาคิดตามอัตราการคิดค่าไฟฟ้า ซึ่งการคิดค่าไฟฟ้าของการไฟฟ้านครหลวงจะคิดค่าไฟออกเป็น 3 ส่วน ดังนี้ ส่วนที่ 1 ค่าไฟฟ้าฐาน แบ่งออกเป็น 2 ส่วน 1) ค่าพลังงานไฟฟ้าที่ใช้งานจริง 2) ค่าบริการ ดังนั้น ค่าไฟฟ้าฐาน

= ค่าพลังงานไฟฟ้าที่ใช้งานจริง + ค่าบริการ

ส่วนที่ 2 ค่าไฟฟ้าผันแปร จานวนพลังงานไฟฟ้า x ค่า Ft

(ซึ่งค่า Ft นี้ การไฟฟ้าจะเป็นผู้กาหนด)

ส่วนที่ 3 ค่าภาษีมูลค่าเพิ่ม 7% [ค่าไฟฟ้าฐาน + ค่า Ft ]x7 100

ดังนั้น ค่าไฟฟ้า = ค่าไฟฟ้าฐาน + ค่าไฟฟ้าผันแปร + ค่าภาษี 7%

33 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝึ ก ที่ 10

อัตราค่าไฟฟ้าประเภทที่ 1 บ้านอยู่อาศัย 1.1 อัตราปกติปริมาณการใช้พลังงานไฟฟ้าไม่เกิน 150 หน่วยต่อเดือน ค่าพลังงานไฟฟ้า 15 หน่วย (กิโลวัตต์ชั่วโมง) แรก (หน่วยที่ 1 - 15)

หน่วยละ

2.3488 บาท

10 หน่วยต่อไป (หน่วยที่ 16 – 25)

หน่วยละ

2.9882 บาท

10 หน่วยต่อไป (หน่วยที่ 26 – 35)

หน่วยละ

3.2405 บาท

65 หน่วยต่อไป (หน่วยที่ 36 – 100)

หน่วยละ

3.6237 บาท

50 หน่วยต่อไป (หน่วยที่ 101 – 150)

หน่วยละ

3.7171 บาท

250 หน่วยต่อไป (หน่วยที่ 151 – 400)

หน่วยละ

4.2218 บาท

เกินกว่า 400 หน่วย (หน่วยที่ 401 เป็นต้นไป)

หน่วยละ

4.4217 บาท

ค่าบริการ (บาท/เดือน) :

8.19

1.2 อัตราปกติปริมาณการใช้พลังงานไฟฟ้าเกินกว่า 150 หน่วยต่อเดือน ค่าพลังงานไฟฟ้า 150 หน่วย (กิโลวัตต์ชั่วโมง) แรก (หน่วยที่ 1 - 150)

หน่วยละ

3.2484 บาท

250 หน่วยต่อไป (หน่วยที่ 151 – 400)

หน่วยละ

4.2218 บาท

เกินกว่า 400 หน่วย (หน่วยที่ 401 เป็นต้นไป)

หน่วยละ

4.4217 บาท

ค่าบริการ (บาท/เดือน) :

38.22

ตัวอย่างการคานวณเครื่องปรับอากาศขนาด 24,000 BTU 220 V 50 Hz มีข้อมูลจากเนมเพลตว่าใช้กาลังไฟฟ้า 1,450 วัตต์ ใน 1 วันจะเปิดใช้งานเป็นเวลาประมาณ 8 ชั่วโมง จงคานวณหาค่าไฟฟ้าของเครื่องปรับอากาศ W=Pxh ใน 1 วัน เครื่องปรับอากาศใช้พลังงานไฟฟ้า ใน 1 เดือน เครื่องปรับอากาสใช้พลังงานไฟฟ้า แปลงเป็นยูนิต

= 1,450 x 8 = 11,600 ชั่วโมงวัตต์ = 11,600 x 30 = 348,000 วัตต์ – ชั่วโมง =

34,800 1,000

= 348 กิโลวัตต์ – ชั่วโมง หรือ 348 ยูนิต

น าจ านวนพลั ง งานไฟฟ้ า ที่ เ ครื่ อ งปรั บ อากาศใช้ ไ ปทั้ ง หมดไปคิ ด ตามอั ต ราการคิ ด ค่ า ไฟฟ้ า ของการไฟฟ้ า โดยตัวอย่างนี้ คิดที่บ้านอยู่อาศัยอัตรา 1.2

34 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝึ ก ที่ 10

ประเภทที่ 1

บ้านอยู่อาศัยอัตรา 1.1 (อัตราปกติ แบบก้าวหน้า) บ้านอยู่อาศัยอัตรา 1.2 (อัตราปกติ แบบก้าวหน้า) บ้านอยู่อาศัยอัตรา 1.3 (อัตรา TOU)

ผู้ใช้ไฟฟ้ามีปริมาณการใช้ไฟฟ้าพลังงาน

348

หน่วยต่อเดือน

การปรับอัตราค่าไฟฟ้าโดยอัตโนมัติ (Ft)

-15.90 สตางค์/หน่วย

ส่วนที่ 1 ค่าไฟฟ้าฐาน 1) ค่าพลังงานไฟฟ้า 150 หน่วย (หน่วยที่ 1 - 150)

487.26

บาท

250 หน่วยต่อไป (หน่วยที่ 151 - 400)

835.92

บาท

เกินกว่า 400 หน่วย (หน่วยที่ 401 เป็นต้นไป) รวม

บาท 1,323.18

บาท

38.22

บาท

1,361.40

บาท

-55.33

บาท

(ค่าไฟฟ้าฐาน + ค่า Ft) x 7/100

91.42

บาท

รวมเงินค่าไฟฟ้า

1,397.49

บาท

2) ค่าบริการ รวมค่าไฟฟ้าฐาน ส่วนที่ 2 ค่าไฟฟ้าผันแปร (Ft) จานวนพลังงานไฟฟ้า x ค่า Ft ส่วนที่ 3 ค่าภาษีมูลค่าเพิ่ม 7%

35 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝึ ก ที่ 10

ใบทดสอบ คาชี้แจง ให้ผู้รับการฝึกทาเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคาตอบข้อที่ถูกที่สุดเพียงข้อเดียว 1. เครื่องปรับอากาศ มอก. ขนาด 34,000 BTU ใช้ค่าไฟต่อเดือนประมาณเท่าไร ก. 1,800 ข. 2,000 ค. 2,450 ง. 3,600 2. เครื่องปรับอากาศ เบอร์ 5 ขนาด 6,000 BTU ใช้ค่าไฟต่อเดือนประมาณเท่าไหร่ ก. 300 ข. 250 ค. 500 ง. 850 3. เครื่องปรับอากาศรุ่น GC-S06LC มีขนาดทาความเย็น 5.5 kW ชั่วโมงที่ใช้งานโดยประมาณ 6 ชัว่ โมง ค่าไฟต่อหน่วย 3 บาท COP (Coefficient of Performance) 3.46 ใช้ค่าไฟต่อเดือนประมาณเท่าไหร่ ก. 1,200 บาทต่อเดือน ข. 800 บาทต่อเดือน ค. 858.38 บาทต่อเดือน ง. 1,2541 บาทต่อเดือน

36 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝึ ก ที่ 10

กระดาษคาตอบ ข้อ

1 2 3

37 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝึ ก ที่ 10

คณะผู้จัดทาโครงการ คณะผู้บริหาร 1. นายสุทธิ

สุโกศล

อธิบดีกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน

2. นางถวิล

เพิ่มเพียรสิน

รองอธิบดีกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน

3. นายธวัช

เบญจาทิกุล

รองอธิบดีกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน

4. นายสุรพล

พลอยสุข

รองอธิบดีกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน

5. ว่าที่ร้อยตรี สมศักดิ์ พรหมดา

ผู้อานวยการสานักพัฒนาผู้ฝึกและเทคโนโลยีการฝึก

6. นางเพ็ญประภา

ศิริรัตน์

ผู้อานวยการกลุ่มงานพัฒนาระบบการฝึก

7. นายวัชรพงษ์

มุขเชิด

ผู้อานวยการสานักงานรับรองความรู้ความสามารถ

คาเงิน

ภาควิชาวิศวกรรมโทรคมนาคม คณะวิศวกรรมศาสตร์

คณะที่ปรึกษาโครงการ 1. ผศ. ดร. มนตรี

สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง 2. รศ. ดร. วิสุทธิ์

สุนทรกนกพงศ์

ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้าสื่อสาร คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง

3. ผศ. สันติ

ตันตระกูล

ภาควิชาครุศาสตร์วิศวกรรม คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง

4. นายสุระชัย

พิมพ์สาลี

ภาควิชาครุศาสตร์วิศวกรรม คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง

5. นายวินัย

ใจกล้า

ภาควิชาครุศาสตร์วิศวกรรม คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง

6. นายวราวิช

กาภู ณ อยุธยา

สานักบริหารงานวิจัยและนวัตกรรมพระจอมเกล้าลาดกระบัง สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง

7. นายมนตรี

ประชารัตน์

แผนกวิชาช่างไฟฟ้า วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี

8. นายธเนศ

วงค์วัฒนานุรักษ์

แผนกวิชาช่างไฟฟ้า วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี

9. นายณัฐวุฒิ

เสรีธรรม

แผนกวิชาช่างไฟฟ้า วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี

10. นายหาญยงค์

หอสุขสิริ

แผนกวิชาโลหะการ วิทยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษก มหานคร

11. นายสวัสดิ์

บุญเถื่อน

แผนกวิชาช่างยนต์ วิทยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษก มหานคร 38 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝึ ก ที่ 10

ปกหลัง

39 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.