คู่มือผู้รับการฝึก ช่างไฟฟ้าอุตสาหกรรม ระดับ 3 โมดูล 2

Page 1



คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 2

คูมือผูรับการฝก 0920164150303 สาขาชางไฟฟาอุตสาหกรรม ระดับ 3

ชุดการฝกตามความสามารถ (CBT)

โมดูลการฝกที่ 2 09215213 ระบบไฟฟาสํารองฉุกเฉิน ระบบสัญญาณแจงเหตุเพลิงไหม และรีเลยปองกัน

กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน



คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 2

คํา นํา

คูมือผูรับการฝก สาขาวิชาชางไฟฟาอุตสาหกรรม ระดับ 3 โมดูล 2 ระบบไฟฟาสํารองฉุกเฉิน ระบบสัญญาณแจงเหตุ เพลิงไหม เปนสวนหนึ่งของหลักสูตรฝกอบรมฝมือแรงงานตามความสามารถ (Competency Based Training : CBT) นี้ ไดพัฒนาขึ้นเพื่อใชเปนเอกสารประกอบการจัดการฝกอบรมกับชุดการฝกตามความสามารถ สาขาชางไฟฟาอุตสาหกรรม ระดับ 3 ซึ่ ง ได ดาํ เนิ น การภายใต โ ครงการพั ฒ นาระบบฝ ก และชุ ด การฝ ก ตามความสามารถเพื่ อ การพั ฒ นาฝ มื อ แรงงานด ว ยระบบการฝ ก ตามความสามารถ (Competency Based Workforce Skill Training System) พ.ศ. 2560 โดยมีวัตถุประสงคเพื่อใหครูฝกไดใชเปนเครื่องมือในการบริหารจัดการการฝกอบรมใหเปนไปตามหลั ก สู ต ร กล า วคื อ อธิ บ ายเกี่ ย วกั บ ระบบไฟฟ า สํา รองฉุ ก เฉิ น ได ระบบสั ญ ญาณแจ ง เหตุ เ พลิ ง ไหม เ บื้ อ งต น และระบบ รี เ ลย ป อ งกั น เบื้ อ งต น รวมไปถึ ง ติ ด ตามความกาวหนาของผูรับการฝกอบรม ในดานความสามารถหรือสมรรถนะให เปนไปตามมาตรฐานที่กําหนด ระบบการฝกอบรมตามความสามารถเปนระบบการฝกอบรมที่สงเสริมใหผูรับการฝกอบรมสามารถฝกฝนเรียนรูได ตามพื้นฐานความสามารถของตนในเวลาที่มีความสะดวก โดยเนนในเรื่องของการสงมอบการฝกอบรมที่หลากหลายไปใหแก ผูรับ การฝก อบรม และต อ งการให ผู รั บ การฝ ก อบรมเกิดการเรียนรูดวยตนเอง การฝก ปฏิบัติจ ะดําเนินการในรูป แบบ Learning by Doing และเนนผลลัพธการฝกอบรมในการที่ทําใหผูรับการฝกอบรมมีความสามารถในการปฏิบัติงานตามที่ ตลาดแรงงานตอ งการ โดยยึดความสามารถของผูรับ การฝก เปนหลัก การฝก อบรมในระบบดัง กลาว จึง เปนรูป แบบ การฝกอบรมที่สามารถรองรับการพัฒนารายบุคคลไดเปนอยางดี นอกจากนี้ เนื้อหาวิชาในหลักสูตรการฝกตามความสามารถ (Competency Based Curriculum : CBC) ซึ่งไดจากการวิเคราะหงานอาชีพ (Job Analysis) ในแตละสาขาอาชีพจะถูก กําหนดเปนรายการความสามารถหรือสมรรถนะ (Competency) ที่ผูรับการฝกอบรมจําเปนตองใชในการปฏิบัติงาน และ สอดคลองกับความตองการของสถานประกอบกิจการและภาคอุตสาหกรรมซึ่งผูร ับการฝกจะตองเรียนรูและฝกฝนจนกว า จะ สามารถปฏิ บั ติ เ องได ตามมาตรฐานที่ กํา หนดในแต ล ะรายการความสามารถ ทั้ ง นี้ การส ง มอบการฝ ก สามารถ ดําเนินการไดทั้งรูปแบบการเรียนรูผานสื่อสิ่งพิมพ (Paper Based) และผานสื่อคอมพิวเตอร (Computer Based) โดยผู รั บ การฝ ก สามารถเรี ย นรู ไ ด ด ว ยตนเอง (Self-Learning) ที่ บ า นหรื อ ที่ ทํา งาน และเข า รั บ การฝ ก ภาคปฏิ บั ติ ตามความพรอม ตามความสะดวกของตน หรือตามแผนการฝก หรือตามตารางการนัดหมาย การฝกหรือทดสอบประเมินผล ความรู ค วามสามารถกับ หน ว ยฝก โดยมี ค รู ฝ ก หรื อ ผูส อนคอยใหคํา ปรึก ษา แนะนํา และจั ด เตรีย มการฝ ก ภาคปฏิ บัติ รวมถึงจัดเตรียมและดําเนินการทดสอบ ประเมินผลในลักษณะตาง ๆ อันจะทําใหสามารถเพิ่มจํานวนผูรบั การฝกไดมากยิ่งขึน้ ชวยประหยัดเวลาในการเดินทาง และประหยัดงบประมาณคาใชจายในการพัฒนาฝมือแรงงานใหแกกําลังแรงงานในระยะ ยาว จึ ง ถื อ เป น รู ป แบบการฝ ก ที่ มี ค วามสํา คั ญ ต อ การพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน ทั้ ง ในป จ จุ บั น และอนาคตซึ่งหากมี การนําระบบการฝกอบรมตามความสามารถ มาใชในการพัฒนาฝมือแรงงาน จะชวยทําใหประชาชน ผูใชแรงงานผูวางงาน นั ก เรี ย น นั ก ศึ ก ษา และ ผู ป ระกอบอาชี พ อิ ส ระ สามารถเข า ถึ ง การฝ ก อบรมเพื่ อ พั ฒ นาตนเองได อ ย า งสะดวก และไดรับ ประโยชน อ ย างทั่ วถึ ง มากยิ่ ง ขึ้ น กรมพัฒนาฝมือแรงงาน ก กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน



คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 2

เรื่อง

สารบั ญ

หนา

คํานํา

สารบัญ ขอแนะนําสําหรับผูรับการฝก

ข 1

โมดูลการฝกที่ 209215213 ระบบไฟฟาสํารองฉุกเฉิน ระบบสัญญาณแจงเหตุเพลิงไหมและรีเลยปองกัน หัวขอวิชาที่ 1 0921521301 ระบบไฟฟาสํารองฉุกเฉิน หัวขอวิชาที่ 2 0921521302 ระบบสัญญาณแจงเหตุเพลิงไหมเบื้องตน

11 24

หัวขอวิชาที่ 3 0921521303 รีเลยปองกันเบื้องตน คณะผูจัดทําโครงการ

35 44

ข กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน



คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 2

ขอแนะนําสําหรับผูรับการฝก ขอแนะนําสําหรับผูรบั การฝก คือ คําอธิบายเกี่ยวกับรายละเอียดของคูมือ และขัน้ ตอนการเขารับการฝก ซึ่งมีอยูดวยกัน 6 ขอ ดังนี้

1. รายละเอียดของคูมือ 5.1 โมดูลการฝก / หัวขอวิชา หมายถึง โมดูลการฝกที่ครูฝกตองจัดการฝกอบรม โดยภายในโมดูลจะประกอบไปดวย หัวขอ วิชาที่ ผู รั บการฝ กต อ งเรี ยนรูและฝก ฝน ซึ่ง มีร หัสโมดูลและรหัสหัวขอ วิชาเปนตัวกําหนดความสามารถ ที่ตอ งเรียนรู 5.2 ระยะเวลาการฝก หมายถึง จํานวนชั่วโมงในการฝกอบรม เพื่อใหบรรลุตามวัตถุประสงคของแตละโมดูล 5.3 ระบบการฝกตามความสามารถ (CBT) หมายถึง ระบบการฝก ที่เกิดจากการนําความรู ทัก ษะ ความสามารถ (Competency) ที่จําเปนสําหรับการทํางานมาเปนฐาน (Based) ของการจัดฝกอบรม หรือนํามากําหนดเปนเนือ้ หา (Content) และเกณฑก ารประเมินการฝก อบรม ทําใหผูรับ การฝก อบรมมีความสามารถ (Competency) ตามเกณฑมาตรฐานที่กําหนด และตามความสามารถในการเรียนรูของผูรับการฝกเปนหลัก 5.4 ชุดการฝก หมายถึง สื่อสิ่งพิมพ และสื่ออิเล็กทรอนิกส ใชสําหรับเปนอุปกรณชวยฝก โดยแตละโมดูลประกอบดวย คูมือครูฝก คูมือผูรับการฝก คูมือประเมิน สื่อวีดิทัศน 5.5 ระบบจัดการฝกดวยคอมพิวเตอร (Computer Managed Instruction : CMI) หมายถึง การนําระบบคอมพิวเตอร และเทคโนโลยีสารสนเทศ ซึ่งใชในการจัดการเรียนรูและฝกอบรม เชน ระบบรับสมัครออนไลน ระบบลงทะเบียน เขารับ การฝก อบรมออนไลน ระบบการฝก อบรมภาคทฤษฎีผานอุป กรณอิเ ล็ก ทรอนิก สห รือ อุปกรณสื่อ สาร แบบพกพา การทดสอบออนไลน การบันทึกผลการฝกอัตโนมัติ และการออกใบวุฒิบัตรอิเล็กทรอนิกส เปนตน โดยการเขา ใชง านระบบ แบง สว นการใชง านตามความรับ ผิด ชอบของผูมีสว นไดสว นเสีย ดัง ภาพในหนา 2 ซึ่ง รายละเอียดการใชงานของผูเขารับการฝกสามารถดูไดจากลิงค mlearning.dsd.go.th/download/files/trainee.pdf

1 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 2

2 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 2

2. ผังการฝกอบรม

3 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 2

3. วิธีการฝกอบรม 3.1 ผูรับการฝก ทําความเขาใจการฝกอบรมในระบบ CBT ซึ่งสามารถฝกอบรมได 3 รูปแบบ คือ 3.1.1 การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) 3.1.2 การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม (Offline) 3.1.3 การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน (Online) โดยในแตละรูปแบบจะมีรายละเอียดแตกตางกัน ดังนี้ 3.1.1 การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) คือ การฝก อบรมที่ผูรับ การฝก เรียนรูภาคทฤษฎี (ดานความรู) ดวยตนเอง โดยครูฝก เปนผูสงมอบ คูมือผูรับการฝกที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) และวีดิทัศน (DVD) แกผูรับการฝก และฝก ภาคปฏิบัติ (ดานทักษะ) ที่ศูนยฝกอบรม การฝกภาคทฤษฎี - ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีดวยตนเอง โดยใชคูมือผูรับการฝกที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) และวีดิทัศน (DVD) ที่ครูฝกสงมอบให การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบ แลวสงกระดาษคําตอบ ใหครูฝก เพื่อตรวจและประเมินผล 2) ครูฝกประเมินแบบทดสอบกอนฝก - ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมี สิ ท ธิ์ ข อเขา รับ การฝก ภาคปฏิบัติ (ถา มี) หรือ เขา รับ การฝก ในโมดูล ถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได - ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหา จากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 3) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) ลงในกระดาษคําตอบ แลวสงใหครูฝกตรวจ และประเมินผล โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก 3.1.2 การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม (Offline) คือ การฝกอบรมที่ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีจากครูฝก และฝกภาคปฏิบัติที่ศูนยฝกอบรม การฝกภาคทฤษฎี ­ ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีจากครูฝกโดยใชสื่อสิ่งพิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) และวีดิทัศน (DVD) ที่ศูนยฝกอบรม

4 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 2

การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบ แลวสงกระดาษคําตอบ ใหครูฝกตรวจและประเมินผล 2) ครูฝกประเมินแบบทดสอบกอนฝก - ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร ผูรับการฝกจะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได - ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเอง จนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 3) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) ลงในกระดาษคําตอบ แลวสงใหครูฝกตรวจ และประเมินผล โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก 3.1.3 การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน (Online) คือ การฝกอบรมที่ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีดวยตนเองผานระบบจัดการฝกดวยคอมพิวเตอร หรือ CMI โดยใชคูมือผูรับการฝกที่เปนสื่อออนไลนในแอปพลิเคชัน DSD m-Learning และฝกภาคปฏิบัติที่ศูนยฝกอบรม วิธีดาวนโหลดแอปพลิเคชัน DSD m-Learning ­ ผู รั บ การฝ กดาวน โหลดแอปพลิเคชัน DSD m-Learning ซึ่ง วิธีก ารดาวนโหลดแอปพลิเคชัน สามารถแบงออกเปน 2 ชองทางตามแตละระบบปฏิบัติการ คือ 1) ผูรับการฝกที่ใชเครื่องมือสื่อสารอิเล็กทรอนิกส ระบบปฏิบัติการ iOS คนหา แอปพลิเคชัน DSD m-Learning ใน App Store จากนั้นกดดาวนโหลด เพื่อติดตั้งบนเครื่องมือสื่อสาร และเขาใชงานโดยกรอก Username และ Password ตามที่เคยลงทะเบียนไว 2) ผูรับ การฝกที่ใชเครื่องมือสื่อสารอิเล็ก ทรอนิกส ระบบปฏิบัติก าร Android คนหา แอปพลิ เ คชัน DSD m-Learning ใน Google Play Store จากนั้ น กดดาวนโ หลด เพื่อติดตั้งบนเครื่องมือสื่อสาร และเขาใชงานโดยกรอก Username และ Password ตามที่เคยลงทะเบียนไว การฝกภาคทฤษฎี ­ ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีดวยตนเอง จากคูมือผูรับการฝก ซึ่งเปนสื่อออนไลนบนแอปพลิเคชัน DSD m-Learning การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในแอปพลิเคชัน โดยระบบจะตรวจและประเมินผล อัตโนมัติ

5 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 2

- ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร ผูรับการฝกจะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได - ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเอง จนเขาใจแลวจึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก 3.2 ครูฝกชี้แจงรูปแบบการฝกอบรมทั้ง 3 รูปแบบแกผูรับการฝก เพื่อทําการตกลงรูปแบบการฝกอบรมรวมกับผูรบั การฝก โดยใหผูรับการฝกเลือกวิธีที่สะดวก 3.3 ครูฝกวางแผนการฝกตลอดหลักสูตรรวมกันกับผูรับการฝก 4. อุปกรณชวยฝกและชองทางการเขาถึงอุปกรณชวยฝก ผูรับการฝกสามารถเลือกใชอุปกรณชวยฝกได 2 รูปแบบ คือ รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) และรูปแบบระบบจัดการฝก ดวยคอมพิวเตอร หรือ CMI (Online) โดยมีชองทางการเขาถึงอุปกรณชวยฝกแตละรูปแบบแตกตางกัน ดังนี้ 5.1 รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝก เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมิน เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 5.2 รูปแบบระบบจัดการฝกดวยคอมพิวเตอร หรือ CMI (Online) ดังนี้ - คูมือผูรับการฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ

5. การวัดและประเมินผล 5.1 การประเมินผลภาคทฤษฎี (ดานความรู) ประเมินผลจากแบบทดสอบภาคทฤษฎีกอนฝก และแบบทดสอบภาคทฤษฎีหลังฝก โดยกําหนดเกณฑการใหคะแนน และการระบุความสามารถดานความรู ดังนี้ เกณฑการใหคะแนน ภาคทฤษฎี ตั้งแตรอยละ 70 ขึ้นไป ต่ํากวารอยละ 70

เกณฑการประเมิน ความสามารถ ผาน (C) ไมผาน (NYC) 6

กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 2

ผูรับการฝกจะไดรับการประเมินผลการฝกจากครูฝก โดยจะตองสามารถปฏิบัติตามความสามารถในแตละโมดูลนั้น ๆ ไดตามเกณฑที่กําหนด จึงจะถือวาผานการฝกโมดูลนั้น และเมื่อผานการฝกครบทุกโมดูล จึงจะถือวาฝกครบชุดการฝกนั้น ๆ แลว

6. เงื่อนไขการผานการฝก ผูรับการฝกที่จะผานโมดูลการฝก ตองไดรับคารอยละของคะแนนการทดสอบภาคทฤษฎี คะแนนรวมไมต่ํากวารอยละ 70 จึงจะผานโมดูลการฝก

7 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 2

รายละเอียดหลักสูตร หลักสูตรฝกอบรมฝมือแรงงานตามความสามารถ สาขาชางไฟฟาอุตสาหกรรม ระดับ 3 กรมพัฒนาฝมือแรงงาน กระทรวงแรงงาน

รหัสหลักสูตร 0920164150303

1. ขอบเขตของหลักสูตร หลักสูตรนี้พัฒนาขึ้นใหครอบคลุมดานความรู ทักษะ และเจตคติแกผูรับการฝกในสาขาชางไฟฟาอุตสาหกรรมเพื่อใหมี ความรู ความสามารถและทัศนคติตามมาตรฐานฝมือแรงงานแหงชาติ สาขาชางไฟฟาอุตสาหกรรม ระดับ 3 ดังนี้ 1.1 มีความรูเกี่ยวกับระบบการสงจายไฟฟากําลังในประเทศไทย 1.2 มีความรูเกี่ยวกับระบบไฟฟาสํารองฉุกเฉิน ระบบสัญญาณแจงเหตุเพลิงไหม และรีเลยปองกัน 1.3 มีความรูความสามารถเกี่ยวกับหมอแปลงไฟฟากําลัง 1.4 มีความรูความสามารถเกี่ยวกับมอเตอรไฟฟาและการควบคุมมอเตอร 1.5 มีความรูเกี่ยวกับอุปกรณตัดวงจรอัตโนมัติ 1.6 มีความรูเกี่ยวกับการตอลงดิน และกับดักเสิรจ 1.7 มีความรูเกี่ยวกับการแกตัวประกอบกําลังของระบบไฟฟาแรงดันไฟฟาต่ํา 1.8 มีความรูเกี่ยวกับการเลือกชนิดและขนาดของสายไฟฟา 1.9 มีความรูเกี่ยวกับดวงโคมไฟฟาชนิดตาง ๆ 1.10 มีความรูความสามารถเกี่ยวกับการเดินสายไฟฟาไดอยางถูกตองตามขอกําหนด 1.11 มีความรูความสามารถเกี่ยวกับการเดินสายไฟฟาอุตสาหกรรม 2. ระยะเวลาการฝก ผูรับการฝกจะไดรับการฝกในภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ โดยสถาบันพัฒนาฝมือแรงงาน หรือสํานักงานพัฒนาฝมือ แรงงานที่เปนหนวยฝกตามความสามารถใชระยะเวลาในการฝก 90 ชั่วโมง เนื่ อ งจากเป น การฝ ก ที่ ขึ้ น อยู กั บ พื้ น ฐานความรู ทั ก ษะ ความสามารถและความพร อ มของผู รั บ การฝ ก แตละคน มีผลใหผูรับการฝกจบการฝกไมพรอมกัน สามารถจบกอนหรือเกินระยะเวลาที่กําหนดไวในหลักสูตรได หนวย ฝกจึงตองบริหารระยะเวลาในการฝกใหเหมาะสมตามความจําเปน ทั้งนี้ ใหอยูใน ดุลยพินิจของผูอํานวยการสถาบัน พัฒนาฝมือแรงงาน หรือผูอํานวยการสํานักงานพัฒนาฝมือแรงงานที่เปนหนวยฝกตามความสามารถจะเห็นสมควร

8 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 2

3. หนวยความสามารถและโมดูลการฝก จํานวนหนวยความสามารถ 11 หนวย จํานวนโมดูลการฝก11 โมดูล 4. วุฒิบัตร 4.1 ชื่อเต็ม : วุฒิบัตรพัฒนาฝมือแรงงาน สาขาชางไฟฟาอุตสาหกรรม ระดับ 3 4.2 ชื่อยอ : วพร. สาขาชางไฟฟาอุตสาหกรรม ระดับ 3 4.3 ผูรับการฝกที่ผานการประเมินผลหรือผานการฝกครบทุกหนวยความสามารถ จะไดรับวุฒิบัตร วพร. สาขาชางไฟฟาอุตสาหกรรม ระดับ 3

9 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 2

รายละเอียดโมดูลการฝกที่ 2 1. ชื่อหลักสูตร

รหัสหลักสูตร 0920164150303 2. ชื่อโมดูลการฝก ระบบไฟฟาสํารองฉุกเฉิน ระบบสัญญาณแจงเหตุเพลิงไหม รหัสโมดูลการฝก และรีเลยปองกัน 09215213 3. ระยะเวลาการฝก รวม 2 ชั่วโมง ทฤษฎี 2 ชั่วโมง ปฏิบัติ-ชั่วโมง 4. ขอบเขตของหนวย หนวยการฝกนี้ พัฒนาขึ้นใหครอบคลุมดานความรู ทักษะ และเจตคติแกผูรับการฝก เพื่อใหมี การฝก ความสามารถ ดังนี้ 1. อธิบายเกี่ยวกับระบบไฟฟาสํารองฉุกเฉินได 2. อธิบายเกี่ยวกับระบบสัญญาณแจงเหตุเพลิงไหมเบื้องตนได 3. อธิบายเกี่ยวกับระบบรีเลยปองกันเบื้องตนได 5. พื้นฐาน ผูสมัครเขารับการฝกตองมีคุณสมบัติ ดังตอไปนี้ ความสามารถของ 1. มีความรูพื้นฐานงานไฟฟาเบื้องตน หรือผานการฝกอบรมเกี่ยวกับระบบไฟฟา ผูรับการฝก สํารองฉุกเฉิน ระบบสัญญาณแจงเหตุไฟไหมจากหนวยงานหรือสถาบันที่เชื่อถือได 2. ผูรับการฝกผานระดับ 2 มาแลว 3. ผูรับการฝกผานโมดูลที่ 1 มาแลว 6. ผลลัพธการเรียนรู : เมื่อสําเร็จการฝกในโมดูลนี้แลวผูร ับการฝกสามารถปฏิบัตงิ านโดยมีความรูความสามารถ และใชระยะเวลาฝก ดังนี้ ระยะเวลาฝก (ชั่วโมง : นาที) ผลลัพธการเรียนรู ชื่อหัวขอวิชา ทฤษฎี ปฏิบัติ รวม 1. อธิบายเกี่ยวกับระบบไฟฟา หัวขอที่ 1 : ระบบไฟฟาสํารองฉุกเฉิน 1:00 1:00 สํารองฉุกเฉินได 2. อธิบายเกี่ยวกับระบบสัญญาณ หัวขอที่ 2 : ระบบสัญญาณแจงเหตุเพลิงไหม 0:30 0:30 แจงเหตุเพลิงไหมเบื้องตนได เบื้องตน 3. อธิบายเกี่ยวกับระบบ หัวขอที่ 3 : รีเลยปองกันเบือ้ งตน 0:30 0:30 รีเลยปองกันเบื้องตนได รวมทั้งสิ้น 2:00 2:00 สาขาชางไฟฟาอุตสาหกรรม ระดับ 3

10 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 2

รายละเอียดหัวขอวิชาที่ 1

0921521301 ระบบไฟฟาสํารองฉุกเฉิน (ใบแนะนํา) 1. ผลลัพธการเรียนรู - อธิบายเกี่ยวกับระบบไฟฟาสํารองฉุกเฉินได

2. หัวขอสําคัญ 1. 2. 3. 4.

เครื่องกําเนิดไฟฟา และสวิตซถายโอน (Transfer Switch) ระบบจายไฟสํารองตอเนือ่ ง (USP) แสงสวางฉุกเฉิน (Emergency Light) แบตเตอรีส่ ํารองไฟฟา

3. วิธีการฝกอบรม การฝกอบรมสามารถเลือกได 3 รูปแบบ คือ 1) การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ 2) การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม 3) การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน ดังรายละเอียดในขอแนะนําสําหรับผูรับการฝก

4. อุปกรณชวยฝก อุปกรณชวยฝกสามารถเลือกใชงานได 2 รูปแบบ คือ 1. รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝก เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมิน เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 2. รูปแบบอิเล็กทรอนิกส (Online) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ

11 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 2

5. การรับการฝกอบรม 1. ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Post-Test) แลวสงใหครูฝกหรือระบบประเมินผลตามวิธีที่เลือกฝกอบรม 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหผรู ับการฝกเขาฝกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝกอบรมภาคทฤษฎี ใหผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝก และฝกหัดทําใบทดสอบทายหัวขอวิชา 3. เมื่อผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝกประจําโมดูลนั้นเขาใจแลว ใหทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) แลวสงให ครูฝกหรือระบบประเมินผลเชนเดียวกับแบบทดสอบกอนฝก

6. การวัดผล 1. ผูรบั การฝกสงแบบทดสอบกอนฝก ใหครูฝกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎีตามวิธีที่เลือกฝกอบรม 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝก มอบหมายใหผรู ับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2. ผูรบั การฝกสงแบบทดสอบหลังฝก ใหครูฝกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎี โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมิน แบบทดสอบกอนฝก

7. บรรณานุกรม ไวพจน ศรีธัญ และคณะ. ม.ป.ป. การติดตั้งไฟฟา 2. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพศูนยสง เสริมอาชีวะ. สุขสันติ์ หวังสถิตยวงษ และศักรินทร เทิดกตัญูพงศ. 2549. การออกแบบระบบไฟฟา. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพศูนยสงเสริมวิชาการ.

12 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 2

ใบขอมูล หัวขอวิชาที่ 1 ระบบไฟฟาสํารองฉุกเฉิน ระบบไฟฟาสํารองฉุกเฉินเปนระบบรักษาความปลอดภัยรูปแบบหนึ่งที่มีความสําคัญอยางมาก โดยจะติดตั้งในอาคาร สํานักงาน โรงงาน รวมไปถึงบานเรือนตาง ๆ หนาที่ของมัน คือ เมื่อระบบไฟฟาเกิดขัดของ แลวเกิดดับหรือลัดวงจร ระบบไฟฟาสํารองฉุกเฉิน จะเปนตัวจายกระแสไฟฟ าเข าระบบแทน ทําให ปอ งกันความเสียหายที่เ กิดจากความผิดปกติของระบบไฟฟาหลัก ได ซึ่งการจัดทําระบบสํารองไฟฉุกเฉินมีอุปกรณและวิธีการ ดังนี้ 1. เครื่องกําเนิดไฟฟาและสวิตซถา ยโอน 1.1 เครื่องกําเนิดไฟฟา เครื่อ งกําเนิ ดไฟฟ าเป นเครื่ อ งกลที่ ทําหนาที่เ ปลี่ยนพลัง งานกลเปนพลัง งานไฟฟา โดยอาศัยการเหนี่ ย วนํา ของแมเหล็กตามหลักการของ ไมเคิล ฟาราเดย โดยการหมุนตัดกันระหวางขดลวดตัวนํากับสนามแมเหล็กพิกัดกําลัง ของเครื่อ งกําเนิ ดไฟฟ าจะบอกเปนโวลต -แอมแปร (VA) หรือ กิโ ลโวลต-แอมแปร (kVA) ซึ่ง เปนกําลังไฟฟาปรากฎ (Apparent Power) ที่เครื่องจายออกมาโดยเครื่องกําเนิดไฟฟานั้นจะมี 2 ชนิด คือ เครื่องกําเนิดไฟฟากระแสตรง และเครื่องกําเนิดกระแสไฟฟากระแสสลับ สําหรับเครื่องกําเนิดไฟฟากระแสตรงหรือที่เราเรียกวา ไดนาโม (Dynamo) จะมีขดลวดอารเมเจอร (Armature) เปนสวนประกอบหลัก โดยที่ขดลวดอารเมเจอรจะหมุนอยูภายในสนามแมเหล็ก เปนตัวนําไฟฟาตัดผานสนามแมเหล็กภายในกระแสไฟฟาที่ไดจากการผลิตของขดลวดอารเมเจอรจะถูกเปลี่ยนใหเปน ไฟฟากระแสตรงโดยคอมมิวเตเตอร (Commutator) และแปรงถาน แตสําหรับเครื่องกําเนิดไฟฟากระแสสลับขดลวดตัวนําไฟฟา ที่ทําหนาที่ผลิตแรงดันไฟฟาออกมาเราเรียกวา ขดลวดสเตเตอร (Stator) ซึ่งจะติดตั้งตายตัวอยูกับที่โดยมีทุนแมเหล็กไฟฟา ที่ทําหนาที่สรางสนามแมเหล็กไฟฟาหรือที่เราเรียกวาโรเตอร (Rotor) หมุนอยูภายในระหวางขดลวดสเตเตอร ซึ่ง นี้คือ หลักการของเครื่องกําเนิดไฟฟาที่เปนไปตามกฎการเหนี่ยวนําทางไฟฟาของฟาราเดย และนํามาสรางเปนเครื่องกําเนิดไฟฟา

ภาพที่ 1.1 เครื่องกําเนิดไฟฟา 13 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 2

ขอควรคํานึงในการติดตั้งเครื่องกําเนิดไฟฟา 1) สถานที่ติดตั้ง (Location) ควรพิจารณาทิศทางลมที่ไหลเวียนเขาและออกจากหอง ตองหางจากสภาพแวดลอม ที่มีฝุนละออง สารเคมีสิ่งสกปรกตาง ๆ และความชื้นสูง 2) การออกแบบหอง (Room Layout) ปกติ ตองมีพื้นที่รอบเครื่องกําเนิดไฟฟาอยางนอย 1.5 - 2 เมตร รอบเครื่องสําหรับการบํารุงรักษาเครื่องกําเนิดไฟฟา พรอม ๆ กับพื้นที่สําหรับสายไฟหลัก ทอน้ํามัน ทอดักลม รวมถึงทอไอเสีย 3) การระบายอากาศ (Room Ventilation) ตองมีการระบายอากาศที่ดี เพื่อระบายความรอนสะสมในหอง และตัวเครื่องกําเนิดไฟฟา โดยอากาศจะไหลเวียนจากดานทายไปดานหนา ตองมีชองลมเขาและชองลมออก ที่เหมาะสมกับขนาดของเครื่องกําเนิดไฟฟา 4) การสรางฐานติดตั้ง (Foundation) ตองสามารถรับน้ําหนักของเครื่องกําเนิดไฟฟาไดทั้งชุด รวมทั้งแรงปฏิกิริยา ที่เกิดจากการสั่นของเครื่อง ควรยกใหสูงประมาณ 10 - 15 เซนติเมตรจากพื้น แทนรับควรจะใหญกวาฐาน รับของเครื่อง อยางนอยดานละ 200 - 400 มิลลิเมตร 5) การติดตั้งทอไอเสีย (Exhaust Pipe) ทอไอเสียควรจะสั้นเทาที่สภาพของสถานที่ติดตั้งจะอํานวย และใหมีจํานวน ของอใหนอยที่สุดในกรณีตองเดินยาวกวา 10 เมตร จะตองเพิ่มขนาดเสนผานศูนยกลางทอ โดยขึ้นอยูกับ ความยาวและจํานวนของอที่ใช ขอควรระวังในการใชงานเครื่องกําเนิดไฟฟา 1) ไมควรใชงานชุดเครื่องกําเนิดไฟฟาเกินพิกัดที่ระบุไวในแผนปาย (Name Plate) ไมวาจะเปนการใชง าน ในลักษณะชั่วคราวหรือถาวรก็ตาม อยางไรก็ตามสําหรับการใชงานตอเนื่อง เครื่องกําเนิดไฟฟาสามารถ รับโหลดเกินพิกัดไดประมาณ 10% เปนบางขณะ 2) เครื่อ งกําเนิดไฟฟาเปนสวนหนึ่ง ในการผลิตกําลัง ไฟฟาเพื่อ จายใหกับ อุป กรณไฟฟาตาง ๆ ดัง นั้น เพื่ อ ความปลอดภั ย ในขณะใชง านไมค วรมอบหมายใหผูที่มีค วามรูไ มเ พีย งพอเปน ผูค วบคุม ดูแล และในกรณี ที่ มี ก ารแก ไขข อ บกพรอ งตาง ๆ ควรตะหนัก ถึง แรงดันไฟฟาที่อ าจเปนอันตรายตอ ชีวิต เนื่องจากไฟฟาดูดหรือไฟฟาช็อต ควรตรวจสอบระบบสายไฟ และสภาพของฉนวนหุมสายไฟอยางสม่ําเสมอ 3) ไอเสียของเครื่องยนตควรจะถายเทไดสะดวกในขณะใชงานชุดเครื่องกําเนิดไฟฟา มิฉะนั้นอาจเปนอันตราย ตอสุขภาพได 4) ถังเก็บน้ํามันเชื้อเพลิง ควรเก็บไวในที่ปลอดภัย และหลีกเลี่ยงการเติมน้ํามันในขณะชุดเครื่องกําเนิดไฟฟาทํางาน การอารก หรือสปารคของไฟฟา อาจทําใหน้ํามันเชื้อเพลิงติดไฟได 14 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 2

5) แบตเตอรี่ ควรระมัดระวังกาซที่เกิดจากการชารจและดิสชารจของแบตเตอรี่ การตรวจดูระดับ น้ํากลั่น ในแตละเซลล การถอดสายขั้ว แบตเตอรี่ใหถอดขั้วลบออกกอนเสมอ และการใสขั้วแบตเตอรี่ใหใสขั้วลบ หลังสุด เพื่อหลีกเลี่ยงการอารก หรือลัดวงจรจากการพลั้งมือในขณะขันสกรู 6) การตรวจซอมในขณะเดินเครื่อง ควรระมัดระวังสวนที่หมุนหรือทํางานดวยความเร็วรอบสูง หากพลาด อาจเปนอันตรายถึงขั้นสูญเสียอวัยวะบางสวนได 7) การตอสายชุดเครื่องกําเนิดไฟฟา ควรกระทําเปนลําดับขั้น คือ ดับเครื่องกอนทําการตอสาย ตรวจสอบ ความเรียบรอยแลวจึงเดินเครื่องใหม การตอสายอุปกรณไฟฟาที่ไมมีขั้วตอสาย หรือขั้วเสียบที่ปลอดภัย ควรปดวงจรเบรกเกอรกอนทําการตอสาย และตรวจสอบความเรียบรอยกอนจึงเปดวงจรเบรคเกอร เพื่อใชงาน 1.2 สวิตซถายโอน (Transfer Switch) สวิตชถายโอน คือ สวิตซเลือกแหลงจายไฟฟาและเปนตัวควบคุมเครื่องกําเนิดไฟฟาใหทํางานและสงกระแสไฟฟา เขาสูระบบ ยกตัวอยางการใชงาน เชน เมื่อกระแสไฟที่สงมาจากการไฟฟาดับ สวิตชถายโอนจะตรวจสอบวาเกิดการขัดของ ของระบบไฟฟา ขึ้น จากนั้ น จะสั บ สวิ ต ซ ไ ฟไปยัง แหลง จา ยไฟฟา สํา รองซึ่ง อาจจะเปน ไฟจากแผงโซลา รเ ซลล หรือ เครื่อ งกํา เนิ ด ไฟฟ า ใหทํางาน เมื่อเครื่องทํางานจนไดคาที่ตองการสวิตชถายโอนก็จะสั่งการใหสงไฟฟาเขาสูระบบ เปนตน เพื่อ ใหผู ใช ง านยั ง สามารถมีไฟฟาใชง านไดตามปกติ โดยสวิตชถายโอนนั้นแบง ออกตามการใชง านไดเปน 2 ประเภท คือ 1) Manual Transfer Switch (MTS) คือ สวิตชถายโอนแบบควบคุมดวยมือเมื่อเกิดเหตุการณไฟฟาขัดของ เราสามารถจะเลือ กแหลง จา ยไฟฟา สํา รองเขา มาจา ยกระแสไฟแทนได โดยการสับ สวิต ชที่ Manual Transfer Switch

ภาพที่ 1.2 Manual Transfer Switch 15 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 2

2) Automatic Transfer Switch (ATS) คือ สวิตชถายโอนแบบอัตโนมัติโดยเมื่อเกิดเหตุการณไฟฟาขัดของ Automatic Transfer Switch จะตรวจสอบวากระแสไฟฟาเกิดการขัดขอ งและจะสง สัญ ญาณไปยัง เครื่องกําเนิดไฟฟาสํารองเมื่อเครื่องกําเนิดไฟฟาทํางานจนไดคาความถี่ และโวลต ที่ตองการแลวนั้น จะทําการสั่ง transfer สงกระแสไฟฟาจากเครื่องกําเนิดกระแสไฟฟาเขาสูระบบทันที

ภาพที่ 1.3 Automatic Transfer Switch 2. ระบบจายไฟสํารองตอเนื่อง (UPS) UPS ยอ มาจาก Uninterruptible Power Supply เปนเครื่องสํารองไฟฟาและปรับ แรงดันไฟฟาอัตโนมัติ หรือ เปน แหลง จายพลัง งานต อ เนื่ อ งให กับ อุ ปกรณ ไฟฟ าแมในชวงที่ไฟดับ หรือ เกิดปญ หาขัดขอ งทางระบบไฟฟาขึ้ น และ UPS ยังปรับแรงดันไฟฟาใหคงที่ เพื่อใหอยูในระดับที่ปลอดภัยตออุปกรณไฟฟาเมื่อเกิดเหตุการณที่ทําใหแรงดันไฟฟาผิดปกติไป ซึ่งจะสงผลใหอุปกรณไฟฟาเกิดความเสียหายได UPS มีหนาที่หลักในการปองกันความเสียหายที่สามารถเกิดขึ้นกับอุปกรณไฟฟาและอุปกรณอิเล็กทรอนิกส ที่เกิดจาก ความผิดปกติของพลังงานไฟฟา และจายพลังงานไฟฟาสํารองจากแบตเตอรี่ใหแกอุปกรณไฟฟาหรืออุปกรณอิเล็กทรอนิกส เมื่อเกิดการขัดของทางระบบไฟฟาขึ้น

ภาพที่ 1.4 เครื่องสํารองไฟฟาและปรับแรงดันไฟฟาอัตโนมัติ 16 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 2

2.1 หลักการทํางานทั่วไปของระบบจายไฟสํารองตอเนื่อง เมื่อ UPS สามารถรับพลังงานไฟฟาไดทุกรูปแบบโดยสามารถจายพลังงานไฟฟาใหกับอุปกรณไฟฟาไดเปนปกติ ทั้ง ยัง สามารถจายพลัง งานไฟฟาสํารองจากแบตเตอรี่ใหกับ อุป กรณไฟฟา ซึ่ง หลัก การทํางานของ UPS คือ แปลง ไฟฟากระแสสลับ (AC) เปนไฟฟากระแสตรง (DC) โดยเก็บสํารองไวในแบตเตอรี่บางสวน หากเกิดปญหาทางไฟฟา และ อุปกรณไฟฟาไมสามารถใชพลังงานไฟฟาที่รับมาได UPS จะเปลี่ยนไฟฟากระแสตรงจากแบตเตอรี่ใหกลายเปนไฟฟา กระแสสลับ เพื่อจายพลังงานไฟฟาใหกับอุปกรณไฟฟา ทําใหอุปกรณไฟฟาสามารถใชงานไดตอไป 2.2 สวนประกอบสําคัญของระบบจายไฟสํารองตอเนื่อง 1) เครื่องประจุแบตเตอรี่ (Charger) หรือเครื่องแปลงกระแสไฟฟา AC เปน DC (Rectifier) ทําหนาที่ รั บ ไฟฟ ากระแสสลับ จากระบบจายไฟ และแปลงเปนไฟฟากระแสตรง จากนั้นจึง เก็บ กระแสไฟฟา ไวในแบตเตอรี่ 2) เครื่ อ งแปลงกระแสไฟฟ า (Inverter) ทํา หนา ที่รับ ไฟฟา กระแสตรงจากเครื่อ งแปลงกระแสไฟฟา หรือแบตเตอรี่ มาแปลงเปนไฟฟากระแสสลับ เพื่อใชกับอุปกรณไฟฟาและอุปกรณอิเล็กทรอนิกสอื่น ๆ 3) แบตเตอรี่ (Battery) ทําหนาที่เก็บพลังงานไฟฟาสํารอง เมื่อเกิดเหตุขัดของในระบบไฟฟาหลัก UPS จะจายไฟฟาที่เ ก็บ สะสมออกมา โดยจายไฟฟากระแสตรงใหกับ เครื่องแปลงกระแสไฟฟา ในกรณีที่ อุปกรณไฟฟาและอุปกรณอิเล็กทรอนิกสอื่น ๆ ไมสามารถรับไฟฟากระแสสลับจากระบบจายไฟได 4) ระบบปรับแรงดันไฟฟาอัตโนมัติ (Stabilizer) ทําหนาที่ปรับแรงดันใหสม่ําเสมอในระดับที่ปลอดภัย ตออุปกรณไฟฟา 2.3 ประโยชนของ UPS UPS สามารถช วยป อ งกั นอั นตรายที่ อ าจเกิดขึ้นกับ อุป กรณไฟฟาและอุป กรณอิเล็ก ทรอนิก ส ที่มีส าเหตุจาก กระแสไฟฟาผิดปกติได เชน จากความบกพรองของระบบจายพลังงานไฟฟาเอง ปรากฏการณธรรมชาติ หรือจากการรบกวนของ อุปกรณไฟฟาในอาคารที่ใชกระแสไฟฟาไมสม่ําเสมอ เปนตน ซึ่งกระแสไฟฟาที่ผิดปกติในแตละประเภท อาจกอใหเกิดปญหา ตาง ๆ ได โดย UPS จะทําหนาที่ปองกัน ดังนี้ 1) จายพลังงานไฟฟาสํารองใหแกอุปกรณไฟฟาและอุปกรณอิเล็กทรอนิกส เมื่อเกิดไฟดับหรือไฟตก เพื่อใหมีเวลา สําหรับการบันทึกขอมูล และไมทําใหแผนดิสกและฮารดดิสกเสีย 2) ปรับแรงดันไฟฟาใหอยูในระดับที่ไมเปนอันตรายตออุปกรณไฟฟาและอุปกรณอิเล็กทรอนิกส เมื่อเกิดปญหา ทางไฟฟา เชน ไฟตก ไฟดับ ไฟกระชาก ไฟเกิน เปนตน 3) ปองกันสัญญาณรบกวนทางไฟฟาที่สามารถสรางความเสียหายตอขอมูลและอุปกรณไฟฟาได 17 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 2

3. แสงสวางฉุกเฉิน (Emergency Light) ระบบไฟฟาฉุกเฉิน เปนระบบไฟฟาที่มุงเนนจายไฟฟาใหกับโหลดที่จําเปนเทานั้น ดวยการจายไฟฟาอยางฉับ พลัน และนานเพียงพอ เพื่อแกปญหาการหยุดชะงัก เนื่องจากแหลงจายไฟฟาปกติเกิดการขัดของ โดยจะติดตั้งในอาคาร สํานักงาน เพื่อชวยเหลือเมื่อเกิดเหตุการณไฟฟาดับ ตัวแสงสวางฉุกเฉินนั้นจะทํางานทันทีและฉายไฟเพื่อใหความสวางในที่แหง นั้น เพื่อปองกันอันตรายใหคนสามารถเดินและเห็นสิ่งรอบบริเวณนั้น เพื่อที่จะหาทางออกจากตัวอาคารและระวังสิ่งของตาง ๆ ที่อยูบริเวณนั้น และยังชวยในการอพยพออกจากตัวตึกใหสะดวกมากขึ้น

ภาพที่ 1.5 แสงสวางฉุกเฉิน 3.1 หลักการทํางานของแสงสวางฉุกเฉิน แสงสวางฉุกเฉินนั้นจะมีแบตเตอรี่คอยเก็บพลังงานไฟฟาเอาไว ซึ่งแบตเตอรี่จะมี 2 แบบ คือ แบบแหง ไมตองเติม น้ํากลั่น และแบบเติมน้ํากลั่น เมื่อไฟฟาเกิดดับขึ้น เครื่องจะใชไฟฟาจากแบตเตอรี่ไป on อยูดานหนาคอนแทคของรีเลย ทําใหหลอดไฟของแสงสวางฉุกเฉินสวางขึ้น โดยจะมีวงจรลดแรงดันคอยควบคุมแรงดันใหสม่ําเสมอ และแปลงกระแสไฟฟา ใหเปนกระแสตรงเพื่อประจุใหแบตเตอรี่ และจะมีวงจร off อยูดานหนาคอนแทคของรีเลย เพื่อไมใหหลอดไฟสวาง เมื่อระบบไฟฟาใชงานไดตามปกติ 3.2 การใชงานแสงสวางฉุกเฉิน การเลือกอุปกรณไฟฟาแสงสวางฉุกเฉิน ใหพิจารณาจากระยะเวลาการใชงาน จํานวนชั่วโมง จํานวนหลอดไฟฉุกเฉินที่ใช และชนิดของหลอดไฟฉุกเฉิน โดยการตรวจสอบและบํารุงรักษา มีดังตอไปนี้ 1) ควรทําความสะอาดดวงโคม ทุก 2 สัปดาห 2) หากแบตเตอรี่เปนแบบเติมน้ํากลั่น ตองตรวจสอบระดับน้ํากลั่นทุก ๆ 1 เดือน 3) คายประจุแบตเตอรี่ใหหมด ทุก ๆ 6 เดือน 18 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 2

4) ทดสอบที่ตัวอุปกรณไฟฟาแสงสวางฉุกเฉินโดยกดสวิตช Test และสังเกตวาหลอดไฟฉุกเฉินที่ตออยูกับ ตัวเครื่องจะตองสวาง และหลอดไฟตองดับเมื่อปลอยสวิตช ทั้งนี้ หากเปนรุนที่ไมมีปุม Test ใหถอดปลั๊กไฟฟา ในการทดสอบหลอดไฟ 5) ทดสอบถอดปลั๊ ก โคมไฟฉุ ก เฉิ นทุก ๆ 1 เดือ น ซึ่ง หลอดไฟฉุก เฉินที่ตอ อยูกับ ตัวเครื่องจะตอ งสวาง โดยปล อ ยทิ้ ง ไว ป ระมาณ 30 นาที 6) หลังการทดสอบ ใหเสียบปลั๊กไฟของโคมไฟฟาฉุกเฉินเขากับเตาเสียบเหมือนเดิม เพื่ออัดประจุไฟฟา เขาแบตเตอรี่ของโคมไฟฟาฉุกเฉิน การทดสอบระบบไฟฟาฉุกเฉินทุก ๆ 1 เดือน เปนการทําใหแบตเตอรี่ไดคายและการอัดประจุไฟฟา เพื่อปองกัน การเสือมสภาพของสารเคมี ่ ภายในแบตเตอรี่ และปองกันการลัดวงจรของเซลลแบตเตอรี่ ซึ่งมีผลใหแบตเตอรี่เสื่อมสภาพ และหมดอายุการใชงานเร็วขึ้น 3.3 ขอควรระวังในการใชงานไฟฉุกเฉิน 1) ไมควรติดตั้งโคมไฟฉุกเฉินชนิดแบตเตอรี่แบบเติมน้ํากลั่นไวบริเวณที่มีอากาศถายเทไมดี เพราะจะทําให ไอตะกั่วระเหยกระจายในอากาศ เปนอันตรายตอระบบทางเดินหายใจ 2) การติดตั้งโคมไฟฉุกเฉิน ตองมั่นคงแข็งแรง เพราะแบตเตอรี่จะมีน้ําหนักมากอาจจะรวงหลนเปนอันตรายได 3) ควรเสียบปลั๊กไฟฟาเพื่อประจุไฟฟาใหแบตเตอรี่เต็มอยูเสมอ พรอมใชงานตลอดเวลาหากกระแสไฟฟา ในเวลาปกติดับลง 3.4 การบํารุงรักษาไฟฉุกเฉิน 1) เช็ดทําความสะอาดดวงโคมทุก 2 สัปดาห 2) ทดสอบการทํางานของเครื่อง test ทุก ๆ 1 เดือน 3) คายประจุแบตเตอรี่ใหหมดทุก ๆ 6 เดือน

19 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 2

4. แบตเตอรี่สํารองไฟฟา

ภาพที่ 1.6 แบตเตอรี่สํารองไฟฟา 4.1 คุณสมบัติที่ดีของแบตเตอรี่สํารองไฟฟา 1) ตองมีพิกัดและขนาดกําลังที่เหมาะสมในการจายไฟฟาใหกับโหลดทั้งหมดไมนอยกวา 1.5 ชั่วโมง 2) แรงดันไฟฟาที่จายโหลด ตองลดลงเหลือไมนอยกวา 87% ของปกติ 3) ไมควรใชแบตเตอรี่สําหรับรถยนตมาทําไฟสํารอง 4) แบตเตอรี่แบบหุมปดสนิท เปลือกหุมไมจําเปนตองเปนแบบใส 5) แบตเตอรีต่ ะกั่ว-กรด ชนิดเติมน้ํากลั่น เปลือกหุมตองเปนแบบใส 6) ตองมีชุดประจุไฟอัตโนมัติ (Charge Controller) ดวย 4.2 ขอดีและขอเสียของแบตเตอรี่สํารองไฟฟา 1) สามารถใชเปนศูนยกลางระบบไฟฉุกเฉินและจายไปยังสวนตาง ๆ ของอาคาร 2) ติดตั้งเปนชุดจายเล็ก ๆ ตามสวนตาง ๆ ของอาคาร 3) ปอนใหกับการสองสวางฉุกเฉินที่ไมเปนฟลูออเรสเซนต 4) เวลาในการจายกําลังไฟฟามีจํากัด 5) ใชไดเฉพาะระบบ DC

20 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 2

ใบทดสอบ คําชี้แจง ใหผรู ับการฝกทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบขอที่ถูกทีส่ ุดเพียงขอเดียว 1. ขอใด เปนระยะของการออกแบบมาใหมีพื้นที่รอบเครื่องกําเนิดไฟฟา ก. 1.5 - 2 เมตร ข. 2 - 2.5 เมตร ค. 3 - 3.5 เมตร ง. 4 - 4.5 เมตร 2. เมื่อเกิดเหตุการณไฟฟาขัดของ ATS จะสงสัญญาณไปที่ใด ก. เครื่องสงกระแสอัตโนมัติ ข. เครื่องกําเนิดไฟฟาสํารอง ค. แบตสํารองของสวิตชถายโอนแบบอัตโนมัติ ง. สวิตชสํารองของ ATS 3. ขอใด ไมเกี่ยวของกับหนาที่ปอ งกันเมื่อเกิดปญหาทางไฟฟาของ UPS ก. จายพลังงานไฟฟาสํารอง ข. ปรับแรงดันไฟฟาใหอยูในระดับไมอันตราย ค. ถายโอนแรงดันไฟฟาสํารอง ง. ปองกันสัญญาณรบกวนทางไฟฟา 4. แบตเตอรีส่ ํารองไฟฟาที่ดี ตองมีพิกัดที่เหมาะสมในการจายไฟฟาใหกับโหลดทัง้ หมดกี่ชั่วโมง ก. มากกวา 1 ชั่วโมง แตไมถึง 2 ชั่วโมง ข. นอยวา 1.5 ชั่วโมง ค. มากกวา 2 ชั่วโมง แตตองไมนอยกวา 1ชั่วโมง ง. ไมนอยกวา 1.5 ชั่วโมง

21 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 2

5. ขอใด เปนระยะเวลาที่ควรคายประจุแบตเตอรี่ของไฟฉุกเฉิน ก. ทุก ๆ 6 เดือน ข. ทุก ๆ 5 เดือน ค. ทุก ๆ 4 เดือน ง. ทุก ๆ 3 เดือน

22 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 2

กระดาษคําตอบ ขอ

1 2 3 4 5

23 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 2

รายละเอียดหัวขอวิชาที่ 2

0921521302 ระบบสัญญาณแจงเหตุเพลิงไหมเบื้องตน (ใบแนะนํา) 1. ผลลัพธการเรียนรู - อธิบายเกี่ยวกับระบบสัญญาณแจงเหตุเพลิงไหมเบื้องตนได 2. หัวขอสําคัญ 1. ชนิดของอุปกรณ 2. แผงควบคุมและแผงแจงเหตุ 3. การตรวจสอบและบํารุงรักษา

3. วิธีการฝกอบรม การฝกอบรมสามารถเลือกได 3 รูปแบบ คือ 1) การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ 2) การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม 3) การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน ดังรายละเอียดในขอแนะนําสําหรับผูรับการฝก

4. อุปกรณชวยฝก อุปกรณชวยฝกสามารถเลือกใชงานได 2 รูปแบบ คือ 1. รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝก เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมิน เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 2. รูปแบบอิเล็กทรอนิกส (Online) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ

24 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 2

5. การรับการฝกอบรม 1. ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Post-Test) แลวสงใหครูฝกหรือระบบประเมินผลตามวิธีที่เลือกฝกอบรม 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหผรู ับการฝกเขาฝกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝกอบรมภาคทฤษฎี ใหผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝก และฝกหัดทําใบทดสอบทายหัวขอวิชา 3. เมื่อผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝกประจําโมดูลนั้นเขาใจแลว ใหทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) แลวสงให ครูฝก หรือระบบประเมินผลเชนเดียวกับแบบทดสอบกอนฝก

6. การวัดผล 1. ผูรบั การฝกสงแบบทดสอบกอนฝก ใหครูฝกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎีตามวิธีที่เลือกฝกอบรม 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝก มอบหมายใหผรู ับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2. ผูรบั การฝกสงแบบทดสอบหลังฝก ใหครูฝกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎี โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมิน แบบทดสอบกอนฝก

7. บรรณานุกรม ไวพจน ศรีธัญ และคณะ. ม.ป.ป. การติดตั้งไฟฟา 2. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพศูนยสง เสริมอาชีวะ. สุขสันติ์ หวังสถิตยวงษ และศักรินทร เทิดกตัญูพงศ. 2549. การออกแบบระบบไฟฟา. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพศูนยสง เสริมวิชาการ.

25 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 2

ใบขอมูล หัวขอวิชาที่ 2 ระบบสัญญาณแจงเหตุเพลิงไหมเบือ้ งตน ระบบสัญญาณแจงเหตุเพลิงไหมเบือ้ งตน เปนระบบที่สามารถตรวจจับการเกิดเหตุเพลิงไหม และแจงใหผูที่อยูในอาคารทราบ โดยระบบอัตโนมัติที่ดีจะตองตรวจจับและแจงเหตุไดอยางถูกตอง รวดเร็วและมีความเชื่อถือไดสูง เพื่อใหผูที่อยูภายในอาคาร มีโอกาสยับยั้งการลุกไหมของไฟในบื้องตนได รวมถึงทําใหมีโอกาสอพยพออกมาภายนอกอาคารไดสูง ทั้งนี้ ระบบแจงเตือน เหตุเพลิงไหมจะเริ่มการทํางานจากอุปกรณตรวจจับเหตุเพลิงไหม เมื่อมีกลุมควันเกิดขึ้นจะถูกตรวจจับดวยอุปกรณตรวจจับควัน หรือความรอนและสงสัญญาณไปยังแผงควบคุม จากนั้นแผงควบคุมจะสงสัญญาณไปยังอุปกรณแจงเหตุเพือ่ แจงเตือนเหตุเพลิงไหม ตอไปดังภาพที่ 2.1

ภาพที่ 2.1 ระบบการแจงสัญญาณเพลิงไหม 1. ชนิดของอุปกรณ 1.1 อุปกรณเริ่มสัญญาณ (Initiating Device) อุปกรณเริ่มสัญญาณ หรืออุปกรณตรวจจับ เปนอุปกรณที่ทําหนาที่แจงใหแผงควบคุมระบบแจงเหตุเพลิง ไหม ทราบการเกิดเหตุ เพื่อระบบจะทํางานแจงเหตุตอไป อุปกรณเริ่มสัญญาณมี 2 ชนิด คือ อุปกรณเริ่มสัญญาณดวยมือ (Manual Station) และอุปกรณเริ่มสัญญาณอัตโนมัติ (Automatic Detector) 1.1.1 อุปกรณเริม่ สัญญาณดวยมือ (Manual Station) อุปกรณเริ่มสัญญาณดวยมือ ทําหนาที่แจงใหตูควบคุมทราบวาเกิดเหตุเพลิงไหม วิธีใชงานคือ ทุบกระจก ใหแตกและดึ งคั นโยกภายในอุ ปกรณ ลง จากนั้นอุปกรณจะสง สัญญาณไปยังตูควบคุม เพื่อ สงสัญ ญาณไปยัง อุปกรณแจงเตือนเหตุเพลิงไหมตอไป ทั้งนี้ อุปกรณแจงเหตุดวยมือใชกันแพรหลายในสํานักงานและอาคารตาง ๆ

26 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 2

ภาพที่ 2.2 อุปกรณแจงเหตุดวยมือ 1.1.2 อุปกรณเริม่ สัญญาณอัตโนมัติ (Automatic Detector) อุปกรณเริ่มสัญญาณอัตโนมัติ (Automatic Detector) เปนอุปกรณที่ใชตรวจสอบเหตุเพลิงไหม โดยใช ระบบอัตโนมัติตรวจจับจากควัน หรือความรอน เปนตน เมื่อเซนเซอรตรวจสอบพบเจอตนเหตุที่จะนําไปสูเหตุเพลิงไหม ก็จะสงสัญญาณไปยังตูควบคุมทันที - อุปกรณตรวจจับควัน (Smoke Detector) เป น อุ ป กรณ ที่ ใ ช ติ ด ตั้ง ภายในอาคาร สํา นัก งาน หรือ บริษัท เพื่อ ตรวจจับ ควัน อัต โนมัติ โดยจะตรวจจับควันที่เกิดขึ้น ซึ่งเปนสาเหตุของเพลิงไหม เมื่ออุปกรณตรวจเจอควันก็จะสงสัญญาณไปยัง ตูควบคุมเพื่อสงสัญญาณไปยังอุปกรณแจงเตือนตอไป

ภาพที่ 2.3 อุปกรณตรวจจับควัน - อุปกรณตรวจจับความรอน (Heat Detector) เปนอุปกรณที่ติดตั้งภายในอาคาร สํานักงาน หรือบริษัทเพื่อตรวจจับความรอนที่เกิดขึ้นภายในอาคาร เมื่อตรวจเจอความรอนที่มีคาสูงกวาเกณฑ ซึ่งเปนสาเหตุที่นําไปสูเพลิงไหมได ก็จะสงสัญญาณไปยัง ตูควบคุมเพื่อสงสัญญาณไปยังอุปกรณแจงเตือนตอไป

ภาพที่ 2.4 อุปกรณตรวจจับความรอน 27 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 2

1.1.3 อุปกรณตรวจจับเปลวเพลิง (Flame Detector) อุปกรณตรวจจับเปลวเพลิง เหมาะสําหรับตรวจจับเพลิงไหมที่เกิดจากเชื้อเพลิงเหลว แบงตามหลักการทํางาน ออกเปน ตรวจจับรังสีอินฟาเรด (Infrared: IR) ตรวจจับรังสีอุลตราไวโอเลต (Ultraviolet: UV) หรือตรวจจับ ทั้งรังสีอินฟาเรดและรังสีอุลตราไวโอเลต (IR/UV)

ภาพที่ 2.5 ตัวอยางอุปกรณตรวจจับเปลวเพลิง 1.2 อุปกรณแจงเหตุ (Signalling Alarm Devices) อุปกรณแจงเหตุ ทําหนาที่สงเสียงและแสงแจงสัญญาณเตือนวาเกิดเพลิงไหม เพื่อใหเตรียมตัวอพยพออกจากบริเวณนั้น หรือตรวจสอบหาจุดที่เกิดเหตุเพลิงไหมเพื่อระงับเหตุในระยะแรกได โดยอุปกรณแจงสัญญาณนั้นจะรับสัญญาณจาก ตูควบคุมสัญญาณที่สงตอมาจากอุปกรณแจงสัญญาณที่ตรวจเจอเหตุเพลิงไหมไดอุปกรณแจงเหตุเพลิงไหมแบงออกเปน 2 ชนิด คือ อุปกรณแจงเหตุดวยเสียงและอุปกรณแจงเหตุดวยแสง 1) อุปกรณแจงเหตุดวยเสียง อุ ป กรณ แจ ง เหตุ ดวยเสี ยง เป นอุป กรณแจง เหตุที่ใชทั่วไป จะตอ งมีเ สียงดัง เพียงพอ และแตกตา ง จากสัญญาณเสียงปกติทั่วไปของสถานที่นั้น ๆ และมีความดังกวาเสียงรบกวนเฉลี่ยไมนอยกวา 10 เดซิเบล เปนระยะเวลาไมนอยกวา 60 วินาที ระดับความดังของเสียงที่จุดใด ๆ ตองไมนอยกวา 65 เดซิเบล และไมเกิน 105 เดซิเบล การติดตั้งจึงตองกระจายใหอยูในตําแหนงที่เหมาะสมทั่วพื้นที่

ภาพที่ 2.6 ตัวอยางอุปกรณแจงเหตุดวยเสียง

28 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 2

2) อุปกรณแจงเหตุดวยแสง อุปกรณแจงเหตุดวยแสง เปนอุปกรณแจงเหตุดวยแสงกระพริบที่มีความสวางเพียงพอ สถานที่ที่จําเปน ตองใชอุปกรณนี้ คือ บริเวณที่มีเสียงรบกวนดังมากเกินกวา 95 เดซิเบล (อาจใชรวมกับอุปกรณแจงเหตุดวยเสียง) และบริ เ วณที่ ใ ชเ สี ยงอาจทําใหเ กิด ปญ หา เชน หอ งผูปวยในสถานพยาบาล อุป กรณแจง เหตุดวยแสง จะใชแสงสีขาวกระพริบดวยอัตรา 1–2 ครั้งตอวินาที การติดตั้งอยูในตําแหนงทีม่ องเห็นไดงาย ครอบคลุมทัว่ พืน้ ที่ และระยะหางของอุปกรณไมเกิน 30 เมตร

ภาพที่ 2.7 ตัวอยางอุปกรณแจงเหตุดวยแสง 1.3 อุปกรณประกอบ (Auxiliary Devices) เปนอุปกรณจากระบบอืน่ ที่ทาํ งานเชื่อมโยงและเกี่ยวของกับการแจงเหตุเพลิงไหม ทั้งอุปกรณตรวจจับ อุปกรณแจงเหตุ ตูควบคุม ลวนเชื่อมโยงกับอุปกรณประกอบทั้งหมด โดยอุปกรณประกอบนั้นชวยเพิ่มความสามารถในการชวยเหลือ เมื่อเกิดเหตุเพลิงไหมขึ้น เชน 1) สงสัญญาณกระตุนการทํางานของระบบบังคับลิฟทลงชั้นลางการปด-เปดพัดลมในระบบปรับ อากาศ เพื่อ ควบคุม ควันไฟควบคุม การปด-เปดของประตูตาง ๆ ไมวาจะเปน ประตูท างออก ประตูห นีไฟ ประตูปองกันควันไฟ ควบคุมระบบกระจายเสียงและการประกาศแจงขาว เปดระบบดับเพลิง เปนตน 2) รั บ สั ญ ญาณเตื อ นเหตุ เ พลิ ง ไหมจ ากอุป กรณช นิด อื่น เพื่อ กระตุน อุป กรณแ จง เหตุเ พลิง ไหม เชน รับสัญญาณจากระบบพนนํ้าของปมดับเพลิง และระบบดับเพลิงดวยสารเคมีชนิดอัตโนมัติ เปนตน 1.4 แหลงจายไฟ (Power Supply) แหลงจายไฟ เปนอุปกรณแปลงกําลังไฟฟาของแหลงจายไฟมาเปนกําลังไฟฟากระแสตรงที่ใชปฏิบัตงิ านของระบบ และจะตองมีระบบไฟฟาสํารอง เพื่อใหระบบทํางานไดในขณะที่ไฟปกติดับ

ภาพที่ 2.8 ตัวอยางแบตเตอรี่ (แหลงจายไฟฟาสํารอง) 29 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 2

2. แผงควบคุมและแผงแจงเหตุ 2.1 แผงควบคุม แผงควบคุมทําหนาที่ควบคุมและตรวจสอบการทํางานทั้งหมดของระบบ ประกอบดวยวงจรตาง ๆ ไดแก วงจรควบคุม ซึ่งคอยรับสัญญาณจากอุปกรณเริ่มสัญญาณวงจรปองกันระบบ วงจรทดสอบการทํางานวงจรสัญญาณแจง การทํางาน ในสภาวะปกติและคอยตรวจสอบสภาวะขัดของ เชน สายไฟจากอุปกรณตรวจจับขาดแบตเตอรี่ต่ําเปนตน ทั้งนี้ ตูแผงควบคุม (FCP) จะมีสัญญาณไฟและเสียงแสดงสภาวะตาง ๆ บนหนาตู เชน Fire Lamp ซึ่งจะสวางเมื่อเกิดเพลิงไหม และ Main Sound Buzzer ที่จะมีเสียงดังขณะแจงเหตุ เปนตน 2.2 แผงแจงเหตุ แผงแจงเหตุเปนแผงที่คอยแสดงคาสถานะ ซึ่งตรวจสอบไดจากอุปกรณตรวจจับตาง ๆ ภายในอาคาร โดยสามารถ แสดงคาหลายรูปแบบ ผานไฟที่แสดงบนแผงหนาปด เชน Zone Lamp ซึ่งจะติดคางเพื่อแสดงถึงบริเ วณที่เ กิดเหตุ และ Trouble Lamp ซึ่งแสดงเหตุขัดของตาง ๆ เปนตน 3. การตรวจสอบและบํารุงรักษา อุปกรณแจงเหตุเพลิงไหมเปนอุปกรณที่สําคัญอยางมาก เพราะสามารถชวยเหลือชีวิตคนได จึงตองทําใหสามารถใชงาน ไดเต็มประสิทธิภาพอยูตลอดเวลา ดังนั้น จึงตองมีการตรวจสอบและบํารุงรักษาการใชงานของระบบอยูเสมอวาสามารถใชงาน ไดไมมีปญหาใด ๆ หากพบปญหาของอุปกรณ ตองแจงใหมีการซอมแซมหรือเปลี่ยนชิ้นใหมในทันที โดยมีรายละเอียด ดังนี้ 1) ตรวจสอบระบบการทํางานของตูค วบคุม วาสามารถทํางานไดป กติห รือ ไม ปุม สวิตชบ นแผงหนา ปด สามารถใชงานไดทุกอัน ถาตรวจพบเจอสวนที่ชํารุดใหแจงซอมโดยทันทีเพื่อประสิทธิภาพสูงสุดของตูควบคุม เมื่อตรวจเช็คเสร็จเรียบรอยอยูในสภาพพรอมใชงานถึงเริ่มทําความสะอาดอุปกรณได 2) ตรวจสอบระบบสายไฟ และสายสัญ ญาณที่ใชง านกับ อุป กรณในระบบแจง เตือ นเหตุเพลิง ไหมทั้งหมด วายังอยูในสภาพพรอมใชงานหรือไม ถาตรวจพบเจอสวนที่ชํารุดไมพรอมใชงาน ควรแจงเพื่อแกไขในทันที เพื่อ ใหอุป กรณอ ยูในสภาพพรอ มใชตลอด เมื่อ ไดทําการแกไขและตรวจสอบเสร็จ เรียบรอ ยถึง จะเริ่ม ทําความสะอาดอุปกรณได 3) ตรวจสอบอุปกรณของระบบพรอมทําความสะอาดในแตละจุด ไดแก - ตูควบคุมหลัก (Fire Alarm Control Panel) - อุปกรณตรวจจับควัน (Smoke Detector) - อุปกรณตรวจจับความรอน (Heat Detector) 30 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 2

- อุปกรณแจงเหตุดวยมือ (Manual Station) - อุปกรณแสดงจุดเกิดเหตุ (Graphic Annunciator) ทั้งนี้ เมื่อทําการตรวจสอบพรอมทั้งไดทําความสะอาดตูควบคุมและอุปกรณของระบบแจงเตือนเพลิงไหมเรียบรอยแลว จะตอ งทําการทดสอบทั้ง ระบบอีก ครั้ง เพื่อ เช็ควาสามารถทํางานไดไมติดขัดอะไร โดยทําการทดสอบแตล ะพื้นที่ วายังทํางานไดตามปกติหรือไม

31 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 2

ใบทดสอบ คําชี้แจง ใหผรู ับการฝกทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบขอที่ถูกทีส่ ุดเพียงขอเดียว 1. อุปกรณแจงเหตุเพลิงไหมดวยเสียง จะตองมีความดังกวาเสียงรบกวนเฉลี่ยกี่เดซิเบล ก. ไมนอยกวา 7 เดซิเบล ข. ไมนอ ยกวา 8 เดซิเบล ค. ไมนอยกวา 9 เดซิเบล ง. ไมนอยกวา 10 เดซิเบล 2. ขอใด ไมใชหลักการทํางานของอุปกรณตรวจจับเปลวเพลิง ก. ตรวจจับรังสีอินฟาเรด ข. ตรวจเจอความรอนทีมีคาสูงกวาเกณฑ ค. ระบบดับเพลิงดวยสารเคมีชนิดอัตโนมัติ ง. รับสัญญาณจากระบบพนนํา้ ของปมดับเพลิง 3. ขอใด กลาวถึงความหมายของ Fire Lamp ไดถูกตอง ก. แสดงถึงบริเวณที่เกิดเหตุ ข. เสียงแสดงสภาวะเมื่อเกิดไฟใหม ค. ไฟแสดงสภาวะเมื่อเกิดไฟใหม ง. แสดงเหตุขัดของตาง ๆ 4. อุปกรณชนิดใด ทําหนาที่แจงใหตูควบคุมทราบวาเกิดเหตุเพลิงไหม ก. อุปกรณตรวจจับควัน ข. อุปกรณเริม่ สัญญาณดวยมือ ค. อุปกรณตรวจจับควัน ง. อุปกรณแจงเหตุดวยเสียง

32 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 2

5. อุปกรณแจงเหตุดวยแสง สามารถใชงานรวมกับอุปกรณชนิดใดได ก. อุปกรณแจงเหตุดวยไอความรอน ข. อุปกรณแจงเหตุดวยควัน ค. อุปกรณแจงเหตุดวยเสียง ง. อุปกรณแจงเหตุดวยเปลวเพลิง

33 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 2

กระดาษคําตอบ ขอ

1 2 3 4 5

34 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 2

รายละเอียดหัวขอวิชาที่ 3

0921521303 รีเลยปองกันเบื้องตน (ใบแนะนํา) 1. ผลลัพธการเรียนรู - อธิบายเกี่ยวกับระบบรีเลยปองกันเบื้องตนได 2. หัวขอสําคัญ 1. รีเลยปองกันกระแสเกิน (Overcurrent Relay) 2. รีเลยปองกันแรงดันสูงเกิน/ต่ําเกิน (Over/Under Voltage Relay) 3. เฟสซีเควนซ รีเลย (Phase Sequence Relay)

3. วิธีการฝกอบรม การฝกอบรมสามารถเลือกได 3 รูปแบบ คือ 1) การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ 2) การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม 3) การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน ดังรายละเอียดในขอแนะนําสําหรับผูรับการฝก

4. อุปกรณชวยฝก อุปกรณชวยฝกสามารถเลือกใชงานได 2 รูปแบบ คือ 1. รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝก เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมิน เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 2. รูปแบบอิเล็กทรอนิกส (Online) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ

35 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 2

5. การรับการฝกอบรม 1. ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Post-Test) แลวสงใหครูฝกหรือระบบประเมินผลตามวิธีที่เลือกฝกอบรม 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหผรู ับการฝกเขาฝกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝกอบรมภาคทฤษฎี ใหผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝก และฝกหัดทําใบทดสอบทายหัวขอวิชา 3. เมื่อผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝกประจําโมดูลนั้นเขาใจแลว ใหทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) แลวสงให ครูฝก หรือระบบประเมินผลเชนเดียวกับแบบทดสอบกอนฝก

6. การวัดผล 1. ผูรบั การฝกสงแบบทดสอบกอนฝก ใหครูฝกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎีตามวิธีที่เลือกฝกอบรม 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝก มอบหมายใหผรู ับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2. ผูรบั การฝกสงแบบทดสอบหลังฝก ใหครูฝกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎี โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมิน แบบทดสอบกอนฝก

7. บรรณานุกรม ไวพจน ศรีธัญ และคณะ. ม.ป.ป. การติดตั้งไฟฟา 2. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพศูนยสง เสริมอาชีวะ. สุขสันติ์ หวังสถิตยวงษ และศักรินทร เทิดกตัญูพงศ. 2549. การออกแบบระบบไฟฟา. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพศูนยสง เสริมวิชาการ.

36 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 2

ใบขอมูล หัวขอวิชาที่ 3 รีเลยปองกันเบื้องตน รีเ ลย คือ อุป กรณ ไ ฟฟ า ประเภทสวิ ต ช ซึ่ ง ทํา งานดว ยแมเ หล็ก ผลิต ขึ้น มาเพื่อ ใชง านรว มกับ อุป กรณไ ฟฟา และ อุปกรณอิเล็กทรอนิกสอื่น ๆ โดยทําหนาที่เปนสวิตชควบคุมการจายกําลังไฟฟาจากแหลงจายไปใหอุปกรณไฟฟา การควบคุม ใหรีเลยทํางานจะใชสนามแมเหล็กภายในตัวรีเลยในการควบคุมหนาสัมผัสของสวิตช ประโยชนของรีเลย ไดแก การทําใหระบบสงกําลังมีเสถียรภาพ (Stability) สูง โดยรีเลยจะตัดวงจรเฉพาะสวนที่ผิดปกติออก เทานั้น ซึ่ง จะเปนการลดความเสียหายใหแกระบบนอยที่สุด ชวยลดความเสียหายไมเกิดการลุกลามไปยังอุปกรณอื่น ๆ ใหระบบไฟฟาไมดับทั้งระบบเมื่อเกิดขอผิดพลาดขึ้นในระบบ รวมถึงลดคาใชจายในการซอมแซมสวนที่เกิดการผิดปกติ รีเลยปองกัน หรือ Protective Relay เปนอุปกรณตรวจจับความผิดปกติที่เกิดกับอุปกรณไฟฟา และปลดอุปกรณไฟฟา ที่เกิดปญหาใหออกจากระบบไฟฟาโดยเร็วเพื่อไมใหอุปกรณเกิดความเสียหาย ซึ่งการตัดตอวงจรจะมีเงื่อนไขตาง ๆ เชน การปองกันกระแสเกิน ปองกันแรงดัน Low/High และ Phase Sequence เปนตน ดังนั้น เมื่อมีกระแสไฟฟาไหลผาน ไฟเปด (ON) จะสวางขึ้น โดยหมายถึงแผงอิเล็กทรอนิกสกําลังทําการควบคุม และหากตรวจจับไดถึงความผิดปกติ รีเลยจะเริ่มการทํางาน โดยหนาสัมผัสที่ปดจะเปดออก ทําใหระบบตัดการทํางานเพื่อปองกันอุปกรณนั้น ๆ และเมื่อสภาวะของระบบไฟกลับมาปกติ หนาสัมผัสเปดของรีเลยปองกันจะโดนสั่งใหปด เพื่อใหระบบไฟฟาสามารถทํางานไดตามปกติ

ภาพที่ 3.1 รีเลยปอ งกัน รีเ ลยปอ งกันจะทํางานเมื่ อ เกิ ด ความผิ ด ปกติข องการใชง านไฟฟา เชน การจา ยกระแสไฟเกิน จากแหลง จายไฟ หรือ กระแสไฟฟาทํางานผิดปกติเนื่องมาจากการใชงาน โดยรีเลยชนิดนี้จะใชเงื่อนไขในการตรวจสอบความผิดปกติ ดังตอไปนี้

37 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 2

1) Overcurrent คือ การที่กระแสในขณะใชงานมีคาเกินทีก่ ําหนด รีเลยปองกันก็จะทําการตัดระบบ 2) Max/Min Voltage คือ การที่แรงดันในขณะใชงานมีคาเกินหรือต่ํากวาทีก่ ําหนด 3) Phase Sequence คือ การเรียงลําดับเฟสไมถูกตอง 4) Phase Loss คือ การที่แรงดันของเฟสใดเฟสหนึง่ หายไป 5) Min/Max Frequency คือ การที่ความถี่ในขณะใชงานมีคาเกินหรือต่ํากวาที่กําหนด 6) Asymmetry คือ การที่เกิดความไมสมดุลทางไฟฟา (Unbalance) สิ่งที่ตองคํานึงถึงในการเลือกใชรเี ลยปองกันใหเหมาะสมกับงาน สามารถพิจารณาไดดังตอไปนี้ 1) เงื่อนไขหรือประเภทการตรวจสอบในการตรวจสอบคาความผิดปกติ 2) จํานวนเอาทพุทของคอนแทคที่ตองการ 3) ความเหมาะสมของขนาดแรงดัน โดยตองอยูในยานแรงดันที่อุปกรณรับได หากใชแรงดันเกินจะสงผลให อุปกรณเสียหาย หรือไมสามารถตรวจสอบความผิดปกติได 4) กระแสที่ใชงานเพื่อพิจารณาเลือกรูปแบบการตอของกระแสไฟฟา เชน ตอแบบตรงหรือตอผาน CT เปนตน โดยตองไมใหเกินกวาที่อุปกรณจะรับ เพื่อปองกันความเสียหายของรีเลย เชน หนาคอนแทคของอุปกรณ สามารถรับกระแสได 5 แอมป หากมีกระแสเกิน 5 แอมป ควรตอผาน CT เพื่อปองกันอุปกรณเสียหาย เปนตน 5) เวลาในการหนวงเพื่อตรวจสอบ เชน แรงดันกําหนดไว 400 โวลต แตรีเลยปองกันสามารถตรวจสอบไดวา แรงดันที่เขามา คือ 450 โวลต ดังนั้น ระบบจะหนวงเวลาไว 3 วินาที เพื่อตรวจสอบวามีแรงดันเกินจริง จากนั้นรีเลยปองกันจะตัดการทํางาน เปนตน ทั้งนี้ ควรตรวจสอบเวลาในการหนวงของรีเลย เพราะหากมีการตั้งเวลา ในการหนวงนานเกินไป อาจทําใหอุปกรณเกิดความเสียหายได ในบทเรียนนี้ จะกลาวถึงรีเลยปองกัน 3 ชนิด คือ รีเลยปองกันกระแสเกิน รีเลยปองกันแรงดันสูงเกินหรือต่ําเกิน และเฟสซีเควนซรีเลย 1. รีเลยปองกันกระแสเกิน (Overcurrent Relay) รีเ ลยปอ งกันกระแสเกิ น เป นรีเลย ปอ งกั นชนิดที่ไดรับ ความนิยมมากที่สุด โดยสวนใหญใชในการปองกันสายปอน สามารถแบงออกเปน 2 รูปแบบ คือ 1) Phase Overcurrent Relay ใชปองกันเมือ่ เกิดกระแสเกินหรือลัดวงจรในเฟส (Phase Faults) 2) Ground Overcurrent Relay ใชปองกันเมื่อเกิดกระแสเกินหรือลัดวงจรลงดิน (Ground Faults) ทั้ง นี้ ภายในตัวรีเ ลยปอ งกันกระแสเกิน จะประกอบดวยขดลวดความรอ นที่พันอยูกับไบมิทอล เมื่อ ไบมิท อลรอน จะเกิดการโคงงอและผลักใหคาดเคลื่อนไปดันคอนแทคควบคุม โดยตัวรีเลยจะระบุคาพิกัดแรงดันและกระแสที่ใชไดในตัวรีเลยมา ซึ่งถูกออกแบบใหตัดวงจรของมอเตอร เมื่อกระแสหรือแรงดันไหลเกินกวาพิกัดที่กําหนดมาให 38 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 2

สําหรับ วงจรปกติที่ ไม ได ติดตั้ งรีเลยปอ งกัน เมื่อ กระแสไหลเกินพิกัดของวงจรจะทําใหลวดของมอเตอรรอ นขึ้นและ ลุกไหมในที่สุด ทําใหเกิดความเสียหายตอวงจรและเกิดการไฟไหม สงผลใหเกิดความเสียหายอยางมาก สวนวงจรที่ติดตั้งรีเลย ปองกันกระแสเกิน เมื่อเกิดกระแสไหลเกินพิกัดที่กําหนดไว วงจรควบคุมจะถูกตัดวงจรทันทีเมื่อกระแสเกินออกไปกอนที่ มอเตอรจะไหม ทําใหยับยั้งสาเหตุของการเกิดการเกิดไฟไหมได

ภาพที่ 3.2 รีเลยปอ งกันกระแสเกิน 2. รีเลยปองกันแรงดันสูงเกิน/ต่ําเกิน (Over/Under Voltage Relay) รีเลยปองกันแรงดันสูงเกิน/ต่ําเกิน เปนรีเลยท่ที ํางานโดยใชแรงดัน แบงเปน 2 ชนิด คือ ชนิดแรงดันขาด (Under-voltage) ซึ่งทํางานเมื่อแรงดันไฟฟาต่ํากวาที่กําหนด และแรงดันเกิน (Over-Voltage) ซึ่งทํางานเมื่อแรงดันไฟฟาสูงกวาที่กําหนด รีเลยชนิดนี้ จะมีการระบุคาแรงดันใชงานไว เชน 12 VDC หมายถึง ตองใชงานกับแรงดันกระแสตรงที่ 12 โวลตเทานั้น หากใชมากกวา 12 โวลต อาจสงผลใหขดลวดภายในตัวรีเลยขาดได หรือหากใชกับแรงดันต่ําเกินไปรีเลยจะไมทํางาน เปนตน ในการตอวงจร สามารถตอ ขั้ว ใดก็ ไ ด เพราะไม มี ก ารระบุ ขั้ ว ต อ ไว นอกจากการระบุคา แรงดัน รีเ ลย ช นิ ด นี้ ยัง ไดร ะบุก ารใช ง าน ผานกระแสหนาสัมผัสไว เชน 10 A 220 AC หมายถึง หนาสัมผัสของรีเลยสามารถทนกระแสสลับได 10 แอมป ที่ 220 โวลต เปนตน ทั้งนี้ ในการใชงานควรใชกับงานที่ระดับกระแสต่ํากวา เนื่องจากการใชงานกับกระแสที่มากอาจสงผลใหหนาสัมผัส ของรีเลยเสียหายได

ภาพที่ 3.3 รีเลยปอ งกันแรงดันสูงเกิน/ต่ําเกิน 39 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 2

3. เฟสซีเควนซ รีเลย (Phase Sequence Relay) เฟสซีเควนซ รีเลย เปนรีเลยที่สําคัญในงานควบคุมมอเตอร มีหนาที่ตรวจสอบการเรียงลําดับเฟสของแรงดันไฟฟา 3 เฟส (Three Phase Voltage) รวมถึงความตอเนื่ องของเฟสในระบบไฟฟา โดยลําดับเฟสของแรงดันไฟฟากระแสสลับ 3 เฟส มี 2 แบบ คือ แบบลําดับเฟสบวก (Positive Phase Sequence) ซึ่งหมุนตามเข็มนาฬิกา และแบบลําดับเฟสลบ (Negative Phase Sequence) ซึ่งหมุนทวนเข็มนาฬิก า หากปอนระบบไฟฟาที่มีลําดับเฟสลบใหกับมอเตอรไฟฟาที่ใชกับระบบไฟฟ า ซึ่ง มี ลําดับเฟสบวกอาจสงผลใหมอเตอรไฟฟาหมุนกลับทิศทาง หรืออาจสรางความเสียหายขึ้นแกมอเตอรได ดังนั้นจึงตองใชเฟสซี เควนซรีเลยตรวจสอบการเรียงลําดับเฟส เพื่อปองกันความเสียหายที่จะเกิดขึ้น

ภาพที่ 3.4 เฟสซีเควนซรีเลย

40 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 2

ใบทดสอบ คําชี้แจง ใหผรู ับการฝกทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบขอที่ถูกทีส่ ุดเพียงขอเดียว 1. อะไรไมใชคุณสมบัติของรีเลยปองกัน ก. ความนาเชื่อถือ ข. ความรวดเร็ว ค. ความประหยัด ง. ความทนแรงกระแทก 2. ขอใดคือการใชงานรีเลยอยางเหมาะสม ก. ใช Over Current Relay เพือ่ ตรวจสอบลําดับของเฟสการทํางานไฟฟา ข. ใช Phase Sequence Relay เพื่อปองกันกระแสเกินในเฟส ค. ใช Under Voltage Relay เพื่อปองกันแรงดันไฟฟาต่ํากวาที่กําหนด ง. ใช Ground Overcurrent Relay เพือ่ ปองกันแรงดันไฟฟาสูงกวาที่กําหนด 3. เฟรสซีเควน รีเลย มีหนาที่สําคัญในงานควบคุมมอเตอรอยางไร ก. มีหนาที่ตรวจสอบการเรียงลําดับเฟสของแรงดันไฟฟา 3 เฟส ข. มีหนาที่ตรวจสอบการเรียงลําดับเฟสของกระแสไฟฟา 3 เฟส ค. มีหนาที่ตรวจสอบการลัดวงจรในเฟส ง. มีหนาที่ตรวจสอบการลัดวงจรลงดิน 4. ความหมายของ Overcurrent คือ ขอใด ก. การที่แรงดันในขณะใชงานมีคาเกินหรือต่ํากวาที่กําหนด ข. การที่กระแสในขณะใชงานมีคาเกินทีก่ ําหนด รีเลยปองกันก็จะทําการตัดระบบ ค. การที่แรงดันของเฟสใดเฟสหนึง่ หายไป ง. ที่ความถี่ในขณะใชงานมีคาเกินหรือต่ํากวาที่กําหนด

41 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 2

5. ขอใด ไมใชสิ่งที่ตองคํานึงในการเลือกใชรีเลยปองกันใหเหมาะสมกับงาน ก. จํานวนเอาทพทุ ของคอนแทคที่ตอ งการ ข. เวลาในการหนวงเพื่อตรวจสอบ ค. ความเหมาะสมของขนาดแรงดัน ง. การเรียงลําดับเฟส

42 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 2

กระดาษคําตอบ ขอ

1 2 3 4 5

43 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 2

คณะผูจัดทําโครงการ ผูบริหาร 1. นายสุทธิ 2. นางอัจฉรา 3. นายธวัช 4. นายสุรพล

สุโกศล แกวกําชัยเจริญ เบญจาทิกลุ พลอยสุข

อธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน รองอธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน รองอธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน รองอธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน

ที่ปรึกษา 1. นายธีรพล 2. นายเสถียร 3. นายประเสริฐ

ขุนเมือง พจนโพธิ์ศรี สงวนเดือน

ผูบริหารกรมพัฒนาฝมอื แรงงาน ผูบริหารกรมพัฒนาฝมอื แรงงาน ผูบริหารกรมพัฒนาฝมอื แรงงาน

คณะที่ปรึกษาโครงการ 1. ผศ. ดร. มนตรี

คําเงิน

ภาควิชาวิศวกรรมโทรคมนาคม คณะวิศวกรรมศาสตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟาสื่อสาร คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง ภาควิชาครุศาสตรวิศวกรรม คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง ภาควิชาครุศาสตรวิศวกรรม คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง ภาควิชาครุศาสตรวิศวกรรม คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง สํานักบริหารงานวิจัยและนวัตกรรมพระจอมเกลาลาดกระบัง สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง แผนกวิชาชางไฟฟา วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี แผนกวิชาชางไฟฟา วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี แผนกวิชาชางไฟฟา วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี แผนกวิชาโลหะการ วิทยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษก มหานคร แผนกวิชาชางยนต วิทยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษก มหานคร

2. รศ. ดร. วิสุทธิ์

สุนทรกนกพงศ

3. ผศ. สันติ

ตันตระกูล

4. นายสุระชัย

พิมพสาลี

5. นายวินัย

ใจกลา

6. นายวราวิช

กําภู ณ อยุธยา

7. นายมนตรี 8. นายธเนศ 9. นายณัฐวุฒิ 10. นายหาญยงค 11. นายสวัสดิ์

ประชารัตน วงควัฒนานุรักษ เสรีธรรม หอสุขสิริ บุญเถื่อน

44 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 2

45 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.