คู่มือผู้รับการฝึก ช่างเครื่องปรับอากาศ ระดับ 3 โมดูล 2

Page 1

หน้าปก



คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

คู่มือผู้รับการฝึก 0920164170201 สาขาช่างเครื่องปรับอากาศในบ้านและการพาณิชย์ขนาดเล็ก ระดับ 3

ชุดการฝึกตามความสามารถ (CBT)

โมดูลการฝึกที่ 2 09217210 การใช้เครื่องมือวัดต่าง ๆ ที่ใช้ในเครื่องปรับอากาศ

กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน



คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

คานา คู่มือผู้รับการฝึก สาขาช่างเครื่องปรับอากาศในบ้านและการพาณิชย์ขนาดเล็ก ระดับ 3 โมดูล 2 การใช้เครื่องมือวัด ต่าง ๆ ที่ใช้ในเครื่องปรับอากาศฉบับนี้ เป็นส่วนหนึ่งของหลักสูตรฝึกอบรมฝีมือแรงงานตามความสามารถ (Competency Based Training : CBT) ซึง่ พัฒนาขึ้นเพื่อใช้เป็นเอกสารประกอบการจัดการฝึกอบรมกับชุดการฝึกตามความสามารถ โดยได้ ดาเนินการภายใต้โครงการพัฒนาระบบฝึกและชุดการฝึกตามความสามารถเพื่อการพัฒนาฝีมือแรงงาน ด้วยระบบการฝึกตาม ความสามารถ (Competency Based Workforce Skill Training System) พ.ศ. 2560 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ ผู้รับการ ฝึกได้ใช้เป็นเครื่องมือในการฝึกอบรมให้เป็นไปตามหลักสูตร กล่าวคือ หลังเรียนจบโมดูลการฝึก ผู้รับการฝึกสามารถอธิบาย เกี่ยวกับอุณหภูมิกระเปาะเปียก กระเปาะแห้ง ความชื้น ของอากาศ อัตราการไหลของมวล ปริมาตร ใช้เครื่องมือในการวัดที่ เกี่ยวข้อง วิเคราะห์ปัญหาเกี่ยวกับแรงดัน สาเหตุ และวิธีการการแก้ไขได้อย่างถูกต้อง ระบบการฝึกอบรมตามความสามารถเป็นระบบการฝึกอบรมที่ส่งเสริมให้ผู้รับการฝึกอบรมสามารถฝึกฝนเรียนรู้ได้ ตามพื้นฐานความสามารถของตนในเวลาที่มีความสะดวก โดยเน้นในเรื่องของการส่งมอบการฝึกอบรมที่หลากหลายไปให้แก่ ผู้ รับการฝึ กอบรม และต้องการให้ ผู้ รั บ การฝึ ก อบรมเกิด การเรี ยนรู้ ด้ว ยตนเอง การฝึ กปฏิบัติจะด าเนิน การในรู ป แบบ Learning by Doing และเน้นผลลัพธ์การฝึกอบรมในการที่ทาให้ผู้รับการฝึกอบรมมีความสามารถในการปฏิบัติงานตามที่ ตลาดแรงงานต้องการ โดยยึดความสามารถของผู้รับการฝึกเป็นหลัก การฝึกอบรมในระบบดังกล่าว จึงเป็นรูปแบบการ ฝึกอบรมที่สามารถรองรับการพัฒนารายบุคคลได้เป็นอย่างดี นอกจากนี้ เนื้อหาวิชาในหลักสูตรการฝึกตามความสามารถ (Competency Based Curriculum : CBC) ซึ่งได้จากการวิเคราะห์งานอาชีพ (Job Analysis) ในแต่ละสาขาอาชีพ จะถูก กาหนดเป็นรายการความสามารถหรือสมรรถนะ (Competency) ที่ผู้รับการฝึกอบรมจาเป็นต้องใช้ในการปฏิบัติงาน และ สอดคล้องกับความต้องการของสถานประกอบกิจการและภาคอุตสาหกรรม ซึ่งผู้รับการฝึกจะต้องเรียนรู้และฝึกฝนจนกว่าจะ สามารถปฏิบัติเองได้ ตามมาตรฐานที่กาหนดในแต่ละรายการความสามารถ ทั้งนี้ การส่งมอบการฝึก สามารถดาเนินการได้ ทั้งรูปแบบการเรียนรู้ผ่านสื่อสิ่งพิมพ์ (Paper Based) และผ่านสื่อคอมพิวเตอร์ (Computer Based) โดยผู้รับการฝึกสามารถ เรียนรู้ได้ด้วยตนเอง (Self-Learning) ที่บ้านหรือที่ทางาน และเข้ารับการฝึกภาคปฏิบัติตามความพร้อม ตามความสะดวก ของตน หรือตามแผนการฝึก หรือตามตารางการนัดหมาย การฝึกหรือทดสอบประเมินผลความรู้ความสามารถกับหน่วยฝึก โดยมีครูฝึกหรือผู้สอนคอยให้คาปรึกษา แนะนาและจัดเตรียมการฝึกภาคปฏิบัติ รวมถึงจัดเตรียมและดาเนินการทดสอบ ประเมินผลในลักษณะต่าง ๆ อันจะทาให้สามารถเพิ่มจานวนผู้รับ การฝึกได้มากยิ่งขึ้น ช่วยประหยัดเวลาในการเดินทาง และ ประหยั ดงบประมาณค่าใช้จ่ ายในการพัฒ นาฝี มือแรงงานให้ แก่กาลั งแรงงานในระยะยาว จึงถือเป็นรูปแบบการฝึ กที่มี ความสาคัญต่อการพัฒนาฝีมือแรงงาน ทั้งในปัจจุบันและอนาคต ซึ่งหากมีการนาระบบการฝึกอบรมตามความสามารถมาใช้ ในการพัฒนาฝีมือแรงงาน จะช่วยทาให้ประชาชน ผู้ใช้แรงงานผู้ว่างงาน นักเรียน นักศึกษา และผู้ประกอบอาชีพอิสระ สามารถเข้าถึงการฝึกอบรมเพื่อพัฒนาตนเองได้อย่างสะดวก และได้รับประโยชน์อย่างทั่วถึงมากยิ่งขึ้น

กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน ก กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน



คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

สารบัญ เรื่อง

หน้า

คานา

สารบัญ

ข้อแนะนาสาหรับผู้รับการฝึก

1

โมดูลการฝึกที่ 2 09217210 การใช้เครื่องมือวัดต่าง ๆ ที่ใช้ในเครื่องปรับอากาศ หัวข้อวิชาที่ 1 0921721001 อุณหภูมิ

14

หัวข้อวิชาที่ 2 0921721002 ความชื้นของอากาศ

21

หัวข้อวิชาที่ 3 0921721003 ปริมาณความร้อน

29

หัวข้อวิชาที่ 4 0921721004 อัตราการไหล

35

หัวข้อวิชาที่ 5 0921721005 สาเหตุของข้อผิดพลาดของอุปกรณ์ควบคุมแรงดัน และอุปกรณ์ควบคุมอุณหภูมิ คณะผู้จัดทาโครงการ

43 57

ข กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน



คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

ข้อแนะนาสาหรับผูร้ ับการฝึก ข้อแนะนาสาหรับผู้รับการฝึก คือ คาอธิบายเกี่ยวกับรายละเอียดของคู่มือ และขั้นตอนการเข้ารับการฝึก ซึ่งมีอยู่ด้วยกัน 6 ข้อ ดังนี้

1. รายละเอียดของคู่มือ 1.1 โมดูลการฝึก / หัวข้อวิชา หมายถึง โมดูลการฝึกที่ครูฝึกต้องจัดการฝึกอบรม โดยภายในโมดูลจะประกอบไปด้วย หัวข้อวิชาที่ผู้รับ การฝึ กต้องเรี ย นรู้ และฝึกฝน ซึ่งมีรหัสโมดูล และรหัส หัว ข้อวิชาเป็นตัว กาหนดความสามารถ ที่ต้องเรียนรู้ 1.2 ระยะเวลาการฝึก หมายถึง จานวนชั่วโมงในการฝึกอบรม เพื่อให้บรรลุตามวัตถุประสงค์ของแต่ละโมดูล 1.3 ระบบการฝึกตามความสามารถ (CBT) หมายถึง ระบบการฝึกที่เกิดจากการนาความรู้ ทักษะ ความสามารถ (Competency) ที่จาเป็นสาหรับการทางานมาเป็นฐาน (Based) ของการจัดฝึกอบรม หรือนามากาหนดเป็นเนื้อหา (Content) และเกณฑ์ก ารประเมิน การฝึก อบรม ทาให้ผู้รับ การฝึก อบรมมีค วามสามารถ ( Competency) ตามเกณฑ์มาตรฐานที่กาหนด และตามความสามารถในการเรียนรู้ของผู้รับการฝึกเป็นหลัก 1.4 ชุดการฝึก หมายถึง สื่อสิ่งพิมพ์ และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ใช้สาหรับเป็นอุปกรณ์ช่วยฝึก โดยแต่ละโมดูลประกอบด้วย คู่มือครูฝึก คู่มือผู้รับการฝึก คู่มือประเมิน สื่อวีดิทัศน์ 1.5 ระบบจัดการฝึกด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer Managed Instruction : CMI) หมายถึง การนาระบบคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศ ซึ่งใช้ในการจัดการเรียนรู้และฝึกอบรม เช่น ระบบรับสมัครออนไลน์ ระบบลงทะเบียน เข้า รับ การฝึก อบรมออนไลน์ ระบบการฝึก อบรมภาคทฤษฎีผ่านอุปกรณ์อิเล็ก ทรอนิก ส์ห รือ อุปกรณ์สื่อสาร แบบพกพา การทดสอบออนไลน์ การบันทึกผลการฝึกอัตโนมัติ และการออกใบวุฒิบัตรอิเล็กทรอนิกส์ เป็นต้น โดยการเข้า ใช้ง านระบบ แบ่งส่ว นการใช้ง านตามความรับผิด ชอบของผู้มีส่ว นได้ส่ว นเสีย ดัง ภาพในหน้า 2 ซึ่งรายละเอียดการใช้งานของผู้เข้ารับการฝึกสามารถดูได้จากลิงค์ mlearning.dsd.go.th/download/files/trainee.pdf

1 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

2 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

2. ผังการฝึกอบรม

3 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

3. วิธีการฝึกอบรม 3.1 ผู้รับการฝึก ทาความเข้าใจการฝึกอบรมในระบบ CBT ซึ่งสามารถฝึกอบรมได้ 3 รูปแบบ คือ 3.1.1 การฝึกอบรมด้วยการส่งมอบสื่อสิ่งพิมพ์ (Offline) 3.1.2 การฝึกอบรมที่ศูนย์ฝึกอบรม (Offline) 3.1.3 การฝึกอบรมด้วยสื่อในระบบออนไลน์ (Online) โดยในแต่ละรูปแบบจะมีรายละเอียดแตกต่างกัน ดังนี้ 3.1.1 การฝึกอบรมด้วยการส่งมอบสื่อสิ่งพิมพ์ (Offline) คือ การฝึก อบรมที่ผู้รับ การฝึกเรียนรู้ภ าคทฤษฎี (ด้า นความรู้) ด้ว ยตนเอง โดยครูฝึก เป็นผู้ส่งมอบ คู่มือผู้รับการฝึกที่พิมพ์จากสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) และวีดิทัศน์ (DVD) แก่ผู้รับการฝึก และฝึกภาคปฏิบัติ (ด้านทักษะ) ที่ศูนย์ฝึกอบรม การฝึกภาคทฤษฎี - ผู้รับการฝึกเรียนรู้ภาคทฤษฎีด้วยตนเอง โดยใช้คู่มือผู้รับการฝึกที่พิมพ์จากสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) และวีดิทัศน์ (DVD) ที่ครูฝึกส่งมอบให้ การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ผู้รับการฝึกทาแบบทดสอบก่อนฝึก (Pre-Test) ลงในกระดาษคาตอบ แล้วส่งกระดาษคาตอบ ให้ครูฝึก เพื่อตรวจและประเมินผล 2) ครูฝึกประเมินแบบทดสอบก่อนฝึก - ถ้าผลการประเมินผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ตามที่กาหนดในเอกสารโครงร่างหลั กสูตร จะมีสิท ธิ์ข อเข้า รับ การฝึก ภาคปฏิบัติ (ถ้า มี) หรือ เข้า รับ การฝึก ในโมดูล ถัด ไป หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลที่ครูฝึกกาหนดได้ - ถ้าผลการประเมินต่ากว่าร้อยละ 70 ให้ครูฝึกมอบหมายให้ผู้รับการฝึกศึกษาเนื้อหา จากสื่อด้วยตนเองจนเข้าใจ จึงทาแบบทดสอบหลังฝึก (Post-Test) 3) ผู้รับการฝึกทาแบบทดสอบหลังฝึก (Post-Test) ลงในกระดาษคาตอบ แล้วส่งให้ครูฝึกตรวจ และประเมินผล โดยใช้หลักเกณฑ์เดียวกับการประเมินแบบทดสอบก่อนฝึก การฝึกภาคปฏิบัติ 1) ผู้รับการฝึกตรวจสอบวันฝึกภาคปฏิบัติที่ศูนย์ฝึกอบรม - หากครูฝึกกาหนดวันฝึกและห้องฝึกโดยระบุชื่อผู้รับการฝึกไว้แล้ว ให้ผู้รับการฝึกมา ฝึกภาคปฏิบัติให้ตรงวันและเวลาที่กาหนด - หากครูฝึกกาหนดวันฝึกและห้องฝึกแต่ไม่ได้ระบุชื่ อผู้รับการฝึก ให้ผู้รับการฝึกลงชื่อ ในวันและเวลาที่ตนเองสะดวก

4 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

2) ผู้รับการฝึกศึกษาใบขั้นตอนปฏิบัติงานก่อนเข้ารับการฝึกภาคปฏิบัติ 3) เมื่อถึงวันฝึกภาคปฏิบัติ ให้ผู้รับการฝึกฟังคาชี้แจงขั้นตอนการปฏิบัติงานจากครูฝึก แล้วฝึก ปฏิบัติงานตามขั้นตอน 4) ผู้รับการฝึกส่งผลงานให้ครูผู้ฝึกประเมินผล และวิเคราะห์ผลงานร่วมกับครูฝึกเพื่อให้มาตรฐาน เป็นไปตามเกณฑ์การประเมิน การประเมินผลภาคปฏิบัติ 1) ผู้รับการฝึกตรวจสอบวันสอบภาคปฏิบัติที่ศูนย์ฝึกอบรม - หากครูฝึกกาหนดวันสอบและห้องสอบโดยระบุชื่อผู้รับการฝึกไว้แล้ว ให้ผู้รับการฝึก มาสอบภาคปฏิบัติให้ตรงวันและเวลาที่กาหนด - หากครูฝึกกาหนดวันสอบและห้องสอบแต่ไม่ได้ระบุชื่อผู้รับการฝึก ให้ผู้รับการฝึกลงชื่อ ในวันและเวลาที่ตนเองสะดวก 2) เมื่อถึงวันสอบภาคปฏิบัติ ให้ผู้รับการฝึกฟังคาชี้แจงจากครูฝึก แล้วสอบปฏิบัติงานตามคาชี้แจง 3) ผู้รับการฝึกส่งผลงานให้ครูฝึกตรวจผลงานและกรอกคะแนนลงในใบประเมินโดยต้องผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 70 ตามที่กาหนดในเอกสารโครงร่างหลักสูตร จึงจะผ่านการฝึกโมดูลนั้น 4) ผู้รับการฝึกดูประกาศผลการทดสอบภาคปฏิบัติจากครูฝึก 3.1.2 การฝึกอบรมที่ศูนย์ฝึกอบรม (Offline) คือ การฝึกอบรมที่ผู้รับการฝึกเรียนรู้ภาคทฤษฎีจากครูฝึก และฝึกภาคปฏิบัติที่ศูนย์ฝึกอบรม การฝึกภาคทฤษฎี - ผู้รับการฝึกเรียนรู้ภาคทฤษฎีจากครูฝึกโดยใช้สื่อสิ่งพิมพ์จากสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) และวีดิทัศน์ (DVD) ที่ศูนย์ฝึกอบรม การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ผู้รับการฝึกทาแบบทดสอบก่อนฝึก (Pre-Test) ลงในกระดาษคาตอบ แล้วส่ งกระดาษคาตอบ ให้ครูฝึกตรวจและประเมินผล 2) ครูฝึกประเมินแบบทดสอบก่อนฝึก - ถ้าผลการประเมินผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ตามที่กาหนดในเอกสารโครงร่างหลั กสูตร ผู้รับการฝึกจะมีสิทธิ์ขอเข้ารับการฝึกภาคปฏิบัติ (ถ้ามี) หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลถัดไป หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลที่ครูฝึกกาหนดได้ - ถ้าผลการประเมินต่ากว่าร้อยละ 70 ให้ผู้รับการฝึกศึกษาเนื้อหาจากสื่อด้วยตนเอง จนเข้าใจ จึงทาแบบทดสอบหลังฝึก (Post-Test) 3) ผู้รับการฝึกทาแบบทดสอบหลังฝึก (Post-Test) ลงในกระดาษคาตอบ แล้วส่งให้ครูฝึกตรวจ และประเมินผล โดยใช้หลักเกณฑ์เดียวกับการประเมินแบบทดสอบก่อนฝึก 5 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

การฝึกภาคปฏิบัติ 1) ผู้รับการฝึกตรวจสอบวันฝึกภาคปฏิบัติที่ศูนย์ฝึกอบรม - หากครูฝึกกาหนดวันฝึกและห้องฝึกโดยระบุชื่อผู้รับการฝึกไว้แล้ว ให้ผู้รับการฝึกมา ฝึกภาคปฏิบัติให้ตรงวันและเวลาที่กาหนด - หากครูฝึกกาหนดวันฝึกและห้องฝึกแต่ไม่ได้ระบุชื่อผู้รับการฝึก ให้ผู้รับการฝึกลงชื่อ ในวันและเวลาที่ตนเองสะดวก 2) ผู้รับการฝึกศึกษาใบขั้นตอนปฏิบัติงานก่อนเข้ารับการฝึกภาคปฏิบัติ 3) เมื่อถึงวันฝึกภาคปฏิบัติ ให้ผู้รับการฝึกฟังคาชี้แจงขั้นตอนการปฏิบัติงานจากครูฝึก แล้วฝึก ปฏิบัติงานตามขั้นตอน 4) ผู้รับการฝึกส่งผลงานให้ครูผู้ฝึกประเมินผล และวิเคราะห์ผลงานร่วมกับครูฝึกเพื่อให้มาตรฐาน เป็นไปตามเกณฑ์การประเมิน การประเมินผลภาคปฏิบัติ 1) ผู้รับการฝึกตรวจสอบวันสอบภาคปฏิบัติที่ศูนย์ฝึกอบรม - หากครูฝึกกาหนดวันสอบและห้องสอบโดยระบุชื่อผู้รับการฝึกไว้แล้ว ให้ผู้รับการฝึก มาสอบภาคปฏิบัติให้ตรงวันและเวลาที่กาหนด - หากครูฝึกกาหนดวันสอบและห้องสอบแต่ไม่ได้ระบุชื่อผู้รับการฝึก ให้ผู้รับการฝึกลงชื่อ ในวันและเวลาที่ตนเองสะดวก 2) เมื่อถึงวันสอบภาคปฏิบัติ ให้ผู้รับการฝึกฟังคาชี้แจงจากครูฝึก แล้วสอบปฏิบัติงานตามคาชี้แจง 3) ผู้รับการฝึกส่งผลงานให้ครูฝึกตรวจผลงานและกรอกคะแนนลงในใบประเมินโดยต้องผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 70 ตามที่กาหนดในเอกสารโครงร่างหลักสูตร จึงจะผ่านการฝึกโมดูลนั้น 4) ผู้รับการฝึกดูประกาศผลการทดสอบภาคปฏิบัติจากครูฝึก 3.1.3 การฝึกอบรมด้วยสื่อในระบบออนไลน์ (Online) คือ การฝึกอบรมที่ผู้รับการฝึกเรียนรู้ภาคทฤษฎีด้วยตนเองผ่านระบบจัดการฝึกด้วยคอมพิวเตอร์ หรือ CMI โดยใช้คู่มือผู้รับการฝึกที่เป็นสื่อออนไลน์ในแอปพลิเคชัน DSD m-Learning และฝึกภาคปฏิบัติที่ศูนย์ฝึกอบรม วิธีดาวน์โหลดแอปพลิเคชัน DSD m-Learning - ผู้รับการฝึกดาวน์โหลดแอปพลิ เคชัน DSD m-Learning ซึ่งวิธีการดาวน์โหลดแอปพลิ เ คชั น สามารถแบ่งออกเป็น 2 ช่องทางตามแต่ละระบบปฏิบัติการ คือ 1) ผู้รับการฝึกที่ใช้เครื่องมือสื่อสารอิเล็กทรอนิกส์ ระบบปฏิบัติการ iOS ค้นหา แอปพลิเคชัน DSD m-Learning ใน App Store จากนั้นกดดาวน์โหลด เพื่อติดตั้งบนเครื่องมือสื่อสาร และเข้าใช้งานโดยกรอก Username และ Password ตามที่เคยลงทะเบียนไว้

6 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

2) ผู้รับการฝึกที่ใช้เครื่องมือสื่ อสารอิเล็ กทรอนิกส์ ระบบปฏิบัติการ Android ค้นหา แอปพลิ เ คชั น DSD m-Learning ใน Google Play Store จากนั้ น กดดาวน์ โ หลด เพื่อติดตั้งบนเครื่องมือสื่อสาร และเข้าใช้งานโดยกรอก Username และ Password ตามทีเ่ คยลงทะเบียนไว้ การฝึกภาคทฤษฎี - ผู้รับการฝึกเรียนรู้ภาคทฤษฎีด้วยตนเอง จากคู่มือผู้รับการฝึก ซึ่งเป็นสื่อออนไลน์บนแอปพลิเคชัน DSD m-Learning การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ผู้รับการฝึกทาแบบทดสอบก่อนฝึก (Pre-Test) ลงในแอปพลิเคชัน โดยระบบจะตรวจและประเมินผล อัตโนมัติ - ถ้าผลการประเมินผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ตามที่กาหนดในเอกสารโครงร่างหลั กสูตร ผู้รับการฝึกจะมีสิทธิ์ขอเข้ารับการฝึกภาคปฏิบัติ (ถ้ามี) หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลถัดไป หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลที่ครูฝึกกาหนดได้ - ถ้าผลการประเมินต่ากว่าร้อยละ 70 ให้ผู้รับการฝึกศึกษาเนื้อหาจากสื่อด้วยตนเอง จนเข้าใจแล้วจึงทาแบบทดสอบหลังฝึก (Post-Test) 2) ผู้รับการฝึกทาแบบทดสอบหลังฝึก โดยใช้หลักเกณฑ์เดียวกับการประเมินแบบทดสอบก่อนฝึก การฝึกภาคปฏิบัติ 1) ผู้รับการฝึกตรวจสอบวันฝึกภาคปฏิบัติในแอปพลิเคชัน - หากครูฝึกกาหนดวันฝึกและห้องฝึกโดยระบุชื่อผู้รับการฝึกไว้แล้ว ให้ผู้รับการฝึกมา ฝึกภาคปฏิบัติให้ตรงวันและเวลาที่กาหนด - หากครูฝึกกาหนดวันฝึกและห้องฝึกแต่ไม่ได้ระบุชื่อผู้รับการฝึก ให้ผู้รับการฝึกลงชื่อ ในวันและเวลาที่ตนเองสะดวก 2) ผู้รับการฝึกศึกษาใบขั้นตอนปฏิบัติงานก่อนเข้ารับการฝึกภาคปฏิบัติ 3) เมื่อถึงวันฝึกภาคปฏิ บัติ ให้ผู้รับการฝึกฟังคาชี้แจงขั้นตอนการปฏิบัติงานจากครูฝึก แล้วฝึก ปฏิบัติงานตามขั้นตอน 4) ผู้รับการฝึกส่งผลงานให้ครูผู้ฝึกประเมินผล และวิเคราะห์ผลงานร่วมกับครูฝึกเพื่อให้มาตรฐาน เป็นไปตามเกณฑ์การประเมิน การประเมินผลภาคปฏิบัติ 1) ผู้รับการฝึกตรวจสอบวันสอบภาคปฏิบัติในแอปพลิเคชัน - หากครูฝึกกาหนดวันสอบและห้องสอบโดยระบุชื่อผู้รับการฝึกไว้แล้ว ให้ผู้รับการฝึก มาสอบภาคปฏิบัติให้ตรงวันและเวลาที่กาหนด

7 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

- หากครูฝึกกาหนดวันสอบและห้องสอบแต่ไม่ได้ระบุชื่อผู้รับการฝึก ให้ผู้รับการฝึกลงชื่อ ในวันและเวลาที่ตนเองสะดวก 2) เมื่อถึงวันสอบภาคปฏิบัติ ให้ผู้รับการฝึกฟังคาชี้แจงจากครูฝึก แล้วสอบปฏิบัติงานตามคาชี้แจง 3) ผู้รับการฝึกส่งผลงานให้ครูฝึกตรวจผลงานและกรอกคะแนนลงในใบประเมินโดยต้องผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 70 ตามที่กาหนดในเอกสารโครงร่างหลักสูตร จึงจะผ่านการฝึกโมดูลนั้น 4) ผู้รับการฝึกดูประกาศผลการทดสอบภาคปฏิบัติในแอปพลิเคชัน 3.2 ครูฝึกชี้แจงรูปแบบการฝึกอบรมทั้ง 3 รูปแบบแก่ผู้รับการฝึก เพื่อทาการตกลงรูปแบบการฝึกอบรมร่วมกับผู้รับการฝึก โดยให้ผู้รับการฝึกเลือกวิธีที่สะดวก 3.3 ครูฝึกวางแผนการฝึกตลอดหลักสูตรร่วมกันกับผู้รับการฝึก

4. อุปกรณ์ช่วยฝึกและช่องทางการเข้าถึงอุปกรณ์ช่วยฝึก ผู้รับการฝึกสามารถเลือกใช้อุปกรณ์ช่วยฝึกได้ 2 รูปแบบ คือ รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ์ (Offline) และรูปแบบระบบจัดการฝึก ด้วยคอมพิวเตอร์ หรือ CMI (Online) โดยมีช่องทางการเข้าถึงอุปกรณ์ช่วยฝึกแต่ละรูปแบบแตกต่างกัน ดังนี้ 4.1 รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ์ (Offline) ประกอบด้วย - คู่มือผู้รับการฝึก เพื่อใช้ศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คู่มือการประเมิน เพื่อใช้ในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน์ (DVD) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 4.2 รูปแบบระบบจัดการฝึกด้วยคอมพิวเตอร์ หรือ CMI (Online) ดังนี้ - คู่มือผู้รับการฝึกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) เพื่อใช้ศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คู่มือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) เพื่อใช้ในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน์ (Online) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ

5. การวัดและประเมินผล 5.1 การประเมินผลภาคทฤษฎี (ด้านความรู้) ประเมินผลจากแบบทดสอบภาคทฤษฎีก่อนฝึก และแบบทดสอบภาคทฤษฎีหลังฝึก โดยกาหนดเกณฑ์การให้คะแนน และการระบุความสามารถด้านความรู้ ดังนี้ เกณฑ์การให้คะแนน ภาคทฤษฎี ตั้งแต่ร้อยละ 70 ขึ้นไป ต่ากว่าร้อยละ 70

เกณฑ์การประเมิน ความสามารถ ผ่าน (C) ไม่ผ่าน (NYC) 8

กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

5.2 การประเมินผลภาคปฏิบัติ (ด้านทักษะ) ประเมินผลจากแบบทดสอบภาคปฏิบัติก่อนฝึก และแบบทดสอบภาคปฏิบัติหลังฝึก โดยกาหนดเกณฑ์การให้คะแนน และการระบุความสามารถด้านทักษะ ดังนี้ เกณฑ์การประเมิน ภาคปฏิบัติ ตั้งแต่ร้อยละ 70 ขึ้นไป หรือทา ได้ตามเกณฑ์การปฏิบัติงาน ต่ากว่าร้อยละ 70 หรือ ไม่ สามารถทาได้ ตามเกณฑ์การปฏิบัติงาน

เกณฑ์การประเมิน ความสามารถ ผ่าน (C) ไม่ผ่าน (NYC)

ผู้รับการฝึกจะได้รับการประเมินผลการฝึกจากครูฝึก โดยจะต้องสามารถปฏิบัติตามความสามารถในแต่ละโมดูลนั้น ๆ ได้ ตามเกณฑ์ที่กาหนด จึงจะถือว่าผ่านการฝึกโมดูลนั้น และเมื่อผ่านการฝึกครบทุกโมดูล จึงจะถือว่าฝึกครบชุดการฝึกนั้น ๆ แล้ว

6. เงื่อนไขการผ่านการฝึก ผู้รับการฝึกที่จะผ่านโมดูลการฝึก ต้องได้รับค่าร้อยละของคะแนนการทดสอบหลังฝึก ภาคทฤษฏี คะแนนรวมไม่ต่ากว่าร้อยละ 70 ภาคปฏิบัติ คะแนนรวมไม่ต่ากว่าร้อยละ 70 โดยคะแนนรวมจะถูกนามาคิดแบ่งเป็นสัดส่วน ภาคทฤษฏี คิดเป็นร้อยละ 20 ภาคปฏิบัติ คิดเป็นร้อยละ 80 เมื่อนาคะแนนมารวมกัน ผู้รับการฝึกจะต้องได้ไม่ต่ากว่าร้อยละ 70 จึงจะผ่านเกณฑ์ ทั้งนี้ ผู้รับการฝึกจะต้องทาคะแนนผ่านเกณฑ์ทั้งภาคทฤษฏีและภาคปฏิบัติ จึงจะผ่านโมดูลการฝึก

9 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

รายละเอียดหลักสูตร หลักสูตรฝึกอบรมฝีมือแรงงานตามความสามารถ สาขาช่างเครื่องปรับอากาศในบ้านและ การพาณิชย์ขนาดเล็ก ระดับ 3 กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน กระทรวงแรงงาน

รหัสหลักสูตร 0920164170203

1. ขอบเขตของหลักสูตร หลักสูตรนี้พัฒ นาขึ้น ให้ครอบคลุมด้านความรู้ ทักษะ และเจตคติแก่ผู้รับการฝึก ในสาขาช่างเครื่อ งปรับ อา กาศใน บ้านและการพาณิช ย์ข นาดเล็ก เพื่อให้มีความรู้ ความสามารถและทัศนคติตามมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติ สาขา ช่างเครื่องปรับอากาศในบ้านและการพาณิชย์ขนาดเล็ก ระดับ 3 ดังนี้ 1.1 มีความรู้ความสามารถเกี่ยวกับสัญลักษณ์สากลของอุปกรณ์ และเขียนแบบร่างเพื่อแสดงแผนผังการติดตั้ ง เครื่องปรับอากาศ 1.2 มีความรู้ความสามารถในการใช้เครื่องมือวัดต่าง ๆ ที่ใช้ในเครื่องปรับอากาศ 1.3 มีความรู้ เกี่ย วกับ การทาความเย็ น ด้ว ยระบบระเหยตรง (Direct Expansion System) และระบบน้าเย็ น (Chilled Water System) 1.4 มีความรู้ เกี่ย วกับ ระบบสารทาความเย็ นท่ว ม (Flooded System) และไดเร็กเอ็กซ์ แพนชั่นวาล์ ว (Direct Expansion Valve) 1.5 มีความรู้เกี่ยวกับองค์ประกอบที่มีผลต่อสมรรถนะของคอนเดนเซอร์ และแฟนคอยล์แบบครีบ 1.6 มีความรู้เกี่ยวกับองค์ประกอบที่มีผลต่อสมรรถนะของคอนเดนเซอร์แบบระบายความร้อนด้วยน้า 1.7 มีความรู้เกี่ยวกับพื้นผิวถ่ายเทความร้อนผ่านชั้นตัวนาความร้อนลาดับต่าง ๆ 1.8 มีความรู้ความสามารถในการแขวนหรือยึดท่อให้มั่นคง 1.9 มีความรู้เกี่ยวกับผลกระทบของสารเจือปนในสารทาความเย็น 1.10 มีความรู้เกี่ยวกับการประหยัดพลังงานไฟฟ้า การคานวณหากาลังไฟฟ้าของมอเตอร์ การคานวณหาความเร็วรอบ ของมอเตอร์ การคานวณค่าใช้จ่ายค่ากระแสไฟฟ้าที่เครื่องปรับอากาศใช้ 1.11 มีความรู้เกี่ยวกับหลักความปลอดภัยในการทางาน 2. ระยะเวลาการฝึก ผู้ รั บ การฝึ กจะได้รั บ การฝึ ก ในภาคทฤษฎี และภาคปฏิบัติ โดยสถาบันพัฒ นาฝี มือแรงงาน หรือ สานักงานพัฒนา ฝีมือแรงงานที่เป็นหน่วยฝึกตามความสามารถใช้ระยะเวลาในการฝึก 50 ชั่วโมง 10 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

เนื่ อ งจากเป็ น การฝึ ก ที่ ขึ้ น อยู่ กั บ พื้ น ฐานความรู้ ทั ก ษะ ความสามารถและความพร้ อ มของผู้ รั บ การฝึ ก แต่ละคน มีผลให้ผู้รับการฝึกจบการฝึกไม่พร้ อมกัน สามารถจบก่อนหรือเกินระยะเวลาที่กาหนดไว้ในหลั กสูตรได้ หน่วยฝึกจึงต้องบริหารระยะเวลาในการฝึกให้เหมาะสมตามความจาเป็น ทั้งนี้ ให้อยู่ในดุลยพินิจของผู้อานวยการ สถาบันพัฒนาฝีมือแรงงาน หรือผู้อานวยการสานักงานพัฒนาฝีมือแรงงานที่เป็นหน่วยฝึกตามความสามารถจะเห็นสมควร 3. หน่วยความสามารถและโมดูลการฝึก จานวนหน่วยความสามารถ 11 หน่วย จานวนโมดูลการฝึก 11 โมดูล 4. วุฒิบัตร 4.1 ชื่อเต็ม : วุฒิบัตรพัฒนาฝีมือแรงงาน สาขา ช่างเครื่องปรับอากาศในบ้านและการพาณิชย์ขนาดเล็ก ระดับ 3 4.2 ชื่อย่อ : วพร. สาขา ช่างเครื่องปรับอากาศในบ้านและการพาณิชย์ขนาดเล็ก ระดับ 3 4.3 ผู้ รั บ การฝึ ก ที่ ผ่ า นการประเมิ น ผลหรื อ ผ่ า นการฝึ ก ครบทุ ก หน่ ว ยความสามารถ จะได้ รั บ วุ ฒิ บั ต ร วพร. สาขา ช่างเครื่องปรับอากาศในบ้านและการพาณิชย์ขนาดเล็ก ระดับ 3

11 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

รายละเอียดโมดูลการฝึกที่ 2 1. ชื่อหลักสูตร

สาขาช่างเครื่องปรับอากาศในบ้านและการพาณิชย์ขนาดเล็ก ระดับ 3 การใช้เครื่องมือวัดต่าง ๆ ที่ใช้ในเครื่องปรับอากาศ

รหัสหลักสูตร 0920164170203 2. ชื่อโมดูลการฝึก รหัสโมดูลการฝึก 09217210 3. ระยะเวลาการฝึก รวม 12 ชั่วโมง 30 นาที ทฤษฎี 2 ชั่วโมง 30 นาที ปฏิบัติ 10 ชั่วโมง 4. ขอบเขตของหน่วย หน่วยการฝึกนี้ พัฒนาขึ้นให้ครอบคลุมด้านความรู้ ทักษะ และเจตคติแก่ผู้รับการฝึกเพื่อให้ การฝึก มีความสามารถ ดังนี้ 1. อธิบายความหมายของอุณหภูมิกระเปาะเปียกและกระเปาะแห้งได้ 2. ใช้เครื่องมือวัดอุณหภูมิได้ 3. อธิบายความหมายของความชื้นของอากาศได้ 4. ใช้เครื่องมือวัดความชื้นของอากาศได้ 5. อธิบายความหมายและการวัดปริมาณความร้อนได้ 6. ใช้เครื่องมือวัดปริมาณความร้อนได้ 7. อธิบายความหมายและการวัดอัตราการไหลของมวล อัตราการไหลของปริมาตร และ ความเร็วได้ 8. ใช้เครื่องมือวัดอัตราการไหลของมวล อัตราการไหลของปริมาตร และความเร็วได้ 9. อธิบายขั้นตอนและหาสาเหตุข้อขัดข้องและข้อผิดพลาดที่คล้ายกัน ของอุปกรณ์ควบคุมแรงดัน และอุปกรณ์ควบคุมอุณหภูมิได้ 10. วิเคราะห์สาเหตุของข้อขัดข้องและข้อผิดพลาดที่คล้ายกันของอุปกรณ์ควบคุมแรงดัน และอุปกรณ์ควบคุมอุณหภูมิ 5. พื้นฐาน ผู้สมัครเข้ารับการฝึกต้องมีคุณสมบัติ ดังต่อไปนี้ ความสามารถของ 1. มี ค วามรู้ พื้ น ฐานสามารถอธิบ ายเกี่ ยวกั บอุ ณ หภูมิ ก ระเปาะเปีย ก กระเปาะแห้ ง ผู้รับการฝึก ความชื้นของอากาศ อัตราการไหลของมวล ปริมาตร ใช้เครื่องมือในการวัดที่เกี่ยวข้ อง วิเคราะห์ปัญหาเกี่ยวกับแรงดัน สาเหตุ และวิธีการการแก้ไขหรือผ่านการฝึกอบรม ที่เกี่ยวข้องจากหน่วยงานหรือสถาบันที่เชื่อถือได้ 2. ผู้รับการฝึกผ่านระดับ 2 มาแล้ว 3. ผู้รับการฝึกผ่านโมดูลที่ 1 มาแล้ว 6. ผลลัพธ์การเรียนรู้ : เมื่อสาเร็จการฝึกในโมดูลนี้แล้วผู้รับการฝึกสามารถปฏิบัติงานโดยมีความรู้ความสามารถและใช้ ระยะเวลาฝึก ดังนี้ 12 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

หัวข้อที่ 1 : อุณหภูมิ

ระยะเวลาฝึก (ชั่วโมง : นาที) ทฤษฎี ปฏิบัติ รวม 0:30 0:30

หัวข้อที่ 2 : ความชื้นของอากาศ

0:30

-

0:30

หัวข้อที่ 3 : ปริมาณความร้อน

0:30

-

0:30

หัวข้อที่ 4 : อัตราการไหล

0:30

-

3:30

หั ว ข้อที่ 5 : สาเหตุของข้อผิ ดพลาดของอุปกรณ์ 0:30 ควบคุ ม แรงดั น และอุ ป กรณ์ ค วบคุม อุณหภูมิ

10:00

10:30

รวมทั้งสิ้น

10:00 12:30

ผลลัพธ์การเรียนรู้ 1. อธิบ ายความหมายของ อุณหภูมิกระเปาะเปีย กและ กระเปาะแห้ งได้ 2. ใช้เครื่องมือวัดอุณหภูมิได้ 3. อธิบายความหมายของ ความชื้นของอากาศได้ 4. ใช้เครื่องมือวัดความชื้น ของอากาศได้ 5. อธิบายความหมายและการวัด ปริมาณความร้อนได้ 6. ใช้เครื่องมือวัดปริมาณ ความร้อนได้ 7. อธิบายความหมายและการวัด อัตราการไหลของมวล อัตราการไหลของปริมาตร และความเร็วได้ 8. ใช้ เ ครื่ อ งมื อ วั ด อั ต ราการไหล ของมวล อัตราการไหล ของปริมาตร และความเร็วได้ 9. อธิบายขั้นตอนและหาสาเหตุ ข้อขัดข้องและข้อผิดพลาด ที่คล้ายกันของอุปกรณ์ ควบคุมแรงดัน และอุปกรณ์ ควบคุมอุณหภูมิได้ 10. วิเคราะห์สาเหตุข้อขัดข้อง และข้อผิดพลาดที่คล้ายกัน ของอุปกรณ์ควบคุมแรงดัน และอุปกรณ์ควบคุมอุณหภูมิ

ชื่อหัวข้อวิชา

2:30 13

กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

รายละเอียดหัวข้อวิชาที่ 1 0921721001 อุณหภูมิ (ใบแนะนา) 1. ผลลัพธ์การเรียนรู้ 1. อธิบายความหมายของอุณหภูมิกระเปาะเปียกและกระเปาะแห้งได้ 2. ใช้เครื่องมือวัดอุณหภูมิได้

2. หัวข้อสาคัญ - อุณหภูมิกระเปาะเปียกและอุณหภูมิกระเปาะแห้ง

3. วิธีการฝึกอบรม การฝึกอบรมสามารถเลือกได้ 3 รูปแบบ คือ 1) การฝึกอบรมด้วยการส่งมอบสื่อสิ่งพิมพ์ 2) การฝึกอบรมที่ศูนย์ฝึกอบรม 3) การฝึกอบรมด้วยสื่อในระบบออนไลน์ ดังรายละเอียดในข้อแนะนาสาหรับผู้รับการฝึก

4. อุปกรณ์ช่วยฝึก อุปกรณ์ช่วยฝึกสามารถเลือกใช้งานได้ 2 รูปแบบ คือ 1. รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ์ (Offline) ประกอบด้วย - คู่มือผู้รับการฝึก เพื่อใช้ศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คู่มือการประเมิน เพื่อใช้ในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน์ (DVD) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 2. รูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ (Online) ประกอบด้วย - คู่มือผู้รับการฝึกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) เพื่อใช้ศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คู่มือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) เพื่อใช้ในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน์ (Online) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ

14 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

5. การรับการฝึกอบรม 1. ผู้รับการฝึกทาแบบทดสอบก่อนฝึก (Post-Test) แล้วส่งให้ครูฝึกหรือระบบประเมินผลตามวิธีที่เลือกฝึกอบรม 1.1 ถ้าผลการประเมินผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ตามที่กาหนดในเอกสารโครงร่างหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเข้ารับการฝึก ภาคปฏิบัติ (ถ้ามี) หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลถัดไป หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลที่ครูฝึกกาหนดได้ 1.2 ถ้าผลการประเมินต่ากว่าร้อยละ 70 ให้ผู้รับการฝึกเข้าฝึกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝึกอบรมภาคทฤษฎี ให้ผู้รับการฝึกศึกษาคู่มือผู้รับการฝึก และฝึกหัดทาใบทดสอบท้ายหัวข้อวิชา 3. เมื่อผู้รับการฝึกศึกษาคู่มือผู้รับการฝึก ประจาโมดูลนั้นเข้าใจแล้ว ให้ทาแบบทดสอบหลังฝึก (Post-Test) แล้วส่งให้ ครูฝึกหรือระบบประเมินผลเช่นเดียวกับแบบทดสอบก่อนฝึก 4. การฝึกอบรมภาคปฏิบัติ ผู้รับการฝึกอ่านและทาความเข้าใจกับใบงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน และเกณฑ์การวัด และประเมินผลงาน 5. ผู้รับการฝึกเข้ารับการฝึกที่ศูนย์ฝึกอบรมที่ลงทะเบียนหรือจองไว้ 6. ผู้รับการฝึกอ่านระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับความปลอดภัยในการฝึกของหน่วยฝึก 7. ผู้รับการฝึกฟังคาชี้แจงลาดับการปฏิบัติงานตามใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน 8. ผู้รับการฝึกปฏิบัติงานตามใบงาน แล้วส่งให้ครูฝึกตรวจประเมินผล 9. ผู้รับการฝึกที่คะแนนผลงานผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 สามารถขอทดสอบเพื่อจบโมดูลที่ฝึกกับครูฝึก

6. การวัดผล 1. ผู้รับการฝึกส่งแบบทดสอบก่อนฝึก ให้ครูฝึกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎีตามวิธีที่เลือกฝึกอบรม 1.1 ถ้าผลการประเมินผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ตามที่กาหนดในเอกสารโครงร่างหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเข้ารับการฝึก ภาคปฏิบัติ (ถ้ามี) หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลถัดไปได้ 1.2 ถ้าผลการประเมินต่ากว่าร้อยละ 70 ให้ครูฝึกมอบหมายให้ผู้รับการฝึกศึกษาเนื้อหาจากสื่อด้วยตนเองจนเข้าใจ จึงทาแบบทดสอบหลังฝึก (Post-Test) 2. ผู้รับการฝึกส่งแบบทดสอบหลังฝึก ให้ครูฝึกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎี โดยใช้หลักเกณฑ์เดียวกับการประเมิน แบบทดสอบก่อนฝึก 3. ผู้รับการฝึกส่งผลงานในการฝึกภาคปฏิบัติให้ครูฝึกตรวจประเมินผลงานของผู้รับการฝึก โดยต้องผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ตามที่กาหนดในเอกสารโครงร่างหลักสูตร จึงจะมีสิทธิ์เข้ารับการฝึกในโมดูลถัดไป หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลที่ ครูฝึกกาหนดได้

15 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

7. บรรณานุกรม วีระศักดิ์ มะโนน้อม และสมชาย วณารักษ์. 2558. เครื่องทาความเย็นและปรับอากาศ. กรุงเทพฯ : เอมพันธ์ ศูนย์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์โลกและดาราศาสตร์. 2558. ความชื้นสัมพัทธ์. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : http://www.lesa.biz/earth/atmosphere/humidity

16 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

ใบข้อมูล หัวข้อวิชาที่ 1 อุณหภูมิ 1. อุณหภูมิกระเปาะเปียกและอุณหภูมิกระเปาะแห้ง อุณหภูมิ หมายถึงความเข้มข้นของความร้อน หรือระดับความเร็วของการเคลื่อนที่ของโมเลกุล ซึ่งสามารถตรวจวัดได้ โดยใช้ เทอร์โมมิเตอร์เป็นอุปกรณ์ที่อาศัยหลักการขยายตัวของของเหลว ประกอบไปด้วยหลอดแก้ว กระเปาะ และปรอทเหลว หน่วยของอุณหภูมิที่เปลี่ยนแปลงไปสามารถวัดได้ 2 ระบบคือ 1) องศาเซลเซียส (oC) เป็นหน่วยวัดอุณหภูมิในระบบเมตริก มีจุดเยือกแข็งที่ 0 oC และจุดเดือดที่ 100 oC 2) องศาฟาเรนไฮต์ (oF) เป็นหน่วยวัดอุณหภูมิในระบอังกฤษและอเมริกัน มีจุดเยือกแข็งที่ 32 oF และจุดเดือด ที่ 212 oF ในการเปลี่ยนหน่วยอุณหภูมิ oC และ oF มีสูตรดังนี้ °c °F − 32 = 5 9

°F =

9 x °C + 32 5

°c =

5(°F − 32) 9

c F − 32 = 5 9

F=

9 x c + 32 5

K = C + 273

R = F + 460

17 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

อุณหภูมินอกจากจะแสดงถึงความร้อน-เย็นแล้ว ยังแสดงถึงพลังงานที่มีอยู่ในอากาศ เนื่องจากอากาศที่ร้อนจะมีพลังงาน สูงกว่าอากาศที่เย็น ซึ่งอุณหภูมิของอากาศแบ่งออกตามลักษณะของการวัด โดยให้มีปัจจัยที่แตกต่างกันบริเวณกระเปาะ หรือส่วนปลายที่ใช้รับอุณหภูมิของเทอร์มิเตอร์แบบปรอท ได้ดังนี้ 1.1 อุณหภูมิกระเปาะแห้ง (Dry Bulb Temperature, Tdb) อุณหภูมิกระเปาะแห้ง คือ อุณหภูมิของอากาศที่วัดและแสดงค่าที่ปรากฎด้วยเทอร์โมมิเตอร์แบบธรรมดา แบบปรอท และแบบดิจิตอล ค่าอุณหภูมิที่วัดได้จากกระเปาะแห้งแสดงถึงอุณหภูมิของสิ่งแวดล้อมรอบ ๆ เทอร์โมมิเตอร์ ในการวัด จะต้องให้กระเปาะอยู่ในที่อากาศถ่ายเทได้สะดวกเพื่อที่อ่านได้ถูกต้องและป้องกันค่าที่ผิดพลาดจากการแผ่รังสี 1.2 อุณหภูมิกระเปาะเปียก (Wet Bulb Temperature, Twb) อุณหภูมิกระเปาะเปียก คือ อุณหภูมิของอากาศที่วัดด้วยเทอร์โมมิเตอร์ โดยใช้ผ้าชุบน้าหุ้มที่กระเปาะ ทาการแกว่ง ในอากาศสักพักหนึ่ง และอ่านค่าอุณหภูมิที่ได้ ความชื้นที่อยู่ในผ้าจะระเหยออกสู่อากาศ โดยความชื้นในผ้าจะดึงความร้อน จากอากาศรอบ ๆ กระเปาะมาเปลี่ย นสถานะจากของเหลวเป็นแก๊ส หากความชื้นที่ผ้ าระเหยมากแสดงว่าอากาศ มีความชื้นน้อย ดังนั้น อุณหภูมิที่อ่านค่าได้จากเทอร์โมมิเตอร์กระเปาะเปียกจะน้อยกว่าอุณหภูมิกระเปาะแห้ง อุณ หภูมิ กระเปาะเปียกจะบ่งบอกถึงปริมาณความชื้นในอากาศ ณ บริเวณที่ทาการวัด ถ้าความชื้นในอากาศน้อย ความแตกต่าง ของอุณหภูมิระหว่างกระเปาะเปียกและกระเปาะแห้งจะมาก หากความชื้นในอากาศมากความแตกต่างของอุณหภูมิ กระเปาะเปียกและกระเปาะแห้งจะน้อย และอุณหภูมิกระเปาะเปียกกับ กระเปาะแห้งจะเท่ากันที่เส้นอากาศอิ่มตัว หรือจุดความชื้นสัมพัทธ์เท่ากับ 100%

ภาพที่ 1.1 เครื่องวัดอุณหภูมิแบบกระเปาะแห้งและกระเปาะเปียก

18 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

ใบทดสอบ คาชี้แจง ให้ผู้รับการฝึกทาเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคาตอบข้อที่ถูกที่สุดเพียงข้อเดียว 1. ข้อใดไม่ใช่ปัจจัยหรือผลที่ได้จากหลักการที่ถูกต้องในการวัดอุณหภูมิกระเปาะเปียก ก. อุณหภูมิบริเวณนั้น ๆ ข. ค่าความชื้นบริเวณโดยรอบ ค. อุณหภูมิลมเป่าของเครื่องปรับอากาศ ง. อุณหภูมิจากกระเปาะเปียกและกระเปาะแห้งเท่ากันที่ จุดความชื้นสัมพัทธ์เท่ากับ 100% 2. ปัจจัยใดที่ส่งผลให้อุณหภูมิของกระเปาะเปียกเปลี่ยนแปลง ก. ความชื้นในอากาศ ข. ปริมาณของน้าในการทดลอง ค. จานวนผู้ทดลอง ง. ชนิดของผ้าที่ทดลอง 3. อุณหภูมิกระเปาะแห้ง คืออะไร ก. อุณหภูมิของน้าที่ใช้ทดลอง ข. ความร้อนที่เป่าออกจากคอนเดนซิ่ง ค. ความร้อนจากแรงดันไฟฟ้า ง. อุณหภูมิของอากาศที่วัด

19 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

กระดาษคาตอบ ข้อ

1 2 3

20 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

รายละเอียดหัวข้อวิชาที่ 2 0921721002 ความชื้นของอากาศ (ใบแนะนา) 1. ผลลัพธ์การเรียนรู้ 1. อธิบายความหมายของความชื้นของอากาศได้ 2. ใช้เครื่องมือวัดความชื้นของอากาศได้

2. หัวข้อสาคัญ 1. ความชื้นสัมบูรณ์ 2. ความชืน้ สัมพัทธ์ 3. อัตราส่วนความชื้น

3. วิธีการฝึกอบรม การฝึกอบรมสามารถเลือกได้ 3 รูปแบบ คือ 1) การฝึกอบรมด้วยการส่งมอบสื่อสิ่งพิมพ์ 2) การฝึกอบรมที่ศูนย์ฝึกอบรม 3) การฝึกอบรมด้วยสื่อในระบบออนไลน์ ดังรายละเอียดในข้อแนะนาสาหรับผู้รับการฝึก

4. อุปกรณ์ช่วยฝึก อุปกรณ์ช่วยฝึกสามารถเลือกใช้งานได้ 2 รูปแบบ คือ 1. รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ์ (Offline) ประกอบด้วย - คู่มือผู้รับการฝึก เพื่อใช้ศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คู่มือการประเมิน เพื่อใช้ในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน์ (DVD) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 2. รูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ (Online) ประกอบด้วย - คู่มือผู้รับการฝึกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) เพื่อใช้ศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คู่มือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) เพื่อใช้ในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน์ (Online) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 21 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

5. การรับการฝึกอบรม 1. ผู้รับการฝึกทาแบบทดสอบก่อนฝึก (Post-Test) แล้วส่งให้ครูฝึกหรือระบบประเมินผลตามวิธีที่เลือกฝึกอบรม 1.1 ถ้าผลการประเมินผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ตามที่กาหนดในเอกสารโครงร่างหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเข้ารับการฝึก ภาคปฏิบัติ (ถ้ามี) หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลถัดไป หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลที่ครูฝึกกาหนดได้ 1.2 ถ้าผลการประเมินต่ากว่าร้อยละ 70 ให้ผู้รับการฝึกเข้าฝึกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝึกอบรมภาคทฤษฎี ให้ผู้รับการฝึกศึกษาคู่มือผู้รับการฝึก และฝึกหัดทาใบทดสอบท้ายหัวข้อวิชา 3. เมื่อผู้รับการฝึกศึกษาคู่มือผู้รับการฝึก ประจาโมดูลนั้นเข้าใจแล้ว ให้ทาแบบทดสอบหลังฝึก (Post-Test) แล้วส่งให้ ครูฝึกหรือระบบประเมินผลเช่นเดียวกับแบบทดสอบก่อนฝึก 4. การฝึกอบรมภาคปฏิบัติ ผู้รับการฝึกอ่านและทาความเข้าใจกับใบงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน และเกณฑ์การวัด และประเมินผลงาน 5. ผู้รับการฝึกเข้ารับการฝึกที่ศูนย์ฝึกอบรมที่ลงทะเบียนหรือจองไว้ 6. ผู้รับการฝึกอ่านระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับความปลอดภัยในการฝึกของหน่วยฝึก 7. ผู้รับการฝึกฟังคาชี้แจงลาดับการปฏิบัติงานตามใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน 8. ผู้รับการฝึกปฏิบัติงานตามใบงาน แล้วส่งให้ครูฝึกตรวจประเมินผล 9. ผู้รับการฝึกที่คะแนนผลงานผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 สามารถขอทดสอบเพื่อจบโมดูลที่ฝึกกับครูฝึก

6. การวัดผล 1. ผู้รับการฝึกส่งแบบทดสอบก่อนฝึก ให้ครูฝึกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎีตามวิธีที่เลือกฝึกอบรม 1.1 ถ้าผลการประเมินผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ตามที่กาหนดในเอกสารโครงร่างหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเข้ารับการฝึก ภาคปฏิบัติ (ถ้ามี) หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลถัดไปได้ 1.2 ถ้าผลการประเมินต่ากว่าร้อยละ 70 ให้ครูฝึกมอบหมายให้ผู้รับการฝึกศึกษาเนื้อหาจากสื่อด้วยตนเองจนเข้าใจ จึงทาแบบทดสอบหลังฝึก (Post-Test) 2. ผู้รับการฝึกส่งแบบทดสอบหลังฝึก ให้ครูฝึกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎี โดยใช้หลักเกณฑ์เดียวกับการประเมิน แบบทดสอบก่อนฝึก 3. ผู้รับการฝึกส่งผลงานในการฝึกภาคปฏิบัติให้ครูฝึกตรวจประเมินผลงานของผู้รับการฝึก โดยต้องผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ตามที่กาหนดในเอกสารโครงร่างหลักสูตร จึงจะมีสิทธิ์เข้ารับการฝึกในโมดูลถัดไป หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลที่ ครูฝึกกาหนดได้

22 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

7. บรรณานุกรม วีระศักดิ์ มะโนน้อม และสมชาย วณารักษ์. 2558. เครื่องทาความเย็นและปรับอากาศ. กรุงเทพฯ : เอมพันธ์ ศูนย์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์โลกและดาราศาสตร์. 2558. ความชื้นสัมพัทธ์. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : http://www.lesa.biz/earth/atmosphere/humidity

23 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

ใบข้อมูล หัวข้อวิชาที่ 2 ความชื้นของอากาศ ความชื้น (Humidity) คือ ละอองไอน้าที่มีอยู่ในอากาศ โดยปริมาณความชื้นที่มีอยู่ในอากาศจะเกิดการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ถ้าความชื้นในอากาศมีมาก การระเหยของเหงื่อจะเกิดได้ช้า ทาให้เรารู้สึกว่าอากาศร้อน หากปริมาณความชื้นที่มีอยู่ในอากาศน้อย การระเหยของเหงื่อจะเกิดขึ้นเร็ว ทาให้เรารู้สึกเย็น ซึ่งค่าที่แสดงปริมาณความชื้นในอากาศ จะมีอยู่ด้วยกัน ดังนี้ 1. ความชื้นสัมพัทธ์ (Relative Humidity) ความชื้น สัม พัท ธ์ หมายถึง อัต ราส่ว นระหว่า งความชื้น ที่มีอ ยู่จ ริง ในอากาศขณะนั้น หารด้ว ยความชื้น อิ่ม ตัว หรือปริ มาณไอน้าสูงสุดที่จะทาให้อากาศอิ่มตัว ณ อุณหภูมิเท่ ากัน จากสูตร ความชื้นสัมพัทธ์ = (ปริมาณไอน้าที่อยู่ในอากาศ/ปริมาณไอน้าที่ทาให้อากาศอิ่มตัว) x 100% = (ความดันไอน้าที่มีอยู่ในอากาศ/ความดันไอน้าของอากาศอิ่มตัว) x 100% 2. ความชื้นสัมบูรณ์ (Absolute Humidity) ความชื้นสัมบูรณ์ หมายถึง ปริมาณไอน้าที่มีอยู่ในอากาศ หรือเรียกว่า ความชื้นสัมบูรณ์ของอากาศ ณ สภาวะหนึ่ง ซึ่งเป็นน้าหนักที่แท้จริงของไอน้าที่มีอยู่ต่อปริมาตรของอากาศ 1 ลูกบาศก์ฟุต ณ สภาวะขณะที่ทาการวัด มีหน่วยเป็น กรัม ต่อลูกบาศก์เมตร 3. อัตราส่วนความชื้น (Humidity Ratio) อัตราส่วนความชื้น หมายถึง สัดส่วนของมวลไอน้าที่มีอยู่ต่อมวลอากาศแห้ง เช่น น้าหนักของละอองไอน้าที่ผสมกับ อากาศแห้ง 1 ปอนด์โดยสามารถเขียนอัตราส่วนความชื้นได้ดังสมการต่อไปนี้

กาหนดให้

ω = อัตราส่วนความชื้น มีหน่วยเป็น กิโลกรัมของไอน้า ต่อ กิโลกรัมของอากาศแห้ง mw = มวลของไอน้า ma = มวลของอากาศแห้ง

การวัดค่าความชื้นสัมพัทธ์ในอากาศ การวัดค่าความชื้นสัมพัทธ์ในอากาศสามารถวัดได้จากเครื่องมือ 2 ชนิดคือ 1) ไฮโกรมิเตอร์แบบกระเปาะเปียก – กระเปาะแห้ง 24 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

ไฮโกรมิ เตอร์ แบบกระเปาะเปี ย ก–กระเปาะแห้ ง เป็ นอุ ปกรณ์ ที่ นิ ยมใช้ วั ดค่ าความชื้ นสั มพั ทธ์ ในอากาศ ตั วอุปกรณ์ จ ะมี เ ทอร์ โ มมิ เ ตอร์ ส องอั น โดยเทอร์ โ มมิ เ ตอร์ อั น ที่ ห นึ่ ง คื อ ด้ า นเทอร์ โ มมิ เ ตอร์ ก ระเปาะแห้ ง ใช้สาหรับ วัดอุณหภูมิอากาศ และอีกอันหนึ่งเป็นเทอร์โ มมิเตอร์กระเปาะเปียก ซึ่งเทอร์โมมิเตอร์ ทั้งสองอัน จะถูกยึดติดกับปลอกที่แข็งแรงสามารถแกว่งหมุนได้ด้วยมือ การหาค่าความชื้นสัมพัทธ์ทาได้โดยอ่านค่าจาก ตารางความชื้นสัมพัทธ์ที่แนบมาให้พร้อมเครื่องวัด

ภาพที่ 2.1 ไฮโกรมิเตอร์แบบกระเปาะเปียก-กระเปาะแห้ง วิธีการตรวจวัด - ตรวจสอบอุปกรณ์เครื่องมือ ให้อยู่ในสภาพที่พร้อมใช้งาน - ยืนในที่ร่มโดยหันหลังให้ดวงอาทิตย์ - หยดน้าสะอาดลงบนผ้าที่หุ้มเทอร์โมมิเตอร์กระเปาะเปียกให้พอชุ่ม - แกว่งไฮโกรมิเตอร์ด้วยความเร็วที่เท่า ๆ กัน นานระยะเวลา 3 นาที เพื่อให้เทอร์โ มมิเตอร์ กระเปาะเปียก-กระเปาะแห้งอ่านค่าอุณหภูมิอากาศ - รอจนกว่าเครื่องวัดจะหยุดหมุนเอง - อ่านค่าอุณหภูมิกระเปาะเปียก-กระเปาะแห้ง อยู่ในระดับของสายตา และบันทึกค่าที่อ่านได้ - อ่านความชื้นสัมพัทธ์โดยการใช้สเกลที่เลื่อนไปมาได้ โดยดูจากบนเครื่องวัด ข้อแนะนาการใช้งาน - อย่ายืน ใกล้ต้น ไม้ห รือตึกจนเกินไป ให้ห่างจากคนอื่น ๆ และกาบังเครื่องมืออย่างเพียงพอ เพื่อไม่ให้แกว่งเครื่องมือไปโดนผู้อื่น 25 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

- ขณะแกว่ง ไฮโกรมิเ ตอร์แ บบกระเปาะเปีย ก-กระเปาะแห้ง พยายามแกว่ง ให้ห่า งจากตัว เพื่อป้องกันความร้อนจากร่างกายซึ่งอาจเปลี่ยนแปลงการอ่านอุณหภูมิ ที่ได้ - ขณะที่ปล่อยให้เครื่องมือวัดหยุดหมุน ไม่ควรใช้มือหรือวัตถุอื่น เข้าช่วยหยุดหมุน 2) ไฮโกรมิเตอร์แบบดิจิตอล ไฮโกรมิเตอร์แบบดิจิ ตอล เป็น เครื่องมือที่ ส ามารถวัดความชื้นสัมพัทธ์ได้ในช่ว งกว้างกว่าไฮโกรมิเตอร์ แบบกระเปาะเปียก–กระเปาะแห้ง การใช้เครื่องมือเริ่มจากกดปุ่มเปิดเครื่อง ระบบจะทาการวัดค่าความชื้น และแสดงค่าที่หน้าจอทันที แต่มีข้อจากัดคือ ราคาค่อนข้างสูง และขั้นตอนการดูแลรักษามากกว่าไฮโกรมิเตอร์ แบบกระเปาะเปียก - กระเปาะแห้ง

ภาพที่ 2.2 ไฮโกรมิเตอร์แบบดิจิตอล

26 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

ใบทดสอบ คาชี้แจง ให้ผู้รับการฝึกทาเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคาตอบข้อที่ถูกที่สุดเพียงข้อเดียว 1. ความชื้นสัมพัทธ์ คืออะไร ก. อัตราส่วนระหว่างความชื้นที่มีอยู่จริงในอากาศ หารด้วยความชื้นอิ่มตัว ข. อัตราส่วนระหว่างอุณหภูมิคอนเดนซิ่งยูนิต หารด้วยอุณหภูมิความเย็นจากแฟนคอยล์ยูนิต ค. อัตราส่วนระหว่างความชื้นที่มีอยู่ในอากาศ หารด้วยความร้อนจากลมเป่า ง. อัตราส่วนระหว่างอุณหภูมิลมกลับ หารด้วยอุณหภูมิลมดูด 2. ปริมาณไอน้าที่มีอยู่จริงในอากาศขณะนั้น เรียกว่าอะไร ก. ไอน้า ข. ความชื้นจริง ค. ความชื้นสัมพัทธ์ ง. ความชื้นค่าประมาณ 3. การวัดค่าความชื้นสัมพัทธ์ในอากาศใช้เครื่องมือใด ก. ไดเออร์ ข. ไฮโกรมิเตอร์ ค. เทอร์โมสตัท ง. โรตามิเตอร์

27 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

กระดาษคาตอบ ข้อ

1 2 3

28 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

รายละเอียดหัวข้อวิชาที่ 3 0921721003 ปริมาณความร้อน (ใบแนะนา) 1. ผลลัพธ์การเรียนรู้ 1. อธิบายความหมายและการวัดปริมาณความร้อนได้ 2. ใช้เครื่องมือวัดปริมาณความร้อนได้

2. หัวข้อสาคัญ 1. ความหมายและชนิดของความร้อน 2. การวัดปริมาณความร้อน

3. วิธีการฝึกอบรม การฝึกอบรมสามารถเลือกได้ 3 รูปแบบ คือ 1) การฝึกอบรมด้วยการส่งมอบสื่อสิ่งพิมพ์ 2) การฝึกอบรมที่ศูนย์ฝึกอบรม 3) การฝึกอบรมด้วยสื่อในระบบออนไลน์ ดังรายละเอียดในข้อแนะนาสาหรับผู้รับการฝึก

4. อุปกรณ์ช่วยฝึก อุปกรณ์ช่วยฝึกสามารถเลือกใช้งานได้ 2 รูปแบบ คือ 1. รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ์ (Offline) ประกอบด้วย - คูม่ ือผู้รับการฝึก เพื่อใช้ศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คู่มือการประเมิน เพื่อใช้ในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน์ (DVD) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 2. รูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ (Online) ประกอบด้วย - คู่มือผู้รับการฝึกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) เพื่อใช้ศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คู่มือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) เพื่อใช้ในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน์ (Online) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ

29 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

5. การรับการฝึกอบรม 1. ผู้รับการฝึกทาแบบทดสอบก่อนฝึก (Post-Test) แล้วส่งให้ครูฝึกหรือระบบประเมินผลตามวิธีที่เลือกฝึกอบรม 1.1 ถ้าผลการประเมินผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ตามที่กาหนดในเอกสารโครงร่างหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเข้ารับการฝึก ภาคปฏิบัติ (ถ้ามี) หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลถัดไป หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลที่ครูฝึกกาหนดได้ 1.2 ถ้าผลการประเมินต่ากว่าร้อยละ 70 ให้ผู้รับการฝึกเข้าฝึกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝึกอบรมภาคทฤษฎี ให้ผู้รับการฝึกศึกษาคู่มือผู้รับการฝึก และฝึกหัดทาใบทดสอบท้ายหัวข้อวิชา 3. เมื่อผู้รับการฝึกศึกษาคู่มือผู้รับการฝึก ประจาโมดูลนั้นเข้าใจแล้ว ให้ทาแบบทดสอบหลังฝึก (Post-Test) แล้วส่งให้ ครูฝึกหรือระบบประเมินผลเช่นเดียวกับแบบทดสอบก่อนฝึก 4. การฝึกอบรมภาคปฏิบัติ ผู้รับการฝึกอ่านและทาความเข้าใจกับใบงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน และเกณฑ์การวัด และประเมินผลงาน 5. ผู้รับการฝึกเข้ารับการฝึกที่ศูนย์ฝึกอบรมที่ลงทะเบียนหรือจองไว้ 6. ผู้รับการฝึกอ่านระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับความปลอดภัยในการฝึกของหน่วยฝึก 7. ผู้รับการฝึกฟังคาชี้แจงลาดับการปฏิบัติงานตามใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน 8. ผู้รับการฝึกปฏิบัติงานตามใบงาน แล้วส่งให้ครูฝึกตรวจประเมินผล 9. ผู้รับการฝึกที่คะแนนผลงานผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 สามารถขอทดสอบเพื่อจบโมดูลที่ฝึกกับครูฝึก

6. การวัดผล 1. ผู้รับการฝึกส่งแบบทดสอบก่อนฝึก ให้ครูฝึกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎีตามวิธีที่เลือกฝึกอบรม 1.1 ถ้าผลการประเมินผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ตามที่กาหนดในเอกสารโครงร่างหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเข้ารับการฝึก ภาคปฏิบัติ (ถ้ามี) หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลถัดไปได้ 1.2 ถ้าผลการประเมินต่ากว่าร้อยละ 70 ให้ครูฝึกมอบหมายให้ผู้รับการฝึกศึกษาเนื้อหาจากสื่อด้วยตนเองจนเข้าใจ จึงทาแบบทดสอบหลังฝึก (Post-Test) 2. ผู้รับการฝึกส่งแบบทดสอบหลังฝึก ให้ครูฝึกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎี โดยใช้หลักเกณฑ์เดียวกับการประเมิน แบบทดสอบก่อนฝึก 3. ผู้รับการฝึกส่งผลงานในการฝึกภาคปฏิบัติให้ครูฝึกตรวจประเมินผลงานของผู้รับการฝึก โดยต้องผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ตามที่กาหนดในเอกสารโครงร่างหลักสูตร จึงจะมีสิทธิ์เข้ารับการฝึกในโมดูลถัดไป หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลที่ ครูฝึกกาหนดได้

7. บรรณานุกรม วีระศักดิ์ มะโนน้อม และสมชาย วณารักษ์. 2558. เครื่องทาความเย็นและปรับอากาศ. กรุงเทพฯ : เอมพันธ์ นุกูล แก้วมะหิงษ์. 2558. เครื่องปรับอากาศ (ภาคทฤษฎี). กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์ศูนย์ส่งเสริมอาชีวะ. 30 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

ใบข้อมูล หัวข้อวิชาที่ 3 ความร้อน 1. ความหมายและชนิดของความร้อน ความร้อ น (Heat) หมายถึง ผลที่เ กิด จากการเคลื่อ นที่ข องโมเลกุล ทิศ ทาง และอัต ราการไหลของความร้อ น โดยความร้อนจะเคลื่อนที่จากอุณหภูมิสูงไปสู่อุณหภูมิต่า และเคลื่อนที่ไปในทิศทางเดียวกัน จนกระทั่งมีอุณหภูมิที่เท่ากัน จึงจะหยุดเคลื่อนที่ โดยสามารถแบ่งชนิดของความร้อน ได้ดังนี้ 1.1 ความร้อนจาเพาะ (Specific Heat) ความร้อนจาเพาะ คือ ปริมาณความร้อนที่ทาให้วัตถุ 1 ปอนด์ มีอุณหภูมิเปลี่ยนไป 1 องศาฟาเรนไฮต์ เช่น ความร้อนจาเพาะของอะลูมิเนียม เท่ากับ 0.226 บีทียู/ปอนด์/องศาฟาเรนไฮต์ เป็นต้น สสารที่มีความร้อนจาเพาะ น้อยจะต้องการปริมาณความร้อนในการเพิ่มอุณหภูมิน้อย และเย็นตัวได้เร็ว ยกตัวอย่าง เช่น น้าและทองแดง ความร้อน จาเพาะในหน่วย Kcal/kg°C (กิโลแคลต่อกิโลกรัม องศาเซลเซียส) มีค่า เท่ากับ 1 และ 0.99 ตามลาดับ ดังนั้น หากให้ ความร้อนกับน้าและทองแดงเท่า ๆ กัน จะสังเกตว่าทองแดงจะร้อนมากกว่าน้า และเมื่อหยุดให้อุณหภูมิ ทองแดงจะเย็นตัว เร็วกว่าน้า 1.2 ความร้อนสัมผัส (Sensible Heat) ความร้อนสัมผัส คือ ความร้อนจานวนหนึ่งที่ให้กับสสาร แล้วทาให้สสารนั้นมีอุณหภูมิเพิ่มขึ้น แต่สถานะยังคงเดิม สามารถรู้สึกได้ด้วยการสัมผัส และวัดได้โดยใช้เทอร์โมมิเตอร์ ซึง่ ความร้อนสัมผัสแบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ 1) ความร้อนสัมผัสของของแข็ง เมื่อของแข็งได้รับความร้อน อุ ณหภูมิจะเกิดการเคลื่อนไหว และเมื่อได้รับ อุณหภูมิสูงขึ้นจนถึงจุดหลอมละลาย 2) ความร้อนสัมผัสของของเหลว ของเหลวเมื่อได้รับความร้อน จะมีอุณหภูมิสูงขึ้นจนกระทั่งไม่สามารถ คงสภาพเดิมได้จะกลายเป็นสถานะไอ 1.3 ความร้อนแฝง (Latent Heat) ความร้อนแฝง คือ การเปลี่ยนสถานะใด ๆ ของสสารโดยอุณหภูมิไม่เปลี่ยนแปลง จะต้องใช้ความร้อนปริมาณหนึ่ง ในการเปลี่ยนสภาพ เช่น จากของแข็งเป็นของเหลวหรือจากของเหลวเป็นแก๊ส เป็นต้น ความร้อนแฝงแบ่งได้ 2 ชนิดคือ 1) ความร้อนแฝงของการหลอมละลาย เมื่อวัตถุของแข็งได้รับความร้อนจนถึงจุดที่ไม่สามารถคงสภาพเดิมได้ จะเปลี่ยนสภาพเป็นของเหลว 2) ความร้อนแฝงของการกลายเป็นไอ เมื่อของเหลวได้รับความร้อนเพิ่มขึ้นจนถึงจุด ๆ หนึ่ง จะกลายเป็นไอ 31 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

1.4 ความร้อนยวดยิ่ง (Superheat) ความร้อนยวดยิ่ง เป็นความร้อนที่ให้กับสสาร หลังจากที่สสารจะเดือดกลายเป็นไออิ่มตัว ในระบบเครื่องทาความเย็น น้ายาที่เป็นของเหลวจะถูกฉีดเข้าไปยังอีวาพอเรเตอร์ และระเหยกลายเป็นไอที่อุณหภูมิอิ่มตัว หลังจากจุดนี้น้ายาจะเป็นแก๊ส และถูกดูดเข้าคอมเพรสเซอร์ น้ ายาที่เป็ น แก๊ส จะมีอุณหภู มิต่า หากกระทบกับท่อ หรืออากาศภายนอก (รอบท่ อ SuctionLine) จะทาให้แก๊สมีอุณหภูมิสูงขึ้น ความร้อนที่ทาให้แก๊สมีอุณหภูมิสูงขึ้นเรียกว่า “Superheat” 1.5 ความร้อนยวดยิ่งลด (Desuperheat) ความร้อนยวดยิ่งลด เป็น ความร้อนที่ลดลงจากไอดงหรือไอน้าที่มีสภาวะเหนือจุดอิ่มตัวขึ้นไป จนถึงไออิ่มตัว ก่อนที่จะทาให้เกิดการกลั่นตัว ในเครื่องทาความเย็นระบบ Desuperheat จะเกิดขึ้นหลังจากที่คอมเพรสเซอร์อัดแก๊ส เข้าคอนเดนเซอร์ ในช่วงที่อยู่ระหว่างท่อ Discharge Line กับ คอนเดนเซอร์ แก๊สจะมีอุณหภูมิลดลงเนื่องจากอากาศ รอบท่อ Discharge Line ความร้อนที่ถูกดูดออกในช่วงนี้ เรียกว่า “Desuperheat” 1.6 ซับคูล (Subcooled) เกิดขึ้น เมื่อแก๊ส กลั่น ตัวเป็น ของเหลว และอุณหภูมิของของเหลวเป็นอุณหภูมิอิ่มตัว ถ้าเราลดอุณหภูมิอิ่มตัว ของของเหลวให้ต่าลง แต่ยังสูงกว่าอุณหภูมิที่จุดหลอมละลายแล้ว เราเรียกของเหลวนี้ว่า ของเหลวที่เย็นกว่าอุณหภูมิอิ่มตัว การซับคูลในระบบทาความเย็น จะกระทาเมื่อสารทาความเย็นที่เป็นของเหลวออกมาจากคอนเดนเซอร์แล้ว และเป็น สารทาความเย็นที่มีอุณหภูมิอิ่มตัวอยู่ ถ้าเราลดอุณหภูมิของสารทาความเย็นนี้ให้ต่าลงแล้ว จะทาให้สารทาความเย็นนี้ สามารถไปดูดความร้อนในอีวาพอเรเตอร์ได้มาก ทาให้ประสิทธิภาพของเครื่องทาความเย็นดีขึ้น 2. การวัดปริมาณความร้อนด้วยการคานวณ การหาปริมาณความร้อนที่ทาให้สสารเกิดการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิ ใช้วิธีการคานวณจากค่าความจุความร้อนจาเพาะ โดยศึกษาจากตัวอย่างดังต่อไปนี้ ตัวอย่าง ทองคาหนัก 10 กรัม มีอุณหภูมิ 25°C ต้องการทาให้อุณหภูมิของทองคาเพิ่มขึ้น 5 °C จะต้องใช้ความร้อนกี่จูล กาหนดให้ ค่าความจุความร้อนจาเพาะของทองคา เท่ากับ 0.129 J/g°C จากสูตร Q = mc∆T = (10g) (0.129 J/g°C) (5 °C) = 6.45 J ดังนั้น ต้องให้ความร้อนแก่ทองคา 6.45 J เพื่อทาให้อุณหภูมิของทองคาเพิ่มขึ้น 5 °C 32 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

ใบทดสอบ คาชี้แจง ให้ผู้รับการฝึกทาเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคาตอบข้อที่ถูกที่สุดเพียงข้อเดียว 1. กาหนดให้ เหล็กและแก้วมีความจุความร้อนจาเพาะ เท่ากับ 0.11 และ 0.20 Kcal/kg-°C ตามลาดับ ถ้าให้ความร้อน เท่ากันกับวัตถุทั้งสอง ผลลัพธ์จะเป็นอย่างไร ก. แก้วละลาย ข. เหล็กละลาย ค. แก้วร้อนกว่าเหล็ก ง. เหล็กร้อนกว่าแก้ว 2. ความร้อนสัมผัสทาให้วัตถุสถานะของแข็งเปลี่ยนเป็นสถานะใด ก. ของเหลว ข. ของแข็ง ค. ระเหย ง. ระเหิด 3. น้า 20 กรัม มีอุณหภูมิ 10 องศาเซลเซียส ต้องการทาให้น้ามีอุณหภูมิเพิ่มขึ้น 20 องศาเซลเซียส จะต้องใช้ความร้อนกี่จูล กาหนดให้ ค่าความจุความร้อนจาเพาะของน้า เท่ากับ 1 Kcal/kg-°Cความชื้นสัมพัทธ์ คืออะไร ก. -20 Kcal/kg-°C ข. 1 Kcal/kg-°C ค. 56 Kcal/kg-°C ง. -45 Kcal/kg-°C

33 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

กระดาษคาตอบ ข้อ

1 2 3

34 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

รายละเอียดหัวข้อวิชาที่ 4 0921721004 อัตราการไหล (ใบแนะนา) 1. ผลลัพธ์การเรียนรู้ 1. อธิบายความหมายและการวัดอัตราการไหลของมวล อัตราการไหลของปริมาตร และความเร็วได้ 2. ใช้เครื่องมือวัดอัตราการไหลของมวล อัตราการไหลของปริมาตร และความเร็วได้

2. หัวข้อสาคัญ 1. 2. 3. 4.

อัตราไหลของมวล อัตราไหลของปริมาตร การวัดอัตราการไหล ความเร็ว

3. วิธีการฝึกอบรม การฝึกอบรมสามารถเลือกได้ 3 รูปแบบ คือ 1) การฝึกอบรมด้วยการส่งมอบสื่อสิ่งพิมพ์ 2) การฝึกอบรมที่ศูนย์ฝึกอบรม 3) การฝึกอบรมด้วยสื่อในระบบออนไลน์ ดังรายละเอียดในข้อแนะนาสาหรับผู้รับการฝึก

4. อุปกรณ์ช่วยฝึก อุปกรณ์ช่วยฝึกสามารถเลือกใช้งานได้ 2 รูปแบบ คือ 1. รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ์ (Offline) ประกอบด้วย - คู่มือผู้รับการฝึก เพื่อใช้ศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คู่มือการประเมิน เพื่อใช้ในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน์ (DVD) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 2. รูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ (Online) ประกอบด้วย - คู่มือผู้รับการฝึกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) เพื่อใช้ศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คู่มือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) เพื่อใช้ในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน์ (Online) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 35 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

5. การรับการฝึกอบรม 1. ผู้รับการฝึกทาแบบทดสอบก่อนฝึก (Post-Test) แล้วส่งให้ครูฝึกหรือระบบประเมินผลตามวิธีที่เลือกฝึกอบรม 1.1 ถ้าผลการประเมินผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ตามที่กาหนดในเอกสารโครงร่างหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเข้ารับการฝึก ภาคปฏิบัติ (ถ้ามี) หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลถัดไป หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลที่ครูฝึกกาหนดได้ 1.2 ถ้าผลการประเมินต่ากว่าร้อยละ 70 ให้ผู้รับการฝึกเข้าฝึกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝึกอบรมภาคทฤษฎี ให้ผู้รับการฝึกศึกษาคู่มือผู้รับการฝึก และฝึกหัดทาใบทดสอบท้ายหัวข้อวิชา 3. เมื่อผู้รับการฝึกศึกษาคู่มือผู้รับการฝึก ประจาโมดูลนั้นเข้าใจแล้ว ให้ทาแบบทดสอบหลังฝึก (Post-Test) แล้วส่งให้ ครูฝึกหรือระบบประเมินผลเช่นเดียวกับแบบทดสอบก่อนฝึก 4. การฝึกอบรมภาคปฏิบัติ ผู้รับการฝึกอ่านและทาความเข้าใจกับ ใบงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน และเกณฑ์การวัด และประเมินผลงาน 5. ผู้รับการฝึกเข้ารับการฝึกที่ศูนย์ฝึกอบรมที่ลงทะเบียนหรือจองไว้ 6. ผู้รับการฝึกอ่านระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับความปลอดภัยในการฝึกของหน่วยฝึก 7. ผู้รับการฝึกฟังคาชี้แจงลาดับการปฏิบัติงานตามใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน 8. ผู้รับการฝึกปฏิบัติงานตามใบงาน แล้วส่งให้ครูฝึกตรวจประเมินผล 9. ผู้รับการฝึกที่คะแนนผลงานผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 สามารถขอทดสอบเพื่อจบโมดูลที่ฝึกกับครูฝึก

6. การวัดผล 1. ผู้รับการฝึกส่งแบบทดสอบก่อนฝึก ให้ครูฝึกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎีตามวิธีที่เลือกฝึกอบรม 1.1 ถ้าผลการประเมินผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ตามที่กาหนดในเอกสารโครงร่างหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเข้ารับการฝึก ภาคปฏิบัติ (ถ้ามี) หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลถัดไปได้ 1.2 ถ้าผลการประเมินต่ากว่าร้อยละ 70 ให้ครูฝึกมอบหมายให้ผู้รับการฝึกศึกษาเนื้อหาจากสื่อด้วยตนเองจนเข้าใจ จึงทาแบบทดสอบหลังฝึก (Post-Test) 2. ผู้รับการฝึกส่งแบบทดสอบหลังฝึก ให้ครูฝึกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎี โดยใช้หลักเกณฑ์เดียวกับการประเมิน แบบทดสอบก่อนฝึก 3. ผู้รับการฝึกส่งผลงานในการฝึกภาคปฏิบัติให้ครูฝึกตรวจประเมินผลงานของผู้รับการฝึก โดยต้องผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ตามที่กาหนดในเอกสารโครงร่างหลักสูตร จึงจะมีสิทธิ์เข้ารับการฝึกในโมดูลถัดไป หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลที่ ครูฝึกกาหนดได้

7. บรรณานุกรม สมศักดิ์ วงษ์ประดับไชย. 2557. การวัดอัตราไหลของของเหลว. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : http://somsak.me.engr.tu.ac.th/download/flow%20rate.pdf 36 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

ใบข้อมูล หัวข้อวิชาที่ 4 อัตราการไหล อัตราการไหลแบ่งได้เป็น 2 ประเภทหลักคือ 1. อัตราไหลของมวล (Mass Flowrate) อัตรามวลไหล หมายถึง มวลของของไหลซึ่งไหลผ่านท่อหรือช่องการไหลใด ๆ ในหนึ่งหน่วยเวลา 2. อัตราไหลของปริมาตร (Volume Flowrate, Q) อัตราการไหลของปริมาตร หมายถึง ปริมาตรของของไหลซึ่งไหลผ่านท่อหรือช่องการไหลใด ๆ ในหนึ่งหน่วยเวลา หรือของไหลที่ไหลผ่านพื้นที่หน้าตัดในแนวตั้งฉาก (A) ด้วยความเร็วค่าหนึ่ง (V) สามารถแสดงความสัมพันธ์ดงั สมการต่อไปนี้ Q = VA

หน่วย m2/s

3. ความเร็ว คืออัตราการเปลี่ยนแปลงของตาแหน่งต่อหน่วยเวลา มีหน่วยเป็น เมตรต่อวินาที (m/s) ในหน่วยเอสไอ ความเร็วเป็น ปริมาณเวกเตอร์ซึ่งประกอบด้วยอัตราเร็วและทิศทาง ขนาดของความเร็วคือ อัตราเร็วซึ่งเป็นปริมาณสเกลาร์ ตัวอย่างเช่น "5 เมตรต่อวิน าที" เป็ น อัตราเร็ ว ในขณะที่ "5 เมตรต่อวินาทีไปทางทิ ศตะวันออก" เป็นความเร็ว ความเร็ว เฉลี่ ย (v) ของวัต ถุที ่เคลื่ อนที่ไปด้ว ยการกระจั ด ขนาดหนึ่ ง (∆x) ในช่ว งเวลาหนึ่ง (∆t) อัตราการเปลี่ ยนแปลงของความเร็ ว คื อ ความเร่ง กล่าวคือการอธิบายว่าอัตราเร็ว และทิศทางของวัตถุเปลี่ยนไปอย่างไรในช่วงเวลาหนึ่ง และเปลี่ยนไปอย่ างไร ณ เวลาหนึ่ ง อย่ างไรก็ ตามสาหรับ บทเรี ย นนี้ ค วามเร็ว ที่ จ ะเน้ นย้าคื อ ความเร็ว ที่ เ กิ ดจากอัต ราการไหลของสารในท่ อ ซึ่งมี เครื่องมือวัดที่มีมาตรฐาน 4. การวัดอัตราการไหล เครือ่ งมือวัดอัตราการไหล สามารถวัดโดยใช้เครื่องมือดังต่อไปนี้ 1) Rotameter Rotameter คือ เครื่องมือวัดอัตราการไหลของของเหลวหรือแก๊ส ซึ่งอาศัยการไหลผ่านท่อปิด ที่บรรจุทุ่น (Float) ไว้ภายใน มีพื้นที่หน้าตัดไม่สม่าเสมอ โดยมีห ลัก การทางาน คือ อาศัยความสมดุล ของแรงที่ก ระทา ต่อทุ่นเมื่อมีของไหลไหลผ่านท่อดังกล่าว คือ แรงโน้มถ่วงของโลก (Gravity, FG) แรงลอยตัว (Buiyancy, FB) และแรงต้านการไหล (Drag, F D) สามารถแสดงอัตราการไหลของของไหล เมื่อไหลผ่านท่อที่มีความสัมพันธ์ 37 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

กับ พื้น ที่ห น้ าตัดของวงแหวนระหว่างท่อและทุ่น ซึ่ งจะแปรผั นตามระดั บความสูงของทุ่นเมื่ออัตราการไหล เปลี่ยนไป

ภาพที่ 4.1 Rotameter 2) Pitot Tube Pitot Tube คือ เครื่องมือวัดความเร็วของของไหล ซึง่ อาศัยผลต่างของความดันที่เกิดขึ้น เมื่อมีของไหลผ่านท่อ พีโทด์

ภาพที่ 4.2 Pitot Tube โดยมีห ลัก การทางาน คือ อาศัย การตรวจวัด ผลต่า งความดัน ของของไหล ระหว่า งค่า ความดัน รวม (Total Pressure, pt) และค่าความดันสถิต (Static Pressure, ps) ได้ผ ลลั พธ์ในรูปของความดันไดนามิค (Dynamic Pressure, pd) จะมีความสัมพันธ์กับค่าความเร็วการไหลของของไหล การวัดอัตราการไหลของของไหล ภายในท่อกลม โดยท่อพีไทด์ ทาได้โ ดยการวัดค่าความเร็วที่ตาแหน่งกึ่งกลางท่อและคานวณหาค่าอัตราการไหล ได้จากสมการ Q = A x 0.84 VCL กาหนดให้

Q คือ พื้นที่หน้าตัดของท่อ VCL คือ ความเร็วที่กึ่งกลางท่อ 38 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

3) Orifice/Venturi Orifice หรือ Venturi คือ เครื่องมือวัดอัตราการไหลของของไหล ซึง่ อาศัยการตรวจวัดความดันสูญเสีย เมื่อของไหลไหลผ่านสิ่งกีดขวาง

ภาพที่ 4.3 Venturi Meter โดยมีห ลักการทางานคือ เมื่อไหลผ่านสิ่งกีดขวาง (โดยการลดพื้นที่หน้าตัดหรือช่องการไหล) ทาให้เกิด ความดันสูญเสียขึ้น เนื่องจากการเปลี่ยนทิศทางและความเร็วของการไหล หากตรวจวัดผลต่างความดันที่เกิดขึ้นได้ จะสามารถคานวณหาอัตราการไหล ซึ่งสัมพันธ์กับความดันสูญเสียที่เกิดขึ้น ดังสมการต่อไปนี้ หน่วย m3/s 4) Turbine Flow Meter Turbine Flow Meter คือ เครื่องมือวัดอัตราการไหลของของไหล ซึ่งอาศัยการตรวจวัดรอบการหมุนของใบพัด ภายในมิเตอร์

ภาพที่ 4.4 Turbine Flow Meter 39 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

โดยมีหลักการทางาน คือ อาศัยการจับสัญญาณความเร็วรอบการหมุนของใบพัด (Impellor) ที่ถูกติดตั้งไว้ ภายในตัวเรือนของมิเตอร์ลาเจ็ต (Jet) ของไหลจะถ่ายเทโมเมนตัมเชิงมุม ส่งผลให้ใบพัดหมุนไปตามกระแสของลาเจ็ต ดังนั้น ความเร็วรอบการหมุนของใบพัด และอัตราการไหลจะมีความสัมพันธ์กัน ดังสมการ Q = Kω กาหนดให้

K คือ ค่าคงที่ของมิเตอร์ คือ ค่าความเร็วเชิงมุมของใบพัด (ความเร็วรอบการหมุน)

40 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

ใบทดสอบ คาชี้แจง ให้ผู้รับการฝึกทาเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคาตอบข้อที่ถูกที่สุดเพียงข้อเดียว 1. อัตรามวลไหล มีความหมายอย่างไร ก. มวลของของไหลซึ่งไหลผ่านท่อหรือช่องการไหลใด ๆ ในหนึ่งหน่วยเวลา ข. มวลของของไหลซึ่งไหลผ่านท่อหรือช่องการไหลใด ๆ ในหนึ่งช่วงวัน ค. ปริมาตรของไหลซึ่งไหลผ่านท่อหรือช่องการไหลใด ๆ ในหนึ่งช่วงวัน ง. ปริมาตรของไหลซึ่งไหลผ่านท่อหรือช่องการไหลใด ๆ ในหนึ่งหน่วยเวลา 2. อัตราการไหลของปริมาตร มีความหมายอย่างไร ก. ปริมาตรของของไหล ซึ่งไหลผ่านท่อหรือช่องการไหลใด จากการหารค่าจาเพาะ ข. ปริมาตรของของไหล ซึ่งไหลผ่านท่อหรือช่องการไหลใด ๆ ในหนึ่งหน่วยเวลา ค. มวลของของไหล ซึ่งไหลผ่านท่อหรือช่องการไหลใด จากการหารค่าจาเพาะ ง. มวลของของไหล ซึ่งไหลผ่านท่อหรือช่องการไหลใด จากการหารค่าความชื้นสัมพัทธ์ 3. ข้อใดไม่ใช่หลักการที่เกี่ยวข้องกับ Rotameter ก. แรงโน้มถ่วงของโลก ข. แรงต้านการไหล ค. แรงลอยตัว ง. แรงดูด

41 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

กระดาษคาตอบ ข้อ

1 2 3

42 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

รายละเอียดหัวข้อวิชาที่ 5 0921721005 สาเหตุของข้อผิดพลาดของอุปกรณ์ควบคุมแรงดัน และอุปกรณ์ควบคุมอุณหภูมิ (ใบแนะนา) 1. ผลลัพธ์การเรียนรู้ 1. อธิบายขั้นตอนและหาสาเหตุข้อขัดข้องและข้อผิดพลาดที่คล้ายกันของอุปกรณ์ควบคุมแรงดัน และอุปกรณ์ควบคุม อุณหภูมิได้ 2. วิเคราะห์สาเหตุข้อขัดข้องและข้อผิดพลาดที่คล้ายกันของอุปกรณ์ควบคุมแรงดัน และอุปกรณ์ควบคุมอุณหภูมิ

2. หัวข้อสาคัญ 1. เหตุขัดข้องจากอุปกรณ์ควบคุมแรงดัน 2. เหตุขัดข้องจากอุปกรณ์ควบคุมอุณหภูมิ

3. วิธีการฝึกอบรม การฝึกอบรมสามารถเลือกได้ 3 รูปแบบ คือ 1) การฝึกอบรมด้วยการส่งมอบสื่อสิ่งพิมพ์ 2) การฝึกอบรมที่ศูนย์ฝึกอบรม 3) การฝึกอบรมด้วยสื่อในระบบออนไลน์ ดังรายละเอียดในข้อแนะนาสาหรับผู้รับการฝึก

4. อุปกรณ์ช่วยฝึก อุปกรณ์ช่วยฝึกสามารถเลือกใช้งานได้ 2 รูปแบบ คือ 1. รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ์ (Offline) ประกอบด้วย - คู่มือผู้รับการฝึก เพื่อใช้ศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คู่มือการประเมิน เพื่อใช้ในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน์ (DVD) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 2. รูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ (Online) ประกอบด้วย - คู่มือผู้รับการฝึกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) เพื่อใช้ศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คู่มือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) เพื่อใช้ในการทดสอบ 43 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

- สื่อวีดิทัศน์ (Online) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ

5. การรับการฝึกอบรม 1. ผู้รับการฝึกทาแบบทดสอบก่อนฝึก (Post-Test) แล้วส่งให้ครูฝึกหรือระบบประเมินผลตามวิธีที่เลือกฝึกอบรม 1.1 ถ้าผลการประเมินผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ตามที่กาหนดในเอกสารโครงร่างหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเข้ารับการฝึก ภาคปฏิบัติ (ถ้ามี) หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลถัดไป หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลที่ครูฝึกกาหนดได้ 1.2 ถ้าผลการประเมินต่ากว่าร้อยละ 70 ให้ผู้รับการฝึกเข้าฝึกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝึกอบรมภาคทฤษฎี ให้ผู้รับการฝึกศึกษาคู่มือผู้รับการฝึก และฝึกหัดทาใบทดสอบท้ายหัวข้อวิชา 3. เมื่อผู้รับการฝึกศึกษาคู่มือผู้รับการฝึกประจาโมดูลนั้นเข้าใจแล้ว ให้ทาแบบทดสอบหลังฝึก (Post-Test) แล้วส่งให้ ครูฝึกหรือระบบประเมินผลเช่นเดียวกับแบบทดสอบก่อนฝึก 4. การฝึกอบรมภาคปฏิบัติ ผู้รับการฝึกอ่านและทาความเข้าใจกับใบงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน และเกณฑ์การวัด และประเมินผลงาน 5. ผู้รับการฝึกเข้ารับการฝึกที่ศูนย์ฝึกอบรมที่ลงทะเบียนหรือจองไว้ 6. ผู้รับการฝึกอ่านระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับความปลอดภัยในการฝึกของหน่วยฝึก 7. ผู้รับการฝึกฟังคาชี้แจงลาดับการปฏิบัติงานตามใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน 8. ผู้รับการฝึกปฏิบัติงานตามใบงาน แล้วส่งให้ครูฝึกตรวจประเมินผล 9. ผู้รับการฝึกที่คะแนนผลงานผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 สามารถขอทดสอบเพื่อจบโมดูลที่ฝึกกับครูฝึก

6. การวัดผล 1. ผู้รับการฝึกส่งแบบทดสอบก่อนฝึก ให้ครูฝึกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎีตามวิธีที่เลือกฝึกอบรม 1.1 ถ้าผลการประเมินผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ตามที่กาหนดในเอกสารโครงร่างหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเข้ารับการฝึก ภาคปฏิบัติ (ถ้ามี) หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลถัดไปได้ 1.2 ถ้าผลการประเมินต่ากว่าร้อยละ 70 ให้ครูฝึกมอบหมายให้ผู้รับการฝึกศึกษาเนื้อหาจากสื่อด้วยตนเองจนเข้าใจ จึงทาแบบทดสอบหลังฝึก (Post-Test) 2. ผู้รับการฝึกส่งแบบทดสอบหลังฝึก ให้ครูฝึกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎี โดยใช้หลักเกณฑ์เดียวกับการประเมิน แบบทดสอบก่อนฝึก 3. ผู้รับการฝึกส่งผลงานในการฝึกภาคปฏิบัติให้ครูฝึกตรวจประเมินผลงานของผู้รับการฝึก โดยต้องผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ตามที่กาหนดในเอกสารโครงร่างหลักสูตร จึงจะมีสิทธิ์เข้ารับการฝึกในโมดูลถัดไป หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลที่ ครูฝึกกาหนดได้

44 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

7. บรรณานุกรม นุกูล แก้วมะหิงษ์. 2558. เครื่องปรับอากาศ (ภาคทฤษฎี). กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์ศูนย์ส่งเสริมอาชีวะ. วีระศักดิ์ มะโนน้อม และสมชาย วณารักษ์. 2558. เครื่องทาความเย็นและปรับอากาศ. กรุงเทพฯ : เอมพันธ์

45 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

ใบข้อมูล หัวข้อวิชาที่ 5 สาเหตุของข้อผิดพลาดของอุปกรณ์ควบคุมแรงดันและอุปกรณ์ควบคุมอุณหภูมิ 1. สาเหตุของข้อผิดพลาดของอุปกรณ์ควบคุมแรงดันและอุปกรณ์ควบคุมอุณหภูมิ ปัญหาหลักเกี่ยวกับระบบปรับอากาศ ส่วนใหญ่จะมีสาเหตุจากอุปกรณ์ควบคุมแรงดัน และอุปกรณ์ควบคุมอุณ หภูมิ ทางานผิดพลาด เนื่องจากอุปกรณ์ดังกล่าวมีความสาคัญต่อการควบคุมปริมาณสารทาความเย็นภายในระบบ ผู้ที่ดาเนินการ ซ่อมแก้ไขปั ญหาจึ งควรศึกษาข้อผิ ดพลาดให้ เข้าใจ เพื่อหาสาเหตุและแก้ไขปัญหาได้ตรงจุด โดยปัญหาที่มักจะเกิดขึ้น เนื่องมาจากข้อผิดพลาดของอุปกรณ์แรงดันและอุปกรณ์ค วบคุมอุณหภูมิ มีดังต่อไปนี้ เครื่องปรับอากาศหลังจากมีการใช้ งาน จะต้อ งมีก ารตรวจสอบการทางานของอุ ป กรณ์ป ระกอบต่ า ง ๆ เพื่อ ให้เ ครื่อ งปรับ อากาศทางานในจุ ด ที ่ มี ประสิท ธิภ าพสูง สุด อยู่ต ลอดเวลา รวมทั้งยืดอายุการใช้งานของอุปกรณ์ต่าง ๆ ผู้ดูแลเครื่องปรับอากาศจะต้องมีความรู้ พื้นฐานเกี่ยวกับวัฏจักรการทาความเย็นและการทางานของอุปกรณ์ประกอบต่าง ๆ อย่างถ่องแท้ เพื่อจะได้ทราบความ ผิดปกติต่าง ๆ ของระบบเพื่อ ตรวจสอบพบว่า มีตัว ประกอบบางตัว เปลี่ย นแปลงไปและจะได้ค้น หาสาเหตุแ ละวิธีก าร แก้ไ ขได้อ ย่า งถูก ต้อ งก่อ นที่จะเกิดความเสียหาย เครื่องปรับอากาศขนาดใหญ่จะมีคู่มือการใช้งานจากผู้ผลิต ดังนั้นผู้ดูแลควร สกัดข้อมูลที่สาคัญจากคู่มือผู้ผลิตเพื่อนามาจัดทาเป็นแบบฟอร์มกรอบบันทึกประจาวัน (DAILY LOGS) เพื่อเป็นประโยชน์ ในการวิเคราะห์สมรรถนะและแก้ไขปัญหา โดยข้อมูลที่ควรตรวจสอบดูแลมีดังนี้ 1) อุณหภูมิของน้าหล่อเย็นหรือของอากาศหล่อเย็น 2) อุณหภูมิของน้าเย็นที่เข้า-ออกจากเครื่องปรับอากาศรวมทั้งความดันและอุณหภูมิน้ายาด้านอีวาพอเรเตอร์ 3) อุณหภูมิของน้าระบายความร้อนที่เข้า – ออกจากเครื่องปรับอากาศรวมทั้งความดันและอุณหภูมิของน้ายา ด้านคอนเดนเซอร์ 4) อุณหภูมิของส่วนต่างๆ เช่น เสื้อสูบ กระบอกสอบ ลูกปืน เป็นต้น 5) ความดันและอุณหภูมิของน้ามันหล่อลื่นในเครื่องอัด 6) ความสะอาดของน้ามันหล่อลื่น 7) แรงดันไฟฟ้าและกระแสไฟฟ้าของเครื่องทาน้าเย็น หอผึ่งน้า ปั๊มน้า ฯลฯ 8) เสียงจากการทางานและการสั่นสะเทือน 9) ความสะอาดและการทางานของเครื่องส่งลมเย็น (AHU,FCU) รวมทั้งหอผึ่งน้า

46 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

การตรวจสอบ และบ ารุ ง รั ก ษาอุ ป กรณ์ ต่ า ง ๆ ในระบบปรั บ อากาศขนาดใหญ่ เครื่ อ งอั ด สารท าความเย็ น (Compressor) ความดันและอุณหภูมิของแก๊สที่ดูด (ด้านอีวาพอเรเตอร์หรือด้านความดันต่า) ในสภาวะปกติ ควรเป็นดังนี้ 1) ความดันของแก๊สที่ดูด คือความดันอิ่มตัวที่อุณหภูมิระเหยของสารทาความเย็นนั้นๆ โดยสารทาความเย็นแต่ละชนิด จะมีความดันอิ่มตัวและอุณหภูมิระเหยต่างกันไป 2) อุณหภูมิของแก๊สที่ดูด คือ (อุณหภูมิระเหย+องศาร้อนยวดยิ่ง) ปั๊มน้ามันหล่อลื่น (Oil Pump) ทาหน้าที่อัดน้ามันหล่อลื่นเข้าไปตามชิ้นส่วนที่เคลื่อนที่ต่าง ๆ ของเครื่องอัดเพื่อลดความเสียดทานจากผิวสัมผัสที่เคลื่อนที่ต่าง ๆ รวมทั้งช่วยระบายความร้อนที่เกิดขึ้นจากการเสียดสีของชิ้นส่วนต่าง ๆ ความดันน้ามัน จะเปลี่ยนไปตามอุณหภูมิของน้ามัน โดยทั่วไปควรจะสูงกว่าความดันด้านดูดประมาณ 1.5-3.0 กิโลกรัมต่อตารางเซนติเมตร อุณหภูมิน้ามันจะขึ้นอยู่กับสภาวะ การใช้งาน โดยทั่วไปควรจะมีค่าต่ากว่า 55 C มาตรน้ามัน (Oil Meter) มีไว้เพื่อตรวจดูระดับน้ามัน ซึ่งจะต้องอยู่ในระดับที่กาหนด รวมทั้งเพื่อตรวจดูสภาพของน้ามันซึ่งจะต้องใส (ปราศจาก ความขุ่นมั่ว) มอเตอร์ไฟฟ้า (Electric Motor) 1) กาลังไฟฟ้าที่ต้องจ่าย (Power Supply) แรงเคลื่อนไฟฟ้าจะต้องอยู่ในพิกัดของมอเตอร์ โดยอยู่ในช่วง 10% กระแสไฟฟ้า จะต้องอยู่ในพิกัดของมอเตอร์ โดยมีค่าเปลี่ยนแปลงตามภาระของมอเตอร์ 2) ประกับรับเพลา (Bearing) อุณหภูมิของแบริ่งจะต้องมีอุณหภูมิที่เมื่อเอามือจับด้านนอกของประกับเพลาจะรู้สึกอุ่น ถ้าไม่สามารถจับได้เลย แสดงว่าเกิดผิดปกติ เช่น ขาดการหล่อลื่นหรือเกิดการสึกหรอมากเกินไป และไม่ควรเกิดเสียงผิดปกติ 3) ขดลวด (Coil) อุณหภูมิของขดลวดควรอยู่ในเกณฑ์โดยขึ้นอยู่กับชนิดของชนวนหุ้มขดลวด เช่น ชั้น A 65 C ชั้น E 80 C เครื่องควบแน่น (Condenser) 1) อุณหภูมิน้าหล่อเย็นทางเข้า จะต้องไม่สูงเกินไป โดยทั่วไปจะประมาณ 90 F 2) อุณหภูมิน้าหล่อเย็นทางออกจะสูงกว่าน้าเข้าประมาณ 10 F โดยทั่วไปจะประมาณ 100 F 47 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

3) อัต ราการไหลของน้าหล่อ เย็น จะต้อ งมีค่า ตามคู่มือ ของเครื่อ งปรับ อากาศนั้น ๆ โดยทั่ว ไปประมาณ 2.8-3.2 GPM/TON 4) ความดันน้าหล่อเย็น จะต้องสูงพอที่จะเอาชนะความต้านทานในเครื่องควบแน่นและท่อน้า โดยทั่วไปควรจะ ปรับตั้งให้เท่ากับผู้ที่ออกแบบกาหนด 5) ความดันของน้ายา - แบบระบายความร้อนด้วยน้า ความดันอิ่มตัวของไอสารทาความเย็นจะทาให้ค่าอุณหภูมิอิ่มตัวสูงกว่า อุณหภูมิที่ทางออก 5.4 F ถึง 10.8 F (3-6 C) - แบบระบายความร้อนด้วยอากาศ ความดันอิ่มตัวของไอสารทาความเย็นจะทาให้ค่าอุณหภูมิอิ่มตัว สูงขึ้นกว่าอุณหภูมิของอากาศภายนอก 21.6 F ถึง 30.6F (12-17C) เครื่องระเหย (Evaporator) 1) อุณหภูมิทางเข้า-ออกของอากาศ ควรตรวจสอบอุณหภูมิอากาศเข้า-ออก และอัตราการไหลของอากาศ เพื่อนาไปหาความสามารถในการทาความเย็น เพื่อเทียบกับขนาดการทาความเย็นของเครื่องตามพิกัด โดยทั่วไปอุณหภูมิกระเปาะแห้งของอากาศเข้า -ออก จะประมาณ 20-40 F 2) อัตราการไหลของอากาศผ่านขดท่อทาความเย็น ควรมีค่ามากกว่า 90% ของค่าที่กาหนดตามคู่มือของเครื่อง โดยทั่วไปประมาณ 250-400 CFM/TON 3) อุณหภูมิระเหยของน้ายา ควรตรวจสอบอุณหภูมิระเหยซึ่งควรจะอยู่ประมาณ 35-45 F ถ้าอุณหภูมิระเหยต่าไปจะทาให้สิ้นเปลืองพลังงาน ในการอัดน้ายามาก 4) ความดันระเหยของน้ายา ควรตรวจสอบความดันระเหยว่าอยู่ในพิกัดของอุณหภูมิระเหยที่เหมาะสมหรือไม่ โดยทั่วไปจะขึ้นอยู่กับชนิด ของน้ายาที่ใช้และภาระการใช้งาน

48 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

ใบทดสอบ คาชี้แจง ให้ผู้รับการฝึกทาเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคาตอบข้อที่ถูกที่สุดเพียงข้อเดียว 1. ถ้าความดันด้านต่าตัดการทางานจะก่อให้เกิดอาการในข้อใด ก. คอมเพรสเซอร์เดิน ๆ หยุด ๆ ข. คอมเพรสเซอร์มีเสียงดัง ค. คอมเพรสเซอร์หมุนช้า ง. คอมเพรสเซอร์ตัดวงจรการทางาน 2. ท่อทางกลับเป็นน้าแข็ง เกิดจากสาเหตุใด ก. เอ็กซ์แพนชั่นวาล์ว หรือแคปปิลลารี่ทิ้วป์ใหญ่เกินไป ข. คอมเพรสเซอร์ฝืด ค. เอ็กซ์แพนชั่นวาล์ว หรือแคปปิลลารี่ทิ้วป์เล็กเกินไป หรือเกิดการอุดตัน ง. คอมเพรสเซอร์ไม่ทางาน 3. หากด้านออกของคอมเพรสเซอร์มีอุณหภูมิสูงและคอมเพรสเซอร์กินกาลังน้อย จะมีวิธีการแก้ไขอย่างไร ก. ซ่อมวาล์วและหาสาเหตุที่ทาให้เกิดการอุดตัน ข. ปรับลดอุณหภูมิเครื่องปรับอากาศ ค. เปลี่ยนน้ามันคอมเพรสเซอร์ ง. เปลี่ยนฟิลเตอร์ดรายเออร์

49 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

กระดาษคาตอบ ข้อ

1 2 3

50 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

ใบงาน ใบงานที่ 5.1 การหาสาเหตุของข้อผิดพลาดของอุปกรณ์ควบคุมแรงดันและอุปกรณ์ควบคุมอุณหภูมิ 1. วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม - วิเคราะห์สาเหตุข้อขัดข้อง และข้อผิดพลาดที่คล้ายกันของอุปกรณ์ควบคุมแรงดัน และอุปกรณ์ควบคุมอุณหภูมิ

2. ระยะเวลาการฝึกปฏิบัติงาน - ระยะเวลาการฝึกปฏิบัติงาน รวม 10 ชั่วโมง

3. คาชี้แจง ให้ผู้รับการฝึกบันทึกข้อมูล ข้อบกพร่องและแนวทางการแก้ปัญหา TIME

Chiller

Condenser

Chiller

Condenser

Pressure ( Psi )

Pressure ( Psi )

Water Temp ( Fº )

Water Temp ( Fº )

in

in

leaving

leaving

out

out

return

Full

Current Phase

return

A

B

Load C

Amps %

07.30 A.M. 09.00 A.M. 11.00 A.M. 13.00 P.M. 15.00 P.M. 17.00 P.M.

TIME

Oil

Condenser

Evaporator

Temp

Pressure

Small Temp

Pressure

( F°)

( Psi )

Difference ( F°)

(Psig)

Small Temp Difference ( F°)

Set

Out Side

Pressure

Temp

Temp

(Psig)

( F°/C°)

( F°/C°)

07.30 A.M. 09.00 A.M. 11.00 A.M. 13.00 P.M. 15.00 P.M. 17.00 P.M.

51 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน

Remark

kw


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ 5.1 การหาสาเหตุของข้อผิดพลาดของอุปกรณ์ควบคุมแรงดัน และอุปกรณ์ควบคุมอุณหภูมิ 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณ์ป้องกันส่วนบุคคล สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลก่อนเริ่มปฏิบัติงานได้แก่ - ถุงมือผ้า - รองเท้านิรภัย - ชุดปฏิบัติการช่าง 1.2 รับฟังคาสั่งจากครูฝึก พร้อมรับใบงาน 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้นที่ปฏิบัติงาน ไม่ให้มีอุปกรณ์อื่น ๆ ที่ไม่เกี่ยวข้อง หรือวัสดุอันตราย เช่น สายไฟฟ้าวาง กีดขวางอยู่ 2. ดูแลไม่ให้บุคคลที่ไม่เกี่ยวข้องเข้ามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมชุดปฐมพยาบาลเพื่อใช้ในกรณีฉุกเฉิน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณ์ช่วยเหลือในกรณีฉุกเฉินต่าง ๆ รวมถึงวิธีการใช้อุปกรณ์เหล่านั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณ์ต่อผู้รับการฝึก 1 คน - เครื่องปรับอากาศแบบระบายความร้อนด้วยน้า ขนาด 150 ตัน

จานวน 1 ตัว

หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือว่ามีสภาพพร้อมใช้งานหรือไม่ หากพบว่าเครื่องมือชิ้นใดชารุด ให้รายงานครูฝึกให้ทราบ 1.5 การเตรียมวัสดุต่อผู้รับการฝึก 1 คน 1. ชุดเครื่องเขียน

จานวน 1 ชุด

2. ใบบันทึกข้อมูล (Log Sheet)

จานวน 1 แผ่น

52 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

2. ลาดับการปฏิบัติงาน การหาสาเหตุของข้อผิดพลาดของอุปกรณ์ควบคุมแรงดันและอุปกรณ์ควบคุมอุณหภูมิ ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1. ศึกษาคู่มือการใช้งาน

คาอธิบาย ศึ ก ษ า คู่ มื อ ก า ร ใ ช้ ง า น

ข้อควรระวัง

เครื่ อ งปรั บ อากาศแบบระบาย ความร้อนด้วยน้า ในรุ่นที่จะทาการ ปฏิบัติงาน

2. เลือกเมนูวัดค่า

กดปุ่มเมนูเลือกการวัดค่าต่าง ๆ ของ เครื่อง

3. บันทึกผลใน Log Sheet

บันทึกผลลงใน Log Sheet

การบันทึกผลจะทาการบันทึกทุก ๆ 2 ชั่วโมง

53 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 4. วิเคราะห์การทางาน จากข้อมูลที่มี

คาอธิบาย วิเคราะห์ข้อมูลจาก Log Sheet

พร้อมแนวทางแก้ไข (หากเสีย)

และข้อสังเกตอื่น ๆ พร้อมเสนอ แนวทางแก้ไข

5. คาแนะนา

ค่ า ความดั น ของสารท าความเย็ น ทางด้าน Low Side และ High Side จะมีค่าความดันเท่าใด ขึ้ นอยู่กับว่า เครื่องปรับอากาศนั้น ๆ ใช้ส ารทา ความเย็ น ชนิ ด ใด เช่ น สารท า ความเย็ น R-22 จะมี Low Side ประมาณ 60-70 Psi (ปอนด์ ต่ อ ตารางนิ้ ว ) High Side ประมาณ 245-280 Psi สารทาความเย็น 134A จะมี Low Side ประมาณ 35-40 Psi High Side ประมาณ 100-120 Psi

54 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน

ข้อควรระวัง


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

3. ตรวจสอบชิน้ งาน ตรวจสอบและบันทึกข้อบกพร่องต่อไปนี้ ลาดับที่ 1

รายการตรวจสอบ

เกณฑ์การพิจารณา

การหาสาเหตุของข้อผิดพลาดของอุปกรณ์ควบคุมแรงดันและ อุปกรณ์ควบคุมอุณหภูมิ 1.1 การบันทึกข้อมูล

ความถูกต้องตามวิธีการปฏิบัติงาน

1.2 การวิเคราะห์ผลจากข้อมูลใน Log Sheet และการสังเกต

ความถูกต้องตามวิธีการปฏิบัติงาน

เพิ่มเติม 2

กิจนิสัย 2.1 เตรียมเครื่องมือและอุปกรณ์อย่างถูกต้องและครบถ้วน

ความถูกต้องตามวิธีการใช้งาน

2.2 สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลอย่างถูกต้องและ

ความถูกต้องตามวิธีการใช้งาน

ครบถ้วน ก่อนเริ่มปฏิบัติงาน 2.3 ปฏิบัติตามลาดับขั้นตอนการทางาน

ความถูกต้องตามวิธีการปฏิบัติงาน

2.4 ความปลอดภัยระหว่างการปฏิบัติงาน

ความถูกต้องตามวิธีการปฏิบัติงาน

2.5 การเก็บเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ์ และทาความสะอาดพื้นที่ปฏิบัติงาน ความถูกต้องตามวิธีการใช้งาน

55 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

ใบให้คะแนนการตรวจสอบ ลาดับที่ รายการประเมิน 1 การปฏิบัติงาน

เกณฑ์การให้คะแนน

คะแนนเต็ม 10

1.1 การบันทึกข้อมูล

- บันทึกข้อมูลใน Log Sheet สม่าเสมอทุก 2 ชั่วโมง ข้อมูลมีความ

5

คะแนนที่ได้

ครบถ้วน ให้คะแนน 5 คะแนน - บั น ทึ ก ข้ อ มู ล ใน Log Sheet โดยลงเวลาไม่ ส ม่ าเสมอ ข้ อ มู ล ไม่ ครบถ้วน หักคะแนน จุดละ 1 คะแนน 1.2 การวิเคราะห์ผลจากข้อมูลใน Log Sheet - วิเคราะห์ ผลได้ถู กต้อง ให้ แ นวทางการแก้ปั ญหาที่สอดคล้องกับ และการสังเกตเพิ่มเติม

5

อาการ หรือข้อผิดพลาดที่พบ ให้คะแนน 5 คะแนน - วิเคราะห์ผลผิดพลาด ให้แนวทางไม่สอดคล้องกับข้อผิดปกติที่ พบ หรือที่บันทึกไว้ หักคะแนน จุดละ 1 คะแนน

2

กิจนิสัย 2.1 เตรียมเครื่องมือและอุปกรณ์อย่างถูกต้อง และครบถ้วน

5 - ปฏิบัติได้ครบถ้วน ถูกต้อง ให้คะแนน 1 คะแนน - ปฏิบัติไม่ครบถ้วน ไม่ถูกต้อง ให้คะแนน 0 คะแนน

2.2 สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล - ปฏิบัติได้ครบถ้วน ถูกต้อง ให้คะแนน 1 คะแนน อย่างถูกต้องและครบถ้วน ก่อนเริ่มปฏิบตั ิงาน

- ปฏิบัติไม่ครบถ้วน ไม่ถูกต้อง ให้คะแนน 0 คะแนน

2.3 ปฏิบัติตามลาดับขั้นตอนการทางาน

- ปฏิบัติได้ครบถ้วน ถูกต้อง ให้คะแนน 1 คะแนน

1 1 1

- ปฏิบัติไม่ครบถ้วน ไม่ถูกต้อง ให้คะแนน 0 คะแนน 2.4 ความปลอดภัยระหว่างการปฏิบัติงาน

- ปฏิบัติได้ครบถ้วน ถูกต้อง ให้คะแนน 1 คะแนน

1

- ปฏิบัติไม่ครบถ้วน ไม่ถูกต้อง ให้คะแนน 0 คะแนน 2.5 การเก็บเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ์ และทา

- ปฏิบัติได้ครบถ้วน ถูกต้อง ให้คะแนน 1 คะแนน

ความสะอาดพื้นที่ปฏิบัติงาน

- ปฏิบัติไม่ครบถ้วน ไม่ถูกต้อง ให้คะแนน 0 คะแนน คะแนนเต็ม

1 15

หมายเหตุ หากผู้เข้ารับการฝึกได้รับคะแนน 11 คะแนนขึ้นไป (คะแนนมากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 70) ให้ผู้เข้ารับการฝึก ขอเข้ารับการทดสอบภาคปฏิบัติได้

56 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

คณะผู้จัดทาโครงการ คณะผู้บริหาร 1. นายสุทธิ

สุโกศล

อธิบดีกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน

2. นางถวิล

เพิ่มเพียรสิน

รองอธิบดีกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน

3. นายธวัช

เบญจาทิกุล

รองอธิบดีกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน

4. นายสุรพล

พลอยสุข

รองอธิบดีกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน

5. ว่าที่ร้อยตรี สมศักดิ์ พรหมดา

ผู้อานวยการสานักพัฒนาผู้ฝึกและเทคโนโลยีการฝึก

6. นางเพ็ญประภา

ศิริรัตน์

ผู้อานวยการกลุ่มงานพัฒนาระบบการฝึก

7. นายวัชรพงษ์

มุขเชิด

ผู้อานวยการสานักงานรับรองความรู้ความสามารถ

คาเงิน

ภาควิชาวิศวกรรมโทรคมนาคม คณะวิศวกรรมศาสตร์

คณะที่ปรึกษาโครงการ 1. ผศ. ดร. มนตรี

สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง 2. รศ. ดร. วิสุทธิ์

สุนทรกนกพงศ์

ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้าสื่อสาร คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง

3. ผศ. สันติ

ตันตระกูล

ภาควิชาครุศาสตร์วิศวกรรม คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง

4. นายสุระชัย

พิมพ์สาลี

ภาควิชาครุศาสตร์วิศวกรรม คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง

5. นายวินัย

ใจกล้า

ภาควิชาครุศาสตร์วิศวกรรม คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง

6. นายวราวิช

กาภู ณ อยุธยา

สานักบริหารงานวิจัยและนวัตกรรมพระจอมเกล้าลาดกระบัง สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง

7. นายมนตรี

ประชารัตน์

แผนกวิชาช่างไฟฟ้า วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี

8. นายธเนศ

วงค์วัฒนานุรักษ์

แผนกวิชาช่างไฟฟ้า วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี

9. นายณัฐวุฒิ

เสรีธรรม

แผนกวิชาช่างไฟฟ้า วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี

10. นายหาญยงค์

หอสุขสิริ

แผนกวิชาโลหะการ วิทยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษก มหานคร

11. นายสวัสดิ์

บุญเถื่อน

แผนกวิชาช่างยนต์ วิทยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษก มหานคร 57 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝึ ก ที่ 2

ปกหลัง

58 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.