คู่มือผู้รับการฝึก ช่างเครื่องปรับอากาศ ระดับ 3 โมดูล 3

Page 1



คู่ มื อ ผู รั บ รฝึ ส ข ช่ งเครื่ อ ง รั บ อ

ศใ บ และ รพ ณิ ช ย์ ข ดเล็ ระดั บ 3 โมดู ล รฝึ ที่ 3

คู่มือผูรับ รฝึ 0920164170203 ส ข ช่ งเครื่อง รับอ ศใ บ และ รพ ณิชย์ข ดเล็ ระดับ 3

ชุด รฝึ ต มคว มส ม รถ (CBT)

โมดูล รฝึ ที่ 3 09217314 รท คว มเย็ ดวยระบบระเ ยตรง (DIRECT EXPANSION SYSTEM) และระบบ เย็ (CHILLED WATER SYSTEM) กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน



คู่ มื อ ผู รั บ รฝึ ส ข ช่ งเครื่ อ ง รั บ อ

ศใ บ และ รพ ณิ ช ย์ ข ดเล็ ระดั บ 3 โมดู ล รฝึ ที่ 3

ค คู่มือผู้รับการฝึก สาขาช่างเครื่องปรับอากาศในบ้านและการพาณิชย์ขนาดเล็ก ระดับ 3 โมดูล 3 การทาความเย็น ด้ ว ยระบบระเหยตรง และระบบน าเย็ น ฉบั บ นี เป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ของหลั ก สู ต รฝึ ก อบรมฝี มื อ แรงงานตามความสามารถ (Competency Based Training : CBT) ซึ่งพัฒนาขึนเพื่อใช้เป็นเอกสารประกอบการจัดการฝึกอบรมกับชุดการฝึ กตาม ความสามารถ โดยได้ดาเนินการภายใต้โครงการพัฒนาระบบฝึกและชุดการฝึกตามความสามารถเพื่อการพัฒนาฝีมือแรงงาน ด้ ว ยระบบการฝึ ก ตามความสามารถ (Competency Based Workforce Skill Training System) พ.ศ. 2560 โดยมี วัตถุประสงค์เพื่อให้ผู้รับการฝึกได้ใช้เป็นเครื่องมือในการฝึกอบรมให้เป็นไปตามหลักสูตร กล่าวคือ หลังเรียนจบโมดูลการฝึก ผู้รับการฝึกสามารถอธิบายเกี่ยวกับอุณหภูมิกระเปาะเปียก กระเปาะแห้ง ความชืน ของอากาศ อัตราการไหลของม วล ปริมาตร ใช้เครื่องมือในการวัดที่เกี่ยวข้อง วิเคราะห์ปัญหาเกี่ยวกับแรงดัน สาเหตุ และวิธีการการแก้ไขได้อย่างถูกต้อง ระบบการฝึกอบรมตามความสามารถเป็นระบบการฝึกอบรมที่ส่งเสริมให้ผู้รับการฝึกอบรมสามารถฝึกฝนเรียนรู้ได้ ตามพืนฐานความสามารถของตนในเวลาที่มีความสะดวก โดยเน้นในเรื่องของการส่งมอบการฝึกอบรมที่หลากหลายไปให้แก่ ผู้ รับการฝึ กอบรม และต้องการให้ ผู้ รั บ การฝึ ก อบรมเกิด การเรี ยนรู้ ด้ว ยตนเอง การฝึ กปฏิบัติจะด าเนิน การในรู ป แบบ Learning by Doing และเน้นผลลัพธ์การฝึกอบรมในการที่ทาให้ผู้รับการฝึกอบรมมีความสามารถในการปฏิบัติงานตามที่ ตลาดแรงงานต้องการ โดยยึดความสามารถของผู้รับการฝึกเป็นหลัก การฝึกอบรมในระบบดังกล่าว จึงเป็นรูปแบบการ ฝึกอบรมที่สามารถรองรับการพัฒนารายบุคคลได้เป็นอย่างดี นอกจากนี เนือหาวิชาในหลักสูตรการฝึกตามความสามารถ (Competency Based Curriculum : CBC) ซึ่งได้จากการวิเคราะห์งานอาชีพ (Job Analysis) ในแต่ละสาขาอาชีพ จะถูก กาหนดเป็นรายการความสามารถหรือสมรรถนะ (Competency) ที่ผู้รับการฝึกอบรมจาเป็นต้องใช้ในการปฏิบัติงาน และ สอดคล้องกับความต้องการของสถานประกอบกิจการและภาคอุตสาหกรรม ซึ่งผู้รับการฝึกจะต้องเรียนรู้และฝึกฝนจนกว่าจะ สามารถปฏิบัติเองได้ ตามมาตรฐานที่กาหนดในแต่ละรายการความสามารถ ทังนี การส่งมอบการฝึก สามารถดาเนินการได้ ทังรูปแบบการเรียนรู้ผ่านสื่อสิ่งพิมพ์ (Paper Based) และผ่านสื่อคอมพิวเตอร์ (Computer Based) โดยผู้รับการฝึกสามารถ เรียนรู้ได้ด้วยตนเอง (Self-Learning) ที่บ้านหรือที่ทางาน และเข้ารับการฝึกภาคปฏิบัติตามความพร้อม ตามความสะดวก ของตน หรือตามแผนการฝึก หรือตามตารางการนัดหมาย การฝึกหรือทดสอบประเมินผลความรู้ความสามารถกับหน่วยฝึก โดยมีครูฝึกหรือผู้สอนคอยให้คาปรึกษา แนะนาและจัดเตรียมการฝึกภาคปฏิบัติ รวมถึงจัดเตรียมและดาเนินการทดสอบ ประเมินผลในลักษณะต่าง ๆ อันจะทาให้สามารถเพิ่มจานวนผู้รับการฝึกได้มากยิ่งขึน ช่วยประหยัดเวลาในการเดินทาง และ ประหยั ดงบประมาณค่าใช้จ่ ายในการพัฒ นาฝี มือแรงงานให้ แก่กาลั งแรงงานในระยะยาว จึงถือเป็นรูปแบบการฝึ กที่มี ความสาคัญต่อการพัฒนาฝีมือแรงงาน ทังในปัจจุบันและอนาคต ซึ่งหากมีการนาระบบการฝึกอบรมตามความสามารถมาใช้ ในการพัฒนาฝีมือแรงงาน จะช่วยทาให้ประชาชน ผู้ใช้แรงงานผู้ว่างงาน นักเรียน นักศึกษา และผู้ประกอบอาชีพอิ สระ สามารถเข้าถึงการฝึกอบรมเพื่อพัฒนาตนเองได้อย่างสะดวก และได้รับประโยชน์อย่างทั่วถึงมากยิ่งขึน

รมพัฒ ฝีมือแรงง ก กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน



คู่ มื อ ผู รั บ รฝึ ส ข ช่ งเครื่ อ ง รั บ อ

ศใ บ และ รพ ณิ ช ย์ ข ดเล็ ระดั บ 3 โมดู ล รฝึ ที่ 3

ส รบัญ เรื่อง ค ส รบัญ

ขอแ ะ ส รับครูฝึ

1

โมดูล รฝึ ที่ 3 09217314 รท คว มเย็ ดวยระบบระเ ยตรง (Direct Expansion System) และระบบ เย็ (Chilled Water System) ัวขอวิช ที่ 1 0921731401 รท คว มเย็ ดวยระบบระเ ยตรง (Direct Expansion System)

11

ัวขอวิช ที่ 2 0921731402 รท คว มเย็ ดวยระบบ เย็ (Chilled Water System)

17

คณะผูจัดท โครง ร

27

ข กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน



คู่ มื อ ผู รั บ รฝึ ส ข ช่ งเครื่ อ ง รั บ อ

ศใ บ และ รพ ณิ ช ย์ ข ดเล็ ระดั บ 3 โมดู ล รฝึ ที่ 3

ขอแ ะ ส รับผูรับ รฝึ ข้อแนะนาสาหรับผู้รับการฝึก คือ คาอธิบายเกี่ยวกับรายละเอียดของคู่มือ และขันตอนการเข้ารับการฝึก ซึ่งมีอยู่ด้วยกัน 6 ข้อ ดังนี

1. ร ยละเอียดของคู่มือ 1.1 โมดูลการฝึก / หัวข้อวิชา หมายถึง โมดูลการฝึกที่ครูฝึกต้องจัดการฝึกอบรม โดยภายในโมดูลจะประกอบไปด้วย หัวข้อวิชาที่ผู้รับ การฝึ กต้องเรี ย นรู้ และฝึกฝน ซึ่งมีรหัสโมดูล และรหัส หัว ข้อวิชาเป็นตัว กาหนดความสามารถ ที่ต้องเรียนรู้ 1.2 ระยะเวลาการฝึก หมายถึง จานวนชั่วโมงในการฝึกอบรม เพื่อให้บรรลุตามวัตถุประสงค์ของแต่ละโมดูล 1.3 ระบบการฝึกตามความสามารถ (CBT) หมายถึง ระบบการฝึกที่เกิดจากการนาความรู้ ทักษะ ความสามารถ (Competency) ที่จาเป็นสาหรับการทางานมาเป็นฐาน (Based) ของการจัดฝึกอบรม หรือนามากาหนดเป็นเนือหา (Content) และเกณฑ์ก ารประเมิน การฝึก อบรม ทาให้ผู้รับ การฝึก อบรมมีค วามสามารถ ( Competency) ตามเกณฑ์มาตรฐานที่กาหนด และตามความสามารถในการเรียนรู้ของผู้รับการฝึกเป็นหลัก 1.4 ชุดการฝึก หมายถึง สื่อสิ่งพิมพ์ และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ใช้สาหรับเป็นอุปกรณ์ช่วยฝึก โดยแต่ละโมดูลประกอบด้วย คู่มือครูฝึก คู่มือผู้รับการฝึก คู่มือประเมิน สื่อวีดิทัศน์ 1.5 ระบบจัดการฝึกด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer Managed Instruction : CMI) หมายถึง การนาระบบคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศ ซึ่งใช้ในการจัดการเรียนรู้และฝึกอบรม เช่น ระบบรั บสมัครออนไลน์ ระบบลงทะเบียน เข้า รับ การฝึก อบรมออนไลน์ ระบบการฝึก อบรมภาคทฤษฎีผ่านอุปกรณ์อิเล็ก ทรอนิก ส์ห รือ อุปกรณ์สื่อสาร แบบพกพา การทดสอบออนไลน์ การบันทึกผลการฝึกอัตโนมัติ และการออกใบวุฒิบัตรอิเล็กทรอนิกส์ เป็นต้น โดยการเข้า ใช้ง านระบบ แบ่งส่ว นการใช้ง านตามความรั บผิด ชอบของผู้มีส่ว นได้ส่ว นเสีย ดัง ภาพในหน้า 2 ซึ่งรายละเอียดการใช้งานของผู้เข้ารับการฝึกสามารถดูได้จากลิงค์ mlearning.dsd.go.th/download/files/trainee.pdf

1 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู รั บ รฝึ ส ข ช่ งเครื่ อ ง รั บ อ

ศใ บ และ รพ ณิ ช ย์ ข ดเล็ ระดั บ 3 โมดู ล รฝึ ที่ 3

2 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู รั บ รฝึ ส ข ช่ งเครื่ อ ง รั บ อ

ศใ บ และ รพ ณิ ช ย์ ข ดเล็ ระดั บ 3 โมดู ล รฝึ ที่ 3

2. ผัง รฝึ อบรม

3 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู รั บ รฝึ ส ข ช่ งเครื่ อ ง รั บ อ

ศใ บ และ รพ ณิ ช ย์ ข ดเล็ ระดั บ 3 โมดู ล รฝึ ที่ 3

3. วิธี รฝึ อบรม 3.1 ผู้รับการฝึก ทาความเข้าใจการฝึกอบรมในระบบ CBT ซึ่งสามารถฝึกอบรมได้ 3 รูปแบบ คือ 3.1.1 การฝึกอบรมด้วยการส่งมอบสื่อสิ่งพิมพ์ (Offline) 3.1.2 การฝึกอบรมที่ศูนย์ฝึกอบรม (Offline) 3.1.3 การฝึกอบรมด้วยสื่อในระบบออนไลน์ (Online) โดยในแต่ละรูปแบบจะมีรายละเอียดแตกต่างกัน ดังนี 3.1.1 การฝึกอบรมด้วยการส่งมอบสื่อสิ่งพิมพ์ (Offline) คือ การฝึก อบรมที่ผู้รับ การฝึกเรียนรู้ภ าคทฤษฎี (ด้า นความรู้) ด้ว ยตนเอง โดยครูฝึก เป็นผู้ส่งมอบ คู่มือผู้รับการฝึกที่พิมพ์จากสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) และวีดิทัศน์ (DVD) แก่ผู้รับการฝึก และฝึกภาคปฏิบัติ (ด้านทักษะ) ที่ศูนย์ฝึกอบรม การฝึกภาคทฤษฎี - ผู้รับการฝึกเรียนรู้ภาคทฤษฎีด้วยตนเอง โดยใช้คู่มือผู้รับการฝึกที่พิมพ์จากสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) และวีดิทัศน์ (DVD) ที่ครูฝึกส่งมอบให้ การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ผู้รับการฝึกทาแบบทดสอบก่อนฝึก (Pre-Test) ลงในกระดาษคาตอบ แล้วส่งกระดาษคาตอบ ให้ครูฝึก เพื่อตรวจและประเมินผล 2) ครูฝึกประเมินแบบทดสอบก่อนฝึก - ถ้าผลการประเมินผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ตามที่กาหนดในเอกสารโครงร่างหลั กสูตร จะมีสิท ธิ์ข อเข้า รับ การฝึก ภาคปฏิบัติ (ถ้า มี) หรือ เข้า รับ การฝึก ในโมดูล ถัด ไป หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลที่ครูฝึกกาหนดได้ - ถ้าผลการประเมินต่ากว่าร้อยละ 70 ให้ครูฝึกมอบหมายให้ผู้รับการฝึกศึกษาเนือหา จากสื่อด้วยตนเองจนเข้าใจ จึงทาแบบทดสอบหลังฝึก (Post-Test) 3) ผู้รับการฝึกทาแบบทดสอบหลังฝึก (Post-Test) ลงในกระดาษคาตอบ แล้วส่งให้ครูฝึกตรวจ และประเมินผล โดยใช้หลักเกณฑ์เดียวกับการประเมินแบบทดสอบก่อนฝึก 3.1.2 การฝึกอบรมที่ศูนย์ฝึกอบรม (Offline) คือ การฝึกอบรมที่ผู้รับการฝึกเรียนรู้ภาคทฤษฎีจากครูฝึก และฝึกภาคปฏิบัติที่ศูนย์ฝึกอบรม การฝึกภาคทฤษฎี - ผู้รับการฝึกเรียนรู้ภาคทฤษฎีจากครูฝึกโดยใช้สื่อสิ่งพิมพ์จากสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) และวีดิทัศน์ (DVD) ที่ศูนย์ฝึกอบรม

4 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู รั บ รฝึ ส ข ช่ งเครื่ อ ง รั บ อ

ศใ บ และ รพ ณิ ช ย์ ข ดเล็ ระดั บ 3 โมดู ล รฝึ ที่ 3

การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ผู้รับการฝึกทาแบบทดสอบก่อนฝึก (Pre-Test) ลงในกระดาษคาตอบ แล้วส่งกระดาษคาตอบ ให้ครูฝึกตรวจและประเมินผล 2) ครูฝึกประเมินแบบทดสอบก่อนฝึก - ถ้าผลการประเมินผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ตามที่กาหนดในเอกสารโครงร่างหลั กสูตร ผู้รับการฝึกจะมีสิทธิ์ขอเข้ารับการฝึกภาคปฏิบัติ (ถ้ามี) หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลถัดไป หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลที่ครูฝึกกาหนดได้ - ถ้าผลการประเมินต่ากว่าร้อยละ 70 ให้ผู้รับการฝึกศึกษาเนือหาจากสื่อด้วยตนเอง จนเข้าใจ จึงทาแบบทดสอบหลังฝึก (Post-Test) 3) ผู้รับการฝึกทาแบบทดสอบหลังฝึก (Post-Test) ลงในกระดาษคาตอบ แล้วส่งให้ครูฝึกตรวจ และประเมินผล โดยใช้หลักเกณฑ์เดียวกับการประเมินแบบทดสอบก่อนฝึก 3.1.3 การฝึกอบรมด้วยสื่อในระบบออนไลน์ (Online) คือ การฝึกอบรมที่ผู้รับการฝึกเรียนรู้ภาคทฤษฎีด้วยตนเองผ่านระบบจัดการฝึกด้วยคอมพิวเตอร์ หรือ CMI โดยใช้คู่มือผู้รับการฝึกที่เป็นสื่อออนไลน์ในแอปพลิเคชัน DSD m-Learning และฝึกภาคปฏิบัติที่ศูนย์ฝึกอบรม วิธีดาวน์โหลดแอปพลิเคชัน DSD m-Learning - ผู้รับการฝึกดาวน์ โหลดแอปพลิ เคชัน DSD m-Learning ซึ่งวิธีการดาวน์โหลดแอปพลิ เ คชัน สามารถแบ่งออกเป็น 2 ช่องทางตามแต่ละระบบปฏิบัติการ คือ 1) ผู้รับการฝึกที่ใช้เครื่องมือสื่อสารอิเล็กทรอนิกส์ ระบบปฏิบัติการ iOS ค้นหา แอปพลิเคชัน DSD m-Learning ใน App Store จากนันกดดาวน์โหลด เพื่อติดตังบนเครื่องมือสื่อสาร และเข้าใช้งานโดยกรอก Username และ Password ตามที่เคยลงทะเบียนไว้ 2) ผู้รับการฝึกที่ใช้เครื่องมือสื่ อสารอิเล็ กทรอนิกส์ ระบบปฏิบัติการ Android ค้นหา แอปพลิ เ คชั น DSD m-Learning ใน Google Play Store จากนั นกดดาวน์ โ หลด เพื่อติดตังบนเครื่องมือสื่อสาร และเข้าใช้งานโดยกรอก Username และ Password ตามที่เคยลงทะเบียนไว้ การฝึกภาคทฤษฎี - ผู้รับการฝึกเรียนรู้ภาคทฤษฎีด้วยตนเอง จากคู่มือผู้รับการฝึก ซึ่งเป็นสื่อออนไลน์บนแอปพลิเคชัน DSD m-Learning การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ผู้รับการฝึกทาแบบทดสอบก่อนฝึก (Pre-Test) ลงในแอปพลิเคชัน โดยระบบจะตรวจและประเมินผล อัตโนมัติ

5 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู รั บ รฝึ ส ข ช่ งเครื่ อ ง รั บ อ

ศใ บ และ รพ ณิ ช ย์ ข ดเล็ ระดั บ 3 โมดู ล รฝึ ที่ 3

- ถ้าผลการประเมินผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ตามที่กาหนดในเอกสารโครงร่างหลักสูตร ผู้รับการฝึกจะมีสิทธิ์ขอเข้ารับการฝึกภาคปฏิบัติ (ถ้ามี) หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลถัดไป หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลที่ครูฝึกกาหนดได้ - ถ้าผลการประเมินต่ากว่าร้อยละ 70 ให้ผู้รับการฝึกศึกษาเนือหาจากสื่อด้วยตนเอง จนเข้าใจแล้วจึงทาแบบทดสอบหลังฝึก (Post-Test) 2) ผู้รับการฝึกทาแบบทดสอบหลังฝึก โดยใช้หลักเกณฑ์เดียวกับการประเมินแบบทดสอบก่อนฝึก 3.2 ครูฝึกชีแจงรูปแบบการฝึกอบรมทัง 3 รูปแบบแก่ผู้รับการฝึก เพื่อทาการตกลงรูปแบบการฝึกอบรมร่วมกับผู้รับการฝึก โดยให้ผู้รับการฝึกเลือกวิธีที่สะดวก 3.3 ครูฝึกวางแผนการฝึกตลอดหลักสูตรร่วมกันกับผู้รับการฝึก 4. อุ รณ์ช่วยฝึ และช่องท ง รเข ถึงอุ รณ์ช่วยฝึ ผู้รับการฝึกสามารถเลือกใช้อุปกรณ์ช่วยฝึกได้ 2 รูปแบบ คือ รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ์ (Offline) และรูปแบบระบบจัดการฝึก ด้วยคอมพิวเตอร์ หรือ CMI (Online) โดยมีช่องทางการเข้าถึงอุปกรณ์ช่วยฝึกแต่ละรูปแบบแตกต่างกัน ดังนี 4.1 รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ์ (Offline) ประกอบด้วย - คู่มือผู้รับการฝึก เพื่อใช้ศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คู่มือการประเมิน เพื่อใช้ในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน์ (DVD) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 4.2 รูปแบบระบบจัดการฝึกด้วยคอมพิวเตอร์ หรือ CMI (Online) ดังนี - คู่มือผู้รับการฝึกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) เพื่อใช้ศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คู่มือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) เพื่อใช้ในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน์ (Online) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ

5.

รวัดและ ระเมิ ผล 5.1 การประเมินผลภาคทฤษฎี (ด้านความรู้) ประเมินผลจากแบบทดสอบภาคทฤษฎีก่อนฝึก และแบบทดสอบภาคทฤษฎีหลังฝึก โดยกาหนดเกณฑ์การให้คะแนน และการระบุความสามารถด้านความรู้ ดังนี เ ณฑ์ รใ คะแ ภ คทฤษฎี ตังแต่ร้อยละ 70 ขึนไป ต่ากว่าร้อยละ 70

เ ณฑ์ ร ระเมิ คว มส ม รถ ผ่าน (C) ไม่ผ่าน (NYC) 6

กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู รั บ รฝึ ส ข ช่ งเครื่ อ ง รั บ อ

ศใ บ และ รพ ณิ ช ย์ ข ดเล็ ระดั บ 3 โมดู ล รฝึ ที่ 3

ผู้รับการฝึกจะได้รับการประเมินผลการฝึกจากครูฝึก โดยจะต้องสามารถปฏิบัติตามความสามารถในแต่ละโมดูลนัน ๆ ได้ตามเกณฑ์ที่กาหนด จึงจะถือว่าผ่านการฝึกโมดูลนัน และเมื่อผ่านการฝึกครบทุกโมดูล จึงจะถือว่าฝึกครบชุดการฝึกนัน ๆ แล้ว

6. เงื่อ ไข รผ่

รฝึ

ผู้รับการฝึกที่จะผ่านโมดูลการฝึก ต้องได้รับค่าร้อยละของคะแนนการทดสอบภาคทฤษฏี คะแนนรวมไม่ต่ากว่าร้อยละ 70 จึงจะผ่านโมดูลการฝึก

7 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู รั บ รฝึ ส ข ช่ งเครื่ อ ง รั บ อ

ศใ บ และ รพ ณิ ช ย์ ข ดเล็ ระดั บ 3 โมดู ล รฝึ ที่ 3

ร ยละเอียด ลั สูตร ลั สูตรฝึ อบรมฝีมือแรงง ต มคว มส ม รถ ส ข ช่ งเครื่อง รับอ ศใ บ และ รพ ณิชย์ข ดเล็ ระดับ 3 รมพัฒ ฝีมือแรงง ระทรวงแรงง

ร ัส ลั สูตร 0920164170203

1. ขอบเขตของ ลั สูตร หลักสูตรนีพัฒ นาขึนให้ครอบคลุมด้านความรู้ ทักษะ และเจตคติแก่ผู้รับการฝึกในสาขาช่างเครื่องปรับอากาศ ในบ้านและการพาณิชย์ ขนาดเล็ก เพื่อให้มีความรู้ ความสามารถและทัศนคติตามมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติ สาขา ช่างเครื่องปรับอากาศในบ้านและการพาณิชย์ขนาดเล็ก ระดับ 3 ดังนี 1.1 มีความรู้ความสามารถเกี่ยวกับสัญลักษณ์สากลของอุปกรณ์ และเขียนแบบร่างเพื่อแสดงแผนผังการติดตัง เครื่องปรับอากาศ 1.2 มีความรู้ความสามารถในการใช้เครื่องมือวัดต่าง ๆ ที่ใช้ในเครื่องปรับอากาศ 1.3 มีความรู้ เกี่ย วกับ การทาความเย็ น ด้ว ยระบบระเหยตรง (Direct Expansion System) และระบบนาเย็ น (Chilled Water System) 1.4 มีความรู้ เกี่ย วกับ ระบบสารทาความเย็ นท่ว ม (Flooded System) และไดเร็กเอ็กซ์ แพนชั่นวาล์ ว (Direct Expansion Valve) 1.5 มีความรู้เกี่ยวกับองค์ประกอบที่มีผลต่อสมรรถนะของคอนเดนเซอร์ และแฟนคอยล์แบบครีบ 1.6 มีความรู้เกี่ยวกับองค์ประกอบที่มีผลต่อสมรรถนะของคอนเดนเซอร์แบบระบายความร้อนด้วยนา 1.7 มีความรู้เกี่ยวกับพืนผิวถ่ายเทความร้อนผ่านชันตัวนาความร้อนลาดับต่าง ๆ 1.8 มีความรู้ความสามารถในการแขวนหรือยึดท่อให้มั่นคง 1.9 มีความรู้เกี่ยวกับผลกระทบของสารเจือปนในสารทาความเย็น 1.10 มีความรู้เกี่ยวกับการประหยัดพลังงานไฟฟ้า การคานวณหากาลังไฟฟ้าของมอเตอร์ การคานวณหาความเร็วรอบ ของมอเตอร์ การคานวณค่าใช้จ่ายค่ากระแสไฟฟ้าที่เครื่องปรับอากาศใช้ 1.11 มีความรู้เกี่ยวกับหลักความปลอดภัยในการทางาน 2. ระยะเวล รฝึ ผู้ รั บ การฝึ กจะได้รั บ การฝึ ก ในภาคทฤษฎี และภาคปฏิบัติ โดยสถาบันพัฒ นาฝี มือแรงงาน หรือ สานักงานพัฒนา ฝีมือแรงงานที่เป็นหน่วยฝึกตามความสามารถใช้ระยะเวลาในการฝึก 50 ชั่วโมง 8 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู รั บ รฝึ ส ข ช่ งเครื่ อ ง รั บ อ

ศใ บ และ รพ ณิ ช ย์ ข ดเล็ ระดั บ 3 โมดู ล รฝึ ที่ 3

เนื่ อ งจากเป็ น การฝึ ก ที่ ขึ นอยู่ กั บ พื นฐานความรู้ ทั ก ษะ ความสามารถและความพร้ อ มของผู้ รั บ การฝึ ก แต่ละคน มีผลให้ผู้รับการฝึกจบการฝึกไม่พร้ อมกัน สามารถจบก่อนหรือเกินระยะเวลาที่กาหนดไว้ในหลั กสูตรได้ หน่วยฝึกจึงต้องบริ หารระยะเวลาในการฝึกให้เหมาะสมตามความจาเป็น ทังนี ให้อยู่ในดุลยพินิจของผู้อานวยการ สถาบันพัฒนาฝีมือแรงงาน หรือผู้อานวยการสานักงานพัฒนาฝีมือแรงงานที่เป็นหน่วยฝึกตามความสามารถจะเห็นสมควร 3.

ว่ ยคว มส ม รถและโมดูล รฝึ จานวนหน่วยความสามารถ 11 หน่วย จานวนโมดูลการฝึก 11 โมดูล

4. วุฒิบัตร 4.1 ชื่อเต็ม : วุฒิบัตรพัฒนาฝีมือแรงงาน สาขา ช่างเครื่องปรับอากาศในบ้านและการพาณิชย์ขนาดเล็ก ระดับ 3 4.2 ชื่อย่อ : วพร. สาขา ช่างเครื่องปรับอากาศในบ้านและการพาณิชย์ขนาดเล็ก ระดับ 3 4.3 ผู้ รั บ การฝึ ก ที่ ผ่ า นการประเมิ น ผลหรื อ ผ่ า นการฝึ ก ครบทุ ก หน่ ว ยความสามารถ จะได้ รั บ วุ ฒิ บั ต ร วพร. สาขา ช่างเครื่องปรับอากาศในบ้านและการพาณิชย์ขนาดเล็ก ระดับ 3

9 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู รั บ รฝึ ส ข ช่ งเครื่ อ ง รั บ อ

ศใ บ และ รพ ณิ ช ย์ ข ดเล็ ระดั บ 3 โมดู ล รฝึ ที่ 3

ร ยละเอียดโมดูล รฝึ ที่ 3 1. ชื่อ ลั สูตร

สาขาช่างเครื่องปรับอากาศในบ้านและการพาณิชย์ขนาดเล็ก ร ัส ลั สูตร ระดับ 3 0920164170203 2. ชื่อโมดูล รฝึ การทาความเย็นด้วยระบบระเหยตรง (Direct Expansion ร ัสโมดูล รฝึ System) และระบบนาเย็น (Chilled Water System) 09217314 3. ระยะเวล รฝึ รวม 1 ชั่วโมง 30 นาที ทฤษฎี 1 ชั่วโมง 30 นาที ปฏิบัติ - ชัว่ โมง 4. ขอบเขตของ ่วย หน่วยการฝึกนี พัฒนาขึนให้ครอบคลุ มด้านความรู้ ทักษะ และเจตคติแก่ผู้รับ การฝึ ก รฝึ เพื่อให้มีความสามารถ ดังนี 1. อธิบายการทาความเย็นด้ว ยระบบระเหยตรง (Direct Expansion System) ได้ 2. อธิบายการทาความเย็นด้วยระบบนาเย็น (Chilled Water System) ได้ 5. พื ฐ ผู้สมัครเข้ารับการฝึกต้องมีคุณสมบัติ ดังต่อไปนี คว มส ม รถของ 1. มีความรู้พืนฐานสามารถอธิบายเกี่ยวกับการทาความเย็นด้วยระบบระเหยตรง การทา ผูรับ รฝึ ความเย็นด้ว ยระบบนาเย็น หรือผ่ านการฝึ กอบรมที่เกี่ยวข้องจากหน่ว ยงานหรื อ สถาบันที่เชื่อถือได้ 2. ผู้รับการฝึกผ่านระดับ 2 มาแล้ว 3. ผู้รับการฝึกผ่านโมดูลที่ 2 มาแล้ว 6. ผลลัพธ์ รเรีย รู : เมื่อสาเร็จการฝึกในโมดูลนีแล้วผู้รับการฝึกสามารถปฏิบัติงานโดยมีความรู้ความสามารถและใช้ ระยะเวลาฝึก ดังนี ระยะเวล ฝึ (ชั่วโมง : นาที) ผลลัพธ์ รเรีย รู ชื่อ ัวขอวิช ทฤษฎี ฏิบัติ รวม 1. อธิบ ายการทาความเย็น หัวข้อที่ 1: การทาความเย็นด้วยระบบระเหยตรง 0:45 0:45 ด้วยระบบระเหยตรง (Direct Expansion System) (Direct Expansion System) ได้ 2. อธิบายการทาความเย็น หัวข้อที่ 2 : การทาความเย็นด้วยระบบนาเย็น 0:45 0:45 ด้วยระบบนาเย็น (Chilled Water System) (Chilled Water System) ได้ รวมทังสิ

1:30

10 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน

-

1:30


คู่ มื อ ผู รั บ รฝึ ส ข ช่ งเครื่ อ ง รั บ อ

ศใ บ และ รพ ณิ ช ย์ ข ดเล็ ระดั บ 3 โมดู ล รฝึ ที่ 3

ร ยละเอียด ัวขอวิช ที่ 1 0921731401 รท คว มเย็ ดวยระบบระเ ยตรง (Direct Expansion System) (ใบแ ะ ) 1. ผลลัพธ์ รเรีย รู - อธิบายการทาความเย็ นด้ว ยระบบระเหยตรง (Direct Expansion System) ได้

2. ัวขอส คัญ - การทาความเย็นด้วยระบบระเหยตรง (Direct Expansion System)

3. วิธี รฝึ อบรม การฝึกอบรมสามารถเลือกได้ 3 รูปแบบ คือ 1) การฝึกอบรมด้วยการส่งมอบสื่อสิ่งพิมพ์ 2) การฝึกอบรมที่ศูนย์ฝึกอบรม 3) การฝึกอบรมด้วยสื่อในระบบออนไลน์ ดังรายละเอียดในข้อแนะนาสาหรับผู้รับการฝึก

4. อุ รณ์ช่วยฝึ อุปกรณ์ช่วยฝึกสามารถเลือกใช้งานได้ 2 รูปแบบ คือ 1. รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ์ (Offline) ประกอบด้วย - คู่มือผู้รับการฝึก เพื่อใช้ศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คู่มือการประเมิน เพื่อใช้ในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน์ (DVD) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 2. รูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ (Online) ประกอบด้วย - คู่มือผู้รับการฝึกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) เพื่อใช้ศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คู่มือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) เพื่อใช้ในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน์ (Online) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ

11 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู รั บ รฝึ ส ข ช่ งเครื่ อ ง รั บ อ

ศใ บ และ รพ ณิ ช ย์ ข ดเล็ ระดั บ 3 โมดู ล รฝึ ที่ 3

5.

รรับ รฝึ อบรม 1. ผู้รับการฝึกทาแบบทดสอบก่อนฝึก (Post-Test) แล้วส่งให้ครูฝึกหรือระบบประเมินผลตามวิธีที่เลือกฝึกอบรม 1.1 ถ้าผลการประเมินผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ตามที่กาหนดในเอกสารโครงร่างหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเข้ารับการฝึก ภาคปฏิบัติ (ถ้ามี) หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลถัดไป หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลที่ครูฝึกกาหนดได้ 1.2 ถ้าผลการประเมินต่ากว่าร้อยละ 70 ให้ผู้รับการฝึกเข้าฝึกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝึกอบรมภาคทฤษฎี ให้ผู้รับการฝึกศึกษาคู่มือผู้รับการฝึก และฝึกหัดทาใบทดสอบท้ายหัวข้อวิชา 3. เมื่อผู้รับการฝึกศึกษาคู่มือผู้รับการฝึก ประจาโมดูลนันเข้าใจแล้ว ให้ทาแบบทดสอบหลังฝึก (Post-Test) แล้วส่งให้ ครูฝึกหรือระบบประเมินผลเช่นเดียวกับแบบทดสอบก่อนฝึก

6.

รวัดผล 1. ผู้รับการฝึกส่งแบบทดสอบก่อนฝึก ให้ครูฝึกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎีตามวิธีที่เลือกฝึกอบรม 1.1 ถ้าผลการประเมินผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ตามที่กาหนดในเอกสารโครงร่างหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเข้ารับการฝึก ภาคปฏิบัติ (ถ้ามี) หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลถัดไปได้ 1.2 ถ้าผลการประเมินต่ากว่าร้อยละ 70 ให้ครูฝึกมอบหมายให้ผู้รับการฝึกศึกษาเนือหาจากสื่อด้วยตนเองจนเข้าใจ จึงทาแบบทดสอบหลังฝึก (Post-Test) 2. ผู้รับการฝึกส่งแบบทดสอบหลังฝึก ให้ครูฝึกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎี โดยใช้หลักเกณฑ์เดียวกับการประเมิน แบบทดสอบก่อนฝึก

7. บรรณ ุ รม กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน. 2553. ระบบ รับอ ศ. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : http://www2.dede.go.th/bhrd/old/Download/file_handbook/Pre_Build/Build_14.pdf มงคล พูนโตนด. 2557. เครื่องท คว มเย็ . นนทบุรี : ศูนย์หนังสือเมืองไทย. วีระศักดิ์ มะโนน้อม และสมชาย วณารักษ์. 2556. เครื่องท คว มเย็ และ รับอ ศ. กรุงเทพฯ : เอมพันธ์

12 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู รั บ รฝึ ส ข ช่ งเครื่ อ ง รั บ อ

ศใ บ และ รพ ณิ ช ย์ ข ดเล็ ระดั บ 3 โมดู ล รฝึ ที่ 3

ใบขอมูล ัวขอวิช ที่ 1 รท คว มเย็ ดวยระบบระเ ยตรง 1.

รท คว มเย็ ดวยระบบระเ ยตรง (Direct Expansion System) ระบบระเหยตรง หรือ เรียกว่าระบบดีเอ็กซ์ (DX) เป็นเครื่องปรับอากาศที่ใช้สารทาความเย็นผ่านท่อในส่วนของคอยล์เย็น

ซึ่งเป็นคอนเดนเซอร์ชนิดระบายความร้อนด้วยอากาศ โดยอากาศภายนอกจะถูกเป่าโดยพัดลมไปยังท่อของสารทาความเย็น เพื่อให้สารทาความเย็นในนันได้ดูดความร้อนโดยตรงจากอากาศที่ผ่านเข้ามา ทาให้อากาศรอบ ๆ ระบบเย็นลง สามารถแบ่ง ประเภทของการทาความเย็นด้วยระบบระเหยตรง เป็น 2 ประเภท ดังนี - แบบ Central คือ ระบบปรับอากาศที่มีศูนย์กลางในจ่ายลมเย็น โดยใช้การส่งลมเย็นด้วยท่อลมไปยังบริเวณ ที่ต้องการปรับอากาศเหมาะกับความต้องการปรับอากาศในอาคารขนาดใหญ่ หรือมีหลายชัน

ภาพที่ 1.1 การทาความเย็นด้วยระบบระเหยตรงแบบ Central - แบบ Split คือ เครื่องปรับอากาศแบบแยกส่วน ซึ่งเป็นเครื่องปรับอากาศที่นิยมใช้กับบ้านพักอาศัย เนื่องจาก หาซือและติดตังได้ง่าย และแต่ละส่วนมีอิสระในการใช้งาน แต่ไม่เหมาะกับการใช้งานในอาคารขนาดใหญ่ เพราะใช้กระแสไฟฟ้ามาก

ภาพที่ 1.2 การทาความเย็นด้วยระบบระเหยตรงแบบ Split ประกอบด้วยอุปกรณ์หลัก ได้แก่ คอมเพรสเซอร์ คอนเดนเซอร์ ถังพักนายาเหลว เอ็ กซ์แพนชั่นวาล์ว และอีวาพอเรเตอร์ ซึ่งทางานร่ ว มกัน เป็ น วัฏ จั กร และทาให้เกิดความเย็นขึนมา 13 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู รั บ รฝึ ส ข ช่ งเครื่ อ ง รั บ อ

ศใ บ และ รพ ณิ ช ย์ ข ดเล็ ระดั บ 3 โมดู ล รฝึ ที่ 3

ภาพที่ 1.3 วัฏจักรเครื่องทาความเย็นด้วยระบบระเหยตรงแบบ Central หลักการทางานของระบบระเหยตรง เริ่มจากคอมเพรสเซอร์ดูดนายาสถานะแก๊ส จากท่อทางดูด ( Suction Line) ของคอมเพรสเซอร์ จากนั นจะอัด ให้ม ีค วามดัน และอุณ หภูม ิที ่ส ูง ขึ น แล้ว ส่ง ออกไปยัง ท่อ ทางอัด หรือ ท่อดิส ชาร์จ (Discharge Line) ไปยังคอนเดนเซอร์ นายาที่มีความดันสูง อุณหภูมิสูงจะถูกระบายความร้อนออกด้วยนาหรืออากาศ และควบแน่น เปลี่ย นสถานะจากแก๊ส เป็น ของเหลว จากนันถู กส่งเข้าท่อลิควิด (Liquid Line) ไปยังถังพักนายาเหลว เข้าไปยัง เอ็ก ซ์แ พนชั่น วาล์ว ซึ่งมีหน้าที่ควบคุมปริมาณนายาโดยฉีดนายาให้เป็นฝอยเข้าไปในอีวาพอเรเตอร์ สารทาความเย็น สถานะของเหลวเมื่อความดันลดลง ก็จะดึงความร้อนในอีวาพอเรเตอร์เพื่อนามาใช้ในการเดือดทาให้อุณหภูมิภายในลดลง ดังนัน สารทาความเย็นที่ออกจากอีวาพอเรเตอร์ จะเปลี่ยนสถานะกลายเป็นแก๊สที่มีความดันต่า อุณหภูมิต่า ผ่านเข้ายังท่อทางดูด และถูกดูดกลับเข้าคอมเพรสเซอร์ หลังจากนันจะถูกคอมเพรสเซอร์อัดให้มีความดันสูง อุณหภูมิสูงส่งออกไปยังคอนเดนเซอร์ เพื่อควบแน่นเป็นวัฏจักรไปเรื่อย ๆ โดยที่นายาแอร์ จะไม่สูญหาย ถ้าหากไม่มีการรั่วซึมในระบบ

14 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู รั บ รฝึ ส ข ช่ งเครื่ อ ง รั บ อ

ศใ บ และ รพ ณิ ช ย์ ข ดเล็ ระดั บ 3 โมดู ล รฝึ ที่ 3

ใบทดสอบ ค ชีแจง ให้ผู้รับการฝึกทาเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคาตอบข้อที่ถูกที่สุดเพียงข้อเดียว 1. ข้อใด คือ การทางานของ DX ก. การใช้สารทาความเย็นผ่านท่อของคอยล์เย็น ข. การใช้สารทาความเย็นผ่านท่อของคอยล์ร้อน ค. การใช้สารกระจายความเย็นผ่านท่อของคอยล์เย็น ง. การใช้สารกระจายความเย็นผ่านท่อของคอยล์ร้อน 2. เมื่อชุดคอมเพรสเซอร์ทางานเสร็จจะส่งไปยังอุปกรณ์ใด ก. ซับคูล (Subcool) ข. คอนเดนเซอร์ (Condenser) ค. อีวาพอเรเตอร์ (Evaporator) ง. อุปกรณ์ลดแรงดัน (Expansion Valve) 3. ข้อใดคืออุปกรณ์ที่หน้าที่ระบายความร้อนของสารทาความเย็นออกและควบแน่นสารทาความเย็นให้เปลี่ยนสถานะจากไอ (Vapor) กลายเป็นของเหลว (Liquid) ก. ดรายเออร์ (Dryer) ข. ไซด์กลาส (Sight glass) ค. คอนเดนเซอร์ (Condenser) ง. คอมเพรสเซอร์ (Compressor)

15 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู รั บ รฝึ ส ข ช่ งเครื่ อ ง รั บ อ

ศใ บ และ รพ ณิ ช ย์ ข ดเล็ ระดั บ 3 โมดู ล รฝึ ที่ 3

ระด ษค ตอบ ขอ

1 2 3

16 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู รั บ รฝึ ส ข ช่ งเครื่ อ ง รั บ อ

ศใ บ และ รพ ณิ ช ย์ ข ดเล็ ระดั บ 3 โมดู ล รฝึ ที่ 3

ร ยละเอียด ัวขอวิช ที่ 2 0921731402 รท คว มเย็ ดวยระบบ เย็ (Chilled Water System) (ใบแ ะ ) 1. ผลลัพธ์ รเรีย รู - อธิบายการทาความเย็นด้วยระบบนาเย็น (Chilled Water System) ได้

2. ัวขอส คัญ - การทาความเย็นด้วยระบบนาเย็น

3. วิธี รฝึ อบรม การฝึกอบรมสามารถเลือกได้ 3 รูปแบบ คือ 1) การฝึกอบรมด้วยการส่งมอบสื่อสิ่งพิมพ์ 2) การฝึกอบรมที่ศูนย์ฝึกอบรม 3) การฝึกอบรมด้วยสื่อในระบบออนไลน์ ดังรายละเอียดในข้อแนะนาสาหรับผู้รับการฝึก

4. อุ รณ์ช่วยฝึ อุปกรณ์ช่วยฝึกสามารถเลือกใช้งานได้ 2 รูปแบบ คือ 1. รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ์ (Offline) ประกอบด้วย - คู่มือผู้รับการฝึก เพื่อใช้ศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คู่มือการประเมิน เพื่อใช้ในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน์ (DVD) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 2. รูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ (Online) ประกอบด้วย - คู่มือผู้รับการฝึกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) เพื่อใช้ศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คู่มือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) เพื่อใช้ในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน์ (Online) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ

17 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู รั บ รฝึ ส ข ช่ งเครื่ อ ง รั บ อ

ศใ บ และ รพ ณิ ช ย์ ข ดเล็ ระดั บ 3 โมดู ล รฝึ ที่ 3

5.

รรับ รฝึ อบรม 1. ผู้รับการฝึกทาแบบทดสอบก่อนฝึก (Post-Test) แล้วส่งให้ครูฝึกหรือระบบประเมินผลตามวิธีที่เลือกฝึกอบรม 1.1 ถ้าผลการประเมินผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ตามที่กาหนดในเอกสารโครงร่างหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเข้ารับการฝึก ภาคปฏิบัติ (ถ้ามี) หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลถัดไป หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลที่ครูฝึกกาหนดได้ 1.2 ถ้าผลการประเมินต่ากว่าร้อยละ 70 ให้ผู้รับการฝึกเข้าฝึกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝึกอบรมภาคทฤษฎี ให้ผู้รับการฝึกศึกษาคู่มือผู้รับการฝึก และฝึกหัดทาใบทดสอบท้ายหัวข้อวิชา 3. เมื่อผู้รับการฝึกศึกษาคู่มือผู้รับการฝึก ประจาโมดูลนันเข้าใจแล้ว ให้ทาแบบทดสอบหลังฝึก (Post-Test) แล้วส่งให้ ครูฝึกหรือระบบประเมินผลเช่นเดียวกับแบบทดสอบก่อนฝึก

6.

รวัดผล 1. ผู้รับการฝึกส่งแบบทดสอบก่อนฝึก ให้ครูฝึกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎีตามวิธีที่เลือกฝึกอบรม 1.1 ถ้าผลการประเมินผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ตามที่กาหนดในเอกสารโครงร่างหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเข้ารับการฝึก ภาคปฏิบัติ (ถ้ามี) หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลถัดไปได้ 1.2 ถ้าผลการประเมินต่ากว่าร้อยละ 70 ให้ครูฝึกมอบหมายให้ผู้รับการฝึกศึกษาเนือหาจากสื่อด้วยตนเองจนเข้าใจ จึงทาแบบทดสอบหลังฝึก (Post-Test) 2. ผู้รับการฝึกส่งแบบทดสอบหลังฝึก ให้ครูฝึกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎี โดยใช้หลักเกณฑ์เดียวกับการประเมิน แบบทดสอบก่อนฝึก

7. บรรณ ุ รม กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน. ร ระ ยัดพลังง ใ ระบบท คว มเย็ . [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : http://www.enconlab.com/ve/Download/energy/The%20Economic%20Use%20of%20RefrIgertion %20Plant.PDF เอส. เจ. คอมเพรสเซอร์ เซอร์วิส. 2556. ลั รท ง ของ Chiller. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : http://www.sjcompressor.com/1049560/chilre

18 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู รั บ รฝึ ส ข ช่ งเครื่ อ ง รั บ อ

ศใ บ และ รพ ณิ ช ย์ ข ดเล็ ระดั บ 3 โมดู ล รฝึ ที่ 3

ใบขอมูล ั ว ข อวิ ช ที่ 2 1.

รท คว มเย็ ดวยระบบ เย็ (Chilled Water System)

รท คว มเย็ ดวยระบบ เย็ ระบบปรับอากาศชนิดระบายความร้อนด้วยนา จะใช้นาเย็นในการกระจายความเย็นสู่ส่วนต่าง ๆ ของอาคารแทนสารทาความเย็น

นาเย็นจะถูกผลิตขึนที่ห้องเครื่องส่วนกลาง โดยเครื่องทานาเย็น (Water Chiller) ซึ่งเป็นระบบทาความเย็นที่ออกแบบสาหรับ ทานาเย็น เครื่องทานาเย็นอาจเป็นแบบหอยโข่ง (Centrifugal Chiller) แบบลูกสูบ (Reciprocating Chiller) หรือแบบสกรู (Screw Chiller) นาเย็นจะถูกส่งไปยังเครื่องส่งลมเย็น (Air Handling Unit : AHU) ที่ติดตังในส่วนต่าง ๆ ของอาคาร โดย อุปกรณ์ส่งจ่ายลมเย็นแต่ละชุดจะมีลินควบคุมปริมาณนา ซึ่งได้รับสัญญาณจากอุปกรณ์ควบคุมอุณหภูมิ โดยถ้าอุณหภูมิใน พืนที่ปรับอากาศสูง จะส่ง สัญ ญาณให้ลิ นเปิดนาเข้า ขดท่อ แลกเปลี่ย นความร้อ นมากขึน พัด ลมจ่ายอากาศจะดูดอากาศ ภายในอาคารผ่านคอยล์เย็น ซึ่งความร้อนจะถูกถ่ายเทให้กับนาเย็น จากนันอากาศเย็นจะถูกจ่ายไปยังพืนที่ส่วนต่าง ๆ โดย ระบบท่อลม เครื่องสูบนาเย็นจะสูบนาจากคอยล์เย็นของเครื่องส่งลมไปยังอีวาพอเรเตอร์ของเครื่องทานาเย็น เพื่อลดอุณหภูมิ เป็ น น าเย็ น อี ก ครั ง เครื่ อ งท าน าเย็ น ชนิ ด ระบายความร้ อ นด้ ว ยน าจะใช้ น าหล่ อ เย็ น ในการถ่ า ยเทความร้ อ นออกจาก คอนเดนเซอร์ของเครื่องทานาเย็น นาจากคอนเดนเซอร์จะถูกส่งไปยังหอผึ่งนาโดยเครื่องสูบนาหล่อเย็น ที่หอผึ่งนา อากาศ จะถูกเป่าผ่านนาหล่อเย็นที่ร้อน เพื่อถ่ายเทความร้อนออกสู่บรรยากาศภายนอกหลังจากอุณหภูมินาลดลงตามต้องการจะถูก ส่งไปเข้า Condenser อีกครังโดยการดูดของปั๊มนาระบายความร้อน ดังนันการประหยัดพลังงานในระบบนี จะต้องเพิ่ม ประสิทธิภาพของอุปกรณ์แต่ละอุปกรณ์ให้สูงที่สุด และใช้งานให้สัมพันธ์กับภาระการปรับอากาศ

ภาพที่ 2.1 ระบบปรับอากาศชนิดระบายความร้อนด้วยนา 19 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู รั บ รฝึ ส ข ช่ งเครื่ อ ง รั บ อ

ศใ บ และ รพ ณิ ช ย์ ข ดเล็ ระดั บ 3 โมดู ล รฝึ ที่ 3

วัฏจักรสารทาความเย็น เริ่มจากเมื่อป้อนไฟฟ้าเข้าที่เครื่องอัดไอ เครื่องอัดไอจะดูดไอสารทาความเย็นที่เครื่องระเหย แล้วอัดส่งไปเข้าที่เครื่องควบแน่น ความร้อนจากสารทาความเย็นจะถ่ายเทให้กับนาระบายความร้อนทาให้สารทาความเย็น กลั่นตัวกลายเป็นของเหลวที่มีความดันสูง เมื่อสารทาความเย็นไหลผ่านอุปกรณ์ลดความดันไปยังเครื่องระเหยสารทาความเย็นจะมี ความดันและอุณหภูมิต่าลง ความร้อนจากนาเย็นที่ไหลผ่านเครื่องระเหยจะถ่ายเทให้กับสารทาความเย็น ทาให้สารทาความเย็น ระเหยกลายเป็นไอ แล้วถูกเครื่องอัดไอดูดไปเริ่มวัฏจักรใหม่ วัฏจักรนาระบายความร้อน เริ่มจากนาระบายความร้อนเมื่อได้รับความร้อนจากสารทาความเย็นในเครื่องควบแน่น จะมีอุณหภูมิสูงขึน แล้วถูกเครื่องสูบนาระบายความร้อนส่งไปที่หอระบายความร้อน (Cooling Tower) เพื่อถ่ายเทความร้อน ให้กับอากาศโดยการระเหยนา ทาให้นามีอุณหภูมิลดลง แล้วไหลกลับไปรับความร้อนที่เครื่องควบแน่นอีก ทาให้ครบวัฏจักรนา ระบายความร้อน วัฏจักรนาเย็น เริ่มจากนาเย็นเมื่อถ่ายเทความร้อนให้กับเครื่องระเหยก็มีอุณหภูมิต่าลง แล้วถูกเครื่องสูบนาเย็นสูบนาเย็น ไปส่งที่เครื่องส่งนาเย็น (Air Handling Unit) เพื่อถ่ายเทความร้อนให้กับอากาศ ทาให้นาเย็นมีอุณหภูมิสูงขึนแล้วไหลกลับไป ถ่ายเทความร้อนให้กับเครื่องระเหยอีก ทาให้ครบวัฏจักรนาเย็น วัฏจักรลมเย็น เริ่มจากพัดลงของเครื่องส่งลมเย็นจะดูดอากาศร้อนจากห้องปรับอากาศผ่านระบบท่อลมไปถ่ายเทความร้อน ให้กับนาเย็นที่อยู่ภายในขดท่อแลกเปลี่ยนความร้อน ทาให้อากาศมีอุณหภูมิและความชืนต่าลงแล้วส่งกลับไปที่ห้องปรับอากาศ ทาให้ครบวัฏจักรลมเย็น 1.1 อุ รณ์ใ ระบบ รับอ

ศแบบ เย็

1) เครื่องทานาเย็น (Water Chiller) เครื่องทานาเย็นแบบอัดไอประกอบด้วยเครื่องอัดไอ (Compressor) เครื่องควบแน่น (Condenser) เครื่องระเหย (Evaporator) และวาล์วลดความดัน (Expansion Valve) ซึ่งมีสารทาความเย็น เช่น R – 22, R – 123 หรือ R – 134a บรรจุอยู่ภายใน โดยทาหน้าที่ผลิตนาเย็นส่งไปให้กับเครื่องส่งลมเย็น เครื่องทานาเย็นใช้เครื่องอัดไอ ได้หลายแบบ เช่น เครื่องทานาเย็นขนาดใหญ่ประมาณ 500 ตันความเย็นนิยมใช้เครื่องอัดไอแบบหอยโข่ง (Centrifugal) ซึ่งมีประสิทธิภาพสูงประมาณ 0.6 kW/TR เครื่องทานาเย็นขนาดกลางประมาณ 300 ตันความเย็น จะใช้เครื่องอัดไอแบบสกรู (Screw) ซึ่งมีประสิทธิภาพปานกลางประมาณ 0.8kW/TR และเครื่องทานาเย็น ขนาดเล็กประมาณ 100 ตันความเย็นจะใช้เครื่องอัดไอแบบลูกสูบ (Piston) ซึ่งมีประสิทธิภาพต่าประมาณ 1.0 kW/TR

20 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู รั บ รฝึ ส ข ช่ งเครื่ อ ง รั บ อ

ศใ บ และ รพ ณิ ช ย์ ข ดเล็ ระดั บ 3 โมดู ล รฝึ ที่ 3

ภาพที่ 2.2 เครื่องทานาเย็น (Water Chiller) 2) เครื่องสูบนา (Water Pump) เป็นอุปกรณ์หลักในการขับเคลื่อนของเหลวซึ่งในที่นีคือ นา โดยการป้อนพลังงานเชิงกลเข้าไป ทาให้นา ที่ถูกขับมีความดันสูงขึน ความดันดังกล่าวจะทาหน้าที่เอาชนะแรงเสียดทานที่เกิดขึนจากท่อ ข้อต่อ วาล์ว และอุปกรณ์ต่าง ๆ เพื่อให้ได้อัตราการไหลตามที่ต้องการ การขับเคลื่อนที่เครื่องสูบนานันอาศัยมอเตอร์ไฟฟ้า ซึ่งจะเปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าให้เป็นพลังงานกล เครื่องสูบนาแบ่งได้เป็น 2 แบบใหญ่ ๆ ดังนี - แบบ Positive Displacement เครื่องสูบนาแบบนีจะอาศัยการกักนาในบริเวณที่มีปริม าตร จากัดแล้วอาศัยแรงดันเพื่อลดปริมาตรนันลง ส่งผลให้เกิดการไหลขึน ตัวอย่างได้แก่ แบบลูกสูบ แบบโรตารี่เวน แบบไดอะแฟรม โดยทั่ว ไปเครื่อ งสูบ นาประเภทนี จะให้ค วามดัน สู ง และ อัตราการไหลต่า

ภาพที่ 2.3 เครื่องสูบนาแบบ Positive Displacement - แบบ Rotor Dynamic เครื่องสูบนาแบบนีจะอาศัยหลักการเหวี่ยงของใบพัด เพื่อให้นามีความเร็ว เพิ่มขึน โดยพลังงานจลน์ที่ได้จะถูกเปลี่ยนให้อยู่ในรูปของความดันของนาที่เพิ่มขึนซึ่งจะส่งผลให้ เกิดการไหลขึนเช่น กัน ตัวอย่างได้แก่ แบบหอยโข่ง ซึ่งมีใช้กันอย่างแพร่หลายในที่อยู่อาศัย อาคารพาณิชย์และโรงงานอุตสาหกรรม โดยทั่วไปเครื่องสูบนาประเภทนีจะให้ความดันต่าถึง ปานกลาง อัตราการไหลสูง 21 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู รั บ รฝึ ส ข ช่ งเครื่ อ ง รั บ อ

ศใ บ และ รพ ณิ ช ย์ ข ดเล็ ระดั บ 3 โมดู ล รฝึ ที่ 3

ภาพที่ 2.4 เครื่องสูบนาแบบ Rotor Dynamic 3) หอระบายความร้อน (Cooling Tower) หอระบายความร้อนเป็นอุปกรณ์ทางด้านปลายทางของระบบนาระบายความร้อน ซึ่งทาหน้าที่ลดอุณหภูมิ ของนา ระบายความร้อนโดยใช้อากาศเพื่อระเหยนา ดังนันปริมาณของนาระบายความร้อนที่ผ่านหอระบายความร้อน มีปริมาณลดลง จากการระเหยและ Drift Loss จึงต้องมีการเติมนาจากแหล่งนาภายนอกเข้าสู่ตัวหอระบาย ความร้อนเพื่อรักษาปริมาณนาในระบบให้คงที่ หอระบายความร้อนนันสามารถแบ่งตามการไหลของอากาศ ได้เป็น 2 ชนิดคือ - แบบการไหลตามธรรมชาติ (Natural Draft) หอระบายความร้อนแบบการไหลธรรมชาติ จะใช้หลักการลอยตัวเนื่องจากผลต่างของความหนาแน่น โดยอากาศที่มีอุณหภูมิสูงและชืนจะมี ความหนาแน่นน้อยกว่าอากาศที่เย็นกว่าและแห้ งกว่า ส่งผลให้อากาศที่มีอุณหภูมิสูงและชืน ลอยตัวขึน - แบบการไหลเชิงกล (Mechanical Draft) หอระบายความร้อนแบบไหลเชิงกลจะอาศัยพัดลม ในการขับเคลื่อนอากาศ ซึ่งจะสามารถแบ่งย่อยได้เป็น 2 ชนิด คือ แบบ Forced Draft คือ แบบเป่าอากาศเข้าสู่หอระบายความร้อน และแบบ Included Draft คือ แบบดูดอากาศออก จากหอระบายความร้อน นอกจากนันยังสามารถแบ่งหอระบายความร้อนตามลักษณะทิศทางการไหลระหว่างอากาศและนา เป็น 2 ชนิด ดังนี - แบบการไหลสวนทาง (Counter Flow) - แบบการไหลตังฉาก (Cross Flow) ภายในหอระบายความร้อนบรรจุด้วยฟิล (Fill) ซึ่งทาหน้าที่เพิ่มพืนที่ผิวของนาให้สัมผัสกับอากาศได้มากที่สุด และทาให้นาสัมผัสกับอากาศได้นานที่สุด โดยทั่วไปฟิลแบ่งเป็น 2 ชนิด ดังนี

22 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู รั บ รฝึ ส ข ช่ งเครื่ อ ง รั บ อ

ศใ บ และ รพ ณิ ช ย์ ข ดเล็ ระดั บ 3 โมดู ล รฝึ ที่ 3

- แบบ Splash ซึ่งมีลักษณะเป็นแถบยาวจานวนหลายแถบวางเหลื่อมกันเพื่อขวางการไหลของนา ที่ตกลงมา ส่งผลให้นาแตกกระจายเป็นหยดนาขนาดเล็ก - แบบ Film ซึ่งมีลักษณะเป็นแผ่นบางและบังคับให้นาไหลตามร่องที่ต้องการเพื่อสัมผัสกับอากาศ ปัจจุบันหอระบายความร้อนที่นิยมใช้กันแพร่หลายกับระบบปรับอากาศ คือ พอระบายความร้อน แบบ Included Draft, Film Fill โดยมีทังระบบ Counter Flow และ Cross Flow

ภาพที่ 2.5 หอระบายความร้อน 4) เครื่องส่งลมเย็น (Air Handling Unit) เครื่องส่งลมเย็ นเป็น อุป กรณ์ทางด้านปลายทางของระบบนาเย็น ซึ่งทาหน้าที่แลกเปลี่ ยนความร้ อน ระหว่างนาเย็นที่มาจากเครื่องทานาเย็นกับอากาศที่มาจากห้องปรับอากาศ ส่งผลให้อากาศที่ผ่านออกไป มีอุณหภูมิและความชืนต่าลงตามความต้องการในการปรับอากาศต่อไป เครื่องส่งลมเย็นประกอบด้วย พัดลม คอยล์ทาความเย็น แดมเปอร์ และแผงกรองอากาศรวมอยู่ในตัวเครื่องเดียวกัน โดยเครื่องส่งลมเย็นขนาดใหญ่ นิยมเรียกสัน ๆ ว่า AHU (Air Handling Unit) สาหรับเครื่องขนาดเล็ก จะเรียกว่า FCU (Fan Coil Unit) การติดตังเครื่องมักจะติดตังอยู่ภายในอาคาร โดยถ้าเป็นเครื่องขนาดเล็กจะติดตังโดยการแขวนใต้ฝ้าเพดาน ยึด ติด กับ ผนัง ตั งพื น หรือ ซ่อ นในฝ้า เพดาน ส าหรับ เครื่อ งขนาดใหญ่จ ะจัด ให้มีห้อ งเครื่อ งเพื่อ ติด ตัง เครื่องส่งลมเย็นขนาดใหญ่ โดยต่อท่อลมเข้ากับเครื่องซึ่งแยกเป็ น 2 ส่วนคือ ท่อลมที่ออกจากเครื่องเรียกว่า ท่อลมส่ง (Supply Air Duct) และท่อลมที่นาลมภายในห้องกลับมาที่เครื่อง เรียกว่า ท่อลมกลับ (Return Air Duct) นอกจากนันยังมีการนาอากาศภายนอกเข้ามาผสมกับอากาศภายในก่อนที่จะผ่านคอยล์ทาความเย็น เพื่อให้อากาศภายในมีปริมาณออกซิเจนเพียงพอด้วย

23 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู รั บ รฝึ ส ข ช่ งเครื่ อ ง รั บ อ

ศใ บ และ รพ ณิ ช ย์ ข ดเล็ ระดั บ 3 โมดู ล รฝึ ที่ 3

ภาพที่ 2.6 เครื่องส่งลมเย็น (Air Handling Unit)

24 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู รั บ รฝึ ส ข ช่ งเครื่ อ ง รั บ อ

ศใ บ และ รพ ณิ ช ย์ ข ดเล็ ระดั บ 3 โมดู ล รฝึ ที่ 3

ใบทดสอบ ค ชีแจง ให้ผู้รับการฝึกทาเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคาตอบข้อที่ถูกที่สุดเพียงข้อเดียว 1. นาร้อนในวัฏจักรระบบทาความเย็นด้วยนาจะแลกเปลี่ยนความร้อนกับบรรยากาศที่ตาแหน่งใด ก. หอระบายความร้อน (Cooling Tower) ข. เครื่องส่งลมเย็น (Air Handling Unit) ค. เครื่องทานาเย็น (Water Chiller) ง. FCU (Fan Coil Unit) 2. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับ Rotor Dynamic ก. เครื่องสูบนาแบบนีจะอาศัยหลักการเหวี่ยงของใบพัด ข. พลังงานจลน์ที่ได้จะถูกเปลี่ยนให้อยู่ในรูปของแก๊สที่เพิ่มขึน ค. ใช้กันอย่างแพร่หลายในที่อยู่อาศัยอาคารพาณิชย์และโรงงานอุตสาหกรรม ง. ให้ความดันต่าถึงปานกลาง อัตราการไหลสูง 3. ข้อใดเป็นหน้าที่ของเครื่องส่งลม ก. ทาหน้าที่แลกเปลี่ยนความร้อนระหว่างนาร้อนที่มาจากเครื่องทานาร้อนกับอากาศที่มาจากห้องปรับอากาศ ข. ทาหน้าที่แลกเปลี่ยนอากาศเสียระหว่างนาร้อนที่มาจากเครื่องทานาร้อนกับอากาศที่มาจากห้องปรับอากาศ ค. ทาหน้าที่แลกเปลี่ยนแก็สที่เกิดภายในห้องกับนาเย็นที่มาจากเครื่องทานาเย็นกับอากาศที่มาจากห้องปรับอากาศ ง. ทาหน้าที่แลกเปลี่ยนความร้อนระหว่างนาเย็นที่มาจากเครื่องทานาเย็นกับอากาศที่มาจากห้องปรับอากาศ

25 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู รั บ รฝึ ส ข ช่ งเครื่ อ ง รั บ อ

ศใ บ และ รพ ณิ ช ย์ ข ดเล็ ระดั บ 3 โมดู ล รฝึ ที่ 3

ระด ษค ตอบ ขอ

1 2 3

26 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู รั บ รฝึ ส ข ช่ งเครื่ อ ง รั บ อ

ศใ บ และ รพ ณิ ช ย์ ข ดเล็ ระดั บ 3 โมดู ล รฝึ ที่ 3

คณะผูจัดท โครง ร คณะผูบริ ร 1. นายสุทธิ

สุโกศล

อธิบดีกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน

2. นางถวิล

เพิ่มเพียรสิน

รองอธิบดีกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน

3. นายธวัช

เบญจาทิกุล

รองอธิบดีกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน

4. นายสุรพล

พลอยสุข

รองอธิบดีกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน

5. ว่าที่ร้อยตรี สมศักดิ์ พรหมดา

ผู้อานวยการสานักพัฒนาผู้ฝึกและเทคโนโลยีการฝึก

6. นางเพ็ญประภา

ศิริรัตน์

ผู้อานวยการกลุ่มงานพัฒนาระบบการฝึก

7. นายวัชรพงษ์

มุขเชิด

ผู้อานวยการสานักงานรับรองความรู้ความสามารถ

คาเงิน

ภาควิชาวิศวกรรมโทรคมนาคม คณะวิศวกรรมศาสตร์

คณะที่ รึ ษ โครง ร 1. ผศ. ดร. มนตรี

สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง 2. รศ. ดร. วิสุทธิ์

สุนทรกนกพงศ์

ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้าสื่อสาร คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง

3. ผศ. สันติ

ตันตระกูล

ภาควิชาครุศาสตร์วิศวกรรม คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง

4. นายสุระชัย

พิมพ์สาลี

ภาควิชาครุศาสตร์วิศวกรรม คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง

5. นายวินัย

ใจกล้า

ภาควิชาครุศาสตร์วิศวกรรม คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง

6. นายวราวิช

กาภู ณ อยุธยา

สานักบริหารงานวิจัยและนวัตกรรมพระจอมเกล้าลาดกระบัง สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง

7. นายมนตรี

ประชารัตน์

แผนกวิชาช่างไฟฟ้า วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี

8. นายธเนศ

วงค์วัฒนานุรักษ์

แผนกวิชาช่างไฟฟ้า วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี

9. นายณัฐวุฒิ

เสรีธรรม

แผนกวิชาช่างไฟฟ้า วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี

10. นายหาญยงค์

หอสุขสิริ

แผนกวิชาโลหะการ วิทยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษก มหานคร

11. นายสวัสดิ์

บุญเถื่อน

แผนกวิชาช่างยนต์ วิทยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษก มหานคร 27 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ผู รั บ รฝึ ส ข ช่ งเครื่ อ ง รั บ อ

ศใ บ และ รพ ณิ ช ย์ ข ดเล็ ระดั บ 3 โมดู ล รฝึ ที่ 3

ลัง

28 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.