คู่ มื อ ผู รั บ รฝึ ส ข ช่ งเครื่ อ ง รั บ อ
ศใ บ และ รพ ณิ ช ย์ ข ดเล็ ระดั บ 3 โมดู ล รฝึ ที่ 4
คู่มือผูรับ รฝึ 0920164170203 ส ข ช่ งเครื่อง รับอ ศใ บ และ รพ ณิชย์ข ดเล็ ระดับ 3
ชุด รฝึ ต มคว มส ม รถ (CBT)
โมดูล รฝึ ที่ 4 09217315 ระบบส รท คว มเย็ ท่วม (FLOODED SYSTEM) และไดเร็ เอ็ ซ์แพ ชั่ ว ล์ว (DIRECT EXPANSION VALVE) กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ผู รั บ รฝึ ส ข ช่ งเครื่ อ ง รั บ อ
ศใ บ และ รพ ณิ ช ย์ ข ดเล็ ระดั บ 3 โมดู ล รฝึ ที่ 4
ค คู่มือผู้รับการฝึก สาขาช่างเครื่องปรับอากาศในบ้านและการพาณิชย์ขนาดเล็ก ระดับ 3 โมดูล 4 ระบบสารทาความ เย็ น ท่ ว มและไดเร็ ก เอ็ ก ซ์ แ พนชั่ น วาล์ ว ฉบั บ นี้ เป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ของหลั ก สู ต รฝึ ก อบรมฝี มื อ แรงงานตามความสามารถ (Competency Based Training : CBT) ซึ่งพัฒนาขึ้นเพื่อใช้เป็นเอกสารประกอบการจัดการฝึกอบรมกับชุดการฝึ กตาม ความสามารถ โดยได้ดาเนินการภายใต้โครงการพัฒนาระบบฝึกและชุดการฝึกตามความสามารถเพื่อการพัฒนาฝีมือแรงงาน ด้ ว ยระบบการฝึ ก ตามความสามารถ (Competency Based Workforce Skill Training System) พ.ศ. 2560 โดยมี วัตถุประสงค์เพื่อให้ผู้รับการฝึกได้ใช้เป็นเครื่องมือในการฝึกอบรมให้เป็นไปตามหลักสูตร กล่าวคือ หลังเรียนจบโมดูลการฝึก ผู้รับการฝึกสามารถอธิบายเกี่ยวกับระบบสารทาความเย็นท่วม ระบบไดเร็กเอ็กซ์แพนชั่นวาล์ว ได้อย่างถูกต้อง ระบบการฝึกอบรมตามความสามารถเป็นระบบการฝึกอบรมที่ส่งเสริมให้ผู้รับการฝึกอบรมสามารถฝึกฝนเรียนรู้ได้ ตามพื้นฐานความสามารถของตนในเวลาที่มีความสะดวก โดยเน้นในเรื่องของการส่งมอบการฝึกอบรมที่หลากหลายไปให้แก่ ผู้ รับการฝึ กอบรม และต้องการให้ ผู้ รั บ การฝึ ก อบรมเกิด การเรี ยนรู้ ด้ว ยตนเอง การฝึ กปฏิบัติจะด าเนิน การในรู ป แบบ Learning by Doing และเน้นผลลัพธ์การฝึกอบรมในการที่ทาให้ผู้รับการฝึกอบรมมีความสามารถในการปฏิบัติงานตามที่ ตลาดแรงงานต้องการ โดยยึดความสามารถของผู้รับการฝึกเป็นหลัก การฝึกอบรมในระบบดังกล่าว จึงเป็นรูปแบบการ ฝึกอบรมที่สามารถรองรับการพัฒนารายบุคคลได้เป็นอย่างดี นอกจากนี้ เนื้อหาวิชาในหลักสูตรการฝึกตามความสามารถ (Competency Based Curriculum : CBC) ซึ่งได้จากการวิเคราะห์งานอาชีพ (Job Analysis) ในแต่ละสาขาอาชีพ จะถูก กาหนดเป็นรายการความสามารถหรือสมรรถนะ (Competency) ที่ผู้รับการฝึกอบรมจาเป็นต้องใช้ในการปฏิบัติงาน และ สอดคล้องกับความต้องการของสถานประกอบกิจการและภาคอุตสาหกรรม ซึ่งผู้รับการฝึกจะต้องเรียนรู้และฝึกฝนจนกว่าจะ สามารถปฏิบัติเองได้ ตามมาตรฐานที่กาหนดในแต่ละรายการความสามารถ ทั้งนี้ การส่งมอบการฝึก สามารถดาเนินการได้ ทั้งรูปแบบการเรียนรู้ผ่านสื่อสิ่งพิมพ์ (Paper Based) และผ่านสื่อคอมพิวเตอร์ (Computer Based) โดยผู้รับการฝึกสามารถ เรียนรู้ได้ด้วยตนเอง (Self-Learning) ที่บ้านหรือที่ทางาน และเข้ารับการฝึกภาคปฏิบัติตามความพร้อม ตามความสะดวก ของตน หรือตามแผนการฝึก หรือตามตารางการนัดหมาย การฝึกหรือทดสอบประเมินผลความรู้ความสามารถกับหน่วยฝึก โดยมีครูฝึกหรือผู้สอนคอยให้คาปรึกษา แนะนาและจัดเตรียมการฝึกภาคปฏิบัติ รวมถึงจัดเตรียมและดาเนินการทดสอบ ประเมินผลในลักษณะต่าง ๆ อันจะทาให้สามารถเพิ่มจานวนผู้รับการฝึกได้มากยิ่งขึ้น ช่วยประหยัด เวลาในการเดินทาง และ ประหยั ดงบประมาณค่าใช้จ่ ายในการพัฒ นาฝี มือแรงงานให้ แก่กาลั งแรงงานในระยะยาว จึงถือเป็นรูปแบบการฝึ กที่มี ความสาคัญต่อการพัฒนาฝีมือแรงงาน ทั้งในปัจจุบันและอนาคต ซึ่งหากมีการนาระบบการฝึกอบรมตามความสามารถมาใช้ ในการพัฒนาฝีมือแรงงาน จะช่วยทาให้ประชาชน ผู้ใช้แรงงานผู้ว่างงาน นักเรียน นักศึกษา และผู้ประกอบอาชีพอิสระ สามารถเข้าถึงการฝึกอบรมเพื่อพัฒนาตนเองได้อย่างสะดวก และได้รับประโยชน์อย่างทั่วถึงมากยิ่งขึ้น
รมพัฒ ฝีมือแรงง
ก กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ผู รั บ รฝึ ส ข ช่ งเครื่ อ ง รั บ อ
ศใ บ และ รพ ณิ ช ย์ ข ดเล็ ระดั บ 3 โมดู ล รฝึ ที่ 4
ส รบัญ เรื่อง ค ส รบัญ
ข
ขอแ ะ ส รับผูรับ รฝึ
1
โมดูล รฝึ ที่ 4 09217315 ระบบส รท คว มเย็ ท่วม(Flooded System)และไดเร็ เอ็ ซ์แพ ชั่ ว ล์ว (Direct Expansion Valve) ัวขอวิช ที่ 1 0921731501 ระบบส รท คว มเย็ ท่วม (Flooded System)
11
ัวขอวิช ที่ 2 0921731502 ไดเร็ เอ็ ซ์แพ ชั่ ว ล์ว (Direct Expansion Valve)
20
คณะผูจัดท โครง ร
28
ข กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ผู รั บ รฝึ ส ข ช่ งเครื่ อ ง รั บ อ
ศใ บ และ รพ ณิ ช ย์ ข ดเล็ ระดั บ 3 โมดู ล รฝึ ที่ 4
ขอแ ะ ส รับผูรับ รฝึ ข้อแนะนาสาหรับผู้รับการฝึก คือ คาอธิบายเกี่ยวกับรายละเอียดของคู่มือ และขั้นตอนการเข้ารับการฝึก ซึ่งมีอยู่ด้วยกัน 6 ข้อ ดังนี้
1. ร ยละเอียดของคู่มือ 1.1 โมดูลการฝึก / หัวข้อวิชา หมายถึง โมดูลการฝึกที่ครูฝึกต้องจัดการฝึกอบรม โดยภายในโมดูลจะประกอบไปด้วย หัวข้อวิชาที่ผู้รับ การฝึ กต้องเรี ย นรู้ และฝึกฝน ซึ่งมีรหัสโมดูล และรหัส หัว ข้อวิชาเป็นตัว กาหนดความสามารถ ที่ต้องเรียนรู้ 1.2 ระยะเวลาการฝึก หมายถึง จานวนชั่วโมงในการฝึกอบรม เพื่อให้บรรลุตามวัตถุประสงค์ของแต่ละโมดูล 1.3 ระบบการฝึกตามความสามารถ (CBT) หมายถึง ระบบการฝึกที่เกิดจากการนาความรู้ ทักษะ ความสามารถ (Competency) ที่จาเป็นสาหรับการทางานมาเป็นฐาน (Based) ของการจัดฝึกอบรม หรือนามากาหนดเป็นเนื้อหา (Content) และเกณฑ์ก ารประเมิน การฝึก อบรม ทาให้ผู้รับ การฝึก อบรมมีค วามสามารถ ( Competency) ตามเกณฑ์มาตรฐานที่กาหนด และตามความสามารถในการเรียนรู้ของผู้รับการฝึกเป็นหลัก 1.4 ชุดการฝึก หมายถึง สื่อสิ่งพิมพ์ และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ใช้สาหรับเป็นอุปกรณ์ช่วยฝึก โดยแต่ละโมดูลประกอบด้วย คู่มือครูฝึก คู่มือผู้รับการฝึก คู่มือประเมิน สื่อวีดิทัศน์ 1.5 ระบบจัดการฝึกด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer Managed Instruction : CMI) หมายถึง การนาระบบคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศ ซึ่งใช้ในการจัดการเรียนรู้และฝึกอบรม เช่น ระบบรับสมัครออนไลน์ ระบบลงทะเบียน เข้า รับ การฝึก อบรมออนไลน์ ระบบการฝึก อบรมภาคทฤษฎีผ่านอุปกรณ์อิเล็ก ทรอนิก ส์ห รือ อุปกรณ์สื่อสาร แบบพกพา การทดสอบออนไลน์ การบันทึกผลการฝึกอัตโนมัติ และการออกใบวุฒิบัตรอิเล็กทรอนิกส์ เป็นต้น โดยการเข้า ใช้ง านระบบ แบ่งส่ว นการใช้ง านตามความรับผิด ชอบของผู้มีส่ว นได้ส่ว นเสีย ดัง ภาพในหน้า 2 ซึ่งรายละเอียดการใช้งานของผู้เข้ารับการฝึกสามารถดูได้จากลิงค์ mlearning.dsd.go.th/download/files/trainee.pdf
1 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ผู รั บ รฝึ ส ข ช่ งเครื่ อ ง รั บ อ
ศใ บ และ รพ ณิ ช ย์ ข ดเล็ ระดั บ 3 โมดู ล รฝึ ที่ 4
2 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ผู รั บ รฝึ ส ข ช่ งเครื่ อ ง รั บ อ
ศใ บ และ รพ ณิ ช ย์ ข ดเล็ ระดั บ 3 โมดู ล รฝึ ที่ 4
2. ผัง รฝึ อบรม
3 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ผู รั บ รฝึ ส ข ช่ งเครื่ อ ง รั บ อ
ศใ บ และ รพ ณิ ช ย์ ข ดเล็ ระดั บ 3 โมดู ล รฝึ ที่ 4
3. วิธี รฝึ อบรม 3.1 ผู้รับการฝึก ทาความเข้าใจการฝึกอบรมในระบบ CBT ซึ่งสามารถฝึกอบรมได้ 3 รูปแบบ คือ 3.1.1 การฝึกอบรมด้วยการส่งมอบสื่อสิ่งพิมพ์ (Offline) 3.1.2 การฝึกอบรมที่ศูนย์ฝึกอบรม (Offline) 3.1.3 การฝึกอบรมด้วยสื่อในระบบออนไลน์ (Online) โดยในแต่ละรูปแบบจะมีรายละเอียดแตกต่างกัน ดังนี้ 3.1.1 การฝึกอบรมด้วยการส่งมอบสื่อสิ่งพิมพ์ (Offline) คือ การฝึก อบรมที่ผู้รับ การฝึกเรียนรู้ภ าคทฤษฎี (ด้า นความรู้) ด้ว ยตนเอง โดยครูฝึก เป็นผู้ส่งมอบ คู่มือผู้รับการฝึกที่พิมพ์จากสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) และวีดิทัศน์ (DVD) แก่ผู้รับการฝึก และฝึกภาคปฏิบัติ (ด้านทักษะ) ที่ศูนย์ฝึกอบรม การฝึกภาคทฤษฎี - ผู้รับการฝึกเรียนรู้ภาคทฤษฎีด้วยตนเอง โดยใช้คู่มือผู้รับการฝึกที่พิมพ์จากสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) และวีดิทัศน์ (DVD) ที่ครูฝึกส่งมอบให้ การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ผู้รับการฝึกทาแบบทดสอบก่อนฝึก (Pre-Test) ลงในกระดาษคาตอบ แล้วส่งกระดาษคาตอบ ให้ครูฝึก เพื่อตรวจและประเมินผล 2) ครูฝึกประเมินแบบทดสอบก่อนฝึก - ถ้าผลการประเมินผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ตามที่กาหนดในเอกสารโครงร่างหลั กสูตร จะมีสิท ธิ์ข อเข้า รับ การฝึก ภาคปฏิบัติ (ถ้า มี) หรือ เข้า รับ การฝึก ในโมดูล ถัด ไป หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลที่ครูฝึกกาหนดได้ - ถ้าผลการประเมินต่ากว่าร้อยละ 70 ให้ครูฝึกมอบหมายให้ผู้รับการฝึกศึกษาเนื้อหา จากสื่อด้วยตนเองจนเข้าใจ จึงทาแบบทดสอบหลังฝึก (Post-Test) 3) ผู้รับการฝึกทาแบบทดสอบหลังฝึก (Post-Test) ลงในกระดาษคาตอบ แล้วส่งให้ครูฝึกตรวจ และประเมินผล โดยใช้หลักเกณฑ์เดียวกับการประเมินแบบทดสอบก่อนฝึก 3.1.2 การฝึกอบรมที่ศูนย์ฝึกอบรม (Offline) คือ การฝึกอบรมที่ผู้รับการฝึกเรียนรู้ภาคทฤษฎีจากครูฝึก และฝึกภาคปฏิบัติที่ศูนย์ฝึกอบรม การฝึกภาคทฤษฎี - ผู้รับการฝึกเรียนรู้ภาคทฤษฎีจากครูฝึกโดยใช้สื่อสิ่งพิมพ์จากสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) และวีดิทัศน์ (DVD) ที่ศูนย์ฝึกอบรม
4 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ผู รั บ รฝึ ส ข ช่ งเครื่ อ ง รั บ อ
ศใ บ และ รพ ณิ ช ย์ ข ดเล็ ระดั บ 3 โมดู ล รฝึ ที่ 4
การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ผู้รับการฝึกทาแบบทดสอบก่อนฝึก (Pre-Test) ลงในกระดาษคาตอบ แล้วส่งกระดาษคาตอบ ให้ครูฝึกตรวจและประเมินผล 2) ครูฝึกประเมินแบบทดสอบก่อนฝึก - ถ้าผลการประเมินผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ตามที่กาหนดในเอกสารโครงร่างหลั กสูตร ผู้รับการฝึกจะมีสิทธิ์ขอเข้ารับการฝึกภาคปฏิบัติ (ถ้ามี) หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลถัดไป หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลที่ครูฝึกกาหนดได้ - ถ้าผลการประเมินต่ากว่าร้อยละ 70 ให้ผู้รับการฝึกศึกษาเนื้อหาจากสื่อด้วยตนเอง จนเข้าใจ จึงทาแบบทดสอบหลังฝึก (Post-Test) 3) ผู้รับการฝึกทาแบบทดสอบหลังฝึก (Post-Test) ลงในกระดาษคาตอบ แล้วส่งให้ ครูฝึกตรวจ และประเมินผล โดยใช้หลักเกณฑ์เดียวกับการประเมินแบบทดสอบก่อนฝึก 3.1.3 การฝึกอบรมด้วยสื่อในระบบออนไลน์ (Online) คือ การฝึกอบรมที่ผู้รับการฝึกเรียนรู้ภาคทฤษฎีด้วยตนเองผ่านระบบจัดการฝึกด้วยคอมพิวเตอร์ หรือ CMI โดยใช้คู่มือผู้รับการฝึกที่เป็นสื่อออนไลน์ในแอปพลิเคชัน DSD m-Learning และฝึกภาคปฏิบัติที่ศูนย์ฝึกอบรม วิธีดาวน์โหลดแอปพลิเคชัน DSD m-Learning - ผู้รับการฝึกดาวน์โหลดแอปพลิ เคชัน DSD m-Learning ซึ่งวิธีการดาวน์โหลดแอปพลิ เ คชัน สามารถแบ่งออกเป็น 2 ช่องทางตามแต่ละระบบปฏิบัติการ คือ 1) ผู้รับการฝึกที่ใช้เครื่องมือสื่อสารอิเล็กทรอนิกส์ ระบบปฏิบัติการ iOS ค้นหา แอปพลิเคชัน DSD m-Learning ใน App Store จากนั้นกดดาวน์โหลด เพื่อติดตั้งบนเครื่องมือสื่อสาร และเข้าใช้งานโดยกรอก Username และ Password ตามที่เคยลงทะเบียนไว้ 2) ผู้รับการฝึกที่ใช้เครื่องมือสื่ อสารอิเล็ กทรอนิกส์ ระบบปฏิบัติการ Android ค้นหา แอปพลิ เ คชั น DSD m-Learning ใน Google Play Store จากนั้ น กดดาวน์ โ หลด เพื่อติดตั้งบนเครื่องมือสื่อสาร และเข้าใช้งานโดยกรอก Username และ Password ตามที่เคยลงทะเบียนไว้ การฝึกภาคทฤษฎี - ผู้รับการฝึกเรียนรู้ภาคทฤษฎีด้วยตนเอง จากคู่มือผู้รับการฝึก ซึ่งเป็นสื่อออนไลน์บนแอปพลิเคชัน DSD m-Learning การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ผู้รับการฝึกทาแบบทดสอบก่อนฝึก (Pre-Test) ลงในแอปพลิเคชัน โดยระบบจะตรวจและประเมินผล อัตโนมัติ
5 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ผู รั บ รฝึ ส ข ช่ งเครื่ อ ง รั บ อ
ศใ บ และ รพ ณิ ช ย์ ข ดเล็ ระดั บ 3 โมดู ล รฝึ ที่ 4
- ถ้าผลการประเมินผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ตามที่กาหนดในเอกสารโครงร่างหลักสูตร ผู้รับการฝึกจะมีสิทธิ์ขอเข้ารับการฝึกภาคปฏิบัติ (ถ้ามี) หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลถัดไป หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลที่ครูฝึกกาหนดได้ - ถ้าผลการประเมินต่ากว่าร้อยละ 70 ให้ผู้รับการฝึกศึกษาเนื้อหาจากสื่อด้วยตนเอง จนเข้าใจแล้วจึงทาแบบทดสอบหลังฝึก (Post-Test) 2) ผู้รับการฝึกทาแบบทดสอบหลังฝึก โดยใช้หลักเกณฑ์เดียวกับการประเมินแบบทดสอบก่อนฝึก 3.2 ครูฝึกชี้แจงรูปแบบการฝึกอบรมทั้ง 3 รูปแบบแก่ผู้รับการฝึก เพื่อทาการตกลงรูปแบบการฝึกอบรมร่วมกับผู้รับการฝึก โดยให้ผู้รับการฝึกเลือกวิธีที่สะดวก 3.3 ครูฝึกวางแผนการฝึกตลอดหลักสูตรร่วมกันกับผู้รับการฝึก
4. อุ รณ์ช่วยฝึ และช่องท ง รเข ถึงอุ รณ์ช่วยฝึ ผู้รับการฝึกสามารถเลือกใช้อุปกรณ์ช่วยฝึกได้ 2 รูปแบบ คือ รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ์ (Offline) และรูปแบบระบบจัดการฝึก ด้วยคอมพิวเตอร์ หรือ CMI (Online) โดยมีช่องทางการเข้าถึงอุปกรณ์ช่วยฝึกแต่ละรูปแบบแตกต่างกัน ดังนี้ 4.1 รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ์ (Offline) ประกอบด้วย - คู่มือผู้รับการฝึก เพื่อใช้ศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คู่มือการประเมิน เพื่อใช้ในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน์ (DVD) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 4.2 รูปแบบระบบจัดการฝึกด้วยคอมพิวเตอร์ หรือ CMI (Online) ดังนี้ - คู่มือผู้รับการฝึกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) เพื่อใช้ศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คู่มือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) เพื่อใช้ในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน์ (Online) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ
5.
รวัดและ ระเมิ ผล 5.1 การประเมินผลภาคทฤษฎี (ด้านความรู้) ประเมินผลจากแบบทดสอบภาคทฤษฎีก่อนฝึก และแบบทดสอบภาคทฤษฎีหลังฝึก โดยกาหนดเกณฑ์การให้คะแนน และการระบุความสามารถด้านความรู้ ดังนี้ เ ณฑ์ รใ คะแ ภ คทฤษฎี ตั้งแต่ร้อยละ 70 ขึ้นไป ต่ากว่าร้อยละ 70
เ ณฑ์ ร ระเมิ คว มส ม รถ ผ่าน (C) ไม่ผ่าน (NYC) 6
กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ผู รั บ รฝึ ส ข ช่ งเครื่ อ ง รั บ อ
ศใ บ และ รพ ณิ ช ย์ ข ดเล็ ระดั บ 3 โมดู ล รฝึ ที่ 4
ผู้รับการฝึกจะได้รับการประเมินผลการฝึกจากครูฝึก โดยจะต้องสามารถปฏิบัติตามความสามารถในแต่ละโมดูลนั้น ๆ ได้ตามเกณฑ์ที่กาหนด จึงจะถือว่าผ่านการฝึกโมดูลนั้น และเมื่อผ่านการฝึกครบทุกโมดูล จึงจะถือว่าฝึกครบชุดการฝึกนั้น ๆ แล้ว
6. เงื่อ ไข รผ่
รฝึ
ผู้รับการฝึกที่จะผ่านโมดูลการฝึก ต้องได้รับค่าร้อยละของคะแนนการทดสอบภาคทฤษฏี คะแนนรวมไม่ต่ากว่าร้อยละ 70 จึงจะผ่านโมดูลการฝึก
7 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ผู รั บ รฝึ ส ข ช่ งเครื่ อ ง รั บ อ
ศใ บ และ รพ ณิ ช ย์ ข ดเล็ ระดั บ 3 โมดู ล รฝึ ที่ 4
ร ยละเอียด ลั สูตร ลั สูตรฝึ อบรมฝีมือแรงง ต มคว มส ม รถ ส ข ช่ งเครื่อง รับอ ศใ บ และ รพ ณิชย์ข ดเล็ ระดับ 3 รมพัฒ ฝีมือแรงง ระทรวงแรงง
ร ัส ลั สูตร 0920164170203
1. ขอบเขตของ ลั สูตร หลักสูตรนี้พัฒ นาขึ้น ให้ครอบคลุมด้านความรู้ ทักษะ และเจตคติแก่ผู้รับการฝึกในสาขาช่างเครื่องปรับอากาศ ในบ้านและการพาณิชย์ ขนาดเล็ก เพื่อให้มีความรู้ ความสามารถและทัศนคติตามมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติ สาขา ช่างเครื่องปรับอากาศในบ้านและการพาณิชย์ขนาดเล็ก ระดับ 3 ดังนี้ 1.1 มีความรู้ความสามารถเกี่ยวกับสัญลักษณ์สากลของอุปกรณ์ และเขียนแบบร่างเพื่อแสดงแผนผังการติดตั้ง เครื่องปรับอากาศ 1.2 มีความรู้ความสามารถในการใช้เครื่องมือวัดต่าง ๆ ที่ใช้ในเครื่องปรับอากาศ 1.3 มีความรู้ เกี่ย วกับ การทาความเย็ น ด้ว ยระบบระเหยตรง (Direct Expansion System) และระบบน้าเย็ น (Chilled Water System) 1.4 มีความรู้ เกี่ย วกับ ระบบสารทาความเย็ นท่ว ม (Flooded System) และไดเร็กเอ็กซ์ แพนชั่นวาล์ ว (Direct Expansion Valve) 1.5 มีความรู้เกี่ยวกับองค์ประกอบที่มีผลต่อสมรรถนะของคอนเดนเซอร์ และแฟนคอยล์แบบครีบ 1.6 มีความรู้เกี่ยวกับองค์ประกอบที่มีผลต่อสมรรถนะของคอนเดนเซอร์แบบระบายความร้อนด้วยน้า 1.7 มีความรู้เกี่ยวกับพื้นผิวถ่ายเทความร้อนผ่านชั้นตัวนาความร้อนลาดับต่าง ๆ 1.8 มีความรู้ความสามารถในการแขวนหรือยึดท่อให้มั่นคง 1.9 มีความรู้เกี่ยวกับผลกระทบของสารเจือปนในสารทาความเย็น 1.10 มีความรู้เกี่ยวกับการประหยัดพลังงานไฟฟ้า การคานวณหากาลังไฟฟ้าของมอเตอร์ การคานวณหาความเร็วรอบ ของมอเตอร์ การคานวณค่าใช้จ่ายค่ากระแสไฟฟ้าที่เครื่องปรับอากาศใช้ 1.11 มีความรู้เกี่ยวกับหลักความปลอดภัยในการทางาน 2. ระยะเวล รฝึ ผู้ รั บ การฝึ กจะได้รั บ การฝึ ก ในภาคทฤษฎี และภาคปฏิบัติ โดยสถาบันพัฒ นาฝี มือแรงงาน หรือ สานักงานพัฒนา ฝีมือแรงงานที่เป็นหน่วยฝึกตามความสามารถใช้ระยะเวลาในการฝึก 50 ชั่วโมง 8 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ผู รั บ รฝึ ส ข ช่ งเครื่ อ ง รั บ อ
ศใ บ และ รพ ณิ ช ย์ ข ดเล็ ระดั บ 3 โมดู ล รฝึ ที่ 4
เนื่ อ งจากเป็ น การฝึ ก ที่ ขึ้ น อยู่ กั บ พื้ น ฐานความรู้ ทั ก ษะ ความสามารถและความพร้ อ มของผู้ รั บ การฝึ ก แต่ละคน มีผลให้ผู้รับการฝึกจบการฝึกไม่พร้ อมกัน สามารถจบก่อนหรือเกินระยะเวลาที่กาหนดไว้ในหลั กสูตรได้ หน่วยฝึกจึงต้องบริหารระยะเวลาในการฝึกให้เหมาะสมตามความจาเป็น ทั้งนี้ ให้อยู่ในดุลยพินิจของผู้อานวยการ สถาบันพัฒนาฝีมือแรงงาน หรือผู้อานวยการสานักงานพัฒนาฝีมือแรงงานที่เป็นหน่วยฝึกตามความสามารถจะเห็นสมควร 3.
ว่ ยคว มส ม รถและโมดูล รฝึ จานวนหน่วยความสามารถ 11 หน่วย จานวนโมดูลการฝึก 11 โมดูล
4. วุฒิบัตร 4.1 ชื่อเต็ม : วุฒิบัตรพัฒนาฝีมือแรงงาน สาขา ช่างเครื่องปรับอากาศในบ้านและการพาณิชย์ขนาดเล็ก ระดับ 3 4.2 ชื่อย่อ : วพร. สาขา ช่างเครื่องปรับอากาศในบ้านและการพาณิชย์ขนาดเล็ก ระดับ 3 4.3 ผู้ รั บ การฝึ ก ที่ ผ่ า นการประเมิ น ผลหรื อ ผ่ า นการฝึ ก ครบทุ ก หน่ ว ยความสามารถ จะได้ รั บ วุ ฒิ บั ต ร วพร. สาขา ช่างเครื่องปรับอากาศในบ้านและการพาณิชย์ขนาดเล็ก ระดับ 3
9 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ผู รั บ รฝึ ส ข ช่ งเครื่ อ ง รั บ อ
ศใ บ และ รพ ณิ ช ย์ ข ดเล็ ระดั บ 3 โมดู ล รฝึ ที่ 4
ร ยละเอียดโมดูล รฝึ ที่ 4 1. ชื่อ ลั สูตร
สาขาช่างเครื่องปรับอากาศในบ้านและการพาณิชย์ขนาดเล็ก ร ัส ลั สูตร ระดับ 3 0920164170203 2. ชื่อโมดูล รฝึ ระบบสารทาความเย็นท่วม (Flooded System) ร ัสโมดูล รฝึ และไดเร็กเอ็กซ์แพนชั่นวาล์ว (Direct Expansion Valve) 09217315 3. ระยะเวล รฝึ รวม 1 ชั่วโมง 30 นาที ทฤษฎี 1 ชั่วโมง 30 นาที ปฏิบัติ - ชัว่ โมง 4. ขอบเขตของ ่วย หน่วยการฝึกนี้ พัฒนาขึ้นให้ครอบคลุ มด้านความรู้ ทักษะ และเจตคติแก่ผู้รับ การฝึ ก รฝึ เพื่อให้มีความสามารถ ดังนี้ 1. อธิบายระบบสารทาความเย็นท่วม (Flooded System) ได้ 2. อธิบายระบบไดเร็กเอ็กซ์แพนชั่นวาล์ว (Direct Expansion Valve) ได้ 5. พื้ ฐ ผู้สมัครเข้ารับการฝึกต้องมีคุณสมบัติ ดังต่อไปนี้ คว มส ม รถของ 1. มีความรู้พื้นฐานสามารถอธิบายเกี่ยวกับระบบสารทาความเย็นท่วม ระบบไดเร็ก ผูรับ รฝึ เอ็กซ์แพนชั่นวาล์ว หรือผ่านการฝึกอบรมที่เกี่ยวข้องจากหน่วยงานหรือสถาบันที่ เชื่อถือได้ 2. ผู้รับการฝึกผ่านระดับ 2 มาแล้ว 3. ผู้รับการฝึกผ่านโมดูลที่ 3 มาแล้ว 6. ผลลัพธ์ รเรีย รู : เมื่อสาเร็จการฝึกในโมดูลนี้แล้วผู้รับการฝึกสามารถปฏิบัติงานโดยมีความรู้ความสามารถและใช้ ระยะเวลาฝึก ดังนี้ ระยะเวล ฝึ (ชั่วโมง : นาที) ผลลัพธ์ รเรีย รู ชื่อ ัวขอวิช ทฤษฎี ฏิบัติ รวม 1. อธิบายระบบสารทาความเย็น หัวข้อที่ 1: ระบบสารทาความเย็นท่วม 0:45 0:45 ท่วม (Flooded System) ได้ (Flooded System) 2. อธิบายระบบ หัวข้อที่ 2: ระบบไดเร็กเอ็กซ์แพนชั่นวาล์ว 0:45 0:45 ไดเร็กเอ็กซ์แพนชั่นวาล์ว (Direct Expansion Valve) (Direct Expansion Valve)ได้ รวมทั้งสิ้
1:30
10 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
-
1:30
คู่ มื อ ผู รั บ รฝึ ส ข ช่ งเครื่ อ ง รั บ อ
ศใ บ และ รพ ณิ ช ย์ ข ดเล็ ระดั บ 3 โมดู ล รฝึ ที่ 4
ร ยละเอียด ัวขอวิช ที่ 1 0921731501 ระบบส รท คว มเย็ ท่วม (Flooded System) (ใบแ ะ ) 1. ผลลัพธ์ รเรีย รู - อธิบายระบบสารทาความเย็นท่วม (Flooded System) ได้
2. ัวขอส คัญ - ระบบสารทาความเย็นท่วม
3. วิธี รฝึ อบรม การฝึกอบรมสามารถเลือกได้ 3 รูปแบบ คือ 1) การฝึกอบรมด้วยการส่งมอบสื่อสิ่งพิมพ์ 2) การฝึกอบรมที่ศูนย์ฝึกอบรม 3) การฝึกอบรมด้วยสื่อในระบบออนไลน์ ดังรายละเอียดในข้อแนะนาสาหรับผู้รับการฝึก
4. อุ รณ์ช่วยฝึ อุปกรณ์ช่วยฝึกสามารถเลือกใช้งานได้ 2 รูปแบบ คือ 1. รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ์ (Offline) ประกอบด้วย - คู่มือผู้รับการฝึก เพื่อใช้ศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คู่มือการประเมิน เพื่อใช้ในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน์ (DVD) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 2. รูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ (Online) ประกอบด้วย - คู่มือผู้รับการฝึกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) เพื่อใช้ศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คู่มือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) เพื่อใช้ในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน์ (Online) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ
11 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ผู รั บ รฝึ ส ข ช่ งเครื่ อ ง รั บ อ
ศใ บ และ รพ ณิ ช ย์ ข ดเล็ ระดั บ 3 โมดู ล รฝึ ที่ 4
5.
รรับ รฝึ อบรม 1. ผู้รับการฝึกทาแบบทดสอบก่อนฝึก (Post-Test) แล้วส่งให้ครูฝึกหรือระบบประเมินผลตามวิธีที่เลือกฝึกอบรม 1.1 ถ้าผลการประเมินผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ตามที่กาหนดในเอกสารโครงร่างหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเข้ารับการฝึก ภาคปฏิบัติ (ถ้ามี) หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลถัดไป หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลที่ครูฝึกกาหนดได้ 1.2 ถ้าผลการประเมินต่ากว่าร้อยละ 70 ให้ผู้รับการฝึกเข้าฝึกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝึกอบรมภาคทฤษฎี ให้ผู้รับการฝึกศึกษาคู่มือผู้รับการฝึก และฝึกหัดทาใบทดสอบท้ายหัวข้อวิชา 3. เมื่อผู้รับการฝึกศึกษาคู่มือผู้รับการฝึก ประจาโมดูลนั้นเข้าใจแล้ว ให้ทาแบบทดสอบหลังฝึก (Post-Test) แล้วส่งให้ ครูฝึกหรือระบบประเมินผลเช่นเดียวกับแบบทดสอบก่อนฝึก
6.
รวัดผล 1. ผู้รับการฝึกส่งแบบทดสอบก่อนฝึก ให้ครูฝึกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎีตามวิธีที่เลือกฝึกอบรม 1.1 ถ้าผลการประเมินผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ตามที่กาหนดในเอกสารโครงร่างหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเข้ารับการฝึก ภาคปฏิบัติ (ถ้ามี) หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลถัดไปได้ 1.2 ถ้าผลการประเมินต่ากว่าร้อยละ 70 ให้ครูฝึกมอบหมายให้ผู้รับการฝึกศึกษาเนื้อหาจากสื่อด้วยตนเองจนเข้าใจ จึงทาแบบทดสอบหลังฝึก (Post-Test) 2. ผู้รับการฝึกส่งแบบทดสอบหลังฝึก ให้ครูฝึกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎี โดยใช้หลักเกณฑ์เดียวกับการประเมิน แบบทดสอบก่อนฝึก
7. บรรณ ุ รม กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน. 2553. ร ระ ยัดพลังง ใ ระบบท คว มเย็ . [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : http://www.enconlab.com/ve/Download/energy/The%20Economic%20Use%20of%20Refrigertion %20Plant.PDF กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน. 2553. ระบบ รับอ ศ. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : http://www2.dede.go.th/bhrd/old/Download/file_handbook/Pre_Build/Build_14.pdf สมภพ ปัญญาสมพรรค์. 2554. ช ิดเครื่องควบคุม รไ ลของส รท คว มเย็ . [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : http://mte.kmutt.ac.th/elearning/Refrigeration/Website/unit8_5.htm
12 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ผู รั บ รฝึ ส ข ช่ งเครื่ อ ง รั บ อ
ศใ บ และ รพ ณิ ช ย์ ข ดเล็ ระดั บ 3 โมดู ล รฝึ ที่ 4
ใบขอมูล ัวขอวิช ที่ 1 ระบบส รท คว มเย็ ท่วม (Flooded System) ลักษณะของเครื่องระเหยแบบนี้จะมีถังทาความเย็นเป็นแหล่งจ่ายสารทาความเย็นให้กับขดท่อ โดยอาศัยแรงโน้มถ่วงของโลก ระดับของเหลวในถังจะถูกควบคุมโดยด้านความดันต่าหรือสูงก็ได้ และไอของสารทาความเย็นที่มาจากขดท่อจะถูกแยก อยู่ส่วนบนของถังเก็บและถูกดูดออกไปเข้าเครื่องอัด โดยสามารถใช้อากาศ หรือใช้น้าหรือของเหลวชนิดอื่นเป็นสารตัวกลาง ในการถ่ายเทความร้อนให้กับสารทาความเย็นได้เช่นเดียวกัน
ภาพที่ 1.1 เครื่องระเหยแบบท่วมที่ใช้อากาศเป็นสารตัวกลางในการถ่ายเทความร้อน 1. อีว พอเรเตอร์แบบมีส รท คว มเย็ ท่วม แบ่ ง ออกเป็ น 2 ชนิ ด ได้ แ ก่ 1) อีวาพอเรเตอร์ชนิดเปลือกและท่อ (Shell and Tube) อีวาพอเรเตอร์ช นิ ดเปลือกและท่อจะใช้ในระบบขนาดใหญ่ สาหรับการทาความเย็นที่ส ารทาความเย็ น มีสถานะเป็นของเหลว ซึ่งมีการออกแบบแตกต่างกันหลายแบบ ลักษณะสาคัญในการออกแบบและการทางาน - ในอีวาพอเรเตอร์ชนิดเปลือกและท่อนั้น ของไหลที่จะทาให้เย็นจะถูกส่งให้ไหลไปในท่อ ในขณะที่ สารทาความเย็นระเหยกลายเป็นไออยู่ภายในเปลือก - ระดับสารทาความเย็นในเปลือก ถูกควบคุมให้ท่วมท่อบนสุดเสมอ เพื่อให้ประสิทธิภาพการแลกเปลี่ยน ความร้อนดีที่สุด ระดับของเหลวตามปกติจะถูกควบคุมโดยวาล์วลูกลอยความดันต่า
13 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ผู รั บ รฝึ ส ข ช่ งเครื่ อ ง รั บ อ
ศใ บ และ รพ ณิ ช ย์ ข ดเล็ ระดั บ 3 โมดู ล รฝึ ที่ 4
- บริ เวณที่ส่ ว นบนของเปลือกทาหน้าที่ช่ว ยแยกละอองหรือหยดของเหลวออกจากไอที่ไหล ไปสู่ คอมเพรสเซอร์ การแยกของเหลวออกจากไอบางครั้งจะทาในภาชนะแยกต่างหากเรียกว่า ถังเสิร์จ (Surge Drum)
ภาพที่ 1.2 อีวาพอเรเตอร์ชนิดเปลือกและท่อ (Shell and Tube) ปัญหาเกี่ยวกับการทางาน - อีวาพอเรเตอร์ชนิดเปลือกและท่อแบบที่มีสารทาความเย็นท่วม โดยปกติมีขนาดใหญ่ และราคา ค่อนข้างสูง การสะสมของน้ามันหล่อลื่นจะทาให้การถ่ายเทความร้อนและประสิทธิภาพการทางาน ของคอมเพรสเซอร์ลดลง คราบสกปรกของผิวภายนอกของท่อทางด้านของไหลของระบบเป็นสิ่งที่ กาจัดได้ยาก และทาให้การถ่ายเทความร้อนลดลงเช่นเดียวกัน - เนื่องจากถังมีความจุขนาดใหญ่ ทาให้ต้องใช้สารทาความเย็น ในปริมาณค่อนข้างมาก ซึ่งมีผลให้ ค่าใช้จ่ายสูงตามไปด้วย ตลอดจนปัญหาเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมและความอันตรายหากเกิดการรั่วไหลขึ้น 2) อีวาพอเรเตอร์ชนิดแผ่นเพลต (Plate type) อีวาพอเรเตอร์ชนิดแผ่นเพลตมีข้อดีเหนือกว่าชนิดเปลือกและท่อ ในประเด็นต่อไปนี้ - มีสัมประสิทธิ์การถ่ายเทความร้อนสูงกว่า - มีผลต่างของอุณหภูมิระหว่างสารทาความเย็นกับของเหลวที่ช่วยให้เย็นต่า ซึ่งอุณหภูมิการระเหย มีค่าสูงขึ้นและเป็นผลให้ประสิทธิภาพของระบบดีขึ้น - มีขนาดกะทัดรัด จึงสิ้นเปลืองเนื้อที่ติดตั้งน้อย - สามารถท าความสะอาดได้ (ส าหรั บ อุ ป กรณ์ ที่ ไ ม่ ไ ด้ บั ด กรี ) ช่ ว ยให้ ค งรั ก ษาขี ด ความสามารถ ในการถ่ายเทความร้อนที่ดีได้
14 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ผู รั บ รฝึ ส ข ช่ งเครื่ อ ง รั บ อ
ศใ บ และ รพ ณิ ช ย์ ข ดเล็ ระดั บ 3 โมดู ล รฝึ ที่ 4
ภาพที่ 1.3 อีวาพอเรเตอร์ชนิดแผ่นเพลต (Plate type) 2. อุ รณ์ที่ส คัญใ อีว พอเรเตอร์แบบส รท คว มเย็ ท่วม 1) วาล์วลูกลอยด้านความดันต่า วาล์วลูกลอยด้านความดันต่าใช้กับเครื่องระเหยแบบท่วม ซึ่งระดับของสารทาความเย็นถูกควบคุมโดยวาล์วลูกลอย ลัก ษณะการทางาน เริ่ม จากในขณะที่ส ารทาความเย็ น ระเหยส่ง ผลให้ ร ะดับ สารทาความเย็น เหลวลดลง วาล์ว ที่ต่ออยู่กับ ก้านลูกลอยเปิดและระบบเกิดการเสียสมดุล ซึ่งจะส่งสัญญาณผ่า นทางวาล์ว ส่งถ่าย ทาให้ สารทาความเย็น เหลวจากด้านความดันไหลเข้าสู่เครื่องระเหย ทดแทนปริมาณสารทาความเย็นที่ระเหยไป ส่งผลให้ ระดับสารทาความเย็นเหลวเพิ่มขึ้น ทาให้วาล์วที่ต่ออยู่กับก้านลูกลอยปิด จนกว่าระดับสารทาความเย็นจะลดลง และเปิดวาล์วใหม่การควบคุมสารทาความเย็นแบบวาล์วลูกลอยด้านความดันต่าสามารถใช้งานกับระบบเครื่องระเหย แบบหลายเครื่องได้
ภาพที่ 1.4 การควบคุมสารทาความเย็นด้วยวาล์วลูกลอยด้านความดันต่า
15 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ผู รั บ รฝึ ส ข ช่ งเครื่ อ ง รั บ อ
ศใ บ และ รพ ณิ ช ย์ ข ดเล็ ระดั บ 3 โมดู ล รฝึ ที่ 4
ภาพที่ 1.5 หน้าตัดแสดงส่วนประกอบวาล์วลูกลอยด้านความดันต่า 2) วาล์วลูกลอยด้านความดันสูง หน้าที่ของวาล์วลูกลอยด้านความดันสูง คือ การรักษาระดับสารทาความเย็นเหลวในห้องลูกลอยให้คงที่ ในการติดตั้งวาล์วลูกลอยด้านความดันสูง จะติดตั้งเชื่อมต่อกับเครื่องควบแน่นด้านความดันสูง ลักษณะการทางาน เมื่อการทาความเย็นสูงขึ้น ปริมาณสารทาความเย็นที่ระเหยและควบแน่นเพิ่มขึ้น ส่งผลให้ระดับสารทาความเย็นเหลว ในห้องลูกลอยสูงขึ้นทาให้ลูกลอยสูงขึ้นถึงระดับที่สามารถเปิดวาล์วเข็มได้ และสารทาความเย็นเหลวไหลเข้าสู่ ด้า นความดัน ต่าหรือ เครื่องระเหย เมื่อสารทาความเย็นไหลออก ทาให้ลูกลอยลดระดับลง และเมื่อถึงระดับที่กาหนด วาล์วจะปิด จากหลักการทางานดังกล่าว จึง ต้อ งตรวจสอบปริม าณสารทาความเย็น ในระบบอย่างระมัดระวัง ให้เ ครื ่อ งระเหยได้ร ับ สารท าความเย็น ในปริ มาณที่ เหมาะสม เนื่ องจากหากสารท าความเย็ นมี มากเกิ นไป จะท่วมเครื่องระเหยและเป็นสาเหตุให้เกิดน้าแข็งเกาะในท่อทางดูด
ภาพที่ 1.6 หน้าตัดแสดงส่วนประกอบวาล์วลูกลอยด้านความดันสูง 16 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ผู รั บ รฝึ ส ข ช่ งเครื่ อ ง รั บ อ
ศใ บ และ รพ ณิ ช ย์ ข ดเล็ ระดั บ 3 โมดู ล รฝึ ที่ 4
ภาพที่ 1.7 กลไกในระบบวาล์วลูกลอยด้านความดันสูง เนื่องจากวาล์วลูกลอยด้านความดันสูงมีการจากัดปริมาณสารทาความเย็นให้คงที่บนด้านความดันสู งเท่านั้น ทาให้ต้องเก็บสะสมสารทาความเย็นไว้ทางด้านความดันต่า (เครื่องระเหย) จึงทาให้เหมาะสมกับการใช้งานกับ เครื่องระเหยแบบท่วม
17 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ผู รั บ รฝึ ส ข ช่ งเครื่ อ ง รั บ อ
ศใ บ และ รพ ณิ ช ย์ ข ดเล็ ระดั บ 3 โมดู ล รฝึ ที่ 4
ใบทดสอบ ค ชี้แจง ให้ผู้รับการฝึกทาเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคาตอบข้อที่ถูกที่สุดเพียงข้อเดียว 1. ระบบสารทาความเย็นท่วมเมื่อระดับสารทาความเย็นเพิ่มขึ้นวาล์วจะมีลักษณะใด ก. ปิดเพื่อเพิ่มสารทาความเย็นเหลว ข. เปิดเพื่อเพิ่มสารทาความเย็นเหลว ค. ปิดเพื่อลดระดับสารทาความเย็นเหลว ง. เปิดเพื่อลดระดับสารทาความเย็นเหลว
2.
จากภาพกลไกในระบบวาล์วลูกลอยด้านความดันสูงหมายเลข 2 คืออะไร ก. วาล์วลูกลอย ข. สารทีไ่ ปเครื่องระเหย ค. ห้องลูกลอยด้านความดันสูง ง. สารที่มาจากเครื่องควบแน่น
3. อีวาพอเรเตอร์ชนิดแผ่นเพลตมีประสิทธิภาพดีกว่าชนิดเปลือกและท่ออย่างไร ก. สัมประสิทธิ์การถ่ายเทความร้อนสูงกว่า ข. ประหยัดค่าพลังงานไฟฟ้า ค. มีความจุสารทาความเย็นมาก ง. เหมาะสาหรับใช้ในระบบใหญ่
18 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ผู รั บ รฝึ ส ข ช่ งเครื่ อ ง รั บ อ
ศใ บ และ รพ ณิ ช ย์ ข ดเล็ ระดั บ 3 โมดู ล รฝึ ที่ 4
ระด ษค ตอบ ขอ
ข
ค
1 2 3
19 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
ง
คู่ มื อ ผู รั บ รฝึ ส ข ช่ งเครื่ อ ง รั บ อ
ศใ บ และ รพ ณิ ช ย์ ข ดเล็ ระดั บ 3 โมดู ล รฝึ ที่ 4
ร ยละเอียด ัวขอวิช ที่ 2 0921731502 ระบบไดเร็ เอ็ ซ์แพ ชั่ ว ล์ว (Direct Expansion Valve) (ใบแ ะ ) 1. ผลลัพธ์ รเรีย รู - อธิบายระบบไดเร็กเอ็กซ์แพนชั่นวาล์ว (Direct Expansion Valve) ได้
2. ัวขอส คัญ - ระบบไดเร็กเอ็กซ์แพนชั่นวาล์ว
3. วิธี รฝึ อบรม การฝึกอบรมสามารถเลือกได้ 3 รูปแบบ คือ 1) การฝึกอบรมด้วยการส่งมอบสื่อสิ่งพิมพ์ 2) การฝึกอบรมที่ศูนย์ฝึกอบรม 3) การฝึกอบรมด้วยสื่อในระบบออนไลน์ ดังรายละเอียดในข้อแนะนาสาหรับผู้รับการฝึก
4. อุ รณ์ช่วยฝึ อุปกรณ์ช่วยฝึกสามารถเลือกใช้งานได้ 2 รูปแบบ คือ 1. รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ์ (Offline) ประกอบด้วย - คู่มือผู้รับการฝึก เพื่อใช้ศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คู่มือการประเมิน เพื่อใช้ในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน์ (DVD) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 2. รูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ (Online) ประกอบด้วย - คู่มือผู้รับการฝึกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) เพื่อใช้ศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คู่มือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) เพื่อใช้ในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน์ (Online) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ
20 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ผู รั บ รฝึ ส ข ช่ งเครื่ อ ง รั บ อ
ศใ บ และ รพ ณิ ช ย์ ข ดเล็ ระดั บ 3 โมดู ล รฝึ ที่ 4
5.
รรับ รฝึ อบรม 1. ผู้รับการฝึกทาแบบทดสอบก่อนฝึก (Post-Test) แล้วส่งให้ครูฝึกหรือระบบประเมินผลตามวิธีที่เลือกฝึกอบรม 1.1 ถ้าผลการประเมินผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ตามที่กาหนดในเอกสารโครงร่างหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเข้ารับการฝึก ภาคปฏิบัติ (ถ้ามี) หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลถัดไป หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลที่ครูฝึกกาหนดได้ 1.2 ถ้าผลการประเมินต่ากว่าร้อยละ 70 ให้ผู้รับการฝึกเข้าฝึกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝึกอบรมภาคทฤษฎี ให้ผู้รับการฝึกศึกษาคู่มือผู้รับการฝึก และฝึกหัดทาใบทดสอบท้ายหัวข้อวิชา 3. เมื่อผู้รับการฝึกศึกษาคู่มือผู้รับการฝึก ประจาโมดูลนั้นเข้าใจแล้ว ให้ทาแบบทดสอบหลังฝึก (Post-Test) แล้วส่งให้ ครูฝึกหรือระบบประเมินผลเช่นเดียวกับแบบทดสอบก่อนฝึก
6.
รวัดผล 1. ผู้รับการฝึกส่งแบบทดสอบก่อนฝึก ให้ครูฝึกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎีตามวิธีที่เลือกฝึกอบรม 1.1 ถ้าผลการประเมินผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ตามที่กาหนดในเอกสารโครงร่างหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเข้ารับการฝึก ภาคปฏิบัติ (ถ้ามี) หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลถัดไปได้ 1.2 ถ้าผลการประเมินต่ากว่าร้อยละ 70 ให้ครูฝึกมอบหมายให้ผู้รับการฝึกศึกษาเนื้อหาจากสื่อด้วยตนเองจนเข้าใจ จึงทาแบบทดสอบหลังฝึก (Post-Test) 2. ผู้รับการฝึกส่งแบบทดสอบหลังฝึก ให้ครูฝึกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎี โดยใช้หลักเกณฑ์เดียวกับการประเมิน แบบทดสอบก่อนฝึก
7. บรรณ ุ รม กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน. 2553. ร ระ ยัดพลังง ใ ระบบท คว มเย็ . [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : http://www.enconlab.com/ve/Download/energy/The%20Economic%20Use%20of%20Refrigertion %20Plant.PDF กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน. 2553. ระบบ รับอ ศ. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : http://www2.dede.go.th/bhrd/old/Download/file_handbook/Pre_Build/Build_14.pdf นุกูล แก้วมะหิงษ์. 2558. เครื่อง รับอ ศ (ภ คทฤษฎี). กรุงเทพฯ : ศูนย์ส่งเสริมอาชีวะ.
21 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ผู รั บ รฝึ ส ข ช่ งเครื่ อ ง รั บ อ
ศใ บ และ รพ ณิ ช ย์ ข ดเล็ ระดั บ 3 โมดู ล รฝึ ที่ 4
ใบขอมูล ัวขอวิช ที่ 2 ระบบไดเร็ เอ็ ซ์แพ ชั่ ว ล์ว (Direct Expansion Valve) 1. ระบบไดเร็ เอ็ ซ์แพ ชั่ ว ล์ว อีวาพอเรเตอร์แบบขยายตัวโดยตรงหรือแบบแห้ง เป็นเครื่องระเหยที่มีการป้อนสารทาความเย็นเข้าขดท่อของเครื่องระเหย ด้วยปริมาณที่จากัดในการกลายเป็นไอเท่าที่ถูกดูดเข้าเครื่องอัดเท่านั้น ในเครื่องระเหยชนิดนี้สารทาความเย็นที่เป็นของเหลว จะผ่านตลอดจนกระทั่งเป็นไอโดยไม่มีการแยกระหว่างสารทาความเย็นที่เป็นของเหลวและไอ โดยทั่วไปใช้ในการทาความเย็น ให้แก่อากาศหรือของเหลว ส่วนอุปกรณ์ขยายตัวที่ใช้กับอีวาพอเรเตอร์คือ วาล์วขยายตัว (Expasion Valve)
ภาพที่ 2.1 การกลายเป็นไอในเครื่องระเหยแบบแห้ง
ภาพที่ 2.2 รูปร่างภายนอกและการเรียงตัวของขดท่อของเครื่องระเหยแบบแห้ง
22 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ผู รั บ รฝึ ส ข ช่ งเครื่ อ ง รั บ อ
ศใ บ และ รพ ณิ ช ย์ ข ดเล็ ระดั บ 3 โมดู ล รฝึ ที่ 4
ภาพที่ 2.3 รูปร่างภายนอก (รูปบน) ลักษณะของขดท่อ (รูปกลาง) และการไหล (รูปล่าง) ของเครื่องระเหย แบบแห้งที่ใช้น้าเป็นสารตัวกลางในการถ่ายเทความร้อน อีวาพอเรเตอร์แบบขยายตัวโดยตรงที่ใช้ในการทาความเย็นสาหรับเครื่องปรับอากาศ มีให้เลือกหลากหลายแบบซึ่งมีทั้ง ท่อผิวเรียบธรรมดาหรือท่อติดครีบ อาจใช้แบบที่มีหรือไม่มีการหมุนเวียนของอากาศหรือมีของไหลในกระบวนการผลิต ท่อบางแบบ อาจจะมีอุปกรณ์ภายในเพื่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนความร้อนได้มากที่สุด ซึ่งจะช่วยให้มีประสิทธิภาพดีขึ้น อุปกรณ์ดังกล่าวจะทาให้ ของไหลเกิดการปั่นป่วนขึ้น เพื่อช่วยให้การถ่ายเทความร้อนระหว่างของไหลกับผิวท่อดีขึ้น
23 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ผู รั บ รฝึ ส ข ช่ งเครื่ อ ง รั บ อ
ศใ บ และ รพ ณิ ช ย์ ข ดเล็ ระดั บ 3 โมดู ล รฝึ ที่ 4
1) ลักษณะสาคัญในการออกแบบ (Design Features) อีวาพอเรเตอร์โดยทั่วไปจะมีวงจรขนานหลายวงจรซึ่งออกแบบในลักษณะนี้เพื่อ ให้ถ่ายเทความร้อนได้สูงสุด น้ามั น ไหลกลั บ ได้ ดี และมี ก ารสู ญ เสี ย ความดั น น้ อ ยที่ สุ ด
ภาพที่ 2.4 ระบบปรับอากาศชนิดระบายความร้อนด้วยน้า ในการออกแบบท่อสารทาความเย็นให้มีอากาศถ่ายเทได้ดีพื้นผิวของท่อสารทาความเย็นจะเสริมด้วยครีบภายนอก เพื่อให้ได้พื้นผิวครีบให้มากที่สุด โดยครีบจะถูกจัดให้อยู่ใกล้กันที่สุดเท่าที่จะทาได้โดยไม่เป็นอุปสรรคต่อการไหล ของอากาศในระบบที่อุณหภูมิต่ามาก อาจเกิดน้าแข็งเกาะบนพื้นผิวครีบนั้น จึงจาเป็นต้องจัดให้ครีบอยู่ห่างกันมากขึ้น เพื่อให้อากาศไหลอย่างพอเพียงเมื่อมีน้าแข็งเกิดขึ้น ในหลายปีที่ผ่านมาอุปกรณ์แลกเปลี่ยนความร้อนชนิดแผ่นเพลตแบบกะทัดรัดได้รับความนิยมมากขึ้นโดยใช้ ตัววาล์วแบบขยายตัวควบคุมโดยตรง สาหรับทาความเย็นกับของเหลว ลักษณะการออกแบบทาให้อุปกรณ์ แลกเปลี่ ย นความร้ อนชนิ ดนี้มีขีดความสามารถในการถ่ายเทความร้อน และมีประสิ ทธิภาพสูงมาก ส าหรับ อุปกรณ์ที่มีขนาดใหญ่ สามารถจะถอดออกเพื่อทาความสะอาดได้ ส่วนระบบที่มีขนาดเล็กอาจจะบัดกรีเพื่อให้ เป็นชุดที่ซีลแน่น อุปกรณ์ชนิดนี้สามารถใช้ได้กับสารทาความเย็นฮาโลคาร์บอนทุกชนิด แต่ไม่เหมาะที่จะใช้กับ สารแอมโมเนียเนื่องจากวัสดุที่ใช้ทาอุปกรณ์เป็นโลหะ 2) ลักษณะเด่นในการทางาน (Operating) สารทาความเย็นอิ่มตัวจะถูกป้อนผ่านตัวจ่ายเข้าไปในท่อขยายตัว ทาให้สารทาความเย็นเกิดการระเหยจนหมด ก่อนที่จะถึงทางออก วาล์วขยายตัวจะรักษาระดับไอร้อนยวดยิ่งไว้ที่ประมาณ 50 ๐C ที่ทางออกของอีวาพอเรเตอร์ การทาเช่นนี้เพื่อให้แน่ใจว่าระบบจะทาความเย็นสูงสุดเท่าที่จะทาได้ ขณะเดียวกับที่ยังสามารถป้องกันไม่ให้มี ของเหลวเข้าไปในด้านดูดของคอมเพรสเซอร์ มาตรการดังกล่าว มีความสาคัญมากสาหรับคอมเพรสเซอร์แบบลูกสูบ แต่จะสาคัญน้อยลงสาหรับคอมเพรสเซอร์แบบโรตารี่
24 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ผู รั บ รฝึ ส ข ช่ งเครื่ อ ง รั บ อ
ศใ บ และ รพ ณิ ช ย์ ข ดเล็ ระดั บ 3 โมดู ล รฝึ ที่ 4
3) ปัญหาในการทางาน (Operational Problems) ประสิทธิภ าพของอีว าพอเรเตอร์อาจจะลดลงเมื่อการกระจายสารทาความเย็นที่ไม่ส ม่าเส มอ จึงทาให้ การทาความเย็นไม่สามารถทาได้ดีเมื่อเทียบกับในวงจรอื่น สภาวะดังกล่าวอาจจะเกิดขึ้นได้ถ้าตัวจ่ายสารทาความเย็น ถูก วางในตาแหน่ง ที่ไ ม่เ หมาะสม ดัง นั้น ตาแหน่ง ของตัว จ่า ยสารทาความเย็น จะต้อ งอยู่ใ นแนวดิ่ง เสมอ เพื่อให้มีการป้อนอย่างสม่าเสมอกันในทางออกทุกตัวเพื่อป้องกันผลกระทบที่จะเกิดขึ้นเมื่อท่อจ่ายตัวใดตัวหนึ่ง ได้รับความเสียหาย เป็นไปไม่ได้ที่จะให้ทุกวงจรมีสารทาความเย็นอิ่มตัว (Super lent) ซึ่งหมายถึง เอ็กซ์แพนชั่นวาล์วจะต้องสามารถ ควบคุมการไหลของสารทาความเย็นให้อยู่ในระดับไอร้อนยิ่งยวดทั้ง หมด เมื่อทาเช่นนั้นก็จะทาให้ประสิทธิภาพ การถ่ายเทความร้อนจะลดลงที่ส่วนท้ายของแต่ละวงจรซึ่งเป็นไอร้อนยวดยิ่ง หลักการที่สาคัญอีกเรื่องสาหรับอีวาพอเรเตอร์นี้ คือ การรักษาระดับความเร็วของสารทาความเย็นให้สู งพอ ที่จะชักพาน้ามันหล่อลื่นไปตามระบบท่อไม่ว่าจะเป็นสารทาความเย็นฮาโลคาร์บอนหรือแอมโมเนีย เพราะถ้า อีวาพอเรเตอร์ต้องทางานกับภาระที่แปรผันในช่วงกว้าง เนื่องจากที่ภาระต่าความเร็วสารทาความเย็นจะไม่สอดคล้อง กับความเร็วต่าสุดที่ต้องการภายใต้สภาวะดังกล่าว จึงจาเป็นต้องแบ่งภาระรวมของระบบออกโดยใช้อีวาพอเรเตอร์ ขนาดเล็กหลายตัว และหยุดการทางานบางตัวเมื่อภาระลดลง
25 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ผู รั บ รฝึ ส ข ช่ งเครื่ อ ง รั บ อ
ศใ บ และ รพ ณิ ช ย์ ข ดเล็ ระดั บ 3 โมดู ล รฝึ ที่ 4
ใบทดสอบ ค ชี้แจง ให้ผู้รับการฝึกทาเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคาตอบข้อที่ถูกที่สุดเพียงข้อเดียว 1. เมื่อได้ไอของสารทาความเย็นแล้วจะส่งไปที่ส่วนใด ก. เครื่องอัด ข. เครื่องระเหย ค. วาล์วขยายตัว ง. เครื่องควบแน่น 2. เมื่อได้ไอร้อนยิ่งยวดจะส่งไปที่ส่วนใด ก. เครื่องอัด ข. เครื่องระเหย ค. วาล์วขยายตัว ง. เครื่องควบแน่น 3. ข้อใดคือผลลัพธ์เมื่อป้อนสารความเย็นเข้าขดท่อเครื่องระเหยแล้ว ก. ไอ ข. น้าแข็ง ค. ของเหลว ง. อากาศเย็น
26 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ผู รั บ รฝึ ส ข ช่ งเครื่ อ ง รั บ อ
ศใ บ และ รพ ณิ ช ย์ ข ดเล็ ระดั บ 3 โมดู ล รฝึ ที่ 4
ระด ษค ตอบ ขอ
ข
ค
1 2 3
27 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
ง
คู่ มื อ ผู รั บ รฝึ ส ข ช่ งเครื่ อ ง รั บ อ
ศใ บ และ รพ ณิ ช ย์ ข ดเล็ ระดั บ 3 โมดู ล รฝึ ที่ 4
คณะผูจัดท โครง ร คณะผูบริ ร 1. นายสุทธิ
สุโกศล
อธิบดีกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน
2. นางถวิล
เพิ่มเพียรสิน
รองอธิบดีกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน
3. นายธวัช
เบญจาทิกุล
รองอธิบดีกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน
4. นายสุรพล
พลอยสุข
รองอธิบดีกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน
5. ว่าที่ร้อยตรี สมศักดิ์ พรหมดา
ผู้อานวยการสานักพัฒนาผู้ฝึกและเทคโนโลยีการฝึก
6. นางเพ็ญประภา
ศิริรัตน์
ผู้อานวยการกลุ่มงานพัฒนาระบบการฝึก
7. นายวัชรพงษ์
มุขเชิด
ผู้อานวยการสานักงานรับรองความรู้ความสามารถ
คาเงิน
ภาควิชาวิศวกรรมโทรคมนาคม คณะวิศวกรรมศาสตร์
คณะที่ รึ ษ โครง ร 1. ผศ. ดร. มนตรี
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง 2. รศ. ดร. วิสุทธิ์
สุนทรกนกพงศ์
ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้าสื่อสาร คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
3. ผศ. สันติ
ตันตระกูล
ภาควิชาครุศาสตร์วิศวกรรม คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
4. นายสุระชัย
พิมพ์สาลี
ภาควิชาครุศาสตร์วิศวกรรม คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
5. นายวินัย
ใจกล้า
ภาควิชาครุศาสตร์วิศวกรรม คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
6. นายวราวิช
กาภู ณ อยุธยา
สานักบริหารงานวิจัยและนวัตกรรมพระจอมเกล้าลาดกระบัง สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
7. นายมนตรี
ประชารัตน์
แผนกวิชาช่างไฟฟ้า วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี
8. นายธเนศ
วงค์วัฒนานุรักษ์
แผนกวิชาช่างไฟฟ้า วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี
9. นายณัฐวุฒิ
เสรีธรรม
แผนกวิชาช่างไฟฟ้า วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี
10. นายหาญยงค์
หอสุขสิริ
แผนกวิชาโลหะการ วิทยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษก มหานคร
11. นายสวัสดิ์
บุญเถื่อน
แผนกวิชาช่างยนต์ วิทยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษก มหานคร 28 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ผู รั บ รฝึ ส ข ช่ งเครื่ อ ง รั บ อ
ศใ บ และ รพ ณิ ช ย์ ข ดเล็ ระดั บ 3 โมดู ล รฝึ ที่ 4
ลัง
29 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน