กิ จ
หน้าปก
คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝึ ก ที่ 6
คู่มือผู้รับการฝึก 0920164170203 สาขาช่างเครื่องปรับอากาศในบ้านและการพาณิชย์ขนาดเล็ก ระดับ 3
ชุดการฝึกตามความสามารถ (CBT)
โมดูลการฝึกที่ 6 09217317 องค์ประกอบที่มีผลต่อสมรรถนะของคอนเดนเซอร์ แบบระบายความร้อนด้วยน้า
กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝึ ก ที่ 6
ค้า น้า คู่มือผู้รับการฝึก สาขาช่างเครื่องปรับอากาศในบ้านและการพาณิชย์ขนาดเล็ก ระดับ 3 โมดูล 6 องค์ประกอบที่มีผล ต่อสมรรถนะของคอนเดนเซอร์แบบระบายความร้อนด้วยน้า ฉบับนี เป็นส่วนหนึ่งของหลักสูตรฝึกอบรมฝีมือแรงงานตาม ความสามารถ (Competency Based Training : CBT) ซึ่งพัฒนาขึนเพื่อใช้เป็นเอกสารประกอบการจัดการฝึกอบรมกับชุด การฝึกตามความสามารถ โดยได้ด้าเนินการภายใต้โครงการพัฒนาระบบฝึกและชุดการฝึกตามความสามารถเพื่อการพัฒนา ฝีมือแรงงาน ด้วยระบบการฝึกตามความสามารถ (Competency Based Workforce Skill Training System) พ.ศ. 2560 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ผู้รับการฝึกได้ใช้เป็นเครื่องมือในการฝึกอบรมให้เป็นไปตามหลักสูตร กล่าวคือ หลังเรียนจบโมดูล การฝึก ผู้รับการฝึกสามารถอธิบายเกี่ยวกับอัตราการไหลของปริมาตร อุณหภูมิของน้า พืนผิวถ่ายเทความร้อน และแฟน คอยล์ที่มีผลต่อสมรรถนะ ของคอนเดนเซอร์แบบระบายความร้อนด้วยน้าได้อย่างถูกต้อง ระบบการฝึกอบรมตามความสามารถเป็นระบบการฝึกอบรมที่ส่งเสริมให้ผู้รับการฝึกอบรมสามารถฝึกฝนเรียนรู้ได้ ตามพืนฐานความสามารถของตนในเวลาที่มีความสะดวก โดยเน้นในเรื่องของการส่งมอบการฝึกอบรมที่หลากหลายไปให้แก่ ผู้ รับการฝึ กอบรม และต้องการให้ ผู้ รั บ การฝึ ก อบรมเกิด การเรี ยนรู้ ด้ว ยตนเอง การฝึ กปฏิบัติจะด้ าเนิน การในรู ป แบบ Learning by Doing และเน้นผลลัพธ์การฝึกอบรมในการที่ท้าให้ผู้รับการฝึกอบรมมีความสามารถในการปฏิบัติงานตามที่ ตลาดแรงงานต้องการ โดยยึดความสามารถของผู้รับการฝึกเป็นหลัก การฝึกอบรมในระบบดังกล่าว จึงเป็ นรูปแบบการ ฝึกอบรมที่สามารถรองรับการพัฒนารายบุคคลได้เป็นอย่างดี นอกจากนี เนือหาวิชาในหลักสูตรการฝึกตามความสามารถ (Competency Based Curriculum : CBC) ซึ่งได้จากการวิเคราะห์งานอาชีพ (Job Analysis) ในแต่ละสาขาอาชีพ จะถูก ก้าหนดเป็นรายการความสามารถหรือสมรรถนะ (Competency) ที่ผู้รับการฝึกอบรมจ้าเป็นต้องใช้ในการปฏิบัติงาน และ สอดคล้องกับความต้องการของสถานประกอบกิจการและภาคอุตสาหกรรม ซึ่งผู้รับการฝึกจะต้องเรียนรู้และฝึกฝนจนกว่าจะ สามารถปฏิบัติเองได้ ตามมาตรฐานที่ก้าหนดในแต่ละรายการความสามารถ ทังนี การส่งมอบการฝึก สามารถด้าเนินการได้ ทังรูปแบบการเรียนรู้ผ่านสื่อสิ่งพิมพ์ (Paper Based) และผ่านสื่อคอมพิวเตอร์ (Computer Based) โดยผู้รับการฝึกสามารถ เรียนรู้ได้ด้วยตนเอง (Self-Learning) ที่บ้านหรือที่ท้างาน และเข้ารับการฝึกภาคปฏิบัติตามความพร้อม ตามความสะดวก ของตน หรือตามแผนการฝึก หรือตามตารางการนัดหมาย การฝึกหรือทดสอบประเมินผลความรู้ความสามารถกับหน่วยฝึก โดยมีครูฝึกหรือผู้สอนคอยให้ค้าปรึกษา แนะน้าและจัดเตรียมการฝึกภาคปฏิบัติ รวมถึงจัดเตรียมและด้าเนินการทดสอบ ประเมินผลในลักษณะต่าง ๆ อันจะท้าให้สามารถเพิ่มจ้านวนผู้รับการฝึกได้มากยิ่งขึ น ช่วยประหยัดเวลาในการเดินทาง และ ประหยั ดงบประมาณค่าใช้จ่ ายในการพัฒ นาฝี มือแรงงานให้ แก่ก้าลั งแรงงานในระยะยาว จึงถือเป็นรูปแบบการฝึ กที่มี ความส้าคัญต่อการพัฒนาฝีมือแรงงาน ทังในปัจจุบันและอนาคต ซึ่งหากมีการน้าระบบการฝึกอบรมตามความสามารถมาใช้ ในการพัฒนาฝีมือแรงงาน จะช่วยท้าให้ประชาชน ผู้ใช้แรงงานผู้ว่างงาน นักเรียน นักศึกษา และผู้ประกอบอาชีพอิสระ สามารถเข้าถึงการฝึกอบรมเพื่อพัฒนาตนเองได้อย่างสะดวก และได้รับประโยชน์อย่างทั่วถึงมากยิ่งขึน
กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน ก กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝึ ก ที่ 6
สารบัญ เรื่อง
หน้า
ค้าน้า
ก
สารบัญ
ข
ข้อแนะน้าส้าหรับผู้รับการฝึก
1
โมดูลการฝึกที่ 6 09217317 องค์ประกอบที่มีผลต่อสมรรถนะของคอนแดนเซอร์ แบบระบายความร้อนด้วยน้า หัวข้อวิชาที่ 1 0921731701 องค์ประกอบที่มีผลต่อสมรรถนะของคอนแดนเซอร์ แบบระบายความร้อนด้วยน้า คณะผู้จัดท้าโครงการ
ข กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
12 20
คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝึ ก ที่ 6
ข้อแนะน้าส้าหรับผูร้ ับการฝึก ข้อแนะน้าส้าหรับผู้รับการฝึก คือ ค้าอธิบายเกี่ยวกับรายละเอียดของคู่มือ และขันตอนการเข้ารับการฝึก ซึ่งมีอยู่ด้วยกัน 6 ข้อ ดังนี
1. รายละเอียดของคู่มือ 1.1 โมดูลการฝึก / หัวข้อวิชา หมายถึง โมดูลการฝึกที่ครูฝึกต้องจัดการฝึกอบรม โดยภายในโมดูลจะประกอบไป ด้วย หัวข้อวิชาที่ผู้รับการฝึกต้องเรียนรู้และฝึกฝน ซึ่งมีรหัสโมดูลและรหัสหัวข้อวิชาเป็นตัวก้าหนดความสามารถ ที่ต้องเรียนรู้ 1.2 ระยะเวลาการฝึก หมายถึง จ้านวนชั่วโมงในการฝึกอบรม เพื่อให้บรรลุตามวัตถุประสงค์ของแต่ละโมดูล 1.3 ระบบการฝึ กตามความสามารถ (CBT) หมายถึ ง ระบบการฝึ กที่ เกิ ดจากการน้ าความรู้ ทั กษะ ความสามารถ (Competency) ที่จ้าเป็นส้าหรับการท้างานมาเป็นฐาน (Based) ของการจัดฝึกอบรม หรือน้ามาก้าหนดเป็นเนือหา (Content) และเกณฑ์การประเมิน การฝึกอบรม ท้าให้ผู้รับการฝึกอบรมมีความสามารถ (Competency) ตามเกณฑ์มาตรฐานที่ก้าหนด และตามความสามารถในการเรียนรู้ของผู้รับการฝึกเป็นหลัก 1.4 ชุดการฝึก หมายถึง สื่อสิ่งพิมพ์ และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ใช้ส้าหรับเป็นอุปกรณ์ช่วยฝึก โดยแต่ละโมดูลประกอบด้วย คู่มือครูฝึก คู่มือผู้รับการฝึก คู่มือประเมิน สื่อวีดิทัศน์ 1.5 ระบบจัดการฝึกด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer Managed Instruction : CMI) หมายถึง การน้าระบบคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศ ซึ่งใช้ในการจัดการเรียนรู้และฝึกอบรม เช่น ระบบรับสมัครออนไลน์ ระบบลงทะเบียน เข้ารับ การฝึกอบรมออนไลน์ ระบบการฝึกอบรมภาคทฤษฎีผ่านอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์หรืออุปกรณ์สื่อสาร แบบพกพา การทดสอบออนไลน์ การบันทึกผลการฝึกอัตโนมัติ และการออกใบวุฒิบัตรอิเล็กทรอนิกส์ เป็นต้น โดยการเข้าใช้งานระบบ แบ่งส่ว นการใช้งานตามความรับผิดชอบของผู้มีส่ว นได้ส่ว น เสียดังภาพในหน้า 2 ซึ่งรายละเอียดการใช้งานของผู้เข้ารับการฝึกสามารถดูได้จากลิงค์ mlearning.dsd.go.th/download/files/trainee.pdf
1 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝึ ก ที่ 6
2 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝึ ก ที่ 6
2. ผังการฝึกอบรม
3 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝึ ก ที่ 6
3. วิธีการฝึกอบรม 3.1 ผู้รับการฝึก ท้าความเข้าใจการฝึกอบรมในระบบ CBT ซึ่งสามารถฝึกอบรมได้ 3 รูปแบบ คือ 3.1.1 การฝึกอบรมด้วยการส่งมอบสื่อสิ่งพิมพ์ (Offline) 3.1.2 การฝึกอบรมที่ศูนย์ฝึกอบรม (Offline) 3.1.3 การฝึกอบรมด้วยสื่อในระบบออนไลน์ (Online) โดยในแต่ละรูปแบบจะมีรายละเอียดแตกต่างกัน ดังนี 3.1.1 การฝึกอบรมด้วยการส่งมอบสื่อสิ่งพิมพ์ (Offline) คือ การฝึกอบรมที่ผู้รับ การฝึกเรียนรู้ภาคทฤษฎี (ด้านความรู้) ด้ว ยตนเอง โดยครูฝึกเป็นผู้ส่งมอบ คู่มือผู้รับการฝึกที่พิมพ์จากสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) และวีดิทัศน์ (DVD) แก่ผู้รับการฝึก และฝึกภาคปฏิบัติ (ด้านทักษะ) ที่ศูนย์ฝึกอบรม การฝึกภาคทฤษฎี - ผู้รับการฝึกเรียนรู้ภาคทฤษฎีด้วยตนเอง โดยใช้คู่มือผู้รับการฝึกที่พิมพ์จากสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) และวีดิทัศน์ (DVD) ที่ครูฝึกส่งมอบให้ การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ผู้รับการฝึกท้าแบบทดสอบก่อนฝึก (Pre-Test) ลงในกระดาษค้าตอบ แล้วส่งกระดาษค้าตอบ ให้ครูฝึก เพื่อตรวจและประเมินผล 2) ครูฝึกประเมินแบบทดสอบก่อนฝึก - ถ้าผลการประเมินผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ตามที่ก้าหนดในเอกสารโครงร่างหลักสูตร จะมีสิท ธิ์ข อเข้า รับ การฝึก ภาคปฏิบัติ (ถ้า มี) หรือ เข้า รับ การฝึก ในโมดูล ถัด ไป หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลที่ครูฝึกก้าหนดได้ - ถ้าผลการประเมินต่้ากว่าร้อยละ 70 ให้ครูฝึกมอบหมายให้ผู้รับการฝึกศึกษาเนือหา จากสื่อด้วยตนเองจนเข้าใจ จึงท้าแบบทดสอบหลังฝึก (Post-Test) 3) ผู้รับการฝึกท้าแบบทดสอบหลังฝึก (Post-Test) ลงในกระดาษค้าตอบ แล้วส่งให้ครูฝึกตรวจ และประเมินผล โดยใช้หลักเกณฑ์เดียวกับการประเมินแบบทดสอบก่อนฝึก 3.1.2 การฝึกอบรมที่ศูนย์ฝึกอบรม (Offline) คือ การฝึกอบรมที่ผู้รับการฝึกเรียนรู้ภาคทฤษฎีจากครูฝึก และฝึกภาคปฏิบัติที่ศูนย์ฝึกอบรม การฝึกภาคทฤษฎี - ผู้รับการฝึกเรียนรู้ภาคทฤษฎีจากครูฝึกโดยใช้สื่อสิ่งพิมพ์จากสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) และวีดิทัศน์ (DVD) ที่ศูนย์ฝึกอบรม
4 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝึ ก ที่ 6
การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ผู้รับการฝึกท้าแบบทดสอบก่อนฝึก (Pre-Test) ลงในกระดาษค้าตอบ แล้วส่งกระดาษค้าตอบ ให้ครูฝึกตรวจและประเมินผล 2) ครูฝึกประเมินแบบทดสอบก่อนฝึก - ถ้าผลการประเมินผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ตามที่ก้าหนดในเอกสารโครงร่างหลักสูตร ผู้รับการฝึกจะมีสิทธิ์ขอเข้ารับการฝึกภาคปฏิบัติ (ถ้ามี) หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลถัดไป หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลที่ครูฝึกก้าหนดได้ - ถ้าผลการประเมินต่้ากว่าร้อยละ 70 ให้ผู้รับการฝึกศึกษาเนือหาจากสื่อด้วยตนเอง จนเข้าใจ จึงท้าแบบทดสอบหลังฝึก (Post-Test) 3) ผู้รับการฝึกท้าแบบทดสอบหลังฝึก (Post-Test) ลงในกระดาษค้าตอบ แล้วส่งให้ครูฝึกตรวจ และประเมินผล โดยใช้หลักเกณฑ์เดียวกับการประเมินแบบทดสอบก่อนฝึก 3.1.3 การฝึกอบรมด้วยสื่อในระบบออนไลน์ (Online) คือ การฝึกอบรมที่ผู้รับการฝึกเรียนรู้ภาคทฤษฎีด้วยตนเองผ่านระบบจัดการฝึกด้วยคอมพิวเตอร์ หรือ CMI โดยใช้คู่มือผู้รับการฝึกที่เป็นสื่อออนไลน์ในแอปพลิเคชัน DSD m-Learning และฝึกภาคปฏิบัติที่ศูนย์ฝึกอบรม วิธีดาวน์โหลดแอปพลิเคชัน DSD m-Learning - ผู้รับการฝึกดาวน์โหลดแอปพลิเคชัน DSD m-Learning ซึ่งวิธีการดาวน์โหลดแอปพลิเคชัน สามารถแบ่งออกเป็น 2 ช่องทางตามแต่ละระบบปฏิบัติการ คือ 1) ผู้รับการฝึกที่ใช้เครื่องมือสื่อสารอิเล็กทรอนิกส์ ระบบปฏิบัติการ iOS ค้นหา แอปพลิเคชัน DSD m-Learning ใน App Store จากนันกดดาวน์โหลด เพื่อติดตังบนเครื่องมือสื่อสาร และเข้าใช้งานโดยกรอก Username และ Password ตามที่เคยลงทะเบียนไว้ 2) ผู้รับการฝึกที่ใช้เครื่องมือสื่อสารอิเล็กทรอนิกส์ ระบบปฏิบัติการ Android ค้นหาแอป พลิเคชัน DSD m-Learning ใน Google Play Store จากนันกดดาวน์โหลด เพื่อติดตัง บนเครื่องมือสื่อสาร และเข้าใช้งานโดยกรอก Username และ Password ตามที่เคย ลงทะเบียนไว้ การฝึกภาคทฤษฎี - ผู้รับการฝึกเรียนรู้ภาคทฤษฎีด้วยตนเอง จากคู่มือผู้รับการฝึก ซึ่งเป็นสื่อออนไลน์บนแอปพลิเคชัน DSD m-Learning การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ผู้รับการฝึกท้าแบบทดสอบก่อนฝึก (Pre-Test) ลงในแอปพลิเคชัน โดยระบบจะตรวจแลประเมินผล อัตโนมัติ
5 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝึ ก ที่ 6
- ถ้าผลการประเมินผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ตามที่ก้าหนดในเอกสารโครงร่างหลักสูตร ผู้รับ การฝึกจะมีสิทธิ์ขอเข้ารับการฝึกภาคปฏิบัติ (ถ้ามี) หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลถัดไป หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลที่ครูฝึกก้าหนดได้ - ถ้าผลการประเมินต่้ากว่าร้อยละ 70 ให้ผู้รับการฝึกศึกษาเนือหาจากสื่อด้วยตนเอง จนเข้าใจแล้วจึงท้าแบบทดสอบหลังฝึก (Post-Test) 2) ผู้รับการฝึกท้าแบบทดสอบหลังฝึก โดยใช้หลักเกณฑ์เดียวกับการประเมินแบบทดสอบก่อนฝึก 3.2 ครูฝึกชีแจงรูปแบบการฝึกอบรมทัง 3 รูปแบบแก่ผู้รับการฝึก เพื่อท้าการตกลงรูปแบบการฝึกอบรมร่วมกับผู้รับการฝึก โดยให้ผู้รับการฝึกเลือกวิธีที่สะดวก 3.3 ครูฝึกวางแผนการฝึกตลอดหลักสูตรร่วมกันกับผู้รับการฝึก
4. อุปกรณ์ช่วยฝึกและช่องทางการเข้าถึงอุปกรณ์ช่วยฝึก ผู้รับการฝึกสามารถเลือกใช้อุปกรณ์ช่วยฝึกได้ 2 รูปแบบ คือ รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ์ (Offline) และรูปแบบระบบจัดการฝึก ด้วยคอมพิวเตอร์ หรือ CMI (Online) โดยมีช่องทางการเข้าถึงอุปกรณ์ช่วยฝึกแต่ละรูปแบบแตกต่างกัน ดังนี 4.1 รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ์ (Offline) ประกอบด้วย - คู่มือผู้รับการฝึก เพื่อใช้ศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คู่มือการประเมิน เพื่อใช้ในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน์ (DVD) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 4.2 รูปแบบระบบจัดการฝึกด้วยคอมพิวเตอร์ หรือ CMI (Online) ดังนี - คู่มือผู้รับการฝึกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) เพื่อใช้ศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คู่มือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) เพื่อใช้ในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน์ (Online) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ
5. การวัดและประเมินผล 5.1 การประเมินผลภาคทฤษฎี (ด้านความรู้) ประเมินผลจากแบบทดสอบภาคทฤษฎีก่อนฝึ ก และแบบทดสอบภาคทฤษฎีหลั งฝึ ก โดยก้าหนดเกณฑ์การให้ คะแนนและการระบุความสามารถด้านความรู้ ดังนี เกณฑ์การให้คะแนน ภาคทฤษฎี ตังแต่ร้อยละ 70 ขึนไป ต่้ากว่าร้อยละ 70
เกณฑ์การประเมิน ความสามารถ ผ่าน (C) ไม่ผ่าน (NYC) 6
กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝึ ก ที่ 6
ผู้รับการฝึกจะได้รับการประเมินผลการฝึกจากครูฝึก โดยจะต้องสามารถปฏิบัติตามความสามารถในแต่ละโมดูลนัน ๆ ได้ตาม เกณฑ์ที่ก้าหนด จึงจะถือว่าผ่านการฝึกโมดูลนัน และเมื่อผ่านการฝึกครบทุกโมดูล จึงจะถือว่าฝึกครบชุดการฝึกนัน ๆ แล้ว
6. เงื่อนไขการผ่านการฝึก ผู้รับการฝึกที่จะผ่านโมดูลการฝึก ต้องได้รับค่าร้อยละของคะแนนการทดสอบภาคทฤษฏี คะแนนรวมไม่ต่้ากว่าร้อยละ 70 จึงจะผ่านโมดูลการฝึก
7 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝึ ก ที่ 6
รายละเอียดหลักสูตร หลักสูตรฝึกอบรมฝีมือแรงงานตามความสามารถ สาขาช่างเครื่องปรับอากาศในบ้าน และการพาณิชย์ขนาดเล็ก ระดับ 3กรมพัฒนาฝีมือ แรงงาน กระทรวงแรงงาน
รหัสหลักสูตร 0920164170203
1. ขอบเขตของหลักสูตร หลักสูตรนีพัฒ นาขึนให้ ครอบคลุมด้านความรู้ ทั กษะ และเจตคติแก่ผู้รับการฝึ ก ในสาขาช่างเครื่องปรับอากาศ ในบ้า นและการพาณิช ย์ข นาดเล็ก เพื่อให้มีความรู้ ความสามารถและทัศนคติตามมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติ สาขาช่างเครื่องปรับอากาศในบ้านและการพาณิชย์ขนาดเล็ก ระดับ 3ดังนี 1.1 มีความรู้ความสามารถเกี่ยวกับสัญลักษณ์สากลของอุปกรณ์ และเขียนแบบร่างเพื่อแสดงแผนผังการติดตัง เครื่องปรับอากาศ 1.2 มีความรู้ความสามารถในการใช้เครื่องมือวัดต่าง ๆ ที่ใช้ในเครื่องปรับอากาศ 1.3 มีความรู้ เกี่ย วกับ การท้าความเย็ น ด้ว ยระบบระเหยตรง (Direct Expansion System) และระบบน้าเย็ น (Chilled Water System) 1.4 มีความรู้ เกี่ย วกับ ระบบสารท้าความเย็ นท่ว ม (Flooded System) และไดเร็กเอ็กซ์ แพนชั่นวาล์ ว (Direct Expansion Valve) 1.5 มีความรู้เกี่ยวกับองค์ประกอบที่มีผลต่อสมรรถนะของคอนเดนเซอร์ และแฟนคอยล์แบบครีบ 1.6 มีความรู้เกี่ยวกับองค์ประกอบที่มีผลต่อสมรรถนะของคอนเดนเซอร์แบบระบายความร้อนด้วยน้า 1.7 มีความรู้เกี่ยวกับพืนผิวถ่ายเทความร้อนผ่านชันตัวน้าความร้อนล้าดับต่าง ๆ 1.8 มีความรู้ความสามารถในการแขวนหรือยึดท่อให้มั่นคง 1.9 มีความรู้เกี่ยวกับผลกระทบของสารเจือปนในสารท้าความเย็น 1.10 มีความรู้เกี่ยวกับการประหยัดพลังงานไฟฟ้า การค้านวณหาก้าลังไฟฟ้าของมอเตอร์ การค้านวณหาความเร็วรอบ ของมอเตอร์ การค้านวณค่าใช้จ่ายค่ากระแสไฟฟ้าที่เครื่องปรับอากาศใช้ 1.11 มีความรู้เกี่ยวกับหลักความปลอดภัยในการท้างาน 2. ระยะเวลาการฝึก ผู้ รั บ การฝึ กจะได้รั บ การฝึ ก ในภาคทฤษฎี และภาคปฏิบั ติ โดยสถาบันพัฒ นาฝี มือแรงงาน หรือส้านักงานพัฒนา ฝีมือแรงงานที่เป็นหน่วยฝึกตามความสามารถใช้ระยะเวลาในการฝึก50 ชั่วโมง 8 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝึ ก ที่ 6
เนื่ อ งจากเป็ น การฝึ ก ที่ ขึ นอยู่ กั บ พื นฐานความรู้ ทั ก ษะ ความสามารถและความพร้ อ มของผู้ รั บ การฝึ ก แต่ละคน มีผลให้ผู้รั บ การฝึ กจบการฝึกไม่พร้ อ มกัน สามารถจบก่อ นหรือ เกินระยะเวลาที่ก้าหนดไว้ในหลักสูตรได้ หน่ว ยฝึกจึงต้องบริหารระยะเวลาในการฝึกให้เหมาะสมตามความจ้าเป็น ทังนี ให้อยู่ในดุลยพินิจของผู้อ้านวยการ สถาบันพัฒนาฝีมือแรงงาน หรือผู้อ้านวยการส้านักงานพัฒนาฝีมือแรงงานที่เป็นหน่วยฝึกตามความสามารถจะเห็นสมควร 3. หน่วยความสามารถและโมดูลการฝึก จ้านวนหน่วยความสามารถ 11 หน่วย จ้านวนโมดูลการฝึก 11 โมดูล 4. วุฒิบัตร 4.1 ชื่อเต็ม : วุฒิบัตรพัฒนาฝีมือแรงงาน สาขา ช่างเครื่องปรับอากาศในบ้านและการพาณิชย์ขนาดเล็ก ระดับ 3 4.2 ชื่อย่อ : วพร. สาขา ช่างเครื่องปรับอากาศในบ้านและการพาณิชย์ขนาดเล็ก ระดับ 3 4.3 ผู้ รั บ การฝึ ก ที่ ผ่ า นการประเมิ น ผลหรื อ ผ่ า นการฝึ ก ครบทุ ก หน่ ว ยความสามารถ จะได้ รั บ วุ ฒิ บั ต ร วพร. สาขา ช่างเครื่องปรับอากาศในบ้านและการพาณิชย์ขนาดเล็ก ระดับ 3
9 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝึ ก ที่ 6
รายละเอียดโมดูลการฝึกที่ 6 1. ชื่อหลักสูตร
สาขาช่างเครื่องปรับอากาศในบ้านและการพาณิชย์ขนาดเล็ก รหัสหลักสูตร ระดับ 3 0920164170203 2. ชื่อโมดูลการฝึก องค์ประกอบที่มีผลต่อสมรรถนะของคอนเดนเซอร์ รหัสโมดูลการฝึก แบบระบายความร้อนด้วยน้า 09217317 3. ระยะเวลาการฝึก รวม 1 ชั่วโมง 15 นาที ทฤษฎี 1 ชั่วโมง 15 นาที ปฏิบัติ - ชัว่ โมง 4. ขอบเขตของหน่วย หน่วยการฝึกนี พัฒนาขึนให้ครอบคลุ มด้านความรู้ ทักษะ และเจตคติแก่ผู้รับการฝึ ก การฝึก เพื่อให้มีความสามารถ ดังนี 1. อธิบายอัตราการไหลของปริมาตรที่มีผลต่อสมรรถนะของคอนเดนเซอร์ แบบระบายความร้อนด้วยน้าได้ 2. อธิบายเกี่ยวกับอุณหภูมิของน้าที่มีผลต่อสมรรถนะของคอนเดนเซอร์ แบบระบายความร้อนด้วยน้าได้ 3. อธิบายเกี่ยวกับพืนผิวถ่ายเทความร้อน และแฟนคอยล์ที่มีผลต่อสมรรถนะ ของคอนเดนเซอร์แบบระบายความร้อนด้วยน้าได้ 5. พืนฐาน ผู้สมัครเข้ารับการฝึกต้องมีคุณสมบัติ ดังต่อไปนี ความสามารถของ 1. มีความรู้พืนฐานเกี่ยวกั บอัตราการไหลของปริมาตร อุณหภูมิของน้า พืนผิวถ่ายเท ผู้รับการฝึก ความร้อน ที่มีผลต่อสมรรถนะของคอนเดนเซอร์แบบระบายความร้ อนด้วยน้า หรือ ผ่านการฝึกอบรมทีเ่ กี่ยวข้องจากหน่วยงานหรือสถาบันที่เชื่อถือได้ 2. ผู้รับการฝึกผ่านระดับ 2 มาแล้ว 3. ผู้รับการฝึกผ่านโมดูลที่ 5 มาแล้ว 6. ผลลัพธ์การเรียนรู้ : เมื่อส้าเร็จการฝึกในโมดูลนีแล้วผู้รับการฝึกสามารถปฏิบัติงานโดยมีความรู้ความสามารถและใช้ ระยะเวลาฝึก ดังนี ระยะเวลาฝึก (ชั่วโมง : นาที) ผลลัพธ์การเรียนรู้ ชื่อหัวข้อวิชา ทฤษฎี ปฏิบัติ รวม 1. อธิบายอัตราการไหล หัวข้อที่ 1 : องค์ประกอบที่มีผลต่อสมรรถนะของ 1:15 1:15 ของปริมาตรที่มีผลต่อ คอนเดนเซอร์แบบระบายความร้อน สมรรถนะของคอนเดนเซอร์ ด้วยน้า แบบระบายความร้อนด้วยน้า ได้ 10 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝึ ก ที่ 6
2. อธิบายเกี่ยวกับอุณหภูมิของน้า ที่มีผลต่อสมรรถนะของ คอนเดนเซอร์ แบบระบายความร้อน ด้วยน้าได้ 3. อธิบายเกี่ยวกับพืนผิวถ่ายเท ความร้อน และแฟนคอยล์ ที่มีผลต่อสมรรถนะของ คอนเดนเซอร์ แบบระบายความร้อน ด้วยน้าได้ รวมทังสิน
1:15
11 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
-
1:15
คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝึ ก ที่ 6
รายละเอียดหัวข้อวิชาที่ 1 0921731701 องค์ประกอบที่มีผลต่อสมรรถนะของคอนเดนเซอร์ แบบระบายความร้อนด้วยน้า (ใบแนะน้า) 1. ผลลัพธ์การเรียนรู้ 1. อธิบายอัตราการไหลของปริมาตรที่มีผลต่อสมรรถนะของคอนเดนเซอร์แบบระบายความร้อนด้วยน้าได้ 2. อธิบายเกี่ยวกับอุณหภูมิของน้าที่มีผลต่อสมรรถนะของคอนเดนเซอร์แบบระบายความร้อนด้วยน้าได้ 3. อธิบายเกี่ยวกับพืนผิวถ่ายเทความร้อน และแฟนคอยล์ที่มีผลต่อสมรรถนะของคอนเดนเซอร์แบบระบายความร้อน ด้วยน้าได้
2. หัวข้อส้าคัญ 1. อัตราการไหลของปริมาตรน้า 2. อุณหภูมิของน้า 3. พืนผิวถ่ายเทความร้อน
3. วิธีการฝึกอบรม การฝึกอบรมสามารถเลือกได้ 3 รูปแบบ คือ 1) การฝึกอบรมด้วยการส่งมอบสื่อสิ่งพิมพ์ 2) การฝึกอบรมที่ศูนย์ฝึกอบรม 3) การฝึกอบรมด้วยสื่อในระบบออนไลน์ ดังรายละเอียดในข้อแนะน้าส้าหรับผู้รับการฝึก
4. อุปกรณ์ช่วยฝึก อุปกรณ์ช่วยฝึกสามารถเลือกใช้งานได้ 2 รูปแบบ คือ 1. รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ์ (Offline) ประกอบด้วย - คู่มือผู้รับการฝึก เพื่อใช้ศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คู่มือการประเมิน เพื่อใช้ในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน์ (DVD) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ
12 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝึ ก ที่ 6
2. รูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ (Online) ประกอบด้วย - คู่มือผู้รับการฝึกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) เพื่อใช้ศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คู่มือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) เพื่อใช้ในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน์ (Online) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ
5. การรับการฝึกอบรม 1. ผู้รับการฝึกท้าแบบทดสอบก่อนฝึก (Post-Test) แล้วส่งให้ครูฝึกหรือระบบประเมินผลตามวิธีที่เลือกฝึกอบรม 1.1 ถ้าผลการประเมินผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ตามที่ก้าหนดในเอกสารโครงร่างหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเข้ารับการฝึก ภาคปฏิบัติ (ถ้ามี) หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลถัดไป หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลที่ครูฝึกก้าหนดได้ 1.2 ถ้าผลการประเมินต่้ากว่าร้อยละ 70 ให้ผู้รับการฝึกเข้าฝึกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝึกอบรมภาคทฤษฎี ให้ผู้รับการฝึกศึกษาคู่มือผู้รับการฝึก และฝึกหัดท้าใบทดสอบท้ายหัวข้อวิชา 3. เมื่อผู้รับการฝึกศึกษาคู่มือผู้รับการฝึกประจ้าโมดูลนันเข้าใจแล้ว ให้ท้าแบบทดสอบหลังฝึก (Post-Test) แล้วส่งให้ ครูฝึกหรือระบบประเมินผลเช่นเดียวกับแบบทดสอบก่อนฝึก
6. การวัดผล 1. ผู้รับการฝึกส่งแบบทดสอบก่อนฝึก ให้ครูฝึกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎีตามวิธีที่เลือกฝึกอบรม 1.1 ถ้าผลการประเมินผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ตามที่ก้าหนดในเอกสารโครงร่างหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเข้ารับการฝึก ภาคปฏิบัติ (ถ้ามี) หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลถัดไปได้ 1.2 ถ้าผลการประเมินต่้ากว่าร้อยละ 70 ให้ครูฝึกมอบหมายให้ผู้รับการฝึกศึกษาเนือหาจากสื่อด้วยตนเองจน เข้าใจ จึงท้าแบบทดสอบหลังฝึก (Post-Test) 2. ผู้รับการฝึกส่งแบบทดสอบหลังฝึก ให้ครูฝึกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎี โดยใช้หลักเกณฑ์เดียวกับการ ประเมินแบบทดสอบก่อนฝึก
7. บรรณานุกรม ฉัตรชาญ ทองจับ. 2557. เครื่องท้าความเย็น. ปทุมธานี : สกายบุ๊กส์ นุกูล แก้วมะหิงษ์. 2558. เครื่องปรับอากาศ (ภาคทฤษฎี). กรุงเทพฯ : ศูนย์ส่งเสริมอาชีวะ.
13 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝึ ก ที่ 6
ใบข้อมูล หัวข้อวิชาที่ 1 องค์ประกอบที่มีผลสมรรถนะของคอนเดนเซอร์แบบระบายความร้อนด้วยน้า 1. อัตราการไหลของปริมาตรน้า ระบบการถ่ายเทความร้อนต่าง ๆ ของของไหล จะมีอัตราการไหลในอุดมคติที่ท้าให้การถ่ายเทความร้อนเกิดได้ อย่างสมบู รณ์ที่สุ ด ซึ่งหัวข้อนีจะอธิบายเกี่ยวกับระบบการถ่ายเทความร้อนของคอนเดนเซอร์แบบระบายความร้อนด้วยน้า เพื่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนความร้อนได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถแบ่งประเภทของการไหลได้ 2 รูปแบบ คือ การไหลแบบปั่นป่วน (Turbulent Flow) เป็นการไหลที่ท้าให้สารหล่อเย็นภายในคอนเดนเซอร์สัมผัสกับพืนผิวของระบบได้อย่างมี ประสิทธิภาพ เนื่องจากการไหลแบบปั่นป่วนจะท้าให้ปริมาตรของน้าเกิดการหมุนเวียนภายใน ส่งผลให้ทุกบริเวณของปริมาตรน้าทังหมด สัมผัสกับพืนผิวของระบบถ่ายเทความร้อน หากอัตราการไหลต่้าเกินไป จะท้าให้เกิดการไหลแบบราบเรียบ (Laminar Flow) ซึ่งเป็นการไหลที่ไม่มีการหมุนเวียนปริมาตรภายใน ส่งผลให้การแลกเปลี่ยนความร้อนเกิดขึนเฉพาะบริเวณที่ของเหลวสัมผัส กับพืนผิวของระบบเท่านัน
ภาพที่ 1.1 การไหลแบบราบเรียบ
ภาพที่ 1.2 การไหลแบบปั่นป่วน
อัตราการไหลที่สูงจะท้าให้คอนเดนเซอร์แบบระบายความร้อนด้วยน้าแสดงประสิทธิภาพได้ดีที่สุด เนื่องจากความเร็ว ของอัตราการไหลท้าให้เกิดรูปแบบการไหลที่ปั่นป่วนขึน ส่วนอัตราการไหลที่ต่้าจะท้าให้ประสิทธิภาพการระบายความร้อน ลดลง โดยความเร็วของอัตราไหลที่ต่้าจะท้าให้การไหลของน้าหล่อเย็นจะอยู่ในรูปแบบการไหลแบบราบเรียบเท่านัน ส่งผล ให้มีบริเวณของสารหล่อเย็นที่แลกเปลี่ยนความร้อนได้ลดลง การค้านวณอัตราการไหลของน้าหล่อเย็นผ่านคอนเดนเซอร์ จากสูตร
M = P / (Cp x dT)
ก้าหนดให้ M = อัตราการไหล (หน่วย L/s) p = ค่าพลังงานที่ใช้ในการให้ความร้อน (หน่วย watts) Cp = ความจุความร้อนจ้าเพาะของเหลว dT = อุณหภูมิที่เปลี่ยนแปลง 14 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝึ ก ที่ 6
2. อุณหภูมิของน้า ปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการท้างานของคอนเดนเซอร์แบบถ่ายเทความร้อนด้วยน้า คือ อุณหภูมิของน้าหล่อเย็น โดยที่ปัจจัยดังกล่าวคือ ค่าความแตกต่างอุณหภูมิเริ่มต้น (ITD) สามารถอธิบายนิยามได้ดังนี ค่า ITD คือ ส่วนต่างระหว่าง อุณหภูมิของน้าที่ไหลเข้าสู่ระบบและอุณหภูมิของระบบคอนเดนเซอร์ ถ้าหากค่าความแตกต่างอุณหภูมิเริ่มต้น (ITD) มีค่ามาก ค่าความสามารถในการแลกเปลี่ยนความร้อนในระยะเวลานันจะเพิ่มขึน เพื่อให้เกิดความเข้าใจมากยิ่งขึน สามารถท้าความเข้าใจได้ จากกรณีศึกษาต่อไปนี - มีบ้านอยู่สองหลัง ขณะนันภายในบ้านแต่ละหลังมีอุณหภูมิอยู่ที่ 70 องศาฟาเรนไฮต์ โดยบ้านหลังที่หนึ่ง มีอุณหภูมิภายนอกอยู่ที่ 0 องศาฟาเรนไฮต์ และบ้านหลังที่สองมีอุณหภูมิภายนอกอยู่ที่ 35 องศาฟาเรนไฮต์ จากนั นเกิดการถ่ายเทความร้อนขึนระหว่างภายในและภายนอกของบ้านทังสองหลัง บ้านหลังที่หนึ่ง ซึ่งมีความแตกต่างของอุณหภูมิภายในและภายนอกมากกว่าจะต้องการความร้อนที่เข้ามาแทนที่มากกว่า ค่าความแตกต่างของอุณหภูมิเริ่มต้น หรือ ITD คือ ค่าที่บ่งบอกแรงที่ขับเคลื่อนให้ความร้อนถ่ายเทผ่านสู่ระบบถ่ายเทความร้อน ถ้ามีค่า ITD เพิ่มขึนเท่าใดปริมาณและความเร็วในการถ่ายเทความร้อนจะเพิ่มขึนตามล้าดับ ดังนันการที่คอนเดนเซอร์ แบบระบายความร้อนด้ว ยน้าจะสามารถท้างานได้อย่างมีประสิทธิภ าพ อุณหภูมิของน้าหล่อเย็น ควรมีความแตกต่าง กับอุณหภูมิของระบบคอนเดนเซอร์ในระดับหนึ่ ง
ภาพที่ 1.3 กราฟแสดงอัตราส่วนความแตกต่างของอุณภูมิที่มีผลต่อประสิทธิภาพของคอนเดนเซอร์ 3. พืนผิวถ่ายเทความร้อน องค์ประกอบที่ส้าคัญต่อสมรรถนะของคอนเดนเซอร์ในการระบายความร้อน คือ พืนผิวถ่ายเทความร้อนของคอนเดนเซอร์ การที่คอนเดนเซอร์แบบระบายความร้อนด้วยน้าเกิดการแลกเปลี่ยนความร้อนระหว่างระบบและน้าหล่อเย็น นอกจากจะเกิด การสัมผัสระหว่างพืนผิวกับน้าแล้ว ลักษณะในการแลกเปลี่ยนความร้อนจะต้องมีคุณสมบัติที่เหมาะสม ดังต่อไปนี
15 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝึ ก ที่ 6
1) การน้าความร้อน การน้าความร้อนเป็นกระบวนการแลกเปลี่ยนความร้อนที่เกิดขึนจากการเคลื่อนไหวภายในโมเลกุลของวัสดุ ท้าให้เกิดการแลกเปลี่ยนพลังงานของของแข็งขึน 2) การพาความร้อน การพาความร้อน คือ การแลกเปลี่ยนความร้อนระหว่างวัสดุและของไหลที่เคลื่อนไหว โดยแบ่งได้เป็น 2 ประเภท คือ การไหลของของไหลที่เกิดจากแรงภายนอก เช่น พัดลม หรือ ปั๊ม เป็นต้น และการไหลของของไหลที่เกิดเอง เช่น การเคลื่อนที่ของอากาศร้อนแทนที่อากาศเย็น เป็นต้น จากที่กล่าวมาทังหมดสามารถสรุปได้ว่า ถ้าพืนผิวของวัสดุที่น้ามาท้าคอนเดนเซอร์ มีคุณสมบัติในการพาความร้อน และการน้าความร้อนที่ดี รวมถึงมีพืนที่ผิวในการแลกเปลี่ยนอุณหภูมิที่มาก จะท้าให้คอนเดนเซอร์ท้างานได้อย่างมีประสิทธิภาพ คอนเดนเซอร์แบบระเหย (Evaporative Condenser)
ภาพที่ 1.4 หลักการท้างานของคอนเดนเซอร์แบบระเหย (Evaporative Condenser) หลักการท้างานของ Evaporative Condenser คอนเดนเซอร์แบบระบายความร้อนด้วยน้าและอากาศ มีลักษณะการท้างานคล้ายหอน้าเย็นแบบระบายความร้อน โดยวิธีกลแต่ที่ดีกว่าคือ การระบายความร้อนโดยวิธีนีสามารถประหยัดน้าได้มากกว่า 16 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝึ ก ที่ 6
หลักการท้างานของคอนเดนเซอร์ที่ระบายความร้อนด้วยน้าและอากาศ ต้องมีอ่างรับน้า (Water Basin) โดยปั๊มมีหน้าที่ ดูดน้าจากอ่างขึนสู่หัวฉีด (Spray Nozzles) ด้านบนหัวฉีดจะฉีดฝอยน้าลงสู่ท่อไอสารความเย็น ในขณะเดียวกันพัดลมดูดอากาศ (Fan) จะท้าหน้าที่ดูดอากาศจากภายนอกเข้าสู่ภายระบบ (Air In) เพื่อเสริมการระบายความร้อนของท่อไอสารความเย็น อากาศที่ถูกดูดเข้าสู่ระบบจะถูกส่งออกนอกระบบหลังจากพาความร้อนติดไปด้วยและด้วยเหตุที่อากาศที่จะถูกส่งออกนอกระบบ ผ่านฝอยน้า จึงต้องมีอุป กรณ์จับ เม็ดน้า (Eliminatiors) ที่ติดไปกับอากาศเพื่อเป็นการลดความสินเปลืองน้าหล่อเย็น แต่ที่อ่างรับน้าก็มีท่อน้าเข้าหากต้องการน้าเพิ่มเติม (Make – up Water) ส้าหรับระบบ ส่วนการน้าอากาศภายนอกเข้า มาใช้ในระบบสามารถท้าได้ทังระบบ
17 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝึ ก ที่ 6
ใบทดสอบ ค้าชีแจง ให้ผู้รับการฝึกท้าเครื่องหมาย x ลงในกระดาษค้าตอบข้อที่ถูกที่สุดเพียงข้อเดียว 1. น้าหล่อเย็นถูกให้ความร้อนด้วยพลังงาน 250 วัตต์ และท้าให้อุณหภูมิของน้าเพิ่มขึน 12 องศาเซลเซียส จงค้านวณหา อัตราการไหลของคอนเดนเซอร์เครื่องนี ให้ค่าความจุความร้อนจ้าเพาะของน้าเป็น 4,200 ก. 0.004960317 L/sec ข. 0.005960317 L/sec ค. 0.006960317 L/sec ง. 0.007960317 L/sec
2.
จากภาพตัวอย่างเป็นการไหลแบบใด ก. การไหลแบบราบเรียบ ข. การไหลแบบหมุน ค. การไหลแบบปั่นป่วน ง. การไหลแบบทิศทางเดียว
3. ข้อใดคือข้อดีของการไหลแบบปั่นป่วน ก. ปริมาตรน้าทังหมดสัมผัสกับพืนผิวของระบบถ่ายเทความร้อน ข. ปริมาตรน้าทังหมดสัมผัสกับพืนผิวของระบบท้าความเย็น ค. ปริมาตรน้าครึ่งหนึ่งสัมผัสกับพืนผิวของระบบถ่ายเทความร้อน ง. ปริมาตรน้าครึ่งหนึ่งสัมผัสกับพืนผิวของระบบท้าความเย็น
18 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝึ ก ที่ 6
กระดาษค้าตอบ ข้อ
ก
ข
ค
1 2 3
19 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
ง
คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝึ ก ที่ 6
คณะผู้จัดท้าโครงการ คณะผู้บริหาร 1. นายสุทธิ
สุโกศล
อธิบดีกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน
2. นางถวิล
เพิ่มเพียรสิน
รองอธิบดีกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน
3. นายธวัช
เบญจาทิกุล
รองอธิบดีกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน
4. นายสุรพล
พลอยสุข
รองอธิบดีกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน
5. ว่าที่ร้อยตรี สมศักดิ์ พรหมด้า
ผู้อ้านวยการส้านักพัฒนาผู้ฝึกและเทคโนโลยีการฝึก
6. นางเพ็ญประภา
ศิริรัตน์
ผู้อ้านวยการกลุ่มงานพัฒนาระบบการฝึก
7. นายวัชรพงษ์
มุขเชิด
ผู้อ้านวยการส้านักงานรับรองความรู้ความสามารถ
ค้าเงิน
ภาควิชาวิศวกรรมโทรคมนาคม คณะวิศวกรรมศาสตร์
คณะที่ปรึกษาโครงการ 1. ผศ. ดร. มนตรี
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง 2. รศ. ดร. วิสุทธิ์
สุนทรกนกพงศ์
ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้าสื่อสาร คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
3. ผศ. สันติ
ตันตระกูล
ภาควิชาครุศาสตร์วิศวกรรม คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
4. นายสุระชัย
พิมพ์สาลี
ภาควิชาครุศาสตร์วิศวกรรม คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
5. นายวินัย
ใจกล้า
ภาควิชาครุศาสตร์วิศวกรรม คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
6. นายวราวิช
ก้าภู ณ อยุธยา
ส้านักบริหารงานวิจัยและนวัตกรรมพระจอมเกล้าลาดกระบัง สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
7. นายมนตรี
ประชารัตน์
แผนกวิชาช่างไฟฟ้า วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี
8. นายธเนศ
วงค์วัฒนานุรักษ์
แผนกวิชาช่างไฟฟ้า วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี
9. นายณัฐวุฒิ
เสรีธรรม
แผนกวิชาช่างไฟฟ้า วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี
10. นายหาญยงค์
หอสุขสิริ
แผนกวิชาโลหะการ วิทยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษก มหานคร
11. นายสวัสดิ์
บุญเถื่อน
แผนกวิชาช่างยนต์ วิทยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษก มหานคร 20 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ผู้ รั บ การฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝึ ก ที่ 6
21 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน