คู่มือการใช้งานโปแกรม Visio

Page 1

คู่มือการใช้งาน โปรแกรม Microsoft Visio เนื้อหาครอบคลุมเวอร์ชั่น 2007 ประยุกต์ใช้กับเวอร์อื่นๆได้

โดย ดุสิต ศรีสร้อย

คณะบริหารศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี


คานา แผนภูมิภาพ (Diagram) เป็นสิ่งหนึ่งที่ขาดไม่ได้สาหรับงานวิเคราะห์วางแผน และออกแบบ ระบบ ซึ่งต้องใช้เวลาและการวางแผนเป็นอย่างดี ดังนั้น เพื่อให้การออกแบบและสร้างแผนภูมิภาพ เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ จึงได้มีการนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์เข้ามาประยุกต์ใช้งาน Microsoft Visio เป็ น โปรแกรมส าเร็ จ รู ป ประเภท CASE Tools (Computer-aided system engineering Tools) ที่ช่วยให้การออกแบบแผนภาพประเภทต่างๆ สามารถทาได้สะดวกและง่ายขึ้น จนเป็นที่ ยอมรับและมีการใช้งานอย่างกว้างขวาง ผู้เขียนได้เริ่มจัดทาคู่มือการใช้งานโปรแกรม Visio ขึ้นเป็นครั้งแรกเมื่อเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ 2549 เพื่อใช้เป็นเอกสารประกอบการปฏิบัติงาน และใช้เป็นเอกสารประกอบเรียนการสอนในรายวิชา ที่รับผิดชอบสอน แม้จะได้รับการขัดเกลามาแล้วหลายรอบ กระนั้นผู้เขียนตระหนักดีว่าคู่มือฉบับนี้ยัง ไม่สมบูรณ์ดี และคงต้องใช้เวลาในทาให้สมบูรณ์ เนื่องจากโปรแกรมคอมพิวเตอร์ได้รับการพัฒนาอยู่ ตลอดเวลา อย่างไรก็ดีผู้เขียนตั้งใจว่าจะปรับปรุงเอกสารคู่มือฉบับนี้ให้มีความสมบูรณ์มากยิ่งขึ้นเรื่อยๆ เพื่อให้เป็นประโยชน์ต่อผู้ที่สนใจและต้องการศึกษาวิธีการใช้งาน Microsoft Visio ต่อไป ซึ่งหากยังมี ผิดพลาดประการใด ผู้เขียนขอน้อมรับไว้แก้ไขให้ดียิ่งขึ้นต่อไป คุ ณ ความดี ผู้ เ ขี ย นขออุ ทิ ศ ให้ แ ด่คุ ณ ดวงวิ ญ ญาณบิ ดา และขอกราบขอบพระคุ ณ มารดา ภรรยา บุตรชาย ผู้ซึ่งเป็นเหมือนแรงกายแรงใจของผู้เขียน ทาให้การจัดทาคู่มือนี้สาเร็จได้ในที่สุด

(ดุสิต ศรีสร้อย)


สารบัญ คานา สารบัญ บทที่ 1 โปรแกรม Microsoft office Visio 1.1 ภาพรวมของ Microsoft Office Visio 1.2 การวาดแผนภาพด้วยโปรแกรม Visio 1.3 ส่วนประกอบของ Visio 2007 1.4 เริ่มต้นทางานกับ Visio บทที่ 2 พื้นฐานการสร้างแผนภาพ 2.1 การสร้างเอกสารใหม่ (New Drawing) 2.2 การแทรกหน้ากระดาษวาดแผนภาพ ใหม่ 2.2.1 การย้ายตาแหน่งของ Page 2.2.2 การเปลี่ยนชื่อของ Page 2.2.3 การลบ Page 2.3 การกาหนดค่าคุณสมบัติย้อนหลังให้กับหน้าเอกสาร 2.4 การกาหนดขนาด Size และ Scale 2.5 การตั้งค่าหน้ากระดาษ 2.6 รายละเอียดกรอบโต้ตอบ Page Setup 2.6.1 TAB Print Setup 2.6.2 Page Size tab 2.6.3 Drawing Scale TAB 2.6.4 Page Properties TAB 2.6.5 Layout and Routing TAB บทที่ 3 แผนภาพอย่างง่ายด้วย Shapes พื้นฐาน 3.1 การใช้งาน Shape และ Stencil เบื้องต้น 3.1.1 สร้างแฟ้มข้อมูลใหม่ 3.1.2 การคลี่การพับ Stencil 3.1.3 การวาด Shape ลงใน Drawing page 3.1.4 การปรับขนาดและแกนของ Shape เบื้องต้น

ก ข 1 1 2 3 5 6 6 8 11 12 12 13 14 14 14 14 16 17 18 18 19 20 20 22 23 23


3.1.5 การเชื่อมโยง Shape ด้วย Connector 3.2 แบบฝึกหัดท้ายบท บทที่ 4 พื้นฐานการสร้างแผนภาพ 4.1 การใช้งาน Stencil 4.1.1 การปรับมุมมองของ Shape ใน Stencil 4.1.2 การเรียกใช้ Stencil เพิ่มเติม บทที่ 5 การทางานกับ Shape 5.1 การเลือก Shape 5.2 การเลือก Shape เป็นกลุ่ม 5.2.1 การเลือกโดยใช้ Area Select 5.2.2 การเลือกโดยใช้ Lasso Select tool 5.2.3 การเลือกโดยใช้ Multiple Select tool 5.3 การปรับขนาดของ Shape 5.3.1 การปรับขนาดในทิศทางเดียว 5.3.2 การปรับขนาดในสองทิศทาง 5.4 การเคลื่อนย้าย Shape 5.5 การใช้งาน Snap และ Glue 5.6 การใช้งาน Grids 5.7 การใช้งาน Ruler 5.8 การทางานกับข้อความ (Text) 5.8.1 การใส่ข้อความให้กับ Shape 5.8.2 การแก้ไขข้อความใน Shape 5.8.3 การปรับเปลี่ยนข้อความใน Shape 5.8.4 การจัดตาแหน่งของ Text ใน Shape 5.9 การปรับเปลี่ยนลักษณะของ Shape 5.10 การหมุนแกน Shapes 5.10.1 การบิดแกน Shape ด้วย Rotation handle 5.10.2 การบิดแกน Shape ด้วยคาสั่ง Rotate or Flip 5.11 การจัดเรียงลาดับ Shape 5.12 การจัดเรียง Shape 5.13 การดาเนินการเกี่ยวกับ Shape

24 26 27 27 27 29 31 31 31 31 32 33 34 34 34 35 35 37 37 37 37 38 38 39 40 43 43 43 44 45 47


5.14 ปกป้อง Shape จากการออกแบบ 48 5.15 Shape Position 49 บทที่ 6 การใช้งาน Connector 54 6.1 การเพิ่ม Connector 54 6.2 การย้ายตาแหน่ง Connector 55 บทที่ 7 กรณีศึกษาเรื่องการเขียนผังงาน 56 7.1 ผังงาน (FLOWCHART) 56 7.2 ประโยชน์ของผังงาน 56 7.3 สัญลักษณ์สาหรับการเขียน Flowchart 56 7.4 ตัวอย่างการวาด Flowshart 58 7.5 แบบฝึกหัดท้ายบท 64 บทที่ 8 กรณีศึกษาเรื่องการวาด Work Flow Diagram 66 8.1 การวาด Work flow 66 8.2 ตัวอย่าง Stencil ที่เกี่ยวข้องกับการวาด Work flow 68 8.3 แบบฝึกหัดท้ายบท 70 บทที่ 9 กรณีศึกษาเรื่องการวาดผังองค์กร 71 9.1 ผังองค์กร (Organization Chart) 71 9.2 การวาดผังองค์กร 71 9.3 การเปลี่ยน Layout ของ shape ในผังองค์กร 77 9.4 การสลับลาดับของ Shape 79 9.5 ใส่พื้นหลัง ให้ผังองค์กร 80 9.6 เทคนิคเพิ่มเติมจากบทเรียน 81 9.7 แบบฝึกหัดท้ายบท 83 บทที่ 10 ออกแบบส่วนโต้ตอบโปรแกรม GUI Error! Bookmark not defined. บทที่ 11 การวาดผังห้อง 84 11.1 การสร้างผังห้อง 84 11.1.1 เลือกต้นแบบผังห้อง 84 11.1.2 การกาหนดอัตราส่วน 86 11.1.3 การกาหนดหน่วยวัด 87 11.1.4 การวาดพื้นที่ห้อง 87 11.1.5 การวาดผนังห้อง 89


11.1.6 การวาดผนังโค้ง 11.1.7 การวาดประตู 11.1.8 การวาดพื้นห้อง 11.1.9 การเปลี่ยนลักษณะพื้นห้อง 11.1.10 การวาดหน้าต่าง 11.1.11 การวาดช่องเปิดกาแพง 11.2 วาดองค์ประกอบผังห้อง 11.3 Stencil แนะนา 11.3.1 Bath and Kitchen Plan 11.3.2 Cabinets 11.3.3 Furniture 11.3.4 Garden Accessories 11.3.5 Office Accessories 11.3.6 Office Equipment 11.3.7 Office Furniture 11.3.8 Parking and Roads 11.3.9 Shop Floor-Machines and Equipment 11.3.10 Shop Floor-Storage and Distribution 11.3.11 Site Accessories 11.3.12 Sport Fields and Recreation 11.3.13 Vehicles 11.4 การปิด Stencil 11.5 แบบฝึกหัดท้ายบท บทที่ 12 การพัฒนาระบบ 12.1 เกี่ยวกับการพัฒนาระบบ บทที่ 13 กรณีศึกษาเรื่องการวาด แผนภาพกระแสข้อมูล 13.1 แผนภาพกระแสข้อมูล (Data Flow Diagram) 13.2 สัญลักษณ์แผนภาพกระแสข้อมูล 13.3 ลักษณะแผนภาพกระแสข้อมูล 13.3.1 Context Diagram 13.3.2 DFD Fragment

91 92 94 96 97 97 98 100 100 101 101 101 102 102 102 103 103 103 104 104 104 105 107 108 108 109 109 109 112 112 113


13.3.3 การกาหนดหมายเลขกระบวนการ 13.4 การวาด DFD ตามมาตรฐาน Yourdon 13.5 การวาด DFD ตามมาตรฐาน Gane and Sarson 13.6 แบบฝึกหัดท้ายบท บทที่ 14 กรณีศึกษาเรื่องการวาดแผนที่ 2 มิติ 14.1 วิธีวาดแผนที่ 2 มิติ 14.2 แบบฝึกหัดท้ายบท บทที่ 15 กรณีศึกษาเรื่องการวาดแผนที่ 3 มิติ 15.1 วิธีวาดแผนที่ 3 มิติ 15.2 แบบฝึกหัดท้ายบท บทที่ 16 กรณีศึกษาเรื่อง การวาดปฏิทิน 16.1 เริ่มต้นวาดปฏิทิน 16.2 การวาดปฏิทิน 1 ปี 16.3 ตัวอย่างปฏิทินส่วนตัว 16.3.1 วาดปฏิทินรายเดือน 16.3.2 การวาดปฏิทินรายเดือนอย่างย่อ 16.4 การวาดกาหนดการ 16.4.1 การวาดกาหนดการแบบรายวัน 16.4.2 การวาดกาหนดการแบบช่วงเวลา 16.5 แบบฝึกหัดท้ายบท

115 115 117 119 120 120 123 124 124 126 127 127 128 131 131 133 135 135 136 138


1

บทที่ 1 โปรแกรม Microsoft office Visio 1.1 ภาพรวมของ Microsoft Office Visio Microsoft Office Visio เป็นโปรแกรมส าเร็จ รูป ประเภท CASE Tools (Computeraided system engineering Tools) ที่สามารถช่วยให้การสร้างแผนภาพ (diagram) ประเภทต่างๆ ทาได้สะดวกและง่ายขึ้น อันเป็นประโยชน์ต่อนักธุรกิจและผู้ชานาญด้านเทคนิค สาหรับจัดทาเอกสาร รวมทั้งนาไปสร้างความคิดสร้างสรรค์ ออกแบบขั้นตอนการทางาน และระบบอัตโนมัติ งานในระยะ วิเคราะห์และออกแบบระบบ ปกติ โ ปรแกรมประยุ ก ต์ ในกลุ่ ม CASE Tools จะมีอยู่ด้ว ยกัน 2 ประเภทคือ upper CASE Tools และ lower CASE Tools ในส่วนของ Visio นั้นจัดอยู่ในประเภท lower CASE Tools เนื่องจากมีความสามารถเพียงแค่การสร้างแผนภาพจาก master shape ที่มีอยู่เท่านั้น แต่ไม่สามารถ ทางานที่ซับซ้อนมากไปกว่านั้นได้ เช่น การสร้าง source code โปรแกรมจากภาพ diagram (งาน ดังกล่าวต้องใช้ CASE Tools ประเภท upper CASE Tools เช่น โปรแกรม Power Design เป็นต้น) Microsoft Office Visio มีให้เลือกใช้งานอยู่ด้วยกัน 2 Edition ด้วยกันคือ Visio Standard เหมาะสาหรับนักธุรกิจมืออาชีพ เช่น ผู้บริหารโครงการ มืออาชีพทางการตลาดและการขาย พนักงาน ฝ่ายทรัพยากรบุคคล และทีมงานที่ทาหน้าที่ดูแลการดาเนินงาน เพื่อช่วยให้ มองเห็นภาพ และใช้ ข่าวสารเกี่ยวกับคนในทีม โครงการ และขั้นตอนในการทางานที่พวกเขาต้องทากันทุกวัน Visio Professional เหมาะสาหรับมืออาชีพด้านเทคนิค พนักงานแผนก IT นักพัฒนา วิศวกร ช่วย ให้มองเห็นแนวคิด ข้อมูล และระบบ รวมทั้งใช้ทาต้นแบบ นอกจากนี้ Visio Professional ยังรวมเอา solution สาหรับทา diagram ในงานธุรกิจที่มีอยู่ใน Vision Standard ไว้ด้วย นั่นทาให้ Visio ดีพอที่จะนามาประยุกต์ใช้ในงาน ด้านวิเคราะห์และออกแบบระบบได้อย่างมี ประสิทธิภาพในระดับหนึ่ง โดยทั่วไปแล้วการใช้งาน Visio จะมีภาพรวมอยู่ 5 ขั้นดังนี้ (ไม่รวมการ ออกแบบ)


2 1.2 การวาดแผนภาพด้วยโปรแกรม Visio การสร้างชิ้นงานหรือแผนภูมิภาพด้วยโปรแกรม Visio ปกติแล้วจะมีอยู่ด้วยกัน 5 ขั้นตอน ดัง แสดงรายละเอียดไว้ในภาพที่ 1-1

1. เลือกว่าจะวาด (Drawing) diagram โดยใช้เครื่องมือ ต่างๆ ในโปรแกรม หรือสร้าง จาก template

2. เพิ่ม shapes เข้าไปใน diagram โดยการลากจาก stencil เข้าไปยังเข้าไปใน drawing page

3. ทาการเชื่อม shapes เข้า ด้วยกัน อาจจะโดยใช้ connectors แบบต่างๆ

4. ใส่ข้อความบรรยายให้กับ 5. บันทึกข้อมูล แลกเปลี่ยนข้อมูลกับผู้อื่น อาจจะด้วยการแปลง shapes เพื่อกากับหรือให้ ข้อมูลให้อยู่ในรูป web แล้วเผยแพร่ผ่าน internet หรือพิมพ์ อธิบายความหมาย ออกทางเครื่องพิมพ์ ภาพที่ 1-1 ขั้นตอนในการสร้างชิ้นงาน (drawing) โดยใช้ Visio


3 1.3 ส่วนประกอบของ Visio 2007 รายละเอียดส่วนประกอบหน้าจอ Visio ดังแสดงไว้ในภาพที่ 1-2 และในตารางที่ 1-1

ภาพที่ 1-2 ส่วนประกอบที่สาคัญของ Visio 2007


4 ตารางที่ 1-1 คาอธิบายรายละเอียดส่วนประกอบโปรแกรม Visio 2007 ชื่อ คำอธิบำย Standard Toolbar

กลุ่มเครื่องมือสาหรับใช้แทนคาสั่งงานบนเมนูบาร์ (Menubar) ที่มักถูก เรียกใช้บ่อยๆ โดยใช้ภาพกราฟิกแทนคาสั่ง แล้วจัดรวมเป็นหมวดหมู่ ตามลักษณะการใช้งาน ทาให้ใช้งานง่ายและสื่อความหมายมากขึ้น สามารถปิ ด และเรี ย กใช้ ง าน Toolbar ได้ จ ากเมนู บ าร์ โดยเลื อ ก view > Toolbars > แล้วเลือกเครื่องมือ (tool) ตามความต้องการ

Formatting Toolbar

เครื่องมือสาหรับใช้ปรับแต่งคุณลักษณะของวัตถุ เช่น สีของตัวอักษร หรือ แบบเส้นขอบของ Shape เป็นต้น

drawing page

เป็นพื้นทีส่ าหรับใช้ในออกแบบแผนภาพแบบต่างๆ

grid

เป็นเส้นตารางเสมือนสาหรับช่วยให้การจัดเรียง shapes หรือวัตถุอื่นๆ บน drawing page ทาได้ง่าย และแม่นยาขึ้น สามารถปิดและเปิดการใช้งาน Grid ได้โดยการเลือกรายการ View > Grids บนเมนูบาร์

Stencils

เป็นถาดเครื่องมือทีร่ วม shapes แบบต่างๆ ไว้เป็นหมวดหมู่

Page tab

เอกสารในแฟ้มข้อมูลหนึ่งๆ ของโปรแกรม Visio จะถูกแยกออกเป็น หน้าๆ ดังนั้นPage tab จึงมีไว้เพื่อให้ผู้ใช้งานใช้คลิกเลือกว่าจะทางาน หน้าเอกสารใดๆ

shapes

เป็นสัญลักษณ์สาหรับใช้ประกอบการสร้างแผนภาพแบบต่างๆ


5 1.4 เริ่มต้นทางานกับ Visio การใช้งาน Microsoft office Visio มีเรื่องที่ต้องใส่ใจ 3 อยู่ประการคือ 1) ทักษะและพื้นฐานคอมพิวเตอร์ 2) ความรู้ ความเข้า ใจเกี่ยวกับพื้นฐานการใช้งานโปรแกรม Visio เช่น แถบเครื่องมื อ ที่ จาเป็นต้องใช้ สภาพแวดล้อมของโปรแกรม ฯลฯ 3) ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับสิ่งที่กาลังจะใช้ Visio สร้าง เช่น กาลังจะสร้างแผนภาพของ อะไร? แผนภาพดังกล่าวมีรูปแบบเป็นอย่างไร มีมาตรฐานในการสร้างหรือไม่ ยกตัวอย่างเช่น ถ้าจะ วาดผังของห้องและต้องวาดสัญลักษณ์แทนจุดติดตั้งไฟฟ้าต้องใช้สัญลักษณ์แบบใด เป็นต้น


6

บทที่ 2 พื้นฐานการสร้างแผนภาพ Visio มีความสามารถที่หลากหลาย การจะใช้งานให้เกิดประสิทธิผลจาเป็นต้องอาศัยความรู้ พื้นฐานหลายประการเกี่ยวกับโปรแกรม เช่น Visio รองรับการสร้างแผนภาพได้ถึง 200 หน้า (Pages) จากปกติที่มีเพียงหน้าเดียว ผู้ใช้งานจาเป็นต้องเรียนรู้วิธีสร้างหน้าเอกสารใหม่ๆ ขึ้นมาใช้งาน รวมถึง การกาหนดคุณสมบั ติต่า งๆ เช่น ขนาดความกว้างความยาวของหน้า การสร้างเลเยอร์ (Layer) สาหรับจัดระเบียบวัตถุ (ข้อความ ภาพกราฟิก) ซึ่งในเอกสารฉบับนี้คัดเลือกเฉพาะที่สาคัญๆ มาดั ง รายละเอียดต่อไปนี้ 2.1 การสร้างเอกสารใหม่ (New Drawing) สาหรับโปรแกรม Visio การสร้างแฟ้มข้อมูลใหม่ สามารถทาได้หลายวิธี ผู้เขียนเลือกวิธีที่เป็น ที่นิยมมาเป็นตัวอย่าง ดังรายละเอียดต่อไปนี้ 1. ที่เมนูบาร์คลิกเลือกรายการ File > New > Getting Strated (ภาพที่ 2-1) 2. เลือกหมวดหมู่สัญลักษณ์ (Shape) จากรายการ “Template Categories” ในที่นี้เลือก เป็น “Getting Started”) (รายการที่ 1 ภาพที่ 2-2) 3. เลื อ กประเภทแผนภาพที่ ต้ อ งการสร้ า ง ในที่ นี้ เ ลื อ กเป็ น แบบ “Basic Flowshart” (รายการที่ 2 ภาพที่ 2-2 4. จะปรากฏหน้าจอออกแบบแผนภาพ (Workspace) ดังแสดงในภาพที่ 2-4


7

ภาพที่ 2-1

ภาพที่ 2-2


8

ภาพที่ 2-3 2.2 การแทรกหน้ากระดาษวาดแผนภาพ ใหม่ การแทรกหน้ากระดาษหรือแผ่นงาน (Page) สาหรับวาดแผนภาพใหม่ในที่หมายถึง การสร้าง แผ่นงาน (Sheet) ขึ้นมาใช้ในแฟ้มข้อมูลเดียวกัน สังเกตตัวอย่างในภาพที่ 2-5 จะเห็นว่าในแฟ้มข้อมูล ตัวอย่างมีแผ่นงานอยู่เพียงหน้าเดียว (ชื่อ “map”) หากต้องการสร้างแผ่นงานขึ้นมาใหม่ ให้ทาดังนี้ 1) วิธีที่ 1 ที่เมนูบาร์ เลือกรายการ Insert > 2) วิธีที่ 2 คลิกเลือก “Page Tab” ที่ต้องการแทรกแผ่นงานใหม่ แล้ว 1. คลิกเมาส์ที่ปุ่มด้านขวา (Right Click) 2. เลือกรายการ “Insert Page …” จากเมนูลัด (ภาพที่ 2-5)

(ภาพที่ 2-4)


9

ภาพที่ 2-4

ภาพที่ 2-5 หลังจากทารายการแทรกแผ่นงานใหม่แล้ว Visio จะแสดงกรอบโต้ตอบ (Dialog box) “Page Setup” ขึ้นมา (ภาพที่ 2-6) ทั้งนี้เพื่อให้ผู้ใช้งานกาหนดคุณสมบัติต่างๆให้กับแผ่นงาน เช่น จะตั้ง ชื่อแผ่นงานเป็นอะไร แผ่นงานนี้เป็นประเภทอะไร จะกาหนดหน่วยวัดเป็นอะไร ฯลฯ รายละเอียด ดังแสดงไว้ใน ตารางที่ 2-1


10

ภาพที่ 2-6 ตารางที่ 2-1 การกาหนดค่าใน TAB Page Properties ของกรอบ Page Setup ชื่อรายการ อธิบาย Type: ก าหนดประเภทหน้ า เอกสารว่ า ให้ เ ป็ น แบบ “Foreground” หรื อ “Background” โดยทั่วไป หากต้องการใช้เป็นเอกสารสาหรับวาดแผนภาพ จะกาหนดให้เป็น “Foreground” และหากต้องการสร้างเป็นภาพพื้นหลัง จะกาหนดเป็น “Background” Name: กาหนดชื่อให้กับหน้าเอกสาร Background: กาหนดว่าจะให้ ห น้าเอกสารนี้มีลั กษณะพื้นหลั งเป็นอย่างไร หากไม่ เลือก (None) พื้นหลังจะเป็นสีขาว Measurement กาหนดหน่วยวัดขนาดวัตถุในเอกสาร เช่น กาหนดให้เป็น เซ็นติเมตร units: เป็นเมตร หรือเป็นกิโลเมตร เป็นต้น แนะนา

สามารถเคลื่อนย้ายไปทางานกับหน้าเอกสารต่างๆ (ในกรณีทเี่ อกสารมีหลายหน้าอยู่ บนแฟ้มข้อมูล เดียวกัน) โดยการเลือกรายการ “Go To” จากเมนู Edit (Edit > Go To > เลือกว่าจะย้ายตาแหน่งการทางานไปยังหน้าเอกสารใด)


11 2.2.1 การย้ายตาแหน่งของ Page เมื่ อ มี ก ารสร้ า ง “drawing page” ขึ้ น มาใช้ ง านจะมี ก ารเรี ย งล าดั บ “drawing page” ที่แถบรายการตามลาดับก่อนหลัง (สร้างก่อนอยู่ก่อนสร้างที่หลัง) ทาให้ในบางกรณี จาเป็นต้องเคลื่อนย้าย หรือ สลับตาแหน่งของ “drawing page” ตามความเหมาะสม ซึ่ง สามารถทาได้ 2 วิธีดังนี้ วิธีที่ 1 1. คลิกเมาส์ซ้ายค้างไว้ที่ “Page” ที่ต้องย้ายหรือสลับตาแหน่ง 2. ลาก “Page” ดังกล่าวไปวางไว้ยังตาแหน่งที่ต้องการ สังเกตว่าระหว่างการย้าย ตัวชี้เมาส์ (mouse pointer) จะกลายเป็นรูป ดังแสดงในภาพที่ 2-7 3. เมื่อได้ตาแหน่งที่ต้องการแล้ว ปล่อยเมาส์ > “page” ที่ถูกปรับย้ายจะถูกวางลง ในตาแหน่งที่เครื่องหมาย

ชี้อยู่

ภาพที่ 2-7 วิธีที่ 2 1. คลิ ก เมาส์ ปุ่ ม ขวาบน TAB ของ “drawing page” ที่ ต้ อ งการปรั บ เปลี่ ย น ตาแหน่ง > จะปรากฏเมนูลัดขึ้นมา 2. ที่เมนูลัด เลือกรายการ “Reorder Pages” (ภาพที่ 2-8) 3. จะปรากฏกรอบโต้ตอบ “Reorder Pages” ขึ้นมา 4. ที่กรอบโต้ตอบ “Reorder Pages” สามารถใช้ปุ่ม “Move Up” หรือ “Move Down” สาหรับจัดเรียงลาดับของ “drawing page” ดังภาพที่ 2-9

ภาพที่ 2-8


12

ภาพที่ 2-9 2.2.2 การเปลี่ยนชื่อของ Page 1. คลิกเมาส์ปุ่มขวาบน TAB “Page” ที่ต้องการจะเปลี่ยนชื่อ Page (ภาพที่ 2-10) 2. จะปรากฏเมนูลัดขึ้นมา > เลือกรายการ “Rename Page” 3. TAB “Page” ที่เลือกจะถูก highlight > พิมพ์ชื่อใหม่ของ Page ตามความ ต้องการ 4. กดแป้น “Enter”

ภาพที่ 2-10 2.2.3 การลบ Page 1. คลิกเมาส์ปุ่มขวาที่ “Page” ที่ต้องการลบ (ภาพที่ 2-11) 2. จะปรากฏเมนูลัดขึ้นมา > เลือกรายการ “Delete Page” 3. TAB “Page” ที่เลือกจะถูกลบ


13

ภาพที่ 2-11 2.3 การกาหนดค่าคุณสมบัติย้อนหลังให้กับหน้าเอกสาร บ่ อยครั้ งที่ผู้ ใช้งานมักต้องการปรับเปลี่ ยนลั กษณะต่างๆ ของหน้าเอกสารย้อนหลั ง เช่น ต้องการเปลี่ ยนชื่อ เปลี่ยนหน่วยวัด ฯลฯ ซึ่งล้วนแล้วแต่เกี่ยวข้องกับการใช้คาสั่งในกรอบโต้ตอบ “Page Setup” ให้ทาดังนี้ 1. ที่เมนูบาร์ (Menu bar) คลิกเลือกรายการ File > Page Setup… (ภาพที่ 2-12) 2. จะปรากฏกรอบดโต้ตอบ “Page Setup” ขึ้นมา (ภาพที่ 2-13) 3. ที่กรอบโต้ตอบ “Page Setup” เลือกที่ TAB “Page Properties” 4. กาหนดคุณสมบัติต่างๆ ตามความต้องการ รายละเอียดดังแสดงในภาพที่ 2-6 และใน ตารางที่ 2-1

ภาพที่ 2-12


14 2.4 การกาหนดขนาด Size และ Scale “Size” หมายถึง ขนาดของหน้าเอกสาร (หรือแผ่นงาน) ซึ่งรองรับและสนับสนุนการตั้งค่าได้ สูงสุดถึง 34 นิ้ว (863.6 มม.) x 44 นิ้ว (1117.6 มม.) (ซึ่งอาจจะเป็นขนาดที่ใหญ่เกินไป) ทั่วไปแล้ว การตั้งค่าหน้ากระดาษจะกาหนดตามประเภทกระดาษที่ใช้พิมพ์ (Print) เอกสาร เช่น ขนาด A5 หรือ A4 เป็นต้น “Scale” หมายถึง ความสัมพันธ์ระหว่างขนาดของเอกสาร และขนาดของวัตถุที่กาลังวาด หรือสร้าง 2.5 การตั้งค่าหน้ากระดาษ เนื่ อ งจาก Visio สามารถประยุ ก ต์ ใ ช้ ส ร้ า งแผนภาพ (Diagram) ส าหรั บ งานต่ า งๆ ได้ หลากหลาย เช่นการวาดแผนภาพงานทางด้านวิศวกรรม การวางผังเมือง ภูมิศาสตร์ งานวิเคราะห์ และวางแผน ฯลฯ ซึ่งแต่ละงานจะมีความต้องการพื้นที่ทางาน (Workspace) หรือลักษณะการพิมพ์ ออกทางเครื่องพิมพ์ที่แตกต่างกัน การตั้งค่าหน้ากระดาษมีวิธีทาดังนี้ 1. ทีเ่ มนูบาร์ (Menu bar) เลือกรายการ File > Page setup … 2. จะปรากฏกรอบโต้ตอบ “Page setup” ขึ้นมา (ภาพที่ 2-13) เพื่อให้ระบุรายละเอียดให้ หน้าเอกสาร สังเกตว่าจะมี TAB คาสั่งให้เลือกใช้งานหลาย TAB ดังรายละเอียดในหัวข้อ 2.6 (หน้า 14)

2.6 รายละเอียดกรอบโต้ตอบ Page Setup 2.6.1 TAB Print Setup ประกอบไปด้วยคาสั่งสาหรับ กาหนดลักษณะกระดาษ ที่ใช้กับเครื่องพิมพ์สาหรับพิมพ์ แผนภาพออกทางเครื่องพิมพ์ ดังแสดงในภาพที่ 2-13


15

ภาพที่ 2-13 การพิมพ์แผนภาพมี 2 ลักษณะคือ แบบแนวตั้ง และแบบแนวนอน ดังนั้นในเบื้องต้นเพื่อให้ ลักษณะแผนภาพมีความเหมาะสมสาหรับงานพิมพ์ ผู้ใช้งานควรกาหนดลักษณะของ ใด ในตอนนี้จึง ต้องมีการกาหนดขนาดของกระดาษ ในที่นี้จึงเลือกหัวข้อ “Printer paper” เป็นกระดาษ A4 (ภาพที่ 2-13) 1) Portrait = ลักษณะกระดาษในแนวตั้ง 2) Landscape = ลักษณะของกระดาษในแนวแกนนอน ที่ TAB “Print Setup” ของกรอบโต้ตอบ “Page Setup” จะมีที่ปุ่มคาสั่ง “Setup…” ผู้ใช้ สามารถคลิ กที่ ปุ่ ม “Setup…” นี้ เพื่อเปิดกรอบโต้ ต อบ “Print Setup” ขึ้นมา ส าหรับใช้ก าหนด คุณสมบั ติเพิ่มเติมเกี่ย วกับ พิมพ์แผนภาพออกทางเครื่ องพิ มพ์ เช่น ระยะหน้ากระดาษ ประเภท กระดาษที่ใช้พิมพ์ ฯลฯ ดังแสดงในภาพที่ 2-14


16

ภาพที่ 2-14 2.6.2

Page Size tab

คาสั่งใน TAB “Page size” มักถูกใช้เพื่อกาหนดขนาดหน้า “drawing page” ซึง่ เป็นพื้นทีส่ าหรับใช้วาดแผนภาพ (diagram) เนื่องจากในบางครั้งแผ่นงาน (Sheet) มาตรฐานที่สร้าง โดยโปรแกรม อาจมีขนาดพื้นที่ไม่เหมาะสมกับแผนภาพที่ต้องการวาด

ภาพที่ 2-15


17 โดยทั่วไปขนาดของ “Page” ใน TAB “Page size” มักถูกกาหนดให้เป็น “Same as printer paper size” ซึ่งเป็นขนาดที่ถูกกาหนดให้แผ่นงานนั่นเอง 2.6.3 Drawing Scale TAB ค าสั่ ง ใน TAB “Drawing Scale” มั ก ถู ก ใช้ เ พื่ อ ก าหนดอั ต ราส่ ว นส าหรั บ การวาด แผนภาพ เช่ น ก าหนดอั ต ราส่ ว นเป็ น แบบ No scale (1:1) หมายความว่ า สิ่ ง ที่ ว าดใน “drawing page” จะมีขนาดเท่าวัตถุจริง

ภาพที่ 2-16


18 2.6.4 Page Properties TAB คาสั่งใน TAB “Page Properties” มักถูกใช้เพื่อกาหนดลักษณะ และชื่อของแผ่น งาน (Seet page) ใหม่ เช่ น จะให้ เ ป็ น “foreground” หรื อ “background” ในกรณี ที่ เ ป็ น foreground จะสามารถเลือกได้ว่าจะกาหนดให้มีฉากหลัง (background) ด้วยหรือไม่ นอกจากนั้น ยังสามารถระบุหน่วยวัด (Measurement:) ของแผ่นงานได้

ภาพที่ 2-17 2.6.5

Layout and Routing TAB

ค าสั่ ง ใน TAB “Layout and Routing” เป็ น Layout ที่ ส ามารถน ามา ประยุกต์ใช้กาหนดลักษณะคุณสมบัติของเส้น connection ใน diagram หรืออาจจะกล่าวได้ว่าเป็น การกาหนดลั กษณะของ diagram ได้ด้ว ย เช่นบาง diagram จะเป็นแบบ tree หรือ แบบ topdown

ภาพที่ 2-18


19

บทที่ 3 แผนภาพอย่างง่ายด้วย Shapes พื้นฐาน Shapes ในโปรแกรม Visio คือ ภาพกราฟิกที่แทนสัญลักษณ์ต่างๆ สาหรับใช้วาดแผนภาพ Shapes จะถูกรวมกันไว้อยู่เป็นกลุ่มๆ แยกตามหมวดหมู่ ในถาดเครื่องมือ “Stencil” เช่น Shape ของโต๊ะเก้าอี้จะอยู่ในกลุ่ม Office Layout Stencil ผังองค์กรจะอยู่ในกลุ่ม Organization Stencil เป็นต้น

ภาพที่ 3-1


20

3.1 การใช้งาน Shape และ Stencil เบื้องต้น รายละเอียดขั้นตอนการใช้งาน Shape และ Stencil มีดังต่อไปนี้ 3.1.1 สร้างแฟ้มข้อมูลใหม่ 1. ที่เมนูบาร์คลิกเลือกรายการ File > New > Getting Strated (ภาพที่ 3-2 2. เลือกหมวดหมู่สัญลักษณ์ (Shape) จากรายการ “Template Categories” ใน ที่นี้เลือกเป็น “Getting Started”) (รายการที่ 1 ภาพที่ 3-3) 3. เลือกประเภทแผนภาพที่ต้องการสร้าง ในที่นี้เลือกเป็นแบบ “Basic Flowshart” (รายการที่ 2 ภาพที่ 3-3) 4. จะปรากฏหน้าจอออกแบบแผนภาพ (Workspace) ดังแสดงในภาพที่ 3-4

ภาพที่ 3-2


21

ภาพที่ 3-3

ภาพที่ 3-4


22 3.1.2 การคลี่การพับ Stencil เมื่อสร้างแฟ้มข้อมูลและเข้าสู่หน้าจอออกแบบแผนภาพแล้ว สังเกตว่าจะมองเห็น รายละเอียด Shape เฉพาะที่ถูกเก็บไว้ใน Stencil ที่ถูกคลี่ใช้งานเท่านั้น หากเป็น Shape ใน Stencil อื่นๆ จะถูกซ่อนไว้ ดังนั้น 1) หากต้ อ งการคลี่ Stencil (ที่ ถู ก ซ่ อ น/ปิ ด ) เพื่ อ ใช้ ง าน Shape ใน Stencil เหล่ า นั้ น ให้ ค ลิ ก ที่ “Titlebar” ของ Sencil นั้ น ๆ (ภาพที่ 3-5 เป็ น ตั ว อย่ า งแสดงวิ ธี ค ลี่ Stencil “Backgrounds (Metric)” ออกมาใช้งาน) 2) หากต้ อ งซ่ อ น/ปิ ด /พั บ Stencil ที่ ถู ก คลี่ ใ ช้ ง าน ให้ ค ลิ ก ที่ “Titlebar” ของ Sencil นั้นๆ > Stencil ที่ถูกเปิดใช้งานและถูกคลิก “Titlebar” จะถูกซ่อน

ภาพที่ 3-5


23 3.1.3 การวาด Shape ลงใน Drawing page 1. คลิกเมาส์ปุ่มขวาค้างไว้ที่ Shape ใดๆ ที่ต้องการจาก Stencil 2. เลื่อนเมาส์ออกจาก Stencil ไปวางไว้เหนือพื้นที่ใดๆ บน Drawing page แล้ว ปล่อยเมาส์ 3. Shape ที่ถูกเลือกจะถูกวางลงบน Drawing page (ภาพที่ 3-6) 4. ทาซ้าขั้นตอนที่ 1 ถึง 3 สาหรับการวาด Shape ตัวอื่นๆ

ภาพที่ 3-6 3.1.4 การปรับขนาดและแกนของ Shape เบื้องต้น จะเห็นว่า Shape ที่ถูกคลิกเลือกเส้นขอบจะมีลักษณะเป็นเส้นประสีเขียว และมี “green squares ( )” เป็นรูปสี่เหลี่ยมสีเขียวเกาะอยู่ตามส่วนต่างๆ ของเส้นขอบ สี่เหลี่ยมนี้เรียกว่า “Selection handles” มีไว้เพื่อใช้ปรับขนาดของ Shape และในบางครั้งจะเห็นสัญลักษณ์เป็นรูปเพชรสีเหลือง ( ) ซึ่งเรียกว่า “Control handles” สาหรับใช้ปรับแกนของ Shape


24 3.1.5 การเชื่อมโยง Shape ด้วย Connector การวาดแผนภาพเมื่อวาดและจัดระเบียบ Shape ที่จาเป็นจนเป็นที่พอใจแล้ว (ภาพ ที่ 3-7) ขั้นตอนต่อไปคือการสร้างการเชื่อมโยงระหว่าง Shape โดยใช้ตัวเชื่อม (Connector) เพื่อให้ แผนภาพมีความสมบูรณ์มากยิ่งขึ้น ซึ่งมีขั้นตอนดังต่อไปนี้ 1. คลิกเลือกที่ปุ่ม “Connecter Tool” บน “Standard Toolbar” (ภาพที่ 3-8) 2. เลื่อนเมาส์ไปอยู่เหนือ Shape ที่ต้องการเริ่มสร้างการเชื่อมโยง สังเกตว่าขอบ ของ Shape ดังกล่าวจะกลายเป็นสีแดง และตัวชี้เมาส์ (Mouse pointer) จะ กลายเป็นรูป (ภาพที่ 3-9) 3. คลิกเมาส์ปุ่มซ้ายค้างไว้ > ลากเมาส์ไปยัง Shape ที่ต้องการสร้างการเชื่อมโยง สังเกตุว่าจะมีเส้นเชื่อมเป็นเส้นประสีดาเชื่อมระหว่าง 2 Shape เส้นขอบของ Shape ที่ 2 จะเปลี่ยนเป็นสีแดง ตัวชี้เมาส์กลายเป็รูป 4. ปล่อยเมาส์ 5. ทาซ้าขั้นตอนที่ผ่านมาเพื่อสร้างการเชื่อมโยงกับ Shape อื่นๆ ที่เหลือ

ภาพที่ 3-7


25

ภาพที่ 3-8

ภาพที่ 3-9

ภาพที่ 3-10


26 3.2 แบบฝึกหัดท้ายบท จงวาดผังงาน (flowchart) ตามตัวอย่างต่อไปนี้

ภาพที่ 3-11


บทที่ 4 พื้นฐานการสร้างแผนภาพ 4.1 การใช้งาน Stencil ตามที่ได้กล่าวไปบ้างแล้วว่า Shape จะถูกเก็บไว้เป็นหมวดหมู่ใน Stencil ดังนั้นเพื่อให้การ ทางานกับ Shape ง่ายขึ้น จึงขอกล่าวถึงวิธีควบคุม Stencil ที่จาเป็นไว้คร่าวๆ ดังต่อไปนี้ 4.1.1 การปรับมุมมองของ Shape ใน Stencil ปกติแล้วลักษณะมุมมอง Stencil จะถูกกาหนดเป็นแบบ Names under Icons ( )(ภาพที่ 4-1) หากต้องการปรับมุม Shape ใน Stencil ใหม่สามารถทาได้ดังนี้ 1. คลิกทีไ่ อคอน (Icon) Stencil title bar ( ) 2. จะปรากฏเมนูลัดขึ้นมา 3. ที่เมนูลัดเลือกรายการ View > ลักษณะมุมมองที่ต้องการ (Icons and Names ( ), Names under Icons ( ), Icons Only ( ), Names Only ( ) และ Icons and Details ( ) 4. ดังแสดงตัวอย่างใน ภาพที่ 4-2 (และรายละเอียดของแต่ละมุมมองดังแสดงใน ตารางที่ 4-1)

ภาพที่ 4-1 ลักษณะมุมมอง Stencil แบบ Names under Icons


28

ภาพที่ 4-2 ตารางที่ 4-1 รายละเอียดมุมมอง Shape ใน Stencil รูป Icons and Names ( )

Names under Icons ( )

Icons Only (

)

ตัวอย่ำงรำยละเอียด


29 รูป Names Only (

ตัวอย่ำงรำยละเอียด )

Icons and Details (

)

4.1.2 การเรียกใช้ Stencil เพิ่มเติม ปกติเมื่อเลือกวาดแผนภาพใดๆ โปรแกรมจะเปิด stencil ที่มีความจาเป็นต่อการวาด แผนภาพนั้นๆ ให้โดยอัตโนมัติ ดังตัวอย่างในภาพที่ 4-3 เป็นการวาดแผนภาพ “ชุดเครือข่ายหลัก” ซึ่ ง ประกอบไปด้ ว ย stencil ด้ ว ยกั น ทั้ ง หมด 5 stencil (Annotations, Callouts, Free-standing Rack Elements, Network Room Elements และ Rack-mounted Equipment)

ภาพที่ 4-3


30 หากผู้ใช้ต้องการวาดสัญลักษณ์อย่างอื่นที่ไม่มีในทั้ง 5 stencil สามารถเปิด stencil ขึ้นมาใช้เพิ่มเติมได้ ด้วยวิธีดังต่อไปนี้ 1. ที่เมนูบาร์คลิกเลือกรายการ File 2. เลือกรายการ Shapes 3. เลือกกลุ่มของ Stencil ที่ต้องการ 4. เลือก Stencil ที่ต้องการ (ภาพที่ 4-4) 5. สามารถตรวจสอบ Stencil ต่างๆ ที่จาเป็นได้ที่ภาคผนวก ก.

ภาพที่ 4-4


บทที่ 5 การทางานกับ Shape 5.1 การเลือก Shape 1. เลื่อนตัวชี้เมาส์ไปที่ Shape ที่ต้องการเลือก 2. คลิกเมาส์ปุ่มซ้ายเพื่อเลือก Shape 3. สังเกตว่าเส้นขอบของ Shape ที่ถูกเลือกเปลี่ยนเป็นเส้นประสีเขียว และจะมี “Selection handles ( )” เกาะตามเส้นขอบ

ภาพที่ 5-1 5.2 การเลือก Shape เป็นกลุ่ม หากต้องการเลือก Shape แบบเป็นกลุ่ม หรือเลือกทางานกับหลายๆ Shape ในเวลาเดียวกัน สามารถทาได้ดังนี้ 5.2.1 การเลือกโดยใช้ Area Select Area Select ( ) เหมาะสาหรับใช้เลือกหลายๆ Shape โดยกาหนดพื้นที่เป็น สี่เหลี่ยม (จตุรัสหรือผืนผ้า) 1. คลิกเลือกปุ่ม “Area Select ( )” ดังแสดงในภาพที่ 5-2 2. วาดพื้นที่ล้อมรอบกลุ่ม Shape ที่ต้องการเลือก 3. เมื่อวาดพื้นที่จนเป็นที่พอใจแล้ว ปล่อยเมาส์ 4. สังเกตว่ากลุ่มของ Shape จะถูกเลือก


32

ภาพที่ 5-2

ภาพที่ 5-3 5.2.2 การเลือกโดยใช้ Lasso Select tool Lasso Select ( ) ช่วยให้การเลือก Shape เป็นกลุ่มทาได้อิสระขึ้น เนื่องจากไม่ จาเป็นต้องเลือกพื้นเป็นรูปสี่เหลี่ยม แต่สามารถกาหนดพื้นได้อย่างอิสระ 1. คลิกเลือกปุ่ม “Lasso Select ( )” ดังแสดงในภาพที่ 5-2 2. วาดพื้นที่ล้อมรอบกลุ่ม Shape ที่ต้องการเลือก 3. เมื่อวาดพื้นที่จนเป็นที่พอใจแล้ว (จุดเริ่มต้นวาดกับจุดสิ้นสุดมาอยู่ใกล้กัน)ปล่อย เมาส์ 4. สังเกตว่ากลุ่มของ Shape จะถูกเลือก

ภาพที่ 5-4


33 5.2.3 การเลือกโดยใช้ Multiple Select tool Multiple Select tool ( ) ช่ ว ยให้ ก ารเลื อ ก Shape เป็ น กลุ่ ม ท าได้ อิ ส ระขึ้น โดยผู้ไม่ใช้งานไม่จาเป็นต้องวาดพื้นที่ล้อมรอบกลุ่ มของ Shape เพียงแต่คลิกเลือก Shape ที่ต้องการ ไปเรื่อยๆ 1. คลิกเลือกปุ่ม “Multiple Select tool ( ) ดังแสดงในภาพที่ 5-2 2. คลิกเลือก Shape ที่ต้องการเลือกไปเรื่อยๆ จนครบ 3. สังเกตว่ากลุ่มของ Shape จะถูกเลือก

ภาพที่ 5-5 สามารถใช้วิธีกดแป้น ALT+ การคลิกเมาส์ปุ่มซ้าย หรือ SHIFT+การคลิกเมาส์ปุ่ม ซ้าย เพื่อเลือก Shape เป็นกลุ่มแทนการใช้ Selection tool ได้


34 5.3 การปรับขนาดของ Shape การปรับลดหรือเพิ่มขนาดของ Shape สามารถทาได้ 2 ลักษณะดังนี้ 5.3.1 การปรับขนาดในทิศทางเดียว 1. เปลี่ยนตัวชี้เมาส์ (Pointer) เป็นแบบ “Pointer tool ( )” 2. คลิกเลือก Shape ที่ต้องการปรับขนาด (สังเกตว่าจะมี “selection handles ( )” ปรากฏขึ้นมาบริเวณขอบและมุมของ Shape ที่ถูกเลือก) 3. คลิกเลือก “Selection handle” ใดๆ ในทิศทางที่ต้องการปรับขนาดของ Shape เช่น ด้านบนเพื่อปรับความสูง และด้านข้างเพื่อปรับความกว้าง (ภาพที่ 5-6) 4. ลากเมาส์เข้า หรือ ออก เพื่อลดหรือขยายขนาดของ Shape 5.3.2 การปรับขนาดในสองทิศทาง 1. เปลี่ยนตัวชี้เมาส์ (Pointer) เป็นแบบ “Pointer tool ( )” 2. คลิกเลือก Shape ที่ต้องการปรับขนาด (สังเกตว่าจะมี “selection handles ( )” ปรากฏขึ้นมาบริเวณขอบและมุมของ Shape ที่ถูกเลือก) 3. คลิกเลือก “Selection handle” ที่ติดอยู่บริเวณมุมของ Shape ที่เลือกทางาน (ภาพที่ 5-7 4. ลากเมาส์เข้าหรือออกเพื่อลดหรือขยายขนาดของ Shape จะพบว่าขนาดของ Shape จะถูกปรับความกว้างและความสูงในเวลาเดียวกัน

ภาพที่ 5-6

ภาพที่ 5-7


35 5.4 การเคลื่อนย้าย Shape 1. เปลี่ยนตัวชี้เมาส์ (Pointer) เป็นแบบ “Pointer tool ( )” 2. คลิกเลือก Shape ที่ต้องการย้ายตาแหน่ง (สังเกตว่าจะมี “selection handles ( )” ปรากฏขึ้นมาบริเวณขอบและมุมของ Shape ที่ถูกเลือก) 3. คลิกเมาส์ค้าง > ลาก Shape ไปวางไว้ยังตาแหน่งที่ต้องการ (ภาพที่ 5-8) 4. หากต้องการเคลื่อนย้าย Shape ไปพร้อมๆ กันเป็นกลุ่ม >ใช้วิธี กดแป้น SHIFT ค้างไว้ > เลือก Shape ตามความต้องการ > ย้ายตาแหน่งกลุ่มของ Shape

ภาพที่ 5-8 5.5 การใช้งาน Snap และ Glue Snap และ Glue เป็นเครื่องมือสาหรับช่วยจัดวางและจัดเรีย Shape ให้เป็นระเบียบเรียบร้อย และสวยงามขึ้น โดยต้องเริ่มจากเปิดการใช้งาน Snap และ Glue ก่อน ดังขั้นตอนต่อไปนี้ 1. ทีเ่ มนูบาร์เลือก Tools > Snap & Glue …(ภาพที่ 5-9) 2. จะปรากฏกรอบโต้ตอบ “Snap & Glue” ขึ้นมา ให้เลือกที่แทบ (Tab) “General” (ภาพ ที่ 5-10) โดยที่ ก. ในรายการ “Currently active” คลิกเลือกกล่องตัวเลือก (Check box) “Dynamic grid” ข. ในรายการ “Snap to” คลิ กเลื อกกล่ องตัว เลือก (Check box) “ Grid” และกล่ อง ตัวเลือก “Shape geometry” 3. คลิก OK บนกรอบโต้ตอบ Snap & Glue


36

ภาพที่ 5-9

ภาพที่ 5-10 หลังจากเปิดใช้งาน Snap & Glue แล้ว เมื่อมีการจัดเรียงตาแหน่งของ Shapes ต่างๆ สังเกตจะพบว่ามีเส้น “Snap to Dynamic Grid” ปรากฏขึ้นมาช่วยในการจัดเรียงทุกครั้ง ดัง ตัวอย่างในภาพที่ 5-1 และภาพที่ 5-2

ภาพที่ 5-11


37

ภาพที่ 5-12 5.6 การใช้งาน Grids Grids เป็นเส้นเสมือน มีลักษณะเหมือนเส้นกระดาษกราฟ สาหรับช่วยให้การกะระยะในขณะ สร้างแผนภูมิภาพทาได้ง่ายขึ้น เพื่อเรียกใช้งาน Grid ในระหว่างการทางาน สามารถทาได้ดังนี้ ทีเ่ มนูบาร์คลิกเลือกรายการ View > Grid 5.7 การใช้งาน Ruler Ruler หรือ ไม้บรรทัด คือเครื่องมือสาหรับใช้วัดระยะของ Shape หรือวัตถุใดๆ ว่าห่างจาก ระยะขอบกระดาษเป็นเท่าไร เพื่อเรียกใช้งาน Ruler สามารถทาได้ดังนี้ ที่เมนูบาร์คลิกเลือกรายการ View > Ruler 5.8 การทางานกับข้อความ (Text) 5.8.1 การใส่ข้อความให้กับ Shape การใส่คาอธิบายให้กับ Shape จะช่วยทาให้แผนภาพสมบูรณ์และสื่อความหมายมาก ยิ่งขึ้น และมีขึ้นตอนทาดังต่อไปนี้ 1. เปลี่ยนตัวชี้เมาส์ (Pointer) เป็นแบบ “Pointer tool ( )” 2. คลิกเลือก Shape ที่ต้องการใส่คาอธิบาย 3. พิมพ์ข้อความลงไปตามความต้องการ 4. เมื่อพิมพ์ข้อความเสร็จแล้ว > คลิกพื้นทีใดๆ บน Drawing page เพื่อยกเลิกการ พิมพ์ ในกรณีที่มุมมองการสร้างแผนภาพไม่ได้ถู กกาหนดให้ เป็น 100% เมื่อมีการพิ ม พ์ ข้อความให้กับ Shape โปรแกรมจะปรับขนาดมุมมองให้เป็น 100% โดยอัตโนมัติ และเมื่อการพิมพ์ เสร็จสิ้นลงมุมมองจะกลับสู่สภาพเดิม


38 5.8.2 การแก้ไขข้อความใน Shape การแก้ไขข้อความใน Shape สามารถทาได้โดยการ Double คลิก Shape ที่ต้องการ 5.8.3 การปรับเปลี่ยนข้อความใน Shape การปรับเปลี่ยนลักษณะตัวอักษรใน Shape ทาได้หลายวิธี วิธีหนึ่งที่ได้รับความนิยมมี ขั้นตอนดังต่อไปนี้ 1. คลิกเลือก Shape ที่ต้องการปรับเปลี่ยนตัวอักษร (Text) 2. กาหนดคุณสมบัติตัวอักษรตามความต้องการที่ “Formatting toolbar” (ภาพที่ 5-13) (หาก “Formatting Toolbar” ถูกซ่อน สามารถเรียกขึ้นมาใช้งานได้โดย ที่เมนูบาร์เลือกรายการ View > Toolbars > Formatting)

ภาพที่ 5-13 3. คลิกที่ Text หรือ Shape ที่ต้องการเปลี่ยนลักษณะ > คลิกเมาส์ปุ่มขวา > จะ ปรากฏเมนูลัดขึ้นมา 4. ที่เมนูลัดเลือกรายการ Format > Text … 5. จะปรากฏกรอบโต้ตอบ “Text” ขึ้นมาให้แก้ไขลักษณะของตัวอักษร > กาหนด ลักษณะตัวอักษรตามความต้องการ (ภาพที่ 5-14)


39

ภาพที่ 5-14 5.8.4 การจัดตาแหน่งของ Text ใน Shape เมื่อมีการวาด Shape ต่างๆ บน Drawing page ไม่ว่าจะด้วยการวาดแผนภาพแบบใด แกนของ Shape หรือวัตถุต่างๆ ที่ประกอบกันเป็นแผนภาพอาจไม่อยู่ในลักษณะที่ต้องการ เช่น กรณี ตั ว อั ก ษรที่ อ ยู่ ภ ายใน Shape ซึ่ ง ปกติ โ ปรแกรมจะจั ด ให้ อ ยู่ ต รงกลาง แต่ บ่ อ ยครั้ ง ที่ ต้ อ งมี ก าร ปรับเปลี่ยนตาแหน่งดังกล่าวซึ่งสามารถทาได้ดังนี้ 1. ที่แถบเครื่องมือมาตรฐาน (Standard toolbar) คลิกเลือก “Text Block Tool” (ภาพที่ 5-15) 2. คลิกเลือก “connector” หรือ “shape” ที่ต้องการปรับตาแหน่งของ “text” > จะปรากฏ“selection handles ( )” ขึ้นมา ดังภาพที่ 5-16 และภาพที่ 5-17 3. ตัว ชี้เมาส์ (Mouse-pointer) จะกลายเป็น รู ป “double rectangle ( )” > แสดงว่าสามารถคลิกที่ “connector” เพื่อปรับเปลี่ยนตาแหน่ง “text” ได้

ภาพที่ 5-15


40

ภาพที่ 5-16

ภาพที่ 5-17 5.9 การปรับเปลี่ยนลักษณะของ Shape ในระหว่างการสร้างแผนภูมิภาพ หากต้องการปรับเปลี่ยนลักษณะของ Shape จากแบบ มาตรฐานสามารถทาได้ดังนี้ 1. เปลี่ยนตัวชี้เมาส์ (Pointer) เป็นแบบ “Pointer tool ( )” 2. คลิกเลือก Shape ที่ต้องการเปลี่ยนลักษณะ 3. ที่เมนูบาร์คลิกเลือกรายการ Format แล้ว ก. เลือก คาสั่ง “Line” หากต้องการปรับเปลี่ยนลักษณะเส้นขอบของ Shape > เมื่อ เลือกแล้วจะปรากฏกรอบโต้ตอบ “Line” ขึ้นมา (รายละเอียดดังแสดงในภาพที่ 5-18 และตารางที่ 5-1) ข. หรือ เลือกคาสั่ง “Fill” หากต้องการปรับเปลี่ยนลักษณะของพื้นหลัง Shape > เมื่อ เลือกแล้วจะปรากฏกรอบโต้ตอบ “Fill” ขึ้นมา (รายละเอียดดังแสดงในภาพที่ 5-19 และ ตารางที่ 5-2)


41

ภาพที่ 5-18 ตารางที่ 5-1 รายละเอียดคาสั่งในกรอบโต้ตอบ Line หมวด คาสัง่ อธิบาย Line Pattern ระบุลักษณะของเส้นขอบ Shape ว่าจะให้มีลักษณะ เป็นเส้นแบบใด เช่น เส้นประหรือเส้นทึบเป็นต้น Weight ลักษณะความหน้าของเส้น ค่า Weight ยิ่งมากเส้นจะ ยิ่งหน้าขึ้น Color ลักษณะสีของเส้นขอบ Transparency ใช้ปรับความเข้มจางของเส้นขอบ หากค่า Transparency มีค่าลดลงเส้นขอบจะสามารถมองทะลุ ได้ หรือมีความโปร่งมากยิ่งขึ้น Line Ends Begin กาหนดลักษณะจุดเริ่มต้นของเส้น เช่น ให้เป็นหัวลูกศร End กาหนดลักษณะจุดสิ้นสุดของเส้น เช่น ให้เป็นหัวลูกศร Begin Size กาหนดขนาดของเส้นปลายเริ่มต้น End Size กาหนดขนาดของเส้นปลายสิ้นสุด Round ปรับความโค้งมนของมุมหรือเหลี่ยมของ Shape corners


42

ภาพที่ 5-19 ตารางที่ 5-2 หมวด Fill

คำสั่ง Color Pattern Pattern Color

Transparency

Shadow

Style Color Pattern Pattern Color

อธิบำย กาหนดลักษณะสีพื้นหลัง Shape กาหนดรูปแบบเฉดสีพื้นหลัง Shape กาหนดสีให้กับเฉดสีพื้นหลัง ใช้ปรับความเข้มจางของพื้นหลัง หากค่า Transparency มีค่าลดลงพื้นหลังจะสามารถมองทะลุ ได้ หรือมีความโปร่งมากยิ่งขึ้น รูปแบบ Shape เช่น ลักษณะเงาพื้น ฯลฯ สีของ Style ลักษณะพื้นหลัง เช่น เป็นเส้น เป็นตาราง สีของ Pattern พื้นหลัง


43 5.10 การหมุนแกน Shapes การหมุนแกนหรือ บิดแกนเพื่อให้ Shape เอียงไปในทิศทางใดๆ สามารถทาได้ 2 วิธีคือ (1) การบิดแกนของ Shape โดยใช้ “Rotation handle” และ (2) การใช้คาสั่ง “Rotate or Flip” ดัง รายละเอียดต่อไปนี้ 5.10.1 การบิดแกน Shape ด้วย Rotation handle 1. คลิกเลือกที่ต้องการบิดแกน สังเกตว่าจะมีสัญลักษณ์ “Rotation handle ( )” ปรากฏเหนือ Shape ที่เลือก 2. เลื่อนตัวชีเมาส์ไปวางไว้เหนือ “Rotation handle ( )” > จะพบว่าตัวชี้เมาส์จะ กลายเป็นสัญลักษณ์ (ภาพที่ 5-20) 3. คลิกเมาส์ซ้ายค้างไว้ที่ “Rotation handle ( )” แล้วบิดแกนของ Shape ไปใน ทิศทางที่ต้องการ ดังตัวอย่างในภาพที่ 5-21

ภาพที่ 5-20

ภาพที่ 5-21

5.10.2 การบิดแกน Shape ด้วยคาสั่ง Rotate or Flip 1. คลิกเลือก Shape ที่ต้องการบิดแกน 2. ที่เมนูบาร์เลือกรายการ Shape > Rotate or Flip > เลือกลักษณะการบิดแกน ดังแสดงรายละเอียดไว้ในตารางที่ 5-3 3. ที่ pop-up-menu เลือกรายการ Shape 4. เลือกรายการการบิดแกนของ shape ตามที่ต้องการ

ตารางที่ 5-3 รายละเอียดคาสั่งสาหรับบิดแกน Shapes คาสั่ง หน้าที่

Icon

ผลที่ได้

จากต้นฉบับ


44 Rotate Left :

พลิกภาพขึ้นมาทางด้านซ้าย 90 องศา

Rotate Right :

พลิกภาพขึ้นมาทางด้านขวา 90 องศา

Flip Vertica :

พลิกภาพขึ้นมาในแนวแกนตั้ง ทา ให้ภาพกลับหัว

Flip Horizontal : พลิกภาพในแนวแกนนอนทาให้ ภาพกลับข้าง

Rotate Text

ใช้พลิกคาอธิบาย

จะบิดไปทีละ 90 องศา

5.11 การจัดเรียงลาดับ Shape เมื่อมีการสร้าง Shape สาหรับแผนภาพ Shape ที่สร้างครั้งหลังๆ จะมีตาแหน่งระดับสูงกว่า Shape ที่สร้างก่อนหน้านั้น หรือกล่าวในอีกความหมายหนึ่งได้ว่า Shape ที่สร้างทีหลังจะทับ Shape ที่สร้างไว้ก่อนหน้า อย่างไรก็ดีลาดับระดับของ Shape สามารถจัดเรียงใหม่ได้ โดยไม่ต้องคานึงว่า Shape ที่สร้าง เป็นลาดับที่เท่าไร ดังรายละเอียดต่อไปนี้ 1. เปลี่ยนตัวชี้เมาส์ (Pointer) เป็นแบบ “Pointer tool ( )” 2. คลิกเลือก Shape ที่ต้องการจัดลาดับใหม่ 3. คลิกเมาส์ปุ่มขวา (Right-click) จะปรากฏเมนูลัด (Popup-menu) ขึ้นมา 4. ทีเ่ มนูลัดเลือกรายการ Shape ก. เลือก Bring to Front ( ) ถ้าต้องการจัดให้ Shape ดังกล่าวอยู่ลาดับแรกสุด ข. เลือก Send to Back ( ) ถ้าต้องการจัดให้ Shape ดังกล่าวอยู่หลังสุด 5. รายละเอียดเพิ่มเติมดังแสดงใน ตารางที่ 5-4


45

ตารางที่ 5-4 รายละเอียดจัดลาดับ Shape คาสั่ง ภาพต้นฉบับตัวอย่าง

Bring To Front

Sent to Back

อธิบาย ภาพตั ว อย่ า งก่ อ นการจั ดการเรีย ง จะเห็ น ว่า ภาพที่ 3 ทับภาพที่ 2 และภาพที่ 2 ทับภาพที่ 1 ส่งวัตถุที่อยู่หลัง หรือหลังสุดมาอยู่ด้านหน้าสุด โดยไม่ ส นใจว่ า วั ต ถุ ตั ว นั้ น จะอยู่ ต รงไหนหรือ สร้างขึ้นมาลาดับที่เท่าไร จากภาพตัวอย่างจะ เห็นว่าภาพวงกลม 1 ถูกส่งขึ้นมาอยู่ด้านหน้า สุด ส่ ง วั ต ถุ ที่ ด้ า นหน้ า หรื อ หน้ า สุ ด ไปอยู่ ล าดั บ ท้ายสุด โดยไม่สนใจว่าวัตถุตัวนั้นจะสร้างเป็น ลาดับที่เท่าไร จากตัวอย่างจะเห็นว่าวัตถุที่ 3 ถูกสร้างขึ้นมาครั้งล่าสุดปกติจะอยู่บนสุด แต่ถูก ส่งไปอยู่ด้านหลังสุด

5.12 การจัดเรียง Shape จากตัวอย่างในภาพที่ 5-22 จะพบว่า Shape 1, 2, 3 ต่างเรียงตัวอย่างกระจัดกระจาย หาก ต้องการจัดระเบียบ Shape ให้อยู่ในตาแหน่งที่เหมาะสม สวยงาม รวดเร็ว สามารถทาได้โดยการใช้ คาสั่งจัดเรียง Shape บนกรอบโต้ตอบ “Align Shapes” (ภาพที่ 5-23)


46

ภาพที่ 5-22

ภาพที่ 5-23 กรอบโต้ตอบ “Align Shapes” สามารถเรียกขึ้นมาใช้งานได้โดย ที่เมนูบาร์เลือกรายการ Shape > Align Shapes

ขั้นตอนการใช้งานคาสั่งจัดเรียง Shape บนกรอบโต้ตอบ “Align Shapes” มีดังต่อไปนี้ 1. เลือกกลุ่ม Shape ที่ต้องการจัดเรียง 2. ที่เมนูบาร์ เลือกรายการ Shape > Align Shapes… จะปรากฏกรอบโต้ตอบ “Align Shapes” ขึ้นมา (ภาพที่ 5-23) 3. คลิกเลือก “Alignment option” ที่ต้องการ


47 4. คลิกปุ่ม OK

5.13 การดาเนินการเกี่ยวกับ Shape การผสาน Shape วาดรูปสี่เหลี่ยมขนาดเท่าๆ กันและจัดวางตาแหน่งดังแสดงในไว้ใน คลิกเลือกรูปสี่เหลี่ยมที่ 1 แล้วกดแป้น Shift แล้วคลิกเลือกรูปสี่เหลี่ยมที่ 2 และที่ 3 ตามลาดับเพื่อ เลือกสี่เหลี่ยมทั้งหมด ที่เมนูบาร์คลิกเลือกรายการ Shape > Operations > Union จะได้ผลลัพธ์ดังแสดงในภาพตัวอย่าง


48

ภาพที่ 5-24

ภาพที่ 5-25 5.14 ปกป้อง Shape จากการออกแบบ ในระหว่างการออกแบบแผนภูมิภาพมักจะมีการสร้าง Shape ขึ้นมาเป็นจานวนมาก และ Shape เหล่านั้นมักถูกปรับเปลี่ยนไปมา ทั้งตาแหน่งและคุณสมบัติอื่นๆ ทาให้มีการเลือกทางานกับ Shape ผิ ดตัว ในบางกรณี เช่น เผลอปรับ ความกว้าง ความยาว การจัดวางเรียงตัว Shape ที่ไม่ ต้องการโดยไม่ได้ตั้งใจ หากต้ อ งการเหลี ย กเลี่ ย ง หรื อ ป้ อ งกั น ปั ญ หาดั ง กล่ า ว สามารถเรี ย ก ใช้ คุ ณ สมบั ติ “Protection” ขึ้นมาใช้งานได้ ซึง่ มีขั้นตอนดังนี้


49 1. 2. 3. 4.

เปลี่ยนตัวชี้เมาส์ (Pointer) เป็นแบบ “Pointer tool ( )” คลิกเลือก Shape ที่ต้องการปกป้อง ทีเ่ มนูบาร์ เลือกรายการ Format > Protection … จะปรากฏกรอบโต้ตอบ “Protection” ปรากฏขึ้นมา > กาหนดการป้องกัน ดังแสดง ตัวอย่างในภาพที่ 5-26 เป็นการป้องกัน ความกว้าง ความสูง ขนาด ตาแหน่งในแนวแกน X แล Y การจัดรูปแบบ

ภาพที่ 5-26 ตัวอย่างการป้องกัน Shape 5.15 Shape Position การปรับขนาด ตาแหน่ง และแกนของ Shape นอกจากจะใช้วิธีดังที่ได้กล่าวมาแล้วในหัวข้อ ข้างต้น ยังสามารถทาได้โดยการ “Shape Position” ซึ่งมีวิธีทาดังนี้ 1. ที่เมนูบาร์คลิกเลือกรายการ View > Size & Position Window (ภาพที่ 5-27) 2. จะปรากฏกล่อง “Size & Position Document” ปรากฏขึ้นมาบริเวณมุมล่างซ้ายของ หน้าจอ สังเกตว่าในเบื้องต้นจะเป็นกล่องเปล่า (ภาพที่ 5-28)

ภาพที่ 5-27


50

ภาพที่ 5-28 3. คลิกเลือก Shape ที่ต้องการ สังเกตว่าจะมีข้อมูลที่จาเป็นปรากฏบนกล่อง “Size & Position Document” ดังแสดงตัวอย่างในภาพที่ 5-29 และรายละเอียดในตารางที่ 5-5

ภาพที่ 5-29 ตารางที่ 5-5 รายละเอียดคาสั่งในกล่องโต้ตอบ Size & Position Window รำยกำรคำสั่ง คำอธิบำย X ตาแหน่ง Shape ในแกน X Y ตาแหน่ง Shape ในแกน Y Width ความกว้างของ Shape Height ความสูงของ Shape Angle แกนของ Shape Pin Pos ตาแหน่งของ Shape


51 แบบฝึกหัด


52


53


บทที่ 6 การใช้งาน Connector 6.1 การเพิ่ม Connector เพื่อเพิ่มจุดเชื่อมโยง (connection point) ให้กับ shape ที่มีกัด เช่น ในกรณีตัวอย่างในภาพที่ 6-1 เป็น shape ที่มีจุดเชื่อมโยงอยู่เพียง 5 จุดเท่านั้น ซึ่งอาจไม่เพียงพอต่อการใช้งาน ในกรณีที่ต้อง สร้างแผนภาพที่ต้องมีจุดเชื่อมต่อมากกว่า 5 จุด การเพิ่มจุดเชื่อมโยงให้กับ shape มีดังต่อไปนี้

ภาพที่ 6-1 1. ที่ถาดเครื่องมือมาตรฐาน (standard toolbar) คลิกเครื่องมือ Pointer tool ( ) 2. ทีถ่ าดเครื่องมือมาตรฐาน (standard toolbar) คลิกลูกศรชี้ลงที่รายการ Connector tool > เลือกรายการ Connection Point Tool ( ) 1

2

ภาพที่ 6-2 เครื่องมือสร้าง Connection Point 3. กดแป้น Ctrl ค้างไว้ > คลิก shape ที่ต้องการเพิ่ม connection poin จะพบว่าเส้นขอบ ของ shap ดังกล่าวจะมีลักษณะเป็นเส้นไข่ปลา 4. คลิกเมาส์ปุ่มซ้ายในจุดที่ต้องการเพิ่มจุดเชื่อมโยง (new connection point)


55

ภาพที่ 6-3 การเพิ่มจุดเชื่อมโยง 6.2 การย้ายตาแหน่ง Connector จุดเชื่อมโยง (connector point ) นอกจากสามารถสร้างขึ้นเพิ่มได้แล้ว ยังสามารถย้าย ตาแหน่งได้ ดังขั้นตอนดังต่อไปนี้ 1.1. คลิกเลือกที่เส้น connection จากนั้นคลิกเลือกที่ตาแหน่ง ( glued) แล้วย้ายตาแหน่งไป ว่างต่อเข้ากับจุด connector endpoint ของ Shape ที่ต้องการ หรือ 2. อาจว่างลงไปยัง Shape โดยให้สังเกตว่า Shape ปลายทางจะมีกรอบขึ้นมาเป็นสัญลักษณ์


บทที่ 7 กรณีศึกษาเรื่องการเขียนผังงาน 7.1 ผังงาน (FLOWCHART) ผั ง งาน (Flowchart) คื อ รู ป ภาพหรื อ สั ญ ลั ก ษณ์ (Symbol) ส าหรั บ ใช้ แ ทนค าอธิ บ าย ข้อความ หรือคาพูด (Statement) ของขั้นตอนวิธีการ (Algorithm) เนื่องจากช่วยทาให้การทาความ เข้าใจขั้นตอนวิธีการ ทาได้ตรงกัน สื่อความหมาย และง่ายกว่าการใช้คาพูดหรือข้อความแต่เพียงอย่าง เดียว โดยทั่วไปผังงานสามารถแบ่งได้เป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ คือ 1) ผังงานระบบ (System Flowchart) 2) ผังงานโปรแกรม (Program Flowchart) 7.2 ประโยชน์ของผังงาน 1) 2) 3) 4)

ทาให้เข้าใจและแยกแยะปัญหาต่างๆ ได้ง่ายขึ้น ทาให้มองเห็นลาดับการทางาน รู้ว่าสิ่งใดควรทาก่อน สิ่งใดควรทาหลัง ทาให้หาข้อผิดพลาดของขั้นตอนได้ง่ายขึ้น ทาให้ผู้อื่นเข้าใจการทางานได้ง่ายขึ้น

7.3 สัญลักษณ์สาหรับการเขียน Flowchart การเขียน Flowchart ให้เป็นมาตรฐาน เบื้องต้นต้องมีความเข้าใจเกี่ยวกับสัญลักษณ์สาหรับ วาด Flowchart เป็นเบื้องต้นก่อน รายละเอียดดังแสดงไว้ในตารางที่ 7-1


57 ตารางที่ 7-1 สัญลักษณ์สาหรับวาด Flowchart ย้ายไปภาคผนวก สัญลักษณ์ ความหมาย Terminator

Process Decision Data

กาหนดจุดเริ่มต้นหรือจุดสิ้นสุดการทางาน รายละเอียดการทางาน การตัดสินใจหรือการเปรียบเทียบตามเงื่อนไขแบบต่างๆ ข้อมูลนาเข้าหรือออก แสดงทิศทางความสัมพันธ์ของการทางานในระบบงาน

Flowline Display Document Stored data

การแสดงผลออกทางหน้าจอ เช่น หน้าจอคอมพิวเตอร์เป็นต้น การพิมพ์เอกสาร เช่น การพิมพ์เอกสารออกทางเครื่องพิมพ์ บันทึกข้อมูลลงในสื่อเก็บข้อมูล


58 7.4 ตัวอย่างการวาด Flowshart เป็ น ตัว อย่ างขั้น ตอนการดูแลเครื่องคอมพิว เตอร์แม่ข่ายบริษัท “บ้านนอกบ้านนา” เพื่อ อธิบายขั้นตอนการแก้ปัญหา ในกรณีเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่ายทางานผิดพลาดหรือมีปัญหา เพื่อที่ ผู้ดูแลจะได้ทราบถึงขั้นตอนปฏิบัติ 1. ทีเ่ มนูบาร์เลือก รายการ File > New > Getting Strarted…

ภาพที่ 7-1 2. จะปรากฏหน้าจอ “Getting Started” > ที่หัวข้อ “Template Categories” เลือก รายการ “General” หรือ “Flowchart” > ที่หัวข้อ “Featured Template” เลือก รายการ “Basic Flowchart” (ภาพที่ 7-2)

3. สั งเกตหั ว ข้อ “Template” จะเป็น Template ของ “Basic Flowchart” > เลื อ ก หน่วยวัดเป็นแบบ “Metric” > กดปุ่ม “Create” (ภาพที่ 7-2) 4. จะได้หน้าจอวาดผังองค์กรคล้ายดังแสดงในภาพที่ 7-3(หน้าจอทางานไม่จาเป็นต้อง เหมือนภาพตัวอย่าง) 5. เริ่ ม วาดแผนภาพ ด้ ว ยการคลิ ก Shape “Terminator” จาก Stencil วางลงบน Drawing page > พิ ม พ์ ค าว่ า “เปิ ด เครื่ อ งคอมพิ ว เตอร์ ” ลงไป > ปรั บ ลั ก ษณะ ตัวอักษรและลักษณะของ Shape ตามความต้องการ (ภาพที่ 7-4)


59

ภาพที่ 7-2

ภาพที่ 7-3


60

ภาพที่ 7-4 6. คลิ ก Shape “Decision” จาก Stencil วางลงบน Drawing page > พิ ม พ์ ค าว่ า “เครื่ อ งแม่ ข่ า ยท าได้ ถู ก ต้ อ ง?” ลงไป > ปรั บ ลั ก ษณะตั ว อั ก ษรและลั ก ษณะของ Shape ตามความต้องการ (ภาพที่ 7-5)

ภาพที่ 7-5 7. เชื่อม Shape “เปิดเครื่องแม่ข่าย” กับ Shape “เครื่องแม่ข่ายทางานได้ถูกต้ อ ง?” ด้วยเครื่องมือ “Connector Tool” โดย ก. คลิกเลือกปุ่ม “Connector Tool ( )” บน Standard Toolbar (ภาพที่ 7-6) ข. ตัวชี้เมาส์จะกลายเป็น ค. เลือ่ นตัวชี้เมาส์ไปที่จุดเชื่อมต่อที่ Shape “เป็นเครื่องแม่ข่าย” (ภาพที่ 7-7) ง. คลิกเมาส์ซ้ายค้างไว้ > ลากเมาส์ไปที่จุดเชื่อมต่อของ Shape “เครื่องแม่ข่ายทาได้ ถูกต้อง?” (ภาพที่ 7-8) จ. ปล่อยเมาส์


61

ภาพที่ 7-6

ภาพที่ 7-7

ภาพที่ 7-8 8. ผลที่ได้จากเป็นดังแสดงในภาพที่ 7-9


62

ภาพที่ 7-9 9. จากตัวอย่างในภาพที่ 7-9 จะเห็นว่าทิศทางของเส้นเชื่อม (Flowline) จะมีทิศทางจาก Shape ต้นทางไปยัง Shape ปลายทาง หากต้องการเปลี่ยนทิศทางของเส้นเชื่อม ให้ทา ดังนี้ ก. คลิกเลือกที่เส้นเชื่อมที่ต้องการเปลี่ยนทิศทางของ Flowline ข. ที่เมนูบาร์คลิกเลือกรายการ Format > Line ค. จะปรากฏกรอบโต้ตอบ “Line” ขึ้นมา ง. ที่กรอบโต้ตอบ “Line” ปรับทิศทางของ Flowline ในหัวข้อ “Line Ends” (ภาพที่ 7-10)

ภาพที่ 7-10


63

10. หากทิศทางและมุมของของเส้นเชื่อมไม่เป็นไปตามความต้องการ สามารถปรับเปลี่ยนได้ โดย ก. คลิกแล้วลากเมาส์ที่รูปสี่เหลี่ยมสีเขียว (Adjust Corner) ในกรณีต้องการปรับมุม ของเส้น Flowline ข. คลิกแล้วลากเมาส์ที่รูปสี่เหลี่ยมสีเขียว (Move midpoint) ในกรณีต้องการปรับแนว ของเส้น Flowline ค. เปรียบเทียบผลที่ได้ระหว่างต้นฉบับในภาพที่ 7-11 และที่ปรับแล้วในภาพที่ 7-12

ภาพที่ 7-11

ภาพที่ 7-12


64

7.5 แบบฝึกหัดท้ายบท วาด Flowshart จนได้ลักษณะดังแสดงในภาพตัวอย่าง หรือตามที่อาจารย์ประจากลุ่มกาหนด


65

ภาพที่ 7-13


บทที่ 8 กรณีศึกษาเรื่องการวาด Work Flow Diagram การวาด Work Flow มีความคล้ายกันกับ Flowchart หลายประการ เช่น ใช้เป็นแผนภาพ สาหรับแทนลาดับขั้นตอนการทางาน เพียงแต่ shape สาหรับวาด Work Flow จะมีลักษณะเป็น ภาพกราฟิ ก มากกว่ า ภาพสั ญ ลั ก ษณ์ ท าให้ สื่ อ ความหมายมากขึ้ น แต่ อ ย่ า งไรก็ ดี Work Flow มี ข้อจากัดหลายประการ เช่น ไม่มีสัญลักษณ์สาหรับวาดกระบวนการบางอย่าง ดังนั้นหากผู้ใช้ต้องการ ใช้สัญลักษณ์ใด ที่ไม่มีในstencil มาตรฐานสาหรับการวาด Work flow (ดังแสดงในภาพที่ 8-5 ถึง ภาพที่ 8-8) โดยผู้ศึกษาสามารถอ่านวิธีการเปิดใช้งาน stencil อื่นๆ ได้ในภาพที่ 4-4 (หน้าที3่ 0) การ วาด Work Flow มีขั้นตอนดังต่อไปนี้ 8.1 การวาด Work flow 1. ทีเ่ มนูบาร์เลือก รายการ File > New > Getting Strarted…

ภาพที่ 8-1 2. จะปรากฏหน้ า จอ “Getting Started” > ที่ หั ว ข้ อ “Template Categories” เลื อ ก รายการ “Flowchart” > ที่หัวข้อ “Featured Template” เลือกรายการ “Work Flow Diagram” (ภาพที่ 9-3)


67

ภาพที่ 8-2 3. สั งเกตหั ว ข้อ “Template” จะเป็น Template ของ “Work Flow Diagram” > เลื อ ก หน่วยวัดเป็นแบบ “Metric” > กดปุ่ม “Create” (ภาพที่ 8-3)

ภาพที่ 8-3 4. จะได้ห น้ าจอวาดผั งองค์ กรคล้ ายดั งแสดงในภาพที่ 8-4 (หน้าจอทางานไม่ จาเป็ น ต้ อ ง เหมือนภาพตัวอย่าง)


68

ภาพที่ 8-4 8.2 ตัวอย่าง Stencil ที่เกี่ยวข้องกับการวาด Work flow

ภาพที่ 8-5


69

ภาพที่ 8-6

ภาพที่ 8-7

ภาพที่ 8-8


8.3 แบบฝึกหัดท้ายบท ให้ผู้ศึกษาวาด Work flow ดังภาพตัวอย่าง

ภาพที่ 8-9


บทที่ 9 กรณีศึกษาเรื่องการวาดผังองค์กร 9.1 ผังองค์กร (Organization Chart) ผังองค์กร (Organization Chart) คือ แผนภาพแสดงชื่อและตาแหน่งของบุคคลากหรือ พนักงานภายในองค์กร สามารถแสดงสายการบังคับบัญชาและความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลากรใน องค์กรได้

คณบดี

คณะกรรมการคณะ

รองคณบดีฝ่ายบริ หาร

รองคณบดีฝ่ายวิชาการ

รองคณบดีฝ่ายกิจการนักศึกษา

ภาพที่ 9-1 9.2 การวาดผังองค์กร 1. ทีเ่ มนูบาร์เลือก รายการ File > New > Getting Strarted…

ภาพที่ 9-2 2. จะปรากฏหน้าจอ “Getting Started” > ทีห่ ัวข้อ “Template Categories” เลือก รายการ “Business” > ที่หัวข้อ “Featured Template” เลือกรายการ “Organization Chart” (ภาพที่ 9-3)


72

ภาพที่ 9-3 3. สั ง เกตหั ว ข้ อ “Template” จะเป็ น Template ของ “Organiztion Chart” > เลื อ ก หน่วยวัดเป็นแบบ “Metric” > กดปุ่ม “Create” (ภาพที่ 9-4)

ภาพที่ 9-4 4. จะได้ห น้ าจอวาดผั งองค์ กรคล้ ายดั งแสดงในภาพที่ 9-5 (หน้าจอทางานไม่ จาเป็ น ต้ อ ง เหมื อ นภาพตั ว อย่ า ง) แต่ เ ครื่ อ งมื อ หนึ่ ง ที่ ค วรจะต้ อ งมี คื อ “Organization Chart


73 Toolbar” (ภาพที่ 9-6) หากไม่เห็นเครื่องมือนี้สามารถเรียกได้จาก เมนูบาร์ เลือกรายการ View > Toolbars > Organization Chart

ภาพที่ 9-5

ภาพที่ 9-6 5. วาดหัวเรื่องหรือชื่อองค์กร ด้วยการลาก Shape “Title” ไปวางลงบน Drawing Page > แล้วใส่ข้อความและปรับลักษณะตามความต้องการ

ภาพที่ 9-7


74

วาดตาแหน่งผู้บริหารระดับสูงสุดลงในผังองค์กร โดย คลิกเลือก Shape “Executive” จาก Stencil (ภาพที่ 9-8) ไปวางลงบน Drawing page ใส่คาอธิบายและตาแต่งตามความต้องการ

ภาพที่ 9-8 6. วาดตาแหน่งผู้บริหารระดับรองลงมา เช่น บริษัทมีรองประธานบริษัททั้งหมด 5 ฝ่ายคือ รองประธานบริษัท ฝ่ายบุคคล ฝ่ายการเงิน ฝ่ายการตลาด ฝ่ายภาพพจน์ ฝ่ายการผลิต มี ขั้นตอนดังนี้ ก. คลิกเลือก Shape “Multiple shapes” จาก “Organization Chart Shape” Stencil (ภาพที่ 9-9) > แล้วลากไปวางลงบน Shape “Executive” ที่วาดไว้ > ปล่อยเมาส์ (ภาพที่ 9-10) ข. จะเห็นว่า shape ทั้งสองจะมีการเชื่อมโยงกันโดยอัตโนมัติ

ภาพที่ 9-9

ภาพที่ 9-10


75 ค. จะปรากฏกรอบโต้ตอบ “Add Multiple Shapes” ขึ้นมา เพื่อให้กาหนดข้อมูลของ รองประธานบริษัททั้ง 5 ฝ่าย ดังแสดงในภาพที่ 9-11 ง. กาหนดจานวนตาแหน่งในหัวข้อ “Number of shapes:” (ในที่นี้กาหนดเป็น 5) จ. กาหนดชื่อตาแหน่งในหัวข้อ “Shape:” เป็น “Manager” ฉ. กดปุ่ม “OK” ช. จะได้ผลดังตัวอย่างในภาพที่ 9-12 ซ. เปลี่ยนคาอธิบาย Shape ตามชื่อตาแหน่ง ดังตัวอย่างในภาพที่ 9-13

ภาพที่ 9-11

ภาพที่ 9-12


76

ภาพที่ 9-13 7. กรณีที่ต้องการเพิ่มตาแหน่งลงในผังองค์กรทีละตาแหน่ง เช่น ประธานบริษัทมีผู้ช่วย 1 คน สามารถทาได้ดังนี้ ก. คลิกเลือก Shape “Assistant” จาก Stencil (ภาพที่ 9-14) > นาไปวางไว้บน Shape “ประธานบริษัท” บน Drawing page (ภาพที่ 9-15) ข. จะได้ผลดังแสดงในภาพที่ 9-16

ภาพที่ 9-14

ภาพที่ 9-15


77

ภาพที่ 9-16 9.3 การเปลี่ยน Layout ของ shape ในผังองค์กร ปกติแล้วโปรแกรมจะกาหนดการเรียงตัวของ Shape ในผังองค์กรให้เป็นแบบ “Horizontal layout” ดั ง ตั ว อย่ า งในภาพที่ 9-17 จะเห็ น ว่ า Shape “งานบุ ค คล” “งานพั ฒ นาบุ ค คล” “งาน สวัส ดิการ” เป็ น Subcordinate ของ Shape “รองประธานฝ่ ายบุคคล” และมีการจัดเรีย งแบบ “Horizontal layout”

ภาพที่ 9-17 หากต้องการปรับเปลี่ยนการจัดเรียง Layout ของ Shape ที่เป็น Subcordinate ใดๆ ใหม่ ให้ทาดังนี้ 1. คลิ ก เลื อ ก Shape แม่ ข อง Subcordidate ในที่ คื อ Shape ชื่ อ “รองประธานฝ่ า ย บุคคล” (ภาพที่ 9-18)


78

ภาพที่ 9-18 2. ที่เมนูบาร์เลือกรายการ Organization Chart > Arrange Subordinates 3. จะปรากฏกรอบโต้ตอบ “Arrange Subordinates” > เลือกแบบ Layout ตามความ ต้องการ (ภาพที่ 9-19) 4. จะผลดังแสดงตัวอย่างในภาพที่ 9-20 (ลักษณะการจัดเรียงขึ้นอยู่กับ Layout ที่เลือก)

ภาพที่ 9-19


79

ภาพที่ 9-20 9.4 การสลับลาดับของ Shape พิจารณาตัวอย่างตาแหน่ง Shape “งานการเงิน ” กับ Shape “งานบัญชี ” ในภาพภาพที่ 9-21 หากต้องการสลับตาแหน่งของ Shape ทั้งสองให้ทาดังนี้ 1. คลิกเลือก Shape ที่ต้องการปรับเปลี่ยนตาแหน่ง 2. เลื อ กค าสั่ ง Move left, Move right, Move up, Move down จาก “Organization Chart Toolbar” ดังตัวอย่างในภาพที่ 9-22 และรายละเอียดในตารางที่ 9-1

ภาพที่ 9-21

ภาพที่ 9-22 Organization Chart Toolbar


80

ตารางที่ 9-1 รายละเอียดคาสั่งปรับเปลี่ยนตาแหน่ง Shape ชื่อคาสั่ง สัญลักษณ์ อธิบาย Move left

ใช้สลับตาแหน่งของ shape มาทางด้านซ้าย

Move right

ใช้สลับตาแหน่งของ shape มาทางด้านขวา

Move Down

ใช้สลับตาแหน่งของ shape ลงด้านล่าง

Move Up

ใช้สลับตาแหน่งของ shape ขึ้นด้านบน

9.5 ใส่พื้นหลัง ให้ผังองค์กร พื้นหลัง (background) ช่วยให้ผังองค์กรและแผนภาพอื่นๆ ดูน่าสนใจขึ้น พื้นหลังอาจสร้าง ขึ้นมาใช้เองหรือเลือกจากพื้นหลังที่โปรแกรมเตรียมไว้ให้ได้ ดังตัวอย่างต่อไปนี้ 1. คลิกเลือกที่ Titlebar ของ Stencil “Backgrounds (Metric) (ภาพที่ 9-23) 2. คลิกเลือกแบบพื้นหลังที่ต้องการ > ลากไปวางบน drawing page > ปล่อยเมาส์

ภาพที่ 9-23

ภาพที่ 9-24


81 9.6 เทคนิคเพิ่มเติมจากบทเรียน สามารถกาหนดระยะห่างระหว่าง Shape เส้นเชื่อมโยง (Connector) อย่างง่ายได้โดยใช้ คาสั่ง “Layout and Routing Spacing” ซึ่งมีขั้นตอนดังต่อไปนี้ 1. ที่เมนูบาร์คลิกเลือกรายการ File >Page Setup > จะปรากฏกรอบโต้ตอบ “Page Setup” ขึ้นมา (ภาพที่ 9-25)

ภาพที่ 9-25 2. ที่กรอบโต้ตอบ “Page Setup” คลิกปุ่ม “Spacing” (ภาพที่ 9-26)

ภาพที่ 9-26


82 3. กาหนดคุณสมบัติระยะต่างๆ ตามความต้องการ (ภาพที่ 9-27)

ภาพที่ 9-27


9.7 แบบฝึกหัดท้ายบท ให้วาดผังองค์ดังภาพตัวอย่าง หรือตามอาจารย์ประจากลุ่มกาหนด


บทที่ 10 การวาดผังห้อง ผั ง ห้ อ ง หรื อ Floor plan คื อ เครื่ อ งมื อ หรื อ ต้ น แบบส าหรั บ วาดแผนผั ง ห้ อ ง ซึ่ ง มี ความสามารถที่ห ลากหลาย ทั้ งการวาดแผนผั ง ไม่ว่าจะเป็นการวาดโครงสร้างอาคาร เช่น ผนัง สั ญลั กษณ์ของอุป กรณ์เครื่ องใช้ไฟฟ้า เป็นต้น นอกจากนั้นแผนผั งที่ว าดได้ยังสามารถใช้ร่ว มกับ โปรแกรมทางด้านสถาปัตยกรรมอื่นๆ เช่น AutoCAD ได้ 10.1 การสร้างผังห้อง การสร้างผังห้องมีขั้นตอนดังต่อไปนี้ 10.1.1 เลือกต้นแบบผังห้อง 1. ที่เมนูบาร์คลิกเลือกรายการ File > New > Getting Started

ภาพที่ 10-1 2. จะปรากฏหน้ า จอ “Getting Started” > ที่ หั ว ข้ อ “Template Categories” เลื อ กรายการ “Maps and Floor Plan” > ที่ หั ว ข้ อ “Featured Template” เลื อกรายการ “Floor plan” > เลื อกหน่ว ยวัดเป็นแบบ “Metrix” > คลิ ก ปุ่ ม “Create”


85

ภาพที่ 10-2 3. จะได้หน้าจอดังแสดงในภาพที่ 10-3

ภาพที่ 10-3


86 10.1.2 การกาหนดอัตราส่วน หน่วยวัด (Measurement units) คือ ขนาด (size) หรือระยะทาง (distances) ของ วัตถุ เช่น ขนาดของโต๊ะเก้าอี้ ขนาดห้อง ระยะระหว่างเมือง ระหว่างสถานที่ เป็นต้น โดยทั่วไปแล้ว โปรแกรม Visio จะก าหนดอั ต ราส่ ว นการวาดผั ง ห้ อ งเป็ น 2 cm = 1 m (1:50) หากต้ อ งการ ปรับเปลี่ยนอัตราส่วนใหม่ ให้ทาดังนี้ 1. ที่เมนู บ าร์ คลิ กรายการ File > Page Setup > จะปรากฏกรอบโต้ตอบ “Page Setup” ขึ้นมา 2. ที่กรอบโต้ตอบ “Page Setup” > เลือกแท็บ “Drawing Scale” 3. ก าหนดอั ต ราส่ ว นตามความต้ อ งการที่ หั ว ข้ อ “Pre-defined scale:” (ภาพที่ 10-4)

ภาพที่ 10-4


87 10.1.3 การกาหนดหน่วยวัด 1. ที่ เ มนู บ าร์ ค ลิ ก เลื อ กรายการ File > Page Setup > จะปรากฏกรอบโต้ ต อบ “Page Setup” ขึ้นมา 2. ที่กรอบโต้ตอบ “Page Setup” คลิกเลือกแท็บ “Page Properties” 3. กาหนดหน่วยวัดที่ต้องการในหัวข้อ “Measurement units:” (ภาพที่ 10-5) 4. คลิกปุ่ม “OK”

ภาพที่ 10-5 10.1.4 การวาดพื้นที่ห้อง ห้องเป็นส่วนประกอบแรกที่มักถูกวาดเมื่อมีการสร้างผังห้อง มีขั้นตอนดังต่อไปนี้ 1. คลิกเพื่อเปิด Stencil ชื่อ “Wall, Shell and Structure” 2. ลาก Shape ชื่อ “Room” จาก Stencil ไปวางลงบน Drawing page (ภาพที่ 10-6)


88

ภาพที่ 10-6 3. ปรับขนาดของห้องตามความต้องการด้วยการคลิกที่ “selection handles ” แล้ ว ลากเพื่อปรับขนาด > สั งเกต ในขณะปรับความกว้ างหรื อยาวของห้ อ งที่ “Status bar” จะแสดงค่ า ความกว้ า ง (Width) ความยาว (Height) และแกน (Angle) ของผนังห้อง (ภาพที่ 10-7)

ภาพที่ 10-7 4. การปรับขนาดของวัตถุประกอบผังห้อง เช่ น ผนังห้อง นอกจากใช้วิธี “คลิกแล้ว ลาก” แล้ว ยังสามารถใช้ “Size & Position” ช่วยได้ (ภาพที่ 10-8) โดยเรียกใช้ งาน “Size & Position” ได้ โ ดย ที่ เ มนู บ าร์ ค ลิ ก เลื อ กรายการ View > Size & Position Window


89

ภาพที่ 10-8 10.1.5 การวาดผนังห้อง 1. คลิกและลาก Shape ชื่อ “Wall” จาก Stencil วางลงบน Drawing page (ภาพ ที่ 10-9)

ภาพที่ 10-9 2. ปรั บ ขนาดของ Shape “Wall” ด้ว ยการ “คลิ กแล้ ว ลาก” ปุ่ม “endpoint ( หรือ )”


90

ภาพที่ 10-10 การปรับขนาดของ Shape “Wall”

ภาพที่ 10-11 การปรับแกนของ Shape “Wall” 3. เชื่อมผนังห้อง (Shape “Wall”) เข้ากับห้อง (Shape “Room”) หรือผังห้องอื่นๆ ด้วยการ “คลิกแล้วลาก” “endpoint ( หรือ )” ของผนังห้องที่ต้องการไป เชื่อมกับผนังห้องอื่นๆ (ภาพที่ 10-12)

ภาพที่ 10-12


91 10.1.6 การวาดผนังโค้ง 1. คลิ ก และลาก Shape ชื่ อ “Curved wall” จาก Stencil วางลงบน Drawing page (ภาพที่ 10-13)

ภาพที่ 10-13 2. ปรับขนาดของ Shape “ Curve wall” ด้วยการ “คลิกแล้วลาก” ปุ่ม “endpoint ( หรือ )” และปรับมุมโค้งของกาแพงโดยใช้ “control handles ” (ภาพที่ 10-16)

ภาพที่ 10-14 การปรับขนาดของ Shape “Curve wall”

ภาพที่ 10-15 การปรับแกนของ Shape “Curve wall”


92

ภาพที่ 10-16 3. เชื่อมผนังห้อง (Shape “Curev wall”) เข้ากับห้อง (Shape “Room”) หรือผัง ห้องอื่นๆ ด้วยการ “คลิกแล้วลาก” “endpoint ( หรือ )” หรือ ที่แท่งของ ผนังห้องที่ต้องการไปเชื่อมกับผนังห้องอื่นๆ (ภาพที่ 10-17)

ภาพที่ 10-17 10.1.7 การวาดประตู 1. คลิ ก และลาก Shape ประตู (Door) ตามที่ ต้ อ งการจาก Stencil วางลงบน Drawing page (ภาพที่ 10-18) 2. ปรับตาแหน่งของประตูให้อยู่บนตาแหน่งของผนังห้อง (Room, Wall) ตามความ ต้องการ (ภาพที่ 10-19)

ภาพที่ 10-18


93

ภาพที่ 10-19 3. ปรั บ ความกว้ า งของประตู โ ดยการคลิ ก ที่ “handles ” แล้ ว ปรั บ ตามความ ต้องการ ดังแสดงในภาพที่ 10-20 และภาพที่ 10-21

ภาพที่ 10-20 การปรับความกว้างของประตู

ภาพที่ 10-21 การปรับความกว้างและแกนของประตู


94 10.1.8 การวาดพื้นห้อง 1. คลิ ก และลาก Shape “Space” ตามที่ ต้ อ งการจาก Stencil (Space, “L” Space, “T” Space) วางลงบน Drawing page (ภาพที่ 10-22) 2. ปรับตาแหน่ง และขนาดของพื้นห้อง (Space) ตามความต้องการ (ภาพที่ 10-23)

ภาพที่ 10-22 3. Shape พื้นห้องห้องจะทับ Shape อื่นๆ หากต้องเปลี่ยนตาแหน่งระดับพื้นหลังให้ อยู่ด้านหลัง สามารถทาได้โดย 4. คลิกเมาส์ปุ่มขวาที่ Shape พื้นห้องที่ต้องการ > จะปรากฏเมนูลัดขึ้นมา 5. ที่เมนูลัดเลือกรายการ Shape > Send to Back

ภาพที่ 10-23 6. สังเกตว่าพื้นห้องจะมีคาอธิบาย หากต้องการยกเลิกการแสดงผลคาอธิบายพื้นหลัง ให้ทาดังนี้ 7. คลิกเลือกพื้นห้องคลิกเมาส์ปุ่มขวาจะปรากฏเมนูลัดขึ้นมา 8. ที่เมนูลัดเลือกรายการ “Set Display Options…” (ภาพที่ 10-24) 9. จะปรากฏกรอบโต้อตอบ “Set Display Options…” ขึ้นมา เพื่อให้กาหนดว่าจะ แสดงคาอธิบาย หรือไม่แสดงคาอธิบายอะไรบ้าง (ภาพที่ 10-25)


95

ภาพที่ 10-24

ภาพที่ 10-25


96 10.1.9 การเปลี่ยนลักษณะพื้นห้อง 1. คลิกขวาที่พื้นห้องที่ต้องการปรับเปลี่ยนลักษณะ > จะปรากฏเมนูลัดขึ้นมา 2. ที่เมนูลัดเลือกรายการ Format > Fill 3. จะปรากฏกรอบโต้ ต อบ “Fill” ปรากฏขึ้ น มา (ภาพที่ 10-26) > ปรั บ เปลี่ ย น ลักษณะพื้นห้องตามความต้องการ 4. ผลการปรับเปลี่ยนพื้นห้องดังแสดงในภาพที่ 10-27

ภาพที่ 10-26

ภาพที่ 10-27


97 10.1.10 การวาดหน้าต่าง 1. คลิกและลาก Shape “Window” (ตามลักษณะที่ต้องการ) จาก Stencil (ภาพที่ 10-28) > วางลงบนขอบของกาแพง ในผังห้อง (ภาพที่ 10-29) 2. ปรับขนาด แกน และตาแหน่งตามความต้องการ

ภาพที่ 10-28

ภาพที่ 10-29 10.1.11 การวาดช่องเปิดกาแพง 1. คลิกและลาก Shape “Opening” จาก Stencil (ภาพที่ 10-30) > วางลงบน ขอบของกาแพงที่ต้องการในผังห้อง 2. ปรับขนาด แกน และตาแหน่งตามความต้องการ

ภาพที่ 10-30


98 10.2 วาดองค์ประกอบผังห้อง องค์ประกอบอื่นๆ ของผังห้องนอกจากโครงสร้างหลักแล้ว ยั งมีส่วนประกอบอื่นๆ เช่น โต๊ะ เก้าอี้ เครื่ องใช้ไฟฟ้า อุป กรณ์ส านั กงาน หรืออุปกรณ์ตกแต่ง ส่ ว นหนึ่ง (กรณีว าดโดยใช้ต้นแบบ “Floor plan”) สามารถเลือกได้จาก Stencil เช่น Stencil “Building core” (ภาพที่ 10-31) อย่ างไรก็ดีการวาดผั งห้ องนอกจากใช้ต้นแบบจาก Floor plan แล้ ว ผู้ ใช้งานยังสามารถ เลือกใช้ต้นแบบอื่นๆ ได้ เช่น Home plan, Office layout, Plant layour ฯลฯ (ภาพที่ 10-32)

ภาพที่ 10-31

ภาพที่ 10-32


99 จากตัวอย่างในภาพที่ 10-32 จะเห็นว่าแต่ละต้นแบบในหมวด “Map and Floor Plans” มี ต้นแบบสาหรับวาดผังห้อง (ห้องทั่วๆ ไป หรือห้องสานักงาน) อยู่เป็นจานวนมาก แต่ละต้นแบบจะมี Stencil ซึ่งเก็บสัญลักษณ์แตกต่างกัน แต่เพื่ออานวยความสะดวกในการวาดแผนผัง Visio อนุญาติให้ ผู้ใช้งานเปิดใช้ Stencil ของต้นแบบกับอีกต้นแบบได้ เช่น ในขณะนี้ผู้ใช้งานกาลังวาดผังห้องโดยใช้ ต้นแบบจาก “Floor plan” ซึ่งไม่มีสัญลักษณ์สาหรับวาดต้นไม้ เนื่องจากสัญลักณ์ดังกล่าวจะมีอยู่ใน Stencil “Office accessories” ของต้นแบบ “Home plan” เป็นต้น การเปิดใช้ Stencil ของต้นแบบหนึ่งกับอีกต้นแบบหนึ่งทาได้ดังนี้ 1. ที่เมนูบาร์คลิกเลือกรายการ File > Shape 2. เลือกหมวดต้นแบบที่ต้องการ (ในที่นี้เลือก “Map and Floor Plans”) 3. เลือก “Stencil” ที่ต้องการ (ในที่นี้เลือก “Planting”) 4. วิธีทาดังแสดงในภาพที่ 10-33 และผลดังแสดงในภาพที่ 10-34

ภาพที่ 10-33


100

ภาพที่ 10-34 ตัวอย่าง Stencil “Planting” 10.3 Stencil แนะนา สาหรับการวาดผังห้องไม่ว่าจะด้วยการใช้ต้นแบบใด (ภาพที่ 10-32) ในหัวข้อที่ผ่านมาได้กล่าว ไปแล้วว่าผู้ใช้งานสามารถเปิดใช้งาน Stencil จากต้นแบบหนึ่งกับอีกต้นแบบได้ ในหัวข้อนี้จะได้ แนะนา Stencil สัญลักษณ์ประกอบการวาดผังห้องที่น่าสนใจ ดังรายละเอียด 10.3.1 Bath and Kitchen Plan

ภาพที่ 10-35 ตัวอย่าง Stencil สาหรับวาดสัญลักษณ์ห้องน้า


101 10.3.2 Cabinets

ภาพที่ 10-36 10.3.3 Furniture

ภาพที่ 10-37 10.3.4 Garden Accessories

ภาพที่ 10-38


102 10.3.5 Office Accessories

ภาพที่ 10-39 10.3.6 Office Equipment

ภาพที่ 10-40 10.3.7 Office Furniture

ภาพที่ 10-41


103 10.3.8 Parking and Roads

ภาพที่ 10-42 10.3.9 Shop Floor-Machines and Equipment

ภาพที่ 10-43 10.3.10 Shop Floor-Storage and Distribution

ภาพที่ 10-44


104 10.3.11 Site Accessories

ภาพที่ 10-45 10.3.12 Sport Fields and Recreation

ภาพที่ 10-46 10.3.13 Vehicles

ภาพที่ 10-47


105 10.4 การปิด Stencil Stencil เมื่อเปิดมาใช้งานเป็นมากจนเกินไป (ภาพที่ 10-48) อาจส่งผลต่อความรวดเร็วใน การวาดแผนผังได้ ดังนั้น stencil ใด ที่ไม่ได้ใช้งานควรปิดไว้ก่อนชั่วคราว ขั้นตอนการปิด stencil มี ดังต่อไปนี้ 1. คลิกที่ “Title bar ( ) ของ stencil ที่ต้องการปิด 2. จะปรากฏเมนูลัดขึ้นมา 3. ที่เมนูลัดเลือกรายการ “Close” (ภาพที่ 10-49)

ภาพที่ 10-48


106

ภาพที่ 10-49


107 10.5 แบบฝึกหัดท้ายบท จงวาดภาพผังดังภาพตัวอย่าง หรือตามที่อาจารย์ประจากลุ่มกาหนด


บทที่ 11 การพัฒนาระบบ 11.1 เกี่ยวกับการพัฒนาระบบ เนื่องจากในบทถัดไปจะได้กล่าวถึงกรณีศึกษาการวาดแผนภาพสาหรับงานวิเคราะห์ และ ออกแบบระบบ ดังนั้นจึงจาเป็นต้องกล่าวถึงพื้นฐานโดยทั่วไปของงานวิเคราะห์และออกแบบระบบไว้ ในเบื้องต้นพอเข้าใจ งานวิเคราะห์ระบบ (System Development) สามารถทาได้หลายวิธี นักพัฒนาระบบแต่ละ คนอาจมีวิธีการที่แตกต่างกัน เช่น บางคนใช้วิธี “Traditional approach” บางคนใช้วิธี “Objectoriented approach” แต่สิ่งหนึ่งที่ต้องเหมือนกันคือการสร้างแผนภาพการวิเคราะห์และออกแบบ ระบบ ในเอกสารฉบั บ นี้ ผู้ เขีย นเลื อกใช้วิธี Object-oriented approach ซึ่งมี แผนภาพส าหรับใช้ แ ส ด ง ค ว า ม ต้ อ ง ก า ร ข อ ง ร ะ บ บ อ ยู่ ด้ ว ย กั น ห ล า ย ช นิ ด เ ช่ น input, process, storage, output ,function เป็นต้น


บทที่ 12 กรณีศึกษาเรื่องการวาด แผนภาพกระแสข้อมูล 12.1 แผนภาพกระแสข้อมูล (Data Flow Diagram) แผนภาพกระแสข้อมูล (Data Flow Diagram) หรือ มักเขียนสั้นๆ ว่า “DFD” เป็นเครื่องมือ ที่นักวิเคราะห์และออกแบบระบบใช้แทนหรืออธิบายกระบวนการทางานของระบบที่กาลังศึกษาและ วิเคราะห์ เช่น การรับ-ส่งข้อมูล การประสานงานระหว่างกิจกรรมต่างๆ ฯลฯ ดังนั้ น DFD จึ ง เป็ น เหมือนแบบจาลองของระบบ ที่แสดงถึงการไหลของข้อมู ล ทัง้ ข้อมูล นาเข้า (INPUT) และผลลัพธ์ (OUTPUT) ระหว่างระบบ (System) กับที่มาของข้อมูล (Source) โดย ที่ที่มาของข้อมูล หรือแหล่ง ปลายทางการส่งข้อมูลอาจเป็น ได้ทั้ง แผนก บุคคล หรือระบบอื่น ทั้งนี้ ขึ้นอยู่กับระบบและกระบวนการทางานภายในระบบนั้นๆ นอกจากนั้ น DFD ยั ง สามารถแสดงความต้ อ งการข้ อ มู ล และข้ อ บกพร่ อ ง (ปั ญ หา) ใน ระบบงานเดิม เพื่อใช้ประกอบการออกแบบระบบงานใหม่ 12.2 สัญลักษณ์แผนภาพกระแสข้อมูล สัญลักษณ์สาหรับใช้วาดกระแสข้อมูลมีอยู่ด้วยกันหลายชนิด แต่ ที่เป็นที่แพร่หลายและ นิ ย มมีอยู่ ด้ว ยกัน 2 ชนิ ด ได้แต่ (1) สั ญลั กษณ์ที่พัฒ นาโดย Gane และ Sarson (1997) และ (2) สัญลักษณ์ที่พัฒนาโดย Demarco and Yourdon ดังรายละเอียดในตารางที่ 12-1 และตัวอย่างการ เขียนในภาพที่ 12-1


ตารางที่ 12-1 สัญลักษณ์สาหรับวาดแผนภาพกระแสข้อมูล สัญลักษณ์แบบ ลำดับ ชื่อ Yourdon

สัญลักษณ์แบบ Gane and Sarson

ควำมหมำย

1

Process

แสดงวิธีการรับหรือส่งข้อมูลซึ่งทาให้เกิดผลลัพธ์และกระบวนการหรือขั้นตอน การทางานในระบบ

2

Data Flow

แสดงถึงทิศทางการไหลของข้อมูลจากแหล่งหนึ่งไปยังอีกแหล่งหนึ่ง โดยข้อมูล จะไหลจากปลายลูกศรไปยังหัวลูกศรเท่านั้น

3

External agent

4

Data Store

5

Real-time link

แสดงสิ่งที่อยู่รอบระบบ อาจเป็น คน หน่วยงาน องค์กรภายนอก หรือระบบ สารสนเทศ ที่เกี่ยวข้องกับระบบ แสดง (ชื่อ) แหล่งเก็บข้อมูล แต่จะไม่แสดงรายละเอียดของข้อมูลที่เก็บไว้ 1. ถ้าหัวลูกศรวิ่งเข้าสู่ Data Store แสดงว่า มีการเขียนข้อมูล หรือการ แก้ไขข้อมูลใน Data Store 2. ถ้าหัวลูกศรวิ่งออกจาก Data Store แสดงว่ามีการอ่านข้อมูลจาก Data Store 3. การตั้งชื่อ Data Store ควรเป็นคานาม สัญลักษณ์การไหลข้อมูลแบบเป็นปัจจุบัน ใช้แทนการไหลของกิจกรรมที่มี แลกเปลี่ยนข้อมูลกันแบบเป็นปัจจุบัน (real-time) เช่น ระบบตัดยอดพัสดุคง คลังแบบอัตโนมัติจากจุดขาย


ภาพที่ 12-1 จากตัวอย่างในภาพที่ 12-1 เป็นตัวอย่าง DFD ระบบงานของบริษัท บ้านนอกบ้านนา จากัด ที่แสดงให้เห็นความสัมพันธ์ระหว่าง สภาพแวดล้อมระบบ “Customer (ลูกค้า)” และกระบวนการ ทางานในระบบชื่อ “ตรวจสอบข้อมูลการให้บริการ” ซึ่งมีการไหลของข้อมูล (data flow) ระหว่าง สภาพแวดล้อมและระบบ 2 เส้นทาง คือ 1. เส้นทางที่ 1 ชื่อว่า “คาค้นการให้บริการ” ซึ่งเป็นคาค้น (keyword) ที่ลูกค้าใช้เพื่อค้นหา ข้อมูลการให้บริการของบริษัท บ้านนอกบ้านนา จากัด เช่น คาว่า การออกแบบเว็บไซต์ การทาสื่อ โฆษณา การทาแอนนิเมชั่น 2 มิติ เป็นต้น (ข้อมูลไหลจากสภาพแวดล้อมเข้าสู่ระบบ) 2. เส้นทางที่ 2 ชื่อว่า “รายละเอียดบริการ” ซึ่งเป็นรายละเอียดข้อมูลการให้บริการของ บริษัท บ้านนอกบ้านนา จากัด เช่น ลูกค้าค้นหาบริการชื่อ การทาแอนนิเมชั่น 2 มิติ จะได้รายละเอียด ข้อมูลการบริการดังกล่าว เช่น ค่าบริการ เงื่อนไขการรับงาน และอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง (ข้อมูลไหลจาก ระบบสู่สภาพแวดล้อม) นอกจากนั้นสังเกตว่าใน DFD นี้ (ภาพที่ 12-1) มีสัญลักษณ์แทนแหล่งข้อมูล (data store) อยู่ด้วยกัน 3 รูป คือ Catalog, Product item, Service item ซึ่งมีเส้นทางการไหลของข้อมูลออกมา ยังกระบวนการ “ตรวจสอบข้อมูลการให้บริก าร” นั่นแสดงว่ากระบวนการดังกล่าวมีไว้เพื่อเรียกดู ข้อมูลจากระบบ (ฐานข้อมูล) แต่เพียงอย่างเดียว (ไม่มีการบันทึกข้อมูลลงในฐานข้อมูล)


112 12.3 ลักษณะแผนภาพกระแสข้อมูล DFD มีการแบ่งระดับการเขียนออกเป็น 2 ระดับ คือ (1) Context Diagram และ (2) DFD Fragment ดังรายละเอียดต่อไปนี้ 12.3.1 Context Diagram Context Diagram หรือ แผนภาพกระแสข้อมูลระดับสูงสุด เป็นการเขียน DFD ใน ภาพรวมทั้งหมดของระบบไว้ในแผนภาพเดียว ทาให้ยังไม่มีการใส่รายละเอียดของกิจกรรมใดๆ ลงใน DFD ระดับนี้

ภาพที่ 12-2 ตัวอย่าง Context Diagram ระบบขายสินค้า


113 12.3.2 DFD Fragment เนื่ องจาก Context Diagram จะแสดงเพียงภาพรวมของระบบเท่านั้น ทาให้ ไ ม่ มี รายละเอียดอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับระบบ เช่น กระบวนการทางาน (Process) หรือแหล่งข้อมูลในระบบ ที่กาลังพิจารณา ดังนั้น จึงจาเป็นต้องกระจายรายละเอียดของ Context Diagram ออกเป็นระดับ ย่อยๆ เพื่อแสดงและอธิบายรายละเอียดของระบบให้มากยิ่งขึ้น แต่ละระดับของรายละเอียดใน DFD ที่ถูกกระจายออกไป จะถูกเรียกว่า “Layer” และหากระดับใดมีงานหรือกระบวนการแยกย่อยต่อไปได้อีก จะมีการกาหนด “Layer” ไปเรื่อยๆ จนกว่าจะไม่สามารถแยกย่อยได้อีก ระดับกระบวนการหรือ “Layer” ที่วาดขึ้นมาจะมีการเขียนเลข ระดับกากับไว้ เช่น “Level 1”, “Level 2” เป็นต้น ดังแสดงตัวอย่างในภาพที่ 12-3


114

Context Diagram า

ะ บี

คณะบร าร า

รี

/ ารา

ระบบ

ะ ด

ารา รี

รี

ะ บี

ะ บี

รี ก ก า

ารา รี

Diagram 0 า

ะ บี

ะ ด

รบ

ารา รี คาร

ก ก า ะ บี

ารา รี ก ก า

1 ระบบ ด ารา รี

รา

Diagram 1 รา

2 ระบบ ะ บี

ะ บี

ก ก า

3 ระบบ ด รี

รี

/ ารา

1.1 ก ะ า

1.3 ระบบ ด ารา รี

ะ ด

รี ดการ รี รา

าค

า ี ด

คณะบร าร า

ี ามาร การ ด

1.2 กา ด าค า

ภาพที่ 12-3 ตัวอย่าง DFD ระบบงานรับลงทะเบียนเรียน

รา


115 12.3.3 การกาหนดหมายเลขกระบวนการ แผนภาพการไหลข้ อ มู ล (DFD) จะประกอบไปด้ ว ยระดั บ ของข้ อ มู ล ท าให้ เ กิ ด กระบวนการย่อยๆ มากมาย การกาหนดหมายเลขกระบวนการ (Process) หรือ ระบบย่อยอย่างมี ระเบียบแบบแผนที่แน่นอน จะช่วยป้องกันความสับสนในการเขียนและอ่าน DFD ได้ ดังแสดงตัวอย่าง ในภาพที่ 12-3 12.4 การวาด DFD ตามมาตรฐาน Yourdon 1. ที่เมนูบาร์คลิกเลือกรายการ File > New > Getting Started… 2. จะปรากฏหน้ า จอ “Getting Started” > ที่ หั ว ข้ อ “Template Categories” เลื อ ก รายการ “Business” > ที่ หั ว ข้ อ “Featured Template” เลื อ กรายการ “Data Flow Diagram” > เลือกหน่วยวัดเป็นแบบ “Metrix” > คลิกปุ่ม “Create” (ภาพที่ 12-4) 3. จะได้หน้าจอทางานดังแสดงในภาพที่ 12-5 4. วาด DFD โดยใช้ Shape ตามความต้องการ

ภาพที่ 12-4


116

ภาพที่ 12-5


117 12.5 การวาด DFD ตามมาตรฐาน Gane and Sarson 1. ที่เมนูบาร์คลิกเลือกรายการ File > New > Getting Started… 2. จะปรากฏหน้ า จอ “Getting Started” > ที่ หั ว ข้ อ “Template Categories” เลื อ ก รายการ “Business” > ที่หัวข้อ “Featured Template” เลือกรายการ “Software and Database” “Audit Diagram Shape” > เลือกหน่วยวัดเป็นแบบ “Metrix” > คลิกปุ่ม “Create” (ภาพที่ 12-6) 3. จะได้หน้าจอทางานดังแสดงในภาพที่ 12-9 4. มีลักษณะ “Stencil” ดังแสดงในภาพที่ 12-10 5. วาด DFD โดยใช้ Shape ตามความต้องการ

ภาพที่ 12-6


118

ภาพที่ 12-7 การวาด DFD แบบ Gane and Sarson การวาดแผนภาพ DFD แบบ Gane and Sarson ตามลักษณะในภาพที่ 12-7 นั้น สามารถ เปิด Stencil Audit Diagram Shapes ขึ้นมาใช้งาน เพื่อให้ได้สัญลักษณ์มาตรฐานสาหรับวาด DFD อื่นๆ เพิ่มเติม โดยเรียกได้จาก Business > Business Process >Audit Diagram Shapes (ภาพที่ 12-8)

ภาพที่ 12-8 การเรียกใช้งาน Audit Diagram Shape


119

ภาพที่ 12-9 ตัวอย่าง Shape ใน Audit Diagram Shape

ภาพที่ 12-10 Audit Diagram Shapes 12.6 แบบฝึกหัดท้ายบท ให้ผู้ศึกษาวาดแผนภาพการไหลข้อมูล (DFD) ดังตัวอย่างในภาพที่ 12-2 ภาพที่ 12-3 ตาม มาตรฐานการวาดแบบ “Gane and Sarson”


บทที่ 13 กรณีศึกษาเรื่องการวาดแผนที่ 2 มิติ การวาดแผนที่ 2 มิติ ด้วยโปรแกรม Visio แม้จะไม่สามารถทาได้ละเอียดนัก แต่แผนที่ ที่ได้ จัดว่ามีความสมบูรณ์และใช้สื่อความหมายได้เป็นอย่างดี เนื่องจากโปรแกรมได้เตรี ยมเครื่องที่จาเป็น ต่องานวาดแผนไว้อย่างหลากหลาย สามารถใช้วาดแผนที่ได้ทุกรูปแบบ 13.1 วิธีวาดแผนที่ 2 มิติ 1. ทีเ่ มนูบาร์คลิกเลือกรายการ File > New ( ) > Getting Started… 2. จะปรากฏหน้ า จอ “Getting Started” > ที่ หั ว ข้ อ “Template Categories” เลื อ ก รายการ “Map and Floor Plans” > ที่หัวข้อ “Featured Template” เลือกรายการ “Directional Map” > เลือกหน่วยวัดเป็นแบบ “Metrix” > คลิกปุ่ม “Create” (ภาพ ที่ 13-1) 3. จะได้หน้าจอดังแสดงในภาพที่ 13-2

ภาพที่ 13-1


121

ภาพที่ 13-2 เลือก Shape ที่ต้องการจาก Stencil มาวาดแผนที่ตามความต้องการ รายละเอียดตัวอย่าง Shape ใน Stencil ต่างสาหรับงานวาดแผนที่ 2 มิติดังแสดงในภาพที่ 13-3 ภาพที่ 13-4 และภาพที่ 13-5

ภาพที่ 13-3 Shape สาหรับวาดแผนที่ถนนในเขตเมือง


122

ภาพที่ 13-4 Shape สาหรับสัญลักษณ์สถานที่ประกอบแผนที่ 2 มิติ

ภาพที่ 13-5 Shape สาหรับวาดเส้นทางหรือสัญลักษณ์การขนส่ง


123 13.2 แบบฝึกหัดท้ายบท ให้ผู้ศึกษาวาดแผนที่ 2 มิติเพื่อแสดงเส้นทางการเดินทางและสถานที่สาคัญ ในมหาวิทยาลัย อุบลราชธานี


บทที่ 14 กรณีศึกษาเรื่องการวาดแผนที่ 3 มิติ

การวาดแผนที่ 3 มิติ ด้วยโปรแกรม Visio มีขั้นตอน วิธีการ และความสามารถที่ไม่แตกต่าง ไปจากการวาดแผนที่ 2 มิติ แต่มีข้อแตกต่างอยู่บ้าง โดยเฉพาะแผนที่ 3 มิติ Shape ต่างๆ จะไม่มี จุดเชื่อมต่อ (Connection point) การวาดอาจ การควบคุม Shape ทาได้ยากและใช้เวลามากกว่า แต่แผนที่ที่ได้จะให้มุมมองแบบ “Perspective” ที่ให้ภาพที่สมจริงขึ้น 14.1 วิธีวาดแผนที่ 3 มิติ 1. ทีเ่ มนูบาร์คลิกเลือกรายการ File > New ( ) > Getting Started… 2. จะปรากฏหน้ า จอ “Getting Started” > ที่ หั ว ข้ อ “Template Categories” เลื อ ก รายการ “Map and Floor Plans” > ที่หั ว ข้อ “Featured Template” เลื อกรายการ “Directional Map 3D” > เลื อ กหน่ ว ยวั ด เป็ น แบบ “Metrix” > คลิ ก ปุ่ ม “Create” (ภาพที่ 14-1) 3. จะได้หน้าจอดังแสดงในภาพที่ 14-2 สังเกตว่าการวาดแผนที่ 3 มิติจะมี Shape ให้เลือกใช้ งานเพียง Stencil เดียวเท่านั้น (Direction Map Shape 3D) 4. เลือก Shape ที่ต้องการจาก Stencil มาวาดแผนที่ตามความต้องการ

ภาพที่ 14-1


125

ภาพที่ 14-2 การวาดสัญลักษณ์เพิ่มเติม ให้ผู้ศึกษาอ่านเพิ่มเติมในภาคผนวก


14.2 แบบฝึกหัดท้ายบท ให้ผู้ศึกษาวาดแผนที่ 2 มิติดังภาพตัวอย่าง หรือตามที่อาจารย์ประจากลุ่มเรียนกาหนด


บทที่ 15 กรณีศึกษาเรื่อง การวาดปฏิทิน การสร้างปฏิทินด้วยโปรแกรม Visio สามารถทาได้หลายรูปแบบ เช่น ปฏิทินรายปี ปฏิทิน รายเดือน หรือแม้แต่ปฏิทินรายวัน Visio มีเครื่องมือสาหรับวาดไว้อย่างครบถ้วน ในเอกสารฉบับนี้ขอ ยกตัวอย่างกรณีศึกษาเรื่องการวาดปฏิทินไว้เพียงบางส่วนพอเข้าใจเป็นพื้นฐาน ดังนี้ 15.1 เริ่มต้นวาดปฏิทิน 1. ทีเ่ มนูบาร์คลิกเลือกรายการ File > New ( ) > Getting Started… 2. จะปรากฏหน้ า จอ “Getting Started” > ที่ หั ว ข้ อ “Template Categories” เลื อ ก ร า ย ก า ร “Schedule” > ที่ หั ว ข้ อ “Featured Template” เ ลื อ ก ร า ย ก า ร “Calendar” > เลือกหน่วยวัดเป็นแบบ “Metrix” > คลิกปุ่ม “Create” (ภาพที่ 15-1) 3. จะได้ห น้ าจอดังแสดงในภาพที่ 15-2 สั งเกตว่าการวาดแผนที่ 3 มิติจะมี Shape ให้ เลือกใช้งานเพียง Stencil เดียวเท่านั้น (Calendar Shapes) หากต้องการเปิด Stencil อื่นๆ ที่จาเป็นขึ้นมาใช้งาน ให้อ่านเพิ่มเติมที่ภาพที่ 4-4

ภาพที่ 15-1


128

ภาพที่ 15-2 15.2 การวาดปฏิทิน 1 ปี 1. คลิกเลือก Shape “Year” จาก Stencil > ลากไปวางบน Drawing page (ภาพที่ 15-3)

ภาพที่ 15-3 2. โปรแกรมจะวาดปฏิทินอย่างเบื้องต้น (ภาพที่ 15-4) พร้อมกับปรากฏกรอบโต้ตอบ “Shape Data” ขึ้นมาเพื่อให้กาหนดข้อมูลที่จาเป็นต่อการสร้างปฏิทิน (Error! Reference source not found.)


129

ภาพที่ 15-4

ภาพที่ 15-5 ตารางที่ 15-1 ลาดับ 1 2 3

การกาหนดค่าในกรอบโต้ตอบ “Shape Data” รายการ อธิบาย Year กาหนดปีของปฏิทิน Begin week on กาหนดวันเริ่มต้นทางานในปฏิทิน Language กาหนดภาษาของปฏิทิน


130 3. จะได้ปฏิทินรายปีดังแสดงในภาพที่ 15-6

ภาพที่ 15-6


131 15.3 ตัวอย่างปฏิทินส่วนตัว ตัวอย่างนี้ผู้เขียนขอยกตัวอย่างปฏิทินของผู้ที่ต้องการสร้างปฎิทินแบบรายเดือน พร้อมกับมี ข้อมูลอื่นๆ ประกอบ เพื่อใช้ตรวจสอบข้อมูลวันเวลาและกิจกรรม เช่น 1. ข้อมูลเดือนที่ผ่านมา และเดือนต่อไป 2. กาหนดการต่างๆ (ประชุม วันพักผ่อน ฯลฯ) 15.3.1 วาดปฏิทินรายเดือน คลิกเลือก

ภาพที่ 15-7


132

ภาพที่ 15-8

ภาพที่ 15-9


133

ภาพที่ 15-10 15.3.2 การวาดปฏิทินรายเดือนอย่างย่อ คลิกเลือก Shape “Thumbnail mount” จาก Stencil > ลากไปวางลงบน Drawing page จะปรากฏกรอบโต้ตอบ “Shape Data” ขึ้นมาเพื่อให้กาหนดคุณสมบัติปฏิทิน (รายละเอียดการ กาหนดดังแสดงในตารางที่ 15-1)

ภาพที่ 15-11


134

ภาพที่ 15-12 จะได้ปฏิทินรายเดือนอย่างย่อตามความต้องการ

ภาพที่ 15-13


135

15.4 การวาดกาหนดการ หลังจากวาดปฏิทินเบื้องต้นดังแสดงในภาพที่ 15-3 แล้ว ผู้ใช้งานสามารถกาหนดข้อมูลอื่นๆ ให้กับปฏิทินได้ เช่น กาหนดการ บันทึกเตือนความจา หรือวันหยุด โดยทั่วไปการวาดกาหนดการจะมี 2 แบบ คือแบบเป็นรายวัน และแบบเป็นช่วงเวลา 15.4.1 การวาดกาหนดการแบบรายวัน กาหนดการแบบรายวัน ยกตัวอย่างเช่น วันหยุดพักผ่อน กาหนดการนัดประชุม ฯลฯ ซึ่งมีรายละเอียดการวาดดังต่อไปนี้ 1. คลิ ก เลื อ ก Shape ก าหนดการที่ ต้ อ งการจาก Stencil > ลากไปวางผลบน Drawing page ตรงตาแหน่งในปฏิทินที่ต้องการ (ตัวอย่างในภาพที่ 15-14 เป็น ตัวอย่างการเลือก Shape “Annivers…”)

ภาพที่ 15-14 2. ใส่คาอธิบาย Shape และตกแต่งตามความต้องการ (ภาพที่ 15-15) (วิธีปรับ ตาแหน่งของตัวอักษรใน Shape สามารถอ่านเพิ่มเติมได้ที่หัวข้อ 5.8.4 หน้าที่ 39)


136

ภาพที่ 15-15 15.4.2 การวาดกาหนดการแบบช่วงเวลา ลักษณะกาหนดการแบบช่วงเวลา เช่น ระยะเวลาโครงการต่างๆ ซึ่งมักต้องใช้เวลา ในการดาเนินการหลายวัน (หรือเป็นช่วงเวลา) เช่น โครงการย้ายหอพักอาจต้องใช้เวลา 3 วัน เพื่อ 1) วันที่ 1 เก็บสิ่งของในห้องของหอพักเดิม 2) วันที่ 2 เริ่มขนย้ายสิ่งของ 3) วันที่ 3 จัดสิ่งของในห้องของหอพักใหม่ การวาดกาหนดการแบบช่วงเวลาทาได้ดังนี้ 1. คลิกเลือก Shape “Multi-day event” จาก Stencil > แล้วลากไปวางบน Drawing page ตรงตาแหน่งในปฏิทินที่ต้องการ

ภาพที่ 15-16


137 2. จะปรากฏกรอบโต้ตอบ “Configure” ขึ้นมาเพื่อให้กาหนดข้อมูลโดยทั่วไปของ ระยะเวลาดาเนินการ ดังรายละเอียดในภาพที่ 15-17 ภาพที่ 15-18 และใน ตารางที่ 15-2

ภาพที่ 15-17

ภาพที่ 15-18 ตารางที่ 15-2 รายละเอียดการกาหนดค่าในกรอบโต้ตอบ Configure ลาดับ รายการ อธิบาย 1 Subject หัวเรื่องโครงการที่กาลังดาเนินการ 2 Location สถานที่ดาเนินการ 3 Start date วันเริ่มต้นโครงการ 4 End date วันสิ้นสุดโครงการ


138

ภาพที่ 15-19 ผลลัพธ์การวาดกาหนดการแบบช่วงเวลา 15.5 แบบฝึกหัดท้ายบท ให้ผู้ศึกษาวาดปฏิทินเดือน ธันวาคม 2550 โดยมีข้อกาหนดดังต่อไปนี้ 1) ต้องมีวันหยุดตามปฏิทินครบถ้วนทุกวัน เช่น วันสิ้นปี วันพ่อแห่งชาติ ฯลฯ 2) ต้องมีกาหนดวันหยุ ดพักผ่อนของนักศึกษาเองอย่างน้อย 3 วัน ไปเที่ยวน้าตก ไปทะเล ไปเที่ยวภูเขา ฯลฯ 3) ต้องมีตารางนัดหมายอย่างน้อย 6 ครั้ง เช่น ส่งการบ้าน เข้าพบอาจารย์ที่ปรึกษา ฯลฯ 4) ต้องมีตารางงานอย่างน้อย 4 ครั้ง เช่น ประชุมทางานกลุ่ม ฯลฯ 5) ต้องมีการกาหนดระยะเวลาทาโครงการอย่างน้อย 1 โครงการ โครงการดังกล่าวต้องมี เวลาอย่างน้อย 3 วัน เช่น กาหนดการย้ายหอพัก


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.