หลักสูตรสถานศึกษา พศ 2553 โรงเรียนดุสิตวิทยา

Page 1

หลักสู ตรโรงเรียนดุสิตวิทยา พุทธศักราช ๒๕๕๓

ตามหลักสู ตรแกนกลางการศึกขั้นพืน้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑

สํ านักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษา ราชบุรี เขต ๒


คํานํา หลักสู ตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ เป็ นหลักสู ตรที่คณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐานได้ดาํ เนินการพัฒนาหลังจากการใช้หลักสู ตรการศึกษา พุทธศักราช ๒๕๔๔ และจากข้อมูลของผลการศึกษาวิจยั ติดตามผลการใช้หลักสู ตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๔๔ กับข้อมูลจากแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๐ (พ.ศ.๒๕๕๐ – ๒๕๕๔) เพื่อให้มีความเหมาะสม ชัดเจนยิง่ ขึ้น ทั้งเป้ าหมายของหลักสู ตรในการพัฒนาคุณภาพ ผูเ้ รี ยน และกระบวนการนําหลักสู ตรไปสู่ การปฏิบตั ิ การกําหนดวิสัยทัศน์ จุดหมาย สมรรถนะ สําคัญของผูเ้ รี ยน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ มาตรฐานการเรี ยนรู ้ และตัวชี้วดั ที่ชดั เจน โดย มอบหมายให้เขตพื้นที่และสถานศึกษาที่จดั การศึกษาขั้นพื้นฐาน ใช้หลักสู ตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ เป็ นกรอบและทิศทางในการพัฒนาหลักสู ตรและจัดการเรี ยน การสอน โรงเรี ยนดุสิตวิทยา จึงได้จดั ทําหลักสู ตรสถานศึกษา พุท ธศักราช ๒๕๕๒ นี้ข้ ึน ประกอบด้วย วิสัยทัศน์ เป้ าหมาย สมรรถนะผูเ้ รี ยน โครงสร้างหลักสู ตร หลักสู ตรกลุ่มสาระการ เรี ยนรู ้ท้ งั ๘ กลุ่มสาระ กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้เพิ่มเติม กิจกรรมพัฒนาผูเ้ รี ยน เกณฑ์การวัดและ ประเมินผล เพือ่ ใช้เป็ นแนวทางในการปฏิบตั ิ และจัดการเรี ยนรู้ ขอขอบคุณคณะครู และคณะผูท้ ี่เกี่ยวข้องและมีส่วนร่ วมในการจัดทําทุกฝ่ าย คณะกรรมการ สถานศึกษา นักเรี ยน และผูป้ กครองนักเรี ยน ที่ทาํ ให้การจัดทําหลักสู ตรสถานศึกษาของ โรงเรี ยน ดุสิตวิทยา สําเร็ จลุล่วงได้ดว้ ยดี

คณะผูจ้ ดั ทํา

หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรี ยนดุสิตวิทยา พุทธศักราช ๒๕๕๓

หน้า ๑


ความเป็ นมา ตามที่คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น พื้นฐาน ได้ดาํ เนินการทบทวนหลักสู ตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๔๔ เพือ่ นําไปสู่ หลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ เพื่อให้สถานศึกษาทุกสังกัดที่จดั การศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้นาํ ไปเป็ นกรอบและทิศทางในการพัฒนาหลักสู ตร และจัดการเรี ยนการ สอนเพื่อพัฒนาเด็กและเยาวชนไทยทุกคนในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ให้มีคุณภาพด้านความรู ้ และทักษะที่จาํ เป็ นสําหรับใช้เป็ นเครื่ องมือในการดํารงชีวติ ในสังคมที่มีการเปลี่ยนแปลง และ แสวงหาความรู ้เพื่อพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่องตลอดชีวติ นั้น ท างโรงเรี ยนดุสิตวิทยาได้แต่งตั้ง คณะกรรมการบริ หารหลักสู ตร และคณะกรรมการดําเนินการจัดทําหลักสู ตรสถานศึกษาขั้น พื้นฐานของโรงเรี ยนขึ้น และได้จดั ทําหลักสู ตรสถานศึกษาของโรงเรี ยน ตามกรอบของหลักสู ตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ และได้บูรณาการหลักสู ตรท้องถิ่น ตามกรอบ หลักสู ตรท้องถิ่น ที่กาํ หนดโดย สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ราชบุรี เขต ๒ รวมทั้งเพิ่มรายวิชาและ กิจกรรมที่เป็ นจุดเน้นของโรงเรี ยน จั ดทําเป็ นหลักสู ตรสถานศึกษาฉบับนี้ข้ ึน เพือ่ ใช้เป็ นเครื่ องมือ ในการจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอนให้แก่นกั เรี ยน โดย ทางโรงเรี ยนพร้อมที่จะดําเนินการกํากับ ติดตาม อย่างต่อเนื่องเพื่อให้คุณภาพของผูเ้ รี ยนในด้านความรู ้ ทักษะความสามารถ และ คุณลักษณะอันพึงประสงค์เป็ นไปตามที่หลักสู ตรแกนกลางกําหนด

ลงชื่อ (นายธีรภัทร กุโลภาส) ผูอ้ าํ นวยการโรงเรี ยนดุสิตวิทยา

หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรี ยนดุสิตวิทยา พุทธศักราช ๒๕๕๓

หน้า ๒


คําอนุมัติ ข้าพเจ้า ประธาน คณะกรรมการอํานวยการโรงเรี ยน โรงเรี ยนดุสิตวิทยา ได้ร่วมกับ คณะกรรมการอํานวยการโรงเรี ยน พิจารณาหลักสู ตรสถานศึกษาฉบับนี้ เห็นว่าเป็ นหลักสู ตรที่มี ความเหมาะสมสนองตอบตามที่หลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานกําหนด และมีความ สอดคล้องกับความต้องการของชุมชน และ ท้องถิ่น จึงเห็นสมควรให้ใช้เป็ นหลักสู ตร โรงเรี ยน ดุสิตวิทยา สําหรับใช้จดั การเรี ยนการสอน ตามที่พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติกาํ หนด

ลงชื่อ (นายธีรภัทร กุโลภาส) ประธานคณะกรรมการการจัดทําหลักสู ตรสถานศึกษา

หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรี ยนดุสิตวิทยา พุทธศักราช ๒๕๕๓

หน้า ๓


การบริหารหลักสู ตรสถานศึกษาโรงเรียนดุสิตวิทยา พุทธศักราช ๒๕๕๓ วิสัยทัศ น์ หลักการ จุดหมาย สมรรถนะของผู้เรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้

(มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วดั )

คุณลักษณะอันพึงประสงค์ โครงสร้ างเวลา

วิชาเรียน (พืน้ ฐาน/เพิ่มเติม)

กิจกรรมพัฒนาผ้เรียน

การออกแบบการจัดการเรียนรู้ - หน่ วยการเรียนรู้ - แผนการจัดการเรียนรู้ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้

กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน

การวางแผนการจัดกิจกรรม การวัดและประเมินผล คุณภาพผู้เรียน

หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรี ยนดุสิตวิทยา พุทธศักราช ๒๕๕๓

การปฏิบัติ มาตรฐาน การศึกษา ขั้นพืน้ ฐาน

หน้า ๔


หลักสู ตรโรงเรียนดุสิตวิทยา พุทธศักราช ๒๕๕๓

สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ราชบุรี เขต ๒

ส่ วนนํา หลักการและเหตุผล ตามที่กระทรวงศึกษาได้ประกาศใช้หลักสู ตรการศึกษาแกนกลางขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ให้โรงเรี ยนสามัญทุกโรงเรี ยนได้นาํ หลักสู ตรดังกล่าวมาพัฒนาเป็ นหลักสู ตรสถานศึกษา และนํามาใช้อย่างเป็ นทางการตั้งแต่ปีการศึกษา ๒๕๕๓ เป็ นต้น โรงเรี ยนดุสิตวิทยา ได้เล็งเห็นถึง ความสําคัญของการใช้โอกาสนี้ ในการปรับปรุ งพัฒนาหลักสู ตรของโรงเรี ยนให้ดีข้ ึน ให้สอดคล้อง กับบริ บทของโรงเรี ยน ชุม ชน และสังคมที่เปลี่ยนแปลงไป โดยคํานึงถึงความต้องการของผูเ้ รี ยน ผูป้ กครอง และชุมชน รวมทั้งจุดเด่นในด้านต่างๆของโรงเรี ยน โรงเรี ยนได้จดั ให้ครู และบุคลากรที่เกี่ยวข้อง ศึกษาข้อมูลที่จาํ เป็ นและความรู ้ที่เกี่ยวข้อง ผ่านการอบรมให้ความรู ้ การจัดสัมมนาเชิงปฏิบตั ิการ และการค้นหาความรู้ดว้ ยตนเอง โดย นําข้อมูลที่ได้จากการหลักสู ตรแกนกลางขั้นพื้นฐานของกระทรวงศึกษาธิ การ กรอบหลักสู ตร ท้องถิ่นสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ราชบุรี เขต ๒ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๐ (พ.ศ. ๒๕๕๐-๒๕๔๔) จนถึง เอกสารงานวิจยั ที่เกี่ ยวข้องต่างๆ มาใช้ในการพัฒนาหลักสู ตร สถานศึกษาของโรงเรี ยน มีการนําผลการวิเคราะห์การใช้หลักสู ตรสถานศึกษาของโรงเรี ยน ที่ได้ จากการประเมินตนเอง การประเมินคุณภาพการจัดการศึกษาภายนอก และการสํารวจความพึงพอใจ ของผูป้ กครอง โดยพบว่าในกระบวนการการใช้หลักสู ตรของโรงเรี ยน ตั้ งแต่ การวางแผนการจัด กิจกรรมการเรี ยนรู ้ การจัดการกิจกรรมการเรี ยนรู้ ของครู ผสู ้ อน การใช้ส่ื อการเรี ยนรู้ และเทคโนโลยี การวัดและประเมินผล การรายงานผลการเรี ยนรู ้ อยูใ่ นระดับ คุณภาพดีมาก อย่างไรก็ดี ส่ วนที่ โรงเรี ยนยังต้องพัฒนาให้ดียง่ิ ขึ้นต่อไป ได้แก่ การใช้สถานศึ กษาเป็ นฐานในการส่ งเสริ มการมีส่วน ร่ วมของชุมชนในการจัดการศึกษา และการให้บริ การทางวิชาการในด้านต่างๆกับชุมชน การนํา เทคโนโลยีที่เป็ นประโยชน์มาใช้ในการเพิ่มประสิ ทธิ ภาพในการส่ งเสริ มการเรี ยนรู ้ของนักเรี ยน นอกจากนี้ ในด้านแหล่งเรี ยนรู ้ภายในของโรงเรี ยน ถือเป็ นอีกด้า นที่โรงเรี ยนควรพัฒนาให้ดียงิ่ ขึ้น เพือ่ ให้กระบวนการจัดทําหลักสู ตรเป็ นไปอย่างเป็ นระบบและเน้นการมีส่วนร่ วม โรงเรี ยน ได้แต่งตั้งคณะกรรมการการจัดทําหลักสู ตรสถานศึกษาขึ้น ซึ่ งประกอบด้วยฝ่ ายบริ หาร ครู ฝ่าย วิชาการ และคณะครู จากกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ท้งั ๘ กลุ่มสาระ รวม ทั้งกิจกรรมพัฒนาผูเ้ รี ยน โดยมี หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรี ยนดุสิตวิทยา พุทธศักราช ๒๕๕๓

หน้า ๕


หน้าที่รับผิดชอบในการวิเคราะห์โครงสร้างหลักสู ตร เนื้อหาตามหลักสู ตรแกนกลาง และหน่วยการ เรี ยนรู้ยอ่ ย กรอบหลักสู ตรท้องถิ่น จุดเน้นของโรงเรี ยน โดยเน้นให้มีการบูรณาการระหว่าง กลุ่ม สาระการเรี ยนรู ้ และคํานึงถึงธรรมชาติและความต้องการของผู ้ เรี ยนเป็ นสําคัญ จัดทําเป็ นหลักสู ตร สถานศึกษาของโรงเรี ยนดุสิตวิทยา พุทธศักราช ๒๕๕๓ ที่สอดคล้องกับหลักสู ตรการศึกษา แกนกลางขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ตอบสนองความต้องการของนักเรี ยน ชุมชน และ เหมาะสมกับบริ บทและจุดเน้นของโรงเรี ยนได้เป็ นอย่างดี

หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรี ยนดุสิตวิทยา พุทธศักราช ๒๕๕๓

หน้า ๖


ส่ วนที่ ๑ วิสัยทัศน์ วิสัยทัศน์ หลักสู ตรสถานศึกษา มุง่ พัฒนานักเรี ยนทุกคน ให้เป็ นมนุษย์ ที่มีความสมดุลทั้งด้านร่ างกาย และจิตใจ เป็ นผูท้ ี่ประพฤติตนตามหลักคุณธรรมจริ ยธรรมอันดีงามมีความรู ้และทักษะพื้นฐานที่จาํ เป็ น สําหรับการใช้ชีวติ ในสังคมอย่างมีความสุ ขและการศึกษาระดับสู งในอนาคต มีความตระหนักถึง ความสําคัญของชุมชนและการรักษาสิ่ งแวดล้อม มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีอย่างเหมาะสม ดําเนินชีวติ ภายใต้พ้ืนฐานหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ภูมิใจในความเป็ นไทย และ ยึดมัน่ ในการ ปกครองตามระบอบประชาธิ ปไตยอันมีพระมหากษัตริ ยเป็์ นประมุข

หลักการ หลักสู ตรสถานศึกษา มีหลักการที่สาํ คัญที่สอดคล้องกับหลักสู ตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพื้นฐาน ดังนี้ ๑. เป็ นหลักสู ตรการศึกษาเพื่อความเป็ นเอกภาพของชาติ มี จุดหมายและมาตรฐานการ เรี ยนรู ้ เป็ นเป้ าหมายสําหรับพัฒนาเด็กและเยาวชนให้มีความรู ้ ทักษะ เจตคติ และคุณธรรมบน พื้นฐานของความเป็ นไทยควบคู่กบั ความเป็ นสากล ๒. เป็ นหลักสู ตรการศึกษาเพื่อปวงชน ที่ประชาชนทุกคนมีโอกาสได้รับการศึกษาอย่างเสมอ ภาค และมีคุณภาพ ๓. เป็ นหลักสู ตรการศึกษาที่สนองการกระจายอํานาจ ให้สังคมมีส่วนร่ วมในการจัด การศึกษาให้สอดคล้องกับสภาพและความต้องการของท้องถิ่น ๔. เป็ นหลักสู ตรการศึกษาที่มีโครงสร้างยืดหยุน่ ทั้งด้านสาระการเรี ยนรู้ เวลาและการจัด การเรี ยนรู้ ๕. เป็ นหลักสู ตรการศึกษาที่เน้นผูเ้ รี ยนเป็ นสําคัญ ๖. เป็ นหลักสู ตรการศึกษาสําหรับการศึกษาในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย ครอบคลุมทุกกลุ่มเป้ าหมาย สามารถเทียบโอนผลการเรี ยนรู ้ และประสบการณ์

หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรี ยนดุสิตวิทยา พุทธศักราช ๒๕๕๓

หน้า ๗


จุดมุ่งหมาย หลักสู ตรสถานศึกษา มุง่ พัฒนานักเรี ยนให้เป็ นคนดี มีปัญญา มีความสุ ข มีศกั ยภาพในการศึกษาต่อ และประกอบอาชีพ จึงกําหนดเป็ นจุดหมายเพื่อให้เกิดกับ นักเรี ยน เมื่อจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน ดังนี้ ๑. มีคุณธรรม จริ ยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์ เห็นคุณค่าของตนเอง มีวนิ ยั และ ปฏิบตั ิตนตามหลักธรรมของพระพุทธศาสนา หรื อศาสนาที่ตนนับถือ ยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง ๒. มีความรู ้ ความสามารถใ นการสื่ อสาร การคิด การแก้ปัญหา การใช้เทคโนโลยี และมีทกั ษะชีวติ ๓. มีสุขภาพกายและสุ ขภาพจิตที่ดี มีสุขนิสัย และรักการออกกําลังกาย ๔. มีความรักชาติ มีจิตสํานึ กในความเป็ นพลเมืองไทยและพลโลก ยึดมัน่ ในวิถี ชีวติ และ การปกครองตามระบอบประชาธิ ปไตยอันมีพระมหากษัตริ ยท์ รงเป็ นประมุข ๕. มีจิตสํานึกในการอนุรักษ์วฒั นธรรมและภูมิปัญญาไทย การอนุรักษ์และพัฒนา สิ่ งแวดล้อม มีจิตสาธารณะที่มุ่งทําประโยชน์และสร้างสิ่ งที่ดีงามในสังคม และอยูร่ ่ วมกันในสังคม อย่างมีความสุ ข

หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรี ยนดุสิตวิทยา พุทธศักราช ๒๕๕๓

หน้า ๘


สมรรถนะสํ าคัญของผู้เรียน และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ในการพัฒนานักเรี ยนตามหลักสู ตรสถานศึกษา มุง่ เน้นพัฒนานักเรี ยนให้มีคุณภาพตาม มาตรฐานที่กาํ หนด ซึ่งจะช่วยให้นกั เรี ยนเกิดสมรรถนะสําคัญและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ดังนี้

สมรรถนะสํ าคัญของนักเรียน หลักสู ตรสถานศึกษา มุ่งให้นกั เรี ยนเกิดสมรรถนะสําคัญ ๕ ประการ ดังนี้ ๑. ความสามารถในการสื่ อสาร เป็ นความสามารถในการรับและส่ งสาร มีว ั ฒนธรรมใน การใช้ภาษาถ่ายทอดความคิด ความรู ้ความเข้าใจ ความรู ้สึก และทัศนะของตนเองเพื่อแลกเปลี่ยน ข้อมูลข่าวสารและประสบการณ์อนั จะเป็ นประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองและสังคม รวมทั้งการ เจรจาต่อรองเพื่อขจัดและลดปั ญหาความขัดแย้งต่าง ๆ การเลือกรับหรื อไม่รับข้อมูลข่าวสารด้ วย หลักเหตุผลและความถูกต้อง ตลอดจนการเลือกใช้วธิ ี การสื่ อสาร ที่มีประสิ ทธิ ภาพโดยคํานึงถึง ผลกระทบที่มีต่อตนเองและสังคม ๒. ความสามารถในการคิด เป็ นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิด อย่างสร้างสรรค์ การคิดอย่างมีวจิ ารณญาณ และการคิดเป็ นระบบ เพื่ อนําไปสู่ การสร้างองค์ความรู ้ หรื อสารสนเทศเพื่อการตัดสิ นใจเกี่ยวกับตนเองและสังคมได้อย่างเหมาะสม ๓. ความสามารถในการแก้ ปัญหา เป็ นความสามารถในการแก้ปัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ ที่เผชิญได้อย่างถูกต้องเหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและข้อมูลสารสนเทศ เ ข้าใจ ความสัมพันธ์และการเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์ต่าง ๆ ในสังคม แสวงหาความรู ้ ประยุกต์ความรู ้ มาใช้ในการป้ องกันและแก้ไขปั ญหา และมีการตัดสิ นใจที่มีประสิ ทธิภาพโดยคํานึงถึงผลกระทบที่ เกิดขึ้น ต่อตนเอง สังคมและสิ่ งแวดล้อม ๔. ความสามารถในการใช้ ทกั ษะชี วติ เป็ นความสามารถในการนํากระบวนการต่าง ๆ ไปใช้ ในการดําเนินชีวติ ประจําวัน การเรี ยนรู ้ดว้ ยตนเอง การเรี ยนรู ้อย่างต่อเนื่อง การทํางาน และการอยู่ ร่ วมกันในสังคมด้วยการสร้างเสริ มความสัมพันธ์อนั ดีระหว่างบุคคล การจัดการปั ญหาและความ ขัดแย้งต่าง ๆ อย่างเหมาะสม การปรับตัวให้ทนั กับการ เปลี่ยนแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อม และการรู้จกั หลีกเลี่ยงพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ที่ส่งผลกระทบต่อตนเองและผูอ้ ื่น ๕. ความสามารถในการใช้ เทคโนโลยี เป็ นความสามารถในการเลือก และใช้ เทคโนโลยีดา้ น ต่าง ๆ และมีทกั ษะกระบวนการทางเทคโนโลยีเพื่อการพัฒนาตนเองและสังคม ในด้านการเรี ยนรู ้ การ สื่ อสาร การทํางาน การแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ ถูกต้อง เหมาะสม และมีคุณธรรม

หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรี ยนดุสิตวิทยา พุทธศักราช ๒๕๕๓

หน้า ๙


คุณลักษณะอันพึงประสงค์ หลักสู ตรสถานศึกษา โรงเรี ยนดุสิตวิทยา มุ่งพัฒนานักเรี ยนให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ เพื่อให้สามารถอยูร่ ่ วมกับผูอ้ ื่นในสังคมได้อย่างมีความสุ ข ในฐานะเป็ นพลเมืองไทยและพลโลก ดังนี้ ๑. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ หมายถึง คุณลักษณะที่แสดงออกถึงการเป็ นพลเมืองดีของชาติ ธํารงไว้ซ่ ึ งความเป็ นชาติไทย ศรัทธา ยึดมัน่ ในศาสนา และเคารพเทิดทูนสถาบัน พระมหากษัตริ ย ์ ๒. ซื่อสั ตย์ สุจริต หมายถึง คุณลักษณะที่แสดงออกถึง การยึดมัน่ ในความถูกต้องประพฤติ ตรงตามความเป็ นจริ งต่อตนเองและผูอ้ ื่นทั้งทางกาย วาจา ใจ ๓. มีวนิ ัย หมายถึง คุณลักษณะที่แสดงออกถึงการยึดมัน่ ในข้อตกลง กฎเกณฑ์ และ ระเบียบข้อบังคับของครอบครัว โรงเรี ยน และสังคม ๔. ใฝ่ เรียนรู้ หมายถึง คุณลักษณะที่แสดงออกถึงความตั้ งใจ เพียรพยายามในการเรี ยน แสวงหาความรู ้จากแหล่งเรี ยนรู้ท้งั ภายในและภายนอกโรงเรี ยน ๕. อยู่อย่ างพอเพียง หมายถึง คุณลักษณะที่แสดงออกถึงการดําเนินชีวติ อย่างพอประมาณ มี เหตุผล รอบคอบ มีคุณธรรม มีภูมิคุม้ กันในตัวที่ดี และปรับตัวเพื่ออยูใ่ นสังคมได้อย่างมี ความสุ ข ๖. มุ่งมัน่ ในการทํางาน หมายถึง คุณลักษณะที่แสดงออกถึงความตั้งใจและรับผิดชอบใน การทําหน้าที่การงาน ด้วยความเพียรพยายาม อดทน เพื่อให้งานสําเร็ จตามเป้ าหมาย ๗. รักความเป็ นไทย หมายถึง คุณลักษณะที่แสดงออกถึงความภาคภูมิใจ เห็นคุณค่า ร่ วมอนุรักษ์ สื บทอดภูมิปัญญาไทย ขนบธรรมเนียมประเพณี ศิลปะและวัฒนธรรม ใช้ ภาษาไทยในการสื่ อสารได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม ๘. มีจิตสาธารณะ หมายถึง คุณลักษณะที่แสดงออกถึงการมีส่วนร่ วมในกิจกรรมหรื อ สถานการณ์ที่ก่อให้เกิดประโยชน์แก่ผอู ้ ื่น ชุมชน และสังคม ด้วยความเต็ มใจ กระตือรื อร้น โดยไม่หวังผลตอบแทน

หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรี ยนดุสิตวิทยา พุทธศักราช ๒๕๕๓

หน้า ๑๐


มาตรฐานการเรียนรู้ การพัฒนานักเรี ยนให้เกิดความสมดุล ต้องคํานึงถึงหลักพัฒนาการทางสมองและ พหุปัญญา หลักสู ตรสถานศึกษา จึงกําหนดให้นกั เรี ยนเรี ยนรู ้ ๘ กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ ดังนี้ ๑. ภาษาไทย ๒. คณิ ตศาสตร์ ๓. วิทยาศาสตร์ ๔. สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ๕. สุ ขศึกษาและพลศึกษา ๖. ศิลปะ ๗. การงานอาชีพและเทคโนโลยี ๘. ภาษาต่างประเทศ ในแต่ละกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ได้กาํ หนดมาตรฐานการเรี ยนรู ้เป็ นเป้ าหมายสําคัญของการ พัฒนาคุณภาพผูเ้ รี ยน มาตร ฐานการเรี ยนรู ้ระบุส่ิ งที่นกั เรี ยนพึงรู้ ปฏิบตั ิได้ มีคุณธรรมจริ ยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์เมื่อจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน นอกจากนั้นมาตรฐานการเรี ยนรู ้ยงั เป็ นกลไก สําคัญในการขับเคลื่อนพัฒนาการศึกษาทั้งระบบ เพราะมาตรฐานการเรี ยนรู ้จะสะท้อนให้ทราบว่า ต้องการอะไร จ ะสอนอย่างไร และประเมินอย่างไร รวมทั้งเป็ นเครื่ องมือในการตรวจสอบเพื่อการ ประกันคุณภาพการศึกษาโดยใช้ระบบการประเมินคุณภาพภายในและการประเมินคุณภาพภายนอก ซึ่ งรวมถึงการทดสอบระดับเขตพื้นที่การศึกษา และการทดสอบระดับชาติ ระบบการตรวจสอบเพื่อ ประกันคุณภาพดังกล่าวเป็ นสิ่ งสําคัญที่ช่วยสะท้อนภาพการจัดการศึกษาว่าสามารถพัฒนานักเรี ยน ให้มีคุณภาพตามที่มาตรฐานการเรี ยนรู ้กาํ หนดเพียงใด อีกทั้งการเรี ยนรู ้ตามกรอบหลักสู ตรท้องถิ่นที่สาํ นักงานเขตพื้นที่การศึกษาราชบุรี เขต ๒ ได้กาํ หนด โดยบูรณาการในเนื้อหา สาระแต่ละกลุ่มสาระการเรี ยนรู้ และสา มารถเรี ยนในรหัสวิชา เพิม่ เติมที่โรงเรี ยนกําหนดเป็ นจุดเน้นสําคัญ ได้แก่ ด้านศาสนา วัฒนธรรม จารี ตประเพณี ด้าน เศรษฐกิจ สังคม ประวัติศาสตร์ ทอ้ งถิ่น

หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรี ยนดุสิตวิทยา พุทธศักราช ๒๕๕๓

หน้า ๑๑


ตัวชี้วดั ตัวชี้วดั ระบุส่ิ งที่นกั เรี ยนพึงรู ้และปฏิบตั ิได้ รวมทั้งคุณลักษณะของ นักเรี ยนในแต่ละ ระดับชั้น ซึ่ งสะท้อนถึงมาตรฐานการเรี ยนรู้ มีความเฉพาะเจาะจงและมีความเป็ นรู ปธรรม นําไปใช้ ในการกําหนดเนื้อหา จัดทําหน่วยการเรี ยนรู้ จัดการเรี ยนการสอน และเป็ นเกณฑ์สาํ คัญสําหรับการวัด ประเมินผลเพื่อตรวจสอบคุณภาพนักเรี ยน ตัวชี้วดั ชั้ นปี เป็ นเป้ าหมายในการพัฒนานักเรี ยนแต่ละชั้นปี ในระดับการศึกษาภาคบังคับ (ประถมศึกษาปี ที่ ๑ – มัธยมศึกษาปี ที่ ๓) หลักสู ตรได้มีการกําหนดรหัสกํากับมาตรฐานการเรี ยนรู ้และตัวชี้วดั เพื่อความเข้าใจและ ให้สื่อสารตรงกัน ดังนี้

ว ๑.๑ ป. ๑/๒ ป.๑/๒ ๑.๑ ว

ตัวชี้วดั ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๑ ข้อที่ ๒ สาระที่ ๑ มาตรฐานข้อที่ ๑ กลุ่มสาระการเรี ยนรู้วทิ ยาศาสตร์

หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรี ยนดุสิตวิทยา พุทธศักราช ๒๕๕๓

หน้า ๑๒


ส่ วนที่ ๒ โครงสร้ างหลักสู ตรสถานศึกษา สาระการเรียนรู้ สาระการเรี ยนรู ้ ประกอบด้วย องค์ความรู ้ ทักษะหรื อกระบวนการเรี ยนรู้ และ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ซึ่งกําหนดให้ผเู้ รี ยนทุกคนในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานจําเป็ นต้อง เรี ยนรู้ โดยแบ่งเป็ น ๘ กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ ดังนี้

ภาษาไทย : ความรู้ ทักษะ และวัฒนธรรมการใช้ ภาษา เพื่อ การสือ่ สาร ความชื่นชม การเห็นคุณค่าภูมปิ ั ญญา ไทย และ ภูมิใจในภาษาประจําชาติ

ภาษาต่ างประเทศ : ความรู้ ทักษะ เจตคติ และวัฒนธรรม การใช้ ภาษาต่างประเทศในการ สื่อสาร การแสวงหาความรู้ และการประกอบอาชีพ

การงานอาชีพและเทคโนโลยี : ความรู้ ทักษะ และเจตคติ ในการทํางาน การจัดการ การดํารงชีวติ การประกอบอาชีพ และการใช้ เทคโนโลยี

คณิตศาสตร์ : การนําความรู้ ทักษะและกระบวนการทาง คณิตศาสตร์ไปใช้ ใน การแก้ ปัญหา การดําเนินชีวติ และศึกษาต่อ การมีเหตุมผี ล มีเจตคติที่ดีตอ่ คณิตศาสตร์ พัฒนาการคิดอย่างเป็ นระบบ และสร้ างสรรค์ องค์ ความรู้ ทักษะสําคัญ และคุณลักษณะ ในหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขัน้ พืน้ ฐาน

ศิลปะ : ความรู้และทักษะใน การคิดริ เริ่ ม จินตนาการ สร้ างสรรค์งานศิลปะ สุนทรี ยภาพและการเห็น คุณค่าทางศิลปะ

วิทยาศาสตร์ : การนําความรู้ และกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ไปใช้ ในการศึกษา ค้ นคว้ าหาความรู้ และแก้ ปัญหาอย่างเป็ นระบบ การคิด อย่างเป็ นเหตุเป็ นผล คิดวิเคราะห์ คิดสร้ างสรรค์ และจิตวิทยาศาสตร์

สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม: การอยูร่ ่วมกันในสังคมไทยและสังคมโลก อย่างสันติส ุข การเป็ นพลเมืองดี ศรัทธาในหลักธรรมของศาสนา การเห็นคุณค่าของทรัพยากรและ สิง่ แวดล้ อม ความรักชาติ และภูมิใจใน ความเป็ นไทย สุขศึกษาและพลศึกษา : ความรู้ ทักษะและเจตคติในการสร้ างเสริ ม สุขภาพพลานามัยของตนเองและ ผู้อื่น การป้องกันและปฏิบตั ิตอ่ สิง่ ต่าง ๆ ที่มีผลต่อสุขภาพอย่าง ถูกวิธีและทักษะในการดําเนินชีวิต


ความสั มพันธ์ ของการพัฒนาคุณภาพนักเรียนตามหลักสู ตรสถานศึกษา โรงเรียนดุสิตวิทยา วิสัยทัศน์ หลักสูตรสถานศึกษา มุ่งพัฒนานักเรี ยนทุกคน ให้เป็ นมนุษย์ท่ีมีความสมดุลทั้งด้านร่ างกายและจิตใจ เป็ นผูท้ ่ี ประพฤติตนตามหลักคุณธรรมจริ ยธรรมอันดีงาม มีความรู ้และทักษะพื้นฐานที่จาํ เป็ นสําหรับการใช้ชีวติ ในสังคมอย่างมี ความสุขและการศึกษาระดับสูงในอนาคต มีความตระหนั กถึงความสําคัญของชุมชนและการรักษาสิ่ งแวดล้อม มี ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีอย่างเหมาะสม ดําเนินชีวติ ภายใต้พ้นื ฐานหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ภูมิใจในควา เป็ นไทย และยึดมัน่ ในการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริ ยเ์ ป็ นประมุข

จุดหมาย ๑. มีคุณธรรม จริ ยธรรม และค่านิยมที่พงึ ประสงค์ เห็นคุณค่าของตนเอง มีวนิ ยั และปฏิบตั ิตนตาม หลักธรรมของพระพุทธศาสนา หรื อศาสนาที่ตนนับถือ ยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๒. มีความรู ้อนั เป็ นสากลและมีความสามารถในการสื่ อสาร การคิด การแก้ปัญหา การใช้เทคโนโลยีและมี ทักษะชีวติ ๓. มีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี มีสุขนิสยั และรักการออกกําลังกาย ๔. มีความรักชาติ มีจิตสํานึกในความเป็ นพลเมืองไทยและพลโลก ยึดมัน่ ในวิถีชีวติ และการปกครองใน ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริ ยท์ รงเป็ นประมุข ๕. มีจิตสํานึกในการอนุรักษ์วฒั นธรรมและภูมิปัญญาไทย การอนุรักษ์และพัฒนาสิ่ งแวดล้อม มีจิตสาธารณะที่ม่งุ ทําประโยชน์และสร้างสิ่ งที่ดีงามในสังคม และอยูร่ ่ วมกันในสังคมอย่างมีความสุข

๑. ๒. ๓. ๔. ๕.

สมรรถนะสําคัญของผู้เรียน ความสามารถในการสื่ อสาร ความสามารถในการคิด ความสามารถในการแก้ปัญหา ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวติ ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

๑. ๒. ๓. ๔. ๕. ๖. ๗. ๘.

มาตรฐานการเรียนรู้ และตัวชี้วดั ๘ กลุ่มสาระการเรียนรู้

คุณลักษณะอันพึงประสงค์

รักชาติ ศาสน์ กษัตริ ย ์ ซื่อสัตย์สุจริ ต มีวนิ ยั ใฝ่ เรี ยนรู ้ อยูอ่ ย่างพอเพียง มุ่งมัน่ ในการทํางาน รักความเป็ นไทย มีจิตสาธารณะ

๑. ภาษาไทย ๒. คณิ ตศาสตร์ ๓. วิทยาศาสตร์ ๔. สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ๕. สุขศึกษาและพลศึกษา ๖. ศิลปะ ๗. การงานอาชีพและเทคโนโลยี ๘. ภาษาต่างประเทศ

กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน

๑.กิจกรรมแนะแนว ๒.กิจกรรมนักเรี ยน ๓. กิจกรรมเพือ่ สังคมและ สาธารณประโยชน์

คุณภาพของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน(ภาคบังคับ) หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรี ยนดุสิตวิทยา พุทธศักราช ๒๕๕๓

หน้า ๑๔


สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ หลักสู ตรสถานศึกษา กําหนดมาตรฐานการเรี ยนรู้ใน ๘ กลุ่มสาระการเรี ยนรู้ จํานวน ๖๗ มาตรฐาน ดังนี้ ภาษาไทย สาระที่ ๑ การอ่าน มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู ้และความคิดเพื่อนําไปใช้ตดั สิ นใจ แก้ปัญหา ในการดําเนินชีวติ และมีนิสั ยรักการอ่าน สาระที่ ๒ การเขียน มาตรฐาน ท ๒.๑ ใช้กระบวนการเขียน เขียนสื่ อสาร เขียนเรี ยงความ ย่อความ และเขียนเรื่ องราว ในรู ปแบบต่างๆ เขียนรายงานข้อมูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาค้นคว้า อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ สาระที่ ๓ การฟัง การดู และการพูด มาตรฐาน ท ๓.๑ สามารถเลือกฟังและดูอย่างมีวจิ ารณญาณ และพูดแสดงความรู ้ ความคิด ความรู ้สึกในโอกาสต่างๆ อย่างมีวจิ ารณญาณ และสร้างสรรค์ สาระที่ ๔ หลักการใช้ภาษาไทย มาตรฐาน ท ๔.๑

เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลง ของภาษาและพลัง ของภาษา ภูมิปัญญาทางภาษา และรักษา ภาษาไทยไว้เป็ นสมบัติของชาติ สาระที่ ๕ วรรณคดีและวรรณกรรม มาตรฐาน ท ๕.๑ เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณคดี และวรรณกรรมไทยอย่าง เห็นคุณค่าและนํามาประยุกต์ใช้ในชีวติ จริ ง

คณิตศาสตร์ สาระที่ ๑ จํานวนและการดําเนินการ มาตรฐาน ค ๑.๑ เข้าใจถึงความหลากหลายของการแสดงจํานวนและการใช้จาํ นวนในชีวติ จริ ง มาตรฐาน ค ๑.๒ เข้าใจถึงผลที่เกิดขึ้นจากการดําเนินการของจํานวนและความสัมพันธ์ระหว่าง การดําเนินการต่าง ๆ และใช้การดําเนินการในการแก้ปัญหา มาตรฐาน ค ๑.๓ ใช้การประมาณค่าในการคํานวณและแก้ปัญหา มาตรฐาน ค ๑.๔ เข้าใจระบบจํานวนและนําสมบัติเกี่ยวกับจํานวนไปใช้ สาระที่ ๒ การวัด มาตรฐาน ค ๒.๑ เข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับการวัด วัดและคาดคะเนขนาดของสิ่ งที่ตอ้ งการวัด มาตรฐาน ค ๒.๒ แก้ปัญหาเกี่ยวกับการวัด หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรี ยนดุสิตวิทยา พุทธศักราช ๒๕๕๓

หน้า ๑๕


สาระที่ ๓ เรขาคณิ ต มาตรฐาน ค ๓.๑ อธิ บายและวิเคราะห์รูปเรขาคณิ ตสองมิติและสามมิติ มาตรฐาน ค ๓.๒ ใช้การนึกภาพ (visualization) ใช้เหตุผลเกี่ยวกับปริ ภูมิ (spatial reasoning) และ ใช้แบบจําลองทางเรขาคณิ ต (geometric model) ในการแก้ปัญหา สาระที่ ๔ พีชคณิ ต มาตรฐาน ค ๔.๑ เข้าใจและวิเคราะห์แบบรู ป(pattern) ความสัมพันธ์ และฟังก์ชนั มาตรฐาน ค ๔.๒ ใช้นิพจน์ สมการ อสมการ กราฟ และตัวแบบเชิงคณิ ตศาสตร์ (Mathematical model) อื่น ๆ แทนสถานการณ์ต่าง ๆ ตลอดจนแปล ความหมายและนําไปใช้แก้ปัญหา สาระที่ ๕ การวิเคราะห์ขอ้ มูลและความน่าจะเป็ น มาตรฐาน ค ๕.๑ เข้าใจและใช้วธิ ี การทางสถิติในการวิเคราะห์ขอ้ มูล มาตรฐาน ค ๕.๒ ใช้วธิ ี การทางสถิติและความรู ้เกี่ยวกับความน่าจะเป็ นในการคาดการณ์ได้ อย่างสมเหตุสมผล มาตรฐาน ค ๕.๓ ใช้ความรู ้เกี่ยวกับสถิติและความน่าจะเป็ นช่วยในการตัดสิ นใจและแก้ปัญหา สาระที่ ๖ ทักษะและกระบวนการทางคณิ ตศาสตร์ มาตรฐาน ค ๖.๑ มีความสามารถในการแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่ อสาร การสื่ อ ความหมายทางคณิ ตศาสตร์ และการนําเสนอ การเชื่อมโยงความรู ้ต่าง ๆ ทางคณิ ตศาสตร์ และเชื่อมโยงคณิ ตศาสตร์ กบั ศาสตร์ อื่น ๆ และมีความคิด ริ เริ่ มสร้างสรรค์ วิทยาศาสตร์ สาระที่ ๑ สิ่ งมีชีวติ กับกระบวนการดํารงชีวติ มาตรฐาน ว ๑.๑ เข้าใจหน่วยพื้นฐานของสิ่ งมีชีวติ ความสัมพันธ์ของโครงสร้าง และหน้าที่ของ ระบบต่างๆ ของสิ่ งมีชีวติ ที่ทาํ งานสัมพันธ์กนั มีกระบวนการสื บเสาะหาความรู ้ สื่ อสารสิ่ งที่เรี ยนรู ้และนําความรู ้ไปใช้ในการดํารงชีวติ ของตนเองและดูแล สิ่ งมีชีวติ มาตรฐาน ว ๑.๒ เข้าใจกระบวนการและความสําคัญของการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุ กรรม วิวฒั นาการของสิ่ งมีชีวติ ความหลากหลายทางชีวภาพ การใช้เทคโนโลยีชีวภาพ ที่มีผลกระทบต่อมนุษย์และสิ่ งแวดล้อม มีกระบวนการ สื บเสาะหาความรู ้และ จิตวิทยาศาสตร์ สื่ อสาร สิ่ งที่เรี ยนรู ้ และนําความรู ้ไปใช้ประโยชน์

หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรี ยนดุสิตวิทยา พุทธศักราช ๒๕๕๓

หน้า ๑๖


สาระที่ ๒ ชีวติ กับสิ่ งแวดล้อม มาตรฐาน ว ๒.๑ เข้าใจสิ่ งแวดล้อมในท้องถิ่น ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่ งแวดล้อมกับสิ่ งมีชีวติ ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่ งมีชีวติ ต่าง ๆ ในระบบนิเวศ มีกระบวนการสื บเสาะ หาความรู ้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่ งที่เรี ยนรู ้และนําความรู ้ไปใช้ประโยชน์ มาตรฐาน ว ๒.๒ เข้าใจความสําคัญของทรัพยากรธรรมชาติ การใช้ทรัพยากรธรรมชาติในระดับ ท้องถิ่น ประเทศ และโลกนําความรู ้ไปใช้ในในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่ งแวดล้อมในท้องถิ่นอย่างยัง่ ยืน สาระที่ ๓ สารและสมบัติของสาร มาตรฐาน ว ๓.๑ เข้าใจสมบัติของสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของสารกับโครงสร้ างและ แรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค มีกระบวนการสื บเสาะหาความรู ้และ จิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่ งที่เรี ยนรู ้ นําความรู ้ไปใช้ประโยชน์ มาตรฐาน ว๓.๒ เข้าใจหลักการและธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลงสถานะของสาร การเกิ ดสารละลาย การเกิดปฏิกิริยา มีกระบวนการสื บเสาะหาความรู ้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่ อสารสิ่ งที่ เรี ยนรู ้ และนําความรู ้ไปใช้ประโยชน์ สาระที่ ๔ แรงและการเคลื่อนที่ มาตรฐาน ว ๔.๑ เข้าใจธรรมชาติของแรงแม่ เหล็กไฟฟ้ า แรงโน้มถ่วง และแรงนิวเคลียร์ มีกระบวนการสื บเสาะหาความรู ้ สื่ อสารสิ่ งที่เรี ยนรู ้และนําความรู ้ไปใช้ ประโยชน์อย่างถูกต้องและมีคุณธรรม มาตรฐาน ว ๔.๒ เข้าใจลักษณะการเคลื่อนที่แบบต่างๆ ของวัตถุในธรรมชาติมีกระบวนการ สื บเสาะหาความรู ้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่ อสารสิ่ งที่เรี ยนรู ้และนําความรู ้ไปใช้ ประโยชน์ สาระที่ ๕ พลังงาน มาตรฐาน ว ๕.๑ เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างพลังงานกับการดํารงชีวติ การเปลี่ยนรู ปพลังงาน ปฏิสัมพันธ์ระหว่างสารและพลังงาน ผลของการใช้พลังงานต่อชีวติ และ สิ่ งแวดล้อม มีกระบวน การสื บเสาะหาความรู ้ สื่ อสารสิ่ งที่เรี ยนรู ้และ นําความรู ้ไปใช้ประโยชน์ สาระที่ ๖ : กระบวนการเปลี่ยนแปลงของโลก มาตรฐาน ว ๖.๑ เข้าใจกระบวนการต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นบนผิวโลกและภายในโลก ความสัมพันธ์ของ กระบวนการต่าง ๆ ที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ ภูมิประเทศ และสัณฐาน ของโลก มีกระบวนการสื บเสาะหาความรู ้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่ อสารสิ่ งที่เรี ยนรู ้ และนําความรู ้ไปใช้ประโยชน์

หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรี ยนดุสิตวิทยา พุทธศักราช ๒๕๕๓

หน้า ๑๗


สาระที่ ๗ ดาราศาสตร์ และอวกาศ มาตรฐาน ว ๗.๑ เข้าใจวิวฒั นาการของระบบสุ ริยะ กาแล็กซี และเอกภพการปฏิสัมพันธ์ภายใน ระบบสุ ริยะและผลต่อสิ่ งมีชีวติ บนโลก มีกระบวนการสื บเสาะหาความรู ้และ จิตวิทยาศาสตร์ การสื่ อสารสิ่ งที่เรี ยนรู ้และนําความรู ้ไปใช้ประโยชน์ มาตรฐาน ว ๗.๒ เข้าใจความสําคัญของเทคโนโลยีอวกาศที่นาํ มาใช้ในการสํารวจอวกาศและ ทรัพยากรธรรมชาติ ด้านการเกษตรและการสื่ อสาร มีกระบวนการสื บเสาะ หา ความรู ้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่ อสารสิ่ งที่เรี ยนรู ้และนําความรู ้ไปใช้ประโยชน์อย่าง มีคุณธรรมต่อชีวติ และสิ่ งแวดล้อม สาระที่ ๘ ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี มาตรฐาน ว ๘.๑ ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และจิตวิทยาศาสตร์ ในการสื บเสาะหาความรู ้ การแก้ปัญหา รู ้วา่ ปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นส่ วนใหญ่มีรูปแบบ ที่แน่นอน สามารถอธิ บายและตรวจสอบได้ ภายใต้ขอ้ มูลและเครื่ องมือที่มีอยูใ่ น ช่วงเวลานั้นๆ เข้าใจว่า วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคม และสิ่ งแวดล้อม มีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กนั สั งคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม สาระที่ ๑ ศาสนา ศีลธรรม จริ ยธรรม มาตรฐาน ส ๑.๑ รู ้ และเข้าใจประวัติ ความสําคัญ ศาสดา หลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรื อ ศาสนาที่ตนนับถือและศาสนาอื่น มีศรัทธาที่ถูกต้อง ยึดมัน่ และปฏิบตั ิตาม หลักธรรม เพื่ออยูร่ ่ วมกันอย่างสันติสุข มาตรฐาน ส ๑.๒ เข้าใจ ตระหนักและปฏิบตั ิตนเป็ น ศาสนิกชนที่ดี และธํารงรักษา พระพุทธศาสนาหรื อศาสนาที่ตนนับถือ สาระที่ ๒ หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดําเนินชีวติ ในสังคม มาตรฐาน ส ๒.๑ เข้าใจและปฏิบตั ิตนตามหน้าที่ของการเป็ นพลเมืองดี มีค่านิยมที่ดีงาม และ ธํารงรักษาประเพณี และวัฒนธรรมไทย ดํารงชีวติ อยูร่ ่ วมกันในสังคมไทย และ สังคมโลกอย่างสันติสุข มาตรฐาน ส ๒.๒ เข้าใจระบบการเมืองการปกครองในสังคมปั จจุบนั ยึดมัน่ ศรัทธา และธํารง รักษาไว้ซ่ ึ งการปกครองระบอบประชาธิ ปไตยอันมีพระมหากษัตริ ยท์ รงเป็ น ประมุข สาระที่ ๓ เศรษฐศาสตร์ มาตรฐาน ส ๓.๑ เข้าใจและสามารถบริ หารจัดการทรัพยากรในการผลิตและการบริ โภค การใช้ ทรัพยากรที่มีอยูจ่ าํ กัดได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพและคุม้ ค่า รวมทั้งเข้าใจหลักการ ของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อการดํารงชีวติ อย่างมีดุลยภาพ หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรี ยนดุสิตวิทยา พุทธศักราช ๒๕๕๓

หน้า ๑๘


มาตรฐาน ส ๓.๒ เข้าใจระบบ และสถาบันทางเศรษฐกิจต่าง ๆ ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ แลt ความจําเป็ นของการร่ วมมือกันทางเศรษฐกิจในสังคมโลก สาระที่ ๔ ประวัติศาสตร์ มาตรฐาน ส ๔.๑ เข้าใจความหมาย ความสําคัญของเวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ สามารถใช้ วิธีการทางประวัติศาสตร์ มาวิเคราะห์เหตุการณ์ต่างๆ อย่างเป็ นระบบ มาตรฐาน ส ๔.๒ เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึงปั จจุบนั ในด้านความสัมพันธ์และ การเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์อย่างต่อเนื่อง ตระหนักถึงความสําคัญและ สามารถวิเคราะห์ผลกระทบที่เกิดขึ้น มาตรฐาน ส ๔.๓ เข้าใจความเป็ นมาของชาติไทย วัฒนธรรม ภูมิปัญญาไทย มีความรัก ความภูมิใจและธํารงความเป็ นไทย สาระที่ ๕ ภูมิศาสตร์ มาตรฐาน ส ๕.๑ เข้าใจลักษณะของโลกทางกายภาพ และความสัมพันธ์ของสรรพสิ่ งซึ่ งมีผล ต่อกันและกันในระบบของธรรมชาติ ใช้แผนที่และเครื่ องมือทางภูมิศาสตร์ ใน การค้นหา วิเคราะห์ สรุ ป และใช้ขอ้ มูลภูมิสารสนเทศอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ มาตรฐาน ส ๕.๒ เข้าใจปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กบั สภาพแวดล้อมทางกายภาพที่ก่อให้เกิด การสร้างสรรค์วฒั นธรรม มีจิตสํานึก และมีส่วนร่ วมในการอนุรักษ์ทรัพยากร และสิ่ งแวดล้อม เพือ่ การพัฒนาที่ยงั่ ยืน สุ ขศึกษาและพลศึกษา สาระที่ ๑ การเจริ ญเติบโตและพัฒนาการของมนุษย์ มาตรฐาน พ ๑.๑ เข้าใจธรรมชาติของการเจริ ญเติบโตและพัฒนาการของมนุษย์ สาระที่ ๒ ชีวติ และครอบครัว มาตรฐาน พ ๒.๑ เข้าใจและเห็นคุณค่าตนเอง ครอบครัว เพศศึกษา และมีทกั ษะในการดําเนินชีวติ สาระที่ ๓ การเคลื่อนไหว การออกกําลังกาย การเล่นเกม กีฬาไทย และกีฬาสากล มาตรฐาน พ ๓.๑ เข้าใจ มีทกั ษะในการเคลื่อนไหว กิจกรรมทางกาย การเล่นเกม และกีฬา มาตรฐาน พ ๓.๒ รักการออกกําลังกาย การเล่นเกม และการเล่นกีฬา ปฏิบตั ิเป็ นประจําอย่าง สมํ่าเสมอ มีวนิ ยั เคารพสิ ทธิ กฎ กติกา มีน้ าํ ใจนักกีฬา มีจิตวิญญาณในการ แข่งขัน และชื่นชมในสุ นทรี ยภาพของการกีฬา สาระที่ ๔ การสร้างเสริ มสุ ขภาพ สมรรถภาพและการป้ องกันโรค มาตรฐาน พ ๔.๑ เห็นคุณค่าและมีทกั ษะในการสร้างเสริ มสุ ขภาพ การดํารงสุ ขภาพ การป้ องกัน โรคและการสร้างเสริ มสมรรถภาพเพื่อสุ ขภาพ

หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรี ยนดุสิตวิทยา พุทธศักราช ๒๕๕๓

หน้า ๑๙


สาระที่ ๕ ความปลอดภัยในชีวติ มาตรฐาน พ ๕.๑ ป้ องกันและหลีกเลี่ยงปั จจัยเสี่ ยง พฤติกรรมเสี่ ยงต่อสุ ขภาพ อุบตั ิเหตุ การใช้ยาสารเสพติด และความรุ นแรง

ศิลปะ

สาระที่ ๑ ทัศนศิลป์ มาตรฐาน ศ ๑.๑ สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ ตามจินตนาการ และความคิดสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์คุณค่างานทัศนศิลป์ ถ่ายทอดความรู ้สึก ความคิดต่องานศิลปะอย่าง อิสระ ชื่นชม และประยุกต์ใช้ในชีวติ ประจําวัน มาตรฐาน ศ ๑.๒ เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างทัศนศิลป์ ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม เห็นคุณค่า งานทัศนศิลป์ ที่เป็ นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทยและ สากล สาระที่ ๒ ดนตรี มาตรฐาน ศ ๒.๑ เข้าใจและแสดงออกทางดนตรี อย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วจิ ารณ์คุณค่า ดนตรี ถ่ายทอดความรู ้สึก ความคิดต่อดนตรี อย่างอิสระ ชื่นชม และประยุกต์ ใช้ในชีวติ ประจําวัน มาตรฐาน ศ ๒.๒ เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างดนตรี ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม เห็นคุณค่ าของ ดนตรี ที่เป็ นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทยและสากล สาระที่ ๓ นาฏศิลป์ มาตรฐาน ศ ๓.๑ เข้าใจ และแสดงออกทางนาฏศิลป์ อย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์ คุณค่านาฏศิลป์ ถ่ายทอดความรู ้สึก ความคิดอย่างอิสระ ชื่นชม และประยุกต์ใช้ ในชีวติ ประจําวัน มาตรฐาน ศ๓.๒ เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างนาฏศิลป์ ประวั ติศาสตร์ และวัฒนธรรม เห็นคุณค่าของ นาฏศิลป์ ที่เป็ นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้งถิ อ ่น ภูมิปัญญาไทยและสากล การงานอาชี พและเทคโนโลยี สาระที่ ๑ การดํารงชีวติ และครอบครัว มาตรฐาน ง ๑.๑ เข้าใจการทํางาน มีความคิดสร้างสรรค์ มีทกั ษะกระบวนการทํางาน ทักษะ การ จัดการ ทักษะกระบวนการแก้ปัญหาทักษะการทํางานร่ วมกัน และทักษะ การแสวงหาความรู ้ มีคุณธรรมและลักษณะนิสัยในการทํางานมีจิตสํานึก ในการใช้ พลังงาน ทรัพยากร และสิ่ งแวดล้อม เพื่อการดํารงชีวติ และครอบครัว

หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรี ยนดุสิตวิทยา พุทธศักราช ๒๕๕๓

หน้า ๒๐


สาระที่ ๒ การออกแบบและเทคโนโลยี มาตรฐาน ง ๒.๑ เข้าใจเทคโนโลยีและกระบวนการเทคโนโลยี ออกแบบและสร้างสิ่ งของเครื่ องใช้ หรื อวิธีการ ตามกระบวนการเทคโนโลยีอย่างมีความคิดสร้ างสรรค์ เลือกใช้ เทคโนโลยีในทางสร้างสรรค์ต่อชีวติ สังคม สิ่ งแวดล้อม และมี ส่ วนร่ วมในการ จัดการเทคโนโลยีที่ยงั่ ยืน สาระที่ ๓ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสาร มาตรฐาน ง ๓.๑ เข้าใจ เห็นคุณค่า และใช้กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศในการสื บค้น ข้อมูล การเรี ยนรู ้ การสื่ อสาร การแก้ปัญหา การทํางานและอาชีพอย่างมี ประสิ ทธิ ภาพ ประสิ ทธิ ผล และมีคุณธรรม สาระที่ ๔ การอาชีพ มาตรฐาน ง ๔.๑ เข้าใจ มีทกั ษะที่จาํ เป็ น มีประสบการณ์ เห็นแนวทางในงานอาชีพ ใช้เทคโนโลยีเพื่อพัฒนาอาชีพ มีคุณธรรม และมีเจตคติที่ดี ต่ออาชีพ ภาษาต่ างประเทศ สาระที่ ๑ ภาษาเพื่อการสื่ อสาร มาตรฐาน ต ๑.๑ เข้าใจและตีความเรื่ องที่ฟังและอ่านจากสื่ อประเภทต่างๆ และแสดงความคิดเห็น อย่างมีเหตุผล มาตรฐาน ต ๑.๒ มีทกั ษะการสื่ อสารทางภาษาในการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร แสดงความรู ้สึก และความคิดเห็นอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ มาตรฐาน ต ๑.๓ นําเสนอข้อมูลข่าวสาร ความคิดรวบยอด และความคิดเห็นในเรื่ องต่างๆ โดยการพูดและการเขียน สาระที่ ๒ ภาษาและวัฒนธรรม มาตรฐาน ต ๒.๑ เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างภาษากับวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา และนําไปใช้ได้ อย่างเหมาะสมกับกาลเทศะ มาตรฐาน ต ๒.๒ เข้าใจความเหมือนและความแตกต่างระหว่างภาษาและวัฒนธรรมของเจ้าของ ภาษากับภาษาและวัฒนธรรมไทย และนํามาใช้อย่างถูกต้องและเหมาะสม สาระที่ ๓ ภาษากับความสัมพันธ์กบั กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้อื่น มาตรฐาน ต๓.๑ ใช้ภาษาต่างประเทศในการเชื่อมโยงความรู ้กบั กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้อและเป็ ื่ น น พื้นฐานในการพัฒนา แสวงหาความรู้ และเปิ ดโลกทัศน์ของตน สาระที่ ๔ ภาษากับความสัมพันธ์กบั ชุมชนและโลก มาตรฐาน ต ๔.๑ ใช้ภาษาต่างประเทศในสถานการณ์ต่างๆ ทั้งในสถานศึกษา ชุมชน และสังคม มาตรฐาน ต ๔.๒ ใช้ภาษาต่างประเทศเป็ นเครื่ องมือพื้นฐานในการศึกษาต่อ การประกอบ อาชีพ และการแลกเปลี่ยนเรี ยนรู ้กบั สังคมโลก หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรี ยนดุสิตวิทยา พุทธศักราช ๒๕๕๓

หน้า ๒๑


สั งคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม สาระที่ ๑ ศาสนา ศีลธรรม จริ ยธรรม มาตรฐาน ส ๑.๑ รู ้ และเข้าใจประวัติ ความสําคัญ ศาสดา หลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรื อ ศาสนาที่ตนนับถือและศาสนาอื่น มีศรัทธาที่ถูกต้อง ยึดมัน่ และปฏิบตั ิตาม หลักธรรม เพือ่ อยูร่ ่ วมกันอย่างสันติสุข มาตรฐาน ส ๑.๒ เข้าใจ ตระหนักและปฏิบตั ิตนเป็ น ศาสนิกชนที่ดี และธํารงรักษา พระพุทธศาสนาหรื อศาสนาที่ตนนับถือ สาระที่ ๒ หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดําเนินชีวติ ในสังคม มาตรฐาน ส ๒.๑ เข้าใจและปฏิบตั ิตนตามหน้าที่ของการเป็ นพลเมืองดี มีค่านิยมที่ดีงาม และ ธํารงรักษาประเพณี และวัฒนธรรมไทย ดํารงชีวติ อยูร่ ่ วมกันในสังคมไทย และ สังคมโลกอย่างสันติสุข มาตรฐาน ส ๒.๒ เข้าใจระบบการเมืองการปกครองในสังคมปั จจุบนั ยึดมัน่ ศรัทธา และธํารง รักษาไว้ซ่ ึ งการปกครองระบอบประชาธิ ปไตยอันมีพระมหากษัตริ ยท์ รงเป็ น ประมุข สาระที่ ๓ เศรษฐศาสตร์ มาตรฐาน ส ๓.๑ เข้าใจและสามารถบริ หารจัดการทรัพยากรในการผลิตและการบริ โภค การใช้ ทรัพยากรที่มีอยูจ่ าํ กัดได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพและคุม้ ค่า รวมทั้งเข้าใจหลักการ ของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อการดํารงชีวติ อย่างมีดุลยภาพ มาตรฐาน ส ๓.๒ เข้าใจระบบ และสถาบันทางเศรษฐกิจต่าง ๆ ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ แลt ความจําเป็ นของการร่ วมมือกันทางเศรษฐกิจในสังคมโลก สาระที่ ๔ ประวัติศาสตร์ มาตรฐาน ส ๔.๑ เข้าใจความหมาย ความสําคัญของเวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ สามารถใช้ วิธีการทางประวัติศาสตร์ มาวิเคราะห์เหตุการณ์ต่างๆ อย่างเป็ นระบบ มาตรฐาน ส ๔.๒ เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึงปั จจุบนั ในด้านความสัมพันธ์และ การเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์อย่างต่อเนื่อง ตระหนักถึงความสําคัญและ สามารถวิเคราะห์ผลกระทบที่เกิดขึ้น มาตรฐาน ส ๔.๓ เข้าใจความเป็ นมาของชาติไทย วัฒนธรรม ภูมิปัญญาไทย มีความรัก ความภูมิใจและธํารงความเป็ นไทย สาระที่ ๕ ภูมิศาสตร์ มาตรฐาน ส ๕.๑ เข้าใจลักษณะของโลกทางกายภาพ และความสัมพันธ์ของสรรพสิ่ งซึ่ งมีผล ต่อกันและกันในระบบของธรรมชาติ ใช้แผนที่ และเครื่ องมือทางภูมิศาสตร์ ใน การค้นหา วิเคราะห์ สรุ ป และใช้ขอ้ มูลภูมิสารสนเทศอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ มาตรฐาน ส ๕.๒ เข้าใจปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กบั สภาพแวดล้อมทางกายภาพที่ก่อให้เกิด หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรี ยนดุสิตวิทยา พุทธศักราช ๒๕๕๓

หน้า ๒๒


การสร้างสรรค์วฒั นธรรม มีจิตสํานึก และมีส่วนร่ วมในการอนุรักษ์ทรัพยากร และสิ่ งแวดล้อม เพือ่ การพัฒนาที่ยงั่ ยืน

หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรี ยนดุสิตวิทยา พุทธศักราช ๒๕๕๓

หน้า ๒๓


กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน มุง่ ให้ผเู ้ รี ยนได้พฒั นาตนเองตามศักยภาพ พัฒนาอย่างรอบด้านเพื่อ ความเป็ นมนุษย์ที่สมบูรณ์ ทั้งร่ างกาย สติปัญญา อารมณ์ และสังคม เสริ มสร้างให้เป็ นผูม้ ีศีลธรรม จริ ยธรรม มีระเบียบวินยั ปลูกฝังและสร้างจิตสํานึกของการทําประโยชน์เพื่อสังคม สามารถจัดการ ตนเองได้ และอยูร่ ่ วมกับผูอ้ ื่นอย่างมีความสุ ข โรงเรี ยนดุสิตวิทยาจัดกิจกรรมพัฒนาผูเ้ รี ยน หลากหลายรู ปแบบ และวิธีการ โดยแบ่งเป็ น ๓ รู ปแบบ ดังนี้ ๑. กิจกรรมแนะแนว เน้นกิจกรรมที่ส่งเสริ มการเรี ยนรู ้ ๘ กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ให้ กว้างขวาง ลึกซึ้ งยิง่ ขึ้น ในลักษณะเป็ น กระบวนการเชิงบูรณาการ โดยยึดหลักคุณธรรม จริ ยธรรม ตลอดจนความสามารถ บูรณาการ ระหว่างกิจกรรม แนะแนว กิจกรรมนักเรี ยน และกิจกรรมเพื่อ สังคม และสาธารณประโยชน์ โรงเรี ยนดุสิตวิทยา มีการจัดกิจกรรมแนะแนวในรู ปของกิจกรรม โฮมรู ม ทุกวัน โดยแบ่งกิจกรรมเป็ น ๒ ช่วง ช่วงละ ๑๐ นาที คือ ช่วงเช้า ตั้งแต่เวลา ๘.๒๐๘.๓๐ น. และช่วงเย็นตั้งแต่เวลา ๑๕.๕๐-๑๖.๐๐ น. ๒. กิจกรรมนักเรียน เน้นกิจกรรมที่ตอบสนองความสนใจ ความถนัด และความ ต้องการของผูเ้ รี ยน ตามความแตกต่าง ระหว่างบุคคล เน้นการให้ผเู ้ รี ยน เห็นคุณค่ า ของวิชา ความรู ้ อาชีพ และการดําเนินชีวติ ที่ดีงาม ตลอดจนเห็นแนวทางในการศึกษาต่อ และการ ประกอบอาชีพ กิจกรรมนักเรี ยนประกอบด้วย ๒.๑ กิจกรรมลูกเสื อ เนตรนารี เป็ นกิจกรรมที่ปลูกฝัง และส่ งเสริ มจิตสํานึก การทํา ประโยชน์ต่อสังคม ในลักษณะต่างๆ สนับสนุนค่านิยม ที่ดีงาม และเสริ มสร้าง คุณลักษณะอันพึง ประสงค์ ตามหลักสู ตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ โรงเรี ยนดุสิต วิทยาได้มีการจัดโครงการ กิจกรรมพัฒนาผูเ้ รี ยน (ลูกเสื อ- เนตรนารี ) เป็ นกิจกรรมทีม่ ีจุดหมาย และอุดมการณ์ท่ีชดั เจนต่อการพัฒนาเยาวชนให้มีคุณธรรม จริ ยธรรม มีระเบียบวินยั มีความ จงรักภักดีต่อสถาบันชาติ ศาสนาพระมหากษัตริ ย ์ และเลื่อมใสในการปกครองตามระบบ ประชาธิ ปไตย อันมีพระมหากษัตริ ยเ์ ป็ นประมุข นอกจากนั้น รู ปแบบและวิธีการฝึ กอบรมของ ลูกเสื อ ฯ ยังมีความสอดคล้องกับการจัดการเรี ยนการสอนตามแนวทางปฏิรูปการเรี ยนรู ้ นัน่ คือ การเน้นผูเ้ รี ยนเป็ นสําคัญ เปิ ดโอกาสให้ผเู้ รี ยนเป็ นผูม้ ีส่วนร่ วมและแสดงออกตามศักยภาพอย่าง อิสระ เพื่อสร้างสรรค์ผลงานที่มีคุณภาพ เน้นให้ผเู้ รี ยนเป็ นผูล้ งมือปฏิบตั ิเรี ยนรู้จากสภาพจริ งมี ประสบการณ์ตรง โดยสัมพันธ์ก ั บธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อม ฝึ กทักษะกระบวนการจัดการ การ ติดต่อสื่ อสาร การทํางานเป็ นทีมและยังพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์ การทํางานร่ วมกันอย่างมี ความสุ ข เรี ยนรู ้สิ่งต่าง ๆ รอบตัวและโลกกว้าง

หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรี ยนดุสิตวิทยา พุทธศักราช ๒๕๕๓

หน้า ๒๔


๒.๒ กิจกรรมชมรม เป็ นกิจกรรมที่ตอบสนองความสนใจ ตามความถนัด ของผูเ้ รี ยน ตามความแตกต่าง ระหว่างบุคคล ผูเ้ รี ยนสามารถเลือกเข้าเป็ นสมาชิกชมรม วางแผนการดําเนินกิจกรรมร่ วมกันโดยมี กิจกรรมชมรมที่หลากหลาย ได้แก่ ๑. ชมรมจิตรกรน้ อย เพื่อส่ งเสริ มให้ผเู ้ รี ยนที่มีความสนใจด้านศิลปะ ทัศนศิลป์ ได้ฝึกวาด รู ป ประดิษฐ์ สร้างสรรค์งานด้านศิลปะ ๒. ชมรม Dusit Sport Star เพือ่ ส่ งเสริ มให้นกั เรี ยนได้เกิดทักษะด้านกีฬาที่ตนเองรัก มีสุขภาพพลานามัยแข็งแรงและสมบูรณ์ ๓. ชมรมลีลาศ เพื่อปลูกฝังให้นกั เรี ยนได้ออกกําลังกาย และเคลื่อนไหวร่ างกาย ตาม จังหวะต่างๆ อย่างมีกฎเกณฑ์ ๔. ชมรมศิลปิ นรุ่ นเยาว์ เพื่อส่ งเสริ มให้ผเู ้ รี ยนได้มีทกั ษะในการฟัง การบรรเลงดนตรี ไทย และดนตรี สากล ตามความชอบ ๕. ชมรม Dusit Star Academy เพือ่ ส่ งเสริ มให้ผเู้ รี ยนมีทกั ษะในด้านการแสดง และ การร้องเพลง ๖. ชมรมไม่ ลองไม่ รู้ เพื่อให้ผเู ้ รี ยนได้เรี ยนรู ้ ทักษะในการทดลองทางวิทยาศาสตร์ และ คณิ ตศาสตร์ ๗. ชมรมท่ องไปกับภาษาไทย เป็ นชมรมที่เน้นให้นกั เรี ยนรัก และอนุรักษ์ภาษาไทย โดย เน้นในเรื่ องการใช้ภาษา การสื่ อสาร และความซาบซึ้ งในบทร้องกรอง ตัวละครในวรรณคดี ๘. ชมรม Com Pro เน้นในเรื่ องทักษะการใช้เทคโนโลยี การนําไปประยุ กต์ใช้ใน ชีวติ ประจําวัน เห็นคุณค่า ความสําคัญ และเลือกใช้ เทคโนโลยี ได้อย่างเหมาะสม โดยแบ่งเป็ น ๓ ระดับคือ Com Pro Level I, II & III ๙. ชมรม Star Production เป็ นกิจกรรมที่เปิ ดโอกาสให้นกั เรี ยนที่สนใจเรี ยนรู ้ทกั ษะ การแสดงได้ฝึกความกล้าแสดงออก และความสามารถในการแสดงอย่างมีศิลปะ ๑o. ชมรมนักประดิษฐ์ น้อย เน้นให้ผเู้ รี ยนรู้จกั การนําวัสดุเหลือใช้มาประดิษฐ์ รี ไซเคิล เพื่อใช้ทรัพยากรอย่างคุม้ ค่า ๓. กิจกรรมเพือ่ สั งคมและสาธารณประโยชน์ เป็ นกิจกรรมที่ส่งเสริ มให้ผเู ้ รี ยนบําเพ็ญตนให้เป็ นประโยชน์ต่ อสังคม ชุมชน และ ท้องถิ่นตามความสนใจในลักษณะอาสาสมัคร เพื่อแสดงถึงความรับผิดชอบ ความดีงาม ความ เสี ยสละต่อสังคม มีจิตสาธารณะ เช่น กิจกรรมจิตอาสาพัฒนาต่าง ๆ กิจกรรมสร้างสรรค์สังคม กิจกรรมพัฒนาโรงเรี ยน การพัฒนาวัด และพัฒนาชุมชนที่ตนอาศัยอยู่ เข้าร่ วมกิจกรรม วันสําคัญ ทางพุทธศาสนา ร่ วมถวายเทียนพรรษา ร่ วมกิจกรรมวันวิสาขบูชา และกิจกรรม อื่น ๆ

หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรี ยนดุสิตวิทยา พุทธศักราช ๒๕๕๓

หน้า ๒๕


ระดับการศึกษา หลักสู ตรสถานศึกษา จัดระดับการศึกษาเป็ น ๑ ระดับ คือ ระดับประถมศึกษา (ชั้น ประถมศึกษาปี ที่ ๑ – ๖) การศึกษาระดับนี้เป็ นช่วงแรกของการศึกษาภาคบังคับ มุ่งเน้ นทักษะ พื้นฐานด้านการอ่าน การเขียน การคิดคํานวณ ทักษะการคิดพื้นฐาน การติดต่อสื่ อสาร กระบวนการเรี ยนรู ้ทางสังคม และพื้นฐานความเป็ นมนุษย์ การพัฒนาคุณภาพชีวติ อย่างสมบูรณ์ และสมดุลทั้งในด้านร่ างกาย สติปัญญา อารมณ์ สังคม และวัฒนธรรม โดยเน้น จัดการเรี ยนรู ้แบบ บูรณาการ

การจัดเวลาเรียน หลักสู ตรสถานศึกษา ได้กาํ หนดกรอบโครงสร้างเวลาเรี ยนขั้นตํ่าสําหรับกลุ่มสาระการเรี ยนรู้ ๘ กลุ่ม และกิจกรรมพัฒนา นักเรี ยน และได้เพิ่มเติม ตามความต้องการและจุดเน้น โดยปรับให้ เหมาะสมตามบริ บทของสภาพนักเรี ยน โดย ระดับชั้ นประถมศึกษา (ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๑ – ๖) ให้ จัดเวลาเรี ยนเป็ นรายปี โดยมีเวลาเรี ยนวันละ ไม่เกิน ๕ ชัว่ โมง

หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรี ยนดุสิตวิทยา พุทธศักราช ๒๕๕๓

หน้า ๒๖


โครงสร้ างเวลาเรียนแกนกลาง

เวลาเรียน กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้/ กิจกรรม ภาษาไทย คณิ ตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม สุขศึกษาและพลศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพและ เทคโนโลยี ภาษาต่างประเทศ รวมเวลาเรี ยน (พืนฐาน)  กิจกรรมพัฒนาผูเ้ รี ยน

ระดับประถมศึกษา ป. ๑ ๒๐๐ ๒๐๐ ๘๐ ๑๒๐ ๘๐ ๘๐ ๔๐ ๔๐ ๘๔๐ ๑๒๐

ป. ๒ ๒๐๐ ๒๐๐ ๘๐ ๑๒๐ ๘๐ ๘๐ ๔๐ ๔๐ ๘๔๐ ๑๒๐

ป. ๓ ๒๐๐ ๒๐๐ ๘๐ ๑๒๐ ๘๐ ๘๐ ๔๐ ๔๐ ๘๔๐ ๑๒๐

ป. ๔ ๑๖๐ ๑๖๐ ๘๐ ๑๒๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๔๐ ๑๒๐

รายวิชา / กิจกรรมที่สถานศึกษาจัด เพิม่ เติม ตามความต้องการและ จุดเน้น

ปี ละไม่เกิน ๔๐ ชัว่ โมง

รวมเวลาเรี ยนทั้งหมด

ไม่เกิน ๑,๐๐๐ ชัว่ โมง/ปี

ป. ๕ ๑๖๐ ๑๖๐ ๘๐ ๑๒๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๔๐ ๑๒๐

ป. ๖ ๑๖๐ ๑๖๐ ๘๐ ๑๒๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๔๐ ๑๒๐

การกําหนดโครงสร้างเวลาเรี ยนพื้นฐาน และเพิ่มเติมดําเนินการ ดังนี้ ระดับประถมศึกษา สามารถปรับเวลาเรี ยนพื้นฐานของแต่ละกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ ได้ตาม ความเหมาะสม ทั้งนี้ ต้องมีเวลาเรี ยนรวมตามที่กาํ หนดไว้ในโครงสร้างเวลาเรี ยนพื้นฐาน และ ผูเ้ รี ยนต้องมีคุณภาพตามมาตรฐานการเรี ยนรู ้และตัวชี้ วัดที่กาํ หนด

หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรี ยนดุสิตวิทยา พุทธศักราช ๒๕๕๓

หน้า ๒๗


โครงสร้ างเวลาเรียน หลักสู ตรสถานศึกษา กําหนดกรอบโครงสร้างเวลาเรี ยน ดังนี้ ชั้ นประถมศึกษาปี ที่ ๑ รายวิชา / กิจกรรม รายวิชาพืน้ ฐาน ท๑๑๑๐๑ ภาษาไทย ค๑๑๑๐๑ คณิ ตศาสตร์ ว๑๑๑๐๑ วิทยาศาสตร์ ส๑๑๑๐๑ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ส๑๑๑๐๒ ประวัติศาสตร์ พ๑๑๑๐๑ สุ ขศึกษาและพลศึกษา ศ๑๑๑๐๑ ศิลปะ ง๑๑๑๐๑ การงานอาชีพและเทคโนโลยี อ๑๑๑๐๑ ภาษาอังกฤษ กิจกรรมเพิม่ เติม Tell Me More I กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน • กิจกรรมแนะแนว • กิจกรรมนักเรี ยน ลูกเสื อ เนตรนารี ชุมนุม • กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ รวมเวลาเรียนทั้งสิ้น

เวลาเรียน (ชั่วโมง / ปี ) ๘๔๐ ๒๐๐ ๒๐๐ ๘๐ ๘๐ ๔๐ ๘๐ ๘๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๑๒๐ ๔๐ ๓๐ ๔๐ ๑๐ ๑,๐๐๐

หมายเหตุ ผูเ้ รี ยนปฏิบตั ิกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์ ในกิจกรรมลูกเสื อ เนตรนารี

หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรี ยนดุสิตวิทยา พุทธศักราช ๒๕๕๓

หน้า ๒๘


ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๒ รายวิชา / กิจกรรม รายวิชาพืน้ ฐาน ท๑๒๑๐๑ ภาษาไทย ค๑๒๑๐๑ คณิ ตศาสตร์ ว๑๒๑๐๑ วิทยาศาสตร์ ส๑๒๑๐๑ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ส๑๒๑๐๒ ประวัติศาสตร์ พ๑๒๑๐๑ สุ ขศึกษาและพลศึกษา ศ๑๒๑๐๑ ศิลปะ ง๑๒๑๐๑ การงานอาชีพและเทคโนโลยี อ๑๒๑๐๑ ภาษาอังกฤษ กิจกรรมเพิม่ เติม Tell Me More II กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน • กิจกรรมแนะแนว • กิจกรรมนักเรี ยน ลูกเสื อ เนตรนารี ชุมนุม • กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ รวมเวลาเรียนทั้งสิ้น

เวลาเรียน (ชั่วโมง / ปี ) ๘๔๐ ๒๐๐ ๒๐๐ ๘๐ ๘๐ ๔๐ ๘๐ ๘๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๑๒๐ ๔๐ ๓๐ ๔๐ ๑๐ ๑,๐๐๐

หมายเหตุ ผูเ้ รี ยนปฏิบตั ิกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์ ในกิจกรรมลูกเสื อ เนตรนารี

หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรี ยนดุสิตวิทยา พุทธศักราช ๒๕๕๓

หน้า ๒๙


ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๓ รายวิชา / กิจกรรม รายวิชาพืน้ ฐาน ท๑๓๑๐๑ ภาษาไทย ค๑๓๑๐๑ คณิ ตศาสตร์ ว๑๓๑๐๑ วิทยาศาสตร์ ส๑๓๑๐๑ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ส๑๓๑๐๒ ประวัติศาสตร์ พ๑๓๑๐๑ สุ ขศึกษาและพลศึกษา ศ๑๓๑๐๑ ศิลปะ ง๑๓๑๐๑ การงานอาชีพและเทคโนโลยี อ๑๓๑๐๑ ภาษาอังกฤษ กิจกรรมเพิม่ เติม Tell Me More III กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน • กิจกรรมแนะแนว • กิจกรรมนักเรี ยน ลูกเสื อ เนตรนารี ชุมนุม • กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ รวมเวลาเรียนทั้งสิ้น

เวลาเรียน (ชั่วโมง / ปี ) ๘๔๐ ๒๐๐ ๒๐๐ ๘๐ ๘๐ ๔๐ ๘๐ ๘๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๑๒๐ ๔๐ ๓๐ ๔๐ ๑๐ ๑,๐๐๐

หมายเหตุ ผูเ้ รี ยนปฏิบตั ิกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์ ในกิจกรรมลูกเสื อ เนตรนารี

หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรี ยนดุสิตวิทยา พุทธศักราช ๒๕๕๓

หน้า ๓๐


ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๔ รายวิชา / กิจกรรม รายวิชาพืน้ ฐาน ท๑๔๑๐๑ ภาษาไทย ค๑๔๑๐๑ คณิ ตศาสตร์ ว๑๔๑๐๑ วิทยาศาสตร์ ส๑๔๑๐๑ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ส๑๔๑๐๒ ประวัติศาสตร์ พ๑๔๑๐๑ สุ ขศึกษาและพลศึกษา ศ๑๔๑๐๑ ศิลปะ ง๑๔๑๐๑ การงานอาชีพและเทคโนโลยี อ๑๔๑๐๑ ภาษาอังกฤษ กิจกรรมเพิม่ เติม Tell Me More IV กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน • กิจกรรมแนะแนว • กิจกรรมนักเรี ยน ลูกเสื อ เนตรนารี ชุมนุ ม • กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ รวมเวลาเรียนทั้งสิ้น

เวลาเรียน (ชั่วโมง / ปี ) ๘๔๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๘๐ ๘๐ ๔๐ ๘๐ ๘๐ ๔๐ ๘๐ ๔๐ ๔๐ ๑๒๐ ๔๐ ๓๐ ๔๐ ๑๐ ๑,๐๐๐

หมายเหตุ ผูเ้ รี ยนปฏิบตั ิกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์ ในกิจกรรมลูกเสื อ เนตรนารี

หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรี ยนดุสิตวิทยา พุทธศักราช ๒๕๕๓

หน้า ๓๑


ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๕ รายวิชา / กิจกรรม รายวิชาพืน้ ฐาน ท๑๕๑๐๑ ภาษาไทย ค๑๕๑๐๑ คณิ ตศาสตร์ ว๑๕๑๐๑ วิทยาศาสตร์ ส๑๕๑๐๑ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ส๑๕๑๐๒ ประวัติศาสตร์ พ๑๕๑๐๑ สุ ขศึกษาและพลศึกษา ศ๑๕๑๐๑ ศิลปะ ง๑๕๑๐๑ การงานอาชีพและเทคโนโลยี อ๑๕๑๐๑ ภาษาอังกฤษ กิจกรรมเพิม่ เติม Tell Me More V กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน • กิจกรรมแนะแนว • กิจกรรมนักเรี ยน ลูกเสื อ เนตรนารี ชุมนุม • กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ รวมเวลาเรียนทั้งสิ้น

เวลาเรียน (ชั่วโมง / ปี ) ๘๔๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๘๐ ๘๐ ๔๐ ๘๐ ๘๐ ๔๐ ๘๐ ๔๐ ๔๐ ๑๒๐ ๔๐ ๓๐ ๔๐ ๔๐ ๑,๐๐๐

หมายเหตุ ผูเ้ รี ยนปฏิบตั ิกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์ ในกิจกรรมลูกเสื อ เนตรนารี

หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรี ยนดุสิตวิทยา พุทธศักราช ๒๕๕๓

หน้า ๓๒


ชั้ นประถมศึกษาปี ที่ ๖ รายวิชา / กิจกรรม รายวิชาพืน้ ฐาน ท๑๖๑๐๑ ภาษาไทย ค๑๖๑๐๑ คณิ ตศาสตร์ ว๑๖๑๐๑ วิทยาศาสตร์ ส๑๖๑๐๑ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ส๑๖๑๐๒ ประวัติศาสตร์ พ๑๖๑๐๑ สุ ขศึกษาและพลศึกษา ศ๑๖๑๐๑ ศิลปะ ง๑๖๑๐๑ การงานอาชีพและเทคโนโลยี อ๑๖๑๐๑ ภาษาอังกฤษ กิจกรรมเพิม่ เติม Tell Me More VI กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน • กิจกรรมแนะแนว • กิจกรรมนักเรี ยน ลูกเสื อ เนตรนารี ชุมนุม • กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ รวมเวลาเรียนทั้งสิ้น

เวลาเรียน (ชั่วโมง / ปี ) ๘๔๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๘๐ ๘๐ ๔๐ ๘๐ ๘๐ ๔๐ ๘๐ ๔๐ ๔๐ ๑๒๐ ๔๐ ๓๐ ๔๐ ๑๐ ๑,๐๐๐

หมายเหตุ ผูเ้ รี ยนปฏิบตั ิกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์ ในกิจกรรมลูกเสื อ เนตรนารี

หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรี ยนดุสิตวิทยา พุทธศักราช ๒๕๕๓

หน้า ๓๓


การกําหนดโครงสร้างเวลาเรี ยนพื้นฐาน และเพิ่มเติมดําเนินการ ดังนี้ ระดับประถมศึกษา โรงเรี ยนดุสิตวิทยาปรับเวลาเรี ยนพื้นฐานของแต่ละกลุ่มสาระการ เรี ยนรู ้ตามความเหมาะสม โดยมีเวลาเรี ยนรวมตามที่กาํ หนดไว้ในโครงสร้างเวลาเรี ยนพื้นฐาน และ ผูเ้ รี ยนมีคุณภาพตามมาตรฐานการเรี ยนรู้และตัวชี้วดั ที่กาํ หนด สําหรับเวลาเรี ยนเพิม่ เติม ไ ด้จดั โดยพิจารณาให้สอดคล้องกับความพร้อม จุดเน้นของ สถานศึกษาและเกณฑ์การจบหลักสู ตร โดยระดับชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๑-๖ โรงเรี ยนดุสิตวิทยาจัด ให้เป็ นเวลาสําหรับสาระการเรี ยนรู ้พ้ืนฐานในกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ภาษาอังกฤษ ในรายวิชา Tell Me More ซึ่ งเป็ นการเรี ยนรู้ทกั ษะการใช้ภาษาอังกฤษในห้องปฏิบตั ิการทางภาษา ผ่านการใช้โปรแกรม คอมพิวเตอร์ กิจกรรมพัฒนาผูเ้ รี ยนที่กาํ หนดไว้ในชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๑ ถึง ๖ ปี ละ ๑๒๐ ชัว่ โมง และ เป็ นเวลาสําหรับปฏิบตั ิกิจกรรมแนะแนวกิจกรรมนักเรี ยน และกิจกรรมเพือ่ สังคมและ สาธารณประโยชน์ ในส่ วนกิจกรรมเพื่อสั งคมและสาธารณประโยชน์ให้สถานศึกษาจัดสรรเวลา ให้ผเู ้ รี ยนได้ปฏิบตั ิกิจกรรม ระดับประถมศึกษา (ป.๑-๖) รวม ๖ ปี จํานวน ๖๐ ชัว่ โมง

การจัดการศึกษาสํ าหรับกลุ่มเป้าหมายเฉพาะ การจัดการศึกษาบางประเภทสําหรับกลุ่มเป้ าหมายเฉพาะ เช่น การศึกษา สําหรับผูเ้ รี ยนที่มี ความต้องการพิเศษ หรื อ ผูเ้ รี ยนที่มีความสามารถพิเศษ ทางโรงเรี ยนได้จดั กิจกรรมการเรี ยนรู ้ แบบเรี ยนร่ วมกับการศึกษาขั้นพื้นฐานทัว่ ไป โดยครู ผสู ้ อนจะปรับเปลี่ยน สามารถปรับใช้ได้ตาม ความเหมาะสมกับสภาพและบริ บทของนักเรี ยนเป็ นรายบุคคล โดยให้มีคุณภาพตามมาตรฐาน ตาม หลักเกณฑ์และวิธีการที่กระทรวงศึกษาธิ การกําหนด

หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรี ยนดุสิตวิทยา พุทธศักราช ๒๕๕๓

หน้า ๓๔


การจัดการเรียนรู้ การจัดการเรี ยนรู้เป็ นกระบวนการสําคัญในการนําหลักสู ตรสู่ การปฏิบตั ิ หลักสู ตร สถานศึกษา เป็ นหลักสู ตรที่มีมาตรฐานการเรี ยนรู ้ สมรรถนะสําคัญและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ของนักเรี ยน เป็ นเป้ าหมายสําหรับพัฒนาเด็กและเยาวชน ในการพัฒนานักเรี ยนให้มีคุณสมบัติตามเป้ าหมายหลักสู ตร ผูส้ อนพยายามคัดสรร กระบวนการเรี ยนรู ้ จัดการเรี ยนรู ้โดยช่วยให้ผเู้ รี ยนเรี ยนรู้ผา่ นสาระที่กาํ หนดไว้ในหลักสู ตร ๘ กลุ่ม สาระการเรี ยนรู ้ รวมทั้งปลูกฝังเสริ มสร้างคุณลักษณะอันพึงประสงค์ พัฒนาทักษะต่างๆ อันเป็ น สมรรถนะสําคัญให้ผเู ้ รี ยนบรรลุตามเป้ าหมาย ๑. หลักการจัดการเรียนรู้ การจัดการเรี ยนรู ้เพือ่ ให้นกั เรี ยนมีความรู ้ความสามารถ ตามมาตรฐานการเรี ยนรู ้ สมรรถนะสําคัญและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามที่กาํ หนดไว้ในหลักสู ตรสถานศึกษา โดยยึด หลักว่า นักเรี ยนมีความสําคัญที่สุด เชื่อว่าทุกคนมีความสามารถเรี ยนรู ้และพัฒนาตนเองได้ ยึด ประโยชน์ท่ีเกิดกับนักเรี ยน กระบวนการจัดการเรี ยนรู ้ตอ้ งส่ งเสริ มให้ผเู ้ รี ยน สามารถพัฒนาตาม ธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ คํานึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคลและพัฒนาการทางสมอง เน้นให้ความสําคัญทั้งความรู ้ และคุณธรรม ๒. กระบวนการเรียนรู้ การจัดการเรี ยนรู้ที่เน้น นักเรี ยนเป็ นสําคัญ นักเรี ยนจะต้องอาศัยกระบวนการเรี ยนรู ้ที่ หลากหลาย เป็ นเครื่ องมือที่จะนําพาตนเองไปสู่ เป้ าหมายของหลักสู ตร กระบวนการเรี ยนรู ้ที่ จําเป็ นสําหรับนักเรี ยน อาทิ กระบวนการเรี ยนรู ้แบบบูรณาการ กระบวนการสร้างความรู ้ กระบวนการคิด กระบวนการทางสังคม กระบวนการเผชิญสถานการ ณ์และแก้ปัญหา กระบวนการ เรี ยนรู ้จากประสบการณ์จริ ง กระบวนการปฏิบตั ิ ลงมือทําจริ ง กระบวนการจัดการกระบวนการวิจยั กระบวนการเรี ยนรู้การเรี ยนรู้ของตนเอง กระบวนการพัฒนาลักษณะนิสัย กระบวนการเหล่านี้เป็ นแนวทางในการจัดการเรี ยนรู้ท่ี นกั เรี ยนควรได้รับการฝึ กฝน พัฒนา เพราะจะสามารถช่วยให้นกั เรี ยนเกิดการเรี ยนรู ้ได้ดี บรรลุเป้ าหมายของหลักสู ตร ดังนั้น ครู ผูส้ อนจึงจําเป็ นต้องศึกษาทําความเข้าใจในกระบวนการเรี ยนรู ้ต่าง ๆ เพื่อให้สามารถเลือกใช้ในการ จัดกระบวนการเรี ยนรู ้ได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ ๓. การออกแบบการจัดการเรียนรู้ ครู ผสู ้ อนต้องศึกษาหลักสู ตรสถานศึกษาให้เข้าใจถึงมาตรฐานการเรี ยนรู ้ ตัวชี้วดั สมรรถนะสําคัญของผูเ้ รี ยน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และสาระการเรี ยนรู ้ที่เหมาะสมกับนักเรี ยน แล้วจึงพิจารณาออกแบบการจัดการเรี ยนรู ้โดยเลือกใช้วธิ ี สอนและเทคนิคการสอน สื่ อ /แหล่ง หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรี ยนดุสิตวิทยา พุทธศักราช ๒๕๕๓

หน้า ๓๕


เรี ยนรู ้ การวัดและประเมินผล เพื่อให้ นักเรี ยนได้พฒั นาเต็มตามศักยภาพและบรรลุตามเป้ าหมายที่ กําหนด ๔. บทบาทของครูผู้สอนและนักเรียน การจัดการเรี ยนรู ้เพือ่ ให้นกั เรี ยนมีคุณภาพตามเป้ าหมายของหลักสู ตร ทั้ง ครู ผสู้ อนและ นักเรี ยนควรมีบทบาท ดังนี้ ๔.๑ บทบาทของครู ผสู ้ อน ๑) ศึกษาวิเคราะห์นกั เรี ยนเป็ นรายบุคคล แล้วนําข้อมูลมาใช้ในการวางแผน การจัดการเรี ยนรู ้ ที่ทา้ ทายความสามารถของนักเรี ยน ๒) กําหนดเป้ าหมายที่ตอ้ งการให้เกิดขึ้นกับนักเรี ยน ด้านความรู้และทักษะ กระบวนการ ที่เป็ นความคิดรวบยอด หลักการ และความสัมพันธ์ รวมทั้งคุณลักษณะอันพึง ประสงค์ ๓) ออกแบบการเรี ยนรู ้และจัดการเรี ยนรู ้ที่ตอบสนองความแตกต่างระหว่าง บุคคลและพัฒนาการทางสมอง เพือ่ นํานักเรี ยนไปสู่ เป้ าหมาย ๔) จัดบรรยากาศที่เอื้อต่อการเรี ยนรู้ และดูแลช่วยเหลือ นักเรี ยนให้เกิดการเรี ยนรู ้ ๕) จัดเตรี ยมและเลือกใช้สื่อให้เหมาะสมกับกิจกรรม นําภูมิปัญญาท้องถิ่น เทคโนโลยีที่เหมาะสมมาประยุกต์ใช้ในการจัดการเรี ยนการสอน ๖) ประเมินความก้าวหน้าของนักเรี ยนด้วยวิธีการที่หลากหลาย เหมาะสม กับธรรมชาติของวิชาและระดับพัฒนาการของนักเรี ยน ๗) วิเคราะห์ผลการประเมินมาใช้ในการซ่อมเสริ มและพัฒนานักเรี ยน รวมทั้ง ปรับปรุ งการจัดการเรี ยนการสอนของตนเอง ๔.๒ บทบาทของนักเรี ยน ๑) กําหนดเป้ าหมาย วางแผน และรับผิดชอบ การเรี ยนรู้ของตนเอง ๒) เสาะแสวงหาความรู ้ เข้าถึงแหล่งการเรี ยนรู ้ วิเคราะห์ สังเคราะห์ขอ้ ความรู ้ ตั้งคําถาม คิดหาคําตอบหรื อหาแนวทางแก้ปัญหาด้วยวิธีการต่าง ๆ ๒) ลงมือปฏิบตั ิจริ ง สรุ ปสิ่ งที่ได้เรี ยนรูด้​้ วยตนเอง และนําความรู้ไปประยุกต์ใช้ ในสถานการณ์ต่าง ๆ ๓) มีปฏิสัมพันธ์ ทํางาน ทํากิจกรรมร่ วมกับกลุ่มและครู ๔) ประเมินและพัฒนากระบวนการเรี ยนรู้ของตนเองอย่างต่อเนื่อง

หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรี ยนดุสิตวิทยา พุทธศักราช ๒๕๕๓

หน้า ๓๖


สื่ อการเรียนรู้ สื่ อการเรียนรู้ เป็ นเครื่ องมือส่ งเสริ มสนับสนุนการจัดการกระบวนการเรี ยนรู้ ให้นกั เรี ยน เข้าถึงความรู ้ทกั ษะกระบวนการ และคุณลักษณะตามมาตรฐานของหลักสู ตรได้อย่างมี ประสิ ทธิภาพ สื่ อการเรี ยนรู ้มีหลากหลายประเภท ทั้ งสื่ อธรรมชาติ สื่ อสิ่ งพิมพ์ สื่ อเทคโนโลยี และเครื อข่าย การเรี ยนรู ้ต่างๆ ที่มี ในท้องถิ่น การเลือกใช้ส่ื อ ครู ผสู้ อนเลือกใช้ส่ ื อให้มีความเหมาะสมกับระดับ พัฒนาการ และลีลาการเรี ยนรู ้ที่หลากหลายของผูเ้ รี ยน การจัดหาสื่ อการเรี ยนรู ้ นักเรี ยนและครู ผสู้ อนสามารถจัดทําและพัฒนาขึ้นเอง หรื อ ปรับปรุ งเลือกใช้อย่างมีคุณภาพจากสื่ อต่างๆ ที่มีอยูร่ อบ ตัวเพื่อนํามาใช้ประกอบในการจัดการ เรี ยนรู ้ที่สามารถส่ งเสริ มและสื่ อสารให้ผเู ้ รี ยนเกิดการเรี ยนรู ้ โดย โรงเรี ยนจะจัดสื่ อการเรี ยนรู้ ให้มี อย่างพอเพียง เพือ่ พัฒนาให้นกั เรี ยน เกิดการเรี ยนรู ้อย่างแท้จริ ง การดําเนินการมีดงั นี้ ๑. จัดให้มีแหล่งการเรี ยนรู ้ ศูนย์ สื่ อการเรี ยนรู ้ ระบบสารสนเทศการเรี ยนรู ้ และเครื อข่าย การเรี ยนรู ้ที่มีประสิ ทธิ ภาพทั้งในสถานศึกษาและในชุมชน เพื่อการศึกษาค้นคว้าและการ แลกเปลี่ยนประสบการณ์การเรี ยนรู ้ ระหว่างสถานศึกษา ท้องถิ่น ชุมชน สังคมโลก ๒. จัดทําและจัดหาสื่ อการเรี ยนรู ้สาํ หรับการศึกษาค้นคว้าของนักเรี ยน เสริ มความรู ้ให้ ครู ผูส้ อน รวมทั้งจัดหาสิ่ งที่มีอยูใ่ นท้องถิ่นมาประยุกต์ใช้เป็ นสื่ อการเรี ยนรู ้ ๓. เลือกและใช้สื่อการเรี ยนรู ้ที่มีคุณภาพ มีความเหมาะสม มีความหลากหลาย สอดคล้อง กับวิธีการเรี ยนรู ้ ธรรมชาติของสาระการเรี ยนรู ้ และความแตกต่างระหว่างบุคคลของนักเรี ยน ๔. ประเมินคุณภาพของสื่ อการเรี ยนรู ้ที่เลือกใช้อย่างเป็ นระบบ ๕. ศึกษาค้นคว้า วิจยั เพื่อพัฒนาสื่ อการเรี ยนรู ้ให้สอดคล้องกับกระบวนการเรี ยนรู ้ของ นักเรี ยน ๖. จัดให้มีการกํากับ ติดตาม ประเมินคุณภาพและประสิ ทธิ ภาพเกี่ยวกับสื่ อและการใช้สื่อ การเรี ยนรู้เป็ นระยะๆ และสมํ่าเสมอ ในการจัดทํา การเลือกใช้ และการประเมินคุณภาพสื่ อการเรี ยนรู ้ที่ใช้ ได้คาํ นึงถึงหลักการ สําคัญของสื่ อการเรี ยนรู ้ เช่น ความสอดคล้องกับหลักสู ตร วัตถุประสงค์การเรี ยนรู ้ การออกแบบ กิจกรรมการเรี ยนรู ้ การจัดประสบการณ์ให้ ผูเ้ รี ยน เนื้อหามีความถูกต้องและทันสมัย ไม่กระทบ ความมัน่ คงของชาติ ไม่ขดั ต่อศีลธรรม มีการใช้ภาษาที่ถูกต้อง รู ปแบบการนําเสนอที่เข้าใจง่าย และน่าสนใจ

หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรี ยนดุสิตวิทยา พุทธศักราช ๒๕๕๓

หน้า ๓๗


ส่ วนที่ ๓ คําอธิบายรายวิชา


สาระการเรียนรู้ ภาษาไทย


ท ๑๑๑๐๑ ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๑

คําอธิบายรายวิชาขั้นพืน้ ฐาน

กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ภาษาไทย เวลาเรี ยน ๒๐๐ ชัว่ โมง

มารยาทในการฟัง คําสัง่ คําแนะนํา ข้อปฏิบตั ิในการฟัง เรื่ องที่เป็ นความรู ้ ความบันเทิง วัตถุประสงค์การพูดสื่ อสาร มารยาทในการดู มารยาทในก ารพูด พยัญชนะ สระ วรรณยุกต์ ตัวเลขไทย การคัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดตามรู ปแบบการเขียนอักษรไทย การสะกดคําและ แจกรู ปคํา การเขียนคํา คําที่ประสมสระ คําที่อยูใ่ นมาตราตัวสะกด การเขียนตามคําบอก อักษรนํา คําควบกลํ้า อักษรสู ง อักษรกลาง อักษรตํ่า คํา และความหมายของคํา รู ป ประโยค คําคล้องจอง การเรี ยงลําดับคําให้เป็ นประโยค การจับใจความสําคัญ การเล่าเรื่ อง ข้อคิดจากวรรณกรรม ร้อยแก้ว และร้อยกรอง บทอาขยาน หลักเศรษฐกิจพอเพียงเบื้องต้น โดยการอ่าน ออกเสี ยง อ่านในใจ คํา คําคล้องจอง ข้อความสั้นๆ บอกความหมายของคํา และข้อความที่อ่าน ต อบคําถามตั้งคําถาม เล่าเรื่ องย่อจากเรื่ องที่อ่าน เลือกอ่านหนังสื อตามความ สนใจ นําเสนอเรื่ องที่อ่าน คัดลายมือ ตัวบรร จงเต็มบรรทัด เขียนอักษรไทย เขียนสื่ อสารด้วยคํา ประโยค ฟังคําแนะนํา คําสั่ง และปฏิบตั ิตามคําสั่ง เล่าเรื่ องที่ฟัง ดู ทั้งที่เป็ นความ รู ้ แล ะความ บันเทิง พูดแสดงความรู ้สึก ความคิดเห็นจากเรื่ องที่ฟัง และดู บอกและเขียนพยัญชนะ สระ วรรณยุกต์และเลขไทย เขียนสะกดคํา บอกความหมายของคํา เรี ยงเรี ยงคําให้เป็ นประโยค บอก ลักษณะของคําคล้องจอง เลือกใช้ภาษาถิ่น ภาษาไทยมาตรฐาน ท่องบทอาขยาน ท่องบทร้อย กรอง การใช้เทคโนโลยี การใช้แหล่งเรี ยนรู้ ทําโครงงาน เพือ่ ให้ เกิดความรู ้ในการอ่าน มีนิสัยรักการอ่าน ใฝ่ เรี ยนรู ้ มีวนิ ยั มีความมุ่ งมัน่ ในการ ทํางาน มีม ารยาทในการอ่าน การเขียน การฟัง การดู และการพูด เห็นคุณค่าของภาษาไทย ภาคภูมิใจในความเป็ นไทย รักภาษาไทย มีความรั กชาติ ศาสนา พระมหากษัตริ ย ์ มีจิตสํานึกรัก ภาษาไทยไว้เป็ นสมบัติของชาติ มีจิตเอื้อเฟื้ อ อยูอ่ ย่างพอเพียง นําข้อคิดที่ได้จากการฟัง ดู พูด ไปใช้ ในชีวติ ประจําวัน ร้องบทร้อง บทเล่น สําหรับเด็ก ในท้องถิ่นได้ รหัสตัวชี้วดั ท ๑.๑ ป. ๑/๑, ป. ๑/๒ , ป. ๑/๓ , ป ๑/๔, ป. ๑/๕, ป.๑/๖, ป. ๑/๗, ป.๑/๘ ท ๒.๑ ป. ๑/๑ , ป. ๑/๒, ป. ๑/๓ ท ๓.๑ ป. ๑/๑ , ป. ๑/๒ , ป. ๑/๓ , ป ๑/๔, ป.๑/๕ ท ๔.๑ ป. ๑/๑ ,ป. ๑/๒ , ป. ๑/๓ , ป๑/๔ ท. ๕.๑ ป. ๑/๑ , ป. ๑/๒ รวม ๒๒ ตัวชี้วดั

หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรี ยนดุสิตวิทยา พุทธศักราช ๒๕๕๓

หน้า ๔๐


ท ๑๒๑๐๑ ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๒

คําอธิบายรายวิชาขั้นพืน้ ฐาน

กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ภาษาไทย เวลา ๒๐๐ ชัว่ โมง

ศึกษาคํา คําคล้องจอง ข้อความและบทร้อยกรองง่าย ๆ ใจความสําคัญรายละเอียดจาก เรื่ องที่อ่าน เรื่ องราวเหตุการณ์ ข้อเขียนเชิงอธิ บาย มารยาทในการอ่านหนังสื อ รู ปแบบการเขียน ตัวอักษรไทย เรื่ องสั้นเกี่ยวกับประสบการณ์ เรื่ องสั้นตามจินตนาการ มารยาทในการเขียน เขียน อ่านง่าย สะอาดไม่ขีดฆ่า ไม่ขีดเขียนในที่สาธารณะ ใช้ภาษาเขียนเหมาะกับเวลา สถานที่ และ บุคคล ไม่เขียนล้อเลียนผูอ้ ่ืน หรื อเขียนข้อความที่ทาํ ให้ผอู้ ่ืนเสี ยหาย คําแนะนํา คําสัง่ ซับซ้อน เรื่ องที่ฟังและดูที่เป็ นความรู ้สาระสําคัญของเรื่ องที่ฟังและดู หลักการพูดแสดงความคิดเห็น และ ความรู ้สึกจากเรื่ องที่ฟังและดู หลักการพูดแนะนําตนเอง หลักการพูดขอความช่วยเหลือ หลักการ กล่าวคําขอบคุณ คําขอโทษ หลักการพูดขอร้องในโอกาสต่าง ๆ ประสบการณ์ในชีวติ ประจําวัน มารยาทในการฟัง การดู การพูด พยัญชนะ สระ วรรณยุกต์ เลขไทย คําและความหมายของคํา ประโยค คําขวัญประจําอําเภอ คําคล้องจอง ภาษาถิ่น ภาษามาตรฐาน นิทาน บทร้องเล่นที่มี คุณค่า บทอาขยาน หลักเศรษฐกิจพอเพียง โดยการอ่านออกเสี ยง อ่านในใจ อธิ บาย ตั้งคําถามตอบคําถามจากเรื่ องที่อ่าน จับ ใจความสําคัญจากการอ่าน คาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่ องที่อ่าน นําเสนอเรื่ องที่อ่าน ปฏิบตั ิตาม คําสั่งและคําแนะนํา อ่านอย่างมีมารยาท คัดลายมือ เขียนเรื่ อง เขียนอย่างมีมารยาท ฟังและ ปฏิบตั ิตามคําสั่ง ตอบคําถามและเล่าเรื่ อง การดู การฟัง ฝึ กเป็ นรายบุคคลให้ปฏิบตั ิจริ ง พูดแสดง ความคิดเห็นและพูดถึงความรู ้สึก พูดสื่ อสารชีวติ ประจําวัน มารยาทในการฟัง ตั้งใจฟัง ตามองผู ้ พูด ไม่พดู รบกวนผูอ้ ื่น ไม่ควรนําอาหารมารับประทาน ไม่ควรพูดแทรก มารยาทการดู ตั้งใจดู ไม่ส่งเสี ยงดัง หรื อแสดงอาการรบกวนสมาธิ ผอู ้ ื่น มารยาทในการพูดใช้ถอ้ ยคําหรื อกริ ยาที่สุภาพ เหมาะสมกับกาลเทศะ ใช้เสี ยงนุ่มนวล ไม่พดู สอดแทรกขณะผูอ้ ื่นกําลังพูด ไม่พดู ล้อเลียนผูอ้ ื่นให้ ได้รับความอับอาย บอกเขียน เรี ยงคํา เลือกใช้ บอกข้อคิด อ่าน ฟังวรรณกรรม ทําโครงงาน เพือ่ ให้เกิดนิสัยรักการอ่าน เห็นคุณค่าของการอนุรักษ์ภาษาไทยและตัวเลขไทย มีวนิ ยั ซื่ อสัตย์สุจริ ต ใฝ่ รู ้ ใฝ่ เรี ยน มีจิตสาธารณ มุ่งมัน่ ในการทํางาน กล้าแสดงออก ช่างสังเกต ช่าง ซักถาม มีมารยาทในการอ่าน มีมารยาทในการเขียน มีมารยาทในการฟัง ฟังเรื่ องราวต่าง ๆ ได้ เล่าเรื่ องจากการฟัง การดูได้ วิเคราะห์แยกแยะเรื่ องราวจากการฟังได้ มีความซื่อสัตย์สุจริ ต รัก ชาติ ศาสน์ กษัตริ ย ์ มีความเป็ นอยูอ่ ย่างพอเพียง รักความเป็ นไทย มีน้ าํ ใจเอื้อเฟื้ อต่อส่ วนรวม พูด สื่ อสารได้ตามวัตถุประสงค์ มีมารยาทในดู การพูด ใช้ภาษาได้เหมาะสมกับกาลเทศะ นําข้อคิด จากเรื่ องที่ฟัง ดู พูด ไปใช้ในชีวติ ประจําวัน

หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรี ยนดุสิตวิทยา พุทธศักราช ๒๕๕๓

หน้า ๔๑


รหัสตัวชี้วดั ท ๑.๑ ป. ๒/๑ , ป. ๒/๒ , ป. ๒/๓ , ป ๒/๔, ป. ๒/๕, ป.๒/๖, ป. ๒/๗, ป. ๒/๘ ท ๒.๑ ป. ๒/๑ , ป. ๒/๒ , ป. ๒/๓ , ป. ๒/๔ ท ๓.๑ ป. ๒/๑ ,ป. ๒/๒ ,ป. ๒/๓ , ป ๒/๔, ป. ๒/๕,ป.๒/๖, ป. ๒/๗ ท ๔.๑ ป. ๒/๑ , ป. ๒/๒ , ป. ๒/๓ , ป. ๒/๔ ป. ๒/๕ ท ๕.๑ ป. ๒/๑ ป.๒/๒,ป. ๒/๓ รวม ๒๗ ตัวชี้วดั

หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรี ยนดุสิตวิทยา พุทธศักราช ๒๕๕๓

หน้า ๔๒


คําอธิบายรายวิชาขั้นพืน้ ฐาน

ท ๑๓๑๐๑ ภาษาไทย กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๓ เวลาเรี ยน ๒๐๐ ชัว่ โมง คํา ข้อความ เรื่ องสั้น บทร้อยกรอง คําคล้องจอง ความหมายของคํา และข้อความ เหตุการณ์ ข้อคิด เรื่ องราวต่างๆ สรุ ปความรู ้ ข้อคิดจากเรื่ องที่อ่าน ข้อเขียน หลักการปฏิบตั ิ ความหมายของข้อมูล เรื่ องเกี่ยวกับประสบการณ์ และเรื่ องตามจินตนาการ ข้อปฏิบตั ิในการอ่าน วิธีการคัดลายมือ วิธีการเขียนบรรยาย วิธีการเขียนบันทึก วิธีการเขียนจดหมา ยลาครู วิธีการเขียน เรื่ อง มารยาทในการเขียน รายละเอียดของเรื่ อง ตั้งคําถาม ตอบคํา ถามเรื่ องที่ฟังและดู ข้อความ เรื่ องราว มารยาทในการฟัง ดู พูด คํา และความหมายของคํา ชนิดของคํา และหน้าที่ของคํา วิธีการ แต่งประโยค คําขวัญ คําสุ ภาษิต คําพังเพย วิธีการแต่งคําคล้องจอง ภาษาไทยมาตรฐาน ภาษา ถิ่น เรื่ องราวจากวรรณกรรม เพลงพื้นบ้าน เพลงกล่อมเด็ก วรรณคดี บทอาขยาน บทร้อยกรอง เศรษฐกิจพอเพียง โดยการอ่านออกเสี ยง อ่านในใจ อธิ บาย ตั้งคําถาม ตอบคําถาม ลําดับเรื่ อง คาดคะเน เหตุการณ์ ระบุเหตุผล สรุ ปข้อคิดจากเรื่ องที่อ่าน ปฏิบตั ิตามคําสั่ง คําแนะนํา อธิบายแผนที่ แผนภูมิ คัดลายมือ ตัวบรรจงเต็มบรรทัด เขียนบรรยาย เขียนสะกดคํา เขียนบันทึกประจําวัน เขียนจดหมายลาครู เขียนเรื่ องตามจินตนาการ เขียนเรื่ องจากภาพ เขียนอย่างมีมารยาท เล่า บอก ตั้งคําถาม ตอบคําถามจากเรื่ องที่ฟัง ดู พูดแสดงความคิดเห็น ฟัง ดู พูด อย่างมีมารยาท เขียนสะกด คํา บอกความหมายของคํา ระบุ ชนิดและหน้าที่ของคํา บอก เขียนความหมายของคํา แต่งประโยค แต่งคําคล้องจอง แต่งคําขวัญ พูดเขียนภาษาถิ่น ภาษาไทยมาตรฐาน ระบุขอ้ คิดจากการอ่าน บอก เขียนเพลงพื้นบ้าน แสดงความคิดเห็นวรรณคดีที่อ่าน ท่องจํา บทอาขยาน ทําโครงงาน เพือ่ ให้เห็นคุณค่าของการอนุรักษ์ภาษาไทย และตัวเลขไทย มี ความรู ้ในการอ่าน มี มารยาทในการอ่าน มีเหตุผล มีทกั ษะในการคาดคะเน มีทกั ษะในการสรุ ปความรู ้ มีทกั ษะในการ นําเสนอ มีมารยาทในการเขียน เขียนได้ถูกต้องตามหลักเกณฑ์ มีความคิดสร้างสรรค์ มีวนิ ยั มี ความซื่อสัตย์สุจริ ต รักชาติ ศาสนา พระมหากษัตริ ย ์ ใฝ่ เรี ยนรู้ อยูอ่ ย่างพอเพียง มุ่งมัน่ ในการ ทํางาน พูดตรงตามวัตถุประสงค์ มีมารยาทในการฟัง ดู พูด ชื่นชมวัฒนธรรมท้องถิ่น ภูมิปัญญา ท้องถิ่น รักความเป็ นไทย มีจิตสาธารณะ สามารถนําความรู ้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ในชีวติ ประจําวัน ได้อย่างถูกต้องเหมาะสม รหัสตัวชี้วดั ท ๑.๑ ป.๓/๑ , ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕ ,ป.๓/๖ ,ป.๓/๗, ป.๓/๘, ป.๓/๙ ท ๒.๑ ป.๓/๑ , ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕ ,ป.๓/๖ ท ๓.๑ ป.๓/๑ , ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕ ,ป.๓/๖ ท ๔.๑ ป.๓/๑ , ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕ ,ป.๓/๖ หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรี ยนดุสิตวิทยา พุทธศักราช ๒๕๕๓

หน้า ๔๓


ท ๕.๑ ป.๓/๑ , ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔ รวม ๓๑ ตัวชี้วดั

หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรี ยนดุสิตวิทยา พุทธศักราช ๒๕๕๓

หน้า ๔๔


ท ๑๔๑๐๑ ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๔

คําอธิบายรายวิชาขั้นพืน้ ฐาน

กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ภาษาไทย เวลาเรี ยน ๑๖๐ ชัว่ โมง

ศึกษาบทร้อยแก้วและบทร้อยกรอง ความหมายของคํา ประโยคและสํานวนจาก เรื่ องสั้ น ๆ ตามเวลาที่กาํ หนด ข้อเท็จจริ งและข้อคิดเห็นจากเรื่ องที่อ่าน คาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่ องที่อ่าน การสรุ ปความรู ้และข้อคิดจากเรื่ องที่อ่าน การเลือกอ่านหนังสื อ วิธีการคัดลายมือ การเขียน สื่ อสาร การเขียนแผนภาพโครงเรื่ องและแผนภาพความคิดเพื่อ การเขียนย่ อความ วิธีการเขียนจด หมายถึงเพื่อน บิดาและมารดา การเขียนบันทึกและรายงาน เขียนเรื่ องตามจินตนาการ หลักการ การพูดสรุ ปจากการฟังและดู รายงานเรื่ องหรื อประเด็นที่ศึกษาค้นคว้าจากการฟัง การดูและการ สนทนา หลักการเขียน การสะกดคํา ในบริ บทต่าง ๆ ชนิดและหน้าที่ข องคําในประโยค การใช้ พจนานุกรมค้นหาความหมายของคํา วิธีการแต่งประโยค บทร้อยกรองและคําขวัญประจําท้องถิ่น สํานวน ภาษาไทยมาตรฐานและภาษาถิ่น ข้อคิดจากนิทานพื้นบ้านหรื อนิทานคติธรรม เพลง พื้นบ้าน บทอาขยานตามที่กาํ หนดและบทร้อยกรอง โดยใช้กระบวนการอ่าน กระบวนการเขี ยน กระบวนการแสวงหาความรู้ กระบวนการ กลุ่ม กระบวนการคิดวิเคราะห์และสรุ ปความ กระบวนการคิดอย่างมีวจิ ารณญาณ กระบวนการสื่ อ ความ กระบวนการแก้ปัญหา การฝึ กปฏิบตั ิ อธิ บาย บันทึก การตั้งคําถาม ตอบคําถาม ใช้ทกั ษะ การฟัง การดูและการพูด พูดแสดงความคิดเห็น กร ะบวนการสร้างความคิดรวบยอดจําแนก ข้อเท็จจริ งและข้อคิดเห็น เพื่อให้เห็นคุณค่าของการอนุรักษ์ภาษาไทย และตัวเลขไทย มีวนิ ยั ซื่อสัตย์สุจริ ตใฝ่ รู้ใฝ่ เรี ยน มุ่งมัน่ ในการทํางาน อยูอ่ ย่างพอเพียง มีจิตสาธารณะ สามารถนําความรู ้ไปใช้ให้เกิด ประโยชน์ในชีวติ ประจําวันได้อย่างถูกต้องเหมาะสม รหัสตัวชี้วดั ท๑.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔, ป.๔/๕, ป.๔/๖, ป.๔/๗, ป.๔/๘ ท๒.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔, ป.๔/๕, ป.๔/๖, ป.๔/๗, ป.๔/๘ ท๓.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔, ป.๔/๕, ป.๔/๖ ท๔.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔, ป.๔/๕, ป.๔/๖, ป.๔/๗ ท๕.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔ รวม ๓๓ ตัวชี้วดั

หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรี ยนดุสิตวิทยา พุทธศักราช ๒๕๕๓

หน้า ๔๕


ท ๑๕๑๐๑ ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๕

คําอธิบายรายวิชาขั้นพืน้ ฐาน

กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ภาษาไทย เวลาเรี ยน ๑๖๐ ชัว่ โมง

ศึกษาบทร้อยแก้ว ร้อยกรอง ความหมายของคํา ประโยค ข้อความที่ เป็ นการบรรยายและ พรรณนา ความหมายโดยนัยจากเรื่ องที่อ่าน ข้อเท็จจริ ง บทความ เรื่ องราวงานเขียนเชิงอธิ บายสั่ง สอน ข้อแนะนํา หนังสื อที่มีคุณค่า มารยาทในการอ่าน การคัดลายมือ ข้อความที่ใช้สื่อสารที่ ถูกต้อง แผนภาพโครงเรื่ อง แผนภาพความคิด ข้อความที่ใช้ยอ่ ค วาม บทความ คําขวัญประจํา อําเภอ คําขวัญประจําจังหวัด นิทาน จดหมายถึงผูป้ กครองและญาติ ความรู ้สึก ความคิดเห็น แบบ กรอกรายการต่างๆ เรื่ องตามจินตนาการ มารยาทในการเขียน ความรู ้ จากเรื่ องที่ฟังและดู มารยาทในการฟัง ดู และพูด ชนิดและหน้าที่ของคําในประโยค ส่ วนปร ะกอบของประโยค ภาษา ถิ่น ภาษาไทยมาตรฐาน คําราชาศัพท์ คําภาษาต่างประเทศ สํานวนภาษา วรรณคดี วรรณกรรมที่ อ่าน ความรู ้ ข้อคิดจากวรรณคดี วรรณกรรม คุณค่าของวรรณคดี วรรณกรรม บทอาขยาน เศรษฐกิจพอเพียง โดยการอ่านออกเสี ยง อ่านในใจ อธิ บาย แยกแยะ วิเคราะห์ และแสดงความคิดเห็น ปฏิบตั ิตามคําสั่ง คําแนะนํา คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดและครึ่ งบรรทัด เขียนสื่ อสารโดยใช้ คําไดถูกต้อง ชัดจน และเหมาะสม เขียนแผนภาพโครงเรื่ อง และแผนภาพความคิด เขียนย่อความ จากเรื่ องที่อ่าน เขียนจดหมายถึงผูป้ กครองและญาติ เขียนแสดงความรู ้ สึ กและความคิดเห็นได้ตรง ตามเจตนา กรอกแบบรายการต่างๆ เขียนเรื่ องตามจินตนาการ พูดแสดงความรู ้ ความคิดเห็น และ ความรู ้สึก ตั้งคําถาม และตอบคําถามเชิงเหตุผลจากเรื่ องที่ฟังและดู วิเคราะห์ความน่าเชื่อถือจาก เรื่ องที่ฟังและ ดู อย่างมีเหตุผล พูดรายงานจากการศึกษา ค้นคว้า ฟัง ดู พูด อย่างมีมารยาท ระบุ ชนิดและหน้าที่ของคําในประโยค จําแนกส่ วนประกอบของประโยค เปรี ยบเทียบภาษาไทย มาตรฐานกับภาษาถิ่น ใช้คาํ ราชาศัพท์ บอกคําภาษาต่างประเทศในภาษาไทย แต่งบทร้อยกรอง ใช้ สํานวนได้ถูกต้อง สรุ ปเรื่ องจากวรรณคดีหรื อวรรณกรรมที่อ่าน ระ บุความรู ้และข้อคิดจากการอ่าน วรรณคดีและวรรณกรรม อธิ บายคุณค่าของวรรณคดีและวรรณกรรม ท่องจําบทอาขยาน ทํา โครงงาน เพื่อให้เกิดความรู ้ดา้ นการอ่าน การเขียน การฟัง การดู การพูด การใช้หลักภาษาไทย วรรณคดีและวรรณกรรม เห็นคุณค่าของภาษาไทย ใฝ่ เรี ยนรู้ มีวนิ ยั ในตนเ อง มีความมุ่งมัน่ ใน การทํางาน มีเจตคติที่ดี ซาบซึ้ ง หวงแหนในภาษาไทย มีมารยาทในการอ่าน การฟัง การดู การ พูด และการเขียน มีความรักชาติ ศาสนา พระมหากษัตริ ย ์ ซื่อสัตย์ต่อตนเองและผูอ้ ื่น สามารถนํา ภาษาไทยไปใช้ในชีวติ ประจําวันได้อย่างถูกต้อง มีความสุ ขบนพื้ นฐานของความเป็ นไทย เห็น คุณค่าของนิทาน เพลงพื้นบ้าน วรรณกรรมพื้นบ้าน เขียนเรื่ องแสดงความคิดเห็นเชิงวิจารณ์ได้ มี ความคิดสร้างสรรค์ รักภาษาไทยและภาษาถิ่น มีความซาบซึ้ งในบทอาขยาน บทร้อยกรองที่ท่อง หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรี ยนดุสิตวิทยา พุทธศักราช ๒๕๕๓

หน้า ๔๖


รหัสตัวชี้วดั ท๑.๑ ป๕/๑, ป๕/๒, ป๕/๓, ป๕/๔, ป๕/๕, ป๕/๖ ,ป๕/๗ ,ป๕/๘ ท๒.๑ ป๕/๑ , ป๕/๒, ป๕/๓, ป๕/๔, ป๕/๕ ,ป๕/๖ ,ป๕/๗, ป๕/๘, ป๕/๙ ท๓.๑ ป๕/๑ , ป๕/๒, ป๕/๓, ป๕/๔, ป๕/๕ ท๔.๑ ป๕/๑ , ป๕/๒, ป๕/๓, ป๕/๔, ป๕/๕ ,ป๕/๖ , ป๕/๗ ท๕.๑ ป๕/๑ , ป๕/๒, ป๕/๓, ป๕/๔ รวม ๓๓ ตัวชี้วดั

หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรี ยนดุสิตวิทยา พุทธศักราช ๒๕๕๓

หน้า ๔๗


ท ๑๖๑๐๑ ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๖

คําอธิบายรายวิชาขั้นพืน้ ฐาน

กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ภาษาไทย เวลาเรี ยน ๑๖๐ ชัว่ โมง

บทร้อยแก้ว บทร้อยกรอง เรื่ องสั้น ความหมายของคําประโยคและข้อความที่เป็ นโวหาร ข้อเท็จจริ ง ข้อคิดเห็น นําความรู ้ ความคิดจากเรื่ องที่อ่านไปตัดสิ นใจแก้ปัญห าในการดําเนินชีวติ ความหมายของข้อมูลจากแผนผัง แผนที่ แผนภูมิและกราฟ การอ่านหนังสื อตามความสนใจ มารยาทในการอ่าน การคัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดและครึ่ งบรรทัด การเขียนสื่ อสาร การ เขียนแผนภาพโครงเรื่ อง แผนภาพความคิด การเขียนเรี ยงความ การเขียนย่อความ การเ ขียน จดหมายส่ วนตัว การกรอกแบบรายการต่างๆ การเขียนเรี ยงความจากจินตนาการและความคิด สร้างสรรค์ตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง มารยาทในการเขียน การพูดแสดงความรู ้ ความเข้าใจ จุดประสงค์ของเรื่ องที่ฟังและดู การตั้งคําถามตอบคําถามจากเรื่ องที่ฟังและดู การวิเคราะห์ความ น่าเชื่อจากการฟังและดู การพูดรายงานเรื่ องหรื อประเด็นที่ศึกษาค้นคว้าจากการฟังดูและการ สนทนา การพูดโน้มน้าวอย่างมีเหตุผลและน่าเชื่อถือ มารยาทในการฟัง การดู และการพูด ชนิด และหน้าที่ของคําในประโยค การใช้คาํ ได้เหมาะสมกับกาลเทศะและบุคคล ความหมายของคํา ภาษาต่างประเทศที่ใช้ในภาษาไทย ลักษณะของประโยค ลักษณะของวลี การแต่งบทร้อยกรอง การแต่งคําประพันธ์ สํานวน ภาษา สุ ภาษิต คําพังเพย วรรณคดี วรรณกรรม นิทานพื้นบ้าน ท้องถิ่นตนเอง นิทานพื้นบ้าน ท้องถิ่นอื่น คุณค่าของวรรณคดีและวรรณกรรม โดยการอ่านออกเสี ยง อ่านในใจ อ่านร้อยแก้ ว ร้อยกรอง เรื่ องสั้น อธิ บายความหมายของ คํา ประโยคข้อความ ข้อเท็จจริ ง ข้อคิดเห็น ปฏิบตั ิตามคําสั่ง คัดลายมือ เขียนเรี ยงความ เขียน แผนภาพโครงเรื่ อง เขียนแผนภาพความคิด เขียนสื่ อสาร เขียนย่อความ เขียนจดหมาย กรอก แบบรายการ เขียนเรื่ องตามจินตนาการ พูดแ สดงความคิดเห็น พูดตั้งคําถาม ตอบคําถาม พูด วิเคราะห์เรื่ องจากการอ่านและการฟัง การศึกษาค้นคว้า พูดโน้มน้าว พูดอย่างมีมารยาท วิเคราะห์ ชนิดและหน้าที่ของคํา ใช้คาํ รวบรวมคํา บอกความหมายของคํา ภาษาต่างประเทศ ระบุลกั ษณะ ของประโยค แต่งประโยค วิเคราะห์สาํ นวน สุ ภ าษิต คําพังเพย เปรี ยบเทียบสํานวนต่างๆ แสดง ความคิดเห็น เล่าเรื่ อง อธิ บายคุณค่าของวรรณคดี วรรณกรรม นําไปใช้ในชีวติ ท่องจําบทอาขยาน โครงงาน โต้วาที เพือ่ ให้อ่านในใจ อ่านออกเสี ยงได้คล่องแคล่ว มีบุคลิกภาพที่ดีในการอ่าน นําความรู ้ไป ใช้ในการแก้ไขปั ญหาในการดําเนินชีวติ มีมารยาทในการฟัง การพูด การอ่าน และการเขียน เลือก อ่านหนังสื อได้เหมาะสมกับวัย มีมารยาทในการดูภาพยนตร์ ละคร ดนตรี มีวนิ ยั ในการทํางาน มุ่งมัน่ ในการทํางาน ใฝ่ เรี ยนรู ้ ศึกษาหาความรู ้เสมอ มีความรักชาติ ศาสนา กษัตริ ย ์ มีความ ซื่ อสัตย์ สุ จริ ต รัก ความเป็ นไทย อยูอ่ ย่างพอเพียง มีจิตสาธารณะ เห็นแก่ประโยชน์ส่วนรวม เห็น

หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรี ยนดุสิตวิทยา พุทธศักราช ๒๕๕๓

หน้า ๔๘


คุณค่าของวรรณคดี วรรณกรรม เพลงพื้นบ้านภูมใจในท้องถิ่นตนเองและนิทานพื้นบ้านของ ท้องถิ่นอื่น เห็นคุณค่าของบทอาขยาน และบทร้อยกรอง ใช้คาํ ได้เหมะสมกับกาลเทศะและบุคคล รหัสตัวชี้วดั ท ๑.๑ ป.๖/๑ ,ป๖/๒, ป๖/๓, ป๖/๔, ป๖/๕, ป๖/๖, ป๖/๗, ป๖/๘ ,ป.๖/๙ ท ๒.๑ ป.๖/๑ ,ป๖/๒, ป๖/๓, ป๖/๔, ป๖/๕, ป๖/๖, ป๖/๗, ป๖/๘ , ป.๖/๙ ท ๓.๑ ป.๖/๑ ,ป๖/๒, ป๖/๓, ป๖/๔, ป๖/๕, ป.๖/๖ ท ๔.๑ ป.๖/๑ ,ป๖/๒, ป๖/๓, ป๖/๔, ป๖/๕, ป.๖/๖ ท ๕.๑ ป.๖/๑ ,ป๖/๒, ป๖/๓, ป.๖/๔ รวม ๓๔ ตัวชี้วดั

หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรี ยนดุสิตวิทยา พุทธศักราช ๒๕๕๓

หน้า ๔๙


สาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์


ค ๑๑๑๐๑ คณิ ตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๑

คําอธิบายรายวิชาขั้นพืน้ ฐาน

กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้คณิ ตศาสตร์ เวลา ๒๐๐ ชัว่ โมง

ศึกษาฝึ กทักษะการคิดคํานวณ และฝึ กการแก้ปัญหาในสาระต่อไปนี้ จํานวนนับ ๑ ถึง ๑๐๐ และ ๐ การใช้จาํ นวนบอกปริ มาณที่ได้จากการนับ การเขียนตัวเลข ฮินดู อารบิก และตัวเลขไทยแสดงจํานวน การอ่านตัวเลขฮินดูอารบิกและตัวเลขไทย การ นับเพิ่มทีละ ๑ ทีละ ๒ การนับลดทีละ ๑ หลัก และค่าของเลขโดดใน แต่ละหลัก การเขียนตัวเลข และแสดงจํานวนรู ปกระจาย การเปรี ยบเทียบจํานวน และการใช้เครื่ องหมาย = > < การเรี ยงลําดับจํานวนไม่เกินห้าจํานวน การบวก การลบ และโจทย์ ปัญหา ไม่ เกิน ๑๐๐ และ ๐ ความหมายของการบวก และการใช้ เครื่ องหมาย + การบวกที่ไม่มีการทด ความหมายของการลบ และการใช้เครื่ องหมาย – การลบที่ ไม่มี การกระจาย การบวกระคน โจทย์ปัญหาการบวก การ ลบ โจทย์ปัญหาการบวกระคน การสร้างโจทย์ปัญหาการบวก การลบ การวัดความยาว การเปรี ยบเทียบความยาว การวัดความยาวโดยใช้หน่วยที่ไม่ใช่หน่วย มาตรฐาน การศึกษาเรี ยนรู ้เกี่ยวกับการวัดระยะทาง และการคาดคะเนขนาดของห้องเรี ยน โดยใช้ หน่วยที่ไม่ใช่หน่วยมาตรฐาน การชั่ ง การเปรี ยบเทียบนํ้าหนัก การชัง่ โดยการใช้หน่วยที่ไม่ใช่หน่วยมาตรฐาน การตวง การเปรี ยบเทียบปริ มาตร และความจุ การตวง โดยการใช้หน่วยที่ไม่ใช่หน่วย มาตรฐาน เวลา ช่วงเวลาในแต่ละวัน จํานวนวัน และชื่อวันในสัปดาห์ การเตรียมความพร้ อมทางเรขาคณิต รู ปสามเหลี่ยม รู ปสี่ เหลี่ยม รู ปวงกลม รู ปวงรี รูปแบบและความสั มพันธ์ รู ปแบบของจํานวนที่เพิ่มขึ้นทีละ ๑ ทีละ๒ แบบรู ปจํานวนที่ ลดลง ทีละ ๑ แบบรู ปของรู ปที่มีรูปร่ าง ขนาด หรื อสี ที่สัมพันธ์กนั อย่างใดอย่างหนึ่ง โดยใช้ทกั ษะกระบวนการทางคณิ ตศาสตร์ การแก้ปัญหา การให้เหตุผล ก ารสื่ อสาร การ สื่ อความหมายทางคณิ ตศาสตร์ และนําเสนอ การเชื่อมโยงความรู ้และการมีความคิดริ เริ่ มสร้างสรรค์ เพื่อให้เห็นคุณค่า มีเจตคติที่ดีต่อคณิ ตศาสตร์ มีความคิดเชิงคณิ ตศาสตร์ ใฝ่ เรี ยนรู ้ มุ่งมัน่ ในการทํางาน มีวนิ ยั ซื่อสัตย์สุจริ ต มีความพอเพียง สามารถทํางานอย่างมีระบบ รอบคอบ มีความ รับผิดชอบ รักความเป็ นไทย มีวจิ ารณญาณ เชื่อมัน่ ในตนเอง และมีจิตสาธารณะ รหัสตัวชี้วดั ค ๑.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒ หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรี ยนดุสิตวิทยา พุทธศักราช ๒๕๕๓

หน้า ๕๑


ค ๑.๒ ป.๑/๑, ป.๑/๒ ค ๒.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒ ค ๓.๑ ป.๑/๑ ค ๔.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒ ค ๖.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓, ป.๑/๔, ป.๑/๕, ป.๑/๖ รวม ๑๕ ตัวชี้วดั

หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรี ยนดุสิตวิทยา พุทธศักราช ๒๕๕๓

หน้า ๕๒


ค ๑๒๑๐๑ คณิ ตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๒

คําอธิบายรายวิชาขั้นพืน้ ฐาน

กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้คณิ ตศาสตร์ เวลา ๒๐๐ ชัว่ โมง

ศึกษาฝึ กทักษะการคิดคํานวณ และฝึ กการแก้ปัญหาในสาระต่อไปนี้ จํานวนนับ ๑ ถึง ๑,๐๐๐ และ ๐ การเขียนตัวเลขฮินดูอารบิก และตัวเลขไทยแสดง จํานวน การอ่านตัวเลขฮินดูอารบิกและตัวเลขไทย การนับเพิม่ ทีละ ๕ ทีละ๑๐ และทีละ ๑๐๐ การนับลดทีละ ๒ ทีละ ๑๐ และทีละ ๑๐๐ จํานวนคู่ จํานวนคี่ หลักและค่าของ เลขโดดในแต่ละหลักและการใช้ ๐ เพือ่ ยึดตําแหน่งของหลัก การเขียนตัวเลขแสดง จํานวนในรู ปกระจาย การเปรี ยบเทียบจํานวนและการใช้ เครื่ องหมาย = > < การเรี ยงลําดับ จํานวนไม่เกินห้าจํานวนได้เองจากการสังเกต การจําแนก การจัดกลุ่ม การบวก การลบ การคูณ การหาร โจทย์ปัญหาและการสร้ างโจทย์ปัญหา การบวก การลบ ของจํานวนนับที่ไม่เกิน ๑,๐๐๐ และ ๐ ความหมายของการคูณ และการใช้เครื่ องหมาย  การคูณ กับจํานวนไม่เกินสองหลัก ความหมายของการหาร และการใช้เครื่ องหมาย ÷ การหารที่ตวั หาร และผลหารมีหนึ่งหลัก การบวก การลบ การคูณ การหารระคน โจทย์ปัญหา และการสร้างโจทย์ ปั ญหา การบวก การลบ การคูณ การหารระคน การซื้ อขายได้แก่การคํานวณสิ นค้า การต่อรองราคา ต้นทุน กําไร ขาดทุน บัญชีรายรับ – รายจ่ายในครัวเรื อน การวัดความยาว การวัดความยาวเป็ นเมตร และเซนติเมตร การเปรี ยบเทียบการวัดความ ยาว ในหน่วยเดียวกัน การแก้ปัญหาจากการรับรู ้ และการสังเกต การชั่ ง การชัง่ เป็ นกิโลกรัม กรัม และขีด การเปรี ยบเทียบนํ้าหนักในหน่วยเดียวกัน การ แก้ปัญหาจากการรับรู ้ และการสังเกต การตวง การตวงเป็ นลิตร การเปรี ยบเทียบปริ มาตร และความจุเป็ นลิตรในหน่วยเดียวกัน การแก้ปัญหาจากการรับรู ้ และการสังเกต เงิน ชนิดและค่าของเงินเหรี ยญ และธนบัตร การเปรี ยบเทียบค่าของเงินเหรี ยญ และ ธนบัตร บอกจํานวนเงินทั้งหมดเป็ นบาท สตางค์ การแก้ปัญหาจากการรับรู้และการ สังเกต เวลา การบอกเวลาเป็ นนาฬิกา เป็ นนาที กา รอ่านปฏิทิน เดือน และอันดับที่ของเดือน จาก การรับรู ้และการสังเกต รู ปเรขาคณิต และคุณสมบัติบางประการ ของรู ปเรขาคณิ ตสองมิติ รู ปเรขาคณิ ตสามมิติ รู ปสามเหลี่ยม รู ปสี่ เหลี่ยมมุมฉาก รู ปวงกลม รู ปวงรี รู ปทรงสามเหลี่ยม รู ปทรงสี่ เหลี่ยมมุมฉ าก รู ปทรงกลม รู ปทรงกระบอก จากการสังเกต

หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรี ยนดุสิตวิทยา พุทธศักราช ๒๕๕๓

หน้า ๕๓


แบบรูปและความสั มพันธ์ แบบรู ปของจํานวนที่เพิ่มขึ้นทีละ ๕ ทีละ ๑๐ ทีละ ๑๐๐ แบบ รู ปของจํานวนที่ลดลงทีละ ๒ ทีละ๑๐ ทีละ ๑๐๐ แบบรู ปที่มีรูปร่ าง ขนาด หรื อสี ที่สัมพันธ์กนั อย่าง ใดอย่างหนึ่ง จากการสังเกต การจําแนก การจัดกลุ่ม และยินดีทาํ ตามรู ปแบบ โดยใช้กระบวนการเขียน การอ่าน การเปรี ยบเทียบจํานวน การบวก การลบ การคูณ การ หาร การคิดวิเคราะห์ การสื่ อความหมาย การวัด การชัง่ การตวง การสังเกต การแก้ปัญหาทาง เรขาคณิ ต ทักษะการวาดภาพ และกระบวนการทางคณิ ตศาสตร์ เพื่อให้ผเู ้ รี ยนเป็ นคนช่างสังเกต สามารถคิดและวิเคราะห์ได้อย่างเป็ นระบบ สมเหตุสมผล มีความคิดริ เริ่ มสร้างสรรค์ มีความรับผิดชอบ รักความเป็ นไทย มีทกั ษะในการทํางาน มีความ ละเอียดรอบคอบ มุ่งมัน่ ในการทํางาน มีวนิ ยั ซื่อสัตย์สุจริ ต มีความพอเพียง นําความรู ้ ทาง คณิ ตศาสตร์ ไปประยุกต์ใช้ในชีวติ ประจําวันได้อย่างเหมาะสม และมีจิตสาธารณะช่วยพัฒนา คุณภาพชีวติ ให้ดีข้ ึนและสามารถอยูร่ ่ วมกับผูอ้ ื่นได้อย่างมีความสุ ข รหัสตัวชี้วดั ค ๑.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒ ค ๑.๒ ป.๒/๑, ป.๒/๒ ค ๒.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔, ป.๒/๕, ป.๒/๖ ค ๒.๒ ป.๒/๑ ค ๓.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓ ค ๓.๒ ป.๒/๑ ค ๔.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒ ค ๖.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔, ป.๒/๕, ป.๒/๖ รวม ๒๓ ตัวชี้วดั

หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรี ยนดุสิตวิทยา พุทธศักราช ๒๕๕๓

หน้า ๕๔


ค ๑๓๑๐๑ คณิ ตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๓

คําอธิบายรายวิชาขั้นพืน้ ฐาน

กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้คณิ ตศาสตร์ เวลา ๒๐๐ ชัว่ โมง

ศึกษา ฝึ กทักษะการคิดคํานวณ และฝึ กทักษะการแก้ปัญหาในสาระต่อไปนี้ จํานวนนับ ๑ ถึง ๑๐๐,๐๐๐ การอ่านและการเขียนตัวหนังสื อ ตัวเลขแทนจํานวน ชื่อหลัก ค่าของตัวเลขในแต่ละหลัก การเขียนในรู ปกระจาย การเ ปรี ยบเทียบจํานวน การใช้เครื่ องหมาย = < > การเขียนลําดับจํานวน การนับเพิ่มทีละ ๓ ทีละ ๔ ทีละ ๒๕ และทีละ ๕๐ การนับลดที ละ ๓ ทีละ ๒๕ และทีละ ๕๐ จํานวนคู่ จํานวนคี่ การบวก การลบ การคูณ การหาร และโจทย์ปัญหา การบวกจํานวนที่มีผลบวกไม่เกิน ๑๐๐,๐๐๐ การลบจํานวนที่มีตวั ตั้งไม่เกิน ๑๐๐,๐๐๐ การคูณจํานวนที่มีหนึ่งหลักกับจํานวนไม่เกิน สี่ หลัก การคูณจํานวนที่มีสองหลักกับจํานวนเกินสองห ลัก การหารที่มีตวั ตั้งไม่เกินสี่ หลักและ ตัวหารหนึ่งหลัก การบวก ลบ คูณ หารระคน โจทย์ปัญหา การวัดความยาว การวัดความยาว ความสู ง และระยะทางที่มีหน่วยเป็ นเมตร เซนติเมตร และมิลลิเมตร การเลือกใช้เครื่ องวัด และหน่วยการวัดความยาว ความสู ง หรื อระยะทางที่เป็ น มาตรฐาน ความสัมพันธ์ระหว่างหน่วยการวัดความยาว การเปรี ยบเทียบความยาว ความสู ง หรื อ ระยะทาง การคาดคะเนความยาวเป็ นเมตรและเซนติเมตร โจทย์ปัญหาการบวก การลบ เกี่ยวกับ ความยาว ความสู ง หรื อระยะทาง การชั่ ง การชัง่ เป็ นกิโลกรัม กรัม และขีด การเลือกใช้เครื่ องชัง่ และหน่วยชั่ งที่มีมาตรฐาน ความสัมพันธ์ระหว่างหน่วยการชัง่ การเปรี ยบเทียบนํ้าหนัก การคาดคะเนนํ้าหนักเป็ นกิโลกรัม กรัม และขีด โจทย์ปัญหาการบวก การลบ เกี่ยวกับนํ้าหนัก การตวง การตวงเป็ นลิตร มิลลิลิตร ถ้วยตวง และช้อนตวง การเปรี ยบเทียบความจุ การ คาดคะเนปริ มาตรเป็ นลิตร โจทย์ปั ญหาการบวก การลบ เกี่ยวกับปริ มาตรของสิ่ งที่ตวง หรื อความจุ ของภาชนะ เงิน การบอกจํานวนเงิน การเขียนจํานวนเงินโดยใช้จุดและการอ่านบันทึกรายรับรายจ่าย โจทย์ปัญหาการบวกและการลบเกี่ยวกับเงิน เวลา การบอกเวลา การเขียนบอกเวลาโดยใช้จุดและการอ่าน ความสัมพันธ์ระหว่างหน่ วย เวลา บันทึกกิจกรรมหรื อเหตุการณ์ต่างๆ ที่ระบุเวลา โจทย์ปัญหา รู ปเรขาคณิตและสมบัติบางประการของรูปเรขาคณิต รู ปสามเหลี่ยม รู ปสี่ เหลี่ยม รู ปห้า เหลี่ยม รู ปหกเหลี่ยม การจําแนกรู ปเรขาคณิ ต รู ปที่มีแกนสามาตร รู ปเรขาคณิ ตสามมิติ การจําแนก รู ปเรขาคณิ ตสองมิติและสามมิติ จุด ส่ วนของเส้นตรง รังสี เส้นตรง และมุม

หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรี ยนดุสิตวิทยา พุทธศักราช ๒๕๕๓

หน้า ๕๕


แบบรูปและความสั มพันธ์ แบบรู ปของจํานวนที่เพิ่มทีละ ๓ ทีละ ๔ ทีละ ๒๕ และทีละ ๕๐ แบบรู ปของจํานวนที่ลดลงทีละ ๓ ทีละ ๔ ทีละ ๕ ทีละ ๒๕ และทีละ ๕๐ แบบรู ปของรู ป เรขาคณิ ต และรู ปอื่น ๆ ที่สัมพันธ์กนั ในลักษณะของรู ปร่ าง หรื อขนาด หรื อสี สองลักษณะ สถิตแิ ละความน่ าจะเป็ นเบือ้ งต้ น การเก็บรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับตนเอง สิ่ งแวดล้อมที่พบ เห็นในชีวติ ประจําวัน การจําแนก จัดประเภท นําเสนอข้อมูล การอ่านแผนภูมิรูปภาพ แผนภูมิแท่ง และอภิปราย โดยใช้ความรู ้ ทักษะ กระบวนการทางคณิ ตศาสตร์ และเทคโนโลยีในการแ ก้ปัญหาใน สถานการณ์ต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสม รู ้จกั ใช้วธิ ี ที่หลากหลายในการแก้ปัญหา ให้เหตุผลการสื่ อสาร การสื่ อความหมาย และการนําเสนอได้อย่างถูกต้องและชัดเจน สามารถเชื่อมโยงความรู ้ หลักการ กระบวนการทางคณิ ตศาสตร์ ใช้ในการเรี ยนรู ้สิ่งต่าง ๆ และใช้ในชีวติ ประจําวันอย่างสร้างสรรค์ เพื่อให้เห็นคุณค่าและมีเจตคติที่ดีต่อคณิ ตศาสตร์ มีความคิดริ เริ่ มสร้างสรรค์ ใฝ่ เรี ยนรู ้ มุ่งมัน่ ในการทํางาน มีวนิ ยั ซื่อสัตย์สุจริ ต มีความพอเพียง สามารถทํางานอย่างเป็ นระบบ มีความ รอบคอบ มีความรับผิดชอบ รักความเป็ นไทย มีวจิ ารณญาณ เชื่อมัน่ ในตนเองและมีจิตสาธารณะ รหัสตัวชี้วดั ค ๑.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒ ค ๑.๒ ป.๓/๑, ป.๓/๒ ค ๒.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕, ป.๓/๖ ค ๒.๒ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓ ค ๓.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓ ค ๓.๒ ป.๓/๑, ป.๓/๒ ค ๔.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒ ค. ๕.๑ ป. ๓/๑, ป. ๓/๒ ค ๖.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕, ป.๓/๖ รวม ๒๘ ตัวชี้วดั

หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรี ยนดุสิตวิทยา พุทธศักราช ๒๕๕๓

หน้า ๕๖


ค ๑๔๑๐๑ คณิ ตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๔

คําอธิบายรายวิชาขั้นพืน้ ฐาน

กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้คณิ ตศาสตร์ เวลา ๒๐๐ ชัว่ โมง

ศึกษาฝึ กทักษะการคิดคํานวณ และฝึ กการแก้ปัญหาในสาระต่อไปนี้ จํานวนนับ ๑ ถึง ๑๐๐,๐๐๐ การเขียนตัวเลขแสดงจํานวนนับ การอ่าน หลักและค่าของเลข โดด ในแต่ละหลักของจํานวนนับ การใช้ ๐ เพือ่ ยึดตําแหน่งของหลัก การเขียนตัวเลข และ แสดงจํานวน ในรู ปกระจาย การเปรี ยบเทียบและเรี ยงลําดับจํานวนนับ การบวก การลบ การคูณ การหาร จํานวนนับ โจทย์ปัญหา และการสร้ างโจทย์ปัญหา การ บวก การลบ การคูณกับจํานวนหนึ่งหลักกับจํานวนมากกว่าสี่ หลัก การคูณจํานวนมากกว่า หนึ่งหลักกับจํานวนมากกว่าสองหลัก การหารที่ตวั หารไม่เกินส ามหลัก การบวก ลบ คูณ หาร ระคน การเฉลี่ย โจทย์ปัญหา การสร้างโจทย์ปัญหา เศษส่ วน และการบวกการลบเศษส่ วน ความหมาย การเขียน และการอ่านเศษส่ วน การ เปรี ยบเทียบ และเรี ยงลําดับเศษส่ วนที่มีตวั ส่ วนเท่ากัน การบวกการลบเศษส่ วนที่มีตวั ส่ วนเท่ากัน ทศนิยม ความหมาย การเขียน และการอ่านทศนิยมหนึ่งตําแหน่งการเปรี ยบเทียบ และการเรี ยงลําดับทศนิยมหนึ่งตําแหน่ง การวัดความยาว ความสัมพันธ์ของหน่วยความยาว การชัง่ การตวง การคาดคะเน ความ ยาว การชัง่ การตวง การหาพืน้ ที่ การหาพื้นที่เป็ นตารางหน่วย ตารางเซนติเมตร เงิน โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับการเงิน การเขียนบันทึกรายรับ-รายจ่าย เวลา ความสัมพันธ์ของหน่วยเวลา การบอกเวลาจากนาฬิกา การเขียนบอกเวลาโดยใช้จุด และการอ่าน การบอกระยะเวลา โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเวลา การอ่าน และการเขียน บันทึกกิจกรรม หรื อเหตุการณ์ที่ระบุเวลา การอ่านตารางเวลา รู ปเรขาคณิต และสมบัติบางประการของรูปเรขาคณิต ส่ วนขนาดของมุม การเขียนชื่อ และสัญลักษณ์แทนมุม ชนิดของมุม เส้นขนานและสัญลักษณ์แสดงขนาน ส่ วนประกอบของรู ป วงกลม รู ปสี่ เหลี่ยมมุมฉาก รู ปสี่ เหลี่ยมจัตุรัส รู ปสี่ เหลี่ยมผืนผ้า รู ปที่มีแกนสมมาตร การ ประดิษฐ์ลวดลาย โดยการใช้รูปเรขาคณิ ต แบบรู ปและความสัมพันธ์ แบบรู ปและความสั มพันธ์ แบบรู ปของจํานวนที่เพิ่มขึ้นและเท่ากัน แบบรู ปของเรขาคณิ ต และรู ปอื่น ๆ สถิติ และความน่ าจะเป็ นเบือ้ งต้ น การเก็บรวบรวมข้อมูลและการจําแนกข้อมูล การอ่าน แผนภูมิรูปภาพ และแผนภูมิแท่ง การอ่านตาราง การเขียนแผนภูมิรูปภาพ และแผนภูมิแท่ง

หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรี ยนดุสิตวิทยา พุทธศักราช ๒๕๕๓

หน้า ๕๗


โดยการจัดประสบการณ์ หรื อสร้างสถานการณ์ที่ใกล้ตวั ให้ผเู ้ รี ยนได้คน้ คว้า หรื อได้ปฏิบตั ิ จริ ง เ พื่อพัฒนาทักษะ / กระบวนการในการคิดคํานวณ การแก้ปัญหา การให้เหตุผล การ สื่ อความหมายทางคณิ ตศาสตร์ และการนําประสบการณ์ ด้านความรู ้ ความคิด ทักษะกระบวนการที่ ได้นาํ ไปใช้ในการเรี ยนรู ้สิ่งต่าง ๆ เพื่อให้มีความสามารถในการสื่ อสาร มีความสามารถในการคิด มีความสามารถในการ แก้ปัญหา มีความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวติ และมีความสามารถในการ ใช้เทคโนโลยี เพื่อให้เห็นคุณค่า และมีเจคติที่ดีต่อคณิ ตศาสตร์ ใฝ่ เรี ยนรู ้ มุ่งมัน่ ในการทํางาน มีวนิ ยั ซื่อสัตย์ สุ จริ ต อยูอ่ ย่างพอเพียง สามารถทํางานอย่างมีระบบ รอบคอบ มีความรับผิดชอบ รักความ เป็ นไทย มีวจิ ารณญาณ เชื่อมัน่ ในตนเอง และมีจิตสาธารณะ รหัสตัวชี้วดั ค ๑.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒ ค ๑.๒ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป๔/๓ ค ๒.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป๔/๓, ป.๔/๔ ค ๒.๒ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป๔/๓ ค ๓.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป๔/๓, ป.๔/๔, ป.๔/๕ ค ๓.๒ ป.๔/๑ ค ๔.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒ ค ๕.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป๔/๓ ค ๖.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป๔/๓, ป.๔/๔, ป.๔/๕, ป.๔/๖ รวม ๒๙ ตัวชี้วดั

หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรี ยนดุสิตวิทยา พุทธศักราช ๒๕๕๓

หน้า ๕๘


ค ๑๕๑๐๑ คณิ ตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๕

คําอธิบายรายวิชาขั้นพืน้ ฐาน

กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้คณิ ตศาสตร์ เวลา ๒๐๐ ชัว่ โมง

ศึกษา ฝึ กทักษะการคิดคํานวณ และฝึ กการแก้ปัญหาในสาระต่อไปนี้ จํานวนนับ การอ่านและการเขียนตัวหนังสื อ ตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทยแทนจํานวน ชื่อหลักค่าของตัวเลขแต่ละหลัก การเขียนในรู ปกระจาย การเรี ยงลําดับจํานวน การประมาณค่ า ใกล้เคียงเป็ นจํานวนเต็มสิ บ เต็มร้อย เต็มพัน สมบัติการสลับที่และสมบัติการเปลี่ยนหมู่ของการ บวก สมบัติการสลับที่และสมบัติการเปลี่ยนหมู่ของการคูณ สมบัติการแจกแจง การบวก การลบ การคูณ การหารจํานวนนับและโจทย์ปัญหา การบวก การลบ การคูณ และการหารจํานวนนับ การบวก ลบ คูณ หารระคน โจทย์ปัญหา เศษส่ วน เศษส่ วน เศษเกิน จํานวนคละ เศษส่ วนของจํานวนนับ เศษส่ วนที่เท่ากัน เศษส่ วนอย่างตํ่า การเปรี ยบเทียบเศษส่ วนที่มีตวั ส่ วนเป็ นพหุ คูณของกันและกัน การเรี ยงลําดับ เศษส่ วน การบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่ วน และโจทย์ปัญหา การบวกและการลบ เศษส่ วนที่มีตวั ส่ วนเป็ นพหุ คูณของกันและกัน การคูณและการหารเศษส่ วน การบวก ลบ คูณ เศษส่ วนระคน โจทย์ปัญหา ทศนิยม การอ่านและการเขียนทศนิยมไม่เกินสองตําแหน่ง หลักและค่าประจําหลัก การ เขียนในรู ปกระจาย การเปรี ยบเทียบและเรี ยงลําดับทศนิยม การเขียนทศนิ ยมไม่เกินสองตําแหน่ง ให้อยูใ่ นรู ปเศษส่ วนและการเขียนเศษส่ วนที่มีตวั ส่ วนเป็ น ๑๐ หรื อ ๑๐๐ ให้อยูใ่ นรู ปทศนิยม การบวก การลบ การคูณทศนิยม และโจทย์ปัญหา การบวกและการลบทศนิยมไม่เกิน สองตําแหน่ง การคูณทศนิยมที่มีผลคูณเป็ นทศนิยมไม่เกินสองตําแหน่ง การบวก ลบ คูณท ศนิยม ระคนที่ผลลัพธ์เป็ นทศนิยมไม่เกินสองตําแหน่ง โจทย์ปัญหา ร้ อยละ และโจทย์ ปัญหา การเขียนเศษส่ วนที่มีตวั เลขเป็ นส่ วนประกอบของ ๑๐๐ ให้อยูใ่ น รู ป ร้อยละ การเขียนร้อยละให้อยูใ่ นรู ปเศษส่ วนและทศนิยม การเปรี ยบเทียบเศษส่ วน ทศนิยม และร้อยละ ร้อยละของจํานวนนับ โจทย์ปัญหาร้อยละที่มีผลลัพธ์เป็ นจํานวนนับ การประมาณค่ าจํานวนนับ การหาค่าประมาณใกล้เคียงเป็ นจํานวนเต็มสิ บ เต็มร้อย และ เต็มพัน การหาความยาว ความยาวของเส้นรอบรู ปสามเหลี่ยมและสี่ เหลี่ยม โจทย์ปัญหาและ สถานการณ์ การหาพืน้ ที่ การหาพื้นที่ของรู ปสามเหลี่ยมและสี่ เหลี่ยมมุมฉาก การคาดคะเนพื้นที่เป็ น ตารางเมตร ตารางเซนติเมตร และตารางวา โจทย์ปัญหาและสถานการณ์ หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรี ยนดุสิตวิทยา พุทธศักราช ๒๕๕๓

หน้า ๕๙


การหาปริมาตร การหาปริ มาตรและความจุของทรงสี่ เหลี่ยมมุมฉาก รู ปเรขาคณิตและสมบัติบางประการของรูปเรขาคณิต - มุม จุดมุมยอด แขนของมุม การเรี ยกชื่อมุม การเขียนสัญลั กษณ์แทนมุม ชนิดของมุม การวัดขนาดของมุมเป็ นองศา การสร้างมุมโดยใช้โพรแทรกเตอร์ (ครึ่ งวงกลม) - รู ปสี่ เหลี่ยม รู ปสี่ เหลี่ยมจัตุรัส รู ปสี่ เหลี่ยมผืนผ้า รู ปสี่ เหลี่ยมด้านขนาน รู ปสี่ เหลี่ยม ขนมเปี ยกปูน รู ปสี่ เหลี่ยมคางหมู รู ปสี่ เหลี่ยมรู ปว่าว การสร้างรู ปสี่ เหลี่ยมมุมฉาก - รู ปสามเหลี่ยม รู ปสามเหลี่ยมด้านเท่า รู ปสามเหลี่ยมหน้าจัว่ รู ปสามเหลี่ยมด้านไม่เท่า รู ปสามเหลี่ยมมุมฉาก รู ปสามเหลี่ยมมุมแหลม รู ปสามเหลี่ยมมุมป้ าน ส่ วนประกอบ ของรู ปสามเหลี่ยม ขนาดของมุมภายใน การสร้างรู ปสามเหลี่ยม - รู ปวงกลม ส่ วนประกอบของรู ปวงกลม การสร้างรู ปวงกลม - การประดิษฐ์ลวดลายโดยใช้รูปเรขาคณิ ต - เส้นขนาน เส้นขนานและการใช้สญ ั ลักษณ์ // แสดงการขนาน การสร้างเส้นขนาน - ทรงสี่ เหลี่นมมุมฉาก ทรงกลม ทรงกระบอก กรวย ปริ ซึม และพีระมิด แบบรูปและความสั มพันธ์ แบบรู ปของจํานวน การเขียนประโยคสัญลักษณ์แสดง ความสัมพันธ์ ของสถานการณ์หรื อปั ญหา สถิตแิ ละความน่ าจะเป็ นเบือ้ งต้ น การอ่านแผนภูมิแท่งและแผนภูมิแท่งเปรี ยบเทียบ การ เก็บรวบรวมข้อมูลและการเขียนแผนภูมิแท่ง ความหมายและการนําไปใช้ในชีวติ ประจําวันของ เหตุการณ์ท่ีเกิดขึ้นแน่นอน อาจจะเกิดขึ้นหรื อไม่เกิด และไม่เกิดขึ้นอย่างแน่นอน โดยใช้ความรู ้ ทักษะ กระบวนการทางคณิ ตศาสตร์ และเทคโนโลยีในการแก้ปัญหาใน สถานการณ์ต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสม รู ้จกั ใช้วธิ ี การที่หลากหลายในการแก้ปัญหา ใช้เหตุผล ประกอบการตัดสิ นใจ และสรุ ปผลได้อย่างเหมาะสม ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทางคณิ ตศาสตร์ ใน การสื่ อสา ร การสื่ อความหมาย และการนําเสนอได้อย่างถูกต้องและชัดเจน สามารถเชื่อมโยง ความรู ้ หลักการ กระบวนการทางคณิ ตศาสตร์ ไปใช้ในการเรี ยนรู ้สิ่งต่าง ๆ และใช้ในชีวติ ประจําวัน อย่างสร้างสรรค์ เพื่อให้เห็นคุณค่าและมีเจตคติที่ดีต่อคณิ ตศาสตร์ มีความคิดริ เริ่ มสร้างสรรค์ มีวิ นัย ซื่อสัตย์ สุ จริ ต มีความพอเพียง สามารถทํางานอย่างมีระบบ มีความรอบคอบ มีความรับผิดชอบ รัก ความเป็ นไทย มีวจิ ารณญาณ มีความเชื่อมัน่ ในตนเอง และมีจิตสาธารณะ รหัสตัวชี้วดั ค ๑.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓ หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรี ยนดุสิตวิทยา พุทธศักราช ๒๕๕๓

หน้า ๖๐


ค ๑.๒ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓ ค ๑.๓ ป.๕/๑ ค ๒.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕ ค ๒.๒ ป.๕/๑ ค ๓.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓ ค ๓.๒ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป๕/๓ ค ๔.๑ ป๕/๑ ค ๕.๑ ป๕/๑, ป๕/๒ ค ๕.๒ ป๕/๑ ค ๖.๑ ป๕/๑, ป.๕/๒, ป๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕, ป.๕/๖ รวม ๒๙ ตัวชี้วดั

หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรี ยนดุสิตวิทยา พุทธศักราช ๒๕๕๓

หน้า ๖๑


ค ๑๖๑๐๑ คณิ ตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๖

คําอธิบายรายวิชาขั้นพืน้ ฐาน

กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้คณิ ตศาสตร์ เวลา ๒๐๐ ชัว่ โมง

ศึกษา อธิบาย ฝึ กทักษะการคิดคํานวณ วิเคราะห์ และแก้ปัญหาในสาระต่อไปนี้ จํานวนนับ การประมาณค่าใกล้เคียงจํานวนเต็มสิ บ เต็มร้อย เต็มพัน เต็มหมื่น เต็มแสน เต็มล้าน ตัวประกอบ จํานวนเฉพาะ ตัวประกอบเฉพาะ การแยกตัวประกอบ การหา ห .ร.ม. การหา ค.ร.น. ทศนิยม การอ่าน การเขียน หลักเลข ค่าประจําหลัก การเขียนในรู ปกระจาย การ เปรี ยบเทียบ การเรี ยงลําดับของทศนิยมไม่เกินสามตําแหน่ง การเขียนทศนิยมในรู ปเศษส่ วน การเขียนเศษส่ วนในรู ปทศนิยม ความสัมพันธ์ระหว่างทศนิยม เศษส่ วน และร้อยละ การประมาณ ค่าใกล้เคียงเป็ นทศนิยมไม่เกินสองตําแหน่ง สมบัติการสลับที่ สมบัติการเปลี่ยนหมู่ สมบัติการ แจกแจง เศษส่ วน การเปรี ยบเทียบ การเรี ยงลําดับเศษส่ วน การบวก ลบ คูณ หารและโจทย์ ปัญหา การบวก ลบ คูณ หาร จํานวนนับ เศษส่ วน ทศนิยม ไม่เกินสามตําแหน่ง การบวก ลบ คูณ หารระคนจํานวนนับ เศษส่ วน และทศนิยมไม่เกินสาม ตําแหน่ง โจทย์ปัญหา โจทย์ปัญหาระคน และโจทย์ปัญหาร้อยละ พืน้ ที่ การหาพื้นที่ การหาความยาวรอบรู ปของรู ปสี่ เหลี่ยมและรู ปวงกลม ปริมาตร โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับปริ มาตรหรื อความจุของทรงสี่ เหลี่ยมมุมฉาก ทิศและแผนผัง การบอกตําแหน่งโดยใช้ทิศ มาตราส่ วน การอ่านและการเขียนแผนผัง รู ปเรขาคณิตและสมบัติบางประการของรูปเรขาคณิต ส่ วนประกอบของรู ปทรงสี่ เหลี่ยม มุมฉาก ทรงกระบอก กรวย ปริ ซึม พีระมิด รู ปคลี่ สมบัติของเส้นทแยงมุมของรู ปสี่ เหลี่ยม การสร้างรู ปสี่ เหลี่ยม การพิจารณาเส้นขนานโดยอาศัยสมบัติของเส้นขนาน การประดิษฐ์ รู ปเรขาคณิ ตสามมิติ แบบรูป การแก้ปัญหาเกี่ยวกับแบบรู ป สมการและการแก้ สม การ สมการเชิงเส้นที่มีตวั ไม่ทราบค่าหนึ่งตัว การแก้สมการโดยใช้ สมบัติของการเท่ากันเกี่ยวกับการบวก การลบ การคูณ หรื อการหาร การแก้โจทย์ปัญหาสมการ ด้วยสมการ สถิติและความน่ าจะเป็ น การอ่านและการเขียนเส้นกราฟ แผนภูมิรูปวงกลมและแผนภูมิ แท่งเปรี ยบเทียบ การคาดคะเนเกี่ยวกับการเกิดขึ้นของเหตุการณ์ต่าง ๆ

หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรี ยนดุสิตวิทยา พุทธศักราช ๒๕๕๓

หน้า ๖๒


โดยใช้วธิ ี การที่หลากหลาย นําทักษะกระบวนการทางคณิ ตศาสตร์ เทคโนโลยี ให้เหตุผล ประกอบการตัดสิ นใจ สื่ อสาร สื่ อความหมาย การนําเสนอข้อมูล เชื่อมโยงความรู ้คณิ ตศาสตร์ กบั ศาสตร์ อื่น เชื่อมโยงกับเนื้อหาสาระภูมิปัญญาท้องถิ่นและคิดอย่างสร้างสรรค์ เพื่อให้เกิดความรู ้ความเข้าใจ ทักษะ ความคิด และกระบวนการที่ได้ไปใช้ในการเรี ยนรู ้ สิ่ งต่าง ๆ และใช้ในชีวติ ประจําวันอย่างสร้างสรรค์ รวมทั้งเห็นคุณค่าและเจตคติที่ดีต่อคณิ ตศาสตร์ สามารถทํางานอย่างเป็ นระเบียบ มีวนิ ยั ซื่อสัตย์สุจริ ต ใฝ่ เรี ยนรู ้ มุ่งมัน่ ในการทํางาน และมีความ สมเหตุสมผล มีความรับผิดชอบ รักความเป็ นไทย มีวจิ ารณญาณ เชื่อมัน่ ในตนเองและมีจิต สาธารณะ รหัสตัวชี้วดั ค ๑.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓ ค ๑.๒ ป.๖/๑, ป.๖/๒ ค ๑.๓ ป.๖/๑, ป.๖/๒ ค ๑.๔ ป.๖/๑, ป.๖/๒ ค ๒.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓ ค ๒.๒ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓ ค ๓.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓ ค ๓.๒ ป.๖/๑, ป.๖/๒ ค ๔.๑ ป.๖/๑ ค ๔.๒ ป.๖/๑ ค ๕.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒ ค ๕.๒ ป.๖/๑ ค ๖.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕, ป.๖/๖ รวม ๓๑ ตัวชี้วดั

หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรี ยนดุสิตวิทยา พุทธศักราช ๒๕๕๓

หน้า ๖๓


สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์


คําอธิบายรายวิชาขั้นพืน้ ฐาน ว ๑๑๑๐๑ วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๑

กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้วทิ ยาศาสตร์ เวลา ๘๐ ชัว่ โมง

ศึกษาความแตกต่างระหว่างสิ่ งมีชีวติ กับสิ่ งไม่มีชีวติ ลักษณะและหน้าที่ ของโครงสร้าง ภายนอกของพืชและสัตว์ ลักษณะหน้าที่และความสําคัญของอวัยวะภายนอกของมนุษย์ การดูแล รักษาสุ ขภาพ ลักษณะของสิ่ งมีชีวติ ในท้องถิ่น ลักษณะของสิ่ งมีชีวติ ในท้องถิ่น ลักษณะที่ปรากฏ หรื อสมบัติของวัสดุที่ใช้ทาํ ของเล่น ของใช้ในชีวติ ประจําวัน การดึงหรื อการผลักวัสดุ องค์ประกอบ และสมบัติทางกายภาพของดินในท้องถิ่น ส่ วนประกอบของท้องฟ้ าที่มีดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ และ ดวงดาว โดยใช้การสื บเสาะหาความรู ้ดว้ ยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสํารวจ ตรวจสอบ การสื บค้นข้อมูล การทดลอง การอธิ บาย การจําแนก การวิเคราะห์ การเปรี ยบเทียบ และก าร อภิปราย เพื่อให้เกิดความรู ้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถสื่ อสารสิ่ งที่เรี ยนรู ้และมีความสามารถ ตัดสิ นใจเห็นคุณค่าการนําความรู ้ไปใช้ประโยชน์ในชีวติ ประจําวัน มีความซื่อสัตย์สุจริ ต ใฝ่ เรี ยนรู ้ มีจิตสาธารณะพร้อมทั้งจิตวิทยาศาสตร์ มีคุณธรรม จริ ยธรรม และมุ่งมัน่ ในการ ทํางานอย่าง เหมาะสม รหัสตัวชี้วดั ว๑.๑ ป.๑/๑ , ป.๑/๒ , ป.๑/๓ ว๑.๒ ป.๑/๑ ว๑.๓ ป.๑/๑ , ป.๑/๒ ว๔.๑ ป.๑/๑ ว๖.๑ ป.๑/๑ ว๗.๑ ป.๑/๑ ว๘.๑ ป.๑/๑ , ป.๑/๒ , ป.๑/๓ , ป.๑/๔ , ป.๑/๕ , ป.๑/๖ , ป.๑/๗ รวม ๑๖ ตัวชี้วดั

หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรี ยนดุสิตวิทยา พุทธศักราช ๒๕๕๓

หน้า ๖๕


คําอธิบายรายวิชาขั้นพืน้ ฐาน ว ๑๒๑๐๑ วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๒

กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้วทิ ยาศาสตร์ เวลา ๘๐ ชัว่ โมง

ศึกษาปั จจัยที่จาํ เป็ นต่อการดํารงชีวติ ของพืช สัตว์และมนุษย์ การเจริ ญเติบโตของพืช สัตว์และมนุษย์ การตอบสนองต่ อสิ่ งเร้าของพืช สัตว์และมนุษย์ ประโยชน์ของพืชและสัตว์ใน ท้องถิ่น ชนิดและสมบัติของวัสดุที่นาํ มาทําเป็ นของเล่นของใช้ในชีวติ ประจําวัน การใช้วสั ดุและ สิ่ งของต่างๆได้อย่างเหมาะสมและปลอดภัย การดึง การผลักวัตถุ แรงที่เกิดจากแม่เหล็กการนํา แม่เหล็กมาใช้ประโยชน์ แรงไฟฟ้ า พลังงานไฟฟ้ า เครื่ องใช้ไฟฟ้ าการเปลี่ยนแปลงพลังงานไฟฟ้ า เป็ นพลังงานอื่น จําแนกประเภทของดินโดยใช้สมบัติทางกายภาพเป็ นเกณฑ์และนําความรู ้ไปใช้ ประโยชน์ ความสําคัญของดวงอาทิตย์ โดยใช้การสื บเสาะหาความรู ้ดว้ ยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสํารวจ ตรวจสอบ การสื บค้นข้อมูล การทดลอง การอธิ บาย การจําแนก การเปรี ยบเทียบ การวิเคราะห์ และการ อภิปราย เพื่อให้เกิดความรู ้ความเข้าใจสามารถสื่ อสารสิ่ งที่เรี ยนรู ้ มีความสามารถในการตัดสิ นใจ เห็นคุณค่าการนําความรู ้ไปใช้ประโยชน์ในชีวติ ประจําวัน มีความซื่อสัตว์สุจริ ตใฝ่ เรี ยนรู ้ มีจิตสาธารณะพร้อมทั้งจิตวิทยาศาสตร์ มีคุณธรรม จริ ยธรรม และมุ่งมัน่ ในการทํางานอย่าง เหมาะสม รหัสตัวชี้วดั ว๑.๑ ป.๒/๑ , ป.๒/๒ , ป.๒/๓ , ป.๒/๔ , ป.๒/๕ ว๑.๒ ป.๒/๑ ว๓.๑ ป.๒/๑ , ป.๒/๒ ว๔.๑ ป.๒/๑ , ป.๒/๒ , ป.๒/๓ ว๕.๑ ป.๒/๑ , ป.๒/๒ ว๖.๑ ป.๒/๑ ว๗.๑ ป.๒/๑ ว๘.๑ ป.๒/๑ , ป.๒/๒ , ป.๒/๓ , ป.๒/๔ , ป.๒/๕ , ป.๒/๖ , ป.๒/๗ , ป.๒/๘ รวม ๒๓ ตัวชี้วดั

หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรี ยนดุสิตวิทยา พุทธศักราช ๒๕๕๓

หน้า ๖๖


คําอธิบายรายวิชาขั้นพืน้ ฐาน ว ๑๓๑๐๑ วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๓

กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้วทิ ยาศาสตร์ เวลา ๘๐ ชัว่ โมง

ศึกษาลักษณะต่างๆของสิ่ งมีชีวติ ลักษณะที่คล้ายคลึงกันของพ่อแม่กบั ลูก การถ่ายทอด ลักษณะทางพันธุ กรรม การปรับตัวของสิ่ งมีชีวติ ให้เข้ากับสภาพแวดล้อมเพื่อความอยูร่ อดและการ ดํารงพันธุ์ สิ่ งแวดล้อมในท้องถิ่น ความสัมพั นธ์ของสิ่ งมีชีวติ กับสิ่ งแวดล้อม ทรัพยากรธรรมชาติ และการใช้ทรัพยากรธรรมชาติในท้องถิ่น ปั ญหาสิ่ งแวดล้อมที่เกิดจากการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ การดูแลและใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างประหยัดและคุม้ ค่า ชนิดและสมบัติของวัสดุที่เป็ น ส่ วนประกอบของของเล่นของใช้ การเปลี่ยนแ ปลงที่เกิดขึ้นกับวัสดุ เมื่อถูกแรงกระทําหรื อทําให้ ร้อนขึ้นหรื อเย็นลง ประโยชน์และอันตรายอันเกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงของวัสดุ แรงที่กระทํา ต่อวัตถุ แรงโน้มถ่วงหรื อแรงดึงดูดของโลกกระทําต่อวัตถุ พลังงานธรรมชาติที่ใช้ผลิตไฟฟ้ า ความสําคัญของพลังงานไฟฟ้ าและวิธีการใช้ไฟฟ้ าอย่างประหยัดและปลอดภัย สมบัติทางกายภาพ ของนํ้าจากแหล่งนํ้าในท้องถิ่น ส่ วนประกอบและความสําคัญของอากาศ การเคลื่อนที่ของอากาศ การขึ้น – ตกของดวงอาทิตย์และดวงจันทร์ การเกิดกลางวัน กลางคืน การกําเนิดทิศ โดยใช้การสื บเสาะหาความรู ้ดว้ ยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสํารวจตรวจสอบ การ สื บค้นข้อมูล การทดลอง การเปรี ยบเทียบ การระบุ การอธิ บาย การวิเคราะห์ และการอภิปราย เพื่อให้เกิดความรู ้ความคิด ความเข้าใจ สามารถสื่ อสารสิ่ งที่เรี ยนรู ้ มีความสามารถในการ ตัดสิ นใจ เห็นคุณค่าของการนําความรู ้ไปใช้ประโยชน์ในชี วิตประจําวัน มีจิตวิทยาศาสตร์ จริ ยธรรม คุณธรรมและค่านิยมที่เหมาะสม รหัสตัวชี้วดั ว๑.๒ ป.๓/๑ ว๒.๑ ป.๓/๑ ว๒.๒ ป.๓/๑ ว๓.๑ ป.๓/๑ ว๓.๒ ป.๓/๑ ว๔.๑ ป.๓/๑ ว๕.๑ ป.๓/๑ ว๖.๑ ป.๓/๑ ว๗.๑ ป.๓/๑

, ป.๓/๒ , ป.๓/๓ , ป.๓/๔ , ป.๓/๒ , ป.๓/๓ , ป.๓/๒ , ป.๓/๒ , ป.๓/๒ , ป.๓/๒ , ป.๓/๒ , ป.๓/๓

หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรี ยนดุสิตวิทยา พุทธศักราช ๒๕๕๓

หน้า ๖๗


ว๘.๑ ป.๓/๑ , ป.๓/๒ , ป.๓/๓ , ป.๓/๔ , ป.๓/๕ , ป.๓/๖ , ป.๓/๗ , ป.๓/๘ รวม ๒๘ ตัวชี้วดั

หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรี ยนดุสิตวิทยา พุทธศักราช ๒๕๕๓

หน้า ๖๘


คําอธิบายรายวิชาขั้นพืน้ ฐาน ว ๑๔๑๐๑ วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๔

กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้วทิ ยาศาสตร์ เวลา ๘๐ ชัว่ โมง

ศึกษาหน้าที่ของท่อลําเลียงและปากใบของพืช ปั จจัยที่สาํ คัญต่อการเจริ ญเติบโตของพืช การสังเคราะห์ดว้ ยแสงของพืช การตอบสนองของพืชต่อแสง เสี ยง และการสัมผัสซึ่ งเป็ น สภาพแวดล้อมภายนอก พฤติกรรมที่ตอบสนองต่อแสง เสี ยง การสัมผัส และนําความรู ้ไปใช้ ประโยชน์ในการจัดสภาพแวดล้อมให้เหมาะสมกับการดํารงชีวติ ของสัตว์และเพื่อพัฒนา อุตสาหกรรมเกษตร การเกิดดิน และสมบัติของดินชนิดของดิน ดินที่เหมาะสมกับการปลูกพืชใน ท้องถิ่นพลังงานแสงการเคลื่อนที่ของแสงจากแหล่งกําเนิด จําแนกวัตถุ ตามลักษณะการมองเห็น จากแหล่งกําเนิดแสง การสะท้อนของแสง การหักเหของแสง การกระจายแสงขาวและการเกิดรุ ้ง การเปลี่ยนพลังงานแสงเป็ นพลังงานไฟฟ้ า ระบบสุ ริยะ และการสร้างแบบจําลองเพื่ออธิ บาย ลักษณะของระบบสุ ริยะ โดยใช้การสื บเสาะหาความรู ้ดว้ ยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสํารวจ ตรวจสอบ การสื บด้นข้อมูล การทดลอง การอธิ บาย การวิเคราะห์ การจําแนก การเปรี ยบเทียบ และการ อภิปราย เพื่อให้เกิดความรู ้ ความคิดความเข้าใจ สามารถสื่ อสารสิ่ งที่เรี ยนรู ้มี ความสามารถในการ ตัดสิ นใจเห็นคุณค่าของการนําความรู ้ไปใช้ประโยชน์ในชีวติ ประจําวันมีความซื่อสัตย์ สุ จริ ต ใฝ่ เรี ยนรู ้ อยูอ่ ย่างพอเพียงมีจิตสาธารณะพร้อมทั้งจิตวิทยาศาสตร์ มีคุณธรรม จริ ยธรรมและมุ่งมัน่ ในการทํางานอย่างเหมาะสม

รหัสตัวชี้วดั ว๑.๑ ป.๔/๑ , ป.๔/๒ , ป.๔/๓ , ป.๔/๔ ว๕.๑ ป.๔/๑ , ป.๔/๒ , ป.๔/๓ , ป.๔/๔ , ป.๔/๕ , ป.๔/๖ ว๖.๑ ป.๔/๑ , ป.๔/๒ ว๗.๑ ป.๔/๑ ว๘.๑ ป.๔/๑ , ป.๔/๒ , ป.๔/๓ , ป.๔/๔ , ป.๔/๕ , ป.๔/๖ , ป.๔/๗ , ป.๔/๘ รวม ๒๑ ตัวชี้วดั

หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรี ยนดุสิตวิทยา พุทธศักราช ๒๕๕๓

หน้า ๖๙


คําอธิบายรายวิชาขั้นพืน้ ฐาน ว ๑๕๑๐๑ วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๕

กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้วทิ ยาศาสตร์ เวลา ๘๐ ชัว่ โมง

ศึกษาส่ วนประกอบของดอก โครงสร้างที่เกี่ยวข้องกับการสื บพันธุ์ของพืชดอก การ สื บพันธุ์ของพืชดอก การขยายพันธุ์พืช วัฏจักรชีวติ ของพืชดอก การสื บพันธุ์และการขยาย พันธุ์ ของสัตว์ ลักษณะของตนเองกับคนในครอบครัว การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุ กรรม จําแนกพืช ออกเป็ นพืชดอกและพืชไม่มีดอก ลักษณะของพืชดอกที่เป็ นพืชใบเลี้ยงเดี่ยวและใบเลี้ยงคู่ โดยใช้ ลักษณะภายนอกเป็ นเกณฑ์ จําแนกสัตว์ออกเป็ นกลุ่มโดยใช้ลกั ษณะภายในบางลักษณะเป็ นเกณฑ์ และลักษณะภายนอกเป็ นเกณฑ์ สมบัติของวัสดุ ความยืดหยุน่ ความแข็ง ความเหนียว การนํา ความร้อน การนําไฟฟ้ า ความหนาแน่น การนําวัสดุไปใช้ในชีวติ ประจําวัน การหาแรงลัพธ์ ความดันอากาศ ความดันของของเหลว แรงพยุงของของเหลว การลอยตัว การจมของวัตถุ แรง เสี ยดทาน ก ารเกิดเสี ยง การเคลื่อนที่ของเสี ยง การเกิดเสี ยงสู ง เสี ยงตํ่า เสี ยงดัง เสี ยงค่อย อันตรายที่เกิดขึ้นเมื่อเสี ยงดังมาก ๆ การเกิดเมฆหมอก นํ้าค้าง ฝน ลูกเห็บ วัฏจักรนํ้า เครื่ องมือ ในการวัดอุณหภูมิ ความชื้น ความกดอากาศ การเกิดลม การเกิดทิศ ปรากฎการณ์ก ารขึ้น – ตก ของดวงดาวโดยใช้แผนที่ดาว โดยใช้การสื บเสาะหาความรู ้ ด้วยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสํารวจ ตรวจสอบ การสื บค้นข้อมูล การทดลอง การอธิ บาย การวิเคราะห์ การจําแนก การเปรี ยบเทียบและการ อภิปราย เพื่อให้เกิดความรู ้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถสื่ อสารสิ่ งที่เรี ยนรู ้ มีความสามารถใน การตัดสิ นใจ เห็นคุณค่าของการนําความรู ้ไปใช้ประโยชน์ในชีวติ ประจําวัน มีความซื่อสัตย์สุจริ ต ใฝ่ เรี ยนรู ้ อยู่ อย่างพอเพียง มีจิตสาธารณะ พร้อมทั้งจิตวิทยาศาสตร์ มีคุณธรรม จริ ยธรรม และมุ่งมัน่ ในการ ทํางานอย่างเหมาะสม รหัสตัวชี้วดั ว๑.๑ ป.๕/๑ ว๑.๒ ป.๕/๑ ว๓.๑ ป.๕/๑ ว๔.๑ ป.๕/๑ ว๔.๒ ป.๕/๑ ว๕.๑ ป.๕/๑

, , , ,

ป.๕/๒ , ป.๕/๓ , ป.๕/๔ , ป.๕/๕ ป.๕/๒ , ป.๕/๓ , ป.๕/๔ , ป.๕/๕ ป.๕/๒ ป.๕/๒ , ป.๕/๓ , ป.๕/๔

, ป.๕/๒ , ป.๕/๓ , ป.๕/๔

หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรี ยนดุสิตวิทยา พุทธศักราช ๒๕๕๓

หน้า ๗๐


ว๖.๑ ว๗.๑ ว๘.๑ รวม

ป.๕/๑ , ป.๕/๒ , ป.๕/๓ , ป.๕/๔ ป.๕/๑ ป.๕/๑ , ป.๕/๒ , ป.๕/๓ , ป.๕/๔ , ป.๕/๕ , ป.๕/๖ , ป.๕/๗ , ป.๕/๘ ๓๔ ตัวชี้วดั

หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรี ยนดุสิตวิทยา พุทธศักราช ๒๕๕๓

หน้า ๗๑


คําอธิบายรายวิชาขั้นพืน้ ฐาน ว ๑๖๑๐๑ วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๖

กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้วทิ ยาศาสตร์ เวลา ๘๐ ชัว่ โมง

ศึกษาการเจริ ญเติบโตของมนุษย์ ความสัมพันธ์ของระบบย่อยอาหาร ระบบหายใจ และ ระบบหมุนเวียนเลือดของมนุษย์ สารอาหารและความจําเป็ นที่ร่างกายต้องได้รับสารอาหาร ความสัมพันธ์ของกลุ่มสิ่ งมีชีวติ ในแหล่งที่อยูต่ ่างๆ ความ สัมพันธ์ของสิ่ งมีชีวติ กับสิ่ งมีชีวติ ในรู ป ของโซ่อาหารและสายใยอาหาร ความสัมพันธ์ระหว่างการดํารงชีวติ ของสิ่ งมีชีวติ กับสภาพแวดล้อม ในท้องถิ่น แหล่งทรัพยากรธรรมชาติในแต่ละท้องถิ่น การเพิ่มของประชากรมนุษย์ต่อการใช้ ทรัพยากรธรรมชาติ การเปลี่ยนแปลงสิ่ งแวดล้อมโดยธรรมช าติและโดยมนุษย์ การดูแลรักษา ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อม การดูแลรักษาสิ่ งแวดล้อมในท้องถิ่น สมบัติของของแข็ง ของเหลว และแก๊ส การจําแนกสารเป็ นกลุ่มโดยใช้สถานะหรื อเกณฑ์อ่ืนที่กาํ หนดเอง วิธีการแยก สารโดยการร่ อน การตกตะกอนการกรอง การระเหิ ด การระเหยแห้ง ประเภทของ สารต่างๆ ที่ใช้ใน ชีวติ ประจําวัน การเลือกใช้สารแต่ละประเภทได้อย่างถูกต้องและปลอดภัย สมบัติของสารเมื่อเกิด การละลายและเปลี่ยนสถานะ การเปลี่ยนแปลงที่ทาํ ให้เกิดสารใหม่ การเปลี่ยนแปลงของสารที่ ก่อให้เกิดผลต่อสิ่ งมีชีวติ และสิ่ งแวดล้อม การต่อวงจรไฟฟ้ าอย่างง่าย ตัวนําและฉนวนไฟฟ้ า การต่อ เซลล์ไฟฟ้ าแบบอนุกรม การต่อหลอดไฟฟ้ าแบบอนุกรม แบบขนาน การเกิดสนามแม่เหล็กรอบ สายไฟที่มีกระแสผ่าน การเกิดฤดู ข้างขึ้นข้างแรม สุ ริยปุ ราคา จันทรุ ปราคา ความก้าวหน้าและ ประโยชน์ของเทคโนโลยีอวกาศ โดยใช้การสื บเสาะหาความรู ้ดว้ ยกระบวนการวิทยาศาสตร์ การสํารวจ ตรวจสอบ การ สื บค้นข้อมูล การทดลอง การอธิ บาย การอภิปราย การวิเคราะห์ การจําแนก และการสร้าง แบบจําลอง เพื่อให้เกิดความรู ้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถสื่ อสารสิ่ งที่เรี ยนรู ้ มีความสามารถในการ ตัดสิ นใจ เห็นคุณค่าการนําความรู ้ไปใช้ประโยชน์ในชีวติ ประจําวัน มี ความซื่อสัตย์สุจริ ต ใฝ่ เรี ยนรู้ มีจิตสาธารณะพร้อมทั้งจิตวิทยาศาสตร์ มีคุณธรรม จริ ยธรรม และมุ่งมัน่ ในการทํางานอย่าง เหมาะสม รหัสตัวชี้วดั ว๑.๑ ป.๖/๑ , ป.๖/๒ , ป.๖/๓ ว๒.๑ ป.๖/๑ , ป.๖/๒ , ป.๖/๓ ว๒.๒ ป.๖/๑ , ป.๖/๒ . ป.๖/๓ , ป.๖/๔ , ป.๖/๕ หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรี ยนดุสิตวิทยา พุทธศักราช ๒๕๕๓

หน้า ๗๒


ว๓.๑ ป.๖/๑ , ป.๖/๒ , ป.๖/๓ , ป.๖/๔ , ป.๖/๕ ว๓.๒ ป.๖/๑ , ป.๖/๒ , ป.๖/๓ ว๕.๑ ป.๖/๑ , ป.๖/๒ . ป.๖/๓ , ป.๖/๔ , ป.๖/๕ ว๖.๑ ป.๖/๑ , ป.๖/๒ , ป.๖/๓ ว๗.๑ ป.๖/๑ ว๗.๒ ป.๖/๑ ว๘.๑ ป๖/๑ , ป.๖/๒ , ป.๖/๓ , ป.๖/๔ , ป.๖/๕ , ป.๖/๖ , ป.๖/๗ , ป.๖/๘ รวม ๓๗ ตัวชี้วดั

หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรี ยนดุสิตวิทยา พุทธศักราช ๒๕๕๓

หน้า ๗๓


สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม


ส ๑๑๑๐๑ สังคมศึกษา ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๑

คําอธิบายรายวิชาขั้นพืน้ ฐาน กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม เวลาเรี ยน ๘๐ ชัว่ โมง

ศึกษาวิเคราะห์เกี่ยวกับพุทธประวัติ พุทธสาวก พุทธสาวิกา ชาดก ศาสนิกชนตัวอย่าง พระ รัตนตรัย หลักธรรมทางพุทธศาสนา พุทธศาสนสุ ภาษิต สวดมนต์ แผ่เมตตา การบําเพ็ญประโยชน์ ต่อวัดหรื อศาสนสถาน การแสดงตนเป็ นพุทธมามกะ ศาสนพิธี พิธีกรรมในวันสําคัญทางศาสนา สิ ทธิ เสรี ภาพบทบาท หน้าที่ของตนในการเป็ นสมาชิกที่ดีของครอบครัว และโรงเรี ยน การ กระทําความดีที่ภาคภูมิใจ การมีส่วนร่ วมตามกระบวนการประชาธิ ปไตยในครอบครัวและโรงเรี ยน สิ นค้าและบริ การที่ใช้ประโยชน์ในชีวติ ประจําวัน การใช้จ่ายเงินในชีวติ ประจําวันที่ไม่เกิน ตัวและเห็นประโยชน์ของการออม การใช้ทรัพยากรในชีวติ ประจําวันอย่างประหยัดและคุม้ ค่า การ ทํางานสุ จริ ตทําให้สังคมสงบสุ ข สิ่ งต่าง ๆ รอบตัวที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติและที่มนุษย์สร้างขึ้น ความสัมพันธ์ของ ตําแหน่ง ระยะทิศของสิ่ งต่าง ๆ รอบตัว ทิศหลักและที่ต้งั ของสิ่ งต่าง ๆ ในท้องถิ่น การเปลี่ยนแปลง ของสภาพอากาศในรอบวัน ลักษณะภูมิประเทศ ภูมิอากาศ มีผลต่อความเป็ นอยูข่ องมนุษย์ การ เปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อมที่อยูใ่ นท้องถิ่น การจัดระเบียบสิ่ งแวดล้อมที่บา้ นและชั้นเรี ยน โดยใ ช้กระบวนการศึกษา ค้นคว้า การคิด การนําเสนอ การป ฏิบตั ิ การระบุ การ เรี ยงลําดับ การเปรี ยบเทียบ การแยกแยะ การมีส่วนร่ วม นําประสบการณ์ดา้ นความรู ้ไปใช้ใน ชีวติ ประจําวันอย่างสร้างสรรค์ เพือ่ ให้ เห็นคุณค่า มีเจตคติที่ดีต่อความรักชาติ ศาสน์ กษัตริ ย ์ รักในความเป็ นไทย มีความ มุ่งมัน่ ในการทํางาน รู ้จกั ใฝ่ เรี ยนรู ้ สร้างวินยั ในตนเอง มีความซื่อสัตย์สุจริ ต ใช้ชีวติ อย่างพอเพียง มี จิตสาธารณะ คุณธรรม ค่านิยมที่เหมาะสม รหัสตัวชี้วดั ส ๑.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓, ป.๑/๔ ส ๑.๒ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓ ส ๒.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒ ส ๒.๒ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓ ส ๓.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓ ส ๓.๒ ป.๑/๑ ป.๕.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓, ป.๑/๔, ป.๑/๕ ป.๕.๒ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓

หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรี ยนดุสิตวิทยา พุทธศักราช ๒๕๕๓

หน้า ๗๕


รวม

๒๔

ตัวชี้วดั

หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรี ยนดุสิตวิทยา พุทธศักราช ๒๕๕๓

หน้า ๗๖


ส ๑๒๑๐๑ สังคมศึกษา ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๒

คําอธิบายรายวิชาขั้นพืน้ ฐาน กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม เวลาเรี ยน ๘๐ ชัว่ โมง

ศึกษาวิเคราะห์ความสําคัญของพระพุทธศาสนา หรื อศาสนาที่ตนนับถือ พุทธประวัติ พุทธ สาวก พุทธสาวิกาชาดก ศาสนิกชนตัวอย่าง พระรัตนตรั ย หลักธรรมตามศาสนาที่ตนนับถือ พุทธ ศาสนสุ ภาษิต การทําความดี การสวดมนต์แผ่เมตตา ศาสนาต่าง ๆ ในประเทศไทย การบําเพ็ญ ประโยชน์ต่อวัดหรื อศาสนสถาน การแสดงตนเป็ นพุทธมามกะ ศาสนพิธี และวันสําคัญทางศาสนา ข้อตกลง กติกา กฎ ระเบียบหน้าที่ที่ตอ้ งปฏิบตั ิในครอบครัว โรงเรี ยน สถานที่สาธารณะ มารยาทไทย การยอมรับความแตกต่างของคนในสังคม สิ ทธิ เสรี ภาพตนเองและผูอ้ ื่น ความสัมพันธ์ ของตนเองและสมาชิกในครอบครัวในฐานะเป็ นส่ วนหนึ่งของชุมชน ผูม้ ีบทบาทอํานาจในการ ตัดสิ นใจในโรงเรี ยนและท้องถิ่น ทรัพยากรที่นาํ มาผลิตสิ นค้าและบริ การที่ใช้ในชีวติ ปร ะจําวัน การใช้จ่ายเงินใน ชีวติ ประจําวันที่เหมาะสมและการออม การแลกเปลี่ยนสิ นค้าและบริ การโดยวิธีต่าง ๆ ความสัมพันธ์ ระหว่างผูซ้ ้ือและผูข้ าย การเปลี่ยนแปลงที่มีต่อวิถีชีวติ ของคนในชุมชน บุคคลที่ทาํ ประโยชน์ต่อท้องถิ่นที่ควร อนุรักษ์ไว้ สิ่ งต่าง ๆ ที่เป็ นธรรมชาติกบั ที่มนุษย์สร้างขึ้นซึ่ งปรากฏระหว่างโรงเรี ยนกับบ้าน ตําแหน่ง อย่างง่ายและลักษณะทางกายภาพของสิ่ งต่าง ๆ ที่ปรากฏในลูกโลก แผนที่ และภาพถ่าย ความสัมพันธ์ของปรากฎการณ์ระหว่างโลก ดวงอาทิตย์ และดวงจันทร์ ความสําคัญและคุณค่าของ สิ่ งแวดล้อมทางธรรมชาติ การใช้ทรัพยากรธร รมชาติอย่างคุม้ ค่า ความสัมพันธ์ของฤดูกาลกับการ ดําเนินชีวติ ของมนุษย์ การฟื้ นฟูปรับปรุ งสิ่ งแวดล้อมในโรงเรี ยนและท้องถิ่น โดยใช้กระบวนการศึกษา ค้นคว้า การคิด การนําเสนอ การปฏิบตั ิ การระบุ การเรี ยงลําดับ การเปรี ยบเทียบ การแยกแยะ การมีส่วนร่ วม นําประสบการณ์ดา้ นคว ามรู ้ไปใช้ในชีวติ ประจําวัน อย่างสร้างสรรค์ เพือ่ ให้ เห็นคุณค่า มีเจตคติที่ดีต่อความรักชาติ ศาสน์ กษัตริ ย ์ รักในความเป็ นไทย มีความ มุ่งมัน่ ในการทํางาน รู ้จกั ใฝ่ เรี ยนรู ้ สร้างวินยั ในตนเอง มีความซื่อสัตย์ สุ จริ ต ใช้ชีวติ อย่างพอเพียง มี จิตสาธารณะ คุณธรรม ค่านิยมที่เหมาะสม รหัสตัวชี้วดั ส ๑.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔, ป.๒/๕, ป.๒/๖, ป.๒/๗ ส ๑.๒ ป.๒/๑, ป.๒/๒ ส ๒.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔ หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรี ยนดุสิตวิทยา พุทธศักราช ๒๕๕๓

หน้า ๗๗


ส ๒.๒ ป.๒/๑, ป.๒/๒ ส ๓.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔ ส ๓.๒ ป.๒/๑, ป.๒/๒ ป.๕.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓ ป.๕.๒ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔ รวม ๒๘ ตัวชี้วดั

หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรี ยนดุสิตวิทยา พุทธศักราช ๒๕๕๓

หน้า ๗๘


ส ๑๓๑๐๑ สังคมศึกษา ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๓

คําอธิบายรายวิชาขั้นพืน้ ฐาน กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม เวลาเรี ยน ๘๐ ชัว่ โมง

ศึกษาวิเคราะห์เกี่ยวกับความสําคัญของพระพุทธศาสนาหรื อศาสนาที่ตนนับถือในฐานะที่เป็ น ศูนย์รวมจิตใจของศาสนิกชน พุทธประวัติ พุทธสาวก พุทธสาวิกา ชาดก พระรัตนตรัย หลักธรรม ของศาสนา สวดมนต์ แผ่เมตตา การฝึ กสมาธิ ศาสนวัตถุ ศาสนสถานและศาสนบุคคล มาร ยาทชาว พุทธ ศาสนพิธีแสดงตนเป็ นพุทธมามกะ ประเพณี วฒั นธรรมในครอบครัวและท้องถิ่น การดําเนินชีวติ ที่อยูใ่ นกระแสวัฒนธรรมที่ หลากหลาย วันหยุดราชการที่สาํ คัญ หน้าที่ของสมาชิกในชุมชน การตัดสิ นใจของบุคคลและกลุ่มที่ มีผลต่อการเปลี่ยนแปลง การใช้สินค้าและบริ การในการดํารงชีวติ การใช้จ่าย การออม ทรัพยากรที่มีอยูจ่ าํ กัดมีผลต่อ การผลิตและบริ โภคสิ นค้าและบริ การ การค้าและบริ การที่รัฐจัดหาและให้บริ การแก่ประชาชน ภาษี อากร การแข่งขันทางการค้า แผนที่แผนผังและภาพถ่ายในการหาข้อมู ลทางภูมิศาสตร์ ในท้องถิ่น ตําแหน่งที่ต้งั สัมพันธ์ ของสถานที่สาํ คัญในบริ เวณโรงเรี ยนและชุมชน ความสัมพันธ์ของลักษณะกายภาพกับลักษณะทาง สังคมของท้องถิ่นสภาพแวดล้อมและวัฒนธรรมที่เกิดขึ้นในอดีตและปัจจุบนั การพึ่งพาสิ่ งแวดล้อม ในการดํารงชีวติ ของมนุษย์ มลพิษที่เกิดจากการกระทําของมนุษย์ ลักษณะของเมืองและชนบท การ เปลี่ยนแปลงของสิ่ งแวดล้อมในชุมชน การแก้ปัญหาและพัฒนาท้องถิ่น โดยใช้กระบวนการศึกษาค้นคว้า การคิด การนําเสนอ การปฏิบตั ิ การอธิ บาย การระบุ การ จําแนก การสรุ ป การวิเคราะห์ การเรี ยงลําดับ การนําประสบการณ์ดา้ นความรู ้ ความคิดไปใช้ในการ เรี ยนรู ้และสามารถนําไปใช้ในชีวติ ประจําวันอย่างสร้างสรรค์ เพือ่ ให้ เห็นคุณค่า มีเจตคติที่ดีต่อความรักชาติ ศาสน์ กษัตริ ย ์ รักในความเป็ นไทย มีความ มุ่งมัน่ ในการทํางาน รู ้จกั ใฝ่ เรี ยนรู ้ สร้างวินยั ในตนเอง มีความซื่ อสัตย์สุจริ ต ใช้ชีวติ อย่างพอเ พียง มี จิตสาธารณะ คุณธรรม ค่านิยมที่เหมาะสม รหัสตัวชี้วดั ส ๑.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕, ป.๓/๖, ป.๓/๗ ส ๑.๒ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓ ส ๒.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔ ส ๒.๒ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓ ส ๓.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓ ส ๓.๒ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓ หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรี ยนดุสิตวิทยา พุทธศักราช ๒๕๕๓

หน้า ๗๙


ป.๕.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓ ป.๕.๒ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕ รวม ๓๑ ตัวชี้วดั

หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรี ยนดุสิตวิทยา พุทธศักราช ๒๕๕๓

หน้า ๘๐


ส ๑๔๑๐๑ สังคมศึกษา ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๔

คําอธิบายรายวิชาขั้นพืน้ ฐาน กลุ่มสาระการเรี ยนรู้ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม เวลาเรี ยน ๘๐ ชัว่ โมง

ศึกษาวิเคราะห์ความสําคัญของพระพุทธศาสนาหรื อศาสนาที่ตนนับถือ ในฐานะเป็ นศูนย์รวม จิตใจของศาสนิกชน พุทธประวัติ พุทธกิจสําคัญ พุทธสาวิกา ชาดก พระรัตนตรัย และหลักธรรม ของศาสนา พุทธศาสนสุ ภาษิต การทําความดีของตนเองและบุคคลในครอบครัว โรงเรี ยนและ ชุมชน สวดมนต์ แผ่เมตตา หลักธรรมเพื่อการอยูร่ ่ วมกันอย่างสมานฉันท์ ประวัติ ศาสดา ศาสนา สถาน มารยาทของศาสนิกชน ศาสนพิธี และวันสําคัญทางศาสนา พลเมืองดีตามวิถีประชาธิ ปไตยในฐานะสมาชิกที่ดีของชุมชนและท้องถิ่น การเป็ นผูน้ าํ ที่ดี และผูต้ ามที่ดี สิ ทธิ พ้ืนฐานของเด็ก วัฒนธรรมในภาคต่างๆ ของไทย การอยุร่วมกันอย่างสันติสุขใน ชีวติ ประจําวัน อํานาจอธิ ปไตย บทบาทหน้าที่ของพลเมืองในกระบวนการเลือกตั้ง สถาบัน พระมหากษัตริ ยต์ ามระบอบประชาธิ ปไตยไทยอันมีพระมหากษัตริ ยท์ รงเป็ นประมุข ปั จจัยที่มีผลต่อการเลือกซื้ อสิ นค้าและบริ การ สิ ทธิ พ้ืนฐานของผูบ้ ริ โภค หลักการของ เศรษฐกิจพอเพียงและนําไปใช้ในชีวติ ประจําวันของตนเอง ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจของคนใน ชุมชน หน้าที่เบื้องต้นของเงินในระบบเศรษฐกิจ แผนที่ภาพถ่ายลักษณะทางกายภาพของจังหวัดตนเอง ตําแหน่งระยะทางและทิศทางของ ทรัพยากรและสิ่ งต่างๆ ในจังหวัดของตนเอง แผนที่แสดงความสัมพันธ์ของสิ่ งต่างๆ ที่มีอยูใ่ น จังหวัด สภาพแวดล้อมทางกายภาพของท้องถิ่นที่ส่งผลต่อการดําเนินชีวิ ตของคนในจังหวัด การ เปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมในจังหวัดและผลที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลง การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม และทรัพยากรธรรมชาติในจังหวัดและท้องถิ่น โดยใช้กระบวนการศึกษา ค้นคว้า การคิด การวิเคราะห์ การสรุ ป การอธิ บาย การปฏิบตั ิ การ วิเคราะห์ มาใช้ในการเรี ยนรู ้ และสามารถนําไปใช้ในชีวติ ประจําวันอย่างสร้างสรรค์ เพือ่ ให้เห็นคุณค่า มีเจตคติที่ดีต่อความรักชาติ ศาสน์ กษัตริ ย ์ รักในความเป็ นไทย มีความ มุ่งมัน่ ในการทํางาน รู ้จกั ใฝ่ เรี ยนรู ้ สร้างวินยั ในตนเอง มีความซื่อสัตย์สุจริ ต ใช้ชีวติ อย่างพอเพียง มี จิตสาธารณะ คุณธรรมค่านิยมที่เหมาะสม รหัสตัวชี้วดั ส ๑.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔, ป.๔/๕, ป.๔/๖, ป.๔/๗, ป.๔/๘ ส ๑.๒ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓ ส ๒.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔, ป.๔/๕ ส ๒.๒ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓ ส ๓.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓ หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรี ยนดุสิตวิทยา พุทธศักราช ๒๕๕๓

หน้า ๘๑


ส ๓.๒ ป.๕.๑ ป.๕/๒ รวม

ป.๔/๑, ป.๔/๒ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓ ๓๐ ตัวชี้วดั

หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรี ยนดุสิตวิทยา พุทธศักราช ๒๕๕๓

หน้า ๘๒


ส ๑๕๑๐๑ สังคมศึกษา ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๕

คําอธิบายรายวิชาขั้นพืน้ ฐาน กลุ่มสาระการเรี ยนรู้ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม เวลาเรี ยน ๘๐ ชัว่ โมง

ศึกษาวิเคราะห์ความสําคัญของพระพุทธศาสนาหรื อศาสนาที่ตนนับถือในฐานะมรดกทาง วัฒนธรรม และหลักในการพัฒนาชาติ พุทธประวัติ พุทธกิจสําคัญ พุทธสาวิกา ชาดก ศาสนิกชน ตัวอย่าง พระไตรปิ ฎก พระรัตนตรัย หลักธรรม โอวาท ๓ หลักธรรมทางพุทธศาสนา พุทธศาสนสุ ภาษิต สวดมนต์แผ่เมตตา การพัฒนาจิตเจริ ญปั ญญา การเข้าร่ วมในพิธีกรรมทางศาสนา หรื อกิจกรรมในวันสําคัญทางศาสนา มรรยาทของความเป็ นศาสนิกชนที่ดี สถานภาพ บทบาท สิ ทธิ เสรี ภาพ แล ะหน้าที่พลเมืองดี การปกป้ องคุม้ ครองตนเองหรื อ ผูอ้ ื่น การละเมิดสิ ทธิ เด็ก ผลของวัฒนธรรมไทยต่อการดําเนินชีวติ ในสังคม วัฒนธรรมประเพณี ของ ท้องถิ่น การอนุรักษ์และเผยแพร่ ภูมิปัญญาท้องถิ่น สภาพเศรษฐกิจ สังคม และวิถีการดํารงชีวติ ร่ วมกันของคนในท้องถิ่น การปกครองส่ วนท้องถิ่น การบริ การสาธารณประโยชน์ในท้องถิ่น ปั จจัยการผลิตสิ นค้าและบริ การ การนําแนวคิดของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ใน ครอบครัว โรงเรี ยน และชุมชน หลักการสําคัญและประโยชน์ของสหกรณ์ บทบาทหน้าที่ของ ธนาคาร ผลของการกูย้ มื เงิน ประวัติความเป็ นมาของท้องถิ่นนครปฐม ความเป็ น มาของดินแดนสุ วรรณภูมิ อาณาจักร ทวาราวดี แหล่งข้อมูลทางประวัติศาสตร์ ความเป็ นมาของตนเองและครอบครัว อิทธิ พล ของอารย ธรรมอินเดียและจีนที่มีต่อไทยและเอเซี ยตะวันออกเฉี ยงใต้ อิทธิ พลของวัฒนธรรมต่างชาติที่มีผล ต่อสังคมไทย พัฒนาการของอาณาจักรอยุธยาและธนบุรี ความเจริ ญทา งเศรษฐกิจ การปกครอง สังคม ของอาณาจักรอยุธยา ประวัติและผลงานของบุคคลสําคัญสมัยอยุธยาและธนบุรีที่น่า ภาคภูมิใจ ภูมิปัญญาไทยที่สาํ คัญสมัยอยุธยาและธนบุรีที่น่าภาคภูมิใจและควรค่าแก่การอนุรักษ์ เกียรติยศและความภาคภูมิใจของคนในท้องถิ่น พิกดั ภูมิศาสตร์ ระยะทิศทา งภูมิภาคของตน สภาพภูมิประเทศ ภูมิอากาศ ทรัพยากร สิ่ งแวดล้อม สถานที่สาํ คัญในอดีต ปั จจุบนั และโบราณสถาน โบราณวัตถุ สภาพแวดล้อมทาง กายภาพมีผลต่อการตั้งถิ่นฐาน การย้ายถิ่นในภูมิภาค การสร้างสรรค์วฒั นธรรมในภูมิภาค และ เหตุการณ์สาํ คัญที่เกิดขึ้นทั้งในอดีตและปัจจุบนั สภาพปั ญหาทางกายภาพและสังคมในท้องถิ่น แนวทางการแก้ปัญหา รักษาสภาพแวดล้อมในภูมิภาคและพัฒนาที่ยงั่ ยืน โดยใช้กระบวนการศึกษา ค้นคว้า การคิด การวิเคราะห์ การสรุ ป การอธิ บาย การปฏิบตั ิจริ ง การนําเสนอ การจําแนก การรวบรวม การแก้ปัญหา การใช้เหตุผล นําประสบการณ์ดา้ นความ รู้ ความคิดไปใช้ในการเรี ยนรู ้ สามารถนําไปใช้ในชีวติ ประจําวันอย่างสร้างสรรค์

หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรี ยนดุสิตวิทยา พุทธศักราช ๒๕๕๓

หน้า ๘๓


เพื่อให้เห็นคุณค่า มีเจตคติที่ดีต่อความรักชาติ ศาสน์ กษัตริ ย ์ รักในความเป็ นไทย มีความ มุ่งมัน่ ในการทํางาน รู ้จกั ใฝ่ เรี ยนรู ้ สร้างวินยั ในตนเอง มีความซื่อสัตย์สุจริ ตใช้ชีวติ อย่างพอเพียง มี จิตสาธารณะคุณธรรมค่านิยมที่เหมาะสม รหัสตัวชี้วดั ส ๑.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕, ป.๕/๖, ป.๕/๗ ส ๑.๒ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓ ส ๒.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔ ส ๒.๒ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓ ส ๓.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓ ส ๓.๒ ป.๕/๑, ป.๕/๒ ป.๕.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓ ป.๕.๒ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓ รวม ๒๘ ตัวชี้วดั

หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรี ยนดุสิตวิทยา พุทธศักราช ๒๕๕๓

หน้า ๘๔


ส ๑๖๑๐๑ สังคมศึกษา ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๖

คําอธิบายรายวิชาขั้นพืน้ ฐาน กลุ่มสาระการเรี ยนรู้ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม เวลาเรี ยน ๘๐ ชัว่ โมง

ศึกษาวิเคราะห์ความสําคัญของพระพุทธศาสนา ในฐานะเป็ นศาสนาประจําชาติพุทธ ประวัติ และสังเวชนียสถาน พุทธสาวกพุทธสาวิกา ชาดก ศาสนิกชนตัวอย่าง พระรัตนตรัย หลักธรรมของพระพุทธศา สนา พุทธศาสนสุ ภาษิต ความดีของบุคคลในประเทศตามหลักศาสนา สวดมนต์แผ่เมตตาและก ารพัฒนาจิตตามแนวทางของศาสนาที่ตนนับถือ หลักธรรมของศาสนาที่ ตนนับถือเพื่อแก้ปัญหาอบายมุขและสิ่ งเสพติด ศาสนพิธี พิธีกรรมของศาสนาอื่น ๆ ศาสนสถาน มารยาทของศาสนิกชน ศาสนาพิธีกิจกรรมในวันสําคัญทางศาสนา การแสดงตนเป็ นพุทธมามกะ กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับชีวติ ประจําวันของ ครอบครัวและชุมชน การเปลี่ยนแปลง วัฒนธรรมตามกาลเวลา และธํารงรักษาวัฒนธรรมอันดีงาม มารยาทไทย และมารยาทสังคม ความ แตกต่างทางวัฒนธรรม ระหว่างกลุ่มคนภาคต่าง ๆ ในสังคมไทย แหล่งข้อมูลข่าวสาร เหตุการณ์ใน ชีวติ ประจําวัน บทบาทหน้าที่ขององค์การปกครองส่ วนท้องถิ่นและรัฐบาล กิจกรรมที่ส่งเสริ ม ประชาธิ ปไตยในท้องถิ่นและประเทศ การใช้สิทธิ ออกเสี ยงเลือกตั้ง ตามระบอบประชาธิ ปไตย บทบาทของผูผ้ ลิตที่มีคุณภาพ บทบาทของผูบ้ ริ โภคที่ดี การใช้ทรัพยากรอย่างยัง่ ยืน ความ สัมพันธ์ระหว่างผูผ้ ลิต ผูบ้ ริ โภค ธนาคาร และรัฐบาลที่มีต่อระบบเศรษฐกิจ การร วมกลุ่มทาง เศรษฐกิจภายในท้องถิ่น เครื่ องมือทางภู มิศาสตร์ ความสัมพัน ธ์ระหว่างลักษณะทางกายภาพกับปรากฏ การณ์ทาง ธรรมชาติของประเทศและท้องถิ่น ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่ งแวดล้อมทางธรรมชาติกบั สิ่ งแวดล้อม ทางสังคมในประเทศ การเปลี่ยนแปลงสภาพธรรมชาติในประเทศไทย จากอดีตถึ งปัจจุบนั และผล ที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงนั้น สภาพปั ญหาทางกายภาพของสังคมและท้องถิ่น แผนการใช้ ทรัพยากรในชุมชนอย่างรู ้ค่า โดยใช้กระบวนการศึกษา ค้นคว้า การคิด การวิเคราะห์ การสรุ ป การอธิ บาย การปฏิบตั ิจริ ง การแก้ปัญหา การรวบรวม การใช้เหตุผล นําประสบการณ์ดา้ นควา มรู ้และทางความคิดไปใช้ใน การเรี ยนรู ้ และสามารถนําไปประยุกต์ใช้ในชีวติ ประจําวันอย่างสร้างสรรค์ เพือ่ ให้ เห็นคุณค่า มีเจตคติที่ดีต่อความรักชาติ ศาสน์ กษัตริ ย ์ รักในความเป็ นไทย มีความ มุ่งมัน่ ในการทํางาน รู ้จกั ใฝ่ เรี ยนรู ้ สร้างวินยั ในตนเอง มีความซื่อสัตย์ สุ จริ ต ใช้ชีวติ อย่างพอเพียง มี จิตสาธารณะคุณธรรม ค่านิยมที่เหมาะสม รหัสตัวชี้วดั ส ๑.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕, ป.๖/๖, ป.๖/๗, ป.๖/๘, ป.๖/๙ ส ๑.๒ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔ หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรี ยนดุสิตวิทยา พุทธศักราช ๒๕๕๓

หน้า ๘๕


ส ๒.๑ ส ๒.๒ ส ๓.๑ ส ๓.๒ ป.๕.๑ ป.๕/๒

ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓ ป.๖/๑, ป.๖/๒ ป.๖/๑, ป.๖/๒ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓ รวม ๓๑

ตัวชี้วดั

หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรี ยนดุสิตวิทยา พุทธศักราช ๒๕๕๓

หน้า ๘๖


รายวิชาประวัติศาสตร์


ส ๑๑๑๐๒ ประวัติศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๑

คําอธิบายรายวิชาขั้นพืน้ ฐาน กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม เวลาเรี ยน ๔๐ ชัว่ โมง

ศึกษาวิเคราะห์เกี่ยวกับปฏิทินในการบอกวัน เดือน ปี ที่ใช้ในชีวติ ประจําวัน ซึ่ งมีท้ งั

ระบบ สุ ริยคติ และจันทรคติ คําที่แสดงช่วงเวลา เรี ยงลําดับเหตุการณ์ในชีวติ ประจําวันตามวันเวลาที่ เกิดขึ้น วิธีการสื บค้นประวัติความเป็ นมาของตนเองและค รอบครัวอย่างง่าย ๆ จากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ การเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อม สิ่ งของ เครื่ องใช้ หรื อการดําเนินชีวติ ของตนเองในอดีตกับ ปัจจุบนั ที่เป็ นรู ปแบบและใกล้ตวั ผูเ้ รี ยน รวมทั้งเหตุการณ์สาํ คัญของครอบครัวที่เกิดขึ้นในอดีต ที่มี ผลกระทบต่อตนเองในปั จจุบนั ความหมายและความสําคัญของสัญลักษณ์ของชาติไทยที่เป็ นความ ภาคภูมิใจและการมีส่วนร่ วมที่จะอนุรักษ์ไว้ สถานที่สาํ คัญซึ่งเป็ นแหล่งวัฒนธรรมในท้องถิ่นที่ใกล้ ตัวผูเ้ รี ยนและเห็นเป็ นรู ปธรรม โดยใช้ทกั ษะการสังเกต การบอกเล่า การเชื่อมโยง การสอบถาม การรวบรวมข้อมูล การสรุ ปความ กา รเล่าเรื่ อง การใช้เหตุผล การเปรี ยบเทียบ การแยกแยะ การยกตัวอย่าง การแสดง ความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล การอธิ บาย การปฏิบตั ิตนอย่างถูกต้อง เพื่อให้เห็นคุณค่า มีเจตคติที่ดีต่อความรักชาติ ศาสน์ กษัตริ ย ์ รักในความเป็ นไทย มี ความมุ่งมัน่ ในการทํางาน มีวนิ ยั ในตนเอง ใฝ่ เรี ยนรู ้ มีความซื่อสัตย์สุจริ ต ใช้ชีวติ ความเป็ นอยูอ่ ย่าง พอเพียง มีจิตสาธารณะ ด้วยคุณธรรมและค่านิยมที่เหมาะสม รหัสตัวชี้วดั ส ๔.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓ ส ๔.๒ ป.๑/๑, ป.๑/๒ ส ๔.๓ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓ รวม ๘ ตัวชี้วดั

หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรี ยนดุสิตวิทยา พุทธศักราช ๒๕๕๓

หน้า ๘๘


ส ๑๒๑๐๒ ประวัติศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๒

คําอธิบายรายวิชาขั้นพืน้ ฐาน กลุ่มสาระการเรี ยนรู้ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม เวลาเรี ยน ๔๐ ชัว่ โมง

ศึกษาวิเคราะห์เกี่ยวกับวันเวลาตามระบบสุ ริยคติ และจันทรคติที่ปรากฏในปฏิทิน ที่แสดง เหตุการณ์สาํ คัญในอดีตและปั จจุบนั การใช้คาํ ที่แสดงช่วงเวลาในอดีต ปัจจุบนั และอนาคต วิธีการ สื บค้นเหตุการณ์ท่ีเกิดขึ้นในครอบครัวโดยใช้หลักฐานที่เกี่ยวข้อง วิธีการสื บค้นข้อมูลในชุมชน อย่างง่าย ๆ ในเรื่ องเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงในวิถีชี วิตของคนในชุมชน สาเหตุและผลกระทบของ การเปลี่ยนแปลงที่มีต่อวิถีชีวติ ของคนในชุมชน ประวัติและผลงานของบุคคลที่ทาํ ประโยชน์ต่อ ท้องถิ่นหรื อประเทศชาติในด้านการสร้างสรรค์วฒั นธรรม การสร้างความเจริ ญรุ่ งเรื อง และมัน่ คง โดยสังเขป รวมทั้งวัฒนธรรมไทย ประเพณี ไทย และภูมิปัญญาไทยที่ภาคภูมิใจและควรอนุรักษ์ไว้ โดยใช้ทกั ษะการสังเกต การสอบถาม การเชื่อมโยง เรี ยงลําดับ การเล่าเรื่ อง การรวบรวม ข้อมูล การอธิ บาย การวิเคราะห์ การสื บค้น การอ่าน การใช้เหตุผล และการนําเสนอ เพื่อให้เห็นคุณค่า มีเจตคติที่ดีต่อความรักชาติ ศาสน์ กษัตริ ย ์ รักในค วามเป็ นไทย มีความ มุ่งมัน่ ในการทํางาน มีวนิ ยั ในตนเอง ใฝ่ เรี ยนรู ้ มีความซื่อสัตย์สุจริ ต ใช้ชีวติ ความเป็ นอยูอ่ ย่าง พอเพียง มีจิตสาธารณะ ด้วยคุณธรรมและค่านิยมที่เหมาะสม รหัสตัวชี้วดั ส ๔.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒ ส ๔.๒ ป.๒/๑, ป.๒/๒ ส ๔.๓ ป.๒/๑, ป.๒/๒ รวม ๖ ตัวชี้วดั

หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรี ยนดุสิตวิทยา พุทธศักราช ๒๕๕๓

หน้า ๘๙


ส ๑๓๑๐๒ ประวัติศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๓

คําอธิบายรายวิชาขั้นพืน้ ฐาน กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม เวลาเรี ยน ๔๐ ชัว่ โมง

ศึกษาวิเคราะห์เกี่ยวกับความหมายและที่มาของศักราชที่ปรากฏในปฏิทิน วิธีการเทียบคริ สตศักราชกับพุทธศักราชและใช้ศกั ราชในการบันทึกเหตุการณ์สาํ คัญที่เกี่ยวข้องกับตนเองและ ครอบครัว วิธีสืบค้นเหตุการณ์สาํ คัญของโรงเรี ยนและชุมชนโดยใช้หลักฐานและแหล่งข้อมูลที่ เกี่ยวข้อง สามารถใช้เส้นเวลา (Timeline) ลําดับเหตุการณ์ท่ีเกิดขึ้นในโรงเรี ยนและชุมชน ปัจจัยที่มี อิทธิ พลต่อการตั้งถิ่นฐานและพัฒนาการของชุมชน ปั จจัยที่ทาํ ให้เกิดวัฒนธรรมและประเพณี ใน ชุมชน ซึ่ งประกอบด้วยปั จจัยทางภูมิศาสตร์ ปั จจัยทางสังคม พระราชประวัติ พระราชกรณี ยกิจ โดยสังเข ปของพระมหากษัตริ ยผ์ สู ้ ถาปนาอาณาจักรสุ โขทัย อยุธยา ธนบุรี และรัตนโกสิ นทร์ ตามลําดับ พระราชประวัติและพระราชกรณี ยกิจของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ภูมิพลอดุลยเดช และสมเด็จพระนางเจ้าสิ ริกิต์ ิพระบรมราชินีนาถโดยสังเขป วีรกรรมของบรรพบุรุษไทยที่มีส่วน ปกป้ องประเทศชาติ โดยใช้ทกั ษะการเปรี ยบเทียบ การคํานวณ การเชื่อมโยง การอธิ บาย การสํารวจ การสังเกต การสอบถาม การอ่าน การฟัง การเล่าเรื่ อง การสรุ ปความ การเขียนและการเล่าเรื่ อง เห็นคุณค่า มีเจตคติที่ดีต่อความรักชาติ ศาสน์ กษัตริ ย ์ รักในความเป็ นไทย มีความมุ่งมัน่ ใน การทํางาน มีวนิ ยั ในตนเอง ใฝ่ เรี ยนรู ้ มีความซื่อสัตย์สุจริ ต ใช้ชีวติ ความเป็ นอยูอ่ ย่างพอเพียง มีจิต สาธารณะ ด้วยคุณธรรมและค่านิยมที่เหมาะสม รหัสตัวชี้วดั ส ๔.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒ ส ๔.๒ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓ ส ๔.๓ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓ รวม ๘ ตัวชี้วดั

หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรี ยนดุสิตวิทยา พุทธศักราช ๒๕๕๓

หน้า ๙๐


ส ๑๔๑๐๒ ประวัติศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๔

คําอธิบายรายวิชาขั้นพืน้ ฐาน กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม เวลาเรี ยน ๔๐ ชัว่ โมง

ศึกษาวิเคราะห์เกี่ยวกับความหมาย วิธีการนั บและการใช้ช่วงเวลา เป็ นทศวรรษ ศตวรรษ และสหัสวรรษ เกณฑ์การแบ่งยุคสมัยในทางประวัติศาสตร์ ของมนุษยชาติที่แบ่งเป็ นสมัยก่อน ประวัติศาสตร์ และสมัยประวัติศาสตร์ รวมทั้งช่วงสมัยในการศึกษาประวัติศาสตร์ ไทย ลักษณะ สําคัญและเกณฑ์การจําแนกหลักฐานทางประวัติศาสตร์ ที่ใช้ในการศึ กษาความเป็ นมาของท้องถิ่น อย่างง่าย ๆ ตัวอย่างของหลักฐานที่พบในท้องถิ่น ใช้หลักฐานทางประวัติศาสตร์ ในการศึกษาปั จจัย การตั้งถิ่นฐาน และพัฒนาการของมนุษยชาติในสมัยก่อนประวัติศาสตร์ และสมัยประวัติศาสตร์ ใน ดินแดนไทยโดยสังเขป การก่อตั้งอาณาจักรโบราณในดินแดนไทย ประวั ติศาสตร์ ความเป็ นมาของ ชาติไทยในสมัยสุ โขทัยโดยสังเขป ประวัติและผลงานของบุคคลสําคัญและภูมิปัญญาไทยในสมัย สุ โขทัยที่น่าภาคภูมิใจ โดยใช้ทกั ษะการอ่าน การสํารวจ การวิเคราะห์ การคํานวณ การตรวจสอบข้อมูล การ จําแนก การตีความ สรุ ปความ การสื บค้น เพือ่ ให้เห็นคุณค่า มีเจตคติ ที่ดีต่อความรักชาติ ศาสน์ กษัตริ ย ์ รักในความเป็ นไทย มีความ มุ่งมัน่ ในการทํางาน มีวนิ ยั ในตนเอง ใฝ่ เรี ยนรู ้ มีความซื่อสัตย์สุจริ ต ใช้ชีวติ ความเป็ นอยูอ่ ย่าง พอเพียง มีจิตสาธารณะ ด้วยคุณธรรมและค่านิยมที่เหมาะสม รหัสตัวชี้วดั ส ๔.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓ ส ๔.๒ ป.๔/๑, ป.๔/๒ ส ๔.๓ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓ รวม ๘ ตัวชี้วดั

หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรี ยนดุสิตวิทยา พุทธศักราช ๒๕๕๓

หน้า ๙๑


ส ๑๕๑๐๒ ประวัติศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๕

คําอธิบายรายวิชาขั้นพืน้ ฐาน กลุ่มสาระการเรี ยนรู้ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม เวลาเรี ยน ๔๐ ชัว่ โมง

ศึกษาวิเคราะห์เกี่ยวกับความเป็ นมาของท้องถิ่นโดยใช้หลักฐานหลากหลายด้วยการตั้ง ประเด็นคําถามทางประวัติศาสตร์ ที่เกี่ยวข้องกับท้องถิ่น ความเป็ นมาของสถานที่สาํ คัญ ความ เป็ นมาของขนบธรรมเนียมประเพณี ในท้องถิ่น รู ้จกั แหล่งข้อมูลหลักฐานทางประวัติศาสตร์ ที่อยูใ่ น ท้องถิ่น การเข้ามาและอิทธิ พลของอารยธรรมอินเดียและจีน ในดินแดนสุ วรรณภูมิและภูมิภาค เอเชียตะวันออกเฉี ยงใต้โดยสังเขป อิทธิ พลของวัฒนธรรมต่างชาติท้ งั ตะวันตกและตะวันออกที่มี ต่อสังคมไทยในปั จจุบนั โดยสังเขป พัฒนาการของอาณาจักรอยุธยา และธนบุรีในเรื่ องการสถาปนา อาณาจักร ปั จจัยที่ส่งเสริ มความเจริ ญรุ่ งเรื องทางเศรษฐกิจและการปกครอง พัฒนาการทางการเมือง การปกครองและเศรษฐกิจโดยสังเขป ประวัติและผลงานบุคคลสําคัญในสมัยอยุธยาและธนบุรี ภูมิ ปั ญญาไทยในสมัยอยุธยาและธนบุรีโดยสังเขป โดยใช้ ทักษะการสังเกต การสอบถาม การสํารวจ การเปรี ยบเทียบ การวิเคราะห์ การ เชื่อมโยง การสังเคราะห์อย่างง่าย ๆ การอ่าน การสื บค้นข้อมูล เพื่อให้เห็นคุณค่า มีเจตคติที่ดีต่อความรักชาติ ศาสน์ กษัตริ ย ์ รักในความเป็ นไทย มีความ มุ่งมัน่ ในการทํางาน มีวนิ ยั ในตนเอง ใฝ่ เรี ยนรู้ มี ความซื่อสัตย์สุจริ ต ใช้ชีวติ ความเป็ นอยูอ่ ย่าง พอเพียง มีจิตสาธารณะ ด้วยคุณธรรมและค่านิยมที่เหมาะสม รหัสตัวชี้วดั ส ๔.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓ ส ๔.๒ ป.๕/๑, ป.๕/๒ ส ๔.๓ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔ รวม ๙ ตัวชี้วดั

หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรี ยนดุสิตวิทยา พุทธศักราช ๒๕๕๓

หน้า ๙๒


ส ๑๖๑๐๒ ประวัติศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๖

คําอธิบายรายวิชาขั้นพืน้ ฐาน กลุ่มสาระการเรี ยนรู้ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม เวลาเรี ยน ๔๐ ชัว่ โมง

ศึกษาวิเคราะห์เกี่ยวกับความหมายและความสําคั ญของวิธีการทางประวัติศาสตร์ อย่างง่าย ๆ ใช้วธิ ี การทางประวัติศาสตร์ ในการศึกษาเรื่ องราวหรื อเหตุการณ์สาํ คัญตามขั้นตอนอย่างเป็ น ระบบ สภาพสังคม เศรษฐกิจ การเมืองของประเทศเพื่อนบ้านในปั จจุบนั โดยสังเขป เชื่อมโยง เปรี ยบเทียบกับประเทศไทย ความเป็ นมาและความสัมพันธ์ของกลุ่ มอาเซี ยนโดยสังเขป ประวัติศาสตร์ ความเป็ นมาของชาติไทยในสมัยรัตนโกสิ นทร์ ในเรื่ องเกี่ยวกับการสถาปนา อาณาจักร ปั จจัยที่ส่งเสริ มความเจริ ญรุ่ งเรื องทางเศรษฐกิจ การปกครองพัฒนาการทางด้านต่าง ๆ โดยสังเขป ผลงานของบุคคลสําคัญ และภูมิปัญญาไทยที่สาํ คัญที่น่าภาคภูมิใจ ควรค่าแก่การอนุรักษ์ ไว้ โดยใช้ทกั ษะการอ่าน การสื บค้น การสํารวจ การวิเคราะห์ การสังเคราะห์ การอธิ บาย การ เขียนเรี ยงความ การจัดทําโครงงาน การจัดนิทรรศการ การเปรี ยบเทียบ การเชื่อมโยง เพื่อให้เห็นคุณค่า มีเจตคติที่ดีต่อความรักชาติ ศาสน์ กษัตริ ย ์ รักในความเป็ นไทย มีค วาม มุ่งมัน่ ในการทํางาน มีวนิ ยั ในตนเอง ใฝ่ เรี ยนรู ้ มีความซื่อสัตย์สุจริ ต ใช้ชีวติ ความเป็ นอยูอ่ ย่าง พอเพียง มีจิตสาธารณะ ด้วยคุณธรรมและค่านิยมที่เหมาะสม รหัสตัวชี้วดั ส ๔.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒ ส ๔.๒ ป.๖/๑, ป.๖/๒ ส ๔.๓ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔ รวม ๘ ตัวชี้วดั

หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรี ยนดุสิตวิทยา พุทธศักราช ๒๕๕๓

หน้า ๙๓


สาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา


คําอธิบายรายวิชาขั้นพืน้ ฐาน รหัสวิชา พ ๑๑๑๐๑ สุ ขศึกษา และพลศึกษา วิชา สุ ขศึกษา และพลศึกษา ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๑ เวลา ๘๐ ชัว่ โมง ศึกษาและอธิบายลักษณะหน้าที่ของอวัยวะภายนอกที่มีการเจริ ญเติบโต และพัฒนาการไป ตามวัย อวัยวะในช่องปาก สมาชิกในครอบครัว ความรัก ความผูกพัน ของสมาชิกใน ครอบครัว สิ่ งที่ชื่นชอบ และความภาคภูมิใจในตัวเอง (จุดเด่น -จุดด้อยของตนเอง ) ลักษณะความ แตกต่างของเพศชาย เพศหญิง ในด้านร่ างกาย อารมณ์และลักษณะนิสัย การปฏิบตั ิตนตามหลัก สุ ขบัญญัติแห่งชาติ ลักษณะการเจ็บป่ วยที่เกิดขึ้นกับตนเอง สิ่ งที่ทาํ ให้เกิดอันตรายในบ้าน และ โรงเรี ยนการป้ องกันอันตราย การขอความช่วยเหลือเมื่อเกิดเหตุร้ายที่บา้ นและโรงเรี ยน ศึกษาและอธิ บายธรรมชาติของการเคลื่อ นไหว แบบอยูก่ บั ที่ แบบเคลื่อนที่ แบบใช้ อุปกรณ์ประกอบ กิจกรรมทางกายที่ใช้ในการเคลื่อนไหว การเล่นเกมเบ็ดเตล็ด การออกกําลัง กาย กฎ กติกา ข้อตกลงในการเล่นเกมเบ็ดเตล็ด โดยใช้ทกั ษะการอธิ บาย บอก ระบุ ควบคุมการเคลื่อนไหวร่ างกาย อยูก่ บั ที่ เคลื่อนที่ โดยใช้อุปกรณ์ประกอบ เข้าร่ วมกิจกรรมทางกาย มีวธิ ี เล่นอาศัยการเคลื่อนไหวเบื้องต้น ออก กําลังกายและเล่นเกม ปฏิบตั ิ ตามกฎ กติกา ข้อตกลงในการเล่นเกมเป็ นกลุ่ม เลือกปฏิบตั ิตาม คําแนะนํา เพื่อให้เกิดความรู ้ ความเข้าใจ ปฏิบตั ิตามคําแนะนํา กฎ ระ เบียบ ของการเล่น มีวนิ ยั ใฝ่ เรี ยนรู ้ สามารถนําความรู ้ไปใช้ประโยชน์ในชีวติ ประจําวัน รหัสตัวชี้วดั พ.๑.๑ ป.๑/๑ ป.๑/๒ พ.๒.๑ ป.๑/๑ ป.๑/๒ ป.๑/๓ พ.๓.๑ ป.๑/๑ ป.๑/๒ พ.๓.๒ ป.๑/๑ ป.๑/๒ พ.๔.๑ ป.๑/๑ ป.๑/๒ ป.๑/๓ พ.๕.๑ ป.๑/๑ ป.๑/๒ ป.๑/๓ รวม ๑๕ ตัวชี้วดั

หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรี ยนดุสิตวิทยา พุทธศักราช ๒๕๕๓

หน้า ๙๕


คําอธิบายรายวิชาขั้นพืน้ ฐาน รหัสวิชา พ ๑๒๑๐๑ สุ ขศึกษา และพลศึกษา วิชา สุ ขศึกษา และพลศึกษา ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๒ เวลา ๘๐ ชัว่ โมง ศึกษาและอธิ บายหน้าที่ของอวัยวะภายในที่มีการเจริ ญเติบโตและพัฒนาไปตามวัย บทบาท หน้าที่ของสมาชิกในครอบครัว ทั้งของตนเอง พ่อแม่ พี่นอ้ ง และญาติ ความสําคัญของเพื่อน พฤติกรรมที่เหมาะสมกับเพศ ความเป็ นสุ ภาพบุรุษ สุ ภาพสตรี ความภาคภูมิใจในเพศหญิงและเพศ ชาย ลักษณะของการมีสุขภาพดี ร่ างกายแข็งแรง จิตใจร่ าเริ งแจ่มใส มีความสุ ข มีความปลอดภัย อาหารที่มีประโยชน์และไม่มีประโยชน์ ของใช้และของเล่นที่มีผลเสี ยต่อสุ ขภาพ อาการและวิธี ป้ องกันการเจ็บป่ วย อาการและวิธีป้องกันการบาดเจ็บ วิธีปฏิบตั ิตนเมื่อเจ็บป่ วยและบาดเจ็บ อุบตั ิเหตุทางนํ้าและทางบก ยาสามัญประจําบ้าน การใช้ยาตามความจําเป็ น และลักษณะอาการ สารเสพติดใกล้ตวั โทษของสารเสพติด วิธีป้องกัน สัญลักษณ์ และป้ ายเตือนของสิ่ งของ หรื อ สถานที่ที่เป็ นอันตราย ตามความหมายของสัญลักษณ์ และป้ ายเตือนอัคคีภยั สาเหตุของการเกิด อัคคีภยั อันตราย และการป้ องกันอัคคีภยั อธิ บายลักษณะและวิธีการของการเคลื่อนไหวร่ างกายแบบอยูก่ บั ที่ แบบเคลื่อนที่ และ แบบที่ใช้อุปกรณ์ประกอบ การเล่นเกมเบ็ดเตล็ด และเข้าร่ วมกิจกรรมทางกายที่มีวธิ ี เล่นอาศัยการ เคลื่อนไหวเบื้องต้น ทั้งแบบอยูก่ บั ที่ เคลื่อนที่ และใช้อุปกรณ์ประกอบ การออกกําลังกาย และการ เล่นเกมเบ็ดเตล็ด ประโยชน์ของการออกกําลังก าย และการเล่นเกม กฎ กติกา ข้อตกลงในการเล่น เกมเป็ นกลุ่ม โดยใช้การอธิ บาย ระบุ บอก ควบคุมการเคลื่อนไหวร่ างกายอยูก่ บั ที่ เคลื่อนที่ โดยใช้ อุปกรณ์ประกอบเข้าร่ วมกิจกรรมทางกาย มีวธิ ี เล่นอาศัยการเคลื่อนไหวเบื้องต้น ออกกําลังกายและ เล่นเกม ปฏิบตั ิ ตามกฎ กติกา ข้อตกลงในการเล่นเกมเป็ นกลุ่ม เลือกปฏิบตั ิตามคําแนะนํา เพื่อให้เห็นคุณค่าของการดูแล รักษาสุ ขภาพร่ างกาย นําความรู ้ ไปใช้ประโยชน์อย่างมี คุณธรรม จริ ยธรรม และค่านิยมที่เหมาะสม รหัสตัวชี้วดั พ.๑.๑ ป.๒/๑ ป.๒/๒ ป.๒/๓ พ.๒.๑ ป.๒/๑ ป.๒/๒ ป.๒/๓ ป.๒/๔ พ.๓.๑ ป๒/๑ ป.๒/๒ พ.๓.๒ ป.๒/๑ ป.๒/๒ พ.๔.๑ ป.๒/๑ ป.๒/๒ ป.๒/๓ ป.๒/๔ ป.๒/๕ พ.๕.๑ ป.๒/๑ ป.๒/๒ ป.๒/๓ ป.๒/๔ ป.๒/๕ รวม ๒๑ ตัวชี้วดั หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรี ยนดุสิตวิทยา พุทธศักราช ๒๕๕๓

หน้า ๙๖


คําอธิบายรายวิชาขั้นพืน้ ฐาน รหัสวิชา พ ๑๓๑๐๑ สุ ขศึกษา และพลศึกษา วิชา สุ ขศึกษา และพลศึกษา ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๓ เวลา ๘๐ ชัว่ โมง ศึกษาและอธิ บาย ลักษณะการเจริ ญเติบโตของร่ างกายมนุษย์ ที่มีความแตกต่างกันในแต่ละ บุคคลทั้งลักษณะรู ปร่ าง นํ้าหนัก ส่ วนสู ง เกณฑ์มาตรฐานการเจริ ญเติบโตของเด็กไทย ปั จจัยที่มีผล ต่อการเจริ ญเติบโต ความสําคัญของครอบครัว ความแตกต่าง ของแต่ละครอบครัววิธีการสร้าง สัมพันธภาพในครอบครัว และกลุ่มเพื่อนพฤติกรรมที่นาํ ไปสู่ การล่วงละเมิดทางเพศ การแต่งกาย การเที่ยวกลางคืน การคบเพื่อนการเสพสารเสพติด วิธีการหลีกเลี่ยงพฤติกรรมที่นาํ ไปสู่ การล่วง ละเมิดทางเพศ การติดต่อ และวิธีการป้ องกันการแพร่ กระจายของโรค อาหารหลัก ๕ หมู่ การเลือก กินอาหารที่เหมาะสม ความหลากหลายของชนิดอาหาร ในแต่ละหมู่ สัดส่ วนและปริ มาณของ อาหาร (ตามธงโภชนาการ) การแปรงฟันให้สะอาดอย่างถูกวิธี การสร้างเสริ มสมรรถภาพทางกาย เพื่อสุ ขภาพ วิธีการทดสอบสมรรถภาพทางกาย วิธีการสร้างเสริ มสมรรถภาพเพื่อสุ ขภาพ โดยการ ออกกําลังกาย การพักผ่อน และกิจกรรมนันทนาการ วิธีการปฏิบตั ิตนเพื่อความปลอดภัยจาก อุบตั ิเหตุในบ้าน โรงเรี ยน และการเดินทาง การขอความช่วยเหลือจากบุคคลและแหล่งต่าง ๆ เมื่อ เกิดเหตุร้ายหรื ออุบตั ิเหตุ การบาดเจ็บจากการเล่น ลักษณะของการบาดเจ็บและวิธีปฐมพยาบาล ศึกษาและอธิ บายการเคลื่อนไหวร่ างกายแบบอยูก่ บั ที่ เช่นการย่อ ยืด เขย่ง พับตัว เคลื่อนไหวลําตัว การเคลื่อนไหวแบบเคลื่อนที่ และแบบใช้อุปกรณ์ ประกอบโดยมีการบังคับ ทิศทาง เช่น ดีด ขว้าง โยน และรับ วิธีการควบคุมการเคลื่อนไหวร่ างกายแบบต่างๆ อย่างมี ทิศทาง กิจกรรมทางกายที่ใช้ทกั ษะการเคลื่อนไหว แบบบังคับทิศทางในการเล่นเกมเบ็ดเตล็ด แนวทางการ เลือกออกกําลังกาย การละเล่นพื้นเมือง และเกมที่เหมาะสมกับจุดเด่น จุดด้อย และข้อจํากัดของแต่ ละบุคคล การออกกําลังกาย เกณฑ์ และการละเล่นพื้นเมือง กฎ กติกา และข้อตกลงในก ารออก กําลังกาย การเล่นเกม และการละเล่นพื้นเมือง โดยกระบวนการ อธิ บาย เปรี ยบเทียบ ระบุ บอก ควบคุม การเคลื่อนไหว เคลื่อนไหว ร่ างกาย เลือกปฏิบตั ิตามกฎ จําแนก แสดง ปฏิบตั ิตนเพื่อความปลอดภัย เพื่อให้เกิดความรู ้ ความเข้าใจ ปฏิบตั ิตนตามคําแนะนํา เห็นคุณค่า และความ สําคัญของ ร่ างกาย รักครอบครัว การวางตัวอย่างเหมาะสมทั้งชายและหญิง ปฏิบตั ิตามกฎ ระเบียบ ของการ เล่นเกม การเคลื่อนไหวร่ างกาย การเล่นเกมเป็ นกลุ่ม และนําความรู ้ไปใช้ประโยชน์ใน ชีวติ ประจําวัน ตามค่านิยมที่เหมาะสม รหัสตัวชี้วดั พ.๑.๑ ป.๓/๑ ป.๓/๒ ป.๓/๓ พ.๒.๑ ป.๓/๑ ป.๓/๒ ป.๓/๓ หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรี ยนดุสิตวิทยา พุทธศักราช ๒๕๕๓

หน้า ๙๗


พ.๓.๑ ป.๓/๑ ป.๓/๒ พ.๓.๒ ป.๓/๑ ป.๓/๒ พ.๔.๑ ป.๓/๑ ป.๓/๒ ป.๓/๓ ป.๓/๔ ป.๓/๕ พ.๕.๑ ป.๓/๑ ป.๓/๒ ป.๓/๓ รวม ๑๘ ตัวชี้วดั

หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรี ยนดุสิตวิทยา พุทธศักราช ๒๕๕๓

หน้า ๙๘


คําอธิบายรายวิชาขั้นพืน้ ฐาน รหัสวิชา พ ๑๔๑๐๑ สุ ขศึกษา และพลศึกษา วิชา สุ ขศึกษา และพลศึกษา ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๔ เวลา ๘๐ ชัว่ โมง ศึกษาและอธิ บายการเจริ ญเติบโต และพัฒนาการของร่ างกาย จิตใจ ตามวัย ความสําคัญ ของกล้ามเนื้อ กระดูก และข้อ ทีมีผลต่อสุ ขภาพ ต่อการเจริ ญเติบโต และพัฒนาการ วิธีดู แล รักษากล้ามเนื้อ กระดูก และข้อ ให้ทาํ งานอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ คุณลักษณะของความเป็ นเพื่อน และสมาชิกที่ดีของครอบครัว พฤติกรรมที่เหมาะสมกับเพศของตน ตามวัฒนธรรมไทย วิธีการ ปฏิเสธ การกระทําที่เป็ นอันตราย และไม่เหมาะสมเรื่ องเพศ ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่ งแวดล้ อมกับ สุ ขภาพ การจัดสิ่ งแวดล้อมที่ถูกสุ ขลักษณะ และเอื้อต่อสุ ขภาพ สภาวะอารมณ์ และความรู ้สึก เช่น โกรธ หงุดหงิด เครี ยด เสี ยใจ เศร้าใจ รัก ชื่นชม ผลที่มีต่อสุ ขภาพ ทั้งทางบวก และทางลบ การ วิเคราะห์ ข้อมูลบนฉลาก อาหาร และผลิตภัณฑ์สุขภาพ การทดสอบสมรรถภาพ ทางกาย การ ปรับปรุ งสมรรถภาพทางกายตามผลการทดสอบสมรรถภาพทางกาย ความสําคัญของการใช้ยา หลักการใช้ยา วิธีปฐมพยาบาล การใช้ยาผิด สารเคมี แมลงสัตว์กดั ต่อย การบาดเจ็บจากการ เล่นกีฬา ผลเสี ยของการสู บบุหรี่ ดื่มสุ รา และการป้ องกัน ศึกษาและอธิ บายการเคลื่อนไห วร่ างกายแบบผสมผสานทั้งแบบอยูก่ บั ที่ แบบเคลื่อนที่ และแบบใช้อุปกรณ์ประกอบ การบริ หารท่ามือเปล่าประกอบจังหวะ เกมเลียนแบบ และกิจกรรม แบบผลัด กีฬาพื้นฐาน เช่น แชร์ บอล แฮนด์บอล ห่วงข้ามตาข่าย การออกําลังกาย เล่นเกม ตามความชอบของตนเอง และเล่นกีฬาพื้ นฐานร่ วมกับผูอ้ ื่น การวิเคราะห์ผลพัฒนาการของตนเอง ในการออกกําลังกาย เล่นเกมและกีฬาตามตัวอย่าง และแบบปฏิบตั ิของผูอ้ ื่น คุณค่าของการออก กําลังกาย เล่นเกม และกีฬาที่มีต่อสุ ขภาพ การปฏิบตั ิตามกฎ กติกา การเล่นกีฬาพื้นฐาน ตาม ชนิดกีฬาที่เล่น โดยใช้กระบวนก ารอธิ บาย แสดง ยกตัวอย่าง ควบคุมตนเอง ฝึ กกายบริ หาร เล่นเกม เล่นกีฬา ออกกําลังกาย ปฏิบตั ิตามกฎ วิเคราะห์ เพื่อให้เห็นคุณค่าของการออกําลังกาย พัฒนาการของร่ างกาย จิตใจ ความสําคัญของ กล้ามเนื้อ และข้อที่มีผลต่อการเจริ ญเติบโต รู้จกั คุณลักษณะของความ เป็ นเพื่อน และสมาชิก ครอบครัวที่ดี มีพฤติกรรมที่เหมาะสม เห็นคุณค่าของการออกกําลังกาย เล่นเกมและกีฬาที่มีต่อ สุ ขภาพ และปฏิบตั ิตามกฎ กติกาของการเล่นกีฬาพื้นฐานตามชนิดกีฬาได้ถูกต้อง รหัสตัวชี้วดั พ.๑.๑ ป.๔/๑ ป.๔/๒ ป.๔/๓ พ.๒.๑ ป.๔/๑ ป.๔/๒ ป.๔/๓ พ.๓.๑ ป.๔/๑ ป.๔/๒ ป.๔/๓ ป.๔/๔ หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรี ยนดุสิตวิทยา พุทธศักราช ๒๕๕๓

หน้า ๙๙


พ.๓.๒ ป.๔/๑ ป.๔/๒ พ.๔.๑ ป.๔/๑ ป.๔/๒ ป.๔/๓ ป.๔/๔ พ.๕.๑ ป.๔/๑ ป.๔/๒ ป.๔/๓ รวม ๑๙ ตัวชี้วดั

หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรี ยนดุสิตวิทยา พุทธศักราช ๒๕๕๓

หน้า ๑๐๐


คําอธิบายรายวิชาขั้นพืน้ ฐาน รหัสวิชา พ ๑๕๑๐๑ สุ ขศึกษา และพลศึกษา วิชา สุ ขศึกษา และพลศึกษา ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๕ เวลา ๘๐ ชัว่ โมง ศึกษาและอธิ บายความสําคัญของระบบย่อยอาหาร และระบบขับถ่าย ที่มีผลต่อสุ ขภาพ การเจริ ญเติบโต และพัฒนาการ วิธีการดูแลรักษาระบบย่อยอาหาร และระบบขับถ่ายให้ทาํ งาน ตามปกติ การเปลี่ยนแปลง ทางเพศ การดูแลตนเอง การวางตัวที่เหมาะสมกับเพศตามวัฒนธรรม ไทย ลักษณะของครอบครัวที่อบอุ่นตามวัฒนธรรมไทย พฤติกรรมที่พึงประสงค์ในการแก้ไข ปั ญหาความขัดแย้งในครอบครัว ความสําคัญของการปฏิบตั ิตนตามสุ ขบัญญัติแห่งชาติ แหล่ง และวิธีคน้ หาข้อมูลข่าวสารทางสุ ขภาพ การใช้ขอ้ มูลข่าวสารในการสร้างเสริ มสุ ขภาพ การตัดสิ น เลือกซื้ ออาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพ การปฏิบตั ิตนในการป้ องกันโรคที่พบบ่อยใน ชีวติ ประจําวัน การทดสอบสมรรถภาพทางกาย ปั จจัยที่มีอิทธิ พลต่อการใช้สารเสพติด ผลกระทบของการใช้ยา และสารเสพติดที่มีผลต่อร่ างกาย จิ ตใจ อารมณ์ สังคม และสติปัญญา การปฏิบตั ิตนเพื่อความปลอดภัยจากการใช้ยา การหลีกเลี่ยงสารเสพติด อิทธิ พลของสิ่ งที่มีต่อ พฤติกรรม สุ ขภาพ การปฏิบตั ิตนเพื่อป้ องกันอันตรายจากการเล่นกีฬา อธิ บายการจัดรู ปแบบการเคลื่อนไหวร่ างกายแบบผสมผสาน การปฏิบตั ิกิจกรรมทา งกาย ทั้งแบบอยูก่ บั ที่ เคลื่อนที่ และใช้อุปกรณ์ประกอบตามแบบที่กาํ หนด เช่น การฝึ กกายบริ หาร ยืดหยุน่ ขั้นพื้นฐาน เกมนําไปสู่ กีฬาและกิจกรรมแบบผลัดที่มีการตี เขี่ย รับ -ส่ งสิ่ งของ ขว้าง และวิง่ การเคลื่อนไหวในเรื่ องการรับแรง การใช้แรง และความสมดุล ทักษะกลไกที่ส่งผลต่อ การปฏิบตั ิกิจกรรมทางกายและเล่นกีฬา การเล่นกีฬาไทย เช่น ตระกร้อวง วิง่ ชักธง และกีฬา สากล เช่น กรี ฑาประเภทลู่ แบดมินตัน เปตอง ฟุตบอล เทเบิลเทนนิส หลักการและกิจกรรม นันทนาการ หลักการและรู ปแบบการออกกําลังกาย การออกกําลังกาย และการเล่นเกม การเล่น กีฬาไทย และกีฬาสากลประเภทบุคคลและทีม การสร้างทางเลือกในวิธีปฏิบตั ิในการเล่นกีฬาอย่าง หลากหลายและมีน้ าํ ใจนักกีฬา กฎ กติกาในการเล่นเกม กีฬาไทยและกีฬาสากลตามชนิดกีฬาที่ เล่น วิธีการรุ กและวิธีการป้ องกัน ในการเล่นกีฬาไทยและสากล สิ ทธิ ของตนเองและผูอ้ ่ืนในการ เล่นเกมและกีฬา ความแตกต่างระหว่างบุคคลในการเล่นเกมและกีฬา โดยใช้กระบวนการอธิ บาย ระบุ จัดรู ปแบบ เล่นเกม ควบคุมการเคลื่อนไหว แสดง ทักษะ เล่นกีฬา ออกกําลังกาย เล่นกีฬา ปฏิบตั ิตามกฎ ค้นคว้า วิเคราะห์ ทดสอบ เพือ่ ให้ เห็นความสําคัญของระบบย่อยอาหารและระบบขับถ่าย มีความรู ้ ความเข้าใจ การ เปลี่ยนแปลงทางเพศ การดูแลตนเอง การวางตัวที่เหมาะสมตามเพศ เห็นความสําคัญของการ ปฏิบตั ิตนตามสุ ขบัญญัติแห่งชาติ มีความรู ้ในการเลือกซื้ ออาหาร เข้าใจกฎ กติกาของการเล่นกีฬา นําความรู ้ที่ได้ไปใช้ประโยชน์ในชีวติ ประจําวันอย่างมีคุณธรรม จริ ยธรรม และความเหมาะสม

หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรี ยนดุสิตวิทยา พุทธศักราช ๒๕๕๓

หน้า ๑๐๑


รหัสตัวชี้วดั พ.๑.๑ ป.๕/๑ ป.๕/๒ พ.๒.๑ ป.๕/๑ ป.๕/๒ ป.๕/๓ พ.๓.๑ ป.๕/๑ ป.๕/๒ ป.๕/๓ ป.๕/๔ ป.๕/๕ ป.๕/๖ พ.๓.๒ ป.๕/๑ ป.๕/๒ ป.๕/๓ ป.๕/๔ พ.๔.๑ ป.๕/๑ ป.๕/๒ ป.๕/๓ ป.๕/๔ ป.๕/๕ พ.๕.๑ ป.๕/๑ ป.๕/๒ ป.๕/๓ ป.๕/๔ ป.๕/๕ รวม ๒๕ ตัวชี้วดั

หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรี ยนดุสิตวิทยา พุทธศักราช ๒๕๕๓

หน้า ๑๐๒


คําอธิบายรายวิชาขั้นพืน้ ฐาน รหัสวิชา พ ๑๖๑๐๑ สุ ขศึกษา และพลศึกษา วิชา สุ ขศึกษา และพลศึกษา ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๖ เวลา ๘๐ ชัว่ โมง ศึกษาและอธิ บายความสําคัญของระบบสื บพันธ์ ระบบไหลเวียนโลหิ ต และระบบหายใจ ที่มีผลต่อสุ ขภาพ การเจริ ญเติบโต และพัฒนาการ วิธีดูแลรักษาระบบสื บพันธุ์ ระบบไหลเวียน โลหิ ต และระบบหายใจให้ทาํ งานปกติ ความสําคัญของการสร้างและรักษาสัมพันธภาพกับผูอ้ ื่น ความสามารถส่ วนบุคคล บทบาทหน้าที่ของสมาชิกในกลุ่ม การยอมรับความคิดเห็น และความ แตกต่างระหว่างบุคคล ความรับผิดชอบ ความสําคัญของสิ่ งแวดล้อมที่มีผลต่อสุ ขภาพ ปั ญหา ของสิ่ งแวดล้อม การป้ องกันและแก้ไขปั ญหาสิ่ งแวดล้อมที่มีผลต่อสุ ขภาพ ภัยธรรมชาติ ลักษณะของภัยธรรมชาติที่มีต่อร่ างกาย จิตใจ และสังคม การปฏิบตั ิตนเพื่อความปลอดภัยจากภัย ธรรมชาติ สาเหตุของการเกิดสารเสพติด ทักษะการสื่ อสารให้ผอู ้ ื่นหลีกเลี่ยงสารเสพติด อธิ บายหลักการและกิจกรรมนันทนาการ การเคลื่อนไหวร่ วมกับผูอ้ ื่นแบบผลัด การร่ วม กิจกรรมทางกาย การ เคลื่อนไหวร่ างกายในเรื่ องการรับแรง การใช้แรง และความสมดุลกับการ พัฒนาทักษะการเคลื่อนาความรู ้ไหวในการเล่นเกมและกีฬา การเล่นกีฬาไทย กีฬาสากล ประเภท บุคคลและประเภททีม การใช้ขอ้ มูลด้านทักษะกลไกเพื่อปรับปรุ งและพื้นฐานความสามารถในการ ปฏิบตั ิกิจกรรมทางกายและเล่นกีฬา การนําความรู ้และหลักการของกิจกรรมนันทนาการไปใช้เป็ น ฐานการศึกษาหาความรู ้ โดยใช้กระบวนการอธิ บาย วิเคราะห์ แสดง ทักษะ จําแนก เล่นกีฬา ร่ วมกิจกรรม เล่นเกม ปฏิบตั ิตามกฎ เล่นกีฬา สร้างเสริ ม ระบุ เพื่อให้เห็นความสําคัญของระบบสื บพันธ์ ระบบไหลเวียนโลหิ ต และระบบหายใจ รู ้จกั ยอมรับ ฟังความคิดเห็น สามารถปฏิบตั ิตนเพื่อความปลอดภัยจากภัยธรรมชาติ และปฏิบตั ิตน ตามกฎ กติกา และนําความรู ้และหลักการของกิจกรรมนันทนาการไปใช้ประโยชน์ในการศึกษา หาความรู ้ รหัสตัวชี้วดั พ.๑.๑ ป.๖/๑ ป.๖/๒ พ.๒.๑ ป.๖/๑ ป.๖/๒ พ.๓.๑ ป.๖/๑ ป.๖/๒ ป.๖/๓ ป.๖/๔ ป.๖/๕ พ.๓.๒ ป.๖/๑ ป.๖/๒ ป.๖/๓ ป.๖/๔ ป.๖/๕ ป.๖/๖ พ.๔.๑ ป.๖/๑ ป.๖/๒ ป.๖/๓ ป.๖/๔ พ.๕.๑ ป.๖/๑ ป.๖/๒ ป.๖/๓ รวม ๒๒ ตัวชี้วดั หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรี ยนดุสิตวิทยา พุทธศักราช ๒๕๕๓

หน้า ๑๐๓


สาระการเรียนรู้ ศิลปะ


ศ ๑๑๑๐๑ ศิลปะ ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๑

คําอธิบายรายวิชาขั้นพืน้ ฐาน

กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ศิลปะ เวลา ๘๐ ชัว่ โมง

ทัศนศิลป์ ศึกษาเรี ยนรู ้อภิปรายเกี่ยวกับรู ปร่ าง ลักษณะ และขนาดของสิ่ งต่าง ๆ รอบตัวใน ธรรมชาติและสิ่ งที่มนุษย์สร้างขึ้น บอกความรู ้สึ กที่มีต่อธรรมชาติ และสิ่ งแวดล้อมรอบตัว มี พื้นฐานในการใช้วสั ดุ อุปกรณ์สร้างงานทัศนศิลป์ ดนตรี ศึกษาเรี ยนรู ้วา่ สิ่ งต่าง ๆ สามารถก่อกําเนิดเสี ยงที่แตกต่างกัน ลักษณะของเสี ยงดัง– เบา และความช้า– เร็ วของจังหวะ บทกลอน ร้องเพลงง่าย ๆ มีส่วนร่ วมในกิจกรรมดนตรี อย่าง สนุกสนาน นาฏศิลป์ ศึกษาเรี ยนรู ้เล่นการละเล่นของเด็กไทย เลียนแบบการเคลื่อนไหว แสดงท่าทาง ง่าย ๆ เพื่อสื่ อความหมายแทนคําพูดกับสิ่ งที่ตนเองชอบในการแสดงนาฏศิลป์ ไทย โดยใช้ความสามารถในการสื่ อสาร ถ่ายทอดความคิด ความเข้าใจ ความรู ้สึกของตนเอง คิด อย่างสร้างสรรค์ การอภิปราย จําแนก อธิ บาย แยกแยะ แก้ปัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ อย่างถูกต้อง เหมาะสม ใช้ทกั ษะอย่างมีกระบวนการในการดําเนินชีวติ ประจําวัน มีทกั ษะกระบวนการทาง เทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาตนเอง รักชาติ ศาสน์ กษัตริ ย ์ ซื่อสัตย์สุจริ ต มีวนิ ยั ใฝ่ เรี ยนรู้ อยูอ่ ย่างพอเพียง มุ่งมัน่ ในการทํางาน รักความเป็ นไทย และมีจิตสาธารณะที่เหมาะสม รหัสตัวชี้วดั ศ ๑.๑ ป. ๑/๑ ป. ๑/๒ ป. ๑/๓ ป. ๑/๔ ป. ๑/๕ ศ ๑.๒ ป. ๑/๑ ศ ๒.๑ ป. ๑/๑ ป. ๑/๒ ป. ๑/๓ ป. ๑/๔ ป. ๑/๕ ศ ๒.๒ ป. ๑/๑ ป. ๑ ศ ๓.๑ ป. ๑/๑ ป. ๑/๒ ศ ๓.๒ ป. ๑/๒ ป. ๑/๓ รวม ๑๗ ตัวชี้วดั

หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรี ยนดุสิตวิทยา พุทธศักราช ๒๕๕๓

หน้า ๑๐๕


ศ ๑๒๑๐๑ ศิลปะ ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๒

คําอธิบายรายวิชาขั้นพืน้ ฐาน

กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ศิลปะ เวลา ๘๐ ชัว่ โมง

ทัศนศิลป์ ศึกษาเรี ยนรู ้ระบุทศั นธาตุท่ีอยูใ่ นสิ่ งแวดล้อมและงานทัศนศิลป์ โดยเน้นเรื่ อง เส้น สี รู ปร่ าง และรู ปทรง บรรยายรู ปร่ าง รู ปทรงที่พบในธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อม ใช้ทศั นธาตุที่ เน้นเส้น รู ปร่ าง มีพ้ืนฐานในการใช้วสั ดุ อุปกรณ์สร้างงานทัศนศิลป์ ๓ มิติ ภาพปะติดโดยการตัด หรื อฉี กกระดาษ วาดภาพเพื่อถ่ายทอดเรื่ องราวเกี่ยวกับครอบครัวของตนเองและเพื่อนบ้าน สร้า งสรรค์งานทัศนศิลป์ เป็ นรู ปแบบงานโครงสร้างเคลื่อนไหว เลือกงานทัศนศิลป์ และสิ่ งที่ มองเห็น รวมถึงเนื้อหาเรื่ องราว ความสําคัญของงานทัศนศิลป์ ที่พบเห็นในชีวติ ประจําวัน งาน ทัศนศิลป์ ประเภทต่าง ๆ ในท้องถิ่น ดนตรี ศึกษาเรี ยนรู ้แหล่งกําเนิดของเสี ยงที่ได้ยนิ คุณลักษณะของเสี ยง สู ง -ตํ่า ดัง -เบา ยาวสั้นของดนตรี จังหวะหรื อการเคลื่อนไหวร่ างกายให้สอดคล้องกับเนื้อหาของเพลง ร้องเพลงง่าย ๆ ที่เหมาะสมกับวัย ความหมายและความสําคัญของเพลงที่ได้ยนิ ความสัมพันธ์ของเสี ยงร้อง เสี ยง เครื่ องดนตรี ในเพลงท้องถิ่น เข้าร่ วมกิจกรรมทางดนตรี ในท้องถิ่น นาฏศิลป์ ศึกษาเรี ยนรู ้การละเล่นพื้นบ้าน สิ่ งที่พบเห็นในการละเล่นพื้นบ้านกับสิ่ งที่พบ เห็นในการดํารงชีวติ ของคนไทย สิ่ งที่ชื่นชอบและภาคภูมิใจในการละเล่นพื้นบ้าน เคลื่อนไหวขณะ อยูก่ บั ที่และเคลื่อนที่ แสดงการเคลื่อนไหวสะท้อนอารมณ์ของตนเองอย่างอิสระ ท่าทางเพื่อ สื่ อ ความหมายแทนคําพูด ท่าทางประกอบจังหวะอย่างสร้างสรรค์ มารยาทในการชมการแสดง โดยใช้ความสามารถในการสื่ อสาร ถ่ายทอดความคิด ความเข้าใจ ความรู ้สึกของตนเอง คิด อย่างสร้างสรรค์ การอภิปราย จําแนก อธิ บาย แยกแยะ แก้ปัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ อย่างถูกต้อง เหมาะสม ใช้ทกั ษะอย่างมีกระบวนการในการดําเนินชีวติ ประจําวัน มีทกั ษะกระบวนการทาง เทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาตนเอง รักชาติ ศาสน์ กษัตริ ย ์ ซื่อสัตย์สุจริ ต มีวนิ ยั ใฝ่ เรี ยนรู้ อยูอ่ ย่างพอเพียง มุ่งมัน่ ในการทํางาน รักความเป็ นไทย และมีจิตสาธารณะที่เหมาะสม รหัสตัวชี้วดั ศ ๑.๑ ป. ๒/๑ ป. ๒/๒ ป. ๒/๓ ป. ๒/๔ ป. ๒/๕ ป. ๒/๖ ป. ๒/๗ ป. ๒/๘ ศ ๑.๒ ป. ๒/๑ ป. ๒/๒ ศ ๒.๑ ป. ๒/๑ ป. ๒/๒ ป. ๒/๓ ป. ๒/๔ ป. ๒/๕ ศ ๒.๒ ป. ๒/๑ ป. ๒/๒ ศ ๓.๑ ป. ๒/๑ ป. ๒/๒ ป. ๒/๓ ป. ๒/๔ ป. ๒/๕ หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรี ยนดุสิตวิทยา พุทธศักราช ๒๕๕๓

หน้า ๑๐๖


ศ ๓.๒ ป. ๒/๑ ป. ๒/๒ ป. ๒/๒ รวม ๒๕ ตัวชี้วดั

หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรี ยนดุสิตวิทยา พุทธศักราช ๒๕๕๓

หน้า ๑๐๗


ศ ๑๓๑๐๑ ศิลปะ ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๓

คําอธิบายรายวิชาขั้นพืน้ ฐาน

กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ศิลปะ เวลา ๘๐ ชัว่ โมง

ทัศนศิลป์ ศึกษาเรี ยนรู ้ทศั นธาตุของสิ่ งต่าง ๆ ในธรรมชาติ สิ่ งแวดล้อม และงานทัศน ศิลป์ โดยเน้นเรื่ องเส้น สี รู ปร่ าง รู ปทรง และพื้นผิว วัสดุ อุปกรณ์ที่ใช้สร้างผลงานเมื่อชมงานทัศนศิลป์ วาดภาพระบายสี สิ่งของรอบตัว วาดภาพถ่ายทอดความคิดความรู ้สึกจากเหตุการณ์ชีวติ จริ ง โดยใช้ เส้น รู ปร่ าง รู ปทรง สี และพื้นผิว มีพ้ืนฐานในการใช้วสั ดุ อุปกรณ์สร้าง สรรค์งานปั้น สิ่ งที่ชื่นชม และสิ่ งที่ควรปรับปรุ งในงานทัศนศิลป์ ของตนเอง การออกแบบสิ่ งต่าง ๆ ที่มีในบ้านและโรงเรี ยน ในท้องถิ่น ดนตรี ศึกษาเรี ยนรู ้รูปร่ างและลักษณะของเครื่ องดนตรี ที่เห็นและได้ยนิ ในชีวติ ประจําวัน ใช้รูปภาพหรื อสัญลักษณ์แทนเสี ยงและจังหวะเคาะ บทบา ทหน้าที่ของเพลงที่ได้ยนิ ขับร้องและ บรรเลงดนตรี ง่าย ๆ เคลื่อนไหวท่าทางสอดคล้องกับอารมณ์ของเพลงที่ฟัง นําดนตรี ไปใช้ใน ชีวติ ประจําวันหรื อโอกาสต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสม ลักษณะเด่นและเอกลักษณ์ของดนตรี ในท้องถิ่น ความสําคัญและประโยชน์ของดนตรี ต่อการดําเนินชีวติ ของคนในท้องถิ่น นาฏศิลป์ ศึกษาเรี ยนรู ้การแสดงนาฏศิลป์ ที่เคยเห็นในท้องถิ่น สิ่ งที่เป็ นลักษณะเด่นและ เอกลักษณ์ของการแสดงนาฏศิลป์ ความสําคัญของการแสดงนาฏศิลป์ ประโยชน์ของการแสดง นาฏศิลป์ ในชีวติ ประจําวัน สร้างสรรค์การเคลื่อนไหวในรู ปแบบต่าง ๆ ในสถานการณ์ส้ นั ๆ ท่าทาง ประกอบเพลง ตามรู ปแบบนาฏศิลป์ บทบาทหน้าที่ของผูแ้ สดงและผูช้ ม มีส่วนร่ วมในกิจกรรมการ แสดงที่เหมาะสมกับวัย โดยใช้ความสามารถในการสื่ อสาร ถ่ายทอดความคิด ความเข้าใจ ความรู ้สึกของตนเอง คิด อย่างสร้างสรรค์ การอภิปราย จําแนก อธิ บาย แยกแยะ แก้ปัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ อย่างถู กต้อง เหมาะสม ใช้ทกั ษะอย่างมีกระบวนการในการดําเนินชีวติ ประจําวัน มีทกั ษะกระบวนการทาง เทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาตนเอง รักชาติ ศาสน์ กษัตริ ย ์ ซื่อสัตย์สุจริ ต มีวนิ ยั ใฝ่ เรี ยนรู้ อยูอ่ ย่างพอเพียง มุ่งมัน่ ในการทํางาน รักความเป็ นไทย และมีจิตสาธารณะที่เหมาะสม รหัสตัวชี้วดั ศ ๑.๑ ป. ๓/๑ ป. ๓/๒ ป. ๓/๓ ๑๐ ศ ๑.๒ ป. ๓/๑ ป. ๓/๒ ศ ๒.๑ ป. ๓/๑ ป. ๓/๒ ป. ๓/๓ ศ ๒.๒ ป. ๓/๑ ป. ๓/๒ ศ ๓.๑ ป. ๓/๑ ป. ๓/๒ ป. ๓/๓ ศ ๓.๒ ป. ๓/๑ ป. ๓/๒ ป. ๓/๓ รวม ๒๙ ตัวชี้วดั

ป. ๓/๔ ป. ๓/๕ ป. ๓/๖ ป. ๓/๗ ป. ๓/๘ ป. ๓/๙ ป. ๓/ ป. ๓/๔ ป. ๓/๕ ป. ๓/๖ ป. ๓/๗ ป. ๓/๔ ป. ๓/๕

หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรี ยนดุสิตวิทยา พุทธศักราช ๒๕๕๓

หน้า ๑๐๘


ศ ๑๔๑๑๐๑ ศิลปะ ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๔

คําอธิบายรายวิชาขั้นพืน้ ฐาน

กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ศิลปะ เวลา ๘๐ ชัว่ โมง

ทัศนศิลป์ ศึกษาค้นคว้าทัศนธาตุของสิ่ งต่าง ๆ ในธ รรมชาติ สิ่ งแวดล้อม และงาน ทัศนศิลป์ โดยเน้นเรื่ องเส้น สี รู ปร่ าง รู ปทรง พื้นผิว และพื้นที่วา่ ง การจัดระยะ ความลึก นํ้าหนัก และแสงเงาในภาพ อิทธิ พลของสี วรรณะอุ่นและวรรณะเย็นที่มีต่ออารมณ์ของมนุษย์ มีพ้ืนฐานใน การใช้วสั ดุ อุปกรณ์สร้างสรรค์งานวาดภาพระบายสี มีพ้ืน ฐานในการใช้วสั ดุ อุปกรณ์สร้างสรรค์ งานพิมพ์ภาพ วาดภาพระบายสี โดยใช้สีวรรณะอุ่นและสี วรรณะเย็นถ่ายทอดความรู ้สึกและ จินตนาการ ใช้วรรณะสี เพื่อถ่ายทอดอารมณ์ความรู ้สึกในการสร้างงานทัศนศิลป์ ความคิด ความรู ้สึกที่ถ่ายทอดผ่านงานทัศนศิลป์ ของตนเองและบุคคลอื่น งานทัศนศิลป์ ในเหตุการณ์และงาน เฉลิมฉลองของวัฒนธรรมในท้องถิ่น งานทัศนศิลป์ ที่มาจากวัฒนธรรมต่าง ๆ ดนตรี ศึกษาค้นคว้าประเภทของเครื่ องดนตรี ที่ใช้ในเพลงที่ฟัง การใช้และเก็บเครื่ องดนตรี อย่างถูกต้องและปลอดภัย ประโยคเพลงอย่างง่าย ทิศทางการเคลื่อนที่ข้ ึน– ลงง่าย ๆ ของทํานอง รู ปแบบจังหวะและความเร็ วของจังหวะในเพลงที่ฟัง อ่าน เขียนโน้ตดนตรี ไทยและสากล ใช้ ช่วงเสี ยงที่เหมาะสมกับตนเอง ดนตรี สามารถใช้ในการสื่ อเรื่ องราว บอกแหล่งที่มาและ ความสัมพันธ์ของวิถีชีวติ ไทย ที่สะท้อนในดนตรี และเพลงท้องถิ่น ความสําคัญในการอนุรักษ์ ส่ งเสริ มวัฒนธรรมทางดนตรี นาฏศิลป์ ศึกษาค้นคว้าการเคลื่อนไหวในจังหวะต่าง ๆ ตามความคิดของตน แสดง นาฏศิลป์ เป็ นคู่และหมู่ ประวัติความเป็ นมาของนาฏศิลป์ หรื อชุดการแสดงอย่างง่าย ๆ การแสดง นาฏศิลป์ กับการแสดงที่มาจากวัฒนธรรมอื่น ความสําคัญของการแสดงความเคารพในการเรี ยนและ การแสดงนาฏศิลป์ ป ระวัติความเป็ นมาของนาฏศิลป์ หรื อชุดการแสดงอย่างง่าย ๆ พื้นฐานทาง นาฏศิลป์ และการละครที่ใช้สื่อความหมายและอารมณ์ ใช้ภาษาท่าและนาฏยศัพท์หรื อศัพท์ทางการ ละครง่าย ๆ ในการถ่ายทอดเรื่ องราว สิ่ งที่ตนเองชื่นชอบในการแสดง ลักษณะเด่นของตัวละคร เหตุผลที่ควรรักษาและสื บทอดการแสดงนาฏศิลป์ โดยใช้ความสามารถในการสื่ อสาร ถ่ายทอดความคิด ความเข้าใจ ความรู ้สึกของตนเอง คิด อย่างสร้างสรรค์ การอภิปราย จําแนก อธิ บาย แยกแยะ แก้ปัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ อย่างถูกต้อง เหมาะสม ใช้ทกั ษะอย่างมีกระบวนการในการดําเนินชีวติ ประจําวัน มีทกั ษะกระบวนการท าง เทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาตนเอง รักชาติ ศาสน์ กษัตริ ย ์ ซื่อสัตย์สุจริ ต มีวนิ ยั ใฝ่ เรี ยนรู้ อยูอ่ ย่างพอเพียง มุ่งมัน่ ในการทํางาน รักความเป็ นไทย และมีจิตสาธารณะที่เหมาะสม รหัสตัวชี้วดั ศ ๑.๑ ป. ๔/๑ ป. ๔/๒ ป. ๔/๓ ป. ๔/๔ ป. ๔/๕ ป. ๔/๖ ป. ๔/๗ ป. ๔/๘ ป. ๔/๙ ศ ๑.๒ ป. ๔/๑ ป. ๔/๒ ศ ๒.๑ ป. ๔/๑ ป. ๔/๒ ป. ๔/๓ ป. ๔/๔ ป. ๔/๕ ป. ๔/๖ ป. ๔/๗ ศ ๒.๒ ป. ๔/๑ ป. ๔/๒ หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรี ยนดุสิตวิทยา พุทธศักราช ๒๕๕๓

หน้า ๑๐๙


ศ ๓.๑ ป. ๔/๑ ป. ๔/๒ ป. ๔/๓ ป. ๔/๔ ป. ๔/๕ ศ ๓.๒ ป. ๔/๑ ป. ๔/๓ ป. ๔/๔ รวม ๒๙ ตัวชี้วดั

หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรี ยนดุสิตวิทยา พุทธศักราช ๒๕๕๓

หน้า ๑๑๐


ศ ๑๕๑๐๑ ศิลปะ ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๔

คําอธิบายรายวิชาขั้นพืน้ ฐาน

กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ศิลปะ เวลา ๘๐ ชัว่ โมง

ทัศนศิลป์ ศึกษาค้นคว้าปั ญหาในการจัดองค์ประกอบศิลป์ และการสื่ อความหมายในงาน ทัศนศิลป์ ของตนเองและบอกวิธีการปรั บปรุ งงานให้ดีข้ ึน จังหวะ ตําแหน่งของสิ่ งต่าง ๆ ที่ปรากฏ ในสิ่ งแวดล้อม และงานทัศนศิลป์ ความแตกต่างระหว่างงานทัศนศิลป์ ที่สร้างสรรค์ดว้ ยวัสดุ อุปกรณ์ และวิธีการที่ต่างกัน ประโยชน์และคุณค่าของงานทัศนศิลป์ ที่มีผลต่อชีวติ ของคนในสังคม วาดภาพ โดยใช้แสงเงา นํ้าหนัก แล ะวรรณะสี สร้างสรรค์งานปั้ นจากดินนํ้ามันหรื อดินเหนียว จาก การถ่ายทอดจินตนาการ งานพิมพ์ภาพ การจัดวางตําแหน่งของสิ่ งต่าง ๆ ในภาพ ลักษณะรู ปแบบ ของงานทัศนศิลป์ ในแหล่งเรี ยนรู ้หรื อนิทรรศการศิลปะ งานทัศนศิลป์ ที่สะท้อนวัฒนธรรมและภูมิ ปัญญาในท้องถิ่น ดนตรี ศึกษาค้นคว้าอ งค์ประกอบดนตรี ในเพลงที่ใช้ในการสื่ ออารมณ์ของบทเพลง ลักษณะของเสี ยงขับร้องและเครื่ องดนตรี ที่อยูใ่ นวงดนตรี ประเภทต่าง ๆ อ่าน เขียนโน้ตดนตรี ไทย และสากล ๕ ระดับเสี ยง เครื่ องดนตรี บรรเลงจังหวะและทํานอง ร้องเพลงไทย หรื อเพลงสากล หรื อ เพลงไทยสากลที่เหมาะสมกับวัย ด้นสดง่ าย ๆ จากการใช้ประโยคเพลงแบบถามตอบ การ แสดงออกตามจินตนาการ ความสัมพันธ์ระหว่างดนตรี กบั ประเพณี ในวัฒนธรรมต่าง ๆ คุณค่าของ ดนตรี ที่มาจากวัฒนธรรมที่ต่างกัน นาฏศิลป์ ศึกษาค้นคว้าการแสดงประเภทต่าง ๆ ของไทยในแต่ละท้องถิ่น นาฏศิลป์ นาฏศิลป์ พื้นบ้านที่สะท้อนถึงวัฒ นธรรมและประเพณี ท่าทางประกอบเพลงหรื อเรื่ องราวตาม ความคิดของตน การใช้ภาษาท่าและนาฏยศัพท์ในการสื่ อความหมายและการแสดงออก การเขียน เค้าโครงเรื่ องหรื อบทละครสั้น ๆ การแสดงนาฏศิลป์ ชุดต่าง ๆ องค์ประกอบนาฏศิลป์ ประโยชน์ที่ ได้รับจากการชมการแสดง โดยใช้ความสามารถในการสื่ อสาร ถ่ายทอดความคิด ความเข้าใจ ความรู ้สึกของตนเอง คิด อย่างสร้างสรรค์ การอภิปราย จําแนก อธิ บาย แยกแยะ แก้ปัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ อย่างถูกต้อง เหมาะสม ใช้ทกั ษะอย่างมีกระบวนการในการดําเนินชีวติ ประจําวัน มีทกั ษะกระบวนการทาง เทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาตนเอง รักชาติ ศาสน์ กษัตริ ย ์ ซื่อสัตย์สุจริ ต มีวนิ ยั ใฝ่ เรี ยนรู้ อยูอ่ ย่างพอเพียง มุ่งมัน่ ในการทํางาน รักความเป็ นไทย และมีจิตสาธารณะที่เหมาะสม รหัสตัวชี้วดั ศ ๑.๑ ป. ๕/๑ ป. ๕/๒ ป. ๕/๓ ป. ๕/๔ ป. ๕/๕ ป. ๕/๖ ป. ๕/๗ ศ ๑.๒ ป. ๕/๑ ป. ๕/๒ ศ ๒.๑ ป. ๕/๑ ป. ๕/๒ ป. ๕/๓ ป. ๕/๔ ป. ๕/๕ ป. ๕/๖ ป. ๕/๗ ศ ๒.๒ ป. ๕/๑ ป. ๕/๒ ศ ๓.๑ ป. ๕/๑ ป. ๕/๒ ป. ๕/๓ ป. ๕/๔ ป. ๕/๕ ป. ๕/๖ ศ ๓.๒ ป. ๕/๑ ป. ๕/๒ หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรี ยนดุสิตวิทยา พุทธศักราช ๒๕๕๓

หน้า ๑๑๑


รวม ๒๖ ตัวชี้วดั

หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรี ยนดุสิตวิทยา พุทธศักราช ๒๕๕๓

หน้า ๑๑๒


ศ ๑๖๑๐๑ ศิลปะ ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๖

คําอธิบายรายวิชาขั้นพืน้ ฐาน

กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ศิลปะ เวลา ๘๐ ชัว่ โมง

ทัศนศิลป์ ศึกษาค้นคว้าสี คูต่ รงข้าม และการใช้สีคูต่ รงข้ามในการถ่ายทอดความคิดและ อารมณ์ หลักการจัดขนาด สัดส่ วน ความสมดุลในการสร้างงานทัศนศิลป์ ใช้หลักการของรู ปและ พื้นที่วา่ ง สร้างงานทัศนศิลป์ จากรู ปแบบ ๒ มิติ เป็ น ๓ มิติ ใช้หลักการของแสงเงาและนํ้าหนัก สี คู่ ตรงข้าม หลักการจัดขนาด สัดส่ วน และความสมดุล งานทัศนศิลป์ ที่เป็ นแผนภาพ แผนผัง และ ภาพประกอบ ถ่ายทอดความคิด หรื อเรื่ องราวเกี่ยวกับเหตุการณ์ต่าง ๆ สร้างงานปั้นใช้หลักการเพิม่ และลด บทบาทของงานทัศนศิลป์ ที่ สะท้อนชีวติ และสังคม อิทธิ พลของความเชื่อ ความศรัทธาใน ศาสนาที่มีผลต่องานทัศนศิลป์ ในท้องถิ่น อิทธิ พลทางวัฒนธรรมในท้องถิ่นที่มีผลต่อการสร้างงาน ทัศนศิลป์ ของบุคคล ดนตรี ศึกษาค้นคว้าเพลงที่ฟังโดยอาศัยองค์ประกอบดนตรี และศัพท์สังคีต ความรู ้สึกที่มี ต่อดนตรี ความคิ ดเห็นเกี่ยวกับทํานอง จังหวะ การประสานเสี ยง และคุณภาพเสี ยงของเพลงที่ฟัง อ่าน เขียน โน้ตไทยและโน้ตสากลทํานองง่าย ๆ เครื่ องดนตรี บรรเลงประกอบการร้องเพลง ด้นสด ที่มีจงั หวะและทํานองง่าย ๆ จําแนกประเภทและหน้าที่เครื่ องดนตรี ไทยและเครื่ องดนตรี ที่มาจาก วัฒนธรรมต่าง ๆ เรื่ องราวของดนตรี ในประวัติศาสตร์ ดนตรี ที่มาจากยุคสมัยที่ต่างกัน อิทธิ พลของ วัฒนธรรมต่อดนตรี ในท้องถิ่น นาฏศิลป์ ศึกษาค้นคว้าความสัมพันธ์ระหว่างนาฏศิลป์ และการละครกับสิ่ งที่ประสบใน ชีวติ ประจําวันสิ่ งที่มีความสําคัญต่อการแสดงนาฏศิลป์ และละคร ประโยชน์ที่ได้รับจากการ แสดง หรื อชมการแสดงนาฏศิลป์ และละคร สร้างสรรค์การเคลื่อนไหวและการแสดงโดยเน้นการถ่ายทอด ลีลาหรื ออารมณ์ เครื่ องแต่งกาย หรื ออุปกรณ์ประกอบการแสดงอย่างง่าย ๆ แสดงนาฏศิลป์ และการ ละครง่าย ๆ อุปกรณ์ประกอบการแสดงอย่างง่าย ความรู ้สึกของตนเองที่มีต่องานนาฏศิลป์ และการ ละครอย่างสร้างสรรค์ และการชมการแสดง โดยใช้ความสามารถในการสื่ อสาร ถ่ายทอดความคิด ความเข้าใจ ความรู ้สึกของตนเอง คิด อย่างสร้างสรรค์ การอภิปราย จําแนก อธิ บาย แยกแยะ แก้ปัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ อย่างถูกต้อง เหมาะสม ใช้ทกั ษะอย่างมีกระบวนการในการดําเนินชีวติ ประจําวัน มีทกั ษะกระบวนการทาง เทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาตนเอง รักชาติ ศาสน์ กษัตริ ย ์ ซื่อสัตย์สุจริ ต มีวนิ ยั ใฝ่ เรี ยนรู้ อยูอ่ ย่างพอเพียง มุ่งมัน่ ในการทํางาน รักความเป็ นไทย และมีจิตสาธารณะที่เหมาะสม รหัสตัวชี้วดั ศ ๑.๑ ป. ๖/๑ ป. ๖/๒ ป. ๖/๓ ป. ๖/๔ ป. ๖/๕ ป. ๖/๖ ป. ๖/๗ ศ ๑.๒ ป. ๖/๑ ป. ๖/๒ ป. ๖/๓ ศ ๒.๑ ป. ๖/๑ ป. ๖/๓ ป. ๖/๔ ป. ๖/๕ ป. ๖/๖ ศ ๒.๒ ป. ๖/๑ ป. ๖/๒ ป. ๖/๓ ศ ๓.๑ ป. ๖/๑ ป. ๖/๒ ป. ๖/๓ ป. ๖/๔ ป. ๖/๕ หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรี ยนดุสิตวิทยา พุทธศักราช ๒๕๕๓

หน้า ๑๑๓


ศ ๓.๒ ป. ๖/๑ ป. ๖/๒ รวม ๒๕ ตัวชี้วดั

หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรี ยนดุสิตวิทยา พุทธศักราช ๒๕๕๓

หน้า ๑๑๔


สาระการเรียนรู้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี


คําอธิบายรายวิชาขั้นพืน้ ฐาน รายวิชา ง ๑๑๑๐๑ การงานอาชีพและเทคโนโลยี กลุ่มสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๑ จํานวนเวลา ๔๐ ชัว่ โมง ศึกษาวิธีการทํางานเพื่ อช่วยเหลือตนเอง การทํางานที่มุง่ เน้นการฝึ กฝนการช่วยเหลือ ตนเองอย่างสมํ่าเสมอ เช่น การแต่งกาย การเก็บของใช้ การหยิบจับและใช้ของใช้ส่วนตัว การจัด โต๊ะ ตู ้ ชั้น ใช้วสั ดุ อุปกรณ์และเครื่ องมือง่าย อย่างปลอดภัย ฝึ กทักษะการใช้เครื่ องมือ การรดนํ้าต้นไม้ การถ อนและเก็บวัชพืช การพับกระดาษเป็ น ของเล่น รวมถึงการใช้เทคโนโลยีอย่างถูกวิธีและคุม้ ค่า สนใจแหล่งข้อมูลที่อยูใ่ กล้ตวั เกี่ยวกับ บุคคล สัตว์ สิ่ งของ เรื่ องราว และเหตุการณ์ต่างๆ ที่อยูใ่ กล้ตวั เช่น บ้าน ห้องสมุด ผูป้ กครอง ครู หนังสื อพิมพ์ รายการโทรทัศน์ รวมทั้ งประโยชน์ของอุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศ เช่น คอมพิวเตอร์ วิทยุ โทรทัศน์ กล้องดิจิทลั โทรศัพท์มือถือ เพื่อใช้ในการเรี ยน วาดภาพ และ ติดต่อสื่ อสาร การสร้างชิ้นงานด้วยโปรแกรมสร้างเอกสาร ฝึ กทักษะการพิมพ์ขอ้ ความอย่างถูกวิธี (พิมพ์สัมผัส) มีความกระตือรื อร้นและตรงเวลาในการทํางาน เพื่อให้เห็นคุณค่าและมีคุณธรรม มีลกั ษณะนิสัยในการทํางาน มีจิตสํานึกในการใช้ พลังงาน ทรัพยากรและสิ่ งแวดล้อมของท้องถิ่นอย่างประหยัดและคุม้ ค่า เพื่อการดํารงชีวติ ของ ครอบครัวอย่างมีความสุ ขโดยการยึดหลักแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ใช้กระบวนการ เทคโนโลยีสารสนเทศในการสื บค้นข้อมูล การเรี ยนรู ้การสื่ อสาร การแก้ปัญหาและการทํางาน รหัสตัวชี้วดั ง ๑.๑ ป.๑/๑ , ป.๑/๒ , ป.๑/๓ ง ๓.๑ ป.๑/๑ , ป.๑/๒ รวม ๕ ตัวชี้วดั

หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรี ยนดุสิตวิทยา พุทธศักราช ๒๕๕๓

หน้า ๑๑๖


คําอธิบายรายวิชาขั้นพืน้ ฐาน รายวิชา ง๑๒๑๐๑ การงานอาชีพและเทคโนโลยี กลุ่มสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๒ จํานวนเวลา ๔๐ ชัว่ โมง ศึกษาวิธีการและประโยชน์การทํางานเพื่อช่วยเหลือตนเองและครอบครัว ศึกษาการใช้ วัสดุอุปกรณ์และเครื่ องมือในการทํางานอย่างเหมาะสมและประหยัด ทํางานเพื่อช่วยเหลือตนเอง และครอบครัวอย่างปลอดภัย สร้างแบบสํารวจข้อมูลที่สนใจจากแหล่งข้อมูลต่างๆที่เชื่อถือได้ อธิ บายประโยชน์และการ รักษาแหล่งข้อมูล บอกชื่อและหน้าที่ของอุปกรณ์พ้ืนฐานที่เป็ นส่ วนประกอบหลักของคอมพิวเตอร์ คือ หน่วยรับเข้า หน่วยประมวลผล หน่วยส่ งออก การประมวลผลเป็ นการกระทําคํานวณ เปรี ยบเทียบ การสร้างชิ้นงานด้วยโปรแกรมสร้างเอกสาร ฝึ กทักษะการพิมพ์ขอ้ ความอย่างถูกวิธี (พิมพ์สัมผัส) เพือ่ ให้ เห็นคุณค่าและมีคุณธรรม มีลกั ษณะนิสัยในการทํางาน มีจิตสํานึกในการใช้ พลังงาน ทรัพยากรและสิ่ งแวดล้อมในท้องถิ่น เห็นคุณค่าของหลักเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อการ ดํารงชีวติ และครอบครัว ใช้กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศในการสื บค้นข้อมูล การเรี ยนรู ้การ สื่ อสาร การแก้ปัญหาและการทํางาน รหัสตัวชี้วดั ง ๑.๑ ป.๒/๑ , ป.๒/๒ , ป.๒/๓ ง ๒.๑ ป.๒/๑ , ป.๒/๒ , ป.๒/๓ ง ๓.๑ ป.๒/๑ , ป.๒/๒ , ป.๒/๓ รวม ๙ ตัวชี้วดั

หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรี ยนดุสิตวิทยา พุทธศักราช ๒๕๕๓

หน้า ๑๑๗


คําอธิบายรายวิชาขั้นพืน้ ฐาน รายวิชา ง๑๓๑๐๑ การงานอาชีพและเทคโนโลยี กลุ่มสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๓ จํานวนเวลา ๔๐ ชัว่ โมง ศึกษาวิธีการและประโยชน์การทํางาน เพื่อช่วยเหลือตนเอง ครอบครัว กระบวนการ ทํางานด้วยความสะอาด รอบคอบ และอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม สร้างของเล่นของใช้อย่างง่ายโดยกําหนดปั ญหาหรื อความต้องการ รวบรวมข้อมูล ออกแบบโดยถ่ายทอดความคิดเป็ นภาพร่ าง ๒ มิติ ลงมือสร้างและประเมินผล เลือกใช้สิ่งของ เครื่ องใช้ในชีวติ ประจําวันอย่างสร้างสรรค์ มีการจัดการสิ่ งของเครื่ องใช้ดว้ ยการนํากลับ มาใช้ซ้ าํ ค้นหาข้อมูลอย่างมีข้ นั ตอน และนําเสนอข้อมูลในลักษณะต่างๆ บอกวิธีดูแลและรักษาอุปกรณ์ เทคโนโลยี การสร้างชิ้นงานด้วยโปรแกรมสร้างเอกสาร ฝึ กทักษะการพิมพ์ขอ้ ความอย่างถูกวิธี (พิมพ์สัมผัส) เพื่อให้เห็นคุณค่าและมีคุณธรรม มีลกั ษณะนิสัยในการทํางาน มีจิตสํา นึกในการใช้ พลังงาน ทรัพยากรและสิ่ งแวดล้อมในท้องถิ่น เห็นคุณค่าของหลักเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อการ ดํารงชีวติ และครอบครัว ใช้กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศในการสื บค้นข้อมูล การเรี ยนรู ้การ สื่ อสาร การแก้ปัญหาและการทํางาน รหัสตัวชี้วดั ง ๑.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓ ง ๒.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓ ง ๓.๑ ป.๓/๒ รวม ๗ ตัวชี้วดั

หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรี ยนดุสิตวิทยา พุทธศักราช ๒๕๕๓

หน้า ๑๑๘


คําอธิบายรายวิชาขั้นพืน้ ฐาน รายวิชา ง๑๔๑๐๑ การงานอาชีพ กลุ่มสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๔ จํานวนเวลา ๘๐ ชัว่ โมงปี ศึกษาวิธีการทํางานให้บรรลุตามเป้ าหมายเป็ นการทํางานตามลําดับอย่างเป็ นขั้นตอน ตามกระบวนการทํางาน ในเรื่ องการดูแลรักษาของใช้ส่วนตัว การจัดตูเ้ สื้ อผ้า โต๊ะเขียนหนังสื อและ กระเป๋ านักเรี ยน การปลูกไม้ดอกหรื อไม้ประดับ การซ่อมแซมอุปกรณ์เครื่ องมือและเครื่ องใช้ การประดิษฐ์ของใช้ของตกแต่ง การจัดเก็บเอกสารส่ วนตัว มารยาทในการปฏิบตั ิตน เช่น การ ต้อนรับบิดามารดาหรื อผูป้ กครองในโอกาสต่างๆ การรับประทานอาหาร การใช้หอ้ งเรี ยน ห้องนํ้า และห้องส้วม การใช้พลังงานและทรัพยากรอย่างประหยัดและคุม้ ค่า รู ้หน้าที่ชอง อุปกรณ์เทค โนโลยีสารสนเทศ เช่น กล้องดิจิตอล สแกนเนอร์ และแผ่นซีดี เข้าใจและรู้ หลักการทํางานเบื้องต้นชองคอมพิวเตอร์ การจัดประเภทของอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ ตามหลักการ ทํางานเบื้องต้น เช่น เมาส์ ซี พียู จอภาพ ลําโพง เครื่ องพิมพ์ ประโยชน์จากการใช้งาน คอมพิวเตอร์ ในการสร้างงาน เช่น จัดทํารายงาน สร้างงาน นําเสนอ ใช้ในการติดต่อสื่ อสารเช่น ส่ งอีเมล ค้นหาข้อมูล ศึกษาบทเรี ยน ใช้เพื่อความบันเทิง เช่น เล่นเกม ฟังเพลง ร้องเพลง ดู ภาพยนตร์ โทษจากการใช้งานคอมพิวเตอร์ ต่อร่ างกายและต่อสังคม รู ้จกั ประเภ ทซอฟต์แวร์ ได้แก่ ซอฟต์แวร์ ระบบและซอฟต์แวร์ ประยุกต์ การใช้งานระบบปฏิบตั ิการคอมพิวเตอร์ เบื้องต้น เช่น การสร้าง ลบ เปลี่ยนชื่อ ย้ายแฟ้ ม และโฟลเดอร์ การใช้โปรแกรมกราฟิ ก ขั้นพื้นฐาน เช่น การวาดภาพ การระบายสี การพิมพ์ขอ้ ความ การสร้างภาพ หรื อชิ้นงานโดยใช้โปรแกรม กราฟิ ก ในการวาดภาพประกอบการเล่านิทาน ความหมายและความสําคัญของอาชีพ อธิ บายเหตุผลในการทํางานให้บรรลุเป้ าหมายตามลําดับอย่างเป็ นขั้นตอน มีทกั ษะ ในเรื่ องการดูแลรัก ษาของใช้ส่วนตัว โต๊ะเขียนหนั งสื อและกระเป๋ านักเรี ยน การปลูกไม้ดอกหรื อ ไม้ประดับ การซ่อมแซมอุปกรณ์เครื่ องมือและเครื่ องใช้ การประดิษฐ์ของใช้ของตกแต่ง มีทกั ษะ กระบวนการทํางาน บอกชื่อและหน้าที่ ของอุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศ บอกหลักการทํางาน เบื้องต้น ของคอมพิวเตอร์ บอกประโยชน์และโทษจาก การใช้งานคอมพิวเตอร์ มีทกั ษะในการใช้ ระบบปฏิบตั ิการคอมพิวเตอร์ เพื่อการทํางาน มีทกั ษะในการการใช้โปรแกรมพื้นฐาน ซอฟต์แวร์ สําเร็ จรู ป การประมวลคํา ในการสร้างชิ้นงาน มีทกั ษะในการใช้โปรแกรมกราฟิ กสร้างภาพหรื อ ชิ้นงานจากจินตนาการ อธิ บายความหมายและความสําคัญของอาชีพ มีคุณธรรมในการทํางานในด้านความขยัน อดทน รับผิดชอบและซื่อสัตย์ ไม่ คัดลอกผลงานของผูอ้ ื่น ใช้คาํ สุ ภาพและไม่สร้างความเสี ยหายให้แก่ผอู ้ ื่น ปฏิบตั ิตนอย่างมี มารยาทในการทํางาน ใช้พลังงานและทรัพยากรในการทํางานอย่างประหยัดและคุม้ ค่า รหัสตัวชี้วดั หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรี ยนดุสิตวิทยา พุทธศักราช ๒๕๕๓

หน้า ๑๑๙


ง ๑.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒ ,ป.๔/๓,ป.๔/๔ ง ๓.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒ ,ป.๔/๓,ป.๔/๔, ป.๔/๕ ง ๔.๑ ป.๔/๑ รวม ๑๐ ตัวชี้วดั

หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรี ยนดุสิตวิทยา พุทธศักราช ๒๕๕๓

หน้า ๑๒๐


คําอธิบายรายวิชาขั้นพืน้ ฐาน รายวิชา ง๑๕๑๐๑ การงานอาชีพ กลุ่มสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๕ จํานวนเวลา ๘๐ ชัว่ โมง ศึกษาขั้นตอนการทํางานตามลําดับขั้นตอนซึ่ งเป็ นส่ วนหนึ่งของการปฏิบตั ิงาน ตามกระบวนการ ในเรื่ องการซ่อมแซม ซัก ตาก เก็บ รี ด และพับเสื้ อผ้า การปลูกพืช การทํา บัญชีครัวเรื อน จัดการระบบงานและระบบคนเพื่อให้ทาํ งานสําเร็ จตามเป้ าหมายอย่างมี ประสิ ทธิ ภาพในเรื่ องการจัดโต๊ะอาหาร ตูเ้ ย็น ห้องครัว การทําความสะอาดห้องนํ้าห้องส้วม การซ่อมแซมอุปกรณ์ของใช้ภายในบ้าน การประดิษฐ์ของใช้ ของตกแต่งจากวัสดุเหลือใช้ที่มีอยู่ ในท้องถิ่น การจัดเอกสารสําคัญ การดูแลรักษาและใช้สมบัติส่วนตัว มารยาทในการทํางานกับ สมาชิกในครอบครัว การใช้พลังงานและทรัพยากรธรรมชาติ ศึกษาความหมายและวิวฒั นาการ ของเทคโนโลยีเพื่อใช้เป็ นแนวทางการพัฒนา การสร้างสรรค์สิ่งของเครื่ องใช้อย่างเป็ นขั้นตอน การสร้างภาพร่ าง ๓ มิติ ความรู ้ในการสร้างชิ้นงานที่เกี่ยวข้องกับกลไกและไฟฟ้ าอีเล็กทรอนิกส์ การเลือกใช้เทคโนโลยีในชีวติ ประจําวันอย่างสร้างสรรค์ โดยหมุนเวียนกลับมาใช้ใหม่ทางพลังงาน การจัดการสิ่ งของเครื่ องใช้ดว้ ยการแปรรู ปและนํากลับมาใช้ใหม่ การดําเนินการเพื่อ ให้ได้ขอ้ มูล ตามวัตถุประสงค์ คือกําหนดวัตถุประสงค์ การวางแผนพิจารณาเลือกแหล่งข้อมูลที่มีความ น่าเชื่อถือ กําหนดหัวข้อของข้อมูลที่ตอ้ งการค้นหา เตรี ยมอุปกรณ์ ศึกษาและรวบรวมข้อมูล พิจารณา เปรี ยบเทียบ ตัดสิ นใจ สรุ ปผลการจัดทํารายงานโดยมีการอ้างอิงแหล่งข้อมู ล การเก็บ รักษาข้อมูลให้พร้อมใช้งาน การใช้ซอฟต์แวร์ ประมวลคําพื้นฐาน เช่น การสร้างเอกสารใหม่ การตกแต่งเอกสาร การบันทึกงานเอกสาร การสร้างงานเอกสาร เช่น บัตรอวยพร ใบประกาศ รายงาน โดยมีการอ้างอิงข้อมูล ศึกษาอาชีพต่างๆในชุมชน เช่น ค้าขาย เกษตรกรรม รับจ้าง ข้าราชการ พนักงานของรัฐ และอาชีพอิสระ ศึกษาความแตกต่างของอาชีพในเรื่ อง รายได้ ลักษณะงาน ประเภทกิจการ การทํางานไม่เป็ นเวลา การยอมรับนับถือจากสังคม ตลอดจนความ เสี่ ยงต่อชีวติ อธิ บายเหตุผลในการทํางานแต่ละขั้นตอนแ ต่ละขั้นตอนอย่างถูกต้องตามกระบวนการ ทํางานใช้ทกั ษะการจัดการในการทํางานอย่างเป็ นระบบ ประณี ต ปฏิบตั ิ ตนอย่างมีมารยาทในการ ทํางานกับสมาชิกในครอบครัว มีทกั ษะในการการซ่อมแซม ซัก ตาก เก็บ รี ด และพับเสื้ อผ้า การปลูกพืช อธิ บายความหมายและวิวฒั นาการของเทคโนโลยี มีทกั ษะในการใช้โปรแกรมพื้นฐาน ซอฟต์แวร์ สาํ เร็ จรู ป การประมวลคํา โปรแกรมกราฟิ ก โปรแกรมนําเสนอในรู ปแบบที่เหมาะสม เพื่อให้สามารถใช้คาํ สั่งพื้นฐานของระบบปฏิบตั ิการและสามารถนําระบบการจัดการฐานข้อมูล มี ทักษะในการสร้างชิ้นงานไปประยุกต์ในการสร้างสิ่ งของเครื่ องใช้ ฝึ กฝนการใช้อุปกรณ์ เครื่ องมือ สร้างชื้นงาน จนสามารถปฏิบตั ิงานได้อย่างคล่องแคล่วรวดเร็ วและถูกต้อง เลือกใช้เทคโนโลยีใน ชีวติ ประจําวันอย่างสร้างสรรค์ต่อชีวติ สังคม หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรี ยนดุสิตวิทยา พุทธศักราช ๒๕๕๓

หน้า ๑๒๑


มีความคิดสร้างสรรค์ในการทํางาน มีจิตสํานึกในการใช้พลังงานทรัพยากรอย่ าง ประหยัดและคุม้ ค่า ใช้ถอ้ ยคําสุ ภาพและไม่ก่อให้เกิดความเสี ยหายต่อผูอ้ ื่น รหัสตัวชี้วดั ง ๑.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒ ,ป.๕/๓,ป.๕/๔ ง ๒.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒ ,ป.๕/๓,ป.๕/๔,ป.๕/๕ ง ๓.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒ ง ๔.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒ รวม ๑๓ ตัวชี้วดั

หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรี ยนดุสิตวิทยา พุทธศักราช ๒๕๕๓

หน้า ๑๒๒


คําอธิบายรายวิชาขั้นพืน้ ฐาน รายวิชา ง๑๖๑๐๑ การงานอาชีพและเทคโนโลยี กลุ่มสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๖ จํานวนเวลา ๘๐ ชัว่ โมง ศึกษาแนวทางในการทํางานและปรับปรุ งงานการทํางานแต่ละขั้นตอนตามลําดับ ที่วางแผนไว้ คือ ก่อนการทํางาน ขณะทํางานและเมื่อทํางานเสร็ จแล้ว ในเรื่ องการดูแลรักษา สมบัติภายในบ้าน การปลูกไม้ดอกหรื อไม้ประดับหรื อปลูกผักหรื อเลี้ยงปลาสวยงาม การบันทึก รายรับ-รายจ่าย การจัดเก็บเอกสารการเงิน การจัดการในการทํางานในเรื่ องการเตรี ยมประกอบ จัดอาหาร การติดตั้งประกอบของใช้ในบ้าน การประดิษฐ์ของใช้ของตกแต่งให้สมาชิกใน ครอบครัวหรื อเพื่อนๆในโอกาสต่างๆ มีความรู ้เกี่ยวกับระบบเทคโนโลยีซ่ ึ งประกอบด้วย ตัวป้ อน กระบวนการ และผลลัพธ์ เข้าใจการสร้างสิ่ งของเครื่ องใช้อย่างเป็ นขั้นตอน ตั้งแต่ กําหนดปั ญหา หรื อความต้องการรวบรวมข้อมูล เลือกวิธีการออกแบบโดยถ่ายทอดความคิดเป็ นภาพร่ าง ๓ มิติ หรื อแผนที่ความคิดก่อนลงมือสร้างและประเมินผล ศึกษาการสร้ างชิ้นงานที่เกี่ยวข้องกับกลไก และการควบคุมไฟฟ้ าอีเลคทรอนิกส์ การสร้างชิ้นงานอื่นๆ เช่น การตัด การประกอบชิ้นงาน การเจาะเป็ นต้น รู ้หลักการเบื้องต้นของการแก้ปัญหาเริ่ มตั้งแต่การพิจารณาปั ญหา วางแผนการ แก้ปัญหา การดําเนินการแก้ปัญหา และการตรวจสอบปรับปรุ ง การใช้คอมพิวเตอร์ในการค้นหา ข้อมูล เช่น ค้นหาข้อมูลในเครื่ องคอมพิวเตอร์ ค้นหาข้อมูลทางอินเตอร์เน็ท ค้นหาข้อมูลจาก ซี ดีรอม การเก็บรักษาข้อมูลในรู ปแบบสําเนาถาวร เช่น เอกสาร แฟ้ มสะสมงาน สื่ อบันทึก เช่น เทป แผ่นบันทึก ซี ดีรอม การจัดทําข้ อมูลเพือ่ การนําเสนอ การเลือกใช้ซอฟแวร์ประยุกต์ให้ เหมาะสมกับรู ปแบบการนําเสนอ การใช้คอมพิวเตอร์ ในการสร้างชิ้นงาน เช่น แผ่นพับ ป้ าย ประกาศ เอกสารแนะนําชิ้นงาน สไลด์นาํ เสนอข้อมูล การสํารวจตนเองในด้านความสนใจ ความสามารถและทักษะ อภิ ปรายแนวทางการทํางาน ปรับปรุ งการทํางาน ฝึ กทักษะในการจัดการและ ทักษะในการทํางานร่ วมกัน มีทกั ษะในเรื่ องการดูแลรักษาสมบัติภายในบ้าน การปลูกไม้ดอก หรื อไม้ประดับหรื อปลูกผัก การเลี้ยงปลาสวยงามหรื อสัต ว์ การบันทึกรายรับ-รายจ่าย การจัดเก็บ เอกสารการเงิน กา รจัดการในการทํางานในเรื่ องการเตรี ยมประกอบจัดอาหาร การติดตั้ง ประกอบของใช้ในบ้าน การประดิษฐ์ของใช้ของตกแต่ง อธิ บายส่ วนประกอบของระบบ เทคโนโลยี การใช้โปรแกรมพื้นฐาน ซอฟต์แวร์สาํ เร็ จรู ป การประมวลคํา โปรแกรมกราฟิ ก คอมพิวเตอร์ ระบบมัลติมีเดีย ใช้คอมพิวเตอร์ในการค้นหาข้อมูล เก็บรักษาข้อมูล การใช้โปรแกรม นําเสนอในรู ปแบบที่เหมาะสม เพื่อให้สามารถใช้คาํ สั่งพื้นฐานของระบบปฏิบตั ิการและสามารถนํา ระบบการจัดการฐานข้อมูลสร้างสิ่ งของเครื่ องใช้อย่างปลอดภัย มีมารยาทในการทํางานกับสมาชิกในครอบครัวและผูอ้ ื่ น มีจิตสํานึกในการใช้ ทรัพยากรอย่างประหยัดและคุม้ ค่า รับผิดชอบในการสร้างชิ้นงาน ไม่คดั ลอกผลงานผูอ้ ื่น ใช้คาํ หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรี ยนดุสิตวิทยา พุทธศักราช ๒๕๕๓

หน้า ๑๒๓


สุ ภาพและไม่สร้างความเสี ยหายต่อผูอ้ ื่น มีคุณธรรมในการประกอบอาชีพ ด้านความซื่อสัตย์ ความขยันอดทน ความยุติธรรมและความรับผิดชอบ ตัวชี้วดั ง ๑.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒ ,ป.๖/๓ ง ๒.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒ ,ป.๖/๓ ง ๓.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒ ,ป.๖/๓ . ป.๖/๔, ป.๖/๕ ง ๔.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒ รวม ๑๓ ตัวชี้วดั

หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรี ยนดุสิตวิทยา พุทธศักราช ๒๕๕๓

หน้า ๑๒๔


สาระการเรียนรู้ ภาษาต่ างประเทศ (ภาษาอังกฤษ)


คําอธิบายรายวิชาขั้นพืน้ ฐาน อ ๑๑๑๐๑ ภาษาอังกฤษ กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ภาษาต่างประเทศ ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๑ เวลา ๔๐ชัว่ โมง การระบุตวั อักษร การออกเสี ยงตัวอักษร การอ่านออกเสี ยง การสะกดคําง่าย ๆ ของ ภาษาอังกฤษ การบอกชื่อคําศัพท์เกี่ยวกับเทศกาลสําคัญและที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้อื่น การเลือกภาพตรงตามความหมายของคําและกลุ่มคํา การปฏิบตั ิตามและการใช้คาํ สั่งง่าย ๆ บอก ความต้องการง่าย ๆ ของตนเอง การพูดและการให้ขอ้ มูลเกี่ยวกับตนเอง ความสัมพันธ์ระหว่าง บุคคลและเรื่ องใกล้ตวั ในสถานการณ์ง่าย ๆ ที่เกิดขึ้นในห้องเรี ยน การตอบคําถามและการใช้ภาษา เพือ่ รวบรวมคําศัพท์เกี่ยวกับเรื่ องใกล้ตวั และชื่อสถานที่สาํ คัญในอําเภอบ้านโป่ ง โดยระบุตวั อักษรและเสี ยงตัวอักษร ฟัง พูด อ่าน สะกดคําและเขียนคําศัพท์ง่าย ๆ บอกชื่อ คําศัพท์เกี่ยวกับเทศกาลสําคัญและที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้อื่น เลือกภาพตรงตาม ความหมายของคําและกลุ่มคํา ป ฏิบตั ิตามและใช้คาํ สั่งง่าย ๆ บอกความต้องการง่าย ๆ ของตนเอง พูด ขอและให้ขอ้ มูลเกี่ยวกับตนเองและเรื่ องใกล้ตวั ในสถานการณ์ง่าย ๆ พร้อมทั้งทําท่าทาง ประกอบตามวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา ตอบคําถาม และรวบรวมคําศัพท์เกี่ยวกับเรื่ องใกล้ตวั เพื่อให้มีส่วนร่ วมกิจกรรมทางภาษาและวัฒนธรรมที่เหมาะสมกับวัย และมีเจตคติที่ดีต่อ การเรี ยนวิชาภาษาอังกฤษ รหัสตัวชี้วดั ต๑.๑ ป.๑/๑ ป.๑/๒ป.๑/๓ป.๑/๔ ต๑.๒ ป.๑/๑ ป.๑/๒ป.๑/๓ป.๑/๔ ต๑.๓ ป.๑/๑ ต๒.๑ ป.๑/๑ ป.๑/๒ป.๑/๓ ต๒.๒ ป.๑/๑ ต๓.๑ ป.๑/๑ ต๔.๑ ป.๑/๑ ต๔.๒ ป.๑/๑ รวม ๑๖ ตัวชี้วดั

หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรี ยนดุสิตวิทยา พุทธศักราช ๒๕๕๓

หน้า ๑๒๖


คําอธิบายรายวิชาขั้นพืน้ ฐาน อ ๑๒๑๐๑ ภาษาอังกฤษ กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ภาษาต่างประเทศ ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๒ เวลา ๔๐ชัว่ โมง การปฏิบตั ิตามคําสั่ง การใช้คาํ สั่ง คําขอร้องง่าย ๆ ที่ฟัง การระบุตวั อักษร เสี ยงตัวอักษร การอ่านออกเสี ยงคํา การสะกดคํา ประโยคง่าย ๆ ก ารเลือกภาพตรงตามความหมายคํา กลุ่มคํา และ ประโยคที่ฟัง การพูดขอและให้ขอ้ มูลง่าย ๆ เกี่ยวกับตัวเองพร้อมทําท่าทางประกอบตามวัฒนธรรม เจ้าของภาษา การบอกชื่อและรวบรวมคําศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับเรื่ องใกล้ตวั และอาชีพต่าง ๆในอําเภอ บ้านโป่ ง กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้อื่น และเทศกาลสําคัญของเจ้าของภาษา ปฏิบตั ิตามและพูด คําสั่ง คําขอร้องง่าย ๆ ระบุตวั อักษร เสี ยงตัวอักษรภาษาอังกฤษ อ่าน ออกเสี ยงคํา สะกดคํา ประโยคง่าย ๆ ถูกต้องตามหลักการอ่าน พูดขอหรื อให้ขอ้ มูลของตนเอง บอก ชื่อ รวบรวมคําศัพท์ ง่าย ๆ ที่เกี่ยวกับตนเอง ครอบครัว โรงเรี ยนและท้องถิ่นใ กล้ตวั ตอบคําถาม จากการฟังประโยค บทสนทนา หรื อนิทานง่าย ๆ ที่มีภาพประกอบ พูดโต้ตอบในสถานการณ์ง่าย ๆ ในห้องเรี ยน เข้าร่ วมกิจกรรมทางภาษาและวัฒนธรรม เทศกาลสําคัญของประชาชนในท้องถิ่นและ เจ้าของภาษาอย่างสนุกสนานเพลิดเพลิน มีความใฝ่ รู ้ใฝ่ เรี ยน มีวนิ ยั และมีเจตคติที่ ดีต่อการเรี ยน ภาษาอังกฤษมีความมัน่ ใจและกล้าแสดงออกอย่างเหมาะสมกับวัย รหัสตัวชี้วดั ต๑.๑ ป.๒/๑ ป.๒/๒ป.๒/๓ป.๒/๔ ต๑.๒ ป.๒/๑ ป.๒/๒ป.๒/๓ป.๒/๔ ต๑.๓ ป.๒/๑ ต๒.๑ ป.๒/๑ ป.๒/๒ป.๒/๓ ต๒.๒ ป.๒/๑ ต๓.๑ ป.๒/๑ ต๔.๑ ป.๒/๑ ต๔.๒ ป.๒/๑ รวม ๑๖ ตัวชี้วดั

หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรี ยนดุสิตวิทยา พุทธศักราช ๒๕๕๓

หน้า ๑๒๗


คําอธิบายรายวิชาขั้นพืน้ ฐาน อ ๑๓๑๐๑ ภาษาอังกฤษ กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ภาษาต่างประเทศ ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๓ เวลา ๔๐ชัว่ โมง ศึกษา คําสั่งและคําขอร้องง่าย ๆที่ใช้ในห้องเรี ยน หลักการออกเสี ยง การเลือกหรื อระบุคาํ กลุ่มคํา ประโยคเดี่ยว ภาพ สัญลักษณ์ และการพูดเ ข้าจังหวะ การสะกดคํา และการใช้พจนานุกรม ความหมายเกี่ยวกับตนเอง ครอบครัว โรงเรี ยน สิ่ งแวดล้อมใกล้ตวั อาหาร เครื่ องดื่ม และ นันทนาการ การตอบคําถามจากประโยค บทสนทนา หรื อนิทานที่มีภาพประกอบ การตอบคําถาม สั้น ๆ ง่ายๆ ในการสื่ อสารระหว่างบุคคล การใช้ภาษาในการฟังและพูด ในสถานการณ์ง่าย ๆที่ เกิดขึ้นในห้องเรี ยน เรี ยนรู ้บทสนทนาในการทักทาย การกล่าวลา การขอบคุณ การขอโทษ ประโยค ข้อความ และการพูดแนะนําตนเอง คําศัพท์ สํานวน และประโยคที่ใช้บอกความต้องการ ที่ใช้ขอ และให้ขอ้ มูล เกี่ยวกับตนเอง เพื่อน บุคคลใกล้ตวั และเรื่ องใกล้ตวั ที่ใช้แ สดงความรู ้สึกเกี่ยวกับ บุคคล สัตว์ และสิ่ งของ การระบุเชื่อมโยงความสัมพันธ์ของภาพกับคํา หรื อกลุ่มคํา โดยใช้ภาพ แผนภูมิ แผนภาพ แผนผัง มารยาททางสังคม วัฒนธรรมของเจ้าของภาษา การใช้ท่าทาง ประกอบการแสดงการตอบรับหรื อปฏิเสธ คําศัพท์เกี่ยวกับเทศกาล วันสําคัญ งานฉลอง สถาน ที่ สําคัญในจังหวัดราชบุรีและชีวติ ความเป็ นอยูข่ องเจ้าของภาษา กิจกรรมทางภาษาและวัฒนธรรม ความแตกต่างของเสี ยงตัวอักษร คํา กลุ่มคํา และประโยคของภาษาต่างประเทศและภาษาไทย คําศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้อื่น การใช้ภาษาต่างประเทศในการรวบรวมคําศัพท์ที่ เกี่ยวข้องใกล้ตวั จากสื่ อต่าง ๆ โดยปฏิบตั ิตามคําสั่ง คําขอร้องง่าย ๆ และบอกความต้องการง่าย ๆของตนเอง พูดขอและ ให้ขอ้ มูลง่าย ๆเกี่ยวกับตนเองและเพื่อนตามแบบที่ฟัง หรื ออ่าน ทําท่าประกอบ ตามมารยาทสังคม และวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา บอกชื่อและคําศัพท์ง่าย ๆ เกี่ยวกับเทศกาล วัน สําคัญ งานฉลอง สถานที่สาํ คัญในจังหวัดราชบุรี และชีวติ ความเป็ นอยูข่ องเจ้าของภาษา ความแตกต่างของเสี ยง ตัวอักษร คํา กลุ่มคํา และประโยคของภาษาต่างประเทศและภาษาไทย คําศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับกลุ่ม สาระการเรี ยนรู ้อื่น การใช้ภาษาในการฟัง พูดในสถานการณ์ง่าย ๆ ที่เกิดขึ้นในห้ องเรี ยน การใช้ ภาษาต่างประเทศในการรวบรวมคําศัพท์ที่เกี่ยวข้องใกล้ตวั จากสื่ อต่าง ๆ เพื่อเห็นคุณค่าของการนําความรู ้ ทักษะการใช้ภาษาไปใช้ประโยชน์ในชีวติ ประจําวัน แสดงความรู ้สึก ความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล มีจริ ยธรรม คุณธรรมและค่านิยม ที่พึงประสงค์ สามารถอยูร่ ่ วมกับผูอ้ ื่นในสังคมได้อย่างมีความสุ ขในฐานะเป็ นพลเมืองไทยและพลเมืองโลก เพื่อให้ผเู ้ รี ยนมีความรู ้ความสามารถตามมาตรฐาน รักความเป็ นไทย และรักการทํางาน รหัสตัวชี้วดั ต๑.๑ ป๓/๑ ป๓/๒ป๓/๓ป๓/๔ ต๑.๒ ป๓/๑ ป๓/๒ป๓/๓ป๓/๔ ป๓/๕ หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรี ยนดุสิตวิทยา พุทธศักราช ๒๕๕๓

หน้า ๑๒๘


ต๑.๓ ป๓/๑ ป.๓/๒ ต๒.๑ ป๓/๑ ป๓/๒ป๓/๓ ต๒.๒ ป๓/๑ ต๓.๑ ป๒/๑ ต๔.๑ ป๓/๑ ต๔.๒ ป๓/๑ รวม ๑๘ ตัวชี้วดั

หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรี ยนดุสิตวิทยา พุทธศักราช ๒๕๕๓

หน้า ๑๒๙


คําอธิบายรายวิชาขั้นพืน้ ฐาน อ ๑๔๑๐๑ ภาษาอังกฤษ กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ภาษาต่างประเทศ ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๔ เวลา ๘๐ ชัว่ โมง ศึกษาคํา กลุ่มคํา ประโยค คําสั่งและคําขอร้อง คําขออนุญาตที่ใช้ในห้องเรี ยน คําแนะนําใน การเล่นเกม การทํางาน ข้อความง่ายๆ ที่ใช้แนะนํา ให้ขอ้ มูล แสดงความรู ้สึก เกี่ยวกับตนเอง เพื่อน บุคคลใกล้ตวั และสํานวนตอบรับ แสดงความต้องการของตนเอง ขอความช่วยเหลือ บทพูดเข้า จังหวะ บทสนทนาที่ใช้ในการทักทาย กล่าวลา ขอบคุณ ขอโทษ การพูดแทรกอย่างสุ ภาพ นิทาน ง่ายๆ หลักการอ่าน ภาพ สัญลักษณ์ เครื่ องหมายเกี่ยวกับ ตนเอง ครอบครัว โรงเรี ยน สิ่ งแวดล้อม อาหาร เครื่ องดื่ม เวลาว่าง นันทนาการ สุ ขภาพ สวัสดิการ การซื้ อ- ขาย ลมฟ้ าอากาศ อ ายุ รู ปร่ าง สี เครื่ องแต่งกาย ขนาด รู ปร่ าง จํานวน ๑ – ๑๐๐ วัน เดือน ปี ฤดูกาล ตําแหน่งของสิ่ งของ เครื่ องหมายวรรคตอน คําศัพท์ท่ีเกี่ยวข้องกับจังหวัดราชบุรี ตลอดจนสถานการณ์ท่ีเกิดขึ้นในหอง เรี ยน สถานศึกษา เป็ นวงศัพท์สะสม ๕๕๐ – ๗๐๐ คําที่เป็ นรู ปธรรมและนามธรรม โดยใช้ทกั ษะการสื่ อสารทางภาษา การฟัง พูด อ่าน เขียน แลกเปลี่ยนข้อมูล แสดง ความรู ้สึก ความคิดเห็น การตอบคําถาม การตีความ การค้นคว้า สื บค้น รวบรวม นําเสนอ การ ปฏิบตั ิตามคําสั่งที่ฟัง วาดภาพและทําท่าทางประกอบ เพื่อมีความรู ้ ความเข้าใจ มีทกั ษะในการสื่ อสารทางภาษา เห็นคุณค่า มีเจตคติทีด่ ีต่อ ภาษาอังกฤษ มีมารยาทที่ดีในการฟัง พูด อ่าน เขียน มีสามารถในการสื่ อสาร มีความรู ้ความเข้าใจ ในการรับและส่ งสารเพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารและประสบการณ์ นําความรู ้ไปใช้ใน ชีวติ ประจําวัน สามารถใช้เทคโนโลยีในด้านการเรี ยนรู ้ การสื่ อสาร ใฝ่ เรี ยนรู้ กล้าแสดงออก กระตือรื อร้น สนุกสนาน และมีนิสัยรักการอ่าน มุ่งมัน่ ในการทํางาน รักชาติ ศาสน์ กษัตริ ย ์ และรัก ความเป็ นไทย มีจิตสาธารณะ รหัสตัวชี้วดั ต ๑.๑ ป ๔/๑, ป ๔/๒, ป ๔/๓, ป ๔/๔ ต ๑.๒ ป ๔/๑, ป ๔/๒, ป ๔/๓, ป ๔/๔, ป ๔/๕ ต ๑.๓ ป ๔/๑, ป ๔/๒, ป ๔/๓ ต ๒.๑ ป ๔/๑, ป ๔/๒, ป ๔/๓ ต ๒.๒ ป ๔/๑, ป ๔/๒ ต ๓.๑ ป ๔/๑ ต ๔.๑ ป๔/๑ ต ๔.๒ ป ๔/๑ รวม ๒๐ ตัวชี้วดั หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรี ยนดุสิตวิทยา พุทธศักราช ๒๕๕๓

หน้า ๑๓๐


คําอธิบายรายวิชาขั้นพืน้ ฐาน อ ๑๕๑๐๑ ภาษาอังกฤษ กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ภาษาต่างประเทศ ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๕ เวลา ๘๐ ชัว่ โมง ศึกษาการออกคําสั่ง คําขอร้อง คําแนะนํา ประโยค ข้อความ บทกลอนสั้น ๆ สัญลักษณ์ เครื่ องหมายวรรคตอน ความหมายของประโยค ข้อความสั้น ๆ ใจความสําคัญ บทสนทนา นิทาน เรื่ องสั้น การสื่ อสารระหว่างบุคคล ความต้องการ ขอความช่วยเหลือ การตอบรับและการปฏิเสธ ข้อมูลตนเอง เพือ่ น ครอบครัว เรื่ องใกล้ ตัว ภาพ แผนผัง แผนภูมิแสดงข้อมูล เรื่ องใกล้ตวั การออก นํ้าเสี ยง ถ้อยคํา ท่าทาง มารยาททางสังคมและวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา ความสําคัญของเทศกาล วันสําคัญ งานฉลอง ชีวติ ความเป็ นอยู่ กิจกรรมทางภาษาและวัฒนธรรม ความเหมือน แตกต่าง การ ออกเสี ยงในประโยค การใช้เครื่ องหมาย กา รลําดับคํา ความเหมือน ความแตกต่าง ระหว่างเทศกาล งานฉลอง ของเจ้าของภาษาไทย คําศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มสาระอื่น สถานการณ์ต่าง ๆ ใน ห้องเรี ยน สถานศึกษาและสถานที่สาํ คัญในจังหวัดราชบุรี โดยการฟัง พูด เขียน อ่านออกเสี ยง ระบุ วาดภาพ บอก ตอบคําถาม ใช้ พูด เขียน ตอบรั บ ให้ขอ้ มูล แสดงปฏิบตั ิตาม แสดงความคิดเห็น แสดงความรู ้สึกและแสดงเหตุผลตามสําคัญ เข้าร่ วม ค้นคว้า รวบรวม และการนําเสนอ เพื่อมีความรู ้ ความเข้าใจ มีทกั ษะในการสื่ อสารทางภาษา เห็นคุณค่า มีเจตคติที่ดีต่อ ภาษาอังกฤษ สามารถในการสื่ อสาร ความรู ้ความเข้งาใจ ในการรับ และส่ งสารเพือ่ แลกเปลี่ยนข้อมูล ข่าวสารและประสบการณ์ นําความรู ้ไปใช้ในชีวติ ประจําวัน สามารถใช้เทคโนโลยีในด้านการ เรี ยนรู ้การสื่ อสาร ใฝ่ เรี ยนรู้ กล้าแสดงออก กระตือรื อร้น สนุกสนาน และมีนิสัยรักการอ่าน มุ่งมัน่ ในการทํางาน รักชาติ ศาสน์ กษัตริ ย ์ และรักความเป็ นไทย ตัวชี้วดั ต๑.๑ ป ๕/๑ ป ๕/๒ ป ๕/๓ ป ๕/๔ ต๑.๒ ป ๕/๑ ป ๕/๒ ป ๕/๓ ป ๕/๔ป ๕/๕ ต๑.๓ ป ๕/๑ ป ๕/๒ ป ๕/๓ ต๒.๑ป ๕/๑ ป ๕/๒ ป ๕/๓ ต๒.๒ ป ๕/๑ ป ๕/๒ ต๓.๑ ป ๕/๑ ต๔.๑ ป ๕/๑ ต๔.๒ ป ๕/๑ รวม ๒๐ ตัวชี้วดั

หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรี ยนดุสิตวิทยา พุทธศักราช ๒๕๕๓

หน้า ๑๓๑


คําอธิบายรายวิชาขั้นพืน้ ฐาน อ ๑๖๑๐๑ ภาษาอังกฤษ กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ภาษาต่างประเทศ ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๖ เวลา ๘๐ ชัว่ โมง ศึกษาคําสั่ง คําขอร้อง คําแนะนํา ภาษาในการสื่ อสารในสถานการณ์ต่าง ๆ อ่านออกเสี ยง ข้อความ นิทาน บทกลอนสั้น ๆ นิทานง่าย ๆ เรื่ องเล่า สื่ อประสบการณ์ต่าง ๆ การอ่านออกเสี ยง เลือก ระบุประโยค ข้อความสั้น ๆ ตรงตามภาพ สัญลักษณ์ เครื่ องหมายที่อ่าน ตีความ บอกใจความ สําคัญ ตอบคําถาม แสดงความเห็นจากการอ่าน ใช้ภาษาพูดและเขียน เพื่อขอและให้ขอ้ มูลเกี่ยวกับ ตนเอง เพื่อน ครอบครัว เรื่ องใกล้ตวั และสถานที่สาํ คัญในจังหวัดราชบุรี โต้ตอบสื่ อสารระหว่าง บุคคล แสดงควา มต้องการ ขอความช่วยเหลือ ให้ความช่วยเหลือ ตอบรับหรื อปฏิเสธ แสดง ความรู ้สึกความคิดเห็นของตนเอง ให้เหตุผลสั้น ๆ ประกอบ เขียนแผนภาพ แผนภูมิ ตารางแสดง ข้อมูล นําเสนอความคิดรวบยอด การค้นคว้า สื บค้น ข้อมูล คําศัพท์ ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มสาระ อื่น โดยการฟัง พูด เขียน อ่านออกเสี ยงระบุ วาดภาพ บอก ตอบคําถาม ใช้พดู เขียน ตอบรับให้ ข้อมูล แสดง ปฏิบตั ิตาม แสดงความคิดเห็น แสดงความรู ้สึก และแสดงเหตุผล ความสําคัญ เข้าร่ วม ทัศนศึกษาค้นคว้า รวบรวมและการนําเสนอ เพื่อให้มีความรู ้ ความเข้าใจ มีทกั ษะทางภาษาเห็นคุณค่า มีเจตคติที่ดีต่ อภาษาอังกฤษ สามารถในการสื่ อสาร ความรู ้ความเข้าใจ ในการรับและส่ งสารที่จะแลกเปลี่ยน ข้อมูลข่าวสารและ ประสบการณ์ นําความรู ้ไปใช้ในชีวติ ประจําวัน สามารถใช้เทคโนโลยีในการเรี ยนและการสื่ อสาร ใฝ่ เรี ยนรู ้ กล้าแสดงออก กระตือรื อร้น สนุกสนาน และมีนิสัยรักการอ่าน มุ่งมั่ นในการทํางาน รัก ชาติ ศาสน์ กษัตริ ย ์ และรักความเป็ นไทย รหัสตัวชี้วดั ต๑.๑ ป๖/๑ ป๖/๒ ป๖/๓ ป๖/๔ ต๑.๒ ป๖/๑ ป๖/๒ ป๖/๓ ป๖/๔ป๖/๕ ต๑.๓ ป๖/๑ ป๖/๒ ป๖/๓ ต๒.๑ ป๖/๑ ป๖/๒ ต๒.๒ ป๖/๑ ป๖/๒ ป๖/๓ ต๓.๑ ป๖/๑ ต๔.๑ ป๖/๑ ต๔.๒ ป๖/๑ รวม ๒๐ ตัวชี้วดั

หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรี ยนดุสิตวิทยา พุทธศักราช ๒๕๕๓

หน้า ๑๓๒


กิจกรรมเพิม่ เติม


คําอธิบายกิจกรรมเพิม่ เติม

กิจกรรม Tell me more I กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ภาษาต่างประเทศ ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๑ เวลา ๔๐ ชัว่ โมง ศึกษาคํา กลุ่มคํา ประโยคคําสั่ง โครงสร้างประโยคง่ายๆ การออกเสี ยง สะกดตัวอักษร พยัญชนะ เกี่ยวกับสี ตัวเลข การกระทํา การเคลื่อน ไหว รู ปภาพ สิ่ งของที่อยูใ่ นบ้าน ห้องสําหรับเด็กเล่น ห้องนัง่ เล่น ห้องครัว ห้องนอน ห้องนํ้า โรงรถ และในสวน โดยการฟัง พูด อ่านออกเสี ยงพยัญชนะ คํา กลุ่มคํา ประโยค การสังเกต จดจํา การจําแนกหมวดหมู่ การใช้และปฏิบตั ิตามคําสั่ง เพื่อให้มีความรู ้ ความเข้าใจ เห็นคุณค่ า มีเจตคติที่ดีต่อการเรี ยนรู ้ การใช้ภาษา ในการสื่ อสาร นํา ความรู ้ไปใช้ในชีวติ ประจําวัน สามารถใช้เทคโนโลยีในด้านการเรี ยนรู ้การสื่ อสาร ใฝ่ เรี ยนรู ้ กล้าแสดงออก กระตือรื อร้น สนุกสนาน และมีนิสยั รักการอ่าน มุ่งมัน่ ในการทํางาน ผลการเรียนรู้ ๑. ๒.

มีเจตคติท่ีดีต่อการเรี ยนภาษาอังกฤษ นักเรี ยนสามารถฟัง พูด อ่านออกเสี ยงคํา กลุ่มคํา ประโยคคําสั่ง โครงสร้างประโยคง่ายๆ

และสะกดตัวอักษร พยัญชนะเกี่ยวกับสี ตัวเลข การกระทํา การเคลื่อนไหว ๓.

นักเรี ยนสามารถบอกรู ปภาพ สิ่ งของที่อยูใ่ นบ้าน ห้องเด็กเ

ล่น ห้องนัง่ เล่น ห้องครั

ห้องนอน ห้องนํ้า โรงรถ และในสวน ๔.

นักเรี ยนสามารถจําแนกหมวดหมู่การใช้และปฏิบตั ิตามคําสัง่

๕.

ใช้ภาษาต่างประเทศในการสื บค้นรวบรวมข้อมูลต่าง ๆ จากสื่ อ ICT

รวม ๕ ผลการเรี ยนรู้

หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรี ยนดุสิตวิทยา พุทธศักราช ๒๕๕๓

หน้า ๑๓๔


คําอธิบายกิจกรรมเพิม่ เติม

กิจกรรม Tell me more II กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ภาษาต่างประเทศ ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๒ เวลา ๔๐ ชัว่ โมง ศึกษาคํา กลุ่มคํา ประโยคคําสั่ง โครงสร้างประโยคง่ายๆ การออกเสี ยง สะกดตัวอักษร พยัญชนะ เกี่ยวกับสี ตัวเลข จํานวนเงิน การกระทํา การเคลื่อนไหว รู ปภาพ โรงเรี ยน สวนสาธารณะ บ้าน ร้านทําผม สวนสนุก ร้านอาหาร อู่ซ่อมรถ ตลาด สนามออกกํา ลังกาย โดยการฟัง พูด อ่านออกเสี ยงพยัญชนะ คํา กลุ่มคํา ประโยค การสังเกต จดจํา การจําแนกหมวดหมู่ การใช้และปฏิบตั ิตามคําสั่ง เพื่อให้มีความรู ้ ความเข้าใจ เห็นคุณค่า มีเจตคติที่ดีต่อการเรี ยนรู ้ การใช้ภาษา ในการสื่ อสาร นํา ความรู ้ไปใช้ในชีวติ ประจําวัน สามารถใช้เทคโ นโลยีในด้านการเรี ยนรู้การสื่ อสาร ใฝ่ เรี ยนรู้ กล้าแสดงออก กระตือรื อร้น สนุกสนาน และมีนิสยั รักการอ่าน มุ่งมัน่ ในการทํางาน ผลการเรียนรู้ ๑. ๒.

มีเจตคติที่ดีต่อการเรี ยนภาษาอังกฤษ นักเรี ยนสามารถฟัง พูด อ่านออกเสี ยงคํา กลุ่มคํา ประโยคคําสั่ง โครงสร้างประโยคง่ายๆ

และสะกดตัวอักษร พยัญชนะเกี่ยวกับสี ตัวเลข การกระทํา การเคลื่อนไหว ๓.

นักเรี ยนสามารถบอกรู ปภาพ สิ่ งของที่อยูใ่ นโรงเรี ยน สวนสาธารณะ บ้าน ร้านทําผม สวน

สนุก ร้านอาหาร อู่ซ่อมรถ ตลาด สนามออกกําลังกาย ๔.

นักเรี ยนสามารถจําแนกหมวดหมู่การใช้และปฏิบตั ิตามคําสั่ง

๕.

ใช้ภาษาต่างประเทศในการสื บค้นรวบรวมข้อมูลต่าง ๆ จากสื่ อ ICT

รวม ๕ ผลการเรี ยนรู้

หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรี ยนดุสิตวิทยา พุทธศักราช ๒๕๕๓

หน้า ๑๓๕


คําอธิบายกิจกรรมเพิม่ เติม

กิจกรรม Tell Me More III กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ภาษาต่างประเทศ ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๓ เวลา ๔๐ ชัว่ โมง ศึกษาคํา กลุ่มคํา ประโยคคําสั่ง โครงสร้างประโยคง่ ายๆ การออกเสี ยง สะกดตัวอักษร พยัญชนะ รู ปภาพ สิ่ งต่างๆรอบโลก เช่น The Arctic , The Savannah , The Desert , The Forest , The Town , The Jungle , The Beach โดยการฟัง พูด อ่านออกเสี ยงพยัญชนะ คํา กลุ่มคํา ประโยค การสังเกต จดจําและการจําแนก หมวดหมู่ เพือ่ ให้มีความรู ้ ความเข้าใจ เห็นคุณค่า มีเจตคติที่ดีต่อการเรี ยนรู ้ การใช้ภาษา ในการสื่ อสาร นํา ความรู ้ไปใช้ในชีวติ ประจําวัน สามารถใช้เทคโนโลยีในด้านการเรี ยนรู ้การสื่ อสาร ใฝ่ เรี ยนรู ้ กล้าแสดงออก กระตือรื อร้น สนุกสนาน และมีนิสัยรักการอ่าน มุ่งมัน่ ในการทํางาน รักชาติ ศาสน์ กษัตริ ย ์ และรักความเป็ น ไทย มีจิตสาธารณะ ผลการเรียนรู้ ๑. มีเจตคติที่ดีต่อการเรี ยนภาษาอังกฤษ ๒. นักเรี ยนสามารถฟัง พูด อ่าน ออกเสี ยงพยัญชนะ คํา กลุ่มคํา ประโยค คําสัง่ ที่ใช้ในห้องเรี ยน และให้ขอ้ มูลเกี่ยวกับสิ่ งต่างๆ รอบโลก ๓. นักเรี ยนสามารถระบุภาพ สัญลักษณ์ ตามความหมายของคํา กลุ่มคํา และประโยค ๔. นักเรี ยนสามารถจําแนกหมวดหมู่ ตามประเภทของบุคคล สัตว์ และสิ่ งของ ตามที่ฟัง ๕. ใช้ภาษาต่างประเทศในการสื บค้นรวบรวมข้อมูลต่าง ๆ จากสื่ อ ICT รวม ๕ ผลการเรี ยนรู้

หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรี ยนดุสิตวิทยา พุทธศักราช ๒๕๕๓

หน้า ๑๓๖


คําอธิบายกิจกรรมเพิม่ เติม

กิจกรรม Tell Me More IV กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ภาษาต่างประเทศ ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๔ เวลา ๔๐ ชัว่ โมง ศึกษาตัวอักษร คําสรรพนาม คําบุพบทบอกเวลา ความสามารถ สนทนาโต้ตอบในสถานการณ์ ง่ายๆ เรื่ องสั้นในวีดีทศั น์ โครงสร้างและวิธีการใช้ประโยคบอกเล่า คําถามและปฏิเสธ การออกเสี ยง คํา กลุ่มคํา ประโยคเกี่ยวกับสถานที่ต่างๆ ภายในบ้าน สิ่ งของ ข้อความสั้นๆ การใช้เครื่ องหมายวรรคตอน การ เรี ยงลําดับคํา การวิเคราะห์คาํ กลุ่มคํา ประโยค ข้อความ รู ปภาพ ตามสถานการณ์ต่างๆ โดยการค้นคว้า รวบรวมข้อมูล ฟัง พูด อ่านออกเสี ยง อ่านคิด วิเคราะห์ เขียน บอก ตอบคําถาม แสดงความคิดเห็น ให้ขอ้ มูลเกี่ยวกับสถานที่ เรื่ องสั้นในวีดีทศั น์ เพื่อมีความรู ้ ความเข้าใจ มีทกั ษะในการสื่ อสารทางภาษา เห็นคุณค่า มีเจตคติที่ดีต่อภาษาอังกฤษ มี สามารถในการสื่ อสาร มีความรู ้ความเข้าใจในการรับและส่ งสารเพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารและ ประสบการณ์ นําความรู ้ไปใช้ในชีวติ ประจําวัน สามารถใช้เทคโนโลยีในด้านการเรี ยนรู ้ การสื่ อสาร ใฝ่ เรี ยนรู ้ กล้าแสดงออก กระตือรื อร้น สนุกสนาน และมีนิสัยรักการอ่าน มุ่งมัน่ ในการทํางาน รักชาติ ศาสน์ กษัตริ ย ์ และรักความเป็ นไทย มีจิตสาธารณะ ผลการเรียนรู้ ๑. มีเจตคติที่ดีในการเรี ยนภาษาอังกฤษ ๒. ปฏิบตั ิตามคําสั่ง และคําแนะนําง่ายๆ ที่ฟังและอ่าน ๓. ออกเสี ยงคํา กลุ่มคํา ประโยค ข้อความได้ใกล้เคียงกับเจ้าของภาษา ๔. พูด อ่าน และเขียน คํา ข้อความและประโยคบอกเล่า คําถามและปฏิเสธได้ถูกต้อง ๕. ตอบคําถามจากการฟังหรื ออ่านประโยค บทสนทนา ข้อความ เรื่ องใกล้ตวั หรื อเนื้อเรื่ องสั้นๆ ในวีดี ทัศน์ไ ด้ ๖. เขียนบรรยายภาพตามความคิดของตนเอง ๗. ทํากิจกรรมทางภาษาและเล่นเกมทางภาษาที่กาํ หนดให้ได้ ๘. ใช้ภาษาต่างประเทศในการสื บค้นและรวบรวมข้อมูลต่างๆ จากสื่ อ ICT รวม ๘ ผลการเรี ยนรู้

หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรี ยนดุสิตวิทยา พุทธศักราช ๒๕๕๓

หน้า ๑๓๗


คําอธิบายกิจกรรมเพิม่ เติม

กิจกรรม Tell Me More V กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ภาษาต่างประเทศ ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๕ เวลา ๔๐ ชัว่ โมง ศึกษาคําบอกจํานวน ปริ มาณ ฤดูกาล เวลา หน่วยของเวลา วัน เดือน คําสรรพนามเกี่ยวกับบุคคลที่ เป็ นกรรม คําบุพบทบอกเวลา ความสามารถ สนทนาโต้ตอบในสถานการณ์ง่ายๆ เรื่ องสั้นในวีดีทศั น์ โครงสร้างและวิธีการใช้ประโยคบอกเล่า คําถามและปฏิเสธ การออกเสี ยง คํา กลุ่มคํา ประโยคเกี่ยวกั บ สิ่ งของ ข้อความสั้นๆ การใช้เครื่ องหมายวรรคตอน การเรี ยงลําดับคํา การวิเคราะห์คาํ กลุ่มคํา ประโยค ข้อความ รู ปภาพ ตามสถานการณ์ต่างๆ โดยการค้นคว้า รวบรวมข้อมูล ฟัง พูด อ่านออกเสี ยง อ่านคิด วิเคราะห์ เขียน บอก ตอบคําถาม แสดงความคิดเห็น ให้ขอ้ มูลเกี่ยวกับสถานที่ เรื่ องสั้นในวีดีทศั น์ เพื่อมีความรู ้ ความเข้าใจ มีทกั ษะในการสื่ อสารทางภาษา เห็นคุณค่า มีเจตคติที่ดีต่อภาษาอังกฤษ มี สามารถในการสื่ อสาร มีความรู ้ความเข้าใจในการรับและส่ งสารเพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารและ ประสบการณ์ นําความรู ้ไปใช้ในชีวติ ประจําวัน สามารถใ ช้เทคโนโลยีในด้านการเรี ยนรู ้ การสื่ อสาร ใฝ่ เรี ยนรู้ กล้าแสดงออก กระตือรื อร้น สนุกสนาน และมีนิสยั รักการอ่าน มุ่งมัน่ ในการทํางาน ผลการเรียนรู้ ๑. มีเจตคติที่ดีในการเรี ยนภาษาอังกฤษ ๒. ปฏิบตั ิตามคําสัง่ คําแนะนําง่ายๆที่ฟังและอ่าน ๓. อ่านออกเสี ยงคํา กลุ่มคํา ประโยค ข้อความถูกต้องตามหลักการอ่าน ๔. ใช้เครื่ องหมายวรรคตอนตรงตามความหมายของประโยคและข้อความสั้นๆที่ฟังหรื ออ่าน ๕. บอกใจความสําคัญ ตอบคําถามจากการฟังและอ่าน บทสนทนาง่ายๆ เรื่ องใกล้ตวั หรื อเรื่ องสั้นใน วิดีทศั น์ ๖. เขียนบรรยายภาพตามความคิดของตนอง ๗. พูด/เขียนแสดงความรู ้สึกของตนเองเกี่ยวกับเรื่ องต่างๆ ใกล้ตวั และกิจกรรมต่างๆ พร้อมทั้งให้ เหตุผลสั้นๆประกอบ ๘. ใช้ภาษาต่างประเทศในการสื บค้นและรวบรวมข้อมูลต่างๆจากสื่ อ ICT รวม ๘ ผลการเรี ยนรู้

หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรี ยนดุสิตวิทยา พุทธศักราช ๒๕๕๓

หน้า ๑๓๘


คําอธิบายกิจกรรมเพิม่ เติม กิจกรรม Tell Me More VI กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ภาษาต่างประเทศ ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๖ เวลา ๔๐ ชัว่ โมง ศึกษาคํา ข้อความ ประโยค รู ปภาพเกี่ยวกับสถานที่ ประเทศ เมืองหลวง ฤดูกาล สิ่ งของ ครอบครัว ประโยคคําสัง่ คําแนะนํา คําขออนุญาต คําสรรพนามเกี่ยวกับบุคคลที่เป็ นประธาน คํา บุพบทบอกสถานที่ สนทนาโต้ตอบในสถานการณ์ง่ายๆ เรื่ องสั้น ในวีดีทศั น์ โครงสร้างและ วิธีการใช้ประโยคบอกเล่า คําถามและปฏิเสธ การออกเสี ยง คํา กลุ่มคํา ประโยคเกี่ยวกับ สิ่ งของ ข้อความสั้นๆ การใช้เครื่ องหมายวรรคตอน การเรี ยงลําดับคํา การวิเคราะห์คาํ กลุ่มคํา ประโยค ข้อความ รู ปภาพ ตามสถานการณ์ต่างๆ โดยการค้นคว้า รวบรวมข้อ มูล ฟัง พูด อ่านออกเสี ยง อ่านคิด วิเคราะห์ เขียน บอก ตอบ คําถาม แสดงความคิดเห็น ให้ขอ้ มูลเกี่ยวกับสถานที่ เรื่ องสั้นในวีดีทศั น์ เพื่อมีความรู ้ ความเข้าใจ มีทกั ษะในการสื่ อสารทางภาษา เห็นคุณค่า มีเจตคติที่ดีต่อ ภาษาอังกฤษ มีสามารถในการสื่ อสาร มีความรู ้ความเ ข้าใจในการรับและส่ งสารเพื่อแลกเปลี่ยน ข้อมูลข่าวสารและประสบการณ์ นําความรู ้ไปใช้ในชีวติ ประจําวัน สามารถใช้เทคโนโลยีในด้าน การเรี ยนรู้ การสื่ อสาร ใฝ่ เรี ยนรู้ กล้าแสดงออก กระตือรื อร้น สนุกสนาน และมีนิสัยรักการอ่าน มุ่งมัน่ ในการทํางาน ผลการเรียนรู้ ๑. มีเจตคติท่ีดีในการเรี ยนภาษาอังกฤษ ๒. ปฏิบตั ิตามคําสั่ง และคําแนะนําง่ายๆ ที่ฟังและอ่าน ๓. ออกเสี ยงคํา กลุ่มคํา ประโยค ข้อความได้ใกล้เคียงกับเจ้าของภาษา ๔. พูด อ่าน และเขียน คํา ข้อความและประโยคบอกเล่า คําถามและปฏิเสธได้ถูกต้อง ๕. ตอบคําถามจากการฟังหรื ออ่านประโยค บทสนทนา ข้อความ เรื่ องใ

กล้ตวั หรื อเนื้อเรื่ อง

สั้นๆ ในวีดีทศั น์ได้ ๖. เขียนบรรยายภาพตามความคิดของตนเอง ๗. ทํากิจกรรมทางภาษาและเล่นเกมทางภาษาที่กาํ หนดให้ได้ ๘. ใช้ภาษาต่างประเทศในการสื บค้นและรวบรวมข้อมูลต่างๆ จากสื่ อ ICT รวม ๘ ผลการเรี ยนรู้

หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรี ยนดุสิตวิทยา พุทธศักราช ๒๕๕๓

หน้า ๑๓๙


ส่ วนที่ ๔ เกณฑ์ การวัดประเมินผลและจบหลักสู ตร การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ การวัดและประเมินผลการเรี ยนรู ้ของผูเ้ รี ยนต้องอยูบ่ นหลักการพื้นฐานสองประการคือ การประเมินเพือ่ พัฒนาผูเ้ รี ยนและเพือ่ ตัดสิ นผลการเรี ยน ในการพัฒน าคุณภาพการเรี ยนรู ้ของ ผูเ้ รี ยน ให้ประสบผลสําเร็ จนั้น นักเรี ยนจะต้องได้รับการพัฒนาและประเมินตามตัวชี้วดั เพือ่ ให้ บรรลุตามมาตรฐานการเรี ยนรู ้ สะท้อนสมรรถนะสําคัญ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของ นักเรี ยนซึ่งเป็ นเป้ าหมายหลักในการวัดและประเมินผลการเรี ยนรู้ในระดับชั้นเรี ยน ระดับ สถานศึกษา การวัดและประเมินผลการเรี ยนรู ้ เป็ นกระบวนการพัฒนาคุณภาพ นักเรี ยนโดยใช้ผล การประเมินเป็ นข้อมูลและสารสนเทศที่แสดงพัฒนาการ ความก้าวหน้า และความสําเร็ จทางการ เรี ยนของนักเรี ยน ตลอดจนข้อมูลที่เป็ นประโยชน์ต่อการส่ งเ สริ มให้นกั เรี ยนเกิด การพัฒนาและ เรี ยนรู ้อย่างเต็มตามศักยภาพ การวัดและประเมินผลการเรี ยนรู ้ ของโรงเรี ยนดุสิตวิทยา แบ่งออกเป็ น ๒ ระดับ ได้แก่ ระดับชั้นเรี ยน ระดับสถานศึกษา มีรายละเอียด ดังนี้ ๑. การประเมินระดับชั้นเรียน เป็ นการวัดและประเมินผลที่อยูใ่ นกระบวนการจัดการ เรี ยนรู ้ ครู ผสู ้ อนดําเนินการเป็ นปกติและสมํ่าเสมอ ในการจัดการเรี ยนการสอน ใช้เทคนิคการ ประเมินอย่างหลากหลาย เช่น การซั กถาม การสังเกต การตรวจการบ้าน การประเมินโครงงาน การ ประเมินชิ้นงาน/ ภาระงาน แฟ้ มสะสมงาน การใช้แบบทดสอบ ฯลฯ โดย ครู ผสู้ อนเป็ นผูป้ ระเมิน เองหรื อเปิ ดโอกาสให้นกั เรี ยนประเมินตนเอง เพือ่ นประเมินเพือ่ น ผูป้ กครองร่ วมประเมิน ใน กรณี ที่ไม่ผา่ นตัวชี้วดั ให้มี การสอนซ่ อมเสริ ม การประเมินระดับชั้นเรี ยนเป็ นการตรวจสอบว่า นักเรี ยนมีพฒั นาการความก้าวหน้าใน การเรี ยนรู ้ อันเป็ นผลมาจากการจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอนหรื อไม่ และมากน้อยเพียงใด มีสิ่งที่ จะต้องได้รับการพัฒนาปรับปรุ งและส่ งเสริ มในด้านใด นอกจากนี้ยงั เป็ นข้อมูลให้ผู ้ สอนใช้ ปรับปรุ งการเรี ยนการสอนของตนด้วย ทั้งนี้โดยสอดคล้องกับมาตรฐานการเรี ยนรู ้และตัวชี้วดั ๒. การประเมินระดับสถานศึกษา เป็ นการประเมินที่สถานศึกษาดําเนินการเพื่อตัดสิ นผล การเรี ยนของผูเ้ รี ยนเป็ นรายปี /รายภาค ผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน คุณ ลักษณะ อันพึงประสงค์ และกิจกรรมพัฒนาผูเ้ รี ยน นอกจากนี้เพื่อให้ได้ขอ้ มูลเกี่ยวกับการจัดการศึกษา ของสถานศึกษา ว่าส่ งผลต่อการเรี ยนรู ้ของผูเ้ รี ยนตามเป้ าหมายหรื อไม่ ผูเ้ รี ยนมีจุดพัฒนาในด้านใด รวมทั้งสามารถนําผลการเรี ยนของผูเ้ รี ยนในสถานศึกษาเปรี ยบเทียบกับเกณฑ์ระดับชาติ ผลการ ประเมินระดับสถานศึกษาจะเป็ นข้อมูลและสารสนเทศเพื่อการปรับปรุ งนโยบาย หลักสู ตร โครงการ หรื อวิธีการจัดการเรี ยนการสอน ตลอดจนเพื่อการจัดทําแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา


ของสถานศึกษาตามแนวทางการประกันคุณภาพการศึกษาและการรายงานผลการจัดการศึกษาต่อ คณะกรรมการสถานศึกษา สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น พื้นฐาน ผูป้ กครองและชุมชน ข้อมูลการประเมินในระดับต่าง ๆ ข้างต้น เป็ นประโยชน์ในการตรวจสอบทบทวนพัฒนา คุณภาพนักเรี ยน ที่จะต้องจัดระบบดูแลช่วยเหลือ ปรับปรุ งแก้ไข ส่ งเสริ มสนับสนุนเพื่อให้นกั เรี ยน ได้พฒั นาเต็มตามศักยภาพบนพื้นฐาน ความแตกต่างระหว่างบุคคลที่จาํ แนกตามสภาพปั ญหาและ ความต้องการ ได้แก่ กลุ่ม นักเรี ยนทัว่ ไป กลุ่ม นักเรี ยนที่มีความสามารถพิเศษ กลุ่ม นักเรี ยนที่มี ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนตํ่า กลุ่มผูเ้ รี ยนที่มีปัญหาด้านวินั ยและพฤติกรรม กลุ่ม นักเรี ยนที่ปฏิเสธ โรงเรี ยน กลุ่ม นักเรี ยนที่มีปัญหาทางเศรษฐกิจและสังคม กลุ่มพิการทางร่ างกายและสติปัญญา เป็ น ต้น ข้อมูลจากการประเมินจึงเป็ นหัวใจของสถานศึกษาในการดําเนินการช่วยเหลือผูเ้ รี ยนได้ ทันท่วงที เปิ ดโอกาสให้ผเู ้ รี ยนได้รับการพัฒนาและประสบความสําเร็ จในการเรี ยน โรงเรี ยนดุสิตวิทยาได้จดั ทําระเบียบว่าด้วยการวัดและประเมินผลการเรี ยนของสถานศึกษา ที่สอดคล้องและเป็ นไปตามหลักเกณฑ์และแนวปฏิบตั ิท่ีเป็ นข้อกําหนดของหลักสู ตรสถานศึกษา เพื่อให้บุคลากรที่เกี่ยวข้องทุกฝ่ ายถือปฏิบตั ิร่วมกัน 2

2

เกณฑ์ การวัดและประเมินผลการเรียน ๑. การตัดสิ น การให้ระดับและการรายงานผลการเรี ยน ๑.๑ การตัดสิ นผลการเรียน ในการตัดสิ นผลการเรี ยนของกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ การอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และกิจกรรมพัฒนาผูเ้ รี ยนนั้น ผูส้ อนต้องคํานึงถึงการพัฒนา นักเรี ยนแต่ ละคนเป็ นหลัก และต้อง เก็บข้อมูลของนักเรี ยนทุกด้านอย่างสมํ่าเสมอและต่อเนื่องในแต่ละภาคเรี ยน รวมทั้งสอนซ่อมเสริ มผูเ้ รี ยนให้พฒั นาจนเต็มตามศักยภาพ โดยมีหลักเกณฑ์การวัดและประเมินผล การเรี ยนรู ้ ดังนี้ (๑) ผูเ้ รี ยนต้องมีเวลาเรี ยนไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ ๘๐ ของเวลาเรี ยนทั้งหมด (๒) ผูเ้ รี ยนต้องได้รับการประเมินทุกตัวชี้วดั และผ่านเกณฑ์ ในทุกตัวชี้วดั (๓) ผูเ้ รี ยนต้องได้รับการตัดสิ นผลการเรี ยนทุกรายวิชา ไม่นอ้ ยกว่าระดับ “ ๑ ” จึงจะถือว่าผ่านเกณฑ์ตามที่สถานศึกษากําหนด (๔)นักเรี ยนต้องได้รับการประเมิน และมีผลการประเมิน การอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน ในระดับ “ ผ่าน ” ขึ้นไป มีผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ใน ระดับ“ ผ่าน ” ขึ้นไป และมีผลการประเมินกิจกรรมพัฒนานักเรี ยน ในระดับ “ ผ่าน ”

หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรี ยนดุสิตวิทยา พุทธศักราช ๒๕๕๓

หน้า ๑๔๑


การพิจารณาเลื่อนชั้นทั้งระดับประถมศึกษา ถ้า นักเรี ยนมีขอ้ บกพร่ องเพียงเล็กน้อย และพิจารณาเห็นว่าสามารถพัฒนาและสอนซ่อมเสริ มได้ ให้ผอ่ นผันให้เลื่อนชั้นได้ แต่หาก นักเรี ยน ไม่ผา่ นรายวิชาจํานวนมาก และมีแนวโน้มว่าจะเป็ นปัญหาต่อการเรี ยนในระดับชั้นที่สูงขึ้น ให้ต้งั คณะกรรมการพิจารณาให้เรี ยนซํ้าชั้นได้ ทั้งนี้ให้คาํ นึงถึงวุฒิภาวะและความรู ้ ความสามารถของ นักเรี ยนเป็ นสําคัญ ๑.๒ การให้ ระดับผลการเรียน ระดับประถมศึกษา ในการตัดสิ นเพือ่ ให้ระดับผลการเรี ยนรายวิชา ให้ระดับผลการเรี ยนหรื อ ระดับคุณภาพการปฏิบตั ิของนักเรี ยน เป็ นระบบตัวเลขแสดงระดับผลการเรี ยนเป็ น ๘ ระดับดังนี้ ระดับผลการเรี ยน ๔ ๓.๕ ๓ ๒.๕ ๒ ๑.๕ ๑ ๐

ความหมาย ผลการเรี ยนดีเยีย่ ม ผลการเรี ยนดีมาก ผลการเรี ยนดี ผลการเรี ยนค่อนข้างดี ผลการเรี ยนน่าพอใจ ผลการเรี ยนพอใช้ ผลการเรี ยนผ่านเกณฑ์ข้นั ตํ่า ผลการเรี ยนตํ่ากว่าเกณฑ์

ช่วงคะแนนร้อยละ ๘๐ - ๑๐๐ ๗๕ - ๗๙ ๗๐ - ๗๔ ๖๕ - ๖๙ ๖๐ - ๖๔ ๕๕ - ๕๙ ๕๐ - ๕๔ ๐ - ๔๙

การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน และคุณลักษณะอันพึงประสงค์น้ นั ให้ ระดับผลการประเมินเป็ น ดีเยีย่ ม ดี ผ่าน และไม่ผา่ น การประเมินกิจกรรมพัฒนาผูเ้ รี ยน จะต้องพิจารณาทั้งเวลาการเข้าร่ วมกิจกรรม การ ปฏิบตั ิกิจกรรมและผลงานของผูเ้ รี ยน ตามเกณฑ์ที่สถานศึกษากําหนด และให้ผลการเข้าร่ วม กิจกรรมเป็ นผ่าน และไม่ผา่ น ๑.๓ การรายงานผลการเรียน การรายงานผลการเรี ยนเป็ นการสื่ อสารให้ผปู ้ กครองและนักเรี ยนทราบความก้าวหน้า ในการเรี ยนรู ้ของนักเรี ยน โรงเรี ยนจะสรุ ปผลการประเมินและจัดทําเอกสารรายงานให้ผปู ้ กครอง ทราบเป็ นระยะ ๆ หรื ออย่างน้อยภาคเรี ยนละ ๑ ครั้ง

หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรี ยนดุสิตวิทยา พุทธศักราช ๒๕๕๓

หน้า ๑๔๒


๒. เกณฑ์ การจบการศึกษา หลักสู ตรสถานศึกษา โรงเรี ยนดุสิตวิทยา พุทธศักราช ๒๕๕๓ กําหนดเกณฑ์กลางสําหรับ การจบการศึกษา ระดับประถมศึกษา ดังนี้ ๒.๑ เกณฑ์การจบระดับประถมศึกษา (๑) นักเรี ยนเรี ยนรายวิชาพื้นฐาน และรายวิชา /กิจกรรมเพิ่มเติมตามโครงสร้างเวลา เรี ยน ที่กาํ หนด (๒) นักเรี ยนต้องมีผลการประเมินรายวิชาพื้นฐาน ผ่านเกณฑ์การประเมิน ตามที่ กําหนด (๓) นักเรี ยนมีผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนในระดับผ่านเกณฑ์ การประเมินตามที่กาํ หนด (๔) นักเรี ยนมีผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ในระดับผ่านเกณฑ์การ ประเมินตามที่กาํ หนด (๕) นักเรี ยนเข้าร่ วมกิจกรรมพัฒนาผูเ้ รี ยนและมีผลการประเมินผ่านเกณฑ์การ ประเมินตามที่กาํ หนด สําหรับการจบการศึกษาสําหรับกลุ่มเป้ าหมายเฉพาะ เช่น การศึกษาสําหรับผูม้ ี ความสามารถพิเศษ หรื อ ผูม้ ีความต้องการพิเศษ คณะกรรมการสถานศึกษา จะพิจารณาตามความ เหมาะสมกับสภาพและบริ บทของนักเรี ยนเป็ นรายบุคคล และให้สอดคล้องตามหลักเกณฑ์และ วิธีการที่กระทรวงศึกษาธิ การกําหนด

เอกสารหลักฐานการศึกษา เอกสารหลักฐานการศึกษา เป็ นเอกสารสําคัญที่บนั ทึกผลการเรี ยน ข้อมูลและสารสนเทศ ที่เกี่ยวข้องกับพัฒนาการของผูเ้ รี ยนในด้านต่าง ๆ แบ่งออกเป็ น ๒ ประเภท ดังนี้ ๑. เอกสารหลักฐานการศึกษาทีก่ ระทรวงศึกษาธิการกําหนด ๑.๑ ระเบียนแสดงผลการเรี ยน เป็ นเอกสารแสดงผลการเรี ยนและรับรองผลการเรี ยน ของผูเ้ รี ยนตามรายวิชา ผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน ผลการประเมินคุณลักษณะ อันพึงประสงค์ของสถานศึกษา และผลการประเมินกิจกรรมพัฒนาผูเ้ รี ยน โรงเรี ยนจะบันทึกข้อมูล และออกเอกสารนี้ให้ผเู้ รี ยนเป็ นรายบุคคล เมื่อผูเ้ รี ยนจบการศึกษาระดับประถมศึกษา (ชั้น ประถมศึกษาปี ที่ ๖) จบการศึกษาภาคบังคับ(ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๓) จบการศึกษาขั้นพื้นฐาน(ชั้น มัธยมศึกษาปี ที่ ๖) หรื อเมื่อลาออกจากสถานศึกษาในทุกกรณี

หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรี ยนดุสิตวิทยา พุทธศักราช ๒๕๕๓

หน้า ๑๔๓


๑.๒ ประกาศนียบัตร เป็ นเอกสารแสดงวุฒิการศึกษาเพื่อรับรองศักดิ์และสิ ทธิ์ ของผู ้ จบการศึกษา ที่สถานศึกษาให้ไว้แก่ผจู ้ บการศึกษาภาคบังคับ และผูจ้ บการศึกษาขั้นพื้นฐานตาม หลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๑.๓ แบบรายงานผูส้ าํ เร็ จการศึกษา เป็ นเอกสารอนุมตั ิการจบหลักสู ตรโดยบันทึก รายชื่อและข้อมูลของผูจ้ บการศึกษาระดับประถมศึกษา (ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๖) ผูจ้ บการศึกษาภาค บังคับ (ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๓) และผูจ้ บการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๖) ๒. เอกสารหลักฐานการศึกษาที่โรงเรียนกําหนด เป็ นเอกสารที่โรงเรี ยนจัดทําขึ้นเพือ่ บันทึกพัฒนาการ ผลการเรี ยนรู้ และข้อมูลสําคัญ เกี่ยวกับนักเรี ยน ได้แก่ ๒.๑ แบบแสดงผลการพัฒนาคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (ปพ. ๔) เป็ น เอกสารรายงานผลการประเมินคุณธรรม จริ ยธรรม และค่านิยมอันพึงประสงค์ของผูเ้ รี ยน ๒.๒ แบบบันทึกผลการพัฒนาคุณภาพผูเ้ รี ยน (ปพ. ๕) เป็ นเอกสารที่ผสู้ อนจะ บันทึกข้อมูลการประเมินผลการเรี ยนรู ้รายวิชาต่าง ๆ ของผูเ้ รี ยน ๒.๓ แบบรายงานการพัฒนาคุณภาพผูเ้ รี ยนรายบุคคล (ปพ. ๖) เป็ นเอกสารบันทึก และรายงานพัฒนาการ และผลการเรี ยนรู ้ของผูเ้ รี ยนให้ผปู ้ กครองทราบ ๒.๔ ใบรับรองผลการศึกษา (ปพ. ๗) เป็ นเอกสารรับรองผลการศึกษาของผูเ้ รี ยน เป็ นการชัว่ คราว ๒.๕ ระเบียนสะสม (ปพ. ๘) เป็ นเอกสารบันทึกพัฒนาการด้านต่าง ๆ ของผูเ้ รี ยน ๒.๖ สมุดบันทึกผลการเรี ยนรู้ (ปพ. ๙) เป็ นเอกสารแสดงรายวิชาต่าง ๆ ตาม โครงสร้างหลักสู ตรของสถานศึกษาแต่ละช่วงชั้น และบันทึกผลการเรี ยนของผูเ้ รี ยนในแต่ ละรายวิชา เพือ่ ใช้สาํ หรับสื่ อสารหลักสู ตรและผลการเรี ยนของนักเรี ยนให้ผเู้ กี่ยวข้อง ทราบ สามารถใช้เป็ นหลักฐานการศึกษา และใช้เป็ นข้อมูลใน เอกสารเพือ่ เทียบโอนผลการ เรี ยน

การเทียบโอนผลการเรียน โรงเรี ยนดุสิตวิทยาได้กาํ หนดแนวทางในการเทียบโอนผลการเรี ยนของนักเรี ยนในกรณี ต่างๆได้แก่ การย้ายสถานศึกษา การเปลี่ยนรู ปแบบการศึกษา การย้ายหลักสู ตร การออกกลางคัน และขอกลับเข้ารับการศึกษาต่อ การศึกษาจากต่างประเทศ และขอเข้าศึกษาต่อในประเทศ รวมถึง การจัดการศึกษาโดยครอบครัว นักเรี ยนที่ได้รับการเทียบโอนผลการเรี ยนต้องศึกษาต่อเนื่องในสถานศึกษาที่รับเทียบโอน อย่างน้อย ๑ ภาคเรี ยน โดย โรงเรี ยนจะกําหนดรายวิชา/จํานวนหน่วยกิตที่จะรับเทียบโอนตามความ เหมาะสมและความสอดคล้องกับหลักสู ตรสถานศึกษาของโรงเรี ยน หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรี ยนดุสิตวิทยา พุทธศักราช ๒๕๕๓

หน้า ๑๔๔


การพิจารณาการเทียบโอน ของโรงเรี ยนดุสิตวิทยา ดําเนินการ ดังนี้ ๑) กรณี ผขู ้ อเทียบโอนมีผลการเรี ยนมาจากหลักสู ตรอื่น ให้นาํ รายวิชาหรื อหน่วยกิตที่มี ตัวชี้วดั /มาตรฐานการเรี ยนรู ้ /ผลการเรี ยนรู้ท่ีคาดหวัง/จุดประสงค์/เนื้อหาที่สอดคล้อง กันไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ ๖๐ มาเทียบโอนผลการเรี ยนและพิจารณาให้ระดับผลการเรี ยน ให้สอดคล้องกับหลักสู ตรที่รับเทียบโอน ๒) กรณี การเทียบโอนความรู ้ ทักษะและประสบการณ์ ให้พิจารณาจากเอกสารหลักฐาน (ถ้ามี) โดยให้มีการประเมินด้วยเครื่ องมือที่หลากหลายและให้ระดับผลให้สอดคล้อง กับหลักสู ตรที่รับเทียบโอน ๓) กรณี การเทียบโอนที่นกั เรี ยนเข้าโครงการแลกเปลี่ยนต่างประเทศ ให้ดาํ เนินการตาม ประกาศกระทรวงศึกษาธิการเรื่ องหลักการและแนวปฏิบตั ิการเทียบชั้นการศึกษา สําหรับนักเรี ยนที่เข้าร่ วมโครงการแลกเปลี่ยน ทั้งนี้ วิธีการเทียบโอนผลการเรี ยนให้เป็ นไปตามประกาศของกระทรวงศึกษาธิ การและ แนวปฏิบตั ิท่ีเกี่ยวข้อง

การบริหารจัดการหลักสู ตร ๑. การบริหารงานวิชาการ โรงเรี ยนดุสิตวิทยา ในฐานะโรงเรี ยนเอกชนสามัญ ภายใต้พระราชบัญญัติโรงเรี ยน เอกชน พุทธศักราช ๒๕๕๐ ให้หลักการบริ หารงานวิชาการแบบมีส่วนร่ วม โดย มีคณะกรรมการ บริ หารงานวิชาการประกอบด้วย ผูอ้ าํ นวยการโรงเรี ยน รองผูอ้ าํ นวยการโร งเรี ยน ผูช้ ่วย ผูอ้ าํ นวยการฝ่ ายวิชาการ ผูช้ ่วยผูอ้ าํ นวยการฝ่ ายอนุบาล ผูช้ ่วยผูอ้ าํ นวยการฝ่ ายสัมพันธ์ชุมชนและ กิจกรรมนักเรี ยน หัวกลุ่มสาระ ๘ กลุ่มสาระ และครู ฝ่ายงานทะเบียนวิชาการ ทําหน้าที่ เป็ นคณะกรรมการบริ หารหลักสู ตรของโรงเรี ยน โดยอยูภ่ ายใต้ความเห็นชอบของคณะกรรมการ อํานวยการโรงเรี ยน ซึ่ งประกอบไปด้วยประกอบด้วยผูร้ ับใบอนุญาต ผูจ้ ดั การ ผูอ้ าํ นวยการ ผูแ้ ทน ผูป้ กครอง ผูแ้ ทนครู และผูท้ รงคุณวุฒิ ในส่ วนการบริ หารงานวิชาการในแต่ละระดับชั้น หัวหน้า ระดับชั้นและหัวหน้ากลุ่มสาระเป็ นผูด้ าํ เนินการร่ วมกับครู ประจําชั้น และครู ประจําวิชามีการ กําหนดแผนปฏิบตั ิงานวิชาการ และงานกิจกรรมพัฒนาผูเ้ รี ยนอย่างชัดเจน เพื่อให้การใช้หลักสู ตร มีประสิ ทธิ ภาพยิง่ ขึ้น จึงกําหนดกิจกรรมด้านวิชาการ และกิจกรรมพัฒนาผูเ้ รี ยน ดังนี้ ๑.๑ โครงการตามแผนพัฒนาประจําปี ของโรงเรี ยน โรงเรี ยนได้จดั ทําโครงการต่าง ๆ ซึ่ ง ได้จดั ทําขึ้นเพื่อสนองยุทธศาสตร์ การบริ หารของโรงเรี ยน เช่น โครงการพัฒนาครู สู่ความเป็ นเลิศ โครงการสังสรรค์หรรษา เป็ นต้น

หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรี ยนดุสิตวิทยา พุทธศักราช ๒๕๕๓

หน้า ๑๔๕


๑.๒ กิจกรรมส่ งเสริ มการเรี ยนรู ้กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ ๘ กลุ่มสาระ เช่น โครงการวัน วิชาการ โครงการวันสําคัญ โครงการเด็กดุสิตใกล้ชิดธรร มะ โ ครงการความเป็ นเลิศทางวิชาการ โครงการ Reading Club โครงการ Fun Find Focus เป็ นต้น ๒. การบริหารทัว่ ไป ผูจ้ ดั การโรงเรี ยนมีหน้าที่ดูแลในเรื่ องของงานบริ หาร งานอาคารสถานที่และสิ่ งแวดล้อม งานชุมชนสัมพันธ์ งานอนามัย งานสาธารณูปโภคและงานดูแลนักเรี ยน โดยมีครู หรื อบุคลากร ของโรงเรี ยนที่ได้รับการแต่งตั้ง รับผิดชอบงานในด้านต่างๆตามความเหมาะสม ภายใต้การกํากับ ดูแล นิเทศ และติดตาม ของผูจ้ ดั การ โดยมี คณะกรรมการอํานวยการโรงเรี ยน เป็ นที่ปรึ กษา ๓. การบริหารงานบุคคลากร ผูอ้ าํ นวยการโรงเรี ยน มีหน้าที่ในการ ส่ งเสริ มและสนับสนุนในด้านการพัฒนาบุคลากร ในโรงเรี ยนให้ปฏิบตั ิหน้าที่ตามความสามารถและความถนัด รวมทั้งการส่ งบุคลากรเข้าร่ วม ประชุมสัมมนา อบรมพัฒนากิจกรรมการเรี ยนการสอน ดูงานที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาวิชาการ อย่างต่อเนื่อง ตลอดจนการสนับสนุนบุคลากรให้มีความก้าวหน้าในวิ ชาชีพในการทําผลงานวิชา ต่าง ๆ โดยมีคณะกรรมการอํานวยการโรงเรี ยน เป็ นที่ปรึ กษา ผูจ้ ดั การโรงเรี ยน มีหน้าที่ในการจัดการด้านสรรหา การให้ค่าตอบแทนและสวัสดิการ และ การให้บริ การด้านงานบุคคลตามความเหมาะสม ๔. การบริหารงบประมาณ ผูอ้ าํ นวยการและผูจ้ ดั การ นําเสนอแ ผนการใช้งบประมาณต่อผูร้ ับใบอนุญาต ซึ่ งเป็ นผูม้ ี อํานาจหน้าที่ในการอนุมตั ิงบประมาณในแต่ละปี หรื อตามวาระ โดยมี คณะกรรมการอํานวยการ โรงเรี ยน เป็ นที่ปรึ กษา แสดงความคิดเห็น และตรวจสอบ ๕. อืน่ ๆ ๕.๑ กาประเมินการใช้หลักสู ตรเป็ นส่ วนหนึ่งของการบริ หารหลักสู ตร เพื่อให้การใช้ หลักสู ตรเป็ นไปอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ โรงเรี ยนจึงกําหนดแนวทางการประเมินการใช้หลักสู ตร ดังนี้ ๕.๑.๑ ประเมินการใช้หลักสู ตร ๕.๑.๒ ประเมินระหว่างการใช้หลักสู ตร ๕.๑.๓ ประเมินหลังการใช้หลักสู ตร การประเมินก่อนการใช้หลักสู ตร โรงเรี ยนดุสิตวิทยาดําเนินการโดยให้คณะกรรมการ บริ หารงานวิชาการ ตลอดจนครู ผสู ้ อนของกลุ่มสาระการเรี ยนรู้เป็ นผูป้ ระเมินหลักสู ตรในด้าน โครงสร้างของหลักสู ตร มาตรฐานการเรี ยนรู ้ คําอธิ บายรายวิชา ตัวชี้วดั การเรี ยนรู ้ วางแผนก าร หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรี ยนดุสิตวิทยา พุทธศักราช ๒๕๕๓

หน้า ๑๔๖


จัดการเรี ยนรู ้ และการวัดผลและประเมินผลเพือ่ ตรวจสอบความชัดเจนถูกต้อง และสมบูรณ์ตาม หลักการของการจัดทําหลักสู ตร นําผลที่ได้มาปรับปรุ งแก้ไขส่ วนที่บกพร่ องเพื่อให้มีความสมบูรณ์ ก่อนนําหลักสู ตรไปใช้ การประเมินระหว่างการใช้หลักสู ตรจะมีการประเมินควบคู่ไปกับการปรับปรุ งแก้ไข การประเมินหลังการใช้หลักสู ตรเป็ นการประเมินเพื่อสรุ ปผลการใช้หลักสู ตรของโรงเรี ยน ทุกๆด้าน ๕.๒ การผลิตสื่ อการเรี ยนรู ้ และการประเมินการใช้สื่อการเรี ยนรู ้ โรงเรี ยนดุสิตวิทยา กําหนดหลักการและแนวคิดในการผลิตสื่ อการเรี ยนรู้ดงั นี้ ๕.๒.๑ เป็ นสื่ อการเรี ยนรู ้ที่เกิดจากการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง ของครู หรื อ นักเรี ยน ๕.๒.๒ เป็ นสื่ อการเรี ยนรู้ท่ีครู และนักเรี ยนช่วยกันวางแผนจัดทํา และพัฒนาขึ้น ใช้ในการเรี ยนการสอนร่ วมกัน ๕.๒.๓ รู ปแบบของสื่ อการเรี ยนการสอนต้องหลากหลาย และสอดคล้องกับ วิธีการเรี ยนรู ้ธรรมชาติของกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้และศักยภาพ ทั้งนี้สื่อการเรี ยนรู ้ที่นาํ มาใช้ในการจัดการเรี ยน มีท้งั สื่ อใก ล้ตวั สื่ อธรรมชาติ สื่ อ สิ่ งพิม พ์ สื่ อเทคโนโลยี และสื่ ออื่น ๆ ส่ วนการประเมินการใช้สื่อการเรี ยนรู้ ประเมินจากบั นทึกผล การใช้สื่อการเรี ยนรู้ในการจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอนในแต่ละครั้งแล้วนําผลการประเมินมา ปรับปรุ งแก้ไขโดยครู ผสู ้ อน ครู หวั หน้ากลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ และงานวิชาการดําเนินร่ วมกัน ๕.๓ การประกันคุณภาพการศึกษา โรงเรี ยนจัดให้มีระบบประกันคุณ ภาพการศึกษา เพื่อพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาทุกระดับชั้น และงานทุกงานของโรงเรี ยน ซึ่ งการ ประกันคุณภาพนี้ ประกอบด้วยระบบประกันคุณภาพภายใน ระบบประกันคุณภาพภายนอก ๕.๓.๑ ระบบประกันคุณภาพภายใน โรงเรี ยนได้ดาํ เนินการให้เป็ นส่ วนหนึ่งของกระบวนการบริ หาร การศึกษาอย่างต่อเนื่อง โดยมีการจัดทํารายงานคุณภาพการศึกษาประจําทุกปี เพื่อนําเสนอต่อ คณะกรรมการอํานวยการโรงเรี ยน ครู นักเรี ยน ผูป้ กครอง และชุมชน ซึ่ งนําไปสู่ การพัฒนา คุณภาพและมาตรฐานการศึกษา และการรับรองการประกันคุณภาพภายนอก ๕.๓.๒ ระบบการประกันคุณภาพภายนอก โรงเรี ยนมีกระบวนการบริ หารการศึกษา โดยคํานึงถึงมาตรฐาน วิชาการในกรอบหลักสู ตรและเกณฑ์มาตรฐานการศึกษา และโรงเรี ยนได้ผา่ นการประเมินจาก หน่วยงานรับรองมาตรฐาน และประเมินคุณภาพการศึกษาในรอบสองแล้ วและโรงเรี ยนได้ เตรี ยมพร้อมที่จะเข้ารับการประเมินในรอบต่อไป

หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรี ยนดุสิตวิทยา พุทธศักราช ๒๕๕๓

หน้า ๑๔๗


บรรณานุกรม กระทรวงศึกษาธิการ. ๒๕๕๑. หลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑. กรุ งเทพมหานคร: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จํากัด. สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาราชบุรี เขต ๒. ๒๕๕๒. กรอบหลักสู ตรระดับท้องถิ่นจังหวัดราชบุรี เอกสารลําดับที่ ๕/๒๕๕๒ (อัดสํ าเนา) สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. ๒๕๕๑. ตัวชี้วดั และสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชี พและเทคโนโลยี. กรุ งเทพมหานคร: โรงพิมพ์ชุมนุม สหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จํากัด. สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. ๒๕๕๑. ตัวชี้วดั และสาระการเรียนรู้แกนกลาง การเรียนรู้ คณิตศาสตร์ . กรุ งเทพมหานคร: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่ง ประเทศไทย จํากัด. สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. ๒๕๕๑. ตัวชี้วดั และสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาต่ างประเทศ. กรุ งเทพมหานคร: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์ การเกษตรแห่งประเทศไทย จํากัด. สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. ๒๕๕๑. ตัวชี้วดั และสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย. กรุ งเทพมหานคร: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่ง ประเทศไทย จํากัด. สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. ๒๕๕๑. ตัวชี้วดั และสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้ วทิ ยาศาสตร์ . กรุ งเทพมหานคร: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตร แห่งประเทศไทย จํากัด. สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. ๒๕๕๑. ตัวชี้วดั และสาระการเรียนรู้ แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ. กรุ งเทพมหานคร: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่ง ประเทศไทย จํากัด. สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. ๒๕๕๑. ตัวชี้วดั และสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม. กรุ งเทพมหานคร: โรงพิมพ์ ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จํากัด. สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. ๒๕๕๑. ตัวชี้วดั และสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา. กรุ งเทพมหานคร: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์ การเกษตรแห่งประเทศไทย จํากัด. สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. ๒๕๕๑. แนวทางการบริหารจัดการหลักสู ตร. กรุ งเทพมหานคร: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จํากัด. หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรี ยนดุสิตวิทยา พุทธศักราช ๒๕๕๓

หน้า ๑๔๘


สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. ๒๕๕๑. แนวปฏิบัติการวัดและประเมินผล การเรียนรู้. กรุ งเทพมหานคร: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จํากัด.

หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรี ยนดุสิตวิทยา พุทธศักราช ๒๕๕๓

หน้า ๑๔๙


คณะทํางานจัดทําหลักสู ตรสถานศึกษา โรงเรียนดุสิตวิทยา ประธานคณะทํางาน นายธี รภัทร กุโลภาส

ผูอ้ าํ นวยการโรงเรี ยน

รองประธานคณะทํางาน นางปราณี วรสุ ทธิ์ พิศาล

รองผูอ้ าํ นวยการโรงเรี ยน

คณะทํางาน นางศิริพร โพธิ์ ช่ ืน นางสาวสมหมาย ใจซื่อ นางอุไรวรรณ พรหมมะ นางอํานวยพร เจริ ญบุตรนนท์ นางฐานิส วรสุ ทธิ์ พิศาล นางเมตตา เติมเกาะ นางเจติยา นิลใส นางสาวสุ วรรณา ธัญญธาดา นางสาววิภา สิ งหภักดี นางสาวนิตยา ฮวดโสภา

นางอําพัน บรรจงคชาธาร นางนงนุช ทองทา นางสาวสุ รัสวดี องคะลอย นางสาวฌานิกา คูเจริ ญทรัพย์ นางสาวแคทรี ยา สถิตบรรจง นางสาวยุรนันท์ พลายละหาร นางสาวนิศรา ทิวากร นางสาวนันทิดา กิจเจริ ญถาวร นายพีรวิชญ์ พงศ์พานิช นายมนตรี พระสมิง

กรรมการและเลขานุการ นางสายชล พรหมดํา ผูช้ ่วยผูอ้ าํ นวยการฝ่ ายวิชาการ กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ นางสมพร เปรมจิตต์ ผูช้ ่วยผูอ้ าํ นวยการฝ่ ายสัมพันธ์ชุมชน

หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรี ยนดุสิตวิทยา พุทธศักราช ๒๕๕๓

หน้า ๑๕๐


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.