Living Will คู่มือสำหรับผู้ประกอบวิชาชีพ ด้านสาธารณสุข

Page 1

Living Will คู่มือสำหรับผู้ประกอบวิชาชีพ

ด้านสาธารณสุข

จัดทำโดย ภาควิชาเวชศาสตร์ครอบครัว คณะแพทยศาสตร์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 1





คู่มือสำ�หรับผู้ประกอบวิชาชีพด้านสาธารณสุข ในการใช้หนังสือแสดงเจตนาไม่ประสงค์จะรับบริการสาธารณสุข ที่เป็นไปเพียงเพื่อยืดการตายในวาระสุดท้ายของชีวิต หรือเพื่อยุติการทรมานจากการเจ็บป่วย คู่มือฉบับนี้เขียนขึ้นสำ�หรับผู้ประกอบวิชาชีพด้านสาธารณสุข1 เพื่อช่วยในการใช้หนังสือ แสดงเจตนา2 และเพือ่ ให้ค�ำ ปรึกษาเกีย่ วกับการใช้หนังสือแสดงเจตนาแก่ผปู้ ว่ ยแบบประคับประคอง และระยะท้าย อ้างอิงจากพระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2550 มาตรา 12 “บุคคลมีสิทธิ ทำ�หนังสือแสดงเจตนาไม่ประสงค์จะรับบริการสาธารณสุขที่เป็นไปเพียงเพื่อยืดการตายในวาระ สุดท้ายของชีวิตตน หรือเพื่อยุติการทรมานจากการเจ็บป่วยได้” หากท่านต้องการอ่านเพิ่มเติมเกี่ยวกับวิธีการดำ�เนินการตามหนังสือแสดงเจตนา คู่มือ ฉบันนีอ้ า้ งอิงจากประกาศสำ�นักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ เรือ่ ง แนวทางการปฏิบตั งิ านของ สถานบริการสาธารณสุข ผูป้ ระกอบวิชาชีพด้านสาธารณสุข และเจ้าหน้าทีข่ องสถานบริการสาธารณสุข ตามกฎกระทรวงกำ�หนดหลักเกณฑ์และวิธีการดำ�เนินการตามหนังสือแสดงเจตนาไม่ประสงค์ จะรับบริการสาธารณสุขทีเ่ ป็นไปเพียงเพือ่ ยืดการตายในวาระสุดท้ายของชีวติ หรือเพือ่ ยุตกิ ารทรมาน จากการเจ็บป่วย พ.ศ. 2553 ซึ่งสามารถศึกษาเพิ่มเติมได้จาก www.thailivingwill.in.th

ผู้ประกอบวิชาชีพด้านสาธารณสุข หมายถึง แพทย์ พยาบาล ทันตแพทย์ เภสัชกร นักกายภาพบำ�บัด นักเทคนิค การแพทย์ หรือผู้ประกอบวิชาชีพตามที่รัฐมนตรีกำ�หนด 2 หนังสือแสดงเจตนา หมายถึง หนังสือแสดงเจตนาไม่ประสงค์จะรับบริการสาธารณสุขที่เป็นไปเพียงเพื่อยืดการ ตายในวาระสุดท้ายของชีวิตตน หรือเพื่อยุติการทรมานจากการเจ็บป่วย 1

5


สารบัญ

1. หลักการและประโยชน์ของหนังสือแสดงเจตนา สำ�หรับผู้ประกอบวิชาชีพด้านสาธารณสุข 2. ข้อมูลเกี่ยวกับหนังสือแสดงเจตนา 2.1. วัตถุประสงค์ของหนังสือแสดงเจตนา 2.2. ผู้ที่สามารถทำ�หนังสือแสดงเจตนา 2.3. การเจ็บป่วยวาระสุดท้ายของชีวิต 2.4. บริการทางสาธารณสุขที่เป็นไปเพียงเพื่อยืดการตายในวาระ สุดท้ายของชีวิตตน หรือเพื่อยุติความทรมานจากการเจ็บป่วย 2.5. การยุติการให้บริการสาธารณสุข 2.6. ผู้แสดงเจตนาแทน 2.7. การขอความร่วมมืออื่น ๆ 2.8. พยานในหนังสือแสดงเจตนา 2.9. การเปลี่ยนแปลงหรือยกเลิกหนังสือแสดงเจตนา 3. วิธีการใช้หนังสือแสดงเจตนาสำ�หรับผู้ประกอบวิชาชีพด้านสาธารณสุข 3.1. การประเมินสติสัมปชัญญะของผู้ทำ�หนังสือแสดงเจตนา 3.2. การให้คำ�ปรึกษาเกี่ยวกับการทำ�หนังสือแสดงเจตนาแก่บุคคล ทั่วไปหรือผู้ป่วย 3.3. สิ่งที่ต้องปฏิบัติเมื่อผู้ป่วยที่มีหนังสือแสดงเจตนาเข้ารักษาตัว ในสถานพยาบาล 3.4. การตัดสินใจปฏิบัติตามความประสงค์ในหนังสือแสดงเจตนา 3.5. การส่งตัวผู้ทำ�หนังสือแสดงเจตนาที่ทำ�หนังสือแสดงเจตนา กลับบ้าน

6

หน้า 7 10

12


1

หลักก�รและประâยชน์ของหนังสือแสดงเจตน�สำ�หรับผูป้ ระกอบวิช�ชีพด้�นส�ธ�รณสุข

หนังสือแสดงเจตน�จะช่วยให้ผู้ประกอบวิช�ชีพด้�นส�ธ�รณสุขส�ม�รถให้ก�รดูแลผู้ทำ� หนังสือแสดงเจตน�หรือญ�ติผู้ทำ�หนังสือแสดงเจตน� โดยใช้หนังสือดังกล่�วเป็นข้อมูลประกอบ ก�รว�งแผนและก�รดูแลรักษ� ในขณะที่ผู้ทำ�หนังสือไม่อ�จแสดงเจตน�โดยวิธีก�รสื่อส�รกับผู้อื่น ได้ต�มปกติ

ท่�นกังวลหรือไม่ว�่ จะมีคว�มผิดห�กป¯ิบตั ติ �มทีผ่ ปู้ ว่ ยร้องขอแล้วผูป้ ว่ ยเสียชีวติ ? ก�รดูแลผู้ทำ�หนังสือแสดงเจตน�เพื่อให้มีคุณภ�พชีวิตที่ดีขึ้นต�มคว�มประสงค์ที่ได้ แสดงไว้ในหนังสือแสดงเจตน�ไม่ถือเป็นความผิดตามกฎหมาย ก�รทำ�หนังสือแสดงเจตน�ไม่ใช่ก�รทำ�ก�รุณยฆ�ต (mercy killing)

ท่�นกังวลหรือไม่ว�่ จะมีคว�มผิดห�กท่�นไม่ยนิ ยอมป¯ิบตั ติ �มทีผ่ ปู้ ว่ ยร้องขอ? ก�รไม่ให้ก�รดูแลต�มทีผ่ ทู้ �ำ หนังสือแสดงเจตน�ระบุไว้ ไม่ถอื ว่�มีคว�มผิดต�มกฎหม�ย ห�กได้ปฏิบตั ติ �มหลักจริยธรรมแห่งวิช�ชีพในก�รดูแล โดยต้องแจ้งให้ผทู้ �ำ หนังสือแสดงเจตน�ทร�บ ถึงเหตุผลทีไ่ ม่ปฏิบตั ติ �มหนังสือแสดงเจตน� และควรปรึกษ�ให้ผปู้ ระกอบวิช�ชีพด้�นส�ธ�รณสุข ท่�นอืน่ เข้�ม�ช่วยในก�รดูแลผูท้ �ำ หนังสือแสดงเจตน�ต�มคว�มเหม�ะสม 7


8


9


2

ข้อมูลเกี่ยวกับหนังสือแสดงเจตนา

2.1 วัตถุประสงค์ของหนังสือแสดงเจตนา หนังสือแสดงเจตนา คือ หนังสือซึ่งบุคคลแสดงเจตนาไว้ล่วงหน้าตั้งแต่ตอนที่ยังสามารถ ตัดสินใจได้ดว้ ยตนเอง ว่าไม่ประสงค์จะรับบริการสาธารณสุขทีเ่ ป็นไปเพียงเพือ่ ยืดการตายในวาระ สุดท้ายของชีวติ ตน หรือเพือ่ ยุตกิ ารทรมานจากการเจ็บป่วย 2.2 ผู้ที่สามารถทำ�หนังสือแสดงเจตนา แนะนำ�ให้ใช้ในบุคคลทีม่ อี ายุตง้ั แต่ 18 ปี ตามประกาศสิทธิและข้อพึงปฏิบตั ขิ องผูป้ ว่ ย หาก เป็นผูเ้ ยาว์จะต้องได้รบั ความยินยอมจากบิดา มารดา ผูป้ กครอง หรือผูอ้ ปุ การะเลีย้ งดู โดยปกติจะ แนะนำ�ให้ผปู้ ว่ ยประคับประคองหรือระยะท้ายทีย่ งั มีสติสมั ปชัญญะปกติ และสามารถตัดสินใจเลือก แนวทางการรักษาทำ�หนังสือแสดงเจตนาขึน้ 2.3 การเจ็บป่วยวาระสุดท้ายของชีวิต วาระสุดท้ายของชีวติ หมายความว่า ภาวะอันเกิดจากการบาดเจ็บหรือโรคทีไ่ ม่อาจหายได้ นำ�ไปสู่การตายอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ในระยะเวลาอันใกล้จะถึง รวมถึงสภาพผักถาวร หนังสือแสดงเจตนาจะถูกทำ�ขึ้นเมื่อใดก็ได้ แต่การปฏิบัติตามเจตนาที่แสดงไว้ในหนังสือ แสดงเจตนาจะเกิดขึน้ เมือ่ ผูท้ �ำ หนังสือแสดงเจตนาเกิดความเจ็บป่วยในวาระสุดท้ายของชีวติ เท่านัน้ 2.4 บริการทางสาธารณสุขที่เป็นไปเพียงเพื่อยืดการตายในวาระสุดท้ายของชีวิตตน ผู้ทำ�หนังสือแสดงเจตนาสามารถปฏิเสธบริการทางสาธารณสุขที่ไม่เป็นประโยชน์ต่อ คุณภาพชีวิตในระยะยาว แต่อาจมีผลเพียงช่วยยืดการตายออกไป หรือบริการสาธารณสุขที่ทำ� ให้เกิดความทุกข์ทรมานต่อร่างกาย ยกตัวอย่างเช่น การกดนวดหัวใจ การใส่ท่อช่วยหายใจผ่าน หลอดลม การเจาะคอเพื่อใส่ท่อช่วยหายใจ การให้ยากระตุ้นระบบไหลเวียนเลือด การฟอกไต เป็นต้น 2.5 การยุติการให้บริการสาธารณสุข แพทย์ผู้ให้การดูแลรักษาผู้ทำ�หนังสือแสดงเจตนาโดยไม่ถึงทราบข้อความในหนังสือมา ก่อน ควรยุติการรักษาที่ดำ�เนินไปแล้ว (withdraw) แต่ยังคงให้การดูแลรักษาแบบประคับประคอง ทั้งนี้แพทย์ควรพูดคุยกับญาติหรือบุคคลใกล้ชิดให้เข้าใจก่อนดำ�เนินการในเรื่องนี้เพื่อป้องกันความ เข้าใจผิด 10


2.6 ผู้แสดงเจตนาแทน ผู้ทำ�หนังสือแสดงเจตน�ส�ม�รถระบุชื่อผู้ใกล้ชิด เป็นผู้แสดงเจตน�แทน ต�มกฎหม�ย เรียกว่� “ผูท้ �ำ หน้�ทีอ่ ธิบ�ยคว�มประสงค์ทแ่ี ท้จริงของผูท้ �ำ หนังสือแสดงเจตน�” ซึง่ จะเป็นใครก็ได้ เช่น สม�ชิกในครอบครัว คนใกล้ชดิ เพือ่ น ผูท้ เ่ี ค�รพนับถือหรือไว้ว�งใจ โดยมีหน้�ที่ - อธิบ�ยคว�มประสงค์ที่แท้จริงของผู้ทำ�หนังสือแสดงเจตน�ที่ระบุไว้ไม่ชัดเจน - ร่วมตัดสินใจเกี่ยวกับแนวท�งก�รรักษ�กับผู้ประกอบวิช�ชีพด้�นส�ธ�รณสุข 2.7 การขอความร่วมมืออื่น ๆ หนังสือแสดงเจตน�อ�จระบุร�ยละเอียดอื่น ๆ เช่น คว�มประสงค์ในก�รเสียชีวิต ณ สถ�นทีใ่ ด คว�มประสงค์ทจ่ี ะได้รบั ก�รเยียวย�ท�งจิตใจ และก�รปฏิบตั ติ �มประเพณีและคว�มเชือ่ ท�งศ�สน� ทั้งนี้สถ�นบริก�รส�ธ�รณสุขให้คว�มร่วมมือทำ�ต�มหนังสือแสดงเจตน�นี้ต�มสมควร โดยคำ�นึงถึงศักยภ�พ ภ�ระหน้�ที่ของบุคล�กรในสถ�นบริก�รส�ธ�รณสุขแห่งนั้นเป็นสำ�คัญ 2.8 พยานในหนังสือแสดงเจตนา ควรมีพย�นรู้เห็นในขณะทำ�หนังสือแสดงเจตน�ทั้งสองฝ่�ย ได้แก่ พย�นฝ่�ยผู้ทำ� หนังสือแสดงเจตน� กับพย�นฝ่�ยผู้ให้ก�รดูแลรักษ� เพื่อประโยชน์ในก�รพิสูจน์หรือยืนยันเนื้อห� ในหนังสือดังกล่�วในกรณีที่มีข้อสงสัยเรื่องคว�มถูกต้อง โดยพย�นฝ่�ยผู้รักษ�จะมีหรือไม่มีก็ได้ 2.9 การเปลี่ยนแปลงหรือยกเลิกหนังสือแสดงเจตนา ผู้ทำ�หนังสือแสดงเจตน�ส�ม�รถยกเลิกหรือแก้ไขเปลี่ยนแปลงหนังสือเมื่อใดก็ได้ และ ควรแจ้งให้ผู้เกี่ยวข้องทร�บ

11


3

วิธีการใช้หนังสือแสดงเจตนาสำ�หรับผู้ประกอบวิชาชีพด้านสาธารณสุข

3.1. การประเมินสติสัมปชัญญะของผู้ทำ�หนังสือแสดงเจตนา ผู้ทำ�หนังสือแสดงเจตนาจะต้องมีสติสัมปชัญญะบริบูรณ์ขณะทำ�หนังสือแสดงเจตนา ซึ่ง ผูป้ ระกอบวิชาชีพด้านสาธารณสุขสามารถประเมินสติสมั ปชัญญะของผูป้ ว่ ยได้ดว้ ยตนเอง โดยต้องมี ครบทุกข้อดังต่อไปนี้ - มีความสามรถสื่อสารกับคนทั่วไปได้ตามปกติ - เข้าใจกาลเวลาและสภาพแวดล้อมต่าง ๆ รอบตัว - จดจำ�เรื่องราวในอดีตของตนเองได้ - มีความเข้าใจเนื้อหาในหนังสือแสดงเจตนา - สามารถวางแผนล่วงหน้าเกี่ยวกับชีวิตตนเองได้ 3.2. การให้คำ�ปรึกษาเกี่ยวกับการทำ�หนังสือแสดงเจตนาแก่บุคคลทั่วไปหรือผู้ป่วย - การทำ�หนังสือแสดงเจตนาเป็นสิทธิผปู้ ว่ ยทีจ่ ะเลือกทำ�หรือไม่ท�ำ ก็ได้ตามความสมัครใจ - ก่อนทำ�หนังสือแสดงเจตนา ผูป้ ระกอบวิชาชีพด้านสาธารณสุขควรอธิบายถึงวัตถุประสงค์ ในการทำ�หนังสือแสดงเจตนา ผลดีหรือผลเสียทีจ่ ะเกิดขึน้ - หากผูท้ �ำ หนังสือเป็นผูป้ ว่ ย แพทย์ควรอธิบายแนวทางการรักษาในอนาคตเมือ่ อยูใ่ นวาระ สุดท้ายของชีวติ และควรบอกข้อมูลเกีย่ วกับภาวะและความเป็นไปของโรคทีเ่ ป็นจริงใน ขณะนัน้ - หนังสือแสดงเจตนาสามารถทำ� ณ สถานทีใ่ ดก็ได้ แต่ควรกระทำ�ทีส่ ถานบริการสาธารณสุข เพือ่ ขอคำ�แนะนำ�จากผูป้ ระกอบวิชาชีพด้านสาธารณสุข - ผู้ทำ�หนังสือแสดงเจตนาอาจให้ผู้อื่นเป็นผู้เขียนแทนให้ได้ เช่น ในกรณีที่ผู้ทำ�หนังสือไม่ สามารถเขียนหนังสือได้ แต่ยังมีสติสัมปชัญญะดีอยู่ โดยจะต้องพิมพ์ลายนิ้วมือของผู้ แสดงเจตนา ลงนามผูเ้ ขียนแทน และมีพยานลงนามรองรับ 2 คน - การทำ�หนังสือควรมีพยานรู้เห็น และควรแจ้งให้ผู้ที่ไว้วางใจและสมาชิกในครอบครัว ทราบด้วย - ผู้ทำ�หนังสือแสดงเจตนาระบุข้อมูลต่าง ๆ ในหนังสือแสดงเจตนาตาม “ข้อที่ 2 ข้อมูล เกี่ยวกับหนังสือแสดงเจตนา” ให้ครบถ้วน ได้แก่ ข้อมูลส่วนบุคคลของผู้ทำ�หนังสือ และพยาน วันเดือนปีที่ทำ�หนังสือ ประเภทของบริการสาธารณสุขที่ไม่ต้องการ ชื่อผู้ แสดงเจตนาแทน และรายละเอียดอื่น ๆ โดยในส่วนประเภทของบริการสาธารณสุข ที่ไม่ต้องการ ผู้ทำ�หนังสือควรปรึกษากับผู้ประกอบวิชาชีพด้านสาธารณสุขหรือผู้ที่มี ความรู้ความเข้าใจในเรื่องนี้ - ให้คำ�แนะนำ�เกี่ยวกับการเก็บรักษา และการยกเลิกหรือเปลี่ยนแปลงหนังสือ 12


ผูท้ �ำ หนังสือแสดงเจตนาควรจัดเก็บหนังสือไว้เอง หรือมอบให้บคุ คลทีใ่ กล้ชดิ เก็บไว้ และมอบสำ�เนาหนังสืออย่างละ 1 ฉบับ (รับรองความถูกต้องของสำ�เนา) ให้แก่ ญาติ พยาน ผูแ้ สดงเจตนาแทน หรือแพทย์ทเ่ี คยให้การรักษา เพือ่ ให้ทราบความประสงค์ ของผูท้ �ำ หนังสือ สามารถแก้ไขปรับปรุงเนือ้ หาของหนังสือเมือ่ ใดก็ได้ โดยขีดฆ่าหรือเพิม่ เติมข้อความ ใหม่แล้วลงลายมือชือ่ กำ�กับไว้ ควรระบุวนั ทีแ่ ก้ไข โดยมีพยานรูเ้ ห็นยืนยันการแก้ไข การยกเลิกหนังสือแสดงเจตนา สามารถทำ�ได้โดยการทำ�ลายหรือขีดฆ่าหนังสือ แสดงเจตนา และแจ้งด้วยวาจาแก่ผู้เกี่ยวข้อง คือ พยาน ผู้ที่มีชื่อระบุในหนังสือ ผู้ประกอบวิชาชีพด้านสาธารณสุขที่เคยรับทราบเรื่องการทำ�หนังสือนี้ ถ้ามีสำ�เนา หนังสือแสดงเจตนาเก็บไว้ที่สถานบริการสาธารณสุขต้องแจ้งการยกเลิกให้ทราบ โดยเร็ว - แนะนำ�ให้ผู้ทำ�หนังสือแสดงเจตนายื่นหนังสือแสดงเจตนาแก่ผู้ประกอบวิชาชีพด้าน สาธารณสุข เมื่อผู้ทำ�หนังสือแสดงเจตนาเข้ารักษาตัวในสถานพยาบาล

3.3. สิ่งที่ต้องปฏิบัติเมื่อผู้ป่วยที่มีหนังสือแสดงเจตนาเข้ารักษาตัวในสถานพยาบาล - ผูป้ ระกอบวิชาชีพด้านสาธารณสุขขอสำ�เนาหนังสือแสดงเจตนา ผูท้ �ำ หนังสือรับรองความ ถูกต้องของสำ�เนา เก็บสำ�เนาของหนังสือแสดงเจตนาไว้ในเวชระเบียน และส่งคืนหนังสือ แสดงเจตนาฉบับจริงแก่ผทู้ �ำ หนังสือแสดงเจตนา - หากมีหนังสือแสดงเจตนาหลายฉบับ ให้ถอื ฉบับทีท่ �ำ หลังสุดทีย่ น่ื ให้ตอ่ แพทย์ผรู้ บั ผิดชอบ การรักษาเป็นฉบับทีม่ ผี ลบังคับใช้ - แพทย์ควรบันทึกข้อมูลในเวชระเบียน พยาบาลควรบันทึกข้อมูลในบันทึกทางการพยาบาล - หากผูท้ �ำ หนังสือแสดงเจตนาถูกย้ายไปรักษาตัวทีส่ ถานพยาบาลอืน่ ให้ท�ำ สำ�เนาหนังสือ แสดงเจตนาเพิม่ อีก 1 ชุด ส่งพร้อมกับสรุปประวัตกิ ารรักษา 3.4. การตัดสินใจปฏิบัติตามความประสงค์ในหนังสือแสดงเจตนา - ในกรณีผทู้ �ำ หนังสือแสดงเจตนายังมีสติสมั ปชัญญะดีพอทีจ่ ะสือ่ สารได้ตามปกติ ให้แพทย์ อธิบายภาวะและความเป็นไปของโรคให้แก่ผทู้ �ำ หนังสือแสดงเจตนา เพือ่ ยืนยันการปฏิบตั ิ ตามหนังสือแสดงเจตนา - ในกรณีที่ผู้ทำ�หนังสือแสดงเจตนาไม่มีสติสัมปชัญญะดีพอที่จะสื่อสารได้ตามปกติ ให้ อธิบายภาวะและความเป็นไปของโรคแก่ผแู้ สดงเจตนาแทนหรือญาติใกล้ชดิ ก่อนปฏิบตั ิ ตามหนังสือแสดงเจตนา หากไม่มญ ี าติใกล้ชดิ ให้แพทย์ปฏิบตั ติ ามมาตรฐานวิชาชีพโดย 13


คำ�นึงถึงประโยชน์สงู สุดของผูท้ �ำ หนังสือแสดงเจตน�เป็นสำ�คัญ - ห�กไม่ส�ม�รถห�ข้อยุติร่วมกันระหว่�งผู้ประกอบวิช�ชีพด้�นส�ธ�รณสุขกับญ�ติ ให้ คำ�นึงถึงเจตน�ของผูท้ �ำ หนังสือและหลักก�รดูแลแบบประคับประคองเป็นสำ�คัญ - ห�กมีขอ้ สงสัยในคว�มถูกต้องของหนังสือแสดงเจตน� ให้สอบถ�มจ�กผูท้ �ำ หนังสือแสดง เจตน� ญ�ติทน่ี �ำ ผูท้ �ำ หนังสือเข้�รักษ�ตัว หรือสอบถ�มจ�กพย�นหรือผูท้ ม่ี ชี อ่ื ระบุในหนังสือ - กรณีผู้ทำ�หนังสือแสดงเจตน�อยู่ระหว่�งก�รตั้งครรภ์ ให้แพทย์ระงับก�รปฏิบัติต�ม หนังสือแสดงเจตน�ชัว่ คร�วจนกว่�ผูน้ น้ั จะพ้นจ�กสภ�พตัง้ ครรภ์ เพือ่ คุม้ ครองชีวติ ในครรภ์

3.5. การส่งตัวผู้ทำาหนังสือแสดงเจตนาที่ทำาหนังสือแสดงเจตนากลับบ้าน ผู้ประกอบวิช�ชีพด้�นส�ธ�รณสุขควรอำ�นวยคว�มสะดวกในก�รส่งผู้ทำ�หนังสือแสดง เจตน�ต�มคว�มเหม�ะสม อ�จเขียนใบรับรองแพทย์ให้แก่ผู้ทำ�หนังสือแสดงเจตน� เพื่อใช้เป็น คว�มเห็นประกอบก�รขอใบมรณบัตรต�มคว�มเหม�ะสม

14


ร�ยชื่อผู้จัดทำ� พญ.ภวิก� ทั้งสุข พญ.อิสรีย์ ศิริวรรณกุลธร พญ.ญ�ณี โชคสมง�ม พญ.นิด� บัววังโป่ง อ.พญ.ลลิต� จุฑ�รัตน�กูล อ.พญ.นิศ�ชล เดชเกรียงไกรกุล รศ.พญ.วิชุด� จิรพรเจริญ ภ�ควิช�เวชศ�สตร์ครอบครัว คณะแพทยศ�สตร์ มห�วิทย�ลัยเชียงใหม่


16


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.