รายงานความยั่งยืน ประจําป 2562
#สะกิดไทยใสใจนํ้า
URD
USEFUL คุมคา ใชนํ้าอยางคุมคา ไมทิ้งใหเปลาประโยชน
RESERVE คาดการณ จัดสรร คาดการณ สํารองนํ้า ไวใชอยางพอเพียง และเพียงพอ
DETECT ควบคุม ควบคุมและสังเกตพฤติกรรม การใชนํ้าของตนเองอยางสมํ่าเสมอ
วิสัยทัศน
เพื่อการเติบโตอยางยั่งยืน
ผูนํา
เปน
ใน การบริหาร
จัดการนํ้า ครบวงจร ของ
ประเทศ
คานิยมองคกร (Disclosure 102-16)
S
Stakeholder Focus การใหความสําคัญ ผูมีสวนไดเสีย
H
Holistic Thinking การคิดในมุมมอง องครวม
พันธกิจ ต อ ผู มี ส วนได เสี ย
1. สรางความมั่นคงและรักษาเสถียรภาพดานแหลงนํ้า เพือ ่ สรางความเชือ ่ มัน ่ และตอบสนองตอความตองการ ของผูใ ชนาํ้ ระยะยาว 2. ขยายการลงทุนในธุรกิจนํา้ อยางครบวงจร เพือ ่ การเติบโต อยางตอเนือ ่ งและยัง ่ ยืน 3. เพิ่มขีดความสามารถในการแขงขันดวยเทคโนโลยี และนวัตกรรมทีท ่ น ั สมัย 4. พัฒนาศักยภาพของบุคลากรและปรับปรุงโครงสราง การบริ ห ารของกลุ ม บริ ษั ท เพื่ อ การบริ ห ารอย า ง มีป ระสิ ท ธิ ภ าพ 5. รับผิดชอบตอชุมชน สังคม สิ่งแวดลอม และสราง ความสัมพันธทด ี่ ก ี บ ั ผูม ส ี ว นไดเสีย ดวยความโปรงใส ตามหลักธรรมาภิบาล
A
Adaptability
ความสามารถ ในการปรับเปลี่ยน
R
Result Acceleration กระตือรือรน ทําใหเกิดผลสัมฤทธิ์
P
Proactive & Creative Thinking
มีความคิดเชิงรุก และความคิดสรางสรรค
สารบัญ
06
สารจากกรรมการ ผู้อ�ำนวยการใหญ่
08
เปิดบ้านอีสท์ วอเตอร์
• • • • • • • • •
โครงสร้างธุรกิจกลุม่ บริษทั อีสท์ วอเตอร์ การบริหารจัดการห่วงโซ่อุปทาน ผลงานและรางวัลความยั่งยืน ปี 2562 โครงสร้างการก�ำกับดูแลกิจการ เกี่ยวกับรายงานฉบับนี้ แนวทางในการก�ำหนดประเด็นสาระส�ำคัญ ต่อความยั่งยืนของอีสท์ วอเตอร์ ประเด็ น สาระส� ำ คั ญ ด้ า นความยั่งยืน ผลการประเมิ น ประเด็ น ความยั่ ง ยื น ที่ส�ำคัญ ปี 2562 ความยั่งยืนระดับนโยบาย
28
มิติเศรษฐกิจและธรรมาภิบาล
• • • • •
หลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี การบริหารจัดการคู่ค้าอย่างยั่งยืน การสร้ า งการเติ บ โตอย่ า งยั่ ง ยื น ด้วยการบริหารจัดการน�ำ้ ครบวงจร การบริหารความพึงพอใจลู กค้า กลุ่มธุรกิจน�้ำดิบ การบริหารความพึงพอใจลู กค้า กลุ่มธุรกิจน�้ำประปา
44
มิติสิ่งแวดล้อม
• • • •
ความรับผิดชอบในกระบวนการด�ำเนินงาน ความรับผิดชอบต่อการเปลี่ยนแปลง ของคุณภาพแหล่งน�้ำ การรับมือต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพ ภูมิอากาศ นวัตกรรมเพื่อสิ่งแวดล้อม
58
มิติสังคม
• • • • • • •
การสร้างคุณค่าเพิม่ สูบ่ คุ ลากรคุณภาพ การพัฒนาสู่องค์กรน�้ำระดับประเทศ การดูแลคุณภาพชีวติ ของพนักงาน การแบ่งปันความรูส้ สู่ งั คม ความปลอดภั ย อาชี ว อนามั ย และ สภาพแวดล้อมในการท�ำงาน ความรับผิดชอบต่อผลกระทบจากการ ก่อสร้าง โครงการเพือ่ ความยัง่ ยืนของชุมชน
90
ภาคผนวก
110 GRI Content Index
6
รายงานความยั่งยืน 2562 บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)
บริษัทยังคงมุ่งมั่นในการบริหาร จัดการน�้ำด้วยศักยภาพ และความเชีย ่ วชาญ เพือ ่ ร่วมขับเคลือ ่ น เศรษฐกิจของประเทศ รวมถึงสร้าง เสถียรภาพด้านน�้ำให้คงอยู่ตลอดไป โดยไม่ลดทอนคุณภาพชีวิต และสิ่งแวดล้อมของสังคมโดยรวม
นายจิรายุทธ รุ่งศรีทอง กรรมการผู้อ�ำนวยการใหญ่
รายงานความยั่งยืน 2562 #สะกิดไทยใส่ใจน�้ำ
สารจาก กรรมการผู้อ�ำนวยการใหญ่
(Disclosure 102-14) ปัจจุบันโลกของเราก�ำลังประสบปัญหาด้านสิ่งแวดล้อม เป็นอย่างมาก ไม่ว่าจะเป็นปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพ ภูมอิ ากาศ และภัยธรรมชาติทที่ วีความรุนแรงมากขึน้ โดยผล จากปรากฏการณ์เหล่านี้ล้วนเกิดจากพฤติกรรมของมนุษย์ ที่ยังไม่ตระหนักถึงผลจากการท�ำลายสิง่ แวดล้อมทัง้ ทางตรง ทางอ้อม ไม่วา่ จะเป็นเรือ่ งการท�ำลายพืน้ ทีส่ เี ขียว การปล่อย ก๊าซเรือนกระจก การปล่อยน�ำ้ ทิง้ หรือสารเคมี และกิจกรรมอืน่ ๆ อีกมากมายทีส่ ง่ ผลกระทบต่อสิง่ แวดล้อมโดยเฉพาะทรัพยากรน�ำ้ เพราะเราเชื่อว่า “น�้ำ” เป็นปัจจัยพื้นฐานในการด�ำรงชีวิต และเป็นตัวขับเคลือ่ นเศรษฐกิจของประเทศทีส่ ำ� คัญ แม้วา่ น�ำ ้ จะเป็นทรัพยากรธรรมชาติทมี่ อี ยูอ่ ย่างไม่จำ� กัด แต่หากขาด การจัดการทีด่ ี และไม่มกี ารดูแลเอาใจใส่ตอ่ คุณภาพน�ำ ้ ในไม่ชา้ อาจเกิดวิกฤตด้านทรัพยากรน�ำ้ อย่างรุนแรง ซึง่ จะส่งผลกระทบ ต่อการบริหารจัดการน�ำ้ โดยรวม ดังนัน้ ในปี 2562 บริษทั ได้จดั เตรียมมาตรการต่าง ๆ เพือ่ รองรับปัญหาการขาดแคลนน�ำ ้ อาทิ การปรับปรุงประสิทธิภาพระบบสูบน�้ำในพื้นที่ปฏิบัติการ และการเตรียมน�้ำดิบจากบ่อดินเอกชนเพิ่มเติม จากประสบการณ์การบริหารจัดการน�ำ้ อย่างเป็นระบบด้วย การเชื่อมโยงแหล่งน�้ำส�ำคัญในภาคตะวันออกเข้าด้วยกัน ผ่านโครงข่ายท่อส่งน�้ำ ท�ำให้พื้นที่ภาคตะวันออกมีน�้ำใช้ อย่างเพียงพอต่อความต้องการของทุกภาคส่วน และด้วย ความมุ ่ ง มั่ น พั ฒ นาการให้ บ ริ ก าร บริ ษั ท ยั ง คงเดิ น หน้ า ให้บริการธุรกิจน�้ำครบวงจรแบบเบ็ดเสร็จ ไม่ว่าจะเป็น น�้ำดิบ น�้ำอุตสาหกรรม น�้ำประปา น�้ำดื่ม การบ�ำบัดน�้ำเสีย และน�ำ้ รีไซเคิล ทีจ่ ะเข้ามาช่วยพลิกโฉมการบริหารจัดการน�ำ้ ของภาคอุตสาหกรรม และภาคอุปโภคบริโภคให้มปี ระสิทธิภาพ มากยิ่งขึ้นช่วยลดการใช้พลังงานและปริมาณน�้ำสูญเสีย ตลอดจนต้นทุนการดูแลระบบ รวมถึงเป็นมิตรต่อสิง่ แวดล้อม เพือ่ สร้างคุณค่าทางเศรษฐกิจและสังคมทีย่ งั่ ยืน พร้อมเติบโต เคี ย งคู ่ ไ ปกั บ เศรษฐกิ จ ของประเทศ ภายใต้ วิ สั ย ทั ศ น์ “เป็นผูน้ ำ� ในการบริหารจัดการน�ำ้ ครบวงจรของประเทศ”
ในปี 2562 บริษัทยังคงมุ่งมั่นในการพัฒนาบุคลากรให้เกิด ความเชีย่ วชาญ ไม่วา่ จะเป็นการฝึกอบรมพนักงาน การปรับ โครงสร้างกลุ่มบริษัท การสร้างวัฒนธรรมองค์กร ตลอดจน น�ำระบบเทคโนโลยีที่ทันสมัยและนวัตกรรมใหม่ ๆ มาใช้ ในการด�ำเนินธุรกิจ และการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดเก็บ ฐานข้อมูลภายในองค์กร เพื่อให้พนักงานมีความสะดวก และรวดเร็วในการท�ำงานมากยิ่งขึ้น ควบคู่กับการยกระดับ มาตรฐานความปลอดภัยของข้อมูลสารสนเทศ อีกทั้งมีการ สร้างสรรค์และพัฒนาแนวคิดเพื่อเชิญชวนให้ทุกภาคส่วน เข้ามามีส่วนร่วมในการดูแลทรัพยากรน�้ำ ภายใต้โครงการ “สะกิดไทย ใส่ใจน�้ำ” ซึ่งเป็นแนวคิดที่ออกแบบมาเป็น หลักปฏิบตั ใิ ห้ทกุ ภาคส่วนน�ำไปประยุกต์ใช้กบั ชีวติ ประจ�ำวันได้ ไม่ว่าจะเป็นครัวเรือน เกษตรกรรม หรืออุตสาหกรรม เพือ่ ให้เกิดการปรับเปลีย่ นพฤติกรรมการใช้นำ �้ อาจกล่าวสรุป ได้ว่า เป็นการสร้างความสมดุลการใช้น�้ำ ซึ่งถือเป็นศาสตร์ แห่งการใช้น�้ำอย่างยั่งยืน จากการด�ำเนินงานในการพัฒนามิติเศรษฐกิจ มิติสังคม และมิติสิ่งแวดล้อม เพื่อยกระดับความเป็นอยูข่ องชุมชน และสังคมโดยรวม ท�ำให้บริษัทเป็นที่ยอมรับและมีความ น่าเชือ่ มัน่ ต่อผูม้ สี ว่ นได้เสีย ส่งผลให้บริษทั ได้รบั รางวัลต่าง ๆ อาทิ ได้รับคะแนนประเมินการก�ำกับดูแลกิจการบริษทั จดทะเบียนไทย (Corporate Governance Report : CGR) อยู่ ในเกณฑ์ดีเลิศ รางวัล Rising Star Sustainability ในกลุม่ Sustainability Excellence และรางวัลเหรียญทอง ประกาศเกียรติคณ ุ “โครงการบริษทั เกษียณสุข” เพือ่ สนับสนุน พนักงานให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีหลังเกษียณ ซึ่งรางวัลเหล่านี้ สะท้อนให้เห็นถึงความมุ่งมั่นและความทุ่มเทของกรรมการ ผูบ้ ริหารและพนักงานของบริษทั ในการสร้างคุณค่าเพือ่ ให้สงั คม เกิดความยั่งยืน บริษัทยังคงมุ่งมั่นในการบริหารจัดการน�้ำด้วยศักยภาพ และความเชีย่ วชาญ เพือ่ ร่วมขับเคลือ่ นเศรษฐกิจของประเทศ รวมถึงสร้างเสถียรภาพด้านน�ำ้ ให้คงอยูต่ ลอดไป โดยไม่ลดทอน คุณภาพชีวิตและสิ่งแวดล้อมของสังคมโดยรวม
7
8
รายงานความยั่งยืน 2562 บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)
เปดบานอีสท วอเตอร
ผูเชี่ยวชาญดานบริหารจัดการนํ้า ดวยระบบโครงขายทอสงนํ้า
(Disclosure 102-1)
บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรนํ้าภาคตะวันออก จํากัด (มหาชน) หรือ อีสท วอเตอร
ชื่อในตลาดหุน :
ทุนจดทะเบียน :
EASTW 1,663.73 ลานบาท บริษัทดําเนินธุรกิจดานการบริหารจัดการทรัพยากรนํ้าอยางครบวงจร อันประกอบดวย (Disclosure 102-2) •
นํ้าดิบ ใหบริการดานจัดหาแหลงนํ้าดิบ บริการดานการลงทุนวางทอนํ้าดิบ และบริหารจัดการนํ้าดิบ ใหเพียงพอตอความตองการของผูใชนํ้าในแตละป
•
นํา้ อุตสาหกรรม ใหบริการติดตัง ้ ระบบผลิตนํา้ อุตสาหกรรม ควบคุมคุณภาพนํา้ ทีส ่ ง จายใหเหมาะสม กั บ ความต อ งการของผู ใ ช นํ้ า แต ล ะอุ ต สาหกรรม ทั้ ง นํ้ า Clarified นํ้ า Reverse Osmosis นํ้ า Demineralized และนํ้า Sea Water Reverse Osmosis
•
นํา้ ประปา ดําเนินงานภายใตชอ ่ื บริษท ั ยูนเิ วอรแซล ยูทล ี ต ิ ส ี้ จํากัด (มหาชน) ใหบริการดานการบริหาร กิจการประปา ทั้งในระบบประปาผิวดิน และระบบผลิตนํ้าประปาจากนํ้าทะเล โดยการนําเทคโนโลยี ทีท ่ น ั สมัยมาใชในระบบผลิต งานบํารุงรักษาและระบบสงจายนํา้ ประปา ตลอดจนใหบริการดานวิศวกรรม อยางครบวงจร
•
นํ้าดื่ม ใหบริการผลิตนํ้าดื่มอัลคาไลนที่สะอาดปลอดภัย
•
การบําบัดนํา้ เสีย ใหบริการติดตัง ้ ระบบบําบัดนํา้ เสียทีเ่ หมาะสมกับแตละธุรกิจ ควบคุมคุณภาพนํา้ เสีย ขาออก เชน ระบบ Activated Sludge และระบบ Membrane Bioreactor
•
นํา้ รีไซเคิล ใหบริการติดตัง ้ ระบบนํา้ รีไซเคิล โดยนํานํา้ เสียทีบ ่ าํ บัดแลวกลับมาใชใหมในระบบอุตสาหกรรม
5 แยกลาดพราว
สวนจตจ ุ ก ั ร
สํานักงานใหญ (Disclosure 102-3, 102-4)
นสพ. ไทยรฐ ั
ซอย วภิาวดรีงัสติ 5
ซอย วภิาวดรีงัสติ 3 สาํนก ั งาน ก.ล.ต
คลองบางซอ่ื
ทางยกระดบัดอนเมอืง
โยธนิ พหล ถนน
ถนน ลาด พรา ว การบน ิ ไทย
บมจ. จัดการและพัฒนาทรัพยากรนํ้าภาคตะวันออก อาคารอีสท วอเตอร เลขที่ 1 ซอยวิภาวดีรง ั สิต 5 ถนนวิภาวดีรง ั สิต แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 (ประเทศไทย) บมจ. ยูนิเวอรแซล ยูทีลิตี้ส อาคารอีสท วอเตอร เลขที่ 1 ซอยวิภาวดีรง ั สิต 5 ถนนวิภาวดีรง ั สิต แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 (ประเทศไทย)
ซอย วภิาวดรีงัสติ 16
รายงานความยั่งยืน 2562 #สะกิดไทยใส่ใจน�้ำ
9
โครงสร้างธุรกิจกลุ่มบริษัทอีสท์ วอเตอร์ (Disclosure 102-5)
บริษัทด�ำเนินธุรกิจหลักในการให้บริการน�้ำครบวงจร โดยมี บมจ. ยูนิเวอร์แซล ยูทีลิตี้ส์ (ยูยู) เป็นบริษัทในเครือด�ำเนินธุรกิจหลัก ทางด้านกิจการน�ำ้ ประปาและระบบบ�ำบัดน�ำ้ เสียแบบครบวงจร โดยมีเป้าหมายทีจ่ ะให้ประชาชนได้มนี ำ�้ ประปาใช้ในการอุปโภค และบริโภค อย่างทัว่ ถึง เพือ่ ยกระดับคุณภาพชีวติ และความเป็นอยูข่ องประชาชน ปัจจุบนั บมจ. ยูนเิ วอร์แซล ยูทลี ติ สี้ ์ มีบริษทั ย่อยทัง้ หมด 4 บริษทั ได้แก่ • บริษัท ประปานครสวรรค์ จ�ำกัด (ถือหุ้นร้อยละ 100) • บริษัท ประปาบางปะกง จ�ำกัด (ถือหุ้นร้อยละ 100) • บริษัท ประปาฉะเชิงเทรา จ�ำกัด (ถือหุ้นร้อยละ 100) • บริษัท เอ็กคอมธารา จ�ำกัด (ถือหุ้นร้อยละ 90) โดยมีรูปแบบสัญญาและการให้บริการที่หลากหลาย แบ่งได้ดังนี้ 1. กลุ่มธุรกิจผลิตน�้ำประปาผิวดิน ภายใต้สัญญาสัมปทานระยะยาวจากหน่วยงานภาครัฐและเอกชน 2. กลุ่มธุรกิจผลิตน�้ำประปาผิวดิน ภายใต้สัญญาจ้างงานผลิต/สูบส่งน�้ำประปา/บ�ำรุงรักษาระบบประปา หรือ O&M 3. กลุ่มธุรกิจผลิตน�้ำประปาจากน�้ำทะเล 4. กลุ่มธุรกิจการบริหารระบบบ�ำบัดน�้ำเสียและน�้ำรีไซเคิล
น้ำดิบและทอน้ำดิบ
โครงสรางธุรกิจ
กลุมธุรกิจน้ำประปาผิวดิน (สัญญาสัมปทาน)
100% 100% 100% 90%
น้ำอุตสาหกรรม
100%
กลุมธุรกิจผลิตน้ำประปาผิวดิน (สัญญาจางงานผลิต/สูบสง น้ำประปา/บำรุงรักษาระบบ ประปา หรือ O&M
กลุมธุรกิจน้ำประปา จากน้ำทะเล
กลุมธุรกิจการบริหารระบบ บำบัดน้ำเสียและน้ำรีไซเคิล
บจ. ประปาฉะเชิงเทรา
กิจการประปาสัตหีบ
กิจการประปาเกาะลาน
การบริหารระบบบำบัดน้ำเสียฯ
บจ. ประปานครสวรรค
กิจการประปาบอวิน
กิจการประปาเกาะสมุย
นิคมอุตสาหกรรมหลักชัยเมืองยาง
บจ. ประปาบางปะกง บจ. เอ็กคอมธารา กิจการประปาระยอง กิจการประปาชลบุรี กิจการประปา อบต.หนองขาม กิจการประปา ทต.หัวรอ กิจการประปาหลักชัยเมืองยาง
การบริหารระบบผลิตน้ำรีไซเคิล บริษท ั ราชบุรี กลาส อินดัสทรี จำกัด การบริหารระบบผลิตน้ำรีไซเคิล บริษท ั อยุธยา กลาส อินดัสทรี จำกัด
พื้นที่การด�ำเนินงาน (Disclosure 102-6)
กลุมธุรกิจนํ้าดิบและทอนํ้าดิบ : บมจ.จัดการและพัฒนาทรัพยากรนํ้าภาคตะวันออก ใหบริการดานจัดหาแหลงนํา้ ดิบ บริการดานการลงทุน วางทอนํ้าดิบ และบริหารจัดการนํ้าดิบใหเพียงพอ ตอความตองการของผูใชนํ้าในแตละป จังหวัด : ฉะเชิงเทรา ชลบุรี ระยอง
กลุมธุรกิจนํ้าอุตสาหกรรม : บมจ.จัดการและพัฒนาทรัพยากรนํ้าภาคตะวันออก ใหบริการติดตั้งระบบผลิตนํ้าอุตสาหกรรมควบคุม คุณภาพนํา้ ที่ ส ง จ า ยให เ หมาะสมกั บ ความต อ งการ ของผู ใ ช นํ้ า แต ล ะอุ ต สาหกรรม โดยการให บ ริ ก าร นํ้ า อุ ต สาหกรรมมี ห ลายรู ป แบบคื อ นํ้ า Clarified นํ้ า Reverse Osmosis นํ้ า Demineralize นํ้า Sea Water Reverse Osmosis จังหวัด : ระยอง
พิษณุโลก
นครสวรรค
กลุมธุรกิจผลิตนํ้าประปาผิวดิน ภายใตสัญญา สัมปทานระยะยาวจากหนวยงานภาครัฐและเอกชน : บมจ.ยูนเิ วอรแซล ยูทล ี ต ิ ส ้ี ใหบริการดานบริหารกิจการ ประปาในระบบผลิตประปาผิวดินโดยการนําเทคโนโลยี ทีท ่ น ั สมัยมาใชในระบบผลิต งานบํารุงรักษาและระบบ สงจายนํ้าประปา ตลอดจนใหบริการดานวิศวกรรม อยางครบวงจร จังหวัด : พิษณุโลก นครสวรรค ราชบุรี ฉะเชิงเทรา ชลบุรี ระยอง
อยุธยา กรุงเทพฯ
กลุมธุรกิจผลิตนํ้าประปาผิวดิน ภายใต สัญญาจางงานผลิต/สูบสงนํ้าประปา/ บํารุงรักษาระบบประปา หรือ O&M : บมจ.ยูนเิ วอรแซล ยูทล ี ต ิ ส ี้ ใหบริการดานบริหารกิจการ ประปาในระบบผลิตประปาผิวดินโดยการนําเทคโนโลยี ทีท ่ น ั สมัยมาใชในระบบผลิต งานบํารุงรักษาและระบบ สงจายนํ้าประปา ตลอดจนใหบริการดานวิศวกรรม อยางครบวงจร จังหวัด : ชลบุรี
ราชบุรี
ชลบุรี ระยอง
กลุมธุรกิจผลิตนํ้าประปาจากนํ้าทะเล : บมจ.ยูนเิ วอรแซล ยูทล ี ต ิ ส ้ี ใหบริการดานบริหารกิจการ ประปาในระบบผลิตนํ้าประปาจากนํ้าทะเล โดยการนํา เทคโนโลยีทท ี่ น ั สมัยมาใชในระบบผลิต งานบํารุงรักษา และระบบสงจายนํ้าประปา ตลอดจนใหบริการดาน วิศวกรรมอยางครบวงจร จังหวัด : ชลบุรี สุราษฎรธานี
กลุมธุรกิจการบริหารระบบบําบัดนํ้าเสีย และนํ้ารีไซเคิล : บมจ.ยูนเิ วอรแซล ยูทล ี ต ิ ส ี้ ใหบริการติดตัง ้ ระบบบําบัด นํา้ เสียทีเ่ หมาะสมกับแตละธุรกิจ ควบคุมคุณภาพนํา้ เสีย ขาออก เช น ระบบ Activated Sludge และระบบ Membrane Bioreactor พรอมนํานํา้ เสียทีบ ่ าํ บัดแลว กลับมาใชใหมในระบบอุตสาหกรรม จังหวัด : ราชบุรี อยุธยา ระยอง
ฉะเชิงเทรา
สุราษฎรธานี
รายงานความยั่งยืน 2562 #สะกิดไทยใส่ใจน�้ำ
11
ผู้ถือหุ้น “EASTW” (Disclosure 102-5)
ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ 10 อันดับแรกของหลักทรัพย์ EASTW ณ วันปิดสมุดทะเบียนล่าสุด เมื่อวันที่ 30 ธันวาคม 2562 ล�ำดับ
ผู้ถือหุ้น
จ�ำนวนหุ้น
สัดส่วน (%)
1
การประปาส่วนภูมิภาค
668,800,000
40.20
2
บริษัท มะนิลา วอเตอร์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด
311,443,190
18.72
3
การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย
76,000,000
4.57
4
คุณมิน เธียรวร
33,000,000
1.98
5
ไทยเอ็นวีดีอาร์ จ�ำกัด
31,821,325
1.91
6
BNP PARIBAS SECURITIES SERVICES, LONDON BRANCH
28,550,300
1.72
7
อเบอร์ดีน สแตนดาร์ด โกรท
24,320,600
1.46
8
อเบอร์ดีน สแตนดาร์ด หุ้นระยะยาว
24,260,200
1.46
9
อเบอร์ดีน สแตนดาร์ด สมอล แค็พ
22,709,200
1.36
10
ธนชาต Prime Low Beta
20,784,400
1.25
422,035,934
25.37
ผู้ถือหุ้นอื่น ๆ จ�ำนวนหุ้นทั้งหมด
1,663,725,149
100.00
ที่มา : บริษัท ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด หมายเหตุ : ผู้ถือหุ้นในล�ำดับที่ 1 และ 3 เป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ที่เป็นตัวแทนภาครัฐ และผู้ถือหุ้นล�ำดับที่ 2 เป็นนิติบุคคล ซึ่งผู้ถือหุ้นทั้ง 3 รายมีส่วนในการ ก�ำหนดนโยบายการจัดการ โดยเสนอผู้แทนเป็นกรรมการให้ที่ประชุมผู้ถือหุ้นพิจารณาแต่งตั้ง
อางเก็บนํ้าและแหลงนํ้าธรรมชาติ
1. หนวยงานกํากับดูแล และหนวยงาน ราชการที่เกี่ยวของกับการดําเนินธุรกิจ 2. พนักงาน 3. ลูกคา 4. คูคา 5. ชุมชนและหนวยงานราชการ
การวิเคราะห พัฒนาแหลงนํ้าตนทุน และธุรกิจใหม
นํ้าประปา
นํ้าดิบ
นํ้าดื่ม
1. หนวยงานกํากับดูแล และหนวยงาน ราชการที่เกี่ยวของกับการดําเนินธุรกิจ 2. พนักงาน 3. ลูกคา 4. คูคา 5. ชุมชนและหนวยงานราชการ
1. หนวยงานกํากับดูแล และหนวยงาน ราชการที่เกี่ยวของกับการดําเนินธุรกิจ 2. พนักงาน 3. ลูกคา 4. คูคา 5. ชุมชนและหนวยงานราชการ
นํ้าอุตสาหกรรม
การบริหารงาน โครงการกอสราง
การบริหาร พัฒนา ระบบสูบสงนํ้าและนวัตกรรม
การบําบัดนํ้าเสีย
นิคมอุตสาหกรรม
ระบบผลิตนํ้าประปา
ชุมชนและสถานประกอบการ
กลุมลูกคา
1. หนวยงานกํากับดูแล และหนวยงาน ราชการที่เกี่ยวของกับการดําเนินธุรกิจ 2. พนักงาน 3. ลูกคา 4. คูคา
การบริหารสัญญา และลูกคาสัมพันธ
นํ้ารีไซเคิล
บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)
1. หนวยงานกํากับดูแล และหนวยงาน ราชการที่เกี่ยวของกับการดําเนินธุรกิจ 2. พนักงาน 3. ชุมชนและหนวยงานราชการ 4. สื่อมวลชน
การบริหารงานชุมชน และภาพลักษณองคกร
1. ผูถือหุน และนักลงทุน 2. สถาบันทางการเงิน 3. พนักงาน
การบริหารจัดการ ทางการเงิน
1. คณะกรรมการบริษัท 2. คณะผูบริหาร 3. พนักงาน
การบริหารจัดการ ภายในองคกร
1. หนวยงานกํากับดูแล และหนวยงาน ราชการที่เกี่ยวของกับการดําเนินธุรกิจ 2. คณะกรรมการบริษัท ผูบริหารและพนักงาน 3. ลูกคา 4. คูคา 5. ผูถือหุนและนักลงทุน 6. ชุมชนและหนวยงานราชการ
การกํากับดูแลกิจการ
ในปี 2561 บริษทั ได้ขยายธุรกิจสูก่ ารให้บริการ “น�ำ้ ครบวงจร” ซึง่ มีตงั้ แต่นำ�้ ดิบ น�ำ้ อุตสาหกรรม น�ำ้ ประปา น�ำ้ ดืม่ การบ�ำบัดน�้ำเสีย และน�้ำรีไซเคิล ทั้งในพื้นที่ปฏิบัติการ (ฉะเชิงเทรา ชลบุรี และ ระยอง) รวมถึงพื้นที่ภาคตะวันออกเป็นที่ตั้งของโครงการเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (อีอีซี) ดังนั้น บริษัทจึงได้ทบทวนกระบวนการด�ำเนินธุรกิจหลักเพื่อให้สอดคล้องกับธุรกิจขององค์กร โดยน�ำวิธีการประเมินวัฏจักรชีวิตของผลิตภัณฑ์ (Life Cycle Assessment : LCA) ซึ่งเป็นแนวทางการวิเคราะห์ครอบคลุมตลอดวัฏจักรชีวิต ตั้งแต่การได้มาซึ่งวัตถุดิบ การผลิต การใช้งาน การขนส่ง ในระหว่างกระบวนการ ตลอดจนการทิ้งท�ำลาย ในปี 2562 บริษัทมีกระบวนการด�ำเนินธุรกิจ ดังนี้
(Disclosure 102-9, 102-10)
การบริหารจัดการห่วงโซ่อุปทาน
12 รายงานความยั่งยืน 2562
หมายเหตุ : 1 งบรวมของบริษทั (รายไดจากการขายและบริการของบริษทั 3,314.02 ลานบาท รายไดจากการขายและบริการของบริษทั ในเครือ 1,366.06 ลานบาท รายไดอนื่ ของบริษทั 20.97 ลานบาท รายไดอน่ื ของบริษทั ในเครือ 28.22 ลานบาท 2 ภาษีเงินไดกลุมบริษัท ประจําป 2562 3 ป 2562 เงินปนผลระหวางกาล สําหรับผลการดําเนินงานครึง่ ปแรก ประกาศจายตามมติคณะกรรมการบริษัท ในการประชุมครั้งที่ 9 เมื่อวันที่ 14 สิงหาคม 2562 ในอัตราหุน ละ 0.21 บาท โดยคณะกรรมการบริษทั จะเสนอให ที่ประชุมสามัญผูถือหุนประจําป 2563 พิจารณาอนุมัติการจายเงินปนผล จากผลการดําเนินงานของเดื อ นกรกฎาคม - ธั น วาคม 2562 ในวั น ที่ 22 เมษายน 2563
• • • • • •
•
เศรษฐกิจ (Disclosure 102-7, 201-1) รายได 4,729.27 ลานบาท1 (รายไดจากการขายและบริการ รอยละ 98.96, รายไดอนื่ รอยละ 1.04) กําไรสุทธิ 1,055.91 ลานบาท ภาษีเงินไดสภู าครัฐ 262.36 ลานบาท2 การลงทุนเพือ่ พัฒนาชุมชน 14.18 ลานบาท คาใชจา ยดําเนินงาน 538.52 ลานบาท ปนผลระหวางกาลใหแกผถู อื หุน 0.21 บาท3 คาจางและสวัสดิการพนักงานกลุม บริษทั 392.84 ลานบาท •
•
•
•
•
สังคมและสิ่งแวดลอม ดูแลชุมชนตลอดแนวโครงขายทอสงนํ้า (Water Grid) 491.8 กม. จํานวน 23 อําเภอ 39 เทศบาล 54 อบต. สงมอบนํ้าสะอาดแกชุมชนเพื่ออุปโภคและบริโภค (บริการรถนํ้าดื่ม, นํ้าถวย, นํ้าขวด, นํ้าทอธาร) 8,155,717 ลิตร และเพื่อการเกษตร 1,853,113.40 ลบ.ม. เพิม่ พืน้ ทีส่ เี ขียว จํานวน 33,300 ตน คิดเปน 83.25 ไร (แจกจายโครงการ เพาะกลาไม 20,000 กลา คํานวณพืน้ ทีส่ เี ขียวจาก 400 ตนตอไร) เปลีย่ นนํา้ เสียเปนนํา้ ใส ใหนาํ้ ของโรงอาหารในโรงเรียน จํานวน 7 แหง ซึง่ นํา้ ทีผ่ า นการบําบัดมีคา ออกซิเจนละลายในนํา้ (Dissolved Oxygen : DO) มากกวา 4 มก./ลิตร ความผูกพันของพนักงานตอองคกร เฉลีย่ รอยละ 84 (สูงขึน้ จากปกอ น) คิดเปนรอยละ 4.74
ผลงานและรางวัลความยั่งยืน ปี 2562
•
•
•
•
•
•
ธรรมาภิบาลและความยั่งยืน บริษทั ไดรบั รางวัล Rising Star Sustainability ในกลุม Sustainability Excellence เปนรางวัลสําหรับบริษทั จดทะเบียนทีม่ กี ารดําเนินธุรกิจ อยางยัง่ ยืนไดโดดเดน บริษทั เปน 1 ใน 98 บริษทั จดทะเบียนทีม่ รี ายชือ่ หุน ยัง่ ยืน (Thailand Sustainability Investment : THSI) เปนปที่ 5 ตอเนือ่ ง บริษัทไดรับรางวัลประกาศเกียรติคุณ (Sustainability Disclosure Recognition) บริษัทไดรับการประเมินการกํากับดูแลกิจการบริษัทจดทะเบียนไทย (Corporate Governance Report : CGR) ในระดับดีเลิศ (รอยละ 96) บริษัทไดรับการประเมินคุณภาพในการจัดประชุมสามัญผูถือหุน ประจําป 2562 จากสมาคมสงเสริมผูล งทุนไทยอยูท ี่ รอยละ 100 กลุมบริษัทไดรับรางวัลระดับเหรียญทองโครงการบริษัทเกษียณสุข จากสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย (ก.ล.ต.)
รายงานความยั่งยืน 2562 #สะกิดไทยใส่ใจน�้ำ
13
14
รายงานความยั่งยืน 2562 บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)
โครงสร้างการก�ำกับดูแลกิจการ (Disclosure 102-7, 102-18, 102-20, 102-22, 102-23, 102-24)
ในปี 2562 บริษัทมีคณะกรรมการชุดย่อยทั้งสิ้น 5 คณะ ประกอบด้วย 1) คณะกรรมการตรวจสอบ 2) คณะกรรมการการลงทุน 3) คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง 4) คณะกรรมการธรรมาภิบาลและพัฒนาเพื่อความยั่งยืน 5) คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน ซึ่งด�ำเนินงานภายในขอบเขตของกฎหมาย วัตถุประสงค์ ข้อบังคับของบริษัท มติของที่ประชุมผู้ถือหุ้น และมีอ�ำนาจกระท�ำใด ๆ ตามที่ระบุไว้ในหนังสือบริคณห์สนธิ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
คณะกรรมการบริษัท บริษท ั จัดการและพัฒนาทรัพยากรนํา้ ภาคตะวันออก จํากัด (มหาชน)
คณะกรรมการ ตรวจสอบ
คณะกรรมการ การลงทุน
คณะกรรมการ บริหารความเสี่ยง
คณะกรรมการธรรมาภิบาล และพัฒนาเพื่อความยั่งยืน
คณะกรรมการสรรหา และพิจารณาคาตอบแทน
กรรมการผูอํานวยการใหญ
สํานักกรรมการผูอ าํ นวยการใหญ
สํานักเลขานุการบริษัท
สํานักตรวจสอบ
สายกลยุทธ และพัฒนาธุรกิจ
สายปฏิบัติการ
สายสนับสนุน
สายการเงิน และบัญชี
ฝายพัฒนาธุรกิจ
ฝายปฏิบัติการ และบริการลูกคา
ฝายทรัพยากรบุคคล
ฝายการเงิน
ฝายวิศวกรรม
ฝายซอมบํารุง
ฝายอํานวยการ
ฝายบัญชี
ฝายกลยุทธองคกร
ฝายบริหาร โครงการกอสราง
ฝายเทคโนโลยีสารสนเทศ
ฝายสื่อสารองคกร
ณ มกราคม 2563
รายงานความยั่งยืน 2562 #สะกิดไทยใส่ใจน�้ำ
15
✓
3. นางธัชดา จิตมหาวงศ์ (กรรมการอิสระ)
✓
4. นายสุรชัย ขันอาสา (กรรมการอิสระ)
✓
5. นายกฤษฎา ศังขมณี (กรรมการ)
✓ ✓
7. นายเวอร์จิลิโอ จูเนียร์ เซอร์แวนเทส ริเวร่า (กรรมการ)
✓
✓ ✓
✓
✓
8. นายพิสิฐ หงส์วณิชย์กุล (กรรมการ)
✓
✓
9. นายบ�ำรุงศักดิ์ ฉิ่งวังตะกอ (กรรมการ)
✓
✓
10. นางสาวสมจิณณ์ พิลึก (กรรมการ)
✓ ✓
12. นายจิรายุทธ รุ่งศรีทอง (กรรมการและกรรมการผู้อ�ำนวยการใหญ่)
✓
✓
✓
✓ ✓
✓ ✓
✓ ✓
✓
✓
✓
✓
✓
✓
ที่ปรึกษา คณะกรรมการบริษัท 1. พลเอก ไตรรัตน์ รังคะรัตน 2. นายศิวะ แสงมณี 3. นายวิชา นิลเพชร์พลอย
✓ ✓
✓ ✓
เทคโนโลยีสารสนเทศ
✓
✓
✓
✓
✓
✓
✓
11. พลเรือเอก สุชีพ หวังไมตรี (กรรมการอิสระ)
นโยบายสาธารณะ บรรษัทภิบาล และ CSR
กฎหมาย
เศรษฐศาสตร์/การเงิน/ การบัญชี
✓
2. นายอมร เลาหมนตรี (กรรมการอิสระ)
6. นางอัศวินี ไตลังคะ (กรรมการอิสระ)
วิศวกรรม
การบริหารจัดการด้านน�้ำ
✓
ตรวจสอบ
1. นายวีรศักดิ์ โฆสิตไพศาล (กรรมการอิสระ)
การบริหารงานภาครัฐ
รายชื่อกรรมการบริษัท
การบริหารงานภาคเอกชน
โดยคณะกรรมการบริษทั ประกอบด้วยกรรมการทีม่ คี ณ ุ สมบัตหิ ลากหลาย ทัง้ ในด้านทักษะ ประสบการณ์ ความสามารถ และคุณลักษณะ เฉพาะด้าน ตลอดจนเพศและอายุ รายละเอียดดังตารางองค์ประกอบความรูค้ วามช�ำนาญของคณะกรรมการบริษทั (Skills Matrix) ดังนี้
✓ ✓
16
รายงานความยั่งยืน 2562 บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)
คณะกรรมการชุดย่อยที่มีบทบาทส�ำคัญ ในการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี ประกอบด้วย (Disclosure 102-32)
1 คณะกรรมการธรรมาภิบาลและพัฒนาเพื่อความยั่งยืน ประกอบด้วยกรรมการอิสระ จ�ำนวน 3 คน มีหน้าทีห่ ลัก 2 ด้าน ได้แก่ 1) ด้านธรรมาภิบาล ท�ำหน้าที่พิจารณานโยบายและแนวปฏิบัติ ด้านการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ี การต่อต้านทุจริตคอร์รปั ชันภายใน องค์กร และจรรยาบรรณทางธุรกิจกลุ่มบริษัทให้สอดคล้องกับ ข้อก�ำหนดของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (ตลท.) ส�ำนักงาน คณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) โดยมี การทบทวนนโยบายและแนวปฏิบตั ดิ งั กล่าวอย่างน้อยปีละ 1 ครัง้ และการสอดส่องดูแลให้มกี ารน�ำนโยบายไปปฏิบตั อิ ย่างสม�ำ่ เสมอ 2) ด้านการพัฒนาเพื่อความยั่งยืน ก�ำหนดนโยบาย กลยุทธ์ และแผนการด�ำเนินงานด้านความยัง่ ยืน ด้วยการบริหารจัดการน�ำ้ บนพื้นฐานการใช้ทรัพยากรน�้ำร่วมกับชุมชน และรักษาสมดุล ของระบบนิเวศ โดยการสร้างความเชื่อมั่นต่อผู้มีส่วนได้เสีย ผ่านกระบวนการด�ำเนินงานทีโ่ ปร่งใส สามารถตรวจสอบได้ ตามกรอบ การบริหารจัดการให้เป็นแนวปฏิบตั ไิ ปในทิศทางเดียวกันตามมาตรฐาน องค์การแห่งการริเริม่ ว่าด้วยการรายงานสากล (Global Reporting Initiative : GRI) รวมทัง้ ติดตามดูแลให้ฝา่ ยจัดการประกอบธุรกิจ อย่างมีความรับผิดชอบต่อสังคมและสิง่ แวดล้อม เพือ่ ให้มนั่ ใจได้วา่ ทุกฝ่ายขององค์กรได้ด�ำเนินการสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ เป้าหมายหลัก และแผนกลยุทธ์ของบริษทั โดยมีแผนกก�ำกับดูแลกิจการ สังกัดส�ำนักเลขานุการบริษทั รับผิดชอบ งานก�ำกับดูแลกิจการทั้งกลุ่มบริษัท ประสานงานกับทุกฝ่าย ในการประเมินความสอดคล้องการปฏิบตั ติ ามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ และกฎหมายทีเ่ กีย่ วข้อง (Law Compliance Checklist) พร้อมสือ่ สารแนวปฏิบตั ดิ า้ นการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ยี งั พนักงาน ทุกคน ประสานงานกับส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) และตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (ตลท.) ในการเปิดเผยข้อมูลและสารสนเทศอย่างครบถ้วนตามก�ำหนด ในปี 2562 บริษทั ได้ทบทวนหลักการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ี จรรยาบรรณ ทางธุรกิจของกลุม่ บริษทั และนโยบายต่อต้านการทุจริตคอร์รปั ชัน ภายในองค์กร เพือ่ ให้เป็นปัจจุบนั อย่างต่อเนือ่ ง โดยเปรียบเทียบ กับกฎหมายใหม่และแนวทางปฏิบตั ขิ องสากล นอกจากนี้ ยังได้รว่ มกับ หน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้องในการทบทวนแนวปฏิบตั ดิ า้ นอ�ำนาจด�ำเนินการ ภายในองค์กร เพือ่ ให้สอดคล้องกับระเบียบด้านอ�ำนาจด�ำเนินการ ภายในองค์กร พ.ศ. 2562 รวมทั้งมีหน้าที่ติดตาม รายงานผล ตามกระบวนการ เมือ่ ได้รบั ข้อร้องเรียนตามจรรยาบรรณทางธุรกิจ กลุม่ บริษทั ยังคณะกรรมการธรรมาภิบาลและพัฒนาเพือ่ ความยัง่ ยืน และคณะกรรมการตรวจสอบทุกไตรมาส (Disclosure 102-17) นอกจากนี้ บริษทั ยังมี แผนกกิจการสัมพันธ์ และ CSR รับผิดชอบ การด�ำเนินงานด้านชุมชน สังคมและสิ่งแวดล้อม เพื่อให้ธุรกิจ ด�ำเนินการอย่างยัง่ ยืน
2 คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง ประกอบด้วยกรรมการ จ�ำนวน 3 คน มีหน้าทีใ่ นการก�ำหนดและทบทวนนโยบายการบริหาร ความเสีย่ งให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ เป้าหมาย กลยุทธ์ ความเสีย่ ง ทีย่ อมรับได้ ก�ำกับดูแลและสนับสนุนให้มกี ารด�ำเนินงานด้านบริหาร ความเสีย่ งทีส่ อดคล้องกันนโยบายการบริหารความเสีย่ ง รวมทัง้ ให้ขอ้ เสนอแนะและพิจารณาเห็นชอบแผนบริหารจัดการความเสีย่ ง ตลอดจนติดตามและทบทวนความเสี่ยง รวมถึงการสื่อสาร และให้คำ� ปรึกษาเกีย่ วกับการบริหารความเสีย่ งให้เป็นไปในทิศทาง เดียวกันทั้งองค์กร โดยมีแผนกบริหารความเสี่ยง รับผิดชอบ ในการวิเคราะห์ และทบทวนปัจจัยความเสีย่ งต่อความส�ำเร็จตาม แผนธุรกิจของบริษทั (รายละเอียดเพิม่ เติมอยูใ่ นรายงานประจ�ำปี 2562 หน้า 48 หัวข้อปัจจัยความเสีย่ งและหน้า 78 หัวข้อการควบคุม ภายในและการบริหารความเสี่ยง) (Disclosure 102-11, 102-15) พร้อมเสนอแนวทางการบริหารความเสีย่ งทีเ่ หมาะสม โดยน�ำเสนอ เป็นแผนบริหารความเสีย่ งของบริษทั รวมถึงติดตามความก้าวหน้า ของการบริหารความเสี่ยงองค์กรจากหน่วยงานต่าง ๆ รายงาน ยังคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง 3 คณะกรรมการตรวจสอบ ประกอบด้วยกรรมการอิสระทัง้ คณะ จ�ำนวน 3 คน มีหน้าทีร่ บั ผิดชอบการสอบทานรายงานทางการเงิน ของบริษทั อย่างถูกต้องและครบถ้วน สอบทานความเพียงพอของ ระบบการควบคุมภายในและระบบตรวจสอบภายในทีเ่ หมาะสม และมีประสิทธิภาพ ระบบการบริหารความเสี่ยง การปฏิบัติตาม กฎหมาย พ.ร.บ. หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และกฎหมาย กฎเกณฑ์ ระเบียบทีเ่ กีย่ วข้อง รวมทัง้ พิจารณารายการทีเ่ กีย่ วโยงกัน หรือรายการทีอ่ าจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ให้มคี วามถูกต้อง ครบถ้วน และโปร่งใส สอบทานกระบวนการต่อต้านทุจริตคอร์รปั ชัน ให้สอดคล้องตามแนวทางของหน่วยงานก�ำกับดูแล สอบทาน กระบวนการภายในเกีย่ วกับการรับและก�ำกับดูแลการรับแจ้งเบาะแส และรับเรือ่ งร้องเรียน พิจารณาคัดเลือกและก�ำหนดค่าตอบแทน ผู้สอบบัญชี
รายงานความยั่งยืน 2562 #สะกิดไทยใส่ใจน�้ำ
17
เกี่ยวกับรายงานฉบับนี้
(Disclosure 102-10, 102-45, 102-46, 102-48, 102-49, 102-50, 102-51, 102-52, 102-53, 102-54, 102-56)
การจัดท�ำรายงานความยั่งยืนประจ�ำปี 2562 (Sustainability Report 2019)
เป็นรายงานฉบับที่9ซึง่ จัดท�ำขึน้ อย่างต่อเนือ่ งเป็นประจ�ำทุกปี เพือ่ เปิดเผย ข้อมูลเชิงนโยบาย กลยุทธ์ แนวทางการบริหารจัดการผลกระทบและ ผลการด�ำเนินงานของบริษทั ทีส่ ะท้อนถึงความรับผิดชอบต่อผูม้ สี ว่ นได้เสีย ในมิตเิ ศรษฐกิจและธรรมาภิบาล มิตสิ งั คม และมิตสิ งิ่ แวดล้อม ทีม่ ี นัยส�ำคัญต่อการพัฒนาสูค่ วามยัง่ ยืนของบริษทั ซึง่ จะแบ่งการน�ำเสนอ ตามแนวทางการบริหารจัดการผลกระทบต่อผูม้ สี ว่ นได้เสียในทุกกระบวนการ หลักของการด�ำเนินธุรกิจ หรือแนวทางสู่ ความยัง่ ยืน 6 ประการ โดยรายงานตามกรอบการรายงานความยัง่ ยืนของ Global Reporting Initiative (GRI Standard) ก�ำหนดความสมบูรณ์ของเนือ้ หาตาม หลักเกณฑ์ของการรายงานในระดับ CORE Option และระดับความ เชือ่ มัน่ แบบจ�ำกัด (Limited Assurance) ซึง่ ข้อมูลในการรายงาน ฉบับนีม้ รี อบการรายงานตัง้ แต่วนั ที่ 1 มกราคม ถึง 31 ธันวาคม 2562 ส�ำหรับขอบเขตการรายงานฉบับนี้ น�ำเสนอข้อมูลการด�ำเนินงาน ในปี 2562 ครอบคลุมการด�ำเนินงานของบริษทั จัดการและพัฒนา ทรัพยากรน�ำ้ ภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน) ทีด่ ำ� เนินธุรกิจน�ำ้ ดิบ และ น�ำ้ อุตสาหกรรม รวมถึงการด�ำเนินงานของบริษทั ยูนเิ วอร์แซล ยูทลี ติ สี้ ์ จ�ำกัด (มหาชน) ทีด่ ำ� เนินธุรกิจน�ำ้ ประปา การบ�ำบัดน�ำ้ เสีย และน�ำ้ รีไซเคิล ในประเทศไทยจึงก�ำหนดให้มกี ารรวบรวมข้อมูล ในประเด็นทีบ่ ริษทั ให้ความส�ำคัญ และมีอ�ำนาจในการควบคุม การน�ำเสนอข้อมูลในรายงานฉบับนี้ มีการเปลีย่ นแปลงข้อมูล การด�ำเนินงานอย่างมีนัยส�ำคัญ จากปี 2561 ดังนี้ 1. เพิม่ การรายงานเปิดเผยข้อมูลบริษทั ยูนเิ วอร์แซล ยูทลี ติ สี้ ์ จ�ำกัด (มหาชน) ซึ่งเป็นบริษัทในเครือ (ปีแรก) 2. การค�ำนวณอัตราการบาดเจ็บของพนักงาน ใช้สตู รค�ำนวณ จ�ำนวนชัว่ โมงการท�ำงานต่อคนต่อปี ตามระบบของฝ่ายทรัพยากรบุคคล 3. ปรับปรุงเกณฑ์การวิเคราะห์ประเด็นสาระส�ำคัญ (Materiality Matrix)
ทัง้ นี้ รายงานความยัง่ ยืนฉบับนี้ ได้ขอการรับรองในระดับความเชือ่ มัน่ แบบจ�ำกัด (Limited Assurance) จากหน่วยงานภายนอก (Third party) ที่มีความเชี่ยวชาญในการตรวจรับรอง และให้ความเชื่อมั่นเพื่อ ความถูกต้อง และน่าเชื่อถือของข้อมูลที่ได้เปิดเผยตามแนวทาง การรายงานของ Global Reporting Initiative (GRI Standard) โดยผูบ้ ริหารระดับสูงได้มสี ว่ นร่วมในการพิจารณาคัดเลือกซึง่ เป็น ไปตามระเบียบการจัดซื้อจัดจ้างของบริษัท แนวทางการคัดเลือกเนือ้ หาเพือ่ การรายงาน : คณะท�ำงานการจัดท�ำ รายงานความยัง่ ยืน 2562 ประกอบด้วย ผูแ้ ทนจากทุกฝ่าย ซึง่ ได้ รับการแต่งตัง้ จากกรรมการผูอ้ ำ� นวยการใหญ่ โดยมีการจัดประชุม ระดมความคิดเห็นเพือ่ พิจารณาทบทวนและวิเคราะห์หาประเด็น อันเป็นสาระส�ำคัญที่จะส่งผลต่อความยั่งยืนขององค์กรร่วมกัน และด�ำเนินการสรุปเนื้อหาน�ำเสนอกรรมการผู้อ�ำนวยการใหญ่ พิจารณาเห็นชอบ และรายงานยังคณะกรรมการธรรมาภิบาล และพัฒนาเพือ่ ความยัง่ ยืนเพือ่ ทราบ ก่อนเปิดเผยข้อมูลในรายงาน ความยั่งยืนฉบับนี้ ช่องทางการติดต่อกรณีมีข้อสอบถามเพิ่มเติม คุณฉัตรแก้ว ภุมรินทร์ ผู้อ�ำนวยการฝ่ายสื่อสารองค์กร บริษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�ำ้ ภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน) อาคารอีสท์ วอเตอร์ เลขที่ 1 ซอยวิภาวดีรังสิต 5 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท์ : 02-272-1600 อีเมล : pr@eastwater.com สามารถดาวน์โหลดรายงานความยัง่ ยืนฉบับนีแ้ ละฉบับก่อนหน้า ได้จากเว็บไซต์ของอีสท์ วอเตอร์ www.eastwater.com
18
รายงานความยั่งยืน 2562 บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)
แนวทางในการก�ำหนดประเด็นสาระส�ำคัญ ต่อความยั่งยืนของอีสท์ วอเตอร์ การมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้เสียหลัก (Disclosure 102-40, 102-42, 102-43, 102-44) บริษทั มีการวิเคราะห์กลุม่ ผูม้ สี ว่ นได้เสียจากกระบวนการด�ำเนินงานของบริษทั และน�ำมาจัดล�ำดับความส�ำคัญโดยพิจารณาจากปัจจัย 2 ด้าน ได้แก่ อิทธิพลของผูม้ สี ว่ นได้เสียต่อบริษทั และผลกระทบจากการด�ำเนินงานของบริษทั ต่อผูม้ สี ว่ นได้เสีย ท�ำให้สามารถแบ่งกลุม่ ผูม้ สี ว่ นได้เสียหลักของบริษทั ได้เป็น 6 กลุม่ ได้แก่ กลุม่ ลูกค้า กลุม่ หน่วยงานก�ำกับดูแลและหน่วยงานราชการทีเ่ กีย่ วข้องกับการด�ำเนินธุรกิจ กลุม่ ผูถ้ อื หุน้ และนักลงทุน กลุม่ ชุมชนและหน่วยงานราชการ กลุม่ คูค่ า้ และกลุม่ คณะกรรมการ ผูบ้ ริหาร และพนักงาน ซึง่ มีหน่วยงานรับผิดชอบ ช่องทางในการสือ่ สาร และวางกลยุทธ์พร้อมแผนงาน เพือ่ ตอบสนองความคาดหวังของผูม้ สี ว่ นได้เสียหลักแต่ละกลุม่ ดังนี้ ผู้มีส่วนได้เสียหลัก
ความคาดหวัง
วิธีการมีส่วนร่วม
ความถี่
1. กลุ่มลูกค้า 1.1 กลุ่มลูกค้า (บริษัท)
1. คุณภาพน�้ำดิบ 2. ราคาน�้ำดิบเหมาะสม 3. การบริการจ่ายน�้ำ 4. ความสะดวกในการติดต่อประสานงาน เรือ่ งน�ำ้ 5. ควรจัดกิจกรรมเชื่อมสัมพันธ์ 6. ควรส่งข้อมูลเกีย่ วกับกิจกรรมอืน่ ๆ ให้ทราบ 7. ปริมาณน�ำ้ เพียงพอทีจ่ ะรองรับ ความต้องการของลูกค้า 8. เสถียรภาพโครงข่ายท่อส่งน�้ำดิบ 9. บริการด้านน�้ำครบวงจร 10. ราคาการให้บริการที่เหมาะสม 11. มีสว่ นร่วมเพือ่ ให้ธรุ กิจของลูกค้า ด�ำเนินต่อไปได้
1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9.
การประชุม Water War Room 12 ครั้ง/ปี การประชุมระหว่างผูบ้ ริหารกับลูกค้าหลัก 1 ครั้ง/ปี การส�ำรวจความพึงพอใจ 1 ครั้ง/ปี การติดตามความก้าวหน้าโครงการ 1 ครั้ง/ปี การประชุมหารือกับลูกค้า ตามโครงการของบริษทั การรับข้อร้องเรียนของลูกค้า ตลอดทั้งปี การสื่อสารเพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลทาง ตลอดทั้งปี Line Group การพบปะในโอกาสวันส�ำคัญ ตลอดทั้งปี การพบปะลูกค้าเพือ่ น�ำเสนอการให้บริการ ตามโครงการของบริษทั น�ำ้ ครบวงจรพร้อมทัง้ ให้คำ� แนะน�ำลูกค้า เพือ่ พัฒนาโครงการในด้านทีเ่ กีย่ วข้อง
1.2 กลุ่มลูกค้า (บริษทั ในเครือ)
1. 2. 3. 4. 5. 6. 7.
การผลิตน�ำ้ ประปาให้มคี ณ ุ ภาพ ใสสะอาด ปริมาณน�้ำประปาเพียงพอ ไหลอย่าง ต่อเนือ่ ง การบริหารแรงดันในเส้นท่อประปา การซ่อมแซมท่อประปาตามก�ำหนดเวลา ให้บริการน�้ำครบวงจรตอบสนอง ความต้องการของลูกค้าได้ ราคาการให้บริการที่เหมาะสม มีส่วนร่วมเพื่อให้ธุรกิจของลูกค้า ด�ำเนินต่อไปได้
1. 2. 3. 4. 5.
ตามโครงการของบริษทั การประชุมร่วมกับคู่สัญญา 4 ครั้ง/ปี การส�ำรวจความพึงพอใจ ตลอดทั้งปี การรับข้อร้องเรียนของลูกค้า ตลอดทั้งปี การสื่อสารเพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลทาง Line Group การพบปะในโอกาสวันส�ำคัญ ตลอดทั้งปี
กลุ่มหน่วยงาน ก� ำ กั บ ดู แ ลและ หน่วยงานราชการ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ การด�ำเนินธุรกิจ
1. 2. 3. 4. 5. 6.
การปฏิบตั ติ ามกฎระเบียบ ข้อกฎหมาย อย่างเคร่งครัด สร้างความร่วมมือระหว่างหน่วยงานภาครัฐ เอกชน และชุมชน ร่วมกันดูแลรักษา แหล่งน�้ำร่วมกัน ร่วมกันบูรณาการบริหารจัดการน�้ำ ในลุ่มน�้ำชายฝั่งทะเลตะวันออก รักษาความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างกัน และร่วมกิจกรรมต่าง ๆ ของภาครัฐ กิจกรรมส่งเสริมคุณภาพชีวิตชุมชน มาตรการรองรับแผนพัฒนา โครงการพัฒนา ระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก
1. 2. 3. 4. 5. 6. 7.
ศึกษาและปฏิบตั ติ ามข้อก�ำหนดกฎระเบียบ กฎหมาย การประชุม Water War Room การประชุมร่วมกับกลุ่มผู้ใช้น�้ำ การสื่อสารเพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลทาง Line Group การพบปะในโอกาสวันส�ำคัญ การศึกษาข้อมูลการคาดการณ์สภาพ ภูมิอากาศจากแบบจ�ำลองต่าง ๆ กิจกรรมสัมพันธ์
2.
ตลอดทั้งปี 12 ครั้ง/ปี 2 - 4 ครั้ง/ปี ตลอดทั้งปี 2 - 4 ครั้ง/ปี 1 ครั้ง/ปี 2 - 4 ครั้ง/ปี
รายงานความยั่งยืน 2562 #สะกิดไทยใส่ใจน�้ำ
ผู้มีส่วนได้เสียหลัก
ความคาดหวัง
3. กลุ่มผู้ถือหุ้น และนักลงทุน
1. ความก้าวหน้าโครงการก่อสร้าง และธุรกิจใหม่ 2. ปริมาณน�ำ้ ดิบทีข่ ายได้ ยอดขาย รายไตรมาส ผลประกอบการ ก�ำไร 3. งบประมาณลงทุนเพือ่ รองรับ EEC และ คาดการณ์ปริมาณน�ำ้ ทีจ่ ะขายได้ในอนาคต 4. ทิศทางการเติบโตของธุรกิจใหม่ 5. หลักธรรมาภิบาลและการก�ำกับดูแลกิจการ ทีด่ ี 6. นวัตกรรมการจัดการน�้ำ 7. การด�ำเนินงานความยัง่ ยืน ได้รบั รางวัล จากหน่วยงานภายนอก 8. แผนการรองรับการเปลีย่ นแปลงปริมาณน�ำ้ ของลูกค้าที่จะซื้อน�้ำน้อยลง 9. โครงสร้างราคาค่าน�้ำ 10. มาตรการรองรับภัยแล้ง 11. ผลตอบแทนและอัตราการจ่ายเงินปันผล ที่มีความเหมาะสม 12. ให้ขอ้ มูลข่าวสารแก่นกั ลงทุน และผูถ้ อื หุน้ อย่างชัดเจนครบถ้วนทันต่อเหตุการณ์ 13. ควรจัดกิจกรรมสานสัมพันธ์ให้มากขึน้ 14. มีการเอาใจใส่ในการดูแลการลงทุน ของลูกค้าอย่างเท่าเทียมกัน
1. 2. 3. 4. 5. 6. 7.
การประชุมผู้ถือหุ้นประจ�ำปี (AGM) การจัดกิจกรรม Site Visit การจัดกิจกรรมเพือ่ สือ่ สารผลประกอบ ของบริษัทยังนักลงทุน/ผู้ถือหุ้น เช่น Roadshow, Opportunity day, Company visit เป็นต้น การจัดกิจกรรม CSR การส�ำรวจความพึงพอใจ การแถลงผลประกอบการ (MD&A) การตอบประเด็นข้อซักถามผ่านทาง โทรศัพท์และ Email
1 ครั้ง/ปี 2 ครั้ง/ปี ตลอดทั้งปี
4. กลุม่ ชุมชนและ 1. บริหารจัดการน�้ำให้เพียงพอต่อความ หน่วยงานราชการ ต้องการของชุมชน 2. ให้ความรูเ้ กีย่ วกับการดูแลและอนุรกั ษ์ ทรัพยากรน�้ำ 3. บริหารจัดการน�้ำที่มีคุณภาพ 4. การสนับสนุนกิจกรรมเกี่ยวกับน�้ำ 5. พัฒนาหรือสนับสนุนโครงการบริหาร จัดการน�้ำให้เพียงพอต่อทุกภาคส่วน 6. การก่อสร้างวางท่อมีมาตรฐาน และ คืนสภาพถนนอย่างมีมาตรฐาน 7. ร่วมกันบูรณาการบริหารจัดการน�้ำ ในลุ่มน�้ำชายฝั่งทะเลตะวันออก
1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8.
ศึกษาและปฏิบตั ติ ามข้อก�ำหนด กฎระเบียบ กฎหมาย การส�ำรวจความพึงพอใจ การประชาสัมพันธ์โครงการ การประชุมติดตามแก้ไขประเด็นของ ชุมชน การจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิต และสิ่งแวดล้อมให้กับชุมชน การพบปะในโอกาสวันส�ำคัญ การประชุมร่วมกันระหว่างโครงการส่งน�ำ้ และบ�ำรุงรักษาประแสร์ กับกลุม่ ผูใ้ ช้นำ�้ ประเมินผลการจัดกิจกรรม CSR
ตลอดทั้งปี
5. กลุ่มคู่ค้า
ควรมีบริการทีร่ วดเร็ว และเพิม่ ช่องทาง การประชาสัมพันธ์การจัดซื้อจัดจ้าง ที่หลากหลาย มี ก ารด� ำ เนิ น งานด้ ว ยความโปร่ ง ใส และมีมาตรฐาน ลดความเคร่งครัดในการก�ำหนดข้อก�ำหนด ในการจดทะเบียน มีแผนการขยายธุรกิจเพือ่ การเติบโต ปรับปรุงข้อมูลเบอร์โทรศัพท์ให้เป็น ปัจจุบนั อย่างสม�ำ่ เสมอ
1. 2. 3. 4.
การเชิญประชุมชี้แจงขอบเขตงาน ที่มีมูลค่า 1 ล้านบาทขึ้นไป การจัดกิจกรรมสัมพันธ์ การจัดกิจกรรมเยี่ยมชมกิจการบริษัท (Site Visit) การติดตามความคืบหน้าการด�ำเนินงาน
6. ก ลุม่ คณะกรรมการ 1. ปรับปรุงสวัสดิการยืดหยุน่ ให้เกิดประโยชน์ ต่อพนักงานมากขึน้ ผูบ้ ริหาร 2. การดูแลสุขภาพ พลานามัยของพนักงาน และพนักงาน การออกก�ำลังกายของพนักงาน 3. การเติบโตในสายงาน และค่าตอบแทน ทีเ่ หมาะสม 4. อุปกรณ์ปอ้ งกันเพือ่ ความปลอดภัยในการ ท�ำงาน และแผนงานความปลอดภัย
1. 2. 3. 4. 5. 6.
1. 2. 3. 4. 5.
วิธีการมีส่วนร่วม
5. การส�ำรวจความพึงพอใจ การส�ำรวจความพึงพอใจและความผูกพัน ของพนักงาน การประชุมคณะกรรมการสวัสดิการ ในสถานประกอบการ 2 ชุด การประชุมคณะกรรมการความปลอดภัย อาชี ว อนามั ย และสภาพแวดล้ อ ม ในการท�ำงาน การรับข้อร้องเรียนจากพนักงาน CEO พบพนักงาน การประชุมคณะกรรมการบริษัท
19
ความถี่
1 ครั้ง/ปี 2 ปี/ครั้ง 4 ครั้ง/ปี ตลอดทั้งปี
2 ปี/ครั้ง เมื่อมีโครงการ เมื่อมีข้อร้องเรียน ทุกเดือน 1 ครั้ง/ปี 2 - 4 ครั้ง/ปี ทุกกิจกรรม CSR จัดโดยบริษัท ทุกครั้งที่มีการสอบ/ ประกวดราคา 1 ครั้ง/ปี 2 ครั้ง/ปี ทุกครั้งที่มีการสอบ/ ประกวดราคา 2 ปี/ครั้ง 1 ครั้ง/ปี 8 ครั้ง/ปี 12 ครั้ง/ปี 12 ครั้ง/ปี 1 ครั้ง/ปี 12 ครั้ง/ปี
20
รายงานความยั่งยืน 2562 บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)
ประเด็นสาระส�ำคัญด้านความยั่งยืน (Disclosure 102-33, 102-47)
บริษัทได้น�ำประเด็นสาระส�ำคัญด้านความยั่งยืนจากปัจจัยภายในขององค์กร ได้แก่ หลักธรรมาภิบาลในการด�ำเนินงานของบริษัท นโยบาย กลยุทธ์ เป้าหมาย แผนธุรกิจ และปัจจัยภายนอก ได้แก่ แนวโน้มความสนใจระดับประเทศหรือระดับโลก ข้อร้องเรียน และความต้องการ ความคาดหวัง ข้อเสนอแนะของผูม้ สี ว่ นได้เสียทีส่ อดคล้องกัน มาพิจารณาร่วมกันเพือ่ จัดล�ำดับความส�ำคัญของประเด็น สาระส�ำคัญด้านความยัง่ ยืนขององค์กร โดยแบ่งประเด็นสาระส�ำคัญตามหลักธรรมาภิบาลออกเป็น 3 มิติ ได้แก่ มิตเิ ศรษฐกิจและธรรมาภิบาล มิตสิ งั คม และมิติสิ่งแวดล้อม โดยมีกระบวนการ ดังนี้ 1 รวบรวมข้อมูลประเด็นสาระส�ำคัญด้านความยั่งยืน • ข้อมูลภายในองค์กร (นโยบาย กลยุทธ์ เป้าหมาย แผนธุรกิจ และความเสี่ยง) ประเด็นส�ำคัญ จากการระดมสมองของผู ้ บ ริ ห ารในการประชุ ม เชิ ง ปฏิ บั ติ ก าร จั ด ท� ำ กลยุ ท ธ์ และความเสี่ ย ง ขององค์กรทีอ่ าจส่งผลกระทบต่อความยัง่ ยืนขององค์กรทัง้ ในระยะสัน้ และระยะยาว • ข้อมูลภายนอกองค์กร (แนวโน้มความสนใจระดับประเทศหรือระดับโลก) ทบทวนแนวโน้ม ความสนใจระดับประเทศหรือระดับโลกที่สอดคล้องกับเป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืนของโลก (Sustainable Development Goals : SDGs) และความคาดหวังของผู้มีส่วนได้เสียจากการส�ำรวจ ความคิดเห็น ทัง้ อย่างเป็นทางการและไม่เป็นทางการ เช่น การประชุม การสัมมนา การสัมภาษณ์ หรือการ พบปะพูดคุย ตลอดจนการส�ำรวจความคิดเห็นและความพึงพอใจกลุ่มผู้มีส่วนได้เสียแต่ละกลุ่ม 2 การจัดล�ำดับความส�ำคัญ จากการรวบรวมประเด็นสาระส�ำคัญด้านความยัง่ ยืนจากปัจจัยภายในและปัจจัยภายนอก มาพิจารณาเพือ่ ให้คะแนนและจัดล�ำดับความส�ำคัญตามแนวทาง 2 เกณฑ์ และก�ำหนดประเด็นลงในตารางการวิเคราะห์ ประเด็นสาระส�ำคัญ (Materiality Matrix) ซึง่ แบ่งเป็น 2 แกน • แกนนอน ประเด็นสาระส�ำคัญทีบ่ ริษทั ให้ความสนใจ พิจารณาผลกระทบต่อบริษทั ทัง้ มิตเิ ศรษฐกิจ และธรรมาภิบาล มิตสิ งั คม และมิตสิ งิ่ แวดล้อม โอกาสและความเสีย่ งทางธุรกิจ ข้อก�ำหนดกฎหมาย ตลอดจนความสนใจจากกลุม่ ผูม้ สี ว่ นได้เสีย • แกนตัง้ ประเด็นสาระส�ำคัญทีผ่ มู้ สี ว่ นได้เสียให้ความสนใจ พิจารณาจากผลกระทบทีเ่ กิดจากการ ด�ำเนินงานของบริษทั ต่อกลุม่ ผูม้ สี ว่ นได้เสีย ทัง้ มิตเิ ศรษฐกิจและธรรมาภิบาล มิตสิ งั คม และมิตสิ งิ่ แวดล้อม ตลอดจนประเด็นทีม่ ผี ลต่อการตัดสินใจทัง้ ด้านบวกและด้านลบของกลุม่ ผูม้ สี ว่ นได้เสียทีอ่ าจส่งผลกระทบ ต่อบริษทั 3 การทบทวนเนื้อหารายงาน (Disclosure 102-32) ประเด็นสาระส�ำคัญทีไ่ ด้จากการวิเคราะห์โดยคณะท�ำงานพัฒนาความยัง่ ยืนของกลุม่ บริษทั และเสนอต่อ ผูบ้ ริหารระดับสูงเพือ่ พิจารณาเห็นชอบ ตลอดจนได้รบั ความเห็นชอบจากคณะกรรมการธรรมาภิบาล และพัฒนาเพือ่ ความยัง่ ยืน เพือ่ ก�ำหนดเป็นเนือ้ หาให้ครอบคลุมใน 3 มิติ ได้แก่ มิตเิ ศรษฐกิจและธรรมาภิบาล มิตสิ งั คม และมิตสิ งิ่ แวดล้อม
รายงานความยั่งยืน 2562 #สะกิดไทยใส่ใจน�้ำ
21
ผลการประเมินประเด็นความยั่งยืนที่ส�ำคัญ ปี 2562 1. มิติเศรษฐกิจและธรรมาภิบาล
2. มิติสิ่งแวดล้อม
3. มิติสังคม
1.1 การก�ำกับดูแลกิจการทีด่ แี ละการปฏิบตั ิ ตามกฎหมาย 1.2 การเติบโตทางธุรกิจอย่างยัง่ ยืน 1.3 ลดต้นทุนการผลิต การสูบส่ง และการด�ำเนินงานภายใน 1.4 มาตรฐานโครงสร้างราคาค่าน�ำ้ แบบครบวงจร 1.5 ความพึงพอใจของลูกค้า ด้วยคุณภาพ ในการให้บริการ 1.6 การสร้างความสัมพันธ์ที่ดีต่อผู้มีส่วน ได้เสียหลัก 1.7 ความรับผิดชอบต่อสินค้าและบริการ (ประปา)
2.1 การเปลีย่ นแปลงของคุณภาพน�ำ้ 2.2 ควบคุมมลพิษและอนุรกั ษ์พลังงาน 2.3 การเปลีย่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศและ ภัยพิบตั สิ ง่ ผลกระทบต่อแหล่งน�ำ้ ต้นทุน 2.4 การสร้างเสถียรภาพของระบบโครงข่าย ท่อส่งน�ำ ้ และประสิทธิภาพระบบ สูบจ่ายน�ำ้
3.1 สิ ท ธิ ม นุ ษ ยชนและการจ้ า งงานเพื่ อ ขับเคลือ่ นเศรษฐกิจอย่างยัง่ ยืน 3.2 อาชีวอนามัยและความปลอดภัยในการ ท�ำงาน 3.3 การพัฒนาบุคลากร และความก้าวหน้า ในสายงาน 3.4 มาตรฐานการควบคุมงานโครงการก่อสร้าง 3.5 ความรั บ ผิ ด ชอบต่ อ สั ง คม ชุ ม ชน สิ่ ง แวดล้อมในพื้นที่ และภาพลักษณ์ องค์กร 3.6 สวัสดิการสร้างสุข 3.7 วัฒนธรรมและคุณค่าขององค์กร
หมายเหตุ : หัวข้อ 1.1 ครอบคลุมทั้ง 3 มิติ (มิติเศรษฐกิจและธรรมาภิบาล มิติสังคม และมิติสิ่งแวดล้อม)
ตารางการวิเคราะห์ประเด็นสาระส�ำคัญ (Materiality Matrix) (Disclosure 102-28) (1.1) (1.2)
ประเด็นสาระส�ำคัญที่ผู้มีส่วนได้เสียให้ความสนใจ
5 (1.5) (1.6) (2.3) (2.4) (3.3)
(1.4)
4
(1.7) (2.1) (2.2) (3.1) (3.2) (3.4) (3.5)
(1.3)
(3.6)
3
2 (3.7)
1 1
2
3
4
ประเด็นสาระส�ำคัญที่บริษัทให้ความสนใจ
5
22
รายงานความยั่งยืน 2562 บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)
ตารางแสดงประเด็นที่มีนัยส�ำคัญต่อความยั่งยืนของบริษัท รวมจ�ำนวน 14 ประเด็น 17 ตัวชี้วัด สรุปได้ดังนี้
ผูถ้ อื หุน้ และนักลงทุน
หน่วยงานก�ำกับดูแล และหน่วยงานราชการทีเ่ กีย่ วข้องกับ การด�ำเนินธุรกิจ
ชุมชน และหน่วยงานราชการ
คู่ค้า
คณะกรรมการ ผู้บริหารและพนักงาน
กลุม่ ประเด็น
ลูกค้า
กลุม่ ผูม้ สี ว่ นได้เสียให้ความสนใจ
1. การก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ี และการปฏิบัติตาม ✓ กฎหมาย
✓
✓
✓
✓
✓ ดูแลกิจการที่ดี
2. การเติบโตทางธุรกิจ อย่างยัง่ ยืน
✓
ประเด็นสาระส�ำคัญ บริษทั /กลุม่ ผูม้ สี ว่ นได้เสีย ให้ความสนใจ
✓
3. ลดต้นทุนการผลิต การสูบส่ง และ การด�ำเนินงานภายใน
6. การสร้างความสัมพันธ์ทดี่ ี ✓ ต่อผูม้ สี ว่ นได้เสียหลัก
General Disclosures 12.7, 16.5 (102-16, 102-17) 2. การบริหารจัดการ Anti-Corruption (205-2) คู่ค้าอย่างยั่งยืน 3. การสร้างการเติบโต Economic Performance อย่ า งยั่ ง ยื น ด้ ว ย (201-1, 201-2) การบริหารจัดการ น�ำ้ ครบวงจร 4. การบริหารความ General Disclosures 6.3, 9.1, พึงพอใจของลูกค้า (102-43, 102-44) 9.4 Evaluation of the 5. การบริหาร ข้อร้องเรียน management approach (103-3)
✓
✓
✓
✓
✓
7. ความรับผิดชอบต่อ สินค้าและบริการ (ประปา)
✓
✓
1. การเปลีย่ นแปลงของ คุณภาพน�ำ้
✓
✓
2. ควบคุมมลพิษ (การด�ำเนินก่อสร้างที่มี มาตรฐานไม่ส่งผล กระทบต่อสิ่งแวดล้อม) และอนุรักษ์พลังงาน
มิติ สิง่ แวดล้อม 3. การเปลี่ยนแปลงสภาพ ภูมิอากาศและภัยพิบัติ ส่งผลกระทบต่อ แหล่งน�้ำต้นทุน
4. การสร้ า งเสถี ย รภาพ ของระบบโครงข่ายท่อ ส่งน�ำ้ และประสิทธิภาพ ✓ ระบบสูบจ่ายน�้ำ
GRI Standard Title
1. หลักการก�ำกับ
✓
มิติ เศรษฐกิจ 4. มาตรฐานโครงสร้าง และ ✓ ราคาค่าน�ำ้ ธรรมา แบบครบวงจร ภิบาล 5. ความพึงพอใจของลูกค้า ✓ ด้วยคุณภาพในการ ให้บริการ
EWG Sustainability Aspects
ความ สอดคล้อง กับ เป้าหมาย การพัฒนา ทีย่ งั่ ยืน (SDGs)
✓
✓
✓
✓
✓
✓
✓
✓
✓
✓
✓
1. ความรับผิดชอบ ในกระบวน การด�ำเนินงาน 2. การรับมือต่อการ เปลีย่ นแปลงสภาพ ภูมิอากาศ 3. นวัตกรรมเพื่อ สิ่งแวดล้อม (ลดพลังงาน ลดปริมาณน�ำ้ สูญเสีย และเทคโนโลยี สะอาด)
Energy (302-3) Emissions (305-2) Water and Effluents (303-1, 303-3, 303-5) Effluents and Waste (306-1)
6.1, 6.4, 6.5
รายงานความยั่งยืน 2562 #สะกิดไทยใส่ใจน�้ำ
✓
2. อาชีวอนามัย และความปลอดภัย ในการท�ำงาน
✓
3. การพัฒนาบุคลากร และความก้าวหน้า ในสายงาน มิตสิ งั คม 4. มาตรฐานการควบคุม งานโครงการก่อสร้าง
✓
✓
✓
5. ความรับผิดชอบต่อ สังคม ชุมชน สิ่งแวดล้อม ในพื้นที่ และภาพลักษณ์ องค์กร
✓
✓
✓
7. วัฒนธรรมและคุณค่า ขององค์กร
คณะกรรมการ ผู้บริหารและพนักงาน
EWG Sustainability Aspects
✓
GRI Standard Title
ความ สอดคล้อง กับ เป้าหมาย การพัฒนา ทีย่ งั่ ยืน (SDGs)
General Disclosures 4.3, 4.5, 5.1, 8.5 (102-16) ✓ 2. การพัฒนาบุคลากร Employment (401-1) Training And Education และองค์กร (404-1, 404-2) 3. การบริหารจัดการ General Disclosures ✓ และดูแลสวัสดิการ (102-41, 102-43, 102-44) พนักงาน 4. อาชี ว อนามั ย และ Occupational Health 8.8 ความปลอดภัย And Safety ✓ ในการท�ำงาน (403-1, 403-5, 403-9) Management Approach (103-2) 5. ความรั บ ผิ ด ชอบ Local Communities 2.1, 2.4, 4.4, 4.5, (413-2) ต่อผลกระทบ 6.3, 6.6, จากการก่อสร้าง Economic Performance 8.9, 13.3, 6. โครงการเพื่อ 15.1, 15.2 ความยั่งยืนของ (201-1) Indirect Economic ชุมชน Impacts (203-1) 1. ค่านิยมองค์กร
1. สิทธิมนุษยชน และการจ้างงานเพื่อ ขับเคลื่อนเศรษฐกิจ อย่างยั่งยืน
6. สวัสดิการสร้างสุข
คู่ค้า
ชุมชน และหน่วยงานราชการ
หน่วยงานก�ำกับดูแล และหน่วยงานราชการทีเ่ กีย่ วข้องกับ การด�ำเนินธุรกิจ
ประเด็นสาระส�ำคัญ บริษทั /กลุม่ ผูม้ สี ว่ นได้เสีย ให้ความสนใจ
ผูถ้ อื หุน้ และนักลงทุน
กลุม่ ประเด็น
ลูกค้า
กลุม่ ผูม้ สี ว่ นได้เสียให้ความสนใจ
23
✓
24
รายงานความยั่งยืน 2562 บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)
ความยั่งยืนระดับนโยบาย บริษทั มีการบริหารด้านความยัง่ ยืนขององค์กรในทุกมิติ ทัง้ มิตเิ ศรษฐกิจและธรรมาภิบาล มิตสิ งั คม และมิตสิ งิ่ แวดล้อม พิจารณาจากปัจจัย การเปลีย่ นแปลงทัง้ ภายใน และภายนอก โดยคณะกรรมการธรรมาภิบาลและพัฒนาเพือ่ ความยัง่ ยืน ท�ำให้บริษทั มีการเตรียมความพร้อมรับมือ ต่อการเปลีย่ นแปลงได้อย่างทันต่อสถานการณ์ โดยมีโครงสร้างด้านการบริหารจัดการความยัง่ ยืน 3 ระดับ (Disclosure 102-19, 102-20) ได้แก่
คณะกรรมการ ธรรมาภิบาลและ พัฒนาเพือ ่ ความยัง ่ ยืน
คณะผูบ ริหาร และผูบ ง ั คับบัญชา
ประธาน คณะทํางาน รายงานความยัง ่ ยืน คณะทํางาน รายงานความยัง ่ ยืน (ระดับปฏิบต ั ก ิ าร)
กรอบนโยบาย และแนวทางการพัฒนา อยางยัง ่ ยืน
กําหนดกลยุทธ ดัชนีชว ้ี ด ั แผนงาน แนวทางและเครือ ่ งมือ รวมถึงการตรวจติดตาม ผลการดําเนินงาน
แผนงานการพัฒนาอยางยัง ่ ยืน ถูกอนุมต ั โิ ดยคณะกรรมการพัฒนาอยางยัง ่ ยืน และกระจายเปนคาดัชนีชว ี้ ด ั ของสายงานตาง ๆ
สมาชิกคณะทํางาน (ประกอบดวยสมาชิก ทีม ่ ค ี ณ ุ สมบัตห ิ ลากหลาย)
ระดับนโยบาย ระดับกลยุทธ์และแผนงาน ระดับปฏิบัติงาน
บริษทั จัดตัง้ คณะกรรมการธรรมาภิบาลและพัฒนาเพือ่ ความยัง่ ยืน ก�ำหนดทิศทาง นโยบาย และเป้าหมาย การด�ำเนินงานด้านความยั่งยืนของบริษัท (Disclosure 102-26) คณะผู้บริหารและผู้บังคับบัญชา ด�ำเนินการตามนโยบาย และเป้าหมายที่ถูกก�ำหนด ระดมความคิด เพือ่ วางกลยุทธ์ แผนงาน ตัวชีว้ ดั และเป้าหมายให้สอดคล้องกับนโยบายจากคณะกรรมการธรรมาภิบาล และพั ฒ นาเพื่ อ ความยั่ ง ยื น พร้ อ มประเมิ น ผล และรายงานความก้ า วหน้ า การด� ำ เนิ น งานด้ า น ความยั่งยืนต่อคณะกรรมการธรรมาภิบาลฯ บริษัทจัดตั้งคณะท�ำงานด้านความยั่งยืน ประกอบด้วยผู้แทนจากทุกส่วนงานของบริษัท เพื่อน�ำ กลยุทธ์และแผนงานไปปฏิบัติ พร้อมกับรายงานความก้าวหน้า และผลการด�ำเนินงานเป็นระยะ ให้ แ ก่ ฝ ่ า ยบริ ห ารรั บ ทราบ นอกจากนี้ บริ ษั ท ยั ง มี ค ณะท� ำ งานชุ ด ย่ อ ยต่ า ง ๆ ที่ ค อยสนั บ สนุ น การด�ำเนินงานด้านความยั่งยืน เช่น คณะกรรมการอนุรักษ์พลังงาน คณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการท�ำงาน คณะกรรมการสวัสดิการ เป็นต้น
รายงานความยั่งยืน 2562 #สะกิดไทยใส่ใจน�้ำ
25
อีสท์ วอเตอร์ กับการพัฒนาอย่างยั่งยืน ตัง้ แต่ปี 2561 บริษทั ได้ขยายธุรกิจสูก่ ารให้บริการ “น�ำ้ ครบวงจร” ซึง่ มีตงั้ แต่นำ�้ ดิบ น�ำ้ อุตสาหกรรม น�ำ้ ประปา น�ำ้ ดืม่ การบ�ำบัดน�ำ้ เสีย และน�ำ้ รีไซเคิล ทัง้ ในพืน้ ทีป่ ฏิบตั กิ าร (ฉะเชิงเทรา ชลบุรี และระยอง) รวมถึงพืน้ ทีภ่ าคตะวันออกเป็นทีต่ งั้ ของโครงการเขตพัฒนาพิเศษ ภาคตะวันออก (อีอซี )ี ดังนัน้ บริษทั จึงได้ปรับโครงสร้างภายในองค์กร และตัง้ คณะกรรมการธรรมาภิบาล และพัฒนาเพือ่ ความยัง่ ยืน ท�ำหน้าที่ ก�ำหนดนโยบาย กลยุทธ์ ตลอดจนแผนการด�ำเนินงานเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืนที่สอดคล้องกับการด�ำเนินธุรกิจ ทัง้ ในมิตเิ ศรษฐกิจ และธรรมาภิบาล มิติสังคม และมิติสิ่งแวดล้อมของบริษัท ส่งเสริมและสนับสนุนกิจกรรมต่าง ๆ ของบริษัท เพื่อให้บรรลุเป้าหมาย ตามนโยบายด้านการพัฒนาเพื่อความยั่งยืน ซึ่งเชื่อมโยงกับกลยุทธ์ขององค์กรด้านความรับผิดชอบต่อชุมชน สังคม สิ่งแวดล้อม และสร้างความสัมพันธ์อนั ดีกบั ผูม้ สี ว่ นได้เสีย ด้วยความโปร่งใสตามหลักธรรมาภิบาล ผ่านการบริหารงานของฝ่ายบริหาร กระบวนการด�ำเนินธุรกิจ 8 กระบวนการหลัก
(Disclosure 102-9) 1
การก�ำกับดูแลกิจการ การด�ำเนินงานทีซ่ อื่ สัตย์ โปร่งใส ตรวจสอบได้ เป็นจรรยาบรรณ ทางธุรกิจของบริษทั ทีท่ กุ คนใช้เป็นพืน้ ฐานในการปฏิบตั งิ าน รวมถึ ง มี ก ารประเมิ น ความเสี่ ย ง และจั ด ท� ำ แผนรองรั บ การด�ำเนินธุรกิจอย่างต่อเนือ่ ง (Business Continuity Plan : BCP) เป็นประจ�ำทุกปี
2
การบริหารจัดการภายในองค์กร บริษัทได้ปรับโครงสร้างองค์กรเพื่อให้สอดคล้องกับนโยบาย กลยุ ท ธ์ แ ละแผนพั ฒ นาองค์ ก รสู ่ ก ารเติ บ โตอย่ า งยั่ ง ยื น ด้ ว ยการขั บ เคลื่ อ นตั้ ง แต่ ร ะดั บ คณะกรรมการบริ ษั ท คณะผู้บริหาร และกลุ่มพนักงาน เพื่อให้การด�ำเนินงาน ไปในทิศทางเดียวกัน และมุ่งสู่เป้าหมายขององค์กร
3
การบริหารจัดการทางการเงิน เน้นระบบการควบคุมภายในที่ดี มีการบริหารความเสี่ยง ทางการเงิ น อย่ า งสม�่ ำ เสมอ รวมถึ ง มี ก ารจั ด ท� ำ รายงาน ทางการเงินประจ�ำปีด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูลทีม่ ี มาตรฐานเป็นที่ยอมรับ ด้วยนโยบายการบัญชีที่เหมาะสม ซึ่งรับรองโดยผู้สอบบัญชีเพื่อความถูกต้องโปร่งใส สะท้อน ไปยังการรักษาอันดับเครดิตทางการเงินทีด่ ี และความเชือ่ มัน่ อย่างต่อเนื่อง
4
การบริหารสัญญาและลูกค้าสัมพันธ์ มุ ่ ง เน้ น การบริ ห ารจั ด การสั ญ ญาของบริ ษั ท ที่ ร ่ ว มกั บ ผู ้ มี ส่วนได้เสียแต่ละกลุม่ โดยการก�ำกับดูแลตามหลักธรรมาภิบาล ติ ด ตามเฝ้ า ระวั ง ให้ ก ารด� ำ เนิ น งานเป็ น ไปตามสั ญ ญา และมีมาตรฐาน ตลอดจนปรับปรุงการด�ำเนินงานอย่างต่อเนือ่ ง ให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น เพื่อตอบสนองและสร้างความ พึงพอใจแก่ผู้มีส่วนได้เสียที่เป็นคู่ร่วมสัญญา
5
การวิเคราะห์ พัฒนาแหล่งน�้ำต้นทุน และธุรกิจใหม่ บริษทั ร่วมกับหน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชน ในการวิเคราะห์ สภาพภูมิอากาศ สถานการณ์น�้ำในพื้นที่ และร่วมกันหา แนวทางพัฒนาศักยภาพแหล่งน�ำ้ ต้นทุนเพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพ การรองรับน�้ำได้มากขึ้น ตลอดจนการเตรียมแผนธุรกิจน�้ำ ครบวงจรส�ำหรับเตรียมความพร้อมรับการเปลี่ยนแปลง สภาพภูมิอากาศของโลกตลอดจนตอบสนองความต้องการ และเพิ่มความหลากหลายของผลิตภัณฑ์ของลูกค้าน�ำไปสู่ การด�ำเนินธุรกิจอย่างยัง่ ยืน
6
การบริหาร พัฒนาระบบสูบส่งน�้ำ และนวัตกรรม การออกแบบและพัฒนาระบบสูบส่งน�ำ ้ ด้วยการน�ำนวัตกรรม และเทคโนโลยีการบริหารจัดการน�ำ้ ทีท่ นั สมัยมาประยุกต์ ใช้เพือ่ เพิม่ ความรวดเร็ว แม่นย�ำ ลดน�ำ้ สูญเสียและลดการใช้พลังงาน ในระบบสูบส่ง ภายใต้การออกแบบระบบทีเ่ หมาะสมกับผูใ้ ช้นำ�้ แต่ละราย
7
การบริหารงานโครงการ (วางท่อ และธุรกิจใหม่) การก่อสร้างเป็นกระบวนการส�ำคัญที่ส่งผลกระทบต่อผู้มี ส่วนได้เสียเกือบทุกกลุ่ม บริษัทจึงมีการก�ำหนดมาตรฐาน การท�ำงานร่วมกันกับผูม้ สี ว่ นได้เสียในกระบวนการ โดยเฉพาะ กลุ่มคู่ค้า และชุมชนโดยรอบอย่างใกล้ชิด ตลอดจนการ น� ำ เทคโนโลยีและนวัตกรรมมาใช้ในการบริหารงานโครงการ เพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพงานและป้องกันผลกระทบทีอ่ าจจะเกิดขึน้
8
การบริหารงานชุมชนและภาพลักษณ์องค์กร บริหารจัดการน�ำ้ เพือ่ รองรับความต้องการทางธุรกิจ โดยค�ำนึงถึง หลักการใช้น�้ำร่วมกันให้เพียงพอต่อทุกภาคส่วน ไม่ลดทอน คุณภาพชีวติ ของกลุม่ ผูใ้ ช้นำ�้ ภาคส่วนอืน่ ตลอดจนร่วมกันสร้าง คุณภาพชีวติ ของคนในชุมชนและสังคมทีอ่ ยูต่ ามแนวโครงข่าย ท่อส่งน�้ำตลอดความยาว 491.8 กม. ภายใต้กรอบการ พัฒนา 3 โครงการ ได้แก่ โครงการส่งเสริมสาธารณูปโภค ด้านน�้ำและอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม โครงการส่งเสริมคุณภาพ ชีวิตชุมชน และโครงการส่งเสริมการเรียนรู้
26
รายงานความยั่งยืน 2562 บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)
นอกจากนี้ ในการบริหารงานของบริษัทได้มีการน�ำข้อก�ำหนด และมาตรฐานต่าง ๆ ทีเ่ ป็นสากลมาใช้เป็นแนวทางในการปฏิบตั งิ าน เพือ่ พัฒนาการด�ำเนินงานให้เกิดความยัง่ ยืน (Disclosure 102-12) ดังนี้ (1) กรอบการรายงานความยัง่ ยืนตามมาตรฐานองค์กรแห่งการริเริม่ ว่าด้วยการรายงานสากล ของ Global Reporting Initiative : GRI (2) พ.ร.บ. หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (3) หลักการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ สี ำ� หรับบริษทั จดทะเบียนไทย ปี 2560 ของ ก.ล.ต. (4) นโยบายการบริหารจัดการเพื่อความยั่งยืนของบริษัท (5) นโยบายต่อต้านการทุจริตและคอร์รัปชันของ IOD (6) มาตรฐานสากลการปฏิบัติงานวิชาชีพตรวจสอบภายใน (7) ประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ (8) มาตรฐานในการบริหารและการจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการท�ำงานตามประกาศ กฎกระทรวง (9) พ.ร.บ. ควบคุมอาคาร (10) พ.ร.บ. โรงงาน (11) พ.ร.บ. ทรัพยากรน�้ำ (12) มาตรฐานระบบบริหารงานคุณภาพ (ISO 9001:2015) และ มาตรฐานระบบการจัดการสิง่ แวดล้อม (ISO 14001:2015) (13) มาตรฐานการควบคุมงานโดยผูท้ ไี่ ด้รบั ใบประกอบวิชาชีพวิศวกรรม ควบคุม ตาม พ.ร.บ. วิศวกร พ.ศ. 2542 และ พ.ร.บ. วิชาชีพ วิศวกรรม พ.ศ. 2505 (14) การด� ำ เนิ น งานตามเป้ า หมายการพั ฒ นาอย่ า งยั่ ง ยื น แห่งสหประชาชาติ (SDGs) (15) การจัดท�ำบัญชีก๊าซเรือนกระจกตามแนวทางของ World Resource Institute และการค� ำ นวณค่ า การปล่ อ ย ก๊าซเรือนกระจกตามมาตรฐานส�ำนักงานนโยบายและ แผนพลังงาน กระทรวงพลังงาน (16) การบริหารงานบุคลากรเป็นไปตามกฎหมายแรงงานและ กฎหมายอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
รายงานความยั่งยืน 2562 #สะกิดไทยใส่ใจน�้ำ
27
นอกจากการน�ำข้อก�ำหนดและมาตรฐานข้างต้นมาใช้เป็นหลักปฏิบัติในการด�ำเนินงานแล้ว บริษัทยังได้เข้าร่วมเป็นสมาชิกเครือข่าย ของหน่วยงานต่าง ๆ เพื่อบูรณาการในการท�ำงานร่วมกันให้เกิดความเข้มแข็งและยั่งยืน
การเข้าเป็นสมาชิกเครือข่ายเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน (Disclosure 102-13) หน่วยงาน/องค์กร
ประโยชน์จากการเข้าร่วมเป็นสมาชิก
1. โครงการแนวร่วมปฏิบัติของภาคเอกชนไทยในการต่อต้านการ เพือ่ สร้างความน่าเชือ่ ถือ และความมัน่ ใจในการด�ำเนินธุรกิจทีโ่ ปร่งใส ทุจริต (Thailand’s Private Sector Collective Action Coalition ซึ่งเป็นประเด็นส�ำคัญที่ทุกภาคส่วนให้ความสนใจ Against Corruption : CAC) โดย สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย หอการค้าไทย หอการค้าต่างประเทศ สมาคมบริษทั จดทะเบียนไทย สมาคมธนาคารไทย สภาธุ ร กิ จ ตลาดทุ น ไทย สภาอุ ต สาหกรรมแห่งประเทศไทย และสภาอุตสาหกรรมการท่องเทีย่ วแห่งประเทศไทย 2. คณะท�ำงานร่วมภาครัฐและภาคเอกชนด้านบริหารจัดการทรัพยากรน�ำ้ เพื่อสร้างเครือข่ายกับกลุ่มผู้ประกอบการอุตสาหกรรมซึ่งเป็นลูกค้า พื้นที่ภาคตะวันออก ของบริษัท โดย สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย 3. คณะท�ำงานศูนย์ปฏิบตั กิ ารน�ำ้ ภาคตะวันออก (Water War room) เพื่ อ ร่ ว มกั น ติ ด ตาม แก้ ป ั ญ หาสถานการณ์ น�้ ำ ในภาคตะวั น ออก สมาชิกประกอบด้วย ผู้ประกอบการ ภาคอุตสาหกรรม การนิคม อย่างใกล้ชิด อุ ต สาหกรรมแห่ ง ประเทศไทย สถาบั น น�้ ำ เพื่ อ ความยั่ ง ยื น และกรมชลประทาน 4. กรรมการและฝ่ายวิชาการ ของสมาคมการประปาแห่งประเทศไทย เพื่อสร้างเครือข่ายทางวิชาการด้านน�้ำระดับประเทศ (สปปท.) 5. กรรมการทีป่ รึกษาพืน้ ทีค่ มุ้ ครองระดับกลุม่ ป่า ในกลุม่ ป่าตะวันออก เพื่อร่วมเป็นส่วนหนึ่งในการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ซึ่งเป็นต้นน�้ำ โดย สถาบั น นวั ต กรรมอุ ท ยานแห่ ง ชาติ แ ละพื้ น ที่ คุ ้ ม ครอง ของแหล่งน�้ำส�ำคัญของบริษัท ส�ำนักอุทยานแห่งชาติ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ปา่ และพันธุพ์ ชื 6. อนุกรรมการก�ำกับการด�ำเนินงานพัฒนาพืน้ ทีค่ ง้ ุ บางกะเจ้าสูค่ วามยัง่ ยืน เพื่อร่วมเป็นส่วนหนึ่งในองค์กรภาคีร่วมกันพัฒนาพื้นที่คุ้งบางกะเจ้า โดย มูลนิธชิ ยั พัฒนา ร่วมกับภาครัฐ เอกชน และชุมชนภายใต้การก�ำกับดูแลโดยมูลนิธิ ชัยพัฒนา เพือ่ ให้คงุ้ บางกะเจ้ามีการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจและสังคมที่ เป็นมิตรกับสิง่ แวดล้อมอย่างยัง่ ยืน ผ่านกระบวนการท�ำงานรวม 6 ด้าน ได้แก่ 1. การเพิม่ พืน้ ทีส่ เี ขียว 2. การจัดการน�ำ้ และการกัดเซาะริมตลิง่ 3. การจัดการขยะ 4. การส่งเสริมอาชีพ 5. การท่องเที่ยว และ 6. การพัฒนาเยาวชนและการศึกษา 7. โครงการถนนวิภาวดีไม่มขี ยะ (VIBHAVADI ZERO WASTE) เพื่อร่วมกัน สร้างจิตส�ำนึก ให้ทุก คนตระหนักถึงความส�ำคัญของ โดย ส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ สิง่ แวดล้อม มีการจัดการขยะทีม่ ปี ระสิทธิภาพ (ก.ล.ต.)
มิติเศรษฐกิจ และธรรมาภิบาล
รายงานความยั่งยืน 2562 #สะกิดไทยใส่ใจน�้ำ
29
หลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี (Disclosure 205-2)
คณะกรรมการบริษทั ได้กำ� หนดนโยบายการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ี ไว้เป็นลายลักษณ์อักษรตั้งแต่ พ.ศ. 2546 และบริษัทได้ปรับปรุง ให้ เ ป็ น ไปตามหลั ก การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี ส� ำ หรั บ บริ ษั ท จดทะเบียน ปี 2560 ของคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และ ตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) โดยคณะกรรมการบริษทั ได้มอบหมาย ให้คณะกรรมการธรรมาภิบาลและพัฒนาเพื่อความยั่งยืนเป็น ผูก้ ลัน่ กรองนโยบายและแนวปฏิบตั ดิ า้ นการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ี ของกลุม่ บริษทั ซึง่ มีการทบทวนเป็นประจ�ำทุกปีเพือ่ ให้สอดคล้อง กับกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับทีเ่ ปลีย่ นแปลงไป รวมทัง้ ข้อแนะน�ำ ของสถาบันต่าง ๆ และแนวทางปฏิบัติของสากล ก่อนน�ำเสนอ ยังคณะกรรมการบริษัทพิจารณาอนุมัติ
บริษทั ได้ปฏิบตั ติ ามหลักการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ขี องกลุม่ บริษทั ซึง่ ประกอบด้วย 8 หลักปฏิบตั ิ (รายละเอียดเพิม่ เติมอยูใ่ นรายงาน ประจ�ำปี 2562 หน้า 64 หัวข้อการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี) และได้ เผยแพร่หลักการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ แี ละจรรยาบรรณทางธุรกิจ ของกลุ่มบริษัท ไว้ในรูปแบบสื่ออิเล็กทรอนิกส์ผ่านทางเว็บไซต์ www.eastwater.com และ Internal Web ของบริ ษั ท เพื่อเพิ่มความสะดวกในการค้นหา รวมทั้งแจกเอกสารดังกล่าว ให้คณะกรรมการบริษัท และพนักงานทุกคนรับทราบ
กิจกรรมส่งเสริมการท�ำงานด้านคุณธรรม ประจ�ำปี 2562 การต่อต้านคอร์รัปชัน (Anti-Corruption) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2561 บริษัทได้รับการต่ออายุใบรับรองสมาชิกแนวร่วมปฏิบัติของภาคเอกชนไทยในการต่อต้านการทุจริต (Thailand’s Private Sector Collective Action Coalition Against Corruption : CAC) ซึ่งมีอายุ 3 ปี นับจากวันที่มีมติให้การ รับรอง ทั้งนี้ บริษัทได้ก�ำหนดแนวทางในการประพฤติปฏิบัติที่เหมาะสมเกี่ยวกับเรื่องการต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชันภายในองค์กร ของคณะกรรมการ ฝ่ายบริหาร และพนักงาน ไว้ในนโยบายต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชันภายในองค์กร ซึ่งมีการทบทวนทุกปี และเผยแพร่ให้บุคคลที่เกี่ยวข้องผ่านทางเว็บไซต์บริษัท
30
รายงานความยั่งยืน 2562 บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)
ในปี 2562 บริษัทได้จัดกิจกรรมและเข้าร่วมสัมมนาทั้งภายในและภายนอกองค์กร เพื่อส่งเสริมการก�ำกับดูแลกิจการที่ดีและ การต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชัน ให้กับคณะกรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานของกลุ่มบริษัท สรุปดังนี้
วันที่
หลักสูตร/กิจกรรม
คิดเป็น ระดับพนักงาน ผูเ้ ข้าร่วม ร้อยละของ จ�ำนวน พนง. ผูบ ้ ง ั คับ รวมทัง ้ สิน ้ ปฏิบัติงาน กลาง ้ ริหาร ทัง้ หมด ผูบ บัญชา (คน) (คน) (คน) (คน) (%) (คน)
Corporate Governance 29 เม.ย. 62 for Executive จั ด โดย 3* และ 28 ก.ย. 62 สมาคมส่ ง เสริ ม สถาบั น กรรมการบริษทั ไทย Corporate Legal Risk 23 พ.ค. 62 Management Summit 2* 2019 จัดโดย SNP Training Ethical Leadership Program 1 ก.ค. 62 จั ด โดยสมาคมส่ ง เสริ ม 1* สถาบันกรรมการบริษทั ไทย Lunch Talk หัวข้อกฎหมาย ใหม่ ปี 2562 ได้แก่ พ.ร.บ. วมลงทุนระหว่างรัฐ 12 ก.ค. 62 การร่ และเอกชน พ.ร.บ. ทีร่ าชพัสดุ 22** และ พ.ร.บ. คุม้ ครองข้อมูล ส่วนบุคคล วันต่อต้านคอร์รปั ชัน ภายใต้ แนวคิด “รวมพลัง...อาสา 35** 6 ก.ย. 62 สูโ้ กง” จัดโดยองค์กรต่อต้าน คอร์รปั ชัน (ประเทศไทย) จริ ย ธรรมกั บ การพั ฒ นา 10 ก.ย. 62 องค์กรอย่างยัง่ ยืน วิทยากร 35** โดย คุณธนกฤต เพิม่ พูนขันติสขุ Compliance Management และกฎเกณฑ์ที่ต้องเตรียม 12 ก.ย. 62 โดยเฉพาะ จัดโดยส�ำนัก 2* สิ ริ พั ฒ นาสถาบั น บั ณ ฑิ ต พัฒนบริหารศาสตร์ Director Certificate Program 24 ก.ย. 62 จั ด โดยสมาคมส่ ง เสริ ม 1* สถาบันกรรมการบริษทั ไทย ธุ ร กิ จ กั บ สิ ท ธิ ม นุ ษ ยชน (Business and Human 2* 8 ต.ค. 62 Rights) จั ด โดยตลาด หลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
ประเภท พนักงาน
ภูมภ ิ าค ตะวันออก ตะวันตก
ประจ�ำ
(คน)
(คน)
(คน)
สัญญา จ้าง (คน)
1.31
3
-
-
3
-
-
3
-
0.87
-
-
2
2
-
-
2
-
0.44
1
-
-
1
-
-
1
-
5.95
11
2
9
22
-
-
22
-
9.46
4
4
27
35
-
-
35
-
9.46
10
18
7
27
8
-
35
-
0.87
-
-
2
2
-
-
2
-
0.44
1
-
-
1
-
-
1
-
0.87
-
-
2
2
-
-
2
-
รายงานความยั่งยืน 2562 #สะกิดไทยใส่ใจน�้ำ
วันที่
หลักสูตร/กิจกรรม
คิดเป็น ระดับพนักงาน ผูเ้ ข้าร่วม ร้อยละของ จ�ำนวน พนง. ผูบ ้ ง ั คับ รวมทัง ้ สิน ้ ปฏิบัติงาน กลาง ้ ริหาร ทัง้ หมด ผูบ บัญชา (คน) (คน) (คน) (คน) (%) (คน)
“EWG Love CG พนักงาน หัวใจ SHARP ฉลาดต้านโกง” อ่ รณรงค์การต่อต้านการ 290** 16 ต.ค. 62 เพื ทุ จ ริ ต คอร์ รั ป ชั น ภายใน องค์กร และโอกาสครบรอบ 27 ปีของบริษัท Corruption Risk & Control Update จัดโดย 28 ต.ค. 62 Technical สมาคมส่ ง เสริ ม สถาบั น 1* กรรมการบริษทั ไทย สื่ อ สารนโยบายต่ อ ต้ า น 20 - 21 พ.ย. 62 คอร์รปั ชันให้กบั พนักงานใหม่ 33** ในวันปฐมนิเทศพนักงาน จั ด ท� ำ แบบทดสอบเพื่ อ วัดความรูค้ วามเข้าใจหลัก CG 347** 12 - 26 ธ.ค. 62 และ COC ของพนักงานกลุม่ บริษทั หมายเหตุ
31
ประเภท พนักงาน
ภูมภ ิ าค ตะวันออก ตะวันตก
ประจ�ำ
(คน)
(คน)
(คน)
สัญญา จ้าง (คน)
78.38
26
44
220
184
106
-
289
1
0.44
-
1
-
1
-
-
1
-
8.92
-
-
33
16
17
-
19
-
93.78
22
48
277
218
123
6
347
-
: จ�ำนวนพนักงานบริษทั มีทงั้ หมด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2562 พนักงานอีสท์ วอเตอร์ จ�ำนวน 229 คน บริษทั ในเครือ (ยูย)ู จ�ำนวน 141 คน รวมทัง้ หมด 370 คน * หมายถึง เฉพาะพนักงานอีสท์ วอเตอร์ ทีร่ ว่ มกิจกรรม ** หมายถึง กลุม่ บริษทั ทีร่ ว่ มกิจกรรม
เพือ่ ให้มนั่ ใจว่าพนักงานทุกคนมีความรู้ความเข้าใจเกีย่ วกับจรรยาบรรณ ทางธุรกิจของกลุ่มบริษัท และการต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชัน บริษทั ยังได้จดั ท�ำแบบทดสอบออนไลน์ เพือ่ น�ำผลลัพธ์มาประเมิน วัดระดับความรู้ ความเข้าใจของพนักงาน และน�ำไปปรับปรุงพัฒนา การสือ่ สาร การสร้างความตระหนักถึงหน้าทีข่ องตนในการท�ำงาน อย่างมีจรรยาบรรณและโปร่งใส ซึง่ น�ำไปสูก่ ารด�ำเนินธุรกิจอย่างยัง่ ยืน ในปี 2562 คณะกรรมการบริษทั ได้เห็นชอบการแก้ไขผังกระบวนการ ด�ำเนินการเมือ่ ได้รบั ข้อร้องเรียนโดยเลขานุการคณะกรรมการธรรมาภิบาล และพัฒนาความยัง่ ยืน เป็นผูร้ วบรวมต้นฉบับข้อร้องเรียน มีการตัง้ คณะกรรมการสอบสวนข้อร้องเรียน คณะกรรมการวินยั ก�ำหนดระยะ เวลาการด�ำเนินการแต่ละขัน้ ตอนให้ชดั เจนยิง่ ขึน้ และรายงานผลสรุป การด�ำเนินการเสนอยังกรรมการผูอ้ ำ� นวยการใหญ่ คณะกรรมการ ธรรมาภิบาลและพัฒนาเพือ่ ความยัง่ ยืน และคณะกรรมการตรวจสอบ รับทราบทุกไตรมาส อนึง่ ผูร้ อ้ งเรียนสามารถด�ำเนินการผ่านช่องทาง ดังต่อไปนี้
(1) เว็บไซต์บริษทั : www.eastwater.com (2) จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ : - คณะกรรมการตรวจสอบ : AC_EW@eastwater.com - กรรมการผูอ้ ำ� นวยการใหญ่ : CEO@eastwater.com - เลขานุการบริษทั : Corporate_secretary@eastwater.com (3) จดหมายธรรมดา : คณะกรรมการตรวจสอบ บริษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�ำ้ ภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน) อาคารอีสท์ วอเตอร์ ชัน้ 25 เลขที่ 1 ซอยวิภาวดีรงั สิต 5 ถนน วิภาวดีรงั สิต แขวงจอมพล เขตจตุจกั ร กรุงเทพมหานคร 10900 (4) กล่องรับฟังความคิดเห็น : ฝ่ายทรัพยากรบุคคล นอกเหนือจากช่องทางดังกล่าวข้างต้น บริษัทจัดให้มีหน่วยงาน นักลงทุนสัมพันธ์รบั ผิดชอบในการรับความคิดเห็น ข้อร้องเรียนต่าง ๆ จากผูถ้ อื หุน้ และนักลงทุน ตลอดจนจัดให้มกี ลไกในการคุม้ ครอง ผูแ้ จ้งเบาะแสในการร่วมสอดส่องดูแลผลประโยชน์ของบริษทั ซึง่ ณ สิน้ ปี 2562 มีการแจ้งข้อร้องเรียน 1 ประเด็น โดยอยูร่ ะหว่างการ รวบรวมข้อเท็จจริงตามกระบวนการด�ำเนินการเมือ่ ได้รบั ข้อร้องเรียน ทีก่ ำ� หนดไว้ในจรรยาบรรณทางธุรกิจของกลุม่ บริษทั
32
รายงานความยั่งยืน 2562 บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)
การบริหารจัดการคู่ค้าอย่างยั่งยืน ในปี 2562 บริษัทได้มีการทบทวนระเบียบด้านการจัดซื้อจัดจ้าง โดยร่วมกับทีป่ รึกษาจากภายนอกจัดให้มกี ารประเมินความเพียงพอ ของระบบการควบคุมภายในเพือ่ ลดความเสีย่ งในการปฏิบตั งิ าน และความเพียงพอในการบริหารจัดการคูค่ า้ บริษทั ได้ประกาศใช้ ระเบียบด้านการจัดซื้อจัดจ้างฉบับใหม่ในเดือนมกราคม 2562 ทีผ่ า่ นมาควบคูไ่ ปกับนโยบายการจัดหา ซึง่ เน้นการจัดหาให้เกิด ประโยชน์สงู สุด เพือ่ ให้มนั่ ใจว่าบริษัทจะได้รับสินค้าหรือบริการ ในปริมาณ คุณภาพ ราคา การส่งมอบ ตรงตามความต้องการ
โดยค�ำนึงถึงสังคม และสิ่งแวดล้อม กระบวนการจัดซื้อจัดจ้าง ด�ำเนินการตามระเบียบด้านการจัดซื้อจัดจ้างที่มีความโปร่งใส และตรวจสอบได้ตามหลักธรรมาภิบาล เชือ่ มโยงกับระบบบริหาร งานสารสนเทศที่ ทั น สมั ย ครอบคลุ ม ตั้ ง แต่ ก ารคั ด เลื อ กคู ่ ค ้ า การท� ำ สั ญ ญาซื้ อ ขายหรื อ สั ญ ญาจ้ า ง การติ ด ตามผลงาน การประเมินผลงานภายหลังการส่งมอบตลอดจนการช�ำระค่าสินค้า หรือบริการ เพื่อให้บริษัท และคู่ค้าสามารถด�ำเนินธุรกรรม ร่วมกันอย่างเป็นธรรม และปฏิบัติตามกฎหมาย
โปรงใส เปนธรรมและปฏิบัติตามกฎหมาย ไมอนุญาตใหมก ี ารจัดซือ ้ ทีอ ่ าจกอใหเกิด ความขัดแยงทางผลประโยชน งดติดตอผูร บ ั จางทีเ่ ปนผูม ผ ี ลประโยชนรว มกัน หามมิใหเปดเผยขอมูลของผูย น ื่ ขอเสนอ ซึง ่ อาจกอใหเกิดการไดเปรียบ ไมจด ั หาสินคาหรือบริการทีผ ่ ด ิ กฎหมาย ละเมิดสิทธิมนุษยชนและทําลายสิ่งแวดลอม
เราจะเป็นใครก็ได้ แต่ขอให้มป ี ระโยชน์ พระมหาสมปอง ตาลปุตโฺ ต
ในปีที่ผ่านมาบริษัทได้เผยแพร่นโยบายต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชันภายในองค์กรแก่คู่ค้า ผ่านกระบวนการสอบราคาและประกวด ราคางานจัดซื้อจัดจ้าง และประกาศผ่านเว็บไซต์เชิญชวนคู่ค้าร่วมประกาศเจตนารมณ์การเป็นแนวร่วมปฏิบตั ขิ องภาคเอกชนไทย ในการต่อต้านการทุจริต รวมถึงประชาสัมพันธ์ผา่ นการจัดกิจกรรมเสวนาและขอบคุณผูค้ า้ และผูเ้ ช่า ประจ�ำปี 2562 ภายใต้หวั ข้อเสวนา เรื่องการประสบความส�ำเร็จโดยใช้ธรรมะน�ำทาง โดยพระมหาสมปอง ตาลปุตฺโต และคณะธรรมะเดลิเวอรี่ เนื้อหาโดยรวมกล่าวถึง การใช้สติในการด�ำเนินงาน และการใช้ชีวิตประจ�ำวัน พร้อมทั้งสอดแทรกให้มีความซื่อสัตย์ในการท�ำงานเพื่อให้องค์กรเติบโต อย่างยั่งยืน ทั้งนี้มีคู่ค้า ผู้เช่า และพนักงานเข้าร่วมกิจกรรมจ�ำนวน 127 คน
รายงานความยั่งยืน 2562 #สะกิดไทยใส่ใจน�้ำ
33
การสร้างการเติบโตอย่างยั่งยืน ด้วยการบริหารจัดการน�้ำครบวงจร (Disclosure 201-1, 201-2)
จากการศึกษาข้อมูลของกรมอุตุนิยมวิทยา พบว่า ในปี 2562 มีปริมาณน�้ำฝนที่ตกในประเทศไทยน้อยที่สุดในรอบ 20 ปี เนื่องจาก ความแปรปรวนของสภาพภูมิอากาศที่เปลี่ยนแปลงไป บริษัทในฐานะเป็นผู้บริหารจัดการและพัฒนาระบบขนส่งน�้ำดิบผ่านโครงข่าย ท่อขนาดใหญ่ให้แก่ภาคอุตสาหกรรม และภาคอุปโภคบริโภคในพื้นที่ชายฝั่งทะเลภาคตะวันออก จึงได้วางแผนการบริหารจัดการ แหล่งน�ำ้ ต้นทุนทัง้ ในระยะสัน้ และระยะยาว เพือ่ รองรับโอกาสในการเกิดผลกระทบทีจ่ ะเกิดขึน้ (สามารถดูเพิม่ เติมได้ที่ หัวข้อการรับมือ ต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ หน้าที่ 48 ในรายงานฉบับนี้) ปริมาณฝนสะสมของประเทศไทย
มิลลิเมตร
3000
2500
2000
2000
1500
1500
1000
1000
500
500 มกราคม
กุมภาพันธ์
มีนาคม
เมษายน
พฤษภาคม มิถุนายน
ค่ าปกติ (พ.ศ.2524 -2553)
2559
กรกฎาคม
2560
สิงหาคม
2561
ตั้งแต 1 มกราคม - ปจจุบัน
3000
2500
0
ปริมาณฝนสะสมของภาคตะวันออก
มิลลิเมตร
ตั้งแต 1 มกราคม - ปจจุบัน
กันยายน
2562
ตุลาคม
พฤศจิกายน ธันวาคม
2563
0
มกราคม
กุมภาพันธ์
มีนาคม
เมษายน
พฤษภาคม มิถุนายน
ค่ าปกติ (พ.ศ.2524 -2553)
2559
กรกฎาคม
2560
สิงหาคม
2561
กันยายน
2562
ตุลาคม
พฤศจิกายน ธันวาคม
2563
แหล่งที่มา : http://climate.tmd.go.th/gge/Gra_AccumRain.pdf
THAILAND
4.0
ดังนัน้ เพือ่ ให้เกิดความมัน่ คงทัง้ ในด้านปริมาณและคุณภาพของน�ำ้ รวมถึงพิจารณาโอกาสในการเติบโตทางธุรกิจด้วยปัจจัยหลัก อันได้แก่ แนวโน้มการขับเคลือ่ นด้วยกระแสธุรกิจสีเขียวเป็นมิตร กับสิง่ แวดล้อม และทีส่ ำ� คัญทีส่ ดุ คือ นโยบายของรัฐบาล โครงการ เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (อีอีซี) เป็นแผนยุทธศาสตร์ ของภาครัฐ ภายใต้ไทยแลนด์ 4.0 โดยเป็นการพัฒนาต่อยอด จากพืน้ ทีบ่ ริเวณชายฝัง่ ทะเลตะวันออก เพือ่ ยกระดับขีดความสามารถ ในการแข่งขันของประเทศ ส่งผลให้ความต้องการใช้นำ�้ เพิม่ สูงขึน้ และต้องการน�้ำที่มีคุณภาพมาตรฐานคงที่ แหล่งทีม่ า : ส�ำนักงานคณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (สกพอ.)
บริษัทได้เป็นส่วนหนึ่งในการสนับสนุนแผนยุทธศาสตร์ของประเทศดังกล่าว ด้วยการให้บริการน�้ำครบวงจรที่ประกอบด้วย น�้ำดิบ น�ำ้ อุตสาหกรรม การบ�ำบัดน�ำ้ เสีย และการน�ำน�ำ้ กลับมาใช้ใหม่แก่ลกู ค้าภาคอุตสาหกรรมต่าง ๆ เพือ่ ลดภาระการลงทุนและค่าใช้จา่ ย ของลูกค้าอย่างมีประสิทธิภาพ อีกทัง้ เป็นการสร้างความมัน่ คงด้านปริมาณและคุณภาพน�ำ้ ทีไ่ ด้มาตรฐานคงทีไ่ ม่แปรปรวนตามสภาพอากาศ และฤดูกาล ประกอบกับข้อได้เปรียบของบริษทั ในการเป็นผูน้ ำ� ในด้านการบริหารจัดการน�ำ้ อย่างแท้จริง อีกทัง้ ความพร้อมทัง้ ด้านการเงิน และความร่วมมือจากภาครัฐ เนื่องจากธุรกิจขนส่งน�้ำทางท่อต้องใช้เงินลงทุนมหาศาลในการด�ำเนินการก่อสร้างวางท่อส่งน�้ำ การสร้างสถานีสบู น�ำ ้ ความรูค้ วามเชีย่ วชาญในการบริหารการจัดหาแหล่งน�ำ้ ต้นทุน ตลอดจนขออนุญาตหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้องต่าง ๆ ด้วยโอกาสทางการตลาดผนวกกับศักยภาพทีม่ คี าดว่าจะส่งเสริมให้ธรุ กิจน�ำ้ ครบวงจรมีแนวโน้มเติบโตในอนาคต ทัง้ นีบ้ ริษทั ได้ก�ำหนด ทิศทางของธุรกิจน�้ำครบวงจรเพื่อให้เกิดความยั่งยืนด้วยการต่อยอดจากธุรกิจน�้ำดิบ ภายใต้แนวคิดที่ส่งเสริมให้ผู้ประกอบการ อุตสาหกรรมต่าง ๆ สามารถเข้าถึงการจัดการน�ำ้ ได้แบบครบวงจรตามความต้องการของอุตสาหกรรมสามารถแก้ไขปัญหาด้านปริมาณ และคุณภาพน�้ำ รวมถึงต้นทุนด้านราคา และความคุ้มค่าที่จะได้รับ
34
รายงานความยั่งยืน 2562 บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)
การบริ ห ารจั ด การน�้ ำ อย่ า งครบวงจร เพื่ อ เพิ่ ม ฐานลู ก ค้ า ในธุรกิจเกี่ยวเนื่องกับน�้ำดิบ เช่น การเสนอบริหารจัดการน�้ำดิบ น�ำ้ ประปา การผลิตน�ำ้ ประปาจากน�ำ้ ทะเล (Reverse Osmosis) การบ�ำบัดน�้ำเสียและน�้ำรีไซเคิล เป็นต้น โดยเน้นกลุ่มผู้ใช้น�้ำ รายใหม่ทง้ั ในและนอกพืน้ ทีภ่ าคตะวันออก ทัง้ นี้ บริษทั มีแผนการ จัดตัง้ ทีมงานผูเ้ ชีย่ วชาญ (Total Water Solution) เพือ่ ให้บริการ เป็นที่ปรึกษาด้านน�้ำอย่างครบวงจรแก่กลุ่มผู้ใช้น�้ำทั้งรายใหม่ และรายเดิม การให้บริการน�ำ้ อุตสาหกรรม เพือ่ แก้ไขปัญหาด้านคุณภาพ โดยการ ปรับเปลีย่ นรูปแบบการให้บริการน�ำ้ ดิบเป็นน�ำ้ ทีผ่ า่ นการบ�ำบัดแล้ว หรือ “น�ำ้ อุตสาหกรรม (Industrial Water)” ซึง่ มีความเหมาะสม ต่อกลุม่ ผูใ้ ช้นำ�้ ของบริษทั เนือ่ งจากช่วยแก้ปญ ั หาคุณภาพน�ำ้ ดิบ ตามธรรมชาติ ผูป้ ระกอบการมีนำ�้ สะอาดใช้อย่างเพียงพอ ไม่สนิ้ เปลือง ทรัพยากรน�ำ้ ดิบ และสามารถใช้ในกระบวนการผลิตหรือการใช้งาน ของผูใ้ ช้นำ�้ ได้อย่างทันที ช่วยให้ผปู้ ระกอบการไม่จำ� เป็นต้องมีขนั้ ตอน การบ�ำบัดน�ำ้ หรือผลิตน�ำ้ สะอาดภายในพืน้ ทีข่ องตนเองอีกด้วย มุง่ สูธ่ รุ กิจการบริหารจัดการน�ำ้ ในนิคมอุตสาหกรรม (Operation and Maintenance) และบ�ำบัดน�ำ้ เสีย มุง่ เน้นการรับรองด้าน คุณภาพน�ำ้ ทีเ่ หมาะสมตามเกณฑ์ทกี่ ฎหมายก�ำหนด และสามารถ น�ำกลับมาใช้ในกระบวนการผลิตได้อย่างเหมาะสม ซึง่ จะช่วยลด ค่าใช้จา่ ยการซือ้ น�ำ้ สะอาดให้แก่ผปู้ ระกอบการ และช่วยให้เกิดการใช้ ทรัพยากรน�ำ้ อย่างรูค้ ณ ุ ค่าและลดผลกระทบต่อสิง่ แวดล้อมด้วย ในปี 2562 บริษทั ได้เริม่ โครงการก่อสร้างระบบผลิตน�ำ้ อุตสาหกรรมก�ำลังการผลิตรวม 100,000 ลบ.ม.ต่อวัน ในพืน้ ทีจ่ งั หวัดระยอง ปัจจุบนั มีความคืบหน้าโครงการในส่วนของงานก่อสร้างระบบผลิตน�ำ้ อุตสาหกรรมเพือ่ จ�ำหน่ายให้แก่นคิ มอุตสาหกรรมอมตะซิตี้ ระยอง ประมาณร้อยละ 60 ซึง่ จะสามารถเริม่ ด�ำเนินการผลิตและจ�ำหน่ายให้แก่นคิ มอุตสาหกรรมอมตะซิตี้ ระยอง และโรงไฟฟ้ากัลฟ์ ปลวกแดง ได้ในปี 2563 และ 2564 ตามล�ำดับ บริษัทได้รับความไว้วางใจจากทั้งภาครัฐและภาคเอกชน ในการด�ำเนินงานโครงการให้บริการน�้ำครบวงจรทั่วประเทศอย่างต่อเนื่อง โดยในปี 2562 สามารถสรุปจ�ำนวนโครงการที่ได้ด�ำเนินการเพิ่มเติมได้ดังนี้
นํ้าประปา/ นํ้าอุตสาหกรรม
การบําบัดนํ้าทิ้ง/ นํากลับมาใชใหม
ในพื้นที่ ภาคตะวันออก
นอกพื้นที่ ภาคตะวันออก
รวม
ในพื้นที่ ภาคตะวันออก
นอกพื้นที่ ภาคตะวันออก
รวม
รายงานความยั่งยืน 2562
35
#สะกิดไทยใส่ใจน�้ำ
• ธุรกิจน�ำ้ ครบวงจร บริษทั ได้รบั หนังสือแสดงเจตนารมณ์เพือ่ ด�ำเนินโครงการระบบน�ำ้ ประปาและบ�ำบัดน�ำ้ เสีย ในพืน้ ทีจ่ งั หวัดชลบุรี ซึ่งปัจจุบันอยู่ระหว่างการจัดสัญญาเช่าที่ดินและสัญญาซื้อขาย น�้ำประปากับผู้รับผิดชอบโครงการ เพื่อรองรับการขยายตัวของ พืน้ ทีเ่ ขตส่งเสริมโครงการเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (อีอซี )ี โดยมีปริมาณการใช้นำ�้ ประปาสูงสุด 20,000 ลบ.ม.ต่อวัน ปริมาณ น�ำ้ เสียทีจ่ ะบ�ำบัดสูงสุด 16,000 ลบ.ม.ต่อวัน และน�ำน�ำ้ เสียทีผ่ า่ น การบ�ำบัดแล้วบางส่วนกลับมาใช้ใหม่ในพื้นที่โครงการฯ สูงสุด 5,000 ลบ.ม.ต่อวัน ระยะเวลาสัญญา 25 ปี และจะเริม่ ด�ำเนินการ ในปี 2565
• ธุรกิจน�ำ้ อุตสาหกรรม บริษทั ได้รบั หนังสือยืนยันการใช้บริการ น�ำ้ อุตสาหกรรม ในพืน้ ทีจ่ งั หวัดฉะเชิงเทรา ซึง่ ประกอบธุรกิจด้าน การผลิต IC และ Micro-controller ส�ำหรับยานยนต์ ภาคอุตสาหกรรม อุปโภคบริโภคและระบบสือ่ สาร เมือ่ เดือนพฤศจิกายน 2562 โดยมี ความต้องการใช้นำ�้ อุตสาหกรรมปริมาณสูงสุด 2,500 ลบ.ม.ต่อวัน • การบ�ำบัดน�ำ้ ทิง้ /น�ำน�ำ้ กลับมาใช้ใหม่ (Disclosure 306-1) บริษทั ลงนามสัญญาก่อสร้างระบบน�ำน�ำ้ กลับมาใช้ใหม่กบั บริษทั ผลิตบรรจุภณ ั ฑ์แก้ว ในพืน้ ทีจ่ งั หวัดอยุธยา โดยมีจดุ ประสงค์เพือ่ น�ำน�ำ้ เสียทีผ่ า่ นการบ�ำบัดแล้วน�ำกลับมาใช้ใหม่ โดยมีปริมาณการ ใช้น�้ำสูงสุด 3,000 ลบ.ม.ต่อวัน ระยะเวลาสัญญา 15 ปี ปัจจุบัน ก่อสร้างแล้วเสร็จ และเริม่ ด�ำเนินการตัง้ แต่เดือนมิถนุ ายน 2562
การบําบัดนํ้าทิ้ง/ นํานํ้ากลับมาใชใหม ระยะเวลา
นํ้าเสียเขาระบบ
นํ้าออกระบบ
669,507
831,911
ม.ค. - ธ.ค. 62
ลบ.ม.
ลบ.ม.
นํ้าสูญเสีย
22,282
ลบ.ม.
หมายเหตุ : * น�ำ้ ทีผ่ า่ นการบ�ำบัดบางส่วน (จ�ำนวน 140,122 ลบ.ม.) ถูกเก็บไว้ในบ่อพักน�ำ้ ของนิคมฯ (Polishing pond) ซึง่ ไม่ได้ปล่อยออกสูแ่ หล่งน�ำ้ สาธารณะ
แผนผังกระบวนการบ�ำบัดน�้ำ แผนผังกระบวนการบ�ำบัดน�้ำแบบ SBR Chemical Adjust
Influent from Factory
o2
o2
o2
Effluent
Collecting Sump
Grit Chamber
EQ Tank
SBR Tank
Pond
Aeration Pond Sludge Drain to Collection Tank
แผนผังกระบวนการบ�ำบัดน�้ำแบบ Clarified/Sand Filter Chemical Mixing
Influent from Factory
Recycle
Static Mixer
Clarifier Tank
Filter Process
Treated Water Tank Sludge Drain to Lagoon
รายงานความยั่งยืน 2562
36
บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)
ทัง้ นี้ สามารถคาดการณ์ความต้องการใช้นำ�้ แต่ละประเภท รวมถึงสัดส่วนการใช้นำ�้ แต่ละพืน้ ทีต่ ามแผนกลุม่ ลูกค้าระหว่างปี 2563 - 2567 ได้ดงั นี้
1) คาดการณ์ปริมาณความต้องการใช้น�้ำของลูกค้า แบ่งตามกลุ่มการให้บริการ
ปริมาณนํ้า (ลาน ลบ.ม.)
70
62.63
60
56.93
51.76
50 40 30
23.05
20 10
0.04 0.00
0
2561
0.72 0.00
2562
2563
3.80
3.80
3.61
1.71
2564
2565
น�้ำประปา/น�้ำอุตสาหกรรม (ล้าน ลบ.ม.)
ป พ.ศ.
2566
บ�ำบัดน�้ำเสีย/น�ำน�้ำกลับมาใช้ใหม่ (ล้าน ลบ.ม.)
หมายเหตุ : ข้อมูลดังกล่าวเป็นการคาดการณ์ปริมาณความต้องการใช้นำ�้ ของลูกค้าในอนาคต ซึง่ อาจเปลีย่ นแปลงตามแผนการลงทุนของลูกค้า
2) คาดการณ์สดั ส่วนความต้องการใช้นำ�้ ประปา น�ำ้ อุตสาหกรรม และปริมาณการบ�ำบัดน�ำ้ ทิง้ น�ำกลับมาใช้ใหม่ แยกตามพืน้ ที่ สัดส่วนความต้องการใช้น�้ำประปา และน�้ำอุตสาหกรรม ในแต่ละพื้นที่ (ระหว่างปี 2562 - 2567)
สัดส่วนความต้องการใช้บำ� บัดน�ำ้ เสีย และน�ำน�ำ้ กลับมาใช้ใหม่ ในแต่ละพืน้ ที่ (ระหว่างปี 2562 - 2567)
7% 8% 38%
23%
47% 62%
15%
พื้นที่ระยอง พื้นที่ชลบุรี
พื้นที่ปลวกแดง-บ่อวิน พื้นที่ฉะเชิงเทรา
นอกพื้นที่ภาคตะวันออก
พื้นที่ชลบุรี
นอกพื้นที่ภาคตะวันออก
รายงานความยั่งยืน 2562
37
#สะกิดไทยใส่ใจน�้ำ
3) คาดการณ์อัตราการเติบโตของรายได้จากธุรกิจน�้ำครบวงจร 30.00%
26.30%
25.00%
20.85%
20.00%
17.25%
13.29%
15.00% 10.00% 5.00%
0.01%
0.14% ป พ.ศ.
0.00% 2561
2562
2563
2564
2565
2566
หมายเหตุ : ขอ้ มูลดังกล่าวเป็นการคาดการณ์ผลการด�ำเนินงานในอนาคต อาจมีการเปลีย่ นแปลงตามแผนการใช้นำ�้ ของลูกค้า จากกราฟและตารางข้างต้น คาดว่าเมือ่ บริษทั ให้บริการน�้ำครบวงจร จะส่งผลให้รายได้รวมในช่วงระยะ 5 ปี (ปี 2562 - 2566) เติบโตเพิ่มขึ้นเฉลี่ย ประมาณร้อยละ 13 ต่อปี
การบริหารความพึงพอใจลูกค้า กลุ่มธุรกิจน�้ำดิบ พื้นที่การให้บริการ กลุ่มลูกค้า และช่องทางการจัดจ�ำหน่ายน�้ำดิบ (Disclosure 102-6, 102-43, 102-44) บริ ษั ท เป็ น ผู ้ ป ระกอบการธุ ร กิ จ พั ฒ นาระบบท่ อ ส่ ง น�้ ำ และจั ด จ� ำ หน่ า ยน�้ ำ ดิ บ ให้ กั บ ผู ้ ใ ช้ น�้ ำ ทั้ ง ภาคอุ ต สาหกรรม และอุปโภคบริโภครายใหญ่ทสี่ ดุ ในพืน้ ทีช่ ายฝัง่ ทะเลภาคตะวันออก โดยมีจดุ แข็งด้านระบบโครงข่ายท่อส่งน�ำ้ สายหลัก และระบบสูบจ่าย ที่เชื่อมโยงแหล่งน�้ำส�ำคัญในภาคตะวันออกที่มีความสมบูรณ์ ทั น สมั ย มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ และครอบคลุ ม พื้ น ที่ ช ายฝั ่ ง ทะเล ภาคตะวันออกทั้ง 3 จังหวัด อีกทั้งมีความยั่งยืนในการส่งจ่ายน�้ำ ได้อย่างพอเพียงต่อความต้องการของผู้ประกอบการในพื้นที่ ทั้ ง ในปั จ จุ บั น และอนาคต ในขณะที่ ผู ้ ป ระกอบการรายอื่ น ยังมีข้อจ�ำกัดทัง้ ด้านพืน้ ทีก่ ารให้บริการ ด้านปริมาณ เสถียรภาพ แหล่งน�ำ้ และระบบการส่งจ่ายน�้ำ การบริหารความพึงพอใจของลูกค้า เพือ่ ตอบสนองต่อค่านิยมองค์กรทีม่ งุ่ เน้นใส่ใจต่อการให้บริการและเอาใจใส่ลกู ค้า และเพือ่ รักษาความพึงพอใจให้อยูใ่ นเกณฑ์ทกี่ ำ� หนด บริษทั จึง ก�ำหนดแนวทางปรับปรุงการให้บริการลูกค้าอย่างต่อเนือ่ ง ผ่านการรับฟังข้อร้องเรียนและข้อเสนอแนะจากเสียงของลูกค้า (Voice of Customer) โดยอาศัยช่องทางทีห่ ลากหลาย อาทิ โทรศัพท์ อีเมล เว็บไซต์บริษทั การเข้าเยีย่ มเยียน (Site Visit) ในวาระเทศกาลส�ำคัญต่าง ๆ รวมทัง้ การ ส�ำรวจความพึงพอใจในแต่ละปี ซึง่ ข้อมูลทีไ่ ด้จะถูกน�ำมารวบรวม วิเคราะห์ พิจารณาในทีป่ ระชุมฝ่ายปฏิบตั กิ ารและบริการลูกค้า และทีป่ ระชุม ฝ่ายบริหาร เพือ่ จัดท�ำแผนปรับปรุงการให้บริการทีส่ ามารถตอบสนองตามความต้องการในแต่ละกลุม่ อย่างต่อเนือ่ ง
38
รายงานความยั่งยืน 2562 บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)
โดยในปี 2562 สรุปภาพรวมการให้บริการส่งจ่ายน�้ำดิบ แบบแบ่งสัดส่วนตามพื้นที่การให้บริการ ดังนี้ 5%
24%
51% พื้นที่มาบตาพุด พื้นที่บ้านฉาง และสัตหีบ
11%
พื้นที่บ่อวิน - ปลวกแดง พื้นที่ชลบุรี พื้นที่ฉะเชิงเทรา
9%
จากการส�ำรวจการให้บริการในแต่ละพื้นที่พบว่าลูกค้ามอง ภาพลักษณ์ทโ่ี ดดเด่นของบริษทั เป็นด้านความมัน่ คงและน่าเชือ่ ถือ ขององค์กร และการเป็นผู้เชี่ยวชาญในการจัดการน�้ำ โดยความคาดหวังต่อการให้บริการ พบว่า ลูกค้ามีความคาดหวัง สูงสุดด้านพนักงานที่ให้บริการของบริษัท รองลงมาเป็นด้าน คุณภาพในการให้บริการซ่อมบ�ำรุง และด้านการให้ขอ้ มูลข่าวสาร ตามล�ำดับ อย่างไรก็ดี ในปี 2562 บริษัทตระหนักเป็นอย่างยิ่ง ในการรักษาระดับความพึงพอใจของลูกค้า พร้อมมุ่งเน้นการ
ปรับปรุงการให้บริการทีด่ ขี นึ้ อย่างต่อเนือ่ ง รวมถึงการปรับปรุงด้าน การให้บริการด้านอื่น ๆ อาทิ การปรับปรุงรูปแบบการติดตั้ง การใช้นำ �้ จากเดิมทีผ่ ใู้ ช้นำ�้ เป็นผูล้ งทุนระบบ โดยปรับเปลีย่ นเป็น รูปแบบการขยายเขตการให้บริการ เพื่อลดภาระด้านการลงทุน และค่าใช้จ่ายดูแลระบบท่อส่งน�้ำแก่ลูกค้า พร้อมกับการพัฒนา รูปแบบการให้บริการด้านข้อมูลข่าวสาร เช่น การปรับปรุง ระบบ Online Metering และการจัดท�ำ Mobile Application เพื่ อ เพิ่ ม ความสะดวกให้ แ ก่ ผู ้ ใ ช้ น�้ ำ ในการติ ด ตามปริ ม าณ การรับน�้ำได้อย่างต่อเนื่องและทันต่อสถานการณ์ เป็นต้น
คะแนนความพึงพอใจรวม ปี 2560 - 2562 5
4.23
4.49
4.34
4
3
2
ป พ.ศ.
1 2560
2561
2562
ผลการส�ำรวจความพึงพอใจลูกค้าในปี 2562 มีความพึงพอใจลดลงเล็กน้อย ระดับคะแนนความพึงพอใจเฉลีย่ ย้อนหลัง 3 ปี ประมาณ ร้อยละ 4.35 บริษทั และผูเ้ กีย่ วข้อง ตระหนักเป็นอย่างยิง่ ในการรักษาระดับความพึงพอใจ พร้อมมุง่ เน้นการปรับปรุงการให้บริการด้าน ข้อมูลที่ดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง (ระดับความพึงพอใจในแต่ละด้าน เปรียบเทียบปี 2560 - 2562 รายละเอียดอยู่ในภาคผนวก)
รายงานความยั่งยืน 2562 #สะกิดไทยใส่ใจน�้ำ
39
ประสานขอขอมูลเพิม ่ เติม
ไมผา น
ผูร อ งเรียน
พนักงาน ลูกคาสัมพันธ (AE)
ดําเนินการแกไข
ผาน
ประเมินผลการแกไข
จัดทํารายงานสรุป
นําเสนอตอผูบ ริหาร
บันทึกขอมูล - ข อ ร อ งเรี ย น - ขอมูลผูต ด ิ ตอ
กระบวนการบริหารจัดการข้อร้องเรียนบริษทั พนักงานลูกค้าสัมพันธ์ (Account Executive : AE) ได้รบั การติดต่อ จากลูกค้าด้านข้อร้องเรียนในเรือ่ งต่าง ๆ แล้ว จะต้องเป็นผูร้ บั ผิดชอบ บันทึกข้อมูลในระบบบริหารลูกค้าสัมพันธ์ ระบุรายละเอียด ประเภทข้อร้องเรียน ข้อมูลผูต้ ดิ ต่อ ประเภทข้อร้องเรียน ก�ำหนด ผู้รับผิดชอบในการแก้ไขปัญหา พร้อมประสานส่วนที่เกี่ยวข้อง เพื่ อ ด� ำ เนิ น การ ระบุ ส าเหตุ แนวทางแก้ ไ ข ตามระบบงาน การด� ำ เนิ น การแก้ไ ขและป้องกัน และเมื่อด�ำเนินการแก้ ไ ข แล้วเสร็จ จะมีการน�ำส่งให้ลูกค้าประเมินผลความพึงพอใจ จากการได้รับบริการ และ AE จึงน�ำผลประเมินความพึงพอใจ นั้ น มาลงในระบบบริ ห ารลู ก ค้ า สั ม พั น ธ์ เพื่ อ ปิ ด งานแก้ ไ ข โดยก�ำหนดผู้รับผิดชอบรวบรวมสรุปเป็นประจ�ำเดือน น�ำเสนอ ต่อผู้บริหารต่อไป
มาตรการป้องกันข้อร้องเรียน ปี 2561 - 2562 บริษทั ไม่มปี ระเด็นข้อร้องเรียน อย่างไรก็ดี บริษทั ได้ ให้ความส�ำคัญและตระหนักต่อมาตรการป้องกันข้อร้องเรียนในแต่ละปี โดยมีกระบวนการและขัน้ ตอนจัดการต่อข้อร้องเรียน โดยจะท�ำการ ระบุประเภทของข้อร้องเรียนและการขอรับบริการ เพือ่ ก�ำหนดทีม ผูร้ บั ผิดชอบทีช่ ดั เจนในการวิเคราะห์หาสาเหตุวางแนวทางการแก้ไข และป้องกัน ให้อยูภ่ ายใต้ขอ้ ก�ำหนดระยะเวลาการให้บริการทีไ่ ด้ตกลง กับลูกค้า (Service Level Agreement : SLA) ซึง่ เป็นไปตามระบบการ ควบคุมภายในด้านการแก้ไขและป้องกันข้อร้องเรียน พร้อมก�ำหนด ให้ตอ้ งท�ำการประเมินความพึงใจในการแก้ไขข้อร้องเรียนจากลูกค้า ทุกครัง้ เมือ่ การด�ำเนินการแล้วเสร็จ และจัดท�ำรายงานน�ำเสนอแก่ ผูบ้ ริหารทราบเป็นประจ�ำทุกเดือน เพือ่ พิจารณาปรับปรุงกระบวนการ แก้ไขข้อร้องเรียนให้มปี ระสิทธิภาพอย่างต่อเนือ่ ง
40
รายงานความยั่งยืน 2562 บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)
นอกจากการลงพืน้ ทีส่ ำ� รวจความพึงพอใจและการรับฟังข้อร้องเรียนต่าง ๆ แล้ว บริษทั ยังมีการจัดกิจกรรมประชุมลูกค้า โดยเรียนเชิญ มาร่วมรับฟังและให้ความคิดเห็นต่าง ๆ อันจะเป็นประโยชน์ในการพัฒนาการให้บริการเป็นประจ�ำทุกปี ทั้งนี้ เพื่อท�ำความเข้าใจและสร้างความเชื่อมั่นให้กับลูกค้าอย่างต่อเนื่อง ในปี 2562 บริษัทจึงได้จัดกิจกรรมประชุมลูกค้าหลัก ดังนี้ กิจกรรม
กลุ่มเป้าหมาย
วัตถุประสงค์/รายละเอียดโครงการ
ประชุมเปิดบ้าน east water (Open House)
• • • •
ลูกค้ารายใหม่ (New Account) กลุ่มที่คาดว่าจะเป็นลูกค้าในอนาคต (New Opportunities) กลุ่มลูกค้า (ปัจจุบัน) ที่สนใจ กลุ่มลูกค้าภายในนิคมอุตสาหกรรม (End Users)
เพือ่ เป็นการแนะน�ำบริษทั ให้กบั ผูใ้ ช้นำ�้ รายใหม่/ อนาคต รวมทัง้ ผูท้ สี่ นใจ พร้อมเป็นช่องทาง ในการเผยแพร่ความรู้ความเข้าใจด้านการ บริหารและควบคุมการสูบจ่ายด้วยเทคโนโลยี ทีท่ นั สมัย ทัง้ นีเ้ พือ่ สร้างความเชือ่ มัน่ ในการ ตัดสินใจเป็นผูใ้ ช้นำ�้ ในอนาคต
ประชุมสัมมนาเชิงวิชาการ (Education Seminar)
• ลูกค้าปัจจุบัน • กลุ่มลูกค้าภายในนิคมอุตสาหกรรม (End Users)
เพือ่ รายงานสถานการณ์แหล่งน�ำ้ ในปีปจั จุบนั และแนวโน้มสถานการณ์ในอนาคต รวมทัง้ สถานการณ์ด้านคุณภาพแหล่งน�้ำ และ แนวทางการบริหารจัดการและแก้ไขป้องกัน เพือ่ เสริมสร้างความเชือ่ มัน่ ให้แก่ผใู้ ช้นำ�้
ในปี 2562 บริษัทได้มีการประกาศโครงสร้างราคาค่าน�้ำใหม่ โดยเป้าหมายของโครงการเพื่อให้ผู้ใช้น�้ำวางแผนการใช้และ บริหารการรับน�้ำให้สอดคล้องกับปริมาณน�้ำตามความต้องการ ของผู้ใช้น�้ำในแต่ละปี ทั้งนี้ เพื่อให้เกิดสมดุลด้านการบริหาร จัดการน�้ำในภาพรวม รวมทั้งยังลดความเสี่ยงต่อการขาดแคลน น�้ำในสภาวะภัยแล้ง ซึ่งน�ำไปสู่การบริหารทรัพยากรน�้ำให้มี ปริมาณทีเ่ พียงพอและสม�ำ่ เสมอ โดยมุง่ เน้นการพัฒนาทรัพยากร อย่างยั่งยืนร่วมกันในระยะยาวของผู้มีส่วนได้เสียที่เกี่ยวข้อง ในกระบวนการมีสว่ นร่วมของบริษทั กับกลุม่ ลูกค้าภาคนิคมอุตสาหกรรม และผู้เกี่ยวข้อง บริษัทได้แจ้งประกาศโครงสร้างราคาค่าน�้ำกับ กลุ่มผู้ใช้น�้ำเมื่อวันที่ 28 ธันวาคม 2561 โดยมีผลบังคับใช้ใน วันที่ 1 มกราคม 2563 นั้น ซึ่งในปี 2562 บริษัทได้ด�ำเนินการ เข้าประชุมชี้แจงกับลูกค้าและกลุ่มผู้เกี่ยวข้องเพื่อให้ทราบถึง แนวความคิดของหลักการและวัตถุประสงค์หลักของการปรับ โครงสร้างพร้อมรับฟังความคิดเห็นเพือ่ ทบทวนด้านการด�ำเนินงาน ที่เกี่ยวข้อง และรวมถึงการน�ำข้อมูลการใช้น�้ำในอดีตของผูใ้ ช้นำ�้ มาวิเคราะห์เพื่อเสนอแนวทางการรับน�้ำที่เหมาะสม เพื่อให้ได้ อัตราค่าน�้ำที่เหมาะสมและมีประสิทธิภาพสูงสุด
รายงานความยั่งยืน 2562 #สะกิดไทยใส่ใจน�้ำ
41
การบริหารความพึงพอใจลูกค้า กลุ่มธุรกิจน�้ำประปา บริษัทในเครือด�ำเนินการออกแบบระบบผลิตน�้ำประปาให้มีความเหมาะสมในแต่ละพื้นที่ โดยการออกแบบและก่อสร้างจะค�ำนึงถึง ปริมาณความต้องการน�้ำ คุณภาพน�้ำดิบ เพื่อให้สามารถเลือกระบบผลิตประปาที่เหมาะสม และผลิตภัณฑ์น�้ำประปาที่ผลิตออกมา จะได้คุณภาพตามมาตรฐานที่ก�ำหนด ได้แก่ • ระบบการผลิตน�ำ้ ประปาทัว่ ไป (Conventional Water Treatment Plant) • ระบบการผลิตน�ำ้ ประปาแบบเคลือ่ นย้ายได้ (Mobile Plant) • ระบบการผลิตน�้ำประปาขั้นสูง (Advanced Water Treatment Plant) โดยใช้การกรองแบบ Ultra-Filtration (UF) และแบบ Reverse Osmosis (RO) ซึง่ ใช้เทคโนโลยีเมมเบรน (Membrane) ในกระบวนการกรองน�ำ้ ประปา
ตารางสรุประบบการผลิตน�้ำประปาในกิจการประปาต่าง ๆ กิจการประปา
รูปแบบระบบผลิตน�้ำประปา Conventional
Mobile Plant
ฉะเชิงเทรา
✓
✓
บางปะกง
✓
✓
บ่อวิน
✓
✓
หนองขาม
✓
ชลบุรี
Advance Treatment
✓
✓
ระยอง
✓
สัตหีบ
✓
✓ ✓
เกาะล้าน
✓
เกาะสมุย
✓
หลักชัย
✓
ราชบุรี
✓
นครสวรรค์
✓
✓
หัวรอ
✓
นอกจากนี้ บริษัทในเครือยังตระหนักถึงการสร้างความพึงพอใจสูงสุดให้แก่ผู้ใช้น�้ำ และความรับผิดชอบต่อสินค้าและบริการ จึงได้มี การสุม่ เก็บตัวอย่างน�ำ้ ประปา และส่งให้หอ้ งปฏิบตั กิ ารภายนอกทีข่ นึ้ ทะเบียน และได้รบั การรับรองมาตรฐานจากกระทรวงสาธารณสุข กรมโรงงานอุตสาหกรรม กรมวิทยาศาสตร์บริการ เพื่อตรวจสอบคุณภาพน�้ำประปา เพื่อให้เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานที่ก�ำหนดไว้ ในสัญญาการซื้อขายน�้ำประปากับคู่สัญญา รายละเอียด ดังนี้
ตารางแสดงมาตรฐานน�้ำประปาที่ก�ำหนดไว้ของแต่ละกิจการประปา มาตรฐานควบคุมคุณภาพน�ำ้
กิจการประปา
1 มาตรฐานผลิตภัณฑ์อตุ สาหกรรม (มอก.)
ฉะเชิงเทรา บางปะกง บ่อวิน ระยอง สัตหีบ เกาะสมุย ราชบุรี นครสวรรค์
2 มาตรฐานคุณภาพน�ำ้ ของการประปาส่วนภูมภิ าค
บ่อวิน หนองขาม ชลบุรี สัตหีบ เกาะล้าน หลักชัย หัวรอ
42
รายงานความยั่งยืน 2562 บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)
ในการส�ำรวจความพึงพอใจผูใ้ ช้นำ�้ ประปาประจ�ำปี อีกหนึง่ ประเด็นทีผ่ ใ้ ู ช้นำ�้ ประปาให้ความส�ำคัญได้แก่เรือ่ งคุณภาพน�ำ้ ประปา โดยเฉพาะอย่างยิง่ ในเรือ่ งของความสะอาด ความใส และการตกตะกอนของน�ำ้ ประปา เนือ่ งจากความขุน่ ความใสของน�ำ้ ประปาเป็นลักษณะทางกายภาพทีผ่ ใู้ ช้นำ�้ สังเกตเห็นได้งา่ ยทีส่ ดุ ดังนัน้ บริษทั จึงมีวธิ กี ารบริหารจัดการ ช่วงทีม่ คี วามเสีย่ งคุณภาพน�ำ้ ไม่เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน แบ่งเป็น 2 ส่วน ดังนี้ • ส่วนระบบผลิต โดยปกติ พนักงานควบคุมระบบผลิตจะติดตามเฝ้าระวังค่าความขุน่ น�ำ้ ดิบทุก 2 ชัว่ โมง และสามารถควบคุมเครือ่ งปรับจ่ายสารเคมี แบบอัตโนมัตไิ ด้ทนั ทีเพียงป้อนข้อมูลปริมาณการจ่ายทีเ่ หมาะสม ในระบบคอมพิวเตอร์ หรือกรณีคุณภาพน�้ำดิบมีค่าความขุ่นสูง อาจเนื่องมาจากช่วงฤดูน�้ำหลาก หรือช่วงฤดูแล้ง ความขุ่น น�ำ้ ดิบอาจสูงเกินมาตรฐานทีร่ ะบบผลิตสามารถรองรับได้ผคู้ วบคุม จะลดก�ำลังการผลิตลง เพื่อให้ความขุ่นน�้ำดิบเป็นไปตามเกณฑ์ คุณภาพที่ก�ำหนดไว้
• ส่วนระบบท่อจ่าย โดยปกติ เพื่อรักษาให้น�้ำในท่อเป็นไปตามเกณฑ์คุณภาพอย่าง สม�ำ่ เสมอพนักงานบริการดูแลระบบท่อจ่ายจะด�ำเนินการระบาย ตะกอนในท่อเป็นระยะ ๆ ตามก�ำหนดเวลา หรือเมื่อพบว่า น�ำ้ ประปามีความขุน่ สูงขึน้ อาจเนือ่ งมาจากงานซ่อมท่อ หรือการ ตกตะกอนในเส้นท่อ พร้อมทั้งยังได้พัฒนาระบบการระบายน�้ำ แบบอัตโนมัติ โดยเร่งติดตั้งให้ครอบคลุมทุกจุดระบายตะกอน ในระบบท่อจ่ายน�้ำ เพื่อควบคุมค่าความขุ่นน�้ำประปาในเส้นท่อ ได้ดียิ่งขึ้น
จากความใส่ใจในคุณภาพการให้บริการบริษทั ในเครือ จึงให้หน่วยงานจากภายนอกด�ำเนินการส�ำรวจความพึงพอใจของผูใ้ ช้นำ�้ ประปา เป็นประจ�ำต่อเนื่องทุกปี เพื่อน�ำข้อคิดเห็นและข้อแนะน�ำที่ได้รับจากผู้ใช้น�้ำประปามาเป็นแนวทางในการพัฒนาคุณภาพงานบริการ ในทุก ๆ ด้านให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
สรุปคะแนนความพึงพอใจโดยภาพรวม เปรียบเทียบ ปี 2560 - ปี 2562 5.00
4.38
4.52
4.63
4.00
3.00
2.00
ป พ.ศ.
1.00 2560
2561
2562
ผลการส�ำรวจความพึงพอใจลูกค้าในปี 2562 มีความพึงพอใจเพิ่มขึ้นจากปี 2561 ระดับคะแนนความพึงพอใจเฉลี่ยย้อนหลัง 3 ปี ประมาณร้อยละ 4.51 บริษัทและผู้เกี่ยวข้องตระหนักเป็นอย่างยิ่งในการรักษาระดับความพึงพอใจ พร้อมมุ่งเน้นการปรับปรุงการให้ บริการด้านข้อมูลที่ดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง (ระดับความพึงพอใจในแต่ละด้าน เปรียบเทียบปี 2560 - 2562 รายละเอียดอยู่ในภาคผนวก)
รายงานความยั่งยืน 2562 #สะกิดไทยใส่ใจน�้ำ
43
กระบวนการบริหารจัดการข้อร้องเรียนบริษทั ในเครือ การจัดการข้อร้องเรียนในกลุ่มธุรกิจน�้ำประปามีหลายช่องทางให้ลูกค้าในกลุ่มอุปโภคบริโภคสามารถแจ้งปัญหาการใช้น�้ำประปา อาทิ การแจ้งผ่านส�ำนักงานใหญ่ UU Call Center และ Line Application เมือ่ รับเรือ่ งร้องเรียนแล้ว บริษทั จะติดต่อกลับผูใ้ ช้นำ�้ เพือ่ เข้าแก้ไขปัญหาตามเกณฑ์ทกี่ ำ� หนด และสอบถามความพึงพอใจภายหลังการเข้าให้บริการ
ผูใ ชนาํ้ แจงปญหา ผานชองทางตาง ๆ
เจาหนาทีเ่ ปดงานในระบบ UU Call Center
นําเสนอผูบ ริหาร รับทราบ
ทีมงานติดตอกลับ ผูใ ชนาํ้
จัดทํารายงานสรุป
ทีมชางเขาซอมแซม แกไขปญหา
เจาหนาทีป ่ ด งานในระบบ UU Call Center
3rd Party สํารวจ ความพึงพอใจ หลังใหบริการ
โดยในปี 2562 ทีผ่ า่ นมา มีรายการการให้บริการผูใ้ ช้นำ�้ ประปารวมทัง้ สิน้ 18,327 รายการ ซึง่ เป็นรายการทีแ่ ก้ไขแล้วเสร็จทัง้ หมดทุกรายการ และในปี 2563 บริษทั ได้วางแผนพัฒนาการจัดการข้อร้องเรียนให้ผใู้ ช้นำ�้ ได้รบั บริการได้รวดเร็วยิง่ ขึน้ บริษทั จึงได้กำ� หนดมาตรฐานข้อตกลง ในการให้บริการผูใ้ ช้นำ �้ บริษทั ยูนเิ วอร์แซล ยูทลี ติ สี้ ์ จ�ำกัด (มหาชน) หรือ UU Service Level Agreement : UU SLA รวมถึงประกาศให้พนักงาน ทุกคนรับทราบและปฏิบตั ติ ามมาตรฐานนีใ้ นการให้บริการลูกค้าเพือ่ ให้เกิดความพึงพอใจสูงสุดโดยเริม่ มีผลตัง้ แต่วนั ที่ 1 มกราคม 2563 เป็นต้นไป
มิติสิ่งแวดลอม
รายงานความยั่งยืน 2562 #สะกิดไทยใส่ใจน�้ำ
45
ความรับผิดชอบในกระบวนการด�ำเนินงาน (Disclosure 303-1)
การบริหารจัดการน�ำ้ ถือเป็นการบูรณาการร่วมกันระหว่างภาครัฐและภาคเอกชน ซึง่ ในฐานะทีบ่ ริษทั เป็นผูน้ ำ� ในการบริหารจัดการน�ำ้ ครบวงจรของประเทศ จึงจัดให้มที มี วิเคราะห์และประเมินสถานการณ์นำ �้ รวมถึงวิเคราะห์คณ ุ ภาพน�ำ้ เพือ่ เฝ้าระวังการเปลีย่ นแปลงคุณภาพน�ำ้ โดยได้สื่อสารและส่งข้อมูลคุณภาพน�้ำให้แก่ลูกค้าอย่างต่อเนื่อง เพื่อป้องกันผลกระทบต่อการด�ำเนินงานของลูกค้า ตลอดจน ร่วมมือกับภาครัฐและภาคเอกชนจัดตั้งคณะท�ำงานศูนย์ปฏิบัติการน�้ำภาคตะวันออก (Water War Room) เพื่อร่วมกันคาดการณ์ สภาพภูมอิ ากาศ ปริมาณน�ำ้ ในพืน้ ที่ และบริหารจัดการน�ำ้ อย่างมีประสิทธิภาพ เพือ่ จัดสรรน�ำ้ ให้เพียงพอ และเท่าเทียมกันทุกภาคส่วน การบริหารจัดการน�้ำร่วมกัน พื้นที่มาบตาพุด พื้นที่บ้านฉาง และสัตหีบ ผูใ้ ช้นำ�้ ส่วนใหญ่ในพืน้ ทีน่ เ้ี ป็นภาคอุตสาหกรรม ใช้นำ�้ จากอ่างเก็บน�ำ้ หลักในพื้นที่ รวม 3 แห่ง ได้แก่ อ่างเก็บน�้ำดอกกราย อ่างเก็บน�้ำ หนองปลาไหล และอ่างเก็บน�้ำประแสร์ พื้นที่ชลบุรีและพื้นที่ปลวกแดง - บ่อวิน ถือเป็นแนวยุทธศาสตร์เส้นใหม่ของประเทศ โดยผูใ้ ช้นำ�้ ส่วนใหญ่ ในพืน้ ทีน่ เี้ ป็นภาคอุปโภคบริโภค แต่ดว้ ยลักษณะภูมปิ ระเทศทีม่ ี แหล่งกักเก็บน�ำ้ ขนาดใหญ่นอ้ ย ซึง่ มีเพียง 2 แห่ง ได้แก่ อ่างเก็บน�ำ้ หนองค้อ และอ่างเก็บน�ำ้ บางพระ จึงจ�ำเป็นต้องพึง่ พาน�ำ้ ดิบจาก พืน้ ทีร่ ะยอง ได้แก่ อ่างเก็บน�ำ้ หนองปลาไหล และอ่างเก็บน�ำ้ ประแสร์ โดยการสูบผันน�้ำผ่านระบบท่อของบริษัท พื้นที่ฉะเชิงเทรา ผูใ้ ช้นำ�้ ส่วนใหญ่ในพืน้ ทีน่ เี้ ป็นภาคอุปโภคบริโภค ใช้นำ�้ จากแม่นำ�้ บางปะกงเป็นหลัก อย่างไรก็ตาม เนื่องจากฉะเชิงเทราเป็นพื้นที่ ทีม่ ปี ญ ั หาการรุกล�ำ้ ของน�ำ้ เค็ม ท�ำให้พนื้ ทีบ่ างแห่งได้รบั ผลกระทบ จากการขาดแคลนน�ำ้ จืดในช่วงฤดูแล้ง ดังนัน้ เพือ่ ให้มนี ำ�้ ใช้ตลอด ทั้งปีจึงต้องบริหารจัดการโดยการซื้อน�้ำดิบจากแหล่งน�้ำเอกชน มาเสริมความมัน่ คงด้านแหล่งน�ำ้ ในพืน้ ทีช่ ว่ งฤดูแล้ง และการสูบน�ำ้ จากแม่น�้ำบางปะกงในช่วงฤดูน�้ำหลากไปฝากไว้ที่สระส�ำรองน�้ำ ส�ำนักบกของบริษัท เพื่อน�ำกลับมาใช้ในช่วงฤดูแล้ง ด้านแหล่งน�ำ้ ทีบ่ ริษทั น�ำมาใช้บริหารจัดการนัน้ เป็นน�ำ้ ผิวดินทีส่ บู มาจากแหล่งน�ำ้ ต่าง ๆ ซึง่ สามารถจ�ำแนกตามการใช้งานได้เป็น 2 ลักษณะ คือ แหล่งน�ำ้ หลัก และแหล่งน�ำ้ ส�ำรอง (Disclosure 303-3) - แหล่งน�้ำหลัก หมายถึง แหล่งน�้ำที่บริษัทได้รับการจัดสรรจาก กรมชลประทาน ได้แก่ อ่างเก็บน�ำ้ หนองค้อ อ่างเก็บน�ำ้ ดอกกราย อ่างเก็บน�ำ้ หนองปลาไหล อ่างเก็บน�ำ้ ประแสร์ อ่างเก็บน�ำ้ บางพระ รวมถึ ง แหล่ ง น�้ ำ ที่ บ ริ ษั ท สามารถสู บ ใช้ น�้ ำ ได้ ใ นแต่ ล ะปี โดยที่มีปริมาณน�้ำต้นทุนเป็นปริมาณน�้ำท่าตามฤดูกาล ได้แก่ แม่น�้ำบางปะกง และแหล่งน�้ำเอกชน - แหล่งน�้ำส�ำรอง หมายถึง แหล่งน�้ำที่มีไว้เพื่อเสริมความมั่นคง ของแหล่ ง น�้ ำ หลั ก ซึ่ ง ต้ อ งมี ก ารเก็ บ ส� ำ รองน�้ ำ ไว้ ล ่ ว งหน้ า โดยจะใช้ในกรณีที่ปริมาณน�้ำในแหล่งน�้ำหลักมีน้อยและเกิด ภาวะขาดแคลนน�้ำ ได้แก่ สระส�ำรองน�้ำส�ำนักบก สระส�ำรองน�้ำ ฉะเชิงเทรา และอ่างเก็บน�้ำบางพระ (น�้ำฝากส�ำรอง)
ส�ำหรับแหล่งน�ำ้ ทีไ่ ด้รบั จัดสรรจากกรมชลประทานนัน้ ในแต่ละปี ส�ำนักงานชลประทานที่ 9 จะจัดการประชุมผูใ้ ช้นำ�้ นอกภาคเกษตร (ภาคอุปโภคบริโภค และภาคอุตสาหกรรม) ขึ้น เพื่อจัดสรร ปริมาณน�ำ้ แก่ผทู้ ไี่ ด้รบั อนุญาตใช้นำ �้ โดยรอบปีการจัดสรรจะเริม่ ตั้งแต่เดือนพฤศจิกายนถึงเดือนตุลาคมของปีถัดไป โดยระหว่าง ปีการจัดสรรจะมีการประชุมติดตามปริมาณการใช้น�้ำตามการ เปลี่ยนแปลงของสถานการณ์น�้ำ เพื่อจัดสรรปริมาณน�้ำเพิ่มเติม เมื่อมีปริมาณน�้ำไหลเข้าในอ่างเก็บน�้ำเพิ่มขึ้น ส่วนการสูบน�ำ้ จากแม่นำ�้ บางปะกง บริษทั จะสูบเฉพาะในช่วงฤดู น�ำ้ หลาก โดยในรอบปีทผี่ า่ นมาบริษทั สูบน�ำ้ ระหว่างเดือนกรกฎาคม 2562 ถึง ธันวาคม 2562 ส่งจ่ายให้กับผู้ใช้น�้ำภาคอุปโภค บริ โ ภคและภาคอุ ต สาหกรรมในพื้ น ที่ ฉ ะเชิ ง เทราเป็ น หลั ก และอีกส่วนหนึ่งสูบผันไปเก็บส�ำรองไว้ยังอ่างเก็บน�้ำบางพระ และสระส�ำรองน�้ำส�ำนักบก เพื่อส�ำรองไว้ให้กับผู้ใช้น�้ำในพื้นที่ ฉะเชิงเทราและชลบุรีในช่วงฤดูแล้ง การบริหารจัดการน�ำ้ ในปี 2562 เนือ่ งจากเป็นปีทบี่ ริษทั เผชิญกับ ปัญหาภัยแล้ง ปริมาณน�ำ้ ในอ่างเก็บน�ำ้ หลักของกรมชลประทาน ซึง่ เป็นแหล่งน�ำ้ ต้นทุนหลักของบริษทั มีอยูอ่ ย่างจ�ำกัด บริษทั จึงได้ จัดเตรียมมาตรการป้องกันและแก้ไขปัญหาภัยแล้ง 7 มาตรการ โดยร่วมมือกับทุกภาคส่วน ดังนี้ 1) ขอความร่วมมือทุกภาคส่วนลดการใช้น�้ำลงร้อยละ 10 2) การจัดหาแหล่งน�้ำเพิ่มเติมจากบ่อดินเอกชนเข้ามาเสริม ในพื้นที่ชลบุรีและพื้นที่ฉะเชิงเทรา 3) เตรียมความพร้อมระบบสูบน�้ำส�ำรอง 4) โครงการปรับปรุงสถานีสบู น�ำ้ ฉะเชิงเทรา (คลองเขือ่ น) เพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพการสูบน�้ำจากแม่น�้ำบางปะกง 5) โครงการเชือ่ มท่ออ่างเก็บน�ำ้ ประแสร์ - อ่างเก็บน�ำ้ คลองใหญ่ กับเชื่อมท่ออ่างเก็บน�้ำประแสร์ - อ่างเก็บน�้ำหนองปลาไหล 6) โครงการเพิม่ ปริมาณการจ่ายน�ำ้ ท่อหนองปลาไหล - หนองค้อ 7) โครงการสูบน�ำ้ จากแม่นำ�้ ระยองไปยังสระส�ำรองน�ำ้ ดิบทับมา สรุปปริ ม าณน�้ ำ ทั้ ง หมดที่ บ ริ ษั ท สู บ เพื่ อ บริ ห ารจั ด การในปี 2562 (ส�ำหรับใช้ในปี 2561 - 2562) อยู่ที่ 334.78 ล้าน ลบ.ม. เพิ่ ม ขึ้ น จากปี ก ่ อ น เนื่ อ งจากลู ก ค้ า กลุ ่ ม ประปาในเขตพื้ น ที่ ชลบุรมี ปี ริมาณการใช้นำ�้ เพิม่ ขึน้ โดยได้จำ� แนกปริมาณการสูบใช้ ตามแหล่งน�้ำหลักซึ่งแสดงไว้ในตารางต่อไปนี้
บอ นำ้เอกชน สถานฯี บอ ดนิเอกชน
สถานเีพิ่มแรงดนั
สำรองนำ้ฉกุเฉนิ สถานฯี ประแสร
การ
ขอ มลู มกราคม 2562
แหล่งทีม่ า Overall Water Risk : https://www.wri.org/our-work/project/aqueduct/
ตารางแสดงข้อมูลปริมาณน�ำ้ จากแหล่งน�ำ้ หลักทีบ่ ริษทั ใช้ในปี 2562 (Disclosure 303-5) แหล่งน�้ำ
1. อ่างฯ ประแสร์ 2. อ่างฯ หนองปลาไหล* 3. อ่างฯ ดอกกราย 4. อ่างฯ บางพระ 5. อ่างฯ หนองค้อ 6. แม่นำ�้ บางปะกง (Water Stress) 7. แหล่งน�ำ้ เอกชน (Water Stress) 8. ปริมาณน�ำ้ ฝนจากสระฯ ส�ำนักบก รวม
ได้รบ ั จัดสรร (ตามหนังสืออนุญาต) 103 ล้านลิตร
107.00 120.00 116.00 8.00 16.70 27.00 - 394.70
น�ำ้ สูบ ปี 2562 103 ล้านลิตร
ปริมาณของแข็งทีล ่ ะลายน�ำ้ ทัง ้ หมด (≤ 1000 มก./ลิตร.) 103 ล้านลิตร
ปริมาณของแข็งทีล ่ ะลายน�ำ้ ทัง ้ หมด (> 1000 มก./ลิตร.) 103 ล้านลิตร
74.91 145.61 68.36 5.64 13.02 14.96 12.02 0.26 334.78
74.91 145.61 68.36 5.64 13.02 14.96 12.02 0.26 334.78
-
(ตารางแสดงข้อมูลปริมาณน�ำ้ จากแหล่งน�ำ้ หลักทีบ่ ริษทั ใช้ในปี 2561 - 2562 รายละเอียดอยูใ่ นภาคผนวก) หมายเหตุ : * ปริมาณน�ำ้ สูบจากอ่างเก็บน�ำ้ หนองปลาไหลเกินกว่าปริมาณทีไ่ ด้รบั อนุญาตในหนังสือ เนือ่ งจากปริมาณน�ำ้ ทีอ่ า่ งเก็บน�ำ้ ดอกกรายมีนอ้ ย จึงต้องลดการใช้นำ�้ และเพิม่ ทีอ่ า่ งเก็บน�ำ้ หนองปลาไหลแทน ซึ่งปริมาณการสูบน�ำ้ รวมในปี 2562 ไม่เกินปริมาณน�ำ้ ทีไ่ ด้รบั จัดสรรรวมตามหนังสืออนุญาต
รายงานความยั่งยืน 2562
47
#สะกิดไทยใส่ใจน�้ำ
ความรับผิดชอบต่อการเปลี่ยนแปลงของคุณภาพแหล่งน�้ำ (Disclosure 303-2)
ในปัจจุบนั แหล่งน�ำ้ ต้นทุนในพืน้ ทีจ่ งั หวัดระยอง ประกอบด้วย อ่างเก็บน�ำ้ ดอกกราย อ่างเก็บน�ำ้ หนองปลาไหล อ่างเก็บน�ำ้ คลองใหญ่ และอ่างเก็บน�ำ้ ประแสร์ ซึ่งมีปริมาตรความจุที่ระดับเก็บกักรวมกันประมาณ 570 ล้าน ลบ.ม. ท�ำหน้าทีเ่ ป็นแหล่งน�ำ้ ต้นทุนหลักส�ำหรับโครงการ เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (อีอีซี) โดยมีการใช้ปริมาณน�ำ้ ทัง้ จากปริมาณน�ำ้ ท่าตามธรรมชาติทไี่ หลเข้าอ่างเก็บน�ำ ้ และรองรับ การพัฒนาการเชื่อมโยงแหล่งน�้ำจากพื้นที่ข้างเคียงโดยมีการ บริหารจัดการน�้ำอย่างเป็นระบบ ซึ่งในการนี้ข้อมูลปริมาตร ความจุของอ่างเก็บน�้ำที่แท้จริงจึงเป็นข้อมูลที่มีความส�ำคัญสูง มากทีจ่ ะท�ำให้การบริหารจัดการน�ำ้ สามารถด�ำเนินการได้อย่างมี ประสิทธิภาพ โดยเฉพาะการบริหารจัดการน�ำ้ ในช่วงทีม่ ปี ริมาณน�ำ้ อยูใ่ นเกณฑ์นอ้ ย จะต้องมีแผนการบริหารจัดการน�ำ้ ทีม่ คี วามละเอียด ถูกต้องสูงเพือ่ ไม่ให้เกิดผลกระทบต่อกิจกรรมการใช้นำ�้ ต่าง ๆ รวมถึง การเพิม่ ความสามารถในการเก็บกักน�ำ้ ทีม่ อี ยูใ่ นปัจจุบนั ให้สามารถ เก็บกักได้เพิม่ ขึน้ ก็มคี วามส�ำคัญสูงมากเช่นกัน
• การศึกษาปรับเทียบโค้งความจุอา่ งเก็บน�ำ้ จากข้อมูลการส�ำรวจสภาพภูมปิ ระเทศอ่างเก็บน�ำ้ ด้วยวิธกี ารรังวัดแบบจลน์ ทันที(Real-timekinematicsurvey:RTK)น�ำมาค�ำนวณปริมาตรความจุ ของอ่างเก็บน�ำ้ ทีร่ ะดับต่าง ๆ และจัดท�ำเป็นโค้งความจุของอ่างเก็บน�ำ้ และท�ำการเปรียบเทียบกับโค้งความจุของอ่างเก็บน�ำ้ ทีใ่ ช้งานอยูเ่ ดิม • การศึกษาปริมาณน�ำ้ ต้นทุนทีไ่ หลเข้าอ่างเก็บน�ำ้ การศึกษาปริมาณน�ำ้ ต้นทุนทีไ่ หลเข้าอ่างเก็บน�ำ้ ได้ทำ� การวิเคราะห์ ปริมาณน�ำ้ ท่ารายเดือนระยะเวลา 30 ปี ช่วงปี 2530 - 2559 ของอ่างเก็บน�ำ้ แต่ละแห่งทัง้ 4 แห่ง รวมถึงต�ำแหน่งทีม่ คี วามส�ำคัญต่อ การบริหารจัดการน�ำ้ เพิม่ เติมได้แก่บริเวณฝายบ้านค่าย โดยในการศึกษา ได้ทำ� การวิเคราะห์ปริมาณน�ำ้ ท่ารายวันจากแบบจ�ำลองน�ำ้ ฝน - น�ำ้ ท่า (NAM Model)
บริษัทร่วมกับมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จัดท�ำโครงการศึกษา ปรับปรุงโค้งความจุอา่ งเก็บน�ำ้ ดอกกราย อ่างเก็บน�ำ้ หนองปลาไหล อ่างเก็บน�ำ้ คลองใหญ่ และอ่างเก็บน�ำ้ ประแสร์ เพือ่ การบริหารจัดการน�ำ้ อย่างมีประสิทธิภาพ โดยได้สำ� รวจความสามารถในการเก็บกักน�ำ้ ทีม่ อี ยู่ ในปัจจุบนั ของอ่างเก็บน�ำ้ ทัง้ 4 แห่ง และศึกษาการบริหารจัดการน�ำ้ อ่างเก็บน�ำ้ ทัง้ 4 แห่ง จากข้อมูลผลการส�ำรวจทีม่ คี วามเป็นปัจจุบนั มากทีส่ ดุ ปริมาณนํ้าทาไหลเขาอาง (ลาน ลบ.ม.)
เฉลี่ย
สูงสุด
ตํ่าสุด
185.64 307.84 85.08
อางเก็บนํ้าหนองปลาไหล ความจุอางเก็บนํ้า 172.93 ลาน ลบ.ม. ตํา่ สุด 11.71 ลาน ลบ.ม. และตํา่ กวาเดิมประมาณ 14.69 ลาน ลบ.ม.
ปริมาณนํ้าทาไหลเขาอาง (ลาน ลบ.ม.)
เฉลี่ย
สูงสุด
ตํ่าสุด
153.22 245.15 84.90
อางเก็บนํ้าดอกกราย ความจุอางเก็บนํ้า 78.70 ลาน ลบ.ม. ตํา่ สุด 1.89 ลาน ลบ.ม. และสูงกวาเดิมประมาณ 0.03 ลาน ลบ.ม.
ปริมาณนํ้าทาไหลเขาอาง (ลาน ลบ.ม.)
เฉลี่ย
สูงสุด
ตํ่าสุด
266.62 544.97 100.05 อ า งเก็ บ นํ้ า ประแสร ความจุ อ า งเก็ บ นํ้ า 268.44 ล า น ลบ.ม. ตํา่ สุด 17.24 ลาน ลบ.ม. และตํา่ กวาเดิมประมาณ 26.56 ลาน ลบ.ม.
ปริมาณนํ้าทาไหลเขาอาง (ลาน ลบ.ม.)
เฉลี่ย
สูงสุด
ตํ่าสุด
55.59 114.04 12.05
อ า งเก็ บ นํ้ า คลองใหญ ความจุ อ า งเก็ บ นํ้ า 37.47 ล า น ลบ.ม. ตํา่ สุด 3.37 ลาน ลบ.ม. และตํา่ กวาเดิมประมาณ 2.63 ลาน ลบ.ม.
48
รายงานความยั่งยืน 2562 บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)
• การศึกษาแนวทางการบริหารจัดการน�ำ้ การศึกษาแนวทางการบริหารจัดการน�ำ้ ของอ่างเก็บน�ำ้ ทัง้ 4 แห่ง จะเป็น การพิจารณาร่วมกับปริมาตรความจุทสี่ ำ� รวจใหม่ และการผันน�ำ้ ระหว่าง อ่างเก็บน�ำ้ โดยท่อ และคลองผันน�ำ้ ต่าง ๆ ให้สอดคล้องกับปริมาณ ความต้องการใช้นำ�้ ในกิจกรรมต่าง ๆ เพือ่ ให้สามารถบริหารจัดการน�ำ้ ให้เกิดประโยชน์สงู สุด ซึง่ ในการด�ำเนินการดังกล่าวจะใช้แนวทาง ของการศึกษาสมดุลน�ำ ้ และการใช้เกณฑ์การควบคุมอ่างเก็บน�ำ้ แต่ละแห่งเป็นเครือ่ งมือในการบริหารจัดการน�ำ้ การศึกษาสมดุลระบบแหล่งน�้ำเป็นการศึกษาถึงความเพียงพอ ของสถานการณ์นำ�้ ต้นทุนทีม่ อี ยู่ และปริมาณความต้องการใช้นำ�้ ในกิจกรรมต่าง ๆ โดยใช้หลักการพิจารณาร่วมกันระหว่างปริมาณน�ำ้ ท่า ตามธรรมชาติทไี่ หลลงอ่างเก็บน�ำ้ แต่ละแห่งในกรณีตา่ ง ๆ ความสามารถ ในการผันน�ำ้ ระหว่างแหล่งน�ำ ้ ปริมาณความต้องการใช้นำ �้ ความสามารถ ของระบบท่อส่งน�ำ ้ และคุณลักษณะของอ่างเก็บน�ำ ้ เพือ่ ศึกษาถึงแนวทาง การบริหารจัดการน�ำ้ ส�ำหรับอ่างเก็บน�ำ้ แต่ละแห่ง เพือ่ ให้เกิดประโยชน์ สูงสุดในด้านความมัน่ คงของแหล่งน�ำ ้ บนพืน้ ฐานความเสีย่ งทีส่ ามารถ ยอมรับได้ ตลอดจนค�ำนึงถึงระดับการเก็บกักน�ำ ้ 2 เกณฑ์ดงั นี้ 1. เกณฑ์การเก็บกักน�ำ้ สูงสุด (Upper Rule Curve : URC) เพือ่ รักษาระดับน�้ำให้อยู่ระดับที่มีความเสี่ยงต่อการเกิดอุทกภัย น้อยที่สุด โดยการพร่องน�้ำในอ่างฯ เพื่อเตรียมความพร้อม รับน�ำ้ หลากในช่วงต้นฤดูฝน และเก็บน�ำ้ เต็มอ่างฯ ในช่วงปลายฤดูฝน
2. เกณฑ์การเก็บกักน�ำ้ ต�ำ่ สุด (Lower Rule Curve : LRC) เพือ่ รักษาระดับน�้ำไม่ให้ต�่ำกว่าเกณฑ์เก็บกักน�้ำต�่ำสุด เพื่อเป็น หลักประกันปริมาณน�้ำเพื่อการเกษตรในช่วงฤดูแล้ง บริษทั ได้นำ� ข้อมูลต่าง ๆ มาวิเคราะห์เพือ่ ศึกษาถึงแนวทางการบริหาร จัดการอ่างเก็บน�ำ้ และระบบท่อส่งน�ำ้ ในภาพรวมทัง้ ระบบ ทัง้ การ ใช้นำ�้ จากอ่างเก็บน�ำ้ ต่าง ๆ ซึง่ มีขอ้ จ�ำกัดคือปริมาณน�ำ้ ทีส่ ามารถ น�ำมาใช้ได้และขนาดของท่อส่งน�้ำ และจากแหล่งน�้ำธรรมชาติ ช่วงเวลาการสูบน�ำ้ ทีส่ ามารถด�ำเนินการได้ในกรณีตา่ ง ๆ อีกทัง้ มีความผันแปรทัง้ ในด้านปริมาณน�ำ้ ต้นทุนตามธรรมชาติ ปริมาตรน�ำ้ ทีเ่ ก็บกักไว้ในอ่างเก็บน�ำ้ และความเหมาะสมในการด�ำเนินการในด้าน ค่าใช้จ่ายในการสูบจ่ายน�้ำเพื่อหาแนวทางที่เหมาะสมส�ำหรับ สถานการณ์ตา่ ง ๆ ซึง่ จะช่วยท�ำให้การบริหารจัดการทรัพยากร มีประสิทธิภาพมากขึ้น โดยมีปัจจัยที่เกี่ยวข้องดังนี้ 1) ระดับน�้ำ/ปริมาตรน�้ำ ของอ่างเก็บน�้ำแต่ละแห่ง 2) ความสามารถของระบบเชือ่ มโยงแหล่งน�ำ้ และระบบสูบจ่ายน�ำ ้ 3) ระยะห่างของต�ำแหน่งการใช้น�้ำและแหล่งน�้ำต้นทุน 4) ค่าใช้จ่ายด้านพลังงานในการผันน�้ำและสูบจ่ายน�้ำในแต่ละ สถานีสบู น�ำ้
การรับมือต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ตลอดระยะเวลาด�ำเนินงาน บริษทั ตระหนักถึงการเปลีย่ นแปลง สภาพภูมิอากาศ ความแปรปรวนของสภาพภูมิอากาศทั่วโลก และภัยธรรมชาติ ทีท่ วีความรุนแรงมากขึน้ ส่งผลกระทบต่อปริมาณน�ำ้ ในพืน้ ที่ และการจัดสรรน�ำ้ ให้เพียงพอต่อทุกภาคส่วน ดังนัน้ บริษทั จึงมีมาตรการรองรับการเปลีย่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ ด้วยการสร้าง เสถียรภาพของระบบโครงข่ายท่อส่งน�ำ ้ เพือ่ สร้างความเชือ่ มัน่ การ บริหารจัดการน�ำ้ ให้แก่ทกุ ภาคส่วนมีนำ�้ ใช้อย่างเพียงพอ ตลอดจน การน�ำศาสตร์แห่งการใช้นำ�้ มาปลุกกระแสการใช้นำ�้ อย่างรูค้ ณ ุ ค่า เพียงพอและสม�ำ่ เสมอ ให้แก่ลกู ค้าและชุมชนได้มสี ว่ นร่วมในการรณรงค์ และบูรณาการการใช้นำ�้ ร่วมกัน
จากสภาวะโลกร้อนทีท่ วีความรุนแรงขึน้ ทุกปี ส่งผลให้ปรากฏการณ์ ทางธรรมชาติมีการเปลี่ยนแปลงไปมากซึ่งส่งผลกระทบต่อการ หมุนเวียนวัฏจักรของน�้ำที่เป็นกลไกส�ำคัญของทุกชีวิตบนโลก ถูกท�ำลายสมดุลลง ท�ำให้หลายพืน้ ทีถ่ กู น�ำ้ ท่วมอย่างหนัก แต่กม็ ี อีกหลายพืน้ ทีต่ อ้ งพบกับสภาพอากาศทีแ่ ห้งแล้งจากอุณภูมทิ สี่ งู ขึน้ ดังนั้น บริษัทในฐานะผู้น�ำการบริหารจัดการน�้ำของประเทศไทย จึงได้วิเคราะห์ พัฒนา บริหารจัดการแหล่งน�้ำและการใช้น�้ำ ในพื้นที่ให้บริการแต่ละแห่งของบริษัท ดังนี้
การสร้างเสถียรภาพของระบบโครงข่ายท่อส่งน�้ำ การสร้างเสถียรภาพ ของโครงข่ายท่อส่งน�ำ้ เพือ่ ให้เพียงพอต่อความ ต้องการในระยะยาว จากผลการศึกษาเรือ่ งการคาดการณ์สภาพ ภูมอิ ากาศพืน้ ทีภ่ าคตะวันออก ของส�ำนักนโยบายและแผนทรัพยากร ธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม (สผ.) โดยใช้แบบจ�ำลอง Meteorological Research Institute global Circulation Models : MRI GCM ของสถาบันวิจัยอุตุนิยมวิทยาแห่งประเทศญี่ปุ่น โดยใช้ข้อมูล การเปลีย่ นแปลงสภาพอากาศ จากแบบจ�ำลองการเปลีย่ นแปลงสภาพ อากาศ โดยรวบรวมข้อมูลฝนและอุณหภูมริ ายวันของกรมอุตนุ ยิ มวิทยา และกรมชลประทาน (1979 - 2006) และข้อมูลฝน อุณหภูมิ ความเร็วลม รายวันจากแบบจ�ำลอง (1979 - 2006, 2015 - 2039, 2075 - 2099) มาท�ำการวิเคราะห์พนื้ ที่ Hotspots พบว่าแนวโน้มความเสีย่ งการเกิด
อุทกภัยในอนาคตอันใกล้มคี วามเสีย่ งน้อยกว่าปีฐาน ส่วนในอนาคต อันไกลมีความเสีย่ งมากกว่าอนาคตอันใกล้ และพบว่าแนวโน้มความ เสีย่ งการเกิดภัยแล้งในอนาคตอันใกล้มคี วามเสีย่ งมากกว่าปีฐาน และในอนาคตอั น ไกลมี ค วามเสี่ ย งมากกว่ า อนาคตอั น ใกล้ (แหล่งทีม่ า http://www.onep.go.th/climatechange/index.php/ about-east-5) บริษทั จึงมีแผนการด�ำเนินงานสร้างเสถียรภาพ ของโครงข่ายท่อส่งน�ำ้ ประกอบด้วยกัน 3 ส่วน เพือ่ รองรับความเสีย่ ง การเกิดภัยแล้งในพืน้ ทีภ่ าคตะวันออก ได้แก่ • การเพิม่ ศักยภาพแหล่งน�ำ้ ต้นทุน • การพัฒนาระบบโครงข่ายท่อส่งน�ำ้ ดิบ (Water Grid) • การประสานงานกับหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้องและการคาดการณ์ สภาพภูมอิ ากาศล่วงหน้า
รายงานความยั่งยืน 2562 #สะกิดไทยใส่ใจน�้ำ
49
1 การเพิม่ ศักยภาพแหล่งน�ำ้ ต้นทุน : บริษทั ได้จดั ท�ำแผนพัฒนาแหล่งน�ำ้ ต้นทุนทัง้ ระยะสัน้ ระยะกลาง และระยะยาว เพือ่ สร้างเสถียรภาพ ของแหล่งน�ำ้ ดิบ อันจะเป็นการสร้างความมัน่ ใจให้แก่ลกู ค้าในช่วง 20 ปีขา้ งหน้า โดยมีการปรับแผนการพัฒนาแหล่งน�ำ้ ไปจากปีกอ่ น เพือ่ ให้สอดคล้องกับสถานการณ์ปจั จุบนั และไม่สง่ ผลกระทบใด ๆ ต่อผูใ้ ช้นำ �้ รายละเอียดตามแผนภาพด้านล่าง
แผนภาพแสดงแผนการพัฒนาแหล่งน�้ำต้นทุนและคาดการณ์ความต้องการใช้น�้ำใน 20 ปี ข้างหน้า 900 850 800
1. เพิ่มประสิทธิภาพ แมนํ้าบางปะกง 20 ลาน ลบ.ม.
3. คลองหลวง 30 ลาน ลบ.ม.
2. สระทับมา 27 ลาน ลบ.ม.
4. บอดินเอกชน 12 ลาน ลบ.ม.
5. จัดสรรเพิ่มประแสร 7. จัดสรรเพิ่มประแสร 50 ลาน ลบ.ม. 70 ลาน ลบ.ม. (คลองสะพาน PS-NK-BP) (คลองวังโตนด PS-NK-BP) 6. สระทับมา 20 ลาน ลบ.ม.
8. ผันนํ้า อ.แกลง 70 ลาน ลบ.ม.
750
นํ้าตนทุนอนาคต 689 ลาน ลบ.ม.
700 689
ปริมาณนํ้า (ลาน ลบ.ม.)
650 600
619
550
350
410
572
549
505
455
479
450 400
549
529
500
689
437
นํ้าตนทุนปจจุบัน 390 ลาน ลบ.ม.
313
300 250 200 150 100
2582
2581
2580
2579
2578
2577
2576
2575
2574
2573
2572
2571
2570
2569
2568
2567
2566
2565
2564
2563
0
2562
50 ป พ.ศ.
2 การพัฒนาระบบโครงข่ายท่อส่งน�ำ้ ดิบ (Water Grid) : บริษทั ได้ดำ� เนินโครงการเพือ่ เพิม่ ศักยภาพให้กบั ระบบโครงข่ายท่อส่งน�ำ้ ดิบของ บริษทั อย่างต่อเนือ่ ง โดยในปี 2562 เป็นการด�ำเนินงานต่อเนือ่ งจากปี 2561 ประกอบด้วย 4 โครงการ โดยมีความคืบหน้าการด�ำเนินงานดังนี้ (1) โครงการพัฒนาระบบช่วยตัดสินใจในการบริหารแหล่งน�ำ้ ต้นทุนและการสูบจ่ายน�ำ้ (Energy and Water Resources Management System Project : EWMS เฟส 2) เป็นการศึกษาพร้อมติดตัง้ อุปกรณ์ตรวจวัดทีจ่ ำ� เป็นในการสนับสนุนระบบ EWMS ด้านการบริหารจัดการแหล่งน�ำ ้ พร้อมเชือ่ มโยง ข้อมูลแหล่งน�ำ้ ของกรมชลประทานและบริษทั ให้สามารถติดตามและคาดการณ์สถานการณ์นำ�้ ในภาคตะวันออกได้อย่างแม่นย�ำ ด�ำเนินการแล้วเสร็จ (2) โครงการก่อสร้างวางท่อน�้ำดิบหนองปลาไหล - หนองค้อ เส้นที่ 2 เพือ่ รองรับความต้องการใช้นำ�้ ในพืน้ ทีช่ ลบุรแี ละพืน้ ทีป่ ลวกแดง - บ่อวิน รวมถึงปัญหาการขาดแคลนน�ำ้ ในอนาคต ความสามารถ ในการส่งจ่ายน�ำ้ ได้ประมาณ 60 ล้าน ลบ.ม.ต่อปี ในปี 2562 อยูร่ ะหว่างด�ำเนินการปรับปรุงสถานีสบู น�ำ ้ คาดว่าจะแล้วเสร็จในปี 2563 (3) โครงการเพิม่ ประสิทธิภาพการสูบน�ำ้ จากแม่นำ�้ บางปะกง เป็นการเพิ่มประสิทธิภาพของระบบที่สูบน�้ำจากแม่น�้ำบางปะกงไปเก็บกักยังอ่างเก็บน�้ำบางพระ โดยเพิ่มความสามารถอีก 20 ล้าน ลบ.ม.ต่อปี เพือ่ รองรับความต้องการใช้นำ�้ ในพืน้ ทีฉ่ ะเชิงเทรา และพืน้ ทีช่ ลบุรี ในอนาคต ปัจจุบนั อยูร่ ะหว่างด�ำเนินการก่อสร้าง ซึง่ ก�ำหนดแล้วเสร็จปี 2563 (4) โครงการก่อสร้างระบบท่อส่งน�้ำดิบอ่างเก็บน�้ำคลองหลวง - ชลบุรี เพื่อรองรับความต้องการใช้น�้ำในพื้นที่ชลบุรีและพื้นที่ปลวกแดง - บ่อวิน รวมถึงปัญหาการขาดแคลนน�้ำในอนาคต ความสามารถในการส่งจ่ายน�ำ้ ได้ประมาณ 20 ล้าน ลบ.ม.ต่อปี ปัจจุบนั อยูร่ ะหว่างด�ำเนินงานวางท่อส่งน�ำ้ ดิบ ก�ำหนดแล้วเสร็จปี 2564 3 การประสานความร่วมมือและคาดการณ์สภาพภูมอิ ากาศล่วงหน้า : เพือ่ ให้มนั่ ใจได้วา่ บริษทั มีการวางแผนการบริหารจัดการน�ำ้ ทีเ่ หมาะสม และสอดคล้องกับสถานการณ์ปจั จุบนั จึงได้มกี ารประสานความร่วมมือกับหน่วยงานต่าง ๆ ทีเ่ กีย่ วข้องอย่างใกล้ชดิ อาทิ กรมชลประทาน คณะท�ำงานศูนย์ปฏิบตั กิ ารน�ำ้ ภาคตะวันออก (Water War Room) สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ส�ำนักงานโครงการเขตพัฒนาพิเศษ ภาคตะวันออก (อีอซี ี) กรมอุตนุ ยิ มวิทยา กรมฝนหลวงและการบินเกษตร เป็นต้น
50
รายงานความยั่งยืน 2562 บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)
การควบคุมน�ำ้ สูญเสียเป็นหนึง่ ในภารกิจทีเ่ ราให้ความส�ำคัญมาโดย ตลอด น�ำ้ ในอ่างเก็บน�ำ้ ทีเ่ ราสูบขึน้ มาต้องใช้ทงั้ พลังงานและทรัพยากรน�ำ้ เพือ่ ส่งให้ลกู ค้าอย่างมีประสิทธิภาพและก่อให้เกิดประโยชน์สงู สุด ดังนัน้ ในปี 2562 พบว่าบริษทั สามารถควบคุมปริมาณน�ำ้ สูญเสีย ในพืน้ ทีใ่ ห้สามารถอยูใ่ นปริมาณร้อยละ 2.93 (Disclosure 306-1) ของน�ำ้ สูบทัง้ หมดจากการส�ำรวจมาตรวัดน�ำ้ ลูกค้าและความสามารถ ของมาตรวัดน�ำ้ มีความคลาดเคลือ่ นเนือ่ งจากปริมาณการรับน�ำ้ จริง ทีไ่ ม่สอดคล้องกับปริมาณการรับน�ำ้ ทีไ่ ด้ออกแบบไว้ บริษทั จึงได้ทำ� การ ติดตัง้ มาตรวัดน�ำ้ ใหม่ทมี่ คี วามสามารถในการอ่านแม่นย�ำขึน้ ในช่วง การรับน�ำ้ ทีต่ า่ งกันระหว่างปริมาณมากทีส่ ดุ และน้อยทีส่ ดุ (R500) ตามมาตรฐาน ISO 4064 % NRW =
อีกทัง้ ในปี 2563 จะมีการน�ำมาตรการปรับโครงสร้างราคาค่าน�ำ้ ใหม่ เพือ่ รองรับความต้องการใช้นำ�้ ของลูกค้าอย่างเหมาะสมมาใช้ เป็น โครงสร้างการใช้นำ�้ ทีผ่ รู้ บั น�ำ้ มีสว่ นร่วมในการบริหารจัดการน�ำ้ ร่วมกับ บริษทั ด้วย เนือ่ งจากในการจัดหาน�ำ้ ตามมาตรการฯ ใหม่นนั้ ปริมาณน�ำ้ ทีผ่ ร้ ู บั น�ำ้ ต้องการในแต่ละปีจะเป็นปริมาณทีท่ างบริษทั จะส�ำรองจัดหา ให้ได้เพียงพอและมีส�ำรองไว้ส่วนหนึ่ง เพื่อสร้างความตระหนัก ในการใช้นำ�้ ของผูบ้ ริโภค และลดการจัดหาน�ำ้ มากเกินความต้องการ (Oversupply) ทีท่ ำ� ให้แผนการจัดการน�ำ้ ทัง้ ระบบไม่เกิดประสิทธิภาพ เท่าทีค่ วร ทัง้ ในด้านการจัดสรรทรัพยากรน�ำ ้ และด้านการบริหารจัดการ
(ปริมาณน�้ำสูบจ่าย - ปริมาณน�้ำใช้ลูกค้า - ปริมาณน�้ำส�ำรอง) ปริมาณน�้ำสูบจ่าย
X 100
4.00% 3.50%
3.43%
3.00%
3.28%
2.44%
2.50%
2.93%
2.90%
2.69%
600
3.50%
400
2.23% 1.94%
2.00%
300
1.50%
200
1.00%
%NRW
0.50% 0.00%
500
2554
2555
2556
2557
2558
2559
ความยาวเส้นท่อ (กม.) 2560
2561
2562
100 0
ป พ.ศ.
ตารางปริมาณการสูบจ่ายน�้ำของบริษัท ปี 2562 ปริมาณน�ำ้ สูบ ในระบบ (ลบ.ม.)*
ปริมาณน�ำ้ สูบ เพือ ่ จ�ำหน่าย (ลบ.ม.)**
ปริมาณน�ำ้ จ�ำหน่าย (ลบ.ม.)***
มกราคม
25,078,932
25,078,932
23,991,305
กุมภาพันธ์
25,064,002
25,064,002
มีนาคม
29,061,885
เมษายน
ปริมาณน�ำ้ กักเก็บ วัดได้ (ลบ.ม.)
น�ำ้ สูญเสีย (ลบ.ม.)
NRW (ร้อยละ)
-
1,087,627
4.34
24,211,396
-
852,606
3.40
29,061,885
29,147,048
51,671
(136,834)
-0.47
30,463,094
28,460,244
27,604,162
-
856,082
3.01
พฤษภาคม
33,761,832
28,644,878
27,693,493
-
951,385
3.32
มิถนุ ายน
31,376,493
25,277,852
24,586,241
58,890
632,721
2.50
กรกฎาคม
32,407,071
27,642,746
26,665,369
438,433
538,944
1.95
สิงหาคม
34,438,107
28,875,157
27,195,778
875,616
803,763
2.78
กันยายน
34,440,832
28,158,191
24,233,710
3,144,377
780,104
2.77
ตุลาคม
33,848,467
28,855,786
24,979,113
2,740,358
1,136,315
3.94
พฤศจิกายน
31,854,038
28,543,212
25,367,608
1,918,102
1,257,502
4.41
ธันวาคม
32,354,386
28,771,423
27,739,394
63,544
968,485
3.37
374,149,139
332,434,308
313,414,617
9,290,991
9,728,700
2.93
เดือน
รวม
หมายเหตุ : * ปริมาณน�้ำสูบในระบบทั้งหมด (น�้ำสูบเพื่อจ�ำหน่าย น�้ำฝากส�ำรอง และน�้ำสูบผัน) ** ปริมาณน�้ำสูบเพื่อจ�ำหน่าย หมายถึง ปริมาณน�้ำสูบเพื่อจ�ำหน่ายและฝากส�ำรอง ไม่รวมปริมาณน�้ำสูบผัน *** ปริมาณน�้ำจ�ำหน่าย หมายถึง ปริมาณน�้ำที่จ�ำหน่ายให้ลูกค้า
รายงานความยั่งยืน 2562 #สะกิดไทยใส่ใจน�้ำ
51
บริษทั ยังคงมุง่ มัน่ ในการรักษาเสถียรภาพของระบบสูบและการจ่ายน�ำ ้ (Reliability) โดยการก�ำหนดเป้าหมายไม่ให้เกิดความเสียหายกับเครือ่ งจักร อุปกรณ์ จนท�ำให้ระบบสูบจ่ายน�ำ้ หยุดชะงัก หรือต้องไม่มกี ารหยุดจ่ายน�ำ้ จากระบบโครงข่ายท่อส่งน�ำ้ หลัก อย่างไรก็ตาม ได้กำ� หนดเกณฑ์การ หยุดจ่ายน�ำ้ เพือ่ การบ�ำรุงรักษาไว้ไม่เกิน 8 ชัว่ โมง/ครัง้ แต่สำ� หรับเครือ่ งจักรหรืออุปกรณ์ทมี่ คี วามส�ำคัญสูง (Class A) จะต้องไม่มกี ารหยุดท�ำงาน แต่อย่างใด
บอน้ำเอกชน สถานีฯ บอดินเอกชน
สถานีเพ�่มแรงดัน
สำรองน้ำฉุกเฉิน สถานีฯ ประแสร
การ
ขอมูล มกราคม 2562
สถานีสบู น�ำ้ 15 สถานี • สถานีสบู น�ำ้ สระส�ำรองคลองเขือ่ น • สถานีสบู น�ำ้ ฉะเชิงเทรา • สถานีสบู น�ำ้ บางปะกง • สถานีสบู น�ำ้ บ่อดินเอกชน • สถานีสบู น�ำ้ เพิม่ แรงดันส�ำนักบก • สถานีสบู น�ำ้ ส�ำนักบก • สถานีสบู น�ำ้ หนองค้อ • สถานีสบู น�ำ้ บางพระ • สถานีสบู น�ำ้ ดอกกราย • สถานีสบู น�ำ้ มาบตาพุด • สถานีสบู น�ำ้ หนองปลาไหล 1 • สถานีสบู น�ำ้ หนองปลาไหล 2 • สถานีสบู น�ำ้ หนองปลาไหล 3 • สถานีสบู น�ำ้ เพิม่ แรงดันหนองปลาไหล • สถานีสบู น�ำ้ ประแสร์
15
โดยการใช้พลังงานไฟฟ้ามีสว่ นสัมพันธ์โดยตรงกับปริมาณการสูบน�ำ้ ผ่านโครงข่ายท่อส่งน�ำ ้ (Water Grid) ความยาว 491.8 กม. ทีม่ ี สถานีสบู น�ำ้ หลัก จ�ำนวน 15 สถานี สถานีไฟฟ้าย่อยและมาตรวัดน�ำ้ จ�ำนวน 62 สถานี บริษัทมีการด�ำเนินโครงการอนุรักษ์พลังงานอย่างต่อเนื่องทั้งใน กระบวนการหลักและงานสนับสนุนเพือ่ ลดการใช้พลังงานและเพิม่ ประสิทธิภาพการใช้พลังงานของทัง้ องค์กร ผ่านคณะท�ำงานด้าน การจัดการพลังงาน ซึง่ นอกจากจะเป็นการบริหารจัดการต้นทุนค่าใช้จา่ ย ให้กบั องค์กรแล้วยังช่วยลดปัญหา “ภาวะโลกร้อน” ได้สว่ นหนึง่ ด้วย เพราะถึงแม้วา่ ในกระบวนการหลักของบริษทั นัน้ จะไม่ได้สง่ ผลกระทบ โดยตรงต่อการเกิดก๊าซเรือนกระจก แต่กย็ งั มีกจิ กรรมทางอ้อมอืน่ ๆ อาทิ การใช้พลังงานไฟฟ้า การใช้กระดาษ การใช้สารท�ำความเย็น ในระบบปรับอากาศ เป็นต้น ส�ำหรับการด�ำเนินงานด้านการอนุรกั ษ์ พลังงานจะครอบคลุมพืน้ ทีป่ ฏิบตั งิ าน ดังนี้
1 สถานีสบู น�ำ้ ทีข่ นึ้ ทะเบียนเป็นโรงงานควบคุมทัง้ สิน้ 8 โรงงาน ได้แก่ สถานีสบู น�ำ้ หนองปลาไหล สถานีสบู น�ำ้ ดอกกราย สถานีสบู น�ำ้ เพิม่ แรงดัน สถานีสบู น�ำ้ บางปะกง และสถานีสบู น�ำ้ ฉะเชิงเทรา (โดยใน ปี 2561 มีสถานีสบู น�ำ้ ทีไ่ ด้รบั การขึน้ ทะเบียนเป็นโรงงานควบคุมใหม่ อีก 3 แห่ง คือ สถานีสบู น�ำ้ บางพระ สถานีสบู น�ำ้ มาบตาพุด สถานีสบู น�ำ้ เพิม่ แรงดันส�ำนักบก) 2 อาคารควบคุม 1 อาคาร ได้แก่ อาคารส�ำนักงานใหญ่ โดยเป้าหมายในแต่ละปีจะใช้ผลการประเมิน ศักยภาพการอนุรกั ษ์พลังงานของปีกอ่ นมาก�ำหนดเพือ่ ลดระดับการ ใช้พลังงานในปีถดั ไป ทัง้ ในระดับองค์กร ในระดับการผลิตหรือบริการ และในระดับอุปกรณ์ โดยพิจารณาจากระดับการสูญเสียพลังงานทีเ่ กิดขึน้ และโอกาสทีจ่ ะด�ำเนินการปรับปรุง 3 สถานีไฟฟ้าย่อย จ�ำนวน 62 สถานี 4 สถานีผลิตน�ำ้ ประปาของบริษทั UU จ�ำนวน 13 กิจการ
52
รายงานความยั่งยืน 2562 บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)
สรุปผลการด�ำเนินงานในโครงการปรับปรุงประสิทธิภาพการใช้พลังงาน ปี 2562 มีดง ั นี้ (Disclosure 302-3, 302-4) 1 อาคารอีสท์ วอเตอร์ มีการด�ำเนินมาตรการอนุรกั ษ์พลังงาน จ�ำนวน 1 มาตรการ ดังนี้ โครงการการบริหารจัดการระบบปรับอากาศ Chiller Plant Management System (CPMS) บริเวณพืน้ ทีห่ อ้ ง Chiller ชัน้ 9 ของอาคารอีสท์ วอเตอร์ เพือ่ ลดการใช้พลังงานไฟฟ้า เนือ่ งจากอาคาร อีสท์ วอเตอร์มกี ารใช้งานเครือ่ งท�ำน�ำ้ เย็น Chiller เพือ่ ปรับอากาศภายใน อาคาร ซึง่ มีเครือ่ งท�ำน�ำ้ เย็นทัง้ หมดจ�ำนวน 4 ชุด ได้แก่ ขนาด 350 TR จ�ำนวน 3 ชุด (สลับเปิดใช้งาน 1 ชุด) และขนาด 175 TR จ�ำนวน 1 ชุด (เปิดทุกวัน) โดยทีท่ ำ� งานตัง้ แต่เวลา 6:00 น. ถึง 17:30 น. หรือคิดเป็น 11.50 ชัว่ โมงต่อวัน 243 วันต่อปี จากการส�ำรวจตรวจวัดการใช้งาน ระบบปรับอากาศ พบว่า มีสดั ส่วนการใช้พลังงานสูงทีส่ ดุ ดังนัน้ ทางคณะท�ำงานด้านการจัดการพลังงานจึงด�ำเนินการวิเคราะห์ การใช้พลังงานของระบบดังกล่าว เพือ่ ปรับปรุงระบบปรับอากาศ ภายในอาคารพร้อมทัง้ พัฒนาการบริหารจัดการระบบปรับอากาศ ให้มกี ารใช้พลังงานมีประสิทธิภาพสูงสุด โดยติดตัง้ ระบบ (Chiller Plant Management System : CPMS) เพือ่ ใช้เป็นเครือ่ งมือช่วย ในการวิเคราะห์ เก็บข้อมูลต่างรายวัน รายสัปดาห์ วิเคราะห์ตน้ ทุน ด้านพลังงานและก�ำหนดมาตรการอนุรกั ษ์พลังงาน เริม่ โครงการ ตัง้ แต่เดือนมีนาคม 2562 ถึง เดือนเมษายน 2562 โดยมีผลการ ตรวจวัดพลังงานไฟฟ้า ดังนี้ 2
ตรวจวัดพลังงานไฟฟ้าก่อนเริม่ โครงการ พลังงานไฟฟ้าเดิมก่อนปรับปรุง =740,539.73 kWh/y ค่าใช้จา่ ยไฟฟ้าเดิมก่อนปรับปรุง =740,539.73kWh/yx 4.16 บาท/kWh = 3,080,645.28 บาท/y ตรวจวัดพลังงานไฟฟ้าหลังเริม่ โครงการ พลังงานไฟฟ้าหลังปรับปรุง =640,438.53 kWh/y ค่าใช้จา่ ยไฟฟ้าหลังปรับปรุง = 640,438.53 kWh/y x 4.16 บาท/kWh = 2,664,224.27 บาท/y ซึ่งมาตรการอนุรักษ์พลังงานดังกล่าวสามารถลดการใช้พลังงาน ไฟฟ้าลงได้ประมาณ 100,101.20 kWh/y คิดเป็นปริมาณก๊าซ คาร์บอนไดออกไซด์ 49,349.90 kg-CO2 /y หรือคิดเป็นร้อยละ 4.44 ของพลังงานไฟฟ้ารวมทัง้ หมดของอาคาร (รายละเอียดตามภาคผนวก)
มาตรการในการบริหารจัดการน�ำ้ อย่างมีประสิทธิภาพ ประกอบด้วย 3 แนวทางหลัก ดังนี้ 2.1 การประเมินความต้องการใช้นำ�้ ของลูกค้าในอนาคต โดยวิธกี ารท�ำ Rolling Plan ทีม่ กี ารวางแผนความต้องการช่วง 12 เดือน ข้างหน้าในทุก ๆ เดือน เพือ่ น�ำข้อมูลไปสูข่ นั้ ตอนการเตรียมแผนจัดสรรน�ำ้ อย่างเหมาะสม ทัง้ นี้ ในปี 2563 จะมีการประกาศ ใช้โครงสร้างค่าน�ำ้ ใหม่ คาดว่าจะส่งผลให้เกิดพฤติกรรมการใช้นำ�้ ของลูกค้ามีรปู แบบการรับน�ำ้ สม�ำ่ เสมอขึน้ ส่งผลต่อการใช้พลังงาน อย่างมีประสิทธิภาพ และลดความต้องการการใช้ไฟฟ้าสูงสุดลงได้ 2.2 ในด้านของการบริหารจัดการแหล่งน�ำ ้ เมือ่ ได้ขอ้ มูลความต้องการการรับน�ำ้ จาก Demand Rolling Plan จะสามารถวางแผน การใช้น�้ำในแหล่งน�้ำที่อยู่ในลุ่มน�้ำนั้น ๆ ให้เกิดประโยชน์สูงสุด
2.3 การบริหารจัดการการสูบจ่ายน�ำ ้ เพือ่ ให้เกิดประสิทธิภาพของสถานีสบู น�ำ้ สูงสุด โดยการปรับตัง้ ค่าระบบและแรงดันให้เหมาะสม
รายงานความยั่งยืน 2562 #สะกิดไทยใส่ใจน�้ำ
53
ทั้งนี้ บริษัทได้ก�ำหนดแผนพัฒนางานด้านการอนุรักษ์พลังงานและนวัตกรรม ในปี 2563 ต่อเนื่อง ดังนี้ 1. มาตรการลดการใช้พลังงานโดยติดตัง้ SOLAR ROOFTOP SYSTEM บริเวณชั้นดาดฟ้าของอาคารอีสท์ วอเตอร์ 2. โครงการติดตั้งแผงผลิตไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ (Solar Floating) ที่สระมาบตาพุด ขนาด 200 kW
การใช้พลังงานไฟฟ้าของปี 2562 (kWh)
0.18% 1.01%
98.81%
สถานีสูบน�้ำ สถานีไฟฟ้าย่อย ส�ำนักงานใหญ่
สรุปการใช้พลังงานของบริษทั ในปี 2562 มีการใช้เฉพาะพลังงาน ไฟฟ้าเท่านัน้ คิดเป็น 175,961,597 kWh โดยเป็นการค�ำนวณจาก 1) การใช้พลังงานในสถานีสบู น�ำ ้ 173,868,983 kWh 2) ส�ำนักงาน ใหญ่อาคารอีสท์ วอเตอร์ 1,775,289 kWh และ 3) สถานีไฟฟ้า ย่ อ ยตามแนวท่ อ ส่ ง น�้ ำ บริ ษั ท 317,325 kWh ซึ่งเป็นการ ใช้พลังงานเพิ่มขึ้น 72,602,554 kWh หรือร้อยละ 70.24 ของ ปี 2561 เนือ่ งจากมีการสูบน�ำ้ เพือ่ จ�ำหน่ายมากขึน้ คิดเป็นการใช้
พลังงาน 0.46 kWh/ลบ.ม. มีการใช้พลังงานต่อหน่วยน�ำ้ มากกว่าปี 2561 อยูป่ ระมาณ ร้อยละ 32.30 ทั้งนี้การใช้พลังงานไฟฟ้าดังกล่าวสามารถเทียบได้กับการปล่อย ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ จ�ำนวน 86,749 ตัน โดยในปี 2562 มีปริมาณการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์เพิ่มขึ้นจากปีก่อน ร้อยละ 66.86
การใช้พลังงานต่อหน่วย (kWh/ลบ.ม.) 0.46
0.50
0.40
0.35
0.30
0.20
0.10
ป พ.ศ.
0
2561
2562
หมายเหตุ : คิดจากการใช้พลังงานในสถานีสูบน�้ำเทียบกับปริมาณน�้ำสูบในระบบ ข้อมูลจากตารางปริมาณการสูบจ่ายน�ำ้ ของบริษทั ในปี 2562
54
รายงานความยั่งยืน 2562 บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)
กราฟเปรียบเทียบการใช้พลังงานและการปล่อยก๊าซเรือนกระจก ปี 2561 และ 2562 ของบริษัท
การใช้พลังงาน (kWh) 200,000,000
Carbon Credit (TonCO2) 100,000
175,961,597
180,000,000 160,000,000
80,000
140,000,000
70,000
120,000,000
86,749
90,000
103,359,043
60,000
100,000,000
50,000
80,000,000
40,000
60,000,000
30,000
40,000,000
20,000
51,990
10,000
20,000,000
ป พ.ศ.
0
2561
ป พ.ศ.
0
2561
2562
2562
สรุปการใช้พลังงานของบริษทั ในเครือ ปี 2562 มีการใช้เฉพาะพลังงานไฟฟ้าเท่านัน้ คิดเป็น 44,383,470 kWh ซึง่ เป็นการใช้พลังงานเพิม่ ขึน้ 4,904,571 kWh หรือ ร้อยละ 12.00 ของปี 2561 ทัง้ นีก้ ารใช้พลังงานไฟฟ้าดังกล่าวสามารถเทียบได้กบั การปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ จ�ำนวน 21,881 ตัน โดยในปี 2562 มีปริมาณการปล่อย ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์เพิม่ ขึน้ จากปีกอ่ น ร้อยละ 10.19
การใช้พลังงาน (kWh)
Carbon Credit (TonCO2)
44,383,470
45,000,000
22,500
44,000,000
22,000
43,000,000
21,500
42,000,000
21,000
41,000,000 40,000,000
20,500
39,478,900
20,000
39,000,000
19,500
38,000,000
19,000
37,000,000
18,500
ป พ.ศ.
0
2561
2562
21,881
19,858
ป พ.ศ.
0
2561
2562
รายงานความยั่งยืน 2562 #สะกิดไทยใส่ใจน�้ำ
55
วิธีการค�ำนวณปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจก (Disclosure 305-2) **สูตรการคิด GHG emissions = Activity Data (kWh) x Emission Factor Emission Factor ของไฟฟ้า = 0.493 kg-CO2 /kWh
ค่าพลังงานที่ใช้ในการสูบน�้ำ + อาคารส�ำนักงานใหญ่ ปี 2562 + ค่าไฟฟ้าสถานีย่อย + บริษัทในเครือ
GHG
= = =
[(สถานีสูบน�้ำ) 173,868,983 kWh + (สถานีมิเตอร์ย่อย) 317,325 kWh + (อาคารส�ำนักงานใหญ่) 1,775,289 kWh + (บริษัทในเครือ) 44,383,470] x 0.493 kg-CO2 /kWh 108,630,118 kg-CO2 /kWh 108,630 Ton-CO2 /kWh
นิยาม สถานีสูบน�้ำ หมายถึง สถานีสูบน�้ำหลัก 15 สถานีของบริษัท สถานีมิเตอร์ย่อย หมายถึง สถานีไฟฟ้าย่อยและมาตรวัดน�้ำ จ�ำนวน 62 สถานี อาคารส�ำนักงานใหญ่ หมายถึง การใช้ไฟฟ้าอาคารส�ำนักงานใหญ่ของกลุ่มบริษัท บริษัทในเครือ หมายถึง การใช้ไฟฟ้าในระบบผลิตน�้ำประปา จ�ำนวน 13 กิจการ อ้างอิงหลักการค�ำนวณ Emission factor จาก ส�ำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน (สนพ.) กระทรวงพลังงาน http://www.eppo.go.th/index.php/en/en-energystatistics/co2-statistic?orders[publishUp]=publishUp&issearch=1
56
รายงานความยั่งยืน 2562 บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)
ศาสตร์แห่งการใช้น�้ำ บริษัทในฐานะผู้น�ำการบริหารจัดการน�้ำของประเทศไทยที่ด�ำเนินงานภายใต้วิสัยทัศน์ที่เป็นผู้น�ำในการบริหารจัดการน�้ำครบวงจร มาโดยตลอด จึงได้สร้างสรรค์และพัฒนาแนวคิดเพือ่ เชิญชวนให้ทกุ ภาคส่วนเข้ามามีสว่ นร่วมในการดูแลทรัพยากรน�ำ ้ ผ่านหลักปฏิบตั ิ เพื่อให้เกิดความยั่งยืน และบรรเทาวิกฤตการณ์น�้ำต่าง ๆ ที่จะเกิดขึ้นในอนาคต โดยมุ่งมั่นที่จะสร้างพฤติกรรมการใช้น�้ำอย่างรู้คุณค่า และร่วมมือกันในทุกภาคส่วน ภายใต้โครงการ “สะกิดไทย ใส่ใจน�้ำ” น�ำเสนอหลักปฏิบัติการใช้น�้ำรูปแบบใหม่ ด้วยการสื่อสารผ่าน เครื่องมือที่เรียกว่า “URD” ดังนั้น URD จึงเป็นแนวคิดที่ออกแบบมาเป็นหลักปฏิบัติให้กับทุกภาคส่วนประยุกต์ใช้กับชีวิตประจ�ำวันได้ ไม่ว่าจะเป็นครัวเรือน เกษตรกรรม หรืออุตสาหกรรม ให้เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการใช้น�้ำ เพื่อช่วยให้ทรัพยากรน�้ำเกิดความยั่งยืน และบรรเทา ความรุนแรงของวิกฤตการณ์น�้ำในด้านต่าง ๆ ซึ่งประกอบไปด้วยหลักปฏิบัติ 3 ส่วน คือ คุ้มค่า คาดการณ์ และควบคุม ส่วนที่ 1 คุม้ ค่า ใช้ทรัพยากรน�ำ้ อย่างรูค้ ณ ุ ค่าสูค่ วามยัง่ ยืน โดยดึงหลักการของการ ลดการใช้ (reduce) ใช้ซำ �้ (reuse) และน�ำกลับ มาใช้ใหม่ (recycle) เข้ามาช่วย (U) ส่วนที่ 2 คาดการณ์ มีการจัดสรรน�ำ้ และส�ำรองน�ำ้ ไว้ใช้ เพือ่ ใช้อย่างพอเพียงและเพียงพอต่อปริมาณน�ำ้ ทีม่ กี ารจัดสรรไว้อย่างระมัดระวัง (R) ส่วนที่ 3 ควบคุม ควบคุมและสังเกตพฤติกรรมการใช้น�้ำของตนเองอย่างสม�่ำเสมอ (D) การใช้น�้ำประปาของบริษัท (Disclosure 303-3) นอกจากการสร้างความมัน่ คงของน�ำ้ ต้นทุน ผ่านแนวคิดเชิญชวนให้ทกุ ภาคส่วนเข้ามามีสว่ นร่วมในการดูแลทรัพยากรน�ำ้ แล้ว กลุม่ บริษทั ยังให้ความส�ำคัญกับการใช้นำ�้ ภายในอาคารส�ำนักงานของบริษทั ให้คมุ้ ค่า ผ่านการรณรงค์ให้พนักงานใช้นำ�้ อย่างประหยัดและรูค้ ณ ุ ค่า โดยในปี 2562 กลุม่ บริษทั มีการใช้นำ�้ ประปาเฉลีย่ 2,262.25 พันลิตร ต่อเดือน โดยแหล่งน�ำ้ ทีใ่ ช้มาจากการประปานครหลวง และการประปา ส่วนภูมิภาค รายละเอียดการใช้น�้ำแยกแต่ละพื้นที่ ดังนี้
พื้นที่ใช้น�้ำ
หน่วยงานผู้ส่งน�้ำ
ปริมาณการใช้น�้ำ (103 ลิตร/เดือน)
ปริมาณการใช้น�้ำรวม (103 ลิตร)
อาคารอีสท์ วอเตอร์1
กปน.
1,971.33
23,656.00
ส�ำนักงานปฏิบตั งิ าน2
กปภ.
60.00
720.00
สถานีสบู น�ำ ้ 20 แห่ง3
กปภ.
228.42
2,741.00
บ้านพักพนักงาน4
กปภ.
2.50
30.00
2,262.25
27,147.00
รวม
หมายเหตุ : 1 หมายถึง การใช้น�้ำของพื้นที่ส�ำนักงานใหญ่ของกลุ่มบริษัท (ชั้น 18, 22 - 26) และพื้นที่ส่วนกลางทั้งหมด 2 หมายถึง การใช้น�้ำของศูนย์ปฏิบัติการระยอง และส�ำนักงานแหลมฉบัง เนื่องจากส�ำนักงานฉะเชิงเทราใช้มิเตอร์น้�ำรวมกับสถานีฯ ฉะเชิงเทรา และส�ำนักงานในพื้นที่อื่น ๆ 3 หมายถึง สถานีสูบน�้ำจ�ำนวน 6 แห่งใช้น�้ำจาก กปภ. และจ�ำนวน 8 แห่ง บริษัทผลิตน�้ำประปาใช้เอง โดยน�้ำดิบที่น�ำมาใช้ถือเป็นปริมาณน�้ำที่ไม่ก่อให้ เกิดรายได้ (NRW) ได้แก่ สถานีฯ หนองค้อ สถานีฯ ประแสร์ 2 สถานีฯ หนองปลาไหล 1 - 3 สถานีรับน�้ำหุบบอน และสถานีเพิ่มแรงดันหนองปลาไหล นอกนั้นไม่มีน�้ำประปาใช้ 4 หมายถึง การใช้น�้ำบ้านพักผู้บริหารที่ศูนย์ปฏิบัติการระยอง ส�ำหรับบ้านพักที่สถานีฯ ยกระดับน�้ำฉะเชิงเทรา ใช้มิเตอร์น�้ำเดียวกับสถานีฯ ฉะเชิงเทรา นอกนั้นบริษัทผลิตน�้ำประปาใช้เอง โดยน�้ำดิบที่น�ำมาใช้ถือเป็นปริมาณน�้ำที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ (NRW)
รายงานความยั่งยืน 2562 #สะกิดไทยใส่ใจน�้ำ
57
นวัตกรรมเพื่อสิ่งแวดล้อม นวัตกรรมการบริหารจัดการน�้ำ Pipeline Risk Prioritization
จากผลศึกษาโครงการ Pipeline Risk Prioritization พบว่าเส้นท่อน�้ำดิบที่มีระดับความเสี่ยงสูงปานกลางมีความยาวเส้นท่อน�้ำดิบ 20.83 กิโลเมตร และระดับความเสี่ยงสูงมีความยาวเส้นท่อน�้ำดิบ 22.41 กิโลเมตร ดังนั้น ในปี 2562 บริษัทได้ด�ำเนินการวางแผนการด�ำเนินงาน 2 มาตรการ 1. ตรวจสอบ และซ่อมแซมตามจุดแตกรั่ว เพื่อแก้ปัญหาทีละจุด 2. วางแผนงานตรวจสอบท่อ และหาจุดอ่อนของแนวท่อ (Weak Point) โดยร่วมหารือกับผูเ้ ชีย่ วชาญในการแก้ไขบริเวณแนวท่อ ทีม่ คี วามเสีย่ งสูง (จุดทางลอดมอเตอร์เวย์สาย 7 ฝัง่ แหลมฉบัง และเส้นท่อบางปะกง - ชลบุร)ี คาดว่าจะแล้วเสร็จในปี 2563
โครงการจัดการขยะภายในอาคาร
บริ ษั ท เข้ า ร่ ว มโครงการ “ถนนวิ ภ าวดี ฯ ไม่ มี ข ยะ” จั ด โดย ส� ำ นั ก งาน คณะกรรมการก� ำ กั บ หลั ก ทรั พ ย์ แ ละตลาดหลั ก ทรั พ ย์ (ก.ล.ต.) ซึ่ ง เปิ ด ตั ว อย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 4 ธันวาคม 2562 ที่ผ่านมา โครงการดังกล่าวจัดขึ้น เพื่อเชิญชวนให้ร่วมกันบริหารจัดการขยะภายในองค์กรอย่างมีประสิทธิภาพ และลดขยะที่ไม่สามารถหมุนเวียนไปใช้ หรือท�ำประโยชน์อย่างอื่นให้เหลือ น้ อ ยที่ สุ ด โดยยึ ด หลั ก 3R “Reduce Reuse Recycle” หรื อ “ลดใช้ น�ำกลับมาใช้ซำ�้ และรีไซเคิล” เริม่ ตัง้ แต่ลดการใช้สงิ่ ทีจ่ ะเป็นขยะในอนาคต และ เรียนรู้ในการจัดการขยะแต่ละประเภท ซึ่งเป็นจุดเริ่มของเศรษฐกิจหมุนเวียน นอกจากนี้ ยั ง มี ก ารรายงานข้ อ มู ล การบริ ห ารจั ด การขยะผ่ า นแพลตฟอร์ ม ที่ ก.ล.ต. จัดท�ำขึ้นเพื่อการวัดผลความคืบหน้า
มิติสังคม
รายงานความยั่งยืน 2562 #สะกิดไทยใส่ใจน�้ำ
59
การสร้างคุณค่าเพิ่มสู่บุคลากรคุณภาพ
การเสริมกลยุทธ์การบริหารทรัพยากรบุคคลด้วยค่านิยมองค์กร ปัจจุบนั องค์กรขนาดใหญ่ให้ความส�ำคัญกับการก�ำหนดสมรรถนะ หลัก (Core Competency) ของพนักงานในแต่ละองค์กร เนื่องจากสมรรถนะหลักของพนักงานก�ำหนดมาจากลักษณะ คุณสมบัติ พฤติกรรมของพนักงานทีส่ ำ� คัญและจ�ำเป็นส�ำหรับการ ปฏิบัติงานในแต่ละองค์กร การสื่อสารสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับ สมรรถนะหลักขององค์กรให้พนักงานเข้าใจและมีพฤติกรรมที่ สอดคล้องกับสมรรถนะหลัก สิง่ ทีป่ ฏิบตั นิ นั้ จะกลายเป็น ค่านิยมหลัก (Core Value) ที่เกิดขึ้นภายในองค์กรนั้น นอกเหนือจากนั้น สมรรถนะหลั ก จะเป็ น สิ่ ง ที่ ช ่ ว ยก� ำ หนดแนวทางการบริ ห าร ทรัพยากรบุคคลในภาพรวมให้ด�ำเนินไปในแนวทางเดียวกัน และสอดคล้องกัน ตั้งแต่การสรรหาบุคลากร การประเมินผล ตลอดจนการพัฒนาบุคลากร ในปี 2562 กลุม่ บริษทั ได้สอื่ สารให้พนักงานทราบค่านิยมองค์กร “SHARP” ผ่านช่องทางประชาสัมพันธ์ภายในกลุม่ บริษทั รวมทัง้ การจัดกิจกรรมต่าง ๆ เพื่อให้กระบวนการด้านทรัพยากรบุคคล มีความเชื่อมโยงกับค่านิยมองค์กร มีการแทรกค่านิยมองค์กร ในกระบวนการต่าง ๆ ด้านทรัพยากรบุคคล เช่น ก�ำหนดแนวค�ำถาม ส�ำหรับใช้สัมภาษณ์พนักงานใหม่ที่สอดคล้องกับค่านิยมองค์กร
มี ก ารน� ำ ไปเป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ของการประเมิ น ผลการปฏิบัติงาน และน�ำผลที่ได้จากการประเมินผลการปฏิบัติงานมาต่อยอด ในการก�ำหนดแผนการพัฒนาบุคลากรอีกด้วย กลุ่มบริษัทมีการด�ำเนินงานที่สนับสนุนค่านิยมองค์กร ดังนี้ 1 การค�ำนึงถึงความต้องการของผูม้ สี ว่ นได้เสีย เพือ่ ให้สามารถก�ำหนดแนวทางบริหารทรัพยากรบุคคลได้เหมาะสม และเป็นประโยชน์ตอ่ พนักงานและบริษทั โดยบริษทั ได้ดำ� เนินการต่าง ๆ ดังนี้ • การส�ำรวจความพึงพอใจและความผูกพันของพนักงาน กลุม่ บริษทั จัดให้มกี ารส�ำรวจความพึงพอใจและความผูกพันของ พนักงานอย่างต่อเนื่องเป็นประจ�ำทุกปี โดยมีวัตถุประสงค์ ในการน�ำผลที่ได้มาเป็นข้อมูลในการพิจารณาปรับปรุงนโยบาย หรือแผนงานทีเ่ กีย่ วข้องกับพนักงาน ผลคะแนนความพึงพอใจของพนักงานในปี 2562 อยูท่ รี่ อ้ ยละ 77.34 ซึง่ ลดลงเล็กน้อยจากการส�ำรวจในปี 2561 ซึง่ ได้คะแนนร้อยละ 77.75 และคะแนนความผูกพันของพนักงานอยูท่ รี่ อ้ ยละ 84.00 เพิม่ ขึน้ จากการส�ำรวจในปี 2561 ซึง่ ได้คะแนนร้อยละ 80.20
ผลส�ำรวจความพึงพอใจและความผูกพันของพนักงาน ปี 2559 - 2562 84.00%
80.20% 77.22% 75.25%
77.75% 76.46%
77.34%
73.97% 2559
ป พ.ศ.
2560
2561
2562
ความพึงพอใจ
• การบริหารจัดการและดูแลสวัสดิการพนักงาน (Disclosure 102-41) กลุ่มบริษัทจัดให้มีการเลือกตั้งคณะกรรมการสวัสดิการในสถาน ประกอบกิจการตามพระราชบัญญัตคิ มุ้ ครองแรงงาน พ.ศ. 2541 ก�ำหนดให้สถานประกอบกิจการที่มีลูกจ้างตั้งแต่ 50 คนขึ้นไป ต้องจัดให้มีคณะกรรมการสวัสดิการในสถานประกอบกิจการ ซึ่ ง ประกอบด้ ว ยผู ้ แ ทนฝ่ า ยลู ก จ้ า งที่ ม าจากการเลื อ กตั้ ง อย่างน้อย 5 คน วาระในการปฏิบัติงาน 2 ปี ซึ่งเจตนารมณ์ ของการจัดตั้งคณะกรรมการสวัสดิการฯ เพื่อเปิดโอกาสให้
ความผูกพัน
คณะกรรมการสวัสดิการฯ ได้มสี ว่ นร่วมกับบริษทั ในการบริหารจัดการ สวัสดิการแรงงานในสถานประกอบกิจการได้สอดคล้องกับความต้องการ ของลูกจ้างอย่างแท้จริงรวมทั้งเปิดโอกาสให้บริษัทและลูกจ้างได้ ร่วมกันในการปรึกษาหารือให้ ขอ้ เสนอแนะ แลกเปลีย่ นความคิดเห็น เกีย่ วกับสภาพการจ้าง การท�ำงานการพัฒนาคุณภาพชีวติ ลูกจ้าง ช่วยให้ ลูกจ้างมีขวัญก�ำลังใจในการท�ำงาน ซึ่งจะส่งผลต่อประสิทธิภาพ ในการปฏิบตั งิ านและผลการด�ำเนินงานของบริษทั อีกทางหนึง่ ด้วย
60
รายงานความยั่งยืน 2562 บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)
ปัจจุบันกลุ่มบริษัทมีคณะกรรมการสวัสดิการฯ จ�ำนวน 3 คณะ คือ - คณะกรรมการสวัสดิการฯ ของบริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน) จ�ำนวน 2 คณะ คือ คณะกรรมการสวัสดิการฯ ส�ำนักงานกรุงเทพฯ และคณะกรรมการสวัสดิการฯ ศูนย์ปฏิบตั กิ ารระยอง รวมจ�ำนวนกรรรมการ ทั้งหมด 10 คน คิดเป็นร้อยละ 4.30 ของพนักงานทั้งหมด - คณะกรรมการสวัสดิการฯ ของบริษัท ยูนิเวอร์แซล ยูทีลิตี้ส์ จ�ำกัด (มหาชน) 1 คณะ จ�ำนวน 8 คน คิดเป็นร้อยละ 5.67 ของพนักงานทั้งหมด แบงตาม
คณะกรรมการ สวัสดิการบริษัท (สํานักงานกรุงเทพฯ)
คณะกรรมการ สวัสดิการบริษัท (ศูนยปฏิบัติการระยอง)
คณะกรรมการ สวัสดิการ (บมจ.ยูนิเวอรแซล ยูทีลิตี้ส)
ระดับ พนักงาน
แบงตาม
เพศ
แบงตาม
ภูมิภาค
ปฏิบัติการ
ชาย
ภาคกลาง
บังคับบัญชา
หญิง
ภาคตะวันออก
แบงตาม
ระดับ พนักงาน
แบงตาม
เพศ
แบงตาม
ภูมิภาค
ปฏิบัติการ
ชาย
ภาคกลาง
บังคับบัญชา
หญิง
ภาคตะวันออก
แบงตาม
ระดับ พนักงาน
แบงตาม
เพศ
แบงตาม
ภูมิภาค
ปฏิบัติการ
ชาย
ภาคกลาง
บังคับบัญชา
หญิง
ภาคตะวันออก
ในการปฏิบตั งิ านของคณะกรรมการสวัสดิการนอกเหนือจากการเป็นตัวกลางในการสือ่ สารข้อมูลต่าง ๆ เพือ่ สร้างความเข้าใจ และความสัมพันธ์อนั ดี ระหว่างนายจ้างและลูกจ้างแล้ว ในปีทผี่ า่ นมาคณะกรรมการสวัสดิการได้รว่ มให้ความเห็นในการจัดสวัสดิการและการด�ำเนินการต่าง ๆ เพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตของพนักงาน ดังนี้ 1. การพิจารณารายชื่อและคุณสมบัติพนักงานที่เหมาะสมเพื่อให้ได้รับความช่วยเหลือดอกเบี้ยเงินกู้บ้าน/รถยนต์ 2. เสนอแนะการจัดสวัสดิการยืดหยุ่นที่เหมาะสม ซึ่งบริษัทได้น�ำความเห็นของคณะกรรมการสวัสดิการมาปรับหลักเกณฑ์ การเบิกสวัสดิการยืดหยุ่น และประกาศใช้เมื่อ มีนาคม 2562 3. เสนอแนะกิจกรรมเกีย่ วกับสุขภาพของพนักงาน เช่น การจัดกิจกรรมออกก�ำลังกายส�ำหรับพนักงานทีป่ ฏิบตั งิ านทีศ่ นู ย์ปฏิบตั กิ ารระยอง 2 การน�ำความคิดเห็นทีไ่ ด้รบั จากช่องทางต่าง ๆ มาปรับปรุง ให้การบริหารงานทรัพยากรบุคคลสอดคล้องกับความต้องการ และเหมาะสมกับสภาพการปฏิบตั งิ านปัจจุบนั มากยิง่ ขึน้ เช่น • การแก้ไขข้อบังคับการท�ำงานและเงินช่วยเหลือการปฏิบตั งิ าน 1. การแก้ ไ ขข้ อ บั ง คั บ เกี่ ย วกั บ การท� ำ งานให้ เ ป็ น ไปตาม พระราชบัญญัตคิ มุ้ ครองแรงงาน (ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2562 ดังนี้ 1.1 เพิ่มสิทธิ์ลาคลอดจาก 90 วัน เป็น 98 วัน 1.2 การจ่ายค่าชดเชย เมือ่ ท�ำงานครบ 20 ปี ในอัตรา 400 วัน
2. ปรับแก้เงินช่วยเหลือในการปฏิบัติงานกรณีต่าง ๆ เช่น ค่าเบี้ยเลี้ยง ที่พัก ค่าใช้จ่ายในการเดินทาง เป็นต้น • การปรับแนวปฏิบัติด้านอ�ำนาจด�ำเนินการภายในองค์กร เพือ่ เป็นการกระจายอ�ำนาจ ลดขัน้ ตอนการท�ำงาน ให้การด�ำเนินงานเป็น ไปอย่างคล่องตัว มีประสิทธิภาพมากยิง่ ขึน้ กลุม่ บริษทั ได้ดำ� เนินการ ปรับปรุงแนวปฏิบตั อิ ำ� นาจด�ำเนินการภายในองค์กร มีการกระจาย การตัดสินใจให้พนักงานระดับผูจ้ ดั การเพิม่ ขึน้ เช่น การพิจารณา อนุมตั กิ ารเดินทางและการลาของพนักงานในหน่วยงาน เป็นต้น
รายงานความยั่งยืน 2562 #สะกิดไทยใส่ใจน�้ำ
3 การปรับปรุงกระบวนการบริหารทรัพยากรบุคคลให้สอดคล้อง กับค่านิยมองค์กร เพื่อให้สอดคล้องกับค่านิยมองค์กร “SHARP” กลุ่มบริษัท ได้ปรับกระบวนการบริหารทรัพยากรบุคคลในด้านต่าง ๆ ดังนี้ • แผนแม่บทด้านทรัพยากรบุคคล (HR Master Plan) 2563 - 2565 แผนแม่บทด้านทรัพยากรบุคคล (HR Master Plan) 2563 - 2565 เน้นการเตรียมความพร้อมในการขยายธุรกิจน�ำ้ ครบวงจร ครอบคลุม ตัง้ แต่การสรรหาคัดเลือกพนักงานทีม่ คี วามรูแ้ ละประสบการณ์ตรง ในธุรกิจที่เกี่ยวข้อง การพัฒนาพนักงานปัจจุบันให้มีความรู้ ที่เหมาะสมในการปฏิบัติงานปัจจุบัน รวมทั้งมีความรู้เพิ่มเติม ส�ำหรับการขยายธุรกิจในอนาคตด้วยการพัฒนาระบบผูเ้ ชีย่ วชาญ การจัดการความรู้ (Knowledge Management) อย่างเป็นระบบ การน�ำผลงานชนะเลิศการประกวดนวัตกรรม มาพัฒนาต่อยอด ให้เป็นรูปธรรมมากขึ้น • แผนการบริหารผู้สืบทอดต�ำแหน่ง (Succession Plan) ในปี 2562 กลุ่มบริษัทได้จัดจ้างที่ปรึกษาในการด�ำเนินงาน แผนการบริหารผูส้ บื ทอดต�ำแหน่ง โดยเริม่ จากการก�ำหนดเกณฑ์ การคัดเลือกต�ำแหน่งที่ส�ำคัญ (Mission Critical Position) ที่จะส่งผลกระทบต่อกลุ่มบริษัทในอนาคตได้ หากไม่มกี ารเตรียม ความพร้อมของผูส้ บื ทอดในแต่ละต�ำแหน่งนัน้ ๆ ซึง่ กลุม่ บริษทั ได้ก�ำหนดต�ำแหน่งที่ส�ำคัญที่จ�ำเป็นส�ำหรับการจัดหาผู้สืบทอด ต�ำแหน่ง ซึง่ เป็นต�ำแหน่งระดับบริหารเป็นหลัก รวมทัง้ การก�ำหนด ข้อมูลการสืบทอดต�ำแหน่ง (Success Profile) ซึ่งครอบคลุม วั ต ถุ ป ระสงค์ หน้ า ที่ ห ลั ก ที่ ส� ำ คั ญ สมรรถนะความสามารถ ที่คาดหวัง ประสบการณ์ของผู้ด�ำรงต�ำแหน่ง เป็นต้น เพื่อเป็น กรอบส�ำหรับการคัดเลือกผู้สืบทอดต�ำแหน่ง ส�ำหรับการคัดเลือกพนักงานผู้สืบทอดต�ำแหน่ง พิจารณาข้อมูล การสืบทอดต�ำแหน่ง (Success Profile) เปรียบเทียบกับข้อมูลของ รายบุคคล (Personal Profile) ของผูส้ บื ทอดต�ำแหน่ง เช่น ข้อมูล ทัว่ ไปของพนักงาน ความรู้ ประสบการณ์ทำ� งาน ผลการปฏิบตั งิ าน เป็นต้น เพื่อประเมินความพร้อมของผู้สืบทอดแต่ละต�ำแหน่ง นอกจากนัน้ เพือ่ ช่วยให้การประเมินผูส้ บื ทอดต�ำแหน่งครอบคลุม มากยิ่งขึ้น มีการน�ำเครื่องมือในการประเมินต่าง ๆ มาใช้เพิ่มเติม เช่น การประเมินทัศนคติ (Attitude) และการประเมิน 360 องศา เป็ น ต้ น จากนั้ น เป็ น การวางแผนพั ฒ นาผู ้ สื บ ทอดต� ำ แหน่ ง แต่ละคนให้สอดคล้องกับผลทีไ่ ด้จากการประเมิน เพือ่ ให้ผสู้ บื ทอด สามารถด�ำรงต�ำแหน่งเป้าหมายได้ในอนาคต • การบริหารผลการปฏิบตั งิ าน (Performance Management System) การบริหารผลการปฏิบตั งิ านเป็นกระบวนการในการสร้างสภาพแวดล้อม และวิธกี ารในการท�ำงานทีส่ นับสนุนให้พนักงานสามารถปฏิบตั งิ าน อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด โดยมีเป้าหมายส�ำคัญอยูท่ ผี่ ลการปฏิบตั งิ าน ที่สูงขึ้นและการสร้างความชัดเจนในผลการปฏิบัติงาน โดยให้ มีความสอดคล้องกับเป้าหมายการปฏิบัติงานในระดับองค์กร
61
ทั้ ง นี้ การบริ ห ารผลการปฏิ บั ติ ง านที่ ดี เ ป็ น ผลที่ เ กิ ด ขึ้ น จาก กระบวนการสื่อสาร 2 ทาง (Two - way communication) ภายใต้ ค วามเชื่ อ ในความเท่ า เที ย มกั น โดยเปิ ด โอกาสให้ ผู ้ บั ง คั บ บั ญ ชาและพนั ก งานได้ มี ก ารสื่ อ สารความคาดหวั ง และความรับผิดชอบทีช่ ดั เจน รวมทัง้ การก�ำหนดตัวชีว้ ดั ผลงาน ที่เกี่ยวข้องร่วมกัน กลุ่มบริษัทได้จัดท�ำคู่มือระบบการบริหารผลการปฏิบัติงาน (Performance Management System Manual) เพื่ อ สื่ อ สารให้ เ ป็ น คู ่ มื อ ส� ำ หรั บ พนั ก งานและผู ้ บั ง คั บ บั ญ ชา ในการท�ำความเข้าใจภาพรวมของระบบการบริหารผลการปฏิบตั งิ าน บทบาทหน้าที่ของผู้เกี่ยวข้องในการบริหารผลการปฏิบัติงาน กระบวนการในการบริ ห ารผลการปฏิ บั ติ ง าน รวมทั้ ง เรื่ อ ง ที่เกี่ยวข้องอื่น ๆ เช่น แนวทางการบริหารค่าตอบแทน เป็นต้น เพื่อให้พนักงานทุกคนมีความเข้าใจอย่างชัดเจน การบริหารผลการปฏิบตั งิ านตามแนวคิดสมัยใหม่มอี งค์ประกอบ อย่างน้อย 3 ประการ คือ 1. เน้นเรื่องผลลัพธ์ในการปฏิบัติงาน (Result Oriented) 2. การยึดเป้าหมาย/วัตถุประสงค์ขององค์กร (Focus on goals/objectives) 3. การมีส่วนร่วมกับผู้บังคับบัญชาในการก�ำหนดเป้าหมายงาน (Mutual goal setting between supervisor and employee) เนือ่ งจากการให้พนักงานมีสว่ นร่วมในการก�ำหนด เป้ า หมายหรื อ วั ต ถุ ป ระสงค์ ข องงานเป็ น ปั จ จั ย ส� ำ คั ญ ในการน�ำไปสู่ความส�ำเร็จของการท�ำงาน การบริหารผลการปฏิบัติงานของบริษัทแบ่งเป็น 2 ส่วน คือ 1. วัดจากการก�ำหนดตัวชีว้ ดั (Key Performance Indicator : KPIs) เพื่อวัดผลลัพธ์การด�ำเนินงาน เปรียบเทียบกับเป้าหมาย ทีก่ ำ� หนดไว้ให้ทราบความคืบหน้าของแผนงาน และความส�ำเร็จ ทีไ่ ด้จากการท�ำงาน 2. วั ด จากสมรรถนะของพนั ก งาน (Competency) เพื่ อ การวัดแนวทางการปฏิบัติงาน พฤติกรรม ความสามารถ ทั ก ษะ ความรู ้ ที่ จ� ำ เป็ น ต่ อ การปฏิ บั ติ ง าน เปรี ย บเที ย บ กับความคาดหวังในต�ำแหน่งปัจจุบันของพนักงาน 4 การประเมินผลความพึงพอใจจากหน่วยงานที่รับบริการ ตามที่บริษัทมีนโยบายในการบริหารงานแบบรวมศูนย์ (Share Service Center : SSC) เพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพการบริ ก ารให้ เกิดความคล่องตัวในการท�ำงาน โดยรวมหน่วยงานที่ปฏิบัติงาน สนับสนุน เช่น งานบัญชี การเงิน จัดซือ้ ทรัพยากรบุคคลของกลุม่ บริษทั เข้ามาเป็นหน่วยงานเดียวกัน และให้บริการกับทัง้ กลุม่ บริษทั โดยเริม่ ด�ำเนินการมาตัง้ แต่ปี 2560 และได้จดั ให้ผรู้ บั บริการได้ประเมินผล ความพึงพอใจในการให้บริการของกลุม่ งาน SSC ในด้านการประสาน งานระหว่างกัน อันเป็นส่วนหนึ่งในการเน้นย�้ำค่านิยมองค์กร เรื่องผู้มีส่วนได้เสีย (Stakeholder Focus) โดยมีผลคะแนน ความพึงพอใจเฉลีย่ ในปี 2562 จาก 6 หน่วยงานทีใ่ ห้บริการ ได้คะแนน ร้อยละ 83.90 เพิ่มขึ้นจากปี 2561 ซึ่งได้คะแนน ร้อยละ 81.90
62
รายงานความยั่งยืน 2562 บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)
การพัฒนาสู่องค์กรน�้ำระดับประเทศ (Disclosure 404-2)
ในฐานะทีก่ ลุม่ บริษทั มีบทบาทส�ำคัญในการบริหารจัดการทรัพยากรน�ำ้ ของประเทศ เพือ่ ยกระดับเศรษฐกิจและสังคมในภูมภิ าคตะวันออก ผ่านการให้บริการด้านน�ำ้ แบบครบวงจรต่อภาคอุตสาหกรรมและภาคอุปโภคบริโภค ความเชีย่ วชาญของบุคลากรจึงเป็นปัจจัยหลักในการขับเคลือ่ น องค์กร และนัน่ คือความท้าทายของบริษทั ทีจ่ ะพัฒนาความสามารถและความพร้อมในทักษะทีจ่ ำ� เป็นให้ตอบสนองความต้องการของผูใ้ ช้นำ�้ ได้อย่างรวดเร็วและหลากหลาย เพือ่ การเป็นผูน้ ำ� ในการบริหารจัดการน�ำ้ แบบครบวงจรของประเทศตามวิสยั ทัศน์ขององค์กร ส�ำหรับแนวทางการบริหารจัดการในภาพรวม บริษทั ยังคงให้ความส�ำคัญกับโอกาสในการเติบโตและการพัฒนาบุคลากรทุกกลุม่ ทุกระดับ อย่างเท่าเทียมและต่อเนือ่ ง ผ่านแผนพัฒนารายบุคคล (Individual Development Plan : IDP) ซึง่ พนักงานและผูบ้ งั คับบัญชาต้นสังกัด ร่วมกันก�ำหนดเป้าหมายและการพัฒนาในแต่ละปี โดยใช้สมรรถนะเป็นพืน้ ฐานในการพัฒนา (Competency Based Development Model) ครอบคลุมหลักสูตร ดังนี้ 1
หลักสูตรทีเ่ ป็นพืน้ ฐานทีจ่ ำ� เป็นขององค์กร (Core Course) :: เป็นหลักสูตรภาคบังคับส�ำหรับพนักงานทุกคนในองค์กร ทีจ่ ำ� เป็นต้องได้รบั การพัฒนา เพือ่ ให้เกิดพฤติกรรมทีจ่ ะช่วย สนับสนุนให้องค์กรบรรลุตามเป้าหมายและวิสยั ทัศน์ขององค์กร ตลอดจนให้มนั่ ใจว่าทุกหน่วยงานขององค์กรปฏิบตั งิ านได้สอดคล้อง กับกฎหมายและระเบียบข้อบังคับทีเ่ กีย่ วข้อง
2
หลักสูตรด้านบริหารจัดการและภาวะผู้น�ำ (Managerial Course) :: มุ่งเน้นการเสริมทักษะด้านการบริหารจัดการและภาวะ ผูน้ ำ� ให้กบั ผูบ้ ริหารทุกระดับ เพือ่ เป็นแรงสนับสนุนการขับเคลือ่ น กลยุทธ์ทางธุรกิจให้สำ� เร็จตามเป้าหมาย ซึง่ รวมถึงการเตรียม ความพร้ อ มส� ำ หรั บ บุ ค ลากรที่ มี ศั ก ยภาพสู ง ที่ จ ะก้ า วขึ้ น ในระดับบังคับบัญชาทีส่ งู ขึน้ ต่อไป
3 หลักสูตรความรูใ้ นสายงาน (Functional Course) :: มุง่ พัฒนาความรู้ ทักษะ และทัศนคติทจี่ ำ� เป็นต้องมี เพือ่ ใช้ ในการปฏิบตั หิ น้าทีต่ ามต�ำแหน่งงานให้บรรลุเป้าหมายทีว่ างไว้ 4
หลักสูตรเสริมทักษะอาชีพอืน่ ๆ (Elective Course) :: เป็นหลักสูตรการเรียนการสอนเพือ่ เสริมทักษะอืน่ ๆ ให้กบั พนักงาน เพือ่ สนับสนุนให้เกิดการพัฒนาตนเองทัง้ ในปัจจุบนั และอนาคต
เป้าหมายการส่งเสริมความรูแ้ ละพัฒนาศักยภาพบุคลากรปี 2565 ตามเส้นทางการพัฒนาองค์กร 1. ร้อยละ 60 .00 ของพนักงานกลุม่ ผูส้ บื ทอดต�ำแหน่ง (Successor) ได้รบั การพัฒนาฝึกอบรมให้มที กั ษะ ความรูค้ วามสามารถใหม่ (New ability) 2. ร้อยละ 80.00 ของพนักงานกลุม่ ธุรกิจหลัก (Core Business) ได้รบั การฝึกอบรมและพัฒนาทักษะด้านน�ำ้ ครบวงจร
การพัฒนาที่ส�ำคัญในปี 2562 ในปี 2562 มีโปรแกรมการพัฒนาทีห่ ลากหลายตามสายอาชีพทัง้ ในรูปแบบการอบรม สัมมนา ฝึกปฏิบตั จิ ริง รวมถึงการศึกษาดูงานทัง้ ใน และต่างประเทศ ตลอดจนส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้ด้วยตนเองผ่านระบบออนไลน์ การหล่อหลอมบุคลากรให้เป็นผู้เชี่ยวชาญ ในทุกมิตมิ คี วามรูเ้ กีย่ วกับเรือ่ งน�ำ ้ เพือ่ รองรับกับภารกิจใหม่ทเี่ ปลีย่ นแปลงไปตามการขยายตัวของธุรกิจ และสามารถเติบโตในเส้นทาง ทีเ่ หมาะสมสอดรับกับทิศทางการด�ำเนินงาน ซึง่ ในปีนมี้ งุ่ เน้นการซ่อมและสร้างเพือ่ ปรับรากฐานการพัฒนาขององค์กรให้ทนั ต่อการเปลีย่ นแปลง ของโลกยุคดิจทิ ลั รองรับการปรับโครงสร้างภายใน ขณะนีอ้ ยูร่ ะหว่างการออกแบบเส้นทางการพัฒนาตามสมรรถนะหลัก การบริหารจัดการ และตามลักษณะงาน ส�ำหรับการจัดท�ำแผนพัฒนารายบุคคลปี 2562 ฝ่ายทรัพยากรบุคคลได้หารือร่วมกับผู้บังคับบัญชาต้นสังกัด เพือ่ วิเคราะห์ทกั ษะความจ�ำเป็นต่อการปฏิบตั งิ านและการเติบโตในสายอาชีพของพนักงาน รวมถึงได้ปรับแผนการพัฒนาโดยดูตามวงจร การเป็นพนักงาน (Employee’s Life Cycle) ซึง่ จะเริม่ ตัง้ แต่กลุม่ พนักงานเข้าใหม่ กลุม่ ปฏิบตั กิ าร กลุม่ บริหาร และกลุม่ ทีจ่ ะเกษียณอายุงานด้วย โดยสรุปมีการพัฒนาทีส่ ำ� คัญ ดังนี้ 1) เตรียมความพร้อมให้กบั พนักงานใหม่ 2) ปลูกฝังพืน้ ฐานความรูด้ า้ นการเติบโตอย่างยัง่ ยืนด้วยมาตรฐาน สากล 3) พัฒนาศักยภาพความเป็นผูน้ ำ� และทักษะในสายอาชีพ 4) สร้างเสริมวัฒนธรรมการเรียนรูด้ ว้ ยตนเอง
5) รั ก ษาบุ ค ลากรคุ ณ ภาพด้ ว ย Talent & Succession Management 6) แลกเปลีย่ นความรูก้ บั หน่วยงานภายนอก 7) บริหารจัดการความรูภ้ ายในอย่างเป็นระบบ 8) ประเมินผลศักยภาพและการปฏิบตั งิ านอย่างเป็นธรรม
รายงานความยั่งยืน 2562 #สะกิดไทยใส่ใจน�้ำ
63
1 เตรียมความพร้อมให้กบั พนักงานใหม่ กลุม่ บริษทั เริม่ แผนการพัฒนาตัง้ แต่เข้ารับต�ำแหน่งใหม่ผา่ นโปรแกรม การเรียนรูท้ ผี่ บู้ งั คับบัญชาเป็นผูก้ ำ� หนด โดยระบุความรูแ้ ละทักษะ ทีจ่ ำ� เป็นตามต�ำแหน่งงานทีร่ บั ผิดชอบ (Job Competency) รวมถึง แนะน�ำการใช้คู่มือและขั้นตอนการปฏิบัติงาน ตลอดจนระบบ สารสนเทศในองค์กรเพือ่ ให้ปฏิบตั งิ านในหน้าทีไ่ ด้อย่างราบรืน่ นอกจากนี้ ยังจัดให้มโี ครงการปฐมนิเทศพนักงานใหม่ขนึ้ ทัง้ กลุม่ บริษทั เพือ่ ให้พนักงานใหม่ทกุ คนได้มโี อกาสพบกับผูบ้ ริหารระดับสูง และรับทราบถึงนโนบายทีส่ ำ� คัญ เข้าใจค่านิยมและวัฒนธรรมองค์กร แนวปฏิบตั แิ ละมาตรฐานต่าง ๆ จากผูบ้ ริหารระดับสูงโดยตรง พร้อมทัง้ เรียนรู้พื้นฐานการด�ำเนินธุรกิจของกลุ่มบริษัทในรูปแบบทฤษฎี และศึกษาดูงานในสถานที่จริง ส�ำหรับปีนี้ได้เพิ่มกิจกรรมการ เรียนรูว้ ฒ ั นธรรมองค์กรผ่านแนวคิด Agile ในช่วง Agile X Team เพื่ อให้ พ นั ก งานใหม่สามารถปรับ ตัว เข้ากับ การท� ำ งานแบบ S : H : A : R : P ทีม่ งุ่ เน้นความส�ำคัญของผูม้ สี ว่ นได้เสีย มีมมุ มอง องค์รวม ยืดหยุน่ มุง่ เน้นผลลัพธ์ มีความคิดเชิงรุกและเปิดรับแนวคิด ใหม่ ๆ ทีส่ ำ� คัญต้องรูส้ กึ สนุกกับการท�ำงาน เพือ่ ความส�ำเร็จของทีม ผลการประเมินความรู้หลังกิจกรรม :: ผ่านการทดสอบทุกคน โดยมีคะแนนเฉลีย่ อยูท่ รี่ อ้ ยละ 85.73 ระดั บ ความพึ ง พอใจต่ อ การอบรม :: อยู่ที่ร้อยละ 94.59 ครอบคลุมทุกระดับตามโครงสร้างองค์กรใหม่ 2 ป ลู ก ฝั ง พื้ น ฐานความรู ้ ด ้ า นการเติ บ โตอย่ า งยั่ ง ยื น ด้ ว ย มาตรฐานสากล เพือ่ ให้การบริหารจัดการองค์กรมีการด�ำเนินงานทีไ่ ด้มาตรฐานสากล มีความโปร่งใส เป็นธรรมและตรวจสอบได้ บริษัทจึงได้ปลูกฝัง ความรูพ้ นื้ ฐานด้านการพัฒนาเพือ่ ความยัง่ ยืน การก�ำกับดูแลกิจการ ทีด่ ี รวมถึงระบบบริหารงานคุณภาพ สิง่ แวดล้อม อาชีวอนามัย และความปลอดภัยในการท�ำงานให้กบั พนักงานทุกคน โดยร่วมมือ กับหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้องเพือ่ จัดท�ำแผนการฝึกอบรม ได้แก่ 2.1) หลักสูตรเกีย่ วกับระบบคุณภาพและการจัดการสิง่ แวดล้อม ถือเป็นหลักสูตรส�ำคัญในปี 2562 เนื่องจากบริษัทได้ก�ำหนด แผนการพัฒนาธุรกิจเชิงกลยุทธ์ดว้ ยระบบคุณภาพ จึงต้องด�ำเนินการ พัฒนาระบบและปรับปรุงกระบวนการท�ำงานของทุกส่วนงาน ให้สอดคล้องและเชือ่ มโยงกันตามโครงสร้างองค์กรใหม่ โดยให้เป็น ไปตามข้อก�ำหนดของระบบบริหารงานคุณภาพ ISO ทีบ่ ริษทั ได้รบั การ รั บ รองมาตรฐานในเรื่ อ งระบบคุ ณ ภาพ ISO 9001:2015 และระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม ISO 14001:2015 พร้อมทั้ง เตรียมยื่นขอรับรองมาตรฐานระบบการจัดการอาชีวอนามัย และความปลอดภัย ISO 45001:2018 จึงได้รว่ มกับฝ่ายกลยุทธ์องค์กร จัดท�ำแผนการอบรมเพื่อทบทวนข้อก�ำหนด และเตรียมพร้อม บุคลากรในการเป็นผูต้ รวจประเมินภายในด้านคุณภาพการจัดการ สิง่ แวดล้อม และความปลอดภัย โดยมีหลักสูตรส�ำคัญดังนี้ • ข้ อ ก� ำ หนด ISO 9001:2015, ISO 14001:2015, ISO 45001:2018 INTEGRATION SYSTEM • ข้อก�ำหนดระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย (REQUIREMENT FOR ISO 45001:2018)
• •
ผู้ตรวจประเมินภายในด้านคุณภาพ การจัดการสิ่งแวดล้อม และการจั ด การอาชี ว อนามั ย และความปลอดภั ย (ISO 9001:2015 & ISO 14001:2015 & ISO 45001:2018) ความตระหนักด้านสิง่ แวดล้อมและความปลอดภัย
ผลการประเมินความรูห้ ลังการอบรม :: ผ่านการทดสอบทุกคน ผลลัพธ์ตอ่ องค์กร :: มีการประเมินความเสีย่ งตามระบบคุณภาพ ครอบคลุมทุกระดับตามโครงสร้างองค์กรใหม่ 2.2) หลักสูตรเกีย่ วกับความยัง่ ยืน เน้นการสร้างความเข้าใจ ในการบริหารจัดการธุรกิจเพือ่ การพัฒนาอย่างยัง่ ยืนตามแนวทาง ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (ตลท.) ส�ำนักงานคณะกรรมการ ก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) และบริษทั จดทะเบียน ไทย ทัง้ ในระดับพืน้ ฐานและเชิงปฏิบตั กิ ารทีค่ รอบคลุมตัง้ แต่ทฤษฎี หลักการ และน�ำมาประยุกต์ใช้งานจริง โดยมีหลักสูตรอบรมทีส่ ำ� คัญดังนี้ • หลักสูตรด้านการบริหารจัดการธุรกิจเพือ่ การพัฒนาอย่างยัง่ ยืน ของ ตลท. • ธุรกิจกับสิทธิมนุษยชน (Business and Human Rights) • GRI Standards Certified Training Course ผลการประเมินความรูห้ ลังการอบรม :: ผ่านการฝึกอบรมทุกคน ผลลัพธ์ตอ่ องค์กร :: ได้รบั รางวัลการด�ำเนินธุรกิจทีค่ ำ� นึงถึงการ พัฒนาอย่างยัง่ ยืน อาทิ Sustainability Disclosure Recognition, Rising Star Sustainability Awards และได้รบั คัดเลือกให้เป็น 1ใน 98 บริษัทจดทะเบียนที่อยู่ใน Thailand Sustainability Investment หรือ รายชือ่ “หุน้ ยัง่ ยืน” เป็นต้น
64
รายงานความยั่งยืน 2562 บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)
2.3) หลักสูตรเกี่ยวกับการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี ร่วมกับ ส�ำนักเลขานุการบริษทั โดยมีเป้าหมายเพือ่ ปลูกฝังการมีสว่ นร่วม ในการต่อต้านการทุจริตคอร์รปั ชัน รวมถึงปฏิบตั ติ ามหลักก�ำกับดูแล กิจการทีด่ แี ละจรรยาบรรณทางธุรกิจของกลุม่ บริษทั ตลอดจนปฏิบตั ิ หน้าทีต่ ามกฎหมายและข้อบังคับทีเ่ กีย่ วข้อง โดยเฉพาะกฎหมาย ทีอ่ อกใหม่ในปีนี้ โดยมีหลักสูตรอบรมทีส่ ำ� คัญ อาทิ พ.ร.บ. การร่วมลงทุน ระหว่างรัฐและเอกชน พ.ร.บ. คุม้ ครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ร.บ. โรงงาน และกฎหมายทีเ่ กีย่ วข้องกับการด�ำเนินกิจการโรงงานและการจัดกิจกรรม รับชมภาพยนตร์เรื่องฉลาดเกมส์โกง พร้อมการเสวนาในหัวข้อ “EWG Love CG พนักงานหัวใจ SHARP ฉลาดต้านโกง” โดยมีการวัดผลความรู้ความเข้าใจของพนักงาน ในเรื่อง CG & Anti - Corruption ในช่วงปลายปี เป็นต้น
ท�ำงานทุกระดับความรุนแรง ตามนโยบายความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการท�ำงานของบริษทั มีหลักสูตรทีส่ ำ� คัญดังนี้ • การสร้างพฤติกรรมเพือ่ ความปลอดภัย • ความปลอดภัยในการท�ำงานเกีย่ วกับไฟฟ้าและการช่วยเหลือ ผูป้ ระสบอันตรายจากไฟฟ้า • ผูส้ อนด้านความปลอดภัย ส�ำหรับลูกจ้างทัว่ ไปและลูกจ้างเข้างานใหม่ ตาม พ.ร.บ. ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อม ในการท�ำงาน • เทคนิคการอนุรกั ษ์พลังงานอย่างง่าย และการสร้างจิตส�ำนึก ในองค์กร • ระบบผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์บนหลังคา • การศึกษาดูงานด้านความปลอดภัย ณ บริษทั เอสซีจี เคมิคอลส์ จ�ำกัด ผลการประเมินความรูห้ ลังการอบรม :: ผ่านการฝึกอบรมทุกคน ผลลัพธ์ตอ่ องค์กร :: มีจำ� นวนพนักงานทีไ่ ด้รบั อุบตั เิ หตุจากการ ท�ำงานลดลงจากปีกอ่ น โดยมีพนักงานปฏิบตั งิ านในพืน้ ทีป่ ฏิบตั ิ การของบริษทั เกิดอุบตั เิ หตุตกจากทีส่ งู จ�ำนวน 1 ราย ซึง่ บริษทั ได้กระตุน้ และปลูกจิตส�ำนึกด้านความปลอดภัย (Safety Moment) เรื่องการใช้บันได เพื่อตอกย�้ำให้พนักงานปฏิบัติได้อย่างถูกต้อง และปลอดภัย เพือ่ ป้องกันไม่ให้เกิดเหตุซำ�้ ขึน้ (ข้อมูลกลุม่ บริษทั สามารถดูเพิ่มเติมได้ที่หัวข้อความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ สภาพแวดล้อมในการท�ำงาน หน้าที่ 72 ในรายงานฉบับนี)้
ผลการประเมินความรู้หลังการอบรม :: มีพนักงานร่วมท�ำ การประเมินความรู้ ร้อยละ 95.86 โดยผ่านการทดสอบทุกคน ผลลัพธ์ตอ่ องค์กร :: ณ สิน้ ปี 2562 มีการแจ้งข้อร้องเรียน 1 ประเด็น โดยอยูร่ ะหว่างการรวบรวมข้อเท็จจริงตามกระบวนการด�ำเนินการ เมื่อได้รับข้อร้องเรียน ที่ก�ำหนดไว้ในจรรยาบรรณทางธุรกิจ ของกลุม่ บริษทั 2.4) หลักสูตรด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และอนุรกั ษ์ พลังงาน ซึง่ ครอบคลุมหลักสูตรภาคบังคับตามกฎหมายทีเ่ กีย่ วข้อง และหลักสูตรที่สนับสนุนการท�ำงานและสามารถปฏิบัติงานด้วย จิตส�ำนึกรับผิดชอบด้านความปลอดภัย สุขอนามัย และรักษาสภาพ แวดล้อมในการท�ำงาน โดยมุง่ เน้นการป้องกันการเกิดอุบตั เิ หตุในการ
3 พัฒนาศักยภาพความเป็นผูน้ ำ� และทักษะในสายอาชีพ เพราะการพั ฒ นาศั ก ยภาพความเป็ น ผู ้ น� ำ เป็ น ปั จ จั ย ส� ำ คั ญ ในการขับเคลือ่ นองค์กรสูเ่ ป้าหมาย กลุม่ บริษทั จึงให้ความส�ำคัญ กับการพัฒนาทักษะความเป็นผูน้ ำ� ตัง้ แต่ผบู้ ริหารระดับต้นไปจนถึง ระดับสูง โดยเน้นในเรื่องเทคนิคการสอนงาน การเปิดมุมมอง ทางธุรกิจ ตลอดจนการสร้างเครือข่ายทางธุรกิจระดับบริหาร และในปีน้ี ได้เริ่มโครงการพัฒนาผู้น�ำที่มีศักยภาพสูงแบบ One on One ในหลักสูตร Storytelling for innovative Leader เพื่อเน้น การเปลีย่ นแปลงทีเ่ ป็นรูปธรรมและวัดผลได้อย่างชัดเจน อีกหนึง่ ฟันเฟืองทีส่ ำ� คัญต่อการเติบโตขององค์กรคือ “ทีมงาน” ทีม่ ปี ระสิทธิภาพและมีความเชีย่ วชาญในสาขาอาชีพ โดยเฉพาะ สาขาทีเ่ กีย่ วกับเทคโนโลยีระบบน�ำ้ ครบวงจร ดังนัน้ แผนการพัฒนา จึงออกแบบเพือ่ ตอบสนองแผนกลยุทธ์องค์กรและเตรียมพร้อมกับ ยุคการเปลีย่ นแปลงทีเ่ กิดจากการใช้เทคโนโลยี และโมเดลธุรกิจแบบ ใหม่ (Digital Disruption) บนพืน้ ฐานของ Competency-Based Development โดยในปีนจี้ ะมุง่ เน้นไปทีก่ ารพัฒนาทักษะด้านจักรกล อัตโนมัติ (Automation) การบ�ำรุงรักษาเครือ่ งจักรเชิงป้องกัน การใช้เทคโนโลยีเพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพการท�ำงาน และการศึกษา ดูงานเทคโนโลยีนำ้� ครบวงจรทัง้ ในและต่างประเทศ
รายงานความยั่งยืน 2562 #สะกิดไทยใส่ใจน�้ำ
4 สร้างเสริมวัฒนธรรมการเรียนรู้และพัฒนาตนเอง การบริหารความเปลี่ยนแปลงเป็นอีกหนึ่งความท้าทายในโลก ยุคดิจทิ ลั โดยเฉพาะการเปลีย่ นแปลงอย่างฉับพลันของเทคโนโลยี ท�ำให้โปรแกรมการเรียนรู้แบบเดิม ๆ เริ่มไม่ตอบโจทย์วิถีชีวิต ของกลุ่มพนักงานได้ทุกเพศทุกวัย ดังนั้นกลุ่มบริษัทจึงเริ่มปรับ กลยุทธ์การเรียนรูใ้ ห้เกิดวัฒนธรรมการเรียนรูด้ ว้ ยตนเอง โดยน�ำ ระบบออนไลน์เข้ามาเสริมให้สามารถเรียนรูไ้ ด้ทกุ ทีท่ กุ เวลา ซึง่ อยู่ ระหว่างด�ำเนินการพัฒนาระบบ โดยปีนี้ได้ทดลองใช้การเรียนรู้ แบบออนไลน์ในหลักสูตรปฐมนิเทศพนักงานเป็นหลักสูตรแรก ผลการประเมินความพึงพอใจในการใช้ระบบคิดเป็นร้อยละ 83.33 นอกจากนี้ กลุม่ บริษทั ยังได้ปรับสวัสดิการโดยให้พนักงานสามารถ เบิกค่าใช้จา่ ยเพือ่ การพัฒนาในทักษะอืน่ ๆ ทีส่ นใจได้ อาทิ ทักษะ ด้านภาษา เพื่อเป็นการส่งเสริมการพัฒนาตนเองอีกทางหนึ่ง รวมถึงได้เริม่ โปรแกรมส�ำหรับพนักงานกลุม่ ทีจ่ ะเกษียณอายุงาน เพื่อให้ความรู้ในเรื่องกฎหมายผู้สูงอายุ การดูแลสุขภาพ และ การฝึกอาชีพ เพื่อให้สามารถยังชีพได้อย่างเป็นสุขหลังเกษียณ อายุจากบริษัทไปแล้ว อันแสดงถึงเจตนารมณ์ของบริษัทที่ให้ ความส�ำคัญกับทรัพยากรบุคคลทุกกลุม่ ทุกระดับ โดยมิได้ละเลย กลุม่ ใดกลุม่ หนึง่ ตลอดอายุการท�ำงานของพนักงาน 5 รักษาบุคลากรคุณภาพด้วย Talent & Succession Management กลุม่ บริษทั ได้กำ� หนดกลยุทธ์การบริหารและรักษาบุคลากรคุณภาพ ผ่านการพัฒนาเส้นทางอาชีพ (Career Path) และการสร้าง ผูส้ บื ทอดต�ำแหน่ง (Succession Plan) โดยในปี 2562 ได้ดำ� เนิน แผนการบริหารผูส้ บื ทอดต�ำแหน่ง (Succession Plan) เพือ่ ป้องกัน ความเสี่ ย งจากการสู ญ เสี ย บุ ค ลากรในต� ำ แหน่ ง งานที่ ส� ำ คั ญ และอาจส่งผลกระทบกับการด�ำเนินธุรกิจ (Critical Positions) โดยมีกระบวนการด�ำเนินงาน 3 ขัน้ ตอน คือ 1) การระบุตำ� แหน่งทีม่ คี วามส�ำคัญต่อองค์กร 2) การระบุผสู้ บื ทอดต�ำแหน่ง โดยคัดเลือกบุคลากรทีม่ คี ณ ุ สมบัติ เหมาะสมในแต่ละต�ำแหน่ง ประกอบกับผลการปฏิบัติงาน (Performance) ผลการประเมินทัศนคติ และผลการประเมิน 360 องศา 3) การวางแผนพัฒนาผู้สืบทอดต�ำแหน่งและการประเมินผล รายบุคคลให้สอดคล้องตามต�ำแหน่งงาน โดยมุ่งหวังให้ ผูส้ บื ทอดสามารถก้าวขึน้ รับต�ำแหน่งเป้าหมายได้อย่างมัน่ ใจ โดย บริษทั ได้รว่ มมือกับทีป่ รึกษาโครงการซึง่ เป็นหน่วยงานผูเ้ ชีย่ วชาญ ระดับประเทศในการด�ำเนินงานในกระบวนการที่ 1 และ 2 จนแล้วเสร็จตามเป้าหมาย ซึง่ บริษทั จะมีการจัดท�ำแผนพัฒนา รายบุคคลทีเ่ หมาะสมต่อไป
65
6 การแลกเปลีย่ นความรูก้ บั หน่วยงานภายนอก ในปี 2562 กลุม่ บริษทั ได้จดั ให้มโี ครงการแลกเปลีย่ นแบ่งปันความรู้ ระหว่างหน่วยงานภายนอก ด้วยกัน 3 โครงการ ได้แก่ โครงการที่ 1 เป็นความร่วมมือในการพัฒนาบุคลากรระหว่าง กลุม่ บริษทั กับส�ำนักชลประทานที่ 9 กรมชลประทาน ในการจัด อบรมให้ความรูใ้ นหลักสูตรการใช้โปรแกรมสารสนเทศภูมศิ าสตร์ บน Google Earth ให้กบั เจ้าหน้าทีก่ รมชลประทาน เพือ่ ยกระดับ ประสิทธิภาพการบริหารจัดการน�ำ้ ในพืน้ ทีภ่ าคตะวันออก ด้วยการ พัฒนาระบบฐานข้อมูลสารสนเทศ โดยจัดอบรมทัง้ สิน้ จ�ำนวน 2 รุน่ รุน่ ละ 3 วัน โครงการที่ 2 การจัดฝึกอบรมหลักสูตร “เทคนิคการสอนงาน” รุน่ ที่ 1 เพือ่ พัฒนาทักษะการเป็นครูผฝู้ กึ สอนภายในองค์กรให้กบั พนักงานระดับหัวหน้างานขึน้ ไป ภายใต้โครงการข้อตกลงความ ร่วมมือระหว่าง กลุม่ บริษทั กับสถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออก ที่มุ่งยกระดับการศึกษาโดยฝึกทักษะผ่านประสบการณ์จริง ให้กับนักศึกษา อาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษาในสถาบัน การอาชีวศึกษาภาคตะวันออก เพื่อรองรับภาคอุตสาหกรรม ของประเทศในอนาคต ซึง่ มีกรอบความร่วมมือระยะเวลา 5 ปี โครงการที่ 3 ในยุคการเปลีย่ นแปลงทีร่ วดเร็ว (Disruption) ที่พฤติกรรมผู้บริโภคเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว แนวคิดใน การท�ำงาน (Agile) จึงถูกเริม่ น�ำเข้ามาปรับใช้ในหลาย ๆ องค์กร โดยเฉพาะธนาคารไทยพาณิชย์ จ�ำกัด (มหาชน) (SCB) ทีป่ ระสบ ความส�ำเร็จกับแนวคิดแบบ Agile : เปลีย่ นให้เร็ว ล้มให้ไว ลุกให้ไวกว่า ภายใต้ยทุ ธศาสตร์ SCB Transformation โดยโครงการปฐมนิเทศ พนักงานใหม่ของกลุม่ บริษทั ได้รบั เกียรติจาก Agile Team ของ SCB มาถ่ า ยทอดความรู ้ ทั้ ง ในรู ป แบบทฤษฎี แ ละฝึ ก ปฏิ บั ติ จ ริ ง ผ่านกิจกรรมกลุม่ รูปแบบใหม่ทไี่ ด้ทงั้ ความสนุกสนาน สาระ และ ประสบการณ์ตรงในการทดลองวิเคราะห์ขอ้ มูล ออกแบบ และน�ำไปใช้ มีการเก็บความคิดเห็นของผูใ้ ช้งาน (User Feedback) กลับมา วิเคราะห์และปรับปรุงกระบวนการให้ตอบโจทย์ความต้องการ ของลูกค้าอย่างแท้จริง
66
รายงานความยั่งยืน 2562 บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)
7 บริหารจัดการความรูภ้ ายในอย่างเป็นระบบ หนึง่ ในเป้าหมายการพัฒนาด้านความยัง่ ยืนตามแผนกลยุทธ์องค์กร คือ การจัดการความรู้ภายในอย่างเป็นระบบ เพื่อรักษาความรู้ และตกผลึกประสบการณ์ให้คงอยูก่ บั องค์กร มุง่ ให้เกิดการขยาย ผลสูก่ ารปฏิบตั งิ านทีม่ ปี ระสิทธิภาพและประสิทธิผลเพิม่ ขึน้ น�ำไป สูก่ ารพัฒนาเป็นนวัตกรรมใหม่ขององค์กรเพือ่ สร้างความได้เปรียบ ทางการแข่งขันในอนาคต โดยก�ำหนดเส้นทางการพัฒนาระบบและ เป้าหมายการด�ำเนินงาน (KM Master Plan) ไว้ 3 ระยะ ซึง่ ในระยะ ที่ 1 (2562 - 2563) เป็นการสร้างระบบการจัดการและการแบ่งปัน ความรูโ้ ดยเริม่ จัดท�ำ Knowledge Mapping เพือ่ ระบุขอบเขต ความรู ้ ที่ ส� ำ คั ญ และจ�ำเป็น ต่อการด�ำเนิน ธุรกิจน�้ำครบวงจร รวมถึงระบุผทู้ มี่ คี วามรูใ้ นเรือ่ งนัน้ ๆ ให้ชดั เจน ซึง่ ในปีนไี้ ด้ดำ� เนิน การจัดท�ำ Knowledge Mapping ของกลุม่ บริษทั แล้วเสร็จ และ อยูร่ ะหว่างการจัดท�ำแผนการพัฒนาระบบผูเ้ ชีย่ วชาญขององค์กร และระบบผลตอบแทนที่จูงใจผู้มีศักยภาพสูง เพื่อรองรับการ บริหารจัดการความรูอ้ งค์กรต่อไป ส�ำหรับกิจกรรมส่งเสริมการแลกเปลีย่ นเรียนรูน้ นั้ ปีนยี้ งั คงด�ำเนิน โครงการ EWG Knowledge Contest 2019 ขึน้ ต่อเนือ่ งเป็น ปีที่ 2 โดยในปีนี้ได้ขยายผลโครงการครอบคลุมทั้งกลุ่มบริษัท มีผสู้ นใจสมัครเข้าร่วมโครงการ จ�ำนวนทัง้ สิน้ 51 ผลงาน แบ่งเป็น
ประเภท การปรับปรุงกระบวนการ (Reprocess) และนวัตกรรม (Innovation) จ�ำนวน 18 และ 11 ผลงานตามล�ำดับ โดยมีผลงาน ทีผ่ า่ นเข้ารอบตัดสิน จ�ำนวน 17 ผลงาน ประกอบด้วย ประเภท Reprocess จ�ำนวน 8 ผลงาน และประเภท Innovation จ�ำนวน 9 ผลงาน ซึง่ ทีมทีผ่ า่ นเข้ารอบตัดสินจะได้รบั การแนะน�ำเพิม่ เติม เกี่ยวกับแนวทางการวิเคราะห์สาเหตุของปัญหาอย่างเป็นระบบ หลักการไคเซนเบือ้ งต้น และเทคนิคการน�ำเสนอจากโค้ชผูช้ ำ� นาญ การเพือ่ ไปปรับปรุงผลงานให้สมบูรณ์ขนึ้ ส�ำหรับโครงการดังกล่าวถือเป็นการส่งเสริมให้เกิดการแลกเปลีย่ น เรียนรู้ และรวบรวมจัดเก็บองค์ความรูอ้ ย่างเป็นระบบ ตลอดจน เกิ ด การพั ฒ นาต่ อ ยอด โดยน� ำ ความรู ้ จ ากการประกวดไป ปรับปรุงกระบวนการและแก้ปญ ั หาในการท�ำงานจริงได้อย่างเป็น รูปธรรม พร้อมทัง้ เป็นการฝึกทักษะการน�ำเสนอเพือ่ โน้มน้าวใจผูฟ้ งั (Pitching) ตลอดจนสร้างความภาคภูมใิ จให้กบั พนักงานอีกด้วย โดยผูช้ นะการประกวดในทุกประเภทนอกจากจะได้รบั เงินรางวัล แล้วยังได้ไปเปิดประสบการณ์ความรูด้ า้ นการจัดการน�ำ้ ระดับสากล ณ Water Plaza ต้นแบบการรีไซเคิลน�ำ้ แห่งคิตะคิวชู ประเทศ ญี่ปุ่น โดยจะน�ำความรู้ที่ได้มาน�ำเสนอยังผู้บริหารระดับสูง ของกลุม่ บริษทั ต่อไป ผลลัพธ์ตอ่ องค์กรจากโครงการ EWG Knowledge Contest 2019 ซึง่ อยูร่ ะหว่างการด�ำเนินงานต่อเนือ่ งในปี 2563 ดังนี้ 1. ผลงานจากการประกวดฯ ทีน่ ำ� ไปต่อยอดเพือ่ พัฒนาปรับปรุง กระบวนการท�ำงานจริงมีจำ� นวน 28 ผลงาน คิดเป็นร้อยละ 54.90 อาทิ การน�ำข้อมูลมาประยุกต์ใช้เพื่อการเดินเครื่องสูบน�้ำฯ กล่องควบคุมระบบแสงสว่างอัจฉริยะ การปฏิวตั ริ ายงานผลด้วย Dashboard SCADA SMART SYSTEM อุปกรณ์เฝ้าระวัง คุณภาพน�ำ้ ดิบ เป็นต้น 2. การจัดท�ำคู่มือ/เอกสารสนับสนุนการปฏิบัติงาน (Work Instruction) จ�ำนวน 4 เรือ่ ง 3. คลิปความรูใ้ นคลังความรูก้ ลาง จ�ำนวน 20 เรือ่ ง 4. จัดอบรมขยายผลความรู้ให้ผู้เกี่ยวข้องอื่น ๆ (Knowledge Sharing) จ�ำนวน 2 เรือ่ ง
8 ประเมินผลศักยภาพและการปฏิบตั งิ านอย่างเป็นธรรม กลุม่ บริษทั ได้กำ� หนดแนวทางการประเมินผลการพัฒนาศักยภาพบุคลากรออกเป็น 3 ระดับ ได้แก่ ระดับที่ 1 ประเมินความพึงพอใจและความรู้ ความเข้าใจ ระดับที่ 2 ประเมินการเปลีย่ นแปลงสมรรถนะของพนักงานหลังผ่านการฝึกอบรม ระดับที่ 3 ประเมินผลส�ำเร็จของการปฏิบตั งิ าน ตาม KPIs ทีไ่ ด้กำ� หนดเป้าหมายไว้รว่ มกันระหว่างหัวหน้างานและพนักงานในสังกัด ส�ำหรับในปี 2562 ผลการประเมินความพึงพอใจ ของผูเ้ ข้ารับการฝึกอบรมเฉลีย่ ของบริษทั ร้อยละ 85.63 และบริษัทในเครือร้อยละ 87.89 โดยการวัดความรู้ความเข้าใจในหลักสูตร ตามมาตรฐานวิชาชีพ พนักงานผ่านการทดสอบและได้ใบประกาศนียบัตรทุกคน ทัง้ นีก้ ารประเมินในระดับที่ 2 และ 3 อยูร่ ะหว่างด�ำเนินการ ส�ำหรับผลการประเมินสมรรถนะของพนักงานในปี 2562 นั้นจะน�ำช่องว่าง (Competency Gap) มาเป็นข้อมูลฐานในการจัดท�ำแผน พัฒนารายบุคคลในปี 2563 ต่อไป และส�ำหรับผลการประเมินความส�ำเร็จของการปฏิบตั งิ านจะถูกน�ำไปประกอบการพิจารณาค่าจ้าง และผลตอบแทนประจ�ำปีแก่พนักงาน โดยจัดให้มกี ารประเมินผลการปฏิบตั งิ านของพนักงานทุกระดับอย่างน้อยปีละ 1 ครัง้ โดยมุง่ หวัง ให้พนักงานได้ทบทวนศักยภาพและความสามารถในการปฏิบตั งิ าน พร้อมทัง้ ได้รบั ค�ำแนะน�ำจากผูบ้ งั คับบัญชาเพือ่ การพัฒนาในปีตอ่ ไป ทั้งนี้ กลุ่มบริษัทยังได้วางระบบการบริหารผลการปฏิบัติงาน(Performance Management System : PMS) ให้สัมพันธ์ และเชือ่ มโยงกับการพัฒนาเส้นทางอาชีพ (Career Path) และการพัฒนาผูม้ ศี กั ยภาพสูงและผูส้ บื ทอดต�ำแหน่ง (Talent & Successor) เพื่อเป็นแรงผลักดันในการพัฒนาทั้งพนักงานและองค์กรอย่างต่อเนื่อง ซึ่งจะเริ่มใช้ระบบ PMS ในการประเมินผลประจ�ำปี 2562 และคาดว่าจะใช้อย่างเต็มรูปแบบได้ในปี 2564
รายงานความยั่งยืน 2562 #สะกิดไทยใส่ใจน�้ำ
67
สรุปผลลัพธ์การพัฒนา (Disclosure 404-1) บริษัท [อีสท์ วอเตอร์] จ�ำนวนชัว่ โมงฝึกอบรมเฉลีย่ ของพนักงานทัง้ หมด 56.96 ชัว่ โมง ต่อคนต่อปี • พนักงานชาย เฉลีย่ อยูท่ ี่ 59.44 ชัว่ โมงต่อคนต่อปี พนักงานหญิง เฉลีย่ อยูท่ ี่ 54.37 ชัว่ โมงต่อคนต่อปี • ระดับบริหาร เฉลีย่ อยูท่ ี่ 83.23 ชัว่ โมงต่อคนต่อปี ระดับบังคับบัญชา เฉลีย่ อยูท่ ี่ 91.35 ชัว่ โมงต่อคนต่อปี ระดับปฏิบตั กิ าร เฉลีย่ อยูท่ ี่ 47.52 ชัว่ โมงต่อคนต่อปี
บริษัทในเครือ [ยูนิเวอร์แซล ยูทีลิตี้ส์] จ�ำนวนชัว่ โมงฝึกอบรมเฉลีย่ ของพนักงานทัง้ หมด 59.88 ชัว่ โมง ต่อคนต่อปี • พนักงานชาย เฉลีย่ อยูท่ ี่ 69.82 ชัว่ โมงต่อคนต่อปี พนักงานหญิง เฉลีย่ อยูท่ ี่ 39.07 ชัว่ โมงต่อคนต่อปี • ระดับบริหาร เฉลีย่ อยูท่ ี่ 53.00 ชัว่ โมงต่อคนต่อปี ระดับบังคับบัญชา เฉลีย่ อยูท่ ี่ 62.26 ชัว่ โมงต่อคนต่อปี ระดับปฏิบตั กิ าร เฉลีย่ อยูท่ ี่ 60.06 ชัว่ โมงต่อคนต่อปี
1/ 0.46%
1/ 1.10% 51/ 23.72%
33/ 36.26% 46/ 50.55% 138/ 64.19%
หลักสูตร รอยละ
รวม
25/ 11.63%
215 100
หลักสูตร รอยละ
รวม
91
100
11/ 12.09%
หลักสูตรเสริมทักษะอื่น ๆ (Elective Course)
หลักสูตรพื้นฐานที่จ�ำเป็นขององค์กร (Core Course)
หลักสูตรด้านบริหารจัดการและภาวะผู้น�ำ (Managerial Course)
หลักสูตรความรู้ในสายงาน (Functional Course)
งบประมาณที่ใช้ในการพัฒนาบุคลากร และการบริหารจัดการองค์ความรู้ รวมเป็นเงิน 8.67 ล้านบาท (บริษัท 5.52 ล้านบาท บริษทั ในเครือ 3.15 ล้านบาท) เฉลีย่ ค่าใช้จา่ ยต่อคน 0.02 ล้านบาท ผลส�ำเร็จในการพัฒนาบุคลากร ปี 2562 • คะแนนความพึงพอใจของผูท้ เี่ ข้ารับการพัฒนาเฉลีย่ อยูท่ บี่ ริษทั ร้อยละ 85.63 และบริษทั ในเครือ ร้อยละ 87.89 • พนักงานมีความรูเ้ พิม่ ขึน้ จากการอบรมเฉลีย่ อยูท่ ี่ ร้อยละ 100 • ผลการปฏิบตั งิ านระดับองค์กร สูงกว่าปีทผี่ า่ นมาเฉลีย่ อยูท่ ี่ ร้อยละ 0.74 • ผลการประเมินสมรรถนะด้านบริหารเฉลีย่ อยูท่ ี่ ร้อยละ 70.83 (ปี 2562 วัดผลเป็นปีแรก เนือ่ งจากกลุม่ บริษทั ได้ปรับเปลีย่ นสมรรถนะ ด้านการบริหารจัดการใหม่) • ผลการประเมินสมรรถนะหลักขององค์กรเฉลีย่ อยูท่ ี่ ร้อยละ 73.39 (ปี 2562 วัดผลเป็นปีแรก เนือ่ งจากกลุม่ บริษทั ได้ปรับเปลีย่ นสมรรถนะ ด้านการบริหารจัดการใหม่)
68
รายงานความยั่งยืน 2562 บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)
การดูแลคุณภาพชีวิตของพนักงาน (Disclosure 401-2)
ในการด�ำเนินธุรกิจในปัจจุบนั สิง่ ทีเ่ ป็นปัจจัยส�ำคัญทีส่ ดุ ทีจ่ ะท�ำให้ธรุ กิจมีความแข็งแกร่งและยัง่ ยืนได้กค็ อื “พนักงาน” เพราะพนักงาน เป็นผู้ขับเคลื่อนหลักที่ส�ำคัญของบริษัท บริษัทจะก้าวไปข้างหน้าได้มากน้อยเพียงใดนั้น จึงขึ้นอยู่กับความสามารถในการขับเคลื่อน สร้างสรรค์สงิ่ ใหม่ของพนักงานผูป้ ฏิบตั งิ าน ดังนัน้ การให้ความส�ำคัญ การสร้างความสัมพันธ์ และการสร้างแรงจูงใจ ตลอดจนความผูกพันของพนักงานกับบริษทั จึงเป็นเรือ่ งทีบ่ ริษทั ให้ความส�ำคัญเสมอมา บริษทั จึงได้ดำ� เนินโครงการหลายด้านเพือ่ สนับสนุนการท�ำงานของพนักงาน หรือลดภาระค่าใช้จา่ ยของพนักงาน เพือ่ ให้พนักงานสามารถมุง่ เน้นการปฏิบตั งิ านได้อย่างเต็มที่ การปรับสวัสดิการยืดหยุน่ ในปี 2562 กลุ่มบริษัทได้ปรับสวัสดิการยืดหยุ่นที่มีอยู่เดิมให้มี ความหลากหลายและเหมาะสมกับความต้องการของพนักงาน แต่ละกลุม่ มากยิง่ ขึน้ ซึง่ ได้รบั ข้อเสนอแนะมาจากคณะกรรมการ สวัสดิการในสถานประกอบกิจการ เนื่องจากปัจจุบันพนักงาน ที่ ป ฏิ บั ติ ง านกั บ กลุ ่ ม บริ ษั ท มี ค วามแตกต่ า งกั น ในหลายด้ า น ทัง้ ช่วงอายุ สถานภาพ เป็นต้น การตรวจสุขภาพประจ�ำปี กลุ่มบริษัทจัดให้มีการตรวจสุขภาพให้กับพนักงานเป็นประจ�ำ ทุกปี เพือ่ เป็นการคัดกรองโรคเบือ้ งต้น รวมทัง้ การประเมินความเสีย่ ง ในการเกิดโรค ซึง่ หากตรวจพบโรค พนักงานจะได้รบั การรักษา ดูแลอย่างถูกต้อง ทันท่วงที หรือให้คำ� แนะน�ำในการปรับเปลีย่ น พฤติกรรมหากมีความเสีย่ งทีจ่ ะเกิดโรค รวมทัง้ ด�ำเนินการให้มกี าร ตรวจสุขภาพตามปัจจัยเสีย่ ง เพือ่ คัดกรองโรคทีอ่ าจเกิดขึน้ จากการ ท�ำงานส�ำหรับพนักงานทีท่ ำ� งานเกีย่ วข้องกับปัจจัยเสีย่ งประเภท ต่าง ๆ เช่น สารเคมี แสง เสียง โดยแพทย์อาชีวอนามัยจะเป็น ผู้ตรวจประเมินปัจจัยเสี่ยงในการท�ำงานรวมทั้งก�ำหนดรายการ ตรวจสุขภาพตามปัจจัยเสีย่ งทีเ่ กีย่ วข้อง เครือ่ งแบบพนักงาน บริษทั จัดให้มเี ครือ่ งแบบพนักงานเพือ่ ความสะดวกคล่องตัวในการ ปฏิบัติงานของพนักงานโดยจัดให้ส�ำหรับพนักงานที่ปฏิบัติงาน ภาคสนาม คนละ 2 ชุดต่อปี และรองเท้าเซฟตีค้ นละ 1 คู่ ซึง่ ทัง้ หมด เป็นส่วนหนึง่ ในการดูแลสภาพการปฏิบตั งิ านให้มคี วามปลอดภัย การประกันชีวติ และประกันสุขภาพ เพือ่ ความมัน่ คงในชีวติ และเป็นหลักประกันให้ครอบครัวพนักงาน รวมทัง้ แบ่งเบาภาระของพนักงานในการรักษาพยาบาลของพนักงาน คูส่ มรส และบุตร บริษทั ได้จดั ให้มกี ารประกันชีวติ ให้กบั พนักงาน ทุกระดับต�ำแหน่ง รวมทัง้ จัดให้มกี ารประกันสุขภาพให้กบั พนักงาน คูส่ มรส และบุตร
กองทุนส�ำรองเลีย้ งชีพ พนักงานที่พ้นทดลองงานแล้วสามารถสมัครเป็นสมาชิกกองทุน ส�ำรองเลีย้ งชีพได้ เพือ่ เป็นการออมเงินและเป็นหลักประกันส�ำหรับ พนักงานในอนาคต ซึ่งนอกเหนือจากเงินออมของพนักงานแล้ว บริษัทยังจ่ายเงินสมทบให้กับพนักงานในอัตราส่วนตามอายุงาน ของพนักงานอีกด้วย เงินสะสมของพนักงานและเงินสมทบของ บริษทั จะถูกบริหารจัดการโดยบริษทั หลักทรัพย์ เพือ่ ให้ได้รบั ผล ตอบแทนจากการลงทุนในกองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพ โดยพนักงาน สามารถเลือกลงทุนในนโยบายลงทุนต่าง ๆ ได้ตามความสามารถ ในการรับความเสีย่ งของแต่ละคน ในปี 2562 กลุม่ บริษทั ได้เริม่ น�ำนโยบายการลงทุนกองทุนส�ำรอง เลีย้ งชีพในลักษณะสมดุลตามช่วงอายุ (Life Path) มาใช้ โดยการ ลงทุนจะปรับเปลี่ยนระดับความเสี่ยงไปตามอายุของพนักงาน เพื่อให้มั่นใจว่าเมื่อพนักงานเกษียณจากการท�ำงานกับบริษัท พนักงานจะมีเงินเพือ่ การด�ำรงชีพต่อไปอย่างเพียงพอ การลาคลอดและการกลับมาปฏิบตั งิ านหลังลาคลอด ในปี 2561 - 2562 มีพนักงานกลุม่ บริษทั ลาคลอดทัง้ หมด 12 คน ซึ่งพนักงานร้อยละ 58.00 ของพนักงานที่ลาคลอดทั้งหมด ใช้สิทธิ์ลาคลอดเต็มตามสิทธิ์คือ 90 วัน โดยพนักงานทั้งหมด กลับมาปฏิบตั งิ านตามปกติหลังลาคลอด และพนักงานทีล่ าคลอด ในปี 2561 - 2562 ทุกคนยังปฏิบตั งิ านต่อเนือ่ งจนถึงปัจจุบนั นอกจากนี้ ในปี 2562 ได้มกี ารประกาศพระราชบัญญัตคิ มุ้ ครอง แรงงาน (ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2562 ซึง่ มีการเปลีย่ นแปลงจ�ำนวนวัน ลาคลอดให้ลกู จ้างลาคลอดได้ 98 วัน (รวมวันหยุด) ซึง่ กลุม่ บริษทั ได้ประกาศแก้ไขข้อบังคับเกี่ยวกับการท�ำงานให้สอดคล้องกับ กฎหมายเช่นกัน
รายงานความยั่งยืน 2562 #สะกิดไทยใส่ใจน�้ำ
69
การให้ความเคารพสิทธิมนุษยชน การปฏิบตั ติ อ่ พนักงานทุกคนอย่างเท่าเทียมกันเป็นนโยบายด้านสิทธิมนุษยชนทีบ่ ริษทั ยึดมัน่ โดยได้ประกาศไว้ในนโยบายความยัง่ ยืนของบริษทั ในปี 2562 ในหัวข้อเรือ่ งสิทธิมนุษยชนและการจ้างงานเพือ่ ขับเคลือ่ นเศรษฐกิจอย่างยัง่ ยืน ซึง่ ให้ความส�ำคัญกับการปฏิบตั ติ อ่ พนักงาน อย่างเท่าเทียม เป็นธรรม ส่งเสริมการจ้างงานผูด้ อ้ ยโอกาสและคนพิการโดยไม่เลือกปฏิบตั ิ โดยในปี 2562 กลุม่ บริษทั มีการจ้างงานผูพ้ กิ าร จ�ำนวน 4 คน นอกจากให้โอกาสในการท�ำงานแล้ว ยังมอบความเท่าเทียมในการปฏิบตั งิ านตามความรูค้ วามสามารถ การจ่ายค่าจ้างเงินเดือน และสวัสดิการทีไ่ ด้รบั ตลอดจนการพัฒนาความรูค้ วามสามารถเพือ่ เพิม่ ศักยภาพในการปฏิบตั งิ านให้กบั ผูพ้ กิ ารตามต�ำแหน่งงานอีกด้วย มาตรา
บริษัท
มาตรา
มาตรา
33
34
35
ป 2560
ป 2560
ป 2560
ป 2562
ป 2562
ป 2562
การรับคนพิการเขาทํางาน
ป 2561
*
การสงเงินเขากองทุนสงเสริม และพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ
ป 2561
สัมปทานจัดสถานที่ จําหนายสินคาและบริการ
ป 2561
หมายเหตุ : * จ�ำนวนสูงกว่าที่กฎหมายก�ำหนด
มาตรา
บริษัทในเครือ
มาตรา
33
34
ป 2560
ป 2560
ป 2562
ป 2562
การรับคนพิการเขาทํางาน
ป 2561
การสงเงินเขากองทุนสงเสริม และพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ
ป 2561
นอกจากนีบ้ ริษทั ได้เริม่ ให้ความรูก้ บั พนักงานเกีย่ วกับเรือ่ งสิทธิมนุษยชน โดยในปี 2562 ได้คดั เลือกพนักงานทีเ่ กีย่ วข้องจ�ำนวน 2 คน เข้าอบรมหลักสูตรเกีย่ วกับธุรกิจเกีย่ วกับสิทธิมนุษยชน (Business and Human Rights) เพือ่ น�ำมาพัฒนางานต่อไป การคุม้ ครองข้อมูลส่วนบุคคล จากการทีพ่ ระราชบัญญัตคิ มุ้ ครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 ได้ประกาศใช้เมือ่ วันที่ 27 พฤษภาคม 2562 โดยมีวตั ถุประสงค์ ในการป้องกันข้อมูลส่วนบุคคลจากการเก็บรวบรวม ใช้ เปิดเผย ผิดวัตถุประสงค์ โดยก�ำหนดกลไกการจัดการข้อมูลส่วนบุคคล ทีเ่ หมาะสม รวมทัง้ เพือ่ ให้เจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลได้รบั ความคุม้ ครอง และสามารถตรวจสอบและควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลของตนเอง อย่างเหมาะสมได้นนั้ เพือ่ เป็นการปฏิบตั ติ ามพระราชบัญญัตดิ งั กล่าว บริษทั ได้ประกาศ นโยบายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล (Privacy Policy) ซึ่งระบุ วัตถุประสงค์ในการจัดเก็บข้อมูล หลักเกณฑ์การเก็บรวบรวมข้อมูล ส่วนบุคคล การรักษาความมัน่ คงปลอดภัยของข้อมูลส่วนบุคคล รวมถึงสิทธิของเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลอีกด้วย ซึง่ ข้อมูลส่วนบุคคล ที่บริษัทจัดเก็บ เช่น ข้อมูลส่วนบุคคลของพนักงาน หรือข้อมูล ส่วนบุคคลของคูค่ า้ เป็นต้น โครงการบริษทั เกษียณสุข ในปี 2562 กลุม่ บริษทั ได้เข้าร่วมโครงการบริษทั เกษียณสุข ซึง่ เป็น โครงการซึง่ เป็นความร่วมมือของส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับหลัก ทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) ร่วมกับ ตลาดหลักทรัพย์แห่ง ประเทศไทย สมาคมกองทุนส�ำรองเลีย้ งชีพ สมาคมบริษทั จัดการ ลงทุน และบริษทั หลักทรัพย์จดั การกองทุน (บลจ.) ทีใ่ ห้บริการ บริหารกองทุนส�ำรองเลีย้ งชีพ เพือ่ ให้ลกู จ้างทีเ่ ป็นสมาชิกกองทุน
ส�ำรองเลีย้ งชีพมีเงินเก็บทีเ่ พียงพอส�ำหรับการด�ำเนินชีวติ หลังเกษียณ ได้อย่างมีความสุข โดยกลุม่ บริษทั ได้เข้าร่วมโครงการบริษทั เกษียณสุข และผ่านการ ประเมินตามเกณฑ์ต่าง ๆ ที่ก�ำหนด เช่น การจัดให้มีนโยบาย การลงทุนทีเ่ หมาะสมกับพนักงานในช่วงอายุตา่ ง ๆ การให้ความรู้ กับพนักงานเกีย่ วกับกองทุนส�ำรองเลีย้ งชีพ และนโยบายการลงทุน การเปิดให้พนักงานสะสมเงินเข้ากองทุนได้สงู สุดตามทีก่ ฎหมาย ก�ำหนด เป็นต้น ซึง่ กลุม่ บริษทั ได้รบั การประเมินผ่านเกณฑ์ทงั้ หมด และ เมือ่ วันที่ 16 ตุลาคม 2562 กลุม่ บริษทั ได้เข้ารับรางวัลระดับเหรียญทอง จากส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) อันแสดงให้เห็นถึงความมุ่งมั่นตั้งใจของกลุ่มบริษัท ในการดูแลพนักงานให้มคี วามมัน่ คง อันจะส่งผลให้พนักงานกลุม่ บริษทั ร้อยละ 92.92 สมัครเป็นสมาชิกกองทุนฯ และพนักงานกลุม่ บริษทั ร้อยละ 61.19 เลือกจ่ายเงินสะสมตัง้ แต่รอ้ ยละ 10.00 ขึน้ ไป โครงการร่วมใจจาก (Mutual Separation Plan) ในปี 2562 กลุ่มบริษัทจัดให้มีโครงการร่วมใจจาก (Mutual Separation Plan) เป็นกรณีพเิ ศษ เพือ่ เปิดโอกาสให้พนักงาน มีทางเลือกในการวางแผนชีวติ ของตนเองโดยไม่ตอ้ งรอให้เกษียณอายุ จากการท�ำงาน โดยได้รบั ค่าตอบแทนมากกว่าทีก่ ฎหมายก�ำหนดไว้ ส�ำหรับพนักงานทีเ่ ข้าร่วมโครงการร่วมใจจาก บริษทั ได้ให้ความรูใ้ น เรือ่ งกฎหมายผูส้ งู อายุ การดูแลสุขภาพ และการฝึกอาชีพเพือ่ ให้ สามารถยังชีพได้อย่างเป็นสุขหลังเกษียณอายุจากกลุม่ บริษทั ไปแล้ว
70
รายงานความยั่งยืน 2562 บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)
การสื่อสารและกิจกรรมสัมพันธ์ กิจกรรมสัมพันธ์ กลุม่ บริษทั จัดให้มกี ารสือ่ สารภายในเพือ่ ให้พนักงานทราบถึงภาพรวมของบริษทั การด�ำเนินธุรกิจ แนวนโยบาย และเป้าหมายในแต่ละปี เป็นการสร้างความเข้าใจร่วมกันเพื่อให้การท�ำงานเกิดการประสานงาน ร่วมมือร่วมใจซึ่งจะส่งผลถึงประสิทธิภาพและประสิทธิผล ในการด�ำเนินงานของกลุม่ บริษทั • CEO พบพนักงาน มีวตั ถุประสงค์เพือ่ ให้ผบู้ ริหารได้สอื่ สารภาพรวม เป้าหมาย นโยบาย แผนงาน และกลยุทธ์ประจ�ำปี เพือ่ ให้พนักงาน มีความเข้าใจในแนวทางเดียวกัน จัดขึน้ เมือ่ วันที่ 28 มีนาคม 2562 มีพนักงานบริษทั เข้าร่วมงานทัง้ หมด 181 คน และจัดครัง้ ที่ 2 ในวันที่ 20 ธันวาคม 2562 มีพนักงานกลุม่ บริษทั เข้าร่วมงานทัง้ หมด 306 คน โดยผูบ้ ริหารได้สอื่ สารให้พนักงานทราบถึง นโยบายในการขยาย การลงทุนในธุรกิจน�ำ้ ครบวงจร เพือ่ การเติบโตอย่างต่อเนือ่ งและยัง่ ยืน • CG Day เพือ่ เป็นการส่งเสริมการพัฒนาอย่างยัง่ ยืนและการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ี โดยการส่งเสริมความรูด้ า้ น CG ให้กบั พนักงาน บริษทั จึงได้จดั งานภายใต้ชอื่ “EWG Love CG พนักงาน SHARP ฉลาดต้านโกง” ขึน้ เมือ่ วันที่ 16 ตุลาคม 2562 ทีโ่ รงภาพยนตร์ เอสพลานาด ถนนรัชดาภิเษก โดยจัดฉายภาพยนตร์เรือ่ งฉลาดเกมส์โกง และเชิญคุณเกตุเสพย์สวัสดิ์ ปาลกะวงศ์ ณ อยุธยา (น้าเน็ก) มาสรุปข้อคิดจากการชมภาพยนตร์ และในวันเดียวกันได้จดั ให้มกี ารแข่งขันโบว์ลงิ่ พนักงาน ซึง่ เป็นกิจกรรมกีฬาประจ�ำปีเพือ่ สร้าง ความสัมพันธ์ระหว่างพนักงานในหน่วยงานต่าง ๆ มีพนักงานกลุม่ บริษทั เข้าร่วมงานทัง้ หมด 290 คน กิจกรรมด้าน CSR กลุม่ บริษทั ได้จดั กิจกรรมด้าน CSR ในหลายโอกาสเพือ่ ให้พนักงาน ได้มโี อกาสเข้าร่วมในกิจกรรมทีส่ นใจ สร้างการมีสว่ นร่วมในการ รับผิดชอบต่อสังคมและสิง่ แวดล้อม เช่น • การบริจาคโลหิต ในปี 2562 ได้จัดกิจกรรมบริจาคโลหิต จ�ำนวน 4 ครัง้ จ�ำนวนโลหิตทีไ่ ด้รบั ทัง้ หมด100,350 ซซี ี ซงึ่ ช่วยเหลือ ผูป้ ว่ ยได้ประมาณ 287 คน (ผูป้ ว่ ยหนึง่ คนใช้โลหิตประมาณ 350 ซีซ)ี ซึง่ กิจกรรมนีจ้ ดั ต่อเนือ่ งมาตัง้ แต่ปี 2550 โดยร่วมกับ ศูนย์อำ� นวยการแพทย์พระมงกุฎเกล้า
• การจัดกิจกรรมปลูกปะการังเทียม เพือ่ เป็นการปลูกจิตส�ำนึก รู้จักการอนุรักษ์เพื่อรักษาสมดุลใต้ท้องทะเล เนื่องจากแนว ปะการังมีความส�ำคัญต่อระบบนิเวศ เป็นแหล่งอนุบาลและ ที่ อ ยู ่ อ าศั ย ของสิ่ ง มี ชี วิ ต ใต้ น�้ ำ และยั ง ช่ ว ยก� ำ บั ง คลื่ น ลม ช่วยป้องกันอันตรายต่อชายฝั่งได้เป็นอย่างดี ซึ่งมีพนักงาน ให้ความสนใจเข้าร่วมกิจกรรมเป็นจ�ำนวน 90 คน การจัดกิจกรรม CSR ทัง้ หมดจะช่วยส่งเสริมให้พนักงานมีสว่ นร่วมในการ ท�ำกิจกรรมเพือ่ สังคม ทัง้ ในด้านสิง่ แวดล้อม กีฬา และการช่วยเหลือ ชุมชน รวม 149 คน คิดเป็นร้อยละ 40.27 ของพนักงานกลุม่ บริษทั ทัง้ หมด
• • •
การสนับสนุนให้พนักงานเข้าร่วมกิจกรรม CSR ทีบ่ ริษทั จัดขึน้ เช่น กิจกรรมปลูกพันธุ์ไม้เสริมป่าชุมชนที่บ้านสามพราน อ�ำเภอท่าตะเกียบ จังหวัดฉะเชิงเทรา และที่บ้านหนองม่วง อ�ำเภอวังจันทร์ จังหวัดระยอง กฐินสามัคคีประจ�ำปี 2562 เป็นต้น การเชิญชวนพนักงานร่วมบริจาคสิง่ ของเหลือใช้ เช่น เสือ้ ผ้า เครือ่ งส�ำอาง หนังสือ เพือ่ รวบรวมบริจาคให้กบั มูลนิธติ า่ ง ๆ กลุ่มบริษัทสนับสนุนให้มีการตั้งชมรมต่าง ๆ เพื่อสนับสนุน กิจกรรมของพนักงานในด้านกีฬา สุขภาพ และสันทนาการ เพือ่ สร้างความสัมพันธ์ในกลุม่ พนักงาน ทัง้ นี้ ในปี 2562 ชมรมวิง่ ชมรมจักรยาน และชมรมจิตอาสาวาไรตี้ มีกิจกรรมการวิ่ง สะสมระยะทางและน�ำเงินบริจาคให้โรงเรียนสอนคนตาบอด รวมทัง้ กิจกรรมเพือ่ สังคม อาทิ การเก็บขยะทีเ่ กาะล้าน การเลีย้ ง อาหารกลางวันเด็กพิการ และการบริจาคอาหารให้สตั ว์ เป็นต้น
ข้อร้องเรียนจากพนักงาน กลุม่ บริษทั มีระบบข้อร้องเรียนและแจ้งเบาะแส (Whistleblower System) ซึง่ เป็นไปตามหลักสากล เพือ่ เป็นช่องทางให้กรรมการ ผูบ้ ริหาร พนักงาน และผูม้ สี ว่ นได้เสียทุกกลุม่ สามารถร้องเรียน แจ้งเบาะแส หรือข้อเสนอแนะ ซึง่ ผูร้ อ้ งเรียนสามารถด�ำเนินการ ผ่านช่องทางต่าง ๆ ดังต่อไปนี้ • เว็บไซต์บริษทั • จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ถึงคณะกรรมการตรวจสอบ หรือ กรรมการผูอ้ ำ� นวยการใหญ่ หรือเลขานุการบริษทั • กล่องรับความคิดเห็น ทีส่ ำ� นักงานกรุงเทพฯ และส�ำนักงานระยอง • จดหมายถึงคณะกรรมการตรวจสอบ ณ สิ้นปี 2562 มีการแจ้งข้อร้องเรียน 1 ประเด็น โดยอยู่ระหว่าง การรวบรวมข้อเท็จจริงตามกระบวนการด�ำเนินการเมื่อได้รับ ข้อร้องเรียน ทีก่ ำ� หนดไว้ในจรรยาบรรณทางธุรกิจของกลุม่ บริษทั
รายงานความยั่งยืน 2562 #สะกิดไทยใส่ใจน�้ำ
71
การแบ่งปันความรู้สู่สังคม 1 การจั ด ท� ำ บั น ทึ ก ความร่ ว มมื อ กั บ สถาบั น การอาชี ว ศึ ก ษาภาคตะวั น ออกในการให้ ก ารสนั บ สนุ น การพั ฒ นาบุ ค ลากร และนักศึกษาเพื่อเตรียมความพร้อมสู่ EEC กลุ่มบริษัทได้จัดท�ำบันทึกความร่วมมือ (MOU) กับสถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออก ส�ำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ในการร่วมมือกันพัฒนาวิชาการและศักยภาพของบุคลากรทางการศึกษา แลกเปลีย่ นองค์ความรูร้ ะหว่างสถาบันกับบริษทั และบริษทั ในเครือ รวมถึงเพื่อสนับสนุนและเตรียมความพร้อมของนักศึกษาสู่โ ครงการเขตพั ฒ นาพิ เ ศษภาคตะวั น ออก (อี อี ซี ) โดยกลุ่มบริษัท จะสนับสนุนการรับนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชัน้ สูง (ปวส.) สาขาวิชาชีพช่างเทคนิคของสถาบัน เข้าฝึกงานกับกลุม่ บริษทั อย่างน้อยปีการศึกษาละ 2 คน ให้การสนับสนุนบุคลากรและนักศึกษาทีป่ ฏิบตั งิ านในโครงการเข้ารับการฝึกอบรม ศึกษาดูงาน ถ่ายทอด เทคโนโลยีของกลุ่มบริษัท รวมทั้งการร่วมพัฒนาหลักสูตรระบบทวิภาคีในสาขาที่ร่วมมือกันจัดการเรียนการสอนระบบทวิภาคี ในปี 2562 นี้ กลุม่ บริษทั ร่วมกับสถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออก ได้เริม่ การจัดอบรมหลักสูตร “เทคนิคการสอนงาน” ในรุน่ ที่ 1 เพือ่ พัฒนา ทักษะการเป็นครูผฝู้ กึ สอนภายในองค์กร โดยวิทยากรจากกรมพัฒนาฝีมอื แรงงาน มีผเู้ ข้าอบรมจ�ำนวน 40 คน เป็นพนักงานกลุม่ บริษทั จ�ำนวน 30 คน และบุคลากรจากสถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออก จ�ำนวน 10 คน เมือ่ วันที่ 19 - 20 กันยายน 2562 และ 25 - 26 กันยายน 2562 รวม 4 วัน ถือเป็นการน�ำร่องการท�ำงานร่วมกันในด้านการศึกษา เพือ่ พัฒนาทักษะของบุคลากร 2 การรับนักศึกษาฝึกงาน กลุม่ บริษทั มีโครงการเปิดประสบการณ์การเรียนรูจ้ ากการปฏิบตั งิ านจริงให้กบั เยาวชน ในโครงการนักศึกษาฝึกงาน เพือ่ พัฒนาศักยภาพ ให้นสิ ติ นักศึกษาทีเ่ ข้าร่วมโครงการ ซึง่ มีนสิ ติ นักศึกษาทีเ่ ข้าร่วมโครงการ ดังนี้
ขอมูลการรับ นักศึกษาฝกงาน ป 2560 - 2562
ระดับ ปริญญาตรี
ระดับ อนุปริญญา
รวม
ป 2561
ป 2561
ป 2561
ป 2560 ป 2562
ป 2560 ป 2562
ป 2560 ป 2562
ทัง้ นี้ กลุม่ บริษทั จัดให้มพี เี่ ลีย้ งดูแลตลอดการฝึกงาน มีการประกันอุบตั เิ หตุและการประกันชีวติ ค่าเบีย้ เลีย้ งในการฝึกงานตามทีก่ ฎหมาย ก�ำหนด (เป็นไปตามประกาศกระทรวงแรงงานเรือ่ งหลักเกณฑ์เกีย่ วกับการคุม้ ครองผูร้ บั การฝึกเตรียมเข้าท�ำงาน หมวด 2 ข้อ 10 และข้อ 11 กลุ่มบริษัทต้องจ่ายเบี้ยเลี้ยงไม่น้อยกว่าร้อยละห้าสิบของอัตราค่าจ้างขั้นต�่ำสูงสุดที่ใช้อยู่ในขณะนั้นและก�ำหนดการจ่ายเบี้ยเลี้ยง ให้ผรู้ บั การฝึกงานไม่นอ้ ยกว่าเดือนละหนึง่ ครัง้ ) 3 โครงการพัฒนานักบริหารการเปลี่ยนแปลงรุ่นใหม่ (นปร.) ของสถาบันส่งเสริมการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี ส�ำนักงาน คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (ก.พ.ร.) บริษทั ได้รบั คัดเลือกจากสถาบันส่งเสริมการบริหารกิจการบ้านเมืองทีด่ ี ส�ำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (ก.พ.ร.) ให้เป็น ส่วนหนึง่ ของโครงการพัฒนานักบริหารการเปลีย่ นแปลงรุน่ ใหม่ (นปร.) ตัง้ แต่ปี 2554 จนถึงปัจจุบนั ต่อเนือ่ งเป็นปีที่ 9 มีขา้ ราชการทีเ่ ข้า มาฝึกงานกับบริษทั จ�ำนวน 9 คน โดยผูบ้ ริหารระดับสูงท�ำหน้าทีค่ รูผฝู้ กึ สอน (Mentor) ให้กบั ข้าราชการเหล่านัน้ ซึง่ ถือเป็นการสร้าง และพัฒนาข้าราชการรุน่ ใหม่ให้เป็นผูน้ ำ� การเปลีย่ นแปลงในหน่วยงานภาครัฐ และเป็นก�ำลังทีส่ ำ� คัญในการพัฒนาประเทศต่อไป โดยบริษทั และข้าราชการในโครงการฯ ร่วมกันจัดท�ำแผนการเรียนรูง้ าน โดยก�ำหนดแนวทาง วิธกี าร ระยะเวลา รายละเอียดการปฏิบตั งิ าน และการประเมินผล ซึง่ จะครอบคลุมในด้านความรู้ ความสามารถ ทักษะ และประสบการณ์ อาทิ • ด้านการเป็นผูน้ ำ � (Leadership) และการเป็นผูบ้ ริหารหน่วยงานภาคเอกชน • ด้านการบริหารจัดการองค์กร (Organizational Management) • ด้านการจัดท�ำหรือด�ำเนินงานยุทธศาสตร์โครงการและแผนงานต่าง ๆ นอกจากกรรมการผูอ้ ำ� นวยการใหญ่ จะเป็นผูร้ บั ผิดชอบถ่ายทอดประสบการณ์โดยตรงแล้ว ยังมอบหมายให้ผบู้ ริหารทีเ่ กีย่ วข้องร่วมถ่ายทอด ความรูธ้ รุ กิจขององค์กรด้วย พร้อมกันนีย้ งั เปิดโอกาสให้ขา้ ราชการในโครงการฯ น�ำเสนอมุมมองทีเ่ ป็นประโยชน์ตอ่ องค์กร เพือ่ เป็นแนวทาง ในการพัฒนาให้มปี ระสิทธิภาพมากยิง่ ขึน้
72
รายงานความยั่งยืน 2562 บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)
ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการท�ำงาน (Disclosure 403-1, 403-5, 403-9)
หนองปลาไหล 1 อุบัติเหตุประเภทการตกจากที่สูง ซึ่งหลังจาก เกิดเหตุดงั กล่าวบริษทั ได้นำ� ส่งโรงพยาบาลเพือ่ ท�ำการรักษาในทันที
บริษัทให้ความส�ำคัญกับการบริหารจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการท�ำงาน โดยมีเป้าหมาย “อุบตั เิ หตุจากการท�ำงานเป็นศูนย์” ซึง่ นอกจากการปฏิบตั งิ าน ที่สอดคล้องตามกฎหมายแล้วยังถือปฏิบัติตามมาตรฐานต่าง ๆ ทีเ่ กีย่ วข้อง เพือ่ สร้างสภาพแวดล้อมการท�ำงานทีป่ ลอดภัย เสริมสร้าง คุณภาพชีวิตในการท�ำงานที่ดีแก่พนักงาน คู่ค้า และผู้รับเหมา
กรณีการเกิดอุบตั เิ หตุขา้ งต้น บริษทั ได้ตงั้ คณะกรรมการสอบสวน เพือ่ วิเคราะห์หาสาเหตุและแนวทางการป้องกันเพือ่ ไม่ให้เกิดเหตุซำ�้ ขึน้ โดยมีมาตรการด�ำเนินการประชาสัมพันธ์การท�ำงานในทีส่ งู จากการใช้ บันได ให้พนักงานรับทราบและตระหนักถึงความปลอดภัยในการท�ำงาน
ทัง้ นีใ้ นปี 2562 มีอตั ราการเกิดอุบตั เิ หตุของพนักงานขัน้ บาดเจ็บ ปานกลาง (ระดับ Recordable work-related injuries) จ�ำนวน 1 ครัง้ เป็นพนักงานชาย จ�ำนวน 1 ราย จากกรณีตกบันไดทีส่ ถานีสบู น�ำ้
ส�ำหรับอัตราการเกิดโรคจากการท�ำงาน รายละเอียดอัตราการบาดเจ็บ และเสียชีวิตจากการท�ำงานแสดงดังตารางต่อไปนี้
ตารางสรุปจ�ำนวนการเกิดอุบัติเหตุรวม - พนักงาน (Injury Frequency Rate : IFR) (ตารางที่ 1) การบาดเจ็บจากการท�ำงานรวม พนักงานบริษัท
พ.ศ. 2558
2559
2560
2561
2562
จ�ำนวนผู้บาดเจ็บ (คน)
ช
ญ
ช
ญ
ช
ญ
ช
ญ
ช
ญ
รวม สนง.ใหญ่ (กทม.) - บาดเจ็บเล็กน้อย (First Aids) - บาดเจ็บปานกลาง (Recordable work-related injuries) - บาดเจ็บรุนแรง (High-consequence) รวมพื้นที่ปฏิบัติการ - บาดเจ็บเล็กน้อย (First Aids) - บาดเจ็บปานกลาง (Recordable work-related injuries) - บาดเจ็บรุนแรง (High-consequence) รวม 2 พื้นที่ อัตราการบาดเจ็บจากการท�ำงาน : IFR (คน ต่อ หนึ่งล้านชั่วโมงการท�ำงาน) อัตราการบาดเจ็บถึงขั้นหยุดงาน : ISR (วัน ต่อ หนึ่งล้านชั่วโมงการท�ำงาน)
0 0
0 0
0 0
1 1
0 0
0 0
0 0
0 0
0 0
0 0
0
0
0
0
0
0
0
0
0
0
0 0 0
0 0 0
0 0 0
0 0 0
0 0 0
0 0 0
0 2 2
0 0 0
0 1 0
0 0 0
0
0
0
0
0
0
0
0
1
0
0 0
0 0
0 0
0 1
0 0
0 0
0 2
0 0
0 1
0 0
0.00
0.00
0.00
4.64
2.33
0.00
0.00
0.00
2.32
60.54
อัตราการบาดเจ็บถึงขั้นหยุดงาน (Lost Time Injury Rate : LTIR) = (จ�ำนวนรายที่ได้รับบาดเจ็บถึงขั้นหยุดงาน x 1,000,000)/จ�ำนวนชั่วโมงการท�ำงานทั้งหมดแยกเพศ ชาย = 4.55 หญิง = 0.00 อัตราความรุนแรงการบาดเจ็บ (Lost Day Injury Rate : LDIR) = (จ�ำนวนวันหยุดงาน x 1,000,000)/จ�ำนวนชั่วโมงการท�ำงานทั้งหมดแยกเพศ ชาย = 118.32 หญิง = 0.00 อัตราการบาดเจ็บทุกประเภท (Injury Rate : IR) = (จ�ำนวนรายที่ได้รับบาดเจ็บทั้งหมด x 1,000,000)/จ�ำนวนชั่วโมงการท�ำงานทั้งหมดแยกเพศ ชาย = 4.55 หญิง = 0.00
รายงานความยั่งยืน 2562 #สะกิดไทยใส่ใจน�้ำ
73
ตารางสรุปจ�ำนวนการเกิดอุบัติเหตุรวม - พนักงานบริษัทในเครือ (Injury Frequency Rate : IFR) (ตารางที่ 2) การบาดเจ็บจากการท�ำงานรวม พนักงานในเครือ จ�ำนวนผู้บาดเจ็บ (คน)
พ.ศ. 2558 ญ
ช
ญ
2560 ช
ญ
2561 ช
2562
ญ
ช
ญ
รวม บริษัทในเครือ
N/A N/A N/A N/A N/A N/A N/A N/A
0
0
- บาดเจ็บเล็กน้อย (First Aids)
N/A N/A N/A N/A N/A N/A N/A N/A
0
0
- บาดเจ็บปานกลาง (Recordable work-related injuries)
N/A N/A N/A N/A N/A N/A N/A N/A
0
0
- บาดเจ็บรุนแรง (High-consequence)
N/A N/A N/A N/A N/A N/A N/A N/A
0
0
อัตราการบาดเจ็บจากการท�ำงาน : IFR (คน ต่อ หนึ่งล้านชั่วโมงการท�ำงาน) อัตราการบาดเจ็บถึงขั้นหยุดงาน : ISR (วัน ต่อ หนึ่งล้านชั่วโมงการท�ำงาน)
ช
2559
N/A
N/A
N/A
N/A
0.00
N/A
N/A
N/A
N/A
0.00
อัตราการบาดเจ็บถึงขั้นหยุดงาน (Lost Time Injury Rate : LTIR) = (จ�ำนวนรายที่ได้รับบาดเจ็บถึงขั้นหยุดงาน x 1,000,000)/จ�ำนวนชั่วโมงการท�ำงานทั้งหมดแยกเพศ ชาย = 0.00 หญิง = 0.00 อัตราความรุนแรงการบาดเจ็บ (Lost Day Injury Rate : LDIR) = (จ�ำนวนวันหยุดงาน x 1,000,000)/จ�ำนวนชั่วโมงการท�ำงานทั้งหมดแยกเพศ ชาย = 0.00 หญิง = 0.00 อัตราการบาดเจ็บทุกประเภท (Injury Rate : IR) = (จ�ำนวนรายที่ได้รับบาดเจ็บทั้งหมด x 1,000,000)/จ�ำนวนชั่วโมงการท�ำงานทั้งหมดแยกเพศ ชาย = 0.00 หญิง = 0.00
74
รายงานความยั่งยืน 2562 บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)
ในปี 2562 มีอตั ราการเกิดอุบตั เิ หตุของผูร้ บั เหมา และ Outsource ทีบ่ ริษทั ในเครือ ขัน้ บาดเจ็บปานกลาง (ระดับ Recordable workrelated injuries) จ�ำนวน 2 ครัง้ เป็น Outsource ชาย จ�ำนวน 2 ราย ดังนี้ 1. กรณีแรก Outsource ประปานครสวรรค์ จ�ำนวน 1 ราย จากการ ขับรถมาชนของรถคู่กรณี เป็นอุบัติเหตุประเภทการตกจาก อุบัติเหตุจากยานพาหนะ เนื่องจากขณะนั้นพนักงานอยู่ระหว่าง เก็บผิวจราจรหลังจากที่ปฏิบัติงานซ่อมท่อเสร็จ ท�ำให้พนักงาน ได้รบั บาดเจ็บเป็นแผลฟกช�ำ้ เล็กน้อย ในกรณีนบี้ ริษทั ได้ดำ� เนินการ แจ้งให้ทางหน่วยงานรับทราบทุกครั้งที่มีการปฏิบัติงานซ่อมท่อ ริมถนนเวลากลางคืน ให้จัดหาอุปกรณ์เพิ่มแสงสว่างเพิ่มเติม
ในบริเวณทีม่ ดื และเปิดไฟให้สญั ญาณทุกครัง้ เพือ่ ให้รถคันอืน่ มองเห็นได้ ในระยะทีป่ ลอดภัย รวมทัง้ มีการติดป้ายเตือนให้ระวังก่อนถึงบริเวณทีม่ ี การซ่อมท่อ และพนักงานสวมใส่เสือ้ สะท้อนแสงเพือ่ ให้มองเห็นได้ชดั เจน 2. กรณีทสี่ อง Outsource ประปาระยอง จ�ำนวน 1 ราย จากการ เกิดอาการหน้ามืดหมดสติกะทันหัน ท�ำให้ลม้ ลงศีรษะไปกระแทก พืน้ ได้รบั บาดเจ็บ เนือ่ งจากพักผ่อนไม่เพียงพอ กรณีนบี้ ริษทั ได้ ด�ำเนินการให้หัวหน้างานสังเกตการณ์ และส�ำรวจสภาพความ พร้อมของร่างกายในเบือ้ งต้น ก่อนให้พนักงานไปปฏิบตั งิ าน และ ควบคุมให้ไม่มกี ารควบกะโดยท�ำงานติดต่อกันหลายชัว่ โมงเกินกว่า เกณฑ์ทกี่ ำ� หนดไว้ และก�ำชับให้พนักงานต้องสวมใส่หมวกนิรภัย ทุกครัง้ ทีเ่ ข้าพืน้ ทีป่ ฏิบตั งิ าน
ตารางสรุปจ�ำนวนและความรุนแรงในการเกิดอุบตั เิ หตุ - ผูร้ บั เหมา และ Outsource อีสท์ วอเตอร์สำ� นักงานใหญ่ (ตารางที่ 3) 2561
โครงการ/ งานผู้รับเหมาช่วงท�ำ/ Outsource
รวมจ�ำนวน ผูบ ้ าดเจ็บ (คน)
ช
ญ
อัตรา การ บาดเจ็บ จากการ ท�ำงาน
ความรุนแรง ของการบาดเจ็บ
อัตรา การ บาดเจ็บ ถึงขั้น หยุดงาน
ปานกลาง รุนแรง เล็กน้อย (Recordable (High(First Aids) work-related consequence) IFR injuries)
ช
งานรักษาความสะอาด
2562
ญ
ช
ญ
ช
ISR
รวมจ�ำนวน ผูบ ้ าดเจ็บ (คน)
ช
ญ
ญ
อัตรา การ บาดเจ็บ จากการ ท�ำงาน
ความรุนแรง ของการบาดเจ็บ
ปานกลาง รุนแรง เล็กน้อย (Recordable (High(First Aids) work-related consequence) IFR injuries)
ช
ญ
ช
ญ
ช
ญ
อัตรา การ บาดเจ็บ ถึงขัน ้ หยุดงาน
ISR
N/A N/A N/A N/A N/A N/A N/A N/A N/A N/A
0
0
0
0
0
0
0
0 0.00 0.00
งานรักษาความปลอดภัย N/A N/A N/A N/A N/A N/A N/A N/A N/A N/A
0
0
0
0
0
0
0
0 0.00 0.00
งานบ�ำรุงรักษาสวน
N/A N/A N/A N/A N/A N/A N/A N/A N/A N/A
0
0
0
0
0
0
0
0 0.00 0.00
งานบริหารอาคาร
N/A N/A N/A N/A N/A N/A N/A N/A N/A N/A
0
0
0
0
0
0
0
0 0.00 0.00
รวมสถิตคิ วามปลอดภัย การเกิดอุบตั เิ หตุจากการท�ำงานประกอบด้วยผูร้ บั เหมาช่วงโครงการขนาดใหญ่ เฉพาะงานทีม่ สี ญ ั ญา จ�ำนวน 64 คน ซึง่ ไม่รวมพืน้ ทีป่ ฏิบตั กิ าร
* จ�ำนวนชั่วโมงการท�ำงานต่อคนต่อปี (ผู้รับเหมา) = 365 วัน x 8 ชม. = 2,920 ชม.
อัตราการบาดเจ็บถึงขั้นหยุดงาน (Lost Time Injury Rate : LTIR) = (จ�ำนวนรายที่ได้รับบาดเจ็บถึงขั้นหยุดงาน x 1,000,000)/จ�ำนวนชั่วโมงการท�ำงานทั้งหมดแยกเพศ ชาย = 0.00 หญิง = 0.00 อัตราความรุนแรงการบาดเจ็บ (Lost Day Injury Rate : LDIR) = (จ�ำนวนวันหยุดงาน x 1,000,000)/จ�ำนวนชั่วโมงการท�ำงานทั้งหมดแยกเพศ ชาย = 0.00 หญิง = 0.00 อัตราการบาดเจ็บทุกประเภท (Injury Rate : IR) = (จ�ำนวนรายที่ได้รับบาดเจ็บทั้งหมด x 1,000,000)/จ�ำนวนชั่วโมงการท�ำงานทั้งหมดแยกเพศ ชาย = 0.00 หญิง = 0.00
รายงานความยั่งยืน 2562 #สะกิดไทยใส่ใจน�้ำ
75
ตารางสรุปจ�ำนวนและความรุนแรงในการเกิดอุบตั เิ หตุ - ผูร้ บั เหมา และ Outsource อีสท์ วอเตอร์พนื้ ทีป่ ฏิบตั กิ าร (ตารางที่ 4) 2561
โครงการ/ งานผู้รับเหมาช่วงท�ำ/ Outsource
รวมจ�ำนวน ผู้บาดเจ็บ (คน)
ช
ญ
2562 อัตรา การ บาดเจ็บ จากการ ท�ำงาน
ความรุนแรง ของการบาดเจ็บ
อัตรา การ รวมจ�ำนวน บาดเจ็บ ผู้บาดเจ็บ ถึงขั้น (คน) หยุดงาน
ปานกลาง รุนแรง เล็กน้อย (Recordable (High(First Aids) work-related consequence) IFR injuries)
ช
ญ
ช
ญ
ช
ญ
ISR
ช
ญ
อัตรา การ บาดเจ็บ จากการ ท�ำงาน
ความรุนแรง ของการบาดเจ็บ
ปานกลาง รุนแรง เล็กน้อย (Recordable (High(First Aids) work-related consequence) IFR injuries)
ช
ญ
ช
ญ
ช
ญ
อัตรา การ บาดเจ็บ ถึงขั้น หยุดงาน
ISR
โครงการผลิต น�้ำอุตสาหกรรม นิคมอุตสาหกรรมอมตะ ซิตี้
0
0
0
0
0
0
0
0 0.00 0.00 0
0
0
0
0
0
0
0 0.00 0.00
โครงการเส้นท่อ หนองค้อ 2
0
0
0
0
0
0
0
0 0.00 0.00 0
0
0
0
0
0
0
0 0.00 0.00
โครงการสระพักน�้ำดิบ ทับมา
0
0
0
0
0
0
0
0 0.00 0.00 0
0
0
0
0
0
0
0 0.00 0.00
โครงการสถานีสูบน�้ำ คลองเขื่อน
0
0
0
0
0
0
0
0 0.00 0.00 0
0
0
0
0
0
0
0 0.00 0.00
งานจ้างเจ้าหน้าที่รักษา ความปลอดภัย
0
0
0
0
0
0
0
0 0.00 0.00 0
0
0
0
0
0
0
0 0.00 0.00
งานบ�ำรุงรักษาพันธุ์ไม้
0
0
0
0
0
0
0
0 0.00 0.00 0
0
0
0
0
0
0
0 0.00 0.00
งานบริการรักษา ความสะอาด
0
0
0
0
0
0
0
0 0.00 0.00 0
0
0
0
0
0
0
0 0.00 0.00
งานจ้างบุคลากร (Shift Staff)
0
0
0
0
0
0
0
0 0.00 0.00 0
0
0
0
0
0
0
0 0.00 0.00
งานจ้างบุคลากร (Day Time)
0
0
0
0
0
0
0
0 0.00 0.00 0
0
0
0
0
0
0
0 0.00 0.00
รวมสถิตคิ วามปลอดภัย การเกิดอุบตั เิ หตุจากการท�ำงานประกอบด้วยผูร้ บั เหมาช่วงโครงการขนาดใหญ่ เฉพาะงานทีม่ สี ญ ั ญา จ�ำนวน 505 คน ซึง่ ไม่รวมส�ำนักงานใหญ่
* จ�ำนวนชั่วโมงการท�ำงานต่อคนต่อปี (ผู้รับเหมา) = 365 วัน x 8 ชม. = 2,920 ชม.
อัตราการบาดเจ็บถึงขั้นหยุดงาน (Lost Time Injury Rate : LTIR) = (จ�ำนวนรายที่ได้รับบาดเจ็บถึงขั้นหยุดงาน x 1,000,000)/จ�ำนวนชั่วโมงการท�ำงานทั้งหมดแยกเพศ ชาย = 0.00 หญิง = 0.00 อัตราความรุนแรงการบาดเจ็บ (Lost Day Injury Rate : LDIR) = (จ�ำนวนวันหยุดงาน x 1,000,000)/จ�ำนวนชั่วโมงการท�ำงานทั้งหมดแยกเพศ ชาย = 0.00 หญิง = 0.00 อัตราการบาดเจ็บทุกประเภท (Injury Rate : IR) = (จ�ำนวนรายที่ได้รับบาดเจ็บทั้งหมด x 1,000,000)/จ�ำนวนชั่วโมงการท�ำงานทั้งหมดแยกเพศ ชาย = 0.00 หญิง = 0.00
76
รายงานความยั่งยืน 2562 บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)
ตารางสรุปจ�ำนวนและความรุนแรงในการเกิดอุบตั เิ หตุ - ผูร้ บั เหมา และ Outsource บริษทั ในเครือ (ตารางที่ 5) 2561
โครงการ/ งานผู้รับเหมาช่วงท�ำ/ Outsource
รวมจ�ำนวน ผู้บาดเจ็บ (คน)
ช
ญ
อัตรา การ บาดเจ็บ จากการ ท�ำงาน
ความรุนแรง ของการบาดเจ็บ
ปานกลาง รุนแรง เล็กน้อย (Recordable (High(First Aids) work-related consequence) IFR injuries)
ช
Outsource ประปาเกาะล้าน
2562
ญ
ช
ญ
ช
อัตรา การ รวมจ�ำนวน บาดเจ็บ ผู้บาดเจ็บ ถึงขั้น (คน) หยุดงาน
ISR
ช
ญ
ญ
อัตรา การ บาดเจ็บ จากการ ท�ำงาน
ความรุนแรง ของการบาดเจ็บ
ปานกลาง รุนแรง เล็กน้อย (Recordable (High(First Aids) work-related consequence) IFR injuries)
ช
ญ
ช
ญ
ช
ญ
อัตรา การ บาดเจ็บ ถึงขั้น หยุดงาน
ISR
N/A N/A N/A N/A N/A N/A N/A N/A N/A N/A
0
0
0
0
0
0
0
0 0.00 0.00
Outsource ประปาราชบุรี และบริษัท N/A N/A N/A N/A N/A N/A N/A N/A N/A N/A ราชบุรี กล๊าส อินดัสทรี จ�ำกัด
0
0
0
0
0
0
0
0 0.00 0.00
Outsource ประปาหัวรอ N/A N/A N/A N/A N/A N/A N/A N/A N/A N/A
0
0
0
0
0
0
0
0 0.00 0.00
Outsource ประปานครสวรรค์ และบริษัท อยุธยา กล๊าส N/A N/A N/A N/A N/A N/A N/A N/A N/A N/A อินดัสทรี จ�ำกัด
1
0
0
0
1
0
0
0 16.38 32.75
Outsource ประปาหลักชัยเมืองยางฯ N/A N/A N/A N/A N/A N/A N/A N/A N/A N/A
0
0
0
0
0
0
0
0 0.00 0.00
Outsource ประปาระยอง
N/A N/A N/A N/A N/A N/A N/A N/A N/A N/A
1
0
0
0
1
0
0
0 13.24 26.49
Outsource ประปาหนองขาม
N/A N/A N/A N/A N/A N/A N/A N/A N/A N/A
0
0
0
0
0
0
0
0 0.00 0.00
Outsource ประปาบ่อวิน
N/A N/A N/A N/A N/A N/A N/A N/A N/A N/A
0
0
0
0
0
0
0
0 0.00 0.00
Outsource ประปาสัตหีบ
N/A N/A N/A N/A N/A N/A N/A N/A N/A N/A
0
0
0
0
0
0
0
0 0.00 0.00
Outsource ประปาชลบุรี
N/A N/A N/A N/A N/A N/A N/A N/A N/A N/A
0
0
0
0
0
0
0
0 0.00 0.00
Outsource ประปาบางปะกง
N/A N/A N/A N/A N/A N/A N/A N/A N/A N/A
0
0
0
0
0
0
0
0 0.00 0.00
Outsource ประปาฉะเชิงเทรา
N/A N/A N/A N/A N/A N/A N/A N/A N/A N/A
0
0
0
0
0
0
0
0 0.00 0.00
Outsource ส�ำนักงานใหญ่
N/A N/A N/A N/A N/A N/A N/A N/A N/A N/A
0
0
0
0
0
0
0
0 0.00 0.00
รวมสถิติความปลอดภัย การเกิดอุบัติเหตุจากการท�ำงานประกอบด้วย Outsource ตามสถานที่ปฏิบัติงาน จ�ำนวน 211 คน
* จ�ำนวนชั่วโมงการท�ำงานต่อคนต่อปี (Outsource) = 365 วัน x 8 ชม. = 2,920 ชม.
อัตราการบาดเจ็บถึงขั้นหยุดงาน (Lost Time Injury Rate : LTIR) = (จ�ำนวนรายที่ได้รับบาดเจ็บถึงขั้นหยุดงาน x 1,000,000)/จ�ำนวนชั่วโมงการท�ำงานทั้งหมดแยกเพศ ชาย = 4.40 หญิง = 0.00 อัตราความรุนแรงการบาดเจ็บ (Lost Day Injury Rate : LDIR) = (จ�ำนวนวันหยุดงาน x 1,000,000)/จ�ำนวนชั่วโมงการท�ำงานทั้งหมดแยกเพศ ชาย = 8.79 หญิง = 0.00 อัตราการบาดเจ็บทุกประเภท (Injury Rate : IR) = (จ�ำนวนรายที่ได้รับบาดเจ็บทั้งหมด x 1,000,000)/จ�ำนวนชั่วโมงการท�ำงานทั้งหมดแยกเพศ ชาย = 4.40 หญิง = 0.00
รายงานความยั่งยืน 2562 #สะกิดไทยใส่ใจน�้ำ
จากสถิตกิ ารเกิดอุบตั เิ หตุจากการท�ำงานทีผ่ า่ นมาพบว่า ส่วนใหญ่ จะอยูใ่ นพืน้ ทีป่ ฏิบตั กิ าร ดังนัน้ เพือ่ ให้เกิดความคล่องตัว สามารถ แก้ไขปัญหาได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ บริษัทจึงได้ พิจารณาแต่งตั้งคณะท�ำงานความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ สภาพแวดล้อมในการท�ำงานเป็น 3 คณะ ได้แก่ คณะท�ำงานฯ พืน้ ที่ ส�ำนักงานกรุงเทพฯ คณะท�ำงานฯ พืน้ ทีป่ ฏิบตั กิ าร และคณะท�ำงานฯ บริษทั ในเครือ เพือ่ ให้สามารถดูแลรับผิดชอบแต่ละพืน้ ทีไ่ ด้อย่างทัว่ ถึง โดยมีจำ� นวนของคณะท�ำงานฯ เป็นไปตามกฎกระทรวงแรงงาน ว่าด้วยเรือ่ ง “การก�ำหนดมาตรฐานในการบริหารและการจัดการ ด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการ ท�ำงาน พ.ศ. 2549 หมวด 2 คณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการท�ำงาน” คณะท�ำงานฯ ทั้ง 3 คณะประกอบด้วยสมาชิก (Disclosure 403-1) ดังนี้
ประธานคณะกรรมการ
77
บทบาทหน้าที่และขอบเขตความรับผิดชอบของคณะท�ำงานฯ ทัง้ 3 คณะ ครอบคลุมดังนี้ 1. การบริหารจัดการด้านอาชีวอนามัย 2. สภาพแวดล้อมในการท�ำงาน 3. การป้องกันและระงับอัคคีภยั 4. ปฏิบตั งิ านเกีย่ วกับเครือ่ งจักร 5. การอับอากาศ 6. ความปลอดภัยเกีย่ วกับไฟฟ้า 7. การตรวจสุขภาพลูกจ้าง 8. สวัสดิการในสถานประกอบกิจการ 9. อัตราน�ำ้ หนักทีใ่ ห้ลกู จ้างท�ำงาน 10. เจ็บป่วยจากการท�ำงาน 11. เขตปลอดบุหรี่ 12. การควบคุมอาคาร 13. ความปลอดภัยในเขตก่อสร้าง
กรรมการผูแทนนายจาง ระดับบังคับบัญชา
กรรมการผูแทนลูกจาง
เจาหนาที่ความปลอดภัย ในการทํางานระดับวิชาชีพ
พื้นที่สํานักงาน กรุงเทพฯ พื้นที่ปฏิบัติการ
พื้นที่บริษัทในเครือ
ผลการด�ำเนินงานในปี 2562 1. กลุม่ บริษทั ด�ำเนินการปรับปรุงคูม่ อื ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการท�ำงาน เพือ่ เป็นแนวทางในการปฏิบตั งิ าน ด้ า นความปลอดภั ย แก่ พ นั ก งานกลุ ่ ม บริ ษั ท ในทุ ก ด้ า นและ มี ค วามสอดคล้ อ งตามข้ อ ก� ำ หนดกฎหมาย คณะกรรมการ ความปลอดภัยฯ จึงพิจารณาทบทวนคูม่ อื ดังกล่าวและเผยแพร่ ให้พนักงาน และผูท้ เี่ กีย่ วข้องรับทราบ โดยมีการแก้ไขรายละเอียด ในหัวข้อนโยบายความปลอดภัย อุบตั เิ หตุ และทรัพย์สนิ สูญหาย และเพิม่ เติม เรือ่ งแนวปฏิบตั พิ นื้ ฐานด้านความปลอดภัยของกลุม่ บริษทั กฎระเบียบความปลอดภัย (SAFETY RULES) การป้องกันและระงับ อัคคีภยั และการปฏิบตั ติ วั กรณีเกิดเหตุแผ่นดินไหว เป็นต้น 2. บริษทั ท�ำการปรับปรุงคูม่ อื การตรวจประเมินสิง่ แวดล้อมและ สภาพแวดล้อมในการท�ำงานและการตรวจติดตามโดยคู่มือ การปฏิบตั งิ านฉบับนีจ้ ดั ท�ำขึน้ เพือ่ เป็นเอกสารอ้างอิงในการก�ำหนด มาตรฐานขัน้ ตอนการปฏิบตั งิ านในระบบการจัดการสิง่ แวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย มีการตรวจวัด หรือเฝ้าติดตาม การด�ำเนินงาน ซึ่งอาจส่งผลกระทบต่อการจัดการสิ่งแวดล้อม ความเสี่ยงต่าง ๆ ที่จะเกิดขึ้นกับพนักงาน หรือทรัพย์สินของ บริษัทรวมทั้งเฝ้าติดตามมาตรการ ลดและควบคุมมลภาวะ ทางสิง่ แวดล้อม มาตรการลดความเสีย่ งของอันตรายต่าง ๆ รวมถึง
เพือ่ ให้แน่ใจว่าบริษทั สามารถปฏิบตั ติ ามกฎหมายและข้อก�ำหนด ที่เกี่ยวข้องได้ และให้มั่นใจว่าการตรวจวัดและตรวจติดตาม มีประสิทธิภาพเพื่อศึกษาถึงสาเหตุและวิเคราะห์หาแนวโน้ม ตลอดจนการเปลีย่ นแปลงต่าง ๆ และหามาตรการในการปรับปรุง และป้องกันปัญหาที่จะอาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัย และความปลอดภัย 3. บริษทั ได้จดั ท�ำระบบการขออนุญาตท�ำงานในอาคารอีสท์ วอเตอร์ (Work Permit System) เพื่อใช้เป็นเครื่องมือในการควบคุม การปฏิบัติงานอย่างเป็นขั้นตอน ส�ำหรับการปฏิบัติงานที่เสี่ยง อันตรายสูง เพื่อให้ม่ันใจว่าการปฏิบัติงานที่เสี่ยงอันตรายสูง ได้มกี ารตรวจสอบความปลอดภัยทัง้ ก่อนการปฏิบตั งิ าน ระหว่าง การปฏิ บั ติ ง าน และหลั ง การปฏิ บั ติ ง าน เพื่ อ ใช้ เ ป็ น ระบบ ในการป้องกันความสูญเสียจากการเกิดอุบตั เิ หตุ อุบตั กิ ารณ์จาก การปฏิบตั งิ านทีเ่ สีย่ งอันตรายสูง 4. บริษทั ได้จดั ท�ำคูม่ อื การจัดหาและใช้อปุ กรณ์ปอ้ งกันอันตราย ส่วนบุคคล (Personal Protective Equipment) ซึง่ เป็นระบบงาน เพื่อใช้ในการควบคุมและการใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วน บุคคลให้ถูกต้องและเหมาะสมตั้งแต่การคัดเลือก การสั่งซื้อ การควบคุมการเบิก - จ่าย ตลอดจนการน�ำไปใช้งาน
78
รายงานความยั่งยืน 2562 บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)
กิจกรรมด้านความปลอดภัย บริ ษั ท มี ก ารจั ด กิ จ กรรมด้ า นความปลอดภั ย ให้ กั บ พนั ก งาน อย่างต่อเนือ่ ง ดังนี้ 1 การสือ่ สารด้านความปลอดภัย บริษทั มีการจัดท�ำวารสารด้าน ความปลอดภัย สุขภาพ และสิง่ แวดล้อม (SHE NEWS) เป็นประจ�ำ ทุกเดือนอย่างต่อเนือ่ งเพือ่ เผยแพร่ขา่ วสาร และสร้างความตระหนัก ด้านความปลอดภัย การมีสขุ ภาพทีด่ ี การใส่ใจสิง่ แวดล้อมให้แก่ พนักงาน 2 การฝึกอบรม บริษทั ได้จดั ท�ำแผนฝึกอบรมด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการท�ำงานแก่พนักงาน แต่ละกลุม่ เป้าหมาย ซึง่ ในปีทผี่ า่ นมาประกอบด้วย 7 หลักสูตร เช่น การอบรมหลักสูตรการสร้างพฤติกรรมความปลอดภัย บริษทั จัดให้มกี ารอบรมการสร้างพฤติกรรมความปลอดภัย (Behaviorbased safety : BBS) เพื่อสร้างความตระหนักถึงความเสี่ยง ในการด�ำเนินงาน จนเกิดทัศนคติทดี่ ดี า้ นความปลอดภัย และส่งผล ต่อการปรับเปลีย่ นพฤติกรรมในการท�ำงานให้เกิดความปลอดภัย ของพนักงานกลุม่ บริษทั จนกลายเป็นวัฒนธรรมความปลอดภัย หลักสูตรด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อม ในการท�ำงานส�ำหรับลูกจ้างทั่วไปและลูกจ้างเข้าท�ำงานใหม่ ประจ�ำปี 2562 กลุ่มบริษัทจัดอบรมให้พนักงานทุกคนที่เข้าท�ำงาน เปลี่ยนงาน เปลี่ยนสถานที่ท�ำงาน หรือเปลี่ยนแปลงเครื่องจักรหรืออุปกรณ์ ซึ่ ง อาจท�ำให้พนักงานได้รับอันตรายต่อชีวิต ร่างกาย จิตใจ หรื อ สุ ข ภาพอนามั ย ตามพระราชบั ญ ญั ติ ค วามปลอดภั ย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการท�ำงาน พ.ศ. 2554 มาตรา 16 3 โครงการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคจากการท�ำงาน (ออฟฟิศซินโดรม) อันตรายจากการท�ำงานที่เกิดขึ้นในกลุ่มคนท�ำงานที่ต้องได้รับ การรักษาจากแพทย์ อันดับหนึง่ คือ การปวดหลัง รองลงมามีอาการ ปวดบริเวณคอ ไหล่ และปวดศีรษะตามล�ำดับ ซึง่ สาเหตุดงั กล่าว เกิดจากท่าทางการท�ำงานไม่ถกู ต้อง การท�ำงานหน้าจอคอมพิวเตอร์ นาน ๆ โดยไม่เปลีย่ นอิรยิ าบถ บริษทั จึงได้จดั เสวนาการป้องกันปัญหา ออฟฟิศซินโดรม (Office Syndrome) ให้พนักงานในส�ำนักงานขึน้ เพือ่ ให้พนักงานทีท่ ำ� งานในส�ำนักงานได้เพิม่ พูนความรูม้ คี วามเข้าใจ หลักการส�ำคัญ ในการปรับปรุงสภาพงาน และท่าทางการท�ำงาน ของตนให้ถกู ต้อง นอกจากนี้ บริษทั ได้จดั กิจกรรมการนวดกายภาพเพือ่ บรรเทาอาการ ออฟฟิศซินโดรมอย่างต่อเนือ่ งเป็นประจ�ำทุกเดือน โดยคณะกรรมการ ความปลอดภัยฯ เพือ่ ป้องกันการเกิดโรคจากการท�ำงาน บรรเทา อาการโรคออฟฟิศซินโดรม และส่งเสริมสุขภาวะอนามัยที่ดี ในการท�ำงาน ลดความเครียด ความเหนือ่ ยล้าของร่างกาย จากการ นัง่ ปฏิบตั งิ านเป็นเวลานาน ๆ สร้างบรรยากาศในการท�ำงานให้มี ความผ่อนคลายและมีความสุขมากยิง่ ขึน้
4 นิทรรศการส่งเสริมความปลอดภัย (Safety Day) กลุ่มบริษัทได้ก�ำหนดให้มีการจัดกิจกรรมนิทรรศการส่งเสริม ความปลอดภัยในการท�ำงาน (Safety Day) เพือ่ เป็นการปลูกจิตส�ำนึก เรือ่ งความปลอดภัยในการท�ำงานให้พนักงานทราบถึงวิธกี ารท�ำงาน ทีป่ ลอดภัย ด้วยวิธกี ารสร้างความสามัคคีภายในองค์กร และสร้าง บรรยากาศการท�ำงานทีส่ ร้างสุข (Happy Work Place) โดยกิจกรรม ดังกล่าวเป็นการกระตุน้ ให้พนักงานได้มสี ว่ นร่วมในเรือ่ งความปลอดภัย และเป็นไปตามข้อก�ำหนดของกฎหมายด้านความปลอดภัยเรือ่ ง การส่งเสริมและให้ความรูด้ า้ นความปลอดภัยแก่พนักงาน ซึง่ แสดง ให้เห็นถึงความตัง้ ใจของผูบ้ ริหารทีใ่ ห้ความส�ำคัญกับความปลอดภัย ในการท�ำงานแก่พนักงานกลุม่ บริษทั การจัดการเหตุฉุกเฉิน บริษทั ให้ความส�ำคัญเรือ่ งการจัดการเหตุฉกุ เฉินเป็นอย่างยิง่ ทัง้ นี้ เพือ่ เป็นการเตรียมความพร้อมและลดผลกระทบทีอ่ าจเกิดขึน้ กับ พนักงานและทรัพย์สนิ ของบริษทั ในปี 2562 มีการด�ำเนินการดังนี้ 1 จัดท�ำคู่มือ การบริหารความต่อเนื่องทางธุรกิจ (Business Continuity Management : BCM) และการจัดท�ำแผนรองรับการ ด�ำเนินธุรกิจอย่างต่อเนือ่ ง (Business Continuity Planning : BCP) รวมทั้งฝึกซ้อมแผนความต่อเนื่องทางธุรกิจ ณ ส�ำนักงานใหญ่ อาคารอีสท์ วอเตอร์ โดยจ�ำลองสถานการณ์อทุ กภัย โดยบริษทั ได้ทดสอบความครบถ้วนของแผนความต่อเนือ่ งทางธุรกิจ รวมทัง้ ทดสอบความรู้ ความเข้าใจในบทบาทหน้าทีข่ องหน่วยงานต่าง ๆ และจัดเตรียมความพร้อมของสถานทีป่ ฏิบตั งิ านส�ำรองการติดต่อ สือ่ สารและการประสานงานระหว่าง พนักงานทีป่ ฏิบตั งิ านทีบ่ า้ น และทีย่ า้ ยส�ำนักงาน รวมทัง้ ระหว่างหน่วยงานภายในและหน่วยงาน ภายนอก 2 ฝึกซ้อมดับเพลิงและอพยพหนีไฟประจ�ำปีของส�ำนักงานใหญ่ อาคารอีสท์ วอเตอร์ และพืน้ ทีป่ ฏิบตั กิ ารทัง้ หมด (จังหวัดฉะเชิงเทรา จังหวัดชลบุรี และจังหวัดระยอง) เพือ่ เตรียมความพร้อมการฝึก ปฏิบตั กิ ารอพยพ การทดสอบระบบป้องกันอัคคีภยั กรณีเกิดเหตุ ทัง้ นีม้ หี น่วยงานราชการ สถานีดบั เพลิง สถานีตำ� รวจ โรงพยาบาล หน่วยงานฝึกอบรม และอาคารบ้านเรือนข้างเคียง ให้ความร่วมมือ สนับสนุนการฝึกซ้อม ซึง่ ผลการฝึกซ้อมส�ำเร็จลุลว่ งตามวัตถุประสงค์
รายงานความยั่งยืน 2562 #สะกิดไทยใส่ใจน�้ำ
79
ความรับผิดชอบต่อผลกระทบจากการก่อสร้าง (Disclosure 413-2)
ปี 2562 การด�ำเนินงานโครงการก่อสร้างส่วนใหญ่จะอยู่ในพื้นที่ของบริษัท แต่เพื่อมิให้เกิดผลกระทบกับชุมชนและสิ่งแวดล้อม บริษัทได้เคร่งครัดการด�ำเนินงานให้เป็นไปตามมาตรฐานการควบคุมงานและความปลอดภัยของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในปี 2562 บริษัทมีโครงการก่อสร้าง จ�ำนวน 2 โครงการ ดังนี้ 1 โครงการเพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพการส่ ง จ่ า ยน�้ ำ สถานี สู บ น�้ ำ หนองปลาไหล - หนองค้อ เส้นที่ 2 มีวัตถุประสงค์ เพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพการสูบจ่ายน�้ำให้กับผู้ใช้น�้ำในพื้นที่จังหวัดชลบุรี และจังหวัดระยอง ประกอบด้วยงาน 2 ส่วน คือ 1.1 งานก่อสร้างวางท่อระยะทาง 10 กิโลเมตร บริเวณพืน้ ที่ ทางหลวง หมายเลข 3191 แยกเขาน้อย ต�ำบลตาสิทธิ์ อ�ำเภอ ปลวกแดง จังหวัดระยอง ไปนิคมอุตสาหกรรมเหมราช อีสเทิรน์ ซีบอร์ด แห่งที่ 3 ต�ำบลหนองเสือช้าง อ�ำเภอหนองใหญ่ จังหวัดชลบุรี ก�ำหนดแล้วเสร็จมีนาคม 2563 1.2 งานก่ อ สร้ า งแพสู บ น�้ ำ ดิ บ บริ เ วณอ่ า งเก็ บ น�้ ำ หนองปลาไหล พื้นที่ส�ำนักงานหนองปลาไหลของบริษัท ก�ำหนดแล้วเสร็จ มิถุนายน 2563 2 โครงการก่อสร้างระบบผลิตน�้ำอุตสาหกรรม โดยออกแบบ ระบบผลิตน�ำ้ ทีใ่ ช้เทคโนโลยีใหม่ทตี่ น้ ทุนต�ำ ่ มีประสิทธิภาพ ก�ำลัง การผลิต 100,000 ลบ.ม.ต่อวัน เป็นระบบผลิตน�้ำแบบศูนย์รวม (Centralized Clarified Water System) เพื่อรองรับความ ต้องการใช้น�้ำอุตสาหกรรมของลูกค้า ได้แก่ นิคมอุตสาหกรรม อมตะ ซิตี้ และโรงไฟฟ้ากัลฟ์ ประกอบด้วยงาน 2 ส่วน คือ
2.1 งานก่อสร้างระบบผลิตน�้ำอุตสาหกรรม บริเวณพื้นที่ กรรมสิทธิ์ของบริษัท เนื้อที่ประมาณ 8 ไร่ ต�ำบลปลวกแดง อ�ำเภอปลวกแดง จังหวัดระยอง ก�ำหนดแล้วเสร็จ มิถนุ ายน 2564 2.2 งานวางท่อแยกจ่ายน�ำ้ อุตสาหกรรม ระยะทาง 13 กิโลเมตร บริเวณพืน้ ทีต่ ำ� บลมาบยางพร อ�ำเภอปลวกแดง จังหวัดระยอง และต�ำบลบ่อวิน อ�ำเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี ก�ำหนดแล้วเสร็จ มิถุนายน 2564
การด�ำเนินงานโครงการก่อสร้างดังกล่าวบริษทั ปฏิบตั ติ ามแนวทาง การปรับปรุงการบริหารโครงการให้มีประสิทธิภาพ ในเรื่อง ของการป้องกันมลภาวะและลดผลกระทบจากการก่อสร้าง ตามมาตรฐานในการตรวจรับงานคืนสภาพพืน้ ทีต่ ามแนวการวาง ท่อน�้ำดิบ โดยให้มีผู้แทนของหน่วยงานเจ้าของพื้นที่ที่อนุญาต การก่ อ สร้ า งร่ ว มการตรวจสอบและรั บ รองผลงาน รวมถึ ง การจัดประชุมร่วมกับผูร้ บั เหมาและผูแ้ ทนหน่วยงานเจ้าของพืน้ ที่ เพื่ อ ประชาสั ม พั น ธ์ ใ ห้ ท ราบถึ ง การเข้ า ด� ำ เนิ น การก่ อ สร้ า ง ของบริษัท หรือหากมีกรณีได้รับผลกระทบจะได้ทราบปัญหา สาเหตุ และหาแนวทางแก้ปัญหาร่วมกัน ตลอดจนติดตาม การด�ำเนินงานอย่างใกล้ชิดเป็นรายสัปดาห์
แผนภาพแสดงกระบวนการรับเรือ่ งร้องเรียนจากการด�ำเนินงานโครงการก่อสร้างของบริษทั
ผูรองเรียน
ชองทาง การรับเรือ ่ งรองเรียน • จดหมายอิเล็กทรอนิกส • เว็บไซต • สื่อสังคมออนไลน • จดหมาย/หนังสือ
บันทึกขอมูล รับเรื่องรองเรียน
สําเนาหัวหนาสายงาน ทีเ่ กีย ่ วของ
หนวยงาน ที่เกี่ยวของ
ติดตามการดําเนินงาน ทีป ่ ระชุมสายงาน
ดําเนินการ ไมผาน
ผาน รายงาน ผูเกี่ยวของ
รวบรวมขอมูล/ หาแนวทางปองกันการเกิดซํ้า
รายงานสรุปประจําเดือน ของฝายบริหารโครงการกอสราง
รายงานผล
รวบรวมขอมูล
รายงานสรุป • รายงานประจําเดือน (ผูบริหาร) • รายงานประจําป ตอคณะกรรมการ ธรรมาภิบาล
ประชุมหารือกับ ผูรับจาง
ตรวจสอบ/ ติดตาม
ติดตามความคืบหนา การแกไข
กรณีเกินกําหนด
80
รายงานความยั่งยืน 2562 บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)
ข้อร้องเรียนเกี่ยวกับผลกระทบต่อชุมชนโดยรอบ จากการรวบรวมข้อร้องเรียนผ่านช่องทางต่าง ๆ สามารถสรุป ข้อร้องเรียนที่เกิดขึ้นจากการด�ำเนินงานโครงการก่อสร้างของ บริษทั พบว่า ในปี 2562 ไม่มขี อ้ ร้องเรียนในกระบวนการด�ำเนินงาน ก่อสร้างทัง้ 2 โครงการ
แต่มขี อ้ ร้องเรียนจากโครงการก่อสร้างประแสร์ - หนองปลาไหล ทีแ่ ล้ว เสร็จตัง้ แต่ปี 2560 ในเดือนกันยายน 2562 เรือ่ งถนนช�ำรุดบริเวณ ถนนสาย 344 มุง่ หน้าไปยังอ่างเก็บน�ำ้ ประแสร์ ซึง่ บริษทั ได้เข้าไป ด�ำเนินการตรวจสอบพบว่าถนนเส้นดังกล่าวมีความเสียหายจาก การใช้งานทัว่ ไปของชุมชน ซึง่ บริษทั ได้ดำ� เนินการซ่อมแซมแล้วเสร็จ พร้อมส่งมอบงานให้แก่ชมุ ชนเมือ่ เดือนพฤศจิกายน 2562 ทีผ่ า่ นมา
โครงการเพือ ่ ความยัง ่ ยืนของชุมชน (Disclosure 203-1) บริษทั ให้ความส�ำคัญกับชุมชน มุง่ เน้นพัฒนาคุณภาพชีวติ ชุมชน อย่างต่อเนือ่ ง เพือ่ ให้ชมุ ชนเติบโตอย่างยัง่ ยืนเคียงคูก่ บั การด�ำเนิน ธุรกิจของบริษัท จากการที่บริษัทค�ำนึงถึงการใช้ทรัพยากรน�้ำ ร่วมกัน จึงก�ำหนดให้มกี ารส�ำรวจความต้องการใช้นำ�้ ของชุมชน ตามแนวเส้นท่อน�ำ้ ดิบของบริษทั และชุมชนใกล้เคียงรอบโครงการ ก่อสร้างที่เกิดขึ้นใหม่ของบริษัทอย่างสม�่ำเสมอ เพื่อให้ชุมชน ได้เข้าถึงแหล่งน�ำ้ สะอาด และมีนำ�้ เพียงพอต่อการอุปโภคและบริโภค ตลอดจนจัดประชุมร่วมกับผูน้ ำ� ชุมชนและชาวบ้านเพือ่ ประชาสัมพันธ์ โครงการรวบรวมความต้องการและปัญหาของชุมชน เพือ่ เตรียมการ ปรับปรุงหรือบรรเทาความเดือดร้อนดังกล่าว รวมถึงให้ชุมชน มีส่วนร่วมในการจัดโครงการเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของชุมชน ตามแนวเส้นท่อของบริษัทให้ดีขึ้นด้วย จากการลงพืน้ ทีอ่ ย่างต่อเนือ่ ง สูก่ รอบกลยุทธ์ 3 สร้าง 3 พัฒนา ที่ เ น้ น สร้ า งการยอมรั บ สร้ า งความมั่ น คง และสร้ า งคุ ณ ค่ า ร่วมสูก่ ารพัฒนาอย่างยัง่ ยืน ได้ถกู น�ำไปเป็นแนวทางในการสร้าง พันธมิตรโดยรอบทัง้ หน่วยงานราชการส่วนท้องถิน่ และชุมชนในพืน้ ที่
ตามแนวเส้นท่อกว่า 491.8 กม. ของบริษัท โดยใช้หลักการเข้าใจ เข้าถึงและพัฒนาด้วยความมุง่ มัน่ ของบริษทั ทีจ่ ะสร้างการยอมรับ ด้วยหลักความเข้าใจ ดังนั้น บริษัทจึงได้จัดโครงการส่งเสริม คุณภาพชีวติ ชุมชน ได้แก่ การอบรมอาชีพ (ลดรายจ่าย เพิม่ รายได้ ตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง) กิจกรรมฟุตบอลเชือ่ มสัมพันธ์ และกฐิน ประจ�ำปี เพื่อให้บริษัทเข้าใจชุมชน และชุมชนเข้าใจบริษัท โดยการลงพืน้ ทีพ่ บปะชุมชนเพือ่ ประชาสัมพันธ์ขอ้ มูลของบริษทั ท�ำให้ชมุ ชนได้รบั ข่าวสารและเข้าใจบริบทและพันธกิจของบริษทั มากขึน้ ตลอดจนบริษัทสามารถรับรู้ความต้องการหรือความคาดหวัง ของชุมชนเพื่อน�ำกลับไปวางแผนกลยุทธ์กิจกรรมส�ำหรับพัฒนา ชุมชนอย่างยัง่ ยืน และเติบโตเคียงคูก่ บั ธุรกิจ การให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการแก้ไขปรับปรุงและพัฒนาโครงการ พัฒนาคุณภาพชีวติ ท�ำให้เกิดความร่วมมือระหว่างหน่วยงานภาครัฐ บริษทั ชุมชน และสถานศึกษา ร่วมกันสร้างโครงการพัฒนาชุมชน ที่น�ำไปสู่ความยั่งยืน โดยแบ่งเป็น 2 โครงการ ดังนี้
รายงานความยั่งยืน 2562 #สะกิดไทยใส่ใจน�้ำ
81
1 โครงการส่งเสริมสาธารณูปโภคด้านน�ำ้ และอนุรกั ษ์สงิ่ แวดล้อม ร่วมกับชุมชนพัฒนาคุณภาพชีวติ ด้านสาธารณูปโภคด้านน�ำ้ และอนุรกั ษ์สงิ่ แวดล้อม เพือ่ อนุรกั ษ์ทรัพยากรน�ำ้ และสิง่ แวดล้อมตลอดจน ชุมชนสามารถเข้าถึงแหล่งน�้ำสะอาดเพื่ออุปโภคและบริโภค โดยแบ่งพื้นที่พัฒนาเป็น 3 ส่วน ดังนี้ พื้นที่โครงการ
โครงการ
ต้นน�ำ ้ (แหล่งน�ำ้ ต้นทุน)
1. โครงการฟื ้ น ฟู ท รั พ ยากรธรรมชาติ และแหล่งน�ำ้ 2. โครงการเครือข่ายอีสท์วอเตอร์รกั ษ์นำ�้
1. 2. 3. 4. 5.
เพิ่มพื้นที่สีเขียวในป่าชุมชนรอยต่อ 5 จังหวัดภาคตะวันออก 5,000 ต้นต่อปี แจกจ่ายกล้าไม้ 20,000 กล้าต่อปี เยาวชนได้รบั ทุนการศึกษา และความรู้ ทักษะด้านวิทยาศาสตร์ การอนุรักษ์ 4.4, 6.3, 6.6, 13.3, 15.1, 15.2 ทรัพยากรน�ำ้ และการตรวจคุณภาพน�ำ ้ จ�ำนวน 80 คนต่อปี ความพึงพอใจของเยาวชนที่เข้าร่วม กิจกรรมค่ายเยาวชนฯ ในแต่ละปีมากกว่า ร้อยละ 80.00 คุณภาพน�ำ้ แหล่งน�ำ้ ต้นทุนอยูใ่ นเกณฑ์ มาตรฐานน�้ำผิวดิน
กลางน�ำ้ (ชุ ม ชนตามแนว เส้นท่อน�ำ้ ดิบ)
1. 2. 3.
1. 2. 3. 4. 5.
ปรับปรุงประปาชุมชน 9 แห่งต่อปี ปี 2562 ชุมชนเข้าถึงแหล่งน�ำ้ สะอาด เพือ่ อุปโภค จ�ำนวน 1,753 ครัวเรือน ปี 2562 สนับสนุนและพัฒนาระบบ สาธารณูปโภคด้านน�ำ ้ เพือ่ การอุปโภค และการเกษตรของชุ ม ชนตามแนว เส้นท่อน�้ำดิบประแสร์ - คลองใหญ่ 9 โครงการชุมชนได้รบั ประโยชน์ 8 ต�ำบล ปี 2562 สนับสนุนน�้ำเพื่อการเกษตร กรณีภยั แล้งจ�ำนวน 1,853,113.40 ลบ.ม. เพื่ออุปโภค จ�ำนวน 7,301,500 ลิตร และน�้ำดื่ม จ�ำนวน 854,217 ลิตร มี ก ารร่ ว มพั ฒ นาหลั ก สู ต รระดั บ อาชีวศึกษา 1 หลักสูตร จ�ำนวน 9 แห่ง
ปลายน�ำ้ (กลุม่ ผูใ้ ช้นำ �้ ชุมชน สถานศึกษา)
1. โครงการโรงเรียนต้นแบบระบบบ�ำบัด น�ำ้ เสียโรงอาหาร
โครงการควบคุมการผลิตและบ�ำรุง รักษาระบบประปาชุมชน (บูรณาการ ร่วมกับโครงการ Fix it center) กิจกรรม CSR เพื่อชุมชนตามแนวเส้น ท่อน�้ำดิบประแสร์ - คลองใหญ่ โครงการน�้ำเพื่อชุมชน (สนับสนุนน�้ำ เพือ่ การเกษตรกรณีภยั แล้ง เพือ่ อุปโภค และบริการน�้ำดื่มสะอาดเพื่อกิจกรรม สาธารณประโยชน์ของหน่วยงานราชการ และชุมชน)
เป้าหมายและผลการด�ำเนินงาน
1. ปี 2563 โรงเรียนต้นแบบ ระดับเพชร 7 แห่ง เขตละ 1 แห่ง 2. ลดค่ า ใช้ จ ่ า ย โดยโรงเรี ย นน� ำ น�้ ำ กลับมาใช้ใหม่ มากกว่า 300 ลิตรต่อวัน เพือ่ น�ำมารดน�ำ้ ต้นไม้ เลีย้ งปลา และท�ำ น�้ำยาอเนกประสงค์ (น�้ ำ ยาล้ า งพื้ น น�้ ำหมั ก ชี ว ภาพ) ซึ่ ง น�้ ำที่ น� ำกลั บ มา ใช้ ประโยชน์มคี า่ ออกซิเจนละลายในน�ำ้ (Dissolved Oxygen : DO) มากกว่า 4 มก./ลิตร 3. เพิม่ ผลผลิตการเกษตรเพือ่ เป็นอาหาร กลางวัน ของโรงเรียน (น�้ำในระบบ บ�ำบัด ปุย๋ หมัก และน�ำ้ หมักชีวภาพ) 4. โรงเรียนมีโรงอาหารที่ถูกสุขอนามัย ตามมาตรการของกระทรวงศึกษาธิการ 5. นักเรียนได้รับความรู้ โดยโรงเรียนน�ำ ความรูร้ ะบบบ�ำบัดน�ำ้ เสียมาบูรณาการ ร่วมกับวิชาในกลุม่ สาระ จ�ำนวน 7 แห่ง
SDGs
4.4, 6.3, 6.4, 6.6
2.1, 4.4, 6.3, 6.6
82
รายงานความยั่งยืน 2562 บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)
2 โครงการส่งเสริมการเรียนรู้ กลุ่มเป้าหมาย
โครงการ
กลุ่มเยาวชน ระดับอาชีวศึกษา
1. โครงการต้นแบบเครื่องกลเติมอากาศ แบบดูดน�้ำและอากาศ
1. 2. 3.
มีการร่วมพัฒนาหลักสูตรระดับอาชีวศึกษา 1 หลักสูตร จ�ำนวน 4 แห่ง ติดตัง้ เครือ่ งกลเติมอากาศฯ เพือ่ บรรเทา มลพิษทางน�้ำ จ�ำนวน 4 แห่ง ตรวจคุณภาพน�้ำหลังติดตั้งต้นแบบฯ ส่งผลให้มีค่าออกซิเจนในน�้ำดีขึ้น
กลุ่มเยาวชน และประชาชนทัว่ ไป
2. โครงการศูนย์เรียนรูเ้ ศรษฐกิจพอเพียง อีสท์วอเตอร์ อ�ำเภอคลองเขื่อน
1. 2. 3.
ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง 1 แห่ง โดยน�ำศาสตร์แห่งการใช้น�้ำมาบริหาร จัดการน�ำ้ เพือ่ เพิม่ ผลผลิตทางการเกษตร ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และเป็นแหล่งท่องเทีย่ วประจ�ำอ�ำเภอ ผูเ้ ข้าศึกษาดูงานมากกว่า 100 คนต่อปี ปี 2562 สร้างรายได้จากการขายผลิตผล ทางการเกษตร และค่าบริการเข้าชม ศูนย์ฯ 212,483 บาท
กลุ่มผู้พิการ
3. โครงการอบรมคอมพิวเตอร์ส�ำหรับ นักศึกษาคนพิการ
เป้าหมายและผลการด�ำเนินงาน
1. นักศึกษาคนพิการที่เข้ารับการอบรม จ�ำนวน 100 คนต่อปี 2. นักศึกษาคนพิการที่ผ่านการอบรมได้ เข้าท�ำงานในสถานประกอบการ ร้อยละ10 ของผู้เข้าอบรมแต่ละรุ่น
SDGs
4.4, 6.3, 6.6
2.1, 2.4, 4.4, 6.3, 6.6, 8.9
4.5
ผลการด�ำเนินงานโครงการเพื่อความยั่งยืนของชุมชน
โครงการส่งเสริมสาธารณูปโภคด้านน�้ำและอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม • ต้นน�้ำ
บริษทั ร่วมกับชุมชนบริเวณแหล่งน�ำ้ ต้นทุนของบริษทั และบริเวณโดยรอบจัดท�ำโครงการฟืน้ ฟูทรัพยากรธรรมชาติ และอนุรกั ษ์ทรัพยากรน�ำ ้ จ�ำนวน 2 โครงการ ได้แก่ 1. โครงการฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและแหล่งน�้ำ โครงการบ�ำรุงดูแลรักษาและฟืน้ ฟูปา่ ชุมชนแบบมีสว่ นร่วมตามแนวทางประชารัฐ ตั้งแต่ปี 2560 บริษัทร่วมกับเครือข่ายป่าชุมชนรอยต่อ 5 จังหวัดภาคตะวันออก จัดโครงการบ�ำรุงดูแลรักษาและฟืน้ ฟูปา่ ชุมชนแบบมีสว่ นร่วมตามแนวทางประชารัฐ ซึ่งเป็นโครงการต่อเนื่องมาถึงปัจจุบัน เพื่อฟื้นฟูดูแลบ�ำรุงรักษาผืนป่าชุมชน ให้มีความอุดมสมบูรณ์และยั่งยืน 2 พื้นที่ ได้แก่ ป่าชุมชนบ้านสามพราน ต�ำบล คลองตะเกรา อ�ำเภอท่าตะเกียบ จังหวัดฉะเชิงเทรา และบ้านหนองม่วง ต�ำบลชุมแสง อ�ำเภอวังจันทร์ จังหวัดระยอง ปี 2562 บริษทั ร่วมกับเครือข่ายป่าชุมชนรอยต่อ 5 จังหวัดภาคตะวันออกบ�ำรุงรักษา ป่าชุมชนทั้ง 2 พื้นที่จัดกิจกรรม อาทิ ท�ำทางส�ำรวจรอบป่าชุมชน ท�ำแนวกันไฟ ดูแลผืนป่า ตลอดจนจัดกิจกรรมปลูกป่าเสริม จ�ำนวน 5,300 ต้น
รายงานความยั่งยืน 2562 #สะกิดไทยใส่ใจน�้ำ
2. โครงการเครือข่ายอีสท์วอเตอร์รักษ์น�้ำ จากจุดเริ่มต้นที่บริษัทได้เริ่มท�ำโครงการค่ายเยาวชน East Water Young Leader Camp ซึง่ ด�ำเนินการอย่างต่อเนือ่ งตัง้ แต่ ปี 2550 - 2555 ต่อมาปี 2557 จนถึงปัจจุบัน บริษัทร่วมกับ กลุ่มนักรบสิ่งแวดล้อม/นักสืบสายน�้ำ สมาชิกของสมาคมรักษ์ สิง่ แวดล้อมฉะเชิงเทรา และศูนย์เฝ้าระวังและตรวจสอบคุณภาพน�ำ้ อ�ำเภอปลวกแดง จังหวัดระยอง บูรณาการองค์ความรูใ้ นกิจกรรม ตรวจสอบคุณภาพน�้ำของทั้ง 2 กลุ่ม กับองค์ความรู้ที่ถ่ายทอด ในโครงการค่ายเยาวชนฯ จัดท�ำโครงการเครือข่ายอีสท์วอเตอร์ รักษ์น�้ำ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้มีการแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ ประสบการณ์เรื่องการเฝ้าระวังและตรวจสอบคุณภาพน�้ำของ ทั้ง 2 องค์กร รวมถึงเสริมทักษะทางด้านวิทยาศาสตร์ให้แก่
83
เยาวชน ปลูกจิตส�ำนึกให้เยาวชนเกิดความรักและหวงแหน รูค้ ณ ุ ค่าและความส�ำคัญของทรัพยากรน�ำ ้ ตลอดจนร่วมมือกันดูแล อนุรักษ์แหล่งน�้ำของตนให้คงอยู่อย่างยั่งยืน ทั้งนี้ มีโรงเรียน ที่เข้าร่วมโครงการ จ�ำนวน 12 แห่ง แบ่งเป็นเยาวชนจากจังหวัด ฉะเชิงเทรา 40 คน และจังหวัดระยอง 40 คน ซึ่งเยาวชนที่ผ่าน การเข้าค่ายเยาวชนอีสท์วอเตอร์รกั ษ์นำ �้ จะน�ำความรูท้ ไี่ ด้รบั กลับไป ตรวจสอบคุณภาพน�้ำของแหล่งน�้ำในจังหวัด และเป็นแกนน�ำ เพือ่ สร้างความร่วมมือกับชุมชนในพืน้ ทีร่ ว่ มกันดูแล อนุรกั ษ์แหล่งน�ำ้ ให้มคี ณ ุ ภาพน�ำ้ ทีด่ ขี นึ้ โดยเป้าหมายของโครงการจะผลิตเยาวชน อีสท์วอเตอร์รกั ษ์นำ �้ จ�ำนวน 80 คนต่อปี เยาวชนทีเ่ ข้าร่วมกิจกรรม มีความพึงพอใจในกิจกรรม ร้อยละ 88.38
• กลางน�้ำ
บริษัทร่วมกับชุมชนตามแนวเส้นท่อน�้ำดิบ จัดท�ำโครงการพัฒนาคุณภาพชีวิต และท�ำให้ชุมชนเข้าถึงแหล่งน�้ำสะอาดเพื่อใช้อุปโภค และบริโภค ตลอดจนการท�ำการเกษตรกรรม จ�ำนวน 3 โครงการ ได้แก่ 1. โครงการควบคุมการผลิตและบ�ำรุงรักษาระบบประปาชุมชน (บูรณาการร่วมกับโครงการ Fix it center) ตัง้ แต่ปี 2551 จากการส�ำรวจความต้องการใช้นำ�้ และปริมาณน�ำ้ รวมถึงแหล่งน�้ำส�ำหรับอุปโภคของชุมชนตามแนวเส้นท่อน�้ำดิบ โดยมุ่งหวังให้ชุมชนเข้าถึงน�้ำสะอาดเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดี พบว่า ระบบประปาหมูบ่ า้ นหลายแห่งไม่สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ และไม่เป็นไปตามวัตถุประสงค์ ส่งผลกระทบกับคุณภาพชีวิต ของชุ ม ชน บริษัทในฐานะผู้ป ระกอบการในเรื่องของน�้ ำ ดิ บ ร่วมกับบริษทั ยูนเิ วอร์แซล ยูทลี ติ สี้ ์ จ�ำกัด (มหาชน) จัดท�ำโครงการ ซ่อมบ�ำรุง และฝึกอบรมการบริหารจัดการระบบประปาหมู่บ้าน โดยมีวตั ถุประสงค์เพือ่ ปรับปรุงระบบประปาหมูบ่ า้ น และถ่ายทอด องค์ความรู้ในการบริหารจัดการระบบประปาหมู่บ้านให้กับ คณะกรรมการประปาหมู่บ้านและเจ้าหน้าที่องค์การบริหาร ส่วนท้องถิน่ ด้วยความมุง่ มัน่ ทีจ่ ะยกระดับคุณภาพชีวติ ของชุมชน ให้สามารถเข้าถึงแหล่งน�้ำสะอาด
84
รายงานความยั่งยืน 2562 บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)
ในปี 2562 บริษทั ร่วมกับสถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออกจัด โครงการควบคุมการผลิตและบ�ำรุงรักษาระบบประปาชุมชน (บูรณาการ ร่วมกับโครงการ Fix it center) ต่อเนือ่ งเป็นปีที่ 2 โดยในปีนไี้ ด้ให้บริการซ่อมแซมและบ�ำรุงรักษาระบบประปาหมูบ่ า้ น รวมทัง้ สิน้ 9 แห่ง ดังนี้ สถาบันการศึกษา
พื้นที่ปรับปรุง/ซ่อมแซมระบบประปาหมู่บ้าน
ชุมชนที่ได้รับประโยชน์ (ครัวเรือน)
วิทยาลัยเทคนิคระยอง
หมู่ 10 บ้านมาบตอง ต�ำบลหนองละลอก อ�ำเภอบ้านค่าย จังหวัดระยอง
320
วิทยาลัยเทคนิคพัทยา
เทศบาลต�ำบลหนองปลาไหล อ�ำเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี
350
วิทยาลัยเทคนิคจันทบุรี
หมู่ 5 ต�ำบลน�้ำเป็น อ�ำเภอเขาชะเมา จังหวัดระยอง
128
วิทยาลัยเทคนิคตราด
หมู่ 6 บ้านหนองนกเอีย้ ง ต�ำบลเนินทราย อ�ำเภอเมือง จังหวัดตราด
85
วิทยาลัยเทคนิคชลบุรี
หมู่ 11 บ้านเนินกระบก ต�ำบลท่าบุญมี อ�ำเภอเกาะจันทร์ จังหวัดชลบุรี
20
วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ
หมู่ 5 ซอยเถือ่ นวิถี ต�ำบลพลูตาหลวง อ�ำเภอสัตหีบ จังหวัดชลบุรี
80
วิทยาลัยเทคนิคมาบตาพุด หมู่ 11 บ้านซากไม้รวก ต�ำบลหนองละลอก อ�ำเภอบ้านค่าย จังหวัดระยอง
500
วิทยาลัยเทคนิคบ้านค่าย
หมู่ 5 บ้านเชิงเนิน ต�ำบลหนองละลอก อ�ำเภอบ้านค่าย จังหวัดระยอง
240
วิทยาลัยเทคนิคชลบุรี
หมู่ 10 ต�ำบลท่าบุญมี อ�ำเภอเกาะจันทร์ จังหวัดชลบุรี
30
2. กิจกรรม CSR เพื่อชุมชนตามแนวเส้นท่อน�้ำดิบประแสร์ - คลองใหญ่ (Disclosure 203-1) บริษทั มีโครงการผันน�ำ้ จากอ่างเก็บน�ำ้ ประแสร์ไปยังอ่างเก็บน�ำ้ คลองใหญ่ จึงได้จดั ประชุมเพือ่ บูรณาการจัดการน�ำ้ ร่วมกันระหว่างภาครัฐ บริษทั และชุมชนในพืน้ ที่ จากมติการประชุมน�ำมาสูก่ ารพัฒนาคุณภาพ ชีวิตชุมชนร่วมกัน เพื่อให้ชุมชนได้เข้าถึงน�้ำอย่างเท่าเทียม และเพียงพอ และช่วยเหลือชุมชนเมือ่ มีสถานการณ์ภยั แล้งในพืน้ ที่ โดยบริษทั ได้สง่ จ่ายน�ำ้ เข้าระบบประปาหมูบ่ า้ นให้กบั ชุมชนทีอ่ ยู่ ตามแนวท่อ รวมจ�ำนวน 15 แห่ง ครอบคลุมผู้ใช้น�้ำกว่า 4,000 ครัวเรือน เพื่อให้ชุมชนได้มีน�้ำใช้ตลอดปีโดยไม่คิดค่าใช้จ่าย กับชุมชน โดยในปี 2562 บริษัทสนับสนุนน�้ำส�ำหรับอุปโภค ให้ชุมชนผ่านแนวเส้นท่อนี้ จ�ำนวน 1,853,113.40 ลบ.ม. ปี 2558 บริษัทได้จัดท�ำบันทึกข้อตกลงร่วมกันในการด�ำเนินการ สูบผันน�้ำท่อส่งน�้ำเชื่อมโยงอ่างเก็บน�้ำประแสร์ - คลองใหญ่ ระหว่างกรมชลประทานและบริษทั โดยได้จดั ตัง้ เป็นกลุม่ บริหาร การใช้น�้ำชลประทานนอกภาคเกษตรกรรมลุ่มน�้ำคลองใหญ่ และก�ำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการจัดสรรงบประมาณด้านสังคม และสิ่งแวดล้อมอย่างเป็นระบบขึ้นเมื่อปี 2559 พร้อมทั้งแต่งตั้ง
คณะกรรมการบริหารงบประมาณด้านสังคมและสิง่ แวดล้อม (CSR) เพื่อพิจารณาอนุมัติโครงการและงบประมาณร่วมกันระหว่าง ผู้ใช้น�้ำ กรมชลประทาน และราชการส่วนท้องถิ่น โดยบริษัท ได้ ส นั บ สนุ น งบประมาณเพื่ อ พั ฒ นาคุ ณ ภาพชี วิ ต ของชุ ม ชน โดยมุง่ หวังให้ชมุ ชนตามแนวเส้นท่อ ได้เข้าถึงน�้ำสะอาดส�ำหรับ อุปโภคและบริโภค ตลอดจนการท�ำเกษตรกรรมในพื้นที่ รวมถึง เพื่อบรรเทาปัญหาความเดือดร้อนของชุมชนจากภัยแล้ง ซึ่งเกิด จากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของโลกในปัจจุบัน โดยตั้งแต่ปี 2558 - 2561 บริษัทได้ให้การสนับสนุนงบประมาณ เพือ่ พัฒนาชุมชน สังคม และสิง่ แวดล้อม ตามแนวเส้นท่อประแสร์ คลองใหญ่ จ�ำนวน 29 โครงการ ในพื้นที่ 10 ต�ำบล 3 อ�ำเภอ เป็นงบประมาณทัง้ สิน้ 13,005,883 บาท (รายละเอียดการสนับสนุน ปรากฏในรายงานความยั่งยืน ประจ�ำปี 2561 หน้า 92 - 93) ปี 2562 บริษัทสนับสนุนงบประมาณเพื่อพัฒนาชุมชน สังคม และสิ่งแวดล้อม ตามแนวเส้นท่อประแสร์ - คลองใหญ่ จ�ำนวน 9 โครงการ เป็นเงินประมาณ 3,420,450 บาท
จุด
ประปาหนองบัว (1) ต.หนองบัว
13
(กม.30+985)
ประปา คลองนํ้าแดง
จุดติดตั้งทอแยกจายนํ้าดิบ (เดิม)
ต.บานนา อ.แกลง จ.ระยอง ต.กระแสบน อ.แกลง จ.ระยอง ต.วังหวา อ.แกลง จ.ระยอง ต.ชําฆอ อ.เขาชะเมา จ.ระยอง
3. โครงการซอมแซมทอสงนํ้าโซนขยาย โซน 4
4. โครงการงานเชาหมอแปลงไฟฟา
5. โครงการซอมแซมประตูนํ้า และอาคารลงสระยายเพียร ของสถานีสูบนํ้าโซน 4
ต.หวยยาง อ.แกลง จ.ระยอง
ต.ปายุบใน อ.วังจันทร จ.ระยอง
ต.ชุมแสง อ.วังจันทร จ.ระยอง
ต.พลงตาเอี่ยม อ.วังจันทร จ.ระยอง
(กม.22+000)
(กม.14+700)
ประปาหนองฆอ (2) ต.หนองบัว (ขนานจุดเดิม)
08
ประปาชุมแสง (2) ต.ชุมแสง ประปาชุมแสง (3) ต.ชุมแสง
05
3. โครงการงานเชาหมอแปลงไฟฟาสถานีสูบนํ้าโซน 3
2. โครงการฝายชั่วคราวคลองสงนํ้าสายใหญฝงซาย
1. โครงการฝายชั่วคราวคลองนํ้าใส ม. 1 และ ม. 6
ธันวาคม 2562
03
อ.แกลง
สถานีสูบนํ้า อางเก็บนํ้า ประแสร
อางฯ ประแสร
02
(กม.2+700)
1. โครงการงานขุดลอกหนาสถานีโซน 3
กันยายน 2562
02
ประปาหนองฆอ (2) ต.หนองบัว
09
อ.วังจันทร
ตําบลชุมแสง
ประปาศาลานํ้าลึก (1) ต.หนองบัว
(กม.16+000)
(กม.6+400) (กม.11+600)
บานยุบตาเหนง
บานแกงหวาย อบต.วังจันทร
ตําบลปายุบใน
ประปาชุมแสง (1) ต.ชุมแสง
บานคลองหวายโสม
01
07
(กม.20+805)
ประปา ศาลานํ้าลึก
(กม.16+900)
ประปาทาเสา
ประปาปายุบใน
บานทาเสา
ประปาทาเสา (1) ต.หนองบัว (ขนานจุดเดิม)
ประปาปายุบใน (2) ต.ปายุบใน (ขนานจุดเดิม)
ประปาปายุบใน (1) ต.ปายุบใน
ประปา หนองฆอ
06
04
03
(กม.22+505)
2. โครงการซอมแซมถนนทางลําเลียงคลองสงนํ้า
ตําบล
ตําบลหนองบัว
ประปา คลองปาหวาย
(กม.30+950)
(กม.31+900)
(กม. 37+080)
แนวทอสงนํ้า
1. โครงการซอมแซมทอสงนํ้าโซนขยายเพิ่มเติม โซน 1 และโซน 3
พฤษภาคม 2562
01
(กม.41+700)
(กม.39+900)
ตําบลละหาร
ประปา หนองไร
ประปาคลองปาหวาย (1) ต.หนองไร
12
ตําบลหนองไร
ประปาคลองนํา้ แดง (2) ต.หนองไร
11
จุดติดตั้งทอแยกจายนํ้าดิบ (ใหม)
ประปา อบต.ละหาร (1) ต.ละหาร
ประปา อบต.ละหาร (2) ต.ละหาร
14
แนวทอสงนํ้า และตําแหนงทอแยก จายนํ้าดิบ เพื่อการอุปโภค-บริโภค
15
15
อางฯ หนองปลาไหล
อางฯ คลองใหญ
อ.ปลวกแดง
ประปาคลองนํ้าแดง (1) ต.หนองไร (ขนานจุดเดิม)
10
ตําบล
ตําบล
อ.เขาชะเมา
ต.วังหวา อ.แกลง จ.ระยอง
ต.กระแสบน อ.แกลง จ.ระยอง
ต.ชําฆอ อ.เขาชะเมา จ.ระยอง
ต.วังหวา อ.แกลง จ.ระยอง
86
รายงานความยั่งยืน 2562 บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)
3. โครงการน�้ำเพื่อชุมชน บริษทั ได้ให้การสนับสนุนน�ำ้ สะอาดเพือ่ กิจกรรมต่าง ๆ ของชุมชน ทัง้ ทีเ่ ป็นน�ำ้ ดืม่ แบบถ้วย (220 มล.) น�ำ้ ดืม่ แบบขวด (350 มล.) รถน�ำ้ ดืม่ สะอาด เคลือ่ นที่ จ�ำนวน 4 คัน และท่อธาร จ�ำนวน 5 จุด โดยในปี 2562 บริษทั ได้สนับสนุนน�ำ้ สะอาดแก่ชมุ ชนกว่า 8,155,717 ลิตร
• ปลายน�้ำ
โครงการโรงเรียนต้นแบบระบบบ�ำบัดน�้ำเสียโรงอาหาร จากโครงการระบบบ�ำบัดน�ำ้ เสียโรงอาหารในโรงเรียน ซึง่ บริษทั จัดตัง้ แต่ปี 2554 - 2556 โดยบริษทั ได้ให้ความรูแ้ ละค�ำแนะน�ำ การออกแบบและด�ำเนินงานระบบบ�ำบัดน�้ำเสียแก่โรงเรียน ที่ เ ข้ า ร่ ว มโครงการ พร้ อ มมอบงบประมาณเพื่ อ ปรั บ ปรุ ง ระบบบ�ำบัดน�ำ้ เสียในโรงอาหารของตนที่มีอยู่เดิมให้เป็นไปตาม แบบของส�ำนักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัด ฉะเชิงเทราต่อมาในปี 2557 บริษทั ได้ตรวจประเมินผลการปรับปรุง ติ ด ตั้ ง และใช้ ง านระบบเพื่ อ รวบรวมปั ญ หาและข้ อ แนะน� ำ เพือ่ น�ำมาพัฒนาโครงการ
จากนัน้ ในปี 2559 บริษทั ได้รว่ มมือกับส�ำนักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษา ประถมศึกษาทั้ง 7 แห่ง (จังหวัดฉะเชิงเทรา จังหวัดชลบุรี และจังหวัดระยอง) จัดโครงการโรงเรียนต้นแบบระบบน�ำ้ เสีย โรงอาหารขึ้ น โดยพั ฒ นาโครงการเดิ ม ให้ มี ค วามยั่ ง ยื น และสมบูรณ์มากยิง่ ขึน้ เพือ่ ปลูกจิตส�ำนึกให้แก่เยาวชนและบุคลากร ภายในโรงเรียนร่วมกันอนุรกั ษ์ทรัพยากรน�ำ ้ ซึง่ ถือว่าเป็นปัจจัยส�ำคัญยิง่ ต่อการด�ำเนินชีวติ และเป็นแหล่งความรูเ้ รือ่ งการบริหารจัดการน�ำ้ ให้แก่เยาวชนและชุมชนใกล้เคียงอย่างเป็นรูปธรรม ด้วยเกณฑ์ ประเมินผล 5 หัวข้อ ได้แก่ 1. การติดตัง้ และใช้งานระบบบ�ำบัดน�ำ้ เสีย 2. การก�ำกับดูแลระบบบ�ำบัดน�ำ้ เสีย 3. การปรับปรุงคุณภาพน�้ำ ในขัน้ ตอนสุดท้าย 4. น�ำน�ำ้ ทีผ่ า่ นการบ�ำบัดกลับมาใช้ประโยชน์ 5. การเผยแพร่องค์ความรูร้ ะบบบ�ำบัดน�ำ้ เสีย ทัง้ ภายในและภายนอก โรงเรียน โดยมุง่ หวังให้มโี รงเรียนต้นแบบระดับเพชร 1 แห่งต่อเขต รวมทั้งสิ้น 7 แห่ง ในปี 2563 ซึ่งในปี 2561 บริษัทมอบ รางวัลให้แก่โรงเรียนเข้าร่วมโครงการรวมทั้งสิ้น 10 แห่ง ดังนี้ รางวัลระดับเพชร 4 แห่ง ระดับทอง 2 แห่ง ระดับเงิน 1 แห่ง และระดับทองแดง 3 แห่ง ในปี 2562 บริษัทได้ร่วมกับโรงเรียนต้นแบบฯ ระดับเพชร จ�ำนวน 4 แห่ง และโรงเรียนที่ก�ำลังยกระดับเพื่อเตรียมความพร้อม ส�ำหรับการตรวจประเมินผลให้เป็นโรงเรียนต้นแบบฯ ระดับเพชร จ�ำนวน 3 แห่ง พัฒนาโครงการฯให้มคี วามยัง่ ยืนและจัดองค์ความรู้ การบริหารจัดการน�ำ้ อย่างมีประสิทธิภาพมากขึน้ และสามารถวัดผลการน�ำน�ำ้ มาใช้ประโยชน์อย่างเป็นรูปธรรม ดังนี้
ขั้นตอนที่
1
ขั้นตอนที่
2
ขั้นตอนที่
3
ตักเศษอาหาร บําบัดดวยจุลน ิ ทรีย เติมออกซิเจน และไขมัน ลูกโอโซน (ลูกกรองนํา้ ในตูป ลา) และนํา้ หมักชีวภาพ
ขั้นตอนที่
4
เติมออกซิเจนดวยกังหันชัยพัฒนา
เลี้ยงสัตวนํ้า
รดนํา้ ตนไม
นํา้ ยา อเนกประสงค
นํา้ หมักชีวภาพ
ลางพื้น
รายงานความยั่งยืน 2562 #สะกิดไทยใส่ใจน�้ำ
โครงการส่งเสริมการเรียนรู้ 1. โครงการต้นแบบเครือ่ งกลเติมอากาศแบบดูดน�ำ้ และอากาศ จากจุดเริม่ ต้นเล็ก ๆ ในการประกวดนวัตกรรมของนักศึกษาระดับ อุดมศึกษาภายใต้ชอื่ โครงการประกวดนวัตกรรมจัดการน�ำ้ ด้วย 3R (Reduce Reuse Recycle) เมือ่ ปี 2553 จุดประกายท�ำให้เกิด แนวความคิดทีจ่ ะน�ำนวัตกรรมจากในห้องเรียนมาสร้างประโยชน์ สูช่ มุ ชนอย่างเป็นรูปธรรม ดังนัน้ บริษทั จึงได้คดั เลือกนวัตกรรม เครือ่ งกลเติมอากาศแบบดูดน�ำ้ และอากาศ ซึง่ เป็นสิง่ ประดิษฐ์จาก วิทยาลัยเทคนิคอุบลราชธานี (รางวัลชมเชย) มาต่อยอด บนความ ร่วมมือระหว่างกลุม่ นักรบสิง่ แวดล้อม/นักสืบสายน�ำ ้ สมาชิกสมาคม รักษ์สงิ่ แวดล้อมฉะเชิงเทรา ศูนย์เฝ้าระวังและตรวจสอบคุณภาพน�ำ้ อ�ำเภอปลวกแดง จังหวัดระยอง และวิทยาลัยเทคนิคอุบลราชธานี ขยายองค์ความรูก้ ารสร้าง ติดตัง้ และใช้งานเครือ่ งกลเติมอากาศฯ ทอ ทอ
3
4
สามทาง
แก่สถาบันการศึกษาในจังหวัดฉะเชิงเทรา จังหวัดชลบุรี และ จังหวัดระยอง รวม 4 แห่ง เพือ่ เป็นศูนย์รวมความรูแ้ ละเผยแพร่ องค์ความรูส้ ชู่ มุ ชน โดยในปี 2561 มูลนิธชิ ยั พัฒนาได้ให้คำ� แนะน�ำ เพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพของต้นแบบเครือ่ งกลเติมอากาศฯ ปี 2562 บริษทั ร่วมกับสถาบันการศึกษาทัง้ 4 แห่ง พัฒนาต้นแบบ เครื่องกลเติมอากาศฯ และติดตั้งเพื่อทดสอบประสิทธิภาพ ในแหล่งน�ำ ้ 4 แห่ง โดยมุง่ หวังให้เกิดต้นแบบเครือ่ งกลเติมอากาศฯ ที่สมบูรณ์แบบมากยิ่งขึ้น โดยเฉพาะในเรื่องของประสิทธิภาพ การใช้งาน ให้สามารถใช้งา่ ยและสะดวกในการสร้าง รวมถึงประหยัด งบประมาณค่าวัสดุและค่าพลังงาน ตลอดจนสามารถถ่ายทอด ความรูส้ ชู่ มุ ชนได้
นิ้ว
ทอ
1 นิ้ว
ขอลด 1 x 3 4 นิ้ว
3
2
3
4
นิ้ว ทอ
x 1 นิ้ว
สามทาง ขอลด
1 นิ้ว
สามทาง
1 นิ้ว
1 x 3 4 นิ้ว
2x1 นิ้ว
ขอตอตรงเกลียว
สถาบัน
87
2 นิ้ว
สถานที่
ก่อนติดตัง ้
หลังติดตัง ้ 2 เดือน
วิทยาลัยเทคนิคบ้านค่าย
สระพักน�ำ้ ดิบส�ำหรับผลิตประปาหมูบ่ า้ น ชุมชนบ้านเชิงเนิน หมู่ 5 ต�ำบลหนองละลอก อ�ำเภอบ้านค่าย จังหวัดระยอง
ค่า pH = 6.00 ค่า DO = 4.00 มก./ลิตร
ค่า pH = 7.00 ค่า DO = 10.60 มก./ลิตร
วิทยาลัยเทคนิคระยอง
หอพระพุทธอังคีรส สวนศรีเมือง ต�ำบลท่าประดู่ อ�ำเภอเมือง จังหวัดระยอง
ค่า pH = 8.00 ค่า DO = 8.00 มก./ลิตร
ค่า pH = 7.50 ค่า DO = 9.20 มก./ลิตร
วิทยาลัยเทคนิคฉะเชิงเทรา
วัดปิตลุ าธิราชรังสฤษฎิ์ ต�ำบลหน้าเมือง อ�ำเภอเมือง จังหวัดฉะเชิงเทรา
ค่า pH = 8.00 ค่า DO = 8.00 มก./ลิตร
ค่า pH = 7.50 ค่า DO = 12.40 มก./ลิตร
วิทยาลัยเทคนิคพัทยา
สวนสาธารณะชุมชนจุกกะเฌอ ต�ำบลบึง อ�ำเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี
ค่า pH = 8.50 ค่า DO = 8.00 มก./ลิตร
ค่า pH = 7.50 ค่า DO = 10.90 มก./ลิตร
88
รายงานความยั่งยืน 2562 บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)
2. โครงการศูนย์เรียนรูเ้ ศรษฐกิจพอเพียงอีสท์วอเตอร์ อ�ำเภอคลองเขือ่ น ตัง้ แต่ปี 2555 เนือ่ งในโอกาสบริษทั ครบรอบ 20 ปี บริษทั ได้นอ้ มน�ำแนวพระราชด�ำริของในหลวงรัชกาลที่ 9 ด้วยการขับเคลือ่ นปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียงให้มกี ารน�ำไปสูก่ ารปฏิบตั อิ ย่างเป็นรูปธรรม ภายใต้โครงการศูนย์การเรียนรูเ้ ศรษฐกิจพอเพียงอีสท์วอเตอร์ บนพืน้ ที่ 22 ไร่ ต�ำบลคลองเขือ่ น อ�ำเภอคลองเขือ่ น จังหวัดฉะเชิงเทรา ให้เป็นสถานทีส่ ำ� หรับการเรียนรูก้ ารด�ำเนินชีวติ ตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง และเกษตรทฤษฎีใหม่ พร้อมทัง้ จัดให้มกี จิ กรรมส่งเสริมรายได้และลดรายจ่ายของเกษตรกร
2555
2556
บริษท ั ทําขอตกลงความรวมมือกับ ศู น ย เ รี ย นรู ก ารศึ ก ษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอ คลองเขือ ่ น (กศน.คลองเขือ ่ น) จัดตัง ้ ศูนยการเรียนรูเศรษฐกิจพอเพียง พรอมสงมอบสรางอาคาร รวมทัง ้ สิน ้ 7 อาคาร
บริษท ั รวมกับอําเภอคลองเขือ ่ นและ ชุมชนจัดตัง้ คณะกรรมการดําเนินงาน โครงการศูนยการเรียนรูเ ศรษฐกิจ พอเพียง
ปี 2561 ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงอีสท์วอเตอร์ อ�ำเภอ คลองเขือ่ น มีความพร้อมเปิดให้บริการแก่ผสู้ นใจเข้าศึกษาดูงาน ซึง่ มีฐานเรียนรูต้ า่ ง ๆ เช่น ฐานการปลูกข้าวอินทรีย์ ฐานการปลูก ผักปลอดสารพิษ ฐานระบบบ�ำบัดน�ำ้ เสียและการลดต้นทุนภาค การเกษตรโดยการผลิตปุย๋ หมักอินทรียช์ วี ภาพ การเลีย้ งสัตว์ และ จัดให้มกี ารลงมือปฏิบตั จิ ริงในแปลงสาธิต โดยเกษตรกรสามารถเข้ามา เรียนรูแ้ ละเพิม่ ทักษะอาชีพการเกษตรร่วมกันในลักษณะ น�ำท�ำ น�ำพา (learning by doing) และมีการจ�ำหน่ายผลผลิตจากศูนย์เรียนรู้ เศรษฐกิจพอเพียงฯ แห่งนีส้ ท่ ู อ้ งตลาด อาทิ มะม่วงกวน มะพร้าว ข้าว พื ช ผั ก สวนครั ว เป็ น ต้ น ท� ำ ให้ มี ร ายได้ บ างส่ ว นหล่ อ เลี้ ย ง หน่วยงานเพือ่ ให้เกิดการเติบโตอย่างยัง่ ยืน รวมถึงได้เปิดบริการ ให้ชุมชนและหน่วยงานราชการเข้าเยี่ยมชมและใช้บริการศูนย์ เรียนรู้ โดยในปี 2562 มีผู้ใช้บริการ รวมทั้งสิ้น 1,540 คน ท�ำให้ในปีนี้ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงอีสท์วอเตอร์ อ�ำเภอ คลองเขือ่ น มีรายได้จากการจ�ำหน่ายผลผลิตและค่าเข้าศึกษาดูงาน เป็นจ�ำนวนเงินทัง้ สิน้ 212,483 บาท 3. โครงการสอนคอมพิวเตอร์สำ� หรับนักศึกษาคนพิการ รุน่ 7 ประจ�ำปี 2562 ตั้งแต่ปี 2555 บริษัท ร่วมกับ ส�ำนักงานส่งเสริมการศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดฉะเชิงเทรา (กศน.ฉช) ได้จดั ท�ำโครงการเพือ่ ผูพ้ กิ าร ให้มคี วามรูเ้ พือ่ น�ำไปประกอบอาชีพ และเข้าท�ำงานในสถานประกอบการต่าง ๆ ได้ โดยเชิญวิทยากร จากส�ำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัยระดับอ�ำเภอ จ�ำนวน 11 อ�ำเภอในจังหวัดฉะเชิงเทรา ในปี 2562 มีนกั ศึกษาผูพ้ กิ ารผ่านการฝึกอบรม จ�ำนวน 120 คน
2560 บริษท ั รวมกับคณะกรรมการดําเนินงาน โครงการปรับปรุงภูมท ิ ศ ั นภายในศูนยฯ เพือ ่ เตรียมความพรอมรองรับการให บริการชุมชนในป 2561
จากการติดตามผลของผูผ้ า่ นการอบรม พบว่า รุนที่ 3
(ป 2558)
รุนที่ 4
(ป 2559)
รุนที่ 5
(ป 2560)
รุนที่ 6
(ป 2561)
รุนที่ 7
(ป 2562)
สามารถเข้าสถานประกอบการ จ�ำนวน 18 คน จากผู ้ เ ข้ า ร่ ว มอบรม 110 คน คิ ด เป็ น ร้อยละ 16.36 สามารถเข้าสถานประกอบการ จ�ำนวน 12 คน จากผู ้ เ ข้ า ร่ ว มอบรม 105 คน คิ ด เป็ น ร้อยละ 11.43 สามารถเข้าสถานประกอบการ จ�ำนวน 28 คน จากผู ้ เ ข้ า ร่ ว มอบรม 105 คน คิ ด เป็ น ร้อยละ 26.67 สามารถเข้าสถานประกอบการ จ�ำนวน 28 คน จากผู ้ เ ข้ า ร่ ว มอบรม 175 คน คิ ด เป็ น ร้อยละ 16.00 สามารถเข้าสถานประกอบการ จ�ำนวน 18 คน จากผู ้ เ ข้ า ร่ ว มอบรม 120 คน คิ ด เป็ น ร้อยละ 15.00
รายงานความยั่งยืน 2562 #สะกิดไทยใส่ใจน�้ำ
โครงการส่งเสริมคุณภาพชีวติ 1. โครงการอบรมอาชีพ (ลดรายจ่าย เพิม่ รายได้ ตามแนวหลักเศรษฐกิจพอเพียง)
2. โครงการฟุตบอลเชือ่ มสัมพันธ์
3. กฐินประจ�ำปี
89
ภาคผนวก
รายงานความยั่งยืน 2562 #สะกิดไทยใส่ใจน�้ำ
91
ตารางระดับความพึงพอใจในแต่ละด้าน เปรียบเทียบปี 2560 - 2562 กลุ่มธุรกิจน�้ำดิบ ป 2560 4.38
4.51
4.64
4.27
4.57
4.48
4.32
4.44
4.50
4.33
4.45
4.46
6. การตอบสนอง ความตองการของลูกคา
4.62
ป 2562
5. การใหบริการขอมูลขาวสาร
4.49
2. การใหบริการซอมบํารุง
4.29
4. การใหบริการของหองควบคุม
4.48
3. การใหบริการดานการขาย
4.57
1. การใหบริการจายนํ้า
4.35
ป 2561
ตารางระดับความพึงพอใจในแต่ละด้าน เปรียบเทียบปี 2560 - 2562 กลุ่มธุรกิจน�้ำประปา
4.45
4.56
4.57
4.33
4.50
3. ความพึงพอใจ ดานการใหบริการและซอมบํารุง
4.54
2. ความพึงพอใจ ดานการติดตอสื่อสาร และรับแจงปญหา
4.36
1. ความพึงพอใจ ดานคุณภาพ และการสงจายนํ้าประปา
4.23
4.56
ป 2561
ป 2562
4.49
4.64
4.91
4. ความพึงพอใจ ดานการอานมาตร และการชําระเงิน
ป 2560
92
รายงานความยั่งยืน 2562 บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)
ตารางแสดงข้อมูลปริมาณน�้ำจากแหล่งน�้ำหลักที่บริษัทใช้ใน ปี 2561 - 2562 (Disclosure 303-1, 303-2, 303-3, 303-5) ความส�ำคัญของแหล่งน�้ำ ต่อชุมชนท้องถิ่น
แหล่งน�้ำ
ปริมาณน�้ำ
พื้นที่ระยอง 1. อ่างฯ ประแสร์
2. อ่างฯ หนองปลาไหล
ความจุอ่างฯ
103 ล้านลิตร
• ส่งน�้ำให้พื้นที่เพาะปลูกในเขตโครงการประแสร์ • เพื่อป้องกันการรุกล�้ำของน�้ำเค็ม • ป้องกันอุทกภัยในอ�ำเภอแกลง จังหวัดระยอง • ส�ำรองน�้ำดิบส�ำหรับนิคมอุตสาหกรรมในเขตพื้นที่ชายฝั่งทะเลตะวันออก • ปริมาณน�้ำไหลเข้าอ่าง 151.92 ล้าน ลบ.ม. (ที่มา : อ่างเก็บน�้ำทั่วประเทศ โดยกรมชลประทาน) • ส่งน�้ำให้พื้นที่การเพาะปลูกในเขตโครงการชลประทานบ้านค่าย • ป้องกันอุทกภัยในจังหวัดระยอง • ส่งน�้ำเพื่อการอุปโภคบริโภค และการอุตสาหกรรม ในอนาคตมีแผนการส่งน�้ำไปให้พื้นที่สัตหีบ เพื่อโครงการ
248.00
163.75
ขยายพื้นที่อุตสาหกรรม
3. อ่างฯ ดอกกราย
พื้นที่ชลบุรี 4. อ่างฯ บางพระ
5. อ่างฯ หนองค้อ
พื้นที่ฉะเชิงเทรา 6. แม่น�้ำบางปะกง (Water Stress) แหล่งที่มา https://www.wri.org/ our-work/project/ aqueduct/
7. แหล่งน�้ำเอกชน (Water Stress) แหล่งที่มา https://www.wri.org/ our-work/project/ aqueduct/ 8. ปริมาณน�ำ้ ฝนจากสระฯ ส�ำนักบก
รวม
• เป็นแหล่งเพาะพันธุ์ปลา ท่องเที่ยว และพักผ่อนหย่อนใจ • ปริมาณน�้ำไหลเข้าอ่าง 116.19 ล้าน ลบ.ม. (ที่มา : อ่างเก็บน�้ำทั่วประเทศ โดยกรมชลประทาน) • ส่งน�้ำให้พื้นที่เพาะปลูกในเขตโครงการชลประทานบ้านค่าย • ป้องกันอุทกภัยในจังหวัดระยอง • ส่งน�้ำเพื่อการอุปโภคบริโภค และการอุตสาหกรรม • เป็นแหล่งเพาะพันธุ์ปลา ท่องเที่ยว และพักผ่อนหย่อนใจ • ปริมาณน�้ำไหลเข้าอ่าง 57.76 ล้าน ลบ.ม. (ที่มา : อ่างเก็บน�้ำทั่วประเทศ โดยกรมชลประทาน) • เพื่อการเกษตรกรรม 8,500 ไร่ • ส่งน�ำ้ เพือ่ การอุปโภคบริโภค และการอุตสาหกรรม • เป็นแหล่งเพาะพันธุ์ปลา ท่องเที่ยว และพักผ่อนหย่อนใจ • ปริมาณน�้ำไหลเข้าอ่าง 36.82 ล้าน ลบ.ม. (ที่มา : อ่างเก็บน�้ำทั่วประเทศ โดยกรมชลประทาน) • ส่งน�ำ้ ลงล�ำห้วยเดิม เพือ่ การเกษตรกรรม 7,500 ไร่ • ส่งน�ำ้ เพือ่ การอุปโภคบริโภค และการอุตสาหกรรม • เป็นแหล่งเพาะพันธุ์ปลา ท่องเที่ยว และพักผ่อนหย่อนใจ • ปริมาณน�้ำไหลเข้าอ่าง 10.89 ล้าน ลบ.ม. (ที่มา : อ่างเก็บน�้ำทั่วประเทศ โดยกรมชลประทาน) • รักษาระบบนิเวศ • ช่วยชะลอน�้ำเค็ม • เป็นแหล่งน�้ำส�ำหรับการอุปโภคบริโภค การเกษตรกรรม และการอุตสาหกรรม • ปริมาณน�้ำท่าธรรมชาติ 3,344 ล้าน ลบ.ม. (ที่มา : ส�ำนักงานโครงการขนาดใหญ่ โดยกรมชลประทาน)
79.41
117.00
21.40
-
-
-
รายงานความยั่งยืน 2562 #สะกิดไทยใส่ใจน�้ำ
ปริมาณน�้ำเพื่อบริหารจัดการ
ปริมาณของแข็ง ปริมาณของแข็ง ที่ละลายน�้ำ ทีล ่ ะลายน�้ำ ทั้งหมด ทัง ้ หมด (≤ 1,000 (> 1,000 มก./ ลิตร) มก./ ลิตร)
93
ได้รบ ั จัดสรร (ตามหนังสือ อนุญาต)
น�้ำสูบ ปี 2561
น�้ำสูบ ปี 2562
103 ล้านลิตร
103 ล้านลิตร
103 ล้านลิตร
103 ล้านลิตร
103 ล้านลิตร
103 ล้านลิตร เท่ากับ ล้าน ลบ.ม.
107.00
38.77
74.91
74.91
-
รอบปี 2561-2562 บริษัทใช้น�้ำจากท่อประแสร์-คลองใหญ่ 35.55 ล้าน ลบ.ม. และจากท่อประแสร์-หนองปลาไหล 34.82 ล้าน ลบ.ม.
120.00
115.49
145.61
145.61
-
รอบปี 2561-2562 บริษัทใช้น�้ำเกินกว่าปริมาณที่ได้รับอนุญาต ในหนังสือเนื่องจากปริมาณน�้ำที่อ่างเก็บน�้ำดอกกรายมีน้อย จึงต้องลดการใช้น�้ำและเพิ่มที่อ่างเก็บน�้ำหนองปลาไหลแทน
116.00
77.11
68.36
68.36
-
ปริมาณน�ำ้ ทีบ่ ริษทั ได้รบั อนุญาต 116.00 ล้าน ลบ.ม. มากกว่าความจุ ของอ่างเก็บน�ำ ้ เพราะมีการพิจารณาปริมาณน�ำ้ ทีจ่ ะไหลลงอ่างฯ เป็นน�้ำในระหว่างปีด้วย
8.00
5.88
5.64
5.64
-
16.70
10.81
13.02
13.02
-
บริษัทได้รับหนังสืออนุญาตใช้น�้ำจากอ่างเก็บน�้ำบางพระ 8.00 ล้าน ลบ.ม. และได้รบั จัดสรรเป็นปริมาณ 3.67 ล้าน ลบ.ม. (บริษทั ใช้น�้ำจัดสรร 3.67 ล้าน ลบ.ม. และน�้ำฝากจากแม่น�้ำบางปะกง 1.97 ล้าน ลบ.ม.) รอบปี 2561-2562 บริษทั ใช้นำ�้ รวม 17.60 ล้าน ลบ.ม. เกินกว่าปริมาณ ทีไ่ ด้รบั อนุญาตในหนังสือเนือ่ งจาก 2 สาเหตุ คือ โครงการชลประทาน ชลบุรีขุดลอกอ่างเก็บน�้ำหนองค้อ และการประปาศรีราชาขอให้ จ่ายน�้ำแทนระบบสูบน�้ำที่มีปัญหา
27.00
6.05
14.96
14.96
-
-
8.00
12.02
12.02
-
-
0.26
0.26
0.26
-
394.70
262.37
334.78
334.78
-
หมายเหตุ
บริษัทด�ำเนินการสูบน�้ำเฉพาะช่วงฤดูฝนและเป็นไปตามเกณฑ์ที่ ก�ำหนดร่วมกับจังหวัดฉะเชิงเทรา มีปริมาณน�ำ้ ส่วนหนึง่ ผันไปเก็บ กักยังอ่างฯ บางพระและสระส�ำรองน�ำ้ ดิบส�ำนักบก เพือ่ ส�ำรองน�ำ้ ในช่วงฤดูแล้งให้พื้นที่ฉะเชิงเทราและชลบุรี โดยในปี 2562 บริษัทได้สูบน�้ำจากแม่น�้ำบางปะกงส่งจ่ายพื้นที่ ฉะเชิงเทรา นอกจากนั้นน�ำไปฝากส�ำรองที่สระส�ำรองส�ำนักบก 1.01 ล้าน ลบ.ม. และฝากส�ำรองทีอ่ า่ งเก็บน�ำ้ บางพระ 8.22 ล้าน ลบ.ม. ทั้งนี้ บริษัทเฝ้าระวังและตรวจสอบคุณภาพน�้ำแม่น�้ำ บางปะกงอย่างต่อเนือ่ ง เพือ่ ประกอบการพิจารณาการสูบน�ำ้ จาก แม่นำ�้ บางปะกง โดยจะเริม่ สูบน�ำ้ เมือ่ น�ำ้ ในแม่นำ�้ บางปะกงบริเวณ หน้าทีว่ า่ การอ�ำเภอบ้านโพธิ์ มีคา่ ความเค็มต�ำ่ กว่า 1 กรัมต่อลิตร (คุณภาพน�้ำตรวจวัดโดยโครงการชลประทานฉะเชิงเทรา) และ จะหยุดสูบน�ำ ้ เมือ่ สิน้ สุดฤดูฝน หรือน�ำ้ ในแม่นำ�้ บางปะกงบริเวณ จุดเดียวกัน มีค่าความเค็มสูงกว่า 1 กรัมต่อลิตร บริษัทส่งจ่ายน�้ำจากแหล่งน�้ำเอกชนให้พื้นที่ฉะเชิงเทรา ในช่วง ฤดูแล้ง และฝากส�ำรองที่สระส�ำรองส�ำนักบก 0.12 ล้าน ลบ.ม. และคอยติดตามเฝ้าระวังสถานการณ์ปริมาณน�ำ้ ในพืน้ ที่ เพือ่ ไม่ให้ กระทบกับชุมชนใกล้เคียง คิดเป็นร้อยละ 5.59 ของปริมาณน�ำ้ ในสระฯ ค�ำนวณจากปริมาณ ฝนเฉลี่ยรายเดือน x พื้นที่ผิวน�้ำ (อ้างอิงข้อมูลปริมาณฝนเฉลี่ย ในรายงานการศึกษาความเหมาะสมและส�ำรวจออกแบบท่อส่ง น�้ำดิบ อ่างเก็บน�้ำประแสร์-อ่างเก็บน�้ำหนองค้อ-อ่างเก็บน�้ำ บางพระ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เดือนกุมภาพันธ์ 2561)
94
รายงานความยั่งยืน 2562 บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)
ตารางแสดงข้อมูลปริมาณน�้ำจากแหล่งน�้ำที่บริษัทในเครือใช้ผลิตน�้ำประปา ปี 2562 (Disclosure 303-3, 306-1) วิธีการจัดหา น�้ำดิบ
ประเภท แหล่งน�้ำ
คู่สัญญาจัดหา
น�้ำผิวดิน
กิจการประปา
รายการ
ฉะเชิงเทรา บางปะกง ปริมาณน�้ำที่น�ำมาใช้ในการผลิตน�้ำประปา (พันลิตร) ชลบุรี ระยอง บ่อวิน สัตหีบ หลักชัย - ปริมาณน�้ำที่น�ำมาใช้ในการผลิตน�้ำประปา (พันลิตร) เมืองยาง นครสวรรค์ มีค่าปริมาณของแข็งที่ละลายน�้ำทั้งหมด ≤ 1,000 มก./ลิตร ปริมาณน�้ำที่น�ำมาใช้ในการผลิตน�้ำประปา (พันลิตร) มีค่าปริมาณของแข็งที่ละลายน�้ำทั้งหมด > 1,000 มก./ลิตร ปริมาณน�้ำประปาจ่ายออกจากระบบผลิต (พันลิตร) ปริมาณน�้ำสูญเสียในระบบผลิต (พันลิตร)
บริษัทจัดหา
น�้ำผิวดิน
หนองขาม ราชบุรี ปริมาณน�้ำที่น�ำมาใช้ในการผลิตน�้ำประปา (พันลิตร) หัวรอ ปริมาณน�้ำที่น�ำมาใช้ในการผลิตน�้ำประปา (พันลิตร) มีค่าปริมาณของแข็งที่ละลายน�้ำทั้งหมด ≤ 1,000 มก./ลิตร ปริมาณน�้ำที่น�ำมาใช้ในการผลิตน�้ำประปา (พันลิตร) มีค่าปริมาณของแข็งที่ละลายน�้ำทั้งหมด > 1,000 มก./ลิตร ปริมาณน�้ำประปาจ่ายออกจากระบบผลิต (พันลิตร) ปริมาณน�้ำสูญเสียในระบบผลิต (พันลิตร)
น�้ำทะเล
เกาะล้าน เกาะสมุย ปริมาณน�้ำที่น�ำมาใช้ในการผลิตน�้ำประปา (พันลิตร)
ปริมาณน�้ำ
100,405,324.41 100,405,324.41 99,411,435.50 993,888.92 15,437,773.00 15,437,773.00 15,300,730.00 137,043.00 1,051,165.00
ปริมาณน�้ำที่น�ำมาใช้ในการผลิตน�้ำประปา (พันลิตร) มีค่าปริมาณของแข็งที่ละลายน�้ำทั้งหมด ≤ 1,000 มก./ลิตร
-
ปริมาณน�้ำที่น�ำมาใช้ในการผลิตน�้ำประปา (พันลิตร) มีค่าปริมาณของแข็งที่ละลายน�้ำทั้งหมด > 1,000 มก./ลิตร
1,051,165.00
ปริมาณน�้ำประปาจ่ายออกจากระบบผลิต (พันลิตร)
1,038,682.00
ปริมาณน�้ำสูญเสียในระบบผลิต (พันลิตร)
12,483.00
หมายเหตุ : • กิจการประปาระยอง ใช้ค่าของแข็งรวม (TS) ของน�้ำดิบแทนค่าปริมาณของแข็งที่ละลายน�้ำทั้งหมด (TDS) • กิจการประปาหลักชัยเมืองยาง และชลบุรี ไม่ได้ตรวจวัดค่าปริมาณของแข็งที่ละลายน�้ำทั้งหมด (TDS) แต่ใช้น�้ำผิวดิน และอยู่ในบริเวณใกล้เคียงกันเช่นเดียวกับพื้นที่กิจการประปา ระยองซึ่งค่าปริมาณของแข็งที่ละลายน�้ำทั้งหมด (TDS) น�้ำดิบไม่เกิน 1,000 ppm จึงพิจารณาว่าคุณสมบัติน�้ำดิบของหลักชัย และชลบุรีมาจากแหล่งเดียวกันกับระยอง ค่าปริมาณ ของแข็งที่ละลายน�้ำทั้งหมด (TDS) จึงไม่ควรเกิน 1,000 ppm เช่นเดียวกัน
รายงานความยั่งยืน 2562 #สะกิดไทยใส่ใจน�้ำ
95
ข้อมูลพนักงานบริษัท (Disclosure 102-7, 102-8) 2559 พนักงาน
2560
2561
2562
จ�ำนวน (คน)
ร้อยละ
จ�ำนวน (คน)
ร้อยละ
จ�ำนวน (คน)
ร้อยละ
จ�ำนวน (คน)
ร้อยละ
168
100
214
100
221
100
229
100
ชาย
93
55.36
105
49.07
107
48.42
117
51.09
หญิง
75
44.64
109
50.93
114
51.58
112
48.91
165
98.21
210
98.13
217
98.19
228
99.56
3
1.79
4
1.87
4
1.81
1
0.44
ผู้บริหาร
13
7.74
18
8.42
19
8.60
20
8.73
- ชาย
5
2.98
9
4.21
9
4.07
10
50.00
- หญิง
8
4.76
9
4.21
10
4.53
10
50.00
ผู้บังคับบัญชา
24
14.29
27
12.62
31
14.03
33
14.41
- ชาย
N/A
N/A
N/A
N/A
N/A
N/A
13
39.39
- หญิง
N/A
N/A
N/A
N/A
N/A
N/A
20
60.61
ปฏิบัติงาน
131
77.98
169
78.97
171
77.38
176
76.86
- ชาย
N/A
N/A
N/A
N/A
N/A
N/A
94
53.41
- หญิง
N/A
N/A
N/A
N/A
N/A
N/A
82
46.59
น้อยกว่า 30 ปี
28
16.67
33
15.42
35
15.84
36
15.72
ระหว่าง 30-50 ปี
122
72.62
158
73.83
163
73.76
173
75.55
มากกว่า 50 ปี
18
10.71
23
10.75
23
10.40
20
8.73
ภาคกลาง (กทม.)
117
69.64
148
69.16
151
68.33
150
65.50
ภาคตะวันออก (ฉะเชิงเทรา ชลบุรี ระยอง)
51
30.36
66
30.84
70
31.67
79
34.50
พนักงานทั้งหมด จ�ำแนกตามเพศ
แบ่งตามประเภทการจ้าง ประจ�ำ สัญญาจ้าง แบ่งตามระดับ
จ�ำแนกตามอายุ
แบ่งตามภูมิภาค
96
รายงานความยั่งยืน 2562 บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)
ข้อมูลพนักงาน OUTSOURCE บริษัท 2559
2560
2561
2562
พนักงาน
จ�ำนวน (คน)
ร้อยละ
จ�ำนวน (คน)
ร้อยละ
จ�ำนวน (คน)
ร้อยละ
จ�ำนวน (คน)
ร้อยละ
พนักงาน OUTSOURCE east water
N/A
N/A
N/A
N/A
N/A
N/A
49
100
ชาย
N/A
N/A
N/A
N/A
N/A
N/A
31
63.26
หญิง
N/A
N/A
N/A
N/A
N/A
N/A
18
36.74
ผู้บริหาร
N/A
N/A
N/A
N/A
N/A
N/A
-
-
- ชาย
N/A
N/A
N/A
N/A
N/A
N/A
-
-
- หญิง
N/A
N/A
N/A
N/A
N/A
N/A
-
-
ผู้บังคับบัญชา
N/A
N/A
N/A
N/A
N/A
N/A
-
-
- ชาย
N/A
N/A
N/A
N/A
N/A
N/A
-
-
- หญิง
N/A
N/A
N/A
N/A
N/A
N/A
-
-
ปฏิบัติงาน
N/A
N/A
N/A
N/A
N/A
N/A
49
100
- ชาย
N/A
N/A
N/A
N/A
N/A
N/A
31
63.26
- หญิง
N/A
N/A
N/A
N/A
N/A
N/A
18
36.74
น้อยกว่า 30 ปี
N/A
N/A
N/A
N/A
N/A
N/A
20
40.82
ระหว่าง 30-50 ปี
N/A
N/A
N/A
N/A
N/A
N/A
28
57.14
มากกว่า 50 ปี
N/A
N/A
N/A
N/A
N/A
N/A
1
2.04
ภาคกลาง (กทม.)
N/A
N/A
N/A
N/A
N/A
N/A
22
44.90
ภาคตะวันออก (ฉะเชิงเทรา ชลบุรี ระยอง)
N/A
N/A
N/A
N/A
N/A
N/A
27
55.10
จ�ำแนกตามเพศ
แบ่งตามระดับ
จ�ำแนกตามอายุ
แบ่งตามภูมิภาค
รายงานความยั่งยืน 2562
97
#สะกิดไทยใส่ใจน�้ำ
อัตราการจ้างพนักงานใหม่ แบ่งตามเพศ อายุ และภูมิภาค (Disclosure 401-1) 2559 พนักงาน
2560
2561
2562
จ�ำนวน (คน)
ร้อยละ
จ�ำนวน (คน)
ร้อยละ
จ�ำนวน (คน)
ร้อยละ
จ�ำนวน (คน)
ร้อยละ
19
11.31
65
30.37
23
10.41
23
10.04
ชาย
9
5.36
19
8.87
11
4.98
17
7.42
หญิง
10
5.95
46
21.50
12
5.43
6
2.62
น้อยกว่า 30 ปี
8
4.76
18
8.41
13
5.88
10
4.37
ระหว่าง 30-50 ปี
10
5.95
45
21.03
10
4.53
13
5.68
มากกว่า 50 ปี
1
0.60
2
0.93
-
-
-
-
ภาคกลาง (กทม.)
6
3.57
7
3.27
12
5.43
13
5.68
ภาคตะวันออก (ฉะเชิงเทรา ชลบุรี ระยอง)
13
7.74
58
27.10
11
4.98
10
4.37
อัตราการจ้างพนักงานใหม่ทั้งหมด จ�ำแนกตามเพศ
จ�ำแนกตามอายุ
แบ่งตามภูมิภาค
98
รายงานความยั่งยืน 2562 บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)
อัตราพนักงานบริษัทที่ลาออก แบ่งตามเพศ อายุ และภูมิภาค 2559 พนักงาน
2560
2561
2562
จ�ำนวน (คน)
ร้อยละ
จ�ำนวน (คน)
ร้อยละ
จ�ำนวน (คน)
ร้อยละ
จ�ำนวน (คน)
ร้อยละ
20
11.9
19
8.89
15
6.79
15
6.55
ชาย
10
5.95
7
3.28
9
4.07
7
3.06
หญิง
10
5.95
12
5.61
6
2.72
8
3.49
น้อยกว่า 30 ปี
6
3.57
5
2.34
6
2.72
2
0.87
ระหว่าง 30-50 ปี
14
8.33
11
5.14
9
4.07
10
4.37
-
-
3
1.41
-
-
3
1.31
ภาคกลาง (กทม.)
17
10.12
15
7.02
10
4.53
13
5.68
ภาคตะวันออก (ฉะเชิงเทรา ชลบุรี ระยอง)
3
1.78
4
1.87
5
2.26
2
0.87
อัตราพนักงานลาออกทั้งหมด จ�ำแนกตามเพศ
จ�ำแนกตามอายุ
มากกว่า 50 ปี แบ่งตามภูมิภาค
สถิติการลาป่วยของพนักงานบริษัทแยกตามเพศและพื้นที่ ประจ�ำปี 2562 (Disclosure 403-2) จ�ำนวนวันลาป่วย จ�ำนวนวัน การท�ำงาน
เจ็บป่วยทั่วไป
จ�ำนวน วันหยุดงาน จากอุบัติเหตุ
ลาป่วย (AR)
จ�ำนวนโรค จากการท�ำงาน
*ลาป่วย (ODR)
ชาย
28,431.00
524.25
26.00
0.02
-
-
หญิง
27,216.00
605.75
-
0.02
-
-
ชาย
13,365.00
272.31
-
0.02
-
-
หญิง
23,085.00
551.81
-
0.02
-
-
ชาย
15,066.00
251.94
26.00
0.02
-
-
หญิง
4,131.00
53.94
-
0.01
-
-
จ�ำนวนคน
จ�ำแนกตามเพศ
ส�ำนักงานใหญ่
พื้นที่ปฏิบัติการ
ในปี 2562 มีจ�ำนวนวันท�ำงาน 244 วัน ค�ำนวณจากวันท�ำงานจริงในแต่ละปี
รายงานความยั่งยืน 2562 #สะกิดไทยใส่ใจน�้ำ
99
ข้อมูลพนักงานบริษัทในเครือ ธุรกิจน�้ำประปา
ธุรกิจบ�ำบัดน�้ำเสีย และน�้ำรีไซเคิล 2562
พนักงาน จ�ำนวน (คน)
ร้อยละ
จ�ำนวน (คน)
ร้อยละ
141
100
-
-
ชาย
97
68.79
-
-
หญิง
44
31.21
-
-
133
94.33
-
-
8
5.67
-
-
ผู้บริหาร
9
6.38
-
-
- ชาย
6
66.67
-
-
- หญิง
3
33.33
-
-
ผู้บังคับบัญชา
18
12.77
-
-
- ชาย
12
66.67
-
-
- หญิง
6
33.33
-
-
ปฏิบัติงาน
114
80.85
-
-
- ชาย
79
69.30
-
-
- หญิง
35
30.70
-
-
น้อยกว่า 30 ปี
28
19.86
-
-
ระหว่าง 30-50 ปี
102
72.34
-
-
มากกว่า 50 ปี
11
7.80
-
-
ภาคกลาง (กทม. นครสวรรค์ อยุธยา พิษณุโลก )
61
43.26
-
-
ภาคตะวันตก (ราชบุรี)
7
4.96
-
-
ภาคตะวันออก (ฉะเชิงเทรา ชลบุรี ระยอง)
64
45.39
-
-
ภาคใต้ (สุราษฎร์ธานี)
9
6.39
-
-
พนักงานทั้งหมด จ�ำแนกตามเพศ
แบ่งตามประเภทการจ้าง ประจ�ำ สัญญาจ้าง แบ่งตามระดับ
จ�ำแนกตามอายุ
แบ่งตามภูมิภาค
100
รายงานความยั่งยืน 2562 บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)
อัตราการจ้างพนักงานใหม่บริษัทในเครือ แบ่งตามเพศ อายุ และภูมิภาค ธุรกิจน�้ำประปา
ธุรกิจบ�ำบัดน�้ำเสีย และน�้ำรีไซเคิล 2562
พนักงาน จ�ำนวน (คน)
ร้อยละ
จ�ำนวน (คน)
ร้อยละ
17
12.06
-
-
ชาย
12
8.51
-
-
หญิง
5
3.55
-
-
น้อยกว่า 30 ปี
9
6.39
-
-
ระหว่าง 30-50 ปี
8
5.67
-
-
มากกว่า 50 ปี
-
-
-
-
ภาคกลาง (กทม. นครสวรรค์ อยุธยา พิษณุโลก )
6
4.26
-
-
ภาคตะวันตก (ราชบุรี)
3
2.12
-
-
ภาคตะวันออก (ฉะเชิงเทรา ชลบุรี ระยอง)
6
4.26
-
-
ภาคใต้ (สุราษฎร์ธานี)
2
1.42
-
-
อัตราการจ้างพนักงานใหม่ทั้งหมด จ�ำแนกตามเพศ
จ�ำแนกตามอายุ
แบ่งตามภูมิภาค
รายงานความยั่งยืน 2562 #สะกิดไทยใส่ใจน�้ำ
101
อัตราพนักงานบริษัทในเครือที่ลาออก แบ่งตามเพศ อายุ และภูมิภาค ธุรกิจน�้ำประปา
ธุรกิจบ�ำบัดน�้ำเสีย และน�้ำรีไซเคิล 2562
พนักงาน จ�ำนวน (คน)
ร้อยละ
จ�ำนวน (คน)
ร้อยละ
12
8.51
-
-
ชาย
10
7.09
-
-
หญิง
2
1.42
-
-
น้อยกว่า 30 ปี
3
2.12
-
-
ระหว่าง 30-50 ปี
4
2.84
-
-
มากกว่า 50 ปี
5
3.55
-
-
ภาคกลาง (กทม. นครสวรรค์ อยุธยา พิษณุโลก )
6
4.26
-
-
ภาคตะวันตก (ราชบุรี)
-
-
-
-
ภาคตะวันออก (ฉะเชิงเทรา ชลบุรี ระยอง)
6
4.26
-
-
ภาคใต้ (สุราษฎร์ธานี)
-
-
-
-
อัตราพนักงานลาออกทั้งหมด จ�ำแนกตามเพศ
จ�ำแนกตามอายุ
แบ่งตามภูมิภาค
102
รายงานความยั่งยืน 2562 บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)
ข้อมูล OUTSOURCE บริษัทในเครือ ธุรกิจน�้ำประปา พนักงาน
ธุรกิจบ�ำบัดน�้ำเสีย และน�้ำรีไซเคิล 2562
จ�ำนวน (คน)
ร้อยละ
จ�ำนวน (คน)
ร้อยละ
200
97.09
6
2.91
ชาย
178
86.41
6
2.91
หญิง
22
10.68
-
-
ผู้บริหาร
-
-
-
-
- ชาย
-
-
-
-
- หญิง
-
-
-
-
ผู้บังคับบัญชา
-
-
-
-
- ชาย
-
-
-
-
- หญิง
-
-
-
-
ปฏิบัติงาน
200
97.09
6
2.91
- ชาย
178
86.41
6
3
- หญิง
22
10.68
-
-
น้อยกว่า 30 ปี
81
39.32
4
1.94
ระหว่าง 30-50 ปี
116
56.31
2
0.97
3
1.46
-
-
ภาคกลาง (กทม. นครสวรรค์ อยุธยา พิษณุโลก )
29
14.08
-
-
ภาคตะวันตก (ราชบุรี)
23
11.17
-
-
ภาคตะวันออก (ฉะเชิงเทรา ชลบุรี ระยอง)
148
71.84
6
2.91
-
-
-
-
พนักงาน OUTSOURCE ทั้งหมด จ�ำแนกตามเพศ
แบ่งตามระดับ
จ�ำแนกตามอายุ
มากกว่า 50 ปี แบ่งตามภูมิภาค
ภาคใต้ (สุราษฎร์ธานี)
รายงานความยั่งยืน 2562 #สะกิดไทยใส่ใจน�้ำ
103
สถิติการลาป่วยของพนักงานบริษัทในเครือ แยกตามเพศและพื้นที่ ประจ�ำปี 2562 จ�ำนวนวันลาป่วย จ�ำนวนคน
จ�ำนวนวัน การท�ำงาน
จ�ำนวนวัน ลาป่วย (AR) เจ็บป่วยทั่วไป หยุดงานจาก อุบัติเหตุ
จ�ำนวนโรค จากการ ท�ำงาน
*ลาป่วย (ODR)
จ�ำแนกตามเพศ ชาย
26,001.00
416.23
-
0.02
-
-
หญิง
11,178.00
177.08
-
0.02
-
-
ชาย
8,505.00
162.46
-
0.02
-
-
หญิง
5,103.00
66.02
-
0.01
-
-
ชาย
17,496.00
253.77
-
0.01
-
-
หญิง
6,075.00
111.06
-
0.02
-
-
ส�ำนักงานใหญ่
พื้นที่ปฏิบัติการ
ในปี 2562 มีจ�ำนวนวันท�ำงาน 244 วัน ค�ำนวณจากวันท�ำงานจริงในแต่ละปี
Chiller No. 3 350.00
Chiller No. 4 175.00
3
4
TR
TR
TR
TR
หน่วย
CHP-04
CHP-01
CHP-04
CHP-02
CHP-04
CHP-03
1
2
1
2
1
2
30.00
15.00
30.00
15.00
30.00
15.00
ขนาด
kW
kW
kW
kW
kW
kW
หน่วย
15.31
8.22
15.03
8.25
15.16
8.17
Power Input (kW)
หมายเหตุ : kWh/y = kW × ชั่วโมงท�ำงาน × เปอร์เซ็นต์เปิดใช้งาน
รวม
รายการ เครื่องจักร
ล�ำดับ
ข้อมูล CHP ก่อนปรับปรุง
68.49
134.30
130.98
126.73
Power Input (kW)
หมายเหตุ : kW = (kW/TR) × ขนาด (TR) × %Load × จ�ำนวน : kWh/y = kW × ชั่วโมงท�ำงาน × เปอร์เซ็นต์เปิดใช้งาน
รวม
Chiller No. 2 350.00
2
ขนาด
Chiller No. 1 350.00
รายการ เครื่องจักร
1
ล�ำดับ
ข้อมูล Chiller ก่อนปรับปรุง
ก่อนปรับปรุง
มาตรการอนุรักษ์พลังงานอาคารส�ำนักงานใหญ่ วิธีการค�ำนวณผลการอนุรักษ์พลังงาน
1,127.67
1,100.04
-
ข้อมูล
GPM
GPM
GPM
หน่วย
TR
TR
TR
TR
หน่วย
Output
69.07
179.26
179.93
181.08
ข้อมูล
Output
100.00
100.00
100.00
%Load (%)
39.47
51.22
51.41
51.74
%Load (%)
47.92
47.26
-
ข้อมูล
0.992
0.749
0.728
0.700
ข้อมูล
หน่วย
kW/TR
kW/TR
kW/TR
kW/TR
หน่วย
GPM/kW
GPM/kW
GPM/kW
SEC
SEC
1
1
1
1
1
1
จ�ำนวน (เครื่อง)
1
1
1
1
จ�ำนวน (เครื่อง)
931.50
931.50
931.50
931.50
931.50
931.50
ชั่วโมง ท�ำงาน (h/y)
2,794.50
931.50
931.50
931.50
ชั่วโมง ท�ำงาน (h/y)
100.00
100.00
100.00
100.00
100.00
100.00
เปอร์เซ็นต์ เปิดใช้งาน (%)
100.00
100.00
100.00
100.00
เปอร์เซ็นต์ เปิดใช้งาน (%)
15.31
8.22
15.03
8.25
15.16
8.17
kW (kW)
68.49
134.30
130.98
126.73
kW (kW)
65,336.11
14,259.69
7,659.94
13,999.67
7,680.71
14,123.50
7,612.60
kWh/y
556,558.95
191,398.62
125,101.17
122,007.53
118,051.62
kWh/y
เดินสลับคู่กัน
เดินสลับคู่กัน
เดินสลับคู่กัน
เดินสลับคู่กัน
เดินสลับคู่กัน
เดินสลับคู่กัน
หมายเหตุ
เดินต่อเนื่อง
350TR สลับเดิน
350TR สลับเดิน
350TR สลับเดิน
หมายเหตุ
104 รายงานความยั่งยืน 2562
บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)
CDP-04
CDP-01
CDP-04
CDP-02
CDP-04
CDP-03
1
2
1
2
1
2
18.50
11.00
18.50
11.00
18.50
11.00
ขนาด
kW
kW
kW
kW
kW
kW
หน่วย
CT-1/1
CT-1/2
CT-2/1
CT-2/2
CT-3/1
CT-3/2
CT-4
1
2
1
2
1
2
3
kW
kW
kW
kW
kW
kW
kW
หน่วย
5.79
4.95
4.49
5.33
5.33
4.17
5.52
Power Input (kW)
หมายเหตุ : kWh/y = kW × ชั่วโมงท�ำงาน × เปอร์เซ็นต์เปิดใช้งาน
5.50
5.50
5.50
5.50
5.50
5.50
5.50
ขนาด ข้อมูล
-
-
-
-
-
-
-
GPM
GPM
GPM
หน่วย
CFM
CFM
CFM
CFM
CFM
CFM
CFM
หน่วย
Output
1,575.00
1,575.00
1,575.00
ข้อมูล
Output
100.00
100.00
100.00
100.00
100.00
100.00
100.00
%Load (%)
100.00
100.00
100.00
%Load (%)
-
-
-
-
-
-
-
ข้อมูล
60.14
58.88
57.75
ข้อมูล
หน่วย
หน่วย
CFM/kW
CFM/kW
CFM/kW
CFM/kW
CFM/kW
CFM/kW
CFM/kW
SEC
GPM/kW
GPM/kW
GPM/kW
SEC
1
1
1
1
1
1
1
จ�ำนวน (เครื่อง)
1
1
1
1
1
1
จ�ำนวน (เครื่อง)
2,794.50
931.50
931.50
931.50
931.50
931.50
931.50
ชั่วโมง ท�ำงาน (h/y)
931.50
931.50
931.50
931.50
931.50
931.50
ชั่วโมง ท�ำงาน (h/y)
100.00
100.00
100.00
100.00
100.00
100.00
100.00
เปอร์เซ็นต์ เปิดใช้งาน (%)
100.00
100.00
100.00
100.00
100.00
100.00
เปอร์เซ็นต์ เปิดใช้งาน (%)
5.79
4.95
4.49
5.33
5.33
4.17
5.52
kW (kW)
16.97
9.22
18.43
8.32
18.80
8.47
kW (kW)
43,925.81
16,174.57
4,607.20
4,185.23
4,963.96
4,963.96
3,885.29
5,145.61
kWh/y
74,718.86
15,804.21
8,592.06
17,166.47
7,752.64
17,512.33
7,891.16
kWh/y
เดินสลับคู่กัน
เดินสลับคู่กัน
เดินสลับคู่กัน
เดินสลับคู่กัน
เดินสลับคู่กัน
เดินสลับคู่กัน
เดินสลับคู่กัน
หมายเหตุ
เดินสลับคู่กัน
เดินสลับคู่กัน
เดินสลับคู่กัน
เดินสลับคู่กัน
เดินสลับคู่กัน
เดินสลับคู่กัน
หมายเหตุ
#สะกิดไทยใส่ใจน�้ำ
รวม
รายการ เครื่องจักร
ล�ำดับ
ข้อมูล CT ก่อนปรับปรุง
16.97
9.22
18.43
8.32
18.80
8.47
Power Input (kW)
หมายเหตุ : kWh/y = kW × ชั่วโมงท�ำงาน × เปอร์เซ็นต์เปิดใช้งาน
รวม
รายการ เครื่องจักร
ล�ำดับ
ข้อมูล CDP ก่อนปรับปรุง
รายงานความยั่งยืน 2562
105
Chiller
CHP
CDP
CT
1
2
1
2
16.50
29.50
45.00
525.00
ขนาด
Chiller No. 3 350.00
Chiller No. 4 175.00
3
4
TR
TR
TR
TR
หน่วย
ข้อมูล
หน่วย
Output %Load (%)
68.49
134.30
130.98
126.73
Power Input (kW)
67.07
212.29
212.96
214.11
ข้อมูล
TR
TR
TR
TR
หน่วย
Output
39.47
60.65
60.85
61.17
%Load (%)
= 740,539.73 kWh/y = E1 × CE = 740,539.73 kWh/y × 4.16 บาท/kWh = 3,080,645.28 บาท/y
Power Input (kW)
หมายเหตุ : kW = (kW/TR) × ขนาด (TR) × %Load × จ�ำนวน : kWh/y = kW × ชั่วโมงท�ำงาน × เปอร์เซ็นต์เปิดใช้งาน
รวม
Chiller No. 2 350.00
2
ขนาด
Chiller No. 1 350.00
รายการ เครื่องจักร
1
ล�ำดับ
ข้อมูล Chiller หลังปรับปรุง
kW
kW
kW
TR
หน่วย
พลังงานไฟฟ้าเดิมก่อนปรับปรุง (E1) ค่าใช้จ่ายไฟฟ้าเดิมก่อนปรับปรุง (S1) หลังปรับปรุง
รวม
รายการ เครื่องจักร
ล�ำดับ
พลังงานรวมทั้งหมดก่อนปรับปรุง
0.992
0.671
0.652
0.627
ข้อมูล
ข้อมูล
SEC
SEC
kW/TR
kW/TR
kW/TR
kW/TR
หน่วย
หน่วย
1
1
1
1
จ�ำนวน (เครื่อง)
จ�ำนวน (เครื่อง)
2,794.50
931.50
931.50
931.50
ชั่วโมง ท�ำงาน (h/y)
ชั่วโมง ท�ำงาน (h/y)
52.17
100.00
100.00
100.00
เปอร์เซ็นต์ เปิดใช้งาน (%)
เปอร์เซ็นต์ เปิดใช้งาน (%)
68.49
142.40
138.79
134.16
kW (kW)
kW (kW)
350TR สลับเดิน
350TR สลับเดิน
350TR สลับเดิน
หมายเหตุ
หมายเหตุ
486,762.11
99,860.15 หยุด 5.50 ชัว่ โมง/วัน
132,642.61
129,287.43
124,971.92
kWh/y
740,539.73
43,925.81
74,718.86
65,336.11
556,558.95
kWh/y
106 รายงานความยั่งยืน 2562
บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)
CHP-04
CHP-01
CHP-04
CHP-02
CHP-04
CHP-03
1
2
1
2
1
2
30.00
15.00
30.00
15.00
30.00
15.00
ขนาด
kW
kW
kW
kW
kW
kW
หน่วย
CDP-04
CDP-01
CDP-04
CDP-02
CDP-04
CDP-03
1
2
1
2
1
2
18.50
11.00
18.50
11.00
18.50
11.00
ขนาด
kW
kW
kW
kW
kW
kW
หน่วย
16.97
9.22
18.43
8.32
18.80
8.47
Power Input (kW)
GPM
GPM
GPM
หน่วย
1,575.00
1,575.00
1,575.00
ข้อมูล
GPM
GPM
GPM
หน่วย
Output
1,127.67
1,100.04
-
ข้อมูล
Output
100.00
100.00
100.00
%Load (%)
100.00
100.00
100.00
%Load (%)
60.14
58.88
57.75
ข้อมูล
47.92
47.26
-
ข้อมูล
หน่วย
หน่วย
GPM/kW
GPM/kW
GPM/kW
SEC
GPM/kW
GPM/kW
GPM/kW
SEC
1
1
1
1
1
1
จ�ำนวน (เครื่อง)
1
1
1
1
1
1
จ�ำนวน (เครื่อง)
931.50
931.50
931.50
931.50
931.50
931.50
ชั่วโมง ท�ำงาน (h/y)
931.50
931.50
931.50
931.50
931.50
931.50
ชั่วโมง ท�ำงาน (h/y)
100.00
52.17
100.00
52.17
100.00
52.17
เปอร์เซ็นต์ เปิดใช้งาน (%)
100.00
52.17
100.00
52.17
100.00
52.17
เปอร์เซ็นต์ เปิดใช้งาน (%)
16.97
9.22
18.43
8.32
18.80
8.47
kW (kW)
15.31
8.22
15.03
8.25
15.16
8.17
kW (kW)
หมายเหตุ
เดินสลับคู่กัน เดินสลับคู่กัน
หมายเหตุ
เดินสลับคู่กัน
เดินสลับคู่กัน เดินสลับคู่กัน
63,127.80
15,804.21
เดินสลับคู่กัน
4,482.82 หยุด 5.50 ชัว่ โมง/วัน
17,166.47
4,044.86 หยุด 5.50 ชัว่ โมง/วัน
17,512.33
4,117.13 หยุด 5.50 ชัว่ โมง/วัน
kWh/y
54,358.47
14,259.69
3,996.49 หยุด 5.50 ชัว่ โมง/วัน
13,999.67
4,007.33 หยุด 5.50 ชัว่ โมง/วัน
14,123.50
3,971.79 หยุด 5.50 ชัว่ โมง/วัน
kWh/y
#สะกิดไทยใส่ใจน�้ำ
หมายเหตุ : kWh/y = kW × ชั่วโมงท�ำงาน × เปอร์เซ็นต์เปิดใช้งาน
รวม
รายการ เครื่องจักร
ล�ำดับ
ข้อมูล CDP หลังปรับปรุง
15.31
8.22
15.03
8.25
15.16
8.17
Power Input (kW)
หมายเหตุ : kWh/y = kW × ชั่วโมงท�ำงาน × เปอร์เซ็นต์เปิดใช้งาน
รวม
รายการ เครื่องจักร
ล�ำดับ
ข้อมูล CHP หลังปรับปรุง
รายงานความยั่งยืน 2562
107
CT-1/1
CT-1/2
CT-2/1
CT-2/2
CT-3/1
CT-3/2
CT-4
1
2
1
2
1
2
3
5.50
5.50
5.50
5.50
5.50
5.50
5.50
ขนาด
kW
kW
kW
kW
kW
kW
kW
หน่วย
Chiller
CHP
CDP
CT
1
2
1
2
16.50
29.50
45.00
525.00
ขนาด
kW
kW
kW
TR
หน่วย
Power Input (kW)
CFM
CFM
CFM
CFM
CFM
CFM
CFM
หน่วย
หน่วย
Output ข้อมูล
-
-
-
-
-
-
-
ข้อมูล
Output
พลังงานไฟฟ้าหลังปรับปรุง (E1) = 640,438.53 kWh/y ค่าใช้จ่ายไฟฟ้าหลังปรับปรุง (S1) = E1 × CE = 640,438.53 kWh/y × 4.16 บาท/kWh = 2,664,224.27 บาท/y
รวม
รายการ เครื่องจักร
ล�ำดับ
พลังงานรวมทั้งหมดหลังปรับปรุง
5.79
4.95
4.49
5.33
5.33
4.17
5.52
Power Input (kW)
หมายเหตุ : kWh/y = kW × ชั่วโมงท�ำงาน × เปอร์เซ็นต์เปิดใช้งาน
รวม
รายการ เครื่องจักร
ล�ำดับ
ข้อมูล CT หลังปรับปรุง
%Load (%)
100.00
100.00
100.00
100.00
100.00
100.00
100.00
%Load (%)
ข้อมูล
-
-
-
-
-
-
-
ข้อมูล
หน่วย
SEC หน่วย
CFM/kW
CFM/kW
CFM/kW
CFM/kW
CFM/kW
CFM/kW
CFM/kW
SEC
จ�ำนวน (เครื่อง)
1
1
1
1
1
1
1
จ�ำนวน (เครื่อง)
ชั่วโมง ท�ำงาน (h/y)
2,794.50
931.50
931.50
931.50
931.50
931.50
931.50
ชั่วโมง ท�ำงาน (h/y)
เปอร์เซ็นต์ เปิดใช้งาน (%)
52.17
100.00
100.00
100.00
100.00
100.00
100.00
เปอร์เซ็นต์ เปิดใช้งาน (%)
kW (kW)
5.79
4.95
4.49
5.33
5.33
4.17
5.52
kW (kW)
เดินสลับคู่กัน
เดินสลับคู่กัน
เดินสลับคู่กัน
เดินสลับคู่กัน
เดินสลับคู่กัน
เดินสลับคู่กัน
หมายเหตุ
640,438.53
36,190.15
63,127.80
54,358.47
486,762.11
kWh/y
36,190.15
หมายเหตุ
8,438.90 หยุด 5.50 ชัว่ โมง/วัน
4,607.20
4,185.23
4,963.96
4,963.96
3,885.29
5,145.61
kWh/y
108 รายงานความยั่งยืน 2562
บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)
รายงานความยั่งยืน 2562 #สะกิดไทยใส่ใจน�้ำ
ผลประหยัด การลงทุน
พลังงานไฟฟ้าลดลงต่อปี (ES) = E1- E2 = 740,539.73 kWh/y - 640,438.53 kWh/y = 100,101.20 kWh/y ค่าพลังงานไฟฟ้าลดลงต่อปี (SE) = ES × CE = 100,101.20 kWh/y × 4.16 บาท/kWh = 416,658.08 บาท/y คิดเทียบน�้ำมัน = 100,101.20 × 85.21/1,000,000 = 8.53 toe/ปี ระยะเวลาคืนทุน (PB) = C / SE = 1,800,000.00 บาท / 416,658.08 บาท/y = 4.32 y
109
110
รายงานความยั่งยืน 2562 บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)
GRI Content Index GRI Standard
Disclosure
Page Number AR
SR
GRI 101 : Foundation 2016 General Disclosures ORGANIZATIONAL PROFILE 102-1 Name of the organization
8
brands, products, and 102-2 Activities, services
8
102-3 Location of headquarters
8
102-4 Location of operations
8
102-5 Ownership and legal form
9, 11
102-6 Markets served
10, 37
102-7 Scale of the organization
13, 14, 95
on employees and 102-8 Information other workers 102-9 Supply chain
12, 25
changes to the 102-10 Significant organization and its supply chain
12, 17
102-11 Precautionary principle or approach GRI Disclosure 2016
95
78
16
102-12 External initiatives
26
102-13 Membership of associations
27
STRATEGY from senior decision102-14 Statement maker impacts, risks, and 102-15 Key opportunities
7 48
16
ETHICS AND INTEGRITY principles, standards, and 102-16 Values, norms of behavior
3
for advice and 102-17 Mechanisms concerns about ethics
16
GOVERNANCE 102-18 Governance structure
14
102-19 Delegating authority
24
Executive-level responsibility for 102-20 economic, environmental, and social topics Composition of the highest 102-22 governance body and its committees
14, 24 14
Scope of Report
Omission Note
External Assurance
รายงานความยั่งยืน 2562 #สะกิดไทยใส่ใจน�้ำ
GRI Standard
Disclosure
Page Number AR
SR
of the highest governance 102-23 Chair body
14
and selecting the 102-24 Nominating highest governance body
14
of highest governance body in 102-26 Role sitting purpose, values, and strategy
24
governance body’s role in 102-32 Highest sustainability reporting
16, 20
102-33 Communication critical concerns
20
Scope of Report
STAKEHOLDER ENGAGEMENT 102-40 List of stakeholder groups
18
102-41 Collective bargaining agreements
59
and selecting 102-42 Identifying stakeholders
18
to stakeholder 102-43 Approach engagement GRI Disclosure 2016
102-44 Key topics and concerns raised
18, 37 ลูกค้าผูใ้ ช้นำ�้ ครบวงจร ของกลุ่มบริษัท 18, 37
REPORTING PRACTICE included in the 102-45 Entities consolidated financial statements
17
report content and topic 102-46 Defining boundaries
17
102-47 List of material topics
20
102-48 Restatements of information
17
102-49 Changes in reporting
17
102-50 Reporting period
17
102-51 Date of most recent report
17
102-52 Reporting cycle
17
point for questions 102-53 Contact regarding the report
17
of reporting in accordance 102-54 Claims with the gri standards
17
102-55 GRI content index
110
102-56 External assurance
17
Omission Note
111
External Assurance
112
รายงานความยั่งยืน 2562 บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)
GRI Standard
Disclosure
Page Number AR
SR
Scope of Report
Material Topics GRI 200 Economic Standard Series ECONOMIC PERFORMANCE GRI 103 Management Approach 2016
GRI 201 Economic Performance 2016
of the material topic 103-1 Explanation and its boundary management approach and its 103-2 The components
33-43
of the management 103-3 Evaluation approach รายได้และค่าใช้จ่าย 13, 33 ด�ำเนินการของกลุ่ม บริษัท
economic value generated 201-1 Direct and distributed Financial implications and other 201-2 risks and opportunities due to climate change
33
การด�ำเนินงาน เฉพาะธุรกิจน�้ำครบ วงจรของกลุ่มบริษัท
INDIRECT ECONOMIC IMPACTS GRI 103 Management Approach 2016
GRI 203 Indirect Economic Impacts 2016
of the material topic 103-1 Explanation and its boundary management approach and its 103-2 The components
80-89
of the management 103-3 Evaluation approach กิจกรรมอันเป็น สาธารณประโยชน์ ต่อสังคม ชุมชน 80, 84 และสิ่งแวดล้อม ที่มีส่วนสัมพันธ์ กับการด�ำเนินธุรกิจ ของบริษัท
investments and 203-1 Infrastructure services supported
ANTI-CORRUPTION GRI 103 Management Approach 2016
of the material topic 103-1 Explanation and its boundary management approach and its 103-2 The components
29-31
of the management 103-3 Evaluation approach
GRI 205 Communication and training about Anti-Corruption 205-2 anti-corruption policies and 2016 procedures
64
29
พนักงานประจ�ำและ พนักงานสัญญาจ้าง ของกลุ่มบริษัท เนื่องจากเป็นผู้รับ นโยบายมาปฏิบัติ และกลุ่มผู้ค้า กลุม่ บริษทั เนือ่ งจาก เป็นประเด็นส�ำคัญ ที่กลุ่มผู้มีส่วนได้เสีย มากกว่าหนึ่งกลุ่ม ให้ความสนใจ
Omission Note
External Assurance
รายงานความยั่งยืน 2562 #สะกิดไทยใส่ใจน�้ำ
GRI Standard
Disclosure
Page Number AR
SR
Scope of Report
Omission Note
พื้นที่ด�ำเนินงาน 3 จังหวัด ได้แก่ ระยอง ชลบุรี และ ฉะเชิงเทรา เนือ่ งจาก กระบวนการหลัก ของบริษทั ครอบคลุม พื้นที่ดังกล่าว รวมถึงการใช้พลังงาน ไฟฟ้าในส่วนของ ส�ำนักงานใหญ่ (อาคารอีสท์วอเตอร์)
โดยขอยกเว้นการ ตรวจสอบข้อมูล ของบริษัทในเครือ เนื่องจากเป็นปีแรก ของการรายงาน
Material Topics GRI 300 Environmental Standard Series ENERGY GRI 103 Management Approach 2016
of the material topic 103-1 Explanation and its boundary management approach and its 103-2 The components of the management 103-3 Evaluation approach 302-3 Energy intensity
GRI 302 Energy 2016
52-55
302-4 Reduction of energy consumption
52
52
WATER GRI 103 Management Approach 2016
GRI 303 Water 2018
of the material topic 103-1 Explanation and its boundary management approach and its 103-2 The components
45-50
of the management 103-3 Evaluation approach with water as a shared 303-1 Interactions resource
45, 92
of water discharge303-2 Management related impacts 303-3 Water withdrawal
รายงานเฉพาะการ 47, 92 ด�ำเนินงานในพื้นที่ ปฏิบัติการของกลุ่ม 45, 56, บริษัท 92, 94
303-5 Water consumption
46, 92
EMISSIONS GRI 103 Management Approach 2016
GRI 305 Emissions 2016
of the material topic 103-1 Explanation and its boundary management approach and its 103-2 The components
53-55
of the management 103-3 Evaluation approach indirect (scope 2) ghg 305-2 Energy emissions
55
พื้นที่ปฏิบัติการ และรวมถึงการใช้ พลังงานไฟฟ้าใน ส่วนของส�ำนักงาน ใหญ่ของกลุ่มบริษัท (อาคารอีสท์วอเตอร์)
113
External Assurance
114
รายงานความยั่งยืน 2562 บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)
GRI Standard
Disclosure
Page Number AR
SR
Scope of Report
Omission Note
EFFLUENTS AND WASTE of the material topic 103-1 Explanation and its boundary
GRI 103 Management Approach 2016
management approach and its 103-2 The components of the management 103-3 Evaluation approach
GRI 306 Effluents And Waste 2016
discharge by quality and 306-1 Water destination
35, 41-42, 50
35, 50, 94
Material Topics GRI 400 Social Standard Series EMPLOYMENT GRI 103 Management Approach 2016
GRI 401 Employment 2016
of the material topic 103-1 Explanation and its boundary management approach and its 103-2 The components
68-69
of the management 103-3 Evaluation approach employee hires and employee 401-1 New turnover
97
Benefits provided to full-time that are not provided 401-2 employees to temporary or part-time employees
68
พนักงานกลุ่มบริษัท
OCCUPATIONAL HEALTH AND SAFETY GRI 103 Management Approach 2016
GRI 403 OccupationalHealth-AndSafety 2018
of the material topic 103-1 Explanation and its boundary management approach and its 103-2 The components
72-78
of the management 103-3 Evaluation approach health and safety 403-1 Occupational management system
72, 77
training on occupational 403-5 Worker health and safety
72
403-9 Work-related injuries
72
พนักงานประจ�ำและ พนักงานสัญญาจ้าง รวมถึงพนักงานที่ เป็น Subcontractor เฉพาะ โครงการที่มี สัญญาจัดซื้อจัดจ้าง
โดยขอยกเว้น ข้อมูลชุดตัวเลข Absentee Rate ของ Subcontractor ทั้งหมดเนื่องจาก ไม่ได้เป็นสาระส�ำคัญ ในการด�ำเนินธุรกิจ
External Assurance
รายงานความยั่งยืน 2562 #สะกิดไทยใส่ใจน�้ำ
GRI Standard
Disclosure
Page Number AR
SR
Scope of Report
TRAINING AND EDUCATION GRI 103 Management Approach 2016
GRI 404 Training And Education 2016
of the material topic 103-1 Explanation and its boundary management approach and its 103-2 The components
62-67
of the management 103-3 Evaluation approach hours of training per year 404-1 Average per employee
67
Programs for upgrading employee 404-2 skills and transition assistance programs
62
พนักงานกลุ่มบริษัท เนื่องจากเป็นพลัง ขับเคลื่อนที่ส�ำคัญ ในการด�ำเนินงาน
LOCAL COMMUNITIES GRI 103 Management Approach 2016 GRI 413 Local Communities 2016
of the material topic 103-1 Explanation and its boundary management approach and its 103-2 The components
79-80
of the management 103-3 Evaluation approach Operations with significant actual 413-2 and potential negative impacts on local communities
79
การด�ำเนินงานใน โครงการก่อสร้าง ของบริษัท
Omission Note
115
External Assurance
LR Independent Assurance Statement
Relating to Eastern Water Resources Development and Management Public Company Limited’s Sustainability Report for the calendar year 2019 This Assurance Statement has been prepared for Eastern Water Resources Development and Management Public Company Limited in accordance with our contract but is intended for the readers of this Report.
Terms of engagement
Lloyd’s Register Quality Assurance Limited (LR) was commissioned by Eastern Water Resources Development and Management Public Company Limited (EASTW) to provide independent assurance on its ‘Sustainability Report 2019’ (“the report”) against the assurance criteria below to a “limited level of assurance and materiality of the professional judgement of the verifier” using “LR’s verification procedure”. Our assurance engagement covered EASTW’s operations and activities in water pumping and pipeline system in the Eastern region of Thailand, excluded its subsidiary companies, and specifically the following requirements: • GRI Standards1 and core option • Evaluating the accuracy and reliability of data and information for only the selected indicators listed below: 2 • Environmental : GRI 302-3 Energy Intensity, GRI 303-3 (version 2018) Water Withdrawal • Social : GRI 403-9 (version 2018) Work-related Injuries Our assurance engagement excluded the data and information of EASTW’s suppliers, contractors and any thirdparties mentioned in the report. LR’s responsibility is only to EASTW. LR disclaims any liability or responsibility to others as explained in the end footnote. EASTW’s responsibility is for collecting, aggregating, analysing and presenting all the data and information within the report and for maintaining effective internal controls over the systems from which the report is derived. Ultimately, the report has been approved by, and remains the responsibility of EASTW.
LR’s Opinion
Based on LR’s approach nothing has come to our attention that would cause us to believe that EASTW has not, in all material respects: • Met the requirements above • Disclosed accurate and reliable performance data and information as no errors or omissions were detected • Covered all the issues that are important to the stakeholders and readers of this report. The opinion expressed is formed on the basis of a limited level of assurance and at the materiality of the professional judgement of the verifier. Note: The extent of evidence-gathering for a limited assurance engagement is less than for a reasonable assurance engagement. Limited assurance engagements focus on aggregated data rather than physically checking source data at sites. Consequently, the level of assurance obtained in a limited assurance engagement is substantially lower than the assurance that would have been obtained had a reasonable assurance engagement been performed.
LR’s approach
LR’s assurance engagements are carried out in accordance with our verification procedure. The following tasks though were undertaken as part of the evidence gathering process for this assurance engagement: • Assessing EASTW’s approach to stakeholder engagement to confirm that issues raised by stakeholders were captured correctly. We did this through reviewing documents and associated records. 1
https://www.globalreporting.org
2
GHG quantification is subject to inherent uncertainty.
P274 Product procedure
Revision 2, 20 January 2020
•
•
Reviewing EASTW’s process for identifying and determining material issues to confirm that the right issues were included in their Report. We did this by benchmarking reports written by EASTW and its peers to ensure that sector specific issues were included for comparability. We also tested the filters used in determining material issues to evaluate whether EASTW makes informed business decisions that may create opportunities that contribute towards sustainable development. Auditing EASTW’s data management systems to confirm that there were no significant errors, omissions or mis-statements in the report. We did this by reviewing the effectiveness of data handling procedures, instructions and systems, including those for internal verification. We also spoke with those key people responsible for compiling the data and drafting the report.
Observations
Further observations and findings, made during the assurance engagement, are: • Stakeholder inclusivity: We are not aware of any key stakeholder groups that have been excluded from EASTW’s stakeholder engagement process. EASTW has open dialogue with all of its stakeholders though the frequency with trade unions would benefit from more regular time intervals. • Materiality: We are not aware of any material issues concerning EASTW’s sustainability performance that have been excluded from the report. It should be noted that EASTW has established extensive criteria for determining which issue/aspect is material and that these criteria are not biased to the company’s management. • Responsiveness: EASTW has not provided a detailed respond to its consumer stakeholders on how they will influence suppliers’ performance. We believe that future reports should explain how suppliers will relate to EASTW’s sustainability strategies. • Reliability: Data management systems are considered to be well defined but the implementation of the systems is variable at site level. This is because of lack of direction on how to apply conversion factors. EASTW could either direct all of its sites an agreed conversion tool or introduce a function in the data collection tool that automatically converts the data into the required unit. LR’s standards, competence and independence LR ensures the selection of appropriately qualified individuals based on their qualifications, training and experience. The outcome of all verification and certification assessments is then internally reviewed by senior management to ensure that the approach applied is rigorous and transparent.
Ms.Wiriya Rattanasuwan LR Lead Verifier
Dated: 29th March 2020
On behalf of Lloyd’s Register Quality Assurance Limited. Represented by Lloyd’s Register International (Thailand) Limited.,22nd Floor, Sirinrat Building, 3388/78 Rama IV Road, Klongton, Klongtoey, Bangkok 10110 THAILAND.
LR reference: BGK00000457 Lloyd's Register Group Limited, its affiliates and subsidiaries, including Lloyd’s Register Quality Assurance Limited (LRQA), and their respective officers, employees or agents are, individually and collectively, referred to in this clause as 'Lloyd's Register'. Lloyd's Register assumes no responsibility and shall not be liable to any person for any loss, damage or expense caused by reliance on the information or advice in this document or howsoever provided, unless that person has signed a contract with the relevant Lloyd's Register entity for the provision of this information or advice and in that case any responsibility or liability is exclusively on the terms and conditions set out in that contract. The English version of this Assurance Statement is the only valid version. Lloyd’s Register Group Limited assumes no responsibility for versions translated into other languages. This Assurance Statement is only valid when published with the Report to which it refers. It may only be reproduced in its entirety. Copyright © Lloyd's Register Quality Assurance Limited, 2020. A member of the Lloyd’s Register Group.
P274 Product procedure
Revision 2, 20 January 2020
รายงานความยั่งยืน 2562 บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)
บมจ. จัดการและพัฒนาทรัพยากรนํ้าภาคตะวันออก อาคารอีสทวอเตอร เลขที่ 1 ซอยวิภาวดีรังสิต 5 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 (ประเทศไทย) โทรศัพท : (66) 2272 1600 โทรสาร : (66) 2272 1602
eastwater www.eastwater.com