EWG_Newsletter_no27

Page 1

MAGAZINE

Vol.27

วารสารอีสทวอเตอร ฉบับที่ 27

อุ ณหภูมิโลกที่สูงขึ้น มีผลกระทบต่อมนุษย์

EWG Scoop

สถานการณนํ้าภาคตะวันออกป 2557 เพียงพอหรือขาดแคลน

Water around the world

อิสราเอลกับระบบการบริหารจัดการนํ้าระดับโลก

Water innovation

ประหยัดนํ้า ดวยหัวแปรงชวยลาง Tube


Editor Talk

วารสารอีสทวอเตอร ฉบับนี้มีคอลัมนที่นาสนใจ

มาฝากกันเชนเคยนะคะ เริ่มตนดวยการสัมภาษณพิเศษ ผช.ศ.ดร.สมบัติ อยูเมือง ผูอํานวยการศูนยวิจัยภูมิสารสนเทศ เพื่อประเทศไทย และ อาจารยประจําภาคธรณีวิทยา คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ถึงเรื่องการ เรียนรู เขาใจ ปรับตัว กับสภาวะการเปลี่ยนแปลงสภาพ อากาศโลก และ คุณเกิดชัย ธัญวัฒนกุล ผูอํานวยการสํานัก ชลประทานที่ 9 ใหสัมภาษณถึงสถานการณนํ้าภาคตะวันออก ในป 2557 นี้

นางสาวกันยานาถ วีระพันธุ์ บรรณาธิการ

ในคอลัมภ Water Around The World เราจะพาไปรูจัก กับประเทศที่เปนหนึ่งในผูนําการจัดการนํ้าระดับโลก นั่นก็คือ “ประเทศอิสราเอล” ถวยชาเกาๆอยาเอาทิ้งนะคะ วันนี้เรา มีไอเดียดีๆในการนํามาทํา” สวนถวยชาประหยัดนํ้า” มาฝากคะ และวันนี้เราจะพาไปรูจักนวัตกรรม “หัวแปรงลางแผนชวย ตกตะกอน” ซึ่งมีประโยชนมากในการชวยลางแผนตกตะกอน ในระบบผลิตนํ้าประปาใหมีประสิทธิภาพ และยังมีคอลัมนอื่นๆ ที่นาสนใจเชนเคยคะ หวังวาวารสารฉบับนี้จะทําใหผูอานทุกทานไดรับประโยชน และสาระความรูตางๆที่ทางทีมงานสรรหามานะคะ

02 East Water


Water innovation

หัวแปรงล้างแผ่นช่ วยตกตะกอน

วันนี้ water innovation ขอนําเสนอนวัตกรรม การลางแผนตกตะกอน หรือที่เรา เรียกวา Tube Settler หรือเรียกสั้นๆวา Tube คุณ รัฐนันท มาลีสุทธิกุล หัวหนาทีม ประดิษฐคิดคนนวัตกรรมชิ้นนี้ไดกลาวถึงปญหา การลาง Tube แบบเดิมวามีความยาก พอสมควร “โดยปรกติการทําความสะอาด Tube จะใชนํ้าฉีดเขาไปในทอเพื่อลางทํา ความสะอาด แตเนื่องจากมันจะสะอาดแคบริเวณดานหนาเทานั้น สําหรับสวนที่นํ้าฉีด เขาไปไมถึงหรือแรงดันนํ้าที่ฉีดไปมีความแรงไมพอก็จะทําให Tube สกปรกเหมือนเดิม” อีกทั้งการลาง Tube โดยวิธีฉีดนํ้าเขาไปจําเปนตองใชนํ้าปริมาณมาก ดังนั้นกลุมพนักงาน ของบริษัท ยูนิเวอรแซล ยูทิลิตี้ จํากัด หรือ ยูยู จึงไดคิดคน นวัตกรรม “หัวแปรงลาง แผนชวยตกตะกอน (TUBE SETTLER)” และผลงานชิ้นนี้ก็ไดจดสิทธิ์บัตรไปเรียบรอยแลวคะ

การทําความสะอาดแบบใชนํ้าฉีด

Tube Settler

การทําความสะอาดแบบใช TUBE SETTLER

หลายคนคงสงสัยวา Tube Settler หรือ แผนชวยตก ตะกอนคืออะไร และมีหนาที่อะไรในระบบผลิตนํ้าประปา Tube หรือแผนชวยตกตะกอน มีหนาที่ชวยเพิ่มประสิทธิภาพ ในการตกตะกอนของสารแขวนลอยในนํ้า ชวยลดพื้นที่ของถังตก ตะกอนและเพิ่มพื้นที่ในการตกตะกอนมากขึ้น Tube ทําขึ้นจาก วัสดุ PVC นํามาเย็บติดกันมีลักษณะคลายรังผึ้ง ทํามุมเอียง 60 องศา ติดตั้งอยูในระบบถังตกตะกอน เมื่อใชไปไดสักระยะ ตะกอน แขวนลอยก็จะจับอยูที่พื้นผิวของ Tube เปนชั้นบางๆ เมื่อตะกอน จับตัวจนหนาขึ้นก็สงผลใหประสิทธิภาพในการตกตะกอนของสาร แขวนลอยลดลง จึงตองทําความสะอาดลาง Tube โดยการฉีดนํ้า ลาง ซึ่งไมสามารถทําความสะอาดไดทั่วถึง

เรามารูจักกับอุปกรณ ในการประดิษฐนวัตกรรมกันคะ ซึ่งอุปกรณหางายตามทองตลาดและการทําก็ไม่ ซับซอน เพียงนําทอ PVC และลวดขนแปลง มีลักษณะเปนกานปลายเปนหัวแปรง มีรูบริเวณหัวแปรง เพื่อฉีดนํ้าแรงดันสูง หลักการทํางานก็คือตอสายยางเขากับปลายกานหัวแปรง นําหัวแปรงเสียบเขากับ ชองทอของ Tube โดยดึงขึ้น-ลง จนสะอาด ทําซํ้ากันทุกชองจนสะอาด

วิธีทําความสะอาด

การทําความสะอาด Tube โดยใชนวัตกรรม หัวแปรงฯ ที่คิด คนขึ้นมา สามารถลางทําความสะอาดแผนกรองตะกอนไดสะอาด มากกว า การใช นํ้ า ฉี ด เพื่ อ ทํ า ความสะอาดอย า งเห็ น ได ชั ด เจน นอกจากนั้นยังชวยลดเวลาและลดปริมาณนํ้าที่ใชทําความสะอาด อีกดวย เรียกวา หัวแปรงฯ มีประโยชนมากจริงๆ นอกจากผู ใช นํ้าไดรับนํ้าประปาที่สะอาด ทาง ยูยู ยังสามารถประหยัดทรัพยากร นํ้าไดอีกดวย “การประหยัดทรัพยากรนํ้านั้นเปนสิ่งที่สําคัญเพราะ วาทรัพยากรนํ้าอาจจะหมดไปสักวันถาเราใชอยางฟุมเฟอย” East Water 03


CSR NEWS

East Water

CSR NEWS อีสท์วอเตอร์ลงพื้นที่สํารวจภัยแล้ง จ.ระยอง ช่ วยชุ มชนและเกษตรกรภาคตะวันออก

อีสท์วอเตอร์สํารวจภัยแล้งฉะเชิ งเทราเพื่อช่ วย เกษตรกรและชุ มชนไม่ให้ขาดแคลนนํ้า

อีสท์วอเตอร์ ร่วมกับผู ้นําชุ มชนลงตรวจพื้นที่พร้อมมอบงบ ประมาณสนับสนุนการขุ ดลอกคูคลอง เพื่อเตรียมความพร้อมรับ สถานการณ์ ภั ย แล้ งในพื้ น ที่ ต.แม่ น้ํ า คู้ อ.ปลวกแดง จ.ระยอง การขุ ด ลอกคู ค ลองดั ง กล่ า ว เป็ น การเปิ ดทางระบายนํ้ า เเละเพื่อเพิ่มปริมาณนํ้าเก็บกักบริเวณหน้าฝายนํ้า ซึ่ งจะมีชุมชน ได้รับประโยชน์จากโครงการดังกล่าว มากกว่า 300 ครัวเรือน หรื อ คิ ด เป็ น กลุ่ ม ประชาชนกว่ า 1,500 คน ตลอดจนช่ วยเหลื อ การเกษตรได้อีกกว่า 6,000ไร่ อีสท์วอเตอร์ มุ ่งมั่นที่จะบริหารจัดการนํ้าเพื่อพัฒนาภาค ตะวั น ออกให้ ขั บ เคลื่ อ นเศรษฐกิ จ ของประเทศ และพั ฒ นาชี วิ ต ความเป็นอยู ่ของประชาชนให้ดีขึ้น

อี ส ท์ ว อเตอร์ ร่ ว มกั บ ผู ้ นํ า ชุ ม ชนลงตรวจพื้ น ที่ เ พื่ อ เตรี ย ม ความพร้อมรับสถานการณ์ภัยแล้ง ในพื้นที่ อ.คลองเขื่อน และ อ.บางนํ้าเปรี้ยว จ.ฉะเชิ งเทรา โดยอีสท์วอเตอร์ ช่ วยสนับสนุน เครื่ อ งผลั ก ดั น นํ้ า โดยสู บ นํ้ า จากคลองบางขนาก ต.บางขนาก อ.บางนํ้ า เปรี้ ย ว เข้ า มาลงในคลองชลประทาน ซึ่ งพาดผ่ า น อ.คลองเขื่อน และ อ.บางนํ้าเปรี้ยว ทําให้สามารถช่ วยเหลือพื้นที่ การเกษตรได้ ม ากถึ ง 35,000ไร่ นอกจากนี้ ด้ ว ยศั ก ยภาพของโครงข่ า ยท่ อ ส่ ง นํ้ า ของ อีสท์วอเตอร์ ทําให้สามารถสูบนํ้าที่สํารองไว้ในสระสํารองนํ้าของ บริษัท และฝากไว้ท่ีอ่างฯ บางพระ จ.ชลบุ รี กลับไปให้กับพื้นที่ ฉะเชิ งเทราได้ เพื่อช่ วยให้ประชาชนมีน้ําอุ ปโภคบริโภคเพียงพอใน ช่ วงหน้ า แล้ งนี้ อย่างไรก็ตาม อีสท์วอเตอร์ ขอร่วมรณรงค์ให้ผู้ใช้น้ําทุกคน ใช้น้ําอย่างรู ้คุณค่า และไม่ปล่อยนํ้าเสียลงแม่น้ําลําคลอง เพื่อจะ ได้มีน้ําสะอาดใช้เพียงพอตลอดไป

4 East Water


CSR NEWS

อี ส ท์ ว อเตอร์ ม อบนํ้ า ดื่ ม สะอาดให้ แ ก่ ชุ ม ชน ในเดื อ นมี น าคมที่ ผ่ า นมาอี ส ท์ ว อเตอร์ ไ ด้ ส นั บ สนุ น นํ้ า ดื่ ม สะอาด และให้บริการรถนํ้าดื่มเคลื่อนที่ เพื่อสนับสนุนกิจกรรมใน ส่ ว นของหน่ ว ยงานราชการต่ า งๆ กว่ า 40 แห่ ง ในพื้ น ที่ จ.ฉะเชิ ง เทรา จ.ชลบุ รี และ จ.ระยอง เช่ น กรมฝนหลวงกรม การเกษตร, อบจ.ฉะเชิ ง เทรา, โรงเรี ย นวั ด สํ า นั ก กะท้ อ น ฯลฯ อี ส ท์ ว อเตอร์ ส่ ง มอบนํ้ า ดื่ ม สะอาดและได้ ม าตรฐานให้ ชุ ม ชนเพื่ อ พัฒนาคุณภาพชี วิตและสุขอนามัยที่ดีขึ้น

อี ส ท์ ว อเตอร์ เ ผยผลประกอบการปี 2556 รายได้ ต ามเป้ า

อีสท์วอเตอร์เผยผลการดําเนินงานในปี 2556 ที่ผ่านมาว่า บริ ษั ท และบริ ษั ท ย่ อ ยมี ร ายรั บ รวมเพิ่ ม ขึ้ น 2.42% โดยผลการ ดํ า เนิ น งานยั ง คงมี ค วามสามารถในการทํ า กํ าไรอยู ่ ใ นเกณฑ์ ดี นอกจากนี้ยังมีการลงทุนต่อเนื่องในโครงการก่อสร้างขนาดใหญ่ เพื่อเพิ่มศักยภาพทั้งด้านแหล่งนํ้าดิบสํารองและการขยายความ สามารถของระบบสูงส่งนํ้า เพื่อให้สามารถรองรับการเติบโตของ ความต้องการใช้น้ําในภาคตะวันออกที่จะมีเพิ่มขึ้นในอนาคต

อีสท์วอเตอร์จัดอบรมประปาหมู่บ้านให้ชุมชนต่อ ยอดบริหารจัดการนํ้าอย่างยั่งยืน อีสท์วอเตอร์ ได้เล็งเห็นถึงปั ญหาการขาดแคลนนํ้าสะอาด เพื่ อ อุ ปโภคบริ โ ภค จึ งได้ ดํ า เนิ น โครงการปรั บ ปรุ ง ระบบประปา ชุ มชน เพื่อให้ชุมชนในพื้นที่ตามแนวเส้นท่อของบริษัทได้มีระบบ ประปาที่มีคุณภาพไว้ใช้งาน โดยเริ่มดําเนินการมาตั้งแต่ปี 2552 ล่ า สุ ด อี ส ท์ ว อเตอร์ ได้ จั ด อบรมฯให้ กั บ ชุ ม ชนตํ า บลป่ ายุ บใน อ.วังจันทร์ จ.ระยอง รวมทั้งสิ้น 8 หมู ่บ้าน สําหรับโครงการดังกล่าวจะดําเนินการร่วมกับชุ มชนสํารวจ ความต้ อ งการ และสภาพปั จจุ บั น ของระบบประปาที่ มี อ ยู ่ เ ดิ ม พร้อมจัดอบรมให้ความรู ้กับคณะกรรมการชุ มชนในเรื่องการปรับ ปรุ ง ดูแลรักษา และซ่ อมแซมระบบ พร้อมทั้งให้ความรู ้หลักการ บริ ห ารกิ จ การประปาเพื่ อให้ ชุ ม ชนสามารถบริ ห ารจั ด การระบบ ประปาได้ ด้ ว ยตนเอง และต่ อ ยอดเป็ น ธุ รกิ จ ชุ ม ชนในอนาคต ได้อีกด้วย

East Water 5


20

7. เครื่องดื่มต่างๆ กาแฟและชาซึ่ งล้วนแล้ว อยู ่ในรู ปของนํ้าเกือบทั้งหมดนอกจากนั้น มักจะมีคาเฟอีนเป็นส่วนประกอบซึ่ งมีฤทธิ์ อ่อนๆในการขับปั สสาวะนั่นคือสาเหตุสําคัญ ที่ทําให้น้ําไม่ได้เข้าสู่ร่างกายเท่าที่ควร

เรื่องอัศจรรย เกี่ยวกับ "นํ้า"

8. นํ้าดื่มบริสุทธิ์ (มีเพียงส่วนประกอบของ อะตอมไฮโดรเจน และอ็ อ กซิ เ จน) จะมี ค่ า pH (ค่ า ความเป็น กรด-เบส) อยู ่ ท่ี 7 ซึ่ งเป็นค่ามาตรฐาน แต่ทั้งนี้ต้องขึ้นอยู ่กับ อุ ณหภูมิห้องด้วย

1. 70% ขององค์ประกอบในร่างกายมนุษย์ คือนํ้า

9. พื้นผิวโลกประมาณ 70-75% คือองค์ ประกอบของนํ้า

2. เมื่อแรกเกิด นํ้าเป็นส่วนประกอบสําคัญ ถึง 80% ของนํ้าหนักทารก

10. นํ้าสะอาดนัน้ มักจะอยู ่ใต้ดินมากกว่าอยู ่ บนชั้นตื้นๆ ติดพื้นผิวโลก

3. สําหรับผู ้ท่ีมีสุขภาพสมบู รณ์สามารถดื่ม นํ้าได้ถึง 3 แกลลอน (48 แก้ว) ต่อวัน

11. นํ้ า สะอาดนั้ น มั ก จะอยู ่ ใ ต้ ดิ น มากกว่ า อยู ่ บ นชั้ น ตื้ น ๆ ติ ด พื้ น ผิ ว โลก

4. การดื่มนํ้ามากเกินไปและดื่มแบบรีบร้อน เกินไป จะนําไปสู่ภาวะโซเดียมตํ่า (waterintoxication) เพราะนํ้าจะไปเจือจางระดับ ของโซเดี ย มในกระแสเลื อ ด และทํ าให้ เ กิ ด ภาวะความไม่สมดุลของนํ้าในสมอง

12. โลกเรานั้นเป็นระบบปิ ดคล้ายๆ กับสวน ในขวด นั่นหมายความว่ามีโอกาสน้อยมาก ที่จะเพิ่มหรือลดขนาดลงนํ้าในจํานวนที่มีอยู ่ ในโลกเมื่อล้านปี ท่ีแล้วก็ยังคงปริมาณเกือบ เท่าเดิมในปั จจุ บัน

5. ภาวะโซเดียมตํ่าจากข้อ 4 มีโอกาสเกิด ขึ้ น ตอนที่ รี บ ดื่ ม นํ้ า หลั ง ออกกํ า ลั ง กาย เพราะเป็นช่ วงเวลาที่ร่างกายสูญเสียเหงื่อ อย่ า งมาก

13. ปริ ม าณรวมของนํ้ า ทั้ง หมดในโลกอยู ่ ที่ประมาณ 326 ล้าน cubic miles

Water for Life

6. จากคํ า แนะนํ า ทางสุ ข ภาพที่ คุ้ น หู ว่ า “ดื่มนํ้าสะอาดวันละ 8 แก้ว ต่อวัน” ข้อเท็จ จริ ง ก็ คื อ ปริ ม าณนํ้ า ทั้ ง หมดนั้ นไม่ จํ า เป็น ต้องรับสู่ร่างกายในรู ปแบบของเหลวเสมอไป นํ้าอาจอยู ่ในรู ปแบบของอาหารที่ทานเข้าไป ในแต่ละวันได้เช่ นเดียวกัน

6 East Water

14. จากนํ้าที่มีทั้งหมดในโลกมนุษย์สามารถ ใช้ ไ ด้ เ พี ย งเศษสามส่ ว นสิ บ จากจํ า นวน ทั้ง หมดนํ้ า ที่ ส ามารถใช้ ไ ด้ เ หล่ า นี้ พ บได้ ใ น ระบบนํ้าบาดาลแม่น้ําและทะเลสาบนํ้าจืด 15. ประชากรอเมริกันใช้น้ําราวๆ 346,000 ล้านแกลลอนต่อวัน

16. พลเมืองอเมริกันใช้น้ําเกือบ 80% ใน ด้านชลประทานและการผลิตพลังงานไฟฟ้า 17. โดยเฉลี่ยแล้วคนอเมริกันใช้น้ําประมาณ 80-100 แกลลอนต่อวัน โดยปริมาณการ ใช้น้ํามากที่สุดคือการกดโถชั กโครก 18. ราวๆ 85% ของผู ้ท่ีอยู ่อาศัยในสหรัฐ อเมริกาได้รับนํ้าจากการประปา ที่เหลืออีก 15% ใช้น้ําจากบ่อหรือแหล่งนํ้าของตัวเอง 19. เมื่อคนรู ้สึกกระหายนํ้า นั่นหมายถึงว่า ร่างกายของเขาหรือเธอมีปริมาณนํ้าลดลง ไปเกินกว่า 1% 20. นํ้ า หนั ก ที่ ล ดลงหลั ง จากใช้ แ รงหรื อ ออกกํ า ลั ง อย่ า งหนั ก เป็ น นํ้ า หนั ก ของนํ้ า ไม่ใช่ ไขมัน


East Water 7


Water Update

ที่มา : http://board.postjung.com/581597.html

สภาพอากาศโลกในปั จจุ บันอุ ณหภูมิมีแนวโน้มที่จะเพิ่มสูง ขึ�นทุกปี และแน่นอนว่ามนุษยชาติไม่สามารถที่จะเลี่ยงปั ญหา การเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศได้เลย ซึ่ งปั ญหาการ เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศนี�ได้ส่งผลกระทบทัง� ทางตรงและ ทางอ้อมด้วยระดับความรุนแรงที่แตกต่างกัน ดังนัน� การเตรียม วางแผนตัง� รับเพื่อปรับตัวและดํารงชี วิตกับสภาพอากาศที่จะ เปลี่ยนแปลงในอนาคต จึงเป� นสิ่งจําเป� น วันนี�เราได้รับเกียรติ จาก ผช.ศ.ดร.สมบัติ อยู ่เมือง ผู ้อํานวยการศูนย์วิจัยภูมิ สารสนเทศเพื่อประเทศไทย และ อาจารย์ประจําภาคธรณีวิทยา คณะวิทยาศาสตร์ จุ ฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มาพู ดถึง การเรียนรู ้ เข้าใจ และ ปรับตัว กับสภาวะการเปลี่ยนแปลง สภาพอากาศของโลก

เรียนรู้ เข้ า ใจ ปรั บ ตั ว กับสภาวะการเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศโลก ผช.ศ.ดร.สมบัติ กลาววาสาเหตุหลักของการที่อุณหภูมิโลกรอนขึ้นก็คือ กาซคารบอนไดออกไซตหรือ Co2 ซึ่งถามีปริมาณ มากในอากาศแลวก็จะทําใหเกิด Greenhouse effect “ปริมาณของ CO2 มีความสัมพันธอยางใกลชิดกับอุณหภูมิโลกและเมื่อมี ปริมาณสูงมากขึ้น โลกก็จะรอนตามไปดวย” ซึ่งเมื่อ 6แสนปที่ผานมาปริมาณ co2 ไมเคยสูงกวา 300 ppm แตในป 2014 ไดสูงขึ้น ถึง 373 ppm ตั้งแตป. 1860 อุณหภูมิรอนขึ้นเฉลี่ยทั้งโลก 0.75 องศาเซลเซียส และคาดการณวาในป 2090 จะมีอุณหภูมิเพิ่ม สูงขึ้นโดยเฉลี่ย 2.8 องศาเซลเซียส ซึ่งจะสงผลกระทบตอปริมาณนํ้าทะเลและฝนที่ตกลงมา ซึ่งคาดการณวาปริมาณนํ้าฝนในป 2090 ที่ตกลงมานั้นจะเพิ่มมากขึ้นในบางพื้นที่และนอยลงบางพื้นที่โดยเฉลี่ยแลวอยูที่ประมาณ -/+ 20% และในปเดียวกันนี้ คาดการณวาแนวโนมในการขาดแคลนนํ้าทั่วโลกจะมากขึ้นดวย

ผช.ศ.ดร.สมบัติ อยู ่เมือง

ผูอํานวยการศูนยวิจัยภูมิสารสนเทศเพื่อประเทศไทย และ อาจารยประจําภาคธรณีวิทยา คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

08 East Water


Water Update

ดังนั้นการเก็บขอมูลเปนสิ่งจําเปนที่สุดในการวางแผนเพื่อ เตรียมรับมือกับสภาพภูมิอากาศที่เปลี่ยนแปลงขอมูลยิ่งละเอียด มากยิ่งดีเพราะจะทําใหเราสามารถคาดการณสภาพภูมิอากาศใน อนาคตไดอยางแมนยํา ซึ่งปจจุบันประเทศไทยยังมีการเก็บ ขอมูลนอยมากเมื่อเทียบกับประเทศอื่นเชน อเมริกา จึงทําให การวางแผนเพื่อเตรียมรับมือกับผลกระทบจากสภาพภูมิอากาศ ที่เปลี่ยนแปลงไมทันทวงทีและแมนยํานอย จากภูมิอากาศที่สูงขึ้นจะสงผลกระทบตอมนุษยและ ธรรมชาติอยางหลีกเลี่ยงไมได ยกตัวอยางเชนเมื่อปริมาณนํ้า ทะเลสูงขึ้นก็จะทําใหหมูเกาะที่มีความสูงจากระดับนํ้าทะเล 2.4 เมตร มีความเสี่ยงสูงที่จะจมหายไปเชนมัลดีฟท และแนนอน ระบบนิเวศนก็ถูกทําลายจึงทําใหหวงโซอาหารขาดสมดุลยซึ่งสง ผลตอการดํารงชีวิตของมนุษย โดยตรง

http://news.mthai.com/general-news/245457.html

แล้วเราจะรับมือกับ ปั ญหาดังกล่าวได้อย่างไร การ ลด ยืดเวลา การหลีกเลี่ยงผลกระทบรวมถึงการ ปรับตัว ตอผลกระทบที่เกิดขึ้นนั้นมีความจําเปนอยางยิ่ง ตัวอยางของการลด ยืดเวลา การหลีกเลี่ยงผลกระทบ เชน การทําทุนไฟฟาหรือกําแพงจักรกล เพื่อปองกันนํ้าทวม เมืองเวนิส ประเทศอิตาลี และการปรับตัว เชน ชาวนา อําเภอบางระกําที่ถูกนํ้าทวมนาขาวเสียหาย โดยการเก็บ เกี่ยวขาวที่เขียวอยูไปขายเพื่อนําไปทําเปนอาหารสัตว หรือการผันนํ้าไปยังนาที่เก็บเกี่ยวแลวเพื่อประวิงเวลาให รอขาวที่อยูในอีกแปลงหนึ่งเหลืองกอนแลวคอยเก็บเกี่ยว ผช.ศ.ดร.สมบัติ กลาวทิ้งทายวา "การรับฟงขอมูล เพื่อคิดวิเคราะหและแกปญหาในการรับมือกับผลกระทบ ที่เกิดจากอุณหภูมิของโลกสูงขึ้นนั้นเปนสิ่งที่จําเปนเพื่อ ลดผลกระทบและความเสียหายที่จะเกิดขึ้นอุณหภูมิโลก สูงขึ้นจริง แตไมไดสูงขึ้นทั้งหมด บางที่สูงขึ้นนั้นก็ไมได เลวรายอยางที่เราเขาใจ อยางไรก็ตามการแกปญหาโดย การศึกษาวิจัยตอเนื่องอยางเปนระบบจะนําไปสูการปรับ ตัวและการลดผลกระทบอยางยั่งยืน" East Water 09


EWG Scoop

ปญหานํ้าทวมและภัยแลงเปนปญหา ที่ทั่วทุกภาคของประเทศไทยตองเผชิญ ในปจจุบัน ภาคตะวันออกก็เชนเดียวกัน กับภาคอื่นๆ แตทวาพื้นที่บริเวณชายฝง ทะเลภาคตะวันออกเปนพื้นที่เศรษฐกิจ ที่สําคัญของประเทศ เนื่องจากเปนที่ตั้ง ของศูนยการผลิตทางดานอุตสาหกรรม อาทิ อุตสาหกรรมเหล็ก ปโตรเลียม และรถยนต อีกทั้งยังเปนศูนยการขนสง ทั้งทางบก ทางทะเล และทางอากาศ อันไดแก ทาเรือพาณิชยแหลมฉบัง เมื่อป ที่ผานมาภาคตะวันออกไดรับผลกระทบ จากนํ้าทวมอยางหนักและขาดแคลนนํ้า ในฤดูรอนทําใหเกิดความเสียหายทางดาน เศรษฐกิจหลายลานบาท วันนี้เราจะพาไปฟง คุณเกิดชัย ธัญวัฒนกุล ผูอํานวยการสํานักชลประทานที่ 9 หรือ ชป. 9 จะมาชี้แจงถึง สถานการณนํ้าภาตะวันออกในป 2557 และการเตรียมความพรอมรับมือกับปญหาที่กลาวมาขางตน คุณเกิดชัย กลาววาสถานการณนํ้า ในภาคตะวันออกปนี้โดยรวมยังไมนาเปน หวงเพราะปริมาณนํ้าในอางเก็บนํ้าขนาด ใหญและขนาดกลางมีปริมาณนํ้าเกินกวา 70% ของความจุอางเก็บนํ้าและปริมาณ ฝนสะสมเฉลี่ยอยูที่ 1,779.49 ลานลบ.ม. แตอยางไรก็ตามทุกคนควรชวยกันใชนํ้า อยางประหยัด คุณเกิดชัยกลาวตอไปวา สาเหตุหลักของปญหานํา้ แลงในภาคตะวันออก ก็ คื อ การที่ ไ ม มี อ  า งเก็ บ นํ้ า ที่ เ พี ย งพอ สําหรับสํารองนํ้าไวใชไดในฤดูรอน และ ในฤดูฝนก็ไมมีอางเก็บนํ้าไวรองรับปริมาณ ฝนที่ตกลงมา ถานํ้าฝนมีปริมาณมากเกิน ไปก็จะทําใหปริมาณนํ้าในอางเก็บนํ้าลน ลงมาทวมบานเรือนที่อยูบริเวณอางเก็บนํ้า 10 East Water

การแกปญหานํ้าลนออกจากอางเก็บนํ้า ก็คือการที่สรางที่เสริมขอบอางเพื่อหนวง นํ้าเอาไว ซึ่งปจจุบันมีการกอสรางที่ เขื่อนสียัด เปนตน สําหรับสถานการณนํ้าในปจจุบัน ปริมาณความตองการใชนํ้าเพิ่มขึ้นในอัตรา เฉลี่ย 100,000 ลบ.ม./ วัน โดยชวง สัปดาหที่ผานมาในวันที่ 31 มีนาคม 2557 ปริมาณนํ้าเก็บกัก รวม 3 อางฯ เทากับ 171.47 ลานลบ.ม. คิดเปนรอยละ 62 ลดลงจากสัปดาหกอนประมาณ 7.49 ลาน ลบ.ม. ปริมาณนํ้าของอางเก็บนํ้า หนองคอ จ.ชลบุรี เทากับ 10.31 ลาน ลบ.ม. คิดเปนรอยละ 48 ลดลงจากสัปดาหกอ น

ประมาณ 0.70 ลาน ลบ.ม.จากปริมาณการ ใชสะสมประมาณ9.8 ลาน ลบ.ม.ทําใหมี ปริมาณนํา้ คงเหลือประมาณ 6.1 ลาน ลบ.ม. ดังนัน้ มั่นใจไดวา ปริมาณนํ้าในอางฯ พื้นที่ระยองและชลบุรี เพียงพอตอ การใชนํ้าป2557 อยางแนนอน


อยางไรก็ตามการเตรียมรับมือและ แกไขปญหาภัยแลงเปนสิ่งจําเปน ซึ่งทาง กรมชลประทานก็ไดมีการวางแผนแกไข ทั้งระยะสั้นและระยะยาว ระยะสั้นไดแก การจัดเตรียมเครื่องสูบนํ้าเคลื่อนที่ไวชวย เหลือภัยแลงประมาณ 78 เครื่อง ซึ่งพรอม ใหการชวยเหลือพื้นที่การเกษตรเนื่องจาก ภัยแลงและนํ้าทวมทั้งในและนอกเขต ชลประทาน นอกจากนี้ยังไดจัดเตรียม รถบรรทุกนํา้ จํานวน 55 คันใหความชวยเหลือ ดานอุปโภค-บริโภคเมื่อเกิดวิกฤตการณ ขาดนํ้าอีกดวย สวนในแผนระยะยาว เชน โครงการอางเก็บนํ้าคลองหลวง จ.ชลบุ รี , โครงการอ า งเก็ บ นํ้ า สี ยั ด จ.ฉะเชิงเทรา โครงการสรางสถานีสูบนํ้า คลองพานทองไปยังอางเก็บนํ้าบางพระ และโครงการผันนํา้ จากจันทบุรไี ประยอง ฯลฯ นอกจากนี้ ในภาคตะวันออกยังมี การรวมตั ว กั นของผู  ป ระกอบการภาค อุตสาหกรรม อาทิ กรมชลประทาน กรมฝนหลวงและการบินเกษตรการ นิคม อุตสาหกรรมแหงประเทศไทย อีสทวอเตอร โดยจัดตั้งขึ้นในรูปแบบ water war room หรือศูนยปฎิบัติการนํ้า เพื่อเปนศูนยกลาง ของการตัดสินใจรวมกันเพื่อแกไขปญหา ที่เกิดขึ้นในการบริหารจัดการนํ้า ลาสุด ไดประชุมรวมกันเพื่อกําหนดแผนการ ปองกันและแกไขปญหาภัยแลงป 2557 ระยะสั้ น เพื่ อ เตรี ย มรั บ มื อ หากเกิ ด สถานการณภัยแลงขึ้นในพื้นที่ ดังนี้

EWG Scoop

1. ปฏิบัติการฝนหลวงในพื้นที่ภาคตะวันออก 2. สูบผันนํ้าจากอางเก็บนํ้าประแสร – อางเก็บนํ้าคลองใหญ (สูงสุดไดวันละ 300,000 ลบ.ม.) 3. สูบนํ้ายอนกลับจากฝายบานคาย – อางฯหนองปลาไหล 4. สํารองนํ้าจากแมนํ้าบางปะกงเขาอางฯบางพระ มากกวาปกติ ชวงเดือน ส.ค.-ธ.ค. 5. ลดการสงนํ้าจากพื้นที่ระยองไปพื้นที่ชลบุรี โดยใชนํ้าในพื้นที่ชลบุรีเต็มศักยภาพโดย - อีสทวอเตอรจะเพิ่มความสามารถของระบบสูบนํ้าแมนํ้าบางปะกงจาก 26 ลาน ลบ.ม. เปน 44 ลาน ลบ.ม. - อีสทวอเตอรเพิ่มแหลงนํ้าเอกชนอีกประมาณ 15 ลาน ลบ.ม. ตอป ซึ่งจะทําใหป 2558 พื้นที่ชลบุรีมีนํ้าตนทุนเพิ่ม 33 ลาน ลบ.ม. ในสวนของอีสทวอเตอรเองซึ่งเปนหนวยงานหลักในการสูบสงนํ้าใหกับภาค อุตสาหกรรมและอุปโภค-บริโภค ในภาคตะวันออกก็ไดมีการวางแผนจัดการแกปญหา นํ้าแลงเพื่อเสถียรภาพความมั่นคงดานนํ้าของภาคตะวันออกอยางตอเนื่อง โดยลาสุด ไดทุมงบกวา 3 พันลานบาทในการวางทอสงนํ้าดิบจาก อางเก็บนํ้าประแสรไปยัง อางเก็บนํ้าหนองปลาไหล รวมถึงการซื้อนํ้าจากเอกชนในจังหวัดชลบุรีเพื่อสราง ความมั่นคงใหกับระบบนํ้าในฝงชลบุรีซึ่งนาจะจายนํ้าไดภายในปหนา โครงการตอเนื่อง ตั้งแตป 2555 ซึ่งคาดวาจะแลวเสร็จในป 2558 ก็คือการพัฒนาสระเก็บนํ้าดิบ คลองทับมาจังหวัดระยองดวยงบลงทุน 2.5 พันลานบาทเพื่อสํารองนํ้าเมื่อเกิด วิกฤตภัยแลงและเปนแกมลิงเพื่อชวยแกปญหานํ้าทวมใหกับจังหวัดระยองนอกจากนี้ ทางอีสทวอเตอรยังไดรวมกับผูนําชุมชนในการแกปญหาเรื่องนํ้าในกิจกรรมตางๆ เชน การลงพื้นที่สํารวจภัยแลง การขุดลอกคูคลองตางๆ ตลอดรวมถึงการสนับสนุน รถบรรทุกสงนํ้าใหกับชาวบานและหนวยงานตางๆเพื่อบรรเทาปญหาภัยแลง ฯลฯ ปจจุบัน ชป. 9 แบงอัตราสวนการจัดสรรนํ้าออกเปน 4 สวนดวยกันคือ 1)อุปโภค บริโภค 2)ระบบนิเวศ 3)เกษตร และ 4)ภาคอุตสาหกรรม ซึ่งในภาคอุตสาหกรรมนี้ ใชนํ้าไมถึง 20% ของอัตราสวนนํ้าทั้งหมด การจัดสรรนํ้าในรูปแบบเดิมจะใหผูใชนํ้า แจงจํานวนความตองการใชนํ้าและจายเงินตามการใชนํ้าจริง ซึ่งขอเสียของระบบนี้ คือ ผูใชนํ้าไมคอยตระหนักถึงคุณคาของการใชนํ้าและจํากัดปริมาณการใชนํ้าของ ผูตองการใชนํ้ารายอื่นๆ ซึ่งจํานวนนํ้าเหลือก็ตองปลอยทิ้งทะเลไป ซึ่งในแตละป จะมีการปลอยนํ้าทิ้งเปนจํานวนมาก ดังนัน้ ทาง ชป.9 โดย คุณ เกิดชัย จึงคิดระบบ การจัดสรรนํ้าขึ้นมาใหมโดยรูปแบบของการจัดสรรนํ้าก็คือการ จายเงินตามปริมาณ นํ้าที่แจงขอ ขอดีของการจัดสรรแบบที่วาดังกลาวก็คือทําใหผูใชนํ้าใชนํ้าอยางระมัด ระวังมากขึ้นเพื่อไมเกิดปญหาการขาดแคลนนํ้าตามมาภายหลัง จากขอดีดังกลาว ทําให ชป.9 สามารถจัดสรรและแจกจายนํ้าที่เหลือไปยังผูที่ตองการใชในสวนอื่นๆ ไดอยางมีประสิทธิภาพ คุณเกิดชัยไดกลาวทิ้งทายวา ปริมาณความตองการการใชนํ้าในภาคตะวันออก มีแนวโนมเพิ่มมากขึ้น สํานักชลประทานที่ 9 เปนเพียงหนวยงานเล็กๆหนวยงาน หนึ่งทีมีหนาที่ดูแลและบริหารจัดการนํ้าเพื่อใหเพียงพอตอความตองการในพื้นที่ ภาคตะวันออก การที่คนในพื้นที่ชวยกันประหยัดและรูจักคุณคาของทรัพยากรนํ้า จะชวยใหทรัพยากรนํ้าในตะวันออกมีใชไปตราบนานแสนนาน East Water 11


Water Around the world

รู้หรือไม่ว่า

ประเทศอิสราเอลคือหนึง่ ในประเทศผูนํา

ดานการจัดการนํ้าระดับโลก 12 East Water


Water Around the world

เนื่องจากพื้นที่ของประเทศอิสราเอลนั้นเกือบครึ่ง ประเทศเปนทะเลทราย มีอากาศรอนและแสงแดดตลอดป มีฝนตกเพียงแค 64 วันเทานั้น จากลักษณะภูมิประเทศ ดังกลาวทําใหประเทศอิสราเอลในอดีตตองประสบปญหา ขาดแคลนนํ้ า อุ ป โภค , บริ โ ภค และเพื่ อ การเกษตร ดังนั้นนํ้าทุกหยดในประเทศอิสราเอลจึงมีคุณคาตอคน ที่อาศัยอยู ในประเทศ ประชากรทุกคนเติบโตมาพรอมกับ คําวา Don’t waste a drop

จากปญหาตางๆเหลานี้ทําใหประเทศอิสราเอลไดทุม งบประมาณศึกษาคนควาและวิจัยเกี่ยวกับการบริหาร จัดการนํ้าซึ่งกวาจะมาเปนผูนําในเรื่องเทคโนโลยีนํ้าของ โลกนี้ก็ตองใชเวลาทั้งหมดกวา 60 ปดวยกัน มาติดตาม กันเลยคะ ประเทศอิสราเอล มีวิธีการอยางไรในการ เปลี่ ย นแปลงประเทศจากทะเลทรายกลายมาเป น ประเทศที่อุมดมสมบูรณไปดวยนํ้าและมีพ้ืนที่สีเขียวเปน โอเอซิสอยูกลางทะเลทราย นอกจากนี้ประเทศอิสราเอล ยังสงนํ้าไปขายใหกับประเทศเพื่อนบานเชน ปาเลสไตน และจอรแดนปละประมาณ 150 ลานลบ.ม.อีกดวย

East Water 13


Water Around the world

แหลงนํ้าจืดที่สําคัญของประเทศอิสารเอล คือ ทะเลสาบ กาลีลี่ ซึ่งตั้งอยู ทางทิศเหนือของประเทศอิสราเอลและรับนํ้ามาจากแมนํ้าจอรแดน ทะเลสาบแหง นี้มีพื้นที่เพียง 230 ตร.กม. แตทวาตองใชเลี้ยงคนทั้งประเทศ ซึ่งไมเพียงพอ ประเทศอิสราเอลจึงคิดวิธีทํานํ้าทะเลใหเปนนํ้าจืดเพื่อใหมีนํ้ากินนํ้าใชที่เพียงพอ สําหรับคนทั้งประเทศ ระบบการจัดสงนํ้าของประเทศอิสราเอล

ประเทศอิสราเอลนั้นมีระบบทอขนสงนํ้าขนาดใหญ ความยาวของทอสงนํ้ารวมกวา 6,500 กม.ลําเลียงนํ้าจากทะเลสาบกาลีลี่ ตอนเหนือของประเทศลงสูทางใตซึ่งเปนทะเลทรายตั้งแตตอนกลางของประเทศ ตะวันออกไปตะวันตก ไปทุกๆที่เพื่อเชื่อมโยงแหลงนํ้า เพื่ออุปโภคและบริโภครวมถึงผลิตไฟฟา MR. Abraham Terre หัวหนาแผนกการจัดการระบบนํ้า กระทรวงพลังงานและแหลงนํ้า กลาววา “ประเทศอิสราเอล สามารถสงนํ้าไดทุกพื้นที่เหมือนเปนเสนเลือดที่คอยหลอเลี้ยงคนทั้งประเทศ” ซึ่งเครือขายทอนํ้าที่คอย สงนํ้าหลอเลี้ยงคนทั้งประเทศที่เปนสุดยอดของระบบจัดการนํ้าระดับโลกที่อิสราเอลเอาชนะขอจํากัดทางธรรมชาติได นอกจากระบบขนสงนํ้าที่สุดยอดแลว อิสราเอลยังมีระบบการผลิตนํ้าทะเลเปนนํ้าจืดที่ทันสมัยมากที่สุดแหงหนึ่งของโลกเหมือนกัน โดยใชหลักการ Reverse Osmosis สามารถนํามาใชจนกลายเปนนํ้าสะอาดที่เราสามารถดื่มได โรงงานกลั่นนํ้าทะเลIDE เปนโรงงาน กลั่นนํ้าทะเลใหเปนนํ้าจืดที่สําคัญของประเทศตั้งอยูบริเวณจุดสําคัญ 3 แหงของประเทศไดแกอัชเฮลอน โซเล็ค และเมืองฮาเดลา ปจจุบันโรงงานที่ฮาเดลาเปนโรงงานที่มีขนาดใหญและกําลังการผลิตมากที่สุดของประเทศสวนวิธีการและขั้นตอนจะเปนอยางไรนั้น โปรดติดตามอานตอฉบับหนานะคะ ที่มา : รายการกบนอกกะลา ตอน ดินแดนเนรมิตรอิสราเอล 14 East Water


D.I.Y กับอีสทวอเตอร

ไอเดียของงาน D.I.Y. ฉบับนี้ เปนการสราง นวัตกรรมใหมๆ ไวใชดวยตัวเองแถมยังชวยประหยัดนํ้า มีพื้นที่สีเขียวเล็กๆ นารักภายในบานไวชื่นชมไดอีกดวย นัน่ คือการทํา “สวนถวยชา” ที่นําถวยชาเกาๆ ที่อาจ แตกหักหรือไมไดใชงานแลว มาปรับใชไดอยางเกไกไม ซํ้าใครแนนอน

อุปกรณ - ถวยชาที่มีตําหนิ มีรอยราว ไมไดใชงานแลวตามจํานวนที่ตองการ - ปูนผสมเองหรือปูนฉาบสําเร็จ - เกรียงไม - เศษกระเบื้องสีสวยๆ ตามจํานวนที่พอใจ

วิธีทํา 1. ผสมปูนใหมีความเหนียวขนมากกวาปกติ 2. จัดเรียงถวยชาใหฝงไปกับคอนกรีตเปนระยะๆ แลวฉาบปูนทับ จนเรียบเสมอกัน 3. จัดเรียงเศษกระเบื้องตกแตงๆ รอบๆ ถวยชาใหเปนลักษณะ แบบโมเสค สลับสีสวยงามตามชอบ 4. ทิ้งไวจนปูนเซ็ตตัวและถวยชาติดแนนหนา ลงดินและปลูกพันธ ไมเล็กๆ ในถวยชาแตละใบ เลือกพันธที่โตไดดีในพื้นที่เล็กๆ เชน พรมออสเตรเลีย , ใบโฮยา , ปลาดุกแคระ หรือกุหลาบไพลิน เปนตน เทานีก้ ็จะไดสวนเล็กๆ ที่ชวยประหยัดทั้งพื้นที่และใชปริมาณ นํ้าเพียงเล็กนอยในการดูแล East Water 15


Water for relax

x a l e r ย อ ้ r น ว o า f ย ะ า r ก เ e t a W เข้าสู่เดือนเมษาทีไรเป็นต้องหาเรื่องออกไปนอนแช่ น้ําทะเลทุกปี สํ า หรั บใครที่ ต้ อ งการขึ้ น เกาะที่ ไ ม่ ค่ อ ยมี นั ก ท่ อ งเที่ ย วพลุ ก พล่ า น สภาพแวดล้อมยังเป็นธรรมชาติ อีกทั้งวิถีชีวิตผู ้คนบนเกาะคงงดงาม รับรองว่าจะต้องประทับใจทริปเกาะยาว ที่จังหวัดพังงา อันที่จริง แล้วเกาะยาวที่พังงานั้น มีทั้งเกาะยาวใหญ่และเกาะยาวน้อย แต่ถ้า ให้ช่วยเลือกก็ต้องขอบอกว่า เกาะยาวน้อยน่าเที่ยวกว่ามาก เพราะ พื้นที่ไม่กว้างจนเกินไป จึงเหมาะแก่การท่องเที่ยวสั้นๆ ในช่ วง วันหยุ ดสุดสัปดาห์ นอกจากนี้แล้วยังช่ วยให้การเดินทางไปยังจุ ด ท่องเที่ยวแต่ละจุ ดใช้เวลาไม่นานนัก สถานที่ทองเที่ยวเดนๆ บนเกาะยาวนอย ไดแก “หาดปา ทราย” หาดทรายขาวสะอาดทางดานเหนือของเกาะ ริมหาดมี บรรยากาศรมรื่น สามารถลงเลนนํ้าไดอยางปลอดภัย และถือ เปนจุดชมวิวพระอาทิตยขึ้นเหนือหมูเกาะรูปทรงแปลกตาของฝง อําเภออาวลึก จังหวัดกระบี่ที่งดงามมาก ตัวหาดอยูหางจาก ที่วาการอําเภอประมาณ 7 กิโลเมตร “หาดทาเขา” เปนหาดทรายประกอบดวยโขดหินใหญนอยริมหาด ดูสวยงามแปลกตาไปอีกแบบ หางจากฝงไปเล็กนอย จะเปนที่ตั้งของเกาะนก เกาะเล็กๆ ที่เวลานํ้าลงจะเกิดทะเลแหวกจนสามารถเดินขามไปชมได “ตนโพธิ์ทะเลยักษ” เปนตนไมขนาดใหญวัดรอบโคนตนไดประมาณ 32 เมตร ตั้งอยูที่อาวเคียน ทิศเหนือของเกาะใกลกับ เกาะเหลากูดูซึ่งมีปะการังนํ้าลึกที่สวยที่สุดแหงหนึง่ ในอาวพังงา “ทุงปะการัง” เปนจุดชมปะการังที่สามารถดูไดโดยไมตองดํานํ้าลงไป เพราะในชวงที่นํ้าลงปะการังเหลานีจ้ ะโผลขึ้นมาให เห็นมากมาย ทั้งปะการังเขากวาง ปะการังสมอง ฯลฯ แตเปนที่นาเสียดายวา สภาพนํ้าทะเลที่เปลี่ยนแปลงอยางรุนแรงในรอบ หลายปมานี้ ไดทําลายธรรมชาติบริเวณนี้ไปไมนอย ปจจุบันจึงอยูในชวงพักฟนรอการฟนตัวสูความงดงามอีกครั้ง 16 East Water


ใ ๆ ย อ ้ น น ์วิมา

ค ร ร ว ส

น ั ม า ด น ั อ ล นทะเ

“ตนโพธิ์ทะเลยักษ” นอกเหนือจากแหลงทองเที่ยวทางธรรมชาติแลว จุดขาย อีกอยางของเกาะยาวนอย คือการทองเที่ยวแบบโฮมสเตยสัมผัส วิถีชุมชนอันเขมแข็งและเอื้ออาทรของที่นี่ ซึ่งโดงดังไกลไป ทั่วระดับโลก การันตีดวยรางวัลประกาศเกียรติคุณมากมาย อาทิ รางวัล World Legacy Award จากนิตยสาร National Geographic Traveler และ The Conservation International จากสหรัฐอเมริกา เมื่อปพ.ศ. 2546 รวมไปถึงรางวัลระดับ ประเทศ อยางรางวัลมาตรฐานโฮมสเตย จากการทองเที่ยว แหงประเทศไทย ซึ่งมอบใหชมรมทองเที่ยวเชิงอนุรักษโดยชุมชน เกาะยาวนอยเมื่อป 2548 และไดรับการตออายุมาตรฐานเปน ครั้งที่ 2 ในป 2550 การเที่ยวแบบโฮมสเตยบนเกาะยาวนอยนัน้ นาสัมผัสเปน อยางยิ่ง เพราะมีกิจกรรมใหนกั ทองเที่ยวไดเรียนรูประสบการณ ทองเที่ยวอยางหลากหลายรสชาติ ไมวาจะเปนการนําชมวิถี ชาวบาน ออกไปจิบชากาแฟในตลาดเชา สายหนอยก็ดูการฝก ลิงเก็บมะพราว กลางวันพานัง่ เรืออกไปเลนนํ้าในเกาะที่มี หาดทรายขาวในละแวกใกลเคียง ตกคํ่าก็ออกทะเลไปเรียนรูวิถี ประมงพื้นถิ่นดวยการตกหมึก และตอนรับขับสูดวยอาหาร ทะเลสดๆ ในแทบทุกมื้อหลัก ถาจะใหลองยกตัวอยางเกาะสวยๆ ที่มีหาดทรายขาวสัก แหงในทะเลอันดามัน ที่ซึ่งวิถีชุมชนพื้นถิ่นยังงดงาม และสงบ จากฝู ง นั ก ท อ งเที่ ย วผู  นิ ย มการจั ด งานปาร ตี้ ใ ต แ สงจั น ทร นึกไมออกเลยวา จะมีเกาะไหนอีกที่นาเยือนนาสัมผัสมากยิ่งไป กวาเกาะยาวนอยในยุคนี้

วิถีชุมชนอันเขมแข็งและเอื้ออาทร เกาะยาวนอย

ขอมูลการเดินทาง

ช่ วงเวลาน่าเที่ยวเกาะยาวน้อย คือ ระหว่างฤดูอากาศแจ่มใส ระหว่างเดือนธันวาคมถึงเดือนเมษายนของทุกปี ส่วนการเดินทางไปขึ�น เกาะนัน� สามารถเลือกโดยสารเรือได้จากทาง 3 จังหวัดใกล้เคียง คือ ถ้าเริ่มต้นจากจังหวัดภูเก็ต จะสะดวกที่สุด โดยใช�บริการรถโดยสาร สองแถวประจําทางจากหน้าตลาดสด เทศบาลเมืองภูเก็ต ไปยังท่าเรือ บางโรง (รถจะหมดเวลา 13.00 น.) เรือโดยสารจะออกจากท่าเรือถึง ยังเกาะยาวน้อย มีออกวันละ 9 เที่ยว ได้แก่ 07.30 น., 08.30 น., 09.30 น., 10.30 น., 11.00 น., 12.30 น., 13.30 น., 14.30 น. และ 17.00 น. ใช�เวลาเดินทางประมาณ 1 ชั่ วโมง จากจังหวัดพังงา ต้องไป ลงเรือที่ท่าเรือด่านศุลกากร ต. เกาะปั นหยี เรือออกเวลา 13.00 น. แต่ถ้า เลือกข้ามฝั่ งทางจังหวัดกระบี่ ต้องลงเรือที่ท่าเรือท่าเลน ระหว่างเวลา 11.00 น. – 13.00 น.

East Water 17


ทํานายทายทัก

ราศเมษ (21 มี.ค.-20 เม.ย.)

โดยรวมดวงของคุ ณ ในป ใหม นี้ถื อ ว า ไปได ดี ทีเดียวเเตถาคุณยังรูสึก วาปใหมก็อยากทําอะไรตอนรับปใหมบางก็ขอ เเนะนําวาลองทําบุญกับกลุม เด็กๆดู อาทิ การ จัดงานเลี้ยงใหกับกลุมเด็กๆทีอ่ ยูภ ายใตการดูเเล ของมูลนิธิ หากชักชวนคนรอบตัวใหมารวมบุญ กับคุณดวยก็จะดีมากๆ

ราศกันย (24 ส.ค.-23 ก.ย.)

ราศธนู (23 พ.ย.-21 ธ.ค.)

ปนลี้ องลงทุน รวมบุญกับ สิง่ ปลูกสราง ทีย่ งั ไมเสร็จ สมบูรณดหี รือ กําลังกอสราง อยูเเละที่สําคัญถาเปนสิ่งปลูกสรางสาธาณะ จะดีมาก หากทําไดมากกวาหนึง่ ครัง้ ในปนจี้ ะยิง่ ชวยเสริมดวงของคุณมากยิง่ ขึน้ ไปอีก

ในป นี้ สํ า หรั บ คุ ณนั้นถ า ได มี โอกาสทํ า บุ ญ กั บ กลุ  ม มู ล นิ ธิที่ เ กี่ ย วข อ งกั บ ศพหรื อ สุสานหรือจะรวมชวยเหลือพิธีการลางปาชาดู สักครัง้ ก็จะดีกบั ตัวคุณถึงอาจฟงดูนา กลัวเเตลอง ทําดูสักครั้งก็ถือวาไดบุญกลับมาสูคุณไมนอย

ราศพฤษภ (21 เม.ย.-21 พ.ค.)

ถาคุณยังไมไดวางเเผน จะทําอะไรรับปใหมเเนะ นําใหลองทําบุญ หรือ ระดมทุนชวยเหลือสาธารณะประโยชนที่เกี่ยว ของกับการสัญจรเชน ถนน หรือสะพานไมวา จะ เปนในชุมชนหรือตามตางจังหวัดก็ได

ราศเมถุน (22 พ.ค.-21 มิ.ย.)

ป นี้ถ  า คุ ณ ยั ง ไม รู  ว  า ควรทําอะไรดีเเนะนํา ใหลองหาโอกาส สมทบทุ น หรื อ หรื อ บริ จ าคช ว ยเหลื อ สิ่ ง ที่ เกี่ยวของกับสุขภาพหรือการออกกําลังกาย ดูบาง อาทิเชน สนามกีฬาสาธารณะหรือ อุปกรณกฬี าใหกบั โรงเรียนหรือศูนยตา งๆ

ราศกรกฎ (22 มิ.ย.-23 ก.ค.)

ราศมังกร (22 ธ.ค.-20 ม.ค.)

ทํานายทายทัก วันนี้คอลัมน ทํานายทายทักนําเคล็ดลับ เสริมดวงประจําป 2557 ของแตละราศรีมาฝากนะคะ

ในปนี้ลองหาโอกาสไปชวย เหลือกลุมผูพิการหรือกลุม ผูดอยโอกาสดูครับและถา ให ดี นั้ น ลองบริ จ าคกลุ  ม คนเหล า นี้ ดวยยารักษาโรคหรืออุปกรณทางการ เเพทยไดดวยก็ยิ่งดีครับเเละ ที่สําคัญ ถาทําไดมากกวาหนึง่ ครั้งในปนจี้ ะยิ่ง สงผลดีเเนนอน

ราศกุมภ (21 ม.ค.-19 ก.พ.) การทําบุญที่ขอ เเนะนําในปนคี้ ือ การทําบุญกับผู

ราศตุลย (24 ก.ย.-23 ต.ค.)

สูงวัยเเละถาใหดีกวานัน้ อยาทําบุญโดยใชเเต วิธีบริจาคสิ่งของหรือเงินทองหาโอกาสลงไป ดูเเลผูสูงวัยเหลานี้ตามมูลนิธิตางๆดูบางหรือ จะจัดกิจกรรมสรางความสุขใหกับผูสูงอายุ ก็ถือวาไมเลวทีเดียว

ในปนขี้ อเเนะนําวาลอง มาทําบุญหรือชวยเหลือ ดานการบูรณะอาคาร หรือสิง่ ปลูกสรางทีเ่ กาเเก ซึง่ ตองการซอมเเซมดู บางอาทิเชนโรงเรียนตามตางจังหวัด วัด เปนตน จะทําคนเดียวหรือชักชวนเพือ่ นๆพีน่ อ งมาทําให ก็ไดเเลวเเตสะดวก

ชาวราศีตลุ ย ในปนี้สามารถ ทําบุญเสริม ดวงดวยวิธใี ด ก็ไดขอเพียง แคมคี วามตัง้ ใจ อันบริสทุ ธิ์ อยางไรก็ตาม หากมีโอกาสทําบุญ ใหญ ๆ สั ก ครั้ ง ด ว ยตั ว คุ ณคนเดี ย วก็ จ ะดี ม าก

ราศพิจิก (24 ต.ค.-22 พ.ย.)

ราศมีน (20 ก.พ.-20 มี.ค.)

ราศสงห (24 ก.ค.-23 ส.ค.)

สําหรับในปนี้ นัน้ เเนะนําให ชวยเหลือกลุม คนพิการหรือ ผูย ากไรดบู า ง จะชวยเหลือผาน กลุม องคกรตางๆหรือจะชวยเหลือดวยตัวคุณ เองโดยตรงก็ไดเเลวเเตสะดวกเเละจะชวย เหลือดวยกําลังทรัพยหรือจะเปนสิ่งของก็ได ทั้งสองทางเชนกัน

ในป นี้ ก ารทํ า บุ ญ สํ า หรั บ ชาวราศีมีนไมมีอะไรตอง เจาะจงเป น พิ เ ศษดั ง นั้ น ขึ้นอยูที่หัวใจของคุณเเลววา อยากจะทําบุญ ดวยวิธีไหนหรือสถานที่ไหน ขอเเคสักครั้งใน ปใหมนที้ ําบุญเพื่อตัวคุณเเละคนรอบขางบาง ก็ถือวาดีมาก

การทําบุญหรือเสริมดวง ในปนน้ี น้ั ถาเปนไปไดลอง เปลีย่ นจากการทําบุญดวย สิ่งของหรือเงินทองเเลวทําบุญดวยการลงเเรง ชวยเหลือสังคมดูบา งเเลวจะรูว า มันเหมาะกับคุณ อยางมาก

18 East Water


รวมสนุกกับอีสทวอเตอร

กับ

วันนีค้ อลัมน์ ร่วมสนุกกับอีสท์วอเตอร์ ขอเชิ ญชวนทุกท่านตัง้ ชื่ อใหม่ของ “วารสารอีสท์วอเตอร์” แนวคิดในการตัง้ ชื่ อวารสารคือ “ถ้าคิดถึงเรื่องนํ้า ให้คดิ ถึงอีสท์วอเตอร์”

¡µÔ¡Ò¡ÒÃࢌÒËÇÁʹء

1 ผูสนใจเขารวมกิจกรรมสามารถสงชื่อได 1 ชื่อตอ 1 ทานเทานัน้ 2 กําหนดสงชื่อเขารวมประกวดตั้งแตวันนีจ้ นถึง 30 มิถุนายน 2557 3 สามารถสงประกวดได 2 ชองทาง คือ ทางจดหมายหรือ ไปรษณียบัตร

4 5

และทางอีเมลล pr@eastwater.com - สําหรับจดหมายหรือไปรษณียบัตรใหวงเล็บที่มุมซอง "รวมสนุกกับ อีสทวอเตอร” และสงมาตามที่อยูบริษัทจัดการและพัฒนาทรัพยากรนํ้า ภาคตะวันออก จํากัด (มหาชน) แผนกประชาสัมพันธ อาคารอีสทวอเตอร ชัน้ 23-26 เลขที่ 1 ซอยวิภาวดีรงั สิต 5 ถนนวิภาวดีรงั สิต แขวงจอมพล เขตจตุจกั ร กรุงเทพ 10900 ใหเขียนรายละเอียดดังตอไปนี้ใหครบถวน * ชื่อที่สงเขารวมประกวด พรอมความหมาย * ชื่อของผูรวมกิจกรรม * เบอรโทรศัพทที่ติดตอได * ที่อยูเพื่อจัดสงของรางวัล ผลการตัดสินของกรรมการถือเปนที่สิ้นสุด East Water 19


บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรนํ้าภาคตะวันออก จํากัด (มหาชน) อาคารอีสทวอเตอร ชั้น 23-26 เลขที่ 1 ซอยวิภาวดีรังสิต 5 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท 02-272-1600 โทรสาร 02-272-1601-3 www.eastwater.com www.Facebook.com/EasternWaterFanpage image by. www.myactioncenter.unicefusa.org


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.