NO.33
ISSUE 3 3 / 5 9
IS WATER
MARCH 2016
MARC H 2016
w w w. eastwater.co m
MAGAZINE
IS WATER
PEAK WATER จุดน้ำ�จืดสูงสุด เสียงเตือนก่อนน้ำ�หมด
MAGAZINE NUREK
INNOVATION
WATER COMPLEX
LUCKY POWER
เขือ่ นสูงอันดับสองของโลก บริหารจัดการน้ำ�อย่างรู้คุณค่า
จักรยานกรองน้�ำ
ปรับฮวงจุย้ โต๊ะทำ�งาน
EDITOR’S NOTE
EDITOR’S NOTE
ช่วงนีเ้ รือ่ งทีท่ กุ ภาคส่วนกังวลใจมากทีส่ ดุ คงหนีไม่ พ้นวิกฤตภัยแล้งที่มาเร็วและหนักหนาสาหัสกว่า ปี 2558 ที่ผ่านมา หลายฝ่ายฟันธงว่าปี 2559 นี้ สถานการณ์ภัยแล้งอาจรุนแรงที่สุดในรอบ 20 ปี
08
EAST WATER MAGAZINE
IN THIS ISSUE
NO.33
MARCH 2016
IN THIS ISSUE
WATER COMPLEX บริหารจัดการน้ำ�อย่างรู้คุณค่า
ทางรอดจากวิกฤตภัยแล้งครั้งนี้คงไม่ใช่เรื่องของ ใครคนใดคนหนึ่ง แต่เราต้องช่วยกัน เพราะวิกฤต น้ำ�ครั้งนี้ “ไม่ ได้มาเล่นๆ”
04
WATER DESTINATION นูเร็ค เขื่อนสูงอันดับสองของโลก
กองบรรณาธิการ บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรนํ้า ภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)
SCOOP: WATER STOCK:
อี ส ท์ วอเตอร์ อยากเห็ น คนไทยช่ ว ยกั น ประหยั ด น�้ ำ สู ้ ภั ย แล้ ง ฉบั บ นี้ เ ราจึ ง น� ำ เสนอเรื่ อ ง “จุ ด น�้ ำ จื ด สูงสุด” (Peak Water) ซึ่งเป็นดังค�ำเตือนครั้งสุดท้าย จากธรรมชาติ ถึ ง มนุ ษ ยชาติ ให้ ต ระหนั ก ถึ ง หายนะ อันอาจเกิดจากการใช้น�้ำจืดในปริมาณและความเร็ว ที่เกินขอบเขต ภายในเล่มยังมีเรื่องราวดีๆ ที่จะมอบ แรงบันดาลใจและเติมพลังบวกให้แก่ทุกท่าน ไม่ว่า จะเป็นการพาเที่ยวเขื่อนที่สูงเป็นอันดับสองของโลก ชวนแลรอบรั้วประเทศเพื่อนบ้าน รวมถึงเทรนด์อาชีพ ท�ำเงินที่ใครไม่รู้ถือว่าพลาด!
มณฑิกา โพธิ์ถาวร ชานนท์ สุขบุญ อรศิริ เลิศเกียรติด�ำรงค์
ดูเพิ่มเติมได้ที่ www.facebook.com/eastwfanpage www.eastwater.com ฝ่ายศิลปกรรม บริษัท บรีโอ ซีจี คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด 467/5 อาคารพีพีดี ชั้น 4 ถนนพระรามที่ 3 แขวงบางโคล่ เขตบางคอแหลม กทม. 10120 โทรศัพท์ (02) 689 1775 โทรสาร (02) 689 1775 อีเมล jay@briocg.com จัดท�ำโดย บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรนํ้า ภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน) อาคารอีสท์วอเตอร์ ชั้น 23-26 เลขที่ 1 ซอยวิภาวดีรังสิต 5 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท์ (02) 272 1600 โทรสาร (02) 272 1602-3 www.eastwater.com
02
PEAK WATER จุดน้ำ�จืดสูงสุด เสียงเตือนก่อนน้ำ�หมด
08
WATER STOCK
10
“Water Complex” บริหารจัดการน้ำ�อย่างรู้คุณค่า
ดูแลเนื้อหา
HEALTH AND SAFETY: อมรลักษณ์ สุขมาก INNOVATION: ภูริชญา บุญเจริญ EWG NEWS: จริยา ตระกูลแก้ว
SCOOP
หุ้นดีมีแต่ได้
EDITOR’S NOTE
00
ASEAN WATCH
12
02
INNOVATION
14
บทบรรณาธิการ
COVER STORY
“Peak Water” จุดน้ำ�จืดสูงสุด เสียงเตือนก่อนน้ำ�หมด
BE INSPIRED กระเป๋าที่เบาลง
แจ๋วช่วยช้อป
16
HEALTH & SAFETY
18
06
LUCKY POWER
19
07
EWG NEWS
Nurek เขื่อนสูงอันดับสอง ของโลก คิดไม่ออกต้องไปอาบน้ำ�
จักรยานกรองน้ำ�
ABOUT A BIZ
WATER DESTINATION 04 TRICK POSITIVE
ประธานาธิบดี พลเรือนคนแรก
ศัพท์เพื่อความปลอดภัย ปรับฮวงจุ้ยโต๊ะทำ�งาน ข่าวและกิจกรรมอีสท์ วอเตอร์
20
EAST WATER MAGAZINE
NO.33
COVER STORY
MARCH 2016
COVER STORY
PEAK WATER จุดน้ำ�จืดสูงสุด
เสียงเตือนก่อนน้ำ�หมด
เ ร า เ ค ย เ ชื่ อ ว ่ า น�้ ำ เ ป ็ น ท รั พ ย า ก ร ธรรมชาติ ที่ ไ ม่ มี วั น หมด เพราะน�้ ำ มี วั ฏ จั ก รหมุ น เวี ย นกลั บ มายั ง โลกอย่ า ง ต่ อ เนื่ อ งไม่ สิ้ น สุ ด แม้ มี ช ่ ว งเวลาแห้ ง แล้ ง บ้างในรอบปี แต่ทุกคนวางใจว่าท้ายที่สุด “น�้ำจะกลับมา” ความเข้าใจผิดนี้เกิดจากการที่มนุษย์มองไม่ เห็น “ขีดจ�ำกัด” ของทรัพยากรธรรมชาติ โดย เฉพาะทรัพยากรที่ธรรมชาติสร้างใหม่อย่าง ต่อเนื่อง อาทิ อากาศบริสุทธิ์ แหล่งประมงใน ทะเล และแหล่งน�้ำจืด ท�ำให้มนุษย์ผลาญใช้ ทรัพยากรอย่างรวดเร็วเกินอัตราการฟืน้ ฟูของ ธรรมชาติ จนน�ำไปสู่วิกฤตด้านทรัพยากรดัง เช่นในปัจจุบัน
จุดน้ำ�จืดสูงสุด
ขีดจำ�กัดของทรัพยากรน้ำ� ค�ำว่า “จุดน�ำ้ จืดสูงสุด” (Peak Water) เป็นค�ำทีป่ ระดิษฐ์ขนึ้ เมือ่ ไม่นานมานี้เพื่ออธิบายแนวคิดเกี่ยวกับขีดจ�ำกัดของปริมาณ น�้ำ คุณภาพน�้ำ และการใช้น้�ำจืด โดยปีเตอร์ กลีก (Peter Gleick) และ มีนา พาลาเนียบพัน (Meena Palaniappan) กล่าวไว้ในบทความปี ค.ศ. 2010 เรื่อง “Peak Water Limits to Freshwater Withdrawal and Use” (จุดน�้ำจืดสูงสุด ของการตักตวงและใช้น�้ำจืด) เพื่อชี้ให้เห็นว่าน�้ำที่ดูเหมือน มีปริมาณมากและไม่จ�ำกัดนั้นมีโอกาสขาดแคลนได้หาก ขาดการจัดการที่มีประสิทธิภาพ เพราะขณะนี้ทั่วโลกก�ำลังใช้ น�้ำในปริมาณและอัตราที่เร็วเกินกว่าวัฏจักรน�้ำตามธรรมชาติ จะท� ำ งานได้ ทั น กลี ก และพาลาเนี ย บพั น ยั ง เปรี ย บเที ย บ ระหว่างน�้ำกับน�้ำมันไว้ว่า น�้ำมันมีสิ่งที่ใช้ทดแทนได้มากมาย อาทิ พลังงานแสงอาทิตย์ พลังงานลม ฯลฯ แต่ไม่มีอะไรที่ สามารถทดแทนน�ำ้ ได้ เลสเตอร์ อาร์ บราวน์ (Lester R. Brown) ประธานสถาบันนโยบายโลก (Earth Policy Institute) ถึงกับ เคยปรารภไว้เมือ่ ปี 2013 ว่าการเข้าใกล้จดุ น�ำ้ จืดสูงสุดทีม่ นุษย์ สามารถใช้ได้นับเป็น “The Real Threat to our Future” หรือ ภัยคุกคามอนาคตของมนุษยชาติที่แท้จริง
ทางเลือกหลากหลาย เพื่อรับมือจุดน้ำ�จืดสูงสุด
ทีส่ ดุ แล้วจุดน�ำ้ จืดสูงสุดไม่ใช่เรือ่ ง ของปัญหาการขาดแคลนน�้ำจืด แต่เป็นการทีเ่ ราต้องทุม่ ทรัพยากร ทั้งเครื่องจักร พลังงาน แรงงาน เงินทอง และสิ่งแวดล้อมจนใกล้ ถึงขีดจ�ำกัดทีเ่ ราจะใช้ได้ เพียงเพือ่ การจัดหาน�้ำให้เพียงพอต่อความ ต้องการใช้ในปัจจุบัน มี ผู ้ ค า ด ก า ร ณ ์ ไ ว ้ ว ่ า ห า ก สถานการณ์ยังคงด�ำเนินไปเช่น นี้ ผู้คนกว่า 1.8 ล้านคนทั่วโลก จะประสบปั ญ หาขาดแคลนน�้ ำ ภายในปี พ.ศ.2568 และ 2 ใน 3 ของประชากรโลกจะต้องเผชิญ หน้ากับสภาวะ “ความตึงเครียด จากน�้ำ” (Water Stress) หรือ ภาวะที่ น�้ ำ ขาดแคลนจนกระทั่ ง ก่อให้เกิดความขัดแย้งระหว่าง ผู้คน และมักขยายวงกว้างกลาย เป็นปัญหาความขัดแย้งในระดับ ท้องถิ่น ไปจนถึงระดับภูมิภาค
ขณะทีน่ ำ�้ มีปริมาณน้อยลง สวนทางกับความต้องการน�ำ้ ทีเ่ พิม่ ขึน้ เรื่อยๆ เราต้องเลือกว่าจะรับมือกับปัญหาดังกล่าวอย่างไร ทาง เลือกแรกอาจเป็นการลดความต้องการใช้น�้ำลง เช่น รณรงค์หรือ บังคับให้คนประหยัดน�้ำ ทางเลือกที่สองคือเปลี่ยนวิธีใช้น�้ำ โดย เปลีย่ นจากการใช้ทมี่ มี ลู ค่าต�ำ่ ไปสูก่ ารใช้ทมี่ มี ลู ค่าทางสังคมหรือ เศรษฐกิจสูงกว่า ทางเลือกทีส่ ามคือย้ายความต้องการไปสูบ่ ริเวณ ทีม่ นี ำ�้ เพียงพอ และทางเลือกทีส่ คี่ อื ลงทุนเพิม่ เช่น ขนส่งน�ำ้ มาจาก แหล่งอื่น หรือ ลงทุนในน�้ำทะเลซึ่งมีไม่จ�ำกัด ปัจจุบันหลายพื้นที่ จ�ำเป็นต้องใช้ทางเลือกทีส่ ซี่ งึ่ มีตน้ ทุนสูงกว่าเพือ่ แก้ปญ ั หาเรือ่ งน�ำ้ อาทิ ซาอุดิอาระเบีย อิสราเอล สิงคโปร์ เป็นต้น ถึงทีส่ ดุ แล้ว แนวคิด “จุดน�ำ้ จืดสูงสุด” ไม่ได้ตอบค�ำถามว่าน�ำ้ จืด จะ “หมด” เมือ่ ไร แต่เป็นค�ำเตือนให้เราตระหนักว่าบนดาวเคราะห์ สีฟ้าของเราดวงนี้มีน�้ำเพียงร้อยละ 3.5 ของน�้ำทั้งโลกที่เป็นน�้ำจืด และในจ�ำนวนนีม้ เี พียงไม่ถงึ ร้อยละ 1 ทีเ่ ราใช้ได้ เมือ่ อธิบายแบบ นีเ้ ชือ่ ว่าหลายคนคงเริม่ มองเห็น “ขีดจ�ำกัด” ทีช่ ดั เจนของปริมาณ ความต้องการใช้น�้ำในหลายพื้นที่ทั่วโลกที่สวนทางกับปริมาณ น�้ำจืดที่โลกได้เตรียมไว้ให้เรา และ “การบริหารจัดการน�้ำอย่าง ยั่งยืน” ก็ไม่ใช่เรื่องไกลตัวเราอีกต่อไปแล้ว
ที่มา
• ทรัพยากรน�้ำ สืบค้นจาก https://th.wikipedia.org/wiki/ทรัพยากรน�้ำ • วฏั จักรของน�ำ้ สืบค้นจาก https://th.wikipedia.org/wiki/วัฏจักรของน�ำ้ • สฤณี อาชวานันทกุล. (2554) วิทยาศาสตร์และเศรษฐศาสตร์ของจุดน�ำ้ จืดสูงสุด (Peak Water) สืบค้นจาก http://www.web.greenworld.or.th/ columnist/ecosaveworld/1381 • Peak water สืบค้นจาก https://en.wikipedia.org/wiki/Peak_water
EAST WATER MAGAZINE
NO.33
WATER DESTINATION
WATER DESTINATION
NUREK
คู่มือนักเดินทาง ทาจิกิสถาน
เยือนนูเร็ค เขื่อนสูงอันดับสองของโลก เมื่อกล่าวถึงเขื่อนสูงที่สุดอันดับสองของโลกอย่าง เขื่อนนูเร็ค (Nurek) ใครจะคิดว่าตั้งอยู่ใน ประเทศยากจนอย่างสาธารณรัฐทาจิกิสถาน (Tajikistan) ที่เคยเป็นส่วนหนึ่งของ สหภาพโซเวียต เขื่อนนี้มีความสูงถึง 300 เมตร เริ่มก่อสร้างในปี ค.ศ.1961 แล้วเสร็จในปี ค.ศ. 1972 เดิมได้ชื่อว่าเป็นเขื่อนสูงที่สุดในโลกแต่มาเสียแชมป์ให้แก่ เขื่อนจิ่นผิง-1 (Jinping-1 Dam) ของจีน ในปี ค.ศ.2014 เขื่อนนูเร็คตั้งอยู่บริเวณช่องแคบแม่น�้ำ วาคิช (Vakhsh) ทางทิศตะวันตกของประเทศ ห่างจากเมืองดูชานเบ (Dushanbe) ซึ่งเป็นเมืองหลวง ประมาณ 75 กิโลเมตร ใกล้ๆ กับเขื่อนคือเมืองนูเร็ค ซึ่งเป็นที่พักคนงานและเจ้าหน้าที่ประจ�ำเขื่อน
Phorto From: www.tirolo.tl
WATER DESTINATION นั่งพัก รับชมน้ำ�
MARCH 2016
แม้ทาจิกสิ ถานถือเป็นประเทศทีย่ ากจนทีส่ ดุ ในเครือรัฐเอกราช หรือ CIS ไม่มี น�้ำมันและทางออกทะเล สินค้าเด่นมีเพียงฝ้ายและอลูมิเนียม ทว่าองค์การ ความร่วมมือเซี่ยงไฮ้ (Shanghai Cooperation Organization) หรือ SCO กลับยกให้ทาจิกสิ ถานเป็นมหาอ�ำนาจด้านพลังงาน จากความสามารถในการ ผลิตพลังงานน�้ำได้ถึงร้อยละ 4 ของการผลิตพลังงานน�้ำโลก ใช้ผลิตกระแส ไฟฟ้าได้ถึง 16.5 พันล้านกิโลวัตต์ต่อชั่วโมง จัดเป็นอันดับ 3 ของโลกรองจาก สหรัฐอเมริกาและรัสเซีย นอกจากนีท้ าจิกสิ ถานยังเป็นประเทศทีม่ คี วามมัง่ คัง่ ด้านทรัพยากรน�้ำต่อหัวของประชากรมากเป็นอันดับ 3 ของโลก
นอกจากความรุ ่ ม รวยด้ า นทรั พ ยากรน�้ ำ ทาจิ กิ สถานยังมีวิวทิวทัศน์อันน่าตื่นตาตื่นใจ เนื่องจาก ประเทศตั้งอยู่ตามแนวเทือกเขาปามีร์ (Pamir) ซึ่ง เป็นเทือกเขาโบราณเช่นเดียวกับเทือกเขาหิมาลัย (Himalaya) จึงเปี่ยมไปด้วยสถานที่ท่องเที่ยวทาง ธรรมชาติ อันตระการตา เช่น ทะเลสาบอเล็กซาน เดอร์ (Lake Alexander), อ่างเก็บน�้ำ Kayrakkum, สวนพฤกษศาสตร์และสวนสัตว์แห่งดูชานเบ, แม่น�้ำ Varzob (Dushanbinka), ทะเลสาบทั้ง 7 (Seven Lakes) รวมถึง เขื่อนนูเร็ค ที่มีน้�ำสีฟ้าสดใสอยู่ใน วงล้อมของหุบเขาสีเขียวสด และแม่นำ�้ สายย่อยจาก เขือ่ นนูเร็คทีม่ สี ายน�ำ้ สีฟา้ ใสแจ๋วเป็นประกาย ตัดกับ วิวภูเขาสูงและขอบฟ้างดงามเป็นฉากหลัง
เมืองหลวง : ดูชานเบ (Dushanbe) ภาษา : ภาษาทาจิก ภาษารัสเซีย และภาษาอุซเบก ศาสนา : อิสลาม ค่าเงิน : โซโมนี (TJS) 1 บาท = 0.22 TJS ภูมิประเทศ : เทือกเขา ไม่ติดทะเล ภูมิอากาศ : แบบภาคพื้นทวีป (ฤดูหนาวอากาศ หนาวจัด ฤดูร้อนอากาศร้อนจัด) เที่ยวบิน : เที่ยวบินไปยังกรุงดูชานเบ (Dushanbe) ยังมีจ�ำกัด หากเดิน ทางจากกรุงเทพฯ สามารถต่อเครื่อง ได้ที่ มิวนิค อิสตันบูล เดลี มอสโก อัลมาตี (คาซัคสถาน) การขอวีซ่า : สามารถขอรับ Visa on Arrival ได้ที่สนามบินดูชานเบ สถานเอกอัครราชทูตทาจิกิสถาน ที่ใกล้ที่สุด คือ จีนและอินเดีย หรือ อาจเดินทางมารับวีซ่าที่รัสเซียและ ต่อเครื่องไปยังทาจิกิสถานจาก กรุงมอสโกซึ่งมีเที่ยวบินบริการเกือบ ทุกวัน
แม้เป็นประเทศเล็กๆ ที่ยังไม่ค่อยเป็นที่รู้จัก ทว่าทาจิกสิ ถานก็เปีย่ มไปด้วยความงดงาม ทางธรรมชาติ ความรุ่มรวยทางทรัพยากร และร่องรอยอารยธรรมเก่าแก่ที่ควรค่าต่อ การไปเยี่ยมชมสักครั้ง
EAST WATER MAGAZINE
NO.33
TRICK POSITIVE
MARCH 2016
BE INSPIRED
คิด ไม่ออก...
ต้องไปอาบน้ำ� TRICK
POSITIVE
เคยไหม เวลาที่พยายามคิดหาไอเดียอะไร บางอย่าง คิดอย่างไรก็คิดไม่ออก แต่พอไป อาบน้ำ�เท่านั้น คิดออกเลย ทำ�ไมเป็นแบบนั้นกันนะ? จอห์น คูเนียส (John Kounios) นักจิตวิทยา ที่ศึกษาเรื่องความคิดสร้างสรรค์อธิบายว่า สมองคนเราเชื่อมโยงสิ่งต่างๆ เพื่อให้เราจ�ำ ได้ เช่น เมื่อเจ้านายให้โจทย์มา สมองจะน�ำ โจทย์ไปเปรียบเทียบกับข้อมูลทีม่ อี ยูใ่ นสมอง ถ้าเป็นเรื่องที่เคยท�ำมาก่อน เรามีความจ�ำ เกี่ยวกับวิธีท�ำอยู่แล้ว ก็สามารถดึงข้อมูล ออกมาแล้วลงมือท�ำได้ทันที แต่ถ้าโจทย์นั้น เป็นสิง่ ทีไ่ ม่เคยเห็นมาก่อน สมองจะพยายาม เชือ่ มโยงดูวา่ พอจะเข้ากับความทรงจ�ำเดิมใด ได้บ้าง แต่ความลับที่หลายคนไม่รู้คือ ยิ่งเพ่ง ความคิดไปยังเรื่องใดเรื่องหนึ่งมากเท่าไหร่ การเชื่อมโยงจะหายไป (อ้าว!)
เมื่อ คนเราพยายามคิดแก้ปัญหา สมองจะจ�ำกัด ตัวเองอยู่แค่ทางเลือกไม่กี่ทาง เหมือนกับแผ่นเสียง ตกร่องที่เล่นวนไปวนมา แต่เมื่อเราหยุดพักการคิด แล้วหันเหไปท�ำกิจกรรมง่ายๆ ที่สมองคุ้นเคย เช่น อาบน�ำ้ รดน�ำ้ ต้นไม้ ฯลฯ สมองจะเกิดการผ่อนคลาย และหั น ไปจดจ่ อ กั บ สิ่ ง ที่ ก� ำ ลั ง ท� ำ อยู ่ แ ทน แต่ ใ น ขณะเดียวกันความคิดก็ยังคงเลื่อนไหลไปเชื่อมโยง กับข้อมูลอื่นในสมองอย่างต่อเนื่องโดยที่เราไม่รู้ตัว น�ำไปสู่ไอเดียใหม่ที่เราต้องการในที่สุด
ถึงตอนนัน้ เราอาจร้องว่า ยูเรก้า!! เหมือนตอน ที่อาร์คิมิดีส (Archimedes) ค้นพบวิธีการหา ปริมาตรของวัตถุที่ไม่ได้มีรูปทรงเรขาคณิตใน ระหว่างที่อาบน้ำ�อยู่ก็เป็นได้! ที่มา
• Afterword_admin. 2014. อย่างนี้ต้องไปอาบน�้ำ. สืบค้นจาก http://afterword.co/idea_shower/ • จันทร์เพ็ญ ชูประภาวรรณ. ความจ�ำ (Memory). สืบค้นจาก http://taamkru.com/th/ความจ�ำ
BE INSPIRED กระเป๋าที่เบาลง ใจฟิต คิดบวก ชี วิ ต ที่ วุ ่ น วายกั บ การท�ำงานที่ เร่งรีบและกดดันจนลืมวันลืมคืน รู ้ ตั ว อี ก ที ก็ ห มดไปอี ก วั น หนึ่ ง แล้ ว วั ฏ จั ก รที่ ว นเวี ย นซ�้ ำ แล้ ว ซ�้ ำ เล่ า เช่ น นี้ ค งท�ำให้ ห ลายคน รู้สึกอ่อนเพลียไปทั้งกายและใจ บางคนอาจก�ำลังย้อนถามตัว เองด้วยความหดหู่ใจว่า “เราก�ำลังท�ำอะไรอยู่” What’s in your Backpack?
ผูเ้ ขียนเคยรูส้ กึ แบบนีอ้ ยูบ่ อ่ ยครัง้ แต่กไ็ ม่เคยหยุดเพือ่ หา “ค�ำตอบ” และ “ทางออก” ให้กับความกดดันในใจ กระทั่งวันหนึ่งได้รับการแนะน�ำให้ รู้จักกับอดีตวิศวกรขุดเจาะน�้ำมันผู้ผันตัวเองมาเป็นคนหมักเบียร์แบบ เต็มเวลา พีช่ ายท่านนีใ้ ช้ชวี ติ โชกโชนทัง้ ยามทีท่ ำ� งานอยูบ่ นบกและกลาง ทะเล แถมยังใช้เวลาไม่นอ้ ยอยูใ่ นอากาศ เพราะต้องเดินทางไปดูงานทัง้ ในประเทศและต่างประเทศอยูต่ ลอดเวลา นึกดูแล้วก็คล้ายกับชีวติ ของ ไรอัน บิงแฮม (Ryan Bingham) พระเอกของภาพยนตร์เรื่อง Up in the Air ที่ใช้ชีวิตอยู่กับกระเป๋าเดินทางมากกว่าครอบครัว ช่วงหนึ่งของการสนทนาเราคุยถึงเรื่อง What’s in your Backpack? จะเป็นอย่างไรถ้าเราต้องแบกอะไรต่างๆ มากมายลงในเป้ 1 ใบ ทั้ง หน้าที่การงาน ครอบครัว ญาติพี่น้อง ศัตรู คนรัก เงินทอง บ้าน รถยนต์ ความโกรธเกลียด ค�ำนินทาว่าร้าย ฯลฯ คงหนักไม่ใช่เล่นถ้าเราต้อง แบกสิ่งเหล่านี้ไว้บนหลังตลอดเวลา แต่ถ้าเรารู้จักเลือกหยิบเอาเฉพาะ สิ่งที่จ�ำเป็นหรือเร่งด่วนขึ้นมาก่อน สิ่งที่ไม่ส�ำคัญหรือไม่น่าหยิบมา ใส่ใจตั้งแต่แรกก็เอาออกไปบ้าง หรือใส่ลงไปให้ถูกจังหวะและเวลา กระเป๋าใบนีอ้ าจหนักแต่กย็ งั ประคับประคองไปได้ และแน่นอนว่ามันจะ ไม่หนักหนาสาหัสเท่ากับครั้งแรกที่เรายัดเยียดทุกอย่างลงไปแบบนั้น จู่ๆ ค�ำตอบของค�ำถามก็ลอยเข้ามาไม่ทันตั้งตัวว่าการเดินทางของชีวิต อาจมีความหมายเพียงเพื่อตัวเราเอง เพื่อตอบแทนโลกทั้งใบ หรือเพื่อ ใครบางคน สิ่งส�ำคัญคงไม่ใช่ว่าตอนนี้เราก�ำลังท�ำอะไรอยู่ แต่เราท�ำ เพื่อใคร อะไรที่จ�ำเป็นในชีวิต และอะไรที่เก็บไว้ก็รกรุงรัง
เพียงเลือกทิ้งบางอย่างออกไปบ้าง กระเป๋าเป้ของเราก็เบาลงไปถนัดตา
EAST WATER MAGAZINE
NO.33
SCOOP
SCOOP
อีสท์ วอเตอร์ สู้ภัยแล้ง
WATER COMPLEX บริหารจัดการน้ำ� อย่างรู้คุณค่า
หลายภาคส่วน ยังคงให้ความสำ�คัญกับ ปั ญ หาภั ย แล้ ง หรื อ การขาดแคลนน้ำ � ที่ เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง เพราะเป็นปัญหา ที่ ก ระทบกั น เป็ น ลู ก โซ่ ทั้ ง การอุ ป โภค บริโภค การเกษตร การปศุสัตว์ การเพาะ เลี้ ย งสั ต ว์ น้ำ � และการอุ ต สาหกรรม ซึ่ ง ส่งผลกระทบทั้งทางตรงและทางอ้อมต่อ การดำ�รงชีพของประชาชน รวมถึงส่งผล ต่ อ เศรษฐกิ จ ของประเทศ ดั ง นั้ น หลาย หน่วยงานจึงได้ร่วมกันหาทางออกของ วิกฤติภัยแล้งที่กำ�ลังมาถึงเพื่อให้สามารถ ผ่านพ้นไปได้ด้วย
MARCH 2016
จากสถิตกิ ารใช้นำ�้ ในพืน้ ทีล่ มุ่ น�ำ้ เจ้าพระยา ปัจจุบนั มีปริมาณ การใช้เพิ่มสูงขึ้น ทั้งภาคการเกษตร ภาคอุตสาหกรรม สถาน ประกอบการ และภาคครัวเรือน ทีม่ กี ารใช้นำ�้ ร่วมกันประมาณ 20 ล้าน ลบ.ม. ต่อวัน โดยเฉพาะพื้นที่กรุงเทพมหานครที่มี ประชากรอาศัยอยูอ่ ย่างหนาแน่นและใช้นำ�้ สูงสุดวันละ 5 ล้าน ลบ.ม. ที่ผ่านมาภาครัฐมีมาตรการขอความร่วมมือให้ชาวนา และเกษตรกรงดท�ำนาปรังและหันมาปลูกพืชที่ใช้น�้ำน้อย ทดแทน แต่อย่างไรก็ดี ผู้ใช้น�้ำเองก็ต้องเข้ามาร่วมรับผิดชอบ ในการประหยัดน�ำ้ และรูจ้ กั การใช้นำ�้ อย่างรูค้ ณ ุ ค่าด้วยเช่นกัน
โครงการ Water Complex จากโมเดล 3W เป็นการวางระบบน�้ำ แบบครบวงจรให้ เ หมาะกั บ การใช้ ง านของแต่ ล ะอุ ต สาหกรรม และสามารถน�ำน�้ำทิ้งกลับมาใช้ใหม่ ซึ่งบริษัท จัดการและพัฒนา ทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน) หรือ อีสท์ วอเตอร์ ใน ฐานะผู้เชี่ยวชาญด้านการบริหารจัดการน�้ำในภูมิภาคตะวันออก มั่นใจว่าโครงการนี้จะเป็นอีกหนึ่งวิธีที่สามารถตอบโจทย์ในการแก้ ปัญหาภัยแล้งได้อย่างยั่งยืน “Water Complex” ไม่จ�ำเป็นต้องท�ำเฉพาะน�้ำทิ้งในอุตสาหกรรม เท่านัน้ ในครัวเรือนก็สามารถท�ำได้ดว้ ยเช่นกัน โดยการวางระบบน�ำ้ Reclaimed หรือระบบน�้ำแบบ 2 เส้นท่อแยกท่อน�้ำดี กับท่อน�้ำเสีย เพื่อน�ำน�้ำที่ใช้แล้วมาผ่านระบบบ�ำบัดขนาดเล็กและกระบวนการ รีไซเคิลเพื่อน�ำน�้ำทิ้งจากห้องน�้ำกลับมาใช้ใหม่ในระบบฟลัดชิ่ง และรดน�้ำต้นไม้ หากทุกบ้านวางระบบน�้ำดังกล่าว ลองคิดดูว่า จาก 1 ครัวเรือนค่อยๆ ขยายไปทุกครัวเรือน จะมีนำ�้ เพิม่ ขึน้ ในระบบ อีกกว่า 800 ล้าน ลบ.ม.ต่อปี และเมื่อรวมกับน�้ำ Reclaimed ที่จะ กลับคืนมาจากระบบบ�ำบัดในภาคอุตสาหกรรมแล้ว ปริมาณน�้ำที่ ได้จะมากกว่าความจุของเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ 1 เขื่อน หรือกว่า 900 ล้าน ลบ.ม.ต่อปี หรือบางทีอาจมากกว่านั้นด้วยซ�้ำ นั่นเท่ากับว่าเรา ไม่ตอ้ งสร้างเขือ่ นเพิม่ ไม่ตอ้ งท�ำลายทรัพยากรธรรมชาติ ไม่ตอ้ งสูญ เสียพื้นที่การเกษตร และที่ส�ำคัญคือ ลดปัญหาการแย่งน�้ำระหว่าง ภาคเกษตรกรรมและภาคอุปโภคบริโภคในระยะยาวอีกด้วย
อีสท์ วอเตอร์ สนับสนุนการใช้น้ำ�ทุกหยดอย่างรู้คุณค่า เป็ น ค� ำ ตอกย�้ ำ ให้ ทุ ก คนประหยั ด น�้ ำ และใช้ นํ้ า อย่ า งรู ้ คุ ณ ค่ า โดยตระหนั ก ถึ ง ปั ญ หาทรั พ ยากร นํ้าที่ถูกท�ำลายด้วยมลพิษจนด้อยคุณภาพ และปี นี้ก�ำลังถูกคุกคามด้วยปัญหาภัยแล้ง ฝนตกน้อย กว่าที่คาด แหล่งนํ้าธรรมชาติลดน้อยลงสวนทาง กับการเติบโตของภาคการเกษตร และสังคมเมือง โดยมุ่งหวังให้มีนํ้าใช้อย่างยั่งยืน
EAST WATER MAGAZINE
NO.33
WATER STOCK
MARCH 2016
WATER STOCK
0.35 0.38 0.18 0.2 0.14 0.14 0.14 0.16
0.47 0.42 0.44 0.42 0.45
0.25 0.25 0.25 0.25 0.25
ป นผล (บาท/หุ น)
2541 2542 2543 2544 2545 2546 2547 2548 2549 2550 2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557 2558
35 %
WATER STOCK ในสภาวะเศรษฐกิจถดถอย ตลาดหุ้นผันผวน อย่างที่กำ�ลังเกิดขึ้นในปัจจุบัน นักลงทุนหลายคน จึงหันหาหุ้นที่ยังโชว์เสถียรภาพในการทำ�กำ�ไรที่ มั่นคงและราคาหุ้นทนทานต่อสภาวะเศรษฐกิจและ ตลาดหุน้ ที่ไม่แน่นอน ซึง่ หุน้ ในกลุม่ นีค้ อื Defensive Stock หรือ อาจเรียกชื่อไทยว่า “หุ้นตั้งรับ”
50 %
61 %
57 %
55 %
57 %
56 %
65 %
Defensive Stock เป็นหุ้นที่ราคามีความ ผั น ผวนต�่ ำ โดยราคาหุ ้ น มั ก เปลี่ ย นแปลง น้อยกว่าดัชนีราคาตลาดหลักทรัพย์ เพราะ ธุรกิจของหุ้นประเภทนี้จะมีรายได้ที่ค่อนข้าง แน่ น อนจากการขายสิ น ค้ า หรื อ บริ ก ารที่ ผู ้ บ ริ โ ภคจ� ำ เป็ น ต้ อ งใช้ ความต้ อ งการใช้ สินค้าหรือบริการจึงไม่ค่อยผันแปรไปตาม สภาวะเศรษฐกิจ ท�ำให้สามารถคาดการณ์ ผลประกอบการได้ค่อนข้างง่าย และมีการ จ่ายปันผลสม�่ำเสมอในอัตราที่คาดหวังได้ ในยามที่สภาวะตลาดหุ้นแย่ หุ้น Defensive Stock จะยังคงให้ผลตอบแทนที่ดีใกล้เคียง กับที่ผ่านมา ถ้าราคาหุ้นตกก็จะเป็นเพียง แค่ ร ะยะสั้ น ๆ ในขณะที่ ย ามตลาดเฟื ่ อ งฟู หุ้นประเภทนี้จะยังมีโอกาสให้ผลตอบแทน ที่เพิ่มมากขึ้น แม้จะไม่หวือหวา แต่ก็มั่นคง เรี ย กได้ ว ่ า เป็ น หุ ้ น ที่ ท นต่ อ แรงเสี ย ดทาน ของสภาวะตลาดและวั ฏ จั ก รเศรษฐกิ จ ตัวอย่างของหุ้นในกลุ่มนี้ได้แก่หุ้นในกลุ่ม สาธารณูปโภค
65 %
76 %
73 %
72 %
70 %
69 %
59 %
53 %
56 %
Payout Ratio (%)
49 %
หุ้น EASTW ถือเป็น Defensive Stock ตัวหนึ่ง โดยรายได้ และก�ำไรของบริษัทค่อยๆ เติบโตอย่างต่อเนื่องนับตั้งแต่ เข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ในปี 2540 อีกทั้งยัง จ่ายเงินปันผลให้แก่ผู้ถือหุ้นทุกปี ไม่ว่าจะเป็นช่วงวิกฤติ ต้มย�ำกุ้งหรือวิกฤติแฮมเบอร์เกอร์ โดยอัตราเงินปันผลต่อ ก�ำไรสุทธิ (Payout Ratio) ไม่เคยต�่ำกว่า 35% ตลอดระยะ เวลา 18 ปี ที่ ผ ่ า นมา ซึ่ ง ในปี นี้ คณะกรรมการบริ ษั ท ได้ มีมติเสนอให้ผู้ถือหุ้นพิจารณาอนุมัติจ่ายเงินปันผลรวม 0.47 บาทต่อหุ้นส�ำหรับผลประกอบการในปี 2558
ดั ง นั้ น ผู้ ที่ ต้ อ งการหาที่ ห ลบภั ย จากความ ผั น ผวนของตลาด หรื อ สภาวะเศรษฐกิ จ ที่ ซบเซา หรือแม้แต่นักลงทุนที่ชอบความมั่นคง ไม่ต้องคอยติดตามราคาหุ้นทุกวัน และกำ�ลัง มองหาหุ้นที่ให้เงินปันผลอย่างต่อเนื่อง EAST WATER ก็เป็นอีกหนึ่งหุ้นที่น่าสนใจควรมีติด ไว้ในพอร์ต
EAST WATER MAGAZINE
NO.33
ASEAN WATCH
ASEAN WATCH
THE FACE OF CHANGE
ประธานาธิบดี พลเรือนคนแรก ในรอบ 50 ปีของเมียนมา
ย้อนไปปี ค.ศ. 1990 นางออง ซาน ซู จี หั ว หน้ า พรรคสั น นิ บ าตแห่ ง ชาติ เ พื่ อ ประชาธิ ป ไตย หรื อ เอ็ น แอลดี (NLD - National League of Democracy) ได้ รั บ เ ลื อ ก ด ้ ว ย ค ะ แ น น เ สี ย ง ท่ ว มท้ น ครั้ ง นั้ น นอกจากไม่ ไ ด้ ครองต� ำ แหน่ ง ประธานาธิ บ ดี นางซู จี ยั ง ถู ก รั ฐ บาลทหาร คุมขังไว้ในบ้านพักเป็นเวลานาน ถึง 15 ปี
MARCH 2016
Phorto From: www.theguardian.com
กลายเป็นกระแสไปทั่วโลกเมื่อรัฐสภาเมียนมาลง มติเลือกนายถิ่น จอ (Htin Kyaw) วัย 69 ปี เป็น ประธานาธิบดีคนใหม่ ด้วยคะแนนเสียง 360 เสียง จากทั้งหมด 652 เสียง ถือเป็นครั้งแรกในรอบ ครึง่ ศตวรรษของเมียนมาทีม่ ปี ระธานาธิบดีเป็น พลเรือน!
ปั จ จุ บั น เส้ น ทางประชาธิ ป ไตยในเมี ย นมาเริ่ ม เบ่ ง บานขึ้ น ทว่ า ใน การเลือกตั้งเมื่อเดือนพฤศจิกายนที่ผ่านมา แม้นางซูจีได้คะแนนเสียง ข้างมากอีกครั้งแต่ก็ไม่อาจรับต�ำแหน่งประธานาธิบดีได้ เพราะขัดกับ บทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญที่ระบุว่าผู้มีสามีหรือภรรยาหรือบุตรธิดา ที่ถือสัญชาติอื่นไม่สามารถเป็นประธานาธิบดีได้ โดยนางซูจีสมรสกับ นายไมเคิล อรีส (Michael Aris) ชาวอังกฤษ มีบุตรชาย 2 คน ถือ สัญชาติองั กฤษตามบิดา จึงเป็นทีม่ าของการคัดเลือกตัวแทนทีไ่ ว้วางใจ มากที่สุดขึ้นรับต�ำแหน่งแทน โดยนายถิ่น จอ เป็นเพื่อนสมัยเด็กของ นางซูจีที่คบหากันมายาวนาน ทั้งยังท�ำงานเคียงข้างนางซูจีเรื่อยมา กระทั่งได้รับความไว้วางใจให้ครองต�ำแหน่งผู้น�ำประเทศในที่สุด
Phorto From: www.irishtimes.com
การเปลี่ยนแปลงครั้งนี้มีแนวโน้มจะท�ำให้เศรษฐกิจ เมี ย นมาขยายตั ว แบบก้ า วกระโดด เนื่ อ งจาก นางซูจีมีภาพลักษณ์ที่ดีในสายตาชาติตะวันตก อีก ทั้งเมียนมายังอุดมไปด้วยทรัพยากรธรรมชาติและ แรงงานราคาถูก จึงเป็นตลาดใหม่ทดี่ งึ ดูดใจนักลงทุน ต่ า งชาติ รวมถึ ง นั ก ลงทุ น ชาวไทย หลายฝ่ า ยจึ ง คาดการณ์ ว ่ า มี ค วามเป็ น ไปได้ สู ง ที่ แ รงงาน เมียนมาในไทยจะทยอยเดินทางกลับประเทศเพือ่ ไป รองรับการเติบโตทางเศรษฐกิจในเมียนมา เมื่อถึง ตอนนั้ น รั ฐ บาลไทยและผู ้ ป ระกอบการจะรั บ มื อ ปัญหาขาดแคลนแรงงานอย่างไร ฝากให้ไปคิดดู
Phorto From: www.thedailystar.net
นายถิ่ น จอ เป็ น บุ ต รของนายมิ น ธู วิ น นักเขียนและกวีระดับชาติของเมียนมา จบการ ศึกษาระดับปริญญาตรีและปริญญาโท สาขา เศรษฐศาสตร์จากสถาบันเศรษฐศาสตร์ยา่ งกุง้ ศึกษาต่อที่สถาบันวิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยลอนดอน และ โรงเรียนบริหาร อาร์เธอร์ ดี. ลิตเติล สหรัฐอเมริกา เคยด�ำรง ต�ำแหน่ ง อาจารย์ ม หาวิ ท ยาลั ย รั ฐ มนตรี ว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม และกระทรวง กิจการต่างประเทศ รวมถึงเป็นประธานกองทุน ดอ ขิ่น จี องค์กรช่วยเหลือคนในพื้นที่ยากไร้ ที่สุดในเมียนมา ด้านชีวิตส่วนตัว นายถิ่น จอ สมรสกับนางซู ซู ลวิน สมาชิกสภาผูแ้ ทนราษฎรเมืองธงวา และ ประธานคณะกรรมการความสัมพันธ์ระหว่าง ประเทศของสภาผู้แทนราษฎร ส่วนนายอู ลวิน พ่อตาของนายถิ่น จอ เป็นหนึ่งในผู้ร่วมก่อตั้ง พรรคเอ็นแอลดี
EAST WATER MAGAZINE
NO.33
INNOVATION
MARCH 2016
INNOVATION
ถังเก็บน้ำ�ดิบ (จากแหล่งน้ำ� ธรรมชาติ)
ถังเก็บน้ำ�สะอาด พร้อมดื่ม (ถังนี้สามารถยกออก จากรถได้)
INNOVATION
จักรยาน กรองน้ำ�
ปัญหาเรื่องน้ำ� เห็นจะเป็นปัญหา ใหญ่ระดับนานาชาติ เนื่องจากน้ำ� เป็ น หนึ่ ง ในปั จ จั ย ที่ สำ � คั ญ สำ � หรั บ มนุ ษ ยชาติ ที่ ใ ช้ ใ นการดำ � รงชี วิ ต หลายคนคงเคยได้ ยิ น ปั ญ หาการ ขาดแคลนน้ำ�บ่อยๆ
เนื่ อ งจากความต้ อ งการใช้ น�้ ำ เพิ่ ม สู ง ขึ้ น ทุ ก ปี ซึ่ ง สวนทางกั บ ทรั พ ยากรน�้ ำ ที่ มี อ ยู ่ อ ย่ า งจ� ำ กั ด แต่ทว่าปัญหาที่ส�ำคัญไม่แพ้กัน นัน่ ก็คอื ปัญหาการเข้าถึงแหล่งน�ำ้ ทีส่ ะอาด ยูนเิ ซฟ เผยว่า ประชากร 3 ใน 4 ของประชากรหนึง่ พันล้าน คน หรือประมาณ 768 ล้านคน ยัง คงประสบปัญหาการเข้าถึงแหล่ง น�้ำที่สะอาดจึงท�ำให้ในแต่ละปีมี ผู้ล้มป่วยและเสียชีวิตจากสาเหตุ ขาดแคลนน�้ ำ ดื่ ม ที่ ส ะอาดเป็ น จ�ำนวนมากโดยเฉพาะประชากรที่ อาศัยอยูใ่ นชนบทและชุมชนแออัด
ดังนั้น บริษัท IDEO จึงได้คิดค้นและประดิษฐ์นวัตกรรม ที่เรียกว่า “Aquaduct Bike” ซึ่งได้รับรางวัลชนะเลิศจาก โครงการ Innovate or Die 2008 โดยมีบริษัท Google เป็นผู้สนับสนุนนวัตกรรมนี้ ด้วยแนวคิดที่มาจากปัญหา การขาดแคลนน�้ำ การท�ำงานของ “Aquaduct Bike” คือ การปั่นจักรยาน เพื่อไปหาแหล่งน�้ำ และระหว่างทางกลับบ้านจะมีกลไก การกรองน�ำ้ ทีส่ ามารถเปลีย่ นน�ำ้ ดิบจากธรรมชาติให้เป็น น�้ำดื่มที่ปลอดภัย กล่าวคือ กลไกการท�ำงานจะเกิดขึ้น เมือ่ มีการปัน่ จักรยาน จะน�ำน�ำ้ จากแหล่งธรรมชาติในถัง ผ่านเครือ่ งกรอง จนสุดท้ายได้นำ�้ สะอาดพร้อมดืม่ ไปเก็บ ยังถังสะอาด ปัจจุบันนวัตกรรมนี้ได้ทดลองใช้กับประเทศแอฟริกา และประเทศไทยได้นำ� มาทดลองใช้ทจี่ งั หวัดปทุมธานี ซึง่ ถือว่าเป็นอีกก้าวส�ำคัญที่จะเปลี่ยนแปลงให้มนุษยชาติ มีความเป็นอยู่ที่ดีขึ้นโดยเฉพาะปัญหาในด้านของการ เข้าถึงและขาดแคลนน�้ำสะอาดในการอุปโภคบริโภค นวัตกรรมชิ้นนี้ถือว่าช่วยองค์การอนามัยโลกลดปัญหา ในเรื่องของสุขภาพอนามัยด้วย
EAST WATER MAGAZINE
ABOUT A BIZ
ยุ ค ที่ เ ทคโนโลยี เ อื้ อ ให้ เ กิ ด โอกาสทางธุ ร กิ จ รู ป แบบใหม่ ๆ อาชี พ ที่ ดู ไ ม่ น่ า จะเป็ น ไปได้ อ ย่ า ง บริการผูช้ ว่ ยช้อปปิง้ ของกินของใช้เข้าบ้านจึงกลาย มาเป็นธุรกิจใหม่ท�ำ เงินทีแ่ พร่หลายในหลายประเทศ รวมถึงเมืองไทยทีเ่ ริม่ มีผปู้ ระกอบการหัวใสหยิบเท รนด์มาเป็นไอเดียทำ�เงินแล้วเช่นกัน
NO.33
แจ๋ว ช่วยช้อป
ABOUT A BIZ
หลากหลายไอเดียอร่อยถึงบ้าน ปัจจุบันยังมีอีกหลากหลายรูปแบบธุรกิจที่ตอบโจทย์ ไลฟ์สไตล์คนเมือง รุ่นใหม่ทที่ �ำงานหนักขึ้น มีเวลาส่วนตัวน้อยลง และต้องการความสะดวก สบายยิ่งขึ้น จนแจ้งเกิดวิถีการกินแบบใหม่บนโลกออนไลน์ที่น่าสนใจ ไม่แพ้กัน
เทรนด์ ใหม่ ธุรกิจส่งถึงบ้าน
PASSION DELIVERY บริการส่งตรงวัตถุดิบและอาหาร คุณภาพส�ำหรับคนไทยที่รวบรวม สินค้าคุณภาพสูงจากในประเทศ และต่างประเทศหลายร้อย รายการ
PERSONAL SHOPPER บริการช่วยช้อปของกินของใช้ ในสหรั ฐ อเมริ ก าผู ้ ค นจ�ำนวนไม่ น ้ อ ยเบื่ อ หน่ า ยการเดิ น ทางฝ่ า รถติด แถมยังต้องต่อคิวยาวในซูเปอร์มาร์เก็ต บริการช่วยซือ้ ของกิน ของใช้ในชีวิตประจ�ำวัน หรือ Personal Grocery Shopping จึงเป็น อีก ทางเลื อ กของคนที่ ไ ม่อ ยากออกไปนอกบ้านหรือไม่มีเวลาไป ซื้อของด้วยตัวเอง ตั ว อย่ า งธุ ร กิ จ สตาร์ ต อั พ (Startup) ในสหรั ฐ อเมริ ก าที่ ส ร้ า ง ปรากฏการณ์ใหม่ให้กับการซื้อของออนไลน์ คือ Instacart บริการ ผู้ช่วยช้อปมืออาชีพ (Personal Shopper) โดยมีแอปพลิเคชัน ออนไลน์เชื่อมโยงระหว่างร้านค้า ลูกค้า และเครือข่าย Personal Shopper ซึ่งเป็นคนในละแวกท้องถิ่นที่จะออกไปซื้อของตามค�ำสั่ง และน�ำไปส่งให้ถึงบ้าน โดยมีจุดขายอยู่ที่ความรวดเร็วในการจัดส่ง ภายใน 1 ชัว่ โมง พร้อมรับประกันการคืนเงินหากสินค้าไม่ได้คณ ุ ภาพ HONEST BEE ข้ามมาดูทางฝัง่ เอเชียกันบ้าง ปลายปีทแี่ ล้วในสิงคโปร์มบี ริษทั เกิดใหม่ อย่าง Honestbee ที่ลูกค้าสามารถสั่งซื้อของที่ต้องการจากหลาย ร้านค้าในคราวเดียวผ่านทางออนไลน์ จากนัน้ ผูช้ ว่ ยซือ้ ของทีเ่ รียกว่า “Bee” จะออกไปเลือกซือ้ สินค้าพร้อมจัดส่งให้ภายใน 1 ชัว่ โมง บริการนี้ ได้รบั ความนิยมอย่างมาก ภายในเวลาไม่ถงึ ปีสามารถขยายเครือข่าย การให้บริการใน 4 ประเทศ ได้แก่ สิงคโปร์ ฮ่องกง ไต้หวัน และญีป่ นุ่
MARCH 2016
HAPPY FRESH อีกหนึ่งธุรกิจมาแรง คือ HappyFresh ที่ขยายฐานจากอินโดนีเซีย สู่มาเลเซีย และล่าสุดเข้ามาเปิดตัวในประเทศไทย เมื่อปลายปีที่แล้ว โดยชูจุดขายด้าน ความรวดเร็ว พร้อมรับประกันความ พึงพอใจ โดย Personal Shopper ทุก คนจะต้องผ่านการอบรมจนมีความ ช�ำนาญด้านการเลือกสินค้า กรณีไม่มี สินค้าตามสั่งต้องสามารถแนะน�ำ สินค้าอื่นให้แก่ลูกค้า ในช่วงเปิดตัว 3 เดือนแรก มียอดลูกค้าลงทะเบียน นับหมื่นราย และมีเครือข่ายซูเปอร์ มาร์เก็ตที่เป็นพันธมิตรน�ำร่อง ได้แก่ กลุ่มเดอะมอลล์และตั้งฮั่วเส็ง
BLUE APRON บริการจัดส่งสูตรอาหารพร้อมวัตถุดบิ พร้อมปรุง ตอบโจทย์แม่บา้ นยุคใหม่ทยี่ งั ชอบท�ำอาหารกิน เอง แต่ไม่มเี วลาไปจ่ายตลาด ในราคาสุดคุม้ ประมาณ 10 ดอลลาร์สหรัฐต่อคน
ในยุ ค ที่ ค วามสะดวกสบายและความ รวดเร็ ว กลายเป็ น เงื่ อ นไขการใช้ ชี วิ ต ของคนรุ่นใหม่ เราจึงได้เห็นการแจ้งเกิด บริการออนไลน์ ใหม่ๆ ที่จับไลฟ์สไตล์ มาเป็นโจทย์ ในการสร้างธุรกิจให้โดนใจ ผู้บริโภค.. คุณล่ะ มองเห็นโอกาสและไอเดียทำ� เงินจากเทรนด์เหล่านี้บ้างหรือยัง ที่มา
• Honest Bee สืบค้นจาก https://e27.co/singaporesgrocery-concierge-honestbee-buzz-aroundtaipei-soon-20151208/ • Passion Delivery สืบค้นจากhttp://www.bkkkids. com/blog/passion-delivery-bangkok-advertorial/
FOOD PANDA บริการสั่งอาหารพร้อมรับ ประทานผ่านแอปพลิเคชัน เลือก ได้หลากหลายจากเครือข่าย ร้านอาหารในประเทศไทยกว่า 250 ร้าน พร้อมบริการค้นหา ร้านอาหารที่อยู่ใกล้เคียงผ่าน โทรศัพท์มือถือ • Happy Frsh สืบค้นจาก https://www.happyfresh.com/ press/happyfresh-launches-bangkok/ • Blue Apron สืบค้นจาก http://www.fractals.it/en/the-7most-trendy-food-box-services/ • Food Panda สืบค้นจาก http://jktgo.com/food-panda/
EAST WATER MAGAZINE
NO.33
HEALTH & SAFETY
LUCKY POWER
HEALTH & SAFETY การเกิดอุบัติเหตุในการทำ�งาน ไม่ ใ ช่ สิ่ ง ที่ เ กิ ด ขึ้ น จากโชคชะตา เคราะห์กรรม หรือเป็นเรื่องของ เทวดาฟ้าดิน แต่ล้วนแล้วแต่เกิด จากสาเหตุใดสาเหตุหนึ่ง ซึ่งผู้ที่ เกีย่ วข้องจะต้องทำ�การวิเคราะห์ ให้รู้ถึงสาเหตุที่แท้จริง เพื่อที่จะ ได้ ห าแนวทางป้ อ งกั น มิ ใ ห้ เ กิ ด เหตุขึ้นซ้ำ� ดั ง นั้ น ก่ อ นที่ จ ะเรี ย นรู้ และ วิเคราะห์สาเหตุของอุบัติเหตุ เรา ควรจะเข้ า ใจความหมายของ คำ�ศั พ ท์ ที่ เ กี่ ย วข้ อ ง Health & Safety ฉบับนี้ จึงขอนำ�คำ�ศัพท์ที่ เกี่ยวข้องกับคำ�ว่า “อุบัติเหตุ” มา อธิบายคำ�จำ�กัดความให้ได้เข้าใจ กัน ซึ่งประกอบด้วยคำ�ต่อไปนี้
ที่มา
• http://www.thebandopium.com และ วิศวกรรม และการบริ ห ารความปลอดภั ย ในโรงงาน (วีรพงษ์ เฉลิมจิระรัตน์,วิฑูรย์ สิมะโชคดี)
MARCH 2016
เสียหาย
ภัย
Hazard หมายถึง สภาพการณ์ทอี่ าจจะก่อ ให้เกิดการบาดเจ็บต่อบุคคลหรือ ความเสียหายต่อทรัพย์สิน หรือ กระทบกระเทือนต่อความสามารถ ในการปฏิบัติงานของพนักงาน
วางของสูงทางมุมซาย สงเสริมเรื่องอำนาจ
เตาคริสตัลวางบนโตะ ทำใหมีพลังงานดานบวก
วอลลเปเปอรหนาจอคอมพิวเตอร วอลลเปเปอรรูปปลา/สายน้ำ ชีวิตสงบ ไมวุนวาย
Danger หมายถึ ง ระดั บ ความรุ น แรงที่ เป็นผลเนื่องมาจากภัย (Hazard) อั น ตรายจากภั ย อาจจะมี ร ะดั บ สูงหรือมาก น้อย ก็ได้ ขึ้นอยู่กับ มาตรการในการป้องกัน
ปลอดภัย
อุบัติเหตุ
Accident หมายถึง เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นโดย ไม่สามารถคาดการณ์ได้ล่วงหน้า ซึ่ ง เมื่ อ เกิ ด ขึ้ น แล้ ว จะก่ อ ให้ เ กิ ด ความบาดเจ็ บ พิ ก าร หรื อ ตาย และท� ำ ให้ ท รั พ ย์ สิ น ได้ รั บ ความ เสียหาย
จากความหมายของคำ�ต่างๆ ข้างต้นแล้ว “อุบัติเหตุ” ยังมี ความหมายครอบคลุมถึง เหตุการณ์ทเี่ กิดขึน้ แล้ว มีผลกระทบ ต่อขบวนการผลิต การดำ�เนินธุรกิจของบริษัท ซึ่งก่อให้เกิด ความล่าช้า การหยุดชะงักของธุรกิจ รวมถึงการเสียโอกาส ทางด้านธุรกิจด้วย ถึงแม้ว่าอุบัติเหตุนั้นๆ จะไม่ส่งผลต่อ ผู้ปฏิบัติงานให้เกิดการบาดเจ็บ พิการ ก็ตาม
12 นักษัตร ไมวางรูป 12 นักษัตร ปองกันการทะเลาะ กับเพื่อนรวมงาน นาิกาตั้งโตะ ความคิดบรรเจิดโลดแลน
อันตราย
Damage หมายถึง ความรุนแรงของการบาด เจ็ บ หรื อ ความสู ญ เสี ย ทางด้ า น กายภาพ หรือความเสียหายทีเ่ กิด ขึ้นต่อการปฏิบัติงาน หรือความ เสียหายทางด้านการเงินทีเ่ กิดขึน้
Safety หมายถึง “การปราศจากภัย” ซึง่ ใน ทางปฏิบัตินั้นเราไม่สามารถที่จะ ขจัดภัยทุกชนิดให้หมดไปได้โดย สิ้นเชิง ความปลอดภัยจึงหมาย รวมถึงการปราศจากอันตรายที่มี โอกาสจะเกิดขึ้นด้วย
คาน อยานั่งใตคานเพราะจะกดดัน เครียด งานไมราบรื่น
แกวน้ำและหิน แกวใสน้ำสะอาด/หินสี ที่ถูกโฉลกตั้งบนโตะ ดึงดูดความโชคดี
ปรับ ฮวงจุ้ย โต๊ะทำ�งาน รับปี 2559
วางโทรศัพททางขวามือ ไดรับแตขาวดี ประสานงานลื่นไหล
เข้าสู่ปี 2559 มาได้พักใหญ่ หลายสิ่งในที่ท�ำงาน เริ่มกลับเข้าสู่รูปแบบเดิมๆ อีกครั้ง เรามาเปลี่ยน บรรยากาศด้ ว ยการปรั บ ฮวงจุ ้ ย โต๊ ะ ท� ำ งาน เพื่ อ บูสต์พลัง สร้างไอเดียดีๆ ให้การท�ำงานผ่านฉลุย ตลอดปี 2559 กันดีกว่า
ที่มา
• 8 สิ่ ง ปรั บ ฮวงจุ ้ ย โต๊ ะ ท� ำ งานรั บ ปี ใ หม่ 2559. 2559. สืบค้นจาก http://money.kapook.com/view139008.html
EAST WATER MAGAZINE
EWG NEWS
อีสท์ วอเตอร์ ขานรับนโยบายกระตุ้นคนไทย ประหยัดน้ำ�สู้ภัยแล้ง
EWG NEWS อีสท์ วอเตอร์ ออกบริการน้ำ�ดื่ม… สู้ภัยแล้ง
เมื่อเร็วๆ นี้ อีสท์ วอเตอร์ ร่วมกับ กิจการประปา จากสถานการณ์ ภั ย แล้ ง ในหลายพื้ น ที่ ข อง บางปะกง (ยูย)ู ออกให้บริการน�ำ้ เพือ่ การอุปโภคและ ประเทศไทย ทางกรมชลประทานได้เปิดเผยว่า อาจ บริโภคแก่ประชาชนหลายพืน้ ทีใ่ น จ.ฉะเชิงเทรา อาทิ จะมีน�้ำใช้เพื่อการอุปโภค-บริโภค การรักษาระบบ เช่น อบต.สองคลอง อบต.ศาลาแดง อบต.หอมศีล นิเวศ และดูแลพืชสวน ได้ถึงเดือนกรกฎาคม เท่านั้น อบต.พิมพา และ อบต. บางพระ ฯลฯ เพือ่ ช่วยบรรเทา ดังนัน้ อีสท์ วอเตอร์จงึ สร้างแผนรณรงค์ตงั้ เป้าหมาย ความเดือดร้อนจากสถานการณ์ภัยแล้ง ลดการใช้น�้ำ 20% ภายในอาคารอีสท์ วอเตอร์ ซึ่ง ความคิ ด ดั ง กล่ า วตกผลึ ก มาจากกิ จ กรรมเสวนา “น�้ำน้อย แพ้พลังใจ รวมพลังคนไทย ร่วมใจฝ่าภัย อีสท์ วอเตอร์ แล้ง” ที่จัดโดยคณะนักศึกษาวิทยาลัยป้องกันราช ร่วมกับ 2 หน่วยงานด้านน้ำ� เตรียมพร้อม อาณาจักรรุ่น 2550 โดยงานนี้ได้รวมเอาผู้เชี่ยวชาญ รับมือภัยแล้ง ประกาศชัด อีสท์เทริ์น ซีบอร์ด ด้านการบริหารจัดการน�้ำในแต่ละด้าน ได้แก่ Team ไม่ขาดน้ำ� Consulting, East Water, กปน. และ TTW เข้าร่วม อีสท์ วอเตอร์ ร่วมกับโครงการชลประทาน จังหวัด น�ำเสนอแนวทางเพื่อร่วมหาทางแก้ปัญหาวิกฤตน�้ำ ระยอง และ การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ของประเทศ (กนอ.)จัดงานเตรียมแถลงข่าวความพร้อมรับมือ ภัยแล้ง สร้างความมั่นใจให้กับผู้ประกอบการใน นิ ค มอุ ต สาหกรรมมาบตาพุ ด พร้ อ มเปิ ด บ้ า นน� ำ คณะสื่อมวลชนเยี่ยมชมระบบบริหารจัดการน�้ำด้วย เทคโนโลยี SCADA และลงพื้นที่ส�ำรวจปริมาณน�้ำ ในอ่างเก็บน�้ำหนองปลาไหลซึ่งเป็นแหล่งน�้ำหลักใน จ.ระยอง รวมถึงโครงการก่อสร้างวางท่อส่งน�้ำดิบ หนองปลาไหล – หนองค้อ 2 ซึ่งจะช่วยเพิ่มศักยภาพ ในการจ่ายน�ำ้ ให้กบั พืน้ ทีป่ ลวกแดง - บ่อวิน ซึง่ คาดว่า จะแล้วเสร็จภายใน เม.ย.นี้
NO.33
MARCH 2016
EWG NEWS
22 มีนาคม “วันน้ำ�โลก” อีสท์ วอเตอร์เข้าร่วมงานเนื่องในสัปดาห์อนุรักษ์ ทรัพยากรน�้ำแห่งชาติและวันน�้ำโลก ประจ�ำปี 2559 โดยงานนี้มุ่งหวังให้ทุกภาคส่วน ตลอดถึงประชาชน และเยาวชนตระหนักถึงความส�ำคัญของทรัพยากร น�้ำ จัดโดยกรมทรัพยากรน�้ำ และได้รับเกียรติจาก พลเอกสุรศักดิ์ กาญจนรัตน์รฐั มนตรีวา่ การกระทรวง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเป็นประธานใน
พิธี ส�ำหรับปีนี้ UN Water ได้ก�ำหนดหัวข้อ (Theme) ของวันน�้ำโลกว่า “ Water and Jobs” ซึ่งเน้นความ สัมพันธ์ระหว่างน�ำ้ กับอาชีพ ภายในงาน อีสท์ วอเตอร์ ได้ร่วมออกบูธนิทรรศการ การบริหารจัดการน�้ำแบบ Water Gird และน�ำเสนอแนวคิดการบริหารจัดการ น�้ำอย่างยั่งยืนด้วย 3 W โมเดล พร้อมขึ้นเวทีแสดง เจตนารมณ์ช่วยกันประหยัดน�้ำ
อีสท์ วอเตอร์ จัดสัมมนาเชิงวิชาการให้กับผู้ใช้น้ำ�ทุกพื้นที่ มีนาคมที่ผ่านมา ฝ่ายปฏิบัติการและบริการลูกค้า ได้จัดสัมมนาเชิงวิชาการ ในหัวข้อ “การตรวจสอบ และป้องกันการขยายพันธุ์อย่างรวดเร็วของสาหร่าย ในแหล่งน�้ำ (Algae Bloom)” ให้กับผู้ใช้นำ�้ ทุกพื้นที่ รวมถึงพนักงานในส่วนที่เกี่ยวข้อง โดยในงานนี้ได้ รับเกียรติจาก คุณสมศักดิ์ ปัสนานนท์ ผู้อ�ำนวยการ กองผลิตและจ่ายน�ำ้ ฝ่ายโรงงานผลิตน�ำ้ บางเขน การ ประปานครหลวง เป็นวิทยากรให้ความความรู้ ณ ห้องประชุม Auditorium นิคมอุตสาหกรรมอาร์ ไอ แอล ซึ่งได้รับความสนใจจากผู้ใช้น�้ำทุกพื้นที่รวมถึง พนักงานในส่วนที่เกี่ยวข้อเข้าร่วมรับฟังการสัมมนา กว่า 60 คน
NO.33
EAST WATER MAGAZINE
394.5
MARCH 2016
EAST WATER MAGAZINE