สารบัญ 4 6 8
สารจากกรรมการผู้อ�ำนวยการใหญ่ (G4-1) ผลงานประจ�ำปี 2559 (G4-8, G4-17) เศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม ข้อมูลองค์กร (G4-3, G4-4, G4-5, G4-6, G4-12)
โครงสร้างธุรกิจกลุ่มบริษัทอีสท์ วอเตอร์ (G4-7) โครงสร้างการบริหารจัดการ (G4-7) คณะกรรมการชุดย่อย (G4-34) ผู้ถือหุ้น (G4-7)
12
วิสัยทัศน์เพื่อก้าวสู่ผู้นำ� ด้านน�้ำระดับภูมิภาค พันธกิจต่อผู้มีส่วนได้เสีย ค่านิยมองค์กร (G4-56)
ความยั่งยืนระดับนโยบาย 14 นโยบายความยั่งยืน นโยบายคุณภาพและสิ่งแวดล้อมและแนวปฏิบัติ กรอบการพัฒนาด้านชุมชน
16
อีสท์ วอเตอร์ กับการพัฒนาด้านความยั่งยืน ธรรมาภิบาลในการด�ำเนินธุรกิจ
การบริหารผลกระทบ ความเสี่ยง และโอกาสของ อีสท์ วอเตอร์ (G4-2) การก�ำกับดูแลกิจการที่ดี การต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชั่น จริยธรรมทางธุรกิจ การประเมินความเพียงพอของระบบควบคุมภายใน
19 20 24
การเข้าเป็นสมาชิกเครือข่ายเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน (G4-16) การมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้เสียหลัก เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน (G4-24, G4-25, G4-26, G4-27) ประเด็นสาระส�ำคัญของ อีสท์ วอเตอร์ สู่ความยั่งยืน (G4-19, G4-20, G4-21)
Water for Security 28 การสร้างเสถียรภาพของระบบน�ำ้ ภาคตะวันออก (EN 8) 39 ความรับผิดชอบต่อผลกระทบจากกระบวนการ บริหารจัดการน�้ำ (EN 9)
43
การใช้พลังงานของ อีสท์ วอเตอร์ (EN 16)
Water for Excellent 48 การเติบโตของธุรกิจอย่างยั่งยืน (EC 2) 50 การสร้างคุณค่าของบุคลากร (LA 9, LA 10) 54 การส่งมอบคุณค่าที่ยั่งยืน (PR5) Water for Life 60 การด�ำเนินงานตามหลักธรรมาภิบาล (SO 4, SO 5)
63
การพัฒนาคุณภาพชีวิต ความปลอดภัย และอาชีวอนามัย (LA 6)
72
การลงทุนเพื่อสังคมและสิ่งแวดล้อม (EC 1)
ภาคผนวก 78 เกี่ยวกับรายงานฉบับนี้
(G4-13, G4-18, G4-22, G4-23, G4-28, G4-29, G4-30, G4-31, G4-32, G4-33 )
79 80 84
ข้อมูลพนักงาน (G4-9, G4-10) GRI Index / SDGs Index เอกสารรับรองรายงาน
บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)
รายงานความยั่งยืน 2559
สารจากกรรมการผู้อ�ำนวยการใหญ่ (G4-1)
4
นอกจากแผนระยะสั้นข้างต้นแล้ว อีสท์ วอเตอร์ ได้เตรียมแผนการพัฒนาแหล่งน�้ำต้นทุนในระยะ 1-3 ปี ข้ างหน้ า เพื่ อ รองรั บ ความต้ อ งการใช้ น�้ำ ในอี ก 20 ปี ด้วยการเพิ่มศักยภาพของระบบท่อส่งน�้ำเดิมให้สามารถ สูบน�้ำได้เพิ่มขึ้น การเจรจาขอจัดสรรน�้ำเพิ่มเติมจาก กรมชลประทาน ด้วยพื้นฐานที่มั่นคงและศักยภาพที่สั่งสมมาตลอด 24 ปี ของอีสท์ วอเตอร์ ผนวกกับนโยบายกระตุน้ เศรษฐกิจ ของรัฐบาล ภายใต้โครงการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจภาค ตะวันออก หรือ Eastern Economics Corridor (EEC) ซึ่ง จะยกระดับพืน้ ทีช่ ายฝัง่ ทะเลภาคตะวันออก หรือ Eastern Seaboard ให้เป็นพื้นที่เศรษฐกิจที่ส�ำคัญของเอเชีย โดย เป็น Gateway ที่ส�ำคัญของนักลงทุนสู่ประเทศในกลุ่ม AEC ซึ่งประเทศเหล่านี้จะขยายตัวสูงใน 20 ปีข้างหน้า ทัง้ ยังจะเป็นประตูเชือ่ มไปยังประเทศอินเดียด้านตะวันตก และทางตอนใต้ของประเทศจีน โดย EEC จะเป็นศูนย์กลาง ในการคมนาคมที่ส�ำคัญของอาเซียน เป็นจุดขนส่งและ
บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)
แน่นอนว่าปัญหาดังกล่าวย่อมส่งผลกระทบโดยตรง ต่อการบริหารจัดการน�ำ้ ของ อีสท์ วอเตอร์ เช่นกัน ดังนัน้ เวทีหลักที่อีสท์ วอเตอร์ ใช้เพื่อการสื่อสารสถานการณ์นำ �้ ชี้แจงมาตรการป้องกันภัยแล้ง และท�ำความเข้าใจกับ กลุม่ ผูใ้ ช้นำ �้ คือ การประชุมคณะท�ำงานศูนย์ปฏิบตั กิ ารน�ำ้ ภาคตะวันออก (Water War Room) ที่มีกรมชลประทาน การประปาส่วนภูมภิ าค และกลุม่ ผูป้ ระกอบการอุตสาหกรรม เป็นสมาชิก โดยมาตรการส�ำคัญที่ท�ำให้ภาคตะวันออก ผ่ า นพ้ นวิ ก ฤตภั ย แล้ ง ไปได้ คื อ การเร่ ง รั ด โครงการ ก่อสร้างสถานีสูบน�้ำและวางท่อส่งน�้ำดิบจากอ่างเก็บน�้ำ ประแสร์-อ่างเก็บน�้ำหนองปลาไหล และโครงการก่อสร้าง วางท่อส่งน�ำ้ ดิบจากอ่างเก็บน�ำ้ หนองปลาไหล-หนองค้อ 2 ให้สบู ผันน�ำ้ ได้เร็วกว่าก�ำหนด การส�ำรองน�ำ้ เพิม่ เติมจาก แม่น�้ำบางปะกง และบ่อดินเอกชนในพื้นที่ชลบุรี เพื่อให้ มัน่ ใจได้วา่ จะมีนำ�้ ต้นทุนเพียงพอส�ำหรับทุกภาคส่วนตลอด ปี 2559 และ 2560 ถึงแม้ว่าจะมีบางโครงการที่ล่าช้ากว่า แผนก็ตาม
กระจายสินค้า เป็นที่ตั้งอุตสาหกรรมแห่งอนาคต เป็น ศูนย์กลางการบินภูมิภาคตลอดจนเป็นแหล่งท่องเที่ยว ส�ำคัญของเอเชีย จึงเป็นโอกาสให้ อีสท์ วอเตอร์ ขยาย ขอบเขตการด�ำเนินธุรกิจเพื่อการเติบโตในระยะยาวด้วย การก้าวเข้าสู่การเป็นผู้ให้บริการน�้ำครบวงจรทั้งน�้ำดิบ น�้ำแคลิฟาย น�้ำประปา การบ�ำบัดน�้ำเสียและการน�ำน�้ำ กลับมาใช้ใหม่ ภายใต้โครงการ Total Water Solutions ด้วยแนวคิดการสร้างคุณค่าให้กับน�้ำทุกหยดและเป็นมิตร กับสิง่ แวดล้อม โดยมุง่ เน้นไปทีก่ ลุม่ อุตสาหกรรมขนาดใหญ่ และการร่วมมือทางธุรกิจในลักษณะ Strategic Partner ซึ่งจะสร้างความแข็งแกร่งและมั่นคงให้กับธุรกิจอย่าง ยั่งยืน ดังนั้น ในปี 2559 อีสท์ วอเตอร์ จึงได้ด�ำเนินการ ปรับโครงสร้างภายในองค์กรให้ชัดเจนยิ่งขึ้นเพื่อรองรับ การขยายธุรกิจและการเติบโตของกลุ่มบริษัทในอนาคต ตลอดจนจัดท�ำโครงการ Shared Service Center ขึน้ เพือ่ ให้เกิดการใช้ทรัพยากรภายในกลุม่ บริษทั อย่างคุม้ ค่าทีส่ ดุ อีสท์ วอเตอร์ ไม่เพียงแต่ดำ� เนินงานเพือ่ สร้างความ มัน่ คงให้กบั ระบบน�ำ้ เพียงอย่างเดียว แต่ยงั ให้ความส�ำคัญ กับการสนับสนุนให้เกิดการป้องกันและบรรเทาปัญหา ภาวะโลกร้อน ผ่านโครงการอนุรกั ษ์พลังงานเพือ่ ลดปริมาณ การปล่ อ ยก๊ า ซคาร์ บ อนไดออกไซต์ (CO 2 ) สู่ชั้น บรรยากาศ และโครงการปลูกต้นไม้เพือ่ เพิม่ พืน้ ทีส่ เี ขียวด้วย นอกจากนี้ในปี 2559 อีสท์ วอเตอร์ ยังคงมุง่ เน้นทีจ่ ะรักษา มาตรฐานทางจริยธรรมด้วยการด�ำเนินงานที่ โปร่งใส ซือ่ สัตย์ รับผิดชอบ และสามารถแข่งขันได้ เพือ่ ตอบสนอง ความต้องการและคาดหวังของกลุ่มผู้มีส่วนได้เสียทั้งใน มิติด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม โดยได้จัดท�ำ จรรยาบรรณพนักงานขึ้นใหม่ให้สอดคล้องกับหลักการ 5 ก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ขี องตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 2555 และหลั ก การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี ข องบริ ษั ท ฯ ปี 2559 ซึ่ ง ผลจากความมุ ่ ง มั่ น ทุ ่ ม เทดั ง กล่ า วท� ำ ให้ อีสท์ วอเตอร์ ได้รับรางวัลและการรับรองต่างๆ อาทิ รางวัลรายงานความยัง่ ยืน ประจ�ำปี 2559 ประเภทรางวัล Recognition และติ ด อั น ดั บ 1 ใน 55 บริ ษั ท หุ ้ น ยั่ ง ยื น ปี 2559 อีสท์ วอเตอร์ องค์กรของคนไทยทีพ่ ร้อมจะผงาด อย่างยิ่งใหญ่ในฐานะผู้น�ำด้านการให้บริการน�้ำครบวงจร ระดับภูมิภาคต่อไป… รายงานความยั่งยืน 2559
ต้องยอมรับว่า “ภาวะโลกร้อน” เป็นภัยธรรมชาติทเี่ ป็น ปัญหาส�ำคัญทีส่ ดุ ของโลกและประเทศไทยในขณะนี ้ เพราะ เป็นตัวการส�ำคัญทีท่ ำ� ให้เกิดภาวะภูมอิ ากาศเปลีย่ นแปลง (Climate Change) บางพื้ น ที่ ก ลายเป็ น ทะเลทราย ขาดแคลนอาหารและน�้ำ บางพื้นที่ประสบปัญหาน�้ำท่วม หนัก พื้นที่ชายฝั่งทะเลบางพื้นที่จมหายไปอย่างถาวร ส�ำหรับประเทศไทยในช่วง 2 ปีทผี่ า่ นมา ( พ.ศ. 2558-2559 ) ต้องประสบกับวิกฤติภัยแล้งขั้นรุนแรงอันเป็นผลจาก ปรากฎการณ์ “เอล นิโญ” ต่อเนื่อง ท�ำให้มีปริมาณน�้ำฝน ต�ำ่ กว่าปกติ เสีย่ งต่อการเกิดปัญหาขาดแคลนน�ำ้ เป็นทีส่ ดุ
นายจิรายุทธ รุ่งศรีทอง กรรมการผู้อำ� นวยการใหญ่
ผลงานประจ�ำปี 2559
ปริมาณน�้ำจ�ำหน่ายจ�ำแนกตามพื้นที่ 158,410,065.00 ลบ.ม. 18,846,320.00 ลบ.ม. 97,673,359.00 ลบ.ม.
57.62%
รายงานความยั่งยืน 2559
บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)
(G4-8, G4-17)
6.85%
35.53%
274,929,744.00 ลบ.ม. 259,239,641.00 ลบ.ม.
6 156,791,616.00 ลบ.ม.
60.48%
ปริมาณน�้ำจ�ำหน่ายจ�ำแนกตามกลุ่มลูกค้า ของ อีสท์ วอเตอร์
16,001,079.00 ลบ.ม. 86,446,946.00 ลบ.ม.
33.35%
6.17%
ค�ำอธิบาย กลุ่มผู้ใช้นำ�้ : กนอ.
: การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย
กปภ.
9.4% 11.8%
: การประปาส่ ว นภู มิ ภาค
30.4%
8.4% 18.3%
เหมราช
: นิคมอุตสาหกรรมในเครือ บมจ.เหมราช พัฒนาที่ดิน
นิคมเอกชน
: นิคมอุตสาหกรรมที่ด�ำเนินการโดยเอกชน
อุปโภค-บริโภค
21.7%
: กิจการประปาของเอกชน หน่วยงานราชการ รวมถึงชุมชนที่ขาดแคลนน�้ำสะอาด
อื่น ๆ
: โรงงานทั่วไปและธุรกิจอื่นๆ
7
บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)
รายงานความยั่งยืน 2559
ข้อมูลองค์กร
รายงานความยั่งยืน 2559
บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)
(G4-3, G4-4, G4-5, G4-6, G4-12)
8
อีสท์ วอเตอร์ ผู้เชี่ยวชาญด้าน บริ ห ารจั ด การน�้ ำ ด้ ว ยระบบ โครงข่ายท่อส่งน�ำ้ บริษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�ำ้ ภาคตะวั น ออก จ� ำ กั ด (มหาชน) หรือ อีสท์ วอเตอร์ เป็นบริษัทที่จดทะเบียนใน ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ชื่อย่อ หลักทรัพย์ว่า EASTW ด�ำเนินธุรกิจด้าน การบริหารจัดการทรัพยากรน�ำ้ ด้วยระบบ โครงข่ า ยท่ อ ส่ ง น�้ ำ ดิ บ ขนาดใหญ่ ความยาว 491.8 กิโลเมตร เพื่อส่งจ่ายให้ กั บ กลุ ่ ม นิ ค มอุ ต สาหกรรม ตลอดถึ ง ครั ว เรื อ นผู ้ อุ ป โภคบริ โ ภคในพื้ น ที่ 3 จัง หวัดภาคตะวั นออก ได้แก่ ระยอง ชลบุรี และฉะเชิงเทรา ภารกิจส�ำคัญ คือ การพัฒนาระบบท่อส่งน�ำ้ หลัก และจัดหา แหล่งน�้ำส�ำรอง เพื่อรองรับการขยายตัว ของภาคอุตสาหกรรมและการท่องเที่ยว ซึง่ มีความต้องการน�ำ้ ในปริมาณทีเ่ พิม่ ขึน้ อย่างต่อเนื่อง
ส�ำนักงานใหญ่
สถานีสูบน�้ำ 16 สถานี สระส�ำรองคลองเขื่อน สวนสน ฉะเชิงเทรา บางปะกง แรงดันต�่ำบางปะกง บ่อดินเอกชน
อาคารอีสท์ วอเตอร์ ชั้น 23-26 เลขที่ 1 ซอยวิภาวดีรังสิต 5 ถนนวิภาวดีรงั สิต แขวงจอมพล เขตจตุจกั ร กรุงเทพฯ 10900 ประเทศไทย
ส�ำนักบก หนองค้อ บางพระ ดอกกราย มาบตาพุด
ศูนย์ปฏิบัติการระยอง
หนองปลาไหล 1 สหนองปลาไหล 2 หนองปลาไหล 3 เพิ่มแรงดัน ประแสร์
477 ถนนสุขุมวิท กิโลเมตรที่ 201 ต�ำบลห้วยโป่ง อ�ำเภอเมือง จังหวัดระยอง 21150 ประเทศไทย
โครงสร้างธุรกิจกลุ่มบริษัทอีสท์ วอเตอร์ (G4-7)
ธุรกิจน�ำ้ ดิบ
บมจ. จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�ำ้ ภาคตะวันออก
โครงสร้างธุรกิจ
อีสท์ วอเตอร์ • ประปาสัตหีบ • ประปาเกาะล้าน • ประปาบ่อวิน-หนองขาม • ประปาเกาะสมุย • ประปาระยอง
• ประปาชลบุรี • ประปานิคมอุตสาหกรรม หลักชัยเมืองยาง • ประปาหัวรอ
ธุรกิจน�้ำประปา
100% บมจ. ยูนิเวอร์แซล ยูทีลิตี้ส์ 100% 100% 100% 90% บจ. ประปา นครสวรรค์
บจ. ประปา บางปะกง
บจ. ประปา ฉะเชิงเทรา
บจ. เอ็กคอมธารา
บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)
หน่วยธุรกิจ
ธุรกิจต่อเนื่อง
โครงสร้างการบริหารจัดการ (G4-7)
คณะกรรมการบริษัทฯ
คณะกรรมการบริหาร และการลงทุน
คณะกรรมการ ตรวจสอบ
คณะกรรมการ บริหารความเสีย่ ง
รายงานความยั่งยืน 2559
บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�ำ้ ภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)
คณะกรรมการ ธรรมาภิบาล และสรรหา
คณะกรรมการ พิจารณาค่าตอบแทน
กรรมการผู้อำ� นวยการใหญ่ ฝ่ายตรวจสอบ
ส�ำนักกรรมการผูอ้ ำ� นวยการใหญ่ และเลขานุการบริษทั ฯ
รองกรรมการผูอ้ ำ� นวยการใหญ่ สายปฏิบตั กิ าร
ฝ่าย ปฏิบัติการ และบริการ ลูกค้า
ฝ่าย วิศวกรรม
กลุ่มงาน วางแผน โครงการ
ฝ่าย พัฒนาธุรกิจ
รองกรรมการผูอ้ ำ� นวยการใหญ่ สายการเงินและบัญชี
ฝ่าย สื่อสาร องค์กร
ฝ่าย อ�ำนวยการ
ฝ่าย ทรัพยากร บุคคล
ฝ่าย การเงิน และบัญชี
ฝ่าย เทคโนโลยี สารสนเทศ
9
(G4-14)
เนือ่ งด้วย อีสท์ วอเตอร์ เป็นบริษทั จดทะเบียนใน ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (ตลท.) จึงมีหน้าที่ ปฏิบตั ติ ามพระราชบัญญัตบิ ริษทั มหาชนจ�ำกัด มีการจัด โครงสร้างองค์กรให้สอดคล้องกับหลักธรรมมาภิบาล ส�ำหรับบริษัทมหาชน (Corporate Good governance) ของคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย (กลต.) เพือ่ มุง่ เน้นให้เกิดความโปร่งใส ต่อผู้ถือหุ้น ลูกค้า ทั้งภาครัฐ และเอกชน ตลอดจน ประชาชนที่รับบริการด้วยประสิทธิภาพสูงสุด ตามที่ แสดงในแผนภาพโครงสร้างการบริหารจัดการ
โดยขอบเขตอ�ำนาจ หน้าที่ และความรับผิดชอบ ของคณะกรรมการบริษัทฯ และคณะกรรมการชุดย่อย ต่างๆ ได้มกี ารจัดท�ำเป็นกฎบัตร และระบุไว้อย่างชัดเจน ในคู่มือคณะกรรมการบริษัทฯ ซึ่งประกอบไปด้วยคณะ กรรมการที่เป็นอิสระหรือกรรมการจากภายนอกไม่น้อย กว่า 3 คน เพือ่ ให้เกิดการถ่วงดุลอ�ำนาจระหว่างกรรมการ ที่อาจมีผลประโยชน์ได้เสียกับบริษัทฯ
รายงานความยั่งยืน 2559
บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)
บทบาท หน้าที่ และความรับผิดชอบของคณะกรรมการที่ส�ำคัญ (G4-34)
เพือ่ ให้การด�ำเนินงานของอีสท์ วอเตอร์ เป็นไปอย่างรอบคอบและมีประสิทธิภาพ คณะกรรมการบริษทั ฯ ได้แต่งตัง้ คณะกรรมการชุดย่อยต่างๆ เพือ่ ให้เป็นผูต้ รวจสอบ และกลัน่ กรองการด�ำเนินงานของฝ่ายบริหารก่อนน�ำเสนอต่อคณะ กรรมการบริษัทฯ โดย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 มีคณะกรรมการชุดย่อย 5 คณะ ประกอบด้วย ที่
คณะกรรมการ
บทบาท หน้าที่ และความรับผิดชอบ
1.
คณะกรรมการตรวจสอบ ประกอบด้วยกรรมการอิสระ 3 คน
• สอบทานรายงานทางการเงิน ระบบการควบคุมและการตรวจสอบภายในให้ถูกต้อง สอดคล้อง กับมาตรฐานบัญชีสากล และเปิดเผยข้อมูลอย่างเพียงพอ • ให้มีการด�ำเนินการตามกฎเกณฑ์ที่เกี่ยวข้อง กรณีรายการที่เกี่ยวโยงกัน รายการที่อาจมีความ ขัดแย้งทางผลประโยชน์ หรือรายการได้มาหรือจ�ำหน่ายไปซึ่งสินทรัพย์ • เห็นชอบการแต่งตัง้ และก�ำหนดค่าตอบแทนผูส้ อบบัญชี รวมถึงการแต่งตัง้ หรือโยกย้ายผูบ้ ริหาร สูงสุดของฝ่ายตรวจสอบ • รายงานผลการปฏิบตั งิ านยังคณะกรรมการบริษทั ฯ เพือ่ ทราบ และ/หรือ เพือ่ พิจารณาโดยสม�ำ่ เสมอ • ก�ำกับดูแลกระบวนการในการรับเรื่องร้องเรียน
2.
คณะกรรมการบริหารและการลงทุน ประกอบด้วยกรรมการ 4 คน (กรรมการอิสระ 1 คน) และที่ปรึกษาฯ 1 คน
• พิจารณากลั่นกรองโครงการลงทุน แผนปฏิบัติการ และงบประมาณประจ�ำปี ก่อนน�ำเสนอยัง คณะกรรมการบริษัทฯ พิจารณาอนุมัติ • อนุมตั กิ ารจัดหาตามระเบียบบริษทั ฯ ภายในวงเงินทีอ่ ยูใ่ นอ�ำนาจอนุมตั ิ และแจ้งให้คณะกรรมการบริษทั ฯ รับทราบ • ติดตามความก้าวหน้าในการปฏิบัติงาน ให้ค�ำปรึกษาหรือข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการบริหารและ การลงทุนแก่ฝ่ายบริหาร ให้เป็นไปตามที่คณะกรรมการบริษัทฯ มอบหมาย • รายงานผลการปฏิบัติงานยังคณะกรรมการบริษัทฯ เพื่อทราบเป็นรายเดือน
3.
คณะกรรมการธรรมาภิบาล และสรรหา ประกอบด้วยกรรมการอิสระ 4 คน
ด้านธรรมาภิบาล • พิจารณา ทบทวน และน�ำเสนอยังคณะกรรมการบริษทั ฯ อนุมตั นิ โยบาย คูม่ อื การก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ี คูม่ อื คณะกรรมการบริษทั ฯ และจรรยาบรรณทางธุรกิจ ให้สอดคล้องกับข้อก�ำหนดของหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้อง พร้อมทั้งมอบหมายให้ฝ่ายบริหารเผยแพร่นโยบายต่างๆ ยังผู้มีส่วนได้เสียทุกฝ่าย • ให้ความเห็นชอบแบบประเมินผลการปฏิบตั งิ านของคณะกรรมการบริษทั ฯ และคณะกรรมการชุดย่อย
10
คณะกรรมการ
ที่
บทบาท หน้าที่ และความรับผิดชอบ
คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง ประกอบด้วยกรรมการ 4 คน (กรรมการอิสระ 1 คน) และที่ปรึกษาฯ 1 คน
• อนุมตั นิ โยบายการบริหารความเสีย่ ง โดยครอบคลุมความเสีย่ งประเภทต่างๆ ทีส่ ำ� คัญ และรายงาน ยังคณะกรรมการบริษัทฯ เพื่อทราบ • พิจารณามาตรการประเมินความเสี่ยงและอนุมัติแผนบริหารความเสี่ยงของบริษัทฯ (Risk Management Plan: RMP) ให้สอดคล้องกับนโยบายการบริหารความเสี่ยงที่ก�ำหนดไว้ รวมถึง ก�ำกับดูแล ทบทวน และติดตาม RMP พร้อมให้ขอ้ เสนอแนะต่อคณะกรรมการบริษทั ฯ เกีย่ วกับ การบริหารความเสี่ยง
5.
คณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทน ประกอบด้วยกรรมการ 4 คน (กรรมการอิสระ 3 คน) และที่ปรึกษาฯ 1 คน
ด้านการประเมินผลการด�ำเนินงาน • พิจารณาและทบทวนเกณฑ์ การประเมินผลการด�ำเนินงานของบริษัทฯ ให้สอดคล้องกับแนว นโยบายธุรกิจของบริษัทฯ และน�ำเสนอคณะกรรมการบริษัทฯ เพื่อพิจารณาอนุมัติ • พิจารณาเกณฑ์การประเมินผลงานของกรรมการบริษัทฯ และกรรมการผู้อ�ำนวยการใหญ่เพื่อ พิจารณาปรับค่าตอบแทนประจ�ำปี • ติดตามและรายงานยังคณะกรรมการบริษทั ฯ เพือ่ ทราบผลการด�ำเนินงานตาม Corporate KPIs ของบริษัทฯ ด้านการพิจารณาค่าตอบแทน • พิ จารณากรอบนโยบายค่ า ตอบแทน และผลประโยชน์ อื่ น ๆ ทั้ ง หมดของคณะกรรมการ คณะกรรมการชุดย่อย ทีป่ รึกษาฯ และผูบ้ ริหารสูงสุดทัง้ ของบริษทั ฯ และบริษทั ในเครือ ก่อนน�ำเสนอ ยังคณะกรรมการบริษัทฯ หรือผู้ถือหุ้นพิจารณาอนุมัติ • พิจารณากรอบอัตราโบนัสและอัตราการขึน้ เงินเดือนประจ�ำปีของผูบ้ ริหารและพนักงาน โดยพิจารณา จากผลประกอบการของบริษัทฯ
ผู้ถือหุ้น “EASTW”
11
(G4-7)
ผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ 10 อันดับแรก ของหลักทรัพย์ EASTW ณ วันปิดสมุดทะเบียนล่าสุด เมือ่ วันที่ 30 ธันวาคม 2559 เป็นดังนี้ ล�ำดับที่ 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10.
รายงานความยั่งยืน 2559
4.
บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)
ด้านการสรรหา • สรรหา ตรวจสอบคุณสมบัติ และคัดเลือกบุคคลทีม่ คี ณุ สมบัตเิ หมาะสม ตามระเบียบ และกฎหมาย ทีก่ ำ� หนด รวมถึงพิจารณาถึงความหลากหลายด้านทักษะ ความรู้ และความช�ำนาญ เพือ่ น�ำเสนอ ยังคณะกรรมการบริษัทฯ พิจารณาแต่งตั้งให้ด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการบริษัทฯ กรรมการชุดย่อย ที่ปรึกษาฯ กรรมการผู้อ�ำนวยการใหญ่ และผู้บริหาร สูงสุดของบริษัทในเครือก่อนน�ำเสนอยัง คณะกรรมการบริษัทฯ พิจารณาแต่งตั้ง • พิจารณาโครงสร้าง หลักเกณฑ์ องค์ประกอบของคณะกรรมการชุดย่อย • ก�ำกับดูแลและทบทวนแผนการสืบทอดต�ำแหน่งบุคลากรระดับผู้บริหารสูงสุดของบริษัทฯ และ บริษัทในเครือ
ผู้ถือหุ้น
การประปาส่วนภูมิภาค บริษัท ผลิตไฟฟ้า จ�ำกัด (มหาชน) NORBAX INC.,13 การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย NORTRUST NOMINEES LTD - CL AC บริษัท ไทยเอ็นวีดีอาร์ จ�ำกัด BNP PARIBAS SECURITIES SERVICES, LONDON BRANCH กองทุนเปิดอเบอร์ดีนหุ้นระยะยาว กองทุนเปิดอเบอร์ดีนโกรท กองทุนเปิดอเบอร์ดีนสมอลแค็พ ผู้ถือหุ้นอื่น จ�ำนวนหุ้นทั้งหมด
จ�ำนวนหุ้น
668,800,000 311,443,190 84,949,600 76,000,000 41,932,285 32,826,249 29,812,100 27,465,700 24,419,200 23,699,300 342,377,525 1,663,725,149
สัดส่วน (%)
40.20 18.72 5.11 4.57 2.52 1.97 1.79 1.65 1.47 1.42 20.58 100.00
ที่มา : บริษัท ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด หมายเหตุ : ผู้ถือหุ้นในล�ำดับที่ 1 และ 4 เป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ที่เป็นตัวแทนภาครัฐ และ ผู้ถือหุ้นล�ำดับที่ 2 เป็นนิติบุคคล ซึ่งผู้ถือหุ้นทั้ง 3 ราย มีส่วนในการก�ำหนดนโยบาย การจัดการ โดยเสนอผู้แทนเป็นกรรมการให้ที่ประชุมผู้ถือหุ้นพิจารณาแต่งตั้ง
12 บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)
รายงานความยั่งยืน 2559
13
บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)
รายงานความยั่งยืน 2559
รายงานความยั่งยืน 2559
บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)
ความยั่งยืน ระดับนโยบาย
นโยบายความยัง่ ยืน
“การบริหารจัดการน�้ำเพื่อตอบสนองต่อความต้องการทางธุรกิจ โดยไม่ลดทอนคุณภาพชีวิตของคนในชุมชนและสังคมโดยรวม” นโยบายคุณภาพและสิง่ แวดล้อมและแนวปฏิบตั ิ บริษัทฯ ก�ำหนดระบบบริหารคุณภาพและสิ่งแวดล้อม เพื่อให้การด�ำเนินธุรกิจบรรลุตาม วิสัยทัศน์ และพันธกิจ ของบริษัทฯ โดยมี นโยบายคุณภาพและสิ่งแวดล้อม ดังนี้
จัดสรรน�ำ้ สูผ่ ้ใู ช้ มัน่ ใจในบริการ คุณภาพ และสิง่ แวดล้อม
14
กรอบแนวทางที่ อีสท์ วอเตอร์ มุง่ มันปฏิบตั ปิ ระกอบด้วย
01
ให้บริการที่มีคุณภาพ สร้างความพึงพอใจแก่ลูกค้า และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย โดยพัฒนาและปรับปรุง กระบวนการอย่างต่อเนื่อง
02
ใช้ทรัพยากรให้เกิดประโยชน์ สูงสุด ค�ำนึงถึงคุณภาพชีวิต สังคม ชุมชน และสิง่ แวดล้อม เพื่อการเจริญเติบโต อย่างยั่งยืน
03
ควบคุมความเสี่ยง วางแผน ด้านความปลอดภัย เพื่อ ป้องกันความสูญเสียจาก อุบัติเหตุ และอุบัติภัยต่างๆ การอนุรักษ์พลังงาน รวมทั้ง ควบคุมมลพิษอันเกิดจากการ ปฏิบัติงานโดยสม�่ำเสมอ
04
ใช้ทรัพยากรให้เกิดประโยชน์ สูงสุด ค�ำนึงถึงคุณภาพชีวิต สังคม ชุมชน และสิ่งแวดล้อม เพื่อการเจริญเติบโต อย่างยั่งยืน
15
บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)
รายงานความยั่งยืน 2559
รายงานความยั่งยืน 2559
บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)
ธรรมาภิบาลในการด�ำเนินธุรกิจ
16
การบริหารผลกระทบ ความเสี่ยง และโอกาส ของ อีสท์ วอเตอร์ (G4-2) อีสท์ วอเตอร์ ได้ระบุความเสีย่ งทีม่ ผี ลกระทบต่อการ ด�ำเนินธุรกิจเป็น 4 ประเภท ได้แก่ 1) ความเสี่ยงด้านกลยุทธ์ 2) ความเสี่ยงด้านการปฏิบัติงาน 3) ความเสี่ยงด้านการเงิน และ 4) ความเสีย่ งด้านการปฏิบตั ติ ามกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ ที่เกี่ยวข้อง
พร้ อ มก� ำ หนดระดั บ ความเสี่ ย งที่ ย อมรั บ ได้ แ ละ มาตรการควบคุมเพิม่ เติมในอนาคตไว้อย่างชัดเจน โดย มีขั้นตอนการประเมินความเสี่ยง 6 ขั้นตอนที่ส�ำคัญ ดังแผนภาพ
การประเมินความเสี่ยง
การบ่งชี้เหตุการณ์ การก�ำหนดวัตถุประสงค์
รายงานความยั่งยืน 2559
บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)
วัตถุประสงค์ในการบริหารความเสีย่ งต้อง สอดคล้องกับ วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าหมาย กลยุทธ์ และ/หรือ ดัชนีชี้วัด (KPI) ของ องค์กรและหน่ ว ยงาน โดยต้ อ งมี ค วาม ชัดเจนและเป็นไปได้
ในการบ่งชี้เหตุการณ์ที่อาจเกิดขึ้นและ ส่ ง ผลกระทบต่ อ ความสามารถของ อีสท์ วอเตอร์ ในการด�ำเนินงานเพือ่ ให้บรรลุ วัตถุประสงค์ที่ก�ำหนดขึ้น ซึ่งได้รวบรวม ข้อมูลจากการสัมภาษณ์ผู้บริหาร และฐาน ข้อมูลในธุรกิจน�้ำดิบและเอกสารที่เกี่ยวข้อง กับการปฏิบตั งิ าน และได้รวบรวมความเสีย่ ง ที่ส�ำคัญของอีสท์ วอเตอร์ ก่อนน�ำมาจัด ล�ำดับความส�ำคัญ
การประเมินความเสี่ยงของอีสท์ วอเตอร์ ด�ำเนินการโดยการจัดประชุมเชิงปฏิบัติการ ระหว่างผู้บริหารและพนักงานระดับผู้จัดการ ทุกหน่วยงาน โดยมีที่ปรึกษาภายนอกและ ส�ำนักกรรมการผู้อ�ำนวยการใหญ่ ท�ำหน้าที่ เป็น Facilitator และให้ข้อแนะน�ำเกี่ยวกับ กระบวนการประเมิ น ความเสี่ ย ง เกณฑ์ ประเมินความเสี่ยงที่น�ำมาใช้ในการประเมิน ความเสี่ยงนี้เป็นเกณฑ์ที่ได้รับการอนุมัติจาก คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง เมื่อวันที่ 18 เมษายน 2559 ซึ่งพิจารณาทั้งโอกาสเกิดและ ผลกระทบของความเสี่ยง การประเมินความเสีย่ งดังกล่าวมุง่ เน้นการ ประเมินก่อนการควบคุม (Inherent Risk) เพือ่ ทบทวนว่ากิจกรรมที่ด�ำเนินการอยู่ในปัจจุบัน มีความเพียงพอสามารถควบคุมความเสีย่ งให้ อยู่ในระดับที่ยอมรับได้หรือไม่ หรือจ�ำเป็น ต้องเพิ่มเติมการบริหารจัดการความเสี่ยงนั้น
17
การตอบสนอง ต่อประเด็นความเสี่ยง ที่ก�ำหนด (Risks Response)
เมื่ อ ความเสี่ ย งได้ รั บ การบ่ ง ชี้ และ ประเมินล�ำดับความส�ำคัญแล้ว ฝ่ายบริหาร ต้องก�ำหนดแผนบริหารความเสี่ยงนั้น เพื่อ ควบคุ ม ให้ ค วามเสี่ ย งหลั ง การควบคุ ม (Residual Risk) นัน้ อยู่ในระดับทีย่ อมรับได้ เพื่อให้เกิดความเชื่อมั่นถึงประสิทธิภาพ ประสิทธิผลของกิจกรรมที่ด�ำเนินการเพื่อ จัดการความเสี่ยงที่มีผลต่อวัตถุประสงค์ ขององค์กร
กิจกรรมการควบคุม (Control Activities)
กิจกรรมการควบคุม คือ วิธีปฏิบัติงานที่ หน่วยงานเจ้าของความเสี่ยงน�ำไปถือปฏิบัติ เพื่อให้แน่ใจว่าแผนบริหารความเสี่ยงมีผู้รับ ผิดชอบให้แล้วเสร็จตามก�ำหนดและมีการ ด�ำ เนินการตามแนวทางการตอบสนองต่อ ความเสี่ ย งที่ ฝ ่ า ยบริ ห ารได้ ก� ำ หนดไว้ สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของอีสท์ วอเตอร์ แผนกลยุทธ์ และเป็นไปตามกฎระเบียบที่ เกี่ยวข้อง วิธีการควบคุมความเสี่ยง แบ่งได้ 4 ประเภท ดังนี้ 1) การควบคุมแบบป้องกัน 2) การควบคุมแบบค้นหน้าที่ผิด 3) การควบคุมแบบแก้ไข และ 4) การควบคุมแบบชี้แนะ
การรายงานและติดตามผล
(Report and Monitor)
ฝ่ายบริหารรายงานผลการบริหารความ เสี่ยงต่อคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง และคณะกรรมการบริษัทฯ ตามล�ำดับเป็น ประจ�ำทุกไตรมาส หากมีการด�ำเนินงานใด ที่ล่าช้าหรือส่งผลกระทบต่ออีสท์ วอเตอร์ คณะกรรมการสามารถเชิญให้ฝ่ายบริหาร เข้าชีแ้ จง ปรับปรุงแก้ไขเพิม่ เติม หรือหารือ กั บ ที่ ป รึ ก ษาภายนอกเพื่ อ แก้ ไ ขประเด็ น ความเสี่ยงดังกล่าว
สรุปปัจจัยความเสี่ยงปี 2559 ที่ส�ำคัญต่ออีสท์ วอเตอร์ ประกอบด้วย
2. ปริมาณน�ำ้ ต้นทุนไม่เพียงพอ ต่อการขยายธุรกิจในอนาคต
1. ปริมาณน�้ำต้นทุนไม่เพียงพอ เนื่องจากภัยแล้ง
จากการขยายตัวของอุตสาหกรรมในภาคตะวันออก และมาตรการกระตุน้ เศรษฐกิจเพิม่ เติม อาทิ ระเบียงเขต เศรษฐกิจภาคตะวันออก (Eastern Economic Corridor : EEC) จึงคาดว่าอีสท์ วอเตอร์ จะมีโอกาสขยายการลงทุน เพือ่ หารายได้จากธุรกิจน�ำ้ ดิบและน�ำ้ ประปาภายในประเทศ โดยเฉพาะพื้นที่ภาคตะวันออกเป็นหลัก (ฉะเชิงเทรา ชลบุรี ระยอง) ซึ่ง คาดการณ์ว่าปริมาณน�้ำต้นทุนที่มีอยู่ ในปัจจุบันอาจไม่เพียงพอต่อการขยายตัวของเศรษฐกิจ ประเทศได้ จึงได้ด�ำเนินมาตรการควบคุมเพิ่มเติม เพื่อ บริหารความเสี่ยงดังกล่าว ดังนี้
รายงานความยั่งยืน 2559
บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)
ปรากฏการณ์เอลนิโญได้สง่ ผลกระทบต่อปริมาณฝน ในปี 2559 ท�ำให้มปี ริมาณน�ำ้ ฝนต�ำ่ กว่าค่าเฉลีย่ และส่งผล ต่อปริมาณน�้ำในแหล่งน�้ำของอีสท์ วอเตอร์ โดยเฉพาะ ในพื้นที่ชลบุรีและฉะเชิงเทรา ซึ่งอีสท์ วอเตอร์ได้มีการ เฝ้าระวังสถานการณ์นำ�้ ในพืน้ ทีภ่ าคตะวันออกอย่างใกล้ชดิ และประชุม Water war room ร่วมกับกรมชลประทาน และผู้ประกอบการอุตสาหกรรม เพื่อวางแผนการใช้น�้ำ และการส่งน�้ำได้อย่างเพียงพอ ทั้งนี้ อีสท์ วอเตอร์ ได้ ด�ำเนินมาตรการควบคุม เพือ่ บริหารความเสีย่ งดังกล่าว ดังนี้
18
1) ผันน�้ำจากอ่างเก็บน�้ำประแสร์มายังอ่างเก็บน�้ำหนอง ปลาไหลให้มีปริมาณน�้ำเพียงพอต่อการส่งจ่ายไปยัง พื้นที่ระยอง บ่อวิน-ปลวกแดง และชลบุรี 2) เร่งรัดโครงการวางท่อส่งน�้ำหนองปลาไหล-หนองค้อ เส้นที่ 2 ให้สามารถผันน�ำ้ จากอ่างเก็บน�ำ้ หนองปลาไหล มายังพื้นที่ชลบุรีได้มากขึ้น 3) จัดซื้อน�้ำดิบเพิ่มเติมจากบ่อดินเอกชนในพื้นที่ชลบุรี เพือ่ เสริมปริมาณน�ำ้ ต้นทุนในพืน้ ทีช่ ลบุรแี ละฉะเชิงเทรา
1) ทบทวนแผนหลักการพัฒนาแหล่งน�ำ้ และระบบสูบส่งน�ำ้ ในระยะ 10 ปี 2) ปรับปรุงประสิทธิภาพการสูบผันน�ำ้ จากแม่นำ�้ บางปะกง 3) ศึกษาความเหมาะสมโครงการวางท่อส่งน�ำ้ พืน้ ทีช่ ลบุรี 4) ขอจัดสรรน�้ำเพิ่มเติมจากกรมชลประทาน 5) การติดตามโครงการพัฒนาสระเก็บน�้ำดิบทับมาเพื่อ เพิ่มน�้ำต้นทุนให้พื้นที่ระยองโดยใช้เป็นแหล่งน�้ำ ส�ำรอง ของอีสท์ วอเตอร์ ในอนาคต ปัจจุบนั ผูร้ บั จ้าง อยู่ระหว่างขอเจรจาเพื่อแก้ไขปัญหาและอุปสรรคใน การด�ำเนินงาน 6) ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง อาทิส�ำนักงาน คณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ การประปาส่วนภูมิภาค เพื่อสนับสนุนการบริหาร จัดการน�้ำในภาพรวม เพื่อตอบสนองนโยบาย EEC ** ข้อมูลอ้างอิงไปที่ รายงานประจ�ำปี 2559 • การก�ำกับดูแลกิจการที่ดี • การต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชั่น • จริยธรรมทางธุรกิจ • การประเมินความเพียงพอของระบบการควบคุมภายใน
หน้า 55 หน้า 61 หน้า 61 หน้า 67
4) ไ ม่ เ ลื อ กปฏิ บั ติ ใ นเรื่ อ งการจ้ า งแรงงานและการ ประกอบอาชีพ 5) สนับสนุนการด�ำเนินงานที่ไม่ส่งผลกระทบต่อ สังคม และสิ่งแวดล้อม 6) ส่งเสริมให้มีการพัฒนาและเผยแพร่นวัตกรรมและ เทคโนโลยีที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม 7) ด�ำเนินงานในการต่อต้านการทุจริตรวมทัง้ การกรรโชก และการให้สินบนในทุกรูปแบบ
การเข้าเป็นสมาชิกในเครือข่ายเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน หน่วยงาน / องค์กร
(G4-16)
ประโยชน์จากการเข้าร่วมเป็นสมาชิก
1. โครงการแนวร่วมปฏิบัติของภาคเอกชนไทยในการต่อต้านการทุจริต (Collective Anti-Corruption: CAC)
เพื่อสร้างความน่าเชื่อถือ และความมั่นใจในการด�ำเนินธุรกิจที่โปร่งใส ซึ่ง เป็นประเด็นส�ำคัญที่ทุกภาคส่วนให้ความสนใจ
2. คณะท�ำงานร่วมภาครัฐและภาคเอกชนด้านการบริหารจัดการ ทรัพยากรน�้ำพื้นที่ภาคตะวันออก จัดตั้งโดย สภาอุตสาหกรรมแห่ง ประเทศไทย
เพื่อสร้างเครือข่ายกับกลุ่มผู้ประกอบการอุตสาหกรรมซึ่งเป็นลูกค้า ของบริษัทฯ
3. คณะท�ำงานศูนย์ปฏิบัติการน�้ำภาคตะวันออก (water war room) สมาชิกประกอบด้วย ผู้ประกอบการ ภาคอุตสาหกรรม การนิคม อุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย สภาอุตสหกรรมแห่งประไทย สถาบันน�้ำ เพื่อความยั่งยืน และกรมชลประทาน 4. กรรมการ CSR Club ของสมาคมบริษัทจดทะเบียนไทย
เพื่อร่วมกันติดตาม แก้ปัญหาสถานการณ์น�้ำในภาคตะวันออก อย่างใกล้ชิด
5. กรรมการและฝ่ายวิชาการของสมาคมการประปาแห่งประเทศไทย (สปปท.)
เพื่อสร้างเครือข่ายทางวิชาการด้านน�้ำระดับประเทศ
6. กรรมการที่ปรึกษาพื้นที่คุ้มครองระดับกลุ่มป่า ในกลุ่มป่าตะวันออก ของ สถาบันนวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพืน้ ทีค่ มุ้ ครองส�ำนักอุทยานแห่งชาติ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
เพื่อร่วมเป็นส่วนหนึ่งในการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ซึ่งเป็นต้นน�้ำของ แหล่งน�้ำส�ำคัญของบริษัทฯ
เพื่อสร้างเครือข่าย และรับทราบความเคลื่อนไหว ข้อมูลข่าวสาร ด้าน CSR ที่ตลาดหลักทรัพย์ฯ ให้ความส�ำคัญ
รายงานความยั่งยืน 2559
อีสท์ วอเตอร์ ได้นำ� เอาหลักการ แนวทางจากองค์กร ภายนอกมาปฏิบัติภายในองค์กร ให้เกิดการพัฒนาด้าน สังคม เศรษฐกิจ และสิ่งแวดล้อม ดังนี้ 1) ด�ำเนินการตามพระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจ�ำกัด พ.ศ. 2535 และกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจต่างๆ 2) กฎ ระเบียบ ประกาศและกฎเกณฑ์ต่างๆ ของตลาด หลักทรัพย์ฯ และส�ำนักงาน กลต. 3) ส่งเสริมให้มีเสรีภาพในการรวมกลุ่มของแรงงานและ การรับรองสิทธิในการร่วมเจรจาต่อรอง ในรูปแบบ คณะกรรมการสวัสดิการ
บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)
(G4-15)
19
การมีส่วนร่วม ของผู้มีส่วนได้เสียหลัก เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน
รายงานความยั่งยืน 2559
บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)
(G4-24, G4-25, G4-26, G4-27)
20
Stakeholders Engagement 2016 เพราะการเข้าไปมีส่วนร่วมกับผู้มีส่วนได้เสียเป็น รากฐานส�ำคัญต่อการด�ำเนินธุรกิจอย่างยัง่ ยืน เนือ่ งจาก เป็นกระบวนการสื่อสารที่ท�ำให้เกิดการได้มาซึ่งการรับรู้ รับทราบถึงความคาดหวัง ความต้องการ และผลกระทบ ที่เกิดจากกระบวนการท�ำงานขององค์กร ทั้งในแง่ของ เศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม เพือ่ ให้เราน�ำมาจัดท�ำ แผนการด�ำเนินงานเพื่อลดผลกระทบเชิงลบและขยาย ผลกระทบเชิงบวกได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล อีสท์ วอเตอร์ จึงได้มีการจัดตั้งคณะท�ำงานจัดท�ำ รายงานความยัง่ ยืน เพือ่ ร่วมกันก�ำหนดกลุม่ ผูม้ สี ว่ นได้เสีย และวิธีการมีส่วนร่วม ซึ่งมีหลากหลายรูปแบบทั้งที่เป็น ทางการและไม่เป็นทางการ อาทิ การพบปะพูดคุยใน โอกาสต่างๆ การประชุมสัมมนา ตลอดจนการจัดท�ำแบบ ส�ำรวจความคิดเห็นเพือ่ สอบถามและประเมินผล โดยน�ำ ผลมาวิ เ คราะห์ แ ละวางแผนการด� ำ เนิ น งานเพื่ อ ให้ สอดคล้องกับความต้องการและความคาดหวังของแต่ละ กลุ่มผู้มีส่วนได้เสียขององค์กร
กระบวนการการด�ำเนินงาน
• ก�ำหนดและทบทวนกลุ่มผู้มีส่วนได้เสีย โดยประเมิน
จากผลกระทบทีผ่ มู้ สี ว่ นได้เสียได้รบั หรือเป็นผูส้ ร้างแก่ บริษัทฯ • ใช้วิธีการมีส่วนร่วมที่เหมาะสมผ่านช่องทางต่างๆ • รับฟังและท�ำความเข้าใจความต้องการและความคาดหวัง ของผู้มีส่วนได้เสียอย่างชัดเจน ถูกต้อง • ตอบสนองต่อความต้องการและความคาดหวังของ ผู้มีส่วนได้เสียอย่างมีประสิทธิผล
• การประชุมชี้แจงสถานการณ์น�้ำ (Water War Room) • การจัดกิจกรรมสัมพันธ์ • การประชุมร่วมกับกลุ่มผู้ใช้น�้ำนอกภาคการเกษตร • การพบปะในโอกาสวันส�ำคัญ • การสื่อสารเพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารผ่านทาง Line Group
• การประชุมชี้แจงสถานการณ์น�้ำรายพื้นที่ • การประชุมร่วมกับกลุ่ม Key Man • การประชุมระหว่างผู้บริหารกับลูกค้าหลัก • การส�ำรวจความพึงพอใจโดยหน่วยงาน ภายนอก 1 ครัง้ /ปี และโดยหน่วยงานภายใน 2 ครัง้ /ปี • การรับข้อร้องเรียนของลูกค้า • การสื่อสารเพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารผ่านทาง Line Group • การพบปะในโอกาสวันส�ำคัญ
• การพบปะในโอกาสวันส�ำคัญ • การประชุมหารือกับผู้บริหารระดับ Top Management
• การประชุมร่วมกับกลุ่มผู้ใช้น�้ำลุ่มน�้ำบางปะกง • การประชาสัมพันธ์โครงการ • การประชุมติดตามการแก้ไขประเด็นของชุมชน • การปฏิบัติตามกฎระเบียบของภาครัฐ • การส�ำรวจความพึงพอใจ • การจัดกิจกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวติ และสิง่ แวดล้อมให้กบั ชุมชน
2. ลูกค้าปัจจุบัน
3. ลูกค้าในอนาคต
4. ชุมชนและหน่วยงาน ราชการท้องถิ่น
วิธีการมีส่วนร่วม
1. กรมชลประทาน
Stakeholders
• เสนอการให้บริการด้านน�้ำที่ตรงตาม ความต้องการในราคาที่เหมาะสม • การคืนสภาพถนนตามมาตรฐาน • ความปลอดภัยของผูส้ ญั จรและแก้ปญั หาอย่างรวดเร็ว • โครงการก่อสร้างแล้วเสร็จตามก�ำหนด • เพิ่มบทบาทการมีส่วนร่วมพัฒนาชุมชนและ สิ่งแวดล้อมเพื่อให้ชุมชนเกิดการพัฒนาอย่างยั่งยืน • วางแผนบริหารจัดการน�้ำและกิจกรรมเพื่อสังคม โดย ค�ำนึงถึงปัญหาและความต้องการของชุมชนเป็นส�ำคัญ • การแบ่งปันน�้ำให้กับชุมชนตามแนวท่อ • การปฏิบตั ติ ามข้อตกลงหยุดสูบน�ำ้ จากแม่นำ�้ บางปะกง เมื่อค่าความเค็มถึงเกณฑ์ที่ก�ำหนด
• 4 ครั้ง/ปี • ตามโครงการ ของบริษัท • 2 ครั้ง/ปี • เมื่อมีโครงการ • เมือ่ มีขอ้ ร้องเรียน • ตลอดการด�ำเนินงาน • 2ปี/ครั้ง • ทุกเดือน
บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)
รายงานความยั่งยืน 2559
• สร้างเสถียรภาพของระบบสูบจ่ายน�้ำ ทั้งปริมาณน�้ำ ต้นทุน และคุณภาพน�้ำ • ตรวจสอบเทียบมาตรวัดน�ำ้ ให้มคี วามเสถียรตลอดเวลา และได้มาตรฐาน • ด�ำเนินงานโครงการก่อสร้างแล้วเสร็จตามแผน • มีแผนการขยายธุรกิจและหาแหล่งน�้ำส�ำรองระยะยาว • ให้ข้อมูลข่าวสารสถานการณ์น�้ำและคุณภาพน�้ำที่ รวดเร็ว และชัดเจน • พัฒนาศักยภาพบุคลากร • จัดกิจกรรมเชื่อมสัมพันธ์ระหว่างหน่วยงาน
• 12 ครั้ง/ปี • 12ครั้ง/ปี • 1 ครั้ง/ปี • ทั้งปี • ทั้งปี • ทั้งปี
• มีการบริหารจัดการน�้ำได้ตามแผนที่วางไว้ร่วมกับ กรมชลประทาน • ให้การสนับสนุนกิจกรรมที่เป็นประโยชน์กับชุมชน • แลกเปลี่ยนข้อมูล และวิทยาการกัน
ความคาดหวัง
• 12 ครั้ง/ปี • 5 ครั้ง/ปี • 4ครั้ง/ปี • 2 ครั้ง/ปี
ความถี่
21
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
• มีการส�ำรวจการเข้าถึงน�ำ้ ของชุมชนตามแนวโครงการก่อสร้างวาง ท่อของบริษัทฯ • ด�ำเนินการหารือเพื่อร่วมกันแก้ไขปัญหาข้อเดือดร้อนของชุมชน • ด�ำเนินโครงการพัฒนาสังคมและสิง่ แวดล้อมตามกรอบการพัฒนา ด้านชุมชน • ด�ำเนินการหยุดสูบน�้ำจากแม่น�้ำบางปะกงเมื่อมีค่าความเค็ม ตามข้อตกลงที่ก�ำหนด • อยูร่ ะหว่างการปรับปรุงกระบวนการเพือ่ แก้ไขปัญหาจากข้อร้องเรียน ที่เกิดขึ้น ให้รวดเร็วและมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
• จัดท�ำข้อเสนอการให้บริการที่ตอบสนองความต้องการของลูกค้า
• กลุ่มงานวางแผนโครงการ • ฝ่ายปฏิบัติการและบริการลูกค้า • ฝ่ายสื่อสารองค์กร • ฝ่ายวิศวกรรม
• กลุ่มงานวางแผนโครงการ • ฝ่ายพัฒนาธุรกิจ
• แผนการลงทุนและพัฒนาระบบการจ่ายน�ำ้ เพือ่ เพิม่ เสถียรภาพในการ • กลุ่มงานวางแผนโครงการ ส่งจ่ายและการจัดหาแหล่งน�ำ้ ส�ำรองให้เพียงพอต่อความต้องการใช้นำ�้ • ฝ่ายปฏิบัติการและบริการลูกค้า ทั้งในระยะสั้น (5 ปี) และ ระยะยาว (20 ปี) • ฝ่ายวิศวกรรม • การเข้าสอบเทียบตามแผนงาน และการควบคุม การด�ำเนินการ ให้เป็นตามมาตรฐาน • กระบวนการก�ำกับควบคุมภายในเพือ่ ให้โครงการเป็นไปตามแผนงาน พร้อมกับมีการรายงานให้ลูกค้าทราบความคืบหน้าเป็นระยะผ่าน การประชุม หรือ การส่งข้อมูลผ่าน Line • ก�ำหนดให้ Control Center เป็นผู้รับผิดชอบในการให้บริการเพื่อ ความรวดเร็วผ่านทาง SMS ร่วมกับ การแจ้งอัพเดทสถานการณ์นำ�้ ผ่านทาง line • พัฒนาบุคคลากรอย่างต่อเนือ่ ง มุง่ เน้นพัฒนาทักษะความเชีย่ วชาญ ในสายงาน ผ่าน OJT/Traininig • จัดท�ำแผนกิจกรรมเชือ่ มความสัมพันธ์ลกู ค้า โดยพิจารณากิจกรรม ให้สอดคล้องและตอบสนองตามความต้องการของลูกค้าแต่ละราย
• จัดท�ำแผนจัดสรรน�้ำ • กลุ่มงานวางแผนโครงการ • จัดประชุมชีแ้ จงสถานการณ์นำ�้ และร่วมกับการประปาส่วนภูมภิ าค • ฝ่ายปฏิบัติการและบริการลูกค้า และผู้ใช้น�้ำรายใหญ่เพื่อบริหารความต้องการใช้น�้ำให้เพียงพอกับ • ฝ่ายสือ่ สารองค์กร ความสามารถในการจ่ายน�ำ้ ในแต่ละพืน้ ที่ (Demand Management) • มีการจัดสรรงบประมาณและร่วมเป็นคณะกรรมการพิจารณา โครงการเพื่อกิจกรรมสาธารณประโยชน์ด้านน�้ำร่วมกัน • มีการจัดสัมมนาการใช้โปรแกรมสถานการณ์น�้ำ (EWMS)
การตอบสนอง
• ทุกครั้งที่มีการ สอบ/ประกวดราคา • 1 ครั้ง/ปี • 2 ครั้ง/ปี • ทุกครั้งที่มีการ สอบ/ประกวดราคา
• การเชิญประชุมชี้แจงขอบเขตงานที่มีมูลค่า 1 ล้านบาทขึ้นไป • การจัดกิจกรรมสัมพันธ์ • การจัดกิจกรรมเยี่ยมชมกิจการบริษัทฯ (Site Visit) • เพิ่มช่องทางการรับข้อมูลการจัดซื้อ จัดจ้างของบริษัทฯ • การประชุมติดตามความคืบหน้าการด�ำเนินงาน • การส�ำรวจความพึงพอใจ
7. พันธมิตรทางธุรกิจ • คู่ค้า • ผู้ส่งมอบ
• 2 ปี/ครั้ง
• 1 ครั้ง/ปี • 4 ครั้ง/ปี • 12 ครั้ง/ปี
• การส�ำรวจความพึงพอใจและความผูกพันของพนักงาน • การประชุมคณะกรรมการสวัสดิการในสถานประกอบการ • การประชุมคณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการท�ำงาน • จัดช่องทางการรับความคิดเห็น และเรื่องร้องเรียน ในหลากหลายรูปแบบ • การทดลองใช้การประเมินแบบ 360 องศา
6. ผู้บริหารและพนักงาน
• 1 ครั้ง/ปี • 2 ครั้ง/ปี • 2 ครั้ง/ปี • 2 ปี/ครั้ง • 4 ครั้ง/ปี • ทั้งปี
ความถี่
• การจัดประชุมผู้ถือหุ้นประจ�ำปี (AGM) • การจัดกิจกรรมเยี่ยมชมกิจการบริษัทฯ (Site Visit) • การจัดกิจกรรม CSR • การส�ำรวจความพึงพอใจ • การแถลงผลประกอบการ (MD&A) • การตอบประเด็นข้อซักถามผ่านทางโทรศัพท์ และemail
วิธีการมีส่วนร่วม
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
• จัดกิจกรรมเสริมสร้างความผูกพันทีต่ อบสนองความพึงพอใจของ • ฝ่ายทรัพยากรบุคคล พนักงาน เช่น กิจกรรม Team Building กิจกรรม CEO พบพนักงาน • ฝ่ายอ�ำนวยการ (คปอ.) • ฝ่ายสื่อสารองค์กร • เพิ่มทางเลือกเพื่อการออมของพนักงาน • ปรับปรุงโครงสร้างค่าจ้างเงินเดือนให้สามารถแข่งขันได้ • พัฒนาระบบการสื่อสารภายในให้มีความหลากหลายเข้าถึงง่าย รวดเร็ว และเป็นข้อมูลเดียวกันทั้งองค์กร
• มีการด�ำเนินงานที่โปร่งใส ตรวจสอบได้ • ฝ่ายการเงินและบัญชี • มีการจ่ายเงินปันผลเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง • ส�ำนักกรรมการ • มีการด�ำเนินโครงการอนุรักษ์พลังงาน ผู้อ�ำนวยการใหญ่ • มีการจัดกิจกรรม CSR และน�ำผู้ถือหุ้นเยี่ยมชมโครงการประแสร์ • มีการเปิดเผยข้อมูล MD&A บนเว็บไซต์
การตอบสนอง
• ปรับปรุงกระบวนการจัดซือ้ จัดจ้างโดยเพิม่ เติมขัน้ ตอนการด�ำเนินงาน • ฝ่ายอ�ำนวยการ • มีกระบวนการจัดซื้อจัดจ้างที่โปร่งใสและเป็นธรรม • ฝ่ายการเงินและบัญชี ตามค�ำแนะน�ำของคณะกรรมการบริษัท • ลดขั้นตอนการจัดซื้อและการเบิกจ่ายเงิน • ให้ข้อมูลข่าวสารที่ชัดเจน รวดเร็ว เข้าถึงง่าย • มีแผนการขยายธุรกิจเพื่อการเติบโต • พัฒนาศักยภาพบุคลากรเจ้าหน้าทีโ่ ครงการทีร่ บั ผิดชอบ
• มีความก้าวหน้าในอาชีพการงาน • ได้รับข้อมูลข่าวสารที่รวดเร็วถูกต้อง เข้าถึงง่าย และเข้าถึงได้ทุกที่ทุกเวลา • มีฐานข้อมูลเพื่อการสืบค้นที่รวดเร็ว และตรงกัน • มีกระบวนการด�ำเนินงานที่คล่องตัว • ค่าตอบแทนและสวัสดิการที่เป็นธรรม • มีคุณภาพชีวิตและสภาพแวดล้อมการท�ำงานที่ดี
• ผลตอบแทนและอัตราการจ่ายเงินปันผลดีและเร็วขึ้น • ให้ข้อมูลข่าวสารที่ส�ำคัญอย่างชัดเจน ครบถ้วน ทันต่อเหตุการณ์ • มีนโยบายการขยายธุรกิจ • เป็นองค์กรที่โปร่งใส รับผิดชอบต่อสังคม และ สิ่งแวดล้อม • พัฒนาศักยภาพการบริหารจัดการน�้ำ • ลดการใช้พลังงาน • จัดกิจกรรมนักลงทุนสัมพันธ์ • พัฒนาศักยภาพของพนักงาน
ความคาดหวัง
บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)
รายงานความยั่งยืน 2559
5. นักลงทุน และ ผู้ถือหุ้น
Stakeholders
22
• การศึกษารายละเอียดตามข้อกฎหมาย • ข้อร้องเรียนของหน่วยงานราชการที่เกี่ยวข้อง • การพบปะเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องในโอกาสต่างๆ
• กรมสวัสดิการและ คุ้มครองแรงงาน • 1-2 ครั้ง/ปี
• 1 ครั้ง/ปี
• การศึกษากฎระเบียบ ข้อบังคับ ประกาศและ พรบ. ของ กลต. • 60 ครั้ง/ปี และ ตลท. • การประชุม CSR Club • 4 ครัง้ /ปี • การอบรม สัมมนา ในหลักสูตรของ กลต.และ ตลท.
• กลต. และ ตลท.
• 3 ครั้ง/ปี
ความถี่
• การพบปะในโอกาสวันส�ำคัญ • การติดตามประสานงานกับเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง • การศึกษาข้อก�ำหนดในหนังสือขออนุญาต
วิธีการมีส่วนร่วม
8. หน่วยงานก�ำกับดูแล • หน่ ว ยงานราชการเพื่ อ ขออนุ ญ าตก่ อ สร้ า ง ได้ แ ก่ กรมทางหลวง องค์การบริหาร ส่วนต�ำบล และการไฟฟ้าส่วน ภูมิภาค เป็นต้น
Stakeholders
23
• ส�ำนักกรรมการผู้อ�ำนวยการใหญ่ • ฝ่ายทรัพยากรบุคคล • ฝ่ายสื่อสารองค์กร • ฝ่ายอ�ำนวยการ
บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)
รายงานความยั่งยืน 2559
• การปฏิบัติตามระเบียบกฎหมายแรงงานและ • มีการประชุมคณะกรรมการความปลอดภัย (คปอ.) ตามกฎหมาย • ฝ่ายอ�ำนวยการ พรบ.ความปลอดภัย • มีการส่งรายงานตามกฎหมายครบถ้วนตามระยะเวลาที่ • ฝ่ายวิศวกรรม • การปฏิบัติตาม พรบ.ส่งเสริมและพัฒนาชีวิตผู้พิการ กฎกระทรวงก�ำหนด • ฝ่ายทรัพยากรบุคคล • มีการจ้างผู้พิการเป็นพนักงานประจ�ำ
• จัดท�ำจรรยาบรรณพนักงานให้สอดคล้องกับหลักการก�ำกับดูแล กิจการที่ดีของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 2555 และหลัก ก�ำกับดูแลกิจการที่ดีของบริษัทฯ ปี 2559 • จัดกิจกรรมสือ่ สารภายในเพือ่ ส่งเสริมความรูค้ วามเข้าใจด้านหลัก ธรรมาภิบาลและจริยธรรมในการท�ำงานให้กับพนักงาน • การส่งเสริมให้คณะกรรมการบริษทั ฯ และผูบ้ ริหารได้รบั การอบรม ด้านการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี (CG) • การเชิญชวนผู้ร่วมค้าร่วมเป็นสมาชิกภาคี CAC ผ่านทาง หน้าเว็บไซต์บริษัทฯ • น�ำแนวทางการต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชั่นมาใช้ในกระบวนการ สรรหาและคัดเลือก • การจัดท�ำรายงานประจ�ำปีและรายงานความยั่งยืน
• มีการด�ำเนินงานด้านการต่อต้านคอรัปชั่น • มีการปฏิบัติตาม พรบ.บริษัทมหาชน
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง • ฝ่ายอ�ำนวยการ • ฝ่ายการเงินและบัญชี
การตอบสนอง
• การก่อสร้างไม่เกิดผลกระทบต่อชุมชน • มีการติดตามแก้ปัญหาผลกระทบที่เกิดจากโครงการก่อสร้างที่ • การคืนสภาพถนนหลังการก่อสร้างให้เป็นไปตามมาตรฐาน ขออนุญาต • ด�ำเนินการแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว ทันต่อเหตุการณ์
ความคาดหวัง
การก�ำหนดประเด็นอันเป็นสาระส�ำคัญ ต่อความยั่งยืนของ อีสท์ วอเตอร์
รายงานความยั่งยืน 2559
บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)
(G4-19, G4-20, G4-21)
24
อีสท์ วอเตอร์ ได้ทำ� การประเมินสาระส�ำคัญตามเกณฑ์ Sustainability Reporting Guideline ของ GRI G4 โดย พิจารณาจากปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการด�ำเนินธุรกิจของ องค์กรด้านเศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม และสังคม ตลอดจน ความสนใจและความคาดหวังของกลุ่มผู้มีส่วนได้เสีย อย่างมีนยั ส�ำคัญ โดยมีการประเมินสาระส�ำคัญเป็นประจ�ำ ทุกปี เพือ่ ทบทวนการเปลีย่ นแปลงของประเด็นทีม่ คี วาม ส�ำคัญต่อองค์กรและผู้มีส่วนได้เสีย กระบวนการประเมินสาระส�ำคัญ
(1) การคัดเลือกประเด็นโดยพิจารณาคัดเลือกประเด็นด้าน ความยัง่ ยืนที่ได้รบั จากทัง้ ภายนอกและภายในองค์กร เพือ่ ระบุทศิ ทางของประเด็นความยัง่ ยืนขององค์กร ได้แก่ บริบทของความเสีย่ ง กลยุทธ์และนโยบายการด�ำเนินงาน ประเด็นตรวจสอบทีอ่ ยูใ่ นระดับความส�ำคัญสูง ประเด็นข่าว ส�ำคัญทีส่ าธารณชนให้ความสนใจ ประเด็นข้อร้องเรียน ตลอดจนความต้องการ/ความคาดหวังของกลุม่ ผูม้ สี ว่ น ได้เสียทีไ่ ด้จากการท�ำ Stakeholder Engagement และ การส�ำรวจความพึงพอใจ
(2) การจัดล�ำดับความส�ำคัญของประเด็นด้านความยัง่ ยืน (Aspect)ได้จากการประเมินระดับความส�ำคัญของ ประเด็นทีม่ ตี อ่ การบรรลุเป้าหมายเชิงกลยุทธ์ขององค์กร ด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม ที่สอดคล้อง กับประเด็นความส�ำคัญในมุมมองของกลุม่ ผูม้ สี ว่ นได้เสีย รวมถึงประเด็นทีผ่ มู้ สี ว่ นได้เสียให้ความส�ำคัญมากกว่า หนึง่ กลุม่ และระเบียบข้อบังคับตามกฎหมายทีพ่ งึ ปฏิบตั ิ (3) การตรวจสอบความครบถ้วนของประเด็นในการจัด ท�ำรายงาน คณะท�ำงานจัดท�ำรายงานฯ ได้น�ำเสนอ ประเด็นความยั่งยืนที่ผู้มีส่วนได้เสียและองค์กรให้ ความส�ำคัญ ต่อกรรมการผู้อ�ำนวยการใหญ่พิจารณา โดยพบประเด็นอันเป็นสาระส�ำคัญต่อองค์กร ทั้งใน ด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม รวมจ�ำนวน 9 ประเด็น 11 ตัวชี้วัด สรุปได้ดังนี้
ประเด็นที่สำ� คัญต่อความยั่งยืน ของอีสท์วอเตอร์
ตัวชี้วัดตามแนวทางของ GRI
ขอบเขตการรายงาน
ด้านสิ่งแวดล้อม 1. การสร้างเสถียรภาพการบริหารจัดการน�้ำ • ห่วงโซ่อุปทานและกระบวนการสูบส่งน�้ำ • แหล่งน�้ำที่น�ำมาบริหารจัดการ • แผนพัฒนาแหล่งน�้ำต้นทุนเพื่อสร้าง เสถียรภาพของแหล่งน�้ำดิบ • แผนการป้องกันปัญหาการขาดแคลนน�ำ้ กรณีภยั แล้ง • การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อลด ปริมาณน�้ำสูญหายในเส้นท่อ
EN8 TOTAL WATER WITHDRAWAL BY SOURCE * ได้รับการทวนสอบจากหน่วยงานอิสระ (Third Party Verification)
2. ความรับผิดชอบต่อผลกระทบ จากกระบวนการบริหารจัดการน�้ำ • ผลกระทบที่อาจเกิดจากกระบวนการสูบน�้ำ • การลดผลกระทบทีเ่ กิดจากกระบวนการก่อสร้าง วางท่อ
EN9 WATER SOURCES SIGNIFICANTLY AFFECTED BY WITHDRAWAL OF WATER * ได้รับการทวนสอบจากหน่วยงานอิสระ (Third Party Verification)
3. การอนุรกั ษ์พลังงานเพือ่ บริหารจัดการต้นทุนและ ลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก • ผลกระทบที่อาจเกิดจากกระบวนการสูบน�้ำ • การลดผลกระทบทีเ่ กิดจากกระบวนการก่อสร้าง วางท่อ
EN16 ENERGY INDIRECT GREENHOUSE GAS (GHG) EMISSIONS (SCOPE 2) * ได้รับการทวนสอบจากหน่วยงานอิสระ (Third Party Verification)
พื้นที่ปฏิบัติการ 3 จังหวัด ได้แก่ ระยอง ชลบุรี และ ฉะเชิงเทรา เนื่องจากกระบวนการหลักในธุรกิจน�้ำดิบ ครอบคลุมพื้นที่ดังกล่าว ทั้งนี้ไม่รวมบริษัทในเครือ ที่ด�ำเนินธุรกิจน�้ำประปา ซึ่งกระบวนการท�ำงาน จะแตกต่างกัน
5. การเติบโตของธุรกิจอย่างยั่งยืน
กลุ่มลูกค้าในอนาคต และนักลงทุนที่สนใจ EC2 FINANCIAL IMPLICATIONS AND OTHER RISKS AND OPPORTUNITIES FOR THE ORGANIZATIONS ACTIVITIES DUE TO CLIMATE CHANGE
ด้านสังคม 6. การด�ำเนินงานตามหลักธรรมาภิบาล
พนักงานประจ�ำและพนักงานสัญญาจ้างของ อีสท์ SO4 COMMUNICATION AND TRAINING ON ANTI-CORRUPTION วอเตอร์ เนื่องจากเป็นผู้รับนโยบายมาปฏิบัติ และกลุ่ม POLICIES AND PROCEDURES ผู้ค้าของอีสท์ วอเตอร์ เนื่องจากเป็นประเด็นส�ำคัญที่ กลุ่มผู้มีส่วนได้เสียมากกว่าหนึ่งกลุ่มให้ความสนใจ SO5 CONFIRMED INCIDENTS OFCORRUPTION AND ACTIONS TAKEN
7. การพัฒนาด้านคุณภาพชีวิต ความปลอดภัย LA6 อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการท�ำงาน TYPE OF INJURY AND RATES OF INJURY, OCCUPATIONAL DISEASES, LOST DAYS, AND ABSENTEEISM, AND TOTAL NUMBER OF WORK- RELATED FATALITIES, BY REGION AND BY GENDER * ได้รับการทวนสอบจากหน่วยงานอิสระ (Third Party Verification)
พนักงานประจ�ำและพนักงานสัญญาจ้าง พนักงานทีเ่ ป็น subcontractor เฉพาะ โครงการก่อสร้างขนาดใหญ่ โครงการจัดจ้างบุคลากรส�ำหรับปฏิบตั งิ าน (ซ่อมบ�ำรุง) เนื่องจาก เป็นประเด็นส�ำคัญที่กลุ่มผู้มีส่วนได้เสีย มากกว่าหนึ่งกลุ่มให้ความสนใจ โดยในปี 2559 ขอยกเว้นข้อมูลชุดตัวเลข absentee rate ของ Subcontractor ทั้งหมดเนื่องจากยังไม่มีการ จัดเก็บข้อมูล
พนักงานอีสท์ วอเตอร์ เนือ่ งจากเป็นพลังขับเคลือ่ นที่ LA9 AVERAGE HOURS OF TRAINING PER YEAR PER EMPLOYEE ส�ำคัญในการด�ำเนินงานของอีสท์ วอเตอร์ BY GENDER, AND BY EMPLOYEE CATEGORY * ได้รับการทวนสอบจากหน่วยงานอิสระ (Third Party Verification) PROGRAMS FOR SKILLS MANAGEMENT AND LIFELONG LEARNING THAT SUPPORT THE CONTINUED EMPLOYABILITY OF EMPLOYEES AND ASSIST THEM IN MANAGING CAREER ENDINGS ลูกค้าผูใ้ ช้นำ�้ ดิบ (ทางตรง) 9. การเอาใจใส่ รักษาความพึงพอใจและความ PR5 RESULTS OF SURVEYS MEASURING CUSTOMER SATISFACTION ผูกพันของกลุ่มผู้มีส่วนได้เสีย 8. การพัฒนาศักยภาพบุคลากร พร้อมสู่การขยายธุรกิจในอนาคต
(4) การให้ความเชื่อมั่นต่อรายงาน รายงานความยั่งยืน ฉบับนี้ ได้รับการตรวจรับรองจากองค์กรภายนอก (Independent Third Party) ที่มีความเชี่ยวชาญใน การตรวจรับรองและให้ความเชือ่ มัน่ ในการด�ำเนินงาน เพือ่ ความครบถ้วน ถูกต้อง และน่าเชือ่ ถือตามแนวทาง ของการรายงานของ Global Reporting Initiative
(GRI) รุ่นที่ 4 โดยยื่นขอการรับรองตามมาตรฐาน GRI-4 โดยก�ำหนดความสมบูรณ์ของเนือ้ หาสอดคล้อง หลักเกณฑ์ในระดับ CORE Option และระดับความ เชือ่ มัน่ แบบจ�ำกัด (Limited Assurance) รายละเอียด ประกอบท้ายเล่ม
รายงานความยั่งยืน 2559
กิจกรรมอันเป็นสาธารณประโยชน์ตอ่ สังคม ชุมชน และ 4. การลงทุนด้านความรับผิดชอบต่อชุมชน สังคม EC1 DIRECT ECONOMIC VALUE GENERATED AND DISTRIBUTED สิ่งแวดล้อม ที่มีส่วนสัมพันธ์กับการด�ำเนินธุรกิจของ สิ่งแวดล้อม บริษัท * ได้รับการทวนสอบจากหน่วยงานอิสระ (Third Party Verification)
บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)
ด้านเศรษฐกิจ
25
บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)
รายงานความยั่งยืน 2559
28
การสร้างเสถียรภาพ ของระบบน�้ำภาคตะวันออก (EN8)
การบริหารจัดการน�ำ้ ด้วย Water Grid ทรัพยากร “น�ำ้ ” เป็นปัจจัยพืน้ ฐานสร้างความมัน่ คงให้กบั ชีวติ และ เป็นองค์ประกอบส�ำคัญต่อกระบวนการผลิตทั้งในภาคการเกษตร และ ภาคอุตสาหกรรม แต่ในปัจจุบันความแปรปรวนของสภาพภูมิอากาศ ท�ำให้เกิดปัญหาสภาวะโลกร้อนและภัยแล้งที่ก�ำลังขยายวงกว้างอย่าง รวดเร็ว ส่งผลกระทบต่อปริมาณน�้ำฝนและน�้ำท่าในแต่ละปี การบริหาร จัดการน�้ำให้เพียงพอกับทุกภาคส่วนจึงเป็นเรื่องส�ำคัญและจ�ำเป็น อีสท์ วอเตอร์ ในฐานะผูใ้ ห้บริการส่งน�้ำดิบผ่านท่อส่งน�้ำขนาดใหญ่ ที่มีความเชี่ยวชาญมายาวนานกว่า 24 ปี และเป็นกลไกส่วนหนึ่งของ ภาครัฐ ในการพัฒนาระบบสาธารณูปโภคด้านน�้ำให้กับภาคตะวันออก จึงถือว่า “น�้ำ” เป็นความมั่นคง (Water Security) ที่ส่งผลโดยตรงต่อ ความยั่งยืนขององค์กร และเชื่อมโยงไปสู่การพัฒนาเศรษฐกิจระดับ ประเทศ โดยเฉพาะในภาคตะวันออก ซึง่ มีประชากรหนาแน่น เป็นแหล่ง ท่องเที่ยว และเป็นเขตอุตสาหกรรมส�ำคัญที่สร้างรายได้เฉลี่ยต่อหัวสูง เป็นอันดับที่ 2 ของประเทศ รองจากประชากรในเขตกรุงเทพฯ และ ปริมณฑลเท่านั้น
และในอนาคต จากการคาดการณ์ความต้องการใช้น�้ำ ในอีก 10 ปีข้างหน้า โดยมีพื้นที่บริการที่รับผิดชอบ ทั้งหมด 4 พื้นที่ ครอบคลุม 3 จังหวัด (จังหวัดระยอง จังหวัดชลบุรี และจังหวัดฉะเชิงเทรา) ได้แก่
รายงานความยั่งยืน 2559
บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)
ดังนั้น ภารกิจและหน้าที่หลักของ อีสท์ วอเตอร์ คือ การบูรณาการการบริหารจัดการน�้ำดิบผ่านท่อส่งน�้ำ ขนาดใหญ่ ให้แก่กลุ่มอุตสาหกรรมและอุปโภคบริโภค เพื่อให้เพียงพอต่อความต้องการของลูกค้าในปัจจุบัน
29
ด้วยโครงข่ายท่อส่งน�้ำดิบ ความยาว 491.8 กิโลเมตร เชื่อมโยงแหล่งน�้ำส�ำคัญในภาค ตะวันออกให้เป็นโครงข่ายท่อส่งน�้ำหรือ Water Grid ที่ทันสมัยและสมบูรณ์ที่สุด ที่แรกในอาเซียน
30 บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)
รายงานความยั่งยืน 2559
31
บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)
รายงานความยั่งยืน 2559
รายงานความยั่งยืน 2559
บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)
แหล่งน�้ำที่ อีสท์ วอเตอร์ น�ำมาบริหารจัดการ
32
การบริหารจัดการน�ำ้ ของ อีสท์ วอเตอร์ ครอบคลุม พืน้ ทีบ่ ริการ 3 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดฉะเชิงเทรา จังหวัด ชลบุรี และจังหวัดระยอง โดยจ่ายน�ำ้ เพือ่ การอุปโภค-บริโภค และอุตสาหกรรมเป็นหลัก ซึ่งแหล่งน�้ำที่น�ำมาใช้ในการ บริหารจัดการ แบ่งออกเป็นแหล่งน�้ำหลักและแหล่งน�้ำ ส�ำรอง แหล่งน�ำ้ หลักของอีสท์ วอเตอร์ หมายถึง แหล่งน�ำ้ ที่ได้รับการจัดสรรน�้ำจากกรมชลประทาน (ส�ำนักงาน ชลประทานที่ 9) รวมถึงแหล่งน�ำ้ ทีอ่ สี ท์ วอเตอร์ สามารถ สูบใช้นำ�้ ได้ในแต่ละปีโดยทีม่ ปี ริมาณน�ำ้ ต้นทุนเป็นปริมาณ น�ำ้ ท่าตามฤดูกาล ได้แก่ อ่างเก็บน�ำ้ หนองค้อ อ่างเก็บน�ำ้ ดอกกราย อ่างเก็บน�ำ้ หนองปลาไหล อ่างเก็บน�ำ้ ประแสร์ รวมถึงการสูบน�ำ้ จากแม่นำ�้ บางปะกง และแหล่งน�ำ้ เอกชน แหล่งน�ำ้ ส�ำรองของ อีสท์ วอเตอร์ หมายถึง แหล่งน�ำ้ ที่มีไว้เพื่อเสริมความมั่นคงของแหล่งน�้ำหลัก ซึ่งต้องมี การเก็บส�ำรองน�ำ้ ไว้ลว่ งหน้า โดยจะใช้ในกรณีทปี่ ริมาณน�ำ้ ในแหล่งน�ำ้ หลักมีนอ้ ยและเกิดภาวะขาดแคลนน�ำ ้ ได้แก่ สระส�ำรองน�ำ้ ดิบส�ำนักบก สระส�ำรองน�้ำดิบฉะเชิงเทรา และอ่างเก็บน�้ำบางพระ ทัง้ นี้ แหล่งน�ำ้ ทีไ่ ด้รบั จัดสรรจากกรมชลประทานนัน้ ในแต่ละปีกรมชลประทานโดยส�ำนักงานชลประทานที่ 9 จะจัดการประชุมผู้ใช้น�้ำนอกภาคการเกษตรขึ้นเพื่อ จัดสรรปริมาณน�้ำแก่ผู้ที่ได้รับอนุญาตใช้น�้ำ โดยรอบปี การจัดสรรจะเริม่ ตัง้ แต่เดือนพฤศจิกายนถึงตุลาคมของปี
ถัดไป และจะมีการประชุมติดตามปริมาณการใช้นำ�้ ทุกๆ 3 เดือน เพื่อจัดสรรปริมาณน�ำ้ เพิ่มเติมเมื่อมีปริมาณน�ำ้ ไหลเข้าในอ่างเก็บน�้ำระหว่างปีการจัดสรร ส�ำหรับในปี 2558 และ 2559 นั้น อีสท์ วอเตอร์ ได้บริหารจัดการน�้ำ ที่ได้รบั จัดสรรอย่างเต็มทีภ่ ายใต้ภาวะวิกฤตภัยแล้งเนือ่ ง จากปรากฎการณ์ เ อลนิ โ ญต่ อ เนื่ อ ง โดยได้ ร ่ ว มกั บ กรมชลประทานติดตามสถานการณ์น�้ำอย่างใกล้ชิดและ ด�ำเนินการตามมาตรการป้องกันและแก้ไขปัญหาการ ขาดแคลนน�้ำ ซึ่งการด�ำเนินการร่วมกันดังกล่าวส่งผล ให้การบริหารจัดการน�้ำในภาพรวมของภาคตะวันออก เกิดประโยชน์สูงสุด และสามารถผ่านพ้นจากวิกฤตภัย แล้งไปได้ ส� ำ หรั บ การสู บ น�้ ำ จากแม่ น�้ ำ บางปะกงของ อีสท์ วอเตอร์ จะสูบเฉพาะในช่วงฤดูนำ�้ หลาก โดยในปี 2559 อี ส ท์ วอเตอร์ สู บ น�้ ำ จากแม่ น�้ ำ บางปะกง ในช่วงเดือนกรกฎาคม ถึง ธันวาคม 2559 วัตถุประสงค์ เพื่อส่งจ่ายน�้ำให้กับผู้ใช้น�้ำภาคอุปโภค-บริโภคและ อุตสาหกรรมในพืน้ ทีฉ่ ะเชิงเทราเป็นหลัก และอีกส่วนหนึง่ จะผันไปเก็บไว้ยังอ่างเก็บน�้ำบางพระ และสระส�ำรอง น�้ำดิบส�ำนักบก เพื่อส�ำรองน�้ำไว้ส่งให้กับผู้ใช้น�้ำพื้นที่ ฉะเชิงเทราและชลบุรีในช่วงหน้าแล้ง รายละเอียดปริมาณน�้ำที่ อีสท์ วอเตอร์ ได้รับ จัดสรรและปริมาณน�ำ้ ที่สูบใช้ใน ปี 2558 และ ปี 2559 ที่ผ่านมา แสดงดังนี้
ตารางข้อมูลปริมาณน�ำ้ จากแหล่งน�้ำที่ อีสท์ วอเตอร์ ใช้ในปี 2558-2559 สูบมาใช้ ปี 2558
สูบมาใช้ ปี 2559
หมายเหตุ
(ตามหนังสืออนุญาต)
1. อ่างเก็บน�ำ้ ดอกกราย
79.4
116.0
73.9
65.0
ในปี 2559 มีปริมาณน�ำ้ ในอ่างเก็บน�ำ้ ดอกกราย ลดลงอย่างมาก เนือ่ งจากวิกฤติภยั แล้ง อีสท์ วอเตอร์ จึงปรับลดการใช้นำ�้ ลง เพื่อให้สามารถสูบจ่ายน�ำ้ ได้อย่างต่อเนื่อง
2. อ่างเก็บน�ำ้ หนองปลาไหล
163.8
120.0
126.88
133.41
ปริมาณน�ำ้ ส่วนเกินจากที่ได้รับจัดสรร อีสท์ วอเตอร์ ได้มี การหารือร่วมกักรมชลประทานในการประชุมผู้ใช้น�้ำนอก ภาคการเกษตรอย่างต่อเนื่อง
3. อ่างเก็บน�ำ้ หนองค้อ
21.4
16.7
19.6
7.85
ในปี 2559 มีปริมาณน�ำ้ ในอ่างเก็บน�ำ้ หนองค้อ ลดลงอย่างมาก เนือ่ งจากวิกฤติภยั แล้ง อีสท์ วอเตอร์ จึงปรับลดการใช้นำ�้ ลง เพื่อให้สามารถสูบจ่ายน�้ำได้อย่างต่อเนื่อง
4. อ่างเก็บน�ำ้ ประแสร์
248.0
58.02
58.08
66.0
ปริมาณน�ำ้ สูบมาใช้จากระบบท่อประแสร์-คลองใหญ่ 58.0 ล้าน ลบ.ม. และจากระบบท่อประแสร์-หนองปลาไหล 8.0 ล้าน ลบ.ม.
5. แม่น�้ำบางปะกง3
-
27.04
10.9
21.55
อีสท์ วอเตอร์ ด�ำเนินการสูบน�ำ้ เฉพาะช่วงฤดูฝนและเป็นไป ตามเกณฑ์ที่ก�ำหนดร่วมกับจังหวัดฉะเชิงเทรา มีปริมาณ น�้ำส่วนหนึ่งผันไปเก็บกักยังอ่างฯบางพระและสระส�ำรอง น�้ ำ ดิ บ ส� ำ นั ก บก เพื่ อ ส� ำ รองน�้ ำ ในช่ ว งฤดู แ ล้ ง ให้ พื้ น ที่ ฉะเชิงเทราและชลบุรี โดยในปี 2559 ได้น�ำน�้ำจากแม่น�้ำ บางปะกงฝากส�ำรองที่สระส�ำรองส�ำนักบก 5.7 ล้าน ลบ.ม. และส�ำรองทีอ่ า่ งเก็บน�ำ้ บางพระ 9.8 ล้าน ลบ.ม. และสูบคืนให้ กับกรมชลประทาน 1.6 ล้าน ลบ.ม.
6. แหล่งน�ำ้ เอกชน
-
-
4.7
9.2
ในปี 2559 อีสท์ วอเตอร์ ต้องซื้อน�้ำจากแหล่งน�้ำเอกชน เพิ่มขึ้น เนื่องจากวิกฤติภัยแล้ง
337.77
293.9
303.06
รวม
หมายเหตุ : 1 ในปี 2559 ปริมาณน�้ำส่วนเกินจากที่ได้รับจัดสรรที่บริษัทฯใช้จาก อ่างหนองปลาไหล 16.7 ล้าน ลบ.ม. ได้มีการหารือร่วมกับกรมชลประทานในการประชุมผู้ใช้นำ�้ นอกภาคการเกษตร ซึ่งจะมีการหารือและติดตามการใช้นำ�้ ในทุก 3 เดือน 2 ในปี 2559 บริษทั ฯมี ปริมาณน�ำ้ ที่ได้รบั อนุญาตตาม (MOU) ประแสร์-คลองใหญ่ เป็นปริมาณ 40 ล้าน ลบ.ม. และได้รบั อนุญาตจากระบบท่อ ประแสร์-หนองปลาไหล ของอีสท์ วอเตอร์ อีก 18 ล้าน ลบ.ม. ซึ่งเป็นไปตาม MOU ที่ระบุไว้ 3 แม่นำ�้ บางปะกงเป็นแม่น�้ำสาธารณะ การสูบน�้ำจากแม่น�้ำบางปะกง อีสท์ วอเตอร์ จะเริ่มสูบน�ำ้ จากแม่น�้ำบางปะกงเมื่อน�ำ้ ในแม่น�้ำบางปะกงบริเวณ หน้าที่ว่าการ อ�ำเภอบ้านโพธิ์ มีค่าความเค็มต�ำ่ กว่า 1 กรัม/ลิตร (คุณภาพน�้ำตรวจวัดโดยโครงการชลประทานฉะเชิงเทรา) และจะหยุดสูบน�ำ ้ เมื่อสิ้นฤดูฝน น�ำ้ ในแม่น�้ำบางปะกง มีค่าความเค็มที่จุดเดียวกันสูงกว่า 1 กรัม/ลิตร ซึ่งเป็นไปตามเกณฑ์ที่ก�ำหนดร่วมกับจังหวัดฉะเชิงเทราและ กรมชลประทาน 4 ปริมาณการสูบน�้ำสูงสุดจากแม่น�้ำบางปะกงจากการประเมินประสิทธิภาพการสูบน�้ำสูงสุดของสถานีสูบน�้ำในปัจจุบัน 5 เนื่องจากสถานการณ์ภัยแล้งในช่วงต้นปี 2559 กรมชลประทานได้อนุญาตให้อีสท์ วอเตอร์ สูบน�้ำจากอ่างเก็บน�ำ้ หนองค้อ ไปใช้บริหารจัดการน�้ำในช่วงวิกฤตก่อน ในปริมาณ 1.6 ล้าน ลบ.ม. โดยอีสท์ วอเตอร์ ได้สูบน�ำ้ ส่งคืนให้กับกรมชลประทานในช่วงเดือนกันยายน-ธันวาคม 2559 6 ในปี 2559 ปริมาณน�ำ้ ที่อีสท์ วอเตอร์ ใช้บริหารจัดการ รวมทั้งสิ้น 301.4 ล้าน ลบ.ม. 7 ในปี 2559 ปริมาณน�ำ้ ที่อีสท์ วอเตอร์ ได้รับจัดสรรจากกรมชลประทาน รวมทั้งสิ้น 310.7 ล้าน ลบ.ม. 8 ปรับการค�ำนวณปริมาณน�ำ้ สูบมาใช้ในปี 2558 ให้สอดคล้องกับการค�ำนวณในปี 2559 โดยไม่คิดปริมาณน�้ำสูญเสียในระบบท่อส่งน�้ำประแสร์-คลองใหญ่ และไม่คิดปริมาณการระเหยรั่วซึมจากปริมาณน�้ำฝากในอ่างฯ หนองปลาไหล
บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)
ความจุอ่างฯ
ปริมาณน�้ำ
รายงานความยั่งยืน 2559
แหล่งน�ำ้
ได้รบั จัดสรร ปี 2559
หน่วย : ล้าน ลบ.ม.
33
แผนพัฒนาแหล่งน�้ำต้นทุน เพื่อการสร้างเสถียรภาพของแหล่งน�้ำดิบ แผนการด�ำเนินงานเพื่อสร้างเสถียรภาพของโครง ข่ายท่อส่งน�ำ้ ของอีสท์ วอเตอร์ ประกอบดัวยกัน 3 ส่วน ได้แก่ (1) การวางแผนพัฒนาแหล่งน�้ำต้นทุน (2) การด�ำเนินงานโครงการก่อสร้างเพือ่ เพิม่ ศักยภาพ ของระบบส่งน�ำ้ ให้เป็นไปตามแผน (3) การประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและการ คาดการณ์สภาพภูมิอากาศล่วงหน้า
อีสท์ วอเตอร์ ได้จดั ท�ำแผนพัฒนาแหล่งน�ำต้ น้ ทุน ทัง้ ระยะสัน้ ระยะกลาง และระยะยาว เพือ่ สร้างเสถียรภาพ ของแหล่งน�้ำดิบ อันจะเป็นการสร้างความมั่นใจให้แก่ ลูกค้า ในช่วง 20 ปีข้างหน้า โดยในปี 2559 ได้ปรับ แผนการพัฒนาแหล่งน�้ำไปจากปีก่อนเพื่อให้สอดคล้อง กับสถานการณ์ปจั จุบนั เนือ่ งจากมีการชะลอการก่อสร้าง โครงการพัฒนาสระเก็บน�ำ้ ดิบคลองทับมา และเพือ่ ไม่ให้ ส่งผลกระทบใดๆ ต่อผู้ใช้น�้ำ โดยมีรายละเอียดตาม แผนภาพด้านล่าง
รายงานความยั่งยืน 2559
บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)
ความต้องการใช้นำ�้ ในพื้นที่ชลบุรี - ระยอง - ฉะเชิงเทรา
34
ส�ำหรับ ความก้าวหน้าในโครงการก่อสร้างเพือ่ สร้าง เสถียรภาพให้กบั โครงข่ายท่อส่งน�ำ้ ของอีสท์ วอเตอร์ ในปี 2559 เป็นการด�ำเนินงานต่อเนื่องจากเมื่อปี 2558 ประกอบด้วย 2 โครงการ ได้แก่
(1) โครงการก่อสร้างวางท่อส่งน�้ำอ่างเก็บน�้ำประแสร์ ไปยังอ่างเก็บน�้ำหนองปลาไหล แล้วเสร็จตาม ก�ำหนด ซึง่ ท�ำให้สามารถสูบผันน�ำ้ ดิบเพิม่ ขึน้ ปีละ 70 ล้าน ลบ.ม เพื่อเพิ่มความเชื่อมั่นให้กับผู้ใช้นำ �้ โดยได้มีการสูบผันน�้ำอย่างต่อเนื่องจนถึงปัจจุบัน
(2) โครงการก่อสร้างวางท่อน�้ำดิบหนองปลาไหล หนองค้อ เส้นที่ 2 เป็นการก่อสร้างระบบท่อส่งน�ำ้ ดิบ เพื่อรองรับความต้องการใช้น�้ำในพื้นที่ชลบุรีและ พืน้ ทีป่ ลวกแดง-บ่อวิน ในอนาคต รวมถึงการแก้ไข ปัญหาขาดแคลนน�้ำในปี 2559 ซึ่งอีสท์ วอเตอร์ ได้เร่งรัดงานวางท่อส่งน�้ำดิบให้สามารถใช้งานได้ ตัง้ แต่เดือนพฤษภาคม 2559 ทัง้ นี้โครงการจะแล้ว เสร็จสมบูรณ์ในปี 2560 โดยมีความสามารถในการ ส่งจ่ายน�้ำได้ประมาณ 60 ล้านลบ.ม.ต่อปี
ทัง้ นีเ้ พือ่ ให้มนั่ ใจว่า อีสท์ วอเตอร์ ได้มกี ารวางแผน จัดสรรน�ำ้ ได้อย่างเหมาะสมและสอดคล้องกับสถานการณ์ จึงได้มกี ารประสานงานร่วมกับหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้องต่างๆ อย่างใกล้ชิด อาทิ กรมชลประทาน คณะท�ำงานศูนย์ ปฏิบัติการน�้ำ (Water War Room) ภาคตะวันออก กรม อุตุนิยมวิทยา กรมฝนหลวงและการบินเกษตร เป็นต้น
1
2
ปริมาณน�ำ้ อยูใ่ นเกณฑ์ปเี ฉลีย่ แล้งแบบปี 2547-2548 โอกาสเกิด 50% โอกาสเกิด 2.5%
โดยมีการจ�ำลองสถานการณ์นำ �้ เพือ่ ศึกษาการขาดแคลนน�ำ้ ทีอ่ า่ งเก็บน�ำ้ หลัก ได้แก่ อ่างเก็บน�ำ้ ดอกกราย อ่างเก็บน�ำ้ หนองปลาไหล และอ่างเก็บน�้ำคลองใหญ่ โดยก�ำหนดไว้ 4 กรณี ดังปรากฏให้เห็น ตามแผนภาพ คือ
3 ภัยแล้งรอบ 20 ปี โอกาสเกิด 5%
4 ภัยแล้งแบบปี 2540 โอกาส เกิด 10% 2560
รายงานความยั่งยืน 2559
อย่างไรก็ตาม การบริหารจัดการความเสี่ยงด้าน ปริมาณน�้ำที่อาจไม่เพียงพอ อีสท์ วอเตอร์ จึงได้มีการ ด�ำเนินการเพิม่ เติม เพือ่ ป้องกันปัญหาการขาดแคลนน�ำ ้ ในปี พ.ศ. 2559 ต่อเนือ่ งไปถึงปี พ.ศ. 2560 อย่างเป็นระบบ
บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)
แผนการป้องกันปัญหา การขาดแคลนน�้ำกรณีภัยแล้ง
35
บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)
รายงานความยั่งยืน 2559
36
สรุปการด�ำเนินงานตามมาตรการเพื่อรองรับปัญหา การขาดแคลนน�ำ้ ในปี 2559 ดังนี้ 1. ประสานงานกับหน่วยปฏิบัติการฝนหลวงในพื้นที่ ภาคตะวันออก มีศูนย์ปฏิบัติการที่จังหวัดระยอง เดือนพฤษภาคม - กันยายน 2559 2. สูบผันน�้ำจากอ่างเก็บน�้ำประแสร์ ไปยังอ่างเก็บน�้ำ คลองใหญ่ สูบผันน�ำ้ ได้ 98.39 ล้าน ลบ.ม. และสูบ ผันน�้ำจากอ่างเก็บน�้ำประแสร์ ไปยังอ่างเก็บน�้ำ หนองปลาไหลสูบผันน�ำ้ ได้ 3.91 ล้าน ลบ.ม. 3. ส�ำรองน�ำ้ จากแม่นำ�้ บางปะกงเข้าอ่างเก็บน�ำ้ บางพระ โดยใช้ระบบสูบน�ำ้ สถานีสูบน�้ำแม่นำ�้ บางปะกงของ อีสท์ วอเตอร์ สูบผันน�้ำได้15.48 ล้าน ลบ.ม. 4. ลดการส่งน�ำ้ จากพืน้ ทีร่ ะยองไปพืน้ ทีช่ ลบุรี โดยใช้นำ�้ ในพื้นที่ชลบุรีให้เต็มศักยภาพ 5. เร่งรัดโครงการก่อสร้างวางท่อส่งน�ำ้ ดิบหนองปลาไหล- หนองค้อ เส้นที่ 2 ให้สามารถสูบผันน�้ำได้เร็วกว่า ก�ำหนด เพื่อจ่ายน�้ำให้กับพื้นที่ชลบุรี และพื้นที่ ปลวกแดง-บ่อวิน 6. จัดหาแหล่งน�้ำเอกชนเพิ่มเติม สามารถส�ำรองน�้ำ ได้ 4.5 ล้าน ลบ.ม. ถึงแม้ว่าเมื่อสิ้นสุดฤดูฝน ปี 2559 สถานการณ์น�้ำ ของอ่างเก็บน�้ำบางพระและอ่างเก็บน�้ำหนองค้ออยู่ใน เกณฑ์คา่ เฉลีย่ ท�ำให้ความเสีย่ งทีจ่ ะเกิดการขาดแคลนน�ำ้ ในช่วงฤดูแล้งปี 2560 ในพืน้ ทีช่ ลบุรแี ละพืน้ ทีฉ่ ะเชิงเทรา มีน้อยกว่าในช่วงฤดูแล้งปี 2559 แต่อีสท์ วอเตอร์ ก็ได้ มีการเตรียมความพร้อมส�ำหรับมาตรการป้องกันและ แก้ไขปัญหาการขาดแคลนน�ำ ้ ได้แก่ การเร่งรัดโครงการ วางท่อส่งน�้ำดิบหนองปลาไหล - หนองค้อ เส้นที่ 2 ให้ แล้วเสร็จสมบูรณ์ การจัดหาน�้ำดิบจากบ่อน�้ำเอกชนใน พืน้ ทีช่ ลบุรเี พิม่ เติม รวมทัง้ การด�ำเนินการเพิม่ ประสิทธิภาพ การสูบน�้ำจากแม่น�้ำบางปะกงเป็นหลัก
การประยุกต์ ใช้เทคโนโลยีในการ บริหารจัดการน�ำ้ ตัวบ่งชีท้ ดี่ ที สี่ ดุ ของประสิทธิภาพการบริหารจัดการน�ำ ้ คือปริมาณการสูญเสียของน�้ำที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ หรือ NRW ส�ำหรับ อีสท์ วอเตอร์ มีการบริหารจัดการน�ำ้ สูญเสีย โดยการน�ำเทคโนโลยี Supervisory Control and Data Acquisition (SCADA) มาควบคุมการสูบจ่ายน�้ำของ สถานีสูบน�้ำ ทั้ง 16 สถานี โดยด�ำเนินการควบคู่ไปกับ แผนการซ่อมบ�ำรุง การควบคุมนี้เป็นแบบ Real time มีศนู ย์กลางการควบคุมอยูท่ ศี่ นู ย์ปฏิบตั กิ ารระยอง จึงช่วย ให้สามารถแก้ไขปัญหา ลดความผิดพลาดในระบบสูบส่งน�ำ้ ได้อย่างฉับไว สามารถควบคุมต้นทุนการบริหาร ลดการ ใช้อตั ราก�ำลังคน และทีส่ ำ� คัญลดปริมาณน�ำ้ ทีไ่ ม่กอ่ ให้เกิด รายได้ (NRW) ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ในปี 2559 อีสท์ วอเตอร์ ได้ดำ� เนินโครงการเพือ่ ลด ปริมาณน�ำ้ ทีไ่ ม่เกิดรายได้ (NRW) นอกเหนือจากแผนงาน ตามปกติเหมือนปีที่ผ่านมาซึ่งได้แก่ ปรับปรุงระบบ ป้องกันสนิมของท่อบางปะกง-ชลบุรี จัดจ้างผูร้ บั จ้างซ่อม กรณีฉกุ เฉิน ก�ำหนดแผนและด�ำเนินการสอบเทียบมาตร วัดน�้ำทั้งมาตรหลักและมาตรลูกค้า และบ�ำรุงรักษา อุปกรณ์ในระบบการสูบจ่ายน�ำ้ แล้ว ยังได้ดำ� เนินการอุด รอยรัว่ ในบ่อ Junction Well ทีม่ กี ารใช้งานมายาวนานด้วย
การบริหารจัดการน�ำ้ สูญเสียที่ไม่กอ่ ให้เกิดรายได้ (Non-Revenue Water) อีสท์ วอเตอร์ มีนโยบายในการดูแลควบคุมปริมาณ น�้ำที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ (Non-Revenue Water : NRW) ทัง้ ระบบ ก�ำหนดเกณฑ์ไว้อยูท่ ี่ ≤ 2.50 โดยตัง้ แต่ปี 2555 เป็นต้นมา อีสท์ วอเตอร์ มีการควบคุมน�ำ้ สูญเสียในระบบ ส่งน�้ำได้ดขี นึ้ เรือ่ ยๆ ซึง่ การค�ำนวนปริมาณน�้ำที่ไม่กอ่ ให้ เกิดรายได้ สามารถค�ำนวณได้จากสมการที่แสดงด้าน ล่างนี้
บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)
ทัง้ นี้ จุดรัว่ ซึมดังกล่าว ไม่สามารถด�ำเนินการซ่อม บ�ำรุงได้ในทันที เนื่องจากในปี 2559 เกิดวิกฤตภัยแล้ง ท�ำให้มีปริมาณน�้ำต้นทุนต�่ำกว่าปกติ จึงพิจารณาชะลอ การซ่อมจุดรั่วซึมดังกล่าวออกไปก่อนเพื่อไม่ ให้เกิด ผลกระทบต่อลูกค้าผู้ใช้น�้ำในพื้นที่จังหวัดชลบุรีและ
ฉะเชิงเทรา เนื่องจากการซ่อมดังกล่าวจ�ำเป็นต้องหยุด จ่ายน�ำ ้ ดังนัน้ ปริมาณน�ำ ้ NRW ในปี 2559 จึงเพิม่ สูงขึน้ กว่าปกติ ดังแสดงในภาพด้านล่าง อย่างไรก็ตาม ในช่วง ปลายปี 2559 สถานการณ์นำ�้ เริม่ คลีค่ ลาย อีสท์ วอเตอร์ จึงได้ดำ� เนินการซ่อมแซมรอยรั่วของบ่อ Junction Well จนแล้วเสร็จเมือ่ เดือนธันวาคมทีผ่ า่ นมา ส�ำหรับจุดรัว่ ซึม ของเส้นท่อฉะเชิงเทรา-บางปะกง ทีมซ่อมบ�ำรุงได้ ประเมิน แล้วว่าระยะเวลาด�ำเนินการจะใช้เวลานานกว่าปกติ เนื่องจากจุดที่รั่วซึมอยู่กลางคลองประกอบกับ ผู้ใช้น�้ำ เป็นกลุม่ อุปโภคบริโภคซึง่ ไม่สามารถหยุดจ่ายน�ำ้ ได้ จึงต้อง รอให้สถานการณ์น�้ำดีขึ้นก่อนจึงสามารถด�ำเนิการได้ โดยมีแผนการซ่อมบ�ำรุงในปี 2560
รายงานความยั่งยืน 2559
อย่างไรก็ตาม ปริมาณน�้ำ NRW ในปี 2559 อยู่ที่ 2.92% เพิ่มขึ้นอย่างมีนัยส�ำคัญเมื่อเทียบกับปีก่อน เนือ่ งจากมีจดุ รัว่ ซึมในระบบท่อส่งน�ำ ้ 2 จุด ได้แก่ จุดที่ 1) บ่อ Junction Well ที่สถานีเพิ่มแรงดัน (Booster Pump) หนองปลาไหล ซึง่ เป็นสถานีทจี่ า่ ยน�ำ้ ไปยังพืน้ ที่ ชลบุร-ี ปลวกแดง-บ่อวิน และจุดที่ 2) เส้นท่อฉะเชิงเทราบางปะกง โดยจุดทีร่ วั่ ซึมอยูบ่ ริเวณช่วงกลางคลองบางวัว
ตารางปริมาณการสูบจ่ายน�ำ้ ของ อีสท์ วอเตอร์ ปี 2559 เดือน
มกราคม กุมภาพันธ์ มีนาคม เมษายน พฤษภาคม มิถุนายน กรกฎาคม สิงหาคม กันยายน ตุลาคม พฤศจิกายน ธันวาคม รวม
ปริมาณน�้ำสูบ
24,594,093 24,786,263 26,436,941 26,367,134 27,209,448 25,641,168 24,667,711 25,587,994 26,070,180 26,850,023 25,431,638 24,991,174 308,633,7671
บริมาณน�้ำจ�ำหน่าย
23,448,071 23,992,579 25,188,475 25,340,627 26,377,834 24,355,657 23,022,890 23,224,242 21,919,478 21,713,513 20,494,706 22,939,578 282,017,6502
ปริมาณน�้ำกักเก็บวัดได้
272,439 145,067 3,869 663,279 2,002,367 3,944,709 4,670,924 4,587,153 1,305,201 17,595,0083
สูญเสีย
873,583.00 793,684.00 1,103,399.00 1,022,638.00 855,614.00 1,285,511.00 981,542.00 277,418.00 205,993.00 465,586.00 349,779.00 746,395.00 8,961,142
1 ปริมาณน�ำ้ สูบ ได้จากการเก็บตัวเลขจากมาตรวัดน�ำ้ ตามสถานีสบู น�ำ้ หลักของอีสท์ วอเตอร์ ทัง้ นี้ ส�ำหรับปริมาณน�ำ้ จากอ่างเก็บน�ำ้ ประแสร์ จะคิดจากปริมาณน�ำ้ สูบ ที่หักปริมาณน�ำ้ สูญเสียในเส้นท่อส่งน�ำ้ ประแสร์-คลองใหญ่ และปริมาณการระเหยรั่วซึมจากปริมาณน�ำ้ ฝากในอ่างเก็บน�้ำหนองปลาไหล 2 รวมปริ ำ้ ดิบที่ส่งให้กิจการประปาสัตหีบและประปาบ่อวิน ซึ่งเป็นสัญญาสัมปทานของอีสท์ วอเตอร์ 3 รวมปริมมาณน� าณน�ำ้ สูบคืนให้กับกรมชลประทาน 1.6 ล้าน ลบ.ม.
%NRW
3.55% 3.20% 4.17% 3.88% 3.06% 5.01% 3.98% 1.41% 0.79% 1.73% 1.38% 2.99% 2.92%
37
ปริมาณน�้ำสูญเสีย ปี 2559
NRW
% NRW
รายงานความยั่งยืน 2559
บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)
กราฟปริมาณน�้ำสูญเสียในระบบสูบส่งน�้ำ ปี 2559
38
ในด้านคุณภาพการบริการ มีปัจจัยต่างๆ อาทิ แรงดันน�้ำ อัตราการไหลของน�้ำตามข้อตกลง และ มาตรฐานงานบริการ ซึ่งแยกพิจารณาเป็นรายพื้นที่ แต่ ล ะกลุ ่ ม ลู ก ค้ า พบว่ า มี เ ฉพาะพื้ น ที่ ใ ห้ บ ริ การ ปลวกแดง-บ่อวิน ทีม่ ปี ญั หาในเรือ่ งแรงดัน อันสืบเนือ่ ง จากการที่ อีสท์ วอเตอร์ ได้ขยายโครงข่ายท่อส่งน�้ำ หนองปลาไหล-หนองค้อ เส้นที่ 2 และมีการเพิ่มแรง ดันน�ำ้ ในเส้นท่อดังกล่าวเพื่อให้สามารถส่งน�้ำไปได้ใน ระยะไกล ท�ำให้ส่งผลกระทบกับผู้ใช้น�้ำบางรายที่อยู่ ต้นทางของสถานีสูบ อีสท์ วอเตอร์ จึงได้ติดตั้งวาล์ว ลดแรงดัน (Pressure Relief Valve) ทีส่ ถานีรบั น�้ำของ ลูกค้า เพื่อความปลอดภัยและมาตรฐานคุณภาพใน การส่งน�ำ้ ให้กับลูกค้า ด้ า นความพร้ อ มใช้ ง านของระบบท่ อ ส่ ง น�้ ำ อีสท์ วอเตอร์ มีแผนการบ�ำรุงรักษาอุปกรณ์ของระบบ ท่ อ ส่ ง น�้ ำ และระบบป้ อ งกั น สนิ ม ให้ ส ามารถส่ ง น�้ ำ ได้อย่างต่อเนื่อง รวมถึงในกรณีที่มีการเปลี่ยนแปลง ของแนวถนนอันเกิดจากการขยายตัวของเมือง ซึง่ ส่งผล กระทบ กับแนวการ วางท่อเดิมของอีสท์ วอเตอร์ ท�ำให้ต้องด�ำเนินการขุดย้ายแนวท่อใหม่โดยให้เกิด ผลกระทบกับผู้ใช้ทางและลูกค้าผู้ใช้น�้ำน้อยที่สุด
อีสท์ วอเตอร์ ยังคงมุ่งมั่นในการรักษาเสถียรภาพ ของระบบสูบและการจ่ายน�ำ ้ (Reliability) โดยการก�ำหนด เป้าหมายไม่ให้เกิดความเสียหายกับเครือ่ งจักร อุปกรณ์ จนท�ำให้ระบบสูบจ่ายน�ำ้ หยุดชะงัก หรือไม่มกี ารหยุดจ่ายน�ำ้ ในโครงข่ายท่อส่งน�ำ้ หลัก อย่างไรก็ตาม ได้กำ� หนดเกณฑ์ การหยุดจ่ายน�ำ้ เพือ่ การบ�ำรุงรักษาไว้ไม่เกิน 8 ชัว่ โมง/ครัง้ แต่ส�ำหรับเครื่องจักรหรืออุปกรณ์ที่มีความส�ำคัญสูง (Class A) จะต้องไม่มีการหยุดท�ำงานแต่อย่างใด
ความรับผิดชอบต่อผลกระทบ จากกระบวนการบริหารจัดการน�้ำ (EN9)
แหล่งน�้ำดังกล่าวส่วนใหญ่เป็นอ่างเก็บน�้ำที่มนุษย์ สร้างขึน้ ซึง่ ปัจจัยหลักทีจ่ ะส่งผลกระทบต่อการเปลีย่ นแปลง ของสภาพแวดล้อมของแหล่งน�ำ้ ก็คอื กิจกรรมของมนุษย์ ไม่วา่ จะเป็นการท�ำลายพืน้ ทีป่ า่ ในเขตต้นน�ำ ้ ท�ำให้ระดับ น�ำ้ ในแม่นำ�้ ลดลง การท�ำลายพืชพรรณบริเวณริมฝัง่ และ ผนังกัน้ น�ำ้ ท่วมตามแนวตลิง่ มีสว่ นท�ำให้เกิดการเปลีย่ น ลักษณะตามธรรมชาติของทางน�้ำ การปนเปื้อนของ มลพิษต่างๆ ท�ำให้นำ�้ มีคณุ ภาพลดลง ตลอดจนการใช้นำ�้ ไม่เหมาะสมหรือมีการน�ำน�้ำมาใช้มากเกินไป จนถึง ระดับที่เป็นอันตรายต่อระบบนิเวศวิทยาของแหล่งน�้ำ อีสท์ วอเตอร์ ถือเป็นหน่วยงานหนึ่งที่ใช้น�้ำโดยมี กิจกรรมหลักคือการสูบส่งน�้ำ ดังนั้นจึงมั่นใจได้ว่าไม่มี ของเสียปนเปื้อนออกจากระบบสูบส่งของอีสท์ วอเตอร์ ส�ำหรับในประเด็นการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อม ทางชีวภาพนั้น ขณะนี้ยังไม่สามารถประเมินผลกระทบ
ที่เกิดจากกิจกรรมของ อีสท์ วอเตอร์ โดยตรงได้อย่าง ชัดเจน เนือ่ งจากแหล่งน�ำ้ ดังกล่าวมีผใู้ ช้นำ�้ จากหลากหลาย ภาคส่วน หลากหลายกิจกรรมล้วนมีส่วนส่งผลให้สภาพ แวดล้อมทางชีวภาพเปลี่ยนแปลงไปด้วยกันทั้งสิ้น อย่างไรก็ตาม อีสท์ วอเตอร์ ได้ตระหนักถึงความส�ำคัญ ของปัญหาด้านคุณภาพน�ำ ้ ดังนัน้ ทีผ่ า่ นมา อีสท์ วอเตอร์ จึงได้มกี ารสนับสนุนและส่งเสริมกิจกรรมต่างๆ เพือ่ ช่วยเพิม่ พืน้ ทีส่ เี ขียวในเขตอนุรกั ษ์ปา่ รอยต่อ 5 จังหวัดซึง่ เป็นป่า ต้นน�ำ้ ของภาคตะวันออกอย่างต่อเนือ่ ง รวมถึงกิจกรรมตรวจ 39 วัดคุณภาพน�ำ้ ในโครงการเครือข่าย อีสท์ วอเตอร์ รักษ์นำ �้ และในปี 2559 อีสท์ วอเตอร์ ได้เริม่ ติดตามค่าพารามิเตอร์ ด้านคุณภาพน�ำ้ ในอ่างเก็บน�ำ้ หลักต่างๆ พบว่า ปัจจุบนั มี การเปลีย่ นแปลงของค่าคุณภาพน�ำ้ ไปจากในอดีตอย่างมี นัยส�ำคัญ ดังนัน้ ในปี 2560 อีสท์ วอเตอร์ จึงได้กำ� หนดให้มี แผนการศึกษาวิเคราะห์ดา้ นคุณภาพน�ำ้ ของอ่างเก็บน�ำ้ หลัก ทีอ่ สี ท์ วอเตอร์ ใช้บริหารจัดการอย่างจริงจัง เพือ่ หาสาเหตุ ของการเปลีย่ นแปลงดังกล่าว ตลอดจนหาแนวทางหรือ มาตรการในการด�ำเนินการแก้ไขปัญหาต่อไป เพือ่ ให้คณุ ภาพ น�้ำในอ่างเก็บน�้ำอยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน รายงานความยั่งยืน 2559
การด�ำเนินธุรกิจของ อีสท์ วอเตอร์ ประกอบด้วย การสูบจ่ายน�้ำจากแหล่งน�้ำต่างๆ ที่เป็นแหล่งน�้ำผิวดิน เพียงเท่านัน้ โดยอยู่ในเขตพืน้ ที่ 3 จังหวัดภาคตะวันออก ได้แก่ พืน้ ทีจ่ งั หวัดระยองประกอบด้วย อ่างเก็บน�ำ้ ดอกกราย อ่างเก็บน�้ำหนองปลาไหล อ่างเก็บน�้ำประแสร์ พื้นที่ จังหวัดชลบุรีและฉะเชิงเทรา ประกอบด้วย อ่างเก็บน�ำ้ บางพระ อ่างเก็บน�้ำหนองค้อ และบ่อน�้ำเอกชนต่างๆ รวมทัง้ แม่นำ�้ บางปะกง และสระส�ำรองน�ำ้ ดิบส�ำนักบก โดย มีปริมาณน�ำ้ ทีร่ ะบุไว้ในตารางข้อมูลปริมาณน�ำ้ จากแหล่งน�ำ้ ที่อีสท์ วอเตอร์ใช้ในปี 2558-2559 ในหน้าที่ 33
บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)
ผลกระทบที่อาจเกิดจากกระบวนการสูบน�ำ้
ในส่วนของแม่นำ�้ บางปะกง ซึง่ เป็นแหล่งน�ำ้ ธรรมชาติ จึงอาจประสบปัญหาการกัดเซาะหรือพังทลายของตลิ่ง อันเนื่องจากระดับน�้ำที่เพิ่มขึ้นและลดลงอย่างรวดเร็ว รวมถึงความรุนแรงของกระแสน�ำ ้ ดังนั้น อีสท์ วอเตอร์ จึงได้ร่วมกับ ส�ำนักวิศวกรรมและเทคโนโลยี สถาบัน เทคโนโลยีแห่งเอเชีย (AIT) ศึกษาถึงผลกระทบของการ
สูบน�้ำจากแม่น�้ำบางปะกงของอีสท์ วอเตอร์ ต่อการ เปลีย่ นแปลงระดับน�ำ้ ในแม่นำ�้ บางปะกง แม่นำ�้ นครนายก และแม่นำ�้ ปราจีนบุรี ส�ำหรับการสูบน�ำ้ จากแม่นำ�้ บางปะกง อีสท์ วอเตอร์ จะสูบจ่ายให้แก่ผใู้ ช้นำ�้ และเก็บส�ำรองน�ำ้ บางส่วนไว้ใช้ในช่วง ฤดูแล้ง โดยจะสูบน�ำ้ เฉพาะช่วงฤดูฝนเท่านัน้ เนือ่ งจาก รายการข้อมูล
ปริมาณน�้ำรายเดือนเฉลี่ย (ล้าน ลบ.ม.)
เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ปริมาณน�้ำท่า ลุ่มน�้ำบางปะกง 1
9.4
ความต้องการใช้นำ�้ เพื่อการชลประทาน (ปีน�้ำเฉลี่ย) 1
147.0
-
พ.ย.
ธ.ค.
ม.ค.
ก.พ.
มี.ค.
73.7 281.6 494.2 744.4 865.3 582.2 166.8
65.2
25.9
11.1
6.3
94.9 191.6 128.1
198.6 145.8 205.2 1,235.8 37.15
-
-
ก.ค.
2.9
ส.ค.
ก.ย.
ต.ค.
82.9
34.8
2.9
3.7
0.2
5.2
5.4
5.4
3.5
2.2
-
-
-
รวม
ร้อยละ
3,326.1 100.00
24.5
0.74
ที่มา : โครงการจัดสรรน�ำ้ ในพื้นที่ลุ่มน�ำ้ บางปะกง และปราจีนบุรี (กรมทรัพยากรน�ำ้ , 2551)
รายงานความยั่งยืน 2559
บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)
อัตราการสูบน�ำ้ สูงสุด ในอดีตของอีสท์ วอเตอร์ (พ.ศ..2550 - 2558)
ในสภาวะปกติในช่วงฤดูแล้งแม่นำ�้ บางปะกงจะมีคา่ ความ เค็มสูงจากการหนุนของน�้ำทะเลประกอบกับไม่มนี �้ำจืดที่ จะผลักดันน�้ำเค็มได้เพียงพอ ทั้งนี้เมื่อน�ำปริมาณน�้ำที่ อีสท์ วอเตอร์ สูบมาเปรียบเทียบกับปริมาณน�ำ้ ท่าทีม่ ใี นช่วง ฤดูฝน พบว่า มีการสูบน�ำ้ เพียงร้อยละ 0.74 ของปริมาณ น�ำ้ ท่าเท่านัน้ โดยรายละเอียดสรุปได้ตามตารางด้านล่างนี้
40
จากการศึ ก ษาของ ส� ำ นั ก วิ ช าวิ ศ วกรรมและ เทคโนโลยีแห่งเอเชีย (AIT) เมื่อปี 2552 พบว่า ผลการ ค�ำนวณสภาพการไหลของน�้ำในลุ่มน�้ำบางปะกงโดยใช้ แบบจ�ำลองคณิตศาสตร์ เพือ่ ศึกษาถึงผลกระทบจากการ สูบน�้ำของ อีสท์ วอเตอร์ แสดงให้เห็นว่าในกรณีที่มีการ สูบน�้ำด้วยอัตราตามจริงในปี พ.ศ. 2549 ได้ท�ำให้ค่า ระดับน�้ำในล�ำน�้ำ ณ บริเวณสถานีสูบน�้ำของบริษัทฯ ลดลงจากเดิมเมื่อเทียบกับกรณีไม่มีการสูบน�้ำประมาณ 0.24 เซนติเมตร และในกรณีทสี่ มมุติให้มกี ารสูบน�ำ้ ด้วย อัตราสูงสุด (2.68 ลบ.ม./วินาที) จะท�ำให้ระดับน�ำ้ ลดลง จากเดิมเมื่อเทียบกับกรณีที่ไม่มีการสูบน�้ำเพียง 0.88 เซนติเมตร เท่านั้น และในกรณีที่การสูบด�ำเนินการใน
ช่วงเวลาทีแ่ ม่นำ�้ มีปริมาณน�ำ้ แล้งมากทีส่ ดุ ตามสถิติในปี พ.ศ. 2544 การสูบน�้ำจะท�ำให้ระดับน�้ำลดลงเพียง 1.65 เซนติเมตร เท่านั้น ซึ่งแทบจะไม่มีผลกระทบต่อสภาพ การไหลของน�ำ้ ในลุม่ น�ำ้ บางปะกงเลย เพราะปริมาณการ สูบน้อยมากเมือ่ เทียบกับอัตราน�ำ้ ไหลผ่านในแม่นำ �้ โดย เมื่อเทียบกับอัตราการไหลเฉลี่ยของน�้ำในแม่น�้ำบริเวณ สถานีสูบ คือประมาณร้อยละ 0.6 เท่านั้น ดังนั้นจึงสรุป ได้ว่าการสูบน�้ำที่สถานีสูบน�้ำของอีสท์ วอเตอร์ จึงไม่มี นัยส�ำคัญต่อการพังทลายของตลิง่ บริเวณเหนือสถานีสบู น�้ำที่กิ่ง อ.คลองเขื่อน จ.ฉะเชิงเทรา และเหนือน�้ำขึ้นไป ถึง อ.กบินทร์บุรี จ.ปราจีนบุรี
หน้าทีว่ า่ การอ�ำเภอบ้านโพธิม์ คี า่ ความเค็มต�่ำกว่า 1 กรัม ต่อลิตร และจะหยุดสูบน�้ำเมื่อสิ้นฤดูฝนและน�้ำในแม่น�้ำ บางปะกงมีค่าความเค็มที่จุดเดียวกันสูงกว่า 1 กรัมต่อ ลิตร ซึ่งในปี 2559 อีสท์ วอเตอร์ สูบน�้ำจากแม่น�้ำ บางปะกงในช่วงเดือนกรกฎาคม ถึง ธันวาคม 2559 ดัง แสดงข้อมูลเปรียบเทียบการสูบน�ำ้ ของอีสท์ วอเตอร์ กับ ค่าความเค็มบริเวณหน้าที่ว่าการอ�ำเภอบ้านโพธิ์ ในปี 2559 ดังตารางด้านล่าง
ในการสูบน�ำ้ จากแม่นำ�้ บางปะกงของ อีสท์ วอเตอร์ ได้มีการประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง อาทิ โครงการชลประทานฉะเชิงเทรา ส่วนราชการจังหวัด ฉะเชิงเทรา กลุ่มผู้ใช้น�้ำแม่น�้ำบางปะกง ฯลฯ เพื่อให้ สามารถบริหารจัดการน�ำ้ ในแม่นำ�้ บางปะกงร่วมกับผูใ้ ช้นำ�้ ในภาคส่วนต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสมมีประสิทธิภาพ และ มั่นใจได้ว่าการบริหารจัดการน�ำ้ ของอีสท์ วอเตอร์ จะไม่ ส่งผลกระทบใดๆ กับการใช้นำ�้ ของภาคส่วนอืน่ ๆ นอกจากนี้ ในปี 2559 อีสท์ วอเตอร์ ได้เริม่ หารือกับ กรมชลประทาน เพื่อด�ำเนินกิจกรรมส่งเสริมความรู้และพัฒนาโครงการ ด้านการเกษตร รวมทั้งส่งเสริมการบริหารการใช้น�้ำ ให้มีประสิทธิภาพให้แก่กลุ่มผู้ใช้น�้ำบริเวณจุดสูบน�้ำของ อีสท์ วอเตอร์ เพือ่ ให้ชมุ ชนได้มคี วามรูค้ วามเข้าใจในการ บริหารจัดการน�ำ ้ สามารถใช้ประโยชน์จากแม่นำ�้ บางปะกง ได้อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพเพื่อความยั่งยืน ต่อไป ซึ่งจะเริ่มแผนการด�ำเนินงานดังกล่าวในปี 2560
อาทิ กรมทางหลวง กรมทางหลวงชนบท องค์การปกครอง ส่วนท้องถิ่น จึงท�ำให้มีผลกระทบต่อชุมชนข้างเคียง ในขณะด�ำเนินการวางท่อส่งน�้ำ ด้วยความตระหนักใน ประเด็นดังกล่าว อีสท์ วอเตอร์ มีแนวทางการบริหาร จัดการโครงการก่อสร้างเพื่อลดผลกระทบระหว่างการ ก่อสร้างทั้งในบริเวณก่อสร้างและบริเวณข้างเคียงตาม 41 แนวก่อสร้าง โดยก�ำหนดให้ผรู้ บั เหมาก่อสร้างด�ำเนินการ ตามมาตรฐานความปลอดภัยของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในปี 2559 มีการด�ำเนินโครงการก่อสร้างขนาดใหญ่ จ�ำนวน 3 โครงการ ได้แก่ โครงการก่อสร้างวางท่อส่ง น�้ำดิบอ่างเก็บน�้ำประแสร์-อ่างเก็บน�้ำหนองปลาไหล โครงการก่อสร้างท่อสงน�้ำดิบหนองปลาไหล-หนองค้อ เส้นที่ 2 จังหวัดระยอง และโครงการระบบสูบน�้ำดิบจาก แหล่งน�ำ้ เอกชน จังหวัดชลบุรี โดยมีเพียงโครงการก่อสร้าง วางท่อส่งน�ำ้ อ่างเก็บน�ำ้ ประแสร์ - อ่างเก็บน�ำ้ หนองปลาไหล ทีต่ อ้ งวางท่อพาดผ่านเขตพืน้ ทีช่ มุ ชน ดังนัน้ อีสท์ วอเตอร์ จึงได้ดำ� เนินการเพือ่ ป้องกันและลดผลกระทบต่อผูส้ ญั จรและ ชุมชนข้างเคียงที่อยู่ติดกับพื้นที่ก่อสร้างดังกล่าว ดังนี้ ก่อนด�ำเนินงาน ผู้ควบคุมงานของอีสท์ วอเตอร์ ผูร้ บั เหมาก่อสร้าง ร่วมกับผูน้ ำ� ท้องถิน่ ร่วมประชาสัมพันธ์ โครงการเพือ่ ชีแ้ จงขัน้ ตอนการด�ำเนินงานต่างๆ ให้ผเู้ กีย่ วข้อง รับทราบถึงผลกระทบทีจ่ ะเกิดขึน้ และแนวทางการป้องกัน
การบริหารจัดการผลกระทบ จากกระบวนการวางท่อของ อีสท์ วอเตอร์ อีกกระบวนการที่ส�ำคัญของการบริหารจัดการน�้ำ ของ อีสท์ วอเตอร์ คือ กระบวนการก่อสร้างวางท่อและ สถานีสูบน�้ำ โดยปกติท่อส่งน�้ำจะวางอยู่ในแนวเขตทาง ของถนนที่อยู่ในความดูแลของหน่วยงานราชการต่างๆ
รายงานความยั่งยืน 2559
บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)
อย่างไรก็ตามการด�ำเนินงานทีผ่ า่ นมา อีสท์ วอเตอร์ ได้ให้ความร่วมมือในการสูบน�ำ้ จากแม่น�้ำบางปะกงตาม ทีจ่ งั หวัดฉะเชิงเทราแจ้งอย่างเคร่งครัด โดยทีก่ ำ� หนดให้ อีสท์ วอเตอร์ หยุดสูบน�้ำเมื่อน�้ำเค็มรุกตัวถึงบริเวณ หน้าที่ว่าการอ�ำเภอบ้านโพธิ์ จังหวัดฉะเชิงเทรา ซึ่งจะ ไม่สง่ ผลกระทบต่อการใช้น�้ำของผูใ้ ช้นำ�้ ภาคส่วนอืน่ ๆ ใน ลุม่ น�ำ้ บางปะกง โดยมีแนวทางทีป่ ฏิบตั ริ ว่ มกันมาหลายปี คือ อีสท์ วอเตอร์ จะเริ่มสูบน�ำ้ จากแม่น�้ำบางปะกงเมื่อ น�้ำในแม่น�้ำบางปะกงบริเวณจุดเฝ้าระวังค่าความเค็ม
ระหว่ า งด� ำ เนิ น งานก่ อ สร้ า ง หากเกิ ด ปั ญ หา หรื อ ข้ อ ร้ อ งเรี ย นที่ เ กิ ด จากการด� ำ เนิ น งานก่ อ สร้ า ง อีสท์ วอเตอร์ จะด�ำเนินการแก้ไข ทัง้ นี้ อีสท์ วอเตอร์ ได้ จัดให้มศี นู ย์รบั ข้อร้องเรียนตามช่องทางต่างๆ ทัง้ ระบบ ออนไลน์และออฟไลน์ เพื่อให้ผู้ที่ได้รับความเดือดร้อน จากการก่อสร้างของอีสท์ วอเตอร์ สามารถร้องเรียนผ่าน
ไปยังผู้เกี่ยวข้องได้อย่างรวดเร็ว โดยในด้านการสื่อสาร ระหว่างผูค้ วบคุมงานและผูร้ บั เหมาก่อสร้าง ได้สร้างกลุม่ สือ่ สารระหว่างกันเป็นการภายใน โดยอาจจะมีผแู้ ทนของ หน่วยงานหรือชุมชนทีเ่ กีย่ วข้องเข้าร่วมเป็นเครือข่ายด้วย เพือ่ ให้ได้ทราบปัญหาต่างๆ ได้รวดเร็วขึน้ โดยมีกระบวนการ รับเรื่องร้องเรียนดังแผนภาพด้านล่างนี้
รายงานความยั่งยืน 2559
บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)
กระบวนการรับเรื่องร้องเรียน
42
กระบวนการแจ้งข้อร้องเรียนเพื่อด�ำเนินการแก้ไข กระบวนการตอบข้อร้องเรียนไปยังผู้ร้องเรียน
โดยในปี 2559 มีชุมชนที่ ได้รับผลกระทบจาก โครงการก่อสร้างของ อีสท์ วอเตอร์ และร้องเรียนผ่าน ศูนย์รบั ข้อร้องเรียนรวมจ�ำนวน 4 ราย แบ่งเป็นผลกระทบ ในด้านต่างๆ ดังนี้ 1. ความปลอดภัยในขณะด�ำเนินการก่อสร้าง 2. ความไม่สะดวกในการสัญจร ซึ่งเมื่อ อีสท์ วอเตอร์ ได้รับทราบปัญหาดังกล่าว ผู้ควบคุมงานและผู้เกี่ยวข้องได้เข้าตรวจสอบและเร่ง แก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นอย่างเร่งด่วน อย่างไรก็ตามเพื่อ ป้องกันการเกิดผลกระทบจากโครงการก่อสร้างในอนาคต อีสท์ วอเตอร์ ได้วางแนวทางการด�ำเนินงานดังนี้ 1. การปรับปรุงขอบเขตการจ้างงาน (TOR) โครงการก่อสร้าง ของอีสท์ วอเตอร์ โดยมีการระบุระยะเวลาในการซ่อมแซม และคืนสภาพถนนให้ชัดเจน และก�ำหนดมาตรฐาน การคืนสภาพถนน/พื้นที่ตามแนวการวางท่อ โดยต้อง ผ่านการรับรองผลงานจากผู้แทนเจ้าของพื้นที่
2. การจัดท�ำมาตรฐาน (Standard Checklist) ในการ บริหารโครงการเพิ่มเติมให้ครอบคลุมถึงการป้องกัน มลภาวะและลดผลกระทบจากการก่อสร้างอย่างเป็น รูปธรรม 3. การตรวจรับงานคืนสภาพพื้นที่ตามแนวการวางท่อ ให้มีผู้แทนของหน่วยงานเจ้าของพื้นที่ที่อนุญาตการ ก่อสร้างร่วมการตรวจสอบและรับรองผลงาน ตามเกณฑ์ มาตรฐานของหน่วยงานนั้น 4. การจัดประชุมร่วมกับผู้รับเหมา และหน่วยงานที่ เกี่ยวข้อง เพื่อรับทราบรายละเอียดโครงการก่อนเริ่ม ด�ำเนินงาน รวมถึงจัดประชุมร่วมกันในระหว่างการ ด�ำเนินงานเพื่อทราบปัญหา สาเหตุ และหาแนวทาง แก้ปัญหาร่วมกัน ตลอดจนติดตามการด�ำเนินงาน อย่างใกล้ชิด
การใช้พลังงานของ อีสท์ วอเตอร์
การบริหารจัดการพลังงาน และการลดการปล่อยก๊าชเรือนกระจก
1. สถานีสูบน�้ำที่ขึ้นทะเบียนเป็นโรงงานควบคุมทั้งสิ้น 5 โรงงาน ได้แก่ สถานีสูบน�้ำหนองปลาไหล สถานี สูบน�ำ้ ดอกกราย สถานีสบู น�ำ้ เพิม่ แรงดัน สถานีสบู น�ำ้ บางปะกง และสถานีสูบน�้ำฉะเชิงเทรา
2. อาคารควบคุม 1 อาคาร คือ อาคารส�ำนักงานใหญ่ โดยได้มีการน�ำผลที่ได้จากการประเมินศักยภาพ การอนุรกั ษ์พลังงานของปีกอ่ น มาก�ำหนดเป็นเป้าหมาย ทีจ่ ะลดระดับการใช้พลังงานในปีถดั ไป ทัง้ ในระดับองค์กร ในระดับการผลิตหรือบริการ และในระดับอุปกรณ์ โดย พิจารณาจากระดับการสูญเสียพลังงานที่เกิดขึ้นและ โอกาสที่จะด�ำเนินการปรับปรุง ทั้งนี้ อีสท์ วอเตอร์ ได้จัดตั้งคณะท�ำงานด้านการ 43 จัดการพลังงาน ก�ำหนดนโยบายอนุรักษ์พลังงานเพื่อใช้ เป็นแนวทางการด�ำเนินงานด้านอนุรักษ์พลังงาน และ เพื่อส่งเสริมการใช้พลังงานให้เกิดประสิทธิภาพและเกิด ประโยชน์สูงสุด โดยในปี 2559 มีโครงการปรับปรุง ประสิทธิภาพการใช้พลังงานดังต่อไปนี้ 1. โครงการลดระดับน�้ำจากถังสูง เพื่อให้ระดับน�ำ้ สมดุล กับสระส�ำรอง โดยได้ดำ� เนินการติดตัง้ สถานีสบู น�ำ้ ย่อย เพิม่ แรงดันให้กบั สถานีผใู้ ช้นำ�้ ของเทศบาลนิคมพัฒนา เรือนจ�ำกลางระยอง และเทคนิคบ้านค่าย เพื่อลด ผลกระทบในเรื่องแรงดันจากการด�ำเนินงานดังกล่าว 2. โครงการลดการใช้พลังงานไฟฟ้าจากการสูบผันน�้ำ จากอ่างเก็บน�ำ้ ประแสร์ ไปยังพืน้ ทีช่ ลบุรี โดยการผันน�ำ้ เข้า Booster Pump เพือ่ เพิม่ แรงดันน�ำ้ ทีร่ บั มาจากท่อ ส่งน�้ำประแสร์ - หนองปลาไหล เพื่อส่งน�้ำตรงไปยัง พื้นที่ชลบุรี รายงานความยั่งยืน 2559
จากปัจจัยสภาพสิง่ แวดล้อม ความแปรปรวนของ สภาพภูมิอากาศ ฤดูกาลที่ผันผวน ล้วนเป็นสัญญาณที่ บ่งบอกถึงปัญหา “ภาวะโลกร้อน” ที่ก�ำลังส่งผลกระทบ อย่างมากต่อโลก ซึง่ ปฏิเสธไม่ได้วา่ ปัญหาดังกล่าวส่วนหนึง่ เป็นผลมาจาก กิจกรรมทัง้ หลายของมนุษย์ทที่ ำ� ให้ปริมาณ ก๊าซเรือนกระจก (Greenhouse Gases) ในชัน้ บรรยากาศ เพิ่มมากขึ้น ส่งผลให้อุณหภูมิพื้นผิวโลกสูงขึ้น ส�ำหรับ อีสท์ วอเตอร์ ถึงแม้ไม่มีการใช้ก๊าซในการด�ำเนินธุรกิจ จึงไม่สง่ ผลกระทบโดยตรงต่อการปล่อยก๊าซเรือนกระจก ้ แต่การด�ำเนินงานหลักคือการสูบน�ำ้ ผ่านโครงข่ายท่อส่งน�ำ ทีม่ สี ถานีสบู น�ำ้ ทัง้ หมด 16 สถานี ซึง่ ต้องใช้พลังงานไฟฟ้า ในการสูบส่งน�้ำ ดังนั้น อีสท์ วอเตอร์ จึงมีความพยายามในการ ด�ำเนินโครงการอนุรกั ษ์พลังงานอย่างต่อเนือ่ งทัง้ ในส่วน ของการปรับปรุงระบบสูบจ่ายน�ำ้ ซึง่ เป็นกระบวนการหลัก ของอีสท์ วอเตอร์ และการสนับสนุนให้เกิดประสิทธิภาพ ในการจัดการสูงสุด ตลอดจนการอนุรักษ์พลังงานตาม กฎหมาย โดยครอบคลุมพื้นที่ปฏิบัติงาน ดังนี้
บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)
(EN16)
รายงานความยั่งยืน 2559
บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)
3. โครงการติดตั้งเครื่องสูบน�้ำเคลื่อนที่ (Mobile Diesel Engine) เพือ่ เพิม่ ศักยภาพในการสูบส่งน�ำ้ จากแหล่งน�ำ้ ต่าง ๆ ที่ไฟฟ้าเข้าไม่ถึง และช่วยประหยัดพลังงาน ได้จากการใช้พลังงานเฉพาะในช่วงทีม่ คี วามต้องการ สูบน�้ำเท่านั้น ให้เพียงพอต่อความต้องการใช้น�้ำที่ เพิ่มสูงขึ้นในพื้นที่ฉะเชิงเทราและชลบุรี ที่มีโครงการ รับซือ้ จากบ่อดินเอกชน ช่วยให้ประหยัดพลังงานในการ Standby ระบบได้ 36,000 kWh 4. โครงการอนุรักษ์พลังงานในสถานีสูบน�้ำที่เป็นสถานี ควบคุม โดยได้ด�ำเนินมาตรการเปลี่ยนเครื่องปรับ อากาศ และหลอดไฟภายในสถานีสบู น�ำ ้ ช่วยประหยัด พลังงานได้ 80,248 kWh 5. โครงการศึกษาการใช้แรงดันน�ำ้ เพือ่ ผลิตกระแสไฟฟ้า จ่ายกระแสไฟฟ้าชดเชยในระบบ (Mini-Hydro Power)
44
โดยในปี 2560 มีแผนการด�ำเนินเนินโครงการดังต่อไปนี้ • โครงการลดระดับน�ำ้ จากถังสูง เพื่อให้ระดับสมดุลกับ สระส�ำรอง โครงการนีจ้ ะสามารถลดการใช้พลังงานของ พื้นที่ระยองลง โดยคิดเป็นร้อยละ 8 ของค่าไฟฟ้า แต่ละเดือนของพื้นที่ระยอง • โครงการติดตัง้ ระบบผลิตกระแสไฟฟ้าพลังงานน�ำ้ เพือ่ จ่ายกระแสไฟฟ้าชดเชยในระบบ (Micro-Hydro Power) • Energy & Water Management System - งานปรับปรุง SCADA Graphic & DATA เพือ่ ติดตามการใช้พลังงาน ในการสูบส่งน�้ำได้อย่างมีประสิทธิภาพ
กราฟเปรียบเทียบการปล่อยก๊าซเรือนกระจก ปี 2558 และ ปี 2559
kWh
kWh
kWh
kWh
หมาเหตุ: ข้อมูลการใช้พลังงานในอาคารส�ำนักงานใหญ่ในปี 2558 มีการเปลี่ยนแปลงจากเดิม เนื่องจากปีที่ผ่านมาไม่ได้มีการค�ำนวณค่าไฟฟ้าในพื้นที่ ส�ำนักงานอาคารส�ำนักงานใหญ่ และ ห้องบ�ำบัดน�ำ้ เสีย
Carbon Emission ( tCO2)
หมาเหตุ: การค�ำนวณปริมาณการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซต์ ในปี 2558 ซึ่งเป็นปีฐาน มีการเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม เนื่องจากในปี 2559 มีการ Update Emission Factor ของไฟฟ้า = 0.5520 KgCO2e/kwh
ประสิทธิภาพการใช้พลังงานของ อีสท์ วอเตอร์ การใช้พลังงานไฟฟ้าของ อีสท์ วอเตอร์ โดยการ คิดค�ำนวณแบบ operational control ในปี 2559 เทียบได้ กับการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซต์ คิดเป็น 83,373 ตัน โดยตัวเลขดังกล่าวคิดจากการใช้ไฟฟ้าของสถานีสูบน�้ำ หลักของอีสท์ วอเตอร์ จ�ำนวน 16 สถานี และอาคาร ส�ำนักงานใหญ่ ปริมาณการใช้พลังงานดังกล่าวนับว่าสูงขึน้ เมื่อเปรียบเทียบกับปี 2558 ซึ่งเป็นปีฐานที่ใช้ในการคิด ค�ำนวณ ทัง้ นี้ในปี 2559 ค่าไฟฟ้าของสถานีสบู น�ำ้ ประแสร์ อีสท์ วอเตอร์ จะหารครึง่ กับ การประปาส่วนภูมภิ าค (กปภ.) ตามที่ระบุไว้ใน MOU ต่างจากปี 2558 ที่ อีสท์ วอเตอร์
ต้องจ่ายค่าไฟฟ้าเต็มจ�ำนวน ส�ำหรับค่าไฟฟ้าของอาคาร ส�ำนักงานใหญ่ จะคิดการใช้พลังงานไฟฟ้าเฉพาะพื้นที่ ท�ำการของ อีสท์ วอเตอร์ และพื้นที่ส่วนกลางเท่านั้น ทั้งนี้ ส�ำหรับการใช้พลังงานไฟฟ้าของมิเตอร์ย่อย เพือ่ การบ�ำรุงรักษาท่อ และสถานีมาตรวัดน�ำ้ ลูกค้าต่างๆ จ�ำนวน 50 สถานี ยังไม่สามารถเก็บข้อมูลได้ในปี 2559 เนื่องจากข้อมูลจากการไฟฟ้าส่วนภูมิภาคแจ้งมายัง อีสท์ วอเตอร์ ไม่ชัดเจน อย่างไรก็ดี อีสท์ วอเตอร์ จะด�ำเนินการเก็บข้อมูลให้สมบูรณ์และรายงานในปีถดั ไป
บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)
การค�ำนวนการปล่อยก๊าซเรือนกระจก
รายงานความยั่งยืน 2559
อ้างอิง Emission factor จาก ส�ำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน กระทรวงพลังงาน : EPPO http://www.eppo.go.th/index.php/en/en-energystatistics/ co2-statistic?orders[publishUp]=publishUp&issearch=1
45
ถึงแม้ว่าโครงการอนุรักษ์พลังงานจะเป็นนโยบาย หนึง่ ที่ อีสท์ วอเตอร์ ให้ความส�ำคัญและมีการด�ำเนินงานอย่าง ต่อเนือ่ ง แต่การใช้พลังงานไฟฟ้าหลักของ อีสท์ วอเตอร์ มีส่วนสัมพันธ์โดยตรงกับปริมาณการสูบน�้ำ ซึ่งบ่งชี้ถึง ผลประกอบการของอีสท์ วอเตอร์ รวมถึงการเติบโตทาง เศรษฐกิจของประเทศ ดังนัน้ การเติบโตดังกล่าวจึงส่งผล โดยตรงต่อการใช้พลังงานและการปล่อยก๊าซเรือนกระจก ที่เพิ่มขึ้นตามไปด้วย นอกจากนี้ ปัจจุบัน อีสท์ วอเตอร์
ได้ดำ� เนินโครงการเพือ่ ลดการใช้พลังงานในระบบสูบส่งน�ำ้ ได้เต็มประสิทธิภาพแล้ว รวมถึงได้ศกึ ษาการน�ำเทคโนโลยี และนวัตกรรมใหม่ๆ มาใช้ อย่างไรก็ตามในปัจจุบนั ยังไม่มี เทคโนโลยีหรือนวัตกรรมใดใดที่เหมาะสมและคุ้มค่ากับ การลงทุนกับการด�ำเนินธุรกิจของ อีสท์ วอเตอร์ ดังนั้น ในปี ต ่ อ ไปประเด็ น นี้ อาจไม่ ไ ด้ รั บ การพิ จ ารณาเป็ น ประเด็นส�ำคัญเพื่อความยั่งยืนขององค์กรก็เป็นได้
รายงานความยั่งยืน 2559
บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)
48
การเติบโต ของธุรกิจอย่างยั่งยืน (EC2)
มาตรการรองรับความแปรปรวน ของสภาพภูมิอากาศ และโอกาสทางธุรกิจ จากปัญหาสภาวะโลกร้อนและภัยแล้งที่ก�ำลังขยายวงกว้างอย่าง รวดเร็ ว เริ่ ม ส่ ง ผลให้ ห ลายพื้ น ที่ ใ นประเทศไทยต้ อ งประสบปั ญ หา ขาดแคลนน�้ำกิน น�้ำใช้ และหากยังไม่มีการวางแผนการบริหารจัดการ น�้ำอย่างเพียงพอ มีความกังวลว่าภาวะการขาดแคลนน�ำ ้ เพื่อใช้อุปโภค บริโภคในครัวเรือน และในภาคอุตสาหกรรม จะทวีความรุนแรงเพิ่มขึ้น จนอาจเกิดสงครามแย่งน�ำ้ ได้ในอนาคต อีสท์ วอเตอร์ มองเห็นถึงปัญหาดังกล่าวมาโดยตลอด เนือ่ งจากส่ง ผลกระทบโดยตรงต่อการบริหารจัดการน�ำ ้ รวมถึงต้นทุนค่าใช้จา่ ยด�ำเนิน การที่เพิ่มสูงขึ้น ดังจะเห็นได้ว่าต้นทุนค่าน�ำ้ ต่อหน่วยในปี 2559 สูงขึ้น กว่าปี 2558 เป็นเงิน 0.40 บาท คิดเป็น 10 % อันเนื่องจากการด�ำเนิน งานตามมาตรการป้องกันการขาดแคลนน�ำ ้ ซึ่งต้องคอยติดตามและเฝ้า ระวังสถานการณ์นำ�้ ฝนในแต่ละปีอย่างใกล้ชดิ เพือ่ น�ำมาปรับแผนการสูบ ผันน�้ำจากแหล่งน�้ำต่างๆ รวมถึงการพัฒนาแหล่งน�้ำต้นทุนให้เพียงพอ กับความต้องการที่เพิ่มสูงขึ้นเรื่อยๆ
ด้วยศักยภาพและโอกาสทางธุรกิจ อีสท์ วอเตอร์ จึง ได้กำ� หนดทิศทางการเติบโตของธุรกิจในระยะยาวเพือ่ ให้ เกิดความยัง่ ยืน ด้วยการต่อยอดธุรกิจน�ำ้ ดิบ และน�ำ้ ประปา ภายใต้แนวคิดในการส่งเสริมให้ผปู้ ระกอบการอุตสาหกรรม ต่างๆ สามารถเข้าถึงการจัดการน�ำ้ ครบวงจร ซึง่ ประกอบด้วย • การผลิตน�้ำอุตสาหกรรมที่มีคุณภาพเหมาะสม ซึ่งจะ ช่วยให้ผู้ประกอบการมีการน�ำน�้ำไปใช้อย่างพียงพอ ไม่สิ้นเปลืองทรัพยากรน�ำ้ ดิบ • การบ�ำบัดน�้ำทิ้งอุตสาหกรรม ให้มีคุณภาพเหมาะสม ตามเกณฑ์น�้ำทิ้งที่กฏหมายก�ำหนด และสามารถน�ำ กลับมาใช้ในกระบวนการผลิตได้อย่างเหมาะสม ซึ่ง จะช่วยลดค่าใช้จา่ ยการซือ้ น�ำ้ สะอาดให้แก่ผปู้ ระกอบการ อุตสาหกรรม และช่วยให้เกิดการใช้ทรัพยากรน�ำ้ อย่าง รู้คุณค่าและลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมอีกด้วย ซึ่งในปี 2559 อีสท์ วอเตอร์ ได้จัดเตรียมข้อเสนอ ให้บริการน�้ำครบวงจรแก่ผู้ประกอบการอุตสาหกรรม หลายราย โดยสามารถสรุปจ�ำนวนข้อเสนอ ปริมาณน�้ำ อุตสาหกรรม และการบ�ำบัดน�้ำทิ้งเพื่อน�ำกลับมาใช้ซ�้ำ ได้ดังนี้
บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)
ทิศทางการเติบโตอย่างยัง่ ยืนของ อีสท์ วอเตอร์
รายงานความยั่งยืน 2559
อย่างไรก็ตาม การด�ำเนินงานข้างต้นถือเป็นเพียง แผนระยะสั้ น และระยะกลางในการรั บ มื อ กั บ ความ แปรปรวนของสภาพภูมิอากาศเพื่อให้เกิดการบริหาร จัดการน�ำ้ อย่างเพียงพอ โดยในระยะยาว อีสท์ วอเตอร์ มองเห็นโอกาสในการเติบโตทางธุรกิจด้วยปัจจัยหลัก หลายประการ ได้แก่ แนวโน้มการขับเคลือ่ นด้วยกระแส ธุรกิจสีเขียวเป็นมิตรกับสิง่ แวดล้อม สถิตกิ ารปล่อยน�ำ้ เสีย ที่เพิ่มสูงขึ้นทุกปี และที่สำ� คัญที่สุดคือ แผนการกระตุ้น เศรษฐกิจของรัฐบาลด้วยการผลักดันโครงการพัฒนา ระเบี ย บเศรษฐกิ จ ภาคตะวั น ออก หรื อ Eastern Economics Corridor Development (EEC) เพื่อหนุน การลงทุนในภาคตะวันออกครอบคลุมพื้นที่ จ.ชลบุรี ระยอง และฉะเชิ ง เทรา ให้ ข ยายตั ว และเป็ น พื้ น ที่ ยุทธศาสตร์อตุ สาหกรรมของประเทศในระยะยาว รวมถึง ปัจจัยทีเ่ ป็นพืน้ ฐานส�ำคัญทีท่ ำ� ให้เกิดการได้เปรียบในการ แข่งขัน คือ การวางโครงข่ายท่อส่งน�ำ้ ดิบของอีสท์ วอเตอร์ ความยาว 491.8 กิโลเมตร ที่ครอบคลุมพื้นที่ดังกล่าว ไว้แล้ว
49
การสร้างคุณค่าของบุคลากร
รายงานความยั่งยืน 2559
บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)
(LA9, LA10)
50
เพราะ อีสท์ วอเตอร์ เห็นถึงคุณค่าของพนักงาน ซึง่ เป็นหนึง่ ในผูม้ สี ว่ นได้เสียทีส่ ำ� คัญ เป็นผูร้ ว่ มขับเคลือ่ น ให้องค์กรบรรลุเป้าหมายและพันธกิจ ดังนั้นการบริหาร ทรัพยากรบุคคลและการพัฒนาบุคคล จึงเป็นหนึง่ ในภารกิจ ทีอ่ สี ท์ วอเตอร์ให้ความส�ำคัญและมีการฝึกฝนอบรมและ พัฒนาต่อยอดในรูปแบบต่างๆ อย่างต่อเนือ่ งตลอดปี 2559 ที่ผ่านมา
การพัฒนาศักยภาพของพนักงาน อีสท์ วอเตอร์ ยังคงจัดท�ำแผนฝึกอบรมและพัฒนา บุคลากรประจ�ำปีในหลักสูตรต่างๆ เพือ่ ให้รองรับสมรรถนะ หลักขององค์กรและตามระดับพนักงาน ผ่านกระบวนการ จัดท�ำแผนพัฒนาบุคลากร (Flow chart Blueprint) เพือ่ เป็น แนวทางในการวิเคราะห์ที่มาของข้อมูลเพื่อจัดท�ำแผน ฝึกอบรมและพัฒนาบุคลากรประจ�ำปีของอีสท์ วอเตอร์ โดย พนักงานจะได้รับการอบรมในหลักสูตรที่สอดคล้องกับ เป้าหมายในการพัฒนารายบุคคล (IDP) ทั้งในรูปแบบ ทั้งทักษะด้านพฤติกรรม ( Soft Skill) และทักษะด้านการ ปฏิบัติงาน (Technical Skill) จากการมุง่ มัน่ และเห็นความส�ำคัญในการพัฒนาพนักงาน ในปี 2559 จึงได้กำ� หนดให้การพัฒนาพนักงานเป็นปัจจัย ชี้วัดในระดับหน่วยงานและระดับบุคคล (Department KPI และ Individual KPI) เพื่อให้มีการพัฒนาพนักงาน ตามแผนพัฒนารายบุคคล (IDP: Individual Development Plan) ครบทุกระดับ ซึ่งมีผลการด�ำเนินงานด้านการ พัฒนาตามแผนพัฒนารายบุคคลครบถ้วนตามแผน
ด้านการพิจารณาหลักสูตร สถาบัน และวิทยากร อีสท์ วอเตอร์ จะพิจารณาจากสถาบัน และ/หรือวิทยากร ทีม่ ี ชื่อเสียง มี ทักษะ ความรู้และความสามารถ ดังนี้
• หลักสูตรส�ำหรับพนักงานระดับบริหาร เน้นการพัฒนา
ด้านการบริหารกิจการ การก�ำกับดูแล หลักสูตร Anti Corruption และการสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่าง ภาครัฐและเอกชน อาทิ หลักสูตรของสถาบันพระปกเกล้า สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) ศูนย์ส่งเสริมการพัฒนาความรู้ตลาดทุน (TSI) และ สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย เป็นต้น • หลักสูตรส�ำหรับพนักงานระดับบังคับบัญชา เน้นการ พัฒนาทักษะการบริหารจัดการในด้านต่างๆ ได้แก่ The Manager, HR for Non-HR, Productivity Excellence รวมถึง หลักสูตรด้านการเงิน และทักษะตามต�ำแหน่ง เป็นต้น • หลักสูตรส�ำหรับพนักงานระดับปฏิบัติการ เน้นการ พัฒนาทักษะตามต�ำแหน่งงานทัง้ ทักษะด้านพฤติกรรม ได้แก่ Six Thinking Hat & Lateral Thinking และ ทักษะในการปฏิบตั งิ าน ได้แก่ การใช้งานและบ�ำรุงรักษา ประตูนำ�้ ประเภทต่างๆ การดูแลรักษาเครือ่ งมือวัดคุณภาพ น�้ำแบบ Online และ Hydraulic Model of Water Pipeline System เป็นต้น • หลักสูตร/โครงการอืน่ ๆ ทีส่ ำ� คัญ ได้แก่ การจัด Workshop Risk Management และ Rolling Corporate Plan ให้ กับพนักงานระดับบังคับบัญชาขึ้นไป เพื่อจัดท�ำแผน ปฏิบัติการและแผนกลยุทธ์ขององค์กรทั้งในระยะสั้น และระยะยาว รวมถึงจัดส่งพนักงานระดับบริหาร และ
บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)
นอกจากหลักสูตรที่เกี่ยวข้องกับหน้าที่หลักแล้ว อีสท์ วอเตอร์ ยังมีนโยบายส่งเสริมการพัฒนาทักษะ ภาษาอังกฤษให้กับพนักงานผ่านระบบออนไลน์ รวมถึง การศึกษาดูงานทัง้ ภายในและต่างประเทศ เกีย่ วกับระบบ ปฏิบัติการ (Operation) และการบริหารจัดการน�้ำ เพื่อ รองรับการขยายธุรกิจในอนาคต นอกจากนี้ยังได้จัด กิจกรรม EW Team Building ซึ่งถือเป็นส่วนหนึ่งของ กิจกรรมสร้างความผูกพันให้กบั พนักงาน โดยมีวตั ถุประสงค์ เพือ่ สร้างการท�ำงานเป็นทีม และพัฒนาการสือ่ สารภายใน ทีม (Charismatic Talk) ภายใต้นโยบายการสื่อสารเพื่อ สร้างความส�ำเร็จของทีมของกรรมการผูอ้ ำ� นวยการใหญ่ #Teameastwater
จากความส�ำคัญของการใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า และยัง่ ยืน อีสท์ วอเตอร์ จึงได้บรรจุหลักสูตรในด้านการ อนุรักษ์พลังงานและสภาพแวดล้อมการท�ำงานให้กับ พนักงานใหม่อย่างต่อเนื่องทุกปี เพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับ สภาพแวดล้อมและการอนุรักษ์พลังงาน ดังนี้ 1. ความปลอดภัยอาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการ ท�ำงานส�ำหรับลูกจ้างทัว่ ไปและลูกจ้างทีเ่ ข้าท�ำงานใหม่ 2. การอนุรกั ษ์พลังงาน (ส�ำนักงานกรุงเทพ/ส�ำนักงานระยอง) นอกจากนี้ ในปี 2559 ยังได้เพิ่มเติมความรู้ด้าน การรับมือกรณีแผ่นดินไหว นอกเหนือจากให้ความรูเ้ กีย่ วกับ สาเหตุและโอกาสเกิดอัคคีภัยให้กับพนักงาน และผู้เช่า อาคารเป็นประจ�ำทุกปีอกี ด้วย ทัง้ นี้ ส�ำหรับแผนการสืบทอด ต�ำแหน่งงาน (Succession Plan) นัน้ ฝ่ายทรัพยากรบุคคล ได้บรรจุไว้อยู่ในแผนแม่บทการบริหารทรัพยากรบุคคล ปี 2560-2561
รายงานความยั่งยืน 2559
พนักงานในระดับต่างๆ เข้าร่วมหลักสูตร Anti-Corruption The Practical Guide จัดโดยสมาคมส่งเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย (IOD) เป็นต้น
51
การแบ่งปันความรู้สู่สังคม ด้วยตระหนักในบทบาทและภาวะของตนเองใน สังคม จากความรู้ภายในองค์กร อีสท์ วอเตอร์ สามารถ แบ่งปัน ความรูค้ นื สูส่ งั คมได้ หลายรูปแบบ เพือ่ เป็นการ พัฒนาทีย่ งั่ ยืน การด�ำเนินการของอีสท์ วอเตอร์เน้นการ ให้ความรู้ในรูปแบบต่างๆ อย่างต่อเนื่อง ดังนี้
รายงานความยั่งยืน 2559
บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)
1. โครงการพัฒนานักบริหารการเปลีย่ นแปลงรุน่ ใหม่ (นปร.) สถาบันส่งเสริมการบริหารกิจการบ้านเมือง ทีด่ ี ส�ำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (ก.พ.ร.)
52
อีสท์ วอเตอร์ ได้รับคัดเลือกจากสถาบันส่งเสริม การบริหารกิจการบ้านเมืองทีด่ ี ส�ำนักงานคณะกรรมการ พัฒนาระบบราชการ (ก.พ.ร.) ให้เป็นส่วนหนึง่ ของโครงการ พัฒนานักบริหารการเปลี่ยนแปลงรุ่นใหม่ (นปร.) ตั้งแต่ ปี 2554 จนถึงปัจจุบนั ต่อเนือ่ งเป็นเวลา 6 ปีแล้ว มีขา้ ราชการ ทีเ่ ข้ามาฝึกงานกับอีสท์ วอเตอร์จำ� นวน 6 คน โดยผูบ้ ริหาร ระดับสูงขององค์กรคือกรรมการผู้อ�ำนวยการใหญ่ หรือ รองกรรมการผูอ้ ำ� นวยการใหญ่ ท�ำหน้าทีค่ รูผฝู้ กึ สอน ( Mentor) แก่ขา้ ราชการเหล่านัน้ ข้าราชการกลุม่ นีถ้ อื เป็นคนรุน่ ใหม่ ทีจ่ ะเข้าสูภ่ าคราชการถือเป็นการสร้างให้ขา้ ราชการเข้าใจ และเรียนรู้บทบาทของผู้น�ำในภาคเอกชน เพื่อน�ำไป ประยุกต์ใช้ บริษทั ผูฝ้ กึ สอน และข้าราชการในโครงการฯ จะร่วม จัดท�ำแผนการเรียนรู้งาน โดยก�ำหนดแนวทาง วิธีการ ระยะเวลา รายละเอียดการปฏิบัติราชการ และวิธีการ ประเมินผล โดยแผนการปฏิบัติงานนี้ ประกอบด้วย แผนการพัฒนาที่ครอบคลุมด้านความรู้ ความสามารถ ทักษะ และประสบการณ์ในด้านต่าง ๆ อาทิเช่น • ด้านการเป็นผูน้ ำ � (Leadership) และการเป็นผูบ้ ริหาร หน่วยงานภาคเอกชนจากการติดตามผู้บริหารไป ปฏิบัติภารกิจต่าง ๆ
• ด้านการบริหารจัดการองค์กร (Organizational Management) • ด้านการจัดท�ำหรือด�ำเนินงานยุทธศาสตร์โครงการ
และแผนงานต่าง ๆ เป็นต้น นอกจากกรรมการผูอ้ ำ� นวยการใหญ่ เป็นผูร้ บั ผิดชอบ การเรียนรูข้ า้ งต้นแล้ว ยังมอบหมายให้ผบู้ ริหารทีเ่ กีย่ วข้อง ร่วมเป็นผูร้ บั ผิดชอบการเรียนรูด้ งั กล่าว เพือ่ ถ่ายทอดความรู้ ธุรกิจขององค์กรในภาพรวม รวมถึงให้ขา้ ราชการในโครงการฯ สรุปภาพรวมการเรียนรู้ พร้อมน�ำเสนอมุมมองทีม่ ตี อ่ องค์กร ต่อคณะครูผู้ฝึกสอนของอีสท์ วอเตอร์ เพื่อเป็นแนวทาง ในพัฒนาองค์กรให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น โครงการนีถ้ อื เป็นความภาคภูมใิ จของ อีสท์ วอเตอร์ ในการร่วมส่งเสริมและพัฒนานักบริหารการเปลีย่ นแปลง รุ่นใหม่ให้เป็นผู้น�ำการเปลี่ยนแปลงในหน่วยงานภาครัฐ และเป็นก�ำลังที่ส�ำคัญในการพัฒนาประเทศต่อไป 2. การรับนักศึกษาฝึกงาน
อีสท์ วอเตอร์ เล็งเห็นถึงความส�ำคัญของการส่งเสริม การศึกษา โดยการเป็นสถานทีเ่ ปิดรับนักศึกษาให้มโี อกาส ได้เรียนรูว้ ธิ กี ารปฏิบตั งิ านจริง สามารถน�ำความรูท้ ไี่ ด้จาก การศึกษามาประยุกต์ใช้ในการท�ำงาน เรียนรูก้ ารปรับตัว ให้เข้ากับสภาพแวดล้อมในการท�ำงานและเพือ่ นร่วมงาน การรับนักศึกษาฝึกงานมีวตั ถุประสงค์ ถือเป็นการแบ่งปัน ทางสังคม และให้นักศึกษามีโอกาสในการเสริมสร้าง ประสบการณ์ในวิชาชีพแก่นกั ศึกษาจากสถาบันต่างๆ ซึง่ ถือเป็นส่วนหนึง่ ของการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ได้ และ พัฒนาศักยภาพให้นสิ ติ นักศึกษาทีเ่ ข้าร่วมโครงการได้มี โอกาสน�ำความรู้จากสาขาวิชาที่ศึกษามาประยุกต์ ใช้ รวมทัง้ นักศึกษาจะได้รบั ประสบการณ์การท�ำงานจริง และ เป็นการเตรียมความพร้อมส�ำหรับการท�ำงานในอนาคต
ข้อมูลการรับนักศึกษาฝึกงานของ อีสท์ วอเตอร์ ปี 2557-2559 6 4 2557 2558
3 2559
ระดับปริญญาตรี
2557
2 2558
2 2559
ระดับอนุปริญญา
2557
2558
รวม (คน)
2559
นักศึกษาฝึกงานจะได้รับการฝึกปฏิบัติงานโดยมี พี่เลี้ยงคอยดูแล และจัดให้มีการประกันอุบัติเหตุและ การประกันชีวติ พร้อมทัง้ สนับสนุนเบีย้ เลีย้ งในการฝึกงาน ตามที่กฎหมายก�ำหนดให้ด้วย (ประกาศกระทรวงแรงงานเรือ่ งหลักเกณฑ์เกีย่ วกับการคุม้ ครองผูร้ บั การ ฝึกเตรียมเข้าท�ำงาน หมวด 2 ข้อ 10, 11 บริษัทฯ ต้องจ่ายเบี้ยเลี้ยง ไม่นอ้ ยกว่าร้อยละห้าสิบของอัตราค่าจ้างขัน้ ต�ำ่ สูงสุดที่ใช้อยู่ในขณะนัน้ และก�ำหนดการจ่ายเบี้ยเลี้ยงให้ผู้รับการฝึกงานไม่น้อยกว่าเดือนละ หนึ่งครั้ง)
ประเทศอีกด้วย ทัง้ นีพ้ นักงานทีผ่ า่ นหลักเกณฑ์การอบรม จะได้รับประกาศนียบัตรจากกรรมการผู้อ�ำนวยการใหญ่ ซึง่ หลักสูตรนีถ้ อื เป็นส่วนหนึง่ ของการพัฒนาบุคลากรให้ เติบโตตามเส้นทางความก้าวหน้า (Career Path) ภายใน กลุ่มบริษัทฯ
3. การมอบทุนการศึกษา
ทีมงานของอีสท์ วอเตอร์ โดย เลขานุการบริษทั ฯ และฝ่ายทรัพยากรบุคคล ได้ให้ความรู้แก่ CG Agent ของการไฟฟ้านครหลวง ในหัวข้อ “การด�ำเนินการด้าน การก�ำกับดูแลกิจการที่ดีและการจัดกิจกรรมเพื่อเสริม สร้างการปฏิบัติตามหลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี” เมื่อ เดือนพฤษภาคม 2559
การจัดเก็บ การเผยแพร่ และการถ่ายทอดองค์ความรู้ ในปี 2559 อีสท์ วอเตอร์ ได้จัดหลักสูตรอบรม ภายในองค์กร ทั้งในด้าน Technical Skill และ Soft Skill โดยผู้บริหารระดับสูง ตั้งแต่กรรมการผู้อ�ำนวยการใหญ่ กรรมการผูจ้ ดั การบริษทั ในเครือ ผูบ้ ริหาร และพนักงาน ระดับผูบ้ งั คับบัญชา จนถึงพนักงานระดับปฏิบตั กิ าร เป็น วิทยากรถ่ายทอดความรู ้ (Internal Trainer) และแลกเปลีย่ น ความรู้ ประสบการณ์ ในหลักสูตร ดังนี้ 1. หลักสูตร In-House Executive Sharing
เพือ่ ถ่ายทอดองค์ความรูโ้ ดยพนักงานระดับบริหาร ให้กับพนักงานผู้ที่มีผลการปฏิบัติงานดี ที่ผ่านการคัด เลือกจากหน่วยงานภายในกลุม่ บริษทั ฯ โดยผูบ้ ริหารทุก คนในกลุม่ บริษทั ฯ เป็นวิทยากรถ่ายทอดความรูแ้ ละแลก เปลีย่ นประสบการณ์จริงโดยยกกรณีศกึ ษาภายในองค์กร ทัง้ ด้านกลยุทธ์ ด้านวิศวกรรม ด้านการลงทุนและการเงิน และด้านการบริหารจัดการ รวมถึงการศึกษาดูงานภายใน
เพื่อให้ความรู้และเพิ่มความสามารถด้านการเงิน ให้แก่พนักงาน โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้พนักงานน�ำ ความรู้ที่ได้รับไปประยุกต์ ใช้ในการวิเคราะห์ โครงการ รวมถึงวิเคราะห์งบการเงินของอีสท์ วอเตอร์ได้อย่างถูกต้อง 3. หลักสูตรการใช้งานโปรแกรมซ่อมบ�ำรุง
เพื่อเป็นการทบทวนวิธีการใช้งานโปรแกรมซ่อม บ�ำรุงเครื่องจักรอุปกรณ์ รวมถึงระบบการควบคุมการ ปฏิบัติงาน (Document Control) ภายในองค์กร ให้กับ พนักงานในฝ่ายปฏิบัติการฯ 4. หลักสูตรการใช้งานระบบการจัดเอกสาร (Document Management System)
เพือ่ ให้พนักงานมีความรู้ ความเข้าใจในการใช้งาน งานระบบจัดเก็บเอกสาร และสามารถจัดเก็บเอกสารได้ อย่างมีประสิทธิภาพ อีกทัง้ ง่ายต่อการติดตาม ตรวจสอบ สืบค้น และเป็นคลังความรู้ 5. หลักสูตรการใช้งาน Internal Web
เพื่อให้ความรู้แก่พนักงานใหม่ ในการเข้าใช้ระบบ Internal Website ของอีสท์ วอเตอร์ รวมถึงเป็นเวที สือ่ สารท�ำความเข้าใจกับพนักงานที่ได้รบั สิทธิเ์ ป็นผูด้ แู ล ระบบ ให้สามารถใช้งานได้อย่างถูกต้อง ส�ำหรับข้อมูลในการอบรมต่างๆ จะจัดเก็บไว้ใน ระบบ Internal Web ของอีสท์ วอเตอร์ เพื่อให้พนักงาน ที่สนใจเข้าไปศึกษาเรียนรู้ได้ด้วยตัวเอง
บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)
4. การบรรยายให้ความรูด้ า้ นการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ี
2. หลักสูตรการอบรมการเงินขัน้ พืน้ ฐาน (Finance for Non-Finance)
รายงานความยั่งยืน 2559
การจัดท�ำข้อตกลงกับสถาบันการอาชีวศึกษาภาค ตะวันออกซึ่งอยู่ในพื้นที่ปฏิบัติการของ อีสท์ วอเตอร์ เพือ่ สนับสนุนนักศึกษาระดับอาชีวศึกษาทีเ่ รียนดี โดยใน ปี 2559 อีสท์ วอเตอร์ ได้สนับสนุนทุนการศึกษาแก่ นักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชัน้ สูง (ปวส.) แบบ ต่อเนื่องจนจบหลักสูตร จ�ำนวน 5 ทุน ๆ ละ 30,000 บาทรวมเป็นเงินทั้งสิ้น 150,000 บาท
53
การส่งมอบคุณค่าที่ยั่งยืน
รายงานความยั่งยืน 2559
บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)
(PR5)
การรักษาความพึงพอใจ และความผูกพันของกลุ่มลูกค้า เพื่อสนองตอบต่อค่านิยมองค์กร ที่มุ่งเน้นใส่ใจต่อการให้บริการและเอาใจใส่ลูกค้า และเพื่อรักษาความพึงพอใจ ให้อยู่ในเกณฑ์ที่ก�ำหนด อีสท์ วอเตอร์ จึงก�ำหนดแนวทางปรับปรุงการให้บริการลูกค้าอย่างต่อเนื่อง ผ่านการรับฟัง ข้อร้องเรียนและข้อเสนอแนะ จากเสียงของลูกค้า (Voice of Customer) ช่องทางการร้องเรียน
54
มีการส�ำรวจความพึงพอใจจากหน่วยงาน ภายในองค์กร 2 ครั้ง/ปี และหน่วยงานภายนอก 2 ครั้ง/ปี ซึ่งข้อมูลที่ได้จะ ถูกรวบรวม แล้วน�ำมาวิเคราะห์ พิจารณา เพื่อจัดท�ำแผนปรับปรุงการให้ บริการที่สามารถตอบสนองความต้องการลูกค้า ในแต่ละกลุ่มได้อย่างต่อเนื่อง
รวดเร็วของข้อมูลเป็นส�ำคัญ เนือ่ งจากเดิมการแจ้งเตือน สถานการณ์นำ�้ และคุณภาพน�ำ้ บางครัง้ กระชัน้ ชิดเกินไป • การเผยแพร่ข้อมูลสถานการณ์น�้ำและความคืบหน้า ของโครงการก่อสร้างต่างๆ ผ่านทาง E-mail และ Application Line เป็นประจ�ำทุกสัปดาห์
รายงานความยั่งยืน 2559
หมายเหตุ : อีสท์ วอเตอร์ ได้ปรับระบบงานส�ำรวจความพึงพอใจ จากส�ำรวจต่อเนื่องเป็นประจ�ำทุกปี เปลี่ยนเป็น ปีเว้นปี เริ่มตั้งแต่ปี 2555 โดยในปี 2559 ได้ว่าจ้าง บริษัท แบรนด์ เมทริกซ์ รีเสริ์ช จ�ำกัด เป็นผู้ส�ำรวจ
บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)
การปรั บ ปรุ ง กระบวนการเพื่ อ ตอบสนองความ ต้องการของลูกค้า ในปี 2559 • การก�ำหนดให้ห้องควบคุม (Control Center) เป็น ศูนย์กลางในการรับเรื่องและแจ้งข้อมูลที่เกี่ยวกับ คุณภาพและการสูบจ่าย โดยมุง่ เน้น ความถูกต้องและ
55
หมายเหตุ : ค่าเฉลี่ย 4.21 - 5.00 หมายถึงพอใจมากที่สุด
รายงานความยั่งยืน 2559
บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)
ส�ำหรับผลการส�ำรวจความพึงพอใจของลูกค้าในปี 2559 จากกลุม่ ตัวอย่างลูกค้าของ อีสท์ วอเตอร์ทงั้ หมด จ�ำนวน 57 ราย ประกอบด้วย ลูกค้าทางตรงจ�ำนวน 42 ราย และลูกค้าทางอ้อมจ�ำนวน 15 ราย มีผตู้ อบแบบสอบถาม ครบทุกราย คิดเป็น 100 % มีความพึงพอใจต่อการให้ บริการของ อีสท์ วอเตอร์ อยู่ในระดับ “พึงพอใจมากทีส่ ดุ ” โดยมีค่าเฉลี่ย 4.34 สูงขึ้นกว่าผลการส�ำรวจเมื่อปี 2557
56
อย่างไรก็ดี อีสท์ วอเตอร์ และผูเ้ กีย่ วข้อง ตระหนัก เป็นอย่างยิง่ ในการรักษาระดับความพึงพอใจ พร้อมมุง่ เน้น การปรับปรุงการให้บริการทีด่ ขี นึ้ อย่างต่อเนือ่ ง จึงก�ำหนด มาตรการดังต่อไปนี้ • ด้านการจัดการสถานการณ์ภยั แล้ง โดยให้ผรู้ บั ผิดชอบ ก�ำหนดแนวทางการจัดหาแหล่งน�้ำส�ำรอง ร่วมกับ มาตรการ การเตรียมความพร้อมของระบบสูบจ่ายให้ได้ ประสิทธิภาพสูงสุด พร้อมให้มกี ารรายงานสถานการณ์และ ความก้าวหน้าโครงการต่างๆ แก่ผบู้ ริหารอีสท์ วอเตอร์ ทราบและพิจารณาเป็นระยะอย่างต่อเนื่อง • ด้านการจัดการคุณภาพแหล่งน�ำ้ บ่อดินเอกชน อีสท์ วอเตอร์ ก�ำหนดมาตรการให้ผู้เกี่ยวข้องด�ำเนินการปรับปรุง คุณภาพให้เป็นไปตามเกณฑ์ทกี่ �ำหนดโดยเร็ว หากไม่ สามารถด�ำเนินการได้ จะยกเลิกการรับน�้ำจากแหล่ง ดังกล่าวต่อไป ส�ำหรับแหล่งน�ำ้ หลักอืน่ ๆ นัน้ อีสท์ วอเตอร์ ได้มกี าร ติดตามพารามิเตอร์ดา้ นคุณภาพน�ำ้ ในอ่างเก็บน�ำ้ หลักต่างๆ พบว่า ปัจจุบนั มีการเปลีย่ นแปลงของค่าคุณภาพน�ำ้ ไปจาก ในอดีตอย่างมีนยั ส�ำคัญ ซึง่ อีสท์ วอเตอร์ ได้ตระหนักถึง ความส�ำคัญของการเปลีย่ นแปลงนี้ ซึง่ ทีผ่ า่ นมา อีสท์ วอเตอร์ ได้สนับสนุนกิจกรรมการตรวจวัดคุณภาพน�ำ้ ใน โครงการ
เครือข่ายอีสท์ วอเตอร์รกั ษ์นำ �้ การปลูกป่าร่วมกับมูลนิธิ อนุรกั ษ์ปา่ รอยต่อ 5 จังหวัด ซึง่ เป็นป่าต้นน�ำ้ ของแหล่งน�ำ้ ส�ำคัญๆ ในภาคตะวันออกอย่างต่อเนือ่ ง โดยในปี 2559 อีสท์ วอเตอร์ ได้เพิ่มพื้นที่สีเขียวและรักษาสมดุลของ ระบบนิเวศกว่า 303.5 ไร่ อย่างไรก็ตาม ในปี 2560 อีสท์ วเตอร์ ก�ำหนดให้มี แผนการศึกษาวิเคราะห์ดา้ นคุณภาพของอ่างเก็บน�ำ้ หลัก อย่างจริงจัง เพือ่ หาสาเหตุของการเปลีย่ นแปลงดังกล่าว ตลอดจนหาแนวทางหรือมาตรการในการด�ำเนินการแก้ ปัญหาต่อไป ท�ำให้ผใู้ ช้นำ�้ ในอ่างเก็บน�ำ้ ต่างๆ สามารถสูบใช้ น�้ำได้ตามแผนและคุณภาพน�้ำในอ่างเก็บน�้ำอยู่เกณฑ์ มาตรฐาน ตลอดจนสิง่ มีชวี ติ สัตว์นำ �้ และพืชพรรณต่างๆ สามารถด�ำรงอยู่ได้ต่อไป
ข้อร้องเรียนและการแก้ปัญหา จากสถิตกิ ารร้องเรียนปี 2557-2559 พบว่าร้อยละ 80 เป็นการร้องเรียนในเรือ่ งคุณภาพน�ำ้ ดิบ ทัง้ นี้ในส่วนการจัดการต่อข้อร้องเรียน อีสท์ วอเตอร์ จะท�ำการระบุประเภทของข้อร้องเรียนและการขอรับบริการ เพือ่ ก�ำหนดทีมผูร้ บั ผิดชอบ วิเคราะห์หาสาเหตุ วางแนวทาง การแก้ไขและป้องกัน ให้อยูภ่ ายใต้กรอบระยะเวลาทีก่ ำ� หนด ซึง่ เป็นไปตามระบบการควบคุมภายในด้านการแก้ไขและ ป้องกันข้อร้องเรียน พร้อมก�ำหนดให้ตอ้ งท�ำการประเมิน ความพึงใจในการแก้ไขข้อร้องเรียนจากลูกค้าทุกครัง้ เมือ่ การด�ำเนินการแล้วเสร็จ และจัดท�ำรายงานน�ำเสนอผูบ้ ริหาร ทราบเป็นประจ�ำทุกเดือน เพื่อการพิจารณาปรับปรุง กระบวนการแก้ไขข้อร้องเรียนให้มปี ระสิทธิภาพอย่างต่อเนือ่ ง
การจัดการต่อข้อร้องเรียน...
01 ระบุประเภทข้อร้องเรียน 02 ก�ำหนดผู้รับผิดชอบ 03 วิเคราะห์หาสาเหตุ 04 วางแนวทางแก้ไขและป้องกัน 05 ก�ำหนดระยะเวลา
ด�ำเนินการ แก้ ไข
ประเมินความ พึงพอใจ ในการแก้ ไข
น�ำเสนอ ผู้บริหาร
โดยข้อร้องเรียนในปี 2557 - 2559 มีดังนี้ การแก้ ไขข้อร้องเรียน
27 ก.พ. 57
กนอ. มาบตาพุด
ลูกค้าในนิคมฯ แจ้งว่าเกิด ฟองใน clarifier พยุ ง sludge RW ท� ำ ให้ เ กิ ด sludge ลอยขึ้นบนผิวน�้ำ
1. ท�ำการระบายตะกอนในระบบท่อ 2. เปลี่ยนระดับบานประตูน�้ำ อ่างดอกกราย 3. วิเคราะห์คณุ ภาพน�ำ้ เพิม่ เติมทีร่ ะดับชัน้ น�ำ้ ต่างๆ (คุณภาพน�ำ้ เริม่ ปกติในวันที่ 28 ก.พ. 57)
27 ก.พ. 57
RIL 1996
ลูกค้าในนิคมฯ แจ้งว่าน�้ำ ในถังตกตะกอนมีตะกอน ลอยเหมือนที่เคยเกิดขึ้น เมื่อต้นปี 2555
1. ท�ำการระบายตะกอนในระบบท่อ 2. เปลี่ยนระดับบานประตูน�้ำ อ่างดอกกราย 3. วิเคราะห์คณุ ภาพน�ำ้ เพิม่ เติมทีร่ ะดับชัน้ น�ำ้ ต่างๆ (คุณภาพน�ำ้ เริม่ ปกติในวันที่ 28 ก.พ. 57)
8 มิ.ย.57
เทศบาล มาบข่า
ผลกระทบต่อปริมาณน�้ำที่ ส่งจ่ายจากงานซ่อม Gate Valve ทีอ่ า่ งหนองปลาไหล
ด�ำเนินการให้เทศบาลฯ มารับน�ำ้ ไปบรรเทาปัญหาทีท่ อ่ ธารดอกกราย เฝ้าระวัง ในการปฏิบตั งิ าน เมือ่ เริม่ ด�ำเนินการซ่อมอีกครัง้ ติดตามพบว่าไม่ส่งผลกระทบ ต่อการรับน�้ำของเทศบาล
6 ส.ค. 57
บมจ.TFD
น�้ำดิบมีสีขุ่นเหลือง
ด�ำเนินการระบายน�้ำที่ขุ่นเหลืองออกจากท่อสูบส่ง จนคุณภาพน�้ำปกติ
7 พ.ย. 58
นิคม ผลกระทบจากซ่อมแซมท่อ อุตสาหกรรม ส่งน�้ำดิบแตกฉุกเฉินส่งผล วินโคสท์ ต่อการรับน�ำ้ เพื่อผลิต และ ส่งจ่ายในนิคม
เข้าชีแ้ จงผลการด�ำเนินการแก้ไข รวมทัง้ มาตรการป้องกันการเกิดซ�ำ้ ในอนาคต โดยก�ำหนดมาตรการให้ 1. มีการแจ้งแผนการด�ำเนินการที่ชัดเจน พร้อมรายงานความคืบหน้าให้ทราบ เป็นระยะ โดยก�ำหนดให้หอ้ งควบคุม (Control Center) เป็นศูนย์กลางในการ ส่งผ่านข้อมูล (SMS/Call) 2. กรณีเหตุฉุกเฉิน ต้องจัดเตรียมแผนส�ำรอง พร้อมแจ้งให้ลูกค้าทราบทุกครั้ง
20 เม.ย.59
กปภ. ส�ำนักงาน ศรีราชา
ปริ ม าณและแรงดั น น�้ ำ ไม่เพียงพอช่วงวันที่ 20-21 เม.ย 59
1. สืบเนือ่ งจากปัจจัยสภาวการณ์ภยั แล้งส่งผลต่อปริมาณน�ำ้ ต้นทุนในพืน้ ทีม่ รี ะดับ ต�ำ่ กว่าค่าเฉลี่ยปกติ 2. ด�ำเนินการเจรจาหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้อง เพือ่ ขอปรับระบบน�ำ้ สูบเสริมจากสถานี สูบน�ำ้ หนองค้อเพิม่ ประมาณ 20,000 ลบ.ม./วัน เพือ่ เพิม่ ปริมาณน�ำ้ และแรงดัน ในพืน้ ที่ ส่งผลให้แรงดันและปริมาณส่งจ่ายแก่ กปภ. เป็นปกติ
12 พ.ค. 59
บมจ. TFD
น�้ ำ ดิ บ มี ส ภาพขุ ่ น และมี กลิ่นเหม็น
1. เนือ่ งจากสภาวการณ์ภยั แล้ง จึงต้องบริหารจัดการโดย สูบน�ำ้ ดิบบ่อดินเอกชน เข้าเสริมการจ่ายในพื้นที ่ 2. เข้าชีแ้ จงประเด็นปัญหาคุณภาพน�ำ้ ดิบทีม่ กี ลิน่ และความขุน่ แก่ลกู ค้า พร้อม ชี้แจงแผนการเปลี่ยนแปลงแหล่งสูบจ่ายน�้ำ และแนวทางการปรับปรุงจุด ระบายตะกอนภายใน (Blow Off) ร่วมกัน
นอกจากการลงพื้นที่เพื่อส�ำรวจความพึงพอใจและการรับฟังข้อร้องเรียนต่างๆแล้ว อีสท์ วอเตอร์ ยังมีการจัด กิจกรรมประชุมลูกค้า โดยเรียนเชิญมาร่วมรับฟังและ ให้ความคิดเห็นต่างๆ อันจะเป็นประโยชน์ในการพัฒนาการ ให้บริการเป็นประจ�ำทุกปี ข้อมูลการจัดประชุมลูกค้า ในปี 2559 กิจกรรมประชุมลูกค้าหลักๆ ประกอบด้วย กิจกรรม
กลุ่มเป้าหมาย
การแก้ ไขข้อร้องเรียน
ประชุมเปิดบ้าน • ลูกค้ารายใหม่ (new account) เพื่อเป็นการแนะน�ำอีสท์ วอเตอร์ ให้กับผู้ใช้น�้ำรายใหม่/อนาคต พร้อมเผยแพร่ความรู้ความ • กลุ่มที่คาดว่าจะเป็นลูกค้าใน เข้าใจด้านการบริหารและควบคุมการสูบจ่ายด้วยเทคโนโลยีที่ทันสมัย ทั้งนี้เพื่อสร้างความ East Water (Open House) อนาคต (new opportunities) เชื่อมั่นในการตัดสินใจเป็นผู้ใช้น�้ำในอนาคต • กลุ่มลูกค้า (ปัจจุบัน) ที่สนใจ ประชุมเชิง ปฎิบัติการ (Technical Seminar)
• ลูกค้าปัจจุบัน
เพือ่ รายงานสถานการณ์แหล่งน�ำ้ ในปีปจั จุบนั และแนวโน้มสถานการณ์ในอนาคต ความคืบหน้า โครงการก่อสร้างเพือ่ ป้องกันภัยแล้งและเสริมศักยภาพระบบสูบจ่ายต่างๆ รวมทัง้ ความพร้อมการ ให้บริการ เพื่อให้ความรู้ สร้างความเข้าใจด้านแหล่งน�้ำและกระบวนการสูบจ่าย เพื่อเสริม สร้างความเชื่อมั่นให้แก่ผู้ใช้น�้ำ
ศึกษาดูงาน เชิงวิชาการ (Education/ Academic)
• ลูกค้าปัจจุบัน
เน้นส่งเสริม ความรูด้ า้ นการบริหารจัดการน�ำ้ ส่วนทีเ่ กีย่ วข้องกับธุรกิจ ผ่านการศึกษาดูงาน/เยีย่ ม ชมนิทรรศการทีเ่ กีย่ วข้องกับการจัดการด้านน�ำ ้ เช่น การเยีย่ มชม งานชลประทานโลก (2nd World Irrigation Forum) หรือ Singapore Water Week เพื่อเสริมสร้างความเข้าใจแก่กลุ่ม ผู้ใช้นำ �้ ร่วมทั้งเพิ่มโอกาสในการพัฒนาธุรกิจร่วมกันในอนาคต
บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)
เรื่อง
ผู้ใช้นำ�้
รายงานความยั่งยืน 2559
วัน/เดือน/ปี
57
รายงานความยั่งยืน 2559
บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)
60
การด�ำเนินงาน ตามหลักธรรมาภิบาล (SO4, SO5)
อีสท์ วอเตอร์ ได้ร่วมลงนามแสดงเจตนารมณ์เป็นแนวร่วมปฏิบัติ ของภาคเอกชนไทยในการต่ อ ต้ า นการทุ จ ริ ต (Collective Action Coalition : CAC) ตั้งแต่วันที่ 1 กันยายน 2554 ซึ่งเป็นโครงการที่รัฐบาล และส�ำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (ป.ป.ช.) ร่วมกับ 8 องค์กร ได้แก่ หอการค้าไทย สมาคมส่งเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย (Thai Institute of Directors : IOD) หอการค้า นานาชาติ สมาคมบริษัทจดทะเบียนไทย สมาคมธนาคารไทย สภาธุรกิจ ตลาดทุนไทย สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย และสภาอุตสาหกรรม การท่องเทีย่ วแห่งประเทศไทย ผลักดันให้มมี าตรการต่อต้านการทุจริตใน ภาคเอกชน
บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)
1. การเข้าร่วมสัมมนา ที่เกี่ยวกับการต่อต้านการทุจริต คอร์รัปชั่นต่างๆ อาทิ • คุ ณ ธั ช ดา จิ ต มหาวงศ์ กรรมการบริ ษั ท ฯ และ คุณวิราวรรณ ธารานนท์ ผูอ้ ำ� นวยการส�ำนักกรรมการ ผู้อ�ำนวยการใหญ่และเลขานุการบริษัทฯ เข้าร่วม การสัมมนาเรือ่ ง “ทุจริตในองค์กร ภัยมืดทีป่ อ้ งกัน และควบคุมได้” เมือ่ วันที่ 24 สิงหาคม 2559 คิดเป็น 6.67% • ส่งผู้แทนฯ เข้าร่วมรับฟังการเสวนาในหัวข้อเรื่อง “Ethical Leadership : Combating Corruption Together” ในงาน Thailand’s 7th National Conference on Collective Action Against Corruption เมือ่ วันที่ 18 ตุลาคม 2559 จ�ำนวน 1 คน และเข้าร่วมหลักสูตร “Anti-Corruption : The Practical Guide” จัดโดยสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย (IOD) จ�ำนวน 6 คน คิดเป็น 3.57%
รายงานความยั่งยืน 2559
เมือ่ อีสท์ วอเตอร์ ได้รบั การรับรองเป็นสมาชิกแนว ร่วมปฏิบัติของภาคเอกชนไทยในการต่อต้านการทุจริต เมื่อวันที่ 3 เมษายน 2558 แล้ว จึงได้ก�ำหนดแนวทาง ในการประพฤติปฏิบัติที่เหมาะสมเกี่ยวกับเรื่องการทุจริต คอร์รัปชั่นภายในองค์กรของคณะกรรมการ ฝ่ายบริหาร และพนักงานอีสท์ วอเตอร์ ไว้ในนโยบายต่อต้านการ ทุ จ ริ ต คอร์ รั ป ชั่ น ภายในองค์ กร โดยก� ำ หนดให้ มี การ สอบทานการปฏิบตั ติ ามนโยบายอย่างสม�ำ่ เสมอ และได้มี การเผยแพร่ ไ ว้ บ นสื่ อ ออนไลน์ ข องอี ส ท์ วอเตอร์ ที่ http://eastw-th.listedcompany.com/anti_corruption.html และ Internal Web เพื่อให้บุคคลภายนอกและพนักงาน ภายในองค์กรสามารถเข้าถึงได้ นอกจากนี้ ยังให้ทกุ หน่วย งานร่วมกันประเมินความเสี่ยงด้านการเกิดทุจริตในทุก กระบวนการเพื่อประกอบการปรับปรุงระบบการควบคุม ภายในให้เหมาะสม และเป็นฐานข้อมูลในการประเมิน ความเสี่ยงในปีต่อไป การด�ำเนินงานเพื่อส่งเสริมการต่อต้านการทุจริต คอร์รัปชั่น ในปี 2559 ของอีสท์ วอเตอร์ ได้แก่
61 2. คณะกรรมการธรรมาภิบาลและสรรหา ได้ท�ำการ ทบทวนหลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี และจรรยาบรรณ พนักงานของกลุ่มบริษัทฯ (Code of Conduct) ซึ่งคณะ กรรมการบริษัทฯ มีมติเห็นชอบเมื่อวันที่ 9 สิงหาคม 2559 หลังจากนัน้ ฝ่ายบริหารจึงได้ด�ำเนินการเผยแพร่ หลักการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ี และจรรยาบรรณพนักงาน ของกลุ่มบริษัทฯ ฉบับปรับปรุงใหม่ ให้พนักงานกลุ่ม บริษัทฯ รับทราบทั้งในรูปแบบเอกสารคู่มือ และรูปแบบ ออนไลน์ รวมถึงได้ประกาศใช้อย่างเป็นทางการใน กิจกรรม CG Day เมื่อวันที่ 12 ตุลาคม 2559 โดยใน วันดังกล่าวได้เชิญวิทยากรจากสมาคมส่งเสริมสถาบัน กรรมการบริษทั ไทย (IOD) และส�ำนักงานคณะกรรมการ ป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (ป.ป.ช.) มาให้
ความรู้แก่ผู้บริหาร และพนักงานกลุ่มบริษัทฯ ในเรื่อง “พนักงานกับ CG” และ ”Anti-Corruption” โดยมี พนั ก งานอี ส ท์ วอเตอร์ เข้ า รั บ ฟั ง จ� ำ นวน 146 คน คิดเป็น 86.90% โดยมีรายละเอียดดังนี้
รายงานความยั่งยืน 2559
บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)
62
นอกจากนี้ ยังได้จดั นิทรรศการและกิจกรรมส่งเสริม ความรูค้ วามเข้าใจในเรือ่ งจรรยาบรรณพนักงานอย่างต่อ เนื่องเพื่อให้พนักงานทุกคนสามารถเรียนรู้และท�ำความ เข้าใจได้ง่าย โดยปลายปีได้จัดให้มีการทดสอบความรู้ ความเข้าใจในเรื่องจรรยาบรรณพนักงานแบบออนไลน์ ซึง่ สรุปผลคะแนนเฉลีย่ ผ่านเกณฑ์ทกี่ ำ� หนด (ร้อยละ 80)
3. การจัดกิจกรรมส่งเสริมจริยธรรมในวันส�ำคัญทาง ศาสนา ร่วมกับพนักงานและผู้เช่าอาคาร
4. การส่งเสริมด้าน CG แก่พันธมิตรทางธุรกิจ โดยให้ ความรู้ ในหัวข้อ “การด�ำเนินการด้านการก�ำกับดูแล กิจการที่ดีและการจัดกิจกรรมเพื่อเสริมสร้างการปฏิบัติ ตามหลักการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ”ี กับ CG Agent ของ การไฟฟ้านครหลวง เมื่อเดือนพฤษภาคม 2559 5. การประกาศเชิญชวนให้พันธมิตรทางธุรกิจเข้าร่วม ประกาศเจตนารมณ์ เ ป็ น แนวร่ ว มต่ อ ต้ า นการทุ จ ริ ต คอร์รัปชั่น โดยมีพันธมิตรที่เข้าร่วมโครงการดังกล่าว จ�ำนวน 5 แห่ง คิดเป็น 4.85 % 6. การก�ำหนดให้ประเด็นการเกิดทุจริตคอร์รัปชั่นและ การจัดกิจกรรมทีเ่ กีย่ วข้องเป็นส่วนหนึง่ ในเกณฑ์ประเมิน ผลการด�ำเนินงานของอีสท์ วอเตอร์ โดยสรุปมติคณะ กรรมการตรวจสอบประจ�ำปี 2559 มีประเด็นทีต่ รวจพบ จ�ำนวน 1 ประเด็น ในเรื่องการจัดซื้อจัดจ้าง ซึ่งผลการ สอบสวนข้อเท็จจริงสรุปว่าไม่ใช่การทุจริตคอร์รัปชั่น
การพัฒนาคุณภาพชีวิต ความปลอดภัย และอาชีวอนามัย
อีสท์ วอเตอร์ มีนโยบายการจ่ายค่าตอบแทนให้ พนักงานทุกระดับอย่างเหมาะสม ทัง้ ในระยะสัน้ ทีส่ อดคล้อง กับผลการด�ำเนินงานของอีสท์ วอเตอร์แต่ละปี โดยสอดคล้อง กับการจ่ายผลตอบแทนของบริษทั ในอุตสาหกรรมเดียวกัน ซึ่งได้มีการส�ำรวจการจ่ายค่าจ้างและผลตอบแทนของ พนักงานกับองค์กรภายนอก รวมทัง้ การน�ำดัชนีราคาผูบ้ ริโภค จากหน่วยงานภาครัฐ อาทิ จากกระทรวงพาณิชย์ และ ธนาคารแห่งประเทศไทย เป็นต้น เพื่อน�ำมาพิจารณา การจ่ายค่าจ้างและผลตอบแทน ในการจ่ายผลตอบแทนของพนักงาน อีสท์ วอเตอร์ มุง่ เน้น การจ่ายผลตอบแทนตามผลงาน (Pay for Performance) โดยน�ำดัชนีวดั ความส�ำเร็จของงาน (KPI : Key Performance Indicator) มาใช้ในการประเมินผลพนักงานทุกระดับ ทัง้ นี้ KPIs จะมีความสอดคล้องตัง้ แต่ระดับองค์กร ระดับหน่วยงาน และระดับบุคคล เพือ่ ให้เป้าหมายในการท�ำงานเป็นไปใน ทิศทางเดียวกันและสอดคล้องกับวิสัยทัศน์และพันธกิจ ขององค์กร ส�ำหรับในระยะยาว อีสท์ วอเตอร์ มีการวัดผลการ ปฏิบตั งิ านและศักยภาพของพนักงาน โดยจะจ่ายผลตอบแทน อย่างเหมาะสมให้กบั ผูท้ มี่ ศี กั ยภาพ ความรู้ ความสามารถสูง รวมทัง้ ให้ความส�ำคัญในการพัฒนาบุคลากรทีม่ ศี กั ยภาพ ในการเติบโตตามสายอาชีพ
(G4-11) อี ส ท์ วอเตอร์ ไม่ มี ก ารจั ด ตั้ ง สหภาพแรงงาน แต่จัดให้มีการเลือกตั้งคณะกรรมการ สวัสดิการประจ�ำสถานประกอบกิจการ ซึง่ มีวาระคราวละ 2 ปี ตาม พรบ. คุม้ ครองแรงงาน พ.ศ. 2541 โดย พนักงานประจ�ำทุกคนมีสิทธิในการสมัคร และเลือกตั้ง คณะกรรมการสวัสดิการฯ โดยมีคณะกรรมการด�ำเนิน การเลือกตั้งฯ ประกอบด้วยผู้แทนจากส�ำนักงานใหญ่ และศูนย์ปฏิบัติการระยอง ทั้งในระดับปฏิบัติการและ บริหารรวมจ�ำนวน 8 คน คิดเป็นร้อยละ 4.8 ของ พนักงานทั้งหมด มีหน้าที่ควบคุม ดูแล ร่วมหารือกับ บริษทั ฯ เพือ่ จัดหาสวัสดิการให้กบั พนักงาน ให้คำ� ปรึกษา หรือข้อเสนอแนะทีเ่ ป็นประโยชน์แก่บริษทั ฯ และพนักงาน ในการจัดสวัสดิการให้กบั พนักงานทัง้ องค์กรคิดเป็น 100%
ทัง้ นี้ นอกจากการจ่ายผลตอบแทนแล้ว อีสท์ วอเตอร์ ยังมีการดูแลสวัสดิการต่างๆ ของพนักงานอย่างสม�ำ่ เสมอ ผ่านการประชุมคณะกรรมการสวัสดิการในสถานประกอบ กิจการซึ่งเป็นผู้แทนจากพนักงานในการมีส่วนร่วมให้ ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะในการดูแลสวัสดิการของพนักงาน เพือ่ ให้สอดคล้องกับสภาพเศรษฐกิจและสังคมทีเ่ ปลีย่ นไป โดยในปี 2559 ได้จดั การประชุมคณะกรรมการสวัสดิการ เป็นประจ�ำทุกไตรมาส เพื่อปรึกษาหารือด้านการจัด สวัสดิการต่างๆ ทัง้ นี้ อีสท์ วอเตอร์ ได้พจิ ารณาข้อเสนอแนะ จากคณะกรรมการสวัสดิการและน�ำมาด�ำเนินการ ดังนี้
รายงานความยั่งยืน 2559
ด้านการบริหารผลตอบแทน โครงสร้างค่าจ้าง ค่าตอบแทน และสวัสดิการ ให้กับพนักงาน
บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)
(LA6)
63
• การเปลีย่ นข้อบังคับกองทุนส�ำรองเลีย้ งชีพให้พนักงาน
รายงานความยั่งยืน 2559
บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)
เลือกอัตราเงินสะสมได้สงู สุดถึงร้อยละ 15 ของค่าจ้าง ซึง่ เป็นการสนับสนุนให้พนักงานมีการออมเพือ่ อนาคต • เปิดโอกาสให้พนักงานเลือกสัดส่วนการลงทุนในกองทุน ส�ำรองเลี้ยงชีพด้วยตนเอง (DIY) ผ่านระบบออนไลน์ ตามแบบประเมินความเสีย่ งทีต่ นเองยอมรับได้ โดยมี การให้ความรู้แก่พนักงานในการวางแผนด้านการเงิน • เพิม่ นโยบายการลงทุนของกองทุนส�ำรองเลีย้ งชีพ เพือ่ เป็นทางเลือกของพนักงานเพิ่มขึ้น • จัดท�ำข้อตกลงกับสถาบันการเงินเพิม่ ขึน้ สองแห่ง เพือ่ ให้พนักงานมีทางเลือกในการบริหารสินเชือ่ ของตนเอง
64
ด้านโครงสร้างค่าจ้างเงินเดือนของ อีสท์ วอเตอร์ ซึง่ ใช้มาตั้งแต่ปี 2550 โดยในปี 2558 ได้เริ่มศึกษาปรับปรุง โครงสร้างค่าจ้างเงินเดือน โครงสร้างระดับต�ำแหน่งงาน ซึง่ ได้นำ� ข้อมูลจากการส�ำรวจค่าจ้างเงินเดือนกับหน่วยงาน ภายนอกมาใช้ประกอบจนแล้วเสร็จ และได้เริม่ ใช้จริงในปี 2559 ทั้งนี้ อีสท์ วอเตอร์ มีนโยบายการจ่ายค่าจ้างเงิน เดือน ดังนี้ • สามารถแข่งขันได้ โดยค�ำนึงถึงตลาดแรงงานและ ภาวะเศรษฐกิจของประเทศ • สอดคล้องกับการประเมินผลงานเพือ่ สร้างแรงจูงใจให้ พนักงานในการสร้างผลงานที่ดีอย่างต่อเนื่อง • ไม่สร้างภาระให้ อีสท์ วอเตอร์ มากเกินไป (Ability to pay) โดยค�ำนึงถึงอัตราการเติบโตของธุรกิจ สถานการณ์ เศรษฐกิจในปัจจุบัน และแนวโน้มในอนาคต
นอกจากนี้ เพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพในการปฏิบตั งิ าน อีกทัง้ ให้งานในกลุม่ บริษทั ฯ อยูภ่ ายใต้มาตรฐานเดียวกัน และ สอดคล้องกับการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ี คณะกรรมการบริษทั ฯ จึงอนุมัติในหลักการแนวทางการบริหารงานแบบรวม หน่วยงานสนับสนุนภายในกลุม่ อีสท์ วอเตอร์ หรือ Shared Service Center ซึ่ง อีสท์ วอเตอร์ ได้จ้างที่ปรึกษาเพื่อ ศึกษาโครงการการปรับโครงสร้างองค์กรของอีสท์ วอเตอร์ และบริษัทในเครือ คาดว่าจะด�ำเนินการได้ในปี 2560 โดยมีกรรมการผูอ้ ำ� นวยการใหญ่ เป็นผูส้ อื่ สารข้อมูลให้กบั พนักงานกลุม่ บริษทั อีสท์ วอเตอร์ ให้มคี วามเข้าใจอย่างต่อ เนือ่ งด้วยตนเอง ในด้านการส่งเสริมสิทธิมนุษยชน อีสท์ วอเตอร์ ได้ปฏิบตั ติ ามพระราชบัญญัตสิ ง่ เสริมและพัฒนาชีวติ ผูพ้ กิ าร 2550 โดยในปี 2559 มีการจ้างผูพ้ กิ ารเข้ามาปฏิบตั งิ าน ประจ�ำกับบริษทั ฯ (มาตรา 33) โดยให้โอกาสในการปฏิบตั งิ าน ตามความรูค้ วามสามารถ และมีการปฏิบตั อิ ย่างทัดเทียม ในด้านค่าจ้าง และสวัสดิการที่ไม่แตกต่างจากพนักงาน อื่นแต่อย่างใด ทั้งนี้ในปีต่อไป อีสท์ วอเตอร์ มีแผนที่จะ ส่งเสริมและพัฒนาชีวิตผู้พิการเพิ่มเติมโดยใช้แนวทาง ตามมาตรา 35 แห่งพระราชบัญญัตสิ ง่ เสริมและพัฒนาชีวติ ผูพ้ กิ าร 2550 อันเป็นการส่งเสริมให้ผพู้ กิ ารที่ไม่สามารถ เข้ามาปฏิบัติงานประจ�ำได้ สามารถประกอบอาชีพและ สร้างรายได้เพิ่มขึ้นอีกแนวทางหนึ่งด้วย
ตารางเปรียบเทียบการด�ำเนินงานตาม พรบ.ส่งเสริมและพัฒนาชีวิตผู้พิการ 2550 (ปี 2557-2559)
เรื่อง
การด�ำเนินการที่ส�ำคัญในปี 2559
การส�ำรวจความพึงพอใจ และความผูกพันของ พนักงานปี 2558
1. การปรับเปลีย่ น/เลือ่ นต�ำแหน่งควรมีหลักเกณฑ์ ที่ชัดเจน 2. ควรมีความชัดเจนเกี่ยวกับความก้าวหน้าใน อาชีพการท�ำงานภายในองค์กร
ประกาศแนวปฏิบัติด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล ซึ่งคณะกรรมการบริษัทฯได้อนุมัติแล้ว เริ่มใช้ในปี 2559 คือ 1) โครงสร้างค่าจ้างเงินเดือน (ลับ) 2) การบริหารต�ำแหน่งงาน (Career Management) 3) หลักเกณฑ์การเลื่อนระดับ หลักเกณฑ์การเลื่อนต�ำแหน่ง 4) การบริหารค่าตอบแทน ทัง้ นีม้ กี ารสือ่ สารให้ผบู้ ริหาร ผูจ้ ดั การและพนักงานทุกคนให้เข้าใจ รวมทัง้ มีการเปิดเผยรายละเอียด ยกเว้นเรื่องที่เป็นข้อมูลลับ
3. การจัดกิจกรรมสานสัมพันธ์ระหว่างพนักงาน ในองค์กรเพื่อส่งเสริมความสามัคคีและการ ท�ำงานเป็นทีม
จัดกิจกรรม EW Team Building 2016 จ�ำนวน 4 รุ่น มีพนักงานเข้าร่วมกิจกรรมร้อยละ 98 และผลการประเมินภาพรวมจากผู้เข้ารับร่วมกิจกรรมได้ร้อยละ 92
4. การปรับปรุงกระบวนการท�ำงานเพือ่ ลดขัน้ ตอน
การลดขัน้ ตอนการเบิกสวัสดิการในระบบ HRIS (Human Resources Information System)
5. ปัจจัยสามล�ำดับแรกที่มีผลต่อความผูกพัน ต่อองค์กร คือ คุณภาพชีวติ งานทีร่ บั ผิดชอบ และผู้บังคับบัญชา
จัดฝึกอบรมหลักสูตร HR for Non-HR Manager เพือ่ เน้นย�ำ้ บทบาทหน้าทีข่ องผูบ้ งั คับบัญชา ที่ท�ำงานเสมือน HR Manager ในการดูแลพนักงาน เป็นทั้งผู้สอนงาน การพัฒนาพนักงาน การสนับสนุนให้พนักงานเติบโต รวมทั้งการมอบหมายงานที่ชัดเจนและท้าทาย เป็นต้น
ความหลากหลาย ของพนักงาน
โครงการจัดเวลาการท�ำงานแบบยืดหยุ่น (Flexible Time)
1. ทดลองจัดเวลาการท�ำงานแบบยืดหยุ่นระยะเวลาสองเดือนตั้งแต่ 15 กันยายน - 15 พฤศจิกายน 2559 โดยเน้นย�ำ้ ให้พนักงานตระหนักว่า หากอยากให้บริษทั ใช้เวลาการท�ำงาน แบบยืดหยุน่ ต้องไม่ให้มผี ลกระทบในเรือ่ งงาน ให้ลกั ษณะ win-win ทัง้ บริษทั กับพนักงาน 2. เมื่อครบก�ำหนดการทดลองได้ส�ำรวจความคิดเห็นของพนักงาน พบว่า • พนักงานร้อยละ 73 เป็นว่าโครงการนีไ้ ม่สง่ ผลกระทบต่องานในหน้าทีร่ บั ผิดชอบของตนเอง • พนักงานร้อยละ 90 เห็นว่าโครงการนี้ไม่ก่อให้เกิดปัญหาต่อหัวหน้างาน เพื่อนร่วมงาน รวมถึงลูกค้าทั้งภายในและภายนอกองค์กร • พนักงานร้อยละ 78 เห็นว่าควรจัดเวลาท�ำงานแบบยืดหยุ่น (Flexible Time) ต่อไป 3. ฝ่ายบริหารจึงพิจารณาให้เริม่ ใช้เวลาการท�ำงานแบบยืดหยุน่ ตัง้ แต่ 1 มกราคม 2560 เป็นต้นไป เพื่อตอบสนองความหลากหลายของพนักงานโดยไม่มีผลกระทบในเรื่องการท�ำงาน
นโยบายของกรรมการ ผู้อ�ำนวยการใหญ่
การประเมินผลการปฏิบตั งิ าน โดยน�ำเอารูปแบบ Peer-to-Peer และ Cross Department มา ทดลอง ใช้เพื่อพัฒนาการท�ำงานเป็นทีม
เริม่ ทดลองใช้ในกลุม่ ผูจ้ ดั การและผูบ้ ริหาร ผลการประเมินน�ำมาใช้เพือ่ การพัฒนาพนักงาน
การบริหารทรัพยากรบุคคล
1. การแก้ไขข้อบังคับเกี่ยวกับการท�ำงานโดย สาระส�ำคัญคือ • ก�ำหนดให้การละเมิดจรรยาบรรณพนักงาน ถือเป็นความผิดวินัย • เพิม่ ความหลากหลายในการลาเพือ่ ศาสนกิจ โดยให้มกี ารลาเพือ่ ไปประกอบ พิธฮี จั ย์เพิม่ ขึน้ • ให้พนักงานลาหยุดพักผ่อนตามสิทธิได้ตาม กฎหมายคุม้ ครองแรงงาน หากไม่ได้ใช้สทิ ธิ การลาเนือ่ งจากติดภารกิจงาน มีการจ่ายเงิน ชดเชยวันหยุดพักผ่อนประจ�ำปีที่คงเหลือ และไม่สามารถโอนไปในปีถัดไปได้ เป็นต้น
ปรับปรุงข้อบังคับเกี่ยวกับการท�ำงาน น�ำส่งสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานพื้นที่ 2 ให้การ รับรองแล้ว
2. การใช้แบบทดสอบเพือ่ การคัดเลือกพนักงาน
มีการใช้แบบทดสอบในการสรรหาและคัดเลือกพนักงานใหม่ทุกระดับ ตั้งแต่ระดับพนักงาน จนถึงระดับกรรมการ ผู้อ�ำนวยการใหญ่ ( CEO) โดยมีการก�ำหนดเกณฑ์ที่ชัดเจน
3. การน�ำแนวทางการต่อต้านการทุจริต คอร์รัปชั่น (Anti-Corruption) มาใช้ใน กระบวนการสรรหาและคัดเลือก
มีขอ้ ความในเว็บไซด์อสี ท์ วอเตอร์ และใบสมัครงานว่า “อีสท์ วอเตอร์ ไม่มนี โยบายเรียกหรือ รับสินบนใดๆ ในการรับคนเข้าท�ำงานกับอีสท์ วอเตอร์ หากมีผู้เรียกรับ เงิน สิ่งของ และรับ ว่าจะช่วยให้เข้าท�ำงานที่ EAST WATER ได้ กรุณาแจ้งข้อมูลที่ CEO@eastwater.com”
พระราชบัญญัตสิ ง่ เสริมและ พัฒนาชีวิตผู้พิการ 2550
มีการรับผูพ้ กิ ารเข้ามาปฏิบตั งิ านประจ�ำ (มาตรา 33)
ปี 2559 เป็นปีแรกทีม่ กี ารจ้างผูพ้ กิ ารเข้ามาปฏิบตั งิ านประจ�ำ โดยมีการจ่ายค่าจ้างเงินเดือน สิทธิประโยชน์ ตามระเบียบ ไม่แตกต่างจากพนักงานอื่น
กล่องรับความคิดเห็น
การท�ำข้อตกลง ( MOU ) กับสถาบันการเงินเพิ่ม
เพือ่ ให้พนักงานมีทางเลือกในการบริหารสินเชือ่ ของตนเอง จึงได้จดั ท�ำ MOU เพิม่ ขึน้ สองแห่ง และได้สอื่ สารให้พนักงานรับทราบ รวมทัง้ จัดให้เจ้าหน้าทีข่ องสถาบันการเงินนัน้ ๆ มาอธิบาย ให้พนักงานเข้าใจขอบเขตของการอนุมัติสินเชื่อด้วย
กล่องรับความคิดเห็น
จ�ำนวน 3 เรื่อง
เป็นข้อร้องเรียน 1 เรื่อง และข้อแนะน�ำ 2 เรื่อง ซึ่งมีการพิจารณาด�ำเนินการเรียบร้อยแล้ว
การแก้ไขข้อบังคับ กองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพ
พรบ. กองทุ น ส� ำ รองเลี้ ย งชี พ ประกาศใน ราชกิจจานุเบกษา วันที่ 11 สิงหาคม 2558
แก้ไขข้อบังคับกองทุนส�ำรองเลีย้ งชีพ ให้พนักงานเลือกอัตราเงินสะสมได้สงู สุดถึงร้อยละ 15 (เดิมสูงสุดร้อยละ 10) รายละเอียด อัตราเงินสะสม (ร้อยละ) จ�ำนวนพนักงาน (ร้อยละ) 5 3.3 8 18.0 10 30.0 11 0.7 12 4.0 15 44.0
รายงานความยั่งยืน 2559
ที่มา
บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)
สรุปการด�ำเนินงานที่สำ� คัญ
65
รายงานความยั่งยืน 2559
บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)
สรุปข้อมูลพนักงานเลือกเวลาการท�ำงานแบบยืดหยุ่นช่วงทดลองใช้ 15 กันยายน - 15 พฤศจิกายน 2559
ด้านการจัดกิจกรรม เพื่อส่งเสริมความผูกพันพนักงาน อีสท์ วอเตอร์ มุ่งส่งเสริมให้พนักงานมีความรัก ความสามัคคี และความสุขในการท�ำงาน การรักษา สัมพันธภาพอันดีระหว่างพนักงาน เสริมสร้างสภาพแวดล้อม ทีส่ ง่ เสริมความผูกพันของพนักงาน ส่งเสริมให้พนักงาน ร่วมกิจกรรมเพือ่ สังคม ตลอดจนการจัดกิจกรรมส่งเสริม จริยธรรมและธรรมาภิบาล ในปี 2559 สรุปดังนี้
66
• การสือ่ สารภายในระดับนโยบาย ผ่านกิจกรรม “CEO พบ
พนักงาน” ในเดือนเมษายน 2559 เพือ่ สือ่ สารเป้าหมาย ทิศทางการด�ำเนินงาน รวมทัง้ สร้างความมัน่ ใจให้พนักงาน และร่วมกันผลักดันให้เกิดการท�ำงานเป็นทีมโดยกรรมการ ผู้อำ� นวยการใหญ่ ได้ให้ข้อคิดเพื่อเป็นแรงจูงใจในการ ท�ำงาน เช่น “Let’s make a successful story together เรามาสร้างเรือ่ งราวความส�ำเร็จของอีสท์ วอเตอร์รว่ มกัน” “Together We Can ร่วมมือกันแล้วเราจะท�ำได้” “ท�ำงาน ดีอย่างเดียวไม่ได้ ต้องเชือ่ ถือได้ ซือ่ สัตย์ในการท�ำงาน มีความพยายาม และท�ำงานเป็นทีม” “Lead by Example” เป็นต้น ในกิจกรรมดังกล่าวมีพนักงานเข้าร่วมทัง้ สิน้ 128 คน
• การส่งเสริมกิจกรรมเพื่อสังคม เช่น การบริจาคโลหิต
โดยได้รว่ มกับศูนย์อำ� นวยการแพทย์พระมงกุฎเกล้า จัดให้ มีการบริจาคโลหิตอย่างต่อเนือ่ งตลอดระยะ 10 ปี ตัง้ แต่ ปี 2550 เป็นต้นมา โดยในปี 2559 จัดให้มกี ารรับบริจาค โลหิตจ�ำนวน 4 ครัง้ ผูผ้ า่ นการตรวจร่างกายและบริจาคได้ 248 คน จ�ำนวนโลหิตที่ได้รับ 99,200 ซีซีซึ่งช่วยเหลือ ผูป้ ว่ ยได้ ประมาณ 283 คน (ผูป้ ว่ ยหนึง่ คนใช้โลหิตประมาณ 350 ซีซ)ี รวมถึงการร่วมกิจกรรมเชิงนิเวศน์ในโครงการ “รวมพลคนจิตอาสา ร่วมรักษ์ปา่ รักษ์นำ �้ ในโอกาสครบรอบ 24 ปี อีสท์ วอเตอร์” ซึง่ อีสท์ วอเตอร์ จัดร่วมกับ โครงการ ส่งน�ำ้ และบ�ำรุงรักษาประแสร์ กรมชลประทาน กระทรวง เกษตรและสหกรณ์เพือ่ คืนความอุดมสมบูรณ์สแู่ หล่งน�ำ้ และรักษาสมดุลให้กับระบบนิเวศน์ บริเวณอ่างเก็บน�ำ้ ประแสร์ จ.ระยอง เมื่อวันที่ 20 กันยายน 2559
• กิจกรรม “EW Team Building” จ�ำนวน 4 รุ่น ในรูป
แบบกิจกรรมเชิงอบรมเพือ่ พัฒนาทักษะสร้างความรูจ้ กั ความเข้าใจตนเองและเพื่อนร่วมงาน การสื่อสารที่มี ประสิทธิภาพทัง้ การเป็นผูฟ้ งั และผูพ้ ดู ทักษะการท�ำงาน ร่วมกัน เพือ่ มุง่ ไปสูก่ ารท�ำงานเป็นทีมทีม่ ปี ระสิทธิภาพ โดยมีพนักงานเข้าร่วมทั้งหมด 167 คน (ร้อยละ 98) สรุปผลการประเมินของพนักงานที่เข้าร่วมกิจกรรมมี ความพึงพอใจร้อยละ 92 ทั้งนี้รูปแบบและการจัดกลุ่ม พนักงานร่วมกิจกรรมได้ก�ำหนดให้สอดคล้องกับผล การส�ำรวจความพึงพอใจและความผูกพันพนักงานปี 2558
• กิจกรรมชมรม เพือ่ สนับสนุนให้พนักงานใช้เวลาว่างให้
เป็นประโยชน์และสร้างความสัมพันธ์ระหว่างพนักงาน จึงมีการจัดตัง้ ชมรมขึน้ ปัจจุบนั มีชมรมทัง้ สิน้ 7 ชมรม จ�ำนวนสมาชิกรวม 72 คน ได้แก่ (1) ชมรม EWG Badminton Club จัดกิจกรรมเชิญชวน พนักงานร่วมกิจกรรมตีแบดมินตันทุกวันอังคาร และ จัดแข่งขันกีฬาแบดมินตัน กระชับความสัมพันธ์ ระหว่างอีสท์ วอเตอร์กับผู้เช่าอาคารและบริษัทที่ เกี่ยวข้อง (2) ชมรม Healthy make Beauty (โยคะ) โดยจัดกิจกรรม ออกก�ำลังกายโยคะสัปดาห์ละ 1 ครั้ง (3) ชมรมกอล์ฟอีสท์วอเตอร์กรุ๊ป (4) ชมรมจิตอาสาวาไรตี้ (5) ชมรมนาบุญ
• การส�ำรวจความพึงพอใจในการท�ำงานและความผูกพัน
ต่อองค์กร โดยในปี 2559 ผลการส�ำรวจความพึงพอใจ ในการท�ำงานคิดเป็นร้อยละ 73.80 และผลการส�ำรวจ ความผูกพันต่อองค์กรคิดเป็นร้อยละ 75.20 ในภาพ รวมพบว่าพนักงานมีความพึงพอใจในการท�ำงานเพิม่ ขึน้ ร้อยละ (ร้อยละ 1.2) แต่มคี วามผูกพันต่ององค์กรลดลง เล็กน้อย (ร้อยละ 0.4)
กราฟแสดงความพึงพอใจในการท�ำงาน และความผูกพันต่อองค์กร
บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)
บรรจุข้าวเปลือกใส่ถุงข้าว “พอเพียง” ที่ส�ำนักนายก รัฐมนตรี เป็นระยะเวลา 4 วัน เพื่อมอบให้ประชาชนที่ เข้าถวายสักการะพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระปรมิน ทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช ณ พระทีน่ งั่ ดุสติ มหาปราสาท
(6) EWG Football &Sports Club (7) Sport Area Club
รายงานความยั่งยืน 2559
• กิจกรรมจิตอาสา อืน่ ๆ อาทิ การเข้าร่วมกิจกรรมจิตอาสา
67
ด้านการบริหารความปลอดภัย อาชีวอนามัยและความปลอดภัยในการท�ำงาน อีสท์ วอเตอร์ มีนโยบายและโครงสร้างการบริหาร ความปลอดภัยในทุกระดับอย่างชัดเจน โดยมีระบบการ จัดการ อาชีวอนามัยและความปลอดภัย ตลอดจนปฏิบตั ิ ตามแบบรายงานผลการด�ำเนินงานของเจ้าหน้าที่ความ ปลอดภัยในการท�ำงานระดับวิชาชีพ เรื่องการรวบรวม วิเคราะห์ ข ้ อมู ลสถิ ติ และจัดท�ำรายงานข้อเสนอแนะ เกี่ยวกับการประสบอันตราย การเจ็บป่วย หรือ การเกิด เหตุเดือดร้อนร�ำคาญ อันเนื่องจากการท�ำงานตามกฎ กระทรวงสวั ส ดิ การและคุ ้ ม ครองแรงงาน เรื่ อ งการ ก�ำหนดมาตรฐานในการบริหารและการจัดการด้านความ
ปลอดภัยอาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการท�ำงาน พ.ศ. 2549 มาใช้เป็นแนวปฏิบัติในการบริหารจัดการ รวมถึ ง การสร้ า งจิ ต ส� ำ นึ ก และวั ฒ นธรรมด้ า นความ ปลอดภัยให้เกิดขึน้ ในองค์กร โดยมุง่ หวังให้ทกุ หน่วยงาน มีระบบการจัดการและพัฒนาการด้านความปลอดภัย อย่างต่อเนื่อง สามารถใช้เป็นเครื่องมือในการตรวจ ประเมินประสิทธิผลการด�ำเนินงานด้านความปลอดภัย และส่งเสริมให้พนักงาน ผูร้ บั จ้าง และพันธมิตรทางธุรกิจ มีมาตรฐานความปลอดภัยในการท�ำงานที่สูงขึ้น
บทบาทหน้าที่และขอบเขตความรับผิดชอบครอบคลุม ดังนี้
รายงานความยั่งยืน 2559
บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)
คณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการท�ำงาน ของ อีสท์ วอเตอร์
68
การพัฒนางานด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการท�ำงาน ของ อีสท์ วอเตอร์ ปี 2559 สถิติอุบัติเหตุจากการท�ำงาน
• อัตราการเกิดอุบตั เิ หตุถงึ ขัน้ หยุดงานและอัตราการเกิดโรคจากการท�ำงานของพนักงาน อีสท์ วอเตอร์ เป็นศูนย์ (Zero Lost day) โดยมีเพียงการเกิดอุบัติเหตุบาดเจ็บเล็กน้อยจ�ำนวน 1 ครั้ง จากวัตถุหรือสิ่งของกระแทกนิ้วมือ ดังตารางสถิติอุบัติเหตุด้านล่างนี้
ตารางสรุปจ�ำนวนการเกิดอุบัติเหตุรวม - พนักงาน (Injury Frequency Rate:IFR)
เป็นศูนย์ โดยมีการเกิดอุบตั เิ หตุเล็กน้อยจ�ำนวน 1 ครัง้ จากวัตถุหรือสิง่ ของ ทิม่ /แทงเท้า ดังสถิตทิ แี่ สดงด้านล่างนี้ ตารางสรุปจ�ำนวนและความรุนแรงในการเกิดอุบัติเหตุ- ผู้รับเหมา
โครงการก่อสร้างสถานี สูบส่งน�้ำเพิ่มแรงดัน
IFR
ISR
ช ญ เล็กน้อย ปานกลาง รุนแรง ช ญ ช ญ ช ญ
อัตราการบาดเจ็บถึงขัน้ หยุดงานและเสียชีวติ
ช ญ เล็กน้อย ปานกลาง รุนแรง ช ญ ช ญ ช ญ
ความรุนแรงของการ บาดเจ็บ
อัตราการบาดเจ็บ จากการท�ำงาน
ความรุนแรงของการ บาดเจ็บ
อัตราการบาดเจ็บถึงขัน้ หยุดงานและเสียชีวติ จ�ำนวน ผูบ้ าดเจ็บ (คน)
รวมจ�ำนวน นผูบ้ าดเจ็บ (คน)
โครงการ
2559
อัตราการบาดเจ็บ จากการท�ำงาน
2558
โครงการ
IFR
ISR
-
- -
-
-
-
-
-
-
-
1 - 1 -
-
-
-
-
-
-
โครงการก่อสร้าง Regulating Well ท่อส่งน�ำ้ บางปะกง-บางพระ-ชลบุรี
- -
-
-
-
-
-
-
-
-
- -
-
-
-
-
-
-
-
โคงการก่อสร้างก่อสร้างท่อส่งน�ำ้ ดิบ อ่างเก็บน�ำ้ ประแสร์ - อ่างเก็บน�้ำ หนองปลาไหล
- -
-
-
-
-
-
-
-
-
- -
-
-
-
-
-
-
-
พัฒนาสระเก็บน�้ำดิบทับมา
-
- -
-
-
-
-
-
-
-
-
- -
-
-
-
-
-
-
-
โครงการก่อสร้างหนองปลาไหลหนองค้อ เส้นที่ 2
-
- -
-
-
-
-
-
-
-
-
- -
-
-
-
-
-
-
-
รายงานความยั่งยืน 2559
• อัตราการเกิดอุบัติเหตุกับพนักงานของผู้รับเหมาถึงขั้นหยุดงานเป็นศูนย์ และอัตราการเกิดโรคจากการท�ำงาน
บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)
ตารางสรุปจ�ำนวนการเกิดอุบัติเหตุถึงขั้นหยุดงานและเสียชีวิต-พนักงาน (Injury Severity Rate: ISR)
69
รายงานความยั่งยืน 2559
บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)
มาตรฐานการปฏิบตั งิ าน
70
ผลจากการด�ำเนินงานดังกล่าวข้างต้นเกิดจาก การก�ำหนดมาตรฐานการปฏิบัติงานที่ชัดเจนและ ปฏิบัติตามมาตรการอย่างเคร่งครัดควบคู่กับการจัด กิจกรรมการมีส่วนร่วมด้านความปลอดภัย โดยในปี 2559 อีสท์ วอเตอร์ ได้มีการก�ำหนดมาตรฐานการ ปฏิบัติงานดังต่อไปนี้ • จัดท�ำคู่มือระบบการบริหารจัดการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสิ่งแวดล้อม เพื่อใช้เป็นคู่มือใน การควบคุมและก�ำกับดูแลให้ระบบการจัดการด้าน ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสิ่งแวดล้อมมี ประสิ ท ธิ ภาพ บนพื้ น ฐานของการพั ฒ นาอย่ า ง ต่อเนื่อง ส่งผลให้เกิดการควบคุมผลกระทบต่อ สิ่งแวดล้อม และอันตรายที่อาจเกิดขึ้นต่อสุขภาพ ชีวิต ทรัพย์สิน และสภาพแวดล้อมในการท�ำงาน ภายใต้ขอบเขตของการด�ำเนินธุรกิจ ด้วยความ รับผิดชอบและมีจิตส�ำนึกที่ดีของพนักงานและผู้ที่ เกี่ยวข้อง ท�ำให้มั่นใจได้ว่าระบบการจัดการความ ปลอดภัย อาชีวอนามัย และสิ่งแวดล้อมที่มีขึ้นนั้น มีความสอดคล้องตามกฎหมายที่เกี่ยวข้อง • ปรับปรุงมาตรฐานการปฏิบตั งิ านในพืน้ ทีอ่ บั อากาศ เพือ่ ให้การปฏิบตั งิ านทีเ่ สีย่ งอันตรายในทีอ่ บั อากาศ มีความปลอดภัยต่อผูป้ ฏิบตั งิ านและเป็นการป้องกัน อันตรายให้กับพนักงานทุกคนที่เข้าไปยังพื้นที่อับ อากาศ • จัดท�ำคูม่ อื มาตรฐานการปฏิบตั งิ านการตรวจสุขภาพ พนักงานตามปัจจัยเสี่ยง เพื่อเป็นแนวทางในการ ปฏิบัติงานและใช้อ้างอิงในการจัดโปรแกรมตรวจ สุขภาพพนักงานตามปัจจัยเสี่ยงต่างๆ
• จัดท�ำคูม่ อื มาตรฐานการปฏิบตั งิ านการตรวจประเมิน
สิ่งแวดล้อมและสภาพแวดล้อมในการท�ำงาน เพื่อ เป็ น การก� ำ หนดมาตรฐานขั้ น ตอนการตรวจวั ด สิ่งแวดล้อม หรือเฝ้าติดตามการด�ำเนินงานที่อาจ ส่งผลกระทบต่อการจัดการสิ่งแวดล้อม ติดตาม มาตรการลดและควบคุมมลภาวะทางสิ่งแวดล้อม มาตรการลดความเสีย่ งของอันตรายต่างๆ ทีอ่ าจจะ เกิดขึน้ กับพนักงาน หรือทรัพย์สนิ ของ อีสท์ วอเตอร์ รวมถึง เพื่อให้แน่ใจว่า อีสท์ วอเตอร์ ปฎิบัติตาม กฎหมายและข้อก�ำหนดที่เกี่ยวข้องอย่างครบถ้วน
• จัดท�ำคู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานการจัดอบรม
ด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อม ในการท�ำงาน เพื่อให้พนักงาน อีสท์ วอเตอร์ ได้ เข้ารับการฝึกอบรมในหลักสูตรที่เหมาะสมและ สอดคล้องกับลักษณะงานที่ปฏิบัติ ช่วยให้เพิ่ม ประสิทธิภาพในการท�ำงานและป้องกันไม่ ให้เกิด อั น ตรายต่ า งๆ จากการปฎิ บั ติ ง านภายใต้ การ ควบคุมของ อีสท์ วอเตอร์
กิจกรรมด้านความปลอดภัย
อีสท์ วอเตอร์ มีการจัดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมการ ด�ำเนินงานด้านความปลอดภัยให้กบั พนักงานอย่างต่อเนือ่ ง โดยในปี 2559 ได้ด�ำเนินการดังนี้ • การสื่อสารด้านความปลอดภัย : ได้จัดท�ำวารสาร ด้านความปลอดภัย สุขภาพ และสิง่ แวดล้อม ในชือ่ SHE NEWS เป็นประจ�ำทุกเดือน รวมถึงมีการเผยแพร่ ข่าวสาร สื่อสาร และกระตุ้นให้เกิดความตระหนัก ในด้านความปลอดภัย การมีสขุ ภาพทีด่ ี และการใส่ใจ ในสิ่งแวดล้อม • การตรวจความปลอดภัย : ผู้ปฏิบัติงาน เจ้าหน้าที่ ความปลอดภัยระดับหัวหน้างานและระดับบริหาร รวมถึงคณะกรรมการความปลอดภัยฯ ได้ลงพื้นที่ ปฏิบัติงานเพื่อตรวจสอบสภาพการท�ำงานของ พนักงานให้มีความปลอดภัยเป็นประจ�ำ รวมถึงมี การปรับปรุงสภาพแวดล้อมให้มีความปลอดภัย อย่างต่อเนื่อง • การท�ำกิจกรรม 5 ส : เป็นกิจกรรมทีบ่ รรจุไว้ในแผนงาน ของอีสท์ วอเตอร์ และมีการปฏิบตั อิ ย่างต่อเนือ่ งทุกปี • การวางแผนงาน : ในการปฏิบตั งิ านทุกโครงการจะมี การเตรียมงานทัง้ ด้านเทคนิคและด้านความปลอดภัย เพื่อป้องกันมิให้เกิดอันตรายและอุบัติเหตุ การเตรียมพร้อมเพื่อรับเหตุฉุกเฉิน
การเตรียมความพร้อมในการรับมือหรือจัดการเหตุ ฉุกเฉินเป็นอีกเรือ่ งหนึง่ ที่ อีสท์ วอเตอร์ ให้ความส�ำคัญ เพื่อช่วยลดผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นกับพนักงานและ ทรัพย์สนิ โดยในปี 2559 มีการด�ำเนินงานทีส่ ำ� คัญดังนี้ • การทบทวนแผนความต่อเนือ่ งธุรกิจ (BCP) แผนการ ย้ายไปยังทีท่ ำ� งานส�ำรองให้เป็นปัจจุบนั ซึง่ ได้มกี าร ด�ำเนินการแล้วเสร็จและจะมีการฝึกซ้อมแผนตาม รายละเอียดที่มีการปรับปรุงในปี 2560
• การฝึกซ้อมดับเพลิงและอพยพหนีไฟประจ�ำปีของ
พืน้ ทีป่ ฏิบตั กิ าร จ.ระยองและ ส�ำนักงานใหญ่ อาคาร อีสท์วอเตอร์ เพือ่ เตรียมความพร้อมการฝึกปฏิบตั กิ าร อพยพ การทดสอบระบบป้องกันอัคคีภยั กรณีเกิดเหตุ ทัง้ นีม้ หี น่วยงานราชการ สถานีดบั เพลิง สถานีตำ� รวจ โรงพยาบาล หน่วยงานฝึกอบรม และอาคารบ้านเรือน ข้างเคียง ให้ความร่วมมือสนับสนุนการฝึกซ้อม ซึง่ ผลการฝึกซ้อมส�ำเร็จลุล่วงตามวัตถุประสงค์
ความปลอดภัยในโครงการก่อสร้าง
อีสท์ วอเตอร์ ให้ความส�ำคัญกับงานด้านความปลอดภัย ในโครงการก่อสร้างของอีสท์ วอเตอร์ ทุกโครงการ และ เนื่องจากงานก่อสร้างมีกระบวนการและขั้นตอนต่างๆ ชัดเจน ซึ่งจ�ำเป็นต้องมีการควบคุมและป้องกันการเกิด อุบัติเหตุในทุกกระบวนการ จึงได้แบ่งการจัดการความ ปลอดภัยในงานก่อสร้างออกเป็น 3 ส่วน ดังนี้
โดยมี ข ้ อ ก� ำ หนดและแนวปฏิ บั ติ ใ นสถานที่ ก่อสร้างเพื่อให้เกิดความปลอดภัยกับคนงาน ดังนี้ • การท�ำรั้วกั้นโดยรอบบริเวณก่อสร้างทั้งหมดเพื่อ ป้องกันผู้ไม่เกี่ยวข้องเข้ามาในเขตก่อสร้าง • ในสถานที่ก่อสร้างมีพื้นก�ำหนดพื้นที่ การแบ่งเขต ก่อสร้างอย่างชัดเจน โดยพืน้ ทีก่ อ่ สร้างอนุญาตเฉพาะ ผูป้ ฏิบตั งิ านและผูเ้ กีย่ วข้องเท่านัน้ และมีการแบ่งเขต ทีพ่ กั อาศัยออกจากบริเวณก่อสร้างทีจ่ ดั เก็บเครือ่ งมือ เครือ่ งจักร ทีเ่ ก็บวัสดุและอุปกรณ์ทใี่ ช้แล้วหรือยังไม่ใช้ • สถานที่ที่อันตรายทุกแห่งในเขตก่อสร้าง ต้องมีป้าย สัญลักษณ์ หรือป้ายเตือนภัยต่าง ๆ หรือข้อควรปฏิบตั ิ ส�ำหรับผู้จะเข้าไปในบริเวณดังกล่าว • รอบตัวอาคารมีแผ่นกัน้ กันวัตถุตกลงมาและมีตาข่าย คลุมอีกชั้น • อาคารขณะก่อสร้างในทีม่ ชี อ่ งเปิดหรือที่ไม่มแี ผงกัน้ มีการท�ำราวกั้นเพื่อป้องกันการตก 2) ความปลอดภัยส่วนบุคคล
สาเหตุหนึง่ ของการเกิดอุบตั เิ หตุในงานก่อสร้างนัน้ มาจากผู้ปฏิบัติงาน อีสท์ วอเตอร์ จึงมีการควบคุม และป้องกันไม่ให้เกิดอุบตั เิ หตุขนึ้ ด้วยการบังคับใช้กฎเกณฑ์ และกฏระเบียบทีอ่ สี ท์ วอเตอร์ ก�ำหนดขึน้ อย่างเคร่งครัด อีกทัง้ มีการเข้มงวดในเรือ่ งการสวมใส่อปุ กรณ์ปอ้ งกัน อันตรายส่วนบุคคลทุกครั้งที่เข้าพื้นที่บริเวณก่อสร้าง รวมถึงมีการให้ความรู้พื้นฐานด้านความปลอดภัยแก่ ผู้ปฏิบัติงาน โดยจัดให้มีกิจกรรม Safety Talk ช่วง เช้าก่อนเริ่มงานเป็นประจ�ำทุกวัน 3) ความปลอดภัยในการใช้เครื่องมือเครื่องจักร
เครือ่ งมือเครือ่ งจักรที่ใช้ในงานก่อสร้างมีจำ� นวน มากมายตั้งแต่ขนาดใหญ่มาก เช่น ปั้นจั่น รถยก เครื่องตอกเสาเข็ม จนถึงขนาดเล็ก เช่น เครื่องเจียร สว่านไฟฟ้า ค้อน เป็นต้น จึงมีขอ้ ปฏิบตั งิ านเพือ่ ความ ปลอดภัยในแต่ละโครงการซึ่งผู้ปฏิบัติงานจะต้อง ปฏิบัติตามอย่างเคร่งครัด ทั้งนี้ผู้ควบคุมงานแต่ละ โครงการจะเป็นผู้ก�ำกับดูแลร่วมกับเจ้าหน้าที่ความ ปลอดภัยของอีสท์ วอเตอร์ และของผู้รับจ้าง
บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)
ของพื้นที่ปฏิบัติการ จ.ระยอง โดยเป็นการฝึกซ้อม กระบวนการจัดเตรียมขัน้ ตอนการปฏิบตั กิ ารสูบจ่ายน�ำ้ ในภาวะฉุกเฉินและการด�ำเนินงานภายในบริษทั ฯ เพือ่ ตัง้ รับกับเหตุการณ์ทเี่ ป็นอันตรายในภาวะฉุกเฉินต่างๆ ที่ ไม่สามารถคาดการณ์ ได้ อันส่งผลกระทบต่อ กิจกรรมการสูบจ่ายน�้ำ เพื่อท�ำให้ประสิทธิภาพใน การบริการลูกค้าและการปฏิบตั งิ านมีการฟืน้ คืนและ กลับมาเป็นปกติ ผลการฝึกซ้อมส�ำเร็จลุล่วงตาม วัตถุประสงค์ • อบรมหลักสูตร “การรับมือ กรณีเกิดแผ่นดินไหว” โดย เจ้าหน้าทีจ่ ากกรมป้องกันและบรรณเทาสาธารณภัย ให้แก่พนักงานและผูเ้ ช่าซึง่ ปฏิบตั งิ าน ณ ส�ำนักงาน อาคารอีสท์วอเตอร์ เพือ่ ให้เข้าใจถึงกระบวนการเกิด ของแผ่นดินไหว และเตรียมความพร้อมในการ เอาตัวรอดเมื่อเกิดแผ่นดินไหว เพื่อให้พนักงาน สามารถปฏิบตั ไิ ด้อย่างถูกต้องซึง่ จะเป็นการลดโอกาส เกิดการบาดเจ็บจากเหตุดังกล่าว
1) ความปลอดภัยในสถานที่ก่อสร้าง
รายงานความยั่งยืน 2559
• การฝึกซ้อมแผนความต่อเนือ่ งทางธุรกิจ (BCP) ในส่วน
71
การลงทุนด้านความรับผิดชอบ ต่อชุมชน สังคม และสิ่งแวดล้อม
รายงานความยั่งยืน 2559
บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)
(EC1)
72
ในฐานะทีเ่ ป็นผูพ้ ฒ ั นาระบบสาธารณูปโภคด้านน�ำ้ ให้กบั ภาคอุตสาหกรรมและอุปโภคบริโภคในภาคตะวันออก อีสท์ วอเตอร์ จึงตระหนักถึงความส�ำคัญของการอยูร่ ว่ มกัน บนพื้นฐานของความเข้าใจและการพึ่งพาซึ่งกันและกัน รวมถึงการร่วมกันพัฒนาให้ชมุ ชนเติบโตและเข้มแข็งไป พร้อมกันกับการด�ำเนินธุรกิจของ อีสท์ วอเตอร์ ดังนั้น “การสร้างการยอมรับจากชุมชน การสร้างความมั่นคง ด้านน�้ำให้กับประเทศ และการสร้างคุณค่าร่วมระหว่าง ธุ ร กิ จ และสั ง คม” จึ ง เป็ น กลยุ ท ธ์ สู ่ ค วามยั่ ง ยื น ของ อีสท์ วอเตอร์ ภายใต้กรอบการพัฒนาด้านชุมชน 3 ด้าน ดังนี้
สาธารณูปโภคด้านน�้ำและอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม อาทิ โครงการเครือข่ายอีสท์ วอเตอร์รกั ษ์นำ �้ โครงการน�ำ้ เพื่อชุมชน ส่งเสริมคุณภาพชีวิตชุมชน อาทิ โครงการอบรม อาชีพ (ลดรายจ่าย เพิ่มรายได้ ตามแนวหลัก เศรษฐกิจพอเพียง) ส่งเสริมการเรียนรู้อย่างไม่มีที่สิ้นสุด อาทิ โครงการ ศูนย์เรียนรูเ้ ศรษฐกิจพอเพียงอีสท์ วอเตอร์ โครงการ อบรมคอมพิวเตอร์ส�ำหรับคนพิการ
เส้นทางการด�ำเนินโครงการเพือ่ ความยัง่ ยืนใน กระบวนการวางท่อ ของ อีสท์ วอเตอร์ เพื่อ สร้างความเข้าใจและเข้าถึงชุมชน
• การจัดท�ำโครงการประชาสัมพันธ์ขอ้ มูลและโครงการ
ก่อสร้างของ อีสท์ วอเตอร์ ให้แก่ชมุ ชนและหน่วยงาน ส่วนท้องถิ่นตามแนวเส้นท่อส่งน�้ำได้รับทราบและ เข้าใจการด�ำเนินงานอย่างถูกต้อง รวมถึงรับฟังความ คิดเห็นและประเด็นห่วงใยของชุมชนที่มีต่อโครงการ เพื่อใช้ประกอบการพิจารณาด�ำเนินโครงการ CSR เพือ่ สนับสนุน ช่วยเหลือและบรรเทาความเดือดร้อน ของชุมชนอย่างยั่งยืนก่อนที่จะเริ่มโครงการก่อสร้าง • การส�ำรวจความต้องการและการเข้าถึงน�ำ้ สะอาดของ ชุมชน ควบคู่ไปกับการศึกษาความเหมาะสมของ โครงการก่อสร้างวางท่อส่งน�้ำดิบ ในปี 2559 มีการ ส�ำรวจความต้องการและการเข้าถึงน�ำ้ สะอาดตามแนว เส้นท่อโครงการวางท่อน�ำ้ ดิบอ่างเก็บน�ำ้ คลองหลวงสถานีควบคุมระดับน�้ำหุบบอน
การด�ำเนินงานด้านชุมชนที่สำ� คัญในปี 2559
• โครงการก่อสร้างโรงสูบน�ำ้ ดิบระบบประปาหมูบ่ า้ นจ�ำนวน • โครงการน�ำ้ ดืม่ สะอาด เพือ่ บริการสาธารณประโยชน์แก่
บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)
ชุมชน หน่วยงานรัฐและเอกชน โดยปี 2559 ได้สนับสนุน น�ำ้ ดืม่ สะอาดกว่า 683,000 ลิตร นอกจากนี้ อีสท์ วอเตอร์ ยังได้สง่ จ่ายน�ำ้ ดิบจากท่อแยกจ่ายน�ำ้ เข้าระบบประปา หมู่บ้าน จ�ำนวน 15 จุด เพื่อช่วยแก้ปัญหาขาดแคลน น�ำ้ ให้กบั ชุมชนตามแนวเส้นท่อประแสร์-หนองปลาไหล • โครงการเครือข่าย อีสท์ วอเตอร์ รักษ์นำ�้ เป็นการบูรณาการ โครงการเฝ้าระวังรักษาแหล่งน�ำ้ ของกลุม่ นักรบสิง่ แวดล้อม /นักสืบสายน�้ำ จ.ฉะเชิงเทรา และ ศูนย์เฝ้าระวังและ ตรวจสอบคุณภาพน�ำ้ อ�ำเภอปลวกแดง จ.ระยอง เข้าด้วยกัน โดยล่าสุดในปี 2559 มีโรงเรียนเข้าร่วม จ�ำนวน 12 แห่ง มีเยาวชนเข้าอบรมจ�ำนวน 80 คน
รายงานความยั่งยืน 2559
3 แห่งในพื้นที่ ต.แม่น�้ำคู้ อ.ปลวกแดง จ.ระยอง โดย อีสท์ วอเตอร์ ออกแบบระบบและสนับสนุนงบประมาณ ก่อสร้างแพสูบน�้ำทั้ง 3 แห่ง • โครงการวางท่อเชื่อมประสานระหว่างแนวเส้นท่อ ประแสร์-หนองปลาไหล กับแหล่งน�ำ้ ต้นทุนระบบประปา หมูบ่ า้ นในพืน้ ที่ ม.5 ต.หนองบัว อ.บ้านค่าย จ.ระยอง โดยอีสท์ วอเตอร์ ออกแบบ และจัดจ้างก่อสร้างวางท่อ และติดตั้งท่อแยกจ่ายน�้ำไปยังแหล่งน�้ำต้นทุนระบบ ประปาหมูบ่ า้ น ณ ม.5 ต.หนองบัว อ.บ้านค่าย จ.ระยอง ความยาวท่อน�้ำดิบ 3.2 กิโลเมตร • โครงการเพือ่ พัฒนาสังคมและสิง่ แวดล้อมตามแนวท่อ โดย ด�ำเนินการร่วมกับกรมชลประทาน ซึง่ มีคณะกรรมการ พิจารณาโครงการร่วมกันระหว่างกรมชลประทาน หน่วยงานราชการท้องถิ่น อีสท์ วอเตอร์ และผู้แทน ชุมชนในพื้นที่
73
• โครงการเพาะกล้าน้อย ร้อยผืนป่าภาคตะวันออก จ�ำนวน 50,000 กล้า ต่อเนื่องเป็นปีที่ 2 • โครงการสอนคอมพิวเตอร์ให้กบั นักศึกษาคนพิการ รุน่ 4 ประจ�ำปี 2559 โดยวิทยากรจาก ส�ำนักงานส่งเสริมการศึกษา
นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยระดับอ�ำเภอ จ�ำนวน 11 อ�ำเภอในจังหวัดฉะเชิงเทรา มีนกั ศึกษาคนพิการเข้าอบรม จ�ำนวน 11 คนต่ออ�ำเภอ รวมทั้งสิ้น 110 คน จากการติดตามผลหลังการอบรมเสร็จ พบว่ามีนักศึกษาคนพิการ น�ำความรู้ไปประกอบอาชีพได้ จ�ำนวน 18 คน คิดเป็น ร้อยละ 16.36 ของผู้เข้าอบรมทั้งหมด
• โครงการอบรมเชิงปฏิบตั กิ าร หลักสูตร การสร้างเครือ่ งกล ซึง่ ในปี 2559 ได้ขยายผลครบ 3 จังหวัดในภาคตะวันออก
รายงานความยั่งยืน 2559
บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)
74
เติมอากาศแบบดูดน�้ำและอากาศ เป็นการต่อยอด ความรู้จากปี 2553 โดยน�ำแนวคิดจากสิ่งประดิษฐ์ใน โครงการนวัตกรรม 3R ต้นแบบ เพือ่ ก่อให้เกิดประโยชน์ ต่อชุมชน เริ่มจัดการอบรมเชิงปฏิบัติการหลักสูตร “การสร้างเครือ่ งกลเติมอากาศแบบดูดน�ำ้ และอากาศ”
และในเดือนสิงหาคม 2559 ได้รว่ มกับวิทยาลัยเทคนิค บ้านค่ายส่งมอบเครือ่ งกลเติมอากาศฯ ให้แก่ องค์การ บริ ห ารส่ ว นต� ำ บลวั ง จั น ทร์ อ.วั ง จั น ทร์ จ.ระยอง จ�ำนวน 4 เครื่อง
• โครงการประปาชุมชน เป็นโครงการร่วมกับการประปา วิทยาลัยเทคนิคมาบตาพุต วิทยาลัยเทคนิคชลบุรี
นครหลวง (กปน.) และสถาบันการอาชีวศึกษาภาค ตะวันออก โดยจัดฝึกอบรมหลักสูตรการควบคุมการ ผลิตและบ�ำรุงรักษาระบบประปาหมู่บ้าน เพื่อสร้าง ความรูค้ วามเข้าใจเกีย่ วกับการบริหารจัดการกิจการประปา กรรมวิธีการผลิตน�ำ้ ประปาที่ได้มาตรฐาน การใช้งาน และการบ�ำรุงรักษาอุปกรณ์การผลิตน�้ำประปาและ เครื่ อ งสู บ น�้ ำ ให้ แ ก่ ส ถาบั น การศึ ก ษาจากสถาบั น การอาชีวศึกษาภาคตะวันออกจ�ำนวน 9 แห่ง ได้แก่ วิท ยาลั ยเทคนิคระยอง วิทยาลัยเทคนิคบ้า นค่าย
วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ วิทยาลัยอาชีวศึกษาชลบุรี วิ ท ยาลั ย อาชี ว ศึ ก ษาเทคโนโลยี ฐ านวิ ท ยาศาสตร์ วิ ท ยาลั ย เทคนิ ค จั น ทบุ รี วิ ท ยาลั ย เทคนิ ค ตราด บุคลากรขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หรือผู้ที่มี หน้าทีด่ แู ลรับผิดชอบในเรือ่ งการประปา เป้าหมายเพือ่ สร้างก�ำลังส�ำคัญที่จะช่วยให้โครงการซ่อมบ�ำรุงและ ฝึกอบรมระบบประปาหมูบ่ า้ นประสบความส�ำเร็จและ สร้างความยั่งยืนด้านน�้ำให้กับชุมชนต่อไป
งบประมาณด้านความรับผิดชอบต่อชุมชน สังคม และสิ่งแวดล้อม ปี 2558-2559 โครงการ
งบประมาณปี 2558
งบประมาณปี 2559
โครงการส่งเสริมสาธารณูปโภคด้านน�ำ้ และอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
3,759,065
3,992,804
โครงการส่งเสริมคุณภาพชีวิตชุมชน
*7,283,882
10,744,162
โครงการส่งเสริมการเรียนรู้ อย่างไม่มีที่สิ้นสุด
2,188,756
544,819
13,231,703
15,281,785
รวมเป็นเงิน
รายงานความยั่งยืน 2559
งบประมาณ CSR ปี 2558-2559
บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)
หมายเหตุ : * ปรับตัวเลขงบประมาณโครงการส่งเสริมคุณภาพชีวติ ชุมชน ของปี 2558 เนือ่ งจาก น�ำงบประมาณการสนับสนุนกิจกรรมสาธารณประโยชน์อนื่ ๆ อาทิ ด้านการศึกษา การกีฬา และ การส่งเสริมประเพณีวัฒนธรรม รวมด้วยเช่นเดียวกับในปี 2559 จึงท�ำให้ตัวเลขงบประมาณปี 2558 มีการเปลี่ยนแปลง
75
เกี่ยวกับรายงานฉบับนี้ (G4-13, G4-18, G4-22, G4-23, G4-28, G4-29, G4-30, G4-31, G4-32, G4-33)
SUSTAINABILITY REPORT 2016
บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)
วั ต ถุ ป ระสงค์ : เพื่ อ แสดงผลการด� ำ เนิ น งานของ อีสท์ วอเตอร์ ในด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิง่ แวดล้อม ใน ประเด็นทีผ่ มู้ สี ว่ นได้เสียขององค์กรให้ความส�ำคัญเป็นหลัก ตลอดจนโอกาสทีจ่ ะสร้างความแข็งแกร่งให้กบั อีสท์ วอเตอร์ ในการขยายธุรกิจเพื่อการเติบโตในระยะยาวอย่างยั่งยืน การจั ด ท� ำ รายงาน : จัดท�ำ Sustainability Report 2016 ตามกรอบการรายงานของ Global Reporting Initiative (GRI) รุ่นที่ 4 โดยก�ำหนดความสมบูรณ์ของ เนื้อหาสอดคล้องหลักเกณฑ์ในระดับ CORE Option รอบระยะเวลาการรายงาน : รายงานความยั่งยืนประจ�ำ ปี 2559 เล่มนี้ เป็นฉบับที่ 6 ครอบคลุมข้อมูลตั้งแต่วัน ที่ 1 มกราคม ถึง 31 ธันวาคม 2559 ทัง้ นี้ อีสท์ วอเตอร์ ได้จัดท� ำรายงานความยั่งยืนเป็นรายปีต่อเนื่องเป็น ประจ�ำทุกปี โดยเริ่มจัดท�ำเล่มแรกเมื่อปี 2554 ขอบเขตการรายงาน : รายงานความยัง่ ยืนประจ�ำปี 2559 ใช้ข้อมูลผลการด�ำเนินงานที่สะท้อนในด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม ในปี 2559 โดยขอบเขตการ รายงาน ยังคงครอบคลุมพืน้ ทีป่ ฏิบตั งิ านของอีสท์ วอเตอร์ ที่ส�ำนักงานใหญ่ กรุงเทพฯ และใน 3 จังหวัด ได้แก่ ระยอง ชลบุรี และฉะเชิงเทรา แต่ไม่รวมบริษัทในเครือ ซึง่ ท�ำธุรกิจน�ำ้ ประปา ซึง่ กระบวนการท�ำงานจะแตกต่าง จากธุรกิจน�ำ้ ดิบที่ อีสท์ วอเตอร์ ด�ำเนินการ 78 รายงานฉบับนี้ แสดงการเปลี่ยนแปลงข้อมูลการ ด�ำเนินงานอย่างมีนัยส�ำคัญ จากปี 2558 ได้แก่ 1. โครงการพัฒนาสระเก็บน�้ำดิบคลองทับมา เดิมที่ คาดว่าจะแล้วเสร็จในเดือนกรกฎาคม 2559 ปัจจุบัน ได้มีการชะลอโครงการก่อสร้าง เนื่องจากมีกรณี พิพาทฟ้องร้องระหว่างกันซึ่งขณะนี้อยู่ระหว่างการ เจรจาไกล่เกลี่ย อีสท์ วอเตอร์ จึงได้มีการปรับแผน พัฒนาแหล่งน�ำ้ ต้นทุนใหม่
2. แผนการชะลอการน�ำหุน้ ของ บมจ.ยูนเิ วอร์แซล ยูทลี ติ สี้ ์ หรือ ยูยู เข้าซื้อขายในตลาดหลักทรัพย์ฯ โดยให้รอ ในช่วงเวลาที่เหมาะสม 3. ออกจากการเป็นกรรมการของสมาคมนักอุทกวิทยาไทย (Thai Hydrologist Association) เนื่องจากเป็น ต�ำแหน่งทีต่ ามมากับกรรมการผูอ้ ำ� นวยการใหญ่ทา่ นก่อน ทั้งนี้ รายงานความยั่งยืนฉบับนี้ ได้ขอการรับรอง ในระดับความเชื่อมั่นแบบจ�ำกัด (Limited Assurance) จากหน่วยงานภายนอก (Third party) ทีม่ คี วามเชีย่ วชาญ ในการตรวจรับรอง และให้ความเชือ่ มัน่ เพือ่ ความถูกต้อง และน่าเชื่อถือของข้อมูลที่ได้เปิดเผยตามแนวทางการ รายงานของ GRI ฉบับ G4 โดยผู้บริหารระดับสูงได้มี ส่วนร่วมในการพิจารณาคัดเลือกซึ่งเป็นไปตามระเบียบ การจัดซื้อจัดจ้างของบริษัทฯ การคัดเลือกเนือ้ หาเพื่อการรายงาน : คณะท�ำงานการ จัดท�ำรายงานความยั่งยืน ประกอบด้วย ผู้แทนจากทุก ฝ่ า ยในองค์ กร ซึ่ ง ได้ รั บ การแต่ ง ตั้ ง จากกรรมการ ผูอ้ ำ� นวยการใหญ่ ร่วมกับผูเ้ ชีย่ วชาญภายนอก มีการจัด ประชุมระดมความคิดเห็นเพื่อพิจารณาทบทวนและ วิเคราะห์ข้อมูลที่ได้จากผู้มีส่วนได้เสียทั้งภายในและ ภายนอกองค์กร ผลกระทบเชิงบวกและลบ บริบทด้าน ความเสี่ยงขององค์กร ประเด็นจากผู้ตรวจสอบ ที่อยู่ใน ระดับความส�ำคัญสูง กลยุทธ์และนโยบายการด�ำเนินงาน ประเด็นข่าวที่สื่อมวลชนและสาธารณชนให้ความสนใจ และข้อร้องเรียนที่เกิดขึ้นระหว่างปี น�ำมาจัดเป็นสาระ ส�ำคัญของประเด็นอันเป็นสาระส�ำคัญทีจ่ ะส่งผลต่อความ ยัง่ ยืนขององค์กรร่วมกัน จากนัน้ จึงสรุปเนือ้ หาน�ำเสนอ กรรมการผูอ้ ำ� นวยการใหญ่พจิ ารณาเห็นชอบและเปิดเผย ข้อมูลทีอ่ งค์กรได้ดำ� เนินการในรายงานความยัง่ ยืนฉบับนี้
สามารถดาวน์โหลด...
สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่...
รายงานความยั่งยืนฉบับนี้ และฉบับก่อนหน้าได้จากเว็บไซต์ ของ อีสท์ วอเตอร์
คุณกันยานาถ วีระพันธุ์ ผู้อำ� นวยการฝ่ายสื่อสารองค์กร อาคารอีสท์วอเตอร์ ชั้น 24 เลขที่ 1 ซอยวิภาวดีรังสิต 5 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท์ 02-272-1600 ต่อ 2510 โทรสาร 02-272-1602 E-mail : pr@eastwater.com
www.eastwater.com
ข้อมูลพนักงาน
(G4-9, G4-10)
2558 169
แบ่งตามประเภทการจ้างงาน 157 166 3 3
ประจ�ำ สัญญาจ้าง
แบ่งตามระดับ 10 34 116
ผู้บริหาร ผู้บังคับบัญชา ปฏิบัติงาน
จ�ำนวนพนักงาน พนักงานใหม่ทั้งหมด
2559 168
165 3
11 23 135
13 24 131
34 121 14
28 122 18
น้อยกว่า 30 ปี 30 - 50 ปี มากกว่า 50 ปี อัตราการจ้างพนักงานใหม่ (ร้อยละ) พนักงานลาออกทัง้ หมด
แบ่งตามอายุ น้อยกว่า 30 ปี 30 - 50 ปี มากกว่า 50 ปี
23 127 10
ชาย หญิง
แบ่งตามเพศ 86 74
94 75
93 75
ภาคกลาง ภาคตะวันออก
แบ่งตามภาค 118 42
117 52
117 51
น้อยกว่า 30 ปี 30 - 50 ปี มากกว่า 50 ปี อัตราพนักงานลาออก (ร้อยละ)
2557 17
2558 32
แบ่งตามอายุ 0 16 1 11%
2559 19
17 15 0 19%
8 10 1 11%
23(1)
12
แบ่งตามอายุ 2 9 8%
3 19 1 14%
20
6 13 12%
หมายเหตุ (1) รวมพนักงานซึ่งโอนย้ายไปบริษัทในเครือ 4 คน
สถิติการลาป่วยของพนักงาน แยกตามเพศและพื้นที่ (ร้อยละ)
อีสท์ วอเตอร์ น�ำระบบสารสนเทศด้านทรัพยากรบุคคล (HRIS : Human Resources Information System : HRIS) มาช่วยในการบริหารข้อมูลพนักงาน ได้แก่ การลา การเบิก สวัสดิการ รวมทั้งข้อมูลการท�ำงานต่างๆ โดยการ ค�ำนวณชั่วโมงในการท�ำงานได้น�ำมาจากที่ก�ำหนดไว้ในข้อบังคับเกี่ยวกับการท�ำงาน ซึ่งระบุชั่วโมงการท�ำงานของ พนักงาน จ�ำนวน 8 ชั่วโมงต่อวัน จึงใช้หลักการค�ำนวณชั่วโมงการท�ำงานต่อคนในปี 2559 ค�ำนวณ ดังนี้ จ�ำนวนชัว่ โมงการท�ำงานต่อคนต่อปี = 8 ชม.* 245 วัน (จ�ำนวนวันใน 1 ปี - วันหยุดเสาร์อาทิตย์และวันหยุดนักขัตฤกษ์) = 1,960.00 ชม. ตารางแสดงชั่วโมงการท�ำงานของพนักงาน ชม.ท�ำงานทั้งหมด ชม.ลาทั้งปี ชม.ท�ำงานจริง
329,280.00 20,780.50 308,499.50
79
ชม. ชม. ชม.
ตารางแสดงชั่วโมงการท�ำงานและจ�ำนวนชั่วโมงการลาป่วยของพนักงาน จ�ำนวนคน
ชาย หญิง รวม
จ�ำนวนชั่วโมงการท�ำงาน
93 75 168
พนักงานทั้งอีสท์ วอเตอร์ 182,280 147,000 329,280
ชาย หญิง รวม
51 66 117
ภาคกลาง 99,960 129,360 229,320
ชาย หญิง รวม
42 9 51
ภาคตะวันออก 82,320 17,640 99,960
บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)
2557 160
SUSTAINABILITY REPORT 2016
จ�ำนวนพนักงาน พนักงานทั้งหมด
จ�ำนวนชั่วโมงลาป่วย
ลาป่วย (%)
3,327.5 3,074.5 6,402
1.83% 2.09% 1.94%
1,956 2,721 4,677
1.96% 2.10% 2.04%
1,372 354 1,726
1.67% 2.01% 1.73%
หมายเหตุ : (1) ข้อมูลที่ใช้เป็นข้อมูลจากระบบ ปี 2559 (ข้อมูล ณ วันที่ 11 มกราคม 2560 เวลา 09.30 น.) (2) ข้อมูลข้างต้นเป็นข้อมูลของ พนักงานทีอ่ สี ท์ วอเตอร์ ว่าจ้าง โดยตรง ไม่รวมพนักงานของ ผูร้ บั เหมาช่วง (3) อีสท์ วอเตอร์ ไม่มกี ารจ้างงาน ตามฤดูกาล มีเฉพาะการจ้าง งานประจ�ำและจ้างแบบสัญญาจ้าง ทีม่ กี ำ� หนดระยะเวลาการจ้างทีแ่ น่นอน
บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)
SUSTAINABILITY REPORT 2016
80
GRI G4 Index General Standard Disclosures
G4 Indicator
Description
STATEGY AND ANALYSIS G4-1 Statement from the most senior decision-maker of the organization Description of key impacts, risks, and G4-2 opportunities ORGANIZATIONAL PROFILE G4-3 Name of the organization G4-4 Primary brands, products, and services G4-5 Location of the organization’s headquarters G4-6 Number of countries where the organization operates, and names of countries where either the organization has significant operations or that are specifically relevant to the sustainability topics covered in the report G4-7 Nature of ownership and legal form G4-8 Markets served (including geographic breakdown, sectors served, and types of customers and beneficiaries) Scale of the organization G4-9 Scale of the organization G4-10 Total number of employees by type G4-11 Percentage of total employees covered by collective bargaining agreements G4-12 Describe the organization’s supply chain
Page AR SR
SDGs Index SDG
Omission/Note
4 16 8 8 8 8
9, 11 6-7
79 79 63 8
8 8
N/A
External Assurance
G4-13
Page SDGs Index AR SR SDG
Significant changes during the reporting period regarding the organization’s size, structure, ownership, or its supply chain G4-14 Explanation of whether and how the precautionary approach or principle is addressed by the organization G4-15 List externally developed economic, environmental, and social charters, principles, or other initiatives to which the organization subscribes or which it endorses G4-16 Membership in associations IDENTIFIED MATERIAL ASPECTS AND BOUNDARIES G4-17 List all entities included in the organization’s consolidated financial statements or equivalent documents G4-18 Process for defining report boundaries and content G4-19 Material aspects included in the report G4-20 Descriptions of material aspect boundaries within the organization G4-21 Descriptions of material aspect boundaries outside the organization G4-22 Explanation of the effect of any restatements
G4-23
Significant changes from previous reporting periods in the Scope and Aspect Boundaries
STAKEHOLDER ENGAGEMENT G4-24 List of stakeholder groups engaged by the organization G4-25 Basis for identification and selection of stakeholders with whom to engage G4-26 Approach to stakeholder engagement, including frequency of engagement by type and by stakeholder group G4-27 Key stakeholder topics and concerns and organization response
Omission/Note
External Assurance
78 10 19
19 6-7 78 24-25 24-25 24-25 78
78
20-23 20-23 20-23 20-23
Note : ข้อมูลการใช้พลังงานใน อาคารส�ำนักงานใหญ่ ในปี 2558 มี การเปลี่ยนแปลงจากเดิม เนื่องจาก ในปีที่ผ่านมา ไม่ได้มีการค�ำนวณ ค่าไฟฟ้าในพื้นที่ส�ำนักงานอาคาร ส�ำนักงานใหญ่ 1) ปี 2559 ยกเลิกการรายงาน ปริมาณรวมขอน�้ำรีไซเคิล และการน�ำ น�้ำกลับมาใช้ใหม่ (EN 10) โดย เปลี่ยนเป็นรายงานเรื่องผลกระทบ ทางการเงินและความเสี่ยง กับโอกาส ในการด�ำเนินธุรกิจขององค์กรเนื่อง มาจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิ อากาศ (EC2) แทน 2) เพิ่มการรายงานประเด็นการเกิด การทุจริตคอร์รัปชั่นและการจัด กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง (SO5) เนื่องจาก เป็นประเด็นที่องค์กรให้ความส�ำคัญ
บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)
Description
SUSTAINABILITY REPORT 2016
G4 Indicator
81
SUSTAINABILITY REPORT 2016
บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)
G4 Indicator
82
Description
Page SDGs Index AR SR SDG
Omission/Note
REPORT PROFILE 78 G4-28 Reporting period for information provided 78 G4-29 Date of most recent report 78 G4-30 Reporting cycle 78 G4-31 Contact point for questions regarding the report or its contents 78 G4-32 “In accordance” option, GRI Index and report assurance 78 G4-33 Policy regarding report assurance GOVERNANCE 10 G4-34 Governance structure of the organization ETHICS AND INTEGRITY 16 13 G4-56 Code of conduct SPECIFIC STANDARD DISCLOSURES CATEGORY: ECONOMIC ASPECT: ECONOMIC PERFORMANCE G4-DMA Generic Disclosures on Management 14, 19 Approach G4-ECI Direct economic value generated and 2, 5, 72 7, 8, 9 distributed 13 48 G4-EC2 Financial implications and other risks and opportunites for the organization’s activities due to climate change CATEGORY: ENVIRONMENTAL ASPECT: WATER G4-DMA Generic Disclosures on Management 12, 21-23 Approach 28 6 G4-EN8 Total water withdrawal by source 39 6 Note : 1) ในปี 2559 ใช้ผลการศึกษา G4-EN9 Water sources significantly affected by ถึงผลกระทบของการสูบน�้ำจากแม่นำ�้ withdrawal of water
บางปะกงของอีสท์ วอเตอร์ ต่อการ เปลี่ยนแปลงระดับน�้ำในแม่นำ�้ บางปะกง แม่น�้ำนครนายก และ แม่นำ�้ ปราจีนบุรี โดย สถาบัน เทคโนโลยีแห่งเอเชีย (AIT) เมื่อปี 2552 เนื่องจากยังไม่มีการส�ำรวจใหม่ ทั้งนี้ในปี 2560 มีแผนการด�ำเนินการส�ำรวจคุณภาพ น�้ำในอ่างเก็บน�้ำหลักร่วมกับ กรมชลประทาน 2) โครงการก่อสร้าง ปี 2560 จะด�ำเนินการปรับปรุง TOR โดยระบุ จะระบุระยะเวลาในการซ่อมแซมและ คืนสภาพถนนให้ชัดเจน รวมถึง มาตรฐานการคืนสภาพถนน นอกจาก นี้ อีสท์ วอเตอร์ มีแผนท�ำมาตรฐาน ในการบริหารโครงการให้ครอบคลุม ถึงการป้องกันมลภาวะและลดผลกระ ทบจาการก่อสร้าง
External Assurance
ASPECT: EMISSIONS G4-DMA Generic Disclosures on Management Approach G4-EN16 Energy indirect greenhouse gas (GHG) emissions (Scope 2)
Page SDGs Index AR SR SDG
Omission/Note
External Assurance
13, 31 43
3, 12, 13 ,14, 15
Omission : ปี 2559 ยังไม่มีการ เก็บตัวเลขการใช้ไฟฟ้าของมาตรย่อย โดยจะเริ่มเก็บข้อมูลอย่างเป็นระบบ ในปี 2560 ต่อไป
CATEGORY: SOCIAL SUB-CATEGORY: LABOR PRACTICES AND DECENT WORK ASPECT: OCCUPATIONAL HEALTH AND SAFETY 13, 79 G4-DMA Generic Disclosures on Management Approach 63 3, 8 Omission : ปี 2559 ขอยกเว้นข้อมูล G4-LA6 Type of injury and rates of injury, ชุดตัวเลข absentee rate ของ occupational diseases, lost days,and Subcontrctor ทั้งหมด เนื่องจากยัง absenteeism, and total number of ไม่มีการเก็บข้อมูล ซึ่งจะเริ่มด�ำเนิน work-related fatalities, by region and การในปี 2560 by gender ASPECT: TRAINING AND EDUCATION 13 G4-DMA Generic Disclosures on Management Approach 4, 5, 8 50 G4-LA9 Average hours of training per year per employee by gender, and by employee category 50 8 G4-LA10 Programs for skills management and lifelong learning that support the continued employability of employees and assist them in managing career endings SUB-CATEGORY: SOCIETY ASPECT: ANTI-CORRUPTION 10, 13 G4-DMA Generic Disclosures on Management Approach 16 60 G4-SO4 Communication and training on anticorruption policies and procedures 60 16 G4-SO5 Confirmed incidents of corruption and actions taken SUB-CATEGORY: PRODUCT RESPONSIBILITY ASPECT: CUSTOMER HEALTH AND SAFETY 13, 35 G4-DMA Generic Disclosures on Management Approach 54 G4-PR5 Results of surveys measuring customer satisfaction
บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)
Description
SUSTAINABILITY REPORT 2016
G4 Indicator
83
84 บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)
SUSTAINABILITY REPORT 2016
85
บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)
SUSTAINABILITY REPORT 2016