(Level 1-Award in Health and Safety for Caterers)
โดย ดร. คนึงนิจ การเน็ทท (By: Dr. Khanungnit Garnett)
‘2009 NITA Winner - Best Industry Training Initiative to Support Professionalism’
Kindly Sponsored by…
www.edupluscic.org
h&shandbook_a5.indd 1
9/10/2553 17:00
h&shandbook_a5.indd 2
9/10/2553 17:00
h&shandbook_a5.indd 3
9/10/2553 17:00
BII - NITAs Winner 2009 in ‘Best Industry Training Initiative to Support Professionalism’
18 February 2010 The founder of Edu-Plus CIC (a ‘Non-Profit’ training centre for Thai Nationals in Hospitality), Dr Khanungnit Garnett, picks up award in ‘Best Industry Training Initiative to Support Professionalism’ today at the BIIAB National Conference, Ricoh Arena, Coventry. The BII NITAs are the national training awards for the licensed retail industry, reconising and rewarding training excellence. BII Director of Marketing Sue Medhurst commented: “Since their launch in 1991, the BII NITAs have recognised and rewarded training excellence within the licensed retail sector. Each NITA award goes to the entry which demonstrates training excellence, and the effective use of resources to achieve measurable results. This year’s winners are all excellent programmers that would stand benchmarking outside of the industry and demonstrate good practice for the licensed retail sector as a whole. Congratulations to all of them.” Dr Garnett said, “I am so delighted! Winning a National Training Award brings a real sense of pride to my team and the Thai community. This award is the premier accolade for training excellence. I am very fortunate, I work with the most dedicated and passionate team. I am very proud of my team and my community. The Thai restaurant community and the service it provides to customers, is recognised on a worldwide basis. I aim to give it the professional skill recognition it deserves here in the UK by offering the highest levels of training/qualifications in areas that will see businesses and people thrive and prosper.”
ขอมูลจาก www.http://bii.bii.org/news/624
h&shandbook_a5.indd 4
9/10/2553 17:00
คําแนะนําแกผู้เรียน
สวัสดีค่ะ คู่มือเล่มนี้จัดทำ�ขึ้นเป็นภ�คภ�ษ�ไทย สำ�หรับผู้ประกอบก�รช�วไทยที่เข้�ฝกอบรม หลักสูตรเพื่อใบประก�ศนียบัตรสุขภ�พและคว�มปลอดภัย ระดับที่ 1 (Level 1 Health and Safety Certificate)
เพร�ะกฎหม�ยเกี่ยวกับสุขภ�พและคว�มปลอดภัยในสถ�นที่ทำ�ง�น (Health and Safety at Work etc Act 1974) มีคว�มสำ�คัญม�ก ทุกคนในสถ�นที่ประกอบก�ร (และร้�นอ�ห�ร) ควรมีคว�มรู้ คว�มเข้�ใจอย่�งถูกต้องพอเพียง และจะต้องปฏิบัติต�ม อย่�งเคร่งครัด ดังนั้นเจ้�ของกิจก�รทุกคน จึงควรสนับสนุนให้พนักง�นของท่�นเข้�รับ ก�รฝกอบรมหลักสูตรนี้ พนักง�นที่ได้รับก�รฝกอบรมแล้ว ควรนำ�คว�มรู้เบื้องต้นนี้ไปปฏิบัติต�มอย่�งเคร่งครัด ช่วยกันดูแลสุขภ�พและคว�มปลอดภัยของตัวท่�นเองและของผู้อื่น และควรให้คว�ม ร่วมมือกับเจ้�ของกิจก�รและเพื่อนร่วมง�นตลอดเวล� และควรหมั่นฝกฝนวิธีก�รใช้ อุปกรณ์เพื่อสุขภ�พและคว�มปลอดภัยให้ถูกวิธี เนื้อห�ข้อมูลที่ควรรู้ ถูกเน้นด้วยตัวอักษรพิมพ์หน� พร้อมภ�พก�ร์ตูนประกอบ ศัพท์ภ�ษ�อังกฤษบ�งคำ�มีประโยชน์และควรรู้ ผู้เรียนควรฝกท่องศัพท์นั้นบ้�ง เพร�ะอ�จ พบในข้อสอบจริง และควรทดสอบคว�มเข้�ใจด้วยก�รฝกทำ�แบบฝกหัดท้�ยบท โปรดทราบ
+ ทานไมสามารถนําคูมือเลมนี้เขาสูหองสอบ + ขอสอบฉบับภาษาไทย มีทั้งหมด 15 ขอ แบบปรนัย โดยมีเวลา ใหทํา 30 นาที ทานจะตองทําคะแนนใหไดอยางนอย 10 คะแนน จึงจะสอบผานและไดรับใบประกาศนียบัตรอยางสมบูรณ
ขอให้โชคดี… ดร. คนึงนิจ การ์เน็ทท์
5
h&shandbook_a5.indd 5
9/10/2553 17:00
6
Level 1 – Award in Health and Safety for Caterers
h&shandbook_a5.indd 6
9/10/2553 17:00
7
h&shandbook_a5.indd 7
9/10/2553 17:00
Health and Safety
กฏระเบียบเกี่ยวกับสุขภาพและความปลอดภัย ความรับผิดชอบ The Health and Safety at Work Etc. Act 1974 กำ�หนดว่า ท่านจะต้องดูแล สุขภาพและความปลอดภัยของตัวท่าน และผู้อื่นที่ร่วมงานกับท่าน ตลอดจนลูกค้าและผู้ที่ เข้ามาเยี่ยมเยือนในสถานที่ทำ�งาน และท่านจะต้องร่วมมือกับเจ้าของกิจการ ฝึกใช้ และ ดูแลอุปกรณ์ป้องกันภัยที่เจ้าของกิจการจัดเตรียมไว้ให้อย่างดีและถูกวิธีที่สุด ทั้งหมดนี้ เรียกว่า “จรรยาบรรณ” หรือ “duty of care” เขียนแจกแจงรายละเอียดความเสี่ยงที่ท่าน สามารถสังเกตได้จากรูปภาพด้านล่าง
8
Level 1 – Award in Health and Safety for Caterers
h&shandbook_a5.indd 8
9/17/2553 22:43
Accidents
อุบัติเหตุและความเสียหาย
ความรับผิดชอบ เมื่อใดก็ต�มที่มีอุบัติเหตุเกิดขึ้น ไม่ว่�จะรุนแรงหรือไม่ขน�ดไหนก็ต�ม พนักง�นจะ ต้องร�ยง�นเกี่ยวกับเหตุก�รณ์นั้นต่อหัวหน้� (supervisor) ทันที และจะต้องบันทึกเหตุก�รณ์ นั้นในหนังสืออุบัติเหตุ (Accident Book) โดยเฉพ�ะถ้�มีผู้ได้รับบ�ดเจ็บจ�กอุบัติเหตุนั้น กฏหม�ยสุขภ�พและคว�มปลอดภัยกำ�หนดคว�มรับผิดชอบเกี่ยวกับก�รบันทึกนี้ ให้แก่เจ้�ของกิจก�ร ดังนั้นเจ้�ของกิจก�รจึงควรตรวจสอบให้มั่นใจว่� อุบัติเหตุที่เกิดขึ้น ในสถ�นที่ประกอบก�รถูกบันทึกทุกครั้งในหนังสืออุบัติเหตุ บ�งทีเจ้�ของกิจก�รอ�จต้อง ทำ�ก�รตรวจสอบ (investigate) ว่�อุบัติเหตุ หรือเหตุก�รณ์ที่เกิดขึ้นนั้น เกิดขึ้นได้อย่�งไร อะไรคือส�เหตุ มีใครได้รับบ�ดเจ็บเสียห�ยบ้�ง และคว�มเสียห�ยนั้นรุนแรงขน�ดไหน ฯลฯ ในบ�งครั้ง เจ้�ของกิจก�รอ�จต้องตั้งคำ�ถ�มต่อว่� เหตุก�รณ์ที่เกิดขึ้นนั้น มีผลม� จ�กก�รปล่อยปละละเลยของท่�นโดยตรงหรือไม่ (ตัวอย่�งเช่น พนักง�นใหม่ถูกเครื่องหั่น เนื้อ (meat slice) ตัดนิ้วมือ จนทำ�ให้นิ้วข�ด พนักง�นคนนั้นยังไม่เคยรับก�รฝึกอบรม เกี่ยวกับวิธีก�รใช้เครื่อง แต่ว่�มีหน้�ที่ทำ�ง�นในครัว และถูกสั่งให้ใช้เครื่องหั่นเนื้อ และ เครื่องหั่นเนื้อไม่มีแผ่นหุ้มตรงบริเวณใบมีด เหตุก�รณ์นี้ถือเป็นคว�มผิดของเจ้�ของกิจก�ร) แต่บ�งครั้ง เหตุก�รณ์ที่เกิดขึ้นอ�จม�จ�กตัวของพนักง�นเอง ที่ปล่อยปละละเลย ไม่ใส่ใจ กับคว�มรูแ้ ละคำ�แนะนำ�เกีย่ วกับสุขภ�พและคว�มปลอดภัย ทีเ่ จ้�ของกิจก�รได้ให้ค�ำ แนะนำ� หรือได้จัดเตรียมเป็นแผนก�ร (Policy) เพื่อรักษ�คว�มปลอดภัยให้แก่ทุกคน - ห�กเป็นเช่นนี้ เจ้�ของกิจก�รจะไม่มีคว�มผิด เพร�ะส�ม�รถพิสูจน์ได้ว่� ตนได้ทำ�ทุกสิ่งทุกอย่�งในก�ร ป้องกันอันตร�ย-แต่พนักง�นไม่ปฏิบัติต�ม ถ้�อุบตั เิ หตุสง่ ผลให้พนักง�นหรือผูอ้ น่ื (เช่น ลูกค้�) ทีเ่ ข้�ม�ใช้สถ�นที่ ได้รบั บ�ดเจ็บ เสียห�ย และทำ�ให้บุคคลท่�นนั้นต้องหยุดก�รทำ�ง�นน�นตั้งแต่ 3 วันขึ้นไป (เพร�ะกระดูก หัก อวัยวะฉีกข�ด มีรอยไหม้รุนแรง หรือเสียชีวิต เจ้�ของกิจก�รจะต้องทำ� “RIDDOR” (Report of Injuries, Diseases and Dangerous Occurances Regulations 1995) ภ�ยใน เวล� 10 วัน นับจ�กวันที่เกิดเหตุ ต่อเจ้�หน้�ที่แผนกสุขภ�พและคว�มปลอดภัย (Health and Safety Executive) ในสภ�เทศบ�ลท้องถิ่น (Local Authority) ที่สถ�นประกอบก�ร ได้จดทะเบียน 9
h&shandbook_a5.indd 9
9/10/2553 17:00
Accidents เพื่อคว�มปลอดภัยของทุกคน เจ้�ของกิจก�รจะต้อง... • ทำ�แผนก�รเกี่ยวกับสุขภ�พและคว�มปลอดภัย (Health and Safety Policy) • ทำ�สถ�นประกอบก�รให้ปลอดภัยที่สุด • ติดตั้งถังดับเพลิง และเครื่องมือป้องกันอัคคีภัย • จัดเตรียมท�งหนีไฟ (Fire Exit) และจุดรวมตัว (Assembly point) • ติดป้�ยเพื่อคว�มปลอดภัย (Safety signs) และป้�ยคำ�เตือนต่�งๆ • ติดตั้งเครื่องมือก�รปฐมพย�บ�ล • อบรมพนักง�นเกี่ยวกับสุขภ�พและคว�มปลอดภัย • ตรวจตร�ว่�พนักง�นปฏิบัติต�มทำ�แนะนำ� และรักษ�สุขภ�พและคว�มปลอดภัยเป็นอย่�งดี • ตรวจตร�ว่� อุปกรณ์เครื่องใช้ทุกชนิดมีคุณภ�พดี และปลอดภัยต่อก�รใช้ง�น • ตรวจสอบส�รเคมีที่ใช้ประจำ� ว่�มีโอก�สเสี่ยงต่อพนักง�นหรือไม่ (อย่�งไร) ถ้�มีคว�มเสี่ยง สูง ท่�นจะลดคว�มเสี่ยงนั้นด้วยวิธีก�รไหน • ตรวจสอบว่� พนักง�นให้คว�มระมัดระวังเกี่ยวกับเครื่องมือที่แหลมคม เช่น มีด เครื่องสับ หั่น หรือเครื่องบดเนื้อ และใช้เครื่องมือเหล่�นี้ถูกวิธี
10
Level 1 – Award in Health and Safety for Caterers
h&shandbook_a5.indd 10
9/10/2553 17:00
Accidents
• ตรวจสอบว่� พนักง�นให้คว�มระมัดระวังเกี่ยวกับก�รยกของร้อน และของหนัก และ สอนวิธีก�รยก (manual handling) ที่ถูกวิธีให้กับพนักง�นทุกคน • แนะนำ�ให้พนักง�นทุกคนรู้ว่� ก�รลื่น ก�รสะดุด ก�รหกล้ม (Slips, Trips and Falls) คือ อุบัติเหตุที่เกิดบ่อยที่สุดในสถ�นที่ทำ�ง�น • ตรวจตร�ว่� พนักง�นใส่ใจถ้�พบเห็น นำ้�หก ของเหลวหก หรือเศษอ�ห�รที่หกหล่นต�ม พื้นห้อง • จัดเตรียมเครื่องมือที่ใช้สำ�หรับก�รทำ�คว�มสะอ�ดอย่�งพอเพียง และสอนวิธีก�รใช้ เครื่องมือ หรือส�รเคมีที่ใช้ • สอนพนักง�นให้ทิ้งเศษขวด เศษแก้วแตก อย่�งระมัดระวัง และสอนให้ห่อเศษแก้วแตก ในกล่องกระด�ษ หรือในกระด�ษที่หน� ก่อนที่จะนำ�ไปทิ้งถังขยะ และหมั่นสำ�รวจว่� พนักง�นทำ�อย่�งนี้ในสถ�นก�รณ์จริง
11
h&shandbook_a5.indd 11
9/10/2553 17:00
Accidents
อุบัติเหตุ (Accidents) อุบัติเหตุคือ เหตุการณ์ หรือสถานการณ์ที่เกิดขึ้นโดยไม่ได้ตั้งใจ และไม่ได้วางแผน แต่ละอุบัติเหตุมีความแตกต่างกัน บางครั้งอาจจะนำ�ไปสู่ความเสียหายและ อาการบาดเจ็บ ตั้งแต่บาดเจ็บเล็กน้อยไปจนถึงรุนแรงมาก ทำ�ให้เสียชีวิต เจ้าของกิจการ จะต้องหาทางป้องกันไม่ให้สถานการณ์เหล่านั้นเกิดขึ้น ปกติอุบัติเหตุที่จะเกิดขึ้นในสถานที่ประกอบการ มักจะมีสาเหตุมาจากปัจจัย 3 สภาวะ บุคคล (Human factors) เช่น ขาดความรู้ความเข้าใจ ปล่อยปละละเลย เล่นซุกซน ขาดสมาธิ เกี่ยวกับประเภทของงาน (Occupational factors) เช่น การยก การแบก การหาม การใช้บันได สภาพแวดล้อมและตัวอาคาร (Environmental factors) เช่น ประตูเข้าออก ประตูหนีไฟ พื้นห้อง เสียงดังรบกวน แสงสว่าง แสงไฟ เครื่องดูดกลิ่นและเครื่องปรับ อากาศ และอุบัติเหตุส่วนใหญ่มักจะเกี่ยวกับ... • การลื่น การสะดุด การล้ม (slips, trips and falls) • การยกของที่ไม่ถูกวิธี (poor lifting and carrying technique) • การใช้เครื่องมือไม่เป็น หรือการไม่ใช้เครื่องมือตามคำ�แนะนำ� (misuse or abuse of machinery) • ของมีคมต่างๆ (sharp objects) • ยานพาหนะ (vehicles) • เล่นซุกซน ไม่ระมัดระวัง (horseplay) • การไม่สนใจปฏิบัติตามคำ�แนะนำ� (ignoring instructions)
12
Level 1 – Award in Health and Safety for Caterers
h&shandbook_a5.indd 12
9/17/2553 22:42
Accidents
แต่ทั้งหมดส่วนใหญ่มักจะมี “คน” ที่เป็นปัจจัยสำ�คัญที่ทำ�ให้เกิดอุบัติเหตุขึ้น โดยเฉพาะในสถานที่ประกอบอาหาร เช่น คน...
อารมณ์ฉุนเฉียว
ดังนัน้ ท่านเจ้าของกิจการจะต้องแนะนำ�ให้พนักงานอ่านและปฏิบตั ติ ามคำ�แนะนำ� อย่างเคร่งครัด (Instructions, Labels) นอกจากนี้ อาจจะต้องแนะนำ�เกี่ยวกับตาราง คำ�แนะนำ�การใช้สารเคมี (Hazard data sheets) และวิธีควบคุมความเสี่ยง (Risk Assessments) และควรจัดเตรียมแปะโปสเตอร์เกีย่ วกับสุขภาพและความปลอดภัย (‘Health and Safety Law’ Poster) ในตัวอาคาร และจัดเตรียมเครื่องนุ่งห่มที่เหมาะสมซึ่งจะช่วย ป้องกันอันตราย (เช่น เสื้อคลุม หมวกคลุมผม ถุงมือ แว่นป้องกันตา รองเท้าหุ้มนิ้วเท้าแบบ กันลื่น) ให้แก่พนักงาน 13
h&shandbook_a5.indd 13
9/17/2553 22:41
Accidents
การลื่นและการสะดุด (Slips and Trips) ดังที่กล่าวแต่ต้น การลื่น การสะดุด คือสาเหตุหลักที่สำ�คัญที่ก่อให้เกิดอุบัติเหตุภายใน สถานที่ทำ�งาน ซึ่งอาจส่งผลให้เกิดอาการบาดเจ็บ เสียหายและหยุดงาน หรือที่ร้ายแรง ที่สุด คือทำ�ให้เสียชีวิต
สาเหตุที่ทำ�ให้ลื่น สะดุด หกล้ม สาเหตุส่วนใหญ่ที่ทำ�ให้ลื่นล้มในห้องครัวมักจะมาจาก การเดินเหยียบนํ้าหรือเหยียบสะดุดสิ่งของหกหล่น หรือเหยียบ เศษอาหารเลอะเทอะบนพืน้ ห้อง ดังนัน้ ทุกคนจะต้องช่วยกันดูแล ถ้าเห็นเศษวัสดุ สิ่งของ อาหาร หรือนํา้ หกตามพืน้ ห้องเราจะต้อง รีบเก็บทำ�ความสะอาดสิง่ นัน้ ให้เรียบร้อยและ เช็คให ้แห้งสนิททันที ในขณะที่ พื้ น ยั ง ไม่ แ ห้ ง หรื อ ยั ง ไม่ ส ามารถกำ � จั ด สิ่ ง ของนั้ น ออกจากพื้นห้อง ท่านจะต้องนำ�โคนป้ายคำ�เตือนขึ้นตั้งเตือนใน บริเวณนั้น จนกว่าพื้นจะเรียบร้อยสะอาดและแห้งสนิทดี ห้องทีม่ คี วันคลุง้ ไหม้ ก็เป็นอีกสาเหตุหนึง่ ทีท่ �ำ ให้ มองไม่เห็น และอาจทำ�ให้เกิดการลืน่ การสะดุด หกล้ม ได้ ดังนัน้ ท่านเจ้าของกิจการจึงควรติดตัง้ เครือ่ งดูดควัน หรือเครื่องปรับอากาศใช้ในห้องครัวซึ่งมีอากาศถ่ายเท ไม่สะดวก และหมั่นทำ�ความสะอาดเครื่อง และเปิด เครื่องทำ�งานในขณะที่พนักงานกำ�ลังปฏิบตั งิ าน ใส่รองเท้าผิดประเภทที่ไม่เกาะพื้นจึงทำ�ให้ลื่นล้ม ฉะนัน้ เจ้าของกิจการจึงควรตรวจเช็คและบังคับให้พนักงานใส่รองเท้าให้ ถูกประเภท ชนิดหุ้มข้อ กันลื่น มีที่หุ้มแข็งพิเศษบริเวณนิ้วเท้า นอกจากจะช่วยป้องกันการลื่นล้มแล้ว ยังสามารถช่วยป้องกัน สิ่งของตกหล่นใส่หลังเท้าได้อีกด้วย
14
Level 1 – Award in Health and Safety for Caterers
h&shandbook_a5.indd 14
9/10/2553 17:00
Accidents
อุปกรณ์เครื่องใช้ ในสถานที่ทำ�งานห้องครัวมีอุปกรณ์เครื่องใช้หลายประเภทที่ให้ประโยชน์ และ ช่วยให้การทำ�งานนั้นสะดวกมากขึ้น แต่ในขณะเดียวกันอุปกรณ์เครื่องใช้ต่างๆ เหล่านั้น เช่น มีด ของใช้ทแ่ี หลมคม เครือ่ งหัน่ เครือ่ งบด เครือ่ งปัน่ ฯลฯ ส่วนมากมักจะเป็นเครือ่ งใช้ ไฟฟ้าทีพ่ นักงานจะต้องให้ความระมัดระวังเป็นพิเศษ เพราะถ้าสายไฟฟ้าชำ�รุด อาจจะทำ�ให้ เกิดอุบัติเหตุได้ เช่น ไฟฟ้ารัดวงจร ไฟฟ้าดูด ไฟฟ้าช็อต หรือถ้าเครื่องพัง หรือมีอุปกรณ์ ป้องกันที่ไม่ครบ หรือหลุดชำ�รุด อาจจะทำ�ให้บาดมือ ตัดนิ้ว หรือทำ�ให้บาดเจ็บเสียหาย ดังนั้นท่านเจ้าของกิจการ จึงควรจะต้องหมั่นตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์เครื่องใช้ ทุกๆ ชนิดอย่างสมํ่าเสมอ และพนักงานควรจะต้องรู้ว่า จะต้องรายงานหัวหน้าทุกครั้งทันที ที่พบเห็นอุปกรณ์เครื่องใช้ที่ชำ�รุด และควรเขียนป้ายคำ�เตือนแปะติดเครื่องนั้น เพื่อป้องกัน ความผิดพลาดจากการใช้เครื่องมือที่ชำ�รุด
ก่อนใช้อุปกรณ์อำ�นวยความสะดวกเครื่องไฟฟ้า พนักงานควรจะ...
รัดผมให้เรียบร้อย หรือใส่หมวกคลุม
ระวังสายไฟฟ้า ถ้าเห็นว่าชำ�รุดจะต้อง ไม่ใช้ และรายงานหัวหน้างานทันที
ใส่เสื้อ หรืออุปกรณ์ป้องกัน (เช่น แว่นตา ถุงมือ เสื้อคลุม รองเท้าหุ้มข้อ) ก่อนลงมือทำ�งาน
ตรวจสอบความเรียบร้อย ของเครื่องมือนั้นก่อนใช้
ระมัดระวังในขณะทำ�งาน ไม่เล่นซุกซนในขณะปฏิบัติงาน 15
h&shandbook_a5.indd 15
9/10/2553 17:00
Fire
16
Level 1 – Award in Health and Safety for Caterers
h&shandbook_a5.indd 16
9/10/2553 17:00
Fire
อัคคีภัย (Fire) อัคคีภยั เกิดขึน้ ได้ตลอดเวล�ถ้�ไม่ระมัดระวัง ปรกติอัคคีภัยเกิดจ�กก�รผสมผส�นของปัจจัยส�ม สิง่ (ออกซิเจน เปลวไฟ และเชือ้ เพลิง) เพร�ะฉะนัน้ ท่�นจะต้องไม่จุดเทียนตั้งทิ้งไว้ใกล้กับเศษกระด�ษ หรือปล่อยกระทะทอดนำ�้ มัน ทิง้ ไว้โดยไม่ใส่ใจ ก�รป้องกันอัคคีภยั เป็นหน้�ทีค่ ว�มรับผิดชอบ ของทุกคน ทีจ่ ะต้องช่วยเหลือกันเป็นหูเป็นต� แต่ เจ้�ของกิจก�รจะต้องทำ�หน้�ที่จัดเตรียมอุปกรณ์ ป้องกันภัย เช่น ประตูกนั ไฟ ถังดับเพลิงประเภทต่�งๆ ผ้�ห่มดับเปลวไฟ (Fire blanket) ติดตัง้ สัญญ�ณ เตือนภัย ป้�ยคำ�เตือนต่�งๆ และให้ค�ำ แนะนำ�เกีย่ วกับ ก�รป้องกันอัคคีภยั แก่พนักง�นอย่�งต่อเนือ่ ง แนะนำ� ถึงวิธกี �รเตือนภัยถ้�พบเห็นอัคคีภยั ในสถ�นทีท่ �ำ ง�น ให้แก่พนักง�น และติดป้�ยเกีย่ วกับคำ�แนะนำ�นัน้ ใน บริเวณประตูท�งออก ประตูหนีไฟ หรือท�งเข้�สถ�น ทีท่ �ำ ง�น เป็นต้น ควรแนะนำ � เบอร์ โ ทรศั พ ท์ ฉุ ก เฉิ น ให้ แ ก่ พนักง�นทุกคน และควรแปะเบอร์โทรฉุกเฉิน (999 หรือ 112) นัน้ ต�มเครือ่ งโทรศัพท์ต�่ งๆ ทีใ่ ช้ในอ�ค�ร และควรสอนพนักง�นถึงวิธกี �รพูดท�งโทรศัพท์ เมือ่ ต้องแจ้งคว�มแก่เจ้�หน้�ที่
17
h&shandbook_a5.indd 17
9/10/2553 17:00
Fire
วิธีป้องกันอัคคีภัย • ไม่ปล่อยขยะว�งเกะกะ หรือปล่อยให้ล้นเต็มถัง เพร�ะอ�จเป็นเชื้อเพลิงที่ดี • ตรวจเช็คลักษณะส�ยไฟ ถ้�พบส�ยไฟฟ้�ที่ชำ�รุดจะต้องแจ้งหัวหน้�ง�นทันที • ตรวจตร�อุปกรณ์เครื่องใช้ไฟฟ้�อย่�งสมำ่�เสมอ ทุกๆ ป โดยช่�งไฟฟ้�ที่มีคุณวุฒิ และใบประก�ศนียบัตรรับรอง ถ้�พบว่�มีเครื่องใช้ไฟฟ้�ใดมีลักษณะชำ�รุด จะต้องแจ้งหัวหน้� ง�น และติดป้�ยคำ�เตือนก�รระมัดระวังก�รใช้ แต่ถ้�พบว่� ก�รชำ�รุดนั้นมีลักษณะที่เสี่ยงต่อ อันตร�ยอย่�งม�ก จะต้องไม่ใช้เครื่องไฟฟ้�นั้น และนำ�มันออกจ�กสถ�นที่ประกอบก�รทันที • ระมัดระวังเปลวเพลิง ไม่ปล่อยให้มีก�รหุงห�เกิดขึ้น หรือตั้งหม้อนำ้�มัน โดยไม่มี พ่อครัวแม่ครัว หรือคนทำ�ง�นอยู่ในห้องครัวอย่�งเด็ดข�ด และไม่จุดเปลวไฟ หรือจุดเทียน ใกล้กระด�ษ หรือสิ่งใดๆ ที่คิดว่�อ�จเป็นเชื้อเพลิงได้ง่�ย ในขณะที่เกิดอัคคีภัย • พนักง�นจะต้องปฏิบัติต�มคำ�แนะนำ�ที่ได้รับเกี่ยวกับก�รหนีไฟอย่�งเคร่งครัด เช่น ทร�บว่�ควรทำ�อย่�งไรเมื่อได้ยินเสียงสัญญ�ณเตือนภัย • พนักง�นจะต้องรู้ว่� จะต้องออกจ�กตัวอ�ค�รท�งไหน ออกอย่�งไร และไปรวมตัว กันที่ไหน และทร�บว่�จะต้องไม่กลับเข้�สู่อ�ค�ร ห�กยังไม่รับก�รยืนยันจ�กหัวหน้�ที่ควบคุม เกี่ยวกับก�รป้องกันไฟ (Fire marshal) • พนักง�นจะต้องรู้ว่� จะต้องไม่เสี่ยงชีวิตในก�รต่อสู้ หรือก�รป้องกันไฟ • พนักง�นใดที่ไม่มีคว�มรู้เกี่ยวกับก�รใช้ถังดับเพลิง จะต้องไม่ใช้ถังนั้นอย่�งเด็ดข�ด และไม่เล่น ไม่หยอกล้อกับเพื่อนใกล้กับถังดับเพลิง
ประเภทของถังดับเพลิง
1. ถังโฟม (Foam) มักนิยมใช้กับนำ้�มัน ที่ลุกไหม้ 2. ถังค�ร์บอนไดออกไซด์ (CO2) มักนิยมใช้กับเครื่องใช้ไฟฟ้�ที่ลุกไหม้ 3. ถังแป้ง (Powder) มักนิยมใช้กับ ไฟลุกไหม้ทั่วไป และก�รลุกไหม้กับ พล�สติก 4. ถังนำ้� (Water) มักนิยมใช้กับไม้ กระด�ษ และผ้� ที่กำ�ลังลุกไหม้ 5. ผ้�ห่มประเภทดับเปลวไฟ (Fire blanket) มักนิยมใช้กับนำ้�มัน หรือ ไขมันลุกไหม้ เพื่อหยุดออกซิเจน
18
Level 1 – Award in Health and Safety for Caterers
h&shandbook_a5.indd 18
9/10/2553 17:00
Fire
ระวัง!
ตั้งสติให้มั่น อย่�ส�ดนำ้�ใส่เปลวเพลิง ที่กำ�ลังลุกไหม้
อย่�ใช้ถังดับเพลิง ถ้�ยังไม่รู้วิธีใช้ที่ถูกต้อง
ไม่ใช้ถังดับเพลิงกับผู้ที่กำ�ลังถูกไฟ คลอกควรใช้ผ�้ ชุบนำ�้ ทีเ่ ปยกช่วย หรือใช้ผ�้ ห่มประเภทดับเปลวไฟ และเมื่อดับไฟนั้นสนิทแล้ว ในกรณี ที่ไม่รุนแรง ควรให้ผู้ปวยนั้น รอง บริเวณที่ถูกไหม้ใต้กอกนำ้�เย็นอย่�ง น้อย 10 น�ที แล้วติดต่อผู้ให้ก�ร ปฐมพย�บ�ล (First Aider) ทันที หรือโทร 999
เห็นสิ่งใดที่ไม่ชอบม�พ�กล ต้องแจ้งหัวหน้�ง�นทันที
19
h&shandbook_a5.indd 19
9/10/2553 17:00
Lifting and Carrying
การยกและการแบกหาม (Lifting and Carrying) ก�รยกและก�รแบกห�ม เป็นก�รเคลือ่ นไหวพร้อมกับก�รใช้ก�ำ ลัง อ�ก�รบ�ดเจ็บส่วนใหญ่มีผลม�จ�กก�รเคลื่อนไหวอย่�งผิดวิธีในขณะที่ ใช้กำ�ลังแบกห�มสิ่งของ เป็นหน้�ทีส่ �ำ คัญของเจ้�ของกิจก�รทีจ่ ะต้องให้ก�รสนับสนุน และ สอนวิธกี �รยกของที่ถูกต้องแก่พนักง�นทุกคน ซึ่งจะช่วยลดปัญห�คว�ม เสี่ยงจ�กอ�ก�รบ�ดเจ็บต่�งๆ ได้
20
Level 1 – Award in Health and Safety for Caterers
h&shandbook_a5.indd 20
9/10/2553 17:00
Lifting and Carrying
ก่อนจะยกของแต่ละครัง้ ท่�นควรจะสำ�รวจ LITE (Load, Individual, Task, Environment) ก่อนเสมอว่� สิ่งของที่จะยกมีนำ้�หนักเท่�ไหร่ ขน�ดใหญ่หรือไม่ (Load) เกินกว่�ที่ท่�นเพียงลำ�พังผู้เดียวจะรับมือกับมันได้ (Individual) ห�กว่�ส�ม�รถยกได้ต�ม ลำ�พัง ท่�นก็ควรจะต้องรู้วิธีก�รยกของที่ถูกวิธี (Task) และอย่�ลืม สำ�รวจบริเวณรอบข้�ง ก่อนก�รยกเสมอ เช่น พื้นเดิน สิ่งของที่อ�จว�งเกะกะ ประตู บันได ฯลฯ (Environment) เพื่อให้ก�รยกนั้นปลอดภัยที่สุด และไม่ประสบอุบัติเหตุ
21
h&shandbook_a5.indd 21
9/10/2553 17:00
Risk Assessment and Training
COSHH
การควบคุมความเสี่ยงและการอบรม (Risk Assessment and Training) อันตราย (Hazard) คือสิ่งที่กำ�ลังก่อให้เกิดอุบัติเหตุ ความเสี่ยง (Risk) คือโอกาสของอันตรายที่กำ�ลังจะเกิดขึ้น การควบคุมความเสี่ยง (Risk Assessment) คือการคำ�นวณเพื่อที่จะลดโอกาสเสี่ยง หลักการควบคุมความเสี่ยง 5 ประการ • แจกแจงอันตราย • ใครบ้างที่เสี่ยง • เช็คว่าการควบคุมที่วางแผนไว้ ลดความเสี่ยงได้แค่ไหน • บันทึกข้อมูลที่วิเคราะห์ • หมั่นตรวจสอบบ่อยๆ เพื่อหาทางลดโอกาสและความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นในสถานที่ ทำ�งาน
การควบคุมสารเคมี (COSHH) ปกติอันตรายจากสารเคมีเกิดขึ้นได้หลายทาง เช่น การสูดดม การกลืนกินและ การซึมโดนผ่านผิวหนัง ดังนั้น เจ้าของกิจการจึงควรตรวจสอบให้มั่นใจว่าพนักงานมีความ เข้าใจเกีย่ วกับการใช้สารเคมีแต่ละชนิดอย่างดี โดยการอบรมเกีย่ วกับสารเคมีทใ่ี ช้แต่ละชนิด ในสถานที่ทำ�งาน และควรรู้จักสัญลักษณ์ที่เกี่ยวกับสารพิษอันตรายต่างๆ กฏหมายเกี่ยวกับสุขภาพและความปลอดภัย (Legal requirements) กำ�หนดว่า ท่านเจ้าของกิจการจะต้องทำ�การวิเคราะห์เกี่ยวกับอันตรายของสารเคมีทุกชนิดที่ใช้ภายใน สถานที่ประกอบการ (COSHH - Control of Substances Hazardous to Health) โดย การวางแผนป้องกันไม่ให้สารเคมีนั้นเป็นอันตรายต่อพนักงานที่จะต้องมีส่วนเกี่ยวข้องหรือ ใช้สารเคมี หรือเลือกหาสารเคมีประเภทอื่นที่ความอันตรายน้อยกว่ามาทดแทน หรือถ้ายัง มีความจำ�เป็นจะต้องใช้สารเคมีที่อาจมีความเสี่ยงต่อพนักงาน เจ้าของกิจการควรพยายาม วางแผน จำ�กัดระยะเวลาที่พนักงานเหล่านั้นอาจจะต้องมีโอกาสได้ใช้สารเคมี 22
Level 1 – Award in Health and Safety for Caterers
h&shandbook_a5.indd 22
9/10/2553 17:00
COSHH
ส�รพิษอันตร�ย กัดผิว Toxic Corrosive
ระค�ยเคือง Irritant
เป็นอันตร�ย Harmful
ติดไฟง่�ย Flammable
ช่วยให้ติดไฟ Oxidizing
ท่�นเจ้�ของกิจก�รควร... • อบรมพนักง�นเกี่ยวกับอันตร�ยของส�รเคมีที่จำ�เป็นต้องใช้ในก�รทำ�คว�มสะอ�ด • สอนวิธีก�รใช้ส�รเคมีที่ถูกวิธีให้ • เตรียมเครื่องนุ่งห่มเพื่อป้องกันภัยให้อย่�งพอเพียง และเหม�ะสม • ติดป้�ยคำ�เตือน • จัดเตรียมเอกส�รแนะนำ�เกี่ยวกับก�รควบคุมคว�มเสี่ยงในก�รใช้ส�รเคมี และวิธีก�ร ปฐมพย�บ�ล ในกรณีที่เกิดอุบัติเหตุ คว�มรับผิดชอบของพนักง�นเกี่ยวกับก�รใช้ส�รเคมี... ไม่เล่นหรือหยอกล้อใน ขณะทำ�คว�มสะอ�ด
ปฏิบัติต�มคำ�แนะนำ� อย่�งเคร่งครัด ไม่เทส�รเคมี ใส่ภ�ชนะอื่น เช่น ภ�ชนะอ�ห�ร ที่ไม่ใช่ภ�ชนะของมัน ใส่เครื่องนุ่งห่ม เพื่อป้องกันภัยทุกครั้ง ที่ต้องใช้ส�รเคมี หมั่นรักษ�และทำ�คว�ม สะอ�ดเครื่องนุ่งห่มให้ดี ทุกครั้งหลังก�รใช้ง�น
ไม่ผสมส�รเคมีเอง
ไม่ใช้ส�รเคมีที่ ไม่มีฉล�กแปะ
ใช้ส�รเคมีต�ม คำ�แนะนำ�บน ฉล�ก ห�กไม่ เข้�ใจ จะต้อง สอบถ�มผู้รู้ ก่อนก�รใช้ทุกครั้ง 23
h&shandbook_a5.indd 23
9/10/2553 17:00
COSHH
ปายคําเตือน (Safety Signs) เป็นหน้�ที่ของเจ้�ของกิจก�รที่จะต้องตรวจสอบให้มั่นใจว่� พนักง�น (และทุกคน ที่เข้�เยี่ยมอ�ค�ร) เข้�ใจเกี่ยวกับคว�มเสี่ยงที่อ�จเกิดขึ้นในขณะปฏิบัติง�น ดังนั้นป้�ยคำ� เตือนจึงมีประโยชน์อย่�งยิ่ง และเป็นสิ่งจำ�เป็นที่เจ้�ของกิจก�รจะต้องนำ�ไปปฏิบัติ และ แปะป้�ยคำ�เตือนติดให้เรียบร้อย ประเภทของป้ายคำาเตือนแบ่งออกตามสีได้เปน 4 ประเภท ดังนี้คือ ป้�ยสีแดง - ป้�ยสั่งห้�ม ป้�ยสีเหลือง - ป้�ยคำ�เตือนให้ระมัดระวัง ป้�ยสีฟ้� (สีนำ้�เงิน) - ป้�ยออกคำ�สั่งให้ทำ�ต�ม ป้�ยสีเขียว - ป้�ยแนะนำ� เพื่อให้เกิดคว�มปลอดภัย
24
Level 1 – Award in Health and Safety for Caterers
h&shandbook_a5.indd 24
9/10/2553 17:00
First Aid
การปฐมพยาบาล (First Aid)
ก�รปฐมพย�บ�ล คือก�รให้คว�มช่วยเหลือพย�บ�ลแก่ผู้บ�ดเจ็บ (ปวย) เพื่อไม่ ให้มีอ�ก�รที่ส�หัสขึ้น ในขณะที่กำ�ลังรอรถพย�บ�ล เช่นเดียวกับหน้�ทีค่ ว�มรับผิดชอบอืน่ ๆ ท่�นเจ้�ของกิจก�รจะต้องจัดเตรียมอุปกรณ์ เกี่ยวกับก�รปฐมพย�บ�ลให้แก่พนักง�นทุกคน และสอนวิธีก�รใช้อุปกรณ์ปฐมพย�บ�ล พระร�ชบัญญัติสุขภ�พและคว�มปลอดภัย (เกี่ยวกับก�รปฐมพย�บ�ล) (The Health and Safety (First Aid) regulations 1981) กล่�วว่� สถ�นที่ประกอบก�รใดที่มี พนักง�นทำ�ง�นด้วยตั้งแต่ 5 คน ขึ้นไป สถ�นที่แห่งนั้นจะต้องมีนักปฐมพย�บ�ล (FIRST AIDER) อย่�งน้อย 1 ท่�น บุคคลท่�นนั้นจะต้องได้รับก�รอบรมในหลักสูตร 3-day First Aid at Work ม�แล้วเท่�นั้น จึงจะส�ม�รถดูแลเกี่ยวกับก�รให้ก�รปฐมพย�บ�ลแก่ทุกคน ได้ นอกจ�กนี้ ยังกล่�วต่ออีกว่� ในทุกอ�ค�รควรมี Appointed First Aider ซึ่งเป็นผู้ที่ ได้รับก�รอบรมหลักสูตร 1-day Emergency First Aid หรืออย่�งน้อย ได้รับก�รอบรม จ�ก First Aider เพื่อช่วยดูแลเกี่ยวกับก�รจัดเก็บ ก�รเตรียมและก�รตรวจเช็คกล่อง ปฐมพย�บ�ล หรือให้คว�มช่วยเหลือผู้ปวย ผู้ได้รับบ�ดเจ็บในกรณีที่ First Aider ไม่อยู่ First Aider จะต้องหมั่นตรวจสอบให้มั่นใจว่� อุปกรณ์ปฐมพย�บ�ลนั้นมีครบและ พร้อมใช้ และกล่องปฐมพย�บ�ลนั้นสะอ�ดเรียบร้อยเสมอ หน้�ถัดไปเป็นแบบฝกหัดทีผ่ เู้ รียนควรฝกทำ�เพือ่ ทบทวนคว�มเข้�ใจ ขอแนะนำ�ว่� ควรทำ�แบบฝกหัดนี้เมื่ออ่�นหนังสือจบก่อนเล่มแล้วเท่�นั้น ขอให้โชคดี... 25
h&shandbook_a5.indd 25
9/10/2553 17:00
Quiz
แบบฝกหัด (Quiz) ใส่เครื่องหม�ยก�กบ�ท X ในข้อที่ท่�นคิดว่�ถูกต้องที่สุด • ภ�ยใต้กฏหม�ยสุขภ�พและคว�มปลอดภัย พนักง�นทุกคนมีหน้�ที่ คือ? ใส่ถุงมือตลอดเวล� รักษ�คว�มปลอดภัยให้แก่ทุกคน จัดเตรียมแผนก�รเพื่อสุขภ�พและคว�มปลอดภัย มีใบประก�ศนียบัตรสุขภ�พและคว�มปลอดภัย • ห�กได้รับอุบัติเหตุขณะปฏิบัติง�น ท่�นจะต้อง? ไปโรงพย�บ�ล บอกเพื่อนร่วมง�น ร�ยง�นหัวหน้�ง�นก่อนเสมอ กลับบ้�นทันที • ข้อใดคือสีของคำ�เตือน? สีเขียว สีฟ้�
สีแดง สีเหลือง
• ข้อใดต่อไปนี้ ควรมีอยู่ในกล่องปฐมพย�บ�ล? ผ้�พันแผลชนิดฆ่�เชื้อ เข็มฉีดย� ย� ครีมท�ผิว • ในข้อนี้มีคำ�ตอบถูก 3 ข้อ ก�กบ�ทในช่องที่ท่�นคิดว่�เป็นเครื่องมือเพื่อใช้ในก�รดับเพลิง? Water CO2 Powder O2 • ถ้�จับพบว่�ปลั๊กไฟมีคว�มร้อน ท่�นควรทำ�อย่�งไร? ปล่อยมันไป ปล่อยให้เย็นก่อน แล้วจึงกลับไปใช้ใหม่ เปลี่ยนปลั๊กใหม่ ไม่ใช้อีก และร�ยง�นแจ้ง
26
Level 1 – Award in Health and Safety for Caterers
h&shandbook_a5.indd 26
9/10/2553 17:00
Quiz
แบบฝกหัด (Quiz) ใส่เครื่องหม�ยก�กบ�ท X ในข้อที่ท่�นคิดว่�ถูกต้องที่สุด • ก่อนใช้ส�รเคมีทำ�คว�มสะอ�ด สองสิ่งที่ท่�นควรกระทำ�อย่�งยิ่งคือ? ผสมด้วยนำ้�ย�ฆ่�เชื้อ ตรวจดูก่อนว่�ควรต้องใส่เครื่องนุ่งห่มป้องกัน ทำ�ให้เจือจ�ง มั่นใจว่� ท่�นได้รับก�รฝกเกี่ยวกับก�รใช้ส�รเคมีตัวนี้ • ห�กพบคนถูกไฟคลอก สิ่งแรกที่ท่�นควรทำ�คือ...? ช่วยให้นอนในท่�พักฟน ให้ดื่มนำ้�เย็น ให้ดื่มนำ้�ร้อน ดับไฟด้วยผ้�ชุบนำ้�หรือผ้�ห่มดับเพลิง • ข้อใดคือคว�มหม�ยของคำ�ว่� อันตร�ย? บ�งสิ่งที่ทำ�ให้ตกใจ ระบบก�รทำ�ง�น
บอกสิ่งที่อ�จทำ�ให้เกิดอุบัติเหตุ บ�งสิ่งที่ไม่ทำ�ให้เกิดอุบัติเหตุ
• ส�รเคมีที่มีรูปกระโหลกไขว้สีส้ม ชี้แจงให้รู้ว่�? กัดผิว เป็นอันตร�ย เป็นส�รพิษอันตร�ย ทำ�ให้ไฟลุกได้ง่�ย • อุบัติเหตุประเภทใด (มีคำ�ตอบถูกสองข้อ) ที่จะต้องร�ยง�นในแบบฟอร์ม RIDDOR? ตัดนิ้วมือ หกล้มและทำ�ให้ต้องหยุดง�น 5 วัน ลื่นล้มและทำ�ให้ต้องหยุดง�น 2 วัน ก�รลื่นล้มและทำ�ให้แขนหัก
• ห�กพบแก้วแตก ท่�นควรทำ�อย่�งไรก่อนที่จะนำ�ไปทิ้งขยะ? ห่อใส่กระสอบพล�สติก เททิ้งลงถังขยะเมื่อนึกได้ เทใส่กล่องก่อนแล้วจึงทิ้งกล่องนั้นลงถังขยะ เททิ้งลงถังขยะทันทีทันใด
27
h&shandbook_a5.indd 27
9/10/2553 17:00
Quiz
แบบฝกหัด (Quiz) ใส่เครื่องหม�ยก�กบ�ท X ในข้อที่ท่�นคิดว่�ถูกต้องที่สุด • บ่อยครั้งเท่�ไหรที่ช่�งไฟฟ้�ควรจะตรวจอุปกรณ์เครื่องใช้ในสถ�นที่ประกอบก�ร? ทุกเดือน ทุกสัปด�ห์ ทุกหกเดือน ทุกป
• ควรทำ�อย่�งไร ห�กพบเห็นวัสดุห่อแพ็คที่น่�สงสัย? โทรแจ้งตำ�รวจ เปิดดูเลยทันที โทรแจ้งหน่วยดับเพลิง อย่�จับหรือแตะต้อง • ข้อใด คือกฏหม�ยที่เกี่ยวเนื่องกับสุขภ�พและคว�มปลอดภัย? The Management of Health and Safety at Work Regulations 1974 The Health and Safety at Work Etc. Act 1974 • ข้อใดคือส�เหตุที่ทำ�ให้เกิดอุบัติเหตุม�กที่สุด? ก�รยก ก�รแบก ก�รห�ม มีดบ�ด ผิวไหม้ ลื่นและสะดุด • สิ่งแรกที่ควรทำ� ห�กพบเห็นอัคคีภัย? ร�ยง�นผู้จัดก�ร กดกระดิ่ง Alarm
ต่อสู้เปลวเพลิงโดยก�รใช้ถังดับเพลิง รีบออกจ�กอ�ค�รทันที
• ควรทำ�อย่�งไร เพื่อป้องกันก�รลื่นล้มภ�ยในที่ทำ�ง�น? ทำ�คว�มสะอ�ดของเหลวที่หกต�มพื้นห้องทันที เขียนข้อคว�มบอกแจ้งแก่ผู้จัดก�ร ปล่อยของเหลวที่หกต�มพื้นห้องไว้อย่�งนั้น ทำ�คว�มสะอ�ดพื้นห้องทุกๆ สัปด�ห์
28
Level 1 – Award in Health and Safety for Caterers
h&shandbook_a5.indd 28
9/10/2553 17:00
Quiz
แบบฝกหัด (Quiz) ใส่เครื่องหม�ยก�กบ�ท X ในข้อที่ท่�นคิดว่�ถูกต้องที่สุด • ถ้�ท่�นไม่คิดว่� จะส�ม�รถยกกล่องเองได้ต�มลำ�พัง สองสิ่งที่ท่�นควรปฏิบัติก่อนที่จะ ยกสิ่งของนั้นคือ? แบ่งออกเพื่อแยกยกที่ละส่วน ยกไปเถอะ เพร�ะถึงอย่�งไรก็ไม่มีใครจะช่วยได้ ยกขึ้นใส่รถเข็น ปล่อยทิ้งไว้ตรงนั้น เดี๋ยวคงจะมีคนม�ยกเอง • ข้อใดเกี่ยวข้องกับโรคท�งผิวหนัง? โรคปอด โรคปวดหลัง
มีผื่นแดง คันที่หลังมือ โรคมะเร็งในปอด
29
h&shandbook_a5.indd 29
9/10/2553 17:00
The Mission Statement of ACS Facilities Management is: “To provide a dedicated service to the Thai Community to ensure they comply with all the required standards, which will enhance and protect their businesses in the UK.�
ACS Facilities Management was formed in 1992 and has developed cleaning and maintenance systems, which are geared to meet today’s demands. We specialise in one-off deep cleans and scheduled on-going cleans to meet your requirements, and are also able to stagger payments for follow-up cleans. The services we offer are cleaning and maintenance of cooker hoods and ducting, and are qualified Duct Hygiene Technicians to the EVHA Standard giving us authorisation to certificate our work, which will be recognised by all insurance companies. In addition to this specialist area, we are able to offer general deep cleaning of kitchens and related equipment used in the catering industry, including full pest control. Because of our experience in the catering industry, we able to contact on your behalf qualified tradesmen such as electricians and gas fitters. Other services include carpet cleaning to the highest standard, staff training in the latest cleaning methods and advice on simple and effective cleaning systems with minimal use of chemicals. We feel that first impressions to customers entering premises and using the facilities within, are vital to the continuing success of your business, and we guarantee to do everything to enhance this. For further information, either call 0333 123 2266, e-mail brenton@acscleaners.com or visit our website at www.acscleaners.com.
h&shandbook_a5.indd 30
9/10/2553 17:00
h&shandbook_a5.indd 31
9/10/2553 17:00
www.edupluscic.org Head Office: Edu-Plus CIC, ‘Duang-Dhamma Building’, 49 Castle Street, Banbury, Oxfordshire OX16 5NU T: 0871 2003441 F: 01295 275180 M: 07760 124612 E: info@edupluscic.org W: www.edupluscic.org