Life
in the
UK
คู่มือ Life in the UK ฉบับแปลภาษาไทย
จัดทำ�โดย Dr. Khanungnit Garnett • แปลและเรียบเรียงโดย Kanlaya Coulsting Edu-Plus CIC
(not-for-profit)
Duang-dhamma Building, 49 Castle Street, Banbury, Oxfordshire OX16 1UD United Kingdom
W: www.edupluscic.org E: info@edupluscic.org T: 00 44 (0) 871 2003441
Life
in the
UK
สารบัญ เกีย่ วกับการสอบ
Life in the UK
14 บทที่ 1 The Making of the United Kingdom (การก่อกำ�เนิดของสหราชอาณาจักร) 70 บทที่ 2 A Changing Society (การเปลีย่ นแปลงของสังคม)
88 บทที่ 3 UK Today (สหราชอาณาจักรยุคปัจจุบนั )
108 บทที่ 4 How the UK is governed (ระบบการปกครองของสหราชอาณาจักร)
232 บทที่ 7 Knowing the Law (ความรูเ้ กีย่ วกับกฎหมายในสหราชอาณาจักร)
202 บทที่ 6 Employment (การทำ�งานในสหราชอาณาจักร)
288 บทที่ 9 Cohesive communities (การร่วมมือกันพัฒนาชุมชน)
142 บทที่ 5 Everyday Needs (สิง่ ทีส่ �ำ คัญในชีวติ ประจำ�วัน)
274 บทที่ 8 Sources of Help and Information (ศูนย์บริการข้อมูลและความช่วยเหลือ)
Life
in the
UK
คำ�นำ� เกีย่ วกับการสอบ
Life in the UK เหตุผลทีต่ อ้ งสอบ Life in the UK การเปลี่ยนสถานะเป็นพลเมืองอังกฤษ หรือการตัดสินใจที่จะตั้งถิ่นฐานอยู่ ในประเทศนี้ ตลอดไป เป็นเรือ่ งทีส่ �ำ คัญในชีวติ ของคุณ หากคุณกำ�ลังทำ�เรือ่ งขอแปลงสัญชาติเป็นคน อังกฤษ หรือขออนุญาตอาศัยอยูท่ น่ี เ่ี ป็นการถาวร คุณจะต้องพิสจู น์ ให้เห็นว่าคุณมีความรู้ เกีย่ วกับการดำ�รงชีวติ ในสหราชอาณาจักร หากคุณอาศัยอยู่ ในแคว้นอังกฤษ สก็อตแลนด์ เวลส์ หรือไอร์แลนด์เหนือ คุณสามารถทำ�ได้สองวิธี คือ 1. โดยการสอบ Life in the UK 2. โดยการเรียนหลักสูตรภาษาอังกฤษสำ�หรับผูท้ พ่ี ดู ภาษาอืน่ ๆ (ESOL) ควบคู่ กับวิชาหน้าทีพ่ ลเมือง
ใครบ้างทีจ่ ะต้องสอบ Life in the UK คุณควรที่จะสอบ หากคุณกำ�ลังทำ�เรื่องขอแปลงสัญชาติเป็นคนอังกฤษ หรือขออนุญาต อาศัยอยู่ ในสหราชอาณาจักรตลอดไป (ตั้งถิ่นฐานอยู่ท่ีน่ี) และความสามารถในการใช้ ภาษาอังกฤษของคุณอยู่ ในระดับ ESOL Entry 3 หรือสูงกว่านี้ (ใน สก็อตแลนด์ ระดับ Intermediate Level 1 หรือสูงกว่านี)้ คุณจะต้องสอบ หากคุณกำ�ลังทำ�เรื่องขออนุญาตอาศัยอยู่ ในสหราชอาณาจักรตลอดไป และคุณมีคุณสมบัติจัดอยู่ ในกลุ่มประเภทแรงงานที่มีฝีมือหรือความรู้ หรือมีฝีมือหรือ
ความรูค้ วามสามารถสูง (skilled or highly skilled) ตามทีก่ �ำ หนดไว้ ในเว็บไซต์ของหน่วย งานกำ�กับดูแลคนเข้าเมืองของสหราชอาณาจักร (UKBA) หน่วยงาน UKBA ได้จดั วาง เงือ่ นไขในช่วงการเปลีย่ นผ่านไว้แล้วสำ�หรับคนเข้าเมืองในกลุม่ ประเภทแรงงานเหล่านีท้ ่ี ได้ ลงชือ่ เข้าเรียนหลักสูตร ESOL ควบคูว่ ชิ าหน้าทีพ่ ลเมือง (ESOL with Citizenship Materials) หรือเรียนหลักสูตรนีจ้ บแล้ว ก่อนวันที่ 23 พฤศจิกายน ค.ศ. 2010 โปรดดูขอ้ มูล เพิม่ เติมได้ท่ี www.ukba.homeoffice.gov.uk/settlement/knowledge-language-life/ หากความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษของคุณอยู่ ในระดับต่�ำ กว่า ESOL Entry 3 (หรือ ตํา่ กว่า Intermediate Level 1 ในสก็อตแลนด์) และคุณประสงค์ทจ่ี ะทำ�เรือ่ งขอแปลง สัญชาติเป็นคนอังกฤษ หรือขออนุญาตอาศัยอยู่ ในสหราชอาณาจักรเป็นการถาวร คุณจะ ต้องเข้าเรียนหลักสูตรภาษาอังกฤษ (ESOL) ควบคูว่ ชิ าหน้าทีพ่ ลเมือง ซึง่ คุณจะหาเรียนได้ ตามวิทยาลัยชุมชน หรือวิทยาลัยการศึกษาต่อเนือ่ งใกล้บา้ นคุณทีเ่ ปิดสอนหลักสูตรเหล่านี้ หากคุณไม่แน่ ใจว่าจะต้องสอบหรือไม่ คุณสามารถติดต่อสำ�นักสอบถามข้อมูลเกี่ยวกับ การเข้าเมือง (Immigration Enquiry Bureau) ได้ท่ี 0870 606 7766 หรือหาข้อมูลเพิม่ เติมได้ทเ่ี ว็บไซต์ของหน่วยงาน UK Border Agency (www.ukba.homeoffice.gov.uk/ visas-immigration/settlement/knowledge-language-life/)
หลักสูตรภาษาอังกฤษ ESOL ควบคู่วิชาหน้าที่พลเมืองมีประโยชน์ อย่างไร หลักสูตร ESOL ควบคูว่ ชิ าหน้าทีพ่ ลเมือง (ESOL with Citizenship Materials) จะช่วย ให้คณ ุ สามารถพัฒนาทักษะการใช้ภาษาอังกฤษให้ดขี น้ึ พร้อมทัง้ เรียนรูเ้ กีย่ วกับการใช้ชวี ติ ในสหราชอาณาจักรด้วย คุณสามารถลงชือ่ เข้าเรียนหลักสูตรนี้ ได้ทว่ี ทิ ยาลัยการศึกษาต่อ เนือ่ ง หรือวิทยาลัยชุมชน โปรดหาข้อมูลเพิม่ เติมเกีย่ วกับหลักสูตร ESOL ควบวิชาหน้าที่ พลเมือง โดยติดต่อสอบถามวิทยาลัยใกล้บา้ นคุณ หรือโทรศัพท์สายให้ความช่วยเหลือ Life in the UK Test Helpline หมายเลข 0800 0154245
จะทราบได้อย่างไรว่าความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษของเราอยู่ ใน ระดับไหน
หากคุณไม่แน่ ใจว่าความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษของคุณอยู่ ในระดับไหน คุณสามารถ ติดต่อขอรับการประเมินความสามารถเบือ้ งต้นได้ทว่ี ทิ ยาลัยการศึกษาต่อเนือ่ งใกล้บา้ นคุณ หรือทีศ่ นู ย์ learndirect (www.learndirect.co.uk) หากคุณต้องการความช่วยเหลือในการ หาสถานทีป่ ระเมินเบือ้ งต้นใกล้บา้ นคุณ คุณสามารถติดต่อสายให้ความช่วยเหลือ Life in the UK Test Helpline ได้ทห่ี มายเลข 0800 0154245
มีเฉพาะข้อสอบภาษาอังกฤษเท่านัน้ หรือ ปกติแล้วข้อสอบจะเป็นภาษาอังกฤษ แต่หากคุณกำ�ลังจะสอบที่ศูนย์ ในแคว้นเวลส์ คุณ อาจขอทำ�ข้อสอบภาษาเวลส์ หรือหากคุณกำ�ลังจะสอบที่ศูนย์ ในสก็อตแลนด์ คุณอาจ ขอทำ�ข้อสอบภาษาเกลิคของชาวสก็อตก็ ได้ โปรดหารายละเอียดเพิ่มเติม โดยโทรศัพท์ ติดต่อสายให้ความช่วยเหลือ Life in the UK Test Helpline หมายเลข 0800 0154245
จะต้องสอบเมือ่ ไร คุณควรสอบก่อนที่จะยื่นคำ�ขอแปลงสัญชาติเป็นคนอังกฤษ หรือขออนุญาตอาศัยอยู่ ใน สหราชอาณาจักรเป็นการถาวร ทัง้ นี้ โดยมีเงือ่ นไขว่าคุณจะต้องมีคณ ุ สมบัตอิ น่ื ๆ ทีก่ �ำ หนด ไว้อย่างครบถ้วน คุณสามารถหาข้อมูลเพิม่ เติมเกีย่ วกับวิธกี ารยืน่ คำ�ขอแปลงสัญชาติเป็นคนอังกฤษ หรือวิธี การยืน่ คำ�ขออนุญาตอาศัยอยู่ ในสหราชอาณาจักรเป็นการถาวร ได้ โดยเข้าไปในเว็บไซต์ ของโฮมออฟฟิศ หรือโทรศัพท์ตดิ ต่อสายให้ความช่วยเหลือต่อไปนี:้ • สำ�หรับข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับการยื่นคำ�ขอเป็นพลเมืองอังกฤษ (การแปลงสัญชาติ) โทรศัพท์หมายเลข 0845 010 5200 • สำ�หรับข้อมูลเพิม่ เติมเกีย่ วกับการยืน่ คำ�ขออนุญาตอาศัยอยูเ่ ป็นการถาวร (ตัง้ ถิน่ ฐาน) โทรศัพท์หมายเลข 0870 606 7766
การขอจองทีน่ ง่ั สอบมีวธิ กี ารอย่างไร โปรดลงทะเบียน จองทีน่ ง่ั สอบ และชำ�ระค่าสมัครสอบของคุณทางออนไลน์ ตามขัน้ ตอน ดังนี:้ • ลงทะเบียนบัญชีผสู้ มัครสอบ Life in the UK (www.lifeintheuktest.gov.uk) • เลือกวันเวลาทีจ่ ะสอบ • ชำ�ระค่าสมัครสอบ เมือ่ ลงทะเบียนบัญชีผสู้ มัครสอบ Life in the UK โปรดตรวจสอบข้อมูลรายละเอียดส่วน ตัวของคุณว่าถูกต้องหรือไม่ มิฉะนัน้ คุณอาจจะไม่สามารถเข้าสอบได้
การจองทีน่ ง่ั สอบ - สิง่ ทีต่ อ้ งการ คุณสามารถลงทะเบียนและจองทีน่ ง่ั สอบ Life in the UK ของคุณได้ตามศูนย์สอบใกล้ บ้าน คุณจะสามารถเข้าสอบได้อย่างเร็วทีส่ ดุ อีก 7 วัน นับจากวันลงทะเบียนเป็นต้นไป
คุณสามารถทีจ่ ะจัดการกับข้อมูลส่วนตัวของคุณได้ทน่ี ด่ี ว้ ย เนือ่ งจากข้อมูลเหล่านีจ้ ะปรากฏ ในรายงานผลการสอบของคุณ หรือคุณจะยกเลิกทีน่ ง่ั สอบทีค่ ณ ุ ได้จองไว้แล้วได้ทน่ี เ่ี ช่นกัน หากคุณจองทีน่ ง่ั สอบให้กบั ผูส้ มัครสอบมากกว่าหนึง่ คนขึน้ ไป คุณจะต้องลงทะเบียนบัญชี ของผูส้ มัครสอบแต่ละคนแยกกัน โปรดหาข้อมูลเพิม่ เติมเกีย่ วกับการสอบ Life in the UK และต้องแน่ ใจว่าคุณได้อา่ นและ เข้าใจข้อมูลทีม่ อี ยู่ ใน www.lifeintheuktest.gov.uk ก่อนทีค่ ณ ุ จะจองทีน่ ง่ั สอบ คุณสามารถจองทีน่ ง่ั สอบกีค่ รัง้ ก็ ได้ตามทีค่ ณ ุ ต้องการ แต่การจองผ่านทางบัญชีของคุณจะ ต้องเป็นการจองสำ�หรับคุณเท่านัน้ ไม่วา่ จะกีค่ รัง้ ก็ตาม เพือ่ เตรียมความพร้อมสำ�หรับการสอบ Life in the UK คุณจะต้องอ่านหนังสือคูม่ อื Life in the UK ให้จบก่อน เมือ่ อ่านจบแล้ว จึงจองทีน่ ง่ั สอบของคุณ หากคุณต้องการซือ้ หนังสือคูม่ อื และแบบฝึกหัด • โปรดเข้าไปในเว็บเพจ คูม่ อื Life in the UK ของทางการ ที่ www.tsoshop.co.uk/LIFE • หรือโทรศัพท์ตดิ ต่อสายให้ความช่วยเหลือ Life in the UK Helpline หมายเลข 0800 015 4245 (จันทร์ถงึ ศุกร์ 8:00 น. ถึง 18:00 น.) คุณสามารถทีจ่ ะเข้าสอบได้อย่างเร็วทีส่ ดุ ในเวลา 7 วันนับจากวันลงทะเบียน ศูนย์สอบ จะไม่คนื เงินค่าสมัครสอบให้คณ ุ หากคุณยกเลิกการสอบภายในเวลาน้อยกว่า 7 วันก่อน กำ�หนดวันสอบของคุณ
จะต้องนำ�เอกสารมาแสดงตัวในวันสอบด้วยหรือไม่ ขณะลงทะเบียนบัญชีผสู้ มัครสอบ Life in the UK ศูนย์สอบจะขอให้คณ ุ ระบุเอกสารที่ คุณจะนำ�มาใช้แสดงตัว (ID) ในวันสอบของคุณ นอกจากนี้ ศูนย์สอบจะตรวจดูหลักฐานแสดงทีอ่ ยูข่ องคุณ จึงขอให้คณ ุ กรุณานำ�ใบเรียก เก็บค่าบริการนํา้ /แก๊ส/ไฟฟ้า หรือใบแจ้งรายการบัญชีธนาคาร หรือใบขับขีข่ องคุณ หรือ จดหมายจากโฮมออฟฟิศทีม่ ชี อ่ื และทีอ่ ยูข่ องคุณในนัน้ ติดตัวมาด้วย หากคุณไม่มเี อกสารข้างต้นมาแสดง คุณจะไม่ ได้รบั อนุญาตให้เข้าสอบ ดังนัน้ โปรดอย่าลืม นำ�เอกสารเหล่านีต้ ดิ ตัวคุณมาด้วย
จะทำ�การสอบได้ท่ี ไหน ศูนย์การสอบมีอยูป่ ระมาณ 60 แห่งทัว่ ประเทศ คุณสามารถเข้าสอบทีศ่ นู ย์ ใดก็ ได้ ศูนย์ เหล่านีม้ บี รรยากาศทีอ่ บอุน่ และเป็นกันเอง และส่วนใหญ่ยงั เปิดเป็นศูนย์การเรียนการสอน ทีจ่ ะช่วยให้คณ ุ สามารถพัฒนาทักษะการใช้ภาษาหรือคอมพิวเตอร์ของคุณได้ดว้ ย คุณจะได้ รับทราบรายละเอียดเกีย่ วกับศูนย์สอบใกล้บา้ นคุณทีส่ ดุ ในเวลาทีค่ ณ ุ จองทีน่ ง่ั สอบ
ค่าสมัครสอบประมาณเท่าไร และจะชำ�ระได้อย่างไร ตัง้ แต่วนั ที่ 1 มิถนุ ายน เป็นต้นไป ค่าสมัครสอบจะอยูท่ ่ี 50 ปอนด์ (รวมภาษีมลู ค่าเพิม่ แล้ว) คุณจะต้องจ่ายค่าสมัครสอบนีผ้ า่ น credit หรือ debit card หรือจ่ายแบบ pre-paid credit card - คุณสามารถศึกษาข้อมูลเกีย่ วกับการจ่ายแบบ pre-paid credit card ได้ท่ี www. uSwitch.com
จำ�เป็นต้องมีหลักฐานแสดงตัวหรือไม่ จำ�เป็น คุณจะต้องนำ�เอกสารแสดงตัวทีม่ ภี าพถ่ายของคุณมาแสดงให้เจ้าหน้าทีผ่ คู้ วบคุม การสอบทีศ่ นู ย์ฯ คุณจะต้องนำ�หลักฐานแสดงตัวอย่างใดอย่างหนึง่ ต่อไปนีม้ าแสดง (ทาง ศูนย์ฯ จะยอมรับเอกสารแสดงตัวซึง่ มีภาพถ่ายทีเ่ หมือนตัวจริงของคุณเท่านัน้ และจะไม่ ยอมรับสำ�เนาภาพถ่ายเอกสาร): • หนังสือเดินทาง (จากประเทศทีเ่ กิดของคุณ) – อาจใช้หนังสือเดินทางทีห่ มดอายุได้ • ใบขับขีต่ ดิ ภาพถ่ายของสหราชอาณาจักร จะเป็นใบขับขีช่ ว่ั คราว หรือใบขับขีถ่ าวรก็ ได้ – ต้องเป็นใบขับขีท่ ่ี ไม่หมดอายุ • เอกสารการเดินทางที่ออกโดยโฮมออฟฟิศอย่างใดอย่างหนึ่งต่อไปนี้ คือ เอกสาร หนังสือเดินทางสำ�หรับบุคคลทีเ่ ป็นผูล้ ภ้ี ยั (Convention Travel Document (CTD)) หนังสือ สำ�คัญประจำ�ตัว (Certificate of Identity Document (CID)) หรือ เอกสารสำ�หรับบุคคลผู้ ไร้ประเทศ (Stateless Person Document (SPD)) - เอกสารนีต้ อ้ งเป็นเอกสารที่ ไม่หมดอายุ • เอกสารแสดงสถานะคนเข้าเมือง (Immigration Status Document) ทำ�เป็นใบอนุญาต ให้พ�ำ นักอาศัยในสหราชอาณาจักร (UK Residence Permit) และติดภาพถ่ายของผูถ้ อื ใบ อนุญาต – อาจใช้เอกสารทีห่ มดอายุได้ • บัตรประจำ�ตัวทีอ่ อกโดยโฮมออฟฟิศ (Home Office Identity Card) - บัตรประจำ�ตัวนีจ้ ะ แสดงสถานะและสิทธิตา่ งๆ ของผูถ้ อื บัตร (เช่น ห้ามรับจ้างทำ�งาน (Employment Prohibited) เป็นต้น)
นอกจากนี้ ในการเข้าสอบ คุณจะต้องนำ�หลักฐานทีม่ รี หัสไปรษณียข์ องคุณมาแสดงด้วย – ซึง่ อาจจะเป็นใบเรียกเก็บค่าบริการนํา้ ไฟฟ้า/แก๊ส โทรศัพท์ หรือใบบิลจากธนาคาร
ศูนย์สอบเหล่านีม้ บี ริการพิเศษสำ�หรับคนพิการหรือไม่ ทางศูนย์ฯ สามารถจัดหารูปแบบการสอบทีเ่ หมาะสมกับความต้องการโดยเฉพาะของคุณ ได้ คุณจะต้องระบุความต้องการพิเศษของคุณให้ศนู ย์สอบทราบในเวลาทีค่ ณ ุ จองทีน่ ง่ั สอบ การระบุความต้องการพิเศษของคุณจะทำ�ให้ศนู ย์สอบสามารถจัดหาความช่วยเหลือทีค่ ณ ุ ต้องการ เพือ่ ให้มน่ั ใจว่าความพิการของคุณจะไม่มผี ลต่อผลการสอบของคุณ สำ�นักงานเครือ่ งเขียน (The Stationery Office) มีหนังสือคูม่ อื ‘Life in the United Kingdom: A Journey to Citizenship’ พิมพ์ตวั อักษรขนาดใหญ่ พร้อมแผ่นซีดี และ ไฟล์ PDF ทีส่ ามารถดาวน์ โหลดได้ นอกเหนือจากเนือ้ หาหลัก โปรดหาข้อมูลเพิม่ เติมได้ท่ี www.tsoshop.co.uk/LIFE
การหาข้อมูลเกีย่ วกับสิง่ อำ�นวยความสะดวกทีศ่ นู ย์สอบ คุณสามารถหาข้อมูลเพิม่ เติมเกีย่ วกับศูนย์สอบ เช่น ลานจอดรถ และภาษาทีเ่ จ้าหน้าที่ ที่ศูนย์สอบใช้ ในการสื่อสารได้ ขณะจองที่น่งั สอบของคุณออนไลน์ อย่างไรก็ตาม ศูนย์ สอบในทีต่ า่ งๆ อาจมีบริการและสิง่ อำ�นวยความสะดวกไม่เหมือนกัน คุณจึงควรอ่านข้อมูล อย่างละเอียดถีถ่ ว้ น เพือ่ ให้ทราบแน่นอนว่าศูนย์สอบนัน้ ๆ มีสง่ิ อำ�นวยความสะดวกทีค่ ณ ุ ต้องการหรือไม่
เป็นครัง้ แรกทีเ่ ริม่ ใช้คอมพิวเตอร์ จึงอยากทราบว่าควรจะใช้วธิ กี ารสอบ แบบอืน่ ได้หรือไม่ การทำ�ข้อสอบทีศ่ นู ย์สอบทางการจะต้องทำ�ในคอมพิวเตอร์เท่านัน้ ลองฝึกใช้เมาส์ และฝึกใช้ แป้นพิมพ์ เพือ่ ฝึกฝนการใช้คอมพิวเตอร์ คุณสามารถเข้าไปในเว็บไซต์ (http://lifeintheuktest.ukba.homeoffice.gov.uk/htmlsite/nav_10.html) เพื่อหาข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับ การใช้ขอ้ สอบได้
จะขอความช่วยเหลือในการใช้คอมพิวเตอร์ ได้ท่ี ไหน ในการจองที่น่งั สอบ คุณจะต้องมีท่อี ยู่ทางอีเมลของคุณเอง หากคุณไม่มีท่อี ยู่ทางอีเมล คุณสามารถขอความช่วยเหลือเพื่อสร้างที่อยู่ทางอีเมลได้จากเว็บไซต์น้ี (www.go-on. co.uk/get-started/email) หากคุณต้องการความช่วยเหลือเพิ่มเติมเกี่ยวกับการพัฒนาความสามารถในการใช้ คอมพิวเตอร์ของคุณ หรือเพือ่ เข้าไปในอินเทอร์เน็ต คุณสามารถเข้าไปในเว็บไซต์ของศูนย์
ออนไลน์ ในท้องถิน่ ของคุณได้ท่ี UK Online centre หรือwww.ukonlinecentres.com แต่ โปรดทราบว่าคุณอาจไม่สามารถทีจ่ ะเข้าสอบ Life in the UK ทีศ่ นู ย์เดียวกันนี้ ได้ หากคุณอาศัยอยู่ ในสก็อตแลนด์ เวลส์ หรือไอร์แลนด์เหนือ ห้องสมุดประชาชนใกล้บา้ นคุณ ส่วนใหญ่จะมีบริการคอมพิวเตอร์และใช้อนิ เทอร์เน็ตได้ฟรี หรือเสียค่าบริการเพียงเล็กน้อย
หลังการสอบจะทราบผลการสอบเมือ่ ไร คุณจะทราบผลการสอบหลังจากที่การสอบสิ้นสุดลงแล้ว เจ้าหน้าที่ผู้ควบคุมการสอบ จะแจ้งให้ทราบว่าคุณสอบผ่านหรือไม่
มีเกณฑ์ตดั สินการสอบผ่านหรือไม่ คุณจะต้องทำ�คะแนนให้ ได้อย่างน้อยประมาณ 75% จึงจะถือว่าสอบผ่าน
หลังจากสอบผ่านแล้ว จะต้องทำ�อะไรบ้าง หากคุณสอบผ่าน เจ้าหน้าทีผ่ คู้ วบคุมการสอบจะมอบจดหมายแจ้งการสอบผ่านให้แก่คณ ุ คุณจะต้องเซ็นชื่อในจดหมายแจ้งการสอบผ่านนี้ก่อนที่จะออกจากศูนย์สอบ ในจดหมาย ฉบับนี้จะมีรายละเอียดเกี่ยวกับวันที่คุณสอบ ชื่อเจ้าหน้าที่ผ้คู วบคุมการสอบ สถานที่ต้งั ของศูนย์สอบ และหมายเลขประจำ�ตัวพิเศษ เมือ่ คุณกรอกใบคำ�ขอแปลงสัญชาติเป็นคนอังกฤษ หรือขออนุญาตอาศัยอยูเ่ ป็นการถาวร เสร็จเรียบร้อยแล้ว คุณควรแนบจดหมายแจ้งการสอบผ่านของคุณไปพร้อมกับใบคำ�ขอ และส่งเอกสารทัง้ สองนี้ ไปที่ โฮมออฟฟิศ ทางโฮมออฟฟิศจะเก็บรักษาข้อมูลที่ ได้รบั จาก ศูนย์สอบไว้เป็นระยะเวลานานพอสมควร อย่างไรก็ตาม คุณควรยืน่ ใบคำ�ขอของคุณโดย เร็วทีส่ ดุ หลังจากสอบเสร็จแล้ว
หากจดหมายแจ้งการสอบผ่านสูญหาย จะมีผลเช่นไร จดหมายแจ้งการสอบผ่านของคุณมีความสำ�คัญมาก คุณจึงควรเก็บรักษาจดหมายนี้ ไว้ ในที่ ทีป่ ลอดภัยจนกว่าคุณพร้อมทีจ่ ะกรอกใบคำ�ขอแปลงสัญชาติเป็นคนอังกฤษ หรือขออนุญาต อาศัยอยูท่ น่ี ต่ี ลอดไป หากคุณทำ�จดหมายนีส้ ญ ู หาย จะไม่มกี ารออกจดหมายแจ้งการสอบ ผ่านฉบับใหม่ ให้แทนฉบับเดิม ซึง่ หมายความว่าคุณอาจต้องชำ�ระเงินเพือ่ ขอสอบใหม่อกี ครัง้
การสอบไม่ผา่ นจะมีผลเช่นไร เจ้าหน้าทีผ่ คู้ วบคุมการสอบจะให้คำ�แนะนำ�แก่คณ ุ ในกรณีทค่ี ณ ุ สอบไม่ผา่ น หากคุณสอบ ไม่ผา่ น คุณไม่ควรกรอกใบคำ�ขอแปลงสัญชาติเป็นคนอังกฤษ หรือขออนุญาตอาศัยอยูท่ ่ี
นีต่ ลอดไป ในกรณีน้ี คุณอาจต้องทำ�เรือ่ งขออนุญาตอยูต่ อ่ ให้ถกู ต้องตามกฎหมาย หาก กำ�หนดระยะเวลาที่ ได้รบั อนุญาตให้อยู่ ในสหราชอาณาจักรสิน้ สุดลงแล้ว หรือใกล้จะสิน้ สุด
สอบไม่ผา่ น จะขอสอบใหม่ ได้หรือไม่ คุณจะต้องรออย่างน้อย 7 วันจึงจะสามารถทำ�การสอบได้อีกครั้ง คุณควรกลับไปอ่าน หนังสือคูม่ อื ‘Life in the United Kingdom’ และทำ�แบบฝึกหัดจนกว่าคุณจะรูส้ กึ มัน่ ใจ ในความรูข้ องตนเอง ในจดหมายแจ้งผลการสอบของคุณจะบอกให้คณ ุ รูว้ า่ คุณควรกลับไป อ่านทบทวนเนือ้ หาใดบ้างในคูม่ อื จากนัน้ คุณจะต้องจองทีน่ ง่ั สอบและวันเวลาสอบใหม่ โดย ล็อกอินเข้าไปในบัญชี Life in the UK ของคุณ หรือหากคุณคิดว่าทีค่ ณ ุ สอบไม่ผา่ นนัน้ มี สาเหตุเนือ่ งมาจากความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษของคุณ คุณควรพิจารณาเข้าเรียน หลักสูตรภาษาอังกฤษ (ESOL) ควบคูว่ ชิ าหน้าทีพ่ ลเมือง ทีว่ ทิ ยาลัยการศึกษาต่อเนือ่ งใกล้ บ้าน แทนทีจ่ ะสอบใหม่อกี ครัง้ ในนามของทีมผู้จัดแปล ดิฉันขอยืนยันว่า ตั้งใจที่จะทำ�หนังสือคู่มือฉบับแปลเล่มนี้ข้นึ มา เพียงเพือ่ เป็นคูม่ อื เสริมการอ่านเท่านัน้ และหวังว่าคูม่ อื ฉบับนีจ้ ะช่วยให้การอ่าน Life in the UK ของคุณง่ายต่อการทำ�ความเข้าใจมากขึน้ ดังนัน้ หากคุณยังรูส้ กึ ว่า ทักษะทาง ภาษาอังกฤษของคุณยังไม่อยู่ ในเกณฑ์มาตรฐานพอทีจ่ ะอ่านหรือทำ�ความเข้าใจเนือ้ หาจาก คูม่ อื Life in the United Kingdom: A Journey to Citizenship ฉบับภาษาอังกฤษดีพอ คุณควรจะสมัครเรียนหลักสูตรภาษาอังกฤษ (ESOL-Skill for Life) ก่อนทีจ่ ะลงสมัคร สอบ Life in the UK และในนามตัวแทนชาวไทยในประเทศสหราชอาณาจักรอังกฤษ ดิฉนั ขอกราบขอบพระคุณ TSO ของ Home Office มา ณ โอกาสนี้ ทีเ่ มตตาให้ อิดพู ลัส ซี ไอซี แปลคูม่ อื เล่มนี้ เพือ่ แจกแก่ชาวไทยทุกคน ขอแสดงความนับถือ
ดร. คนึงนิจ การ์เน็ทท์ ประธานบริหารและผูก้ อ่ ตัง้ สถาบันอบรมอิดพู ลัส ซี ไอซี - ยูเค
Chapter 1:
THE MAKING OF THE
UNITED
Kingdom
การก่อกำ�เนิดของสหราชอาณาจักร
The Making of the United Kingdom
16 Life in the UK
To understand a country it is important to know something about its history. This section is a brief chronological account of how the United Kingdom came to be what it is today. Any account of history, however, is only one interpretation. Historians often disagree about what to include and what to exclude in historical accounts. As well as the main historical events and people, this section also mentions people who are not necessarily the most important historically, but whose names often appear in books, newspapers and on TV. การเรียนรู้ประวัติศาสตร์ของแต่ละประเทศเป็นสิ่งส�ำคัญที่ช่วยให้เกิดความเข้าใจในชาติ นัน้ ๆ เนือ้ หาในส่วนนีจ้ ะเป็นการบรรยายข้อมูลตามล�ำดับเหตุการณ์ เพือ่ ให้มองเห็นภาพ ความเป็นมาของสหราชอาณาจักรนับแต่ยคุ อดีตจนถึงปัจจุบนั อย่างไรก็ตาม การน�ำเสนอ ข้อมูลทางประวัตศิ าสตร์เป็นเรือ่ งของการวิเคราะห์และตีความ นักประวัตศิ าสตร์จงึ มีความ เห็นที่ ไม่คอ่ ยจะลงรอยกันในข้อทีว่ า่ ควรมีการน�ำเสนอหรือยกเว้นหลักฐานและข้อเท็จจริง ใดบ้าง นอกจากจะบรรยายถึงเหตุการณ์และบุคคลทีส่ �ำคัญทางประวัตศิ าสตร์แล้ว เนือ้ หา ในส่วนนีย้ งั จะครอบคลุมไปถึงบุคคลทีอ่ าจมีความส�ำคัญทางประวัตศิ าสตร์ไม่มากนัก แต่ มีชอื่ ปรากฏในหนังสือ หรือหนังสือพิมพ์ และในโทรทัศน์อยูบ่ อ่ ยครัง้
What’s in a name?
There is some confusion about the correct meanings and use of the terms ‘United Kingdom’, ‘British Isles’, ‘Britain’, and ‘British’. The United Kingdom today consists of four countries: England, Scotland, Wales and Northern Ireland (the rest of Ireland is an independent country). These four countries came together at different times to form a union called the United Kingdom of Great Britain and Northern Ireland, which is the official name of the country. The name ‘Britain’ or ‘Great Britain’ refers only to England, Scotland and Wales, not Northern Ireland. The adjective ‘British’, however, usually refers to everyone in the UK, including Northern Ireland. There are also several islands which are closely linked with the United Kingdom but do not form part of it: the Channel Islands and the Isle of Man. These have kept their own institutions of government and are called ‘Crown Territories’.
Life in the UK 17
การเรียกชือ่ ตามความหมายทีถ่ กู ต้อง
ชือ่ เรียกและความหมายทีถ่ กู ต้องของค�ำว่า ‘สหราชอาณาจักร’ ‘หมูเ่ กาะอังกฤษ (British Isles)’ ‘บริเตน(Britain)’ และ ‘บริตชิ (British)’ มีความสับสนอยูบ่ า้ ง สหราชอาณาจักร ในปัจจุบนั ประกอบด้วยรัฐ หรือแคว้น 4 ประเทศ ได้แก่ อังกฤษ สก็อตแลนด์ เวลส์ และ ไอร์แลนด์เหนือ (ไอร์แลนด์สว่ นทีเ่ หลือเป็นประเทศเอกราช) การรวมตัวของรัฐทัง้ สี่ ไม่ ได้ เกิดขึน้ พร้อมกัน แต่ ในทีส่ ดุ ก็ ได้ผนวกรวมกันเป็นประเทศเดียว มีชอื่ เรียกเป็นทางการว่า ‘สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์เหนือ (The United Kingdom of Great Britain and Northern Ireland) ค�ำว่า ‘บริเตน’ หรือ ‘บริเตนใหญ่’ หมายถึง อังกฤษ สก็อตแลนด์ และเวลส์ ยกเว้นไอร์แลนด์เหนือ ส่วนค�ำว่า ‘บริตชิ ’ เป็นค�ำที่ ใช้เรียกประชาชนทีอ่ าศัย อยู่ ในสหราชอาณาจักร รวมถึงไอร์แลนด์เหนือ นอกจากนี้ ยังมีเกาะต่างๆ อีกมากทีม่ คี วาม สัมพันธ์ ใกล้ชิดกับสหราชอาณาจักร แต่ ไม่ ได้เป็นส่วนหนึ่งของสหราชอาณาจักร ได้แก่ หมูเ่ กาะแชนแนล หรือหมูเ่ กาะในช่องแคบอังกฤษ (Channel Islands) และเกาะแมน (Isle of Man) หมูเ่ กาะเหล่านีม้ รี ฐั บาลปกครองตนเอง และได้ชอื่ ว่าเป็น ‘ดินแดนแห่งราชวงศ์ อังกฤษ (Crown Territories)’ In the United Kingdom, national identity and citizenship do not always mean the same thing. The Scottish and Welsh will usually say that they have British (or UK) Citizenship, but that their nationality is Scottish or Welsh. In Northern Ireland some people say they are British, some people say they are Irish and some people say they are both. This depends on their political and cultural allegiances. People born in England will more often say their nationality as well as their citizenship is British. ในสหราชอาณาจักร ค�ำว่า ‘อัตลักษณ์ของคนในชาติ (national identity)’ และ ‘สถานะ การเป็นพลเมืองของประเทศ (citizenship) ไม่ ได้มคี วามหมายเดียวกันเสมอไป ชาวสก็อต และชาวเวลส์มกั จะบอกว่าตัวเองมีสถานะเป็นพลเมืองอังกฤษ แต่มเี ชือ้ ชาติเป็นคนสก็อต แลนด์หรือเวลส์ ประชาชนในไอร์แลนด์เหนือบางคนบอกว่าตัวเองเป็นพลเมืองอังกฤษ แต่ บางคนถือว่าตัวเองเป็นชาวไอริช หรือบางคนก็บอกว่าเป็นทัง้ สองอย่าง ความยึดถือเหล่านี้ ขึน้ อยูก่ บั ความรูส้ กึ ผูกพันด้านการเมือง และภูมหิ ลังวัฒนธรรมของแต่ละคน ประชาชนที่ เกิดในประเทศอังกฤษส่วนใหญ่จะถือว่าตัวเองเป็นชาวอังกฤษ และเป็นพลเมืองสัญชาติ อังกฤษด้วย
18 Life in the UK
Many important institutions are common to England, Scotland, Wales and Northern Ireland, such as the laws and customs of the Constitution, the Crown as a symbol of unity, and parliamentary and representative government. But there are many important differences between England, Scotland, Wales and Northern Ireland. Scotland, Wales and Northern Ireland now have parliaments or assemblies of their own, with limited but significant powers. In sport there are four different football teams which play separately in international competitions, but there is only one Olympic team for the whole of the United Kingdom. In addition to national diversity, there is a very long tradition of ethnic and religious diversity in the United Kingdom. This goes back to early history, as you will see in this chapter. อังกฤษ สก็อตแลนด์ เวลส์ และไอร์แลนด์เหนือ ยึดถือสถาบันและระเบียบแบบแผนที่ ส�ำคัญๆ ร่วมกัน เช่น สถาบันกฎหมาย ธรรมเนียมการปฏิบตั ทิ างรัฐธรรมนูญ ตลอดจน สถาบันกษัตริย์ ซึง่ เป็นสัญลักษณ์ยดึ เหนีย่ วจิตใจคนทัง้ ประเทศ และระบบการปกครองแบบ รัฐสภาและผูแ้ ทนราษฎร อย่างไรก็ตาม อังกฤษ สก็อตแลนด์ เวลส์ และไอร์แลนด์เหนือ มีความต่างทีส่ �ำคัญอยูม่ าก ปัจจุบนั นี้ สก็อตแลนด์ เวลส์ และไอร์แลนด์เหนือ มีรฐั สภาหรือ สภาแห่งชาติทมี่ อี �ำนาจในการปกครองตนเอง ซึง่ ถึงแม้จะค่อนข้างจ�ำกัดแต่กม็ คี วามส�ำคัญ มาก ส�ำหรับในด้านการกีฬานัน้ อังกฤษ สก็อตแลนด์ เวลส์ และไอร์แลนด์เหนือ ต่างก็มที มี ฟุตบอลประจ�ำชาติ และต่างฝ่ายต่างก็แข่งขันกันในมหกรรมกีฬาฟุตบอลนานาชาติ แต่จะมี ทีมโอลิมปิกร่วมกันเพียงทีมเดียวส�ำหรับเป็นตัวแทนการแข่งขันในนามของสหราชอาณาจักร นอกจากความแตกต่างระหว่างรัฐแล้ว สหราชอาณาจักรยังมีความหลากหลายทางเชือ้ ชาติ และศาสนาทีส่ บื ทอดกันมาเป็นเวลายาวนาน นับย้อนหลังตัง้ แต่ประวัตศิ าสตร์ยคุ ต้นๆ ดัง จะได้เรียนรูก้ นั ต่อไปในบทนี้
Life in the UK 19
Early Britain
The Roman Conquest
In very early history the land was populated by tribes who came to the British Isles from different parts of Europe. Stonehenge, the great prehistoric temple which still stands in what now is the English county of Wiltshire, is one of the great monuments of prehistoric Europe. In later centuries Britain was invaded by Celtic tribes who had a sophisticated culture and economy. The people spoke Celtic dialects which later became the languages which are spoken today in some parts of Wales, Scotland and Ireland.
ประวัตศิ าสตร์ยคุ แรกของอังกฤษ ยุคโรมันครองเมือง
ในประวัตศิ าสตร์ยคุ เริม่ แรก อังกฤษเคยเป็นดินแดนทีอ่ ยูอ่ าศัยของชนเผ่าต่างๆ จากภาคพืน้ ยุโรปทีอ่ พยพเข้ามาในหมูเ่ กาะอังกฤษ มีหลักฐานแสดงถึงอารยธรรมอันยิง่ ใหญ่ของยุโรป ยุคก่อนประวัตศิ าสตร์ ซึง่ จะเห็นได้จาก สโตนเฮนจ์ วิหารโบราณทีเ่ วลานีย้ งั คงมีอยู่ในมณฑล วิลท์เชียร์ ประเทศอังกฤษ หลายศตวรรษต่อมา ชนเผ่าเคลติกได้บกุ รุกเข้ามาครอบครอง เกาะอังกฤษ ชนเผ่านีม้ วี ฒ ั นธรรมและระบบเศรษฐกิจทีล่ ะเอียดซับซ้อน ชาวเคลติกพูดภาษา เคลติก ซึง่ ต่อมาแตกแขนงออกไปเป็นภาษาท้องถิน่ ทีพ่ ดู กันในบางพืน้ ทีข่ องเวลส์ สก็อตแลนด์ และไอร์แลนด์ ในปัจจุบนั
The Romans
In 55 BC the Romans, who had an empire covering most of the Mediterranean lands, first came to Britain with Julius Caesar. Nearly a hundred years later they came back and began a conquest of all Britain except the highlands of Scotland. There was strong opposition from the native tribes who fought to try to keep the Romans out. A famous tribal leader who fought the Romans was Boudicca, the queen of the Iceni in what is now eastern England. Later, when the tribes in the south of the island had been conquered, one of the emperors, Hadrian, built a wall in the north of England to keep out the Picts (ancestors of the Scottish people; the Scots were originally a tribe who came over from Ireland). Parts of this wall can still be seen today. 20 Life in the UK
The Romans had a big impact on life in Britain. Before they left in 410 AD, they established medical practice, created a structure of administration and law, and built great public buildings and roads. The language of Romans was Latin. Those local people who learned to speak, read and write Latin often became administrators and traders.
ชาวโรมัน
ในช่วง 55 ปีกอ่ นคริสต์ศกั ราช ชาวโรมันทีม่ จี กั รวรรดิครอบคลุมดินแดนส่วนใหญ่ ในแถบ เมดิเตอร์เรเนียน ได้เดินทางเข้ามาในอังกฤษเป็นครัง้ แรกกับจูเลียส ซีซาร์ และเกือบ 100 ปีตอ่ มา ชาวโรมันได้ยอ้ นกลับเข้ามาในอังกฤษ และเริม่ แผ่อาณาเขตเข้าครอบครองพืน้ ที่ ใน เกาะอังกฤษทัง้ หมด ยกเว้นดินแดนทีร่ าบสูงของสก็อตแลนด์ ชนพืน้ เมืองเดิมได้พยายาม ต่อสูข้ บั ไล่ชาวโรมันออกไป ผูน้ �ำเผ่าทีม่ ชี อื่ เสียงในการสูร้ บกับชาวโรมัน คือ ราชินบี ดู กิ กา ผูน้ �ำชนเผ่าไอซินี ซึง่ เคยอาศัยอยู่ ในพืน้ ทีภ่ าคตะวันออกของอังกฤษในปัจจุบนั หลังจากพิชติ ชนเผ่าต่างๆ ในตอนใต้ของเกาะอังกฤษได้แล้ว ในเวลาต่อมา พระเจ้าเฮเดรียน จักรพรรดิ โรมันก็ ได้สร้างก�ำแพงขึน้ มาในตอนเหนือของอังกฤษ เพือ่ ป้องกันการรุกรานจากชนเผ่าพิกต์ (บรรพบุรษุ ของชาวสก็อตแลนด์ ชาวสก็อตเดิมเป็นชนเผ่าทีอ่ พยพมาจากไอร์แลนด์) ก�ำแพง เฮเดรียนบางส่วนยังมีเหลือให้เห็นกันอยู่ ในปัจจุบนั อารยธรรมโรมันมีอทิ ธิพลต่อชีวติ ของคนในอังกฤษมาก ก่อนออกไปจากอังกฤษในปี ค.ศ. 410 ชาวโรมันได้วางรากฐานทีส่ �ำคัญในด้านการแพทย์ ระเบียบโครงสร้างการปกครอง และกฎหมาย ตลอดจนการก่อสร้างอาคารสาธารณะในรูปแบบสถาปัตยกรรมทีย่ งิ่ ใหญ่ และถนนหนทางในอังกฤษ ชาวโรมันใช้ภาษาละติน คนพืน้ เมืองทีส่ ามารถพูด อ่าน และ เขียนภาษาละตินได้ ส่วนใหญ่จะท�ำงานเป็นเจ้าหน้าทีฝ่ า่ ยปกครอง และผูป้ ระกอบการค้า
Life in the UK 21
After the Romans
As the Roman Empire gradually became weaker, new tribes invaded from northern Europe looking for better land. These were called the Jutes, Angles and Saxons. These people spoke dialects which later became the basis of English. The people of Britian fought against these new invaders and were led for a while in the 6th century by the legendary King Arthur. Eventually, however, the invaders took over all of southern and eastern Britain, setting up their own kingdoms and pushing the Britons to the west and to the north. During the 6th century, missionaries from Rome led by St Augustine came to Britain and spread the new religion of Christianity across the south. Monks from Ireland did the same in the north of Britain.
ยุคหลังการครอบครองของจักรวรรดิโรมัน
เมือ่ จักรวรรดิโรมันเริม่ เสือ่ มอ�ำนาจลง ชนเผ่าอืน่ ๆ จากตอนเหนือของยุโรป ได้แก่ ชนเผ่า จูทส์ แองเกิลส์ และแซกซั่นส์ ได้รุกรานเข้ามาแสวงหาดินแดนใหม่ที่อุดมสมบูรณ์ ชน เผ่าเหล่านีพ้ ดู ภาษาท้องถิน่ ซึง่ เป็นรากฐานของภาษาอังกฤษในเวลาต่อมา ชาวพืน้ เมือง ในอังกฤษได้สู้รบต่อต้านผู้บุกรุกกลุ่มใหม่เหล่านี้ และมีต�ำนานเล่าขานสืบทอดกันมาว่า ในศตวรรษที่ 6 พระเจ้าอาร์เธอร์ผู้เก่งกาจได้เป็นเป็นแม่ทัพน�ำชาวพื้นเมืองอังกฤษเข้า สู้รบกับผู้บุกรุกเหล่านี้ แต่ ในที่สุดผู้บุกรุกก็ ได้ชัยชนะและเข้าครอบครองพื้นที่ตอนใต้ และตะวันออกของอังกฤษได้หมด และสถาปนาอาณาจักรของตนเองขึ้นมา และขับไล่ ชนพืน้ เมืองเดิมออกไปทางภาคตะวันตก และขึน้ ไปทางตอนเหนือ ในช่วงศตวรรษที่ 6 คณะผูเ้ ผยแผ่ศาสนา มีนกั บุญ เซนต์ ออกัสติน เป็นผูน้ �ำ ได้เดินทาง จากกรุงโรมเข้ามาในอังกฤษ เพื่อประกาศเผยแผ่ศาสนาคริสต์ตลอดทั่วดินแดนตอนใต้ ของอังกฤษ โดยมีพระจากไอร์แลนด์ท�ำการเผยแผ่ศาสนาคริสต์ ในภาคเหนือของอังกฤษ ด้วยเช่นกัน
The Norse invaders
In the 8th and 9th centuries, Vikings from Denmark and Norway invaded Britain and Ireland. They conquered many of the small kingdoms of the east of England and Scotland. Gradually the kingdoms in England were united under the kings of Wessex and became strong enough to fight against the Vikings. King Alfred the Great defeated the Vikings in England at the end of the 9th century. They 22 Life in the UK
were also defeated in Scotland and Ireland. Yet many of the Viking invaders stayed, especially in the east of England, where many names of places come from the Viking languages. They farmed the land, mixed with the local populations and converted to Christianity. For a while in the 11th century they again ruled England under King Canute. Their languages also had an influence on the early forms of English and, in Scotland, on Gaelic.
การรุกรานของชาวนอร์สจากสแกนดิเนเวีย
ในศตวรรษที่ 8 และ 9 ชาวไวกิง้ จากเดนมาร์กและนอร์เวย์ได้ยกทัพเข้ามาบุกรุกอังกฤษ และไอร์แลนด์ และได้ชยั ชนะสามารถยึดครองอาณาจักรเล็กๆ ทางฝัง่ ตะวันออกของอังกฤษ และสก็อตแลนด์ได้หลายแห่ง เมือ่ เวลาผ่านไป กษัตริยแ์ ห่งเวสเซกส์ได้รวบรวมอาณาจักร ต่างๆ ในอังกฤษเข้าเป็นอันหนึง่ อันเดียวกันจนมีความเข้มแข็งสามารถสูร้ บกับพวกไวกิง้ ได้ พระเจ้าอัลเฟร็ด มหาราช ได้น�ำทัพเข้าสูร้ บและตีทพั ไวกิง้ ในอังกฤษแตกพ่ายไปในปลาย ศตวรรษที่ 9 และทัพไวกิง้ ยังพ่ายแพ้ ในสก็อตแลนด์และไอร์แลนด์ดว้ ย อย่างไรก็ตาม ชาว ไวกิง้ ผูร้ กุ รานจ�ำนวนมากยังคงอาศัยอยู่ ในอังกฤษต่อไป โดยเฉพาะในภาคตะวันออกของ อังกฤษ ซึง่ มีชอื่ สถานทีห่ ลายแห่งมาจากภาษาไวกิง้ ชาวไวกิง้ ปักหลักท�ำไร่ ไถนา แต่งงาน กับชาวพืน้ เมืองและหันมานับถือศาสนาคริสต์ ในศตวรรษที่ 11 ชาวไวกิง้ ได้ครองอังกฤษ อีกชัว่ ระยะเวลาหนึง่ ภายใต้การน�ำของพระเจ้าคานูท ภาษาไวกิง้ มีอทิ ธิพลต่อรูปแบบภาษา อังกฤษในตอนต้นๆ และมีอทิ ธิพลต่อภาษาเกลิคในสก็อตแลนด์เช่นกัน
The Norman Conquest
After King Canute, the Saxons again ruled England until an invasion led by William, Duke of Normandy (part of today’s France) in 1066. He is also called William the Conqueror. William defeated Harold, the King of England, at the battle of Hastings. The Norman Conquest was the last successful foreign invasion of England. The Normans took complete ownership of the land and introduced new laws and administration. Norman French became the official language and had a big influence on the Anglo-Saxon language of the common people. The Normans and the kings who followed them began the conquest of Wales and some parts of Ireland. They did not yet invade Scotland but the Scottish kings and nobility in the south were strongly influenced by Norman-French culture. The first Jewish settlements in the UK were also established at this time. William Life in the UK 23
the Conqueror encouraged Jews from France to settle in Britain. Jewish communities grew up in several towns and cities.
ยุคนอร์มนั ครองเมือง
หลังรัชสมัยของพระเจ้าคานูท ชนเผ่าแซกซันส์ได้เข้าครองอังกฤษอีกครัง้ จนกระทัง่ วิลเลียม ดยุคแห่งนอร์มังดี (ส่วนหนึ่งของฝรั่งเศสปัจจุบัน) ได้ยกทัพบุกเข้ามาในปี ค.ศ. 1066 วิลเลียมผูน้ มี้ สี มญานามอีกอย่างหนึง่ ว่า วิลเลียมผูพ้ ชิ ติ พระเจ้าฮาโรลด์ กษัตริยแ์ ห่งอังกฤษ พ่ายแพ้ต่อวิลเลียมในการสู้รบที่เมืองเฮสติ้งส์ ชัยชนะของชาวนอร์มันเป็นความส�ำเร็จ ครัง้ สุดท้ายของชนต่างแดนทีร่ กุ รานเข้ามายึดครองอังกฤษ ชาวนอร์มนั ได้ยดึ ครองทีด่ นิ ไว้เป็นกรรมสิทธิข์ องตนโดยสมบูรณ์ พร้อมทัง้ น�ำกฎหมายและ ระเบียบการปกครองแบบใหม่เข้ามาในอังกฤษ ภาษาฝรัง่ เศสทีเ่ รียกกันว่า นอร์มนั เฟรนช์ กลายเป็นภาษาประจ�ำชาติ และมีอทิ ธิพลอย่างยิง่ ต่อภาษาแองโกล-แซกซัน่ ของสามัญชน ในอังกฤษ ชาวนอร์มนั และกษัตริยน์ อร์มนั องค์ตอ่ ๆ มาได้แผ่ขยายอ�ำนาจเข้าครอบครอง เวลส์และบางส่วนของไอร์แลนด์ แต่ยังไม่ ได้รุกรานเข้าไปในสก็อตแลนด์ อย่างไรก็ตาม กษัตริย์และพวกขุนนางชั้นสูงของสก็อตแลนด์ทางตอนใต้ ในเวลานั้นก็ ได้รับอิทธิพลจาก วัฒนธรรมนอร์มนั -เฟรนช์ไว้มากแล้ว ในช่วงเวลาเดียวกัน ได้มชี าวยิวอพยพเข้ามาตัง้ หลัก ปักฐานเป็นครัง้ แรกในสหราชอาณาจักร วิลเลียมผูพ้ ชิ ติ ได้สง่ เสริมให้ชาวยิวจากฝรัง่ เศส เข้ามาตั้งถิ่นฐานอยู่ ในอังกฤษ ชุมชนชาวยิวเหล่านี้ ได้เติบโตแผ่ขยายออกไปในเมืองเล็ก เมืองใหญ่ตา่ งๆ หลายแห่ง
The Middle Ages Times of War
The period after the Norman Conquest is called the Middle Ages or the medieval period. It lasted until about 1485. It was a time of almost constant war. In the 12th and 13th centuries, many knights from the British Isles took part in the Crusades, in which European Christians fought for control of Jerusalem and other cities in the Holy Land. King Richard I (known as Richard the Lionheart) spent much of his reign taking part in the Crusades.
ประวัตศิ าสตร์ยคุ กลาง ยุคแห่งสงคราม
ระยะเวลาหลังจากทีช่ าวนอร์มนั ได้เข้าครองอังกฤษ เป็นช่วงเวลาทีเ่ รียกว่า ยุคกลาง หรือ สมัยกลาง ซึง่ ยาวนานมาจนถึงราวปี ค.ศ. 1485 ในช่วงเวลานีม้ สี งครามเกิดขึน้ แทบจะ 24 Life in the UK
ไม่วา่ งเว้น ในศตวรรษที่ 12 และ 13 อัศวินจ�ำนวนมากจากหมูเ่ กาะอังกฤษได้เข้าร่วมท�ำ สงครามครูเสด ซึง่ เป็นสงครามทีช่ าวคริสต์จากยุโรปได้เข้าร่วมต่อสูเ้ พือ่ แย่งชิงอ�ำนาจใน การครอบครองกรุงเยรูซาเล็มและเมืองใหญ่อนื่ ๆ ในดินแดนศักดิส์ ทิ ธิ์ พระเจ้าริชาร์ดที่ 1 (ซึง่ เป็นทีร่ จู้ กั ในนาม ริชาร์ดใจสิงห์) ทรงใช้เวลาสูร้ บในสงครามครูเสดเกือบตลอดรัชสมัย ของพระองค์ At home, the English kings tried to dominate the Welsh, the Scots and the Irish. The Scots, led by Robert the Bruce, defeated the English at the battle of Bannockburn in 1314; the English kings were unable to conquer the Scots during the Middle Ages. ในอังกฤษเอง กษัตริยอ์ งั กฤษหลายองค์ได้พยายามทีจ่ ะแผ่ขยายอ�ำนาจครอบง�ำชาวเวลส์ ชาวสก็อต และชาวไอริช โรเบิรต์ เดอะ บรูซ๊ ได้น�ำทัพชาวสก็อตเข้าต่อสูแ้ ละตีทพั อังกฤษ แตกพ่ายไปในการสู้รบที่แบนน็อคเบิร์นในปี ค.ศ. 1314 กษัตริย์อังกฤษในสมัยกลางไม่ สามารถสูร้ บเอาชนะชาวสก็อตได้ส�ำเร็จ In Wales, however, the English managed to destroy the power of the Welsh princes by 1300. They built huge castles to maintain their power and by the middle of the 15th century the last Welsh rebellions had been put down. From 1536, England imposed its laws on Wales and the English language became compulsory for legal and official purposes. ในเวลส์ อังกฤษสามารถล้มล้างอ�ำนาจของเจ้าฟ้าชายเวลส์ได้ส�ำเร็จภายในปี ค.ศ. 1300 และได้สร้างปราสาทใหญ่ขนึ้ มาหลายแห่ง เพือ่ รักษาดุลอ�ำนาจของอังกฤษในเวลส์ เมือ่ ถึงกลางศตวรรษที่ 15 อังกฤษก็สามารถปราบกบฎเวลส์กลุม่ สุดท้ายได้ราบคาบ ตัง้ แต่ปี ค.ศ. 1536 เป็นต้นมา อังกฤษได้ก�ำหนดให้เวลส์ ใช้กฎหมายของอังกฤษ และบังคับให้ ใช้ ภาษาอังกฤษในงานราชการและงานด้านกฎหมาย During the Middle Ages, the English kings also fought a long war with the French, called the Hundred Years War. The English won some important battles against the French, such as the battle of Agincourt, which Shakespeare describes in his play Henry V. Later the French fought back and reclaimed their country. ในช่วงยุคกลาง กษัตริยอ์ งั กฤษได้ท�ำการสูร้ บกับฝรัง่ เศสในสงครามทีเ่ รียกว่า สงครามร้อยปี อังกฤษรบชนะฝรัง่ เศสในการสูร้ บทีส่ �ำคัญๆ เช่น การสูร้ บทีแ่ อจินคอร์ท ซึง่ เช็คสเปียร์ได้ พรรณนาไว้ ในบทละครเรือ่ ง เฮนรีท่ ี่ 5 แต่ตอ่ มาฝรัง่ เศสก็สามารถช่วงชิงดินแดนของตน กลับคืนไปได้ Life in the UK 25
The origins of Parliament
The origins of Parliament lie in the early Middle Ages. Before 1215, there were no laws to limit the power of the king of England. The most powerful landowners, the barons, wanted to make sure that their voices were heard and that new taxes could only be made with their agreement. In 1215, the barons forced King John to sign a charter of rights called the Magna Carta (which means Great Charter). This was not a charter of rights for the common people, but it did take away the absolute power of the king. The king could no longer collect taxes without the consent of the barons. To make or change laws he had to consult and negotiate with them. At the end of the 13th century, Parliament gradually became the place where the king consulted with his subjects.
ก�ำเนิดของรัฐสภา
ระบบรัฐสภาก�ำเนิดขึ้นในยุคกลางตอนต้น ในช่วงเวลาก่อนปี ค.ศ. 1215 อังกฤษไม่มี กฎหมายจ�ำกัดพระราชอ�ำนาจของกษัตริยอ์ งั กฤษ บรรดาเจ้าของทีด่ นิ และขุนนางชัน้ บารอน ทีม่ อี �ำนาจมากทีส่ ดุ จึงต้องการทีจ่ ะมีสทิ ธิม์ เี สียง และต้องการให้กษัตริยเ์ รียกเก็บภาษี ใหม่ ได้ด้วยความยินยอมจากพวกเขาเท่านั้น ในปี ค.ศ. 1215 ขุนนางชั้นบารอนได้บังคับให้ พระเจ้าจอห์น ลงพระปรมาภิไธยในกฎบัตรทีเ่ รียกว่า แม็กนาคาร์ตา (ซึง่ มีความหมายว่า มหากฎบัตร) แม็กนาคาร์ตา มิใช่กฎบัตรว่าด้วยสิทธิของสามัญชน แต่เป็นกฎหมายทีล่ ดทอน พระราชอ�ำนาจเด็ดขาดของกษัตริย์ กษัตริย์ไม่สามารถทีจ่ ะเรียกเก็บภาษี ได้ โดยไม่ ได้รบั ความยินยอมจากบารอน และหากพระองค์ทรงต้องการทีจ่ ะเปลีย่ นแปลงแก้ ไขกฎหมาย พระองค์จะต้องหารือและเจรจาต่อรองกับบารอนเสียก่อน ในปลายศตวรรษที่ 13 รัฐสภา เริ่มกลายเป็นสถานที่ส�ำหรับการปรึกษาหารือระหว่างกษัตริย์กับไพร่ฟ้าข้าแผ่นดินของ พระองค์ The English Parliament was not unique: there were parliaments in Scotland and much of the rest of Europe in the Middle Ages. The English Parliament did, however, become the most developed in Europe. The aristocrats and great landowners sat in the House of Lords, but there was also a separate House of Commons. The House of Commons represented country landowners and wealthy people in the market towns and cities. Judges began to develop English common law by a process of precedent and tradition. They were independent of the Crown. In Scotland there were similar developments, except that there were three Houses of Parliament (called ‘estates’), the Lords, the Commons 26 Life in the UK
and the clergy, and the legal system developed as a codified one – the laws were written down. รัฐสภามิ ได้มีแต่เฉพาะในอังกฤษ สก็อตแลนด์และยุโรปส่วนใหญ่ ในยุคกลางต่างก็มี รัฐสภาอยูแ่ ล้ว แต่รฐั สภาอังกฤษมีพฒ ั นาการทีก่ า้ วหน้ามากทีส่ ดุ ในยุโรป รัฐสภาอังกฤษ ประกอบด้วยสภาสูงหรือสภาขุนนาง ซึง่ เป็นทีน่ งั่ ของผูด้ ชี นั้ สูงและเจ้าของทีด่ นิ ผูม้ อี �ำนาจ และสภาล่างหรือสภาสามัญต่างหาก สภาล่างท�ำหน้าที่เป็นผู้แทนของเจ้าของที่ดินใน ชนบทและคนมัง่ มี ในเมืองเล็กเมืองใหญ่ทเี่ ป็นศูนย์ตลาดการค้า ผูพ้ พิ ากษาอังกฤษได้เริม่ พัฒนากฎหมายจารีต ซึง่ อาศัยกฎหมายหรือหลักเกณฑ์ทมี่ มี าก่อน และหลักกฎหมายจารีต ประเพณีทอ้ งถิน่ ผูพ้ พิ ากษาเหล่านี้ ไม่ขนึ้ อยูก่ บั กษัตริย์ ในสก็อตแลนด์กม็ พี ฒ ั นาการเหมือนๆ กัน เพียงแต่วา่ ในสก็อตแลนด์มสี ามสภา (เรียกว่า ‘เอสเตท’) คือ สภาขุนนาง สภาสามัญ และสภาบาทหลวง และมีการพัฒนาระบบกฎหมายขึน้ มาเป็นประมวลกฎหมาย โดยมีการ จารึกไว้เป็นหมวดหมู่
Changes in the economy
In England, in Norman times, under the system called feudalism, landlords owned the land and the people worked on their land were called serfs. They did not earn any money for their work on the land and were not allowed to move away, but they did have a small area of the lord’s land on which they grew enough food to survive. The same system developed in southern Scotland, but in the north of Scotland and in Ireland land was owned in common by members of the ‘clans’.
การเปลีย่ นแปลงในด้านเศรษฐกิจ
อังกฤษในยุคนอร์มันมีการปกครองระบอบศักดินา โดยเจ้าของที่ดินเป็นผู้มีกรรมสิทธิ์ ถือครองทีด่ นิ และคนทัว่ ไปทีท่ �ำมาหากินบนทีด่ นิ เหล่านีม้ ฐี านะเป็นข้าทาส พวกเขาไม่ ได้ รับเงินค่าจ้างจากการท�ำงานในทีด่ นิ ของผูเ้ ป็นนาย และจะย้ายไปท�ำมาหากินทีอ่ นื่ ก็ ไม่ ได้ แต่ขา้ ทาสเหล่านีจ้ ะมีทดี่ นิ ผืนเล็กๆ จากนาย ส�ำหรับใช้ปลูกพืชพันธุธ์ ญ ั ญาหารพอเลีย้ งชีพ อยู่ ได้ ในตอนใต้ของสก็อตแลนด์กม็ กี ารใช้ระบบเดียวกัน แต่ ในตอนเหนือของสก็อตแลนด์ และในไอร์แลนด์ สมาชิกของ ‘ตระกูลชนเผ่า’ ต่างๆ จะมีกรรมสิทธิเ์ ป็นเจ้าของทีด่ นิ ร่วมกัน
Life in the UK 27
In 1348, a third of the population of England died in the plague called the Black Death. This was one of the worst disasters ever to strike Britain and Europe but because it created a shortage of labour it helped to improve conditions for the poor in the long run. ในปี ค.ศ. 1348 กาฬโรคได้คร่าชีวติ ผูค้ นไปถึงหนึง่ ในสามของประชากรอังกฤษ โรคระบาด ทีเ่ รียกว่า มรณะด�ำ หรือ แบล็คเด็ธ ได้กอ่ ให้เกิดความเสียหายทีร่ นุ แรงทีส่ ดุ เท่าทีเ่ คยมี มาในอังกฤษและยุโรป และส่งผลให้เกิดปัญหาการขาดแคลนแรงงาน ซึง่ มีประโยชน์ตอ่ คน ยากจนในระยะยาว เพราะท�ำให้พวกเขามี โอกาสได้ปรับปรุงสภาพขีวติ ของตนเองให้ดขี นึ้ The feudal system gradually changed to a system based on wages. New social classes appeared, including large landowners called gentry and smaller farmers called yeomen. They became much more independent of the great landlords than their ancestors had been. In the towns, growing wealth led to the development of a strong middle class by the end of the medieval period. ระบบศักดินาได้ววิ ฒ ั นาการไปเป็นระบบการให้คา่ จ้างตอบแทน มีชนชัน้ ใหม่ๆ เกิดขึน้ ใน สังคม รวมถึงเจ้าของทีด่ นิ รายใหญ่ ทีเ่ รียกว่า ผูด้ ชี นบท (gentry) และชาวนาเจ้าของ ไร่ขนาดเล็ก (yeomen) กลุม่ คนเหล่านีเ้ ป็นอิสระจากเจ้าของทีด่ นิ ชนชัน้ สูง และสามารถ พึ่งตนเองได้มากขึ้น เมื่อเทียบกับบรรพบุรุษของพวกเขา ในเมืองต่างๆ ความมั่งคั่งได้ ก่อให้เกิดชนชัน้ กลางทีม่ อี �ำนาจเข้มแข็งในช่วงตอนปลายของยุคกลาง
The origins of the modern state
At the end of the Middle Ages, there was a 30-year civil war in England between two aristocratic groups, the supporters of the House (or family) of Lancaster and those of the House of York. This war was known as the Wars of the Roses, because the symbol of Lancaster was a red rose and the white rose was the symbol of York. In 1485 the civil war ended when Henry Tudor won the battle of Bosworth, killing Richard III. Henry became King Henry VII, and established the dynasty of the House of Tudor. Henry VII deliberately weakened the independent military power of the aristocracy and began to strengthen the central power of the state. 28 Life in the UK
ก�ำเนิดของรัฐยุคใหม่
ในช่วงตอนปลายของยุคกลาง ได้มีสงครามกลางเมืองเกิดขึ้นในอังกฤษนานถึง 30 ปี ระหว่างกลุ่มผู้ดีชั้นสูงสองฝ่าย ฝ่ายหนึ่งสนับสนุนราชวงศ์แลงแคสเตอร์ อีกฝ่ายหนึ่ง สนับสนุนราชวงศ์ยอร์ค สงครามนีเ้ รียกว่า สงครามดอกกุหลาบ ด้วยเหตุผลทีว่ า่ สัญลักษณ์ ประจ�ำราชวงศ์แลงแคสเตอร์ คือ ดอกกุหลาบสีแดง ในขณะทีส่ ญ ั ลักษณ์ประจ�ำราชวงศ์ ยอร์ค คือ ดอกกุหลาบสีขาว สงครามกลางเมืองนีส้ นิ้ สุดลงในปี ค.ศ. 1485 เมือ่ เฮนรี่ ทิวดอร์ สังหาร ริชารด์ที่ 3 และได้ชยั ชนะในการสูร้ บทีบ่ อสเวิรธ์ เฮนรีเ่ สด็จขึน้ ครองราชย์เป็น กษัตริยแ์ ห่งอังกฤษ ทรงพระนามว่า พระเจ้าเฮนรีท่ ี่ 7 และได้สถาปนาราชวงศ์ทวิ ดอร์ ขึน้ มา พระเจ้าเฮนรีท่ ี่ 7 ทรงตัดทอนอ�ำนาจทางการทหารของพวกผูด้ ชี นั้ สูง และเริม่ รวม ศูนย์อ�ำนาจของรัฐให้แข็งแกร่งมากยิง่ ขึน้
Language, culture and immigration in the Middle Ages
During the Middle Ages an English language and culture gradually came into being. This was a mixture of Anglo-Saxon and Norman French. Great cathedrals were built, many of them in use today. Three hundred years after the Norman Conquest, people in England began to think of themselves as one nation. One of the first works of literature to be written in English, a long poem called ‘The Canterbury Tales’ by Geoffrey Chaucer was written at the end of the 14th century. It describes many different kinds of people who met and went as pilgrims to a city called Canterbury. The poem is still popular today. In Scotland, the Middle Ages saw the development of the Scots language which was significantly different from English spoken south of the Scottish border.
ภาษา วัฒนธรรม และผูอ้ พยพเข้าเมืองในยุคกลาง
ในช่วงยุคกลาง ภาษาและวัฒนธรรมอังกฤษได้เริ่มก่อตัวขึ้นจากการผสมผสานระหว่าง ภาษาและวัฒนธรรมของแองโกล-แซกซัน่ กับนอร์มนั เฟรนช์ มีการก่อสร้างมหาวิหาร ซึง่ ยังคงใช้กนั อยูห่ ลายแห่งในปัจจุบนั หลังจากนอร์มนั ครองอังกฤษมาได้ 300 ปี ประชาชน ในอังกฤษเริ่มมีความรู้สึกว่าทุกคนเป็นชาติเดียวกัน ผลงานวรรณกรรมชิ้นแรกที่เขียน เป็นภาษาอังกฤษ คือ บทกลอนฉบับยาว ชือ่ ว่า ‘นิยายแคนเทอร์เบอรี่ (The Canterbury Tales)’ แต่งโดย เจฟฟรีย์ ชอสเซอร์ ในตอนปลายศตวรรษที่ 14 บทกลอนนีบ้ อกเล่า เรือ่ งราวของนักแสวงบุญทีพ่ บกันในการเดินทางจาริกแสวงบุญไปยังเมืองใหญ่ คือ เมือง แคนเทอร์เบอรี่ ปัจจุบนั นีย้ งั มีผนู้ ยิ มอ่านบทกวีนกี้ นั อย่างแพร่หลาย ส�ำหรับสก็อตแลนด์ ใน ยุคกลาง ได้มภี าษาของชาวสก็อตปรากฏขึน้ ภาษาของชาวสก็อตแตกต่างจากภาษาอังกฤษ ทีพ่ ดู กันในพืน้ ที่ ใต้เขตแดนของสก็อตแลนด์มาก Life in the UK 29
This period was also a time of trade. Merchants came from Germany and Italy. There were also people who came to England with special skills, such as weavers from France, Engineers from Germany, glass manufacturers from Italy and canal builders from Holland. In 1440 there were 16,000 foreigners in England, approximately 1% of the population. ยุคนีเ้ ป็นช่วงเวลาแห่งการค้าขาย มีพอ่ ค้ามาจากเยอรมนีและอิตาลี นอกจากนัน้ ยังมีคนทีม่ ี ฝีมอื ช่างพิเศษเดินทางเข้ามาในอังกฤษด้วย เช่น ช่างทอผ้าจากฝรัง่ เศส วิศวกรจากเยอรมนี ผูผ้ ลิตแก้วจากอิตาลี และช่างขุดและสร้างคลองจากฮอลแลนด์ ในปี ค.ศ. 1440 คนต่างด้าว ในอังกฤษมีจ�ำนวนถึง 16,000 คน คิดเป็นสัดส่วนประมาณ 1% ของประชากรอังกฤษ
The early modern period Religious conflicts
Henry VII had already begun to strengthen the central administration of England and reduce the military power of the aristocracy. His son Henry VIII continued his policy. Henry VIII was most famous for breaking away from the Church of Rome. Henry VIII wanted a divorce because his wife, Catherine of Aragon, had not given him a surviving heir. In order to get a divorce and remarry he needed the approval of the Pope, who had authority over all Christians in Western Europe. When the Pope refused, Henry established the Church of England. The king, not the Pope, now had the power to appoint the bishops and to decree what people were required to believe.
ยุคใหม่ ในช่วงเวลาตอนต้น ความขัดแย้งทางศาสนา
พระเจ้าเฮนรี่ที่ 7 ทรงเริ่มรวมศูนย์อ�ำนาจการปกครองอังกฤษให้แข็งแกร่งยิ่งขึ้น และ ลดทอนอ�ำนาจทางการทหารของผูด้ ชี นั้ สูงให้นอ้ ยลง พระเจ้าเฮนรีท่ ี่ 8 ผูเ้ ป็นพระราชโอรส ทรงสืบสานนโยบายของเสด็จพ่อในเรื่องนี้ต่อไป พระเจ้าเฮนรี่ที่ 8 มีชื่อเสียงมากที่สุด ในเรือ่ งการแยกตัวเป็นอิสระจากศาสนจักรแห่งโรม พระเจ้าเฮนรีท่ ี่ 8 ทรงปรารถนาทีจ่ ะหย่าจากสมเด็จพระราชินแี คทเธอรีนแห่งอารากอน เนือ่ งจากพระนางเจ้าแคทเธอรีนไม่สามารถให้ก�ำเนิดทายาททีม่ ชี วี ติ ส�ำหรับสืบสันตติวงศ์ 30 Life in the UK
แต่พระองค์จะทรงหย่าและอภิเษกสมรสใหม่ ได้ก็ต่อเมื่อได้รับความเห็นชอบจากพระ สันตปาปาผูม้ อี �ำนาจเหนือชาวคริสต์ทกุ คนในยุโรปตะวันตกแล้วเท่านัน้ เมือ่ พระสันตะปาปา ทรงปฏิเสธไม่ ให้ความเห็นชอบ พระเจ้าเฮนรีจ่ งึ ได้กอ่ ตัง้ ศาสนจักรแห่งอังกฤษขึน้ มา ซึง่ ท�ำให้กษัตริยม์ อี �ำนาจทีจ่ ะแต่งตัง้ พระสังฆราช และประกาศพระราชกฤษฎีกาให้ประชาชน นับถือศาสนาอะไรก็ ได้ โดยไม่ตอ้ งขึน้ อยูก่ บั พระสันตปาปาอีกต่อไป At the same time the Reformation – a great movement of opinion against the power of the Pope – was happening in England, Scotland, and many other European countries. The people who opposed the Pope were called Protestants. They read the Bible in their own languages instead of Latin, and interpreted it for themselves. The Protestants believed that each individual’s personal relationship with God was of supreme importance. The Catholics believed that it was essential to submit to the authority of the Church, as led by the Pope. Protestant ideas gradually gained strength in England and Scotland during the 16th century, but were much less successful in Ireland. ในเวลาเดียวกันก็ ได้มีกระแสความคิดเห็นต่อต้านอ�ำนาจของพระสันตะปาปา หรือการ ปฏิรปู เกิดขึน้ ในอังกฤษ สก็อตแลนด์ และประเทศอืน่ ๆ ในยุโรปอีกหลายประเทศ กลุม่ ผูต้ อ่ ต้านพระสันตะปาปานี้ เรียกว่า โปรเตสแตนท์ พวกโปรเตสแตนท์อา่ นคัมภีร์ไบเบิล้ ที่เป็นภาษาของตนเอง ไม่ ใช่ภาษาละติน และตีความหมายในพระคัมภีร์ ไบเบิ้ลเองด้วย ชาวโปรเตสแตนท์เชือ่ ว่าความสัมพันธ์สว่ นตัวระหว่างแต่ละบุคคลกับพระเจ้ามีความส�ำคัญ สูงสุด ต่างจากชาวคาทอลิกทีเ่ ชือ่ ว่าจะต้องยอมรับอ�ำนาจของศาสนจักรทีม่ พี ระสันตปา ปาเป็นผูน้ �ำเท่านัน้ ความคิดของชาวโปรเตสแตนท์เริม่ เป็นทีน่ ยิ มแพร่หลายในอังกฤษและ สก็อตแลนด์ ในช่วงศตวรรษที่ 16 แต่ ไม่คอ่ ยเป็นทีย่ อมรับกันมากในไอร์แลนด์ In Ireland, the English attempted to impose Protestantism and English laws governing the inheritance of land. The leaders of the tribes in Ireland, the chieftains, rebelled against the English and there was much brutal fighting between the English and the Irish rebels. This created a sense of national consciousness which united Ireland. Many of the Norman-English who had settled in Ireland remained Catholic.
Life in the UK 31
อังกฤษพยายามทีจ่ ะให้ ไอร์แลนด์เข้าเป็นโปรเตสแตนท์ และก�ำหนดให้เรือ่ งมรดกทีด่ นิ อยู่ ภายใต้บงั คับของกฎหมายอังกฤษ แต่ผนู้ �ำซึง่ เป็นหัวหน้าเผ่าในไอร์แลนด์ไม่ยอมรับ และได้ ก่อการกบฏขึน้ มีการสูร้ บกันอย่างโหดเหีย้ มระหว่างอังกฤษกับฝ่ายกบฎไอริช เหตุการณ์นี้ ได้ปลุกจิตส�ำนึกของความเป็นไอริช และท�ำให้คนในไอร์แลนด์มีความรู้สึกเป็นน�้ำหนึ่งใจ เดียวกัน ชาวอังกฤษเชื้อสายนอร์มันจ�ำนวนมากที่ตั้งถิ่นฐานอยู่ ในไอร์แลนด์ยังคงนับถือ นิกายโรมันคาทอลิกต่อไป
The middle-way: the reign of Elizabeth I
Henry VIII’s only son and heir was Edward. Edward was strongly Protestant, but he died at the age of 15 and his half-sister Mary became queen. Mary was a devout Catholic and brought England back to obedience to the Pope. Under Mary, Protestants were persecuted. Mary, too, died after only a short reign and the next monarch was her half-sister, Elizabeth, a Protestant. Elizabeth I was more moderate than Mary in her religion. She re-established the Church of England and the Christian religion as practiced in England became known as Anglicanism. Elizabeth expected everyone to attend church but did not ask questions about their religious beliefs. By keeping to a ‘middle way’ between the Catholics and the more extreme Protestants (later called Puritans), Elizabeth managed to keep the peace in England, despite her many enemies. Gradually, however, Elizabeth’s popularity rose, along with strong feelings of English patriotism. These became stronger when the English defeated the attempt of the Spanish ‘Armada’ (or fleet) to conquer England and restore Catholicism in 1588.
ทางสายกลาง : รัชสมัยของสมเด็จพระราชินนี าถอลิซาเบธที่ 1
พระราชโอรสที่เป็นทายาทพระองค์เดียวของพระเจ้าเฮนรี่ที่ 8 คือ พระเจ้าเอ็ดเวิร์ด พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดนับถือนิกายโปรเตสแตนท์อย่างเคร่งครัด แต่พระองค์ทรงสิ้นพระชนม์ เมือ่ พระชนมายุได้เพียง 15 พรรษา เจ้าฟ้าหญิงแมรี่ พระภคินตี า่ งพระมารดาได้เสด็จขึน้ ครองราชย์เป็นพระราชินนี าถแห่งอังกฤษ พระนางเจ้าแมรีเ่ ป็นโรมันคาทอลิกทีเ่ คร่งครัด มาก และได้น�ำอังกฤษกลับไปอยู่ภายใต้พระบัญชาของพระสันตะปาปาใหม่ ในรัชสมัย ของพระนางเจ้าแมรี่ ชาวโปรเตสแตนท์ถูกกดขี่และกลั่นแกล้งท�ำร้าย พระนางเจ้าแมรี่ เองก็สนิ้ พระชนม์หลังจากครองราชย์ได้ ไม่นาน ผูส้ บื ต่อบัลลังก์องค์ตอ่ ไป คือ เจ้าฟ้าหญิง อลิซาเบธ พระขนิษฐาต่างพระมารดา พระนางเจ้าอลิซาเบธนับถือนิกายโปรเตสแตนท์ แต่ มีความคิดเห็นไม่รุนแรงจัดในเรื่องศาสนาเมื่อเทียบกับพระนางเจ้าแมรี่ พระองค์ ได้ทรง 32 Life in the UK
ฟืน้ ฟูศาสนจักรอังกฤษใหม่ และคริสต์ศาสนาทีป่ ฏิบตั กิ นั ในอังกฤษต่อมาได้ชอื่ ว่า คริสตจักร นิกายแองกลิแคน พระนางเจ้าอลิซาเบธทรงคาดหวังให้ทุกคนเข้าโบสถ์ แต่ ไม่บังคับใน เรือ่ งความเชือ่ ทางศาสนาของประชาชน วิธกี ารแบบ ‘สายกลาง’ ทีพ่ ระนางเจ้าอลิซาเบธ ทรงใช้ระหว่างคาทอลิกกับพวกโปรเตสแตนท์สดุ โต่ง (ซึง่ ต่อมาเรียกว่า กลุม่ เพียวริตนั ) ได้ท�ำให้มคี วามสงบสุขเกิดขึน้ ในอังกฤษ แม้วา่ จะยังมีศตั รูผมู้ งุ่ ร้ายต่อพระองค์เป็นจ�ำนวน มากอยู่ก็ตาม กระแสความนิยมในตัวพระนางเจ้าอลิซาเบธ ควบคู่กับความรู้สึกรักชาติ อังกฤษอย่างรุนแรงได้ก่อตัวเพิ่มสูงขึ้น และมีความรุนแรงมากยิ่งขึ้นเมื่อสเปนยกทัพเรือ อาร์มาดา (กระบวนทัพเรือ) มาในปี ค.ศ. 1588 เพือ่ มุง่ หมายเข้ายึดครองอังกฤษและ ฟืน้ ฟูโรมันคาทอลิกในอังกฤษ แต่ ได้ถกู อังกฤษตีแตกพ่ายไป In Scotland the Protestant reformation was more extreme and led to constant changes of government. ‘Mary, Queen of Scots’, was a cousin of Elizabeth I and was crowned queen of Scotland while she was only a baby. Her mother was French, so Mary was a Catholic. The rival groups in Scotland fought to control Mary. When her husband was murdered by her lover and her situation became more dangerous, Mary fled to England. Elizabeth I, however, believed Mary wanted to try to take over the English throne, and kept her in captivity for 20 years. Later Mary was executed, accused of plotting against Elizabeth I. การปฏิรปู ของชาวโปรเตสแตนท์ ในสก็อตแลนด์ยงิ่ รุนแรงกว่า และส่งผลให้มกี ารเปลีย่ น ผู้ปกครองอย่างต่อเนื่อง พระนางเจ้า ‘แมรี่ พระราชินีแห่งสก็อตแลนด์’ ทรงเป็นลูกพี่ ลูกน้องของพระนางเจ้าอลิซาเบธที่ 1 พระองค์ได้รบั การสวมมงกุฎเป็นสมเด็จพระราชินนี าถ แห่งสก็อตแลนด์ ในขณะทีย่ งั ทรงเป็นทารกน้อย พระมารดาของพระองค์เป็นคนฝรัง่ เศส พระนางเจ้าแมรี่จึงเป็นคาทอลิก กลุ่มคู่แข่งในสก็อตแลนด์ต่างต่อสู้แข่งขันกันเพื่อช่วงชิง อ�ำนาจในการควบคุมพระนางเจ้าแมรี่ เมือ่ พระสวามีของพระนางเจ้าแมรีถ่ กู ปลงพระชนม์ โดยชูร้ กั ของพระนางเอง และพระนางเริม่ ตกอยู่ ในสถานการณ์ทอี่ นั ตรายมากขึน้ พระนาง เจ้าแมรีจ่ งึ ทรงเสด็จหนี ไปอังกฤษ พระนางเจ้าอลิซาเบธทรงเชือ่ ว่าพระนางเจ้าแมรีม่ พี ระ ประสงค์ทจี่ ะช่วงชิงบัลลังก์องั กฤษ พระองค์จงึ กักขังพระนางเจ้าแมรี่ ไว้นานถึง 20 ปี และ ต่อมาพระนางเจ้าแมรีก่ ท็ รงถูกประหารชีวติ ด้วยข้อกล่าวหาว่าวางแผนทีจ่ ะก�ำจัดพระนาง เจ้าอลิซาเบธที่ 1
Life in the UK 33
Culture and discovery
Today the Elizabethan period is remembered for the richness of its poetry and drama, especially for the plays and poems of Shakespeare, who is still widely recognised as the greatest writer in English. The period is also important for England’s discoveries and trade overseas, at a time when European countries began to exert power and influence in other parts of the world. Sir Frances Drake, commander in the defeat of the Spanish Armada, was one the founders of England’s naval tradition. In Elizabeth I’s time, English settlers first began to colonise the eastern coast of America, a movement which greatly increased in the next century.
วัฒนธรรมและการค้นพบทีส่ �ำคัญ
รัชสมัยของพระนางเจ้าอลิซาเบธยังเป็นทีจ่ ดจ�ำสืบต่อมาถึงปัจจุบนั เนือ่ งจากช่วงเวลานัน้ เป็นยุคทองแห่งวรรณกรรม มีทงั้ บทกวี และบทละคร โดยเฉพาะอย่างยิง่ บทละครและ บทกลอนทีแ่ ต่งโดยเชคสเปียร์ ซึง่ ยังคงเป็นทีย่ อมรับอย่างกว้างขวางว่าเป็นนักเขียนอังกฤษ ทีย่ งิ่ ใหญ่ทสี่ ดุ นอกจากนัน้ ในช่วงนีย้ งั มีการค้นพบและการค้าขายทีส่ �ำคัญๆ ของอังกฤษใน ดินแดนโพ้นทะเล ในเวลาทีป่ ระเทศอืน่ ๆ ในยุโรปเริม่ แผ่ขยายอ�ำนาจและอิทธิพลไปยังภาคพืน้ ต่างๆ ทัว่ โลก เซอร์ฟรานซิส เดร้ค ผูบ้ ญ ั ชาการทัพเรือทีม่ ชี ยั ต่อกองทัพเรืออาร์มาด้าของ สเปน เป็นหนึ่งในกลุ่มผู้ก่อตั้งธรรมเนียมการปฏิบัติของราชนาวีอังกฤษ ในรัชสมัยของ พระนางเจ้าอลิซาเบธที่ 1 คนอังกฤษได้เริม่ ตัง้ หลักปักฐานสร้างอาณานิคมขึน้ เป็นครัง้ แรก ในดินแดนบริเวณชายฝั่งตะวันออกของอเมริกา และได้มีคนหลั่งไหลเข้ามาตั้งรกรากใน อาณานิคมใหม่นเี้ พิม่ มากขึน้ ในศตวรรษต่อมา
Two kingdoms, one king
When Elizabeth I died in 1603, she had no children. Her nearest relative was the king of Scotland, James VI. James was the son of Mary, Queen of Scots, but he was a Protestant. He became King James I of England but the two countries did not become united at this time. Scotland kept its own parliament for another hundred years and still has its own system of law.
พระราชาแห่งสองอาณาจักร
เมือ่ พระราชินนี าถอลิซาเบธที่ 1 เสด็จสวรรคตในปี ค.ศ. 1603 พระองค์ไม่มพี ระโอรสหรือ ธิดาทีจ่ ะสืบสันตติวงศ์ แต่มพี ระญาติที่ ใกล้ชดิ ทีส่ ดุ คือ พระเจ้าเจมส์ที่ 6 แห่งสก็อตแลนด์ 34 Life in the UK
พระเจ้าเจมส์เป็นพระโอรสของพระนางเจ้าแมรี่ พระราชินขี องสก็อตแลนด์ พระเจ้าเจมส์ เป็นโปรเตสแตนท์ และได้ทรงเสด็จขึ้นเป็นกษัตริย์แห่งอังกฤษ ทรงพระนามว่าพระเจ้า เจมส์ที่ 1 แต่ ในเวลานัน้ อังกฤษกับสก็อตแลนด์ยงั ไม่ ได้ผนวกรวมกัน สก็อตแลนด์ยงั คงมี รัฐสภาของตนเองต่อมาอีกถึง 100 ปี และในปัจจุบนั ก็ยงั คงมีระบบกฎหมายของตนเอง
Ireland: rebellion and plantation
At this time, Ireland was almost completely Catholic country. England had begun invasions into Ireland many centuries before (in the times of the Normans) but had only succeeded in occupying land around Dublin, an area called the ‘Pale’. The Tudor kings Henry VII and Henry VIII had managed to gain control of the whole country and started to introduce English laws and to break down the power of the local leaders. During the rule of Elizabeth, rebellions against the English broke out, strengthened by the attempts of the English government to abolish the power of the Catholic Church. After one of these rebellions, James I began a policy of ‘plantation’ or colonisation by force in Ulster, the north-eastern province of Ireland. This involved replacing the Catholic landholders with English and especially Scottish Protestant farmers. Many ‘planters’ went to Ulster, mainly from the south-west of Scotland. Land taken from the Catholic rebels was given to companies in London. These events had serious long term consequences for England, Scotland and Ireland.
ไอร์แลนด์: กบฎและการยึดครองไร่นา
ในเวลานัน้ ไอร์แลนด์เป็นคาทอลิกเกือบทัง้ ประเทศ อังกฤษได้เริม่ รุกรานไอร์แลนด์มาแล้ว ตัง้ แต่ศตวรรษก่อนๆ (ในยุคชาวนอร์มนั ) แต่สามารถยึดครองได้เพียงแค่พนื้ ทีร่ อบๆ กรุง ดับลิน ทีเ่ รียกว่า ‘เพล’ ซึง่ หมายถึงเขตพืน้ ที่ ในไอร์แลนด์ทอี่ ยูภ่ ายใต้การบังคับของอังกฤษ โดยตรงเท่านั้น ในที่สุดพระเจ้าเฮนรี่ที่ 7 และพระเจ้าเฮนรี่ที่ 8 แห่งราชวงศ์ทิวดอร์ ก็ประสบความส�ำเร็จในการเข้าครองไอร์แลนด์ ได้ทั้งประเทศ และได้เริ่มน�ำกฎหมาย อังกฤษเข้ามาใช้ ในไอร์แลนด์ และล้มล้างอ�ำนาจของบรรดาผูน้ �ำในท้องถิน่ ในช่วงรัชสมัย ของสมเด็จพระนางเจ้าอลิซาเบธ ได้มกี บฏลุกฮือขึน้ ต่อต้านอังกฤษ ด้วยความเคียดแค้นที่ รัฐบาลอังกฤษพยายามทีจ่ ะลบล้างอ�ำนาจของคริสตจักรคาทอลิก หลังการกบฏครัง้ หนึง่ พระเจ้าเจมส์ที่ 1 ได้ทรงริเริม่ พระราชนโยบายการใช้ก�ำลัง ‘เข้ายึดครองไร่นา’ หรือก่อตัง้ อาณานิคมขึน้ มาในอัลสเตอร์ มณฑลทางตะวันออกเฉียงเหนือของไอร์แลนด์ ตามพระราช นโยบายนี้ คนอังกฤษ และโดยเฉพาะชาวไร่ชาวนาคนสก็อตแลนด์ทเี่ ป็นโปรเตสแตนท์ จะ Life in the UK 35
เข้าครอบครองทีด่ นิ แทนเจ้าของเดิมชาวคาทอลิก ‘ชาวไร่ชาวนา’ ส่วนใหญ่จากภาคตะวันตก เฉียงใต้ของสก็อตแลนด์ได้หลัง่ ไหลไปทีอ่ ลั สเตอร์ ทีด่ นิ ทีร่ บิ ได้จากกบฎคาทอลิกก็มอบให้ แก่บริษทั ต่างๆ ในลอนดอน การกระท�ำของอังกฤษครัง้ นีม้ ผี ลเสียทีร่ า้ ยแรงในระยะยาว ส�ำหรับอังกฤษ สก็อตแลนด์ และไอร์แลนด์
Charles I and Parliament
During the reigns of Elizabeth I and James I, the English Parliament became more powerful and influential. The king, Lords and Commons were supposed to be mutually dependent and respectful of each other, but there were strong merchant and commercial interests in the House of Commons, representing a growing middle class, many of whom wanted a more strongly Protestant policy. Elizabeth I had many political skills and tried to balance these interests. James I and his son Charles I, however, were less skilled in managing these conflicts. Many thinkers in Europe at that time believed in the theory of ‘the divine right of kings’ – that the king was directly appointed by God. Charles I was particularly influenced by these ideas, and when he could not get Parliament to agree with his religious and foreign policies, he tried to rule without calling any more Parliaments. A number of refugees from the religious policies of James I and Charles I decided to settle in America, where they established the new Puritan colonies of New England.
พระเจ้าชาร์ลส์ที่ 1 และรัฐสภา
ในช่วงรัชสมัยของสมเด็จพระนางเจ้าอลิซาเบธที่ 1 และพระเจ้าเจมส์ที่ 1 รัฐสภาอังกฤษเริม่ มีอ�ำนาจและอิทธิพลมากขึน้ ตามหลักการแล้ว กษัตริย์ สภาสูง และสภาล่างควรเคารพ นับถือและพึง่ พาอาศัยกัน แต่ ในสภาล่างหรือสภาสามัญ มีเรือ่ งของผลประโยชน์ดา้ นการ ค้าเข้ามาเกีย่ วข้องมาก สภาล่างเป็นผูแ้ ทนชนชัน้ กลางทีก่ �ำลังเติบโตขยายตัว ชนชัน้ กลาง เหล่านีห้ ลายคนต้องการนโยบายโปรเตสแตนท์ทเี่ ข้มแข็งมากขึน้ พระนางเจ้าอลิซาเบธที่ 1 ทรงมีพระปรีชาสามารถในด้านการเมืองสูง และได้พยายามสร้างความสมดุลในเรื่อง ผลประโยชน์ แต่พระเจ้าเจมส์ที่ 1 และพระเจ้าชาร์ลส์ที่ 1 ซึง่ เป็นพระโอรสของพระเจ้า เจมส์ มีพระปรีชาสามารถด้อยกว่าในการจัดการกับความขัดแย้งเหล่านี้ นักคิดหลายท่าน ในยุโรปเวลานัน้ ยึดถือปรัชญาเทวสิทธิท์ เี่ ชือ่ ว่า ‘กษัตริย์ได้รบั อ�ำนาจจากสวรรค์’ -และพระ ผู้เป็นเจ้าทรงแต่งตั้งกษัตริย์ด้วยพระองค์เอง พระเจ้าชาร์ลส์ที่ 1 ทรงเชื่อมั่นในเรื่องนี้ เป็นพิเศษ และเมือ่ พระองค์ไม่สามารถท�ำให้รฐั สภาเห็นชอบกับพระราชนโยบายด้านต่าง 36 Life in the UK
ประเทศและศาสนาของพระองค์ พระองค์จึงพยายามที่จะปกครองอังกฤษโดยไม่รับฟัง ความคิดเห็นของรัฐสภาอีกต่อไป นโยบายด้านศาสนาของพระเจ้าเจมส์ที่ 1 และพระเจ้า ชาร์ลส์ที่ 1 ท�ำให้ผลู้ ภี้ ยั กลุม่ หนึง่ ตัดสินใจตัง้ ถิน่ ฐานอยู่ ในอเมริกา และก่อตัง้ อาณานิคมแห่ง นิวอิงแลนด์นกิ ายเพียวริตนั ขึน้ มาใหม่
Origins of the English civil war
Charles I tried to impose the ceremonies of the Church of England on the Protestants of Scotland, who were called Presbyterians. In response, the Scots invaded the north of England. Charles needed money to fight the Scots and this could only be granted by Parliament, but when it met in 1640, Parliament refused to vote to give money to the king to fight this war. Many in Parliament were Puritans who, like the Scots, opposed the king’s religious policies; they saw no reason to help him suppress the Scots.
ก�ำเนิดสงครามกลางเมืองในอังกฤษ
พระเจ้าชาร์ลส์ที่ 1 ทรงพยายามเรียกร้องให้ชาวโปรเตสแตนท์ ในสก็อตแลนด์ ทีเ่ รียกว่า เพรสไบเทอเรียน ประกอบพิธทิ างศาสนาตามแบบของศาสนจักรอังกฤษ แต่ชาวสก็อตตอบ สนองด้วยการยกทัพบุกรุกเข้ามาในตอนเหนือของอังกฤษ พระเจ้าชาร์ลส์ที่ 1 ทรงต้องการ เงินเพือ่ ต่อสูก้ บั ชาวสก็อต ซึง่ ต้องได้รบั การอนุมตั จิ ากรัฐสภา แต่เมือ่ มีการประชุมรัฐสภา ในปี ค.ศ. 1640 สมาชิกในรัฐสภาปฏิเสธทีจ่ ะออกเสียงสนับสนุนการอนุมตั เิ งินให้พระองค์ ไปท�ำสงครามนี้ ในรัฐสภามีเพียวริตนั หลายคนทีต่ อ่ ต้านนโยบายด้านศาสนาของพระเจ้า ชาร์ลส์ที่ 1 เช่นเดียวกับชาวสก็อต พวกเขาจึงคิดว่าไม่มเี หตุผลใดทีจ่ ะต้องช่วยพระองค์ ปราบปรามชาวสก็อต When the Catholics of Ireland, who were afraid that Parliament might attack their religion, rebelled in 1641, Parliament demanded control of the army because they feared the king would use it against them. Charles I tried to arrest five parliamentary leaders, who fled. The chairman of the House of Commons (the Speaker) refused to tell the king where they had gone and said that he was loyal only to the command of the House of Commons. Civil war broke out in England in 1642.
Life in the UK 37
เนื่องจากชาวคาทอลิกในไอร์แลนด์หวั่นเกรงว่ารัฐสภาอังกฤษอาจล้มล้างศาสนาของตน พวกเขาจึงได้กอ่ การกบฏขึน้ ในปี ค.ศ. 1641 รัฐสภาได้เรียกร้องทีจ่ ะบังคับบัญชากองทัพ เอง เพราะกลัวว่าพระเจ้าชาร์ลส์ที่ 1 จะใช้ก�ำลังทหารโจมตีพวกเขา พระเจ้าชาร์ลส์ที่ 1 พยายามทีจ่ ะจับกุมผูน้ �ำรัฐสภา 5 คน แต่พวกเขาหลบหนี ไปได้ ประธานสภาล่าง (โฆษก รัฐสภา) ไม่ยอมเปิดเผยให้พระองค์ทราบว่าผูน้ �ำรัฐสภาทัง้ ห้านีห้ ลบหนี ไปอยูท่ ี่ ไหน และ บอกว่าเขาจงรักภักดีและเชื่อฟังค�ำสั่งของสภาล่างเท่านั้น สงครามกลางเมืองปะทุขึ้นใน อังกฤษในปี ค.ศ. 1642
Oliver Cromwell and the English Republic
After four years Charles I was defeated by Parliament’s general, the Puritan Oliver Cromwell. Charles, however, refused to compromise with Parliament and was executed in 1649. The Parliament itself had to submit to the rule of its own army and Members of Parliament who wanted peace with the king were expelled. For eleven years England became a republic for the only time in its history, under the leadership of Oliver Cromwell, who took the title of Lord Protector from 1653.
โอลิเวอร์ ครอมเวลล์ และสาธารณรัฐอังกฤษ
สีป่ หี ลังจากนัน้ พระเจ้าชาร์ลส์ที่ 1 ก็ทรงพ่ายแพ้ตอ่ นายพลชาวคริสต์นกิ ายเพียวริตนั ทีช่ อื่ ว่า โอลิเวอร์ ครอมเวลล์ แต่พระองค์กลับทรงปฏิเสธทีจ่ ะประนีประนอมกับรัฐสภา ดังนัน้ พระองค์จงึ ทรงถูกส�ำเร็จโทษในปี ค.ศ. 1649 รัฐสภาเองก็ตอ้ งยอมอยูภ่ ายใต้การปกครอง ของกองทัพรัฐสภา และสมาชิกรัฐสภาที่ต้องการจะยอมรับเงื่อนไขของพระเจ้าชาร์ลส์ที่ 1 เพือ่ เห็นแก่ความสงบสุขของบ้านเมืองก็ถกู ขับไล่ออกจากรัฐสภา ในประวัตศิ าสตร์ของ อังกฤษ มีเพียงครัง้ เดียวเท่านัน้ ทีม่ กี ารสถาปนาอังกฤษเป็นสาธารณรัฐทีอ่ ยู่ ได้นาน 11 ปี ภายใต้การน�ำของ โอลิเวอร์ ครอมเวลล์ ซึง่ เข้ารับต�ำแหน่ง ‘เจ้าผูพ้ ทิ กั ษ์สาธารณรัฐอังกฤษ (Lord Protector)’ ตัง้ แต่ปี ค.ศ. 1653 Many Scots had bitterly opposed the execution of Charles I, who was their king as well, and soon afterwards they crowned his son as King Charles II. Cromwell defeated Charles, in two battles at Dunbar and Worcester, and brought Scotland completely under his control. He also finally put down the Irish rebellion which had begun in 1641, using so much violence that even today the memory of Cromwell is still hated by some Irish Catholics. 38 Life in the UK
ชาวสก็อตจ�ำนวนมากไม่เห็นด้วยกับการปลงพระชนม์พระเจ้าชาร์ลส์ที่ 1 ซึง่ เป็นกษัตริยข์ อง สก็อตแลนด์เช่นกัน ต่อมาอีกไม่นาน ชาวสก็อตได้สวมมงกุฎและสถาปนาพระโอรสของพระ เจ้าชาร์ลส์ที่ 1 ให้เป็นกษัตริย์ ทรงพระนามว่าพระเจ้าชาร์ลส์ที่ 2 ครอมเวลล์ตอ่ สูเ้ อาชนะ พระเจ้าชาร์ลส์ที่ 2 ในการรบทีด่ นั บาร์ และวูสเตอร์ และเข้าควบคุมสก็อตแลนด์ได้ทงั้ หมด นอกจากนัน้ ครอมเวลล์ยงั ปราบกบฏไอริช ซึง่ ก่อตัวขึน้ ในปี ค.ศ. 1641 ได้อย่างราบคาบ ด้วยวิธกี ารทีร่ นุ แรงและโหดเหีย้ ม จนกระทัง่ ทุกวันนี้ ครอมเวลล์ยงั คงเป็นทีเ่ กลียดชังของ ชาวไอริชบางกลุม่ ทีน่ บั ถือคาทอลิก Later, in the 19th century, the English came to see Cromwell as the defender of Parliament’s rights against the Crown. When Cromwell died, however, there was no credible successor to his power and no clear system of government in place. The civil war had created religious and political extremism. Some groups of people questioned the whole foundation of the society and the ideas of property and social class. The first English democratic party, the Levellers, has briefly flourished in Parliament’s armies but by the time of Cromwell’s death most people were tired of change and wished for a return to stability. ต่อมาในศตวรรษที่ 19 คนอังกฤษเริม่ ยอมรับว่าครอมเวลล์เป็นผูป้ กป้องสิทธิของรัฐสภา จากการกดขีข่ องกษัตริย์ อย่างไรก็ตาม เมือ่ ครอมเวลล์ถงึ แก่อสัญกรรม ปรากฏว่าไม่มี ผู้สืบต่ออ�ำนาจที่มีความสามารถเป็นที่น่าเชื่อถือ นอกจากนั้น รัฐบาลยังไม่มีระบบการ ปกครองที่ชัดเจนด้วย สงครามกลางเมืองได้ก่อให้เกิดลัทธิความสุดโต่งทางการเมือง และศาสนา คนบางกลุม่ ตัง้ ค�ำถามเกีย่ วกับรากฐานของสังคม ตลอดจนความคิดในเรือ่ ง ทรัพย์สินและชนชั้นทางสังคม เดอะ เลฟเวลเลอร์ (Levellers) เป็นพรรคการเมือง ประชาธิปไตยพรรคแรกของอังกฤษ และเป็นทีน่ ยิ มในระยะสัน้ ๆ ในหมูก่ องทัพของรัฐสภา แต่เมือ่ ครอมเวลล์ถงึ แก่อสัญกรรมไปแล้ว คนส่วนใหญ่รสู้ กึ เหนือ่ ยหน่ายกับการเปลีย่ นแปลง และปรารถนาทีจ่ ะให้บา้ นเมืองมีเสถียรภาพอีกครัง้
The Restoration
Parliament decided that the best solution was to bring back Charles II from his exile in the Netherlands. In1660 he was recalled to England and crowned king. Charles II wanted power but he also understood that to rule in peace he could not repeat his father’s mistakes. He was popular enough to get Parliament to support his policies and, though he was secretly a Catholic, he re-established Life in the UK 39
the power of the Church of England. The Puritans who had ruled England and Scotland during the Republic were kept out of power and treated harshly.
การฟืน้ ฟูพระราชวงศ์
รัฐสภาตัดสินใจว่า วิธกี ารแก้ ไขปัญหาทีด่ ที สี่ ดุ ก็คอื การน�ำพระเจ้าชาร์ลส์ที่ 2 ทีเ่ สด็จหนี ไปประทับลีภ้ ยั อยู่ ในเนเธอร์แลนด์กลับคืนสูอ่ งั กฤษ พระองค์ได้รบั การอัญเชิญให้กลับมา อังกฤษ และได้รบั การราชาภิเษกเป็นกษัตริย์ ในปี ค.ศ. 1660 พระเจ้าชาร์ลส์ที่ 2 ทรง ต้องการอ�ำนาจ แต่เข้าใจดีวา่ หากพระองค์ปรารถนาทีจ่ ะปกครองบ้านเมืองอย่างสงบสุข แล้ว พระองค์จะท�ำความผิดพลาดเยีย่ งพระราชบิดาอีกไม่ ได้ พระเจ้าชาร์ลส์ที่ 2 ทรงได้ รับความนิยมอย่างสูง รัฐสภาจึงให้การสนับสนุนพระราชนโยบายของพระองค์ พระเจ้า ชาร์ลส์ที่ 2 ทรงนับถือนิกายโรมันคาทอลิกอย่างลับๆ และได้ทรงฟืน้ ฟูอ�ำนาจของศาสนจักร อังกฤษขึน้ มาใหม่ ชาวคริสต์นกิ ายเพียวริตนั ทีเ่ คยปกครองอังกฤษและสก็อตแลนด์ ในยุค สาธารณรัฐ ได้ถกู กีดกันจากการมีอ�ำนาจ และได้มกี ารปฏิบตั ติ อ่ คนเหล่านีอ้ ย่างไม่ปรานี Charles had no legitimate children. When he died in 1685 his brother, James II, who was openly Catholic, became king. The Protestant majority in England rapidly became worried that he might wish to abolish the Church of England and force England back to the obedience of the Pope. All James’s actions during his short reign – his appointment of Catholics as army officers, his defiance of the laws made by Parliament and his quarrels with the bishops of the Church of England – made these suspicions stronger. พระเจ้าชาร์ลส์ที่ 2 ไม่มพี ระราชโอรสหรือธิดาทีถ่ กู ต้องตามกฎหมาย เมือ่ พระองค์เสด็จ สวรรคตในปี ค.ศ. 1685 พระเจ้าเจมส์ที่ 2 พระอนุชาทีป่ ระกาศตัวเป็นคาทอลิก ก็ ได้เสด็จ ขึน้ ครองราชย์เป็นกษัตริยส์ บื ต่อจากพระเจ้าชาร์ลส์ที่ 2 ต่อมาไม่นานนัก ชาวโปรเตสแตนท์ ส่วนใหญ่ ในอังกฤษเริม่ หวัน่ วิตกว่าพระเจ้าเจมส์ที่ 2 จะล้มล้างศาสนจักรอังกฤษ และกลับไป น้อมรับโอวาทของพระสันตะปาปาอีก ในช่วงรัชสมัยสัน้ ๆ ของพระองค์ พระเจ้าเจมส์ที่ 2 ได้ทรงแต่งตั้งชาวคาทอลิกให้เป็นนายทหารในกองทัพ ทรงท้าทายกฎหมายที่ออกโดย รัฐสภา และทรงทะเลาะวิวาทกับสังฆราชแห่งศาสนจักรอังกฤษ การกระท�ำทั้งหมดนี้ ได้กอ่ ให้เกิดความหวาดระแวงมากยิง่ ขึน้
40 Life in the UK
The Glorious Revolution
In1688, the great lords who were opposed to James II conspired to ask William of Orange, the Protestant ruler of the Netherlands, to invade England and proclaim himself king. William was married to James II’s daughter, Mary. When he invaded, there was no resistance in England, and he and Mary took over the throne. This change was later called the ‘Glorious Revolution’ in England because it was accomplished without bloodshed and because it ended the threat of arbitrary royal power.
การปฏิวตั ทิ งี่ ดงาม
ในปี ค.ศ.1688 ขุนนางผู้ ใหญ่ทตี่ อ่ ต้านพระเจ้าเจมส์ที่ 2 ได้คบคิดกันอัญเชิญ วิลเลียมแห่ง ออเรนจ์ ชาวโปรเตสแตนท์ทปี่ กครองเนเธอร์แลนด์อยู่ ให้ยกทัพบุกเข้ามาในอังกฤษ และ สถาปนาตนเองขึน้ เป็นกษัตริย์ วิลเลียมสมรสกับเจ้าฟ้าหญิงแมรี่ พระราชธิดาของพระเจ้า เจมส์ที่ 2 เมือ่ วิลเลียมบุกเข้ามาในอังกฤษ ปรากฏว่าไม่มผี ู้ ใดต่อต้าน วิลเลียมกับแมรีจ่ งึ เสด็จขึน้ ครองบัลลังก์องั กฤษ ต่อมาได้มผี เู้ รียกการเปลีย่ นบัลลังก์ครัง้ นีว้ า่ เป็น ‘การปฏิวตั ิ ทีง่ ดงาม’ เนือ่ งจากท�ำได้ส�ำเร็จโดยไม่มกี ารเสียเลือดเนือ้ และยุตกิ ารใช้อ�ำนาจตามพระทัย ของกษัตริยท์ อี่ าจเกิดขึน้ อีก James II still had many supporters, especially in Scotland and Ireland, who were called Jacobites. James was determined to reclaim the English crown and got military support for an invasion of Ireland from the powerful king of France, Louis XIV. William defeated James II at the battle of the Boyne in 1690, and James fled to France while William’s armies re-conquered Ireland. This victory is still celebrated by Protestant loyalists today. To prevent any further rebellions, the Irish Catholics were prohibited from holding public office and there were many other restrictions placed on the Catholic Church. Ireland remained a deeply troubled country. พระเจ้าเจมส์ที่ 2 ทรงมีผู้สนับสนุนจ�ำนวนมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งในสก็อตแลนด์และ ไอร์แลนด์ กลุม่ ผูส้ นับสนุนพระเจ้าเจมส์ที่ 2 นีม้ ชี อื่ ว่า แจ็คคอไบท์ พระเจ้าเจมส์ที่ 2 ทรง มุ่งมั่นที่จะกอบกู้ราชบัลลังก์อังกฤษด้วยการยกทัพบุกไอร์แลนด์ และได้รับการสนับสนุน ทางการทหารจากพระเจ้าหลุยส์ที่ 14 กษัตริยผ์ ทู้ รงอ�ำนาจแห่งฝรัง่ เศส แต่พระเจ้าวิลเลียม สามารถเอาชนะพระเจ้าเจมส์ที่ 2 ได้ ในการสูร้ บทีเ่ มืองบอยน์ ในปี ค.ศ. 1690 พระเจ้า Life in the UK 41
เจมส์ที่ 2 ทรงหลบหนี ไปฝรัง่ เศส ในขณะทีพ่ ระเจ้าวิลเลียมเข้ายึดครองไอร์แลนด์อกี ใน ปัจจุบนั ชาวโปรเตสแตนท์ทจี่ งรักภักดีตอ่ อังกฤษก็ยงั คงฉลองชัยชนะนีก้ นั อยู่ เพือ่ ป้องกัน ไม่ ให้มีการกบฏเกิดขึ้นต่อไปอีก ได้มีการออกค�ำสั่งห้ามชาวคาทอลิกเข้ารับต�ำแหน่งหน้า ข้าราชการ และมีขอ้ จ�ำกัดอืน่ ๆ อีกส�ำหรับคริสตจักรคาทอลิก ไอร์แลนด์ยงั คงเป็นประเทศ ทีเ่ ต็มไปด้วยปัญหาทีย่ งุ่ ยากต่อไป
Stability and the growth of empire Constitutional monarchy
After 1688, many Acts of Parliament permanently changed the balance of power between monarch and Parliament. A new Parliament had to be elected at least every three years (later this became seven years and now it is five years). Every year the monarch had to ask Parliament to renew funding for the army and the navy. In order to govern effectively, the monarch had to have ministers in a Cabinet who could regularly deliver a majority of votes in the two Houses of Parliament. The monarch remained an important political figure for two more centuries but could not insist on policies that Parliament would not support: this is called ‘constitutional monarchy’. After William III, the monarch’s ministers gradually became more important than the monarch. The government of the time was not democratic because men could only vote if they owned property of a certain value, and no women were allowed to vote. Some constituencies had only a few electors and were completely controlled by a single aristocrat who could force voters to elect whoever he wished. These were called ‘pocket boroughs’, while small boroughs where the voters could be bribed were called ‘rotten boroughs’.
เสถียรภาพและการขยายตัวของจักรวรรดิองั กฤษ การปกครองระบอบกษัตริยภ์ ายใต้รฐั ธรรมนูญ
หลังจากปี ค.ศ. 1688 พระราชบัญญัตริ ฐั สภา ได้ตรากฎหมายทีม่ ผี ลปรับเปลีย่ นดุลอ�ำนาจ ระหว่างกษัตริยแ์ ละรัฐสภาขึน้ มาหลายฉบับ สมาชิกรัฐสภาต้องได้รบั การเลือกตัง้ ใหม่อย่าง น้อยทุกๆ 3 ปี (ต่อมาเปลีย่ นเป็นทุกๆ 7 ปี และปัจจุบนั นีจ้ ะมีการเลือกตัง้ ใหม่ทกุ ๆ 5 ปี) ทุกๆ ปี กษัตริยจ์ ะต้องขอให้รฐั สภาพิจารณางบประมาณของกองทัพบกและราชนาวี และ เพื่อให้การปกครองเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ กษัตริย์จะต้องมีรัฐมนตรี ในคณะรัฐบาล ทีส่ ามารถขอความเห็นชอบจากเสียงส่วนใหญ่ของสมาชิกรัฐสภาจากทัง้ สองสภาได้อย่าง ต่อเนือ่ ง อีกสองศตวรรษต่อมา กษัตริยย์ งั คงเป็นบุคคลส�ำคัญทางการเมือง แต่ ไม่สามารถ 42 Life in the UK
ยืนกรานในนโยบายทีร่ ฐั สภาไม่ ให้การสนับสนุนได้ การปกครองเช่นนี้ เรียกว่า ‘การปกครอง ระบอบกษัตริยภ์ ายใต้รฐั ธรรมนูญ’ ภายหลังรัชสมัยของพระเจ้าวิลเลียมที่ 3 รัฐมนตรีเริม่ มีความส�ำคัญยิง่ กว่ากษัตริย์ รัฐบาลในเวลานัน้ ยังไม่เป็นประชาธิปไตย เพราะคนทีม่ สี ทิ ธิ เลือกตัง้ จะต้องเป็นเจ้าของทรัพย์สนิ ทีด่ นิ ทีม่ คี า่ เท่านัน้ และผูห้ ญิงไม่มสี ทิ ธิล์ งคะแนนเสียง เขตเลือกตัง้ บางเขตมีผมู้ สี ทิ ธิเลือกตัง้ เพียงไม่กคี่ น และอยูภ่ ายใต้การควบคุมของขุนนาง ชัน้ สูงทีส่ ามารถบังคับให้ลงคะแนนเสียงเลือกใครก็ ได้ทขี่ นุ นางผูน้ นั้ ต้องการ เขตเลือกตัง้ เหล่านีเ้ รียกว่า ‘เขตเลือกตัง้ ใต้อทิ ธิพล (pocket boroughs)’ ในขณะทีเ่ ขตเล็กๆ ทีส่ ามารถ ติดสินบนผูม้ สี ทิ ธิเลือกตัง้ ได้ ได้ชอื่ ว่า ‘เขตเลือกตัง้ ที่ ไม่เหมาะสม (rotten boroughs)’
The Act or Treaty of Union
William and Mary’s successor, Queen Anne, had no surviving children. The English government became worried that the Scots would choose a different heir to the throne than the English. The English put pressure on the Scots to join England in an Act of Union, called the Treaty of Union in Scotland. This took place in 1707. The kingdoms of England and Scotland became the Kingdom of Great Britain. It had one flag, the Union flag, often called the Union Jack. (The Kingdom of Great Britain became the United Kingdom of Great Britain and Ireland in 1801, after a second Act of Union. In 1922 Ireland split into two – South became a dominion and the North remained in the Union. The Government of Ireland Act of 1922 created the United Kingdom of Great Britain and Northern Ireland.) While Scotland was no longer an independent country, the Scots obtained trading advantages from union with England while keeping their own legal system and traditional laws, and the Presbyterian Church remained established by law.
พระราชบัญญัติ หรือสนธิสญ ั ญาสหภาพ
สมเด็จพระราชินแี อนน์ เป็นผูส้ บื ราชสันตติวงศ์ตอ่ จากพระเจ้าวิลเลียมและพระนางเจ้าแมรี่ พระราชินแี อนน์ไม่ทรงมีพระราชโอรสหรือธิดาทีม่ ชี วี ติ รัฐบาลอังกฤษเริม่ วิตกกังวลว่าชาว สก็อตจะไม่เลือกทายาทสืบทอดพระบัลลังก์องค์เดียวกันกับอังกฤษ อังกฤษจึงเรียกร้องให้ สก็อตแลนด์ผนวกเข้ากับอังกฤษภายใต้พระราชบัญญัตสิ หภาพ (Act of Union) ทีเ่ รียก กันในสก็อตแลนด์วา่ สนธิสญ ั ญาสหภาพ (Treaty of Union) การลงนามในสนธิสญ ั ญานี้ เกิดขึน้ ในปี ค.ศ. 1707 อาณาจักรอังกฤษและสก็อตแลนด์ได้ผนวกกันเป็น ราชอาณาจักร บริเตนใหญ่ (Kingdom of Great Britain) ภายใต้ธงชาติเดียวกัน คือ ธงชาติของสหภาพ ทีเ่ รียกกันติดปากว่า ยูเนียนแจ็ค (ราชอาณาจักรบริเตนใหญ่ กลายเป็น สหราชอาณาจักร Life in the UK 43
บริเตนใหญ่และไอร์แลนด์ ในปี ค.ศ. 1801 หลังการออกพระราชบัญญัตสิ หภาพฉบับทีส่ อง ไอร์แลนด์แยกออกเป็น 2 ดินแดนในปี ค.ศ. 1922 – ดินแดนตอนใต้มฐี านะเป็นประเทศราช และดินแดนตอนเหนือยังคงเป็นส่วนหนึ่งของสหภาพ สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และ ไอร์แลนด์เหนือได้กอ่ ก�ำเนิดขึน้ ภายใต้พระราชบัญญัตริ ฐั บาลไอร์แลนด์ปี ค.ศ. 1922) แม้วา่ สก็อตแลนด์ไม่ ได้มฐี านะเป็นรัฐอิสระอีกต่อไป แต่ชาวสก็อตได้รบั ประโยชน์ทางการค้าจาก การรวมตัวกับอังกฤษ และยังคงมีระบบกฎหมาย และกฎหมายจารีตประเพณีของตนเอง และคริสตจักรเพรสไบเทอเรียนยังคงเป็นศาสนาประจ�ำชาติสก็อตแลนด์ตามกฎหมาย
The Prime Minister
When Queen Anne died in 1714, Parliament chose a German, George I, to be king of Britain, because he was Anne’s nearest Protestant relative. The new king still had some political power and influence but was much more dependent on his ministers and their followers who could control Parliament. The members of the House of Commons and the House of Lords called themselves either Whigs or Tories (a name still used today to refer to the modern Conservative Party), but true political parties with mass membership did not emerge until the late 19th century. The most important minister in Parliament became known as the Prime Minister: the first man to hold this office was Sir Robert Walpole, who was Prime Minister for 20 years until 1742.
นายกรัฐมนตรี
หลังจากทีพ่ ระนางเจ้าแอนน์สวรรคตในปี ค.ศ. 1714 รัฐสภาได้เลือกพระเจ้ายอร์ชที่ 1 เชือ้ สายเยอรมันให้ขนึ้ ครองราชย์เป็นกษัตริยอ์ งั กฤษ เนือ่ งจากพระเจ้ายอร์ชที่ 1 ทรงเป็น พระญาติที่ ใกล้ชดิ ทีส่ ดุ ของพระนางเจ้าแอนน์ และทรงนับถือนิกายโปรเตสแตนท์ พระเจ้า แผ่นดินองค์ ใหม่ยังมีอ�ำนาจและอิทธิพลทางการเมืองอยู่บ้าง แต่ส่วนใหญ่ทรงขึ้นอยู่กับ รัฐมนตรีและบริวารของรัฐมนตรีทสี่ ามารถควบคุมรัฐสภาได้ สมาชิกสภาสามัญ และสภา ขุนนางเรียกตัวเองว่า วิก (Whig) หรือทอรีส่ ์ (Tories) (ซึง่ เป็นชือ่ เรียกทีห่ มายถึง พรรค อนุรกั ษ์นยิ ม ในปัจจุบนั ) อย่างไรก็ตาม พรรคการเมืองทีม่ มี วลชนเป็นสมาชิกนัน้ ไม่ ได้เกิด ขึน้ จวบจนถึงปลายศตวรรษที่ 19 รัฐมนตรีทมี่ คี วามส�ำคัญมากทีส่ ดุ ในรัฐสภาเป็นทีร่ จู้ กั กัน ต่อมาในนาม ‘นายกรัฐมนตรี’ บุรษุ คนแรกทีเ่ ข้ารับต�ำแหน่งนี้ คือ เซอร์ โรเบิรต์ วาลโพล ท่านได้ด�ำรงต�ำแหน่งนายกรัฐมนตรีนาน 20 ปีจนถึงปี ค.ศ. 1742
44 Life in the UK
The rebellion of the clans
The 18th century was a time of relative peace within Britain. However, in 1745 there was a rebellion in Scotland led by Charles Stuart (Bonnie Prince Charlie), the grandson of James II. He was supported mainly by clansmen in the Highlands in his attempt to regain the British throne for his family. The king’s army ruthlessly repressed the power and influence of the clans after defeating them at the battle of Culloden in 1745. The clans lost collective ownership of the land. Chieftains became landlords only through the favour of the English king and clansmen became tenants who had to pay for the land they used. In the 19th century, many landlords destroyed individual small farms or ‘crofts’ to make space for large flocks of sheep in what were called the ‘Highland clearances’. Many people were deported or left for North America as part of the clearances.
การก่อกบฏของตระกูลชนเผ่าในสก็อตแลนด์
อังกฤษในศตวรรษที่ 18 เป็นช่วงเวลาทีค่ อ่ นข้างสงบสุข แต่ ในปี ค.ศ. 1745 ชาร์ลส์ สจ๊วต (บอนนี่ พรินซ์ ชาร์ล)ี ได้เป็นผูน้ �ำก่อการกบฏขึน้ ในสก็อตแลนด์ พระองค์เป็นพระราชนัดดา ของพระเจ้าเจมส์ที่ 2 และได้รบั การสนับสนุนเป็นอันมากจากตระกูลชนเผ่าในพืน้ ทีร่ าบสูง ของสก็อตแลนด์ พระองค์ทรงปรารถนาทีจ่ ะกอบกูบ้ ลั ลังก์องั กฤษให้กลับมาเป็นของราชวงศ์ สจ๊วต หลังจากปราบกบฏนี้ ได้ส�ำเร็จในการรบที่ คัลลูเดน ในปี ค.ศ. 1745 กองทัพของ กษัตริย์อังกฤษได้ด�ำเนินการลบล้างอ�ำนาจและอิทธิพลของตระกูลชนเผ่าในสก็อตแลนด์ อย่างไม่ปรานี ตระกูลชนเผ่าเหล่านีต้ อ้ งสูญเสียกรรมสิทธิร์ ว่ มในทีด่ นิ หัวหน้าตระกูลจะเป็น เจ้าของทีด่ นิ ได้กต็ อ่ เมือ่ กษัตริยอ์ งั กฤษโปรดเท่านัน้ สมาชิกในตระกูลลดฐานะไปเป็นผูเ้ ช่า และต้องช�ำระเงินแลกเปลีย่ นกับการใช้ทดี่ นิ ในศตวรรษที่ 19 เจ้าของทีด่ นิ หลายรายได้แผ้ว ถางฟาร์ม หรือ ‘ทีน่ าเล็กๆ’ แต่ละแห่ง เพือ่ ให้เป็นพืน้ ทีส่ �ำหรับเลีย้ งแกะฝูงใหญ่ เหตุการณ์ นีเ้ รียกกันว่า ‘การไล่ทบี่ นพืน้ ทีร่ าบสูง (Highland clearances)’ คนจ�ำนวนมากถูกขับไล่ หลายคนต้องละทิง้ ถิน่ ฐานไปยังอเมริกาเหนือเนือ่ งมาจากการไล่ที่ ในสก็อตแลนด์ครัง้ นี้
The Enlightenment
Generally, however, the 18th century in Britain was a time of greater domestic peace and tolerance than previously. It was a time of many new ideas in politic, philosophy and science, which together are often called the Enlightenment. Many of the greatest British thinkers of the Enlightenment, such as David Hume and Adam Smith, came from Scotland. Perhaps the most important principles of Life in the UK 45
the Enlightenment were that everyone should have the right to have their own political and religious beliefs and that the state should not attempt to dictate in these matters.
ยุคเรืองปัญญา
สถานการณ์ภายในประเทศอังกฤษในช่วงศตวรรษที่ 18 นับได้วา่ สงบสุข ผูค้ นมีการยอมรับ กันและกันมากขึน้ เมือ่ เทียบกับแต่กอ่ น ในช่วงเวลานี้ ได้มแี นวความคิดใหม่ๆ เกิดขึน้ ทัง้ ในด้าน การเมือง ปรัชญา และวิทยาศาสตร์ จึงมักจะได้รบั การกล่าวขานถึงเสมอว่าเป็นยุคเรือง ปัญญา นักคิดของอังกฤษที่ โด่งดังในยุคเรืองปัญญามีอยูห่ ลายท่าน เช่น เดวิด ฮูม และ อดัม สมิธ จากสก็อตแลนด์ แต่สงิ่ ทีน่ า่ จะส�ำคัญมากทีส่ ดุ ในยุคเรืองปัญญานีเ้ ห็นจะได้แก่ หลักการทีว่ า่ ทุกคนควรมีสทิ ธิในการมีความคิดเห็นทางการเมืองและความเชือ่ ทางศาสนา ของตนเอง และรัฐไม่ควรพยายามทีจ่ ะสัง่ การบังคับในเรือ่ งเหล่านี.้
The industrial revolution
Britain was the first country to industrialise on a large scale. Changes in farming, metalworking, mining techniques and the use of steam power brought greater efficiency and increased production. The first large factories were built and many people migrated from the countryside to the cities to work in them. Although many people left Britain and Ireland for the new colonies, the population expanded rapidly. The first Jews to come to Britain since the Middle Ages had settled in London in 1656 and between 1680 and 1720 many refugees came from France. These were called Huguenots. They were Protestants and had been persecuted for their religion. Many were educated and skilled and worked as scientists or in banking, in weaving or other crafts.
การปฏิวตั อิ ตุ สาหกรรม
อังกฤษเป็นขาติแรกที่ก้าวเข้าสู่การเป็นประเทศอุตสาหกรรมในระดับมหภาค การ เปลีย่ นแปลงในเทคนิควิธกี ารท�ำไร่ท�ำนา งานโลหะ เหมืองแร่ และการใช้พลังไอน�ำ้ ได้สง่ ผลให้ประสิทธิภาพและจ�ำนวนการผลิตสูงขึน้ มีการสร้างโรงงานขนาดใหญ่รนุ่ แรกๆ ขึน้ มา และผูค้ นในชนบทได้หลัง่ ไหลเข้ามาท�ำงานในโรงงานตามเมืองใหญ่ แม้วา่ ผูค้ นจ�ำนวนมาก ได้อพยพออกจากอังกฤษและไอร์แลนด์ไปตัง้ ต้นชีวติ ใหม่ ในอาณานิคมต่างๆ แต่ประชากร อังกฤษก็ยงั คงเพิม่ ขึน้ อย่างรวดเร็ว ชาวยิวรุน่ แรกทีเ่ ข้ามาในอังกฤษตัง้ แต่ยคุ กลางได้ตงั้ ถิ่นฐานอยู่ที่ลอนดอนในปี ค.ศ. 1656 และได้มีผู้ลี้ภัยชาวฝรั่งเศสจ�ำนวนมากเข้ามาใน อังกฤษในช่วงปี ค.ศ. 1680 ถึง 1720 ผูล้ ภี้ ยั เหล่านีเ้ รียกว่า ฮูเกอน็อทส์ พวกเขาเป็นชาว 46 Life in the UK
คริสต์นิกายโปรเตสแตนท์ที่ถูกกลั่นแกล้งเนื่องจากความเชื่อทางศาสนา หลายคนมีการ ศึกษาและฝีมอื ช่าง และได้ท�ำงานเป็นนักวิทยาศาสตร์ หรือการธนาคาร บางคนเป็นช่าง ทอผ้า หรือท�ำงานฝีมอื อืน่ ๆ At the same time, there was an increase in trade overseas and in colonisation. Britain expanded its power all over the world. Merchants traded with North America and the West Indies, bringing back sugar, tobacco and other goods. Trade in textiles, tea and spices began with India and in the area which today is called Indonesia. The British fought with the Dutch and Spanish traders for monopoly of trade in the Caribbean. Often, trade led to the annexation of new territories; the East India Company, interested at first only in trading, gradually gained control of vast territories in India in the course of the 18th century. ในเวลาเดียวกัน การค้าในดินแดนโพ้นทะเลและอาณานิคมต่างๆ ได้เจริญรุง่ เรืองขึน้ มาก อังกฤษได้ขยายอ�ำนาจไปทัว่ โลก พ่อค้าทีท่ �ำการค้าขายกับอเมริกาเหนือและหมูเ่ กาะเวสต์ อินดีส ได้น�ำสินค้าประเภทน�ำ้ ตาล ยาสูบ และสินค้าอืน่ ๆ กลับเข้ามาในอังกฤษ การค้า ผลิตภัณฑ์สงิ่ ทอ น�ำ้ ชา และเครือ่ งเทศเริม่ ต้นทีอ่ นิ เดีย และในบริเวณทีเ่ รียกว่า อินโดนีเซีย ในปัจจุบนั พ่อค้าอังกฤษต่อสูแ้ ข่งขันกับพ่อค้าชาวดัทช์และสเปน เพือ่ จะได้มสี ทิ ธิผกู ขาดใน การค้าในหมูเ่ กาะคาริบเบียน และบ่อยครัง้ ทีก่ ารค้าได้มผี ลน�ำไปสูก่ ารผนวกดินแดนใหม่ๆ บริษทั อีสต์ อินเดีย ทีส่ นใจเฉพาะการค้าในตอนแรก เริม่ เข้าไปมีอ�ำนาจควบคุมดินแดน อันไพศาลในอินเดียในช่วงศตวรรษที่ 18
The slave trade
There was an evil side to this commercial expansion and prosperity – the Atlantic slave trade. The slave trade had started in Elizabethan era and was fully established by the 18th century. It was dominated by Britain and the colonies of America. The slave traders bought men and women from West Africa, and British ships took them to work on the sugar and tobacco plantations in America and the Caribbean. The slaves were transported in very bad conditions and many died on the way. Once in the Americas, the slaves became the property of the plantation owners and had to work in appalling conditions. Several cities in the UK, such as Liverpool and Bristol, gained great prosperity Life in the UK 47
as a result of this trade. In 18th-century London, there were numbers of free Africans and escaped slaves, often working as servants or craftsmen. Some wrote books about their experiences.
การค้าทาส
การขยายตัวและความรุ่งเรืองทางการค้านี้มีความชั่วร้ายแฝงอยู่ด้านหนึ่ง นั่นคือ การ ค้าทาสทางมหาสมุทรแอตแลนติก การค้าทาสได้เริม่ ขึน้ ในยุคพระนางเจ้าอลิซาเบธ และ เมือ่ ถึงศตวรรษที่ 18 ก็มกี ารค้าทาสกันอย่างเป็นล�ำ่ เป็นสัน โดยอังกฤษและอาณานิคมใน อเมริกาเป็นส่วนใหญ่ พ่อค้าทาสจะซือ้ ผูช้ ายและผูห้ ญิงจากแอฟริกาตะวันตก และส่งตัวขึน้ เรืออังกฤษเพือ่ ให้น�ำทาสเหล่านี้ ไปท�ำงานในไร่ออ้ ยและไร่ยาสูบในอเมริกาและในหมูเ่ กาะ คาริบเบียน สภาพความเป็นอยูข่ องทาสในช่วงการขนส่งทางเรือเลวร้ายมาก ทาสหลายคน เสียชีวิตในระหว่างการเดินทาง เมื่อไปถึงอเมริกาแล้ว ทาสเหล่านี้จะตกเป็นทรัพย์สิน ของเจ้าของไร่ และต้องท�ำงานในสภาพทีท่ ารุณ เมืองใหญ่ๆ ในสหราชอาณาจักร เช่น ลิเวอร์พลู และบริสตอลมีความเจริญรุง่ เรืองจากการค้าทาส ในศตวรรษที่ 18 ชาวแอฟริกนั ทีม่ เี สรีและทาสทีห่ ลบหนีมาได้พากันเข้ามาอาศัยอยู่ ในกรุงลอนดอน คนเหล่านีท้ �ำงานเป็น คนรับใช้ หรือช่างฝีมอื บางคนแต่งหนังสือเกีย่ วกับประสบการณ์ของตนเอง The conditions of the slaves in the colonies were so bad that many slaves revolted against their owners. Some people on Britain, such as the evangelical Christian William Wilberforce, were opposed to slave trade. They put pressure on Parliament to abolish slavery. Public opinion gradually turned against the slave trade and in 1807 it became illegal to trade slaves in British ships or from British ports. Later in 1833, the Emancipation Act abolished slavery throughout the British Empire. After 1833, 2 million Indian and Chinese workers replaced the freed slaves. They worked on sugar plantations in the Caribbean, mines in South Africa, railways in East Africa and in the army in Kenya. ทาสในดินแดนอาณานิคมมีสภาพความเป็นอยูท่ นี่ า่ เอน็จอนาถ ทาสหลายคนจึงแข็งข้อกับ เจ้านาย มีคนอังกฤษบางกลุม่ คัดค้านการค้าทาส อย่างเช่น วิลเลียม วิลเบอร์ฟอร์ซ ชาว คริสต์นกิ ายอิวานเจลิคลั พวกเขาได้กดดันรัฐสภาให้เลิกทาส ในไม่ชา้ ประชาชนก็เริม่ มีความ รูส้ กึ ต่อต้านการค้าทาสด้วย และในปี ค.ศ. 1807 การค้าทาสในเรืออังกฤษ หรือจากท่าเรือ อังกฤษได้กลายเป็นการกระท�ำทีผ่ ดิ กฎหมาย ต่อมาในปี ค.ศ. 1833 พระราชบัญญัตเิ ลิก ทาส (Emancipation Act) ได้ประกาศให้มกี ารเลิกทาสทัว่ จักรวรรดิองั กฤษ หลังปี ค.ศ. 1833 เป็นต้นมา ได้มกี ารใช้คนงานจีนและอินเดีย 2 ล้านคนแทนทาสทีถ่ กู ปลดปล่อยให้เป็น 48 Life in the UK
อิสระ คนงานจีนและอินเดียเหล่านี้ ได้เข้าท�ำงานในไร่ออ้ ยในหมูเ่ กาะคาริบเบียน ทีเ่ หมือง แร่ ในแอฟริกาใต้ การรถไฟในแอฟริกาตะวันออก และในกองทัพบกในเคนยา
The American War
In North America the British colonies had prospered and were mainly selfgoverning. Immigrants from England, Scotland and Ireland had gone to North America looking for a better life and also to escape the dominance of the landlords and of the established church. The notion of liberty was very strong in the colonies. When the British government tried to tax the colonies to pay for their wars in North America against the French and the Native American tribes, the colonies rebelled. They said there should be ‘no taxation without representation’ in the British Parliament. Parliament refused to compromise. This led the American colonies to declare independence from Britain in 1776. The Declaration of Independence asserted universal principles of free government. Many people in Britain and Europe who wanted political reform welcomed the ideas of the Declaration.
สงครามในอเมริกา
อาณานิคมของอังกฤษในอเมริกาเหนือได้เจริญรุง่ เรือง และมีการปกครองตนเองเป็นส่วน ใหญ่ ผู้อพยพจากอังกฤษ สก็อตแลนด์และไอร์แลนด์ ได้หลั่งไหลไปที่อเมริกาเหนือเพื่อ แสวงหาชีวติ ทีด่ ขี นึ้ และเพือ่ หลบหนีจากการใช้อ�ำนาจครอบง�ำของเจ้าของทีด่ นิ ผูเ้ ป็นนาย และศาสนจักรหลักในอังกฤษ ชาวอาณานิคมเหล่านีม้ คี วามเชือ่ ในเสรีภาพอย่างแรงกล้า เมือ่ รัฐบาลอังกฤษพยายามทีจ่ ะเรียกเก็บภาษีจากอาณานิคม เพือ่ น�ำมาเป็นค่าใช้จา่ ยในการท�ำ สงครามต่อสูก้ บั ฝรัง่ เศสและชนพืน้ เมืองอินเดียนในอเมริกาเหนือ อาณานิคมเหล่านีพ้ ากัน แข็งข้อ และประกาศว่า ‘ไม่ควรเรียกเก็บภาษี ถ้าไม่มผี แู้ ทน’ ในรัฐสภาอังกฤษ แต่รฐั สภา ไม่ยอมประนีประนอม เหตุการณ์นี้ ได้สง่ ผลให้อาณานิคมในอเมริกาประกาศอิสรภาพจาก อังกฤษในปี ค.ศ. 1776 ในค�ำประกาศอิสรภาพของเหล่าอาณานิคมได้มกี ารอ้างถึงหลัก การสากลของรัฐเสรี ซึง่ หลายคนในอังกฤษและยุโรปทีต่ อ้ งการปฏิรปู การเมืองชืน่ ชมและ ยอมรับแนวความคิดในค�ำประกาศดังกล่าว
Life in the UK 49
The second British Empire
The American colonies defeated the British army with the help of the French. After a brief period of peace, wars with France continued, especially after the French Revolution of 1789. Britain’s navy at that time was the strongest in Europe. Britain fought against combined French and Spanish fleets, winning the battle of Trafalgar in 1805. In 1815 the French Wars ended with the defeat of the Emperor Napoleon by the Duke of Wellington at Waterloo.
จักรวรรดิองั กฤษรุน่ ทีส่ อง
อาณานิคมอเมริกาสามารถรบชนะทัพอังกฤษได้ดว้ ยความช่วยเหลือจากฝรัง่ เศส หลังจาก ที่มีความสงบสุขอยู่ชั่วระยะเวลาหนึ่ง สงครามกับฝรั่งเศสก็ ได้ด�ำเนินต่อไป โดยเฉพาะ หลังการปฏิวัติฝรั่งเศสในปี ค.ศ. 1789 ราชนาวีอังกฤษในเวลานั้นเข้มแข็งมากที่สุดใน ยุโรป อังกฤษได้สรู้ บกับกองทัพเรือร่วมของฝรัง่ เศสกับสเปน และได้ชยั ชนะในการสูร้ บที่ ทราฟัลการ์ ในปี ค.ศ. 1805 สงครามฝรัง่ เศสสิน้ สุดลงในปี ค.ศ. 1815 เมือ่ จักรพรรดิ นโปเลียนพ่ายแพ้ตอ่ ดยุคแห่งเวลลิงตันทีว่ อเตอร์ลู In 1815, Britain ruled territories in Canada, the Caribbean, parts of India, and a few settlements in Australia and southern Africa. A hundred years later, the British Empire had expanded further to cover all of India, Australia and large parts of Africa. Historians call this the expansion of the empire after American independence the ‘Second British Empire’. It became the largest in the world, with an estimated population of over 400 million people. ในปี ค.ศ. 1815 อังกฤษได้เข้าปกครองดินแดนต่างๆ ในแคนาดา หมูเ่ กาะคาริบเบียน บาง ส่วนของอินเดีย และอาณานิคมบางแห่งในออสเตรเลียและแอฟริกาใต้ อีก 100 ปีตอ่ มา จักรวรรดิองั กฤษได้ขยายครอบคลุมตลอดทัว่ อินเดีย ออสเตรเลีย และส่วนใหญ่ ในแอฟริกา นักประวัติศาสตร์เรียกการแผ่ขยายของจักรวรรดิหลังการประกาศอิสรภาพของอเมริกา ครัง้ นีว้ า่ เป็น ‘จักรวรรดิองั กฤษรุน่ ทีส่ อง’ จักรวรรดิองั กฤษรุน่ ทีส่ องนีก้ ลายเป็นจักรวรรดิ ที่ ใหญ่ทสี่ ดุ ในโลก มีประชากรคิดเป็นจ�ำนวนโดยประมาณกว่า 400 ล้านคน
50 Life in the UK
As the empire developed, many people left the United Kingdom to find new opportunities overseas. Many settled in South Africa, Canada, Australia, New Zealand and the United States. Between 1853 and 1913, as many as 13 million British citizens left the country. There were also many migrants to Britain from various parts of the world. For example, between 1870 and 1914, around 120,000 Russian and Polish Jews came to Britain to escape persecution at home. Many settled in London’s East End and in Manchester and Leeds. เมื่อจักรวรรดิอังกฤษรุ่งเรืองก้าวหน้าขึ้น ผู้คนจ�ำนวนมากก็ ได้อพยพออกจากสหราช อาณาจักร เพือ่ ไปแสวงหาโชคในดินแดนโพ้นทะเล หลายคนตัง้ รกรากอยู่ ในแอฟริกาใต้ แคนาดา ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ และสหรัฐอเมริกา ในช่วงเวลาตัง้ แต่ปี ค.ศ. 1853 ถึง 1913 พลเมืองอังกฤษทีอ่ อกจากประเทศมีจ�ำนวนสูงถึง 13 ล้านคน แต่กม็ ผี อู้ พยพจากส่วน ต่างๆ ของโลกเข้ามาในอังกฤษเป็นจ�ำนวนมาก ตัวอย่างเช่น ในช่วงเวลาตัง้ แต่ปี ค.ศ. 1870 ถึง 1914 ชาวรัสเซีย โปแลนด์ และยิวประมาณ 120,000 คนได้อพยพเข้ามาในอังกฤษ เพือ่ หลบหนีจากการถูกกลัน่ แกล้งท�ำร้ายในประเทศของตน หลายคนตัง้ ถิน่ ฐานอยู่ ในเขต อีสต์เอนด์ของลอนดอน และในเมืองแมนเชสเตอร์ และลีดส์
Industry and political reform
British industry led the world in the 19th century. In the late 18th century there had been a boom in the building of canals. These linked the factories in the cities to the ports. In the early 19th century, George and Robert Stephenson pioneered the railway engine and the building of railways began. There were also great advantages in other areas such as the building of bridges by engineers like Isambard Kingdom Brunel. Much of the heavy work of creating Britain’s industrial infrastructure was done by immigrant labour from Ireland. Many Irish people migrated to England to escape famine and poverty and settled as agricultural workers and labourers. By 1861 there were large populations of Irish people in cities such as Liverpool, London, Manchester and Glasgow.
การปฏิรปู การเมืองและอุตสาหกรรม
อังกฤษเป็นผูน้ �ำโลกในด้านอุตสาหกรรมในศตวรรษที่ 19 ในปลายศตวรรษที่ 18 มีการขุด สร้างคลองอย่างมโหฬาร เพือ่ เชือ่ มโยงการคมนาคมระหว่างโรงงานต่างๆ ในเมืองใหญ่กบั ท่าเรือ ในช่วงต้นของศตวรรษที่ 19 ยอร์ช และโรเบิรต์ สตีเวนสัน ได้เป็นผูบ้ กุ เบิกคิดค้น และพัฒนาเครือ่ งจักรที่ ใช้กบั รถไฟ และการก่อสร้างทางรถไฟก็ ได้เริม่ ต้นขึน้ นอกจากนี้ Life in the UK 51
ยังมีผลงานอืน่ ๆ ทีท่ �ำประโยชน์อย่างมหาศาล เช่น การสร้างสะพานโดยวิศวกรอิแซมบาร์ ด คิงดอม บรูเนล เป็นต้น อย่างไรก็ตาม ผูแ้ บกรับภาระหนักในการสร้างสาธารณูปโภค พืน้ ฐาน เพือ่ รองรับความเติบโตทางอุตสาหกรรมในอังกฤษก็คอื ผูอ้ พยพจากไอร์แลนด์ คน ไอริชจ�ำนวนมากได้หลั่งไหลเข้ามาในอังกฤษเพื่อหลบหนีความอดอยากและความยากจน พวกเขาได้ตงั้ ถิน่ ฐานในอังกฤษและรับจ้างท�ำงานการเกษตรและเป็นกรรมกรผู้ ใช้แรงงาน เมือ่ ถึงปี ค.ศ. 1861 มีประชากรชาวไอริชอาศัยอยู่ ในเมืองใหญ่ เช่น ลิเวอร์พลู ลอนดอน แมนเชสเตอร์ และกลาสโกว์เป็นจ�ำนวนมาก
The right to vote
The aristocracy still dominated Parliament but there was a challenge from the growing commercial and entrepreneurial middle class in the newly wealthy industrial towns and cities. The power of this new middle class led to the Reform Act of 1832. The right to vote was still based on property but the number of people entitled to vote was greatly increased. The Act also abolished many ancient constituencies with few voters and gave more parliamentary seats to the cities. This began a permanent shift of power away from the landed interest of the aristocracy to the interest of the cities.
การมีสทิ ธิอ์ อกเสียงเลือกตัง้
เหล่าผูด้ ชี นั้ สูงยังคงมีอทิ ธิพลครอบง�ำรัฐสภา แต่อ�ำนาจนัน้ ได้ถกู ท้าทายจากชนชัน้ กลาง ผูป้ ระกอบการค้าและผูร้ เิ ริม่ กิจการ ซึง่ เพิม่ จ�ำนวนสูงขึน้ ในเมืองอุตสาหกรรมใหม่ๆ ทีเ่ ริม่ มีความมัง่ คัง่ อ�ำนาจของชนชัน้ กลางทีเ่ กิดขึน้ ใหม่นี้ ได้สง่ ผลให้มกี ารออกพระราชบัญญัติ การปฏิรูปปี ค.ศ. 1832 อย่างไรก็ตาม คุณสมบัติในการมีสิทธิเลือกตั้งยังคงขึ้นอยู่กับ ทรัพย์สนิ แต่จ�ำนวนของผูท้ มี่ สี ทิ ธิลงคะแนนเสียงได้เพิม่ ขึน้ มาก พระราชบัญญัตฉิ บับนี้ ได้ ยกเลิกเขตเลือกตัง้ เก่าแก่หลายเขตทีม่ ผี มู้ สี ทิ ธิเลือกตัง้ เพียงไม่กคี่ น และเพิม่ ทีน่ งั่ ในรัฐสภา ให้กบั เมืองใหญ่ๆ การปฏิรปู นี้ ได้สง่ ผลให้อ�ำนาจทีเ่ คยตกอยูก่ บั ผูด้ ชี นั้ สูงทีม่ ผี ลประโยชน์ ใน ทีด่ นิ เปลีย่ นไปยังฝ่ายทีม่ ผี ลประโยชน์ ในเมืองใหญ่ๆ อย่างถาวร After 1832, the working classes and other people without property began to demand the right to vote. The leaders of this movement were called the Chartists. Although the Chartists failed, a generation later the intense rivalry between the Conservative Party (led by Benjamin Disraeli) and the Liberal Party (led by William Gladstone) resulted in the creation of many more urban 52 Life in the UK
seats in Parliament and a further lowering of the property qualifications to vote. Although the 1867 Reform Act again expanded the number of voters, still only a third of men (and no women) were allowed to vote. These numbers were enough, however, to force the leaders of the political parties to create organisations to reach out to ordinary voters. This was the beginning of something like democratic politics. Even so, universal suffrage (the right of everyone to vote) took much longer. It was not until 1928 that all men and women had the right to vote. The right of women to vote was won after a long campaign by the Women’s Suffrage Movement (the Suffragettes) who had to resort to civil disobedience to achieve their goals. หลังปี ค.ศ. 1832 เป็นต้นมา ชนชัน้ กรรมาชีพและกลุม่ คนผู้ ไร้ทรัพย์สนิ เริม่ เรียกร้องทีจ่ ะ มีสทิ ธิม์ เี สียงในการเลือกตัง้ ผูน้ �ำขบวนการเคลือ่ นไหวนีม้ ชี อื่ ว่า ชาร์ตสิ ท์ หรือกลุม่ ผูเ้ รียก ร้องสิทธิทางการเมือง แม้วา่ กลุม่ ชาร์ตสิ ท์จะเรียกร้องไม่ส�ำเร็จ แต่ ในยุคคนรุน่ ต่อมา การ แข่งขันทีเ่ ข้มข้นระหว่างพรรคอนุรกั ษ์นยิ ม (มี เบนจามิน ดิสเรลลี เป็นผูน้ �ำ) และพรรค เสรีนยิ ม (มี วิลเลียม แกลดสโตน เป็นผูน้ �ำ) ได้สง่ ผลให้จ�ำนวนทีน่ งั่ ในรัฐสภาของผูแ้ ทน ในเขตเมืองเพิม่ ขึน้ อีกหลายทีน่ งั่ และคุณสมบัติในการมีสทิ ธิเลือกตัง้ ทีข่ นึ้ อยูก่ บั ทรัพย์สนิ ได้ ถูกปรับลดลงไปอีก แม้วา่ พระราชบัญญัตกิ ารปฏิรปู ปี ค.ศ. 1867 ได้ท�ำให้จ�ำนวนผูม้ สี ทิ ธิ เลือกตัง้ เพิม่ ขึน้ แต่ผชู้ ายทีม่ สี ทิ ธิม์ เี สียงก็ยงั มีจ�ำนวนเพียงหนึง่ ในสามของประชากรชาย ทัง้ หมด (ผูห้ ญิงไม่มสี ทิ ธิเลือกตัง้ ) อย่างไรก็ตาม จ�ำนวนเสียงเหล่านีม้ ากพอทีจ่ ะบีบให้ผนู้ �ำ พรรคการเมืองต้องสร้างองค์กรขึน้ มา เพือ่ หาเสียงกับคนทัว่ ไปทีม่ สี ทิ ธิเลือกตัง้ และกลาย เป็นจุดเริม่ ต้นของการเมืองทีค่ ล้ายกับระบอบประชาธิปไตย แต่ถงึ กระนัน้ กว่าทุกคนจะมี สิทธิเลือกตัง้ ได้ก็ ใช้เวลานานมาก ต้องรอไปจนถึงปี ค.ศ. 1928 พลเมืองชายและหญิงจึง มีสทิ ธิล์ งคะแนนเสียงเลือกตัง้ ได้ทกุ คน กลุม่ สตรีผเู้ รียกร้องสิทธิเลือกตัง้ ได้ท�ำการรณรงค์ เป็นเวลานาน บางครัง้ ถึงกับต้องท�ำสิง่ ทีข่ ดั ขืนอ�ำนาจของรัฐ เพือ่ ให้บรรลุจดุ มุง่ หมายใน การเรียกร้องให้สตรีมสี ทิ ธิเลือกตัง้ และในทีส่ ดุ ก็ประสบความส�ำเร็จตามทีต่ อ้ งการ
Imperial uncertainties
In the late 19th century, the Conservative Party favoured the expansion of the British Empire. Disraeli promoted the empire by making Queen Victoria Empress of India in 1876. The Liberals were more uncertain about the empire and were influenced by stories of poverty and the mistreatment of the populations of the colonies. Liberals believed that the empire had become over-large and would soon collapse because of this. They thought the continuous wars in Life in the UK 53
many parts of the empire such as India’s northwest frontier or southern Africa, were futile. The Conservatives, by contrast, believed that trade and commerce needed military security and law and order. They also believed that the colonies benefited from the influence of the British.
การสัน่ คลอนของจักรวรรดินยิ ม
ในปลายศตวรรษที่ 19 การขยายอ�ำนาจของจักรวรรดิองั กฤษได้รบั การสนับสนุนจากพรรค อนุรกั ษ์นยิ ม ดิสเรลลี ได้สง่ เสริมความยิง่ ใหญ่ของจักรวรรดิองั กฤษด้วยการสถาปนาสมเด็จ พระราชินนี าถวิคตอเรียเป็นสมเด็จพระเจ้าจักรพรรดินแี ห่งอินเดียในปี ค.ศ. 1876 แต่เรือ่ ง ราวความยากจนและการปฏิบตั ติ อ่ ชาวอาณานิคมอย่างไม่เป็นธรรม ได้ท�ำให้พรรคเสรีนยิ ม รูส้ กึ ไม่คอ่ ยแน่ ใจในจักรวรรดินยิ ม พวกเขาเห็นว่าจักรวรรดิองั กฤษกว้างใหญ่ ไพศาลจนเกิน ไปและอีกไม่ชา้ จะต้องล่มสลาย นอกจากนัน้ พรรคเสรีนยิ มยังเชือ่ ว่าการสูร้ บอย่างต่อเนือ่ ง ในพืน้ ทีต่ า่ งๆ ของจักรวรรดิ เช่น ทีช่ ายแดนตะวันตกเฉียงเหนือของอินเดีย หรือแอฟริกา ตอนใต้ เป็นการสูร้ บทีเ่ ปล่าประโยชน์ ความคิดเห็นนีต้ รงกันข้ามกับพรรคอนุรกั ษ์นยิ ม ซึง่ เชื่อว่าการค้าหรือการพาณิชย์ต้องอาศัยความมั่นคงด้านการทหาร ตลอดจนกฎหมาย และระเบียบข้อบังคับเพื่อความสงบสุขในสังคม และยังเชื่อด้วยว่าอิทธิพลของอังกฤษมี ประโยชน์ตอ่ อาณานิคมเหล่านี้ The Boer War of 1899 to 1902 made both viewpoints more entrenched. The British expanded into South Africa to control the gold mines of the Transvaal, which had been colonised by settlers from the Netherlands called the Boers. The Boers resisted and it took massive manpower resources from the empire to defeat them. To some imperialists this showed the unity of the empire but to others it was a warning that the empire would eventually collapse. The British Empire did finally come to an end as a result of events in the twentieth century. สงครามบัวร์ทเี่ กิดขึน้ ในช่วงปี ค.ศ. 1899 ถึง 1902 ท�ำให้ทงั้ สองฝ่ายยิง่ ฝังใจในความ เชือ่ ของตนมากขึน้ ชาวอังกฤษได้ขยายอิทธิพลเข้าไปในแอฟริกาใต้ เพือ่ ควบคุมเหมืองแร่ ทองค�ำในทรานสวาลทีช่ าวเนเธอร์แลนด์ ซึง่ เรียกกันว่าชาวบัวร์ ได้เข้าไปตัง้ รกรากอยูก่ อ่ น พวกบัวร์ได้ตอ่ ต้านการขยายอิทธิพลของอังกฤษ และจักรวรรดิองั กฤษต้องใช้ทหารจ�ำนวน มากเข้าต่อสูจ้ งึ สามารถรบชนะพวกบัวร์ได้ ในความคิดเห็นของกลุม่ จักรวรรดินยิ ม ชัยชนะ นีแ้ สดงถึงความเป็นเอกภาพของจักรวรรดิองั กฤษ แต่ฝา่ ยตรงข้ามเห็นว่าเป็นสัญญาณเตือน บ่งบอกให้รวู้ า่ การล่มสลายของจักรวรรดิองั กฤษจะเกิดขึน้ แน่นอน เหตุการณ์ตา่ งๆ ทีเ่ กิด ขึน้ ในศตวรรษที่ 20 ได้สง่ ผลให้จกั รวรรดิองั กฤษล่มสลายลงในทีส่ ดุ 54 Life in the UK
The Twentieth Century The First World War
At the beginning of the century there was a mood of optimism in Britain. Local government was reformed on a more democratic basis. Retirement pensions for the poor and financial help for the unemployed were provided by the government, and a new political party, the Labour Party, arose to represent the interests of the working classes in Parliament and local government. There was a general belief in modernity and progress. That belief was shattered when a terrible war broke out between several European nations. This was the First World War (1914-18). Millions of people were killed or wounded. One battle alone, the British attack on the Somme in 1916, resulted in about 400,000 British casualties and probably the same number of Germans. The whole of the British Empire was involved in the fighting: for example, over 1 million Indians fought on behalf of the UK all over the world. Around 40,000 were killed. Men from the West Indies, Africa, Australia, New Zealand and Canada also fought on behalf of the British.
ศตวรรษทีย่ สี่ บิ
สงครามโลกครัง้ ที่ 1
อังกฤษในระยะเริ่มแรกศตวรรษใหม่เต็มไปด้วยบรรยากาศที่สดใส การปกครองส่วน ท้องถิ่นได้รับการปฏิรูป ให้มีความเป็นประชาธิปไตยมากยิ่งขึ้น คนยากจนในวัยเกษียณ ได้รับเงินบ�ำนาญจากรัฐ และรัฐยังให้ความช่วยเหลือด้านการเงินแก่ผู้ที่ตกงานด้วย นอกจากนี้ ยังมีพรรคการเมืองใหม่เกิดขึน้ ชือ่ ว่าพรรคแรงงาน ท�ำหน้าทีเ่ ป็นผูแ้ ทนในรัฐสภา และการปกครองส่วนท้องถิน่ ให้กบั ชนชัน้ กรรมาชีพ คนอังกฤษทัว่ ไปมีความเชือ่ มัน่ ในความ ก้าวหน้าและความทันสมัย แต่ความเชื่อนี้แตกสลายลงเมื่อสงครามที่น่ากลัวได้ปะทุขึ้น ระหว่างชาติตา่ งๆ ในยุโรป เป็นสงครามโลกครัง้ ที่ 1 (ค.ศ. 1914-18) ซึง่ ท�ำให้ประชากร นับล้านคนเสียชีวติ และได้รบั บาดเจ็บ ในการสูร้ บเพียงครัง้ เดียวเมือ่ กองทัพอังกฤษบุกเข้า โจมตีซอมม์ ในปี ค.ศ. 1916 ทหารอังกฤษเสียชีวติ ไปถึงประมาณ 400,000 นาย และ จ�ำนวนทหารเยอรมันทีเ่ สียชีวติ ก็คงพอๆ กัน อาณานิคมทัว่ ทัง้ จักรวรรดิองั กฤษได้เข้าไป พัวพันในสงครามนีด้ ว้ ย ตัวอย่างเช่น มีทหารอินเดียกว่า 1 ล้านคนเข้าสูร้ บในนามของ สหราชอาณาจักรทัว่ โลก และเสียชีวติ ไปประมาณ 40,000 คน ทหารจากหมูเ่ กาะเวสต์ อินดีส แอฟริกา ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ และแคนาดาก็เข้าสูร้ บในนามของอังกฤษเช่นกัน Life in the UK 55
The partition of Ireland
Ireland had been unified with Great Britain by the Act of Union in 1801. The 19th century had been a very difficult period in Irish history. In the middle of the 19th century, the potato crop had failed, and Ireland had suffered a famine. This caused huge numbers of deaths from disease and starvation and many people had to leave Ireland. The government in London failed to help the Irish people adequately, causing bitterness that still continues. The Irish nationalist movement grew stronger during this period. Some, such as the Fenians, favoured complete independence. Others, such as Charles Stuart Parnell, advocated ‘Home Rule’ (devolution). In 1913, the British government finally promised Home Rule for Ireland and the Home Rule bill started to go through Parliament, but the Protestants in the North of Ireland, who were descendants of the settlers introduced in the 17th-century plantations, threatened to resist Home Rule, by force of arms.
การแบ่งแยกดินแดนของไอร์แลนด์
ภายใต้พระราชบัญญัตสิ หภาพ ไอร์แลนด์ได้ผนวกกับบริเตนใหญ่ ในปี ค.ศ. 1801 ศตวรรษ ที่ 19 เป็นช่วงเวลาที่ ไอร์แลนด์มปี ญ ั หามากทีส่ ดุ ในตอนกลางศตวรรษที่ 19 การเพาะปลูก มันฝรั่งล้มเหลว และไอร์แลนด์ประสบทุพภิกขภัยหรือการขาดแคลนอาหาร ส่งผลให้มี ผู้เสียชีวิตจากโรคภัยไข้เจ็บและความอดอยากเป็นจ�ำนวนมาก หลายคนต้องอพยพออก จากไอร์แลนด์ รัฐบาลในลอนดอนไม่ ได้ ให้ความช่วยเหลือแก่ชาวไอริชอย่างเพียงพอ ซึง่ เรือ่ งนี้ ได้สร้างความขมขืน่ ทีย่ งั ค้างคาอยู่ ในใจของชาวไอริช ความเคลือ่ นไหวของผูร้ กั ชาติ ไอริชได้ทวีความเข้มข้นยิ่งขึ้นในช่วงเวลานี้ ชาวไอริชบางกลุ่ม เช่น กลุ่มชาวไอริชใน กระบวนการเฟเนียน ต้องการแยกตัวเป็นอิสระโดยสิน้ เชิง คนอืน่ ๆ เช่น ชาร์ลส์ สจ๊วร์ต พาร์เนลล์ ต้องการมีอสิ ระใน ‘การปกครองตนเอง’ (การโอนอ�ำนาจการปกครอง) ในทีส่ ดุ ในปี ค.ศ. 1913 รัฐบาลอังกฤษก็ ได้สญ ั ญาทีจ่ ะให้ ไอร์แลนด์มอี สิ ระในการปกครองตนเอง (Home Rule) และได้เริม่ ส่งร่างกฎหมาย ‘การปกครองตนเอง’ ให้รฐั สภาพิจารณา แต่กลุม่ โปรเตสแตนท์ ในไอร์แลนด์เหนือ ซึง่ เป็นลูกหลานสืบเชือ้ สายมาจากบรรพบุรษุ ทีต่ งั้ ถิน่ ฐาน อยู่ ในไร่นาของชาวคาทอลิกตามนโยบายยึดครองที่ดินในศตวรรษที่ 17 ขู่ว่าจะใช้ก�ำลัง ต่อต้านร่างพระราชบัญญัตกิ ารปกครองตนเอง
56 Life in the UK
Because of the outbreak of the First World War, the British government postponed the changes it had promised to Ireland. In 1916, however, there was an uprising (the Easter Rising) against the British by Irish nationalists in Dublin. The leaders of the uprising were executed under military law. This only strengthened the support for nationalism in Ireland and led to a guerrilla war against the British army and the police. In 1921 a peace treaty was signed and in 1922 Ireland was separated into two parts. The six counties in the North, which were mainly Protestant, remained part of the United Kingdom, while the rest of Ireland became the Irish Free State and became a republic in 1949. Some people in both parts of Ireland were opposed to this compromise and still wished for independence for the whole of Ireland. This caused many years of conflict in the North. This conflict, between those wishing for full Irish independence and those wishing to remain loyal to British government, is sometimes called the ‘Troubles’. Only recently has peace returned to Northern Ireland. การเกิดขึ้นของสงครามโลกครั้งที่ 1 ได้ท�ำให้รัฐบาลอังกฤษเลื่อนการเปลี่ยนแปลงตาม ค�ำสัญญาที่ ให้ ไว้กบั ไอร์แลนด์ ในปี ค.ศ. 1916 กลุม่ ชาตินยิ มไอริชได้กอ่ การกบฎ (กบฎ อีสเตอร์) ต่อต้านอังกฤษขึ้นในเมืองดับลิน หัวหน้ากบฏได้ถูกประหารชีวิตภายใต้ กฎอัยการศึก เหตุการณ์ครั้งนี้ ได้ท�ำให้ลัทธิชาตินิยมในไอร์แลนด์ได้รับการสนับสนุนเพิ่ม ขึน้ และน�ำไปสูก่ ารสูร้ บต่อต้านทัพอังกฤษและต�ำรวจในรูปแบบสงครามกองโจร ในปี ค.ศ. 1921 ได้มกี ารลงนามในสนธิสญ ั ญาสันติภาพ และในปี ค.ศ. 1922 ไอร์แลนด์กถ็ กู แบ่งแยก ดินแดนออกเป็นสองส่วน โดยที่ 6 รัฐในภาคเหนือ ซึง่ ประชากรส่วนใหญ่เป็นโปรเตสแตนท์ ยังคงเป็นส่วนหนึง่ ของสหราชอาณาจักร ในขณะทีร่ ฐั ส่วนทีเ่ หลือของไอร์แลนด์กลายเป็น รัฐไอริชอิสระ และสถาปนาขึน้ เป็นสาธารณรัฐไอร์แลนด์ ในปี ค.ศ. 1949 ประชาชนบางกลุม่ ในไอร์แลนด์ทงั้ สองส่วนต่อต้านการประนีประนอมครัง้ นี้ และยังคงต้องการให้ ไอร์แลนด์เป็น อิสรภาพทัง้ หมด ความต้องการนีก้ อ่ ให้เกิดความขัดแย้งเป็นเวลาหลายปี ในตอนเหนือของ ไอร์แลนด์ ความขัดแย้งทีบ่ างครัง้ เรียกว่า ‘ความยุง่ ยาก’ นี้ เป็นปัญหาทีเ่ กิดขึน้ ระหว่าง ฝ่ายทีป่ ระสงค์ ให้ ไอร์แลนด์เป็นเอกราชทัง้ หมด กับฝ่ายทีย่ งั จงรักภักดีตอ่ รัฐบาลอังกฤษ ไอร์แลนด์เหนือเพิง่ ได้รบั ความสงบสุขกลับคืนมาเมือ่ ไม่นานมานีเ้ อง
Life in the UK 57
58 Life in the UK
The inter-war period
In the 1920s there were improvements in public housing and a general rise in living standards but the worldwide ‘Great Depression’ from 1929 created a mass unemployment, and the 1930s were a time of economic depression and crisis. British Prime Ministers in the 1930s failed to understand the seriousness of the threat of the German dictator and leader of the Nazi party, Adolf Hitler. The British tried to make concessions to Hitler, in a policy known as ‘appeasement’. Many people in the UK blamed the Conservative Prime Ministers of the time for being too complacent towards Hitler and his expansionist ambitions and racist ideology. The British government realised it had to go to war against Germany when Hitler invaded Poland in 1939. In the first year of war, Hitler’s armies successfully invaded Belgium, France and the Netherlands. In this national crisis, Winston Churchill became Prime Minister and Britain’s war leader.
ช่วงเวลาระหว่างสงครามโลกครัง้ ที่ 1 กับครัง้ ที่ 2
ในช่วงทศวรรษปี 1920 รัฐบาลได้พัฒนาปรับปรุงที่อยู่อาศัยส�ำหรับคนยากจน และ มาตรฐานความเป็นอยูข่ องประชาชนโดยทัว่ ไปนับว่าดีขนึ้ แต่ ‘ภาวะเศรษฐกิจตกต�ำ่ ครัง้ ใหญ่’ ทัว่ โลกตัง้ แต่ปี ค.ศ. 1929 ได้กอ่ ให้เกิดปัญหาคนว่างงานเป็นจ�ำนวนมาก ช่วงทศวรรษปี 1930 เป็นยุคแห่งวิกฤตการณ์และภาวะเศรษฐกิจตกต�ำ่ นายกรัฐมนตรีอังกฤษที่เข้ามาท�ำหน้าที่ ในช่วงทศวรรษปี 1930 มองไม่เห็นภัยคุกคามที่ ร้ายแรงจาก อดอลฟ์ ฮิตเลอร์ เผด็จการชาวเยอรมันซึง่ เป็นผูน้ �ำพรรคนาซี อังกฤษพยายาม โอนอ่อนตามความต้องการของฮิตเลอร์ โดยการด�ำเนินโยบายที่เรียกว่า ‘นโยบายผ่อน ปรน’ คนส่วนมากในอังกฤษกล่าวโทษนายกรัฐมนตรีของพรรคอนุรกั ษ์นยิ มในช่วงทศวรรษ นัน้ ทีป่ ระมาทเกินไปในเรือ่ งฮิตเลอร์ และความมักใหญ่ ใฝ่สงู ของเขาในการมุง่ ขยายอ�ำนาจ และแนวคิดสุดโต่งในด้านการแบ่งแยกเชือ้ ชาติ รัฐบาลอังกฤษได้ตระหนักว่าจ�ำเป็นต้องน�ำ ประเทศเข้าท�ำสงครามกับเยอรมนี เมือ่ ฮิตเลอร์บกุ เข้ายึดครองโปแลนด์ ในปี ค.ศ. 1939 ในปีแรกของการท�ำสงคราม กองทัพของฮิตเลอร์ประสบความส�ำเร็จในการเข้ายึดครอง เบลเยีย่ ม ฝรัง่ เศส และเนเธอร์แลนด์ ในภาวะวิกฤตระดับชาติเช่นนี้ วินสตัน เชอร์ชลิ ล์ ได้รบั เลือกให้เป็นนายกรัฐมนตรีและผูน้ �ำในการท�ำสงครามของอังกฤษ
Life in the UK 59
The Second World War
The Germans prepared to invade the United Kingdom but before they could do this they needed to control the air. The British resisted the German air force with their fighter planes, Spitfires and Hurricanes, and won the crucial aerial battle against the Germans called the ‘Battle of Britain’. Even so, the German air force was able to continue night-time bombing of London and of other British cities such as Coventry, which was nearly totally destroyed. Churchill encouraged a national spirit of resistance in the United Kingdom. In the Far East, however, the British were defeated in Singapore by the Japanese, who were allies of Germany. The Japanese then occupied Burma and threatened India.
สงครามโลกครัง้ ที่ 2
เยอรมันได้จดั เตรียมกองทัพเพือ่ บุกเข้ายึดครองสหราชอาณาจักร แต่กอ่ นจะท�ำเช่นนี้ ได้ เยอรมันจ�ำเป็นต้องควบคุมน่านฟ้าอังกฤษให้ ได้เสียก่อน อังกฤษได้ ใช้เครือ่ งบินต่อสู้ สปิท ไฟร์ และเฮอริเคน ในการปะทะก�ำลังกับกองทัพอากาศเยอรมัน และได้รบชนะเยอรมันใน การต่อสูท้ างเวหาทีส่ �ำคัญทีเ่ รียกว่า ‘ยุทธการแห่งอังกฤษ’ ถึงกระนัน้ ก็ตาม กองทัพอากาศ เยอรมันยังสามารถทิง้ ระเบิดอย่างต่อเนือ่ งทีก่ รุงลอนดอนและเมืองใหญ่ๆ ของอังกฤษ เช่น โคเวนทรี่ ซึ่งได้รับความเสียหายจนเกือบย่อยยับ เชอร์ชิลล์ ได้ปลุกขวัญให้ประชาชนใน สหราชอาณาจักรมีก�ำลังใจต่อต้านเยอรมนี แต่ ในภาคพื้นตะวันออกไกล อังกฤษต้อง พ่ายแพ้ตอ่ ญีป่ นุ่ ทีส่ งิ คโปร์ ญีป่ นุ่ เป็นพันธมิตรกับเยอรมนี และในเวลานัน้ ได้ครอบครองพม่า และมีทที า่ ว่าจะบุกเข้าอินเดียด้วย When the Japanese bombed the United States naval base at Pearl Harbour, the USA entered the war. The Allied forces gradually gained the upper hand, winning victories in North Africa and Italy, while the Germans lost millions of soldiers as a result of their attack on Russia in 1942. Finally, the Allies were strong enough to attack the Germans in Western Europe in the D-Day landing of 1944. After bitter fighting on the beaches of Normandy, they pressed on through France and into Germany. With their Russian allies they brought about total defeat of Germany in the summer of 1945. The war against Japan was ended when the United States exploded its newly developed atom bombs over the cities of Hiroshima and Nagasaki a few weeks later. Although it had played an important role in winning the war, the UK was exhausted economically. 60 Life in the UK
Liberation or self-government movements grew stronger and more successful in India and other colonies. สหรัฐอเมริกาได้เข้าร่วมท�ำสงครามเมื่อญี่ปุ่นทิ้งระเบิดโจมตีฐานทัพเรืออเมริกาที่อ่าว เพิรล์ ฮาร์เบอร์ กองทัพฝ่ายสัมพันธมิตรเริ่มได้เปรียบขึ้นตามล�ำดับ และได้รับชัยชนะ ในแอฟริกาเหนือและอิตาลี ในขณะที่เยอรมนีต้องสูญเสียทหารนับล้านคนจากการโจมตี รัสเซียในปี ค.ศ. 1942 ในทีส่ ดุ ฝ่ายสัมพันธมิตรก็เข้มแข็งพอทีจ่ ะบุกโจมตีเยอรมันในยุโรป ตะวันตก และได้ยกพลขึน้ บกในวันเผด็จศึก (ดี-เดย์) ปี ค.ศ. 1944 หลังจากการสูร้ บทีด่ ุ เดือดบนชายหาดนอร์มงั ดี กองทัพสัมพันธมิตรก็รกุ ต่อเข้าไปในฝรัง่ เศสและเยอรมนี ฝ่าย สัมพันธมิตรร่วมกับพันธมิตรรัสเซียได้ประสบความส�ำเร็จในการโจมตีเยอรมนีจนพ่ายแพ้ อย่างราบคาบในฤดูรอ้ นปี ค.ศ. 1945 อีกไม่กสี่ ปั ดาห์ตอ่ มา สงครามกับญีป่ นุ่ ก็ ได้สนิ้ สุดลง เมือ่ สหรัฐอเมริกาทิง้ ระเบิดปรมาณูทคี่ ดิ ค้นขึน้ มาใหม่ทเี่ มืองฮิโรชิมาและนางาซากิ แม้วา่ อังกฤษจะมีบทบาททีส่ �ำคัญในการชนะสงคราม แต่องั กฤษต้องใช้จา่ ยเงินไปเป็นจ�ำนวนมาก นอกจากนัน้ กระบวนการเคลือ่ นไหวเพือ่ เรียกร้องเอกราชและการปกครองตนเองก็ ได้เริม่ ทวี ความเข้มข้น และประสบความส�ำเร็จมากยิง่ ขึน้ ในอินเดียและอาณานิคมอืน่ ๆ ของอังกฤษ
Polotics in Britain since 1945 The welfare state
In 1945 the British people elected a Labour government, despite Churchill’s success as war leader. The new Prime Minister was Clement Attlee. The government established a free National Health Service (NHS) which guaranteed a minimum standard of healthcare for all. Unemployment reduced rapidly. The railways, coal mines, gas, water and electricity supplies were put under public ownership (nationalised).
การเมืองในอังกฤษตัง้ แต่ปี ค.ศ. 1945 รัฐสวัสดิการ
ในปี ค.ศ. 1945 ประชาชนอังกฤษได้เลือกพรรคแรงงานให้เป็นรัฐบาล ทัง้ ๆ ทีอ่ งั กฤษ ชนะสงครามภายใต้การน�ำของเชอร์ชิล นายกรัฐมนตรีคนใหม่ชื่อว่า คลีเมนท์ แอทท์ลี รัฐบาลใหม่ ได้กอ่ ตัง้ องค์กรสาธารณสุขแห่งชาติ (National Health Service (NHS)) ขึน้ มา เพือ่ เป็นหลักประกันให้ทกุ คนได้รบั บริการดูแลสุขภาพทีม่ คี ณ ุ ภาพมาตรฐาน จ�ำนวนคน ว่างงานได้ลดลงอย่างรวดเร็ว และตามนโยบายรัฐวิสาหกิจของรัฐบาลพรรคแรงงาน การ รถไฟ เหมืองถ่านหิน กิจการก๊าซ น�ำ้ ประปา และไฟฟ้าได้ถกู โอนให้เป็นกรรมสิทธิแ์ ละอยู่ ภายใต้การด�ำเนินการของรัฐ Life in the UK 61
The Labour Party also believed in self-government for the former colonies and so granted independence to India, Pakistan, and Ceylon (now Sri Lanka) in 1947. Other colonies in Africa, the Caribbean and the Pacific achieved independence over the next 20 years. นอกจากนี้ พรรคแรงงานยังเชือ่ ว่าอาณานิคมเก่าก่อนควรได้รบั อนุญาตให้มอี �ำนาจปกครอง ตนเอง ดังนัน้ อังกฤษจึงได้ ให้เอกราชแก่อนิ เดีย ปากีสถาน และซีลอน (ปัจจุบนั คือ ศรีลงั กา) ในปี ค.ศ. 1947 ประเทศอาณานิคมอืน่ ๆ ในแอฟริกา หมูเ่ กาะคาริบเบียน และแปซิฟกิ ต่างได้รบั เอกราชในเวลาอีก 20 ปีตอ่ มา The Labour government provided for the UK’s defence by developing its own atomic bomb and joining the North Atlantic Treaty Organisation (NATO), an alliance of nations set up to resist the perceived threat of invasion by the Soviet Union and its allies. รัฐบาลพรรคแรงงานอังกฤษมีนโยบายป้องกันสหราชอาณาจักร โดยการพัฒนาระเบิด ปรมาณูขนึ้ มาเอง และได้เข้าร่วมเป็นสมาชิกในองค์การสนธิสญ ั ญาป้องกันแอตแลนติกเหนือ (องค์การนาโต้ - NATO) ซึง่ ก่อตัง้ โดยกลุม่ ประเทศพันธมิตร เพือ่ ต่อต้านภัยคุกคามจาก การรุกรานของสหภาพโซเวียตกับกลุม่ พันธมิตรของสหภาพโซเวียต
Domestic policies 1951-79
In 1951 Labour was defeated. The government had demanded too much austerity and restraint as the UK recovered after the war. After 1951, Conservative governments made few changes to the new nationalised institutions and to the welfare state which had been introduced by Labour. The country was run under a ‘mixed economy’, a free market within a framework of public ownership of key utilities, transport and communications. A failed invasion of Suez in 1956 showed that Britain could no longer rely on military power to protect its global economic interests. Even so, the 1950s were a period of increasing prosperity. The Prime Minister of the day summed this up in a phrase that is still quoted: ‘You’ve never had it so good’.
62 Life in the UK
นโยบายภายในประเทศ ค.ศ. 1951-79
ในปี ค.ศ. 1951 พรรคแรงงานพ่ายแพ้การเลือกตัง้ อันเป็นผลเนือ่ งมาจากนโยบายการลด ค่าใช้จ่ายและรัดเข็มขัดที่เข้มงวดจนเกินไปของรัฐบาลในช่วงการฟื้นฟูสภาพของประเทศ หลังสงคราม หลังปี ค.ศ. 1951 รัฐบาลพรรคอนุรกั ษ์นยิ มได้ปรับเปลีย่ นระบบรัฐวิสาหกิจ และรัฐสวัสดิการอันเป็นผลงานใหม่ของพรรคแรงงานเพียงเล็กน้อย และได้ด�ำเนินการ บริหารประเทศภายใต้ระบบ ‘เศรษฐกิจแบบผสม’ โดยส่งเสริมระบบตลาดการค้าเสรีภายใต้ กรอบนโยบายรัฐวิสาหกิจ โดยให้รฐั เป็นเจ้าของและด�ำเนินกิจการสาธารณูปโภคพืน้ ฐาน ที่ส�ำคัญๆ รวมทั้งการขนส่งและการสื่อสาร ความล้มเหลวในการยกพลรุกพื้นที่คลอง สุเอซในปี ค.ศ. 1956 แสดงให้เห็นว่าอังกฤษไม่สามารถพึง่ พาก�ำลังทหารในการปกป้อง ผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจระดับโลกได้อกี ต่อไป ถึงกระนัน้ ก็ตาม ทศวรรษปี 1950 เป็น ช่วงเวลาทีอ่ งั กฤษมีความเจริญรุง่ เรืองขึน้ มาก จนนายกรัฐมนตรี ในเวลานัน้ ถึงกับเอ่ยปาก เป็นค�ำพูดสัน้ ๆ ทีย่ งั ใช้อา้ งกันมาถึงทุกวันนีว้ า่ ‘เราไม่เคยมีอะไรดีๆ อย่างนีม้ าก่อนเลย’ The Labour Party returned to power from 1964 to 1970 and then again from 1974 to 1979, but the UK now faced many economic problems such as inflation, unstable international currency exchange rates and the ‘balance of payments’ (importing more than it paid for in exports). There was also a shortage of labour and, from the 1940s onwards, governments encouraged the arrival in the UK of immigrant workers from the former colonies in the Indian subcontinent and the Caribbean. พรรคแรงงานกลับมามีอ�ำนาจใหม่ตงั้ แต่ปี ค.ศ. 1964 ถึง 1970 และอีกครัง้ ตัง้ แต่ปี ค.ศ. 1974 ถึง 1979 แต่ตอนนี้ สหราชอาณาจักรได้ประสบกับปัญหาเศรษฐกิจหลายด้าน เช่น ภาวะเงินเฟ้อ ความผันผวนของอัตราแลกเปลีย่ นเงินตราต่างประเทศ และปัญหาเกีย่ วกับ ‘ดุลการช�ำระเงิน’ (สินค้าเข้าสูงกว่ารายได้จากสินค้าส่งออก) นอกจากนัน้ ยังมีปญ ั หาการ ขาดแคลนแรงงาน และตัง้ แต่ชว่ งทศวรรษปี 1940 เป็นต้นมา รัฐบาลอังกฤษได้สง่ เสริม ให้คนงานจากอาณานิคมเก่าก่อนของอังกฤษในอนุทวีปอินเดีย และหมูเ่ กาะคาริบเบียน ให้ เดินทางอพยพเข้ามาในสหราชอาณาจักร This was a time of conflict between the government and the trade unions. Many believed that the unions had too much power and that they restrained government and business. Both Conservative and Labour governments faced Life in the UK 63
many large-scale strikes during the 1970s which did much to destroy confidence in the British economy. It was at this time, too, that the tensions between the communities in Northern Ireland flared into violence which led to controversial deployment of the army there and the suspension, in 1972, of the original Northern Ireland Parliament. Some 3,000 lives of civilians and security personnel were lost in the decades after 1969. เวลานี้เป็นช่วงเวลาแห่งความขัดแย้งระหว่างรัฐบาลกับสหภาพแรงงาน หลายคนเชื่อว่า สหภาพแรงงานมีอ�ำนาจมากเกินไป และใช้อิทธิพลยับยั้งรัฐบาลและภาคธุรกิจ รัฐบาล พรรคอนุรักษ์นิยมและพรรคแรงงานต่างก็เผชิญกับการนัดหยุดแรงงานครั้งมโหฬารใน ช่วงทศวรรษปี 1970 ซึ่งมีผลท�ำลายความเชื่อมั่นในเศรษฐกิจของอังกฤษอย่างมาก ใน ขณะเดียวกันความตึงเครียดระหว่างชุมชนในไอร์แลนด์เหนือได้บานปลายเป็นความรุนแรง อังกฤษตัดสินใจด�ำเนินการซึง่ เป็นทีข่ ดั แย้ง คือ ได้สง่ ทหารไปที่ ไอร์แลนด์เหนือ และระงับ รัฐสภาเดิมของไอร์แลนด์เหนือชัว่ คราวในปี ค.ศ. 1972 ประชาชนและเจ้าหน้าทีร่ กั ษาความ มัน่ คงต้องสูญเสียชีวติ ไปราว 3,000 คนในช่วงทศวรรษต่อๆ มาหลังปี ค.ศ. 1969
The Common Market
Meanwhile, West Germany, France, Belgium, Italy, Luxembourg and the Netherlands had formed the European Economic Community (EEC). The EEC had the goal of harmonising political, economic and trade relations between its members and creating a common agricultural policy. It also planned to make the borders free between its member states. A European Parliament was established in Strasbourg and a civil service, called the European Commission, in Brussels. At first the UK did not wish to join the EEC. Many British politicians believed that the links between the UK and the USA and the empire were more important and that the Commonwealth could form an economic bloc based on sterling, but this policy wrongly assumed that the countries of the Commonwealth wished to be tied to the UK economically. When the British government did decide that it wanted to join, its applications were vetoed twice, first in 1963 and again in 1967. The French President, Charles de Gaulle, was not convinced that the UK was committed to the aims of the EEC as these had developed without British involvement. De Gaulle also believed that the UK’s influence would be too great, and that its closeness to the United States, both culturally and economically would undermine those aims. 64 Life in the UK
องค์การตลาดร่วม
ในเวลาเดียวกัน ประเทศเยอรมนีตะวันตก ฝรัง่ เศส เบลเยีย่ ม อิตาลี ลักเซมเบิรก์ และ เนเธอร์แลนด์ ได้รวมตัวกันก่อตัง้ ประชาคมเศรษฐกิจยุโรป (อีอซี )ี ขึน้ มา โดยมีจดุ มุง่ หมาย เพือ่ สร้างความสัมพันธ์ทรี่ าบรืน่ ในด้านการเมือง เศรษฐกิจ และการค้า ตลอดจนจัดท�ำ นโยบายร่วมในด้านการเกษตร ระหว่างประเทศสมาชิกด้วยกัน นอกจากนัน้ ประชาคม เศรษฐกิจยุโรปยังได้วางแผนทีจ่ ะเปิดพรมแดนเสรีระหว่างรัฐสมาชิกด้วย และได้มกี ารก่อ ตัง้ รัฐสภายุโรปขึน้ ทีส่ ตราสบูรก์ และหน่วยราชการ เรียกว่า คณะกรรมาธิการยุโรป ขึน้ มาในกรุงบรัสเซลล์ ตอนแรกสหราชอาณาจักรไม่ ได้ตอ้ งการทีจ่ ะเข้าร่วมเป็นสมาชิกของ อีอซี ี เพราะนักการเมืองอังกฤษส่วนมากเชือ่ ว่า ความสัมพันธ์ระหว่างสหราชอาณาจักรกับ สหรัฐอเมริกาและจักรวรรดิมคี วามส�ำคัญมากกว่า และเชือ่ ว่าการรวมกลุม่ ทางเศรษฐกิจ ระหว่างประเทศต่างๆ ในเครือจักรภพอังกฤษ โดยก�ำหนดสกุลเงินปอนด์เสตอร์ลิงเป็น สกุลเงินเดียวกันสามารถทีจ่ ะเกิดขึน้ ได้ แต่นโยบายนีเ้ กิดจากการนึกคิดเอาเองอย่างผิดๆ ว่า ประเทศในเครือจักรภพปรารถนาทีจ่ ะมีความผูกพันทางเศรษฐกิจกับสหราชอาณาจักร ต่อมาเมือ่ รัฐบาลอังกฤษตัดสินใจสมัครเข้าเป็นสมาชิกอีอซี ี อังกฤษจึงถูกคัดค้านไม่ ให้เข้า เป็นสมาชิกถึงสองครัง้ ครัง้ แรกในปี ค.ศ. 1963 และอีกครัง้ ในปี ค.ศ. 1967 ชาร์ลส์ เดอ โกลล์ ประธานาธิบดีฝรัง่ เศสไม่มนั่ ใจว่าสหราชอาณาจักรจะยึดมัน่ ในจุดมุง่ หมายของอีอซี ี เนือ่ งจากอังกฤษไม่ ได้มสี ว่ นร่วมในการวางจุดมุง่ หมายเหล่านี้ นอกจากนัน้ เดอโกลล์ ยัง เชื่อว่าสหราชอาณาจักรจะมีอิทธิพลมากเกินไป และคิดว่าความสัมพันธ์อันใกล้ชิดทาง วัฒนธรรมและเศรษฐกิจระหว่างอังกฤษกับสหรัฐอเมริกาจะมีผลบัน่ ทอนจุดมุง่ หมายของ อีอซี ี In 1972, the Conservative Prime Minister Edward Heath negotiated the UK’s entry into the EEC. The country was still divided on the issue of joining, and this led to the next Labour government to hold a referendum in 1975, in which the majority voted to continue its membership. Since then, many more European countries have joined, including many countries in Eastern Europe. In 1992, the Treaty of Maastricht renamed the EEC and its related institutions, the European Union (EU). (See chapter 4) ในปี ค.ศ. 1972 เอ็ดเวิรด์ ฮีท นายกรัฐมนตรีองั กฤษสังกัดพรรคอนุรกั ษ์นยิ ม ได้เจรจา ให้สหราชอาณาจักรเข้าร่วมเป็นสมาชิกอีอซี ี ได้ส�ำเร็จ อย่างไรก็ตาม ในประเทศอังกฤษ ยังคงมีความคิดเห็นแบ่งแยกเกีย่ วกับการเข้าร่วมอีอซี ี รัฐบาลพรรคแรงงานในเวลาต่อมา จึงได้จดั ให้มกี ารออกเสียงประชามติในปี ค.ศ. 1975 ผลปรากฎว่าประชาชนส่วนใหญ่ลง มติให้สหราชอาณาจักรเป็นสมาชิกอีอซี ตี อ่ ไป ตัง้ แต่นนั้ มา ได้มปี ระเทศอืน่ ๆ ในยุโรปอีก Life in the UK 65
หลายประเทศ รวมถึงประเทศต่างๆ ในยุโรปตะวันออกได้เข้าร่วมเป็นสมาชิกอีอซี ี ภายใต้ สนธิสญ ั ญามาสตริชท์ (ดูบทที่ 4) ในปี ค.ศ. 1992 องค์การอีอซี ี ตลอดจนสถาบันต่างๆ ทีเ่ กีย่ วข้อง ได้รบั การตัง้ ชือ่ ใหม่เป็น สหภาพยุโรป (อีย)ู
The Thatcher era
The Conservatives won the general election in 1979 and remained in office until 1997. Under Margaret Thatcher, Prime Minister from 1979 until 1990, the government returned to the principles of a strict control of the money supply and a free market economy. The Conservatives privatised the main nationalised industries and public services: electricity, gas, water, telephones and the railways. The power of the trade unions was greatly reduced by new legislation restricting the right to strike. The Conservatives gave people who lived in municipal housing (council houses) the right to buy their homes. This led to a much lower stock of public housing by the 1990s. Mrs Thatcher’s economic policies controlled inflation but some believed they also caused a massive decline in industry. Others, however, say this was caused by foreign competition. At this time there was also a great increase in the role of the City of London as an international centre for investments, insurance and other financial services.
ยุคแทตเชอร์
ในปี ค.ศ. 1979 พรรคอนุรกั ษ์นยิ มชนะการเลือกตัง้ ทัว่ ไป และได้รบั การเลือกตัง้ ซ�ำ้ และ อยูต่ อ่ มาได้จนถึงปี ค.ศ. 1997 รัฐบาลภายใต้การน�ำของ มาร์กาเร็ต แทตเชอร์ ผูด้ �ำรง ต�ำแหน่งนายกรัฐมนตรีตงั้ แต่ปี ค.ศ. 1979 จนถึงปี ค.ศ. 1990 ได้หนั ไปใช้นโยบายควบคุม ปริมาณเงินหมุนเวียนในประเทศอย่างเข้มงวด และส่งเสริมระบบเศรษฐกิจแบบตลาดเสรี พรรคอนุรกั ษ์นยิ มได้ด�ำเนินการแปรรูปกิจการรัฐวิสาหกิจใหญ่ๆ ได้แก่ การไฟฟ้า กิจการ ก๊าซ น�ำ้ ประปา การโทรศัพท์ และการรถไฟให้เป็นของเอกชน พร้อมทัง้ ออกกฎหมายใหม่ จ�ำกัดสิทธิในการนัดหยุดงาน ซึง่ ส่งผลให้สหภาพแรงงานมีอ�ำนาจลดน้อยลงมาก นอกจาก นี้ พรรคอนุรกั ษ์นยิ มยังเปิดโอกาสให้ประชาชนทีอ่ าศัยอยู่ ในเคหะชุมชนของเทศบาล (บ้าน ของเทศบาล) มีสทิ ธิทจี่ ะซือ้ บ้านเป็นของตนเอง นโยบายนีท้ �ำให้ทอี่ ยูอ่ าศัยของการเคหะ ชุมชนของรัฐมีจ�ำนวนลดน้อยลงมากภายในช่วงทศวรรษปี 1990 นโยบายด้านเศรษฐกิจ ของนางแทตเชอร์สามารถควบคุมภาวะเงินเฟ้อได้ แต่บางคนเชื่อว่านโยบายเหล่านี้เป็น สาเหตุทที่ �ำให้อตุ สาหกรรมตกต�ำ่ ลงมาก อย่างไรก็ตาม มีผเู้ ถียงว่าปัญหานีเ้ กิดจากการ แข่งขันกับต่างประเทศมากกว่า ในเวลาเดียวกัน บทบาทของกรุงลอนดอนได้ โดดเด่นขึน้ มาก ลอนดอนได้เขยิบฐานะขึน้ เป็นศูนย์กลางของทัว่ โลกในด้านการลงทุน การประกันภัย 66 Life in the UK
และบริการด้านการเงินอืน่ ๆ The invasion by Argentina of the Falkland Islands in 1982 was unforeseen, but military action led to the recovery of the islands. The war and her way of defending her sense of the UK’s interests in the European Union established Mrs Thatcher’s credentials as a national leader with many voters, although for many others she remained a divisive figure. อาร์เยนตินาได้รกุ รานหมูเ่ กาะฟอล์กแลนด์ ในปี ค.ศ. 1982 โดยไม่คาดฝัน แต่องั กฤษได้ ส่งก�ำลังทหารเข้าสูร้ บช่วงชิงหมูเ่ กาะฟอล์กแลนด์คนื มาได้ การท�ำสงครามและการด�ำเนิน นโยบายที่นางแทตเชอร์เห็นว่าเป็นไปเพื่อผลประโยชน์ของสหราชอาณาจักรในสหภาพ ยุโรป ได้ท�ำให้ผู้มีสิทธิเลือกตั้งจ�ำนวนมากมีความเชื่อมั่นในความเป็นผู้น�ำประเทศของ นางแทตเชอร์ อย่างไรก็ตาม คนอืน่ ๆ อีกหลายคนยังคงเห็นว่านางแทตเชอร์เป็นผูน้ �ำที่ สร้างความแตกแยกระหว่างคนในชาติ
New Labour
In 1997 the Conservatives were beaten in the general election by the Labour Party, now branded New Labour to emphasise the changes it had undergone since its years of power in the 1970s. New Labour, led by Tony Blair, wished to break from the old Labour policies of public ownership and high taxation for public services. It did not re-nationalise any of the services or industries which had been privatised by the Conservatives. Its goals were to make existing public services such as education more accountable. Labour, like the Conservatives, favoured partnership between the public and private sectors. The arguments were no longer whether publicly owned, but about the right mix of public and private enterprise.
พรรคแรงงานใหม่
พรรคอนุรักษ์นิยมพ่ายแพ้ต่อพรรคแรงงานอย่างย่อยยับในการเลือกตั้งทั่วไปในปี ค.ศ. 1997 พรรคแรงงานทีช่ นะการเลือกตัง้ ครัง้ นี้ ให้ฉายาตนเองว่า พรรคแรงงานใหม่ (New Labour) เพือ่ เน้นว่าพรรคแรงงานเวลานี้ ได้เปลีย่ นแปลงไปมาก เมือ่ เทียบกับพรรคแรงงาน ในสมัยทีม่ อี �ำนาจในช่วงทศวรรษปี 1970 พรรคแรงงานใหม่ภายใต้ผนู้ �ำชือ่ ว่า โทนี่ แบลร์ ต้องการตีตัวออกห่างจากพรรคแรงงานเก่าที่ยึดถือนโยบายรัฐวิสาหกิจ และเรียกเก็บ ภาษีหน่วยงานภาครัฐในอัตราสูง รัฐบาลแบลร์ไม่ ได้ โอนกิจการทีเ่ ป็นของเอกชนจากการ Life in the UK 67
แปรรูปรัฐวิสาหกิจตามนโยบายรัฐบาลพรรคอนุรกั ษ์นยิ ม ให้กลับคืนมาเป็นของรัฐแต่อย่าง ใด อย่างไรก็ตาม รัฐบาลแบลร์มจี ดุ มุง่ หมายทีจ่ ะให้หน่วยงานภาครัฐ เช่น หน่วยงานการ ศึกษา รับผิดชอบในการท�ำงานมากขึน้ รัฐบาลพรรคแรงงานนีม้ คี วามประสงค์เหมือนกับ พรรคอนุรกั ษ์นยิ ม คือ ต้องการให้กจิ การภาครัฐและภาคเอกชนมีความสัมพันธ์ทางธุรกิจที่ ดีตอ่ กัน การเป็นรัฐวิสาหกิจหรือไม่นนั้ ไม่ ใช่ขอ้ ถกเถียงทีส่ �ำคัญอีกต่อไป ทีส่ �ำคัญก็คอื ควร มีกจิ การภาครัฐและภาคเอกชนในสัดส่วนทีเ่ หมาะสมเท่าไรจึงจะเป็นประโยชน์สงู สุดต่อชาติ The Blair government broke with Conservative policy by introducing a Scottish Parliament and a Welsh Assembly (see chapter 4). The Scottish Parliament has substantial powers to legislate. The Welsh Assembly has fewer legislative powers but considerable control over public services. In Northern Ireland the Blair government was able to build on the Conservatives’ Success in negotiating an end to the ‘Troubles’ which had afflicted the province since 1969 and, in co-operation with the Irish government, to seek political agreement among the nationalist, unionist, and other parties. This, however, had proved more elusive, and arrangements for devolution, agreed in 1998, have been interrupted and are currently suspended. นโยบายของรัฐบาลแบลร์ที่เบี่ยงเบนไปจากของพรรคอนุรักษ์นิยม คือการสนับสนุนให้มี รัฐสภาสก็อตแลนด์ และสภาแห่งชาติเวลส์ (ดูบทที่ 4) รัฐสภาสก็อตแลนด์มีอ�ำนาจ นิตบิ ญ ั ญัตสิ งู มาก เมือ่ เทียบกับสภาแห่งชาติเวลส์ทมี่ อี �ำนาจไม่มากนักในการร่างกฎหมาย อย่างไรก็ตาม สภาแห่งชาติเวลส์มีอ�ำนาจมากในการควบคุมหน่วยงานภาครัฐในเวลส์ รัฐบาลแบลร์ ได้สานต่อความส�ำเร็จของพรรคอนุรักษ์นิยมในไอร์แลนด์เหนือในการเจรจา ต่อรองเพือ่ ยุติ ‘ความยุง่ ยาก’ ทีม่ ผี ลเสียต่อมณฑลมาตัง้ แต่ปี ค.ศ. 1969 นอกจากนัน้ รัฐบาลแบลร์ยงั ได้รว่ มมือกับรัฐบาลไอร์แลนด์ ในการแสวงหาข้อตกลงทางการเมืองระหว่าง พรรคชาตินยิ ม พรรคสหภาพนิยม และพรรคการเมืองอืน่ ๆ อย่างไรก็ตาม การประสบ ความส�ำเร็จในเรือ่ งนีน้ บั ว่ายากมาก การจัดการเพือ่ ให้มกี ารโอนอ�ำนาจการปกครองตามที่ ตกลงกันไว้ ในปี ค.ศ. 1998 มีปญ ั หาทีท่ �ำให้ตอ้ งหยุดชะงัก และเวลานีก้ ย็ งั ถูกพักไว้ชวั่ คราว
Today
Today’s government faces several issues. Some of the problems are international, such as global warming, terrorism, and the violence in Iraq. Other debates are domestic such as disagreements over taxation, pensions, law and order, health, 68 Life in the UK
education, immigration and asylum. The United Kingdom is perhaps more socially mobile and less class conscious than it was in the past. People have better health than in previous generations and tend to live longer. Although there is still great inequality between the very rich and poor, people are generally wealthier in real terms. The UK is also a more pluralistic society than it was 100 years ago, both in ethnic and religious terms. Post-war immigration means that nearly 10% of the population has a parent or grandparent born outside the UK. Racism remains a problem in some areas, although it is actively combated both in opinion and in law and most people believe that it has diminished. The UK has been a multi-national and multi-cultural society for a long time, without this being a threat to its British identity, or its English, Scottish, Welsh or Irish cultural and national identities.
สหราชอาณาจักรในปัจจุบนั
รัฐบาลอังกฤษในปัจจุบนั มีปญ ั หาทีต่ อ้ งแก้ ไขอยูห่ ลายประการ ปัญหาบางอย่างเป็นปัญหา ระดับโลก เช่น ปัญหาโลกร้อน ผูก้ อ่ การร้าย และความรุนแรงในอิรคั ส�ำหรับประเด็นที่ เป็นข้อถกเถียงอืน่ ๆ เป็นปัญหาภายในประเทศ เช่น ความขัดแย้งในเรือ่ งการเก็บภาษี เงิน บ�ำนาญ กฎหมายและระเบียบข้อบังคับ ตลอดจนสุขภาพ การศึกษา ปัญหาคนเข้าเมือง และผูล้ ภี้ ยั การเมือง เป็นต้น สหราชอาณาจักรเวลานีเ้ ปิดโอกาสให้มกี ารไต่เต้าทางสังคมได้มากขึน้ และความรูส้ กึ แบ่ง แยกชนชัน้ วรรณะมีนอ้ ยลง เมือ่ เทียบกับอดีตทีผ่ า่ นมา ประชาชนมีสขุ ภาพแข็งแรงกว่าคน รุน่ ก่อนๆ และค่อนข้างจะมีอายุยนื กว่า อย่างไรก็ตาม ช่องว่างระหว่างคนรวยกับคนจน ยังมีอยูม่ าก แต่ โดยทัว่ ไปแล้ว คนในประเทศนีม้ ฐี านะการเงินดีขนึ้ เป็นตัวเลขทีน่ บั ได้จริง นอกจากนัน้ สหราชอาณาจักรยังเป็นสังคมพหุลกั ษณ์ทสี่ งู มากเมือ่ เทียบกับ 100 ปีกอ่ น นัน่ คือมีความหลากหลายด้านเชือ้ ชาติและศาสนามากขึน้ การอพยพเข้ามาในอังกฤษหลัง สงคราม หมายถึงว่าเกือบ 10% ของประชากรมีพอ่ แม่ หรือปูย่ า่ ตายายที่ ไม่ ได้เกิดใน สหราชอาณาจักร ปัญหาการเหยียดผิวหรือคนต่างเชื้อชาติยังคงมีอยู่ ในบางเขตพื้นที่ แม้วา่ จะมีกฎหมายและความคิดเห็นต่อต้านเรือ่ งนีอ้ ย่างแข็งขันก็ตาม คนส่วนมากเชือ่ ว่า ปัญหานี้ลดน้อยลง สหราชอาณาจักรเป็นประเทศที่ประกอบด้วยชุมชนหลายเชื้อชาติ และวัฒนธรรมมาเป็นเวลานานแล้ว โดยที่ผู้คนไม่รู้สึกว่าสิ่งเหล่านี้เป็นภัยคุกคามต่อ อัตลักษณ์ความเป็นพลเมืองอังกฤษ หรืออัตลักษณ์การมีวฒ ั นธรรมและเชือ้ ชาติของอังกฤษ สก็อตแลนด์ เวลส์ หรือไอร์แลนด์ แต่อย่างใด ©Edu-Plus CIC of Dr. Khanungnit Garnett -Duang-dhamma Building, 49 Castle Street, Banbury OXON OX16 5NU
Life in the UK 69
Chapter 2:
Society
A Changing
การเปลี่ยนแปลงของสังคม
A Changing Society
ในบทที่ 2 นี้ เราจะมาเรียนกันถึงเรือ่ งการเปลีย่ นแปลงของสังคมอังกฤษนับแต่อดีตจนถึง ปัจจุบัน เริ่มตั้งแต่การอพยพย้ายถิ่นฐานเข้ามาอาศัยอยู่ ในประเทศอังกฤษของผู้คนจาก ภาคพืน้ ต่างๆ ในโลก บทบาทและสิทธิของสตรี ในอังกฤษ ตลอดจนการเปลีย่ นแปลงทาง ทัศนคติของคนในสังคมเกีย่ วกับการท�ำงานของผูห้ ญิง นอกจากนัน้ ในบทนีย้ งั จะครอบคลุม ไปถึงเด็กๆ และเยาวชนคนหนุม่ สาว และครอบครัวอังกฤษในปัจจุบนั และปัญหาต่างๆ ที่ เกีย่ วข้องกับเยาวชนในสังคม อาทิ ปัญหายาเสพติด การดืม่ สุรา ฯลฯ และปิดท้ายด้วย การเรียนรูถ้ งึ ทัศนคติดา้ นการเมืองและสังคมของเยาวชนในสหราชอาณาจักร
Migration to Britain
Many people living in Britain today have their origins in other countries. They can trace their roots to regions throughout the world such as Europe, the Middle East, Africa, Asia and the Caribbean.
การอพยพย้ายถิน่ ฐานเข้ามาในอังกฤษ
ประชากรทีอ่ าศัยอยู่ ในอังกฤษปัจจุบนั นี้ มีจ�ำนวนมากทีส่ บื เชือ้ สายมาจากบรรพบุรษุ ทีม่ ี ถิน่ ฐานดัง้ เดิมอยู่ ในประเทศอืน่ ๆ เราสามารถทีจ่ ะสืบสาวหาถิน่ ก�ำเนิดของคนเหล่านี้ ได้ ใน ภาคพืน้ ต่างๆ ทัว่ โลก เช่น ยุโรป ตะวันออกกลาง แอฟริกา เอเซีย และหมูเ่ กาะคาริบเบียน In the distant past, invaders came to Britain, seized land and stayed. More recently, people come to Britain to find safety, jobs and a better life. ในอดีตกาล ได้มผี รู้ กุ รานเข้ามาจับจองทีด่ นิ และท�ำมาหากินอยู่ ในอังกฤษ และเมือ่ ไม่นาน มานี้ มีผคู้ นหลัง่ ไหลเข้ามาในอังกฤษด้วยจุดประสงค์เพือ่ การลีภ้ ยั หรือเข้ามาท�ำงาน และ แสวงหาชีวติ ทีด่ ขี นึ้ Britain is proud of its tradition of offering safety to people who are escaping persecution and hardship. For example, in the 16th and 18th centuries, Huguenots (French Protestants) came to Britain to escape religious persecution in France. อังกฤษมีประวัตอิ นั น่าภาคภูมิใจในการเป็นประเทศที่ ให้ทพี่ �ำนักลีภ้ ยั แก่ผทู้ หี่ ลบหนีจากการ ถูกกลัน่ แกล้งท�ำร้ายและความทุกข์ยาก ตัวอย่างเช่นในศตวรรษที่ 16 และ 18 ‘ฮูเกอน็อทส์’ กลุม่ ผูล้ ภี้ ยั ฝรัง่ เศสชาวคริสต์นกิ ายโปรเตสแตนท์ได้อพยพเข้ามาในอังกฤษ เพือ่ หลบหนีจาก การถูกข่มเหง เนือ่ งด้วยความขัดแย้งทางศาสนาในประเทศฝรัง่ เศส
Life in the UK 73
In the mid – 1840s there was a terrible famine in Ireland and many Irish people migrated to Britain. Many Irish men became labourers and helped to build canals and railways across Britain. ในช่วงกลางทศวรรษปี 1840 ไอร์แลนด์ประสบภาวะขาดแคลนอาหารอย่างรุนแรง ชาวไอริช จ�ำนวนมากจึงพากันอพยพโยกย้ายเข้ามาในอังกฤษ หลายคนท�ำงานรับจ้างเป็นกรรมกร หรือผู้ ใช้แรงงาน และมีสว่ นช่วยในการขุดคลองส่งน�ำ้ และสร้างทางรถไฟทัว่ ประเทศอังกฤษ From 1880 to 1910, a large number of Jewish people came to Britain to escape racist attacks (called ‘pogroms’) in what was then called the Russian Empire and from the countries now called Poland, Ukraine and Belarus. ในระหว่างปี ค.ศ. 1880 ถึง 1910 ได้มชี าวยิวจ�ำนวนมากอพยพเข้ามาในอังกฤษ เพือ่ หลบหนีจากการถูกเข่นฆ่าและท�ำลายทรัพย์สนิ โดยฝูงชนทีเ่ กลียดชังคนเชือ้ ชาติยวิ (การ เข่นฆ่าและท�ำลายทรัพย์สนิ ชาวยิวนี้ เรียกว่า ‘โพกรม (pogroms)’) ซึง่ เกิดขึน้ ในดินแดนที่ เวลานัน้ เรียกกันว่า จักรวรรดิรสั เซีย และในประเทศอืน่ ๆ ทีป่ จั จุบนั นี้ คือ ประเทศโปแลนด์ ยูเครนและเบลารุส
Migration since 1945
After the Second World War (1939-45), there was a huge task of rebuilding Britain. There were not enough people to do the work, so the British government encouraged workers from Ireland and other parts of Europe to come to the UK to help with the reconstruction. In 1948, people from the West Indies were also invited to come and work.
การอพยพย้ายถิน่ ฐาน ตัง้ แต่ปี ค.ศ. 1945
หลังสงครามโลกครั้งที่สอง (ค.ศ.1939-1945) อังกฤษมีภาระหนักในการบูรณะฟื้นฟู ประเทศแต่มแี รงงานไม่เพียงพอ รัฐบาลอังกฤษจึงสนับสนุนให้คนงานจากไอร์แลนด์และ ส่วนอืน่ ๆ ของยุโรปเข้ามาในสหราชอาณาจักร เพือ่ ช่วยในการบูรณะฟืน้ ฟูบา้ นเมือง ในปี ค.ศ. 1948 ผูค้ นจากหมูเ่ กาะเวสท์อนิ ดีสก็ ได้รบั การเรียกร้องให้เข้ามาท�ำงานในอังกฤษด้วย During the 1950s, there was still a shortage of labour in the UK. The UK encouraged immigration in the 1950s for economic reasons and many industries advertised for workers from overseas. For example, centres were set up in the West Indies to recruit people to drive buses. 74 Life in the UK
ในช่วงทศวรรษปี 1950 สหราชอาณาจักรยังคงมีปญ ั หาขาดแคลนแรงงาน รัฐบาลสหราช อาณาจักรจึงได้สนับสนุนให้ชาวต่างชาติอพยพเข้ามาในประเทศในช่วงทศวรรษปี 1950 เพือ่ ส่งเสริมสถานะเศรษฐกิจของชาติ นอกจากนัน้ โรงงานอุตสาหกรรมต่างๆ ยังได้ โฆษณา รับสมัครคนงานจากต่างประเทศ ตัวอย่างเช่น ได้มกี ารจัดตัง้ ศูนย์รบั สมัครคนงานขึน้ ใน หมูเ่ กาะเวสต์อนิ ดีส เพือ่ รับสมัครคนขับรถโดยสาร เป็นต้น Textile and engineering firms from the north of England and the Midlands sent agents to India and Pakistan to find workers. For about 25 years, people from the West Indies, India, Pakistan, and later Bangladesh, travelled to work and settle in Britain. บริษทั ผูป้ ระกอบธุรกิจสิง่ ทอ และบริษทั วิศวกรรมในภาคเหนือและภาคกลางของอังกฤษ ได้ ส่งตัวแทนบริษทั ไปหาคนงานทีป่ ระเทศอินเดียและปากีสถาน ภายในช่วงเวลาประมาณ 25 ปี ได้มผี คู้ นจากหมูเ่ กาะเวสต์อนิ ดีส ประเทศอินเดีย และปากีสถาน เดินทางเข้ามาท�ำงานและ ตัง้ ถิน่ ฐานอยู่ ในอังกฤษ โดยมีผคู้ นจากบังคลาเทศตามเข้ามาภายหลังด้วย The number of people migrating from these areas fell in the late 1960s because the government passed new laws to restrict immigration to Britain, although immigrants from ‘old’ Commonwealth countries such as Australia, New Zealand and Canada did not have to face such strict controls. จ�ำนวนประชากรทีอ่ พยพมาจากพืน้ ทีเ่ หล่านี้ ได้ลดลงในช่วงปลายทศวรรษปี 1960 เนือ่ งจาก รัฐบาลได้ออกกฎหมายจ�ำกัดจ�ำนวนผูอ้ พยพเข้ามาในประเทศอังกฤษ แต่กฎหมายนี้ ไม่ ได้ เข้มงวดกับการควบคุมจ�ำนวนผูอ้ พยพทีม่ าจากกลุม่ ประเทศในเครือจักรภพอังกฤษดัง้ เดิม เช่น ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ และแคนาดา During this time, however, the UK was able to help a large number of refugees. In 1972 the UK accepted thousands of people of Indian origin who had been forced to leave Uganda. Another programme to help people from Vietnam was introduced in the late 1970s. Since 1979, more than 25,000 refugees from South East Asia have been allowed to settle in the UK. อย่างไรก็ตาม อังกฤษสามารถช่วยเหลือผูล้ ภี้ ยั ในช่วงเวลานี้ ได้เป็นจ�ำนวนมาก ในปี ค.ศ. 1972 สหราชอาณาจักรได้เปิดรับชาวอินเดียหลายพันคนที่ถูกบังคับให้ออกจากยูกันดา และจัดท�ำโครงการช่วยเหลือชาวเวียดนามในปลายทศวรรษปี 1970 ตัง้ แต่ปี ค.ศ. 1979 อังกฤษได้อนุญาตให้ผลู้ ภี้ ยั 25,000 คน จากเอเซียตะวันออกเฉียงใต้เข้ามาตัง้ ถิน่ ฐานใน สหราชอาณาจักร Life in the UK 75
In the 1980s the largest immigrant groups came from the United States, Australia, South Africa, and New Zealand. In the early 1990s, groups of people from the former Soviet Union came to Britain looking for a new and safer way of life. Since 1994 there has been a global rise in mass migration for both political and economic reasons ในช่วงทศวรรษปี 1980 ผูอ้ พยพกลุม่ ใหญ่ทสี่ ดุ มาจากประเทศสหรัฐอเมริกา ออสเตรเลีย แอฟริกาใต้และนิวซีแลนด์ ในช่วงต้นทศวรรษปี 1990 ได้มกี ลุม่ ผูอ้ พยพจากอดีตสหภาพ โซเวียตเข้ามาในอังกฤษ เพือ่ แสวงหาความปลอดภัย และวิถชี วี ติ แนวใหม่ทตี่ า่ งไปจากเดิม ตัง้ แต่ปี ค.ศ. 1994 เป็นต้นมา จ�ำนวนผูอ้ พยพย้ายถิน่ ฐานได้สงู เพิม่ ขึน้ มากทัว่ โลก ด้วย เหตุผลในด้านการเมืองและเศรษฐกิจ หมายเหตุ: โปรดอย่าลืมทบทวนบทเรียน (Check that you understand)
The changing role of women
In 19th-century Britain, families were usually large and in many poorer homes men, women and children all contributed towards the family income. Although they made an important economic contribution, women in Britain had fewer rights than men. Until 1857, a married woman had no right to divorce her husband. Until 1882, when a woman got married, her earnings, property and money automatically belonged to her husband.
การเปลีย่ นแปลงเกีย่ วกับบทบาทของสตรี
ครอบครัวคนอังกฤษในศตวรรษที่ 19 ส่วนมากเป็นครอบครัวใหญ่ และสมาชิกในครอบครัว ที่ยากจนไม่ว่าจะเป็นผู้ชาย ผู้หญิง หรือเด็ก ล้วนมีส่วนในการท�ำงานหารายได้มาช่วย จุนเจือครอบครัว ผูห้ ญิงในอังกฤษเวลานัน้ มีบทบาททีส่ ำ� คัญในการช่วยพยุงเศรษฐกิจของ ครอบครัวก็จริงอยู่ แต่มสี ทิ ธินอ้ ยกว่าผูช้ ายมาก ตัง้ แต่อดีตจนถึงปี ค.ศ. 1857 หญิงที่ แต่งงานแล้วไม่มสี ทิ ธิขอหย่าจากสามี ได้ และจวบจนกระทัง่ ปี ค.ศ. 1882 เมือ่ แต่งงานแล้ว รายได้ และทรัพย์สนิ เงินทองของผูห้ ญิงจะตกเป็นของสามี โดยอัตโนมัติ In the late 19th and early 20th centuries, an increasing number of women campaigned and demonstrated for greater rights and, in particular, the right to vote. They became known as ‘Suffragettes’. These protests decreased during the First World War because women joined in the war effort and therefore did 76 Life in the UK
a much greater variety of work than they had before. When the First World War ended in 1918, women over the age of 30 were finally given the right to vote and to stand for election to Parliament. It was not until 1928 that women won the right to vote at 21, at the same age as men. ในปลายศตวรรษที่ 19 และต้นศตวรรษที่ 20 ผูห้ ญิงในอังกฤษได้เริม่ ท�ำการประท้วงและ รณรงค์เรียกร้องสิทธิของสตรีเพิม่ มากขึน้ โดยเฉพาะอย่างยิง่ สิทธิในการออกเสียงเลือกตัง้ ซึง่ ต่อมาผูห้ ญิงกลุม่ นี้ ได้รบั การขนานนามว่า ‘สตรีผเู้ รียกร้องสิทธิเลือกตัง้ (Suffragettes)’ การประท้วงเหล่านีม้ นี อ้ ยลงในช่วงสงครามโลกครัง้ ที่ 1 เนือ่ งจากผูห้ ญิงต้องการมีสว่ นร่วม ในการช่วยเหลือชาติในภาวะสงคราม ด้วยเหตุนี้ ผูห้ ญิงจึงได้เริม่ ท�ำงานทีห่ ลากหลายกว่า ทีเ่ คยท�ำมา เมือ่ สงครามโลกครัง้ ที่ 1 สิน้ สุดลงในปี ค.ศ. 1918 ในทีส่ ดุ กฎหมายอังกฤษ ก็ ได้ยนิ ยอมให้ผหู้ ญิงอายุ 30 ปีขนึ้ ไปมีสทิ ธิลงคะแนนเสียง และสมัครเข้ารับเลือกตัง้ เป็น สมาชิกรัฐสภาได้ แต่ผหู้ ญิงในอังกฤษต้องรอไปจนถึงปีค.ศ. 1928 จึงได้รบั ความเสมอภาค เท่าเทียมกับผูช้ ายในการมีสทิ ธิเลือกตัง้ เมือ่ อายุ 21 ปี Despite these improvements, women still faced discrimination in the workplace. For example, it was quite common for employers to ask women to leave their jobs when they got married. Many jobs were closed to women and it was difficult for women to enter universities. During the 1960s and 1970s there was increasing pressure from women for equal rights. Parliament passed new laws giving women the right to equal pay and prohibiting employers from discriminating against women because of their sex (See also Chapter 6). แม้วา่ สถานะของสตรีจะได้รบั การปรับปรุงให้ดขี นึ้ บ้างแล้ว แต่สตรียงั คงพบกับปัญหาการ เลือกปฏิบตั ิในทีท่ ำ� งาน ตัวอย่างเช่น เป็นเรือ่ งค่อนข้างปกติทนี่ ายจ้างจะขอให้ผหู้ ญิงออก จากงานหลังจากแต่งงานแล้ว นอกจากนั้น ยังมีการกีดกันผู้หญิงจากการท�ำงานหลาย ประเภท และยังเป็นการยากส�ำหรับผูห้ ญิงในการเข้าเรียนในระดับมหาวิทยาลัยด้วยในช่วง ทศวรรษปี 1960 และ 1970 ผูห้ ญิงในอังกฤษได้เรียกร้องความเสมอภาคในการมีสทิ ธิตา่ งๆ เพิม่ มากขึน้ รัฐสภาได้ออกกฎหมายใหม่ ให้สตรีมสี ทิ ธิได้รบั ค่าแรงเท่าเทียมกับผูช้ าย และ ห้ามมิให้นายจ้างเลือกปฏิบตั ติ อ่ สตรี ด้วยเหตุผลในเรือ่ งเพศ (อ่านข้อมูลเพิม่ เติมในบทที่ 6)
Women in Britain today
Women in Britain today make up 51% of the population and 45% of the workforce. These days girls leave school, on average, with better qualifications than Life in the UK 77
boys and there are now more women than men at university.
สตรี ในอังกฤษปัจจุบนั
ปัจจุบนั ในประเทศอังกฤษ มีผหู้ ญิงคิดเป็นจ�ำนวนร้อยละ 51 (51%) ของประชากรทัง้ หมด และคิดเป็นร้อยละ 45 (45%) ของจ�ำนวนผู้ ใช้แรงงาน โดยเฉลีย่ แล้ว เยาวชนหญิงทีส่ ำ� เร็จ การศึกษาจากโรงเรียนในปัจจุบนั จะมีวฒ ุ กิ ารศึกษาทีด่ กี ว่า เมือ่ เทียบกับเยาวชนชาย และ ผูห้ ญิงทีเ่ ข้าเรียนในมหาวิทยาลัยก็มจี ำ� นวนสูงกว่าผูช้ ายด้วย Employment opportunities for women are now much greater than they were in the past. Although women continue to be employed in traditional female areas such as healthcare, teaching, secretarial and retail work, there is strong evidence that attitudes are changing, and women are now active in a much wider range of work than before. Research shows that very few people today believe that women in Britain should stay at home and not go out to work. Today, almost three-quarters of women with school-age children are in paid work. ผู้หญิงในยุคนี้มี โอกาสที่จะได้ท�ำงานมากกว่าในอดีตที่ผ่านมา เพียงแต่ว่างานที่ท�ำนั้นยัง คงเป็นงานในอาชีพดัง้ เดิมทีเ่ หมาะกับผูห้ ญิง เช่น งานเกีย่ วกับการดูแลสุขภาพ การสอน เลขานุการ และงานในร้านค้า เป็นต้น อย่างไรก็ตาม มีหลักฐานชัดเจนว่า ทัศนคติในการ ท�ำงานของผูห้ ญิงได้เปลีย่ นแปลงไป และเวลานี้ ผูห้ ญิงได้ทำ� งานในหน้าทีอ่ นื่ ๆ ทีห่ ลากหลาย กว่าเมื่อก่อน ผลการส�ำรวจแสดงให้เห็นว่า ในปัจจุบันมีคนเพียงจ�ำนวนเล็กน้อยที่ยัง เชื่อว่าผู้หญิงในสหราชอาณาจักรควรจะอยู่กับบ้าน และไม่ควรออกไปท�ำงานนอกบ้าน เวลานีเ้ กือบสามในสีข่ องจ�ำนวนผูห้ ญิงทีม่ บี ตุ รในวัยเรียนจะท�ำงานรับค่าจ้าง In most households, women continue to have the main responsibility for childcare and housework. There is evidence that there is now greater equality in homes and that more men are taking some responsibility for raising the family and doing housework. Despite this progress, many people believe that more needs to be done to achieve greater equality for women. There are still examples of discrimination against women, particularly in the workplace, despite the laws that exist to prevent it. Women still do not always have the same access to promotion and better-paid jobs. The average hourly pay rate for women is 20% less than for men, and after leaving university most women still earn less than men. ในครอบครัวส่วนมาก ผู้หญิงยังคงต้องเป็นผู้รับผิดชอบในการดูแลเด็กและงานบ้านเป็น 78 Life in the UK
หลัก มีหลักฐานแสดงว่า ความเสมอภาคภายในครอบครัวมีมากขึ้นกว่าเดิม และผู้ชาย มีสว่ นรับผิดชอบในการเลีย้ งดูลกู และท�ำงานบ้านมากขึน้ แต่ถงึ กระนัน้ คนส่วนใหญ่กย็ งั เชือ่ ว่า ยังมีสงิ่ ทีต่ อ้ งท�ำอีกมากเพือ่ ให้ผหู้ ญิงได้รบั ความเสมอภาคเพิม่ ขึน้ การเลือกปฏิบตั ิ ต่อสตรี โดยเฉพาะอย่างยิง่ ในทีท่ ำ� งาน ยังคงมีตวั อย่างให้เห็นอยูเ่ สมอ ทัง้ ๆ ทีม่ กี ฎหมาย คุม้ ครองในเรือ่ งนีอ้ ยูแ่ ล้วก็ตาม โอกาสทีผ่ หู้ ญิงจะได้รบั การส่งเสริมความก้าวหน้าในหน้าที่ การงาน หรือได้ทำ� งานทีม่ คี า่ ตอบแทนสูง ยังมีนอ้ ยมากเมือ่ เทียบกับผูช้ าย ผูห้ ญิงจะได้รบั ค่าจ้างคิดเป็นรายชัว่ โมงโดยเฉลีย่ น้อยกว่าของผูช้ าย 20% และเมือ่ ส�ำเร็จการศึกษาจาก มหาวิทยาลัยแล้ว ผูห้ ญิงส่วนใหญ่ยงั คงมีรายได้นอ้ ยกว่าผูช้ าย หมายเหตุ: โปรดอย่าลืมทบทวนบทเรียน (Check that you understand)
Children, family and young people
In the UK, there are almost 15 million children and young people up to the age of 19. This is almost one-quarter of the UK population.
เด็ก ครอบครัว และเยาวชน
ในสหราชอาณาจักร เด็กและเยาวชนอายุไม่เกิน 19 ปี มีจำ� นวนเกือบ 15 ล้านคน คิดเป็น สัดส่วนเกือบหนึง่ ในสีข่ องประชากรในสหราชอาณาจักร Over the last 20 years, family patterns in Britain have been transformed because of changing attitudes towards divorce and separation. Today, 65% of children live with birth parents, almost 25% live in lone-parent families, and 10% live within a stepfamily. Most children in Britain receive weekly pocket money from their parents and many get extra money for doing jobs around the house. ในช่วงเวลา 20 ปีทผี่ า่ นมา ครอบครัวในอังกฤษได้เปลีย่ นรูปโฉมไปจากเดิมโดยสิน้ เชิง ทัง้ นี้ เนือ่ งมาจากทัศนคติทมี่ ตี อ่ การหย่าร้างและการแยกทางกันของสามีภรรยา ปัจจุบนั เด็กที่ อาศัยอยูก่ บั ทัง้ พ่อและแม่ผู้ ให้กำ� เนิดมีจำ� นวน 65% เกือบ 25% อาศัยอยูก่ บั ครอบครัวที่ มีพอ่ หรือแม่เพียงคนเดียว และ 10% อาศัยอยู่ ในครอบครัวทีม่ พี อ่ เลีย้ งหรือแม่เลีย้ ง เด็ก ส่วนใหญ่ ในอังกฤษจะได้รบั เงินติดกระเป๋ารายสัปดาห์จากผูป้ กครอง และหลายคนได้รบั เงินพิเศษจากการช่วยพ่อแม่ทำ� งานบ้าน Children in the UK do not play outside the home as much as they did in the past. Part of the reason for this is increased home entertainment such as television, videos and computers. There is also increased concern for children’s Life in the UK 79
80 Life in the UK
safety and there are many stories in newspapers about child molestation by strangers, but there is no evidence that this kind of danger is increasing. เด็กๆ ในสหราชอาณาจักรจะไม่ออกมาเล่นนอกบ้านเหมือนกับที่เคยท�ำในอดีต เหตุผล ส่วนหนึง่ เป็นเพราะเด็กสามารถหาความบันเทิงจากสิง่ ต่างๆ ทีม่ อี ยูภ่ ายในบ้านได้มากขึน้ เช่น โทรทัศน์ วิดี โอ และคอมพิวเตอร์ นอกจากนี้ ความปลอดภัยของเด็กยังเป็นเรือ่ งที่ น่าเป็นห่วงยิ่งกว่าก่อน ดังจะเห็นได้จากข่าวต่างๆ บนหน้าหนังสือพิมพ์เกี่ยวกับเด็กถูก ล่วงเกินหรือลวนลามทางเพศโดยคนแปลกหน้า อย่างไรก็ตาม อันตรายแบบนี้ ไม่มหี ลักฐาน ยืนยันว่ามีเพิม่ ขึน้ Young people have different identities, interests and fashions to older people. Many young people move away from their family home when they become adults but this varies from one community to another. เยาวชนจะมีอัตลักษณ์ ความสนใจ และแฟชั่นที่แตกต่างจากของผู้ ใหญ่ เด็กหนุ่มสาว จ�ำนวนมากทีเ่ ริม่ เติบโตเป็นผู้ ใหญ่ จะย้ายออกจากครอบครัวของตนเอง แต่แนวโน้มเช่นนีจ้ ะ แตกต่างกันไปในแต่ละชุมชน
Education
The law states that children between the ages of 5 and 16 must attend school. The tests that pupils take are very important, and in England and Scotland children take national tests in English, mathematics and science when they are 7, 11 and 14 years old (In Wales, teachers assess children’s progress when they are 7 and 11 and they take a national test at the age of 14). The tests give important information about children’s progress and achievement, the subjects they are doing well in and the areas where they need extra help.
การศึกษา
กฎหมายบัญญัติไว้วา่ เยาวชนอายุตงั้ แต่ 5 ปี ถึง 16 ปี จะต้องเข้าโรงเรียน และนักเรียน จะต้องสอบข้อสอบทีม่ คี วามส�ำคัญมาก เยาวชนในอังกฤษและสก็อตแลนด์จะต้องท�ำข้อสอบ วัดความรูร้ ะดับชาติในวิชาภาษาอังกฤษ คณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ เมือ่ อายุ 7, 11 และ 14 ปี ตามล�ำดับ (ในเวลส์ ครูจะประเมินความก้าวหน้าของนักเรียน เมือ่ นักเรียนอายุ 7 ปี และ 11 ปี และนักเรียนจะท�ำข้อสอบวัดความรูร้ ะดับชาติเมือ่ อายุ 14 ปี) การทดสอบเหล่านี้ มีความส�ำคัญ เพราะท�ำให้ทราบถึงความก้าวหน้าและผลสัมฤทธิ์ ในการเรียนของเยาวชน และบอกให้รวู้ า่ เด็กเรียนเก่งในวิชาไหน และต้องการความช่วยเหลือเพิม่ เติมในวิชาใดบ้าง Life in the UK 81
Most young people take the General Certificate of Secondary Education (GCSE), or, in Scotland, Scottish Qualifications Authority (SQA) Standard Grade examinations when they are 16. At 17 and 18, many take vocational qualifications, General Certificates of Education at an Advanced level (AGCEs), AS level units or Higher/Advanced Higher Grades in Scotland. Schools and colleges will expect good GCSE or SQA Standard Grade results before allowing a student to enrol on an AGCE or Scottish Higher/ Advanced Higher course. เยาวชนส่วนใหญ่จะสอบหลักสูตรประกาศนียบัตรมัธยมศึกษา (General Certificate of Secondary Education (GCSE)) หรือ หากอยู่ ในสก็อตแลนด์ ก็จะเป็นข้อสอบมาตรฐาน ขององค์กรก�ำกับดูแลวุฒกิ ารศึกษาของสก็อตแลนด์(Scottish Qualifications Authority (SQA)) โดยจะสอบเมือ่ อายุ 16 ปี เยาวชนจ�ำนวนมากจะสอบหลักสูตรประกาศนียบัตร วิชาชีพ หรือ หลักสูตรประกาศนียบัตรระดับเตรียมอุดมศึกษา (General Certificates of Education at an Advanced level (AGCEs) (AGCEs) หรือหลักสูตร AS level หรือ หากอยู่ ในสก็อตแลนด์ ก็จะเป็นหลักสูตรการศึกษาระดับสูง (Higher/Advanced Higher Grades) เมือ่ อายุ 17 และ 18 ปี โรงเรียนและวิทยาลัยต่างๆ คาดหวังให้นกั เรียนท�ำคะแนน ได้เกรดทีด่ ี ในระดับ GCSE หรือ SQA Standard Grade ก่อนทีจ่ ะยินยอมให้ลงชือ่ เรียน ต่อในหลักสูตรเตรียมอุดมศึกษา (AGCE) หรือหลักสูตรการศึกษาระดับสูงของสก็อตแลนด์ (Scottish Higher/ Advanced Higher Grades) AS levels are Advanced Subsidiary qualifications gained by completing three AS units. Three AS units are considered as one-half of an AGCE. In the second part of the course, three more AS units can be studied to complete the AGCE qualification. AS levels เป็นหลักสูตรเตรียมอุดมศึกษาภาคแรก นักเรียนจะต้องเรียนและสอบ ผ่านวิชาในหลักสูตร AS ให้ ได้สามหน่วย ซึ่งเท่ากับว่าได้เรียนและสอบผ่านหลักสูตร ประกาศนียบัตรระดับเตรียมอุดมศึกษา (AGCE) ไปแล้วครึง่ หนึง่ หากต้องการเรียนให้ จบหลักสูตร AGCE นักเรียนจะต้องเรียนและสอบผ่านวิชา AS ในภาคทีส่ องเพิม่ เติมให้ ได้อกี สามหน่วย Many people refer to AGCEs by the old name of A levels. AGCEs are the traditional route for entry to higher education courses, but many higher education students enter with different kinds of qualifications.
82 Life in the UK
คนส่วนมากเรียกหลักสูตรประกาศนียบัตรระดับเตรียมอุดมศึกษา (AGCEs) ด้วยชือ่ เดิม ว่า A levels หลักสูตร AGCE เป็นหลักสูตรทีป่ ทู างส�ำหรับผูม้ งุ่ เข้าเรียนต่อในหลักสูตร การศึกษาระดับสูงขัน้ ต่อไป แต่กม็ นี กั เรียนหลายคนทีเ่ ข้าเรียนต่อในหลักสูตรระดับสูงได้ ด้วยวุฒกิ ารศึกษาแบบอืน่ ๆ One in three young people now go on to higher education at college or university Some young people defer their university entrance for a year and take a gap year. This year out of education often includes voluntary work and travel overseas. Some young people work to earn and save money to pay for their university fees and living expenses. หนึง่ ในสามของเยาวชนในปัจจุบนั จะเข้าเรียนต่อในวิทยาลัย หรือมหาวิทยาลัย เด็กหนุม่ สาว บางคนเลือ่ นการเข้าเรียนในมหาวิทยาลัยออกไป 1 ปี ทีเ่ รียกกันว่า ‘gap year’ และเลือก ใช้เวลาในปีทวี่ า่ งเว้นจากการศึกษานีท้ �ำงานเป็นอาสาสมัคร และเดินทางไปต่างประเทศ เด็กหนุ่มสาวบางคนท�ำงานเพื่อที่จะเก็บเงินส�ำหรับเป็นค่าใช้จ่ายในการด�ำรงชีพ และ ค่าเล่าเรียนในมหาวิทยาลัย People over 16 years of age may also choose to study at Colleges of Further Education or Adult Education Centres. There is a wide range of academic and vocational courses available as well as courses which develop leisure interests and skills. Contact your local college for details. ผูท้ มี่ อี ายุ16 ปีขนึ้ ไป ยังสามารถทีจ่ ะเลือกเข้าเรียนในวิทยาลัยการศึกษาต่อเนือ่ ง (Colleges of Further Education) หรือศูนย์การศึกษาผู้ ใหญ่ (Adult Education Centres) ซึง่ มี หลักสูตรการศึกษาสายสามัญ และหลักสูตรการศึกษาวิชาชีพให้เลือกมากมาย รวมทัง้ หลักสูตรพัฒนาฝีมือแรงงาน และหลักสูตรนันทนาการอื่นๆ ติดต่อขอรายละเอียดจาก วิทยาลัยใกล้บา้ นคุณได้
Work
It is common for young people to have a part-time job while they are still at school. It is thought there are 2 million children at work at any one time. The
Life in the UK 83
most common jobs are newspaper delivery and work in supermarkets and newsagents. Many parents believe that part-time work helps children to become more independent as well as providing them (and sometimes their families) with extra income.
การท�ำงาน
การท�ำงานนอกเวลาในช่วงที่ยังเรียนหนังสืออยู่ ถือเป็นเรื่องปกติธรรมดาส�ำหรับเด็ก หนุม่ สาวทัว่ ไป ในช่วงเวลาใดเวลาหนึง่ ประมาณว่ามีเด็กท�ำงานอยูป่ ระมาณ 2 ล้านคน ส่วนใหญ่จะเป็นงานส่งหนังสือพิมพ์ หรืองานในซูเปอร์มาร์เก็ต และร้านขายหนังสือพิมพ์ ผูป้ กครองหลายคนเชือ่ ว่าการท�ำงานนอกเวลา จะช่วยให้เด็กมีอสิ ระ สามารถพึง่ ตัวเองได้ มากขึน้ และท�ำให้เด็ก (หรือบางทีกค็ รอบครัวของเด็ก) มีรายได้เสริม There are laws about the age when children can take up paid work (usually not before 14), the type of work they can do and the number of hours they can work (see www.worksmart.org.uk for more information). กฎหมายจะก�ำหนดอายุการรับจ้างท�ำงานหาเงินของเยาวชน (ปกติจะไม่ ให้ท�ำก่อนอายุ 14 ปี) ตลอดจนประเภทของงาน และชัว่ โมงการท�ำงานทีอ่ นุญาตให้ทำ� ได้ (ดูขอ้ มูลเพิม่ เติม ได้ที่ www.worksmart.org.uk) It is very important to note that there are concerns for the safety of children who work illegally or who are not properly supervised and the employment of children is strictly controlled by law (see also pages 84 and 85). ความปลอดภัยในการท�ำงานของเด็กเป็นเรือ่ งทีน่ า่ ห่วงใย และมีความส�ำคัญมาก โดยเฉพาะ การท�ำงานทีอ่ าจขัดต่อกฎหมาย หรือที่ ไม่ ได้รบั การดูแลอย่างถูกต้อง นอกจากนัน้ กฎหมาย ยังมีขอ้ บังคับทีเ่ ข้มงวดเกีย่ วกับการจ้างงานเด็กด้วย (อ่านข้อมูลเพิม่ เติมหน้า 84 และ 85)
Health hazards
Many parents worry that their children may misuse drugs and addictive substances.
อันตรายทีม่ ตี อ่ สุขภาพ
ผู้ปกครองจ�ำนวนมากวิตกกังวลใจว่า บุตรหลานของตนอาจใช้ยาในทางที่ผิด และเสพ สารเสพติดหรือยาเสพติด 84 Life in the UK
Smoking:
Although cigarette smoking is slowly falling in the adult population, more young people are smoking, and more school girls smoke than boys. From 1 October 2007 it is illegal to sell tobacco products to anyone under 18 years old. Smoking is generally not allowed in public buildings and work places throughout the UK.
การสูบบุหรี่
ถึงแม้วา่ การสูบบุหรีจ่ ะค่อยๆ ลดลงในประชากรทีเ่ ป็นผู้ ใหญ่ แต่ปรากฏว่าเยาวชนทีส่ บู บุหรี่ กลับมีจำ� นวนเพิม่ มากขึน้ โดยเฉพาะเด็กนักเรียนหญิงจะสูบบุหรีม่ ากกว่าเด็กนักเรียนชาย ตัง้ แต่วนั ที่ 1 ตุลาคม ค.ศ. 2007 เป็นต้นไป การขายผลิตภัณฑ์ยาสูบให้แก่บคุ คลอายุตำ�่ กว่า 18 ปี ถือว่าเป็นการท�ำผิดกฎหมาย และมีการออกกฎข้อบังคับห้ามสูบบุหรี่ ในอาคาร สาธารณะ และสถานทีท่ ำ� งานทัว่ สหราชอาณาจักร
Alcohol:
Young people under the age of 18 are not allowed to buy alcohol in Britain, but there is concern about the age some young people start drinking alcohol and the amount of alcohol they drink at one time, known as ‘binge drinking’. It is illegal to be drunk in public and there are now more penalties to help control this problem, including on-the-spot fines.
เครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์
กฎหมายไม่อนุญาตให้เยาวชนในอังกฤษที่อายุตำ�่ กว่า 18 ปี ซื้อเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ อย่างไรก็ตาม ปัญหาเยาวชนทีเ่ ริม่ ดืม่ สุราตัง้ แต่อายุยงั น้อย และมีพฤติกรรมการดืม่ สุรา แบบหัวราน�ำ้ ในแต่ละครัง้ ทีเ่ รียกเป็นภาษาอังกฤษว่า ‘binge drinking’ นัน้ ยังเป็นปัญหา ที่น่าวิตกกังวล การดื่มสุราจนเมามายในที่สาธารณะเป็นการกระท�ำที่ผิดกฎหมาย และ เวลานีม้ กี ารเพิม่ บทลงโทษมากขึน้ เพือ่ ช่วยควบคุมปัญหานี้ เช่น การสัง่ ให้ผกู้ ระท�ำผิดช�ำระ ค่าปรับทันที เป็นต้น
Illegal drugs:
As in most countries, it is illegal to possess drugs such as heroin, cocaine, ecstasy, amphetamines and cannabis. Current statistics show that half of all young adults, and about a third of the population as a whole, have used illegal drugs at one time or another. Life in the UK 85
ยาเสพติดทีผ่ ดิ กฎหมาย
เช่นเดียวกับหลายประเทศ การมียาเสพติด เช่น เฮโรอีน โคเคน ยาอี ยาบ้า และกัญชาไว้ ในความครอบครอง เป็นสิง่ ทีผ่ ดิ กฎหมาย จากสถิตติ วั เลขในปัจจุบนั บอกให้รวู้ า่ ครึง่ หนึง่ ของจ�ำนวนเด็กหนุ่มสาวทั้งหมด และประมาณหนึ่งในสามของประชากรทั้งหมด มีการ ใช้ยาเสพติดทีผ่ ดิ กฎหมายอย่างน้อยหนึง่ ครัง้ หรือมากกว่า There is a strong link between the use of hard drugs (e.g. crack cocaine and heroin) and crime, and also hard drugs and mental illness. The misuse of drugs has a huge social and financial cost for the country. This is a serious issue and British society needs to find an effective way of dealing with the problem. การใช้ยาเสพติดที่ร้ายแรง (เช่น โคเคน และเฮโรอีน) มีความเกี่ยวข้องกับการก่อ อาชญากรรม และการเจ็บป่วยเป็นโรคจิตอย่างเห็นได้ชดั การใช้ยาเสพติดก่อให้เกิดการ สูญเสียทางเศรษฐกิจและสังคมอย่างมหาศาล ยาเสพติดเป็นปัญหาทีร่ า้ ยแรง และสังคม อังกฤษจ�ำเป็นต้องแสวงหาวิธกี ารทีม่ ปี ระสิทธิภาพเพือ่ แก้ ไขปัญหานี้ หมายเหตุ: โปรดอย่าลืมทบทวนบทเรียน (Check that you understand)
Young people’s political and social attitudes
Young people in Britain can vote in elections from the age of 18. In the 2001 general election, however, only 1 in 5 first-time voters used their vote. There has been a great debate over the reasons for this. Some researchers think that one reason is that young people are not interested in the political process.
ทัศนคติของเยาวชนทีม่ ตี อ่ การเมืองและสังคม
เด็กหนุม่ สาวอายุ 18 ปีขนึ้ ไปในอังกฤษ มีสทิ ธิอ์ อกเสียงเลือกตัง้ ได้ อย่างไรก็ตาม ในการ เลือกตัง้ ทัว่ ไป ปี ค.ศ. 2001 เพียง 1 ใน 5 ของผูม้ สี ทิ ธิเลือกตัง้ ครัง้ แรกเท่านัน้ ที่ ไปใช้สทิ ธิ ลงคะแนนเสียง เรื่องนี้เป็นที่ถกเถียงเพื่อหาเหตุผลกันอย่างกว้างขวาง นักวิจัยบางคน คิดว่า สาเหตุหนึง่ เป็นเพราะคนหนุม่ สาวขาดความสนใจในกระบวนการเมือง Although most young people show little interest in party politics, there is strong evidence that many are interested in specific political issues such as the environment and cruelty to animals.
86 Life in the UK
ถึงแม้ว่าเยาวชนส่วนใหญ่จะไม่ค่อยสนใจในนโยบายของพรรคการเมือง แต่ก็มีหลักฐาน ชัดเจนว่า หลายคนให้ความสนใจในประเด็นบางอย่างทีเ่ กีย่ วกับการเมือง เช่น ปัญหาสภาพ แวดล้อม และการทารุณกรรมสัตว์ เป็นต้น In 2003 a survey of young people in England and Wales showed that they believe the five most important issues in Britain were crime, drugs, war / terrorism, racism and health. The same survey asked young people about their participation in political and community events. They found that 86% of young people had taken part in some form of community event over the past year, and 50% had taken part in fund-raising or collecting money for charity. Similar results have been found in surveys in Scotland and Northern Ireland. Many children first get involved in these activities while at school where they study Citizenship as part of the National Curriculum. ผลการส�ำรวจเยาวชนในอังกฤษและเวลส์ ในปี ค.ศ. 2003 บอกให้ทราบถึงความคิดเห็นของ เยาวชนทีเ่ ชือ่ ว่า ปัญหาใหญ่ทสี่ ำ� คัญทีส่ ดุ ในอังกฤษมีอยู่ 5 ประการ คือ ปัญหาอาชญากรรม ปัญหายาเสพติด สงคราม/การก่อการร้าย การเหยียดผิว และปัญหาเกีย่ วกับสุขภาพ ใน การส�ำรวจเดียวกันนี้ ได้มกี ารสอบถามเยาวชนในเรือ่ งการมีสว่ นร่วมในกิจกรรมการเมือง และชุมชน ผลการส�ำรวจพบว่า เยาวชน 86% ได้เข้าร่วมกิจกรรมชุมชนอย่างใดอย่างหนึง่ ในช่วงปีทผี่ า่ นมา และ 50% ได้เข้าร่วมในการระดมทุนหรือหารายได้เพือ่ การกุศล ผลการ ส�ำรวจนีม้ คี วามคล้ายคลึงกับผลที่ ได้รบั จากการส�ำรวจในสก็อตแลนด์และไอร์แลนด์เหนือ เด็กจ�ำนวนมากเข้าร่วมกิจกรรมเหล่านี้เป็นครั้งแรกที่ โรงเรียน ซึ่งมีการสอนวิชาหน้าที่ พลเมืองเป็นส่วนหนึง่ ของหลักสูตรแห่งชาติ หมายเหตุ: โปรดอย่าลืมทบทวนบทเรียน (Check that you understand)
©Edu-Plus CIC of Dr. Khanungnit Garnett -Duang-dhamma Building, 49 Castle Street, Banbury OXON OX16 5NU
Life in the UK 87
Chapter 3:
UK Today สหราชอาณาจักรยุคปัจจุบัน
UK Today
ในบทที่ 3 นี้ เราจะมาเรียนรูก้ นั ถึงเรือ่ งประชากรในสหราชอาณาจักร การสำ�รวจสำ�มะโน ประชากร ความหลากหลายด้านเชือ้ ชาติของประชากร และภูมภิ าคเขตต่างๆ ของอังกฤษ ตลอดจนศาสนา เสรีภาพในการนับถือศาสนา และขนบธรรมเนียม และจารีตประเพณี ต่างๆ ในอังกฤษ
Population
In 2005 the population of the United Kingdom was just under 60 million people
UK population 2005 England (84% of the population) Scotland (8% of the population) Wales (5% of the population) N Ireland (3% of the population) Total UK
50.1 million 5.1 million 2.9 million 1.7 million 59.8 million
Source: National Statistics
ประชากร
จำ�นวนประชากรของสหราชอาณาจักรในปี ค.ศ. 2005 มีเกือบ 60 ล้านคน
ประชากรในสหราชอาณาจักร ปี ค.ศ. 2005 อังกฤษ (84% ของจำ�นวนประชากร) สก็อตแลนด์ (8% ของจำ�นวนประชากร) เวลส์ (5% ของจำ�นวนประชากร) ไอร์แลนด์เหนือ (3% ของจำ�นวนประชากร) ประชากรทั้งหมดในสหราชอาณาจักร
50.1 ล้านคน 5.1 ล้านคน 2.9 ล้านคน 1.7 ล้านคน 59.8 ล้านคน
แหล่งข้อมูล: สำ�นักงานสถิตแิ ห่งชาติ
Life in the UK 91
The population has grown by 7.7% since 1971, and growth has been faster in more recent years. Although the general population in the UK has increased in the last 20 years, in some areas such as the North-East and North-West of England there has been a decline. ตัง้ แต่ปี ค.ศ. 1971 อัตราการเติบโตของประชากรได้สงู ขึน้ 7.7% และในปีผา่ นๆ มา ความ เติบโตของประชากรได้เพิม่ เร็วมากยิง่ ขึน้ อย่างไรก็ตาม แม้วา่ ประชากรในสหราชอาณาจักร จะเพิม่ ขึน้ ในช่วงเวลา 20 ปีทผี่ า่ นมา แต่ ในบางพืน้ ที่ เช่น ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และ ภาคตะวันตกเฉียงเหนือของอังกฤษ จ�ำนวนประชากรกลับลดลง Both the birth rate and the death rate are falling and as a result the UK now has an ageing population. For instance, there are more people over 60 than children under 16. There is also a record number of people aged 85 and over. อัตราการเกิดและการตายทีล่ ดลง ส่งผลให้สหราชอาณาจักรในปัจจุบนั มีประชากรจ�ำนวน มากทีเ่ ป็นผูส้ งู อายุ ดังจะเห็นได้จากจ�ำนวนผูท้ มี่ อี ายุ 60 ปีขนึ้ ไป ซึง่ มีมากกว่าเด็กอายุตำ�่ กว่า 16 ปี นอกจากนัน้ ผูท้ มี่ อี ายุ 85 ปีขนึ้ ไปยังมีเป็นจ�ำนวนมากด้วย
The census
A census is a count of the whole population. It also collects statistics on topics such as age, place of birth, occupation, ethnicity, housing, health, and marital status.
ส�ำมะโนประชากร
ส�ำมะโนประชากร คือ การส�ำรวจนับจ�ำนวนประชากร และเก็บรวบรวมข้อมูลตัวเลขในด้าน ต่างๆ เช่น อายุ สถานทีเ่ กิด อาชีพ เชือ้ ชาติ ทีอ่ ยูอ่ าศัย สุขภาพ และสถานะการสมรส ของพลเมืองทัง้ หมดภายในประเทศ A census has been taken every ten years since 1801, except during the Second World War. The next census will take place in 2011. การส�ำรวจส�ำมะโนประชากรจะท�ำทุกๆ สิบปี และเริม่ มีการส�ำรวจตัง้ แต่ปี ค.ศ.1801 ยกเว้น ในช่วงสงครามโลกครัง้ ทีส่ อง การส�ำรวจครัง้ ต่อไปจะมีขนึ้ ในปี ค.ศ.2011 (ปัจจุบนั : ครัง้ ต่อไปจะเป็น ค.ศ. 2021)
92 Life in the UK
During a census, a form is delivered to every household in the country. This form asks for detailed information about each member of the household and must be completed by law. The information remains confidential and anonymous; it can only be released to the public after 100 years, when many people researching their family history find it very useful. General census information is used to identify population trends and to help planning. More information about the census, the census form and statistics from previous censuses can be found at www.statistics.gov.uk/census ในช่วงการส�ำมะโนประชากร ทางการจะส่งแบบส�ำรวจไปยังทุกครัวเรือนภายในประเทศ เพื่อขอทราบข้อมูลรายละเอียดของสมาชิกในแต่ละบ้าน กฎหมายก�ำหนดให้ทุกคนตอบ แบบส�ำรวจนี้ และข้อมูลต่างๆ จะเก็บไว้เป็นความลับและไม่เปิดเผยชือ่ ผูต้ อบ การเปิดเผย ข้อมูลให้แก่บคุ คลทัว่ ไปสามารถท�ำได้หลังจากเวลาผ่านไปแล้ว 100 ปีเท่านัน้ ข้อมูลจาก การส�ำรวจประชากรมีประโยชน์อย่างยิง่ ส�ำหรับผูท้ ตี่ อ้ งการค้นคว้าประวัตขิ องครอบครัว ส�ำหรับข้อมูลทัว่ ไปที่ ได้จากการส�ำรวจส�ำมะโนประชากรจะน�ำมาใช้เพือ่ ระบุแนวโน้มจ�ำนวน ประชากร และเพือ่ ช่วยในการวางแผนงาน ผูท้ สี่ นใจสามารถหาดูขอ้ มูลเพิม่ เติมเกีย่ วกับ ส�ำมะโนประชากร และตัวเลขสถิตจิ ากการส�ำรวจครัง้ ก่อนๆ ได้ที่ www.statistics.gov.uk
Ethnic diversity
The UK population is ethnically diverse and is changing rapidly, especially in large cities such as London, so it is not always easy to get an exact picture of the ethnic origin of all the population from census statistics. Each of the four countries of the UK (England, Wales, Scotland and Northern Ireland) has different customs, attitudes and histories
ความหลากหลายทางเชือ้ ชาติ
ประชากรของสหราชอาณาจักรประกอบด้วยชนหลายเชื้อชาติ และมีการเปลี่ยนแปลง อย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะอย่างยิง่ ในเมืองใหญ่ อย่างเช่น กรุงลอนดอน ดังนัน้ จึงเป็นการ ยากที่จะระบุตัวเลขทางสถิติที่แน่นอนเกี่ยวกับเชื้อชาติของประชากรทั้งหมดจากการ ส�ำมะโนประชากร ในแคว้นทัง้ สีข่ องสหราชอาณาจักร (อังกฤษ เวลส์ สก็อตแลนด์และ ไอร์แลนด์เหนือ) จะมีวฒ ั นธรรม ทัศนคติ และประวัตศิ าสตร์ทแี่ ตกต่างกัน
Life in the UK 93
People of Indian, Pakistani, Chinese, Black Caribbean, Black African, Bangladeshi and mixed ethnic descent make up 8.3% of the UK population. Today about half the members of these communities were born in the United Kingdom. ประชากรที่เป็นชาวอินเดีย ปากีสถาน คนจีน คนผิวด�ำคาริบเบียน คนผิวด�ำแอฟริกัน บังคลาเทศ และกลุม่ เชือ้ สายผสม รวมกันแล้วคิดเป็นสัดส่วน 8.3% ของประชากรทัง้ หมด ในสหราชอาณาจักร ในปัจจุบนั ประมาณครึง่ หนึง่ ของประชากรในชุมชนเหล่านี้ เป็นผูท้ เี่ กิด ในสหราชอาณาจักร There are also considerable numbers of people resident in the UK who are of Irish, Italian, Greek and Turkish Cypriot, Polish, Australian, Canadian, New Zealand and American descent. Large numbers have also arrived since 2004 from the new East European member states of the European Union. These groups are not identified separately in the census statistics in the following table นอกจากนี้ ผูท้ อี่ าศัยอยู่ ในสหราชอาณาจักรทีเ่ ป็นคนเชือ้ สายชาวไอริช อิตาลี กรีกและ ไซปรัส ตุรกี โปแลนด์ ออสเตรเลีย แคนาดา นิวซีแลนด์ และอเมริกนั ยังมีเป็นจ�ำนวน มาก และตัง้ แต่ปี ค.ศ. 2004 เป็นต้นมา ได้มคี นกลุม่ ใหญ่จากประเทศยุโรปตะวันออกที่ เป็นสมาชิกใหม่ของสหภาพยุโรป เดินทางเข้ามาในสหราชอาณาจักรอย่างต่อเนือ่ ง อย่างไร ก็ตาม ในตารางสถิตสิ �ำมะโนประชากรต่อไปนี้ ไม่ ได้ระบุกลุม่ คนทีม่ าจากยุโรปตะวันออก ไว้ตา่ งหาก
94 Life in the UK
UK population 2001 Million
UK population %
White (including people of European, Australian, American descent)
54.2
92
Mixed
0.7
1.2
Indian
1.1
1.8
Pakistani
0.7
1.3
Bangladeshi
0.3
0.5
Other Asian
0.2
0.4
Black Caribbean
0.6
1.0
Black African
0.5
0.8
Black other
0.1
0.2
Chinese
0.2
0.4
Other
0.2
0.4
Asian or Asian British
Black or Black British
Source: National Statistics from the 2001 census
Life in the UK 95
ประชากรในสหราชอาณาจักรปี ค.ศ. 2001 ล้านคน
จำ�นวนประชากร%
ผิวขาว (นับรวมผูท้ ม่ี เี ชือ้ สายยุโรป ออสเตรเลีย อเมริกนั )
54.2
92
เลือดผสม
0.7
1.2
อินเดีย
1.1
1.8
ปากีสถาน
0.7
1.3
บังคลาเทศ
0.3
0.5
ชาวเอเชียอืน่ ๆ
0.2
0.4
ผิวดำ�คาริบเบียน
0.6
1.0
ผิวดำ�แอฟริกนั
0.5
0.8
ผิวดำ�อืน่ ๆ
0.1
0.2
จีน
0.2
0.4
อืน่ ๆ
0.2
0.4
เอเซีย หรือคนเอเซียทีถ่ อื สัญชาติองั กฤษ
ผิวดำ� หรือคนผิวดำ�ทีถ่ อื สัญชาติองั กฤษ
แหล่งข้อมูล: สำ�นักงานสถิตแิ ห่งชาติ ตัวเลขจากสำ�มะโนประชากรปี ค.ศ. 2001
96 Life in the UK
Where do the largest ethnic minority groups live?
The figures from the 2001 census show that most members of the large ethnic minority groups in the UK live in England, where they make up 9% of the total population. 45% of all ethnic minority people live in the London area, where they form nearly one-third of the population (29%). Other areas of England with large ethnic minority populations are the West Midlands, the South East, the North West, and Yorkshire and Humberside.
Proportion of ethnic minority groups in the countries of the UK England Scotland
9% 2%
Wales Northern Ireland
2% less than 1%
แหล่งทีช่ นกลุม่ น้อยรวมตัวกันอาศัยอยูม่ ากทีส่ ดุ ตัวเลขจากสถิตกิ ารสำ�รวจสำ�มะโนประชากรปี ค.ศ. 2001 แสดงว่าชนกลุม่ น้อยส่วนใหญ่ ในสหราชอาณาจักรตัง้ หลักแหล่งอาศัยอยู่ ในแคว้นอังกฤษมากทีส่ ดุ คิดเป็นสัดส่วน 9% ของจำ�นวนประชากรทัว่ ประเทศ โดยที่ 45% ของชนกลุม่ น้อยทัง้ หมดนี้ อาศัยอยู่ ในกรุง ลอนดอน ซึง่ คิดแล้วเป็นจำ�นวนเกือบหนึง่ ในสาม (29%) ของประชากรในลอนดอน ในพืน้ ที่ อืน่ ๆ ของอังกฤษทีม่ ชี นกลุม่ น้อยอาศัยอยูค่ อ่ นข้างมาก ได้แก่ ภาคกลางฝัง่ ตะวันตก (West Midlands) ภาคตะวันออกเฉียงใต้ (South East) ภาคตะวันตกเฉียงเหนือ (North West) และ ยอร์คเชียร์ (Yorkshire) และฮัมเบอร์ไซด์ (Humberside)
สัดส่วนของชนกลุม่ น้อยในแคว้นต่างๆ ของสหราชอาณาจักร อังกฤษ สก็อตแลนด์
9% 2%
เวลส์ ไอร์แลนด์เหนือ
2% less than 1%
Life in the UK 97
The nations and regions of the UK
The UK is a medium-sized country. The longest distance on the mainland, from John O’Groats on the north coast of Scotland to Land’s End in the south-west corner of England, is about 870 miles (approximately 1,400 kilometres). Most of the population live in towns and cities.
เขตแคว้นและภูมภิ าคส่วนต่างๆ ของสหราชอาณาจักร
สหราชอาณาจักรเป็นประเทศใหญ่ปานกลาง ระยะทางไกลทีส่ ดุ บนผืนแผ่นดินใหญ่วดั จาก จอห์น โอโกรทส์ ทีต่ ง้ั อยูบ่ นชายฝัง่ ทางตอนเหนือของสก็อตแลนด์ ไปจนถึง แลนด์สเอนด์ ตรงมุมตะวันตกเฉียงใต้ของอังกฤษ มีความยาวโดยประมาณ 870 ไมล์ (ประมาณ 1,400 กิโลเมตร) ประชากรส่วนใหญ่อาศัยอยู่ ในเมืองเล็กและเมืองใหญ่ทว่ั ไป There are many variations in culture and language in the different parts of the United Kingdom. This is seen in differences in architecture, in some local customs, in types of food, and especially in language. The English language has many accents and dialects. These are a clear indication of regional differences in the UK. Well-known dialects in England are Geordie (Tyneside), Scouse (Liverpool) and Cockney (London). Many other languages in addition to English are spoken in the UK, especially in multicultural cities. สหราชอาณาจักรเป็นประเทศทีม่ คี วามหลากหลายทางวัฒนธรรมและภาษาในแต่ละภาค ซึง่ จะเห็นได้จากความแตกต่างในด้านสถาปัตยกรรม ประเพณีทอ้ งถิน่ อาหารประเภทต่างๆ และโดยเฉพาะในด้านภาษา ภาษาอังกฤษมีหลายสำ�เนียงและออกเสียงต่างกันตามท้องถิน่ สิง่ เหล่านีจ้ �ำ แนกความแตกต่างระหว่างภูมภิ าคต่างๆ ในสหราชอาณาจักร ภาษาท้องถิน่ ที่ รูจ้ กั กันดี ในอังกฤษ ได้แก่ จอร์ด้ี (สำ�เนียงชาวไทนส์ไซด์) สเกาส์ (สำ�เนียงชาวลิเวอร์พลู ) และค็อคนีย์ (สำ�เนียงชาวลอนดอน) นอกจากนี้ ยังมีภาษาอืน่ ๆ นอกเหนือจากภาษาอังกฤษ ที่ ใช้พดู กันในสหราชอาณาจักร โดยเฉพาะอย่างยิง่ ในเมืองใหญ่ทม่ี วี ฒ ั นธรรมหลากหลาย In Wales, Scotland and Northern Ireland, people speak different varieties and dialects of English. In Wales, too, an increasing number of people speak Welsh, which is taught in schools and universities. In Scotland Gaelic is spoken in some parts of the Highlands and Islands and in Northern Ireland a few people speak Irish Gaelic. Some of the dialects of English spoken in Scotland show the influence of the old Scottish language, Scots. One of the dialects spoken in Northern Ireland is called Ulster Scots. 98 Life in the UK
ประชาชนในเวลส์ สก็อตแลนด์ และไอร์แลนด์เหนือ มีส�ำ เนียงการพูดภาษาอังกฤษ ตลอด จนภาษาท้องถิน่ ทีแ่ ตกต่างกัน ในเวลส์มจี ำ�นวนคนทีพ่ ดู ภาษาเวลส์เพิม่ มากขึน้ และมีการ ใช้ภาษาเวลส์ ในการเรียนการสอนตามโรงเรียนและในมหาวิทยาลัยต่างๆ ผูค้ นในพืน้ ทีบ่ าง ส่วนของทีร่ าบสูงไฮแลนด์ และหมูเ่ กาะของสก็อตแลนด์พดู ภาษาเกลิค และมีคนบางกลุม่ ใน ไอร์แลนด์เหนือพูดภาษาไอริชเกลิค ภาษาอังกฤษทีพ่ ดู กันในสก็อตแลนด์มสี �ำ เนียงและการ ใช้ค�ำ ที่ ได้รบั อิทธิพลมาจาก สก็อต ซึง่ เป็นภาษาสก็อตดัง้ เดิม ในบรรดาภาษาท้องถิน่ ทีพ่ ดู กันในไอร์แลนด์เหนือ มีภาษา อัลสเตอร์สก็อต รวมอยูด่ ว้ ย หมายเหตุ: โปรดอย่าลืมทบทวนบทเรียน (Check that you understand)
Religion
Although the UK is historically a Christian society, everyone has the legal right to practise the religion of their choice. In the 2001 census, just over 75% said they had a religion: 7 out of 10 of these were Christians. There were also a considerable number of people who followed other religions. Although many people in the UK said they held religious beliefs, currently only around 10% of the population attend religious services. More people attend services in Scotland and Northern Ireland than in England and Wales. In London the number of people who attend religious services is increasing.
ศาสนา
สหราชอาณาจักรเป็นสังคมชาวคริสเตียนมาแต่ครั้งโบราณกาล แต่กฎหมายอนุญาตให้ ทุกคนมีสทิ ธิทจ่ี ะเลือกนับถือศาสนาใดก็ ได้ ผลสำ�รวจสำ�มะโนประชากรปี ค.ศ. 2001 บอก ให้ทราบว่า ประชาชนทีน่ บั ถือศาสนามีมากกว่า 75% เล็กน้อย และ 7 ใน 10 ของคน จำ�นวนนีเ้ ป็นชาวคริสเตียน และยังมีผทู้ น่ี บั ถือศาสนาอืน่ ๆ อีกมาก แม้วา่ คนส่วนใหญ่ ใน สหราชอาณาจักรจะระบุว่าตนเองมีความเชื่อทางศาสนา แต่ปัจจุบันประชากรประมาณ 10% เท่านั้นที่เข้าร่วมกิจกรรมทางศาสนา ประชาชนในสก็อตแลนด์และไอร์แลนด์เหนือ เข้าร่วมพิธีทางศาสนาในจำ�นวนที่สูงกว่า เมื่อเทียบกับในอังกฤษและเวลส์ และจำ�นวน ผูเ้ ข้าร่วมการปฏิบตั ศิ าสนกิจในลอนดอนได้เพิม่ สูงขึน้
Life in the UK 99
Religions in the UK
%
Christian (10% of whom are Roman Catholic)
71.6
Muslim
2.7
Hindu
1.0
Sikh
0.6
Jewish
0.5
Buddhist
0.3
Other
0.3
Total All
77
No religion
7.3
Source National Statistics from the 2001 census ผูน้ บั ถือศาสนาในสหราชอาณาจักร
%
คริสเตียน (10% เป็นโรมันคาทอลิก)
71.6
มุสลิม
2.7
ฮินดู
1.0
ซิกข์
0.6
ยิว
0.5
พุทธ
0.3
อืน่ ๆ
0.3
รวมทัง้ หมด
77
ไม่นบั ถือศาสนา
7.3
แหล่งข้อมูล: สำ�นักงานสถิตแิ ห่งชาติ ตัวเลขจากสำ�มะโนประชากรปี ค.ศ. 2001
100 Life in the UK
The Christian Churches
In England there is a constitutional link between church and state. The official church of the state is the Church of England. The Church of England is called the Anglican Church in other countries and the Episcopal Church in Scotland and in the USA. The Church of England is a Protestant church and has existed since the Reformation in the 1530s (See Chapter 1 for explanation). The king or queen (the monarch) is the head, or Supreme Governor, of the Church of England. The monarch is not allowed to marry anyone who is not Protestant. The spiritual leader of the Church of England is the Archbishop of Canterbury. The monarch has the right to select the Archbishop and other senior church officials, but usually the choice is made by the Prime Minister and a committee appointed by the Church. Several Church of England bishops sit in the House of Lords (see chapter 4). The Church of Scotland is Presbyterian, national and free from state control. It has no bishops and is governed for spiritual purposes by a series of courts, so its most senior representative is the Moderator (chairperson) of its annual General Assembly. There is no established church in Wales or in Northern Ireland. Other Protestant Christian groups in the UK are Baptists, Presbyterians, Methodists and Quakers. 10% of Christians are Roman Catholic (40% in Northern Ireland).
คริสตจักรของอังกฤษ
ประเทศอังกฤษมีรฐั ธรรมนูญเชือ่ มโยงระหว่างศาสนจักรกับอาณาจักร คริสต์ศาสนาประจำ� ชาติองั กฤษ คือ ศาสนจักรนิกายอังกฤษ (Church of England) ซึง่ ในประเทศอืน่ ๆ เรียก ว่า ศาสนจักรนิกายแองกลิคนั (Anglican Church) และในสก็อตแลนด์และสหรัฐอเมริกา เรียกว่า ศาสนจักรนิกายอีพสิ โคพอล (Episcopal Church) คริสตจักรของอังกฤษเป็น นิกายโปรเตสแตนท์ และมีมาตัง้ แต่การปฏิรปู ทีเ่ ริม่ ขึน้ ในปี ค.ศ. 1530 (ดูค�ำ อธิบายในบท ที่ 1) พระมหากษัตริย์ หรือสมเด็จพระบรมราชินนี าถทรงเป็นประมุข หรือผูป้ กครองสูงสุด ของศาสนจักรนิกายอังกฤษ กษัตริย์หรือพระราชินี ไม่สามารถที่จะสมรสกับชาวคริสต์ท่ี ไม่ ใช่ โปรเตสแตนท์ได้ ผูน้ �ำ ทางศาสนาของศาสนจักรนิกายอังกฤษ คือ อัครสังฆราชแห่ง แคนเทอร์เบอรี่ (Archbishop of Canterbury) พระมหากษัตริย์ หรือสมเด็จพระบรม ราชินีนาถ มีสิทธิ์ท่จี ะเลือกและแต่งตั้งอัครสังฆราชและสังฆราชชั้นอาวุโสอื่นๆ แต่ปกติ แล้ว นายกรัฐมนตรีและคณะกรรมการที่ ได้รบั การแต่งตัง้ จากคริสตจักรจะเป็นผูเ้ ลือก ใน สภาขุนนางจะมีนกั บวชสมณศักดิร์ ะดับสูงของศาสนจักรอังกฤษนัง่ อยูเ่ ป็นจำ�นวนมาก (ดูบท Life in the UK 101
ที่ 4) คริสตจักรของสก็อตแลนด์ คือ นิกายเพรสไบเทอเรียนแห่งชาติ ซึง่ ไม่ ได้อยูภ่ ายใต้ การควบคุมของรัฐ ศาสนจักรนิกายเพรสไบเทอเรียนไม่มบี าทหลวง แต่มคี ณะกรรมการ บริหารชุดต่างๆ ทำ�หน้าทีก่ �ำ กับดูแลในด้านจิตวิญญาณ โดยมีผแู้ ทนอาวุโสสูงสุดเป็นผูน้ �ำ (Moderator) (หรือ ประธาน) การประชุมใหญ่ประจำ�ปีของเพรสไบเทอเรียน สำ�หรับเวลส์ หรือไอร์แลนด์เหนือนัน้ ไม่มคี ริสตจักรประจำ�แคว้นของตน ชาวคริสต์ โปรเตสแตนท์กลุม่ อืน่ ๆ ในสหราชอาณาจักร ได้แก่ กลุม่ แบบติสท์ เพรสไบเทอเรียน เมโธดิสท์และเควกเกอร์ ชาวคริสต์นกิ ายโรมันคาทอลิกมีอยู่ 10% ของจำ�นวนชาวคริสต์ ทัง้ หมด (40% ในไอร์แลนด์เหนือ)
Patron saints
England, Scotland, Wales and Northern Ireland each have a national saint called a patron saint. Each saint has a feast day. In the past these were celebrated as holy days when many people had a day off work. Today these are not public holidays except for 17 March in Northern Ireland.
นักบุญในศาสนาคริสต์
อังกฤษ สก็อตแลนด์ เวลส์และไอร์แลนด์เหนือ ต่างก็มนี กั บุญประจำ�ชาติ หรือนักบุญองค์ อุปถัมภ์ของชาติตน และจะมีวนั เฉลิมฉลองนักบุญแต่ละองค์ ในอดีตวันเฉลิมฉลองเหล่านี้ เป็นวันสำ�คัญทางศาสนา และประชาชนส่วนใหญ่จะหยุดงาน ปัจจุบนั นีว้ นั เฉลิมฉลองนักบุญ ไม่ ใช่วนั หยุดราชการ ยกเว้นวันที่ 17 มีนาคม ในไอร์แลนด์เหนือ
Patron saints’ days St St St St
David’s day, Wales Patrick’s day, Northern Ireland George’s day, England Andrew’s day, Scotland
1 March 17 March 23 April 30 November
There are four ‘Bank Holidays’ and four other public holidays a year (most people call all these holidays Bank Holidays) 102 Life in the UK
วันเฉลิมฉลองนักบุญองค์อปุ ถัมภ์ วันเฉลิมฉลองนักบุญเดวิด เวลส์ วันเฉลิมฉลองนักบุญแพทริค ไอร์แลนด์เหนือ วันเฉลิมฉลองนักบุญยอร์จ อังกฤษ วันเฉลิมฉลองนักบุญแอนดรูวส์ สก็อตแลนด์
1 มีนาคม 17 มีนาคม 23 เมษายน 30 พฤศจิกายน
ในแต่ละปีจะมีวนั หยุดธนาคาร 4 วัน และวันหยุดราชการอืน่ อีก 4 วัน (คนส่วนใหญ่เรียก วันหยุดเหล่านีว้ า่ วันหยุดธนาคาร) หมายเหตุ: โปรดอย่าลืมทบทวนบทเรียน (Check that you understand)
Customs and traditions Festivals
Throughout the year there are festivals of art, music and culture, such as the Notting Hill Carnival in west London and the Edinburgh Festival. Customs and traditions from various religions, such as Eid ul-Fitr (Muslim), Diwali (Hindu) and Hanukkah (Jewish) are widely recognised in the UK. Children learn about these at school. The main Christian festivals are Christmas and Easter. There are also celebrations of non-religious traditions such as New Year.
ขนบธรรมเนียมประเพณี เทศกาลต่างๆ
ตลอดช่วงเวลาในแต่ละปีจะมีงานเทศกาลศิลปะ ดนตรี และวัฒนธรรมต่างๆ มากมาย เช่น งานเทศกาลนอตติง้ ฮิลล์ ในเขตตะวันตกของลอนดอน และงานเทศกาลเอดินเบอระ นอกจากนัน้ การเฉลิมฉลองตามขนบธรรมเนียมประเพณีของศาสนาต่างๆ เช่น อิดลิ ฟิตรี (วันเฉลิมฉลองการออกศีลอดของชาวมุสลิม) เทศกาลดิวาลี (ปี ใหม่ของชาวฮินดู) และ ฮานุกกาห์ (เทศกาลส่งท้ายปลายปีของชาวยิว) ยังเป็นที่ร้จู ักอย่างกว้างขวางในสหราช อาณาจักรด้วย เด็กๆ ได้เรียนรูถ้ งึ ขนบธรรมเนียมประเพณีเหล่านีท้ ่ี โรงเรียน เทศกาลที่ สำ�คัญๆ ของชาวคริสต์ คือคริสต์มาสและอีสเตอร์ นอกจากนี้ ยังมีการเฉลิมฉลองอืน่ ๆ ที่ ไม่เกีย่ วกับศาสนา เช่น เทศกาลปี ใหม่ เป็นต้น Life in the UK 103
The main Christian festivals Christmas Day
25 December, celebrates the birth of Jesus Christ. It is a public holiday. Many Christians go to church on Christmas Eve (24 December) or on Christmas Day itself. Christmas is also usually celebrated by people who are not Christian. People usually spend the day at home and eat a special meal, which often includes turkey. They give each other gifts, send each other cards and decorate their houses. Many people decorate a tree. Christmas is a special time for children. Very young children believe that an old man, Father Christmas (or Santa Claus), brings them presents during the night. He is always shown in pictures with a long white beard, dressed in red. Boxing Day, 26 December, is the day after Christmas. It is a public holiday.
เทศกาลทีส่ ำ�คัญของชาวคริสต์ วันคริสมาสต์
วันที่ 25 ธันวาคม เป็นวันเฉลิมฉลองวันประสูตขิ องพระเยซูคริสต์ และเป็นวันหยุดราชการ ชาวคริสต์สว่ นใหญ่จะไปโบสถ์ ในวันก่อนวันคริสต์มาส (24 ธันวาคม) หรือในวันคริสต์มาส คริสมาสต์เป็นเทศกาลทีม่ กี ารเฉลิมฉลองโดยทัว่ ไปไม่ ใช่เฉพาะชาวคริสต์ ผูค้ นมักจะใช้เวลา กับครอบครัวและรับประทานอาหารมือ้ พิเศษทีส่ ว่ นใหญ่จะเป็นไก่งวง นอกจากนี้ ยังมีการ แลกเปลีย่ นของขวัญ ส่งบัตรอวยพรให้กนั และกัน และตกแต่งบ้าน หลายคนนำ�ต้นไม้มา ตกแต่งเป็นต้นคริสต์มาส คริสต์มาสเป็นช่วงเวลาทีพ่ เิ ศษสำ�หรับเด็ก เด็กๆ เชือ่ ว่าผูเ้ ฒ่าที่ เป็นบิดาแห่งคริสมาสต์ (หรือซานตาคลอส) จะนำ�ของขวัญมาให้ ในช่วงเวลากลางคืน เรา จะเห็นภาพของซานตาคลอสทีม่ เี ครายาวสีขาวและสวมเสือ้ ผ้าสีแดง วันหลังวันคริสต์มาส คือ วันที่ 26 ธันวาคม เรียกว่า วันบ็อกซิง่ เป็นวันหยุดราชการ
Other festivals and traditions New Year
1 January, is a public holiday. People usually celebrate on the night of 31 December. In Scotland, 31 December is called Hogmanay and 2 January is also a public holiday. In Scotland Hogmanay is a bigger holiday for some people than Christmas.
104 Life in the UK
เทศกาลและงานประเพณีอน่ื ๆ เทศกาลปี ใหม่
วันที่ 1 มกราคม เป็นวันหยุดราชการ ประชาชนส่วนใหญ่จะเฉลิมฉลองกันในคืนวันที่ 31 ธันวาคม สำ�หรับในสก็อตแลนด์ วันที่ 31 ธันวาคม เรียกว่า ฮอกมาเนย์ หรือวันส่งท้ายปีเก่า และวันที่ 2 มกราคม เป็นวันหยุดราชการด้วยเช่นกัน คนบางกลุม่ ในสก็อตแลนด์ ให้ความ สำ�คัญกับวันหยุดฮอกมาเนย์มากกว่าวันคริสต์มาส
Valentine’s Day
14 February, is when lovers exchange cards and gifts. Sometimes people send anonymous cards to someone they secretly admire.
วันวาเลนไทน์
วันที่ 14 กุมภาพันธ์ เป็นวันทีค่ รู่ กั แลกเปลีย่ นบัตรอวยพรและของขวัญ บางครัง้ มีการส่ง บัตรอวยพรที่ ไม่ระบุชอ่ื ผูส้ ง่ ให้กบั ผูท้ เ่ี ขาแอบชืน่ ชม
April Fool’s Day
1 April, is a day when people play jokes on each other until midday. Often TV and newspapers carry stories intended to deceive credulous viewers and readers.
วันโกหกแห่งเมษายน
วันที่ 1 เมษายน เป็นวันที่ผู้คนจะโกหกหรือหลอกกันเล่นจนถึงเที่ยงวัน โทรทัศน์และ หนังสือพิมพ์มกั จะนำ�เสนอเรือ่ งราว เพือ่ หลอกให้ผชู้ มและผูอ้ า่ นทีเ่ ชือ่ อะไรง่ายๆ หลงเชือ่ ว่าเป็นความจริง
Mother’s Day
The Sunday three weeks before Easter is a day when children send cards or buy gifts for their mothers. Easter is also an important Christian festival.
วันแม่
วันอาทิตย์ สามสัปดาห์กอ่ นถึงวันอีสเตอร์ เป็นวันทีล่ กู ๆ ส่งบัตรอวยพรหรือซือ้ ของขวัญให้ กับผูเ้ ป็นแม่ อีสเตอร์ยงั เป็นเทศกาลทีส่ �ำ คัญของชาวคริสต์ดว้ ย
Life in the UK 105
Hallowe’en
31 October, is a very ancient festival Young people will often dress up in frightening costumes to play ‘trick or treat’. Giving them sweets or chocolates might stop them playing a trick on you. Sometimes people carry lanterns made out of pumpkins with a candle inside
วันฮาลโลวีน
วันที่ 31 ตุลาคมเป็นวันเทศกาลทีเ่ ก่าแก่มาก เด็กวัยรุน่ จะพากันแต่งตัวในลักษณะทีน่ า่ กลัว เพือ่ เล่น ‘หลอกให้คนตกใจเพือ่ ของแลกเปลีย่ น’ การให้ขนมหรือช็อคโกแลตอาจทำ�ให้เด็ก หยุดหลอกคุณได้ บางคนถือโคมไฟทำ�จากฟักทองทีม่ เี ทียนจุดไฟไว้ขา้ งใน
Guy Fawkes Night
5 November, is an occasion when people in Great Britain set off fireworks at home or in special displays. The origin of this celebration was an event in 1605, when a group of Catholics led by Guy Fawkes failed in their plan to kill the Protestant king with a bomb in the Houses of Parliament.
คืนแห่ง กาย ฟอคส์
วันที่ 5 พฤศจิกายน เป็นวันทีผ่ คู้ นในอังกฤษมี โอกาสได้เล่นดอกไม้ ไฟทีบ่ า้ นหรือในบริเวณที่ จัดเตรียมไว้เป็นพิเศษ การเฉลิมฉลองนีม้ ตี น้ ตอมาจากเหตุการณ์ ในปี ค.ศ. 1605 เมือ่ กลุม่ ชาวคาทอลิก ซึง่ มี กาย ฟอคส์ เป็นผูน้ �ำ ได้วางแผนลอบวางระเบิดในทีท่ �ำ การรัฐสภาเพือ่ สังหารกษัตริย์ โปรเตสแตนท์ แต่แผนล้มเหลว
Remembrance Day
11 November, commemorates those who died fighting in World War 1, World War 2 and other wars. Many people wear poppies (a red flower) in memory of those who died. At 11 a.m. there is a two-minute silence.
วันทหารผ่านศึก
วันที่ 11 พฤศจิกายน เป็นวันรำ�ลึกถึงผูท้ เ่ี สียชีวติ ในสมรภูมกิ ารสูร้ บในสงครามโลกครัง้ ที่ 1 สงครามโลกครัง้ ที่ 2 และสงครามอืน่ ๆ ประชาชนหลายคนใส่เสือ้ ติดดอกป๊อบปี้ (ดอกสีแดง) เพือ่ รำ�ลึกถึงผูท้ เ่ี สียชีวติ และเมือ่ เวลา 11:00 นาฬิกาเช้า ทุกคนจะสงบนิง่ ไว้อาลัย 2 นาที 106 Life in the UK
Sport
Sport of all kinds plays an important part in many people’s lives. Football, tennis, rugby and cricket are very popular sports in the UK. There are no United Kingdom teams for football and rugby. England, Scotland, Wales and Northern Ireland have their own teams. Important sporting events include, the Grand National horse race, the Football Association (FA) cup final (and equivalents in Northern Ireland, Scotland and Wales), the Open golf championship and the Wimbledon tennis tournament.
กีฬา
กีฬาทุกชนิดมีบทบาททีส่ �ำ คัญในชีวติ ของคนจำ�นวนมาก ฟุตบอล เทนนิส รักบี้ และคริกเก็ต เป็นกีฬาที่นิยมกันอย่างแพร่หลายในสหราชอาณาจักร เวลานี้ยังไม่มีทีมฟุตบอลและทีม รักบีข้ องสหราชอาณาจักร แต่องั กฤษ สก็อตแลนด์ เวลส์และไอร์แลนด์เหนือต่างก็มที มี ฟุตบอลและรักบีป้ ระจำ�ชาติของตน การแข่งขันกีฬาทีส่ �ำ คัญๆ ได้แก่ การแข่งม้าแห่งชาติ การแข่งฟุตบอลชิงถ้วยชนะเลิศของสมาคมกีฬาฟุตบอล (เอฟเอ) (และการชิงถ้วยชนะเลิศที่ มีความสำ�คัญคล้ายกันในไอร์แลนด์เหนือ สก็อตแลนด์และเวลส์) นอกจากนี้ ยังมีการแข่งขัน ชิงแชมป์กอล์ฟ และการแข่งขันเทนนิสวิมเบิลดันด้วย หมายเหตุ: โปรดอย่าลืมทบทวนบทเรียน (Check that you understand)
©Edu-Plus CIC of Dr. Khanungnit Garnett -Duang-dhamma Building, 49 Castle Street, Banbury OXON OX16 5NU
Life in the UK 107
Chapter 4:
the UK is governed
(ระบบการปกครองของสหราชอาณาจักร)
The British Constitution (รัฐธรรมนูญอังกฤษ)
How the UK is governed
ในบทที่ 4 นี้ เราจะมาเรียนรูก้ นั ถึงระบบการปกครองของสหราชอาณาจักร รัฐบาลอังกฤษ ระบอบกษัตริย์ ระบบการเลือกตัง้ และพรรคการเมืองต่างๆ ตลอดจนหน้าทีข่ องพลเมือง อังกฤษ การลงคะแนนเสียงเลือกตัง้ และการติดต่อกับสมาชิกรัฐสภาในเขตเลือกตัง้ ของคุณ นอกจากนี้ ยังมีเนือ้ หาครอบคลุมไปถึงบทบาทของสหราชอาณาจักรในยุโรปและทัว่ โลก และ ข้อมูลเกีย่ วกับสหภาพยุโรป เครือจักรภพอังกฤษ และองค์การสหประชาชาติ
The British Constitution
As a constitutional democracy, the United Kingdom is governed by a wide range of institutions, many of which provide checks on each other’s powers. Most of these institutions are of long standing: they include the monarchy, Parliament, (consisting of the House of Commons and the House of Lords), the office of Prime Minister, the Cabinet, the judiciary, the police, the civil service, and the institutions of local government. More recently, devolved administrations have been set up for Scotland, Wales and Northern Ireland. Together, these formal institutions, laws and conventions form the British Constitution. Some people would argue that the roles of other less formal institutions, such as the media and pressure groups, should also be seen as part of the Constitution.
รัฐธรรมนูญอังกฤษ
สหราชอาณาจักรมีการปกครองระบอบประชาธิป ไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ อันประกอบ ด้วยสถาบันและองค์กรต่างๆ มากมาย โดยที่องค์กรหลายฝ่ายมีการตรวจสอบอำ�นาจ ซึ่งกันและกัน สถาบันส่วนใหญ่เป็นสถาบันที่เก่าแก่และมีมานานแล้ว ได้แก่ สถาบัน พระมหากษัตริย์ รัฐสภา (ประกอบด้วยสภาสามัญ และสภาขุนนาง) สำ�นักนายกรัฐมนตรี คณะรัฐมนตรี ตุลาการ ตำ�รวจ ข้าราชการ และองค์การปกครองส่วนท้องถิน่ และเมือ่ ไม่นานมานี้ ได้มกี ารถ่ายโอนอำ�นาจให้กบั องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ ในสก็อตแลนด์ เวลส์ และไอร์แลนด์เหนือ ตามนโยบายการกระจายอำ�นาจของรัฐบาลส่วนกลาง สถาบันทางการ ตลอดจนกฎหมายและจารีตประเพณีเหล่านี้ เป็นรากฐานของรัฐธรรมนูญอังกฤษ บางคน อาจโต้แย้งว่า สถาบันที่ ไม่เป็นทางการ อย่างเช่น สือ่ มวลชน หรือองค์กรเอกชนต่างๆ ก็มี บทบาททีน่ า่ จะถือได้วา่ เป็นส่วนหนึง่ ของรัฐธรรมนูญด้วยเช่นกัน The British Constitution is not written down in any single document, as are the constitutions of many other countries. This is mainly because the United Kingdom has never had a lasting revolution, like America or France, so our most important institutions have been in existence for hundreds of years. Constitution allows more scope for institutions to adapt to meet changing circumstances and Life in the UK 111
public expectations. Some people believe that there should be a single document, but others believe that an unwritten constitution allows more scope for institutions to adapt to meet changing circumstances and public expectations. อังกฤษไม่มรี ฐั ธรรมนูญเขียนไว้เป็นหนังสือแม้เพียงเล่มเดียว ไม่เหมือนกับรัฐธรรมนูญของ ประเทศอืน่ ๆ สาเหตุหลักเป็นเพราะสหราชอาณาจักรไม่เคยมีการปฎิวตั แิ บบถาวร ดังเช่น ในอเมริกาหรือฝรัง่ เศส สถาบันทีส่ �ำ คัญต่างๆ ของอังกฤษจึงดำ�รงมาได้นบั ร้อยๆ ปี บางคน เชือ่ ว่าสหราชอาณาจักรควรมีรฐั ธรรมนูญเป็นเอกสารหนึง่ ฉบับ แต่อกี หลายคนเชือ่ ว่าการมี รัฐธรรมนูญที่ ไม่เป็นลายลักษณ์อกั ษรนี้ จะทำ�ให้สถาบันต่างๆ สามารถปรับใช้หลักกฎหมาย ตามสถานการณ์และความคาดหวังของประชาชนทีเ่ ปลีย่ นแปลงไปได้
The monarchy
Queen Elizabeth II is the Head of State of the United Kingdom. She is also the monarch or Head of State for many countries in the Commonwealth. The UK, like Denmark, the Netherlands, Norway, Spain and Sweden, has a constitutional monarchy. This means that the king or queen does not rule the country, but appoints the government which the people have chosen in democratic elections. Although the queen or king can advise, warn and encourage the Prime Minister, the decisions on government policies are made by the Prime Minister and Cabinet.
สถาบันพระมหากษัตริย์
สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 ทรงเป็นประมุขของสหราชอาณาจักร นอกจากนี้ พระองค์ยังทรงเป็นพระราชินีหรือประมุขของอีกหลายประเทศในเครือจักรภพอังกฤษ สหราชอาณาจักรมีระบอบการปกครองภายใต้รัฐธรรมนูญโดยมีพระมหากษัตริย์เป็น ประมุข เช่นเดียวกับประเทศเดนมาร์ก เนเธอร์แลนด์ นอร์เวย์ สเปน และสวีเดน ภายใต้ ระบอบการปกครองนี้ กษัตริย์หรือพระราชินี ไม่มีอำ�นาจในการปกครองประเทศ แต่ จะทรงแต่งตั้งรัฐบาลที่มาจากการเลือกตั้งของประชาชนในระบอบประชาธิปไตยขึ้นมา เป็นผู้บริหารประเทศ ถึงแม้ว่ากษัตริย์หรือพระราชินีจะสามารถให้คำ�แนะนำ� ตักเตือน และสนับสนุนนายกรัฐมนตรี แต่การตัดสินใจเกี่ยวกับนโยบายของรัฐจะเป็นหน้าที่ของ นายกรัฐมนตรีและคณะรัฐมนตรีเท่านัน้
112 Life in the UK
The Queen has reigned since her father’s death in 1952. Prince Charles, the Prince of Wales, her oldest son, is the heir to the throne. สมเด็จพระราชินนี าถอลิซาเบธที่ 2 ทรงเสด็จขึน้ ครองราชย์ตง้ั แต่พระบิดาของพระองค์ สิน้ พระชนม์เมือ่ ปี ค.ศ. 1952 เจ้าฟ้าชายชาร์ลส์ มกุฎราชกุมารแห่งเวลส์ เป็นพระราชโอรส องค์ โตและเป็นทายาททีจ่ ะสืบต่อราชบัลลังก์ของพระองค์ The Queen has important ceremonial roles such as the opening of the new parliamentary session each year. On this occasion the Queen makes a speech that summarises the government’s policies for the year ahead. สมเด็จพระราชินนี าถอลิซาเบธที่ 2 ทรงมีบทบาททีส่ �ำ คัญในพระราชพิธตี า่ งๆ เช่น การ เปิดประชุมสภาในแต่ละปี เนือ่ งในวโรกาสนี้ สมเด็จพระราชินจี ะทรงมีพระราชดำ�รัสสรุป ชีแ้ จงนโยบายของรัฐบาลในการดำ�เนินงานปีตอ่ ไป
Government
The system of government in the United Kingdom is a parliamentary democracy. The UK is divided into 646 parliamentary constituencies and at least every five years voters in each constituency elect their Member of Parliament (MP) in a general election. All of the elected MPs form the House of Commons. Most MPs belong to a political party and the party with the largest number of MPs forms the government.
รัฐบาล
สหราชอาณาจักรมีการปกครองระบอบประชาธิป ไตยแบบรัฐสภา และมีการแบ่งเขต เลือกตัง้ ในสหราชอาณาจักรออกเป็น 646 เขต ผูม้ สี ทิ ธิอ์ อกเสียงในแต่ละเขตเลือกตัง้ จะ ลงคะแนนเสียงเลือกสมาชิกสภาในการเลือกตัง้ ทัว่ ไปทีม่ ขี น้ึ อย่างน้อยทุกๆ 5 ปี สภาสามัญ จะประกอบด้วยสมาชิกรัฐสภาที่ ได้รบั การเลือกตัง้ ทัง้ หมดเหล่านี้ สมาชิกรัฐสภาส่วนใหญ่ จะเป็นสมาชิกของพรรคการเมือง และพรรคการเมืองทีม่ จี �ำ นวนสมาชิกสภามากทีส่ ดุ จะ เป็นฝ่ายจัดตัง้ รัฐบาล
Life in the UK 113
The law that requires new elections to Parliament to be held at least every five years is so fundamental that no government has sought to change it. A Bill to change it is the only one to which the House of Lords must give its consent. กฎหมายกำ�หนดให้มกี ารเลือกตัง้ สมาชิกรัฐสภาอย่างน้อยทุกๆ 5 ปี ข้อกำ�หนดนีฝ้ งั ราก ลึกมานานจนไม่มีรัฐบาลใดพยายามที่จะแก้ ไขเปลี่ยนแปลง การบัญญัติกฎหมายเพื่อ เปลีย่ นแปลงข้อกำ�หนดนีจ้ ะมีผลบังคับใช้ ได้กต็ อ่ เมือ่ ได้รบั การลงมติเห็นชอบจากสภาขุนนาง แล้วเท่านัน้ Some people argue that the power of Parliament is lessened because of the obligation on the United Kingdom to accept the rules of the European Union and the judgments of the European Court, but it was Parliament itself which created these obligations. คนบางกลุม่ เห็นว่าอำ�นาจของรัฐสภาอังกฤษถูกลิดรอน เพราะสหราชอาณาจักรมีขอ้ ผูกพัน ทีจ่ ะต้องยอมรับกฎหมายข้อบังคับของสหภาพยุโรปและคำ�ตัดสินของศาลยุโรป แต่รฐั สภา ก็เป็นผูส้ ร้างข้อผูกพันนีข้ น้ึ มาเอง
The House of Commons
The House of Commons is the more important of the two chambers in Parliament, and its members are democratically elected. Nowadays the Prime Minister and almost all the members of the Cabinet are members of the House of Commons. The members of the House of Commons are called ‘Members of Parliament’ or MPs for short. Each MP represents a parliamentary constituency, or area of the country: there are 646 of these. MPs have a number of different responsibilities. They represent everyone in their constituency, they help to create new laws, they scrutinise and comment on what the government is doing, and they debate important national issues.
สภาสามัญ หรือสภาล่าง
รัฐสภาประกอบด้วยสองสภาใหญ่ๆ แต่สภาสามัญมีความสำ�คัญเหนือกว่าเมือ่ เทียบกับสภา ขุนนาง สมาชิกของสภาสามัญได้มาจากการเลือกตัง้ แบบประชาธิปไตย ปัจจุบนั นีน้ ายก รัฐมนตรีและสมาชิกในคณะรัฐมนตรีเกือบทุกคนเป็นสมาชิกของสภาสามัญ
114 Life in the UK
สมาชิกของสภาสามัญเรียกว่า ‘สมาชิกรัฐสภา’ หรือเรียกสั้นๆว่า เอ็มพี (หรือ ส.ส.) ส.ส.แต่ละคนเป็นตัวแทนราษฎรในแต่ละเขตเลือกตั้ง หรือเขตพื้นที่ภายในประเทศ ซึ่งมี ด้วยกัน 646 เขตเลือกตัง้ ส.ส.มีหน้าความรับผิดชอบต่างๆ มากมาย ส.ส.เป็นผูแ้ ทนของ ราษฎรทุกคนในแต่ละเขตเลือกตัง้ ทำ�หน้าทีเ่ สนอหรือพิจารณาร่างกฎหมายใหม่ ตรวจสอบ และแสดงความคิดเห็นในสิง่ ทีร่ ฐั บาลกำ�ลังดำ�เนินการ และอภิปรายปัญหาหรือประเด็นที่ สำ�คัญๆ ของชาติ
Elections
There must be a general election to elect MPs at least every five years, though they may be held sooner if the Prime Minister so decides. If an MP dies or resigns, there will be another election, called a by-election, in his or her constituency. MPs are elected through a system called ‘first past the post’. In each constituency, the candidate who gets the most votes is elected. The government is then formed by the party which wins the majority of constituencies.
การเลือกตัง้
กฎหมายกำ�หนดให้มกี ารเลือกตัง้ ทัว่ ไปเพือ่ เลือกสมาชิกรัฐสภาอย่างน้อยทุกๆ 5 ปี แต่การ เลือกตัง้ อาจมีเร็วขึน้ หากนายกรัฐมนตรีตดั สินใจยุบสภาก่อนครบวาระ ในกรณีทส่ี มาชิกสภา เสียชีวติ หรือลาออก จะต้องมีการเลือกตัง้ ใหม่ ซึง่ เรียกว่าการเลือกตัง้ ซ่อม ภายในเขตเลือก ตัง้ ของส.ส.ทีว่ า่ งลง สมาชิกสภาจะได้รบั การเลือกตัง้ ภายใต้ระบบ “First past the post” ในแต่ละเขตเลือกตัง้ นัน่ คือ ผูส้ มัครที่ ได้คะแนนเสียงมากทีส่ ดุ จะเป็นผูช้ นะการเลือกตัง้ และ พรรคการเมืองที่ ได้จ�ำ นวนทีน่ ง่ั จากเขตเลือกตัง้ ต่างๆ มากทีส่ ดุ จะเป็นฝ่ายจัดตัง้ คณะรัฐบาล
The Whips
The Whips are a small group of MPs appointed by their party leaders. They are responsible for discipline in their party and making sure MPs attend the House of Commons to vote. The Chief Whip often attends Cabinet or Shadow Cabinet meetings and arranges the schedule of proceedings in the House of Commons with the Speaker.
คณะกรรมการประสานงานสภาสามัญ (วิปสภาสามัญ)
คณะกรรมการประสานงานสภาสามัญ (วิปสภาสามัญ) ประกอบด้วย ส.ส.กลุม่ เล็กๆ ที่ ได้รบั การแต่งตัง้ โดยหัวหน้าพรรค วิปสภาสามัญมีหน้ารับผิดชอบในการควบคุมลูกพรรค Life in the UK 115
ให้อยู่ ในระเบียบวินยั และดูแลให้เข้าร่วมการประชุมลงคะแนนเสียงในสภาสามัญ ประธาน วิปสภาสามัญมักจะเข้าร่วมการประชุมคณะรัฐบาล หรือการประชุมคณะรัฐมนตรีเงาของ ฝ่ายค้าน และจัดตารางการเปิดอภิปรายในสภาสามัญร่วมกับประธานสภา
European parliamentary elections
Elections for the European Parliament are also held every five years. There are 78 seats for representatives from the UK in the European Parliament and elected members are called Members of the European Parliament (MEPs). Elections to the European Parliament use a system of proportional representation, whereby seats are allocated to each party in proportion to the total votes it won.
การเลือกตัง้ สมาชิกสภายุโรป
การเลือกตั้งสมาชิกสภายุโรปกำ�หนดให้มีข้ึนทุกๆ 5 ปีเช่นกัน สภายุโรปมีท่ีน่ังสำ�หรับ สมาชิกสภาทีเ่ ป็นผูแ้ ทนจากสหราชอาณาจักร 78 ทีน่ ง่ั สมาชิกที่ ได้รบั การเลือกตัง้ เรียกว่า สมาชิกสภายุโรป การเลือกตัง้ สมาชิกสภายุโรปใช้ระบบการเลือกตัง้ แบบสัดส่วน (ระบบ บัญชีรายชือ่ ) โดยทีแ่ ต่ละพรรคจะได้จ�ำ นวนทีน่ ง่ั ในสภาตามสัดส่วนของคะแนนเสียงรวม ทัง้ หมดที่ ได้รบั
The House of Lords
Members of the House of Lords, known as peers, are not elected and do not represent a constituency. The role and membership of the House of Lords have recently undergone big changes. Until 1958 all peers were either ‘hereditary’, meaning that their titles were inherited, senior judges, or bishops of the Church of England. Since 1958 the Prime Minister has had the power to appoint peers just for their own lifetime. These peers, known as Life Peers, have usually had a distinguished career in politics, business, law or some other profession. This means that debates in the House of Lords often draw on more specialist knowledge than is available to members of the House of Commons. Life Peers are appointed by the Queen on the advice of the Prime Minister, but they include people nominated by the leaders of the other main parties and by an independent Appointments Commission for non-party peers.
116 Life in the UK
สภาขุนนาง
สมาชิกสภาขุนนางทีเ่ รียกกันว่า “เพียร์ส” นัน้ ไม่ ได้มาจากการเลือกตัง้ และไม่ ได้เป็นผูแ้ ทน ราษฎรในเขตเลือกตั้ง เมื่อไม่นานมานี้ บทบาทหน้าที่และสมาชิกภาพของสภาขุนนางได้ เปลี่ยนแปลงไปมาก ตั้งแต่อดีตมาจนถึงปี ค.ศ. 1958 สมาชิกสภาขุนนางทั้งหมดเป็น ‘ขุนนางสืบฐานันดรศักดิ์’ คือ มีการสืบทอดตามสายเลือด หรือมิฉะนั้นก็เป็นผู้พิพากษา อาวุโส หรือนักบวชสมณศักดิ์ ในศาสนจักรอังกฤษ ตัง้ แต่ปี ค.ศ. 1958 เป็นต้นมา นายก รัฐมนตรีมอี �ำ นาจแต่งตัง้ สมาชิกสภาขุนนางให้อยู่ ในตำ�แหน่งตลอดชีพ โดยไม่อาจสืบทอด ความเป็นสมาชิกภาพให้แก่ทายาทได้อกี ต่อไป สมาชิกสภาขุนนางประเภทนีเ้ รียกว่า ขุนนาง ตลอดชีพ ส่วนใหญ่เป็นผูป้ ระสบความสำ�เร็จในหน้าทีก่ ารงานในแขนงอาชีพการเมือง ธุรกิจ กฎหมาย หรือวิชาชีพอืน่ ๆ ดังนัน้ การอภิปรายประเด็นต่างๆ ในสภาขุนนางจึงเป็นการ โต้แย้งหรือแสดงความคิดเห็นระหว่างผูท้ ม่ี คี วามรูค้ วามชำ�นาญเฉพาะด้านมากกว่า เมือ่ เทียบกับในสภาสามัญ ขุนนางตลอดชีพได้รบั การแต่งตัง้ จากพระราชินี โดยการแนะนำ�ของ นายกรัฐมนตรี ทัง้ นี้ รวมถึงผูท้ ่ี ได้รบั การเสนอชือ่ จากหัวหน้าพรรคการเมืองใหญ่อน่ื ๆ และ จากคณะกรรมาธิการแต่งตัง้ อิสระสำ�หรับผูท้ ่ี ไม่ ได้สงั กัดพรรคการเมืองใดๆ ด้วย In the last few years the hereditary peers have lost the automatic right to attend the House of Lords, although they are allowed to elect a few of their number to represent them. เมือ่ ไม่กป่ี ที ผ่ี า่ นมา สมาชิกสภาประเภทขุนนางสืบฐานันดรศักดิ์ ได้สญ ู เสียสิทธิในการเข้า ร่วมประชุมในสภาขุนนางโดยอัตโนมัติ อย่างไรก็ตาม พวกเขาได้รบั การยินยอมให้สามารถ เลือกผูแ้ ทนบางคนให้ท�ำ หน้าทีแ่ ทนตนเองได้ While the House of Lords is usually the less important of the two chambers of Parliament, it is more independent of the government. It can suggest amendments or propose new laws, which are then discussed by the House of Commons. The House of Lords can become very important if the majority of its members will not agree to pass a law for which the House of Commons has voted. The House of Commons has powers to overrule the House of Lords, but these are very rarely used. เมือ่ เปรียบเทียบความสำ�คัญระหว่างสองสภา สภาขุนนางอาจมีความสำ�คัญน้อยกว่า แต่ ก็มคี วามเป็นอิสระจากคณะรัฐบาลมากกว่า สภาขุนนางสามารถแนะนำ�ให้มกี ารแก้ ไขเพิม่ เติม หรือเสนอร่างกฎหมายใหม่ ซึง่ จะนำ�ไปอภิปรายกันต่อไปในสภาสามัญ ความสำ�คัญของ สภาขุนนางอาจมีมากขึน้ หากสมาชิกสภาขุนนางส่วนใหญ่ ไม่เห็นด้วยทีจ่ ะให้ผา่ นกฎหมายที่ สภาสามัญได้ลงคะแนนเสียงยอมรับแล้ว แม้วา่ สภาสามัญมีอ�ำ นาจทีจ่ ะลบล้างเสียงของ สภาขุนนางได้ แต่การใช้อ�ำ นาจนีจ้ ะเกิดขึน้ นานๆ ครัง้ Life in the UK 117
The Prime Minister
The Prime Minister (PM) is the leader of the political party in power. He or she appoints the members of the Cabinet and has control over many important public appointments. The official home of the Prime Minister is 10 Downing Street, in central London, near the Houses of Parliament; he or she also has a country house not far from London called Chequers. The Prime Minister can be changed if the MPs in the governing party decide to do so, or if he or she wishes to resign. More usually, the Prime Minister resigns when his or her party is defeated in a general election.
นายกรัฐมนตรี
นายกรัฐมนตรีอังกฤษเป็นหัวหน้าของพรรคการเมืองที่มีเสียงข้างมาก นายกรัฐมนตรีจะ แต่งตัง้ บุคคลในคณะรัฐมนตรี และมีอ�ำ นาจบริหารงานสำ�คัญต่างๆ ของรัฐ บ้านพักประจำ� ตำ�แหน่งของนายกรัฐมนตรี คือ บ้านเลขที่ 10 ถนนดาวนิง่ ในใจกลางกรุงลอนดอนใกล้กบั ทีท่ �ำ การรัฐสภา นอกจากนัน้ นายกรัฐมนตรียงั มีทพ่ี ำ�นักในชนบทเป็นคฤหาสน์หลังใหญ่อยู่ ไม่ ไกลจากลอนดอน เรียกว่า คฤหาสน์เช็คเคอร์ ตำ�แหน่งนายกรัฐมนตรีอาจเปลีย่ นแปลง ได้ หากสมาชิกสภาในพรรคทีบ่ ริหารประเทศลงมติถอดถอน หรือนายกรัฐมนตรีตดั สินใจ ลาออกเอง โดยปกติแล้ว นายกรัฐมนตรีจะลาออกเมือ่ พรรคของตนพ่ายแพ้ ในการเลือก ตัง้ ทัว่ ไป
The Cabinet
The Prime Minister appoints about 20 senior MPs to become ministers in charge of departments. These include the Chancellor of the Exchequer, responsible for the economy, the Home Secretary, responsible for law, order and immigration, the Foreign Secretary, and ministers (called ‘Secretaries of State’) for education, health and defence. The Lord Chancellor, who is the minister responsible for legal affairs, is also a member of the Cabinet but sat in the House of Lords rather than the House of Commons. Following legislation passed in 2005, it is now possible for the Lord Chancellor to sit in the Commons. These ministers form the Cabinet, a small committee which usually meets weekly and makes important decisions about government policy which often then have to be debated or approved by Parliament.
118 Life in the UK
คณะรัฐมนตรี
นายกรัฐมนตรีจะแต่งตัง้ ส.ส. ระดับสูงประมาณ 20 คน ให้เป็นรัฐมนตรีวา่ การกระทรวง ต่างๆ ได้แก่ รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงการคลัง มีหน้าทีร่ บั ผิดชอบในการบริหารเศรษฐกิจ ของประเทศ รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงมหาดไทย มีหน้าทีร่ บั ผิดชอบในด้านกฎหมาย ความ สงบภายใน และคนเข้าเมือง นอกจากนี้ ยังมีรฐั มนตรีวา่ การกระทรวงต่างประเทศ และ รัฐมนตรีกระทรวงต่างๆ เช่น กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงสาธารณสุข และกระทรวง กลาโหม เป็นต้น ลอร์ด ชานเซลเลอร์ คือ รัฐมนตรีผรู้ บั ผิดชอบงานด้านกฎหมาย และ เป็นบุคคลในคณะรัฐมนตรีทเ่ี ป็นสมาชิกสภาขุนนาง ไม่ ใช่สมาชิกสภาสามัญ หลังการออก กฎหมายในปี ค.ศ. 2005 ลอร์ด ชานเซลเลอร์ สามารถเป็นสมาชิกสภาสามัญได้ บุคคล ต่างๆ เหล่านี้ ได้รบั การแต่งตัง้ ให้เป็นรัฐมนตรี ในคณะรัฐบาล โดยปกติแล้ว คณะรัฐมนตรี จะนัดพบประชุมกันเป็นประจำ�ทุกสัปดาห์ เพือ่ ปรึกษาหารือและพิจารณานโยบายทีส่ ำ�คัญๆ ของรัฐบาล ซึง่ ส่วนใหญ่จะต้องนำ�ไปอภิปรายหรือลงมติให้ความเห็นชอบในสภา
The Opposition
The second largest party in the House of Commons is called the Opposition. The Leader of the Opposition is the person who hopes to become Prime Minister if his or her party wins the next general election. The Leader of the Opposition leads his or her party in pointing out the government’s failures and weaknesses; one important opportunity to do this is at Prime Minister’s Questions which takes place every week while Parliament is sitting. The Leader of the Opposition also appoints senior Opposition MPs to lead the criticism of government ministers, and together they form the Shadow Cabinet.
ฝ่ายค้าน
พรรคที่ ได้คะแนนเสียงมากเป็นอันดับสองในสภาสามัญเรียกว่า พรรคฝ่ายค้าน หัวหน้า พรรคฝ่ายค้านมีความหวังที่จะได้เป็นนายกรัฐมนตรี หากพรรคของตนชนะการเลือกตั้ง ทั่วไปในสมัยหน้า หัวหน้าพรรคฝ่ายค้านทำ�หน้าที่เป็นผู้นำ�พรรคในการชี้ ให้เห็นความล้ม เหลวและจุดบกพร่องของรัฐบาล โดยเฉพาะในช่วงการตอบข้อซักถามของนายกรัฐมนตรี ซึง่ เป็นโอกาสหนึง่ ทีส่ ำ�คัญในการชีจ้ ดุ บกพร่องของรัฐบาล ช่วงเวลาดังกล่าวจัดให้มขี น้ึ ทุก สัปดาห์ ในสมัยการประชุมสภา นอกจากนัน้ หัวหน้าฝ่ายค้านยังแต่งตัง้ สมาชิกสภาระดับสูง ฝ่ายค้านขึน้ มา เพือ่ ให้ท�ำ หน้าทีว่ พิ ากษ์วจิ ารณ์การทำ�งานของรัฐมนตรีฝา่ ยรัฐบาล หัวหน้า และสมาชิกพรรคฝ่ายค้านเหล่านีจ้ ะรวมตัวกันก่อตัง้ เป็นคณะรัฐมนตรีเงาของอังกฤษ
Life in the UK 119
The Speaker
Debates in the House of Commons are chaired by the Speaker, the chief officer of the House of Commons. The Speaker is politically neutral. He or she is an MP, elected by fellow MPs to keep order during political debates and to make sure the rules are followed. This includes making sure the Opposition has a guaranteed amount of time to debate issues it chooses. The Speaker also represents Parliament at ceremonial occasions.
ประธานสภาสามัญ
ประธานสภาสามัญทำ�หน้าที่เป็นหัวหน้าควบคุมการอภิปรายในสภาสามัญให้ดำ�เนินไป อย่างราบรืน่ และมีประสิทธิภาพ ประธานสภาจะต้องเป็นกลางทางการเมือง ประธานสภา เป็น ส.ส. ที่ ได้รบั การเลือกตัง้ โดยเพือ่ นสมาชิกสภาด้วยกัน เพือ่ ให้ท�ำ หน้าทีจ่ ดั ลำ�ดับการ อภิปรายในการประชุมสภาให้เป็นไปตามกฎระเบียบ และดูแลให้ฝา่ ยค้านมีเวลาเพียงพอที่ จะอภิปรายประเด็นปัญหาในหัวข้อที่ ได้ก�ำ หนดไว้ นอกจากนัน้ ประธานสภายังเป็นตัวแทน ของรัฐสภาในงานพิธกี ารต่างๆ อีกด้วย
The party system
Under the British system of parliamentary democracy, anyone can stand for election as an MP but they are unlikely to win an election unless they have been nominated to represent one of the major political parties. These are the Labour Party, the Conservative Party, the Liberal Democrats, or one of the parties representing Scottish, Welsh, or Northern Irish interests. There are just a few MPs who do not represent any of the main political parties and are called ‘independents’. The main political parties actively seek members among ordinary voters to join their debates, contribute to their costs, and help at elections for Parliament or for local government; they have branches in most constituencies and they hold policy-making conferences every year.
ระบบพรรคการเมือง
อังกฤษมีการปกครองระบอบประชาธิป ไตยแบบรัฐสภา ประชาชนทุกคนจึงสามารถที่ จะสมัครรับเลือกตัง้ เป็นสมาชิกสภาผูแ้ ทนราษฎรได้ แต่ โอกาสชนะการเลือกตัง้ จะมีนอ้ ย เว้นแต่วา่ เขาจะได้รบั เลือกให้เป็นตัวแทนของพรรคการเมืองใหญ่ๆ ได้แก่ พรรคแรงงาน พรรคอนุรักษ์นิยม และพรรคเสรีประชาธิป ไตย หรือพรรคใดพรรคหนึ่งที่เป็นผู้แทน 120 Life in the UK
ดูแลผลประโยชน์ ให้กบั ชาวสก็อตแลนด์ เวลส์ หรือไอร์แลนด์เหนือ แต่กม็ ี สส.บางคนที่ ไม่ ได้สงั กัดพรรคการเมืองใดๆ ส.ส. กลุม่ นีเ้ รียกว่า ‘ส.ส. อิสระ’ พรรคการเมืองใหญ่จะ มุง่ สรรหาสมาชิกจากประชาชนผูม้ สี ทิ ธิเ์ ลือกตัง้ เพือ่ ให้เข้าร่วมการอภิปราย สนับสนุนเรือ่ ง ค่าใช้จา่ ย และให้ความช่วยเหลือในการเลือกตัง้ ทัง้ การเลือกตัง้ สมาชิกรัฐสภาและการเลือก ตั้งท้องถิ่น พรรคเหล่านี้มีสาขาอยู่ ในเกือบทุกเขตการเลือกตั้ง และจะมีการประชุมใหญ่ เพือ่ กำ�หนดนโยบายเป็นประจำ�ทุกปี
Pressure and lobby groups
Pressure and lobby groups are organisations that try to influence government policy. They play a very important role in politics. There are many pressure groups in the UK. They may represent economic interests (such as the Confederation of British Industry, the Consumers’ Association, or the trade unions) or views on particular subjects (e.g. Greenpeace or Liberty). The general public is more likely to support pressure groups than join a political party.
กลุม่ อิทธิพลและกลุม่ ผูร้ ณรงค์หาเสียงสนับสนุน
กลุม่ อิทธิพลและกลุม่ ผูร้ ณรงค์หาเสียงสนับสนุน เป็นองค์กรทีพ่ ยายามวิง่ เต้นดำ�เนินการ เพือ่ ให้มผี ลต่อแนวนโยบายของรัฐ องค์กรเหล่านีม้ บี ทบาททีส่ ำ�คัญอย่างยิง่ ในทางการเมือง ในสหราชอาณาจักรมีกลุม่ อิทธิพลมากมายหลายกลุม่ กลุม่ เหล่านีอ้ าจเป็นตัวแทนของผล ประโยชน์ทางเศรษฐกิจ (ได้แก่ สมาพันธ์ภาคอุตสาหกรรมอังกฤษ สมาคมผูบ้ ริโภค หรือ สหภาพแรงงาน เป็นต้น) หรือเป็นปากเป็นเสียงในเรือ่ งต่างๆ (เช่น องค์กรกรีนพีซ หรือ องค์กรส่งเสริมเสรีภาพ) ประชาชนทัว่ ไปมีทา่ ที ให้การสนับสนุนกลุม่ อิทธิพลเหล่านีม้ ากกว่า ทีจ่ ะเข้าร่วมเป็นสมาชิกพรรคการเมือง
The civil service
Civil servants are managers and administrators who carry out government policy. They have to be politically neutral and professional, regardless of which political party is in power. Although civil servants have to follow the policies of the elected government, they can warn ministers if they think a policy is impractical or not in the public interest. Before a general election takes place, top civil servants study the Opposition party’s policies closely in case they need to be ready to serve a new government with different aims and policies. Life in the UK 121
ข้าราชการ
ข้ า ราชการคื อ เจ้ า หน้ า ที่ผู้บ ริ ห ารจั ด การ หรื อ ดำ� เนิ น การเพื่อ สนองนโยบายของรั ฐ ข้าราชการต้องมีความเป็นกลางทางการเมือง และปฏิบัติงานอย่างเหมาะสมตามหน้าที่ และความรับผิดชอบ โดยไม่ค�ำ นึงถึงว่าพรรคการเมืองใดจะมีอ�ำ นาจในขณะนัน้ ถึงแม้วา่ ข้าราชการจะต้องทำ�ตามนโยบายของรัฐบาลที่ ได้มาจากการเลือกตัง้ แต่ขา้ ราชการสามารถ เตือนรัฐมนตรี ได้ หากเห็นว่านโยบายนั้นๆ ไม่สามารถนำ�ไปใช้ ได้ หรือไม่เป็นประโยชน์ ต่อสาธารณชน ก่อนที่จะมีการเลือกตั้งทั่วไป ข้าราชการระดับสูงสุดจะศึกษานโยบาย ของพรรคฝ่ายค้านอย่างละเอียดถีถ่ ว้ น เพือ่ เตรียมตัวไว้ ให้พร้อมในกรณีทต่ี อ้ งดำ�เนินการ ตอบสนองต่อนโยบายหรือจุดมุง่ หมายของรัฐบาลใหม่ทแ่ี ตกต่างไปจากเดิม
Devolved administration
In order to give people in Wales and Scotland more control of matters that directly affect them, in 1997 the government began a programme of devolving power from central government. Since 1999 there has been a Welsh Assembly, a Scottish Parliament and, periodically, a Northern Ireland Assembly. Although policy and laws governing defence, foreign affairs, taxation and social security all remain under central UK government control, many other public services now come under the control of the devolved administrations in Wales and Scotland.
การโอนอำ�นาจในการปกครอง
เพือ่ เปิดโอกาสให้ประชาชนในเวลส์ และสก็อตแลนด์สามารถบริหารควบคุมเรือ่ งต่างๆ ทีม่ ี ผลต่อพวกเขาโดยตรงได้มากขึน้ ในปีค.ศ. 1997 รัฐบาลจึงได้เริม่ โครงการกระจายอำ�นาจ จากส่วนกลาง และตัง้ แต่ปี ค.ศ. 1999 ได้มกี ารจัดตัง้ สภาแห่งชาติเวลส์ รัฐสภาสก็อตแลนด์ และสภาแห่งไอร์แลนด์เหนือขึ้นมาบริหารงานปกครองในส่วนของตน อย่างไรก็ตาม นโยบายและกฎหมายการป้องกันประเทศ การต่างประเทศ การเรียกเก็บภาษีอากร และ ระบบการประกันสังคมยังคงอยูภ่ ายใต้การควบคุมของรัฐบาลกลางแห่งสหราชอาณาจักร เวลานี้หน่วยงานภาครัฐหลายแห่งอยู่ภายใต้การควบคุมขององค์กรบริหารส่วนภูมิภาค ในเวลส์และสก็อตแลนด์ท่ี ได้รบั การถ่ายโอนอำ�นาจจากส่วนกลาง Both the Scottish Parliament and Welsh Assembly have been set up using forms of proportional representation which ensures that each party gets a number of seats in proportion to the number of votes they receive. Similarly, 122 Life in the UK
proportional representation is used in Northern Ireland in order to ensure ‘power sharing’ between the Unionist majority (mainly Protestant) and the substantial (mainly Catholic) minority aligned to Irish nationalist parties. A different form of proportional representation is used for elections to the European Parliament. รัฐสภาสก็อตแลนด์และสภาแห่งชาติเวลส์ตา่ งจัดตัง้ ขึน้ โดยใช้ระบบการเลือกตัง้ ในรูปแบบ การมีผู้แทนตามสัดส่วน ซึ่งจะประกันได้ว่าแต่ละพรรคการเมืองจะได้ท่ีน่ังตามสัดส่วน ของคะแนนเสียงที่ ได้รบั ในไอร์แลนด์เหนือก็มกี ารเลือกตัง้ ระบบสัดส่วนเช่นเดียวกัน ทัง้ นี้ เพือ่ แบ่งปันอำ�นาจระหว่างกลุม่ ยูเนียนนิสท์ ซึง่ เป็นเสียงส่วนใหญ่ (ส่วนมากนับถือนิกาย โปรแตสแตนท์) และคนกลุม่ น้อยส่วนหนึง่ (นับถือนิกายแคทอลิก) ทีส่ นับสนุนพรรคการเมือง ชาตินิยมไอริช สำ�หรับการเลือกตั้งสมาชิกสภายุโรปจะใช้ระบบสัดส่วนในรูปแบบที่ แตกต่างไป
The Welsh Assembly Government
The National Assembly for Wales, or Welsh Assembly Government (WAG), is situated in Cardiff, the capital city of Wales. It has 60 Assembly Members (AMs) and elections are held every four years. Members can speak in either Welsh or English and all its publications are in both languages. The Assembly has the power to make decisions on important matters such as education policy, the environment, health services, transport and local government, and to pass laws for Wales on these matters within a statutory framework set out by the UK Parliament at Westminster.
รัฐบาลแห่งชาติเวลส์
สภาแห่งชาติเวลส์ หรือรัฐบาลแห่งชาติเวลส์ตง้ั อยูท่ ค่ี าร์ดฟิ ฟ์ เมืองหลวงของเวลส์ สภา แห่งชาติเวลส์นม้ี สี มาชิกทัง้ หมด 60 ท่าน และมีการเลือกตัง้ สมาชิกสภาทุกๆ 4 ปี สมาชิก สภาแห่งชาติเวลส์จะพูดภาษาเวลส์ หรือภาษาอังกฤษก็ ได้ และเอกสารสิง่ ตีพมิ พ์ทง้ั หมดจะ มีทง้ั สองภาษา รัฐบาลแห่งชาติเวลส์มอี �ำ นาจตัดสินใจในเรือ่ งต่างๆ ทีส่ �ำ คัญ เช่น นโยบาย การศึกษา สิง่ แวดล้อม บริการดูแลสุขภาพ การคมนาคม และการปกครองส่วนท้องถิน่ นอกจากนัน้ ยังมีอ�ำ นาจทีจ่ ะผ่านกฎหมายทีเ่ กีย่ วข้องกับเรือ่ งเหล่านีส้ �ำ หรับเวลส์ ภายใน กรอบกฎหมายทีว่ างไว้ โดยรัฐสภาแห่งสหราชอาณาจักรทีเ่ วสต์มนิ สเตอร์
Life in the UK 123
The Parliament of Scotland
A long campaign in Scotland for more independence and democratic control led to the formation in 1999 of the Parliament of Scotland, which sits in Edinburgh, the capital city of Scotland.
รัฐสภาแห่งสก็อตแลนด์
สก็อตแลนด์ได้ท�ำ การรณรงค์มาเป็นเวลาช้านาน เพือ่ ความมีอสิ ระและการมีอ�ำ นาจปกครอง ในระบอบประชาธิปไตยมากขึน้ การรณรงค์ดงั กล่าวได้สง่ ผลให้มกี ารก่อตัง้ รัฐสภาสก็อต แลนด์ขน้ึ มาในปี ค.ศ. 1999 ทีก่ รุงเอดินเบอระ เมืองหลวงของสก็อตแลนด์ There are 129 Members of the Scottish Parliament (MSPs), elected by a form of proportional representation. This has led to the sharing of power in Scotland between the Labour and Liberal Democrat parties. The Scottish Parliament can pass legislation for Scotland on all matters that are not specifically reserved to the UK Parliament. The matters on which the Scottish Parliament can legislate include civil and criminal law, health, education, planning and the raising of additional taxes. รัฐสภาสก็อตแลนด์ประกอบด้วยสมาชิกสภา 129 ท่าน ที่ ได้รบั การเลือกตัง้ ตามระบบผูแ้ ทน โดยสัดส่วน ผลการเลือกตัง้ ปรากฏว่าพรรคแรงงานและพรรคเสรีประชาธิปไตยมีอำ�นาจ การปกครองในสก็อตแลนด์ร่วมกัน รัฐสภาสก็อตแลนด์สามารถออกกฎหมายสำ�หรับใช้ บังคับในสก็อตแลนด์ได้ ในทุกๆ เรือ่ ง ยกเว้นเรือ่ งทีส่ งวนไว้ส�ำ หรับรัฐบาลกลางของสหราช อาณาจักร เรือ่ งทีร่ ฐั สภาสก็อตแลนด์สามารถออกกฎหมายบังคับได้ ได้แก่ กฎหมายแพ่ง และอาญา การสาธารณสุข การศึกษา ผังเมือง และการเรียกเก็บภาษีเพิม่ เติม เป็นต้น
The Northern Ireland Assembly
A Northern Ireland Parliament was established in 1922 when Ireland was divided, but it was abolished in 1972 shortly after the Troubles broke out in 1969 (see chapter 1).
สภาแห่งไอร์แลนด์เหนือ
สภาแห่งไอร์แลนด์เหนือก่อตั้งขึ้นในปี ค.ศ. 1922 เมื่อไอร์แลนด์ถูกแบ่งแยกออกเป็น ไอร์แลนด์ และไอร์แลนด์เหนือ แต่สภานีถ้ กู ได้ยกเลิกไปในปี ค.ศ. 1972 หลังจากมีปญ ั หา ความยุง่ ยากเกิดขึน้ ในปี ค.ศ. 1969 ได้ ไม่นานนัก (ดูบทที่ 1) 124 Life in the UK
Soon after the end of the Troubles, the Northern Ireland Assembly was established with a power-sharing agreement which distributes ministerial offices among the main parties. The Assembly has 108 elected members known as MLAs (Members of the Legislative Assembly). Decision-making powers devolved to Northern Ireland include education, agriculture, the environment, health and social services in Northern Ireland. หลังจากเหตุการณ์ความยุง่ ยากสงบลงได้ ไม่นาน ก็ ได้มกี ารก่อตัง้ สภาแห่งไอร์แลนด์เหนือ ขึ้นมา พร้อมข้อตกลงสันติภาพโดยการแบ่งสรรอำ�นาจบริหารกระทรวงระหว่างพรรค การเมืองใหญ่ๆ สภาแห่งไอร์แลนด์เหนือมีสมาชิกสภาที่ ได้มาจากการเลือกตัง้ 108 ท่าน เรียกว่า สมาชิกสภานิติบัญญัติ มีการโอนอำ�นาจจากส่วนกลางในเรื่องต่างๆ ให้แก่ ไอร์แลนด์เหนือ ได้แก่ การศึกษา การเกษตร สิ่งแวดล้อม บริการสาธารณสุข และ สังคมสงเคราะห์ ในไอร์แลนด์เหนือ The UK government kept the power to suspend the Northern Ireland Assembly if the political leaders no longer agreed to work together or if the Assembly was not working in the interests of the people of Northern Ireland. This has happened several times and the Assembly is currently suspended (2006). This means that the elected assembly members do not have power to pass bills or make decisions. รัฐบาลสหราชอาณาจักรสงวนอำ�นาจที่จะระงับสภาแห่งไอร์แลนด์เหนือได้ ในกรณีท่ี ผู้นำ�พรรคการเมืองไม่ยินยอมที่จะทำ�งานร่วมกันต่อไป หรือหากสภาไม่ ได้ทำ�งานเพื่อผล ประโยชน์ของประชาชนในไอร์แลนด์เหนือ เท่าทีผ่ า่ นมา สภาแห่งไอร์แลนด์เหนือได้ถกู ระงับ อำ�นาจชัว่ คราวมาแล้วหลายครัง้ และปัจจุบนั (ปี ค.ศ. 2006) ก็ยงั ถูกระงับอยู่ ซึง่ หมาย ถึงว่าสมาชิกสภาแห่งไอร์แลนด์เหนือที่ ได้รบั การเลือกตัง้ ไม่มอี �ำ นาจทีจ่ ะผ่านกฎหมายหรือ ทำ�การตัดสินใจใดๆ [หมายเหตุ: ทีจ่ ริงแล้ว ตัง้ แต่เมือ่ วันที่ 8 พฤษภาคม ค.ศ. 2007 สภาแห่งไอร์แลนด์เหนือ ได้รบั อำ�นาจกลับคืนตามเดิมและได้มกี ารเลือกตัง้ ครัง้ ล่าสุดเมือ่ วันที่ 5 พฤษภาคม ค.ศ. 2011 แต่ถา้ ข้อสอบถามถึงเรือ่ งนี้ ให้ตอบตามหนังสือคือ ให้ถอื ว่ายังถูกระงับอยู]่
Life in the UK 125
Local government
Towns, cities and rural areas in the UK are governed by democratically elected councils, often called local authorities. Some areas have both district and county councils which have different functions, although most larger towns and cities will have a single local authority. Many councils representing towns and cities appoint a mayor who is the ceremonial leader of the council but in some towns a mayor is appointed to be the effective leader of the administration. London has 33 local authorities, with the Greater London Authority and the Mayor of London co-ordinating policies across the capital. Local authorities are required to provide ‘mandatory services’ in their area. These services include education, housing, social services, passenger transport, the fire service, rubbish collection, planning, environmental health and libraries. Most of the money for the local authority services comes from the government through taxes. Only about 20% is funded locally through ‘council tax’ a local tax set by councils to help pay for local services. It applies to all domestic properties, including houses, bungalows, flats, maisonettes, mobile homes or houseboats, whether owned or rented.
การปกครองส่วนท้องถิน่
เมืองเล็กเมืองใหญ่และเขตพื้นที่ชนบทในสหราชอาณาจักร อยู่ภายใต้การดูแลของสภา เทศบาล หรือคณะเทศมนตรี ทีป่ กติเรียกกันว่า องค์การเทศบาล อันประกอบด้วยสมาชิก ที่ ได้มาจากการเลือกตั้ง ในพื้นที่บางเขตมีท้งั สภาเทศบาลเขต หรือสภาเทศบาลอำ�เภอ (district council) และสภาเทศบาลจังหวัด (county council) ซึง่ ทำ�หน้าทีแ่ ตกต่างกัน อย่างไรก็ตาม โดยทั่วไปแล้วเมืองใหญ่ๆ จะมีองค์การเทศบาลเพียงองค์กรเดียว สภา เทศบาลหลายแห่งทีเ่ ป็นตัวแทนชุมชนเมืองเล็กและเมืองใหญ่จะแต่งตัง้ นายกเทศมนตรี ให้ เป็นผูน้ �ำ ในงานพิธตี า่ งๆ แต่ ในบางเมือง นายกเทศมนตรีจะได้รบั การแต่งตัง้ ให้เป็นผูน้ �ำ ของ ฝ่ายบริหาร กรุงลอนดอนมีสภาเทศบาลสำ�หรับแต่ละพืน้ ที่ 33 เขต โดยมีองค์การบริหาร มหานครลอนดอน (Greater London Authority) และนายกเทศมนตรีแห่งกรุงลอนดอน ทำ�หน้าทีป่ ระสานนโยบายระหว่างสภาเทศบาลเหล่านีต้ ลอดทัว่ กรุงลอนดอน สภาเทศบาล จะต้องให้ ‘บริการทีจ่ �ำ เป็น’ สำ�หรับประชาชนในเขตพืน้ ทีข่ องตน ซึง่ ได้แก่ การศึกษา ทีอ่ ยู่ อาศัย บริการสังคมสงเคราะห์ การขนส่งมวลชน หน่วยดับเพลิง การจัดเก็บขยะ การ วางผังเมือง อนามัยสิง่ แวดล้อม และห้องสมุด เงินส่วนใหญ่ทส่ี ภาเทศบาลนำ�มาใช้จา่ ย เพือ่ ให้บริการประชาชน เป็นงบประมาณของรัฐที่ ได้มาจากการจัดเก็บภาษีอากร มีเพียง 20% ที่ ได้มาจากการเรียกเก็บ ‘ภาษีเทศบาล’ โดยสภาเทศบาลเป็นผูก้ ำ�หนด เพือ่ นำ�มาเป็น 126 Life in the UK
ค่าใช้จ่ายสำ�หรับการให้บริการในท้องถิ่น ภาษีเทศบาลนี้จะเรียกเก็บจากที่อยู่อาศัย ทุกประเภท ไม่วา่ จะเป็นบ้าน บังกะโล แฟลต ห้องเช่า บ้านเคลือ่ นที่ หรือเรือดัดแปลงเป็น บ้าน ทีผ่ อู้ าศัยมีกรรมสิทธิเ์ ป็นเจ้าของ หรือเป็นผูเ้ ช่า Local elections for councillors are held in May every year. Many candidates stand for council election as members of a political party. การเลือกตั้งสมาชิกสภาเทศบาลในท้องถิ่นจะมีข้ึนในเดือนพฤษภาคมของทุกปี ผู้สมัคร รับเลือกตัง้ ส่วนใหญ่เป็นสมาชิกสังกัดพรรคการเมือง
The judiciary
In the UK the laws made by Parliament are the highest authority. But often important questions arise about how the laws are to be interpreted in particular cases. It is the task of the judges (who are together called ‘the judiciary’) to interpret the law and the government may not interfere with their role. Often the actions of the government are claimed to be illegal and, if the judges agree, then the government must either change its policies or ask Parliament to change the law. This has become all the more important in recent years, as the judges now have the task of applying the Human Rights Act (see chapter 7). If they find that a public body is not respecting a person’s human rights, they may order that body to change its practices and to pay compensation, if appropriate. If the judges believe that an Act of Parliament is incompatible with the Human Rights Act, they cannot change it themselves but they can ask Parliament to consider doing so.
ฝ่ายตุลาการ
ในสหราชอาณาจักร กฎหมายทีอ่ อกโดยรัฐสภามีอ�ำ นาจบังคับใช้สงู สุด แต่มอี ยูบ่ อ่ ยครัง้ ที่การตีความกฎหมายในบางกรณี ได้ก่อให้เกิดข้อสงสัยที่เป็นปัญหาสำ�คัญ จึงเป็นหน้าที่ ของบรรดาผูพ้ พิ ากษา (ซึง่ รวมกันแล้วเรียกว่า “ฝ่ายตุลาการ”) ทีจ่ ะตีความกฎหมาย โดยที่ รัฐบาลไม่อาจแทรกแซงหน้าทีข่ องฝ่ายตุลาการได้ บ่อยครัง้ ทีร่ ฐั บาลทำ�สิง่ ทีถ่ กู กล่าวหาว่า ผิดกฎหมาย และหากผูพ้ พิ ากษาเห็นด้วยกับข้อกล่าวหานัน้ รัฐบาลจะต้องเปลีย่ นนโยบาย หรือไม่กต็ อ้ งร้องขอให้รฐั สภาเปลีย่ นกฎหมายใหม่ กรณีเช่นนีย้ ง่ิ ทวีความสำ�คัญมากขึน้ ใน ปีทผ่ี า่ นๆ มา เนือ่ งจากผูพ้ พิ ากษาจะต้องนำ�กฎหมายสิทธิมนุษยชนเข้าร่วมพิจารณาด้วย (ดูบทที่ 7) หากผู้พิพากษาเห็นว่าองค์กรของรัฐไม่เคารพสิทธิมนุษยชนของบุคคลผู้ ใด Life in the UK 127
ผู้พิพากษาอาจสั่งให้องค์กรนั้นเปลี่ยนวิธีการปฏิบัติ และชดใช้ค่าเสียหายให้แก่บุคคล ผูน้ น้ั ตามความเหมาะสม และหากผูพ้ พิ ากษาเห็นว่ากฎหมายข้อใดของรัฐสภาไม่สอดคล้อง กับพระราชบัญญัติสิทธิมนุษยชน ผู้พิพากษาอาจไม่มีอ�ำ นาจที่จะเปลี่ยนกฎหมายได้เอง ก็จริงอยู่ แต่ผพู้ พิ ากษาสามารถทีจ่ ะร้องขอให้รฐั สภาพิจารณาเปลีย่ นแปลงแก้ ไขได้ Judges cannot, however, decide whether people are guilty or innocent of serious crimes. When someone is accused of a serious crime, a jury will decide whether he or she is innocent or guilty and, if guilty, the judge will decide on the penalty. For less important crimes, a magistrate will decide on guilt and on any penalty. อย่างไรก็ตาม กรณีคดีอาญาร้ายแรง ผู้พิพากษาไม่มีอำ�นาจตัดสินว่าผู้ ใดผิดหรือไม่ผิด เมื่อมีผ้ถู ูกกล่าวหาว่าทำ�ความผิดร้ายแรงทางอาญา คณะลูกขุนจะเป็นผู้ตัดสินว่าเขาผิด หรือไม่ และถ้าตัดสินว่าผิดจริง จึงจะเป็นหน้าที่ของผู้พิพากษาที่จะกำ�หนดบทลงโทษ สำ�หรับคดีอาญาเล็กน้อยที่ ไม่รนุ แรง ศาลแมจิสเตรท (เทียบเคียงกับศาลแขวงของไทย) จะเป็นผูต้ ดั สินความผิดและกำ�หนดบทลงโทษ
The police
The police service is organised locally, with one police service for each county or group of counties. The largest force is the Metropolitan Police, which serves London and is based at New Scotland Yard. Northern Ireland as a whole is served by the Police Service for Northern Ireland (PSNI). The police have ‘operational independence’, which means that the government cannot instruct them on what to do in any particular case. But the powers of the police are limited by the law and their finances are controlled by the government and by police authorities made up of councillors and magistrates. The Independent Police Complaints Commission (or, in Northern Ireland, the Police Ombudsman) investigates serious complaints against the police.
ตำ�รวจ
การให้บริการดูแลประชาชนของตำ�รวจเป็นการจัดการภายในท้องถิ่น โดยมีหน่วยงาน ตำ�รวจหนึ่งแห่งรับผิดชอบพืน้ ที่ ในแต่ละจังหวัดหรือกลุ่มจังหวัด กองกำ�ลังตำ�รวจที่ ใหญ่ ทีส่ ดุ คือตำ�รวจนครบาล (Metropolitan Police) ซึง่ ดูแลพืน้ ทีก่ รุงลอนดอน และมีทท่ี �ำ การ อยูท่ ่ี นิวสก็อตแลนด์ยาร์ด สำ�หรับไอร์แลนด์เหนือ มีหน่วยงานตำ�รวจแห่งไอร์แลนด์เหนือ 128 Life in the UK
เป็นผูด้ แู ลทัง้ หมด ตำ�รวจมี ’ความเป็นอิสระในการปฏิบตั งิ าน’ ซึง่ หมายถึงว่ารัฐบาลไม่มี อำ�นาจสัง่ การในการปฏิบตั งิ านของตำ�รวจ ไม่วา่ จะในกรณี ใดก็ตาม แต่อ�ำ นาจของตำ�รวจ ก็ถูกจำ�กัดด้วยกฎหมาย และงบประมาณของตำ�รวจก็ถูกควบคุมโดยรัฐบาลและคณะ กรรมการฝ่ายตำ�รวจ ซึง่ ประกอบด้วยสมาชิกสภาเทศบาลและแมจิสเตรท (ผูพ้ พิ ากษาศาล แขวง) นอกจากนัน้ ยังมีคณะกรรมการอิสระตรวจสอบข้อร้องเรียนของประชาชนเกีย่ วกับ การทำ�งานของตำ�รวจ (หรือในไอร์แลนด์เหนือ เรียกว่า ศูนย์รบั การร้องทุกข์เกีย่ วกับตำ�รวจ) ทำ�หน้าทีส่ อบสวนการร้องทุกข์ทส่ี �ำ คัญเกีย่ วกับตำ�รวจด้วย
Non-departmental public bodies (quangos)
Non-departmental public bodies, also known as quangos, are independent organisations that carry out functions on behalf of the public which it would be inappropriate to place under the political control of a Cabinet minister. There are many hundreds of these bodies, carrying out a wide variety of public duties. Appointments to these bodies are usually made by ministers, but they must do so in an open and fair way.
องค์กรเฉพาะกิจของรัฐหรือแควงโกส
องค์กรเฉพาะกิจของรัฐ หรือทีเ่ รียกว่าแควงโกส เป็นองค์กรอิสระทีท่ ำ�หน้าทีป่ ฏิบตั กิ าร แทนภาครัฐ เนื่องจากหน้าที่เหล่านั้นไม่เหมาะสมที่จะจัดให้อยู่ภายใต้การควบคุมทาง การเมืองของรัฐมนตรี หน่วยงานเหล่านีม้ จี �ำ นวนหลายร้อย และปฏิบตั หิ น้าทีต่ า่ งๆ หลากหลาย ให้กบั รัฐ ปกติแล้วรัฐมนตรีจะเป็นผูแ้ ต่งตัง้ ให้บคุ คลเข้ารับตำ�แหน่งหน้าที่ ในองค์กรเหล่านี้ แต่ตอ้ งทำ�อย่างเปิดเผยและเป็นธรรม
The role of the media
Proceedings in Parliament are broadcast on digital television and published in official reports such as Hansard, which is available in large libraries and on the internet: www.parliament.uk. Most people, however, get information about political issues and events from newspapers (often called the press), television and radio
บทบาทของสือ่ มวลชน
การอภิปรายในรัฐสภาจะถูกถ่ายทอดทางโทรทัศน์ระบบดิจิตอล และตีพิมพ์ ในรายงาน ของทางราชการ เช่น แฮนซาร์ด (Hansard) ซึง่ มี ไว้บริการตามห้องสมุดใหญ่ๆ และบน Life in the UK 129
อินเตอร์เน็ต www.parliament.uk อย่างไรก็ตาม คนส่วนใหญ่จะได้รับข้อมูลเกี่ยวกับ ประเด็นและเหตุการณ์ทางการเมืองจากหนังสือพิมพ์ (มักจะเรียกว่า ข่าว) โทรทัศน์และวิทยุ The UK has a free press, meaning that what is written in newspapers is free from government control. Newspaper owners and editors hold strong political opinions and run campaigns to try and influence government policy and public opinion. As a result it is sometimes difficult to distinguish fact from opinion in newspaper coverage. สือ่ มวลชนในสหราชอาณาจักรสามารถนำ�เสนอข่าวได้อย่างอิสระ โดยทีร่ ฐั บาลจะไม่เข้าไป ควบคุมข่าวสารทีเ่ ขียนลงในหนังสือพิมพ์ เจ้าของและบรรณาธิการหนังสือพิมพ์เป็นผูม้ คี วาม คิดเห็นทางการเมืองทีช่ ดั เจน และมักมีการรณรงค์ทเ่ี กีย่ วพันกับนโยบายของรัฐและความ คิดเห็นของสาธารณชน ดังนัน้ บางครัง้ จึงเป็นการยากทีจ่ ะแยกแยะข้อเท็จจริงออกจาก ความคิดเห็นในหน้าหนังสือพิมพ์ By law, radio and television coverage of the political parties at election periods must be balanced and so equal time has to be given to rival viewpoints. But broadcasters are free to interview politicians in a tough and lively way. ตามกฎหมาย ในช่วงการเลือกตั้ง สถานีวิทยุและโทรทัศน์จะต้องนำ�เสนอข่าวและการ หาเสียงของพรรคการเมืองต่างๆ อย่างสมดุลกัน และจัดสรรพื้นที่หรือเวลาในการ ประชาสัมพันธ์นโยบายของแต่ละพรรคให้เท่าเทียมกัน อย่างไรก็ตาม พิธกี รมีอสิ ระทีจ่ ะ สัมภาษณ์นกั การเมืองด้วยลีลาทีเ่ ข้มข้นและมีชวี ติ ชีวา
Who can vote?
The United Kingdom has had a fully democratic system since 1928, when women were allowed to vote at 21, the same age as men. The present voting age of 18 was set in 1969, and (with a few exceptions such as convicted prisoners) all UK-born and naturalised citizens have full civic rights, including the right to vote and do jury service.
ผูม้ สี ทิ ธิลงคะแนนเสียงเลือกตัง้
สหราชอาณาจักรมีประชาธิปไตยเต็มรูปแบบมาตั้งแต่ปี ค.ศ.1928 เมื่อสตรี ได้รับการ ยินยอมให้ลงคะแนนเสียงเลือกตัง้ ได้เมือ่ อายุครบ 21 ปี เช่นเดียวกับผูช้ าย ปัจจุบนั ผูม้ สี ทิ ธิ เลือกตัง้ จะต้องมีอายุ 18 ปี ซึง่ เป็นคุณสมบัตทิ ก่ี �ำ หนดไว้ ในปี ค.ศ. 1969 (ยกเว้นบางกรณี 130 Life in the UK
เช่น เป็นผูต้ อ้ งขัง) และประชาชนทีเ่ กิดในสหราชอาณาจักร และผูท้ ่ี โอนสัญชาติเป็นอังกฤษ แล้วทุกคน มีสิทธิ ในการเป็นพลเมืองโดยสมบูรณ์ รวมถึงสิทธิ ในการเลือกตั้งและการ ทำ�หน้าที่ ในคณะลูกขุนด้วย Citizens of the UK, the Commonwealth and the Irish Republic (if resident in the UK) can vote in all public elections. Citizens of EU states who are resident in the UK can vote in all elections except national parliamentary (general) elections. พลเมืองของสหราชอาณาจักร เครือจักรภพอังกฤษ และสาธารณรัฐไอร์แลนด์ (หากอาศัย อยู่ ในสหราชอาณาจักร) สามารถลงคะแนนเสียงได้ ในทุกๆ การเลือกตัง้ ประชาชนของ ประเทศสมาชิกสหภาพยุโรปที่อาศัยอยู่ ในสหราชอาณาจักรก็มีสิทธิ์ลงคะแนนเสียงใน ทุกๆ การเลือกตัง้ ยกเว้นการเลือกตัง้ สมาชิกรัฐสภาของสหราชอาณาจักร (ในการเลือก ตัง้ ทัว่ ประเทศ) In order to vote in a parliamentary, local or European election, you must have your name on the register of electors, known as the electoral register. If you are eligible to vote, you can register by contacting your local council election registration office. If you don’t know what your local authority is, you can find out by telephoning the Local Government Association (LGA) information line on 020 7664 3131 between 9 a.m. and 5 p.m., Monday to Friday. You will have to tell them your postcode or your full address and they will be able to give you the name of your local authority. You can also get voter registration forms in English, Welsh and some other languages on the internet: www. electoralcommission.org.uk . ในการลงคะแนนเสียงเลือกตั้งสมาชิกรัฐสภา หรือในการเลือกตั้งสมาชิกสภาเทศบาล หรือสมาชิกสภายุโรป คุณจะต้องมีชอ่ื อยู่ ในบัญชีรายชือ่ ผูล้ งคะแนนเสียงเลือกตัง้ (Electoral register) หากคุณมีคณ ุ สมบัตขิ องผูม้ สี ทิ ธิเลือกตัง้ คุณสามารถลงทะเบียนในบัญชี รายชื่อนี้ ได้ โดยติดต่อกับสำ�นักทะเบียนการเลือกตั้งของสภาเทศบาลในท้องถิ่นของคุณ หากคุณไม่รจู้ กั องค์กรท้องถิน่ ของคุณ คุณสามารถหาข้อมูลได้ โดยโทรศัพท์ไปที่ สมาคม การปกครองส่วนท้องถิน่ หมายเลข 020 7664 3131 ระหว่าง 9.00 น. – 17.00 น. วัน จันทร์ถงึ วันศุกร์ คุณจะต้องแจ้งรหัสไปรษณีย์ หรือทีอ่ ยูท่ ช่ี ดั เจนของคุณให้แก่เจ้าหน้าที่ เพือ่ ทีเ่ จ้าหน้าทีจ่ ะได้สามารถแจ้งชือ่ ขององค์กรท้องถิน่ ให้คณ ุ ได้ นอกจากนี้ คุณยังสามารถ ดาวน์ โหลดใบลงทะเบียนเป็นภาษาอังกฤษ ภาษาเวลส์ และภาษาอืน่ ๆ ได้จากอินเตอร์เน็ต ที่ www.electoralcommission.org.uk Life in the UK 131
The electoral register is updated every year in September or October. An electoral registration form is sent to every household and it has to be completed and returned, with the names of everyone who is resident in the household and eligible to vote on 15 October. ทะเบียนรายชือ่ ผูล้ งคะแนนเสียงเลือกตัง้ นีจ้ ะได้รบั การปรับปรุงข้อมูลในเดือนกันยายนหรือ ตุลาคมทุกปี แบบฟอร์มสำ�หรับลงทะเบียนเลือกตัง้ จะถูกส่งไปยังทุกบ้าน และผูอ้ าศัยอยู่ ในบ้านจะต้องกรอกชือ่ ของสมาชิกทุกคนในบ้านทีม่ สี ทิ ธิเลือกตัง้ ในวันที่ 15 ตุลาคม แล้ว ส่งคืนให้กบั สำ�นักทะเบียนท้องถิน่ In Northern Ireland a different system operates. This is called individual registration and all those entitled to vote must complete their own registration form. Once registered, you can stay on the register provided your personal details do not change. For more information telephone the Electoral Office for Northern Ireland on 028 9044 6688. ไอร์แลนด์เหนือใช้ระบบต่างออกไปที่เรียกว่าการลงทะเบียนเฉพาะบุคคล ทุกคนที่มีสิทธิ์ ลงคะแนนเสียงเลือกตัง้ จะต้องกรอกใบลงทะเบียนของตัวเอง เมือ่ ลงทะเบียนแล้ว ชือ่ ของ คุณจะอยู่ ในทะเบียนนี้ตลอดไปจนกว่ารายละเอียดเกี่ยวกับตัวคุณจะเปลี่ยนแปลงไปจาก เดิม คุณสามารถติดต่อขอทราบข้อมูลเพิม่ เติมได้ทส่ี �ำ นักงานเลือกตัง้ แห่งไอร์แลนด์เหนือ โทรศัพท์ 028 9044 6688 By law, each local authority has to make its electoral register available for anyone to look at, although this now has to be supervised. The register is kept at each local electoral registration office (or council office in England and Wales). It is also possible to see the register at some public buildings such as libraries. ตามกฎหมายแล้ว องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นของแต่ละเขตพื้นที่จะต้องให้ประชาชน สามารถเข้าดูรายชือ่ ผูม้ สี ทิ ธิเลือกตัง้ ในทะเบียนได้ อย่างไรก็ตาม การดูทะเบียนดังกล่าว ในปัจจุบันจะต้องมีเจ้าหน้าที่คอยกำ�กับดูแล ทะเบียนนี้จะเก็บไว้ท่ีสำ�นักทะเบียนการ เลือกตัง้ ท้องถิน่ (หรือสำ�นักเทศบาลในอังกฤษและเวลส์) นอกจากนี้ ในทีท่ �ำ การสาธารณะ เช่น ห้องสมุด อาจมีทะเบียนผูม้ สี ทิ ธิเลือกตัง้ ให้คนทัว่ ไปสามารถดูได้ดว้ ย
132 Life in the UK
Standing for office
Most citizens of the United Kingdom, the Irish Republic or the Commonwealth aged 18 or over can stand for public office. There are some exceptions and these include members of the armed forces, civil servants and people found guilty of certain criminal offences. Members of the House of Lords may not stand for election to the House of Commons but are eligible for all other public offices.
การสมัครรับเลือกตัง้ เข้าทำ�หน้าทีเ่ พือ่ ประโยชน์ตอ่ สาธารณชน
พลเมืองส่วนใหญ่ของสหราชอาณาจักร สาธารณรัฐไอร์แลนด์ หรือเครือจักรภพอังกฤษ ทีม่ อี ายุ 18 ปีขน้ึ ไปมีสทิ ธิท์ จ่ี ะสมัครรับเลือกตัง้ เข้าทำ�หน้าทีเ่ พือ่ ประโยชน์ตอ่ สาธารณชน ยกเว้นข้าราชการทหาร ตำ�รวจ ข้าราชการพลเรือน และผูท้ ม่ี คี วามผิดทางอาญา บุคคล เหล่านีจ้ ะไม่มสี ทิ ธิส์ มัครรับเลือกตัง้ เข้าทำ�หน้าทีด่ งั กล่าว สมาชิกสภาขุนนางอาจไม่สมัคร รับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาสามัญ แต่มีสิทธิ์ท่จี ะสมัครรับเลือกตั้งเพื่อเข้าดำ�รงตำ�แหน่ง หน้าทีร่ าชการอืน่ ๆ ได้ To become a local councillor, a candidate must have a local connection with the area through work, being on the electoral register, or through renting or owning land or property. ผูท้ ต่ี อ้ งการลงสมัครรับเลือกตัง้ เป็นสมาชิกสภาเทศบาล หรือเทศมนตรี ในท้องถิน่ จะต้อง ทำ�งานที่มีความสัมพันธ์กับเขตพื้นที่น้ัน และมีช่ืออยู่ ในทะเบียนผู้มีสิทธิ์ลงคะแนนเสียง เลือกตัง้ หรือเช่า หรือเป็นเจ้าของทีด่ นิ หรืออสังหาริมทรัพย์ ในท้องถิน่ นัน้ ๆ
Contacting elected members
All elected members have a duty to serve and represent their constituents. You can get contact details for all your representatives and their parties from your local library. Assembly members, MSPs, MPs and MEPs are also listed in the phone book and Yellow Pages. You can contact MPs by letter or phone at their constituency office or their office in the House of Commons. The House of Commons, Westminster, London SW1A 0AA, or telephone 020 7729 3000. Many Assembly Members, MSPs, MPs and MEPs hold regular local ’surgeries’. These are often advertised in the local paper and constituents can go and talk about issues in person. You can find out the name of your local MP and get in touch with them by fax through the website: www.writetothem.com . This service is free. Life in the UK 133
การติดต่อกับผูท้ ่ี ได้รบั เลือกตัง้
สมาชิกผู้ ได้รบั การเลือกตัง้ ทุกคนมีหน้าที่ ให้บริการและเป็นผูแ้ ทนประชาชนในเขตเลือกตัง้ ของตนเอง คุณสามารถหาข้อมูลสำ�หรับติดต่อผู้แทนเหล่านี้ หรือพรรคการเมืองที่พวก เขาสังกัดได้จากห้องสมุดใกล้บา้ นคุณ นอกจากนัน้ รายชือ่ ของสมาชิกสภาแห่งชาติเวลส์ สมาชิกสภาสก็อตแลนด์ สมาชิกรัฐสภา และสมาชิกสภายุโรป ยังหาดูได้ ในสมุดรายนาม โทรศัพท์และสมุดหน้าเหลือง คุณสามารถติดต่อ ส.ส. ได้ทางจดหมาย หรือโทรศัพท์ไป ทีส่ �ำ นักงานในเขตเลือกตัง้ ของ ส.ส. หรือสำ�นักงานของ ส.ส. ในสภาสามัญ ทีอ่ ยูค่ อื The House of Commons, Westminster, London SW1A 0AA หรีอ โทรศัพท์ 020 7729 3000 สมาชิกสภาแห่งชาติเวลส์ สมาชิกสภาสก็อตแลนด์ สมาชิกรัฐสภา และสมาชิกสภา ยุโรปส่วนใหญ่จะนัดพบกับประชาชนในท้องถิ่นเป็นประจำ� และปกติจะประกาศให้ทราบ ถึงสถานที่นัดพบเหล่านี้ ในหนังสือพิมพ์ท้องถิ่น เพื่อให้ประชาชนในเขตพื้นที่สามารถไป พูดคุยถึงปัญหาต่างๆ กับผูแ้ ทนได้ดว้ ยตนเอง คุณสามารถหาชือ่ ของ ส.ส. ประจำ�เขตพืน้ ที่ ของคุณ และติดต่อกับ ส.ส. เหล่านี้ ได้ทางแฟกซ์ผา่ นเว็บไซต์ www.writetothem.com ซึง่ เป็นบริการฟรี
How to visit Parliament and the Devolved Administrations?
The public can listen to debates in the Palace of Westminster from public galleries in both the House of Commons and the House of Lords. You can either write to your local MP in advance to ask for tickets or you can queue on the day at the public entrance. Entrance is free. Sometimes there are long queues for the House of Commons and you may have to wait for at least one or two hours. It is usually easier to get into the House of Lords. You can find further information on the UK Parliament website: www.parliament.uk
การเยีย่ มชมรัฐสภาและองค์การปกครองส่วนภูมภิ าค
ประชาชนทัว่ ไปสามารถเข้ารับฟังการอภิปรายในรัฐสภาทีเ่ วสต์มนิ สเตอร์ได้ ในห้องทีจ่ ดั ไว้ โดยเฉพาะในสภาสามัญและสภาขุนนาง คุณสามารถเขียนจดหมายไปหา ส.ส. ทีเ่ ป็นผูแ้ ทน ของคุณ เพือ่ ขอบัตรผ่านเข้ารัฐสภา หรืออาจไปเข้าแถวรอตรงทางเข้าสำ�หรับประชาชน ในวันนั้นๆ ซึ่งไม่มีการเก็บค่าผ่านประตู บางครั้งจะมีประชาชนยืนรอที่จะเข้าไปใน สภาสามัญเป็นแถวยาวเหยียด คุณอาจต้องรออย่างน้อยหนึง่ ถึงสองชัว่ โมง ปกติการเข้าไป ฟังการอภิปรายทีส่ ภาขุนนางจะง่ายกว่า คุณสามารถหารายละเอียดเพิม่ เติมได้จากเว็บไซต์ ของรัฐสภาที่ www.parliament.uk
134 Life in the UK
In Northern Ireland, elected members, known as MLAs, meet in the Northern Ireland Assembly at Stormont, in Belfast. The Northern Ireland Assembly is presently suspended. There are two ways to arrange a visit to Stormont. You can either contact the Education Service (details on the Northern Ireland Assembly website: www.niassembly.gov.uk ) or contact an MLA ในไอร์แลนด์เหนือ สมาชิกผู้ ได้รบั เลือกตัง้ ทีเ่ รียกว่าสมาชิกสภานิตบิ ญ ั ญัติ จะประชุมกันใน รัฐสภาแห่งไอร์แลนด์เหนือที่ สตอร์มอนท์ ในกรุงเบลฟาสต์ แต่ปจั จุบนั นี้ สภาแห่งไอร์แลนด์ ถูกระงับชั่วคราว การเยี่ยมชมสตอร์มอนท์สามารถทำ�ได้สองวิธี คือติดต่อศูนย์บริการ การศึกษา (หารายละเอียดได้จากเว็บไซต์ของสภาแห่งไอร์แลนด์เหนือ www.niassembly. gov.uk) หรือติดต่อผูแ้ ทนสมาชิกสภานิตบิ ญ ั ญัตขิ องไอร์แลนด์เหนือ In Scotland, the elected members, called MSPs, meet in the Scottish Parliament at Holyrood in Edinburgh (for more information see: www.scottish.parliament. uk ). You can get information, book tickets or arrange tours through the visitor services. You can write to them at The Scottish Parliament, Edinburgh, EH99 1SP or telephone 0131 348 5200, or email: sp.bookings@scottish.parliament.uk สมาชิกที่ ได้รบั การเลือกตัง้ ในสก็อตแลนด์ทเ่ี รียกว่า สมาชิกรัฐสภาสก็อตแลนด์ จะประชุม กันในรัฐสภาแห่งสก็อตแลนด์ ที่ โฮลีร่ ดู้ ในกรุงเอดินเบอระ (หาข้อมูลเพิม่ เติมได้ทเ่ี ว็บไซต์ www.scottish.parliament.uk) คุณสามารถหาข้อมูลเพิม่ เติม จองตัว๋ หรือติดต่อขอเข้า เยีย่ มชมเป็นกลุม่ ได้ทฝ่ี า่ ยบริการนักท่องเทีย่ ว หรือติดต่อทางจดหมาย โดยส่งไปที่ The Scottish Parliament, Edinburgh, EH99 1SP หรือโทรศัพท์ 0131 348 5200 หรือ อีเมล sp.bookings@scottish.parliament.uk In Wales, the elected members, known as AMs, meet in the Welsh Assembly in the Senedd in Cardiff Bay (for more information see: www.wales.gov.uk ). You can book guided tours or seats in the public galleries for the Welsh Assembly. To make a booking, telephone the Assembly booking line on 029 2089 8477 or email: assembly.booking@wales.gsi.gov.uk สมาชิกผู้ ได้รับการเลือกตั้งในเวลส์ท่เี รียกว่า สมาชิกสภาแห่งชาติเวลส์ จะประชุมกันใน สภาแห่งชาติเวลส์ทอ่ี าคารเซเนดด์ ในอ่าวคาร์ดฟิ ฟ์ (หาข้อมูลเพิม่ เติมได้ทเ่ี ว็บไซต์ www. wales.gov.uk) คุณสามารถจองทัวร์น�ำ เทีย่ ว หรือจองทีน่ ง่ั ในห้องทีจ่ ดั ไว้ส�ำ หรับประชาชน ในสภาแห่งชาติเวลส์ ได้ โดยติดต่อทางโทรศัพท์ท่ี 029 2089 8477 หรือทางอีเมล assembly.booking@wales.gsi.gov.uk หมายเหตุ: โปรดอย่าลืมทบทวนบทเรียน (Check that you understand) Life in the UK 135
The UK in Europe and the world The Commonwealth
The Commonwealth is an association of countries, most of which were once part of the British Empire, though a few countries that were not in the Empire have also joined it.
สหราชอาณาจักรในยุโรปและในโลก เครือจักรภพอังกฤษ
เครือจักรภพอังกฤษ ประกอบด้วยกลุม่ ประเทศส่วนใหญ่ทเ่ี คยเป็นส่วนหนึง่ ของจักรวรรดิ อังกฤษ อย่างไรก็ตาม มีสองสามประเทศที่ ไม่เคยเป็นอาณานิคมของอังกฤษ แต่ตอ้ งการ เข้าร่วมด้วย
Commonwealth members
ประเทศสมาชิกของเครือจักรภพอังกฤษ
แอนติกาและบาร์บดู า (Antigua and Barbuda) นามิเบีย (Namibia) ออสเตรเลีย (Australia) นาอูรู (Nauru)* บาฮามาส (The Bahamas) นิวซีแลนด์ (New Zealand) บังคลาเทศ (Bangladesh) ไนจีเรีย (Nigeria) บาร์เบโดส (Barbados) ปากีสถาน (Pakistan) เบลิซ (Belize) ปาปัวนิวกินี (Papua New Guinea) เซนต์คติ ส์และเนวิส (St Kitts and Nevis) บอตสวานา (Botswana) บรูไนดารุสซาลาม (Brunei Darussalam) เซนต์ลเู ซีย (St Lucia) คาเมรูน (Cameroon) เซนต์วนิ เซนต์และเกรนาดีนส์ (St Vincent and the Grenadines) แคนาดา (Canada) ซามัว (Samoa) ไซปรัส (Cyprus) เซเชลส์ (Seychelles) โดมินกิ า (Dominica) เซียร่าลีออน (Sierra Leone) หมูเ่ กาะฟิจิ (Fiji Islands) สิงคโปร์ (Singapore) แกมเบีย (The Gambia) หมูเ่ กาะโซโลมอน (Solomon Islands) กานา (Ghana) แอฟริกาใต้ (South Africa) เกรนาดา (Grenada) ศรีลงั กา (Sri Lanka) กายอานา (Guyana) สวาซิแลนด์ (Swaziland) อินเดีย (India) ทองก้า (Tonga) 136 Life in the UK
จาเมกา (Jamaica) ทรินแิ ดด แอนด์ โทบาโก (Trinidad and Tobago) เคนยา (Kenya) ตูวาลู (Tuvalu) คิรบิ าส (Kiribati) ยูกนั ดา (Uganda) เลโซโท (Lesotho) สหราชอาณาจักร (United Kingdom) มาลาวี (Malawi) สหสาธารณรัฐแทนซาเนีย (United Republic of Tanzania) มาเลเซีย (Malaysia) วานูอาตู (Vanuatu) มัลดีฟส์ (Maldives) แซมเบีย (Zambia) มอลตา (Malta) มอริเชียส (Mauritius) โมซัมบิก (Mozambique) *นาอูรู เป็นสมาชิกพิเศษ The Queen is the head of the Commonwealth, which currently has 53 member states. Membership is voluntary and the Commonwealth has no power over its members although it can suspend membership. The Commonwealth aims to promote democracy, good government and to eradicate poverty. พระราชินีเป็นประมุขของเครือจักรภพอังกฤษ ซึ่งปัจจุบันประกอบด้วยรัฐสมาชิก 53 ประเทศ ประเทศเหล่านีเ้ ข้าร่วมเป็นสมาชิกด้วยความสมัครใจ และเครือจักรภพอังกฤษ ไม่มีอำ�นาจเหนือประเทศสมาชิก แต่มีสิทธิ์ท่ีจะพักสมาชิกภาพของประเทศสมาชิกได้ เครือจักรภพอังกฤษมีจุดมุ่งหมายในการสนับสนุนประชาธิปไตย รัฐบาลที่มีการปกครอง ทีด่ ี และขจัดความยากจน
The European Union (EU)
The European Union (EU), originally called the European Economic Community (EEC), was set up by six Western European countries who signed the Treaty of Rome on 25 March 1957. One of the main reasons for doing this was the belief that co-operation between states would reduce the likelihood of another war in Europe. Originally the UK decided not to join this group and only became part of the European Union in 1973. In 2004 ten new member countries joined the EU, with a further two in 2006 making a total of 27 member countries.
สหภายุโรป (อีย)ู
สหภาพยุโรป (อีย)ู เดิมคือประชาคมเศรษฐกิจยุโรป (อีอซี )ี จัดตัง้ ขึน้ โดย 6 ประเทศใน ยุโรปตะวันตก ซึง่ ลงนามในสนธิสญ ั ญากรุงโรมเมือ่ วันที่ 25 มีนาคม ค.ศ. 1957 เหตุผล Life in the UK 137
หลักประการหนึ่งในการก่อตั้งอีอีซี หรืออียู ก็คือ ประเทศเหล่านี้เชื่อว่าความร่วมมือ ระหว่างประเทศจะทำ�ให้แนวโน้มทีจ่ ะเกิดสงครามในยุโรปในอนาคตมีนอ้ ยลง เดิมทีสหราช อาณาจักรตัดสินใจไม่เข้าร่วมกลุม่ ประเทศเหล่านี้ แต่ตอ่ มาได้เข้าร่วมเป็นสมาชิกสหภาพ ยุโรปในปี ค.ศ. 1973 และได้มปี ระเทศใหม่อกี 10 ประเทศเข้าร่วมเป็นสมาชิกสหภาพ ยุโรปในปี ค.ศ.2004 และมีสมาชิกเพิม่ อีก 2 ประเทศในปี ค.ศ. 2006 สหภาพยุโรปจึงมี สมาชิกรวมทัง้ หมด 27 ประเทศ One of the main aims of the EU today is for member states to function as a single market. Most of the countries of the EU have a shared currency, the euro, but the UK has decided to retain its own currency unless the British people choose to accept the euro in a referendum. Citizens of an EU member state have the right to travel to and work in any EU country if they have a valid passport or identity card. This right can be restricted on the grounds of public health, public order and public security. The right to work is also sometimes restricted for citizens of countries that have joined the EU recently. จุดมุง่ หมายทีส่ �ำ คัญประการหนึง่ ของสหภาพยุโรปทุกวันนี้ ก็เพือ่ รวมกลุม่ ประเทศสมาชิก ให้เป็นตลาดเดียวกัน ประเทศสมาชิกส่วนใหญ่ ใช้เงินสกุลเดียวกัน คือเงินยูโร แต่สหราช อาณาจักรเลือกทีจ่ ะใช้เงินสกุลเดิมของอังกฤษ นอกจากว่าประชาชนอังกฤษจะลงประชามติ สนับสนุนให้ ใช้เงินสกุลยูโร ประชาชนของประเทศสมาชิกอียู มีสทิ ธิท์ จ่ี ะเดินทางและทำ�งาน ในประเทศสมาชิกใดก็ ได้ หากมีหนังสือเดินทาง หรือบัตรประจำ�ตัวทีย่ งั ไม่หมดอายุ แต่ สิทธินอ้ี าจถูกจำ�กัดด้วยเหตุผลทางสุขภาพ ความสงบเรียบร้อย และความปลอดภัยของ สาธารณชน บางครั้งก็มีการจำ�กัดสิทธิในการทำ�งานของประชาชนจากประเทศสมาชิก ทีเ่ พิง่ เข้าร่วมเป็นสมาชิกสหภาพยุโรปด้วย The Council of the European Union (usually called the Council of Ministers) is effectively the governing body of the EU. It is made up of government ministers from each country in the EU and, together with the European Parliament, is the legislative body of the EU. The Council of Ministers passes EU law on the recommendations of the European Commission and the European Parliament and takes the most important decisions about how the EU is run. The European Commission is based in Brussels, the capital city of Belgium. It is the civil service of the EU and drafts proposals for new EU policies and laws and administers its funding programmes.
138 Life in the UK
คณะมนตรีแห่งสหภาพยุโรป (หรือปกติเรียกว่า คณะรัฐมนตรี) เป็นองค์กรปกครองสหภาพ ยุโรป ประกอบด้วยรัฐมนตรีจากแต่ละประเทศสมาชิก ทำ�หน้าที่ร่วมกับสภายุโรปเป็น สภานิติบัญญัติแห่งสหภาพยุโรป คณะมนตรีแห่งสหภาพยุโรปทำ�หน้าที่ออกกฎหมาย ของอียู ตามคำ�แนะนำ�ของคณะกรรมาธิการสหภาพยุโรปและสภายุโรป นอกจากนี้ ยัง ทำ�หน้าที่ตัดสินใจในเรื่องสำ�คัญเกี่ยวกับการบริหารสหภาพยุโรปด้วย คณะกรรมาธิการ สหภาพยุโรปมีท่ีทำ�การอยู่ ในกรุงบรัสเซล เมืองหลวงของประเทศเบลเยี่ยม คณะ กรรมาธิการเป็นข้าราชการของอียูและทำ�หน้าที่ร่างข้อเสนอเกี่ยวกับนโยบายใหม่และ กฎหมายของอียู พร้อมทัง้ บริหารงบประมาณโครงการต่างๆ The European Parliament meets in Strasbourg, in north-eastern France, and in Brussels. Each country elects members, called Members of the European Parliament (MEPs), every five years. The European Parliament examines decisions made by the European Council and the European Commission, and it has the power to refuse agreement to European laws proposed by the Commission and to check on the spending of EU funds. สภายุโรปจะประชุมกันที่สตราสบูร์ก ทางตะวันออกเฉียงเหนือของฝรั่งเศส และที่กรุง บรัสเซล แต่ละประเทศจะเลือกตัง้ สมาชิก ซึง่ เรียกว่าสมาชิกสภายุโรปทุกๆ ห้าปี สภายุโรป มีหน้าที่ ไต่สวนการตัดสินใจของคณะมนตรีสหภาพยุโรปและคณะกรรมาธิการสหภาพ ยุโรป และยังมีอ�ำ นาจทีจ่ ะปฏิเสธการยินยอมเกีย่ วกับกฎหมายยุโรป ซึง่ นำ�เสนอโดยคณะ กรรมาธิการสหภาพยุโรป และตรวจสอบการใช้งบประมาณของสหภาพยุโรปด้วย European Union law is legally binding in the UK and all the other member states. European laws, called directives, regulations or framework decisions, have made a lot of difference to people’s rights in the UK, particularly at work. For example, there are EU directives about the procedures for making workers redundant, and regulations that limit the number of hours people can be made to work. กฎหมายของสหภาพยุโรปมีผลผูกพันทางกฎหมาย สามารถบังคับใช้ ได้ ในสหราชอาณาจักร และรัฐสมาชิกอืน่ ๆ ทุกประเทศ กฎหมายยุโรป หรือทีเ่ รียกว่าคำ�สัง่ ข้อบังคับ หรือโครงร่าง การตัดสินใจ มีผลทีส่ ร้างความเปลีย่ นแปลงให้กบั สิทธิของประชาชนในสหราชอาณาจักร โดยเฉพาะเกีย่ วกับเรือ่ งทีท่ �ำ งาน ยกตัวอย่างเช่น มีค�ำ สัง่ ของอียเู กีย่ วกับขัน้ ตอนการปฏิบตั ิ ในการปลดพนักงานออกจากงาน และข้อบังคับเกีย่ วกับจำ�นวนชัว่ โมงการทำ�งานทีน่ ายจ้าง จะบังคับให้ลกู จ้างทำ�งานได้ Life in the UK 139
The Council of Europe
The Council of Europe was created in 1949 and the UK was one of the founder members. Most of the countries of Europe are members. It has no power to make laws but draws up conventions and charters which focus on human rights, democracy, education, the environment, health and culture. The most important of these is the European Convention on Human Rights; all member states are bound by this Convention and a member state which persistently refuses to obey the Convention may be expelled from the Council of Europe.
คณะมนตรีแห่งยุโรป
คณะมนตรีแห่งยุโรปจัดตัง้ ขึน้ ในปี ค.ศ. 1949 และสหราชอาณาจักรเป็นหนึง่ ในสมาชิก ผู้ก่อตั้ง ประเทศส่วนใหญ่ ในยุโรปเป็นสมาชิกของคณะมนตรีแห่งยุโรป อย่างไรก็ตาม องค์กรนี้ ไม่มอี �ำ นาจร่างกฎหมาย แต่ท�ำ หน้าทีร่ า่ งอนุสญ ั ญาและข้อตกลงต่างๆ ทีเ่ กีย่ วกับ การปกป้องสิทธิมนุษยชน ประชาธิปไตย การศึกษา สิง่ แวดล้อม สุขภาพ และวัฒนธรรม ที่ สำ�คัญทีส่ ดุ คือ อนุสญ ั ญาว่าด้วยสิทธิมนุษยชนแห่งยุโรป ซึง่ มีผลผูกพันสมาชิกทุกประเทศ ประเทศสมาชิกใดก็ตามทีป่ ฏิเสธไม่ท�ำ ตามอนุสญ ั ญานี้ อาจถูกถอดถอนจากการเป็นสมาชิก คณะมนตรีแห่งยุโรป
The United Nations (UN)
The UK is a member of the United Nations (UN), an international organisation to which over 190 countries now belong. The UN was set up after the Second World War and aims to prevent war and promote international peace and security. There are 15 members on the UN Security Council, which recommends action by the UN when there are international crises and threats to peace. The UK is one of the five permanent members.
สหประชาชาติ (ยูเอ็น)
สหราชอาณาจักรเป็นสมาชิกของสหประชาชาติ (ยูเอ็น) ซึง่ เป็นองค์กรระหว่างประเทศ ทีม่ สี มาชิกกว่า 190 ประเทศ องค์การสหประชาชาติได้กอ่ ตัง้ ขึน้ หลังสงครามโลกครัง้ ที่ สอง โดยมีจดุ ประสงค์เพือ่ ป้องกันการเกิดสงคราม และเพือ่ ส่งเสริมสันติภาพและความ มัน่ คงระหว่างประเทศ คณะกรรมาธิการความมัน่ คงแห่งสหประชาชาติมสี มาชิกจาก 15 ประเทศ และทำ�หน้าที่แนะนำ�ให้องค์การสหประชาชาติดำ�เนินการยามเกิดวิกฤตการณ์ หรือเมื่อมีภัยคุกคามต่อความสงบสุขระหว่างประเทศ สหราชอาณาจักรเป็นหนึ่งในกลุ่ม สมาชิกถาวรทีม่ อี ยู่ 5 ประเทศ 140 Life in the UK
Three very important agreements produced by the UN are the Universal Declaration of Human Rights, the Convention on the Elimination of All Forms of Discrimination against Women, and the UN Convention on the Rights of the Child. Although none of these has the force of law, they are widely used in political debate and legal cases to reinforce the law and to assess the behaviour of countries. องค์การสหประชาชาติได้จัดทำ�ข้อตกลงที่สำ�คัญ 3 ข้อ ดังนี้ ข้อที่ 1 ปฏิญญาสากล ว่าด้วยสิทธิมนุษยชน ข้อที่ 2 อนุสัญญาว่าด้วยการขจัดการเลือกปฏิบัติต่อสตรี ใน ทุกรูปแบบ และข้อที่ 3 อนุสญ ั ญาว่าด้วยสิทธิของเด็ก ถึงแม้วา่ ข้อตกลงทัง้ สามนีจ้ ะไม่มี ผลบังคับใช้ทางกฎหมาย แต่ก็ ได้มกี ารนำ�ไปใช้ ในการอภิปรายทางการเมืองอย่างกว้างขวาง นอกจากนี้ ยังมีการนำ�ไปใช้สนับสนุนการพิจารณาคดีทางกฎหมาย และประเมินพฤติกรรม ของประเทศต่างๆ อีกด้วย หมายเหตุ: โปรดอย่าลืมทบทวนบทเรียน (Check that you understand)
©Edu-Plus CIC of Dr. Khanungnit Garnett -Duang-dhamma Building, 49 Castle Street, Banbury OXON OX16 5NU
Life in the UK 141
Everyday Chapter 5:
Needs
สิ่งที่สำ�คัญในชีวิตประจำ�วัน
Everyday Needs
ในบทที่ 5 นี้ เราจะมาเรียนรูถ้ งึ สิง่ ต่างๆ ทีม่ คี วามส�ำคัญในการด�ำรงชีวติ ประจ�ำวันของเรา ได้แก่ ทีอ่ ยูอ่ าศัย บริการสาธารณูปโภค การเงินและสินเชือ่ ตลอดจนการประกันภัย ระบบ ประกันสังคมของรัฐ และบริการสาธารณสุข นอกจากนัน้ เนือ้ หาในบทนีย้ งั ครอบคลุมไป ถึงการดูแลสุขภาพยามตัง้ ครรภ์ การดูแลบุตร การศึกษา นันทนาการ การเดินทางและ การขับขีย่ านยนต์ และเอกสารต่างๆ ส�ำหรับใช้ ในการแสดงตน
Housing (ทีอ่ ยูอ่ าศัย) Buying a home
Two-thirds of people in the UK own their own home. Most other people rent houses, flats or rooms.
การซือ้ บ้าน
สองในสามของประชากรในสหราชอาณาจักรมีบา้ นเป็นของตนเอง ส่วนทีเ่ หลือจะเช่าบ้าน แฟลต หรือห้องเช่า
Mortgages
People who buy their own home usually pay for it with a mortgage, a special loan from a bank or building society. This loan is paid back, with interest, over a long period of time, usually 25 years. You can get information about mortgages from a bank or building society. Some banks can also give information about Islamic (Sharia) mortgages.
การกูเ้ งินซือ้ บ้าน (ระบบจ�ำนอง)
ประชาชนที่ซื้อบ้านอยู่เอง ปกติจะกู้ยืมเงินพิเศษจากธนาคารหรือสถาบันการเงินเพื่อ การเคหะ และจ�ำนองบ้านนัน้ ไว้เป็นหลักประกันการช�ำระหนี้ สัญญาการช�ำระหนีพ้ ร้อม ดอกเบีย้ ปกติจะมีระยะเวลานานประมาณ 25 ปี คุณสามารถหาข้อมูลเกีย่ วกับการขอกูเ้ งิน ซือ้ บ้านได้จากธนาคารหรือสถาบันการเงินเพือ่ การเคหะ ธนาคารบางแห่งยังสามารถให้ ข้อมูลเกีย่ วกับสินเชือ่ เคหะตามหลักการของศาสนาอิสลาม (กฎหมายชะริอะห์) ได้ดว้ ย
Life in the UK 145
If you are having problems paying your mortgage repayments, you can get help and advice (see Help on page 57). It is important to speak to your bank or building society as soon as you can. หากคุณมีปญ ั หาในการช�ำระหนีจ้ �ำนองบ้าน คุณสามารถขอค�ำแนะน�ำและความช่วยเหลือ ได้ (ดู ความช่วยเหลือ หน้า 57) และคุณต้องรีบปรึกษากับธนาคารหรือสถาบันการเงินที่ ให้สนิ เชือ่ เคหะแก่คณ ุ โดยเร็วทีส่ ดุ
Estate agents
If you wish to buy a home, usually the first place to start is an estate agent. In Scotland the process is different and you should go first to a solicitor. Estate agents represent the person selling their house or flat. They arrange for buyers to visit homes that are for sale. There are estate agents in all towns and cities and they usually have websites where they advertise the homes for sale. You can also find details about homes for sale on the internet and in national and local newspapers.
บริษทั ตัวแทนจ�ำหน่ายอสังหาริมทรัพย์
หากคุณต้องการซือ้ บ้าน คุณควรติดต่อตัวแทนจ�ำหน่ายอสังหาริมทรัพย์เป็นอันดับแรก การ ซือ้ ขายบ้านในสก็อตแลนด์มวี ธิ กี ารทีต่ า่ งกัน หากคุณต้องการซือ้ บ้านในสก็อตแลนด์ คุณ จะต้องติดต่อกับทนายความก่อน บริษทั ตัวแทนขายบ้านจะท�ำหน้าทีแ่ ทนเจ้าของบ้านหรือ แฟลตทีต่ อ้ งการขาย และจะเป็นผูจ้ ดั การให้คณ ุ เข้าชมบ้านทีจ่ ะขาย ในเมืองเล็กเมืองใหญ่ ต่างๆ จะมีบริษทั ตัวแทนจ�ำหน่ายบ้าน ซึง่ ปกติจะมีเว็บไซต์ โฆษณาบ้านทีจ่ ะขาย นอกจากนี้ คุณยังสามารถหารายละเอียดเกีย่ วกับบ้านทีจ่ ะขายได้ ในอินเทอร์เน็ต และหนังสือพิมพ์ ใน ท้องถิน่ และหนังสือพิมพ์ทวั่ ประเทศ
Making an offer
In the UK, except in Scotland, when you find a home you wish to buy you have to make an offer to the seller. You usually do this through an estate agent or solicitor. Many people offer a lower price than the seller is asking. Your first offer must be ‘subject to contract’ so that you can withdraw if there are reasons why you cannot complete the purchase. In Scotland the seller sets a price and buyers make offers over that amount. The agreement becomes legally binding earlier than it does elsewhere in the UK. 146 Life in the UK
การเสนอราคาซือ้ บ้าน
กรณี ในสหราชอาณาจักร ยกเว้นสก็อตแลนด์ เมือ่ คุณพบบ้านทีต่ อ้ งการซือ้ แล้ว คุณจะ ต้องเสนอราคาซือ้ ต่อผูข้ าย ซึง่ ตามปกติจะเสนอผ่านตัวแทนจ�ำหน่ายอสังหาริมทรัพย์หรือ ทนายความ ผูซ้ อื้ บ้านส่วนใหญ่จะเสนอราคาต�ำ่ กว่าทีผ่ ขู้ ายได้ตงั้ ราคาไว้ การเสนอราคา ซือ้ ครัง้ แรกจะต้อง ‘อยูภ่ ายใต้เงือ่ นไขสัญญา’ เพือ่ ให้คณ ุ สามารถยกเลิกได้ หากมีเหตุผลที่ ท�ำให้คณ ุ ไม่สามารถซือ้ บ้านนัน้ ได้ตามทีต่ กลงกันไว้ ส�ำหรับในสก็อตแลนด์ ผูข้ ายจะก�ำหนด ราคาบ้าน และผูซ้ อื้ จะเสนอราคาโดยพิจารณาตามราคาขายทีต่ งั้ ไว้ การตกลงซือ้ ขายบ้าน จะมีผลผูกพันทางกฎหมายเร็วกว่าทีอ่ นื่ ใดในสหราชอาณาจักร
Solicitor and surveyor
It is important that a solicitor helps you through the process of buying a house or flat. When you make an offer on a property, the solicitor will carry out a number of legal checks on the property, the seller and the local area. The solicitor will provide the legal agreements necessary for you to buy the property. The bank or building society that is providing you with your mortgage will also carry out checks on the house or flat you wish to buy. These are done by a surveyor. The buyer does not usually see the result of this survey, so the buyer often asks a second surveyor to check the house as well. In Scotland the survey is carried out before an offer is made, to help people decide how much they want to bid for the property.
ทนายความและช่างส�ำรวจ
ทนายความเป็นบุคคลส�ำคัญที่จะช่วยให้คุณสามารถด�ำเนินการซื้อบ้านหรือแฟลตได้ อย่างราบรืน่ เมือ่ คุณเสนอราคาซือ้ แล้ว ทนายความจะด�ำเนินการตรวจสอบทางกฎหมาย ในเรือ่ งต่างๆ เกีย่ วกับบ้านทีค่ ณ ุ ต้องการซือ้ รวมถึงตัวผูข้ าย และบริเวณพืน้ ที่ ในเขตนัน้ ๆ ทนายความจะร่างสัญญาทางกฎหมายทีจ่ �ำเป็นในการซือ้ บ้านให้กบั คุณ และธนาคารหรือ สถาบันการเงินที่ ให้สินเชื่อจ�ำนองแก่คุณ จะให้ช่างส�ำรวจไปด�ำเนินการตรวจสอบบ้าน หรือแฟลตที่คุณต้องการจะซื้อ แต่ปกติจะไม่แจ้งผลการส�ำรวจให้ผู้ซื้อ ผู้ซื้อจึงมักจะให้ ช่างส�ำรวจคนใหม่ ไปด�ำเนินการตรวจสอบบ้านนัน้ ด้วยเช่นกัน ส�ำหรับในสก็อตแลนด์ การ ส�ำรวจบ้านจะท�ำก่อนทีจ่ ะมีการเสนอซือ้ เพือ่ ช่วยให้ผซู้ อื้ สามารถตัดสินใจได้ว่าควรเสนอ ราคาซือ้ เท่าไร
Life in the UK 147
Rented accommodation
It is possible to rent accommodation from the local authority (the council), from a housing association or from private property owners called landlords.
การเช่าทีอ่ ยูอ่ าศัย
คุณอาจเช่าทีอ่ ยูอ่ าศัยขององค์การปกครองส่วนท้องถิน่ (เทศบาล) หรือสมาคมการเคหะ หรือของเจ้าของบ้านให้เช่าในภาคเอกชนก็ ได้
The local authority
Most local authorities (or councils) provide housing. This is often called ‘council housing’. In Northern Ireland social housing is provided by the Northern Ireland Housing Executive (www.nihe.co.uk). In Scotland you can find information on social housing at www.sfha.co.uk. Everyone is entitled to apply for council accommodation. To apply you must put your name on the council register or list. This is available from the housing department at the local authority. You are then assessed according to your needs. This is done through a system of points. You get more points if you have priority needs, for example if you are homeless and have children or chronic ill health.
องค์การปกครองส่วนท้องถิน่
องค์การปกครองส่วนท้องถิ่น (หรือเทศบาล) ส่วนใหญ่จะจัดหาที่อยู่อาศัย ที่เรียกกัน ว่า ‘บ้านการเคหะของเทศบาล’ ให้แก่ผทู้ ตี่ อ้ งการ ส�ำหรับในไอร์แลนด์เหนือ การเคหะ สงเคราะห์จะเป็นหน้าทีข่ องฝ่ายบริหารการเคหะแห่งไอร์แลนด์เหนือ (www.nihe.co.uk) ในสก็อตแลนด์ คุณสามารถหาข้อมูลเกีย่ วกับการเคหะสงเคราะห์ได้ที่ www.sfha.co.uk ทุกคนมีสิทธิ์ที่จะยื่นขอที่อยู่อาศัยของเทศบาล โดยลงชื่อในทะเบียนหรือรายชื่อที่แผนก การเคหะของเทศบาลท้องถิ่น หลังจากนั้นเจ้าหน้าที่จะประเมินความต้องการของคุณ ตามระบบคะแนน คุณจะได้คะแนนมากขึน้ หากคุณมีความจ�ำเป็นทีเ่ ร่งด่วนในล�ำดับต้นๆ ตัวอย่างเช่น คุณเป็นผู้ ไร้ทอี่ ยูอ่ าศัย และมีบตุ ร หรือมีปญ ั หาสุขภาพเรือ้ รัง It is important to note that in many areas of the UK there is a shortage of council accommodation, and that some people have to wait a very long time for a house or flat. 148 Life in the UK
ข้อส�ำคัญทีค่ ณ ุ ควรทราบก็คอื หลายเขตพืน้ ที่ ในสหราชอาณาจักรมีปญ ั หาขาดแคลนบ้าน การเคหะของเทศบาล และบางคนต้องใช้เวลารอทีจ่ ะได้บา้ นหรือแฟลตนานมาก
Housing associations
Housing associations are independent not-for-profit organisations which provide housing for rent. In some areas they have taken over the administration of local authority housing. They also run schemes called shared ownership, which help people buy part of a house or flat if they cannot afford to buy all of it at once. There are usually waiting lists for homes owned by housing associations.
สมาคมการเคหะ
สมาคมการเคหะเป็นองค์กรอิสระทีด่ �ำเนินการจัดหาบ้านให้เช่าโดยไม่หวังผลก�ำไร ในบาง เขตพื้นที่ สมาคมการเคหะได้เข้าท�ำหน้าที่บริหารงานแทนแผนกการเคหะของเทศบาล นอกจากนัน้ ยังด�ำเนินโครงการ ‘การมีกรรมสิทธิร์ ว่ มกัน’ เพือ่ ช่วยเหลือผูท้ ี่ ไม่มเี งินพอที่ จะซือ้ บ้านได้ทงั้ หลังในคราวเดียว ให้สามารถซือ้ บ้านหรือแฟลตทีต่ อ้ งการได้เป็นบางส่วน ปกติจะมีผรู้ อคอยทีจ่ ะเช่าบ้านของสมาคมการเคหะเป็นจ�ำนวนค่อนข้างมาก
Privately rented accommodation
Many people rent houses or flats privately, from landlords. Information about private accommodation can be found in local newspapers, notice boards, estate agents and letting agents.
บ้านให้เช่าในภาคเอกชน
มีคนจ�ำนวนมากเช่าบ้านหรือแฟลตทีเ่ ป็นของเอกชน ข้อมูลเกีย่ วกับทีพ่ กั เอกชนสามารถหา ได้จากหนังสือพิมพ์ทอ้ งถิน่ ป้ายติดประกาศ ตัวแทนจ�ำหน่ายบ้านและตัวแทนให้เช่าบ้าน
Tenancy agreement
When you rent a house or flat privately you sign a tenancy agreement, or lease. This explains the conditions or ‘rules’ you must follow while renting the property. This agreement must be checked very carefully to avoid problems later. The agreement also contains a list of any furniture or fittings in the property. This Life in the UK 149
is called an inventory. Before you sign the agreement, check the details and keep it safe during your tenancy.
สัญญาเช่าบ้าน
ในการตกลงเช่าบ้านหรือแฟลตทีเ่ ป็นของเอกชน คุณจะต้องลงนามในสัญญาเช่าบ้าน หรือ สัญญาเช่าระยะยาว ซึง่ จะมีเงือ่ นไข หรือ ‘กฎ’ ทีต่ อ้ งยึดถือปฏิบตั ติ ามในช่วงก�ำหนดเวลา การเช่า คุณต้องตรวจสอบสัญญานี้อย่างรอบคอบ เพื่อหลีกเลี่ยงปัญหาในภายหน้า นอกจากนั้น ยังมีรายการเฟอร์นิเจอร์หรืออุปกรณ์ติดตั้งในบ้าน เรียกว่า ‘บัญชีสิ่งของ ภายในบ้าน’ รวมอยู่ในสัญญานีด้ ว้ ย ก่อนลงนามในสัญญาเช่า คุณควรตรวจสอบรายละเอียด และเก็บสัญญาเช่าไว้ ให้ดี ในช่วงก�ำหนดเวลาการเช่า
Deposit and rent
You will probably be asked to give the landlord a deposit at the beginning of your tenancy. This is to cover the cost of any damage. It is usually equal to one month’s rent. The landlord must return this money to you at the end of your tenancy, unless you have caused damage to the property.
ค่าเช่าและค่ามัดจ�ำ
เมื่อเริ่มสัญญาเช่า คุณอาจต้องช�ำระเงินมัดจ�ำให้แก่เจ้าของบ้าน เพื่อเป็นค่าคุ้มครอง ความเสียหายที่อาจเกิดขึ้น โดยปกติแล้ว ค่ามัดจ�ำจะเท่ากับค่าเช่าหนึ่งเดือน เจ้าของ บ้านจะคืนเงินจ�ำนวนนี้ ให้แก่คุณเมื่อสัญญาเช่าสิ้นสุดลง ยกเว้นกรณีที่คุณได้สร้างความ เสียหายให้กบั บ้านทีค่ ณ ุ เช่า Your rent is fixed with your landlord at the beginning of the tenancy. The landlord cannot raise the rent without your agreement. เจ้าของบ้านจะก�ำหนดค่าเช่าตัง้ แต่เริม่ ท�ำสัญญา และเจ้าของบ้านจะไม่สามารถขึน้ ค่าเช่า ได้เองโดยไม่ ได้รบั การยินยอมจากคุณ If you have a low income or are unemployed you may be able to claim Housing Benefit (see Help) to help you pay your rent. หากคุณเป็นผูท้ มี่ รี ายได้นอ้ ย หรือไม่มงี านท�ำ คุณอาจจะสามารถยืน่ ค�ำขอรับเงินช่วยเหลือ ค่าทีอ่ ยูอ่ าศัย (ดู ความช่วยเหลือ) เพือ่ ช่วยในการช�ำระค่าเช่าบ้านของคุณได้
150 Life in the UK
Renewing and ending a tenancy
Your tenancy agreement will be for a fixed period of time, often six months. After this time the tenancy can be ended or, if both tenant and landlord agree, renewed. If you end the tenancy before the fixed time, you usually have to pay the rent for the agreed full period of the tenancy.
การต่อสัญญาและการสิน้ สุดสัญญาเช่า
สัญญาเช่าของคุณจะมีก�ำหนดระยะเวลา ซึง่ ปกติจะนาน 6 เดือน หลังจากนัน้ อาจมีการ ยกเลิกสัญญา หรือผูเ้ ช่าและเจ้าของบ้านอาจตกลงต่อสัญญากันใหม่ ตามปกติ หากคุณ บอกเลิกสัญญาก่อนเวลาทีก่ �ำหนด คุณจะต้องช�ำระค่าเช่าให้ครบตามจ�ำนวนระยะเวลาที่ ก�ำหนดไว้ ในสัญญา A landlord cannot force a tenant to leave. If a landlord wishes a tenant to leave they must follow the correct procedures. These vary according to the type of tenancy. It is a criminal offence for a landlord to use threats or violence against a tenant or to force them to leave without an order from court. เจ้าของบ้านจะบังคับให้ผู้เช่าย้ายออกไม่ ได้ หากเจ้าของบ้านต้องการให้ผู้เช่าย้ายออก เจ้าของบ้านจะต้องด�ำเนินการตามขัน้ ตอนทีถ่ กู ต้องตามกฎหมาย ซึง่ จะแตกต่างกันไปตาม ประเภทของการเช่า เจ้าของบ้านจะมีความผิดตามกฎหมายอาญา หากใช้วธิ กี ารขูเ่ ข็ญ หรือ ใช้ความรุนแรงกับผูเ้ ช่า หรือบีบบังคับให้ผเู้ ช่าย้ายออกโดยไม่มคี �ำสัง่ จากศาล
Discrimination
It is unlawful for a landlord to discriminate against someone looking for accommodation because of their sex, race, nationality, or ethnic group, or because they are disabled, unless the landlord or a close relative of the landlord is sharing the accommodation.
การเลือกปฏิบตั ิ
การเลือกปฏิบตั ติ อ่ ผูท้ กี่ �ำลังมองหาทีอ่ ยูอ่ าศัย ด้วยเหตุผลในเรือ่ งเพศ สีผวิ เชือ้ ชาติ หรือ ความพิการ เป็นการท�ำผิดกฎหมาย ยกเว้นกรณีทเี่ จ้าของบ้านหรือญาติของเจ้าของบ้าน อาศัยอยู่ ในบ้านนัน้ ด้วย
Life in the UK 151
Homelessness
If you are homeless you should go for help to the local authority (or, in Northern Ireland, the Housing Executive). They have a legal duty to offer help and advice, but will not offer you a place to live unless you have priority need (see above) and have a connection with the area, such as work or family. You must also show that you have not made yourself intentionally homeless.
การไร้ทอี่ ยูอ่ าศัย
หากคุณไม่มีที่อยู่อาศัย คุณควรติดต่อขอความช่วยเหลือจากองค์การเทศบาลในท้องถิ่น (หรือฝ่ายบริหารการเคหะในไอร์แลนด์เหนือ) หน่วยงานเหล่านึม้ หี น้าทีต่ ามกฎหมายทีจ่ ะ ให้ความช่วยเหลือและค�ำปรึกษาแก่คณ ุ แต่จะไม่เสนอทีพ่ กั อาศัยให้จนกว่าคุณจะมีความ จ�ำเป็นในอันดับต้นๆ (ดูขอ้ มูลข้างต้น) และมีความเกีย่ วข้องสัมพันธ์กบั เขตเทศบาลนัน้ ๆ เช่น ท�ำงานหรือมีครอบครัวอยูท่ นี่ นั่ นอกจากนี้ คุณต้องพิสจู น์ ให้เห็นว่า คุณไม่ ได้จงใจท�ำให้ ตัวเองเป็นผู้ ไร้ทอี่ ยูอ่ าศัยโดยเจตนา
Help
If you are homeless or have problems with your landlord, help can be found from the following: The housing department of the local authority will give advice on homelessness and on Housing Benefit as well as deal with problems you may have in council-owned property The Citizens Advice Bureau will give advice on all types of housing problems There may also be a housing advice centre in your neighbourhood Shelter is a housing charity which runs a 24-hour helpline on 0808 800 4444, or visit www.shelternet.org.uk Help with the cost of moving and setting up home may be available from the Social Fund. This is run by the Department for Work and Pensions (DWP). It provides grants and loans such as the Community Care Grant for people setting up home after being homeless or after they have been in prison or other institutions. Other loans are available for people who have had an emergency such as flooding. Information about these is available at the Citizens Advice Bureau or Jobcentre Plus. 152 Life in the UK
ความช่วยเหลือ
หากคุณเป็นผู้ไร้ทอี่ ยูอ่ าศัย หรือมีปญ ั หากับเจ้าของบ้าน คุณสามารถติดต่อขอความช่วยเหลือ ได้จากหน่วยงานต่อไปนี้ แผนกการเคหะของเทศบาลในเขตพืน้ ที่ ซึง่ จะให้ค�ำแนะน�ำส�ำหรับผู้ ไร้ทอี่ ยูอ่ าศัย รวมถึง การขอรับเงินช่วยเหลือค่าทีอ่ ยูอ่ าศัยจากรัฐ และการจัดการกับปัญหาทีค่ ณ ุ อาจพบในบ้าน การเคหะของเทศบาล หน่วยงานให้ค�ำแนะน�ำแก่ประชาชน จะให้ค�ำแนะน�ำเกีย่ วกับปัญหาทีอ่ ยูอ่ าศัย นอกจากนี้ ยังเป็นศูนย์ทปี่ รึกษาด้านทีอ่ ยูอ่ าศัยในละแวกบ้านของคุณด้วย เชลเตอร์ (Shelter) เป็นองค์กรการกุศลทีม่ บี ริการสายให้ความช่วยเหลือตลอด 24 ชัว่ โมง คุณสามารถโทรศัพท์ขอความช่วยเหลือได้ทหี่ มายเลข 0808 800 4444 หรือเข้าไปที่ www.shelternet.org.uk คุณอาจขอความช่วยเหลือเกี่ยวกับค่าใช้จ่ายในการย้ายบ้าน และการตั้งต้นชีวิตในบ้าน ใหม่ ได้จากกองทุนสงเคราะห์ กองทุนนีด้ �ำเนินงานโดยกรมควบคุมการท�ำงานและบ�ำนาญ (DWP) ของรัฐบาล ซึง่ จะให้เงินช่วยเหลือและเงินกูย้ มื เช่น ‘เงินช่วยเหลือชุมชน’ ส�ำหรับ ผู้ ไร้ทอี่ ยูอ่ าศัย หรือผูท้ เี่ คยถูกจองจ�ำในเรือนจ�ำ หรือทัณฑสถานอืน่ ๆ ทีเ่ พิง่ มีบา้ นส�ำหรับ การเริม่ ต้นชีวติ ใหม่ นอกจากนี้ ยังมีเงินกูอ้ นื่ ๆ ส�ำหรับผูป้ ระสบภัยทีม่ คี วามจ�ำเป็นเร่งด่วน เช่น น�ำ้ ท่วม ข้อมูลเหล่านีส้ ามารถหาได้จากหน่วยงานให้ค�ำแนะน�ำแก่ประชาชน หรือทีศ่ นู ย์ จัดหางาน (Jobcentre Plus)
Services in and for the home Water
Water is supplied to all homes in the UK. The charge for this is called the water rates. When you move in to a new home (bought or rented), you should receive a letter telling you the name of the company responsible for supplying your water. The water rates may be paid in one payment (a lump sum) or in instalments, usually monthly. If you receive Housing Benefit, you should check to see if this covers the water rates. The cost of the water usually depends on the size of your property, but some homes have a water meter which tells you exactly how much water you have used. In Northern Ireland water is currently (2006) included in the domestic rates (see Council Tax on page 59), although this may change in future. Life in the UK 153
บริการสาธารณูป โภค และบริการอืน่ ๆ ในบ้าน น�ำ้ ประปา
ทุกบ้านในสหราชอาณาจักรจะได้รบั บริการน�้ำประปา และต้องช�ำระค่าบริการทีเ่ รียกว่า อัตราค่าน�ำ้ ประปา เมือ่ ย้ายเข้าบ้านใหม่ (ไม่วา่ จะซือ้ หรือเช่า) คุณจะได้รบั จดหมายแจ้งชือ่ บริษทั ทีร่ บั ผิดชอบในการให้บริการน�ำ้ ประปาแก่คณ ุ การช�ำระค่าน�ำ้ ประปาอาจช�ำระเป็น เงินก้อนครัง้ เดียว หรือช�ำระเป็นงวด ซึง่ ปกติจะเป็นรายเดือน หากคุณได้รบั เงินช่วยเหลือ ค่าทีอ่ ยูอ่ าศัยจากรัฐบาล คุณควรตรวจสอบว่า เงินช่วยเหลือนีร้ วมค่าน�ำ้ ประปาด้วยหรือไม่ ปกติอัตราค่าน�้ำประปาจะขึ้นอยู่กับขนาดของที่อยู่อาศัย แต่บางบ้านอาจมีมาตรวัดน�ำ้ ที่ จะบอกให้ทราบแน่นอนว่าคุณได้ ใช้นำ�้ ไปมากน้อยเพียงใด ไอร์แลนด์เหนือในเวลานี้ (ค.ศ. 2006) จะคิดค่าน�ำ้ ประปารวมอยู่ ในภาษีทอี่ ยูอ่ าศัย (ดู ภาษีเทศบาล หน้า 59) แต่อาจมี การเปลีย่ นแปลงได้ ในอนาคต
Electricity and gas
All properties in the UK have electricity supplied at 240 volts. Most homes also have gas. When you move into a new home or leave an old one, you should make a note of the electricity and gas meter readings. If you have an urgent problem with your gas, electricity or water supply, you can ring a 24hour helpline. This can be found on your bill, in the Yellow Pages or in the phone book.
บริการไฟฟ้าและก๊าซ
ในสหราชอาณาจักรจะมีการให้บริการไฟฟ้าแรงดัน 240 โวลต์ส�ำหรับบ้านทุกหลัง และมี บริการติดตัง้ ก๊าซให้กบั บ้านส่วนใหญ่ดว้ ย เมือ่ ย้ายเข้าบ้านใหม่หรือย้ายออกจากบ้านเดิม คุณควรจดตัวเลขทีม่ เิ ตอร์วดั การใช้ ไฟฟ้าและก๊าซไว้ดว้ ย หากมีปญ ั หาฉุกเฉินเกีย่ วกับไฟฟ้า ก๊าซ หรือน�ำ้ ประปา คุณสามารถโทรศัพท์ขอความช่วยเหลือได้ตลอด 24 ชัว่ โมง โดยหา ดูหมายเลขโทรศัพท์ได้จากใบเรียกเก็บเงินของผู้ ให้บริการ หรือในสมุดหน้าเหลือง หรือ สมุดรายนามโทรศัพท์
Gas and electricity suppliers
It is possible to choose between different gas and electricity suppliers. These have different prices and different terms and conditions. Get advice before you sign a contract with a new supplier. To find out which company supplies your gas, telephone Transco on 0870 608 1524. 154 Life in the UK
ผู้ ให้บริการก๊าซและไฟฟ้า
คุณสามารถเลือกใช้บริการจัดหาก๊าซและไฟฟ้าได้จากบริษทั ต่างๆ ที่ ให้บริการทีแ่ ตกต่าง กันทัง้ ในด้านราคาและเงือ่ นไขข้อตกลง คุณควรขอค�ำแนะน�ำก่อนทีจ่ ะลงนามในสัญญากับ ผู้ ให้บริการรายใหม่ หากต้องการทราบชือ่ บริษทั ผู้ ให้บริการก๊าซของคุณ ให้ตดิ ต่อ Transco โทรศัพท์หมายเลข 0870 608 1524 To find out which company supplies your electricity, telephone Energywatch on 0845 906 0708 or visit www.energywatch.org.uk . Energywatch can also give you advice on changing your supplier of electricity or gas. หากต้องการทราบชือ่ บริษทั ผู้ ให้บริการไฟฟ้าของคุณ ให้ตดิ ต่อ Energywatch โทรศัพท์ หมายเลข 0845 906 0708 หรือเข้าไปในเว็บไซต์ www.energywatch.org.uk และ Energywatch ยังสามารถให้ค�ำแนะน�ำเกีย่ วกับการเปลีย่ นผู้ ให้บริการไฟฟ้าหรือก๊าซได้ดว้ ย
Telephone
Most homes already have a telephone line (called a land line). If you need a new line, telephone BT on 150 442, or contact a cable company. Many companies offer land line, mobile telephone and broadband internet services. You can get advice about prices or about changing your company from Ofcom at www.ofcom.org.uk . You can call from public payphones using cash, pre-paid phonecards or credit or debit cards. Calls made from hotels and hostels are usually more expensive. Dial 999 or 112 for emergency calls for police, fire or ambulance service. These calls are free. Do not use these numbers if it is not a real emergency; you can always find the local numbers for these services in the phone book.
บริการโทรศัพท์
บ้านส่วนใหญ่มสี ายโทรศัพท์ตดิ ตัง้ (เรียกว่า แลนด์ไลน์) ถ้าคุณต้องการติดตัง้ สายโทรศัพท์ ใหม่ ให้ตดิ ต่อ บีที ได้ทหี่ มายเลข 150 442 หรือติดต่อบริษทั ผู้ ให้บริการสายเคเบิล ใน สหราชอาณาจักรจะมีหลายบริษทั ที่ ให้บริการโทรศัพท์ตดิ ตัง้ ในบ้าน โทรศัพท์มอื ถือ และ บริการอินเทอร์เน็ตความเร็วสูง คุณสามารถหาดูค�ำแนะน�ำเกีย่ วกับราคาหรือการเปลีย่ น บริษทั ผู้ ให้บริการได้จาก ออฟคอม ที่ www.ofcom.org.uk นอกจากนี้ ยังมีบริการโทรศัพท์ สาธารณะทีค่ ณ ุ สามารถใช้ ได้ โดยช�ำระเป็นเงินสด หรือใช้บตั รโทรศัพท์แบบเติมเงินล่วงหน้า หรือใช้บตั รเครดิต หรือบัตรเดบิต การใช้ โทรศัพท์ ในโรงแรมและห้องพักให้เช่ามักจะมีราคา แพง หากมีเหตุฉกุ เฉินต้องการเรียกต�ำรวจ หรือหน่วยดับเพลิง หรือรถพยาบาลฉุกเฉิน ให้ Life in the UK 155
โทรศัพท์หมายเลข 999 หรือ 112 โดยไม่ตอ้ งเสียค่าโทรฯ ในกรณีที่ ไม่ ใช่เหตุฉกุ เฉินจริง ห้ามใช้หมายเลขโทรศัพท์ทงั้ สองนี้ แต่ ให้หาดูหมายเลขโทรศัพท์ของหน่วยบริการท้องถิน่ เหล่านี้ ได้ ในสมุดโทรศัพท์
Bills
Information on how to pay for water, gas, electricity and the telephone is found on the back of each bill. If you have a bank account, you can pay your bills by standing order or direct debit. Most companies operate a budget scheme which allows you to pay a fixed sum every month. If you do not pay a bill, the service can be cut off. To get a service reconnected, you have to pay another charge.
ใบเรียกเก็บค่าบริการ
รายละเอียดเกีย่ วกับวิธกี ารช�ำระเงินค่าน�ำ้ ก๊าซ ไฟฟ้า และโทรศัพท์จะอยูท่ ดี่ า้ นหลังของ ใบเรียกเก็บเงิน หากคุณมีบญ ั ชีธนาคาร คุณสามารถช�ำระค่าบริการได้ดว้ ยวิธกี ารโอนเงิน หรือหักจากบัญชีธนาคารเป็นประจ�ำทุกเดึอน บริษัทส่วนใหญ่มีแผนช่วยเหลือการช�ำระ ค่าบริการที่ยินยอมให้คุณช�ำระเงินตามจ�ำนวนที่ก�ำหนดไว้ทุกเดือน หากคุณไม่ช�ำระ ค่าบริการเหล่านี้ คุณอาจถูกตัดบริการ และถ้าต้องการรับบริการต่อใหม่ คุณจะต้องช�ำระ ค่าธรรมเนียมเพิม่ เติม
Refuse collection
Refuse is also called waste, or rubbish. The local authority collects the waste regularly, usually on the same day of each week. Waste must be put outside in a particular place to get collected. In some parts of the country the waste is put into plastic bags, in others it is put into bins with wheels. In many places you must recycle your rubbish, separating paper, glass, metal or plastic from the other rubbish. Large objects which you want to throwaway, such as a bed, a wardrobe or a fridge, need to be collected separately. Contact the local authority to arrange this. If you have a business, such as a factory or a shop, you must make special arrangements with the local authority for your waste to be collected. It is a criminal offence to dump rubbish anywhere.
156 Life in the UK
บริการเก็บขยะมูลฝอย
สิง่ ของที่ ไม่ตอ้ งการ ทีเ่ รียกว่าของเสียหรือขยะ จะมีหน่วยงานในท้องถิน่ มาเก็บไปทิง้ เป็น ประจ�ำ ปกติจะเป็นวันเดียวกันของแต่ละสัปดาห์ คุณต้องน�ำขยะออกไปวางไว้นอกบ้าน ในบริเวณทีก่ �ำหนดไว้ส�ำหรับการเก็บขยะ ในบางพืน้ ทีข่ องประเทศ คุณต้องใส่ขยะไว้ ใน ถุงพลาสติก หรือบางทีอ่ าจต้องใส่ ไว้ ในถังขยะติดล้อ และในหลายพืน้ ที่ คุณจะต้องแยก ประเภทขยะส�ำหรับการน�ำไปหมุนเวียนใช้ ใหม่ โดยแยกกระดาษ แก้ว โลหะ หรือพลาสติก ออกจากขยะชนิดอืน่ หากคุณต้องการทิง้ สิง่ ของขนาดใหญ่ เช่น เตียง ตูเ้ สือ้ ผ้า หรือตูเ้ ย็น คุณจะต้องติดต่อหน่วยงานในท้องถิ่น เพื่อขอให้จัดการขนย้ายสิ่งของเหล่านี้ ไปทิ้งแยก ต่างหาก หากคุณมีธรุ กิจโรงงาน หรือร้านค้า คุณจะต้องตกลงในเรือ่ งการจัดเก็บขยะเป็น กรณีพเิ ศษกับหน่วยงานในท้องถิน่ การทิง้ ขยะแบบไม่เลือกที่ ถือเป็นความผิดทางอาญา
Council Tax
Local government services, such as education, police, roads, refuse collection and libraries, are paid for partly by grants from the government and partly by Council Tax (see Chapter 4 – Local Government). In Northern Ireland there is a system of domestic rates instead of the Council Tax. The amount of Council Tax you pay depends on the size and value of your house or flat (dwelling). You must register to pay Council Tax when you move into a new property, either as the owner or the tenant You can pay the tax in one payment, in two instalments, or in ten instalments (from April to January).
ภาษีเทศบาล
บริการขององค์การปกครองส่วนท้องถิน่ เช่น การศึกษา ต�ำรวจ ถนน การเก็บขยะมูลฝอย และห้องสมุด จะได้รบั งบประมาณสนับสนุนบางส่วนจากรัฐบาล และบางส่วนจากการเก็บ ภาษีเทศบาล (ดูบทที่ 4-การปกครองส่วนท้องถิน่ ) ในไอร์แลนด์เหนือมีระบบการเก็บภาษี บ้าน (คิดค�ำนวณตามราคาประเมินของบ้าน) แทนการเก็บภาษีเทศบาล จ�ำนวนเงินภาษี เทศบาลทีต่ อ้ งช�ำระจะขึน้ อยูก่ บั ขนาดและมูลค่าของบ้านหรือแฟลต (ทีอ่ ยูอ่ าศัย) คุณจะ ต้องลงทะเบียนเพื่อช�ำระภาษีเทศบาลเมื่อคุณย้ายเข้าไปอยู่ ในบ้านหลังใหม่ ไม่ว่าจะใน สถานะเจ้าของบ้านหรือผูเ้ ช่า คุณสามารถช�ำระค่าภาษีเทศบาลได้ ในครัง้ เดียว หรือช�ำระ เป็นสองงวด หรือสิบงวด (ตัง้ แต่เมษายนถึงมกราคม)
Life in the UK 157
If only one person lives in the flat or house, you get a 25% reduction on your Council Tax. (This does not apply in Northern Ireland). You may also get a reduction if someone in the property has a disability. People on a low income or who receive benefits such as Income Support or Jobseeker’s Allowance can get Council Tax Benefit. You can get advice on this from the local authority or the Citizens Advice Bureau. หากคุณอาศัยอยู่ ในแฟลตหรือบ้านเพียงคนเดียว คุณจะได้รับส่วนลด 25% ของภาษี เทศบาล (ยกเว้นในไอร์แลนด์เหนือ) หากคุณมีคนพิการอาศัยอยูด่ ว้ ย คุณอาจได้รบั การ ลดหย่อนภาษีเช่นกัน ผูท้ มี่ รี ายได้ตำ�่ หรือผูท้ ี่ ได้รบั เงินช่วยเหลือจากรัฐบาล เช่น ผู้ ได้รบั เงินช่วยเหลือค่าครองชีพ หรือตกงาน มีสทิ ธิท์ จี่ ะได้รบั เงินช่วยเหลือเกีย่ วกับภาษีเทศบาล คุณสามารถขอค�ำแนะน�ำเกี่ยวกับเรื่องนี้ ได้จากหน่วยงานในท้องถิ่น หรือหน่วยงานให้ ค�ำแนะน�ำแก่ประชาชน
Buildings and household insurance
If you buy a home with a mortgage, you must insure the building against fire, theft and accidental damage. The landlord should arrange insurance for rented buildings. It is also wise to insure your possessions against theft or damage. There are many companies that provide insurance.
การประกันภัยอาคารบ้านเรือนและสิง่ ของในบ้าน
หากคุณซือ้ บ้านโดยการจ�ำนอง คุณจะต้องท�ำประกันภัยคุม้ ครองบ้านกรณีเกิดเหตุอคั คีภยั การลักขโมย และความเสียหายจากอุบตั เิ หตุ เจ้าของบ้านควรท�ำประกันภัยอาคารหรือบ้าน ที่ ให้เช่า และควรประกันภัยคุ้มครองทรัพย์สินจากการโจรกรรมหรือความเสียหายด้วย มีหลายบริษทั ที่ ให้บริการประกันภัยเหล่านี้
Neighbours
If you live in rented accommodation, you will have a tenancy agreement. This explains all the conditions of your tenancy. It will probably include information on what to do if you have problems with your housing. Occasionally, there may be problems with your neighbours. If you do have problems with your neighbours, they can usually be solved by speaking to them first. If you cannot solve the problem, speak to your landlord, local authority or housing association. Keep a 158 Life in the UK
record of the problems in case you have to show exactly what the problems are and when they started. Neighbours who cause a very serious nuisance may be taken to court and can be evicted from their home.
เพือ่ นบ้าน
หากคุณเช่าอาศัยอยู่ คุณจะต้องมีสญ ั ญาเช่า ในสัญญาจะมีค�ำอธิบายเงือ่ นไขทัง้ หมดในการ เช่าอาศัย ซึง่ อาจรวมไปถึงค�ำแนะน�ำเกีย่ วกับวิธกี ารปฏิบตั กิ รณีมปี ญ ั หาเกีย่ วกับทีอ่ ยูอ่ าศัย บางครัง้ คุณอาจมีปญ ั หากับเพือ่ นบ้าน ซึง่ หากเกิดขึน้ จริงๆ คุณควรหาทางแก้ ไขโดยการ พูดคุยกับเพือ่ นบ้านทีค่ ณ ุ มีปญ ั หาด้วยก่อนเป็นอันดับแรก ถ้าแก้ปญ ั หาไม่ ได้ คุณควรปรึกษา กับเจ้าของบ้าน หน่วยงานท้องถิน่ หรือสมาคมการเคหะ และจดบันทึกเหตุตา่ งๆ ทีเ่ กิดขึน้ ไว้เผื่อกรณีที่จะต้องชี้แจงปัญหา หรือระบุว่าเหตุการณ์เริ่มเกิดขึ้นเมื่อไร เพื่อนบ้านที่ ก่อเหตุรบกวนทีร่ นุ แรงมากอาจถูกน�ำตัวขึน้ ศาล และถูกขับไล่ออกจากบ้านได้ There are several mediation organisations which help neighbours to solve their disputes without having to go to court. Mediators talk to both sides and try to find a solution acceptable to both. You can get details of mediation organisations from the local authority, Citizens Advice, and Mediation UK on 0117 904 6661 or visit: www.mediationuk.co.uk มีองค์กรหลายแห่งทีช่ ว่ ยแก้ปญ ั หากรณีพพิ าทระหว่างเพือ่ นบ้านด้วยวิธกี ารไกล่เกลีย่ แทน การน�ำเรื่องขึ้นศาล คนกลางผู้ ไกล่เกลี่ยจะเจรจากับคู่กรณี และพยายามหาวิธีการแก้ ปัญหาซึง่ เป็นทีย่ อมรับได้ส�ำหรับทัง้ สองฝ่าย คุณสามารถขอรายละเอียดเกีย่ วกับองค์กร ที่ท�ำหน้าที ไกล่เกลี่ยได้จากหน่วยงานท้องถิ่น หรือหน่วยงานให้ค�ำแนะน�ำแก่ประชาชน และเมดิเอชัน่ ยูเค (Mediation UK) หมายเลข 0117 904 6661 หรือเข้าไปทีเ่ ว็บไซต์ www.mediationuk.co.uk หมายเหตุ: โปรดอย่าลืมทบทวนบทเรียน (Check that you understand)
Life in the UK 159
Money and credit
Bank notes in the UK come in denominations (values) of £5, £10, £20 and £50. Northern Ireland and Scotland have their own bank notes which are valid everywhere in the UK, though sometimes people may not realise this and may not wish to accept them.
เงินและสินเชือ่
ธนบัตรต่างๆ ที่ ใช้หมุนเวียนในสหราชอาณาจักร เป็นธนบัตรมูลค่า 5 ปอนด์ 10 ปอนด์ 20 ปอนด์ และ 50 ปอนด์ ไอร์แลนด์เหนือและสก็อตแลนด์มีธนบัตรต่างชนิดกัน ซึ่ง สามารถใช้ช�ำระได้ทั่วไปในสหราชอาณาจักร แต่บางครั้งหลายคนอาจไม่ทราบและอาจ จะไม่ยอมรับธนบัตรชนิดนี้
The euro
In January 2002 twelve European Union (EU) states adopted the euro as their common currency. The UK government decided not to adopt the euro at that time, and has said it will only do so if the British people vote for the euro in a referendum. The euro does circulate to some extent in Northern Ireland, particularly in the towns near the border with Ireland.
เงินยูโร
ในเดือนมกราคม ค.ศ. 2002 ประเทศสมาชิกสหภาพยุโรป (อีย)ู 12 ประเทศ ได้ตกลง ใช้สกุลเงินยูโรร่วมกัน แต่รฐั บาลสหราชอาณาจักรในเวลานัน้ ตัดสินใจไม่ ใช้เงินยูโร และ ได้ประกาศว่าจะใช้สกุลเงินยูโรก็ตอ่ เมือ่ ประชาชนอังกฤษลงประชามติตอ้ งการใช้เงินสกุล ยูโรแล้วเท่านัน้ เงินสกุลยูโรมี ใช้หมุนเวียนอยู่ ในบางพืน้ ทีข่ องไอร์แลนด์เหนือ โดยเฉพาะ ในเมืองใกล้เขตพรมแดนประเทศไอร์แลนด์
160 Life in the UK
Foreign currency
You can get or change foreign currency at banks, building societies, large post offices and exchange shops or bureaux de change. You might have to order some currencies in advance. The exchange rates vary and you should check for the best deal.
เงินตราต่างประเทศ
คุณสามารถซือ้ หรือแลกเปลีย่ นเงินตราต่างประเทศได้ทธี่ นาคาร หรือสถาบันการเงินเพือ่ การเคหะ หรือทีท่ �ำการไปรษณีย์ ใหญ่ๆ และร้านหรือส�ำนักแลกเปลีย่ นเงินตราต่างประเทศ คุณอาจจะต้องสัง่ ซือ้ เงินบางสกุลล่วงหน้า อัตราแลกเปลีย่ นจะแตกต่างกันไป คุณจึงควร ตรวจสอบเพือ่ หาอัตราการแลกเปลีย่ นทีด่ ที สี่ ดุ
Banks and building societies
Most adults in the UK have a bank or building society account. Many large national banks or building societies have branches in towns and cities throughout the UK. It is worth checking the different types of account each one offers. Many employers pay salaries directly into a bank or building society account. There are many banks and building societies to choose from. To open an account, you need to show documents to prove your identity, such as a passport, immigration document or driving licence. You also need to show something with your address on it like a tenancy agreement or household bill. It is also possible to open bank accounts in some supermarkets or on the internet.
ธนาคารและสถาบันการเงินเพือ่ การเคหะ
บุคคลทัว่ ไปในสหราชอาณาจักรส่วนใหญ่จะมีบญ ั ชี ในธนาคาร หรือกับสถาบันการเงินเพือ่ การเคหะ ธนาคารหรือสถาบันการเงินขนาดใหญ่หลายแห่งจะมีสาขาในเมืองเล็กเมืองใหญ่ ทั่วประเทศ คุณควรตรวจสอบบัญชีเงินฝากประเภทต่างๆ ที่ต้องการใช้อย่างรอบคอบ นายจ้างส่วนใหญ่จะจ่ายเงินเดือนด้วยการโอนเงินเข้าบัญชีธนาคารหรือสถาบันการเงิน โดยตรง มีธนาคารและสถาบันการเงินต่างๆ ส�ำหรับให้เลือกได้มากมาย ในการเปิดบัญชี ธนาคาร คุณจะต้องน�ำเอกสาร เช่น หนังสือเดินทาง ใบอนุญาตเข้าเมือง หรือใบขับขี่ ไป เป็นหลักฐานแสดงตัว นอกจากนี้ คุณยังต้องน�ำเอกสารซึ่งมีที่อยู่ของคุณไปแสดงด้วย เช่น สัญญาเช่า หรือใบเสร็จรับเงินค่าใช้จา่ ยในบ้าน (น�ำ้ ไฟฟ้า ก๊าซ โทรศัพท์ หรือภาษี เทศบาล) และคุณยังอาจเปิดบัญชีธนาคารกับห้างสรรพสินค้า หรือในอินเทอร์เน็ตได้ดว้ ย Life in the UK 161
Cash and debit cards
Cash cards allow you to use cash machines to withdraw money from your account. For this you need a Personal Identification Number (PIN) which you must keep secret. A debit card allows you to pay for things without using cash. You must have enough money in your account to cover what you buy. If you lose your cash card or debit card you must inform the bank immediately.
เงินสดและบัตรเดบิต
คุณสามารถใช้บัตรเงินสดกับเครื่องเบิกถอนเงินสดอัตโนมัติ เพื่อเบิกเงินจากบัญชีของ คุณได้ ในการใช้บตั รเงินสดกับเครือ่ งนี้ คุณจะต้องมีรหัสส่วนตัว (PIN) ซึง่ ต้องเก็บไว้เป็น ความลับ และคุณสามารถใช้บตั รเดบิตช�ำระค่าสินค้าได้ โดยไม่ตอ้ งใช้เงินสด แต่คณ ุ จะต้อง มีเงินในบัญชีเพียงพอส�ำหรับการซือ้ สินค้า หากคุณท�ำบัตรเงินสด หรือบัตรเดบิตสูญหาย คุณจะต้องรีบแจ้งให้ธนาคารทราบทันที
Credit and store cards
Credit cards can be used to buy things in shops, on the telephone and over the internet. A store card is like a credit card but used only in a specific shop. Credit and store cards do not draw money from your bank account, but you will be sent a bill every month. If you do not pay the total amount on the bill, you are charged interest. Although credit and store cards are useful, the interest is usually very high and many people fall into debt this way. If you lose your credit or store cards you must inform the company immediately.
บัตรเครดิตและบัตรเครดิตร้านค้า
คุณสามารถใช้บัตรเครดิตในการช�ำระค่าสินค้าหรือบริการที่คุณซื้อในร้านค้า หรือทาง โทรศัพท์ และทางอินเทอร์เน็ตได้ บัตรเครดิตร้านค้าจะคล้ายกับบัตรเครดิตทัว่ ไป เพียง แต่ ใช้ ได้กบั ร้านทีก่ �ำหนดไว้เท่านัน้ การใช้บตั รเครดิตและบัตรเครดิตร้านค้า มิใช่เป็นการ เบิกเงินช�ำระจากบัญชีธนาคารของคุณโดยตรง แต่คุณจะได้รับใบเรียกเก็บเงินทุกเดือน หากคุณไม่ช�ำระหนี้ครบตามจ�ำนวนเงินที่เรียกเก็บ ก็จะมีการคิดดอกเบี้ยเพิ่ม แม้ว่า บัตรเครดิตและบัตรเครดิตร้านค้าจะมีประโยชน์มาก แต่ปกติแล้วจะมีอัตราดอกเบี้ยสูง และท�ำให้หลายคนมีหนี้สิน หากบัตรเครดิตหรือบัตรเครดิตร้านค้าของคุณสูญหาย คุณจะต้องแจ้งให้บริษทั ทราบทันที
162 Life in the UK
Credit and loans
People in the UK often borrow money from banks and other organisations to pay for things like household goods, cars and holidays. This is more common in the UK than in many other countries. You must be very sure of the terms and conditions when you decide to take out a loan. You can get advice on loans from the Citizens Advice Bureau if you are uncertain.
สินเชือ่ และเงินกูย้ มื
ผู้คนในสหราชอาณาจักรมักจะกู้ยืมเงินจากธนาคารและองค์กรอื่นๆ เพื่อน�ำมาใช้จ่ายใน สิง่ ทีต่ อ้ งการ เช่น ซือ้ ของใช้ ในครัวเรือน รถยนต์ และเทีย่ วพักผ่อน การท�ำเช่นนีเ้ ป็นเรือ่ ง ปกติธรรมดาส�ำหรับประชาชนในสหราชอาณาจักรมากกว่าในประเทศอืน่ ๆ เมือ่ ตัดสินใจ ทีจ่ ะกูย้ มื เงิน คุณจะต้องแน่ ใจว่า คุณได้เรียนรูเ้ งือ่ นไขและข้อก�ำหนดในการกูย้ มื แล้วเป็น อย่างดี หากคุณไม่แน่ ใจ คุณสามารถขอค�ำแนะน�ำเกีย่ วกับการกูย้ มื เงินได้จากหน่วยงาน ให้ค�ำแนะน�ำแก่ประชาชน
Being refused credit
Banks and other organisations use different information about you to make a decision about a loan, such as your occupation, address, salary and previous credit record. If you apply for a loan you might be refused. If this happens, you have the right to ask the reason why.
หากคุณถูกปฏิเสธการให้สนิ เชือ่
ธนาคารและองค์กรอื่นๆ จะใช้ข้อมูลเกี่ยวกับตัวคุณ เช่น อาชีพ ที่อยู่ เงินเดือน และ ประวัติการกู้ยืมและช�ำระหนี้ ในอดีตของคุณมาประกอบการพิจารณาเกี่ยวกับการให้ สินเชื่อ และอาจปฏิเสธเมื่อคุณขอกู้เงิน ในกรณีเช่นนี้ คุณมีสิทธิ์ที่จะขอทราบเหตุผลว่า เป็นเพราะเหตุใด
Life in the UK 163
Credit unions
Credit unions are financial co-operatives owned and controlled by their members. The members pool their savings and then make loans from this pool. Interest rates in credit unions are usually lower than banks and building societies. There are credit unions in many cities and towns. To find the nearest credit union contact the Association of British Credit Unions (ABCUL) on www.abcul.coop .
สหภาพสินเชือ่
สหภาพสินเชื่อเป็นสหกรณ์การเงินที่มีสมาชิกเป็นเจ้าของและบริหารควบคุม สมาชิกจะ รวบรวมเงินฝากออมทรัพย์เข้าด้วยกัน แล้วน�ำมาให้กยู้ มื ในอัตราดอกเบีย้ ทีม่ กั จะต�ำ่ กว่าของ ธนาคารและสถาบันการเงินเพือ่ การเคหะ สหภาพสินเชือ่ จะมีอยู่ในเมืองเล็กเมืองใหญ่ทวั่ ไป คุณสามารถหาข้อมูลเกีย่ วกับสหภาพสินเชือ่ ใกล้บา้ นคุณได้จากเว็บไซต์ของสมาคมสหภาพ สินเชือ่ อังกฤษ [Association of British Credit Unions (ABCUL)] ที่ www.abcul.coop
Insurance
As well as insuring their property and possessions (see above), many people insure their credit cards and mobile phones. They also buy insurance when they travel abroad in case they lose their luggage or need medical treatment. Insurance is compulsory if you have a car or motorcycle. You can usually arrange insurance directly with an insurance company, or you can use a broker who will help you get the best deal.
การประกันภัย
นอกจากจะประกันภัยบ้านและทรัพย์สินแล้ว (ดูข้างต้น) หลายคนยังท�ำประกันภัยบัตร เครดิตและโทรศัพท์มือถือ และซื้อประกันภัยเมื่อเดินทางไปต่างประเทศ เผื่อเกิดเหตุ กระเป๋าเดินทางสูญหาย หรือต้องการการรักษาพยาบาลด้วย หากคุณมีรถยนต์ หรือ รถจักรยานยนต์ คุณจะต้องท�ำประกันภัย โดยปกติคุณสามารถท�ำประกันภัยกับบริษัท ประกันภัยได้ โดยตรง หรือจะใช้บริการจากนายหน้าทีจ่ ะช่วยให้คณ ุ ได้รบั ข้อเสนอทีด่ ที สี่ ดุ
164 Life in the UK
Social security
The UK has a system of social security which pays welfare benefits to people who do not have enough money to live on. Benefits are usually available for the sick and disabled, older people, the unemployed and those on low incomes. People who do not have legal rights of residence (or ‘settlement’) in the UK cannot usually receive benefits. Arrangements for paying and receiving benefits are complex because they have to cover people in many different situations. Guides to benefits are available from Jobcentre Plus offices, local libraries, post offices and the Citizens Advice Bureau.
ระบบประกันสังคม
สหราชอาณาจักรมีระบบประกันสังคมที่จ่ายเงินช่วยเหลือสวัสดิการให้แก่ผู้ที่มีรายได้ ไม่เพียงพอส�ำหรับการครองชีพ ปกติรัฐจะจ่ายเงินช่วยเหลือให้แก่ผู้ป่วยและคนพิการ ตลอดจนผูส้ งู อายุ คนว่างงาน และผูท้ มี่ รี ายได้นอ้ ย ส�ำหรับผู้ ไม่มสี ทิ ธิอ์ ยูอ่ าศัย (หรือ ‘ตัง้ ถิน่ ฐาน’) ในสหราชอาณาจักรจะไม่สามารถขอรับเงินช่วยเหลือจากรัฐได้ วิธกี ารเบิกจ่าย เงินสวัสดิการจากรัฐมีความซับซ้อน เนือ่ งจากเกีย่ วข้องกับบุคคลในสถานการณ์ทแี่ ตกต่าง กัน คุณสามารถหาค�ำแนะน�ำเกี่ยวกับการขอรับเงินช่วยเหลือจากรัฐบาลได้ที่ส�ำนัก จัดหางาน (Jobcentre Plus) ห้องสมุดใกล้บา้ น หรือทีท่ �ำการไปรษณีย์ และหน่วยงาน ให้ค�ำแนะน�ำแก่ประชาชน หมายเหตุ: โปรดอย่าลืมทบทวนบทเรียน (Check that you understand)
Health
Healthcare in the UK is organised under the National Health Service (NHS). The NHS began in 1948, and is one of the largest organisations in Europe. It provides all residents with free healthcare and treatment.
สุขภาพ
บริการดูแลและรักษาพยาบาลในสหราชอาณาจักรจะอยู่ภายใต้การบริหารขององค์การ อนามัยแห่งชาติ (NHS) องค์การนี้ ได้เริม่ ด�ำเนินการมาตัง้ แต่ปี ค.ศ. 1948 และเป็นองค์กร หนึง่ ที่ ใหญ่ทสี่ ดุ ในยุโรป ให้บริการดูแลและรักษาพยาบาลฟรีแก่ประชาชนทุกคน
Life in the UK 165
Finding a doctor
Family doctors are called General Practitioners (GPs) and they work in surgeries. GPs often work together in a group practice. This is sometimes called a Primary Health Care Centre.
การหาหมอ
แพทย์ประจ�ำครอบครัว หรือทีเ่ รียกว่า แพทย์ทวั่ ไป หรือจีพี จะท�ำงานในศูนย์การแพทย์ และปกติจะท�ำงานร่วมกันเป็นหมูค่ ณะในศูนย์ฯ ทีบ่ างครัง้ เรียกว่า ศูนย์สาธารณสุขมูลฐาน Your GP is responsible for organising the health treatment you receive. Treatment can be for physical and mental illnesses. If you need to see a specialist, you must go to your GP first. Your GP will then refer you to a specialist in a hospital. Your GP can also refer you for specialist treatment if you have special needs. จีพขี องคุณจะรับผิดชอบในการจัดการให้คณ ุ ได้รบั การรักษาพยาบาล ซึง่ อาจเป็นการรักษา โรคทางร่างกายหรือโรคทางจิตก็ ได้ หากคุณต้องการหาแพทย์เฉพาะทาง คุณจะต้องไป พบจีพกี อ่ น แล้วจีพจี ะส่งต่อเรือ่ งของคุณไปให้แพทย์ผเู้ ชีย่ วชาญเฉพาะด้านที่ โรงพยาบาล นอกจากนั้น จีพียังสามารถที่จะส่งตัวคุณไปรับการรักษาโรคเฉพาะทางได้ หากคุณ ต้องการความช่วยเหลือเป็นพิเศษ You can get a list of local GPs from libraries, post offices, the tourist information office, the Citizens Advice Bureau, the local Health Authority and from the following websites: www.nhs.uk/ for health practitioners in England; www.wales.nhs.uk/directory.cfm for health practitioners in Wales; www.n-i.nhs.uk for health practitioners in Northern Ireland; www.show.scot.nhs.uk/findnearest/healthservices in Scotland You can also ask neighbours and friends for the name of their local doctor.
166 Life in the UK
คุณสามารถหารายชือ่ ของแพทย์ทวั่ ไปในแต่ละเขตพืน้ ที่ ได้ทหี่ อ้ งสมุด ทีท่ �ำการไปรษณีย์ ส�ำนักงานบริการข้อมูลนักท่องเที่ยว หน่วยงานให้ค�ำแนะน�ำแก่ประชาชน และองค์การ อนามัยส่วนท้องถิน่ หรือหาดูได้จากเว็บไซต์ตอ่ ไปนี้ www.nhs.uk/ ส�ำหรับบุคลากรทางการแพทย์ ในอังกฤษ www.wales.nhs.uk/directory.cfm ส�ำหรับบุคลากรทางการแพทย์ ในเวลส์ www.n-i.nhs.uk ส�ำหรับบุคลากรทางการแพทย์ ในไอร์แลนด์เหนือ www.show.scot.nhs.uk/findnearest/healthservices ในสก็อตแลนด์ นอกจากนี้ คุณยังสามารถถามเพือ่ นบ้านและเพือ่ นๆ เพือ่ ขอทราบชือ่ ของแพทย์ ในเขตพืน้ ทีน่ นั้ ๆ ได้ดว้ ย You can attend a hospital without a GP’s letter only in the case of an emergency. If you have an emergency you should go to the Accident and Emergency (A & E) department of the nearest hospital. คุณสามารถไปโรงพยาบาลได้ โดยไม่ตอ้ งมีจดหมายจากจีพี แต่กเ็ ฉพาะในกรณีฉกุ เฉินเท่านัน้ เมือ่ มีเหตุฉกุ เฉิน คุณควรไปทีแ่ ผนกอุบตั เิ หตุและฉุกเฉินที่ โรงพยาบาลใกล้บา้ นคุณทีส่ ดุ
Registering with a GP
You should look for a GP as soon as you move to a new area. You should not wait until you are ill. The health centre, or surgery, will tell you what you need to do to register. Usually you must have a medical card. If you do not have one, the GP’s receptionist should give you a form to send to the local health authority. They will then send you a medical card.
การลงทะเบียนกับแพทย์ทวั่ ไป
เมื่อย้ายไปอยู่ที่ ใหม่ คุณควรมองหาจีพีประจ�ำตัวทันที ไม่ควรรอจนกว่าจะเกิดเจ็บป่วย ขึน้ มา ศูนย์อนามัย หรือศูนย์การแพทย์จะให้ค�ำแนะน�ำเกีย่ วกับการลงทะเบียนกับจีพี ปกติ แล้วคุณจะต้องมีบตั รประจ�ำตัวผูร้ บั บริการทางแพทย์ แต่ถา้ ไม่มี เจ้าหน้าทีแ่ ผนกต้อนรับ ของจีพีจะให้แบบฟอร์มแก่คุณ เพื่อให้คุณกรอกข้อมูลและส่งไปที่องค์การอนามัยส่วน ท้องถิน่ ซึง่ จะส่งบัตรประจ�ำตัวผูร้ บั บริการทางแพทย์มาให้คณ ุ ภายหลัง Life in the UK 167
Before you register you should check the surgery can offer what you need. For example, you might need a woman GP or maternity services. Sometimes GPs have many patients and are unable to accept new ones. If you cannot find a GP you can ask your local health authority to help you find one. ก่อนลงทะเบียน คุณควรตรวจสอบว่าศูนย์การแพทย์แห่งนัน้ มีบริการทีส่ ามารถตอบสนอง ความต้องการของคุณได้หรือไม่ ตัวอย่างเช่น คุณอาจต้องการแพทย์หญิง หรือบริการ หญิงมีครรภ์และการคลอดบุตร บางครั้งจีพีอาจมีคนไข้จ�ำนวนมากและไม่สามารถรับ คนไข้ ใหม่ ได้อีก หากคุณหาแพทย์ประจ�ำตัวไม่ ได้ คุณอาจจะขอให้องค์การอนามัย ส่วนท้องถิน่ ช่วยหาจีพี ให้คณ ุ ได้
Using your doctor
All patients registering with a GP are entitled to a free health check. Appointments to see the GP can be made by phone or in person. Sometimes you might have to wait several days before you can see a doctor. If you need immediate medical attention ask for an urgent appointment. You should go to the GP’s surgery a few minutes before the appointment. If you cannot attend or do not need the appointment any more, you must let the surgery know. The GP needs patients to answer all questions as fully as possible in order to find out what is wrong. Everything you tell the GP is completely confidential and cannot be passed on to anyone else without your permission. If you do not understand something, ask for clarification. If you have difficulties with English, bring someone who can help you, or ask the receptionist for an interpreter. This must be done when you make the appointment. If you have asked for an interpreter, it is important that you keep your appointment because this service is expensive.
การใช้บริการแพทย์
คนไข้ทุกรายที่ลงทะเบียนกับจีพี จะมีสิทธิ์ ได้รับการตรวจสุขภาพฟรี การนัดพบกับจีพี สามารถท�ำได้ทางโทรศัพท์ หรือด้วยตนเอง บางครั้งคุณอาจต้องรอหลายวันกว่าจะได้ พบกับแพทย์ หากคุณจ�ำเป็นต้องหาหมอทันที คุณสามารถขอนัดแบบเร่งด่วนได้ คุณควร ไปถึงศูนย์การแพทย์กอ่ นเวลานัดหมายเล็กน้อย หากคุณไม่สามารถไปพบแพทย์ได้ตามนัด หรือต้องการยกเลิกการนัดหมาย คุณจะต้องแจ้งให้ศนู ย์การแพทย์ทราบ แพทย์ตอ้ งการ ให้คนไข้ตอบค�ำถามและให้ข้อมูลมากที่สุดเท่าที่จะท�ำได้ เพื่อจะได้เรียนรู้ปัญหาที่แท้ จริงเกี่ยวกับสุขภาพของคนไข้ ข้อมูลที่คุณบอกกับแพทย์จะถูกเก็บไว้เป็นความลับ และ 168 Life in the UK
ไม่สามารถเปิดเผยให้ผอู้ นื่ ได้ โดยไม่ ได้รบั อนุญาตจากคุณเสียก่อน หากคุณไม่เข้าใจอะไร ก็ตาม คุณจะต้องขอค�ำชี้แจงที่ชัดเจน หากคุณมีปัญหาในการใช้ภาษาอังกฤษ คุณอาจ น�ำคนที่สามารถช่วยแปลให้คุณได้มาด้วย หรือขอให้เจ้าหน้าที่ต้อนรับที่ศูนย์การแพทย์ จัดหาล่ามให้คณ ุ แต่คณ ุ จะต้องแจ้งให้เจ้าหน้าทีท่ ราบขณะท�ำการนัดหมาย หากคุณขอให้ ศูนย์การแพทย์จดั หาล่ามให้ คุณจะต้องไปตามเวลานัด เพราะค่าล่ามแพง In exceptional circumstances, GPs can visit patients at home but they always give priority to people who are unable to travel. If you call the GP outside normal working hours, you will have to answer several questions about your situation. This is to assess how serious your case is. You will then be told if a doctor can come to your home. You might be advised to go to the nearest A & E department. ในกรณียกเว้นพิเศษ แพทย์ประจ�ำตัวสามารถไปพบผูป้ ว่ ยทีบ่ า้ นได้ แต่จะพิจารณาผูป้ ว่ ยที่ ไม่สามารถเดินทางได้กอ่ น หากคุณโทรศัพท์ตดิ ต่อแพทย์นอกเวลาท�ำงานปกติ คุณจะต้อง ตอบค�ำถามเกีย่ วกับอาการเจ็บป่วยของคุณ เพือ่ รับการประเมินว่ากรณีของคุณรุนแรงมาก น้อยเพียงใด จากนัน้ คุณจะได้รบั แจ้งให้ทราบว่าแพทย์จะเดินทางมาพบคุณทีบ่ า้ นได้หรือไม่ บางครัง้ คุณอาจได้รบั การแนะน�ำให้ ไปทีแ่ ผนกฉุกเฉินใกล้บา้ นคุณ
Charges
Treatment from the GP is free but you have to pay a charge for your medicines and for certain services, such as vaccinations for travel abroad. If the GP decides you need to take medicine you will be given a prescription. You must take this to a pharmacy (chemist).
ค่าบริการ
คุณจะได้รับการรักษาจากจีพี โดยไม่ต้องเสียเงิน แต่คุณจะต้องช�ำระค่ายารักษาโรค และค่าบริการบางอย่าง เช่น การฉีดวัคซีนส�ำหรับการเดินทางไปต่างประเทศ ถ้าจีพลี ง ความเห็นว่าคุณจ�ำเป็นต้องใช้ยา จีพีก็จะออกใบสั่งยาให้คุณ คุณต้องน�ำใบสั่งยาไปที่ ร้านขายยา
Life in the UK 169
Prescriptions
Prescriptions are free for anyone who is • under 16 years of age (under 25 in Wales) • under 19 and in full-time education • aged 60 or over • pregnant or with a baby under 12 months old • suffering from a specified medical condition • receiving Income Support, Jobseekers’ Allowance, Working Families or Disabilities Tax Credit
ใบสัง่ ยา
ผูท้ ี่ ได้รบั ใบสัง่ ยาทีส่ ามารถน�ำไปซือ้ ยาได้ฟรี ได้แก่ ผูท้ ี่ • อายุตำ�่ กว่า 16 ปี (ต�ำ่ กว่า 25 ปี ในเวลส์) • อายุตำ�่ กว่า 19 ปี และเรียนหนังสือเต็มเวลา • อายุ 60 ปีขนึ้ ไป • ก�ำลังตัง้ ครรภ์ หรือมีบตุ รอายุตำ�่ กว่า 12 เดือน • ได้รบั ความทุกข์ทรมานจากโรคบางอย่างโดยเฉพาะ • ได้รบั เงินช่วยเหลือจากรัฐส�ำหรับค่าครองชีพ ผูท้ วี่ า่ งงาน ผูท้ ที่ �ำงานและมีรายได้ตำ�่ หรือ คนพิการ ซึง่ มีสทิ ธิ์ ได้รบั เงินภาษีเครดิตจากรัฐ
Feeling unwell
If you or your child feels unwell you have the following options: For information or advice • ask your local pharmacist (chemist). The pharmacy can give advice on medicines and some illnesses and conditions that are not serious. • speak to a nurse by phoning NHS Direct on 0845 46 47 • use the NHS Direct website, NHS Direct Online: www.nhsdirect.nhs.uk
เมือ่ เจ็บป่วยไม่สบาย
หากคุณหรือบุตรหลานของคุณรูส้ กึ ไม่สบาย คุณควรท�ำดังนี้ ส�ำหรับรายละเอียดข้อมูลหรือค�ำแนะน�ำ • ถามเภสัชกรทีร่ า้ นขายยาใกล้บา้ นคุณ เภสัชกรจะสามารถให้ค�ำแนะน�ำเกีย่ วกับยา และ อาการเจ็บป่วยที่ ไม่รนุ แรงได้ • ปรึกษากับพยาบาลโดยโทรศัพท์ไปที่ NHS Direct หมายเลข 0845 46 47 • หาข้อมูลได้จากเว็บไซต์ NHS Direct, NHS Direct Online: www.nhsdirect.nhs.uk 170 Life in the UK
To see a doctor or nurse
• make an appointment to see your GP or a nurse working in the surgery • visit an NHS walk-in centre
การไปพบแพทย์หรือพยาบาล
• นัดหมายวันเวลาทีจ่ ะไปพบแพทย์ของคุณ หรือพยาบาลทีท่ �ำงานในศูนย์การแพทย์ • ไปทีศ่ นู ย์ NHS walk-in
For urgent medical treatment
• contact your GP • go to your nearest hospital with an Accident and Emergency department • call 999 for an ambulance. Calls are free. ONLY use this service for a real emergency.
หากต้องการได้รบั การรักษาพยาบาลรีบด่วน คุณควรท�ำดังนี้
• ติดต่อแพทย์ประจ�ำตัวของคุณ • ไปโรงพยาบาลใกล้บา้ นทีม่ แี ผนกอุบตั เิ หตุและฉุกเฉิน (A&E) • โทรฯ 999 เพื่อเรียกรถพยาบาล บริการโทรศัพท์นี้ ใช้ ได้ฟรี แต่ ให้ ใช้เฉพาะกรณี ฉุกเฉินจริงๆ เท่านัน้ NHS Direct is a 24-hour telephone service which provides information on particular health conditions. Telephone: 0845 46 47. You may ask for an interpreter for advice in your own language. In Scotland, NHS24 at: www.nhs24. com telephone 08454 24 24 24. NHS Direct เป็นบริการให้ขอ้ มูลทางโทรศัพท์เกีย่ วกับปัญหาสุขภาพตลอด 24 ชัว่ โมง โทรศัพท์หมายเลข 0845 46 47 คุณอาจขอล่ามที่ ให้ค�ำแนะน�ำเป็นภาษาของคุณได้ ใน สก็อตแลนด์มบี ริการ NHS24 เว็บไซต์ www.nhs24.com โทรศัพท์ 08454 24 24 24 NHS Direct Online is a website providing information about health services and several medical conditions and treatments: www.nhsdirect.nhs.uk NHS Direct Online เป็นเว็บไซต์ที่ ให้ขอ้ มูลเกีย่ วกับบริการด้านสุขภาพ และภาวะการ เจ็บป่วยและการรักษาโรคต่างๆ: www.nhsdirect.nhs.uk Life in the UK 171
NHS walk-in centres provide treatment for minor injuries and illnesses seven days a week. You do not need an appointment. For details of your nearest centre call NHS Direct or visit the NHS website at: www.nhs.uk (for Northern Ireland www.n-i.nhs.uk ) and click on ‘local NHS services’. ศูนย์ NHS walk-in เปิดบริการรักษาอาการบาดเจ็บหรืออาการเจ็บป่วยเล็กๆ น้อยๆ เป็น ประจ�ำทุกวัน 7 วันต่อสัปดาห์ คุณไม่จ�ำเป็นต้องนัดหมาย ส�ำหรับรายละเอียดของศูนย์ ที่อยู่ ใกล้บ้านคุณที่สุด โทรศัพท์สอบถามได้ที่ NHS Direct หรือเข้าไปในเว็บไซต์ของ NHS ที่ www.nhs.uk (ส�ำหรับไอร์แลนด์เหนือ www.n-i.nhs.uk) และคลิกที่ ‘local NHS services’
Going into hospital
If you need minor tests at a hospital, you will probably attend the Outpatients department. If your treatment takes several hours, you will go into hospital as a day patient. If you need to stay overnight, you will go into hospital as an in-patient.
การไปโรงพยาบาล
หากคุณต้องการรับการรักษาโรคเล็กๆ น้อยๆ ที่ โรงพยาบาล คุณอาจต้องไปที่แผนก ผู้ป่วยนอก แต่หากต้องรักษาเป็นเวลานานหลายชั่วโมง คุณจะต้องไปโรงพยาบาลแบบ เป็นผูป้ ว่ ยประจ�ำ หากจ�ำเป็นต้องนอนค้างคืน คุณจะต้องไปโรงพยาบาลแบบเป็นผูป้ ว่ ยใน You should take personal belongings with you, such as a towel, night clothes, things for washing, and a dressing gown. You will receive all your meals while you are an in-patient. If you need advice about going into hospital, contact Customer Services or the Patient Advice and Liaison Service (PALS) at the hospital where you will receive treatment. หากต้องเข้าโรงพยาบาล คุณควรน�ำของใช้สว่ นตัวไปด้วย เช่น ผ้าเช็ดตัว ชุดนอน สบู่ แปรงสีฟนั ฯลฯ ส�ำหรับท�ำความสะอาดร่างกาย และเสือ้ คลุม คุณจะได้รบั อาหารทุกมือ้ ตลอดเวลาทีเ่ ป็นผูป้ ว่ ยในของโรงพยาบาล หากต้องการค�ำแนะน�ำเกีย่ วกับการเข้าโรงพยาบาล ให้ตดิ ต่อแผนกบริการลูกค้า หรือแผนกให้ค�ำแนะน�ำและประสานงานผูป้ ว่ ย (PALS) ที่ โรงพยาบาลทีค่ ณ ุ จะเข้ารับการรักษา 172 Life in the UK
Dentists
You can get the name of a dentist by asking at the local library, at the Citizens Advice Bureau and through NHS Direct. Most people have to pay for dental treatment. Some dentists work for the NHS and some are private. NHS dentists charge less than private dentists, but some dentists have two sets of charges, both NHS and private. A dentist should explain your treatment and the charges before the treatment begins.
ทันตแพทย์
คุณสามารถหารายชื่อทันตแพทย์ ได้ที่ห้องสมุดประชาชน หรือสอบถามที่หน่วยงานให้ ค�ำแนะน�ำแก่ประชาชน และ NHS Direct คนส่วนใหญ่จะต้องจ่ายค่ารักษาทางทันตกรรม ทันตแพทย์บางคนท�ำงานให้กบั องค์การอนามัยแห่งชาติ (NHS) แต่บางคนก็ท�ำงานกับ คลินกิ เอกชน ทันตแพทย์ของ NHS คิดค่าบริการรักษาฟันถูกกว่าทันตแพทย์เอกชน แต่ ทันตแพทย์บางคนจะมีคา่ บริการสองราคา ราคาหนึง่ ส�ำหรับผู้ ใช้บริการ NHS และอีก ราคาส�ำหรับผู้ ใช้บริการเอกชน ทันตแพทย์ควรอธิบายขั้นตอนและค่าการรักษาให้คุณ ทราบก่อนการรักษา
Free dental treatment is available to
• people under 18 (in Wales people under 25 and over 60) • pregnant women and women with babies under 12 months old • people on income support, Jobseekers’ Allowance or Pension Credit Guarantee
บุคคลต่อไปนีจ้ ะได้รบั การรักษาทางทันตกรรมฟรี
• ผูท้ อี่ ายุตำ�่ กว่า 18 ปี (ในเวลส์ตำ�่ กว่า 25 ปี และ 60 ปีขนึ้ ไป) • หญิงตัง้ ครรภ์และหญิงทีม่ ที ารกอายุตำ�่ กว่า 12 เดือน • ผูร้ บั เงินช่วยเหลือค่าครองชีพจากรัฐ ผูร้ บั เงินสวัสดิการจากรัฐในช่วงหางาน หรือ ผูเ้ กษียณทีร่ บั เงินบ�ำนาญช่วยเหลือเพิม่ เติม
Opticians
Most people have to pay for sight tests and glasses, except children, people over 60, people with certain eye conditions and people receiving certain benefits. In Scotland, eye tests are free. Life in the UK 173
การตรวจวัดสายตา
คนส่วนใหญ่ตอ้ งช�ำระค่าบริการตรวจวัดสายตาและแว่นตา ยกเว้นเด็ก รวมถึงผูท้ มี่ อี ายุ 60 ปีขนึ้ ไป หรือผูม้ ปี ญ ั หาบางอย่างเกีย่ วกับสายตา และผูร้ บั เงินช่วยเหลือจากรัฐบาล คนในสก็อตแลนด์ไม่ตอ้ งเสียค่าบริการตรวจวัดสายตา
Pregnancy and care of young children
If you are pregnant you will receive regular ante-natal care. This is available from your local hospital, local health centre or from special antenatal clinics. You will receive support from a GP and from a midwife. Midwives work in hospitals or health centres. Some GPs do not provide maternity services so you may wish to look for another GP during your pregnancy. In the UK women usually have their babies in hospital, especially if it is their first baby. It is common for the father to attend the birth, but only if the mother wants him to be there.
การตัง้ ครรภ์และการดูเด็กเล็ก
หากคุณตั้งครรภ์ คุณจะได้รับการดูแลขณะตั้งครรภ์ คุณจะขอรับบริก ารนี้ ได้จาก โรงพยาบาลในเขตที่ คุ ณ อาศั ย อยู ่ หรื อ จากศู น ย์ อ นามั ย หรื อ คลิ นิ ก พิ เ ศษส�ำหรั บ หญิงมีครรภ์ คุณจะได้รับการดูแลจากแพทย์ประจ�ำตัว และจากผดุงครรภ์ที่ท�ำงานใน โรงพยาบาลหรือศูนย์อนามัย คลินิกจีพีบางแห่งไม่มีบริการส�ำหรับหญิงมีครรภ์ ดังนั้น คุณอาจต้องมองหาจีพที อี่ นื่ ที่ ให้บริการนี้ ในระหว่างทีต่ งั้ ครรภ์ ปกติหญิงมีครรภ์ ในสหราช อาณาจักรจะไปคลอดลูกที่ โรงพยาบาล โดยเฉพาะการคลอดลูกคนแรก ผูเ้ ป็นพ่ออาจเข้าไป อยู่ ในห้องคลอดด้วยก็ ได้ แต่ตอ้ งได้รบั การยินยอมจากผูเ้ ป็นแม่เสียก่อน A short time after you have your child, you will begin regular contact with a health visitor. She or he is a qualified nurse and can advise you about caring for your baby. The first visits will be in your home, but after that you might meet the health visitor at a clinic. You can ask advice from your health visitor until your child is five years old. In most towns and cities there are mother and toddler groups or playgroups for small children. These often take place at local churches and community centres. You might be able to send your child to a nursery school (see Going to school on page 66).
174 Life in the UK
หลังจากคลอดบุตรได้ ไม่นาน จะมีเจ้าหน้าทีอ่ นามัยมาเยีย่ มดูแลคุณและลูกน้อยเป็นประจ�ำ เจ้าหน้าที่อนามัยผู้นี้เป็นพยาบาลที่มีคุณวุฒิ และสามารถให้ค�ำแนะน�ำเกี่ยวกับการดูแล ทารกแก่คณ ุ ได้ ในช่วงแรกๆ เจ้าหน้าทีอ่ นามัยจะมาเยีย่ มคุณทีบ่ า้ น แต่หลังจากนัน้ คุณอาจ ต้องไปหาทีค่ ลินกิ คุณสามารถปรึกษาขอค�ำแนะน�ำจากเจ้าหน้าทีอ่ นามัยนี้ ได้จนกว่าลูกของ คุณจะมีอายุได้ห้าปี ในเมืองเล็กเมืองใหญ่ทวั่ ไปจะมีการรวมกลุม่ พบปะสังสรรค์ระหว่าง แม่และเด็กเล็ก ซึง่ มักจะใช้สถานทีข่ องโบสถ์คริสต์ และศูนย์ชมุ ชนในท้องถิน่ คุณอาจทีจ่ ะ สามารถส่งบุตรไปเข้าโรงเรียนอนุบาลได้ (ดู การเข้าโรงเรียน หน้า 66)
Information on pregnancy
You can get information on maternity and ante-natal services in your area from your local health authority, a health visitor or your GP. The number of your health authority will be in the phone book.
ข้อมูลเกีย่ วกับการตัง้ ครรภ์
คุณสามารถหาข้อมูลเกีย่ วกับบริการดูแลหญิงมีครรภ์และการคลอดบุตรในเขตของคุณได้ จากองค์การอนามัยส่วนท้องถิ่น หรือเจ้าหน้าที่อนามัยดูแลทารก หรือแพทย์ประจ�ำตัว ของคุณ คุณจะหาหมายเลขโทรศัพท์ขององค์การอนามัยในเขตพืน้ ที่ ได้ ในสมุดโทรศัพท์ The Family Planning Association (FPA) gives advice on contraception and sexual health. The FPA’s helpline is 0845310 1334, or: www.fpa.org.uk . สมาคมการวางแผนครอบครัวจะให้ค�ำแนะน�ำเกีย่ วกับการคุมก�ำเนิดและการดูแลสุขภาพ ด้านเพศสัมพันธ์ สายให้ความช่วยเหลือของสมาคมนี้ คือ หมายเลข 0845 310 1334 หรือเว็บไซต์ www.fpa.org.uk The National Childbirth Trust gives information and support in pregnancy, childbirth and early parenthood: www.nctpregnancyandbabycare.com . องค์กรส่งเสริมการคลอดบุตรแห่งชาติ (The National Childbirth Trust) จะให้ขอ้ มูล และความช่วยเหลือในการตัง้ ครรภ์ การคลอดบุตร และการเป็นพ่อแม่ครัง้ แรก ดูเว็บไซต์ www.nctpregnancyandbabycare.com
Life in the UK 175
Registering a birth
Your must register your baby with the Registrar of Births, Marriages and Deaths (Register Office) within six weeks of the birth. The address of your local Register Office is in the phone book. If the parents are married, either the mother or father can register the birth. If they are not married, only the mother can register the birth. If the parents are not married but want both names on the child’s birth certificate, both mother and father must be present when they register their baby.
การเเจ้งเกิด
คุณจะต้องแจ้งการเกิดของลูกน้อยให้นายทะเบียนผูร้ บั แจ้งการเกิด การสมรส และการ ตาย (ส�ำนักทะเบียน) ภายในหกสัปดาห์หลังจากทีเ่ ด็กเกิด ทีอ่ ยูข่ องส�ำนักทะเบียนแจ้ง การเกิดในท้องถิน่ จะหาได้ ในสมุดโทรศัพท์ หากพ่อแม่แต่งงานกัน ผูแ้ จ้งการเกิดอาจเป็น พ่อหรือแม่ก็ ได้ แต่หากไม่ ได้แต่งงานกัน ผูเ้ ป็นแม่เท่านัน้ ทีส่ ามารถลงทะเบียนแจ้งการเกิด บุตรได้ ในกรณีที่ ไม่ ได้แต่งงานกัน แต่ตอ้ งการให้มชี อื่ ของบิดาและมารดาปรากฎในสูตบิ ตั ร ของเด็ก ทัง้ พ่อและแม่จะต้องมาลงทะเบียนแจ้งเกิดบุตรพร้อมกัน หมายเหตุ: โปรดอย่าลืมทบทวนบทเรียน (Check that you understand)
Education Going to school
Education in the UK is free and compulsory for all children between the ages of 5 and 16 (4 to 16 in Northern Ireland). The education system varies in England, Scotland, Wales and Northern Ireland.
การศึกษา การเข้าโรงเรียน
เด็กทุกคนในสหราชอาณาจักรที่มีอายุระหว่าง 5 ปี และ 16 ปี (4 ปี ถึง 16 ปี ใน ไอร์แลนด์เหนือ) จะต้องเข้าเรียนตามเกณฑ์ศึกษาภาคบังคับโดยไม่ต้องเสียค่าเล่าเรียน ระบบการศึกษาในอังกฤษ สก็อตแลนด์ เวลส์ และไอร์แลนด์เหนือจะแตกต่างกัน
176 Life in the UK
The child’s parent or guardian is responsible for making sure their child goes to school, arrives on time and attends for the whole school year. If they do not do this, the parent or guardian may be prosecuted. พ่อแม่หรือผู้ปกครองมีหน้าที่ดูแลให้เด็กไปโรงเรียนตรงเวลา และเข้าเรียนเป็นประจ�ำ ตลอดปีการศึกษา การละเลยหน้าทีด่ งั กล่าวอาจส่งผลให้พอ่ แม่หรือผูป้ กครองถูกด�ำเนิน คดีตามกฎหมายได้ Some areas of the country offer free nursery education for children over the age of 3. In most parts of the UK, compulsory education is divided into two stages, primary and secondary. In some places there is a middle-school system. In England and Wales the primary stage lasts from 5 to 11, in Scotland from 5 to 12 and in Northern Ireland from 4 to 11. The secondary stage lasts until the age of 16. At that age young people can choose to leave school or to continue with their education until they are 17 or 18. เด็กอายุ 3 ปีขนึ้ ไปในบางเขตพืน้ ทีข่ องสหราชอาณาจักรจะได้รบั การศึกษาระดับอนุบาล ฟรี และในเขตพื้นที่ส่วนใหญ่ของสหราชอาณาจักรจะแบ่งการศึกษาภาคบังคับออกเป็น สองระดับ คือ ระดับประถมศึกษา และระดับมัธยมศึกษา โรงเรียนบางแห่งใช้ระบบ การศึกษาทีเ่ รียกว่า มิดเดิล สกูล (มัธยมต้นและปลาย) เด็กจะเข้าเรียนในระดับประถม ศึกษาในอังกฤษและเวลส์ตงั้ แต่อายุ 5 ถึง 11 ปี ในสก็อตแลนด์ 5 ถึง 12 ปี และใน ไอร์แลนด์เหนือ 4 ถึง 11 ปี ส�ำหรับระดับมัธยมศึกษาจะต้องเรียนไปจนถึงอายุ 16 ปี เด็กหนุ่มสาวที่มีอายุ 16 ปีแล้ว สามารถเลือกที่จะออกจากโรงเรียน หรือศึกษาต่อ จนกระทัง่ อายุ 17 หรือ 18 ปีก็ ได้ Details of local schools are available from your local education authority office or website. The addresses and phone numbers of local education authorities are in the phone book. รายละเอียดเกี่ยวกับโรงเรียนในท้องถิ่นจะหาได้จากส�ำนักงานการศึกษาส่วนท้องถิ่น หรือในเว็บไซต์ ทีอ่ ยูแ่ ละเบอร์ โทรศัพท์ขององค์การบริหารการศึกษาส่วนท้องถิน่ มีอยู่ ใน สมุดโทรศัพท์
Life in the UK 177
Primary schools
These are usually schools where both boys and girls learn together and are usually close to a child’s home. Children tend to be with the same group and teacher all day. Schools encourage parents to help their children with learning, particularly with reading and writing.
โรงเรียนประถมศึกษา
ปกติโรงเรียนประถมศึกษาจะมีทงั้ เด็กผูช้ ายและเด็กผูห้ ญิงเรียนปนกัน และมักจะอยู่ ใกล้ กับบ้านของเด็ก ส่วนใหญ่เด็กจะเรียนอยู่กับนักเรียนกลุ่มเดิมและกับครูคนเดิมตลอดวัน โรงเรียนส่งเสริมให้ผู้ปกครองมีส่วนช่วยเหลือเด็กในการเรียนหนังสือ โดยเฉพาะใน การอ่านและการเขียน
Secondary schools
At age 11 (12 in Scotland) children go to secondary school. This might normally be the school nearest their home, but parents in England and Wales are allowed to express a preference for a different school. In some areas, getting a secondary school place in a preferred school can be difficult, and parents often apply to several schools in order to make sure their child gets offered a place. In Northern Ireland many schools select children through a test taken at the age of 11.
โรงเรียนมัธยมศึกษา
เด็กอายุ 11 ปี (12 ปี ในสก็อตแลนด์) จะเข้าโรงเรียนมัธยมศึกษา ซึง่ อาจเป็นโรงเรียน ใกล้บา้ น แต่ผปู้ กครองในอังกฤษและเวลส์สามารถเลือกได้วา่ ต้องการให้บตุ รหลานของ ตนเข้าเรียนที่ ไหน ในบางเขตพืน้ ที่ การเลือกโรงเรียนมัธยมศึกษาทีต่ อ้ งการอาจท�ำได้ยาก ผูป้ กครองมักจะสมัครไปหลายโรงเรียนเพือ่ ให้แน่ ใจว่าเด็กจะมีทเี่ รียน โรงเรียนหลายแห่ง ในไอร์แลนด์เหนือจะคัดเลือกเด็กเข้าเรียน โดยดูผลการสอบของเด็กตอนอายุ 11 ปี If the preferred school has enough places, the child will be offered a place. If there are not enough places, children will be offered places according to the school’s admission arrangements. Admission arrangements vary from area to area. หากโรงเรียนทีต่ อ้ งการมีทเี่ รียนเพียงพอ เด็กจะได้รบั การตอบรับให้เข้าเรียนได้ แต่หาก ไม่มีที่เรียนเพียงพอ ก็จะมีการเสนอให้เด็กเข้าเรียนในโรงเรียนอื่นๆ ตามข้อก�ำหนดทาง กฎหมายเกีย่ วกับการรับเด็กเข้าเรียน ซึง่ จะแตกต่างกันไปในแต่ละเขตพืน้ ที่ 178 Life in the UK
Secondary schools are larger than primary schools. Most are mixed sex, although there are single sex schools in some areas. Your local education authority will give you information on schools in your area. It will also tell you which schools have spaces and give you information about why some children will be given places when only a few are available and why other children might not. It will also tell you how to apply for a secondary school place. โรงเรียนมัธยมศึกษามีขนาดใหญ่กว่าโรงเรียนประถมศึกษา และส่วนใหญ่เป็นโรงเรียน สหศึกษา คือ มีนกั เรียนหญิงและชายเรียนร่วมกัน อย่างไรก็ตาม ในบางพืน้ ทีจ่ ะมี โรงเรียน หญิงล้วน-ชายล้วน องค์การบริหารการศึกษาส่วนท้องถิน่ จะให้ขอ้ มูลเกีย่ วกับโรงเรียนใน เขตของคุณ และจะแจ้งให้คณ ุ ทราบว่าโรงเรียนไหนบ้างมีทเี่ รียน นอกจากนัน้ ยังจะชีแ้ จง ให้ทราบว่า เพราะเหตุใดเด็กบางคนจึงได้รบั การตอบรับ และท�ำไมเด็กบางคนจึงไม่ ได้รบั การตอบรับให้เข้าเรียน และจะอธิบายวิธกี ารสมัครเข้าโรงเรียนมัธยมศึกษาด้วย
Costs
Education at state schools in the UK is free, but parents have to pay for school uniforms and sports wear. There are sometimes extra charges for music lessons and for school outings. Parents on low incomes can get help with costs, and with the cost of school meals. You can get advice on this from the local education authority or the Citizens Advice Bureau.
ค่าเล่าเรียน
โรงเรียนของรัฐในสหราชอาณาจักรจะไม่คิดค่าเล่าเรียน แต่ผู้ปกครองต้องจ่ายเงิน ค่าชุดนักเรียนและชุดกีฬา และบางครัง้ อาจมีคา่ ใช้จา่ ยพิเศษส�ำหรับการเรียนดนตรี และ ทัศนศึกษานอกโรงเรียน ผูป้ กครองทีม่ รี ายได้นอ้ ยสามารถขอรับความช่วยเหลือเกีย่ วกับ ค่าใช้จา่ ยและค่าอาหารกลางวันที่ โรงเรียนได้ คุณสามารถขอค�ำแนะน�ำเกีย่ วกับเรือ่ งนี้ ได้ จากองค์การบริหารการศึกษาส่วนท้องถิน่ หรือจากหน่วยงานให้ค�ำแนะน�ำแก่ประชาชน
Life in the UK 179
Church and other faith schools
Some primary and secondary schools in the UK are linked to the Church of England or the Roman Catholic Church. These are called ‘faith schools’. In some areas there are Muslim, Jewish and Sikh schools. In Northern Ireland, some schools are called Integrated Schools. These schools aim to bring children of different religions together. Information on faith schools is available from your local education authority.
โรงเรียนคริสต์ และโรงเรียนส�ำหรับผูน้ บั ถือศาสนาอืน่ ๆ
โรงเรียนประถมศึกษาและมัธยมศึกษาบางแห่งในสหราชอาณาจักรมีความเกี่ยวพันกับ ศาสนจักรอังกฤษ หรือคริสตจักรโรมันคาทอลิก โรงเรียนเหล่านีเ้ รียกว่า’โรงเรียนส�ำหรับ ผู้นับถือศาสนา’ (‘faith schools’) ในพื้นที่บางแห่งจะมี โรงเรียนมุสลิม ยิว และซิกข์ โรงเรียนในไอร์แลนด์เหนือบางแห่ง เรียกว่า โรงเรียนศาสนสัมพันธ์ (Integrated Schools) โรงเรียนเหล่านี้มีจุดมุ่งหมายที่จะน�ำเด็กที่นับถือศาสนาต่างกันมาเรียนร่วมกัน ข้อมูล เกีย่ วกับโรงเรียนส�ำหรับผูน้ บั ถือศาสนาจะหาได้จากองค์การบริหารการศึกษาส่วนท้องถิน่
Independent schools
Independent schools are private schools. They are not run or paid for by the state. Independent secondary schools are also sometimes called public schools. There are about 2,500 independent schools in the UK. About 8% of children go to these schools. At independent schools parents must pay the full cost of their child’s education. Some independent schools offer scholarships which pay some or all of the costs of the child’s education.
โรงเรียนเอกชน
โรงเรียนทีด่ �ำเนินการเอกเทศเป็นโรงเรียนเอกชน โรงเรียนเหล่านี้ ไม่ ได้มกี ารบริหารงาน หรือได้รบั งบประมาณจากรัฐ โรงเรียนมัธยมศึกษาทีด่ �ำเนินการอิสระเหล่านี้ บางครัง้ เรียก ว่า ‘พับลิก สกูล’ (พับลิก สกูล ในอังกฤษไม่ ใช่ โรงเรียนรัฐบาล แต่เป็นโรงเรียนเอกชนที่ เก่าแก่และมีชอื่ เสียง) ในสหราชอาณาจักรมี โรงเรียนเอกชนประมาณ 2,500 แห่ง ประมาณ 8% ของเด็กจะเข้าเรียนในโรงเรียนเหล่านี้ ผูป้ กครองของเด็กทีเ่ ข้าเรียนในโรงเรียนเอกชน จะต้องจ่ายค่าการศึกษาของเด็กเองทั้งหมด โรงเรียนเอกชนบางแห่งมีทุนการศึกษา ที่ ช่วยเหลือค่าใช้จา่ ยในการศึกษาบางส่วนหรือทัง้ หมด
180 Life in the UK
The school curriculum
All state, primary and secondary schools in England, Wales and Northern Ireland follow the National Curriculum. This covers English, maths, science, design and technology, information and communication technology (ICT), history, geography, modern foreign languages, art and design, music, physical education (PE) and citizenship. In Wales, children learn Welsh.
หลักสูตรของสถานศึกษา
โรงเรี ย นประถมศึ ก ษาและมั ธ ยมศึ ก ษาของรั ฐ ทุ ก โรงเรี ย นในอั ง กฤษ เวลส์ แ ละ ไอร์แลนด์เหนือ จะมีการเรียนการสอนในวิชาต่างๆ ตามหลักสูตรการศึกษาแห่งชาติ ได้แก่ ภาษาอังกฤษ คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ การออกแบบและเทคโนโลยี เทคโนโลยี สารสนเทศและการสือ่ สาร ประวัตศิ าสตร์ ภูมศิ าสตร์ ภาษาต่างประเทศสมัยใหม่ ศิลปะ และการออกแบบ ดนตรี พลศึกษา และหน้าทีพ่ ลเมือง เด็กนักเรียนในเวลส์จะเรียนวิชา ภาษาเวลส์ In some primary schools in Wales, all the lessons are taught in Welsh. In Scotland, pupils follow a broad curriculum informed by national guidance. Schools must, by law, provide religious education (RE) to all pupils. Parents are allowed to withdraw their children from these lessons. RE lessons have a Christian basis but children also learn about the other major religions. โรงเรียนประถมศึกษาบางแห่งในเวลส์จะมีการเรียนการสอนทั้งหมดเป็นภาษาเวลส์ ส�ำหรับในสก็อตแลนด์ นักเรียนจะต้องเรียนหลักสูตรกว้างๆ ตามแนวทางการศึกษาแห่ง ชาติ โรงเรียนจะต้องท�ำตามกฎหมายในการให้ความรู้เกี่ยวกับศาสนาแก่นักเรียนทุกคน ผูป้ กครองมีสทิ ธิท์ จี่ ะไม่ ให้บตุ รหลานของตนเข้าเรียนวิชาศาสนา บทเรียนเหล่านีจ้ ะสอน เกีย่ วกับศาสนาคริสต์เป็นพืน้ ฐาน แต่จะให้ความรูเ้ กีย่ วกับศาสนาอืน่ ทีส่ �ำคัญๆ ด้วย
Assessment
In England, the curriculum is divided into four stages, called Key Stages. After each stage children are tested. They take Key Stage tests (also called SATs) at ages 7, 11 and 14. At 16 they usually take the General Certificates of Secondary Education (GCSEs) in several subjects, although some schools also offer other qualifications. At 18, young people who have stayed at school do AGCEs (Advanced GCE levels) often just called A levels. Life in the UK 181
การประเมินผล
ในอังกฤษจะมีการแบ่งหลักสูตรการเรียนการสอนออกเป็น 4 ระยะ เรียกว่าระยะการ เรียนรูท้ สี่ �ำคัญ (Key Stages) นักเรียนจะได้รบั การทดสอบความรูห้ ลังเรียนจบในแต่ละ ระยะ (บางครัง้ เรียกว่าการสอบ แซ็ท) เมือ่ อายุ 7 ปี 11 ปี และ 14 ปี ปกตินกั เรียนอายุ 16 ปี จะสอบหลายวิชาในหลักสูตรประกาศนียบัตรมัธยมศึกษาทัว่ ไป (GCSE) แต่บาง โรงเรียนมีหลักสูตรอืน่ ด้วย เด็กอายุ 18 ปี ทีย่ งั คงเรียนอยูจ่ ะเรียนต่อหลักสูตรการศึกษา ระดับสูง หรือเตรียมอุดมศึกษา (AGCE - ประกาศนียบัตรการศึกษาระดับสูง) ซึง่ โดย ทัว่ ไปเรียกว่า เอ เลเวล In Wales, schools follow the Welsh National Curriculum but have abolished national tests for children at age 7 and 11. There are also plans in Wales to stop testing children at 14. Teachers in Wales still have to assess and report on their pupils’ progress and achievements at 7 and 11. ในเวลส์จะมีการเรียนการสอนในโรงเรียนตามหลักสูตรการศึกษาแห่งชาติเวลส์ แต่ ได้ ยกเลิกการสอบทัว่ ประเทศส�ำหรับเด็กอายุ 7 ปี และ 11 ปี นอกจากนี้ เวลส์ยงั มีแผนที่ จะยกเลิกการสอบส�ำหรับเด็กอายุ 14 ปีดว้ ย อย่างไรก็ตาม ครูผสู้ อนในเวลส์ยงั คงต้อง ประเมินผล และรายงานพัฒนาการและผลการเรียนของนักเรียนทีอ่ ายุ 7 ปี และ 11 ปี In Scotland, the curriculum is divided into two phases. The first phase is from 5 to 14. There are six levels in this phase, levels A to F. There are no tests for whole groups during this time. Teachers test individual children when they are ready. From 14 to 16, young people do Standard Grade. After 16 they can study at Intermediate, Higher or Advanced level. In Scotland there will soon be a single curriculum for all pupils from age 3 to age 18. This is called A Curriculum for Excellence. More information can be found at: www.acurriculumforexcellencescotland.gov.uk ในสก็อตแลนด์จะมีการแบ่งหลักสูตรการศึกษาออกเป็นสองระยะ ระยะแรกตัง้ แต่อายุ 5 ถึง 14 ปี ซึง่ มีอยูห่ กระดับด้วยกัน คือ ระดับ A ถึง F ในช่วงนีจ้ ะไม่มกี ารทดสอบพร้อมกัน ทัง้ หมด ครูผสู้ อนจะทดสอบความรูข้ องนักเรียนแต่ละคนโดยดูทคี่ วามพร้อมของนักเรียน นักเรียนอายุ14 ปี ถึง 16 ปี จะสอบวัดความรูเ้ กรดมาตรฐาน และหลังจากอายุ 16 ปี ก็ จะสามารถเลือกศึกษาต่อในระดับกลาง ระดับเตรียมอุดมศึกษา หรือระดับสูง อีกไม่ชา้ สก็อตแลนด์จะมีระบบหลักสูตรเดียวส�ำหรับนักเรียนอายุตงั้ แต่ 3 ปี ถึง 18 ปี เรียกว่า หลักสูตรส่งเสริมความเป็นเลิศ (A Curriculum for Excellence) หาข้อมูลเพิม่ เติมได้ที่ www.acurriculumforexcellencescotland.gov.uk 182 Life in the UK
Help with English
If your child’s main language is not English, the school may arrange for extra language support from an EAL (English Additional Language) specialist teacher.
ความช่วยเหลือเกีย่ วกับภาษาอังกฤษ
หากบุตรของคุณไม่ ได้ ใช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษาหลัก โรงเรียนอาจจัดหาอาจารย์ผเู้ ชีย่ วชาญ ภาษาอืน่ นอกเหนือจากภาษาอังกฤษ เพือ่ ให้ความช่วยเหลือในด้านภาษาอังกฤษเป็นพิเศษ
Careers education
All children get careers advice from the age of 14. Advice is also available from Connexions, a national service for young people telephone 080 800 13219 or: www.connexions-direct.com in England. In Wales, Careers Wales offers advice to children from the age of 11. For further information visit: www.careerswales. com or telephone 0800 100 900.
การให้ความรูเ้ กีย่ วกับอาชีพการงาน
เด็กอายุ 14 ปีขนึ้ ไปจะได้รบั ค�ำแนะน�ำเกีย่ วกับการประกอบอาชีพกันทุกคน และยังจะขอค�ำ แนะน�ำได้จาก บริการคอนเน็กชัน่ (Connexions) ส�ำหรับเด็กทัว่ ประเทศอังกฤษ หมายเลข โทรศัพท์ 080 800 13219 หรือเว็บไซต์ www.connexions-direct.com ส�ำหรับในเวลส์ จะมี Careers Wales คอยให้ค�ำแนะน�ำเกีย่ วกับการประกอบอาชีพให้แก่เด็กอายุตงั้ แต่ 11 ปีขนึ้ ไป หาข้อมูลเพิม่ เติมได้ที่ www.careerswales.com หรือโทรศัพท์ 0800 100 900 In Scotland, Careers Scotland provides information, services and support to all ages and stages. For further information visit: www.careers-scotland.org.uk or telephone 0845 8 502 502. ในสก็อตแลนด์จะมี Careers Scotland เป็นผู้ ให้ข้อมูล บริการ และความช่วยเหลือ เกี่ยวกับการประกอบอาชีพส�ำหรับเด็กทุกวัยในทุกระยะขั้นตอน หาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ www.careers-scotland.org.uk หรือโทรศัพท์ 0845 8 502 502
Life in the UK 183
Parents and schools
Many parents are involved with their child’s school. A number of places on a school’s governing body are reserved for parents. The governing body decides how the school is run and administered and produces reports on the progress of the school from year to year. In Scotland, parents can be members of school boards or parent councils.
ผูป้ กครองและโรงเรียน
ผู้ปกครองจ�ำนวนมากมีส่วนร่วมในการด�ำเนินงานของโรงเรียนที่ ให้การศึกษาแก่บุตร ของตน โรงเรียนมีต�ำแหน่งที่สงวนไว้เฉพาะผู้ปกครองในสภาคณะกรรมการปกครอง โรงเรียน สภาคณะกรรมการนี้จะพิจารณาตัดสินการด�ำเนินงานและการบริหารงาน โรงเรียน และจัดท�ำรายงานความก้าวหน้าของโรงเรียนปีตอ่ ปี ผูป้ กครองในสก็อตแลนด์ สามารถเป็นสมาชิกกรรมการบริหารโรงเรียน หรือสภาผูป้ กครองได้ Schools must be open 190 days a year; Term dates are decided by the governing body or by the local education authority. Children must attend the whole school year. Schools expect parents and guardians to inform them if their child is going to be absent from school. All schools ask parents to sign a homeschool agreement. This is a list of things that both the school and the parent or guardian agree to do to ensure a good education for the child. All parents receive a report every year on their child’s progress. They also have the chance to go to the school to talk to their child’s teachers. โรงเรียนจะต้องเปิดสอน 190 วันต่อปี สภาคณะกรรมการปกครองโรงเรียน หรือองค์การ บริหารการศึกษาส่วนท้องถิ่น จะเป็นผู้ก�ำหนดวันเปิดปิดภาคเรียน นักเรียนจะต้องไป โรงเรียนตลอดปีการศึกษา และทางโรงเรียนคาดหมายให้พอ่ แม่ หรือผูป้ กครองแจ้งให้ ทางโรงเรียนทราบ หากเด็กจะขาดเรียน โรงเรียนทุกแห่งจะขอให้ผปู้ กครองลงชือ่ ในข้อ ตกลงระหว่างบ้านกับโรงเรียน ข้อตกลงนี้เป็นรายการสิ่งต่างๆ ที่ โรงเรียน และพ่อแม่ หรือผู้ปกครองตกลงที่จะท�ำ เพื่อให้เด็กได้รับการศึกษาที่ดี ผู้ปกครองทุกคนจะได้รับ รายงานความก้าวหน้าในการเรียนของเด็กทุกปี และมี โอกาสทีจ่ ะไปพูดคุยกับคุณครูของ เด็กที่ โรงเรียนด้วย
184 Life in the UK
Further education and adult education
At 16, young people can leave school or stay on to do A levels (Higher grades in Scotland) in preparation for university. Some young people go to their local further education (FE) college to improve their exam grades or to get new qualifications for a career. Most courses are free up to the age of 19. Young people from families with low incomes can get financial help with their studies when they leave school at 16. This is called the Education Maintenance Allowance (EMA). Information about this is available at your local college or at: www.dfes.gov.uk .
การศึกษาต่อเนือ่ งและการศึกษาผู้ ใหญ่
เด็กหนุม่ สาวทีม่ อี ายุได้ 16 ปี สามารถออกจากโรงเรียน หรือเรียนต่อในหลักสูตร เอ เลเวล (เตรียมอุดมศึกษา (Higher grades) ในสก็อตแลนด์) เพือ่ เตรียมตัวเข้ามหาวิทยาลัย บางคน เข้าเรียนทีว่ ทิ ยาลัยการศึกษาต่อเนือ่ ง เพือ่ ให้ ได้ผลการเรียนทีด่ ขี นึ้ หรือเพือ่ ให้ ได้วฒ ุ กิ าร ศึกษาส�ำหรับประกอบอาชีพ หลักสูตรส่วนใหญ่จะไม่คดิ ค่าเรียนส�ำหรับผูท้ อี่ ายุไม่เกิน 19 ปี เด็กหนุม่ สาวจากครอบครัวทีม่ รี ายได้นอ้ ยสามารถขอรับความช่วยเหลือด้านการเงินส�ำหรับ การศึกษาเมือ่ ออกจากโรงเรียนตอนอายุ 16 ปี ทีเ่ รียกว่า เบีย้ เลีย้ งการศึกษา (Education Maintenance Allowance (EMA)) ข้อมูลเกีย่ วกับเรือ่ งนีส้ ามารถหาได้จากวิทยาลัยใน ท้องถิน่ หรือทีเ่ ว็บไซต์ www.dfes.gov.uk Further education colleges also offer courses to adults over the age of 18. These include courses for people wishing to improve their skills in English. These courses are called ESOL (English for Speakers of Other Languages). There are also courses for English speakers who need to improve their literacy and numeracy and for people who need to learn new skills for employment. ESOL courses are also available in community centres and training centres. There is sometimes a waiting list for ESOL courses because demand is high. In England and Wales, ESOL, literacy and numeracy courses are also called Skills for Life courses. You can get information at your local college or local library or from learn direct on 0800 100 900. นอกจากนี้ วิทยาลัยการศึกษาต่อเนื่องยังมีหลักสูตรส�ำหรับผู้ ใหญ่อายุเกินกว่า 18 ปี รวมถึงหลักสูตรส�ำหรับผู้ที่ประสงค์จะพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษด้วย หลักสูตรเหล่านี้ เรียกว่า อีซอล (ESOL) (ภาษาอังกฤษส�ำหรับผูพ้ ดู ภาษาอืน่ ๆ) และยังมีหลักสูตรส�ำหรับ Life in the UK 185
ผูท้ พี่ ดู ภาษาอังกฤษทีต่ อ้ งการพัฒนาการอ่านเขียนและการคิดเลข และส�ำหรับผูท้ ตี่ อ้ งการ เรียนรูท้ กั ษะใหม่ส�ำหรับการท�ำงาน หลักสูตร ESOL จะเปิดสอนในศูนย์ชมุ ชนและศูนย์ ฝึกอบรมด้วย บางครัง้ จะมีการลงชือ่ รอทีจ่ ะเข้าเรียนหลักสูตร ESOL เนือ่ งจากมีผสู้ นใจ เป็นจ�ำนวนมาก ในอังกฤษและเวลส์ หลักสูตร ESOL ตลอดจนหลักสูตรพัฒนาการอ่าน เขียนและการคิดเลข มีชอื่ เรียกอีกอย่างหนึง่ ว่า หลักสูตรส่งเสริมทักษะในการด�ำรงชีวติ (Skills for Life) คุณสามารถหาข้อมูลได้ทวี่ ทิ ยาลัยใกล้บา้ น หรือห้องสมุดประชาชน หรือ จาก เลิรน์ ไดเร็คท์ (learn direct) หมายเลขโทรศัพท์ 0800 100 900 Many people join other adult education classes to learn a new skill or hobby and to meet new people. Classes are very varied and range from sports to learning a musical instrument or a new language. Details are usually available from your local library, college or adult education centre. หลายคนเข้าเรียนต่อในหลักสูตรการศึกษาผู้ ใหญ่ เพือ่ เรียนรูท้ กั ษะใหม่ๆ หรืองานอดิเรก และเพือ่ ทีจ่ ะได้รจู้ กั เพือ่ นใหม่ๆ หลักสูตรทีเ่ ปิดสอนจะมีหลายอย่าง ตัง้ แต่การกีฬา ไปจนถึง การเรียนเครือ่ งดนตรี หรือภาษาอืน่ คุณจะหารายละเอียดเหล่านี้ ได้ทหี่ อ้ งสมุดประชาชน วิทยาลัย หรือศูนย์การศึกษาผู้ ใหญ่ ในท้องถิน่
University
More young people go to university now than in the past. Many go after A levels (or Higher grades in Scotland) at age 18 but it is also possible to go to university later in life. At present, most students in England, Wales and Northern Ireland have to pay towards the cost of their tuition fees and to pay for their living expenses. In Scotland there are no tuition fees but after students finish university they pay back some of the cost of their education in a payment called an endowment. At present, universities can charge up to £3,000 per year for their tuition fees, but students do not have to pay anything towards their fees before or during their studies. The government pays their tuition fees and then charges for them when a student starts working after university. Some families on low incomes receive help with their children’s tuition fees. This is called a grant. The universities also give help, in the form of bursaries. Most students get a low-interest student loan from a bank. This pays for their living 186 Life in the UK
costs while they are at university. When a student finishes university and starts working, he or she must pay back the loan.
มหาวิทยาลัย
ปัจจุบนั เด็กหนุม่ สาวทีเ่ ข้าเรียนในมหาวิทยาลัยมีจ�ำนวนมากกว่าในอดีต หลายคนเรียนต่อ มหาวิทยาลัยหลังจากเรียนจบ เอ เลเวล (หรือเตรียมอุดมศึกษา (Higher grades) ใน สก็อตแลนด์) เมือ่ อายุ 18 ปี อย่างไรก็ตาม การเรียนต่อในมหาวิทยาลัยสามารถทีจ่ ะท�ำได้ ทีหลังเมือ่ อายุมากขึน้ ปัจจุบนั นี้ นักศึกษาส่วนใหญ่ ในอังกฤษ เวลส์ และไอร์แลนด์เหนือ จะต้องจ่ายค่าเล่าเรียน รวมทั้งค่าใช้จ่ายในการด�ำรงชีวิตประจ�ำวันเอง ในสก็อตแลนด์ ไม่มีการเก็บค่าเล่าเรียน แต่หลังจากเรียนจบมหาวิทยาลัย นักศึกษาจะต้องชดใช้ค่า การศึกษาบางส่วน ทีเ่ รียกว่า การช�ำระเงินก้อนครัง้ เดียวเมือ่ เรียนจบ (endowment) ใน ปัจจุบนั มหาวิทยาลัยสามารถเรียกเก็บค่าเล่าเรียนได้ถงึ 3,000 ปอนด์ตอ่ ปี (ขึน้ เป็น 9,000 ปอนด์) นักศึกษาไม่ตอ้ งช�ำระค่าเล่าเรียนก่อนหรือในระหว่างทีเ่ รียนอยู่ รัฐบาลจะเป็นผูอ้ อก ค่าเล่าเรียนให้ และจะเรียกเก็บเงินคืนเมื่อนักศึกษาเริ่มท�ำงานหลังจากจบมหาวิทยาลัย แล้ว ครอบครัวทีม่ รี ายได้นอ้ ยจะได้รบั ความช่วยเหลือเกีย่ วกับค่าเล่าเรียนของบุตรหลาน ทีเ่ รียกว่าเงินอุดหนุนการศึกษา (grant) นอกจากนี้ มหาวิทยาลัยยังให้ความช่วยเหลือใน รูปแบบของทุนการศึกษา (bursaries) ด้วย นักศึกษาส่วนใหญ่ ได้รบั เงินกูด้ อกเบีย้ ต�ำ่ จาก ธนาคาร เพือ่ เป็นค่าใช้จา่ ยในชีวติ ประจ�ำวันขณะเรียนอยูท่ มี่ หาวิทยาลัย เมือ่ เรียนจบจาก มหาวิทยาลัยและเริม่ ท�ำงานแล้ว นักศึกษาจะต้องช�ำระหนีค้ นื หมายเหตุ: โปรดอย่าลืมทบทวนบทเรียน (Check that you understand)
Leisure Information
Information about theatre, cinema, music and exhibitions is found in local newspapers, local libraries and tourist information offices. Many museums and art galleries are free.
กิจกรรมนันทนาการส�ำหรับการพักผ่อนหย่อนใจ รายละเอียด
ข้อมูลเกีย่ วกับโรงละคร ภาพยนตร์ ดนตรี และนิทรรศการต่างๆ จะหาดูได้จากหนังสือพิมพ์ ท้องถิน่ ห้องสมุดประชาชนและส�ำนักงานบริการข้อมูลนักท่องเทีย่ ว และยังมีพพิ ธิ ภัณฑ์ และหอศิลป์หลายแห่งทีเ่ ปิดให้ประชาชนเข้าชมฟรีดว้ ย
Life in the UK 187
Film, video and DVD
Films in the UK have a system to show if they are suitable for children. This is called the classification system. If a child is below the age of the classification, they should not watch the film at a cinema or on DVD. All films receive a classification, as follows U (Universal): suitable for anyone aged 4 years and over. PG (parental guidance): suitable for everyone but some parts of the film might be unsuitable for children. Their parents should decide. 12 or 12a: children under 12 are not allowed to see or rent the film unless they are with an adult. 15: children under 15 are not allowed to see or rent the film. 18: no one under 18 is allowed to see or rent the film. R18: no one under 18 is allowed to see the film, which is only available in specially licensed cinemas.
ภาพยนตร์ วิดี โอและดีวดี ี
ในสหราชอาณาจักรมีระบบการจัดประเภทของภาพยนตร์ตามช่วงอายุของผู้ชม เพื่อให้ ทราบว่าภาพยนตร์เรือ่ งนัน้ เหมาะส�ำหรับเยาวชนหรือไม่ เยาวชนอายุตำ�่ กว่าเกณฑ์ทกี่ �ำหนด ไว้ส�ำหรับภาพยนตร์เรือ่ งใดก็ตาม ไม่ควรชมภาพยนตร์นนั้ ๆ ไม่วา่ จะเป็นที่ โรงภาพยนตร์ หรือจากดีวดี ี ภาพยนตร์ทกุ เรือ่ งได้รบั การจัดประเภทดังต่อไปนี้ U (Universal): เหมาะส�ำหรับทุกคนทีอ่ ายุตงั้ แต่ 4 ปีขนึ้ ไป PG (parental guidance): เหมาะส�ำหรับทุกคน แต่ภาพยนตร์บางตอนอาจไม่เหมาะ ส�ำหรับเด็ก พ่อแม่ควรเป็นผูต้ ดั สินใจ 12 หรือ 12A: ไม่อนุญาตให้เด็กอายุตำ�่ กว่า 12 ปี ชมภาพยนตร์ หรือเช่าภาพยนตร์ ยกเว้น กรณีทเี่ ด็กอยูก่ บั ผู้ ใหญ่ 15: ไม่อนุญาตให้เด็กอายุตำ�่ กว่า 15 ปี ชมภาพยนตร์ หรือเช่าภาพยนตร์ 18: ไม่อนุญาตให้ผทู้ อี่ ายุตำ�่ กว่า 18 ปี ชมภาพยนตร์ หรือเช่าภาพยนตร์ R18: ไม่อนุญาตให้ผทู้ อี่ ายุตำ�่ กว่า 18 ปี ชมภาพยนตร์ประเภทนี้ ซึง่ จะเปิดฉายเฉพาะใน โรงภาพยนตร์ทมี่ ี ใบอนุญาตพิเศษเท่านัน้ 188 Life in the UK
Television and radio
Anyone in the UK with a television (TV), DVD or video recorder, computer or any device which is used for watching or recording TV programmes must be covered by a valid television licence. One licence covers all of the equipment at one address, but people who rent different rooms in a shared house must each buy a separate licence.
โทรทัศน์และวิทยุ
ผูท้ อี่ าศัยอยู่ ในสหราชอาณาจักร และมี โทรทัศน์ ดีวดี ี หรือเครือ่ งบันทึกวิดี โอ คอมพิวเตอร์ หรืออุปกรณ์ที่ ใช้ส�ำหรับการดูหรือบันทึกรายการโทรทัศน์ จะต้องมี ใบอนุญาตดูโทรทัศน์ ทีถ่ กู ต้อง และใช้ ใบอนุญาตนีเ้ พียงหนึง่ ใบส�ำหรับทีอ่ ยูแ่ ห่งเดียวทีม่ อี ปุ กรณ์ทงั้ หมดเหล่านี้ อย่างไรก็ตาม ส�ำหรับในบ้านแบบแบ่งห้องให้เช่า ผูเ้ ช่าห้องแต่ละคนจะต้องซือ้ ใบอนุญาต การชมโทรทัศน์ตา่ งหาก A colour TV licence currently costs £ 131.50 (2006) and lasts for 12 months. People aged 75, or over can apply for a free TV licence. Blind people can claim a 50% discount on their TV licence. You risk prosecution and a fine if you watch TV but are not covered by a TV licence. There are many ways to buy a TV licence including from local Pay Point outlets or on-line at www. tvlicensing.co.uk . It is also possible to pay for the licence in instalments. For more information telephone 0870 576 3763 or write to TV Licensing, Bristol BS98 1TL. ปัจจุบนั ใบอนุญาตส�ำหรับการชมโทรทัศน์สจี ะมีราคา 131.50 ปอนด์ (ค.ศ. 2006) และ มีอายุใช้ ได้ 12 เดือน (ค.ศ. 2011 ราคา 145.50 ปอนด์ ส�ำหรับโทรทัศน์สี และ 49.00 ปอนด์ ส�ำหรับโทรทัศน์ขาว-ด�ำ) ผูท้ มี่ อี ายุ 75 ปีขนึ้ ไป สามารถยืน่ ขอใบอนุญาตดูโทรทัศน์ ได้ฟรี คนตาบอดจะมีสิทธิ์ขอส่วนลดได้ 50% ของค่าใบอนุญาตดูโทรทัศน์ หากคุณดู โทรทัศน์ โดยไม่มี ใบอนุญาต คุณอาจถูกด�ำเนินคดีและเสียค่าปรับได้ การซื้อใบอนุญาต ดูโทรทัศน์สามารถท�ำได้หลายวิธี เช่น ซือ้ ทีร่ ้านเติมเงิน Pay Point หรือซือ้ ออนไลน์ที่ www.tvlicensing.co.uk นอกจากนี้ คุณยังสามารถทีจ่ ะช�ำระค่าใบอนุญาตเป็นงวดๆ ได้ โปรดติดต่อขอข้อมูลเพิม่ เติมทางโทรศัพท์ทหี่ มายเลข 0870 576 3763 หรือเขียนจดหมาย ถึง TV Licensing, Bristol BS98 1TL
Life in the UK 189
Sports, clubs and societies
Information about local clubs and societies can usually be found at local libraries or through your local authority. For information about sports you should ask in the local leisure centre. Libraries and leisure centres often organise activities for children during the school holidays.
สถานกีฬา ชมรมและสโมสร
คุณสามารถหาข้อมูลเกีย่ วกับชมรมและสโมสรในเขตพืน้ ทีข่ องคุณได้ทหี่ อ้ งสมุดประชาชน หรือติดต่อเทศบาลท้องถิ่น ส�ำหรับข้อมูลเกี่ยวกับสถานกีฬา คุณควรสอบถามที่ศูนย์ นันทนาการใกล้บา้ นคุณ นอกจากนัน้ ทีห่ อ้ งสมุดประชาชนและศูนย์นนั ทนาการจะมีการ จัดกิจกรรมส�ำหรับเด็กในช่วงปิดเทอมอยูเ่ สมอ
Places of interest
The UK has a large network of public footpaths in the countryside. Many parts of the countryside and places of interest are kept open by the National Trust. This is a charity that works to preserve important buildings and countryside in the UK. Information about National Trust buildings and areas open to the public is available on: www.nationaltrust.org.uk .
สถานทีน่ า่ ท่องเทีย่ ว
สหราชอาณาจักรมีทางเดินสาธารณะในพื้นที่ชนบทติดต่อเชื่อมโยงกันเป็นเครือข่ายที่ กว้างใหญ่ ไพศาล และมีสถานทีน่ า่ ท่องเทีย่ วและพืน้ ทีช่ นบทหลายแห่งทีอ่ งค์กร National Trust เปิดให้ประชาชนเข้าชม National Trust เป็นองค์กรการกุศลที่ด�ำเนินงานโดยมี จุดมุ่งหมายเพื่ออนุรักษ์อาคารสถานที่และพื้นที่ชนบทที่ส�ำคัญๆ ของสหราชอาณาจักร คุณจะหาข้อมูลเกีย่ วกับ National Trust และอาคารสถานทีแ่ ละพืน้ ทีต่ า่ งๆ ของ National Trust ทีเ่ ปิดให้ประชาชนเข้าชมได้ที่ www.nationaltrust.org.uk
190 Life in the UK
Pubs and night clubs
Public houses, or pubs, are an important part of social life in the UK. To drink alcohol in a pub you must be 18 or over. People under 18 are not allowed to buy alcohol in a supermarket or in an off-licence either. The landlord of the pub may allow people of 14 to come into the pub but they are not allowed to drink. At 16, people can drink wine or beer with a meal in a hotel or restaurant.
ผับและไนท์คลับ
ร้านขายเหล้าหรือผับ เป็นส่วนหนึง่ ทีส่ �ำคัญในชีวติ ของผูค้ นในสังคมสหราชอาณาจักร ผูท้ ี่ ต้องการดืม่ เครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์ ในผับจะต้องอายุ 18 ปีขนึ้ ไป และกฎหมายห้ามผูท้ อี่ ายุ ต�ำ่ กว่า 18 ปี ซือ้ เครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์ ในซูเปอร์มาร์เก็ต หรือร้านค้าที่ ได้รบั ใบอนุญาตให้ ขายเครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์ เจ้าของผับอาจอนุญาตให้ผทู้ มี่ อี ายุ 14 ปี เข้ามาในผับได้แต่หา้ ม ดืม่ เครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์ ผูท้ มี่ อี ายุ 16 ปี สามารถดืม่ ไวน์หรือเบียร์ขณะรับประทานอาหาร ในโรงแรมหรือร้านอาหารได้ Pubs are usually open during the day and until11 p.m. If a pub wants to stay open later, it must apply for a special licence. Night clubs open and close later than pubs. โดยปกติแล้ว ผับจะเปิดในช่วงกลางวันไปจนถึง 23.00 นาฬิกา หากต้องการเปิดผับ เกินเวลา เจ้าของผับจะต้องยืน่ ขอใบอนุญาตพิเศษ ไนท์คลับจะเปิดและปิดช้ากว่าผับ
Betting and gambling
People under 18 are not allowed into betting shops or gambling clubs. There is a National Lottery for which draws, with large prizes, are made every week. You can enter by buying a ticket or a scratch card. People under 16 are not allowed to buy a lottery ticket or scratch card.
การเดิมพันและการพนัน
ผูท้ อี่ ายุตำ�่ กว่า 18 ปี จะไม่ ได้รบั อนุญาตให้เข้าไปในร้านเดิมพันหรือสโมสรการพนัน ใน สหราชอาณาจักรมีสลากกินแบ่งแห่งชาติทมี่ กี ารจับรางวัลใหญ่ทกุ สัปดาห์ คุณสามารถซือ้ สลากกินแบ่งหรือบัตรขูดเพือ่ เข้าร่วมการเสีย่ งโชคได้ แต่ผทู้ อี่ ายุตำ�่ กว่า 16 ปี จะซือ้ สลาก กินแบ่งหรือบัตรขูดเสีย่ งโชคไม่ ได้ Life in the UK 191
Pets
Many people in the UK have pets such as cats and dogs. It is against the law to treat a pet cruelly or to neglect it. All dogs in public places must wear a collar showing the name and address of the owner. The owner is responsible for keeping the dog under control and for cleaning up after the animal in a public place. Vaccinations and medical treatment for animals are available from veterinary surgeons (vets). If you cannot afford to pay a vet, you can go to a charity called the PDSA (People’s Dispensary for Sick Animals). To find your nearest branch, visit www.pdsa.org.uk .
สัตว์เลีย้ ง
หลายคนในสหราชอาณาจักรมีสตั ว์เลีย้ ง เช่น แมวและสุนขั การเลีย้ งดูสตั ว์แบบโหดร้าย หรือปล่อยปละละเลยสัตว์เลีย้ ง เป็นการท�ำผิดกฎหมาย เมือ่ เข้าไปในทีส่ าธารณะ สุนขั ทุกตัวจะต้องมีปลอกสวมคอทีม่ ชี อื่ และทีอ่ ยูข่ องเจ้าของ เจ้าของจะต้องรับผิดชอบในการ ดูแลควบคุมสุนขั และเมือ่ สุนขั ถ่ายทิง้ ไว้ ในพืน้ ทีส่ าธารณะ ก็ตอ้ งเก็บท�ำความสะอาดให้ เรียบร้อย คุณสามารถน�ำสัตว์เลี้ยงไปรับการฉีดวัคซีน หรือการรักษาพยาบาลได้จาก สัตวแพทย์ หากคุณไม่มเี งินจ่ายค่ารักษาให้สตั วแพทย์ คุณสามารถขอความช่วยเหลือได้ จาก PDSA ซึง่ เป็นองค์กรการกุศลส�ำหรับสัตว์ทเี่ จ็บป่วย โปรดเข้าไปในเว็บไซต์ www. pdsa.org.uk เพือ่ หาสาขา PDSA ใกล้บา้ นคุณ
Travel and transport Trains, buses and coaches
For information about trains telephone the National Rail Enquiry Service 08457 48 49 50, or visit www.nationalrail.co.uk . For trains in Northern Ireland, phone Translink on 02890 66 66 30 or visit: www.translink.co.uk . For information about local bus times phone 0870 608 250. For information on coaches, telephone National Express on 08705 80 80 80, or visit www.nationalexpress. com . For coaches in Scotland, telephone Scottish Citylink on 08705 50 50 50 or visit: www.citylink.co.uk . For Northern Ireland, visit: www.translink.co.uk .
192 Life in the UK
การเดินทางและการคมนาคม รถไฟ รถโดยสารประจ�ำทาง และรถโค้ช
ส�ำหรับข้อมูลเกี่ยวกับบริการรถไฟ โทรศัพท์สอบถามที่แผนกบริการสอบถามข้อมูล รถไฟแห่งชาติ หมายเลข 08457 48 49 50 หรือเยีย่ มชม www.nationalrail.co.uk ส�ำหรับบริการรถไฟในไอร์แลนด์เหนือ โทรศัพท์ไปที่ Translink หมายเลข 02890 66 66 30 หรือเยีย่ มชม www.translink.co.uk ส�ำหรับข้อมูลเกีย่ วกับเวลาของรถโดยสาร ประจ�ำทางในท้องถิน่ โทรศัพท์หมายเลข 0870 608 250 ส�ำหรับข้อมูลเกีย่ วกับบริการ รถโค้ช โทรศัพท์ National Express หมายเลข 08705 80 80 80 หรือเยีย่ มชม www. nationalexpress.com ส�ำหรับบริการรถโค้ชในสก็อตแลนด์ โทรศัพท์ ไปที่ Scottish Citylink หมายเลข 08705 50 50 50 หรือเยีย่ มชม www.citylink.co.uk ส�ำหรับ ไอร์แลนด์เหนือ ให้เข้าไปในเว็บไซต์ www.translink.co.uk Usually, tickets for trains and underground systems such as the London Underground must be bought before you get on the train. The fare varies according to the day and time you wish to travel. Traveling in the rush hour is always more expensive. Discount tickets are available for families, people aged 60 and over, disabled people, students and people under 26. Ask at your local train station for details. Failure to buy a ticket may result in a penalty. โดยปกติแล้ว คุณจะต้องซือ้ ตัว๋ รถไฟ หรือตัว๋ รถไฟใต้ดนิ เช่น รถไฟใต้ดนิ ของลอนดอน ก่อน ขึน้ รถไฟ ค่าโดยสารจะแตกต่างกันไปตามวันและเวลาทีต่ อ้ งการจะเดินทาง ค่าโดยสาร ส�ำหรับการเดินทางในช่วงเวลาเร่งรีบจะแพงกว่าเสมอ แต่จะมีตั๋วลดราคาพิเศษส�ำหรับ ครอบครัว และผูท้ มี่ อี ายุ 60 ขึน้ ไป รวมถึงคนพิการ นักศึกษา และผูท้ อี่ ายุตำ�่ กว่า 26 ปี สอบถามรายละเอียดได้ที่สถานีรถไฟท้องถิ่น คุณอาจถูกลงโทษเสียค่าปรับ หากซื้อตั๋ว ก่อนออกเดินทางไม่ ได้
Life in the UK 193
Taxis
To operate legally, all taxis and minicabs must be licensed and display a licence plate. Taxis and cabs with no licence are not insured for fare-paying passengers and are not always safe. Women should not use unlicensed minicabs.
รถแท็กซี่
รถแท็กซี่ และรถแท็กซีท่ เี่ รียกว่า มินแิ ค็บ จะต้องมี ใบอนุญาต และติดป้ายทะเบียนรถ ที่แสดงให้รู้ว่าได้รับอนุญาตให้ประกอบการรับจ้างบรรทุกคนโดยสารอย่างถูกต้องตาม กฎหมายแล้ว รถแท็กซี่และมินิแค็บที่ ไม่มี ใบอนุญาตจะไม่มีประกันภัยส�ำหรับผู้ โดยสาร และอาจไม่ปลอดภัยเสมอไป โดยเฉพาะผูห้ ญิงไม่ควรใช้รถมินแิ ค็บที่ ไม่มี ใบอนุญาต
Driving
You must be at least 17 to drive a car or motorcycle, 18 to drive a mediumsized lorry, and 21 to drive a large lorry or bus. To drive a lorry, minibus or bus with more than eight passenger seats, you must have a special licence.
การขับขี่
ในการขับขีร่ ถยนต์หรือรถจักรยานยนต์ คุณจะต้องมีอายุไม่ตำ�่ กว่า 17 ปี และหากต้องการ ขับรถบรรทุกขนาดกลาง คุณจะต้องมีอายุ 18 ปี และต้องมีอายุ 21 ปี จึงจะขับรถบรรทุก ขนาดใหญ่หรือรถโดยสารได้ คุณจะต้องมี ใบอนุญาตขับขีพ่ เิ ศษส�ำหรับการขับรถบรรทุก รถโดยสารคันเล็ก หรือรถโดยสารประจ�ำทางทีบ่ รรทุกคนโดยสารได้มากกว่าแปดทีน่ งั่
The driving licence
You must have a driving licence to drive on public roads. To get a driving licence you must pass a test. There are many driving schools where you can learn with the help of a qualified instructor.
ใบอนุญาตขับขี่
คุณจะต้องมี ใบอนุญาตขับขี่ จึงจะสามารถขับรถบนถนนสาธารณะทั่วไปได้ และจะต้อง สอบให้ผา่ น เพือ่ ให้ ได้ ใบอนุญาตขับขี่ คุณสามารถเรียนหัดขับรถได้จากครูผสู้ อนทีม่ คี วาม ช�ำนาญจากโรงเรียนสอนขับรถยนต์ทมี่ อี ยูม่ ากมาย
194 Life in the UK
You get a full driving licence in three stages:
1. Apply for a provisional licence. You need this licence while you are learning to drive. With this you are allowed to drive a motorcycle up to 125cc or a car. You must put L plates on the vehicle, or D plates in Wales. Learner drivers cannot drive on a motorway. If you drive a car, you must be with someone who is over 21 and who has had a full licence for over three years. You can get an application form for a provisional licence from a post office. 2. Pass a written theory test. 3. Pass a practical driving test. Drivers may use their licence until they are 70. After that the licence is valid for three years at a time. In Northern Ireland, a newly-qualified driver must display an R-Plate (for registered driver) for one year after passing the test.
การด�ำเนินการเพือ่ ให้ ได้ ใบอนุญาตขับขีร่ ถยนต์ถาวร มีสามขัน้ ตอน ดังนี้
1. ยืน่ ขอใบอนุญาตชัว่ คราว คุณจะต้องมี ใบอนุญาตขับขีช่ วั่ คราวในระหว่างทีก่ �ำลังเรียน หัดขับรถ เมื่อมี ใบอนุญาตชั่วคราวแล้ว คุณจะสามารถขับขี่รถจักรยานยนต์ขนาดไม่ เกิน 125 ซีซี หรือรถยนต์ได้ คุณจะต้องติดแผ่นป้ายทีม่ อี กั ษร แอล (L) ไว้ทรี่ ถ ถ้าเป็น ในเวลส์ ก็จะเป็นแผ่นป้ายทีม่ อี กั ษร ดี (D) ผูท้ กี่ �ำลังเรียนหัดขับรถจะไม่สามารถขับรถ บนทางด่วนได้ หากต้องการขับรถ คุณจะต้องมีคนอายุมากกว่า 21 ปี ที่มี ใบอนุญาต ขับขี่ถาวรมานานกว่า 3 ปี นั่งอยู่ ในรถด้วย คุณสามารถขอแบบฟอร์มส�ำหรับยื่นขอ ใบอนุญาตขับขีช่ วั่ คราวได้จากทีท่ �ำการไปรษณีย์ 2. ท�ำข้อสอบ และสอบผ่านภาคทฤษฎี 3. สอบขับรถ และสอบผ่านภาคปฏิบตั ิ ผู้ขับขี่สามารถใช้ ใบอนุญาตขับขี่ถาวรได้จนกระทั่งอายุ 70 ปี หลังจากนั้นจะสามารถ ต่ออายุใบขับขี่ ไปได้อกี ครัง้ ละสามปี ในไอร์แลนด์เหนือมีกฎหมายบังคับให้ผู้ที่ ได้รับใบอนุญาตขับขี่ ใหม่ติดแสดงแผ่นป้ายที่มี อักษร อาร์ (R – Plate) (ส�ำหรับผูข้ บั ขีจ่ ดทะเบียน) ไว้ทรี่ ถ เป็นเวลาหนึง่ ปีหลังจากสอบผ่าน
Life in the UK 195
Overseas licences
If your driving licence is from a country in the European Union (EU), Iceland, Liechtenstein or Norway, you can drive in the UK for as long as your licence is valid.
ใบอนุญาตขับขีจ่ ากต่างประเทศ
หากคุณมี ใบอนุญาตขับขีจ่ ากประเทศในสหภาพยุโรป (อีย)ู หรือไอซ์แลนด์ ลิกเตนสไตน์ หรือนอร์เวย์ คุณจะสามารถขับรถในสหราชอาณาจักรได้ตราบเท่าที่ ใบอนุญาตขับขีข่ อง คุณยังไม่หมดอายุ If you have a licence from a country outside the EU, you may use it in the UK for up to 12 months. During this time you must get a UK provisional driving licence and pass both the UK theory and practical driving tests, or you will not be able to drive after 12 months. หากคุณมี ใบอนุญาตขับขี่จากประเทศอื่นๆ ที่ ไม่ ใช่สมาชิกของสหภาพยุโรป คุณอาจใช้ ใบขับขีน่ ี้ ได้ ในสหราชอาณาจักร แต่จะใช้ ได้นานไม่เกิน 12 เดือน ในช่วงเวลานี้ คุณจะต้อง ท�ำเรือ่ งขอใบอนุญาตขับขีช่ วั่ คราวของสหราชอาณาจักร และต้องสอบให้ผา่ นทัง้ ภาคทฤษฎี และภาคปฏิบตั ิ มิฉะนัน้ คุณจะไม่สามารถขับรถได้อกี หลังจาก 12 เดือนไปแล้ว
Insurance
It is a criminal offence to have a car without proper motor insurance. Drivers without insurance can receive very high fines. It is also illegal to allow someone to use your car if they are not insured to drive it.
ประกันภัย
การใช้งานรถยนต์ โดยไม่มปี ระกันภัยรถยนต์อย่างถูกต้อง เป็นการท�ำความผิดทางอาญา ผู้ขับขี่รถยนต์ที่ ไม่มีประกันภัยอาจถูกปรับเป็นเงินจ�ำนวนมาก นอกจากนี้ คุณอาจท�ำผิด กฎหมาย หากอนุญาตให้ผอู้ นื่ ขับรถยนต์ของคุณ โดยทีค่ นผูน้ นั้ ไม่ ได้ท�ำประกันภัยไว้กอ่ น ทีจ่ ะขับรถของคุณ
196 Life in the UK
Road tax and MOT
You must also pay a tax to drive your car on the roads. This is called road tax. Your vehicle must have a road tax disc which shows you have paid. You can buy this at the post office. If you do not pay the road tax, your vehicle may be clamped or towed away.
ภาษีรถยนต์และการตรวจสอบสภาพรถประจ�ำปี
คุณจะต้องช�ำระภาษีส�ำหรับการใช้รถบนท้องถนน ทีเ่ รียกว่าภาษีรถยนต์ และจะต้องติด แผ่นป้ายภาษีรถยนต์ เพื่อแสดงว่าคุณได้ช�ำระภาษีแล้ว คุณสามารถซื้อแผ่นป้ายภาษี รถยนต์ได้จากทีท่ �ำการไปรษณีย์ หากคุณไม่ช�ำระภาษีรถยนต์ เจ้าหน้าทีอ่ าจล็อกล้อรถ หรือ ลากจูงรถของคุณไปทิง้ ได้ If your vehicle is over three years old, you must take it every year for a Ministry of Transport (MOT) test. You can do this at an approved garage. The garage will give you an MOT certificate when your car passes the test. It is an offence not to have an MOT certificate. If you do not have an MOT certificate, your insurance will not be valid. หากรถของคุณอายุเกินสามปี คุณต้องน�ำรถไปตรวจสอบสภาพทุกๆ ปี ตามระเบียบ ข้อบังคับของกระทรวงคมนาคม (MOT) คุณสามารถน�ำรถไปรับการตรวจสอบสภาพได้ที่ อูซ่ อ่ มรถที่ ได้รบั อนุญาตแล้ว อูซ่ อ่ มรถจะออกใบรับรอง MOT ให้ เมือ่ รถของคุณผ่านการ ทดสอบแล้ว การขับขีร่ ถโดยไม่มี ใบรับรอง MOT เป็นการท�ำผิดกฎหมาย หากคุณไม่มี ใบรับรอง MOT ประกันภัยรถยนต์ของคุณจะเป็นโมฆะ
Safety
Everyone in a vehicle should wear a seat belt. Children under 12 years of age may need a special booster seat. Motorcyclists and their passengers must wear a crash helmet (this law does not apply to Sikh men if they are wearing a turban). It is illegal to drive while holding a mobile phone.
ความปลอดภัย
คนขับและผู้ โดยสารในรถทุกคนควรสวมใส่เข็มขัดนิรภัย เด็กอายุตำ�่ กว่า 12 ปี อาจต้อง มีที่นั่งพิเศษส�ำหรับเด็ก ผู้ขับขี่รถจักรยานยนต์และผู้ โดยสารต้องสวมหมวกกันน็อก (กฎหมายนี้ ไม่ ใช้บงั คับกับผูช้ ายชาวซิกข์ที่ ใส่ผา้ โพกศีรษะ) การใช้ โทรศัพท์มอื ถือขณะขับขี่ รถ เป็นการท�ำผิดกฎหมาย Life in the UK 197
Speed limits
For cars and motorcycles the speed limits are: - 30 miles per hour (mph) in built-up areas, unless a sign shows a different limit - 60 mph on single carriageways - 70 mph on motorways and dual carriageways
ข้อก�ำหนดเกีย่ วกับการจ�ำกัดความเร็วรถ
ผูข้ บั ขีร่ ถยนต์และรถจักรยานยนต์ ต้องขับขีร่ ถด้วยอัตราความเร็วทีก่ �ำหนด ดังนี้ - ไม่เกิน 30 ไมล์ตอ่ ชัว่ โมง ในเขตทีม่ คี นอาศัยอยูห่ นาแน่น ยกเว้นเมือ่ มีเครือ่ งหมายก�ำหนด ความเร็วไว้สงู หรือต�ำ่ กว่านี้ - ไม่เกิน 60 ไมล์ตอ่ ชัว่ โมง บนถนนแบบทางสายเดีย่ ว - ไม่เกิน 70 ไมล์ตอ่ ชัว่ โมง บนทางด่วน และบนถนนทีม่ ชี อ่ งเดินรถคูข่ นานไปในทางเดียวกัน Speed limits are lower for buses, lorries and cars pulling caravans. อัตราความเร็วสูงสุดส�ำหรับรถโดยสาร รถบรรทุก และรถพ่วงคาราวาน จะก�ำหนดไว้ ต�ำ่ กว่านี้ It is illegal to drive when you are over the alcohol limit or drunk. The police can stop you and give you a test to see how much alcohol you have in your body. This is called a breathalyser test. If a driver has more than the permitted amount of alcohol (called being ‘over the limit’) or refuses to take the test, he or she will be arrested. People who drink and drive can expect to be disqualified from driving for a long period. การขับขีร่ ถขณะเมาเหล้า หรือมีปริมาณแอลกอฮอล์ ในร่างกายสูงเกินก�ำหนด เป็นการท�ำ ผิดกฎหมาย ต�ำรวจสามารถเรียกให้คณ ุ หยุด เพือ่ ตรวจวัดปริมาณแอลกอฮอล์ ในร่างกาย คุณได้ โดยใช้เครือ่ งวัดปริมาณแอลกอฮอล์ ในเลือดด้วยวิธเี ป่าลมหายใจ คนขับทีม่ ปี ริมาณ แอลกอฮอล์ ในเลือดสูงกว่าที่กฎหมายอนุญาต (‘สูงเกินขีดก�ำหนด’) หรือปฏิเสธไม่ยอม ให้ความร่วมมือ ก็จะถูกต�ำรวจจับ ผูท้ ดี่ มื่ เหล้าแล้วขับรถอาจถูกลงโทษระงับสิทธิการใช้ ใบอนุญาตขับขีเ่ ป็นระยะเวลานาน 198 Life in the UK
Accidents
If you are involved in a road accident: • don’t drive away without stopping-this is a criminal offence • call the police and ambulance on 999 or 112 if someone is injured • get the names, addresses, vehicle registration numbers and insurance details of the other driver • give your details to the other drivers or passengers and to the police • make a note of everything that happened and contact your insurance company as soon as possible Note that if you admit the accident was your fault, the insurance company may refuse to pay. It is better to wait until the insurance company decides for itself whose fault the accident was.
อุบตั เิ หตุ
ข้อพึงปฏิบตั ิในกรณีทคี่ ณ ุ มีสว่ นเกีย่ วข้องในอุบตั เิ หตุบนท้องถนน • อย่าขับรถหนี ไปโดยไม่หยุด – เพราะเป็นความผิดทางอาญา • โทรศัพท์เรียกต�ำรวจและรถพยาบาล ทีห่ มายเลข 999 หรือ 112 ถ้ามีผู้ ได้รบั บาดเจ็บ • ขอชือ่ ทีอ่ ยู่ หมายเลขทะเบียนรถ และรายละเอียดการประกันภัยของผูข้ บั ขีค่ นอืน่ ที่ เกีย่ วข้อง • ให้รายละเอียดของคุณแก่ผขู้ บั ขีค่ นอืน่ หรือผู้ โดยสาร และมอบให้ต�ำรวจด้วย • จดบันทึกเหตุการณ์ทกุ อย่างทีเ่ กิดขึน้ และติดต่อบริษทั ประกันภัยโดยเร็วทีส่ ดุ โปรดทราบว่า หากคุณรีบยอมรับว่าอุบตั เิ หตุทเี่ กิดขึน้ เป็นความผิดของคุณ บริษทั ประกัน ภัยอาจปฏิเสธทีจ่ ะช�ำระเงิน ดังนัน้ คุณจึงควรรอให้บริษทั ประกันภัยพิจารณาตัดสินเอง ว่าใครเป็นฝ่ายผิดจะดีกว่า
Life in the UK 199
Identity documents
At present, UK citizens do not have to carry identity (ID) cards. The government is, however, making plans to introduce them in the next few years.
เอกสารแสดงตน
ปัจจุบนั นี้ พลเมืองในสหราชอาณาจักรไม่ตอ้ งพกบัตรประจ�ำตัวประชาชน (ID) แต่รฐั บาล ก�ำลังมีแผนทีจ่ ะให้ประชาชนมีบตั รประจ�ำตัวในเวลาไม่กปี่ ขี า้ งหน้านี้
Proving your identity
You may have to prove your identity at different times, such as when you open a bank account, rent accommodation, enrol for a college course, hire a car, apply for benefits such as housing benefit, or apply for a marriage certificate. Different organisations may ask for different documents as proof of identity. These can include: • official documents from the Home Office showing your immigration status • a certificate of identity • a passport or travel document • a National Insurance (NI) number card • a provisional or full driving licence • a recent gas, electricity or phone bill showing your name and address • a rent or benefits book.
การพิสจู น์ตวั ตนของคุณ
บางครั้งคุณอาจต้องแสดงหลักฐานพิสูจน์ตัวตนของคุณ เช่น เมื่อคุณต้องการเปิดบัญชี ธนาคาร เช่าบ้าน หรือลงทะเบียนเรียนหลักสูตรในวิทยาลัย หรือเช่ารถ หรือยืน่ ค�ำขอ รับความช่วยเหลือจากรัฐ เช่น ขอเงินช่วยเหลือค่าทีอ่ ยูอ่ าศัย หรือเมือ่ คุณต้องการยืน่ ขอ ใบทะเบียนสมรส เป็นต้น องค์กรแต่ละแห่งอาจต้องการเอกสารต่างๆ เพือ่ เป็นหลักฐาน พิสจู น์ตวั ตน ได้แก่ 200 Life in the UK
• เอกสารของทางราชการ แสดงสถานะการเข้าเมืองของคุณจากกระทรวงมหาดไทย แห่งอังกฤษ • หนังสือส�ำคัญประจ�ำตัว (CI) • หนังสือเดินทาง หรือเอกสารการเดินทาง • บัตรหมายเลขประจ�ำตัวประกันสังคม (NI) • ใบอนุญาตขับขีช่ วั่ คราวหรือถาวร • ใบเก็บเงินค่าก๊าซ ไฟฟ้า หรือค่าโทรศัพท์ทมี่ ชี อื่ และทีอ่ ยูข่ องคุณในปัจจุบนั • สมุดรายละเอียดการเช่าบ้าน หรือสมุดข้อมูลการรับเงินช่วยเหลือจากรัฐ หมายเหตุ: โปรดอย่าลืมทบทวนบทเรียน (Check that you understand)
©Edu-Plus CIC of Dr. Khanungnit Garnett -Duang-dhamma Building, 49 Castle Street, Banbury OXON OX16 5NU
Life in the UK 201
Chapter 6:
Employment
การทำ�งานในสหราชอาณาจักร
Employment
ในบทที่ 6 นี้ เราจะมาเรียนรูก้ นั ถึงเรือ่ งการท�ำงานในสหราชอาณาจักร การมองหางานท�ำ การสมัครงาน การฝึกอบรม การอาสาสมัคร ตลอดจนสิทธิและความเสมอภาคในการ ท�ำงาน การเลือกปฏิบัติ และยังมีเนื้อหาครอบคลุมไปถึงสิทธิและความรับผิดชอบในที่ ท�ำงาน การริเริม่ กิจการส่วนตัว การเสียภาษี การดูแลบุตร และข้อก�ำหนดทางกฎหมาย เกีย่ วกับการท�ำงานของเด็กในสหราชอาณาจักร
Looking for work
If you are looking for work, or you are thinking of changing your job, there are a number of ways you can find out about work opportunities. The Home Office provides guidance on who is allowed to work in the UK. Not everyone in the UK is allowed to work and some people need work permits, so it is important to check your status before taking up work. Also, employers have to check that anyone they employ is legally entitled to work in the UK. For more information and guidance, see the Home Office website ‘Working in the UK’-www.workingintheuk.gov.uk .
การมองหางานท�ำ
หากคุณก�ำลังมองหางาน หรือคิดทีจ่ ะเปลีย่ นงานใหม่ คุณสามารถค้นหาข้อมูลเกีย่ วกับ การท�ำงานได้หลายอย่าง กระทรวงมหาดไทยของอังกฤษ (โฮมออฟฟิศ) มีค�ำแนะน�ำ เกีย่ วกับคุณสมบัตขิ องผูท้ สี่ ามารถท�ำงานในสหราชอาณาจักรได้ ไม่ ใช่วา่ ทุกคนจะมีสทิ ธิ์ ได้รบั อนุญาตให้ท�ำงานในสหราชอาณาจักร บางคนต้องมี ใบอนุญาตท�ำงาน ดังนัน้ คุณจึง ควรตรวจสอบสถานะของคุณก่อนทีจ่ ะสมัครงาน นอกจากนี้ นายจ้างยังต้องตรวจสอบผูท้ ี่ จะรับเข้ามาท�ำงานทุกคน เพือ่ ดูวา่ เขามีสทิ ธิตามกฎหมายทีจ่ ะท�ำงานในสหราชอาณาจักร หรือไม่ ส�ำหรับข้อมูลเพิม่ เติมและค�ำแนะน�ำจะหาได้จาก ‘Working in the UK’ ในเว็บไซต์ www.workingintheuk.gov.uk ของโฮมออฟฟิศ Jobs are usually advertised in local and national newspapers, at the local Jobcentre and in employment agencies. You can find the address and telephone number of your local Jobcentre under Jobcentre Plus in the phone book or see www.jobcentreplus.gov.uk . Some jobs are advertised on supermarket notice boards and in shop windows. These jobs are usually part-time and the wages are often quite low. If there are particular companies you would like to work for, you can look for vacancies on their websites. Life in the UK 205
ประกาศรับสมัครงานจะลงโฆษณาในหนังสือพิมพ์ท้องถิ่นและหนังสือพิมพ์ทั่วประเทศ และทีศ่ นู ย์จดั หางาน (Jobcentre) ในท้องถิน่ และส�ำนักจัดหางานเอกชน คุณสามารถ ค้นหาที่อยู่และหมายเลขโทรศัพท์ของศูนย์จัดหางานในท้องถิ่นภายใต้สังกัด Jobcentre Plus ได้ ในสมุดโทรศัพท์ หรือทีเ่ ว็บไซต์ www.jobcentreplus.gov.uk นอกจากนี้ ยังมีการ ติดประกาศรับสมัครงานในซูเปอร์มาร์เก็ต และตามหน้าต่างของร้านค้าต่างๆ ซึง่ ส่วนใหญ่ จะเป็นงานแบบไม่เต็มเวลา และค่าจ้างค่อนข้างต�ำ่ หากคุณต้องการท�ำงานกับบริษทั ใด โดยเฉพาะ คุณควรเข้าไปหาดูต�ำแหน่งว่างในเว็บไซต์ของบริษทั นัน้ ๆ Jobcentre Plus is run by a government department-the Department for Work and Pensions. Trained staff give advice and help in finding and applying for jobs as well claiming benefits. They can also arrange for interpreters. Their website www.jobcentreplus.gov.uk lists vacancies and training opportunities and gives general information on benefits. There is also a low cost telephone service- Jobseeker Direct, 0845 60 60 234. This is open 9 a.m. to 6 p.m. on weekdays and 9 a.m. to 1 p.m. on Saturdays. กรมการท�ำงานและบ�ำนาญ (Work and Pensions Department) ของรัฐบาล มีหน้าที่ บริหารการด�ำเนินการของ Jobcentre Plus ซึ่งมีเจ้าหน้าที่ผู้ผ่านการอบรมมาอย่างดี คอยให้ค�ำแนะน�ำและความช่วยเหลือเกีย่ วกับการหางาน การสมัครงาน และการยืน่ ขอ เงินช่วยเหลือจากรัฐ เจ้าหน้าทีเ่ หล่านีส้ ามารถจัดหาล่ามให้คณ ุ ได้ดว้ ย ในเว็บไซต์ www. jobcentreplus.gov.uk จะมีรายการต�ำแหน่งงานทีว่ า่ ง และการจัดฝึกอบรม และยังให้ ข้อมูลทัว่ ไปเกีย่ วกับเงินช่วยเหลือจากรัฐด้วย นอกจากนี้ ยังมีบริการ Jobseeker Direct ค่าโทรศัพท์ถกู หมายเลข 0845 60 60 234 เปิดบริการตัง้ แต่ 09:00 - 18:00 น. ทุกวันธรรมดา และ 09:00 - 13:00 น. ทุกวันเสาร์
Qualifications
Applicants for some jobs need special training or qualifications. If you have qualifications from another country, you can find out how they compare with qualifications in the UK at the National Academic Recognition Information Centre (NARIC), www.naric.org.uk .
คุณสมบัตขิ องผูส้ มัครงาน
งานบางอย่างต้องการผูส้ มัครทีม่ คี ณ ุ สมบัติ หรือได้รบั การอบรมมาเป็นพิเศษ หากคุณจบ การศึกษามาจากประเทศอืน่ คุณสามารถหาข้อมูลเกีย่ วกับการเปรียบเทียบวุฒกิ ารศึกษา 206 Life in the UK
ของประเทศนั้นกับวุฒิการศึกษาในสหราชอาณาจักรได้ที่ ศูนย์ข้อมูลการรับรองคุณวุฒิ ทางการศึกษาแห่งชาติ (NARIC) เว็บไซต์ www.naric.org.uk For further information contact UK NARIC, ECCTIS Ltd, Oriel House, Oriel Road, Cheltenham Glos, GL50 1XP telephone 0870 990 4088, email: info@naric.org.uk . ส�ำหรับข้อมูลเพิม่ เติม โปรดติดต่อ UK NARIC, ECCTIS Ltd , Oriel House, Oriel Road, Cheltenham Glos, GL50 1XP หรือโทรศัพท์ 0870 990 4088 หรือส่งอีเมล์ ไปที่ info@naric.org.uk
Applications
Interviews for lower paid and local jobs can often be arranged by telephone or in person. For many jobs you need to fill in an application form or send a copy of your curriculum vitae (CV) with a covering letter or letter of application.
การสมัครงาน
การสัมภาษณ์งานที่ ให้คา่ จ้างต�่ำ และเป็นงานใกล้บา้ น อาจท�ำทางโทรศัพท์ หรือไปรับการ สัมภาษณ์ด้วยตนเองที่บริษัท ในการสมัครงานทั่วไป คุณจะต้องกรอกข้อมูลในใบสมัคร หรือส่งส�ำเนาเอกสารประวัตขิ อ้ มูลการศึกษาและประสบการณ์การท�ำงาน (CV) ของคุณ พร้อมจดหมายแนะน�ำตัว หรือจดหมายสมัครงาน A covering letter is usually a short letter attached to a completed application form, while a letter of application gives more detailed information on why you are applying for the job and why you think you are suitable. Your CV gives specific details on your education, qualifications, previous employment, skills and interests. It is important to type any letters and your CV on a computer or word processor as this improves your chance of being called for an interview. จดหมายแนะน�ำตัวทีส่ ง่ ไปกับ CV นัน้ ปกติจะเป็นข้อความสัน้ ๆ แนบกับใบสมัครทีก่ รอก เรียบร้อยแล้ว แต่ถา้ เป็นจดหมายสมัครงาน คุณจะต้องให้รายละเอียดเพิม่ เติมว่า เพราะ เหตุใดคุณจึงสมัครงาน และท�ำไมคุณจึงเหมาะสมกับงานนัน้ เอกสาร CV จะมีรายละเอียด เจาะจงเกีย่ วกับการศึกษา คุณสมบัติ และประวัตกิ ารท�ำงานในอดีต ตลอดจนทักษะความ สามารถและความสนใจของคุณ ข้อส�ำคัญก็คอื คุณควรพิมพ์จดหมายและเอกสาร CV โดยใช้คอมพิวเตอร์ หรือโปรแกรมประมวลผล เพราะจะช่วยให้คณ ุ มี โอกาสได้รบั คัดเลือก ไปสัมภาษณ์ ในขัน้ ต่อไปได้มากขึน้ Life in the UK 207
Employers often ask for the names and addresses of one or two referees. These are people such as your current or previous employer or college tutor. Referees need to know you well and to agree to write a short report or reference on your suitability for the job. Personal friends or members of your family are not normally acceptable as referees. ปกตินายจ้างจะขอชื่อและที่อยู่ของบุคคลอ้างอิงหนึ่งหรือสองคน บุคคลอ้างอิงอาจเป็น นายจ้างของคุณในปัจจุบนั หรือในอดีต หรือจะเป็นอาจารย์ ในวิทยาลัยก็ ได้ บุคคลอ้างอิง จะต้องรูจ้ กั คุณเป็นอย่างดี และต้องยินดีทจี่ ะเขียนรายงาน หรือข้อความสัน้ ๆ ชีแ้ จงว่า ท�ำไมคุณจึงเหมาะสมกับงานนัน้ โดยทัว่ ไปแล้ว บริษทั จะไม่ยอมรับให้เพือ่ นหรือสมาชิกใน ครอบครัวของคุณเป็นบุคคลอ้างอิงให้กบั คุณ
Interviews
In job descriptions and interviews, employers should give full details of what the job involves, including the pay, holidays and working conditions. If you need more information about any of these, you can ask questions in the interview. In fact, asking some questions in the interview shows you are interested and can improve your chance of getting the job.
การสัมภาษณ์
ในค�ำบรรยายลักษณะงาน และในระหว่างการสัมภาษณ์งาน นายจ้างจะให้รายละเอียด เกีย่ วกับงานในหน้าที่ ค่าตอบแทน วันหยุด และเงือ่ นไขในการท�ำงาน หากคุณต้องการ ทราบรายละเอียดเพิม่ เติม คุณสามารถถามได้ ในช่วงการสัมภาษณ์ การถามของคุณ แสดง ให้เห็นว่าคุณมีความสนใจ และอาจท�ำให้คณ ุ มี โอกาสทีจ่ ะได้งานนัน้ มากขึน้ When you are applying for a job and during the interview, it is important to be honest about your qualifications and experience. If an employer later finds out that you gave incorrect information, you might lose your job. ในการสมัครงานและในระหว่างการสัมภาษณ์ คุณต้องให้ข้อมูลที่ถูกต้องแท้จริงเกี่ยวกับ คุณวุฒทิ างการศึกษาและประสบการณ์ ในการท�ำงานของคุณ หากนายจ้างทราบภายหลัง ว่าคุณให้ขอ้ มูลที่ ไม่เป็นความจริง นายจ้างอาจให้คณ ุ ออกจากงานได้
208 Life in the UK
Criminal record
For some jobs, particularly if the work involves working with children or vulnerable people, the employer will ask for your permission to do a criminal record check. You can get more information on this from the Home Office Criminal Records Bureau (CRB) information line, telephone 0870 90 90 811. In Scotland, contact Disclosure Scotland www.disclosurescotland.co.uk Helpline: 0870 609 6006.
ประวัตอิ าชญากรรม
ในการท�ำงานบางประเภท โดยเฉพาะงานที่เกี่ยวกับเด็ก หรือผู้ที่อ่อนแอ นายจ้างจะ ขออนุญาตเพื่อตรวจสอบประวัติอาชญากรรมของคุณ คุณสามารถหาข้อมูลเพิ่มเติมใน เรือ่ งนี้ ได้จากส�ำนักทะเบียนคดีอาญา (Criminal Records Bureau (CRB)) ของโฮมออฟฟิศ โทรศัพท์ 0870 90 90 811 ส�ำหรับในสก็อตแลนด์ ให้ตดิ ต่อ Disclosure Scotland www.disclosurescotland.co.uk หรือสายให้ความช่วยเหลือ 0870 609 6006
Training
Taking up training helps people improve their qualifications for work. Some training may be offered at work or you can do courses from home or at your local college. This includes English language training. You can get more information from your local library and college or from websites such as www.worktrain. gov.uk and www.learndirect.co.uk Learndirect offers a range of online training courses at centres across the country. There are charges for courses but you can do free starter or taster sessions. You can get more information from their free information and advice line: 0800 100 900.
การฝึกอบรม
การฝึกอบรมจะช่วยพัฒนาความสามารถในการท�ำงานของคุณให้ดขี นึ้ บางครัง้ ทีท่ �ำงาน จะจัดการฝึกอบรมให้คณ ุ หรือคุณอาจเรียนหลักสูตรอบรมทางไกล เช่น หลักสูตรภาษา อังกฤษ ที่บ้าน หรือที่วิทยาลัยใกล้บ้าน คุณสามารถหาข้อมูลเพิ่มเติมได้จากห้องสมุด ประชาชน และวิทยาลัยในท้องถิน่ หรือจากเว็บไซต์ตา่ งๆ เช่น www.worktrain.gov.uk และ www.learndirect.co.uk Learndirect เปิดสอนหลักสูตรฝึกอบรมออนไลน์ตามศูนย์ตา่ งๆ ทั่วประเทศ โดยคิดค่าอบรม แต่คุณสามารถทดลองเรียนเบื้องต้นได้ฟรี คุณสามารถ โทรศัพท์ตดิ ต่อขอทราบข้อมูลเพิม่ เติมและค�ำแนะน�ำได้ฟรีทหี่ มายเลข 0800 100 90
Life in the UK 209
Volunteering and work experience
Some people do voluntary work and this can be a good way to support your local community and organisations which depend on volunteers. It also provides useful experience that can help with future job applications. Your local library will have information about volunteering opportunities.
งานอาสาสมัคร และประสบการณ์การท�ำงาน
บางคนท�ำงานอาสาสมัคร ซึง่ นับว่าเป็นสิง่ ทีด่ ี เพราะเป็นการช่วยเหลือชุมชนและองค์กรที่ ต้องพึง่ พาอาศัยอาสาสมัคร นอกจากนี้ งานอาสาสมัครยังให้ประสบการณ์ทเี่ ป็นประโยชน์ ต่อการสมัครงานของคุณในอนาคตด้วย คุณสามารถหาข้อมูลเกีย่ วกับงานอาสาสมัครได้ที่ ห้องสมุดประชาชนใกล้บา้ น หมายเหตุ: โปรดอย่าลืมทบทวนบทเรียน (Check that you understand)
Equal rights and discrimination
You can also get information and advice from websites such as: www.do-it. org.uk , www.volunteering.org.uk and www.justdosomething.net . It is against the law for employers to discriminate against someone at work. This means that a person should not be refused work, training or promotion or treated less favourably because of their: • sex • nationality, race, colour or ethnic group • disability • religion • sexual orientation • age.
สิทธิในความเสมอภาค และการเลือกปฏิบตั ิ
คุณสามารถหาข้อมูลและค�ำแนะน�ำได้จากเว็บไซต์ www.do-it.org.uk , www.volunteering.org.uk และ www.justdosomething.net นายจ้างจะมีความผิดฐานละเมิดกฎหมาย หากท�ำสิง่ ทีเ่ ป็นการเลือกปฏิบตั ติ อ่ คนในทีท่ �ำงาน เช่น ปฏิเสธไม่ ให้งาน ไม่ ให้การฝึกอบรม หรือไม่ส่งเสริมความก้าวหน้าของพนักงาน หรือปฏิบัติต่อพนักงานอย่างไม่เป็นธรรม ด้วยเหตุผลในเรือ่ ง 210 Life in the UK
• เพศ • สัญชาติ เชือ้ ชาติ สีผวิ • ความพิการ • ศาสนา • รสนิยมทางเพศ • อายุ In Northern Ireland, the law also bans discrimination on grounds of religious belief or political opinion. กฎหมายในไอร์แลนด์เหนือยังห้ามการเลือกปฏิบตั ติ อ่ ผู้ ใดผูห้ นึง่ เนือ่ งด้วยความเชือ่ ทาง ศาสนา หรือความคิดเห็นทางการเมือง The law also says that men and women who do the same job, or work of equal value, should receive equal pay. Almost all the laws protecting people at work apply equally to people doing part-time or full-time jobs. นอกจากนี้ กฎหมายยังบัญญัติไว้วา่ ชายและหญิงทีท่ �ำงานประเภทเดียวกัน หรือทีม่ คี วาม ส�ำคัญเท่ากัน ควรได้รับค่าตอบแทนเท่าเทียมกันด้วย กฎหมายคุ้มครองแรงงานเกือบ ทุกฉบับจะใช้บงั คับคุม้ ครองพนักงานชัว่ คราวหรือพนักงานประจ�ำอย่างเสมอภาคกัน There are, however, a small number of jobs where discrimination laws do not apply. For example, discrimination is not against the law when the job involves working for someone in their own home. อย่างไรก็ตาม มีงานบางประเภททีก่ ฎหมายต่อต้านการเลือกปฏิบตั ิใช้บงั คับไม่ ได้ ตัวอย่าง เช่น การท�ำงานให้กบั ผู้ ใดผูห้ นึง่ ในบ้านของคนผูน้ นั้ การเลือกปฏิบตั ิในสถานการณ์ดงั กล่าว ไม่ถอื ว่าผิดกฎหมาย You can get more information about the law and racial discrimination from the Commission for Racial Equality. The Equal Opportunities Commission can help with sex discrimination issues and the Disability Rights Commission deals with disability issues. Each of these organisations offers advice and information and can, in some cases, support individuals. From October 2007 their functions will be brought together in a new Commission for Equality and Human Rights. You can get more information about the laws protecting people at work from the Citizens Advice Bureau website: www.adviceguide.org.uk . Life in the UK 211
คุณสามารถหาข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับกฎหมายและการเลือกปฏิบัติทางเชื้อชาติ ได้จาก คณะกรรมาธิการคุม้ ครองความเสมอภาคทางเชือ้ ชาติ (Commission for Racial Equality) ส�ำหรับปัญหาเกีย่ วกับการกีดกันทางเพศ คุณสามารถหาข้อมูลเพิม่ เติมได้จากคณะ กรรมาธิการส่งเสริมความเสมอภาค (Equal Opportunities Commission) และคณะ กรรมาธิการพิทกั ษ์สทิ ธิคนพิการ (Disability Rights Commission) จะให้ขอ้ มูลเพิม่ เติม เกีย่ วกับปัญหาการเลือกปฏิบตั ติ อ่ คนพิการให้แก่คณ ุ ได้ องค์กรเหล่านีจ้ ะให้ค�ำแนะน�ำและ ข้อมูลทีเ่ ป็นประโยชน์ และบางครัง้ สามารถทีจ่ ะให้ความช่วยเหลือแก่บคุ คลเฉพาะกรณี ได้ ด้วย ตัง้ แต่เดือนตุลาคม ค.ศ. 2007 จะมีการประสานรวมหน้าทีก่ ารท�ำงานขององค์กร เหล่านีเ้ ข้าด้วยกันเป็นองค์กรใหม่ เรียกว่า คณะกรรมการคุม้ ครองความเสมอภาคและสิทธิ มนุษยชน (Commission for Equality and Human Rights) โปรดหาข้อมูลเพิม่ เติมเกีย่ ว กับกฎหมายคุม้ ครองบุคคลในทีท่ �ำงานได้จากหน่วยงานให้ค�ำแนะน�ำแก่ประชาชน เว็บไซต์ www.adviceguide.org.uk In Northern Ireland, the Equality Commission provides information and advice in respect of all forms of unlawful discrimination. คณะกรรมาธิการส่งเสริมความเสมอภาค (Equality Commission) ในไอร์แลนด์เหนือ จะให้ข้อมูลและค�ำแนะน�ำเกี่ยวกับการเลือกปฏิบัติที่ ไม่ชอบด้วยกฎหมายในทุกรูปแบบใน ไอร์แลนด์เหนือ The Commission for Racial Equality, St Dunstan’s House, 201-211 Borough High Street, London, SE11 1GZ, telephone: 020 7939 000, fax 020 7939 0001, www.cre.gov.uk The Commission for Racial Equality (คณะกรรมาธิการคุม้ ครองความเสมอภาคทาง เชือ้ ชาติ), St Dunstan’s House, 201-211 Borough High Street, London, SE11 1GZ โทรศัพท์ 020 7939 000 แฟกซ์ 020 7939 0001 เว็บไซต์ www.cre.gov.uk The Equal Opportunities Commission, Arndale House, Arndale Centre, Manchester M4 3EQ, telephone: 0845 601 5901, fax: 0161 838 8312, www.eoc.org.uk The Equal Opportunities Commission (คณะกรรมาธิการส่งเสริมความเสมอภาค), Arndale House, Arndale Centre, Manchester M4 3EQ โทรศัพท์ 0845 601 5901 แฟกซ์ 0161 838 8312 เว็บไซต์ www.eoc.org.uk
212 Life in the UK
The Disability Rights Commission, DRC Helpline, FREEPOST MID02164, Stratford upon Avon CV37 9BR, telephone: 08457 622 633, fax 08457 778 878, www.drc.org.uk The Disability Rights Commission (คณะกรรมาธิการพิทกั ษ์สทิ ธิคนพิการ), DRC Helpline, FREEPOST MID02164, Stratford upon Avon CV37 9BR โทรศัพท์ 08457 622 633 แฟกซ์ 08457 778 878 เว็บไซต์ www.drc.org.uk The Equality Commission for Northern Ireland, Equality House, 7 -9 Shaftesbury Square, Belfast BT2 7DP, telephone: 028 90 500600, www.equalityni.org The Equality Commission for Northern Ireland (คณะกรรมาธิการส่งเสริมความเสมอ ภาคของไอร์แลนด์เหนือ), Equality House, 7 -9 Shaftesbury Square, Belfast BT2 7DP โทรศัพท์ 028 90 500600 เว็บไซต์ www.equalityni.org
Sexual harassment
Sexual harassment can take different forms. This includes: • indecent remarks • comments about the way you look that make you feel uncomfortable or humiliated • comments or questions about your sex life • inappropriate touching or sexual demands • bullying behaviour or being treated in a way that is rude, hostile, degrading or humiliating because of your sex
การล่วงละเมิดทางเพศ
การล่วงละเมิดทางเพศอาจเกิดขึน้ ได้หลายรูปแบบ เช่น • พูดจาลวนลาม หรือใช้ถอ้ ยค�ำลามก • วิพากษ์วจิ ารณ์รปู ร่างหน้าตาของคุณ ท�ำให้คณ ุ รูส้ กึ อึดอัด หรืออับอายขายหน้า • วิพากษ์วจิ ารณ์ หรือถามเกีย่ วกับเรือ่ งเพศสัมพันธ์ของคุณ • ลวนลามแบบถูกเนือ้ ต้องตัว หรือเรียกร้องให้ตอบสนองทางเพศ • กลัน่ แกล้ง หรือปฏิบตั ติ อ่ คุณอย่างหยาบคาย แสดงความไม่เป็นมิตร ท�ำให้คณ ุ รูส้ กึ ต�ำ่ ต้อย หรืออับอายขายหน้า ด้วยเหตุผลเกีย่ วกับเพศของคุณ
Life in the UK 213
Men and women can be victims of sexual harassment at work. If this happens to you, tell a friend, colleague or trade union representative and ask the person harassing you to stop. It is a good idea to keep a written record of what happened, the days and times when it happened and who else may have seen or heard the harassment. If the problem continues, report the person to your employer or trade union. Employers are responsible for the behaviour of their employees while they are at work. They should treat complaints of sexual harassment very seriously and take effective action to deal with the problem. If you are not satisfied with your employer’s response, you can ask for advice and support from the Equal Opportunities Commission, your trade union or the Citizens Advice Bureau. การถูกล่วงละเมิดทางเพศในที่ท�ำงานอาจเกิดขึ้นได้กับทุกคน ไม่ว่าชายหรือหญิง หาก เหตุการณ์เช่นนีเ้ กิดขึน้ กับคุณ คุณควรบอกเพือ่ น เพือ่ นร่วมงาน หรือผูแ้ ทนสหภาพแรงงาน ของคุณ และขอร้องผูท้ ลี่ ว่ งละเมิดให้หยุดการกระท�ำดังกล่าว นอกจากนี้ คุณควรจดบันทึก สิง่ ทีเ่ กิดขึน้ พร้อมทัง้ วันเวลาทีเ่ กิดเหตุการณ์ และชือ่ ของใครก็ตามทีอ่ าจได้เห็นหรือได้ยนิ การล่วงละเมิดนัน้ ๆ หากปัญหายังคงเกิดขึน้ อีก ให้คณ ุ แจ้งชือ่ ผูท้ ลี่ ว่ งละเมิดให้แก่นายจ้าง หรือสหภาพแรงงาน นายจ้างมีความรับผิดชอบในการควบคุมดูแลพฤติกรรมของพนักงาน ในระหว่างการท�ำงาน ดังนัน้ นายจ้างควรรับฟังค�ำร้องเรียนเกีย่ วกับการล่วงละเมิดทางเพศ อย่างจริงจัง และด�ำเนินการแก้ปญ ั หาอย่างมีประสิทธิภาพ หากคุณไม่พอใจกับวิธดี �ำเนิน การของนายจ้าง คุณสามารถขอค�ำแนะน�ำและความช่วยเหลือได้จากคณะกรรมาธิการ คุม้ ครองความเสมอภาค หรือสหภาพแรงงาน หรือหน่วยงานให้ค�ำแนะน�ำแก่ประชาชน
At work
Both employers and employees have legal responsibilities at work. Employers have to pay employees for the work that they do, treat them fairly and take responsible care for their health and safety. Employees should do their work with reasonable skill and care and follow all reasonable instructions. They should not damage their employer’s business.
ความรับผิดชอบในทีท่ ำ� งาน
ทัง้ นายจ้างและลูกจ้างมีหน้าทีร่ บั ผิดชอบตามกฎหมายในทีท่ �ำงาน นายจ้างจะต้องจ่ายเงิน เป็นค่าตอบแทนการท�ำงานของพนักงาน ตลอดจนปฏิบตั ติ อ่ พนักงานอย่างเป็นธรรม และ รับผิดชอบในการดูแลสุขภาพและความปลอดภัยของพนักงาน พนักงานควรปฏิบตั หิ น้าที่ 214 Life in the UK
ตามความรูค้ วามสามารถ และเอาใจใส่และปฏิบตั ติ ามค�ำแนะน�ำทีช่ อบด้วยเหตุผล พนักงาน ไม่ควรท�ำสิง่ ทีก่ อ่ ให้เกิดความเสียหายต่อธุรกิจของนายจ้าง
A written contract or statement
Within two months of starting a new job, your employer should give you a written contract or statement with all the details and conditions for your work. This should include your responsibilities, pay, working hours, holidays, sick pay and pension. It should also include the period of notice that both you and your employer should give for the employment to end. The contract or written statement is an important document and is very useful if there is ever a disagreement about your work, pay or conditions.
เอกสารหรือสัญญาการจ้างงาน
ภายในเวลาสองเดือนของการเริม่ งานใหม่ นายจ้างควรมอบหนังสือสัญญาจ้างงาน หรือ เอกสารชี้แจงรายละเอียดและเงื่อนไขทั้งหมดเกี่ยวกับการท�ำงานให้แก่คุณ ในสัญญานี้ ควรระบุความรับผิดชอบ รายได้ ชัว่ โมงท�ำงาน วันหยุด สิทธิการได้รบั ค่าจ้างในวันลาป่วย และเงินบ�ำนาญ รวมถึงระยะเวลาการบอกกล่าวล่วงหน้าในกรณีทนี่ ายจ้างหรือพนักงาน ต้องการบอกเลิกสัญญา หนังสือสัญญาหรือรายละเอียดเกีย่ วกับการจ้างงานเป็นเอกสาร ทีส่ �ำคัญ และมีประโยชน์อย่างยิง่ ในกรณีทมี่ ขี อ้ ขัดแย้งเกีย่ วกับการท�ำงาน หรือค่าตอบแทน หรือเงือ่ นไขการท�ำงานของคุณ
Pay, hours and holidays
Your pay is agreed between you and your employer. There is a minimum wage in the UK that is a legal right for every employed person above compulsory school leaving age. The compulsory school leaving age is 16, but the time in the school year when 16-year-olds can leave school in England and Wales is different from that in Scotland and Northern Ireland. There are different minimum wage rates for different age groups. From October 2006 the rates are as follows: • for workers aged 22 and above -£5.35 an hour • for 18 -21 year olds £4.45 an hour • for 16 -17 year olds £3.30 an hour Life in the UK 215
รายได้ จ�ำนวนชัว่ โมงการท�ำงานและวันหยุด
ค่าตอบแทนส�ำหรับการท�ำงานเป็นสิง่ ทีต่ อ้ งตกลงกันเองระหว่างคุณกับนายจ้าง ในสหราช อาณาจักรมีการก�ำหนดอัตราค่าจ้างขั้นต�ำ่ อันเป็นสิทธิที่พึงได้รับตามกฎหมายส�ำหรับคน ท�ำงานทุกคนทีม่ อี ายุเกินวัยการศึกษาภาคบังคับ กฎหมายบังคับให้เด็กเข้าโรงเรียนจนถึง อายุ 16 ปี อย่างไรก็ตาม เด็กอายุ 16 ปี ในอังกฤษและเวลส์จะสามารถออกจากโรงเรียน ได้ ในช่วงปีการศึกษาทีต่ า่ งกันกับในสก็อตแลนด์และไอร์แลนด์เหนือ อัตราค่าจ้างขัน้ ต�ำ่ ส�ำหรับคนท�ำงานในวัยต่างๆ จะไม่เท่ากัน ตัง้ แต่ตลุ าคม ค.ศ. 2006 กฎหมายได้ก�ำหนดอัตราค่าจ้างไว้ ดังนี้ • 5.35 ปอนด์ตอ่ ชัว่ โมง ส�ำหรับคนงานอายุ 22 ปีขนึ้ ไป • 4.45 ปอนด์ตอ่ ชัว่ โมง ส�ำหรับเยาวชนอายุ 18 - 21 ปี • 3.30 ปอนด์ตอ่ ชัว่ โมง ส�ำหรับเยาวชนอายุ 16 - 17 ปี Employers who pay their workers less than this are breaking the law. You can get more information from the Central Office of Information Directgov website, www.direct.gov.uk which has a wide range of public service information. Alternatively, you can telephone the National Minimum Wage Helpline, telephone 0845 600 0678. นายจ้างทีจ่ า่ ยค่าตอบแทนน้อยกว่านี้ ถือว่าละเมิดกฎหมาย คุณสามารถหาข้อมูลเพิม่ เติม ได้จากเว็บไซต์ของศูนย์ขอ้ มูลของ Directgov www.direct.gov.uk ซึง่ มีขอ้ มูลต่างๆ มากมาย ส�ำหรับประชาชนทัว่ ไป หรือโทรศัพท์ตดิ ต่อสายให้ความช่วยเหลือเกีย่ วกับอัตราค่าจ้างขัน้ ต�ำ่ ได้ทหี่ มายเลข 0845 600 0678 Your contract or statement will show the number of hours you are expected to work. Your employer might ask you if you can work more hours than this and it is your decision whether or not you do. Your employer cannot require you to work more hours than the hours agreed on your contract. ในหนังสือสัญญาหรือรายละเอียดการจ้างงานจะระบุจ�ำนวนชั่วโมงที่คาดหมายให้คุณ ท�ำงาน แต่นายจ้างอาจขอให้คุณท�ำงานมากกว่านี้ และคุณมีสิทธิ์ ในการตัดสินใจที่จะ ท�ำหรือไม่ท�ำก็ ได้ นายจ้างไม่สามารถบังคับให้คุณท�ำงานเกินจ�ำนวนชั่วโมงที่ตกลงกันไว้ ในสัญญาได้ If you need to be absent from work, for example if you are ill or you have a medical appointment, it is important to tell your employer as soon as you can in advance. Most employees who are 16 or over are entitled to at least four 216 Life in the UK
weeks, paid holiday every year. This includes time for national holidays (see chapter 3). Your employer must give you a pay slip, or a similar written statement, each time you are paid. This must show exactly how much money has been taken off for tax and national insurance contributions. หากคุณมีเหตุจ�ำเป็นต้องขาดงาน เช่น เจ็บป่วย หรือมีนดั หมายทีจ่ ะไปพบแพทย์ คุณจะ ต้องแจ้งให้นายจ้างทราบล่วงหน้าโดยเร็วที่สุด พนักงานส่วนใหญ่ที่มีอายุ 16 ปีขึ้นไป จะมีสทิ ธิล์ าหยุดพักร้อนได้ โดยทีย่ งั ได้รบั ค่าจ้างเป็นเวลาอย่างน้อย 4 สัปดาห์ทกุ ๆ ปี ทัง้ นี้ รวมถึงวันหยุดราชการ (ดูขอ้ มูลเพิม่ เติมในบทที่ 3) และทุกครัง้ ทีน่ ายจ้างจ่ายเงินค่าจ้าง ให้คุณ นายจ้างจะต้องให้ ใบจ่ายเงินเดือน หรือใบเสร็จรับเงินที่คล้ายคลึงกันให้แก่คุณ ใบเอกสารนีจ้ ะต้องแสดงจ�ำนวนเงินทีห่ กั เป็นค่าภาษีและค่าประกันสังคมไว้อย่างชัดเจน
Tax
For most people, tax is automatically taken from their earnings by the employer and paid directly to HM Revenue and Customs, the government department responsible for collecting taxes. If you are self-employed, you need to pay your own tax (see page 82). Money raised from income tax pays for government services such as roads, education, police and the armed forces. Occasionally HM Revenue and Customs sends out tax return forms which ask for full financial details. If you receive one, it is important to complete it and return the form as soon as possible. You can get help and advice from the HM Revenue and Customs self-assessment helpline, on: 0845 300 45 55.
ภาษี
คนส่วนใหญ่จะถูกหักภาษีจากเงินเดือนที่ ได้รบั โดยอัตโนมัติ โดยนายจ้างจะเป็นผูห้ กั และ จ่ายภาษี โดยตรงไปทีก่ รมสรรพากรและสรรพสามิตของอังกฤษ ซึง่ เป็นหน่วยงานราชการ ทีร่ บั ผิดชอบในการเก็บภาษี หากคุณมีกจิ การส่วนตัว คุณจะต้องจ่ายค่าภาษีเอง (ดูทหี่ น้า 82) รัฐบาลจะน�ำเงินที่ ได้จากการเรียกเก็บภาษีรายได้ ไปจัดท�ำเป็นงบประมาณส�ำหรับ ค่าใช้จา่ ยในการให้บริการของรัฐ เช่น ถนนหนทาง การศึกษา ต�ำรวจ และกองทัพ บางครัง้ กรมสรรพากรและสรรพสามิตของอังกฤษจะส่งแบบฟอร์มการเสียภาษีทขี่ อรายละเอียด ทางการเงินทัง้ หมดของคุณ หากคุณได้รบั แบบฟอร์มนี้ คุณจะต้องกรอกข้อมูลให้เรียบร้อย และส่งคืนโดยเร็วทีส่ ดุ คุณสามารถขอความช่วยเหลือและค�ำแนะน�ำได้จากสายให้ความ ช่วยเหลือของกรมสรรพากรและสรรพสามิตอังกฤษเกีย่ วกับการประเมินรายได้ของตนเอง หมายเลข 0845 300 45 55 Life in the UK 217
National Insurance
Almost everybody in the UK who is in paid work, including self-employed people, must pay National Insurance (NI) contributions. Money raised from NI contributions is used to pay contributory benefits such as the State Retirement Pension and helps fund the National Health Service. Employees have their NI contributions deducted from their pay by their employer every week or month. People who are self-employed need to pay NI contributions themselves: Class 2 contributions, either by direct debit or every three months and Class 4 contributions on the profits from their trade or business. Class 4 contributions are paid alongside their income tax. Anyone who does not pay enough NI contributions will not be able to receive certain benefits, such as Jobseeker’s Allowance or Maternity Pay, and may not receive a full state retirement pension.
เงินประกันสังคมแห่งชาติ
ผูท้ มี่ รี ายได้จากการรับจ้างท�ำงานในสหราชอาณาจักรเกือบทุกคน รวมถึงผูท้ มี่ กี จิ การของ ตนเอง จะต้องจ่ายเงินสมทบค่าประกันสังคม (National Insurance (NI)) และรัฐบาล จะน�ำเงินกองทุนประกันสังคมนี้ ไปใช้จา่ ยในการให้บริการด้านสวัสดิการต่างๆ เช่น เงิน บ�ำนาญส�ำหรับผู้เกษียณ และจัดสรรเป็นงบประมาณส�ำหรับองค์การอนามัยแห่งชาติ (NHS) นายจ้างจะหักเงินภาษีประกันสังคมนีจ้ ากเงินเดือนของพนักงานทุกสัปดาห์ หรือ ทุกเดือน ผู้ที่มีรายได้จากกิจการของตนเองจะต้องจ่ายเงินภาษีประกันสังคม Class 2 เอง โดยช�ำระด้วยวิธกี ารหักเงินจากบัญชีธนาคาร หรือทุกๆ สามเดือน และต้องจ่ายเงิน ภาษีประกันสังคม Class 4 ของรายได้ที่เป็นผลก�ำไรจากการค้าหรือธุรกิจของตนเอง ค่าภาษีประกันสังคม Class 4 นีจ้ ะช�ำระพร้อมกับภาษีรายได้ ผูท้ ชี่ �ำระเงินประกันสังคม ได้ ไม่ครบ จะไม่มีสิทธิ์ ได้รับเงินช่วยเหลือจากรัฐในบางกรณี เช่น เงินช่วยเหลือขณะ หางานท�ำ หรือเงินช่วยเหลือในระหว่างการคลอดบุตร และอาจไม่ ได้รบั เงินบ�ำนาญของ รัฐเต็มตามจ�ำนวนเมือ่ เกษียณอายุดว้ ย
Getting a National Insurance number
Just before their 16th birthday, all young people in the UK are sent a National Insurance number. This is a unique number for each person and it tracks their National Insurance contributions.
218 Life in the UK
หมายเลขประกันสังคม
ก่อนอายุครบ 16 ปี เยาวชนทุกคนในสหราชอาณาจักรจะได้รับหมายเลขประกันสังคม ซึ่งเป็นหมายเลขประจ�ำตัวเฉพาะบุคคล และใช้ ในการเก็บและตรวจสอบข้อมูลเกี่ยวกับ การจ่ายเงินภาษีประกันสังคมของแต่ละคน Refugees whose asylum applications have been successful have the same rights to work as any other UK citizen and to receive a National Insurance number. People who have applied for asylum and have not received a positive decision do not usually have permission to work and so do not get a National Insurance number. ผูอ้ พยพทีย่ นื่ ค�ำขอสถานะเป็นผูล้ ภี้ ยั และได้รบั การพิจารณาอนุมตั ิ จะมีสทิ ธิในการท�ำงาน เช่นเดียวกับพลเมืองสหราชอาณาจักร และจะได้รบั หมายเลขประกันสังคมด้วย ส�ำหรับ ผู้อพยพที่ยื่นค�ำขอสถานะเป็นผู้ลี้ภัยแต่ยังไม่ ได้รับการพิจารณาอนุมัติ ปกติจะไม่มีสิทธิ์ ท�ำงาน และจะไม่ ได้รบั หมายเลขประกันสังคม You need a National Insurance number when you start work. If you do not have a National Insurance number, you can apply for one through Jobcentre Plus or your local Social Security Office. It is a good idea to make an appointment by telephone and ask which documents you need to take with you. You usually need to show your birth certificate, passport and Home Office documents allowing you to stay in the country. If you need information about registering for a National Insurance number, you can telephone the National Insurance Registrations Helpline on 0845 91 57006 or 0845 91 55670. คุณจะต้องมีหมายเลขประกันสังคมเมื่อเริ่มท�ำงาน หากคุณยังไม่มีหมายเลขประจ�ำตัว ประกันสังคม คุณสามารถยืน่ ขอหมายเลขประกันสังคมของคุณได้ทศี่ นู ย์จดั หางาน Jobcentre Plus หรือที่ส�ำนักงานประกันสังคมใกล้บ้านคุณ คุณควรท�ำการนัดหมายทาง โทรศัพท์ และสอบถามดูกอ่ นว่าคุณต้องน�ำเอกสารอะไรติดตัวไปบ้าง ปกติแล้วเอกสารที่ คุณต้องน�ำไปแสดงจะได้แก่ สูตบิ ตั ร หนังสือเดินทาง และเอกสารของกระทรวงมหาดไทย ของอังกฤษ (โฮมออฟฟิศ) ที่อนุญาตให้คุณอยู่ ในประเทศนี้ ได้ หากคุณต้องการข้อมูล เกี่ยวกับการลงชื่อในทะเบียนเพื่อขอหมายเลขประกันสังคม โปรดโทรศัพท์ติดต่อสายให้ ความช่วยเหลือของฝ่ายทะเบียนประกันสังคมแห่งชาติได้ที่ หมายเลข 0845 91 57006 หรือ 0845 91 55670
Life in the UK 219
Pensions
Everyone in the UK who has paid enough National Insurance contributions will get a State Pension when they retire. The State Pension age for men is currently 65 years of age and for women it is 60, but the State Pension age for women will increase to 65 in stages between 2010 and 2020. You can find full details of the State Pension scheme on the State Pension website, www.thepensionservice.gov.uk or you can phone the Pension Service Helpline: 08456060265
การรับเงินบ�ำนาญ
ผู้ที่จ่ายเงินภาษีประกันสังคมในสหราชอาณาจักรได้ครบทุกคน จะได้รับเงินบ�ำนาญของ รัฐเมือ่ ถึงวัยเกษียณ ในปัจจุบนั ผูช้ ายจะมีสทิ ธิได้รบั เงินบ�ำนาญจากรัฐเมือ่ อายุ 65 ปี และ ผูห้ ญิงจะมีสทิ ธิได้รบั เงินบ�ำนาญเมือ่ อายุ 60 ปี อย่างไรก็ตาม ในช่วงตัง้ แต่ปี ค.ศ. 2010 ถึงปี ค.ศ. 2020 จะมีการเพิ่มอายุของผู้หญิงที่มีสิทธิ ได้รับเงินบ�ำนาญให้สูงขึ้นตาม ล�ำดับจนถึง 65 ปี คุณสามารถหารายละเอียดเกีย่ วกับโครงการเงินบ�ำนาญของรัฐได้ที่ เว็บไซต์ www.thepensionservice.gov.uk หรือโทรศัพท์ตดิ ต่อสายให้ความช่วยเหลือ แผนกบริการข้อมูลเกีย่ วกับเงินบ�ำนาญ หมายเลข 08456060265 In addition to a State Pension, many people also receive a pension through their work and some also pay into a personal pension plan too. It is very important to get good advice about pensions. The Pensions Advisory Service gives free and confidential advice on occupational and personal pensions. Their helpline telephone number is 0845 601 2923 and their website address is www.opas. org.uk . Independent financial advisers can also give advice but you usually have to pay a fee for this service. You can find local financial advisers in the Yellow Pages and Thomson local guides or on the internet at www.unbiased.co.uk . นอกจากจะได้รับเงินบ�ำนาญจากรัฐแล้ว หลายคนยังได้รับเงินบ�ำเหน็จบ�ำนาญจากการ ท�ำงาน และบางคนยังจ่ายเงินสะสมในโครงการเงินบ�ำนาญส่วนบุคคลด้วย คุณควรขอ ค�ำแนะน�ำเกี่ยวกับเงินบ�ำนาญ เพราะเรื่องนี้ส�ำคัญมาก หน่วยงานบริการให้ค�ำแนะน�ำ เกีย่ วกับเงินบ�ำนาญ (The Pensions Advisory Service) จะให้ค�ำแนะน�ำฟรีและลับเฉพาะ เกีย่ วกับโครงการเงินบ�ำนาญส่วนบุคคลและเงินบ�ำนาญอาชีพ และมีบริการโทรศัพท์สายให้ ความช่วยเหลือ หมายเลข 0845 601 2923 และเว็บไซต์ www.opas.org.uk ส�ำหรับให้ ข้อมูลทีเ่ ป็นประโยชน์ตอ่ คุณด้วย นอกจากนี้ คุณยังจะขอค�ำแนะน�ำได้จากทีป่ รึกษาทางการ
220 Life in the UK
เงินอิสระ แต่คุณจะต้องเสียค่าบริการ คุณสามารถหารายชื่อที่ปรึกษาทางการเงินใน ท้องถิน่ ได้จากสมุดโทรศัพท์หน้าเหลือง และสมุดของ Thomson ทีแ่ นะน�ำหมายเลขโทรศัทพ์ ในท้องถิน่ หรือหาข้อมูลในอินเทอร์เน็ตได้ที่ www.unbiased.co.uk
Health and safety
Employers have a legal duty to make sure the workplace is safe. Employees also have a legal duty to follow safety regulations and to work safely and responsibly. If you are worried about health and safety at your workplace, talk to your supervisor, manager or trade union representative. You need to follow the right procedures and your employer must not dismiss you or treat you unfairly for raising a concern. กฎหมายบัญญัติให้นายจ้างมีหน้าที่ดูแลจัดการให้ที่ท�ำงานมีความปลอดภัยส�ำหรับการ ท�ำงาน และพนักงานมีหน้าทีต่ อ้ งปฏิบตั ติ ามกฎระเบียบด้านความปลอดภัย และท�ำงาน ด้วยวิธกี ารทีร่ บั ผิดชอบและไม่เป็นอันตราย หากคุณมีขอ้ กังวลใจเกีย่ วกับสุขภาพและความ ปลอดภัยในทีท่ �ำงาน คุณควรปรึกษากับหัวหน้างาน หรือผูจ้ ดั การของคุณ หรือกับผูแ้ ทน สหภาพแรงงาน โดยด�ำเนินการตามขัน้ ตอนทีถ่ กู ต้อง และนายจ้างจะต้องไม่ ไล่คณ ุ ออกจาก งาน หรือปฏิบตั ติ อ่ คุณอย่างไม่เป็นธรรม ด้วยสาเหตุจากการรายงานข้อกังวลใจ
Trade unions
Trade unions are organisations that aim to improve the pay and working conditions of their members. They also give their members advice and support on problems at work. You can choose whether to join a trade union or not and your employer cannot dismiss you or treat you unfairly for being a union member.
สหภาพแรงงาน
สหภาพแรงงานเป็นองค์กรทีม่ จี ดุ มุง่ หมายเพือ่ ช่วยเหลือสมาชิกในการยกระดับรายได้ และ ปรับปรุงสภาพการท�ำงานให้ดขี นึ้ และยังให้ค�ำแนะน�ำและความช่วยเหลือในกรณีทสี่ มาชิก มีปญ ั หาในทีท่ �ำงานด้วย คุณสามารถเลือกได้วา่ จะเป็นสมาชิกสหภาพแรงงานหรือไม่ และ นายจ้างไม่สามารถไล่คณ ุ ออกจากงาน หรือปฏิบตั ติ อ่ คุณอย่างไม่เป็นธรรม ด้วยสาเหตุจาก การเป็นสมาชิกสหภาพแรงงาน
Life in the UK 221
You can find details of trade unions in the UK, the benefits they offer to members and useful information on rights at work on the Trades Union Congress (TUC) website, www.tuc.org.uk . คุณสามารถหารายละเอียดของสหภาพแรงงานในสหราชอาณาจักร ตลอดจนผลประโยชน์ จากการเป็นสมาชิก และข้อมูลที่เป็นประโยชน์เกี่ยวกับสิทธิในที่ท�ำงานได้ที่เว็บไซต์ของ สภาองค์การสหภาพแรงงานแห่งชาติ www.tuc.org.uk
Problems at work
If you have problems of any kind at work, speak to your supervisor, manager, trade union representative or someone else with responsibility as soon as possible. If you need to take any action, it is a good idea to get advice first. If you are a member of a trade union, your representative will help. You can also contact your local Citizens Advice Bureau (CAB) or Law Centre. The national Advisory, Conciliation and Arbitration Service (ACAS) website, www.acas. org.uk gives information on your rights at work. ACAS also offers a national helpline, telephone 08457 47 47 47.
ปัญหาในทีท่ ำ� งาน
หากคุณมีปญ ั หาใดก็ตามในทีท่ �ำงาน คุณควรปรึกษากับหัวหน้างาน หรือผูจ้ ดั การของคุณ หรือกับผู้แทนสหภาพแรงงาน หรือผู้ที่มีหน้าที่รับผิดชอบโดยเร็วที่สุด หากคุณจ�ำเป็น ต้องด�ำเนินการอย่างใดอย่างหนึ่ง คุณควรขอค�ำแนะน�ำเสียก่อน หากคุณเป็นสมาชิก สหภาพแรงงาน ผู้แทนสหภาพแรงงานจะให้ความช่วยเหลือแก่คุณ หรือคุณจะติดต่อ หน่วยงานให้ค�ำแนะน�ำแก่ประชาชน (CAB) หรือศูนย์กฏหมายก็ ได้ นอกจากนี้ ในเว็บไซต์ www.acas.org.uk ของหน่วยงานบริการให้ค�ำปรึกษาและไกล่เกลีย่ ข้อพิพาท (ACAS) ยังจะให้ขอ้ มูลเกีย่ วกับสิทธิของคุณในทีท่ �ำงาน และมีบริการโทรศัพท์สายให้ความช่วยเหลือ ทัว่ ประเทศ หมายเลข 08457 47 47 47 ด้วย
Losing your job and unfair dismissal
An employee can be dismissed immediately for serious misconduct at work. Anyone who cannot do their job properly, or is unacceptably late or absent from work, should be given a warning by their employer. If their work, punctuality or attendance does not improve, the employer can give them notice to leave their job. 222 Life in the UK
เมือ่ ต้องออกจากงานและถูกให้ออกจากงานโดยไม่เป็นธรรม
พนักงานอาจถูกขอให้ออกจากงานได้ทันที หากประพฤติตัวเสื่อมเสียอย่างร้ายแรงใน ทีท่ �ำงาน ผูท้ ี่ ไม่สามารถท�ำหน้าทีก่ ารงานได้อย่างสมบูรณ์ หรือมาท�ำงานสาย หรือขาด งานโดยไม่มเี หตุผล สมควรได้รบั การตักเตือนจากนายจ้าง หากประสิทธิภาพในการท�ำงาน หรือการมาตรงเวลา หรือการมาท�ำงานของพนักงานผูน้ นั้ ยังไม่ดขี นึ้ นายจ้างสามารถแจ้ง ให้พนักงานผูน้ นั้ ออกจากงานได้ It is against the law for employers to dismiss someone from work unfairly. If this happens to you, or life at work is made so difficult that you feel you have to leave, you may be able to get compensation if you take your case to an Employment Tribunal. This is a court which specialises in employment matters. You normally only have three months to make a complaint. นายจ้างที่ ให้พนักงานออกจากงานอย่างไม่เป็นธรรม ถือว่าท�ำสิง่ ทีล่ ะเมิดกฎหมาย หาก เหตุการณ์นี้เกิดขึ้นกับคุณ หรือมีการสร้างปัญหาในที่ท�ำงานเพื่อให้คุณรู้สึกล�ำบากใจจน ต้องออกจากงาน คุณอาจมีสทิ ธิเ์ รียกร้องค่าสินไหมทดแทนได้ หากคุณยืน่ ค�ำร้องทุกข์ไปที่ ศาลแรงงาน (Employment Tribunal) ซึง่ เชีย่ วชาญในการแก้ปญ ั หาเกีย่ วกับการจ้างงาน โดยทัว่ ไปแล้ว คุณจะต้องยืน่ ค�ำร้องทุกข์ภายในเวลาไม่เกิน 3 เดือน If you are dismissed from your job, it is important to get advice on your case as soon as possible. You can ask for advice and information on your legal rights and the best action to take from your trade union representative, a solicitor, a Law Centre or the Citizen’s Advice Bureau. หากนายจ้างให้คณ ุ ออกจากงาน คุณจะต้องรีบปรึกษาขอค�ำแนะน�ำเกีย่ วกับกรณีของคุณ โดยเร็วทีส่ ดุ คุณสามารถขอค�ำแนะน�ำและข้อมูลเกีย่ วกับสิทธิตามกฎหมายของคุณ และ การด�ำเนินการทีด่ ที สี่ ดุ ในขัน้ ต่อไปได้ จากผูแ้ ทนสหภาพแรงงาน หรือทนายความ หรือ ศูนย์กฎหมาย หรือหน่วยงานให้ค�ำแนะน�ำแก่ประชาชน
Redundancy
If you lose your job because the company you work for no longer needs someone to do your job, or cannot afford to employ you, you may be entitled to redundancy pay. The amount of money you receive depends on the length of time you have been employed. Again your trade union representative, a solicitor, a Law Centre or the Citizens Advice Bureau can advise you. Life in the UK 223
การปลดพนักงาน
หากคุณถูกปลดออกจากงาน เนื่องจากบริษัทไม่มีความจ�ำเป็นต้องจ้างคนให้ท�ำงานใน ต�ำแหน่งนั้นอีกต่อไป หรือบริษัทไม่มีเงินที่จะจ้างให้คุณท�ำงานได้ คุณอาจมีสิทธิ์ ได้รับ เงินชดเชยในการถูกปลดออกจากงาน จ�ำนวนเงินที่ ได้รบั ขึน้ อยูก่ บั ระยะเวลาทีค่ ณ ุ ท�ำงาน และคุณสามารถขอค�ำแนะน�ำจากผู้แทนสหภาพแรงงานของคุณ หรือทนายความ หรือ ศูนย์กฎหมาย หรือหน่วยงานให้ค�ำแนะน�ำแก่ประชาชนได้เช่นกัน
Unemployment
Most people who become unemployed can claim Jobseeker’s Allowance (JSA). This is currently available for men aged 18-65 and women aged 18-60 who are capable of working, available for work and trying to find work. Unemployed 16 and 17 -year-olds may not be eligible for Jobseeker’s Allowance but may be able to claim a Young Person’s Bridging Allowance (YPBA) instead. The local Jobcentre Plus can help with claims. You can get further information from the Citizens Advice Bureau and the Jobcentre Plus website www.jobcentreplus. gov.uk .
การว่างงาน
คนว่างงานส่วนใหญ่สามารถยืน่ ค�ำขอรับเงินช่วยเหลือจากรัฐขณะหางานท�ำ (JSA) ได้ ปัจจุบันรัฐบาลจะให้เงินช่วยเหลือนี้แก่ผู้ชายอายุ 18-65 ปี และผู้หญิงอายุ 18-60 ปี ที่มีความสามารถในการท�ำงาน พร้อมที่จะท�ำงานและพยายามหางานท�ำอยู่ ส�ำหรับ ผูว้ า่ งงานอายุ 16 และ 17 ปี อาจไม่มสี ทิ ธิ์ ได้รบั เงินช่วยเหลือขณะหางาน แต่อาจขอรับ เงินช่วยเหลือส�ำหรับเยาวชน (YPBA) แทนได้ ศูนย์จัดหางาน Jobcentre Plus ใน ท้องถิ่นมีบริการช่วยเหลือเกี่ยวกับการขอรับเงินเหล่านี้ คุณสามารถหาข้อมูลเพิ่มเติมได้ จากหน่วยงานให้ค�ำแนะน�ำแก่ประชาชน และทีเ่ ว็บไซต์ www.jobcentreplus.gov.uk ของ ศูนย์จดั หางาน Jobcentre Plus
New Deal
New Deal is a government programme that aims to give unemployed people the help and support they need to get into work. Young people who have been unemployed for 6 months and adults who have been unemployed for 18 months are usually required to join New Deal if they wish to continue receiving ben224 Life in the UK
efit. There are different New Deal schemes for different age groups. You can find out more about New Deal on 0845 606 2626 or: www.newdeal.gov.uk .
ข้อตกลงใหม่ (New Deal)
New Deal เป็นโครงการของรัฐบาลทีจ่ ดั ขึน้ ด้วยจุดประสงค์เพือ่ ให้ความช่วยเหลือและ สนับสนุนผูท้ วี่ า่ งงานให้สามารถหางานท�ำได้ เยาวชนทีว่ า่ งงานเป็นเวลานาน 6 เดือน และ ผู้ ใหญ่ทวี่ า่ งงานเป็นเวลานาน 18 เดือน โดยปกติจะต้องเข้าร่วมโครงการ New Deal หาก ต้องการได้รบั เงินช่วยเหลือจากรัฐต่อไป โครงการ New Deal มีหลายรูปแบบส�ำหรับ กลุม่ คนในวัยต่างกัน คุณสามารถหาข้อมูลเพิม่ เติมเกีย่ วกับโครงการ New Deal ได้ทาง โทรศัพท์หมายเลข 0845 606 2626 หรือเข้าไปทีเ่ ว็บไซต์ www.newdeal.gov.uk The government also runs work-based learning programmes which offer training to people while they are at work. People receive a wage or an allowance and can attend college for one day a week to get a new qualification. นอกจากนี้ รัฐบาลยังมี โครงการเรียนขณะท�ำงาน โดยที่พนักงานจะได้รับการฝึกอบรม ไปด้วยในระหว่างการท�ำงาน พนักงานจะได้รบั ค่าจ้างหรือเบีย้ เลีย้ งเป็นค่าตอบแทน และ สามารถไปเรียนทีว่ ทิ ยาลัยได้ 1 วันต่อสัปดาห์ เพือ่ ให้ ได้วฒ ุ กิ ารศึกษาใหม่ You can find out more about the different government schemes, and the schemes in your area, from Jobcentre Plus, www.jobcentreplus.gov.uk , or your local Citizens Advice Bureau. คุณสามารถหาข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับโครงการต่างๆ ของรัฐบาล และโครงการในพื้นที่ ของคุณได้จากศูนย์จดั หางาน Jobcentre Plus เว็บไซต์ www.jobcentreplus.gov.uk หรือ จากหน่วยงานให้ค�ำแนะน�ำแก่ประชาชนใกล้บา้ นคุณ
Working for yourself Tax
Self-employed people are responsible for paying their own tax and National Insurance. They have to keep detailed records of what they earn and spend on the business and send their business accounts to HM Revenue and Customs every year. Most self-employed people use an accountant to make sure they pay the correct tax and claim all the possible tax allowances.
Life in the UK 225
การท�ำธุรกิจส่วนตัว
ผูท้ ที่ �ำธุรกิจส่วนตัวจะต้องรับผิดชอบในการช�ำระภาษีและเงินประกันสังคมด้วยตนเอง และ ต้องเก็บบันทึกรายละเอียดเกีย่ วกับรายได้และค่าใช้จา่ ยในการด�ำเนินธุรกิจ และส่งบัญชี การเงินไปที่กรมสรรพากรและสรรพสามิตเป็นประจ�ำทุกปี ผู้ที่มีกิจการของตนเอง ส่วนใหญ่จะใช้บริการนักบัญชี เพือ่ ให้แน่ ใจว่าได้จา่ ยเงินภาษี ในจ�ำนวนทีถ่ กู ต้อง และได้รบั การลดหย่อนภาษีทมี่ สี ทิ ธิพงึ ได้รบั อย่างครบถ้วน As soon as you become self-employed you should register yourself for tax and National Insurance by ringing the HM Revenue and Customs telephone helpline for people who are self-employed, on 0845 915 4515. เมื่อคุณเริ่มประกอบธุรกิจส่วนตัว คุณควรลงชื่อในทะเบียนส�ำหรับการเสียภาษีและ การประกันสังคมทันที โดยโทรศัพท์ตดิ ต่อสายให้ความช่วยเหลือผูป้ ระกอบกิจการส่วนตัว ของกรมสรรพากรและสรรพสามิต หมายเลข 0845 915 4515
Help and advice
Banks can give information and advice on setting up your own business and offer start-up loans, which need to be repaid with interest. Government grants and other financial support may be available. You can get details of these and advice on becoming self-employed from Business Link, a government-funded project for people starting or running a business- www.businesslink.gov.uk telephone: 0845 600 9 006.
ความช่วยเหลือและค�ำแนะน�ำ
ธนาคารสามารถให้ขอ้ มูลและค�ำแนะน�ำเกีย่ วกับการก่อตัง้ ธุรกิจของตนเอง และมีบริการ ให้เงินกูส้ �ำหรับการเริม่ ต้นธุรกิจ ซึง่ จะต้องช�ำระคืนพร้อมดอกเบีย้ นอกจากนี้ ยังอาจมี เงินช่วยเหลือสนับสนุนอื่นๆ จากรัฐบาลด้วย คุณสามารถหารายละเอียดและค�ำแนะน�ำ ส�ำหรับผูร้ เิ ริม่ ก่อตัง้ ธุรกิจส่วนตัวได้จากเว็บไซต์ของ Business Link โครงการที่ ได้รบั งบ จากรัฐบาลส�ำหรับช่วยเหลือผูร้ เิ ริม่ ก่อตัง้ หรือด�ำเนินกิจการ www.businesslink.gov.uk หรือโทรศัพท์หมายเลข 0845 600 9 006
226 Life in the UK
Working in Europe
British citizens can work in any country that is a member of the European Economic Area (EEA). In general, they have the same employment rights as a citizen of that country or state. พลเมืองอังกฤษสามารถท�ำงานในประเทศสมาชิกของเขตเศรษฐกิจยุโรป (EEA) ได้ ทุกประเทศ และโดยทั่วไปจะมีสิทธิเกี่ยวกับการท�ำงานเช่นเดียวกับพลเมืองของรัฐหรือ ประเทศนัน้ ๆ หมายเหตุ: โปรดอย่าลืมทบทวนบทเรียน (Check that you understand)
Childcare and children at work New mothers and fathers
Women who are expecting a baby have a legal right to time off work for antenatal care. They are also entitled to at least 26 weeks’ maternity leave. These rights apply to full-time and part-time workers and it makes no difference how long the woman has worked for her employer. It is, however, important to follow the correct procedures and to give the employer enough notice about taking maternity leave. Some women may also be entitled to maternity pay but this depends on how long they have been working for their employer.
บริการรับดูแลเด็ก และเด็กทีท่ ำ� งาน การเป็นพ่อแม่ครัง้ แรก
หญิงทีก่ �ำลังจะมีบตุ รจะมีสทิ ธิตามกฎหมายในการลาหยุดงานเพือ่ ไปรับบริการฝากครรภ์ นอกจากนี้ ยังมีสทิ ธิท์ จี่ ะลาคลอดบุตรได้เป็นเวลาอย่างน้อย 26 สัปดาห์ พนักงานประจ�ำ ทีท่ �ำงานเต็มเวลา และพนักงานทีท่ �ำงานบางเวลา จะมีสทิ ธิในการลาคลอดบุตรเหมือนกัน โดยไม่ค�ำนึงถึงระยะเวลาที่ ได้ท�ำงานกับนายจ้าง อย่างไรก็ตาม ในการลาคลอดบุตร คุณ ควรปฏิบตั ติ ามระเบียบการทีถ่ กู ต้อง และแจ้งให้นายจ้างทราบล่วงหน้าในเวลาทีเ่ หมาะสม พนักงานหญิงบางคนอาจมีสทิ ธิได้รบั ค่าจ้างในช่วงการลาคลอดบุตรด้วย ทัง้ นี้ ขึน้ อยูก่ บั ระยะเวลาในการท�ำงานให้กบั นายจ้าง
Life in the UK 227
Fathers who have worked for their employer for at least 26 weeks are entitled to paternity leave, which provides up to two weeks’ time off from work, with pay, when the child is born. It is important to tell your employer well in advance. ผูเ้ ป็นพ่อทีท่ �ำงานให้กบั นายจ้างเป็นเวลาอย่างน้อย 26 สัปดาห์ จะมีสทิ ธิข์ อลาหยุดเพือ่ ดูแล บุตรทีเ่ กิดใหม่ และสามารถลาหยุดได้เป็นเวลานานถึง 2 สัปดาห์ โดยทีย่ งั คงได้รบั ค่าจ้าง แต่คณ ุ ควรแจ้งให้นายจ้างทราบล่วงหน้า หากคุณต้องการลาหยุดเพือ่ ดูแลบุตรทีเ่ กิดใหม่ You can get advice and more information on maternity and paternity matters from the personnel officer at work, your trade union representative, your local Citizens Advice Bureau, the Citizens Advice Bureau website www.adviceguide. org.uk or the government website www.direct.gov.uk . คุณจะหาค�ำแนะน�ำและข้อมูลเพิม่ เติมเกีย่ วกับการคลอดบุตร และการเป็นพ่อแม่ครัง้ แรก ได้จากเจ้าหน้าทีฝ่ า่ ยบุคลากรในทีท่ �ำงานของคุณ หรือจากผูแ้ ทนสหภาพแรงงาน หรือที่ เว็บไซต์ของหน่วยงานให้ค�ำแนะน�ำแก่ประชาชนในท้องถิน่ www.adviceguide.org.uk หรือ เว็บไซต์ของรัฐบาล www.direct.gov.uk
Childcare
It is Government policy to help people with childcare responsibilities to take up work. Some employers can help with this. The ChildcareLink website www. childcarelink.gov.uk gives information about different types of childcare and registered childminders in your area, or telephone 08000 96 02 96.
การดูแลเด็ก
รัฐบาลมีนโยบายในการช่วยเหลือผูท้ มี่ หี น้าทีร่ บั ผิดชอบดูแลเด็กให้สามารถกลับไปท�ำงาน ได้ นายจ้างบางรายสามารถให้ความช่วยเหลือได้เช่นกัน และ ChildcareLink มีเว็บไซต์ www.childcarelink.gov.uk ที่ ให้ขอ้ มูลเกีย่ วกับบริการรับดูแลเด็ก และรายชือ่ ผูล้ งทะเบียน รับดูแลเด็กทีบ่ า้ นตนเองในพืน้ ทีข่ องคุณ หรือโทรศัพท์ 08000 96 02 96
228 Life in the UK
Hours and time for children at work
In the UK there are strict laws to protect children from exploitation and to make sure that work does not get in the way of their education. The earliest legal age for children to do paid work is 13, although not all local authorities allow this. There are exceptions for some types of performance work (including modelling) when younger children may be allowed to work. Any child under school leaving age (16) seeking to do paid work must apply for a licence from the local authority. Children taking part in some kinds of performances may have to obtain a medical certificate before working.
เวลาและชัว่ โมงการท�ำงานของเด็ก
ในสหราชอาณาจักรมีกฎหมายคุ้มครองเด็กที่เข้มงวด เพื่อป้องกันการแสวงประโยชน์ จากแรงงานเด็ก และเพื่อดูแลไม่ ให้การท�ำงานมีผลเสียต่อการศึกษาของเด็ก กฎหมาย อนุญาตให้เด็กอายุ 13 ปี ขึน้ ไปรับจ้างท�ำงานได้ แต่กม็ อี งค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ บางแห่ง ไม่ยอมรับข้อก�ำหนดนี้ อย่างไรก็ตาม มีข้อยกเว้นที่อนุญาตให้เด็กอายุต�่ำกว่านี้สามารถ ท�ำงานทีเ่ กีย่ วกับศิลปะการแสดงได้บางประเภท (รวมถึงการเดินแบบ) เด็กอายุตำ�่ กว่าวัย การศึกษาภาคบังคับ (อายุไม่ถงึ 16 ปี) ทีต่ อ้ งการรับจ้างท�ำงาน จะต้องยืน่ ขอใบอนุญาต จากองค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ นอกจากนี้ เด็กทีเ่ ข้าร่วมงานการแสดงบางประเภท อาจ ต้องขอใบรับรองแพทย์กอ่ นเริม่ ท�ำงาน By law, children under 16 can only do light work. There are particular jobs that children are not allowed to do. These include delivering milk, selling alcohol, cigarettes or medicines, working in a kitchen or behind a counter of a chip shop, working with dangerous machinery or chemicals, or doing any other kind of work that may be harmful to their health or education. กฎหมายอนุญาตให้เด็กอายุตำ�่ กว่า 16 ปี ท�ำงานได้เฉพาะงานเบาๆ เท่านัน้ อย่างไรก็ตาม มีงานบางประเภทที่ ไม่อนุญาตให้เด็กท�ำ ได้แก่ การส่งนมสด การขายเครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์ บุหรี่ หรือยารักษาโรค หรือการท�ำงานในครัว หรือขายมันฝรัง่ ทอดในร้าน รวมถึงการ ท�ำงานกับเครื่องจักร หรือสารเคมีที่เป็นอันตราย หรืองานอื่นใดก็ตามที่อาจเป็นผลเสีย ต่อสุขภาพหรือการศึกษาของเด็ก
Life in the UK 229
The law sets out clear limits for the working hours and times for 13-16 year old children. Every child must have at least two consecutive weeks a year during the school holidays when they do not work. They cannot work: • for more than 4 hours without a one hour rest break • for more than 2 hours on any school day or a Sunday • more than five hours (13-14 year olds) or eight hours (15-16 year olds) on Saturdays (or weekdays during school holidays) • before 7.a.m. or after 7.p.m. • before the close of school hours (except in areas where local bylaws allow children to work one hour before school) • for more than 12 hours in any school week • for more than 25 hours a week (13-14 year olds) or 35 hours a week (15-16 year olds) during school holidays There is no national minimum wage for those under 16. กฎหมายได้ก�ำหนดเวลาและจ�ำนวนชัว่ โมงการท�ำงานของเด็กอายุ 13-16 ปี ไว้อย่างชัดเจน เด็กทุกคนต้องมีเวลาว่างจากการท�ำงานอย่างน้อยสองสัปดาห์ตดิ ต่อกันในช่วงปิดเทอมใน แต่ละปี ข้อก�ำหนดเกีย่ วกับเวลาและจ�ำนวนชัว่ โมงการท�ำงานของเด็ก มีดงั นี้ • ห้ามท�ำงานเกินกว่า 4 ชัว่ โมง โดยไม่มกี ารหยุดพักหนึง่ ชัว่ โมง • ห้ามท�ำงานเกินกว่า 2 ชัว่ โมง ในวันโรงเรียนเปิด หรือวันอาทิตย์ • ห้ามท�ำงานเกินกว่า 5 ชัว่ โมง (ส�ำหรับเด็กอายุ 13-14 ปี) หรือ 8 ชัว่ โมง (ส�ำหรับเด็ก อายุ 15-16 ปี) ในวันเสาร์ (หรือวันธรรมดาในช่วงโรงเรียนปิดเทอม) • ห้ามท�ำงานก่อน 7.00 นาฬิกา หรือหลัง 19.00 นาฬิกา • ห้ามท�ำงานก่อนโรงเรียนเลิก (ยกเว้นในเขตที่กฎเทศบาลอนุญาตให้เด็กท�ำงานได้ 1 ชัว่ โมงก่อนไปโรงเรียน) • ห้ามท�ำงานเกินกว่า 12 ชัว่ โมง ในสัปดาห์ ใดก็ตามในช่วงโรงเรียนเปิดเทอม 230 Life in the UK
• ห้ามท�ำงานเกินกว่า 25 ชัว่ โมงต่อสัปดาห์ (ส�ำหรับเด็กอายุ 13-14 ปี) หรือ 35 ชัว่ โมง ต่อสัปดาห์ (ส�ำหรับเด็กอายุ 15-16 ปี) ในช่วงโรงเรียนปิดเทอม กฎหมายไม่ ได้ก�ำหนดอัตราค่าจ้างขัน้ ต�ำ่ ในประเทศไว้ส�ำหรับผูท้ อี่ ายุตำ�่ กว่า 16 ปี The local authority may withdraw a child’s licence to work, for example where a child works longer hours than the law allows. The child would then be unable to continue to work. An employer may be prosecuted for illegally employing a child. A parent or carer who makes a false declaration in a child’s licence application can also be prosecuted. They may also be prosecuted if they do not ensure their child receives a proper education. You can find more information on the TUC website, www.worksmart.org.uk . องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ อาจเพิกถอนใบอนุญาตการท�ำงานของเด็ก อย่างเช่น ในกรณี ทีเ่ ด็กท�ำงานเกินจ�ำนวนชัว่ โมงทีก่ ฎหมายอนุญาต ในกรณีเช่นนี้ เด็กจะไม่สามารถท�ำงาน ได้อีกต่อไป นายจ้างอาจถูกด�ำเนินคดี หากจ้างให้เด็กท�ำงานอย่างผิดกฎหมาย และ ผูป้ กครองหรือผูด้ แู ลเด็กที่ ให้ถอ้ ยค�ำรับรองเท็จในค�ำขอใบอนุญาตของเด็ก อาจถูกด�ำเนิน คดีตามกฎหมายได้เช่นกัน นอกจากนี้ ยังอาจถูกฟ้องร้อง หากไม่ดแู ลให้เด็กได้รบั การศึกษา อย่างเหมาะสม คุณสามารถหาข้อมูลเพิม่ เติมได้ทเี่ ว็บไซต์ www.worksmart.org.uk ของ สภาสหภาพแรงงาน (TUC) หมายเหตุ: โปรดอย่าลืมทบทวนบทเรียน (Check that you understand)
©Edu-Plus CIC of Dr. Khanungnit Garnett -Duang-dhamma Building, 49 Castle Street, Banbury OXON OX16 5NU
Life in the UK 231
Law Chapter 7:
Knowing the
ความรู้เกี่ยวกับกฎหมายในสหราชอาณาจักร
Knowing the Law
ในบทเรียนนี้ เราจะมาเรียนรู้กันถึงกฎหมายของสหราชอาณาจักร สิทธิและหน้าที่ของ พลเมืองอังกฤษ การรายงานเหตุอาชญากรรม ตลอดจนหน้าทีแ่ ละการท�ำงานของต�ำรวจ การร้องทุกข์ สิทธิในการมีทนายความ ศาลในสหราชอาณาจักร และค�ำแนะน�ำทางกฎหมาย นอกจากนัน้ เนือ้ หาในบทนีย้ งั ครอบคลุมไปถึงสิทธิมนุษยชน การสมรสและการหย่าร้าง ความรับผิดชอบในการดูแลบุตร กฎหมายคุม้ ครองเยาวชน และกฎหมายคุม้ ครองผูบ้ ริโภค ในสหราชอาณาจักร
The rights and duties of a citizen The law
Every person in the UK has the right to equal treatment under the law. The law applies in the same way to everyone – regardless of who they are or where they are from. The law can be divided into criminal and civil law. Criminal law relates to crimes, which are usually investigated by the police or some other authority and are punished by the courts. Civil law is used to settle disputes between individuals or groups. In the UK it is a criminal offence to carry a weapon such as a gun or knife or anything that is made or adapted to cause injury to someone, even if it is for self-defence.
สิทธิและหน้าทีข่ องพลเมืองอังกฤษ กฎหมาย
ประชาชนทุกคน รวมถึงบุคคลใดก็ตามในสหราชอาณาจักร มีสทิ ธิทจี่ ะได้รบั ความเป็นธรรม ทางกฎหมายอย่างเสมอภาคกัน โดยไม่ยกเว้นว่าเขาผูน้ นั้ เป็นใคร หรือมาจากไหน กฎหมายอังกฤษแบ่งออกเป็น กฎหมายอาญาและกฎหมายแพ่ง กฎหมายอาญาจะใช้กบั การท�ำความผิดประเภทอาชญากรรม ซึง่ ปกติเป็นคดีสบื สวนของต�ำรวจ หรือองค์กรอืน่ ๆ ทีม่ อี ำ� นาจ โดยมีศาลเป็นผูต้ ดั สินลงโทษ ส่วนกฎหมายแพ่งนัน้ ใช้ ในการตัดสินคดีพพิ าท ระหว่างบุคคลหรือกลุม่ บุคคล กฎหมายในสหราชอาณาจักรบัญญัติไว้วา่ การพกอาวุธ เช่น ปืน มีด หรืออะไรก็ตามทีท่ ำ� ขึน้ หรือดัดแปลงเพือ่ ใช้เป็นอาวุธท�ำร้ายบุคคลอืน่ ให้ ได้รบั บาดเจ็บ ถือเป็นการท�ำความผิด ทางอาญา แม้วา่ จะเป็นการป้องกันตัวก็ตาม Life in the UK 235
Reporting a crime
In an emergency, or if you are the victim of a crime or you see a crime taking place, dial 999 or 112. The operator will ask you which service you need – police, fire, ambulance or, by the coast, the coastguard. Then you need to explain why the police are needed and where they need to go. If the situation is NOT an emergency, you can either go to your local police station or telephone them. You can find the telephone number under ‘Police’ in the phone book. Some ‘minor’ crimes can be reported online. See www. online.police.uk for details.
การรายงานเหตุอาชญากรรม
เมือ่ มีเหตุฉกุ เฉิน หรือหากคุณตกเป็นเหยือ่ อาชญากรรม หรือพบเห็นเหตุรา้ ยทีก่ ำ� ลังเกิด ขึน้ ให้คณ ุ โทรศัพท์ตดิ ต่อหมายเลข 999 หรือ 112 ทันที พนักงานรับโทรศัพท์จะถามคุณ ว่าต้องการติดต่อกับหน่วยงานต�ำรวจ หน่วยดับเพลิง รถพยาบาลฉุกเฉิน หรือยามรักษา ชายฝัง่ (กรณีอยู่ ใกล้ชายฝัง่ ) หรือหน่วยงานใด จากนัน้ คุณจะต้องชีแ้ จงเหตุผลทีต่ อ้ งการ ต�ำรวจ และสถานทีเ่ กิดเหตุทตี่ ำ� รวจจะต้องไปตรวจสอบ กรณีที่ ไม่ ใช่เหตุฉกุ เฉิน คุณสามารถไปแจ้งความทีส่ ถานีตำ� รวจใกล้บา้ น หรือจะโทรศัพท์ แจ้งความก็ ได้ คุณสามารถหาหมายเลขโทรศัพท์ภายใต้รายชือ่ ‘ต�ำรวจ’ ในสมุดรายนาม โทรศัพท์ หากเป็นการท�ำความผิดอาญาแบบ ‘เล็กๆ น้อยๆ’ ก็สามารถทีจ่ ะรายงานเหตุได้ ทางอินเทอร์เน็ต ดูรายละเอียดได้ที่ www.online.police.uk
Racially and religiously motivated crime
In the UK it is a criminal offense to use abusive or insulting words in public because of someone’s religion or ethnic origin. Anyone who causes harassment, alarm or distress to other people because of their religion or ethnic origin can be prosecuted and given strong penalties by the courts. If you are the victim of religious or racially motivated crime, it is important to report this to the police and they have a duty to take action. You can ask for an interview at the police station, at your home or somewhere else. You can get further information and advice from the Race Equality Council or from your local Citizens Advice Bureau. 236 Life in the UK
อาชญากรรมทีม่ มี ลู เหตุมาจากการเหยียดผิวหรือเชือ้ ชาติ หรือศาสนา
การด่าว่าหรือใช้ถ้อยค�ำดูหมิ่นเหยียดหยามผู้ ใดก็ตามในที่สาธารณะ เพราะมีอคติ เกี่ยวกับศาสนาหรือเชื้อชาติของคนผู้นั้น ถือเป็นการท�ำผิดกฎหมายอาญาในสหราช อาณาจักร บุคคลผู้ ใดที่ท�ำการยุยงส่งเสริมให้มีการล่วงละเมิด หรือสร้างความรู้สึก หวาดผวา หรือเป็นทุกข์ ให้แก่คนบางกลุม่ ด้วยเหตุผลทางด้านศาสนาหรือเชือ้ ชาติ บุคคล ผูน้ นั้ อาจถูกฟ้องร้อง และถูกศาลตัดสินลงโทษขัน้ รุนแรงได้ หากคุณเป็นเหยือ่ อาชญากรรม ทีม่ มี ลู เหตุมาจากการเหยียดผิวหรือศาสนา คุณต้องแจ้งความกับต�ำรวจ และต�ำรวจจะ ต้องด�ำเนินการช่วยเหลือคุณ คุณอาจร้องขอทีจ่ ะไปให้ปากค�ำทีส่ ถานีตำ� รวจ หรือทีบ่ า้ น ของคุณ หรือที่ ใดก็ ได้ตามทีค่ ณ ุ ต้องการ คุณสามารถขอข้อมูลและค�ำแนะน�ำเพิ่มเติมได้จาก สภาคุ้มครองความเสมอภาคทาง เชือ้ ชาติ (Race Equality Council) หรือจากหน่วยงานให้คำ� แนะน�ำแก่ประชาชน (Citizens Advice Bureau) ในเขตพืน้ ทีข่ องคุณได้
Police duties
The job of the police in the UK is to: Protect life and property Prevent disturbances (known as keeping the peace) Prevent and detect crime The police force is a public service and should help and protect everyone. You should not be afraid of reporting a crime or asking the police for help. Police officers must obey the law and they must not misuse their authority, make false statement, be rude, abusive or commit racial discrimination. The very small numbers of police officers who are corrupt or misuse their authority are severely punished.
หน้าทีข่ องต�ำรวจ
ต�ำรวจในสหราชอาณาจักรมีหน้าทีร่ บั ผิดชอบ ดังนี้ คุม้ ครองชีวติ และทรัพย์สนิ ของประชาชน ป้องกันการก่อความไม่สงบ (หรือทีเ่ รียกกันว่า รักษาความสงบเรียบร้อย) ป้องกันและสืบสวนสอบสวนคดีอาชญากรรม
Life in the UK 237
ต�ำรวจเป็นหน่วยงานราชการที่จะต้องให้ความช่วยเหลือและคุ้มครองประชาชนทุกคน คุณไม่จ�ำเป็นต้องเกรงกลัวที่จะแจ้งเหตุอาชญากรรม หรือขอความช่วยเหลือจากต�ำรวจ เจ้าหน้าทีต่ ำ� รวจต้องปฏิบตั ติ ามกฎหมาย และต้องไม่ ใช้อ�ำนาจในทางมิชอบ หรือให้การเท็จ ใช้คำ� พูดหยาบคาย หรือแสดงพฤติกรรมทีร่ นุ แรง หรือเลือกปฏิบตั อิ ย่างไม่เป็นธรรมด้วย เหตุผลในเรือ่ งเชือ้ ชาติ เจ้าหน้าทีต่ ำ� รวจทีท่ จุ ริตในหน้าที่ หรือใช้อำ� นาจในทางมิชอบ มี จ�ำนวนน้อยมาก และเจ้าหน้าทีต่ ำ� รวจเหล่านีจ้ ะได้รบั การลงโทษขัน้ รุนแรง
Complaints
Anyone can make an official complaint against the police. To make a complaint, you can go to a police station or write to either the Chief Constable for that police force or the Independent Police Complaints Commission (in Northern Ireland, the Police Ombudsman). If it is a serious matter, it is a good idea to speak to a solicitor or to the Citizens Advice Bureau first.
การร้องทุกข์
ประชาชนสามารถร้องเรียนเกีย่ วกับการท�ำงานของต�ำรวจได้ โดยไปร้องทุกข์ทสี่ ถานีตำ� รวจ หรือเขียนค�ำร้องทุกข์ไปถึงหัวหน้าต�ำรวจผูค้ วบคุมหน่วยปฏิบตั งิ านทีม่ ปี ญ ั หานัน้ หรือส่ง ค�ำร้องทุกข์ไปทีค่ ณะกรรมาธิการอิสระตรวจสอบการร้องเรียนของประชาชนเกีย่ วกับการ ท�ำงานของต�ำรวจ (ในไอร์แลนด์เหนือเรียกว่า ศูนย์รบั การร้องทุกข์เกีย่ วกับต�ำรวจ) หาก เป็นเรื่องที่รุนแรง คุณควรปรึกษาทนายความ หรือหน่วยงานให้ค�ำแนะน�ำแก่ประชาชน ก่อนยืน่ ค�ำร้องทุกข์
If the police ever stop you
All good citizens are expected to help the police prevent and detect crimes whenever they can. The police can stop any member of the public on foot in connection with a crime that has been committed or is about to take place. They can stop people in a vehicle at any time.
หากคุณถูกต�ำรวจเรียกให้หยุด
พลเมืองดีทุกคนควรให้ความช่วยเหลือแก่ต�ำรวจที่ท�ำหน้าที่ป้องกันและสอบสวนคดี อาชญากรรมทุกครัง้ ทีส่ ามารถท�ำได้ ต�ำรวจมีสทิ ธิท์ จี่ ะเรียกคนทีก่ ำ� ลังเดินอยู่ ให้หยุด เพือ่ สอบถามเกีย่ วกับเหตุอาชญากรรมที่ ได้เกิดขึน้ หรือทีก่ ำ� ลังจะเกิดขึน้ นอกจากนี้ ต�ำรวจยัง สามารถเรียกให้รถหยุด เพือ่ สอบถามคนทีอ่ ยู่ ในรถได้ทกุ เวลา 238 Life in the UK
If you are stopped by the police you should give the officer your name and address. You do not need to answer any more questions, although usually people do. You can ask for the name of the officer who stopped and questioned you, the police station where he or she is based and the reason why you have been stopped. หากคุณถูกต�ำรวจเรียกให้หยุด คุณควรให้ชื่อและที่อยู่ของคุณแก่เจ้าหน้าที่ต�ำรวจ คุณ ไม่จ�ำเป็นต้องตอบค�ำถามอะไรมากไปกว่านั้น ถึงแม้ว่าคนทั่วไปจะถือเป็นเรื่องปกติก็ตาม คุณมีสทิ ธิท์ จี่ ะขอทราบชือ่ ของเจ้าหน้าทีต่ ำ� รวจทีเ่ รียกให้คณ ุ หยุด ตลอดจนสถานีตำ� รวจที่ เจ้าหน้าทีต่ ำ� รวจผูน้ นั้ ประจ�ำการอยู่ และเหตุผลทีเ่ รียกให้คณ ุ หยุด The police can ask you to go to a police station to answer more questions and you can choose whether to go. If you go to a police station voluntarily, you are entitled to leave when you want to. If you are obstructive, rude or decide to mislead the police, you risk being arrested. ต�ำรวจสามารถที่จะขอให้คุณไปให้ปากค�ำเพิ่มเติมได้ที่สถานีต�ำรวจ และคุณสามารถ ตัดสินใจได้วา่ จะไปหรือไม่ ไป หากคุณยินยอมไปทีส่ ถานีตำ� รวจด้วยความสมัครใจ คุณก็ มีสทิ ธิท์ จี่ ะออกจากสถานีตำ� รวจเมือ่ ไรก็ ได้ หากคุณขัดขวางการปฏิบตั งิ านของเจ้าหน้าที่ ต�ำรวจ หรือแสดงพฤติกรรมหยาบคาย หรือมีเจตนาลวงให้ตำ� รวจเข้าใจผิด คุณก็จะเสีย่ ง ต่อการถูกต�ำรวจจับ
Search
The police can stop and search anyone they think might be involved in a crime. This includes offences such as theft, burglary or possession of illegal drugs or things to be used for committing criminal damage. They can also search the vehicle of the person they stop.
การตรวจค้น
ต� ำ รวจสามารถที่ จ ะเรี ย กตรวจค้ น ใครก็ ไ ด้ ที่ คิ ด ว่ า มี ส ่ ว นเกี่ ย วข้ อ งกั บ การประกอบ อาชญากรรม ซึง่ เป็นการท�ำผิดกฎหมายต่างๆ เช่น ลักขโมย ปล้นทรัพย์ หรือมียาเสพติด ที่ผิดกฎหมายไว้ ในความครอบครอง หรือมีสิ่งต่างๆ ที่จะน�ำไปใช้ ในการประกอบ อาชญากรรมทีก่ อ่ ให้เกิดความเสียหาย นอกจากนี้ ต�ำรวจยังสามารถตรวจค้นรถของผูท้ ี่ ต�ำรวจเรียกให้หยุดได้ดว้ ย Life in the UK 239
Police officers do not have the power to enter and search any building they choose, but they can enter a building if they have a warrant (that is special permission from a magistrate, in Scotland a Sheriff), or to arrest someone, to save a life or to prevent serious disturbance or damage. You can ask for the name of the officer who has stopped you, the police station where he or she is based and the reason for their search. เจ้าหน้าทีต่ ำ� รวจไม่มอี ำ� นาจเข้าไปตรวจค้นอาคารสถานที่ ใดก็ ได้ทตี่ อ้ งการ แต่สามารถทีจ่ ะ เข้าไปในสถานทีน่ นั้ ๆ ได้เมือ่ มีหมายค้น (ซึง่ เป็นใบอนุญาตพิเศษทีอ่ อกให้ โดยศาลแมจิสเตรท หรือศาลอ�ำเภอในสก็อตแลนด์) หรือเมือ่ จะเข้าไปจับใครสักคน หรือเพือ่ ช่วยชีวติ หรือป้องกัน การก่อความไม่สงบ หรือความเสียหายทีร่ นุ แรง คุณสามารถขอทราบชือ่ ของเจ้าหน้าที่ ต�ำรวจทีเ่ รียกให้คณ ุ หยุด ตลอดจนสถานีตำ� รวจทีเ่ จ้าหน้าทีผ่ นู้ นั้ ประจ�ำการอยู่ และเหตุผล ในการขอตรวจค้นได้
Arrest
If you are arrested and take to a police station, a police officer will tell you the reason for your arrest. If you have difficulty in understanding English, the police should provide an interpreter unless they think a delay in finding an interpreter might result in serious harm to a person or property. The police should normally only interview a young person under the age of 17 if their parent or an ‘appropriate adult’ is present. This could be a social worker, an adult friend or a teacher.
เมือ่ ถูกต�ำรวจจับ
หากคุณถูกต�ำรวจจับและน�ำตัวไปทีส่ ถานีตำ� รวจ เจ้าหน้าทีต่ ำ� รวจจะบอกให้คณ ุ ทราบถึง เหตุผลทีค่ ณ ุ ถูกจับ หากคุณมีปญ ั หาไม่เข้าใจภาษาอังกฤษ ต�ำรวจจะจัดหาล่ามให้คณ ุ ยกเว้นกรณีทตี่ ำ� รวจเห็น ว่าความล่าช้าในการจัดหาล่าม อาจมีผลท�ำให้เกิดอันตรายทีร่ า้ ยแรงต่อบุคคลหรือทรัพย์สนิ ปกติแล้วต�ำรวจจะสอบสวนเยาวชนอายุตำ�่ กว่า 17 ปี ได้กต็ อ่ เมือ่ มีผปู้ กครอง หรือ ‘ผู้ ใหญ่ ทีเ่ หมาะสม’ อยู่ ในทีน่ นั้ ด้วยเท่านัน้ ผู้ ใหญ่คนนัน้ อาจเป็นเจ้าหน้าทีส่ งั คมสงเคราะห์ เพือ่ น หรือคุณครูของเด็กคนนัน้ ก็ ได้ 240 Life in the UK
Information and advice
If you are arrested or detained at a police station, you are given written details of three important legal rights: the right to see a solicitor the right to send a message to a friend or a member of your family, telling them where you are the right to look at the codes of practice – guidelines that the police should follow when searching for and collecting evidence
ข้อมูลและค�ำแนะน�ำ
หากคุณถูกจับหรือกักขังตัวไว้ทสี่ ถานีต�ำรวจ คุณจะได้รบั เอกสารชีแ้ จงสิทธิทสี่ �ำคัญทาง กฎหมายทีค่ ณ ุ ควรทราบไว้ 3 ประการ คือ สิทธิในการพบและปรึกษากับทนายความ สิทธิในการส่งข้อความไปถึงเพือ่ น หรือคนในครอบครัว เพือ่ แจ้งให้ทราบว่าคุณอยูท่ ี่ ไหน สิทธิในการเรียนรูจ้ ริยธรรมในการปฏิบตั งิ านของต�ำรวจ ซึง่ เป็นแนวทางทีต่ ำ� รวจควรยึดถือ และปฏิบตั ติ ามในการค้นหาและรวบรวมพยานหลักฐาน This written note also includes the official police caution given to all suspects: You do not have to say anything But it may harm your defence if you do not mention, when questioned, something which you later rely on in court. Anything you do say may be given in evidence. ในเอกสารนีจ้ ะมีคำ� เตือนทางการทีเ่ จ้าหน้าทีต่ ำ� รวจจะใช้กบั ผูต้ อ้ งหาทุกคน ดังนี้ คุณไม่จำ� เป็นต้องพูดอะไร หากคุณมีเรือ่ งทีจ่ ะน�ำไปอ้างทีศ่ าล แต่คณ ุ ไม่ ได้บอกกับเจ้าหน้าทีต่ ำ� รวจในช่วงการสอบสวน มันอาจเป็นผลเสียต่อการสูค้ ดีของคุณ ค�ำพูดของคุณอาจถูกน�ำไปใช้เป็นพยานหลักฐานในศาลได้ Life in the UK 241
This caution means that the police cannot force a person to answer questions. But if a suspect does not answer questions at the police station, or in court, this can be used as evidence against him or her. The caution also states that anything a person does say to a police officer can also be used as evidence in court. ค�ำเตือนนีห้ มายความว่า ต�ำรวจไม่สามารถทีจ่ ะบังคับให้ผตู้ อ้ งหาตอบค�ำถามได้ แต่หาก ผู้ต้องหาไม่ตอบค�ำถามที่สถานีต�ำรวจ หรือที่ ในศาล เจ้าหน้าที่อาจใช้เหตุผลข้อนี้เป็น พยานหลักฐานในการฟ้องผูต้ อ้ งหา นอกจากนัน้ ค�ำเตือนนีย้ งั ระบุวา่ ถ้อยค�ำทีผ่ ตู้ อ้ งหา ได้ ให้ ไว้กบั เจ้าหน้าทีต่ ำ� รวจ อาจถูกน�ำไปใช้เป็นพยานหลักฐานในศาลได้
The duty solicitor
Anyone who has been arrested or goes to a police station voluntarily is entitled to legal advice in private. This can be with a solicitor of their choice or the duty solicitor. Duty solicitors work for local law firms that specialise in criminal law and offer a free consultation. Usually the advice is given in person but sometimes it may be given over the telephone. If you have been arrested, or are being questioned about a serious offence, or if you feel unsure about your legal position, you have the right not to answer questions until you have spoken to a solicitor. There are some differences between the court system in England and Wales and the system in Scotland and Northern Ireland.
ทนายความทีศ่ าลตัง้
บุคคลทีถ่ กู ต�ำรวจจับ หรือผูท้ ยี่ นิ ยอมไปสถานีตำ� รวจด้วยความสมัครใจ จะมีสทิ ธิข์ อค�ำแนะน�ำ เป็นการส่วนตัวได้จากทนายความทีเ่ ลือกเอง หรือทนายความทีศ่ าลตัง้ ทนายความทีศ่ าล ตัง้ เป็นทนายความทีท่ ำ� งานกับส�ำนักทนายความในท้องถิน่ ทีเ่ ชีย่ วชาญในกฎหมายอาญาเป็น พิเศษ และจะให้คำ� ปรึกษาโดยไม่คดิ ค่าบริการ การให้คำ� แนะน�ำโดยปกติจะเป็นในลักษณะ สองต่อสอง แต่บางครัง้ อาจมีการให้คำ� แนะน�ำทางโทรศัพท์
242 Life in the UK
หากคุณถูกต�ำรวจจับ หรือก�ำลังถูกต�ำรวจสอบถามในเรือ่ งทีเ่ ป็นการท�ำความผิดกฎหมาย ขัน้ รุนแรง หรือหากคุณรูส้ กึ ไม่แน่ ใจในสถานะทางกฎหมายของคุณ คุณมีสทิ ธิท์ จี่ ะไม่ ให้ ปากค�ำจนกว่าคุณจะได้พบและปรึกษากับทนายความเสียก่อน ระบบศาลในอังกฤษและเวลส์ กับระบบศาลในสก็อตแลนด์และไอร์แลนด์เหนือมีข้อ แตกต่างกันอยูบ่ า้ ง
Magistrates’ and district courts
In England, Wales and Northern Ireland most minor criminal cases are dealt with in a magistrates’ court. In Scotland, minor criminal offences go to a district court.
ศาลแมจิสเตรท (เทียบเคียงกับศาลแขวงของไทย) และศาลอ�ำเภอ
ในอังกฤษ เวลส์ และไอร์แลนด์เหนือ ศาลแมจิสเตรทจะท�ำหน้าที่พิจารณาคดีอาญาที่ ไม่เป็นความผิดร้ายแรง ส�ำหรับในสก็อตแลนด์ ผูท้ ำ� ความผิดอาญาที่ ไม่รา้ ยแรงจะต้อง ไปขึน้ ศาลอ�ำเภอ
Criminal courts
Magistrates, also known as Justices off the Peace, hear less serious cases in magistrates’ and district courts. They are members of the local community. In England and Wales they usually work unpaid and have no legal qualifications, although they do receive training. In Northern Ireland, cases are only heard by paid magistrates.
ศาลอาญา
แมจิสเตรท หรือทีเ่ รียกว่า ผูพ้ พิ ากษาศาลแขวง มีหน้าทีพ่ จิ ารณาคดีความผิดที่ ไม่รา้ ยแรง ในศาลแมจิสเตรท และในศาลอ�ำเภอ แมจิสเตรทเป็นคนในชุมชนท้องถิน่ และแมจิสเตรท ในอังกฤษและเวลส์ เป็นผูท้ ี่ ไม่มคี ณ ุ วุฒทิ างกฎหมาย แต่ ได้ผา่ นการอบรมในเรือ่ งกฎหมาย มาแล้ว และปกติจะท�ำหน้าทีพ่ จิ ารณาความโดยไม่ ได้รบั ค่าตอบแทน แต่ ในไอร์แลนด์เหนือ จะมีการพิจารณาคดีความโดยแมจิสเตรทที่ ได้รบั ค่าตอบแทนเท่านัน้
Life in the UK 243
Crown courts and sheriff courts
In England, Wales and Northern Ireland, serious offences are tried in front of a judge and a jury in a Crown court. In Scotland, serious cases are heard in a sheriff court with either a sheriff or a sheriff with a jury. A jury is made up of members of the public chosen at random from the local electoral register (see Chapter 4). In England, Wales and Northern Ireland a jury has 12 members, and in Scotland a jury has 15 members. Everyone who is summoned to do jury service must do it unless they are not eligible, for example if they work in law enforcement, or they provide a good reason to be excused, such as ill health. The jury decides on the verdict, that is whether the defendant is innocent or guilty, and if the verdict is guilty the judge decides on the penalty.
ศาลสูงคดีอาญา (อังกฤษ) และศาลอ�ำเภอของสก็อตแลนด์
ในอังกฤษ เวลส์ และไอร์แลนด์เหนือ การพิจารณาคดีอาญาร้ายแรงจะกระท�ำต่อหน้า ผูพ้ พิ ากษาและคณะลูกขุนในศาลสูงคดีอาญา ในสก็อตแลนด์จะมีการพิจารณาคดีอาญา ร้ายแรงในศาลอ�ำเภอ โดยผูพ้ พิ ากษา หรือผูพ้ พิ ากษากับคณะลูกขุน คณะลูกขุนประกอบ ด้วยคนธรรมดาทัว่ ไปทีส่ มุ่ เลือกจากทะเบียนผูม้ สี ทิ ธิเลือกตัง้ ในท้องถิน่ (ดูบทที่ 4) คณะ ลูกขุนในอังกฤษ เวลส์ และไอร์แลนด์เหนือ จะประกอบด้วยสมาชิก 12 คน ส่วนคณะ ลูกขุนในสก็อตแลนด์จะประกอบด้วยสมาชิก 15 คน ผูท้ ี่ ได้รบั การเรียกตัวให้ ไปท�ำหน้าที่ ในคณะลูกขุน จะต้องปฏิบตั ติ ามค�ำสัง่ ยกเว้นกรณีทขี่ าดคุณสมบัติ เช่น ท�ำงานเกีย่ วข้อง กับการบังคับใช้กฎหมาย หรือมีขอ้ อ้างทีม่ เี หตุผลสมควร เช่น เจ็บป่วย เป็นต้น คณะลูกขุน จะท�ำหน้าที่ตัดสินชี้ขาดว่าจ�ำเลยบริสุทธิ์ หรือมีความผิดจริงหรือไม่ และถ้าคณะลูกขุน ลงมติเป็นเอกฉันท์ว่าจ�ำเลยมีความผิดจริง ผู้พิพากษาก็จะพิจารณาตัดสินลงโทษตามที่ เห็นสมควรต่อไป
Youth court
If an accused person is 17 years old or younger, their case is normally heard in a youth court in front of up to three specially trained magistrates or a district judge. The most serious cases will go to a Crown court. The parents of the young person are expected to attend the hearing. Members of the public are not allowed in youth courts and neither the name nor the photograph of the young person can be published in newspapers or used by the media. In Scotland there is a unique system called the Children’s Hearings System, and Northern Ireland now has a system based on ‘youth conferencing’. 244 Life in the UK
ศาลคดีเยาวชน
หากผูต้ อ้ งหามีอายุ 17 ปี หรือน้อยกว่านี้ โดยปกติแล้วศาลคดีเยาวชนจะเป็นผูท้ ำ� หน้าที่ พิจารณาคดีเหล่านีต้ อ่ หน้าแมจิสเตรท หรือผูพ้ พิ ากษาศาลอ�ำเภอ 3 ท่านที่ ได้รบั การอบรม มาเป็นพิเศษ ส�ำหรับคดีความผิดทีร่ า้ ยแรงทีส่ ดุ จะมีการพิจารณาทีศ่ าลสูงคดีอาญา ในการ พิจารณาคดีทศี่ าลคดีเยาวชน ศาลคาดหมายให้ผปู้ กครองของเด็กเข้าร่วมฟังการพิจารณา ด้วย แต่ประชาชนทัว่ ไปไม่มสี ทิ ธิเ์ ข้าไปฟังการพิจารณา และห้ามเปิดเผยชือ่ หรือภาพถ่าย ของผูเ้ ยาว์ ในหน้าหนังสือพิมพ์ หรือใช้ ในการเผยแพร่ขา่ วโดยสือ่ มวลชน ในสก็อตแลนด์ มีระบบการพิจารณาคดีเด็กโดยเฉพาะ และปัจจุบันนี้ ไอร์แลนด์เหนือมีการพิจารณาคดี เยาวชนในรูปแบบ ‘การประชุมคดีเยาวชน’ ซึง่ เปิดโอกาสให้ผกู้ ระท�ำความผิดและผู้ ได้รบั ความเสียหายได้พบปะแลกเปลีย่ นความรูส้ กึ นึกคิด และท�ำความเข้าใจกัน
Civil Courts County courts
Most towns and cities have a county court to deal with a wide range of civil disputes. These include people trying to get back money that is owed to them, cases involving personal injury, family matters, breaches of contract and divorce. In Scotland, all of these matters are dealt with in the sheriff court.
ศาลแพ่ง ศาลมณฑล หรือศาลจังหวัด
เมืองต่างๆ ในอังกฤษ ไม่วา่ จะเป็นเมืองเล็กหรือเมืองใหญ่ จะมีศาลมณฑลส�ำหรับจัดการ กับข้อพิพาทที่เป็นคดีทางแพ่ง เช่น คดีการเรียกร้องให้ลูกหนี้ช�ำระหนี้ คดีเกี่ยวกับการ ได้รับบาดเจ็บส่วนบุคคล คดีครอบครัว การละเมิดสัญญา และการหย่าร้าง เป็นต้น ในสก็อตแลนด์จะมีการพิจารณาคดีเหล่านี้ ในศาลอ�ำเภอ
The small claims procedure
The small claims procedure is an informal way of helping people to settle minor disputes without spending a lot of time and money using a solicitor. This procedure is usually used for claims of less than £5,000. The hearing is held in an ordinary room with a judge and people from both sides of the dispute sitting around a table. You can get details about the small claims procedure from your local county court (in Scotland local sheriff court), which is listed under Courts in the phone book. Life in the UK 245
วิธดี ำ� เนินการในคดีการเรียกร้องรายย่อย
ข้อเรียกร้องรายย่อย เป็นวิธกี ารแก้ปญ ั หาข้อพิพาทเล็กน้อย เพือ่ ช่วยให้คพู่ พิ าทสามารถ ตกลงประนีประนอมกันได้ โดยไม่ต้องเสียเงินและเวลามากมายจากการใช้ทนายความ วิธกี ารนีป้ กติจะใช้กบั การเรียกร้องเงินจ�ำนวนไม่ถงึ 5,000 ปอนด์ การพิจารณาข้อเรียกร้อง จะจัดขึน้ ในห้องธรรมดา โดยมีผพู้ พิ ากษาและคูพ่ พิ าททัง้ สองฝ่ายนัง่ รอบโต๊ะ คุณสามารถ ขอรายละเอียดวิธีการเกี่ยวกับข้อเรียกร้องรายย่อยได้ที่ศาลมณฑลในเขตพื้นที่ของคุณ (ในสก็อตแลนด์ ให้ขอได้ทศี่ าลอ�ำเภอ (Sheriff Court)) โปรดดูรายชือ่ ใต้หวั ข้อ ‘ศาล’ ใน สมุดรายนามโทรศัพท์
Legal advice and aid Solicitors
Solicitors are trained lawyers who give advice on legal matters, take action for their clients and represent the clients in court. There are solicitors’ offices throughout the UK. It is important to find out which aspects of law a solicitor specialises in and to check that they have the right experience to help you with your case. Many advertise in local papers and the Yellow Pages, and the Citizens Advice Bureau can give you names of local solicitors and which areas of law they specialise in. You can also get this information from the Law Society (telephone: 020 7242 1222, www.solicitors-online.com) and the Community Legal Service (telephone: 0845 345 4345, www.clsdirect.org.uk).
การให้เงินช่วยเหลือและค�ำแนะน�ำทางกฎหมาย ทนายความ
ทนายความเป็นผูท้ ี่ ได้รบั การอบรมในด้านกฎหมาย เพือ่ ให้คำ� แนะน�ำในกรณีตา่ งๆ ทีเ่ กีย่ ว กับกฎหมาย หรือด�ำเนินการแทนลูกความ และเป็นตัวแทนลูกความในศาล ส�ำนักงาน ทนายความมีอยูท่ วั่ สหราชอาณาจักร คุณควรทราบว่าทนายความมีความเชีย่ วชาญพิเศษ ในข้อกฎหมายทีต่ า่ งกัน คุณจึงควรตรวจสอบดูวา่ ทนายความแต่ละคนมีประสบการณ์ที่ เหมาะสมส�ำหรับช่วยเหลือในคดีของคุณหรือไม่ ในหนังสือพิมพ์ทอ้ งถิน่ และสมุดโทรศัพท์ หน้าเหลือง จะมี โฆษณาบริการของทนายความให้เลือกมากมาย และคุณจะขอทราบราย ชื่อของทนายความในท้องถิ่น ตลอดจนความเชี่ยวชาญพิเศษของทนายความเหล่านี้ ได้ที่ หน่วยงานให้คำ� แนะน�ำแก่ประชาชน (Citizens Advice Bureau) นอกจากนัน้ คุณยัง สามารถขอข้อมูลนี้ ได้จากสมาคมกฎหมาย (Law Society) (โทรศัพท์: 020 7242 1222, www.solicitors-online.com) และหน่วยบริการด้านกฎหมายส�ำหรับชุมชน (Community Legal Service) (โทรศัพท์: 0845 345 4345, www.clsdirect.org.uk) 246 Life in the UK
Costs
Solicitors’ charges are usually based on how much time they spend on a case. It is very important to find out at the start how much a case is likely to cost and whether you are eligible for legal aid.
ค่าใช้จา่ ยในคดี
ปกติทนายความจะคิดค่าใช้จา่ ย โดยประเมินจากจ�ำนวนชัว่ โมงที่ ให้บริการ เป็นสิง่ ส�ำคัญ มากทีค่ ณ ุ จะต้องทราบตัง้ แต่แรกว่า คุณอาจต้องเสียค่าใช้จา่ ยในคดีของคุณประมาณเท่าไร และคุณมีสทิ ธิท์ จี่ ะขอรับเงินช่วยเหลือทางกฎหมายจากรัฐได้หรือไม่
Financial help or legal aid
Anyone who is questioned or charged in connection with a crime is entitled to free advice from a duty solicitor (see above) and free representation by a solicitor for their first appearance in court. It may also be possible to get help with costs for any further appearances in court, although this depends on the type of case and the income and savings of the client. A solicitor can give information and advice on this. Solicitors can also give information on schemes to cover the cost of a solicitors’ help, but not all types of case are covered by these schemes and the help available also depends on the income and savings of the client. Sometimes the costs are paid by the client on a ‘no win, no fee’ basis. In no win, no fee cases, the solicitor only charges the client if they win the case. It is important to check all the possible costs before agreeing to a solicitor to taking a case as no win, no fee, as there are often hidden costs such as paying the costs of the other side.
ความช่วยเหลือด้านการเงิน หรือการให้เงินช่วยเหลือด้านกฎหมายจากรัฐ
ผูท้ ถี่ กู สอบปากค�ำ หรือถูกกล่าวหาในคดีอาชญากรรม จะมีสทิ ธิ์ ได้รบั ค�ำแนะน�ำฟรีจาก ทนายความทีศ่ าลตัง้ (ดูเนือ้ หาข้างต้น) และจะมีทนายความท�ำหน้าทีแ่ ทนในการปรากฏตัว ครัง้ แรกทีศ่ าล นอกจากนัน้ ยังอาจได้รบั ความช่วยเหลือในเรือ่ งค่าใช้จา่ ยในการพิจารณา คดีครัง้ ต่อๆ ไปในศาลด้วย ทัง้ นี้ ขึน้ อยูก่ บั ประเภทของคดีความ และรายได้ และเงินฝาก ออมทรัพย์ของลูกความ ทนายความสามารถให้ขอ้ มูลและค�ำแนะน�ำในเรือ่ งนี้ ได้
Life in the UK 247
ทนายความสามารถทีจ่ ะให้ขอ้ มูลเกีย่ วกับแผนช่วยเหลือการช�ำระค่าทนายความได้ดว้ ย แต่ แผนเหล่านี้ ใช้ ได้กบั คดีบางประเภทเท่านัน้ และความมากน้อยในการได้รบั ความช่วยเหลือ ยังขึน้ อยูก่ บั รายได้ และเงินออมทรัพย์ของลูกความด้วย บางครัง้ ทนายความอาจคิดค่า บริการกับลูกความแบบ ‘ถ้าแพ้ ก็ ไม่ตอ้ งจ่าย’ ซึง่ หมายถึงว่าทนายความจะคิดค่าบริการกับ ลูกความเมือ่ ชนะคดีเท่านัน้ เป็นสิง่ ส�ำคัญทีค่ ณ ุ จะต้องตรวจสอบค่าใช้จา่ ยทัง้ หมดทีอ่ าจเกิด ขึน้ ก่อนตกลงให้ทนายความด�ำเนินเรือ่ งให้คณ ุ ในกรณี ‘ถ้าแพ้ ก็ ไม่ตอ้ งจ่าย’ เพราะมักจะมี ค่าใช้จา่ ยอืน่ ๆ แอบแฝงอยู่ เช่น คุณอาจต้องช�ำระค่าใช้จา่ ยให้แก่คคู่ วามอีกฝ่ายหนึง่ เป็นต้น
Law Centres
Most large cities have one or more Law Centres staffed by qualified lawyers. They can give legal advice and possibly take on a case. To find the address of your nearest centre, you can telephone the Law Centres Federation on 020 7387 8570 or visit: www.lawcentres.org.uk
ศูนย์บริการด้านกฎหมาย
ในเมืองใหญ่ส่วนมากจะมีศูนย์บริการด้านกฎหมายอย่างน้อย 1 แห่งขึ้นไป ซึ่งจะมี ทนายความผูท้ รงคุณวุฒปิ ระจ�ำอยู่ ทนายความเหล่านีส้ ามารถให้คำ� แนะน�ำ และอาจรับ ท�ำหน้าทีเ่ ป็นทนายความในคดี ให้คณ ุ ได้ หากต้องการทราบทีอ่ ยูข่ องศูนย์ฯ ใกล้บา้ น ให้ โทรศัพท์ตดิ ต่อ สหพันธ์ศนู ย์บริการให้คำ� ปรึกษาด้านกฎหมาย (Law Centres Federation) ได้ทหี่ มายเลข 020 7387 8570 หรือเข้าเยีย่ มชมเว็บไซต์ www.lawcentres.org.uk
Other advice and information
There is a Citizens Advice Bureau in most towns and cities. They give free and confidential advice on many different types of legal problems. Their website also gives a wide range of information in English, Welsh, Bengali, Chinese, Gujarati, Punjabi and Urdu: www.adviceguide.org.uk
ข้อมูลและค�ำแนะน�ำอืน่ ๆ
ในเมืองเล็กและเมืองใหญ่ตา่ งๆ ส่วนมากจะมีหน่วยงานให้คำ� แนะน�ำแก่ประชาชน ทีจ่ ะให้ ค�ำปรึกษาฟรีเป็นการลับเฉพาะส�ำหรับผูท้ มี่ ปี ญ ั หาต่างๆ ทางกฎหมายหลายด้าน นอกจากนี้ ในเว็บไซต์ของหน่วยงาน www.adviceguide.org.uk ยังมีข้อมูลที่มีประโยชน์เป็นภาษา อังกฤษ ภาษาเวลส์ ภาษาเบงกาลี ภาษาจีน ภาษาคุชราต ภาษาปัญจาบ และภาษาอูรดู ให้ดว้ ย 248 Life in the UK
Just ask!
www.clsdirect.org.uk is the website of the Community Legal Service and it gives information on a wide range of legal questions in seven languages. It can also give you details of local solicitors and places to go for advice in your area.
เพียงแค่ถาม!
www.clsdirect.org.uk เป็นเว็บไซต์ของหน่วยบริการด้านกฎหมายส�ำหรับชุมชน (Community Legal Service) ที่ ให้ขอ้ มูลทีม่ ปี ระโยชน์เกีย่ วกับปัญหาต่างๆ ในด้านกฎหมายถึง 7 ภาษา นอกจากนัน้ ยังให้รายละเอียดเกีย่ วกับทนายความในท้องถิน่ และศูนย์ ให้คำ� แนะน�ำ ในเขตพืน้ ทีข่ องคุณด้วย
For teenagers
The Young Citizen’s Passport is a practical guide to everyday law written especially for the needs of young people aged 14 to 19. It is produced by the Citizenship Foundation and there are three different editions: England and Wales, Scotland and Northern Ireland. You can order a copy through a local bookshop or telephone the publishers, Hodder Murray, on 020 7837 6372.
ข้อมูลส�ำหรับวัยรุน่
เอกสารคูม่ อื เยาวชน (The Young Citizen’s Passport) จะให้ความรูด้ า้ นกฎหมายทีม่ ี ประโยชน์กบั การด�ำเนินชีวติ ประจ�ำวัน เพือ่ ช่วยเหลือเยาวชนอายุ 14 ถึง 19 ปีโดยเฉพาะ เอกสารคูม่ อื เยาวชนนีจ้ ดั ท�ำโดย มูลนิธทิ ี่ ให้ความรูเ้ กีย่ วกับการเป็นพลเมืองดี (Citizenship Foundation) และมีอยู่ 3 ฉบับต่างกัน ส�ำหรับอังกฤษและเวลส์ สก็อตแลนด์ และ ไอร์แลนด์เหนือ คุณสามารถสัง่ ซือ้ เอกสารคูม่ อื เยาวชนนี้ ได้จากร้านหนังสือใกล้บา้ น หรือ โทรศัพท์ตดิ ต่อส�ำนักพิมพ์ ฮ็อดเดอร์ เมอเร่ย์ (Hodder Murray) ได้ทหี่ มายเลข 020 7837 6372
Victims of crime
Anyone who is the victim of a violent crime can apply to the Criminal Injuries Compensation Authority for compensation for their injuries. The crime has to be reported to the police as quickly as possible and the application for compensation must be made within two years of the crime. You can find more information on the Criminal Injuries Compensation Authority website: www.cica.gov.uk Life in the UK 249
Victims of crime can also get free help and guidance from Victim Support. You can find their telephone number in the local phone book, ring their national helpline on 845 30 30 900 or go to their website: www.victimsupport.com
เหยือ่ หรือผูเ้ สียหายในคดีอาชญากรรม
ผูท้ ี่ ได้รบั ความเสียหายในคดีอาชญากรรมทีร่ นุ แรง สามารถยืน่ ค�ำขอค่าสินไหมทดแทนจาก การบาดเจ็บได้ทอี่ งค์การพิจารณาค่าสินไหมทดแทนกรณีบาดเจ็บในคดีอาญา (Criminal Injuries Compensation Authority) ในการเรียกร้องค่าสินไหมทดแทน ผูเ้ สียหายจะ ต้องแจ้งความกับต�ำรวจก่อนโดยเร็วทีส่ ดุ และต้องยืน่ ค�ำขอภายในเวลา 2 ปี นับแต่วนั ที่ เกิดเหตุอาชญากรรม คุณสามารถหาข้อมูลเพิม่ เติมได้ทเี่ ว็บไซต์ www.cica.gov.uk ของ องค์การพิจารณาค่าสินไหมทดแทนกรณีบาดเจ็บในคดีอาญา ผูเ้ สียหายในคดีอาชญากรรมยังสามารถขอความช่วยเหลือ และค�ำแนะน�ำฟรี ได้จากองค์กร ให้ความช่วยเหลือเหยือ่ อาชญากรรม (Victim Support) โดยหาหมายเลขโทรศัพท์ของ องค์กรนี้ ได้ ในสมุดโทรศัพท์ทอ้ งถิน่ หรือโทรศัพท์ไปทีส่ ายให้ความช่วยเหลือทัว่ ประเทศ ขององค์กร หมายเลข 845 30 30 900 หรือเข้าไปทีเ่ ว็บไซต์ www.victimsupport.com หมายเหตุ: โปรดอย่าลืมทบทวนบทเรียน (Check that you understand)
Human rights The Human Rights Act
All UK courts must follow the principles of the European Convention on Human Rights. These rights are set out in British law in the Human Rights Act 1998 and apply to everyone in the UK. Public bodies such as the police, schools and hospitals have to work in a way that follows the Human Rights Act.
สิทธิมนุษยชน พระราชบัญญัตวิ า่ ด้วยสิทธิมนุษยชน
ศาลทุกแห่งในสหราชอาณาจักรจะต้องยึดถือหลักปฏิบตั ติ ามอนุสญ ั ญาว่าด้วยสิทธิมนุษยชน แห่งยุโรป ซึง่ ได้แจกแจงไว้ ในกฎหมายของอังกฤษในพระราชบัญญัตวิ า่ ด้วยสิทธิมนุษยชน ค.ศ. 1998 และใช้บงั คับคุม้ ครองประชาชนทุกคนในสหราชอาณาจักร นอกจากนี้ หน่วย งานภาครัฐ เช่น ต�ำรวจ โรงเรียน และโรงพยาบาล ยังต้องปฏิบตั งิ านด้วยวิธกี ารตาม พระราชบัญญัตสิ ทิ ธิมนุษยชนด้วย 250 Life in the UK
There is more general information on the Human Rights Act on the Department of Constitutional Affairs website: www.dca.gov.uk/peoples-rights/human-rights/ index.htm คุณสามารถหาข้อมูลเพิม่ เติมทัว่ ไปเกีย่ วกับพระราชบัญญัตวิ า่ ด้วยสิทธิมนุษยชนได้ทเี่ ว็บไซต์ ของแผนกงานรัฐธรรมนูญ (Department of Constitutional Affairs): www.dca.gov.uk/ peoples-rights/human-rights/index.htm In Northern Ireland there is a Human Rights Commission, which is considering whether Northern Ireland needs its own additional human rights law. It also works with its counterpart in the Republic of Ireland with the aim of achieving common standards in both parts of the island. ในไอร์แลนด์เหนือมีคณะกรรมาธิการพิทักษ์สิทธิมนุษยชน ซึ่งเวลานี้ก�ำลังพิจารณาว่า ไอร์แลนด์เหนือจ�ำเป็นต้องมีกฎหมายเพิม่ เติม เพือ่ คุม้ ครองสิทธิมนุษยชนของไอร์แลนด์เหนือ โดยเฉพาะหรือไม่ นอกจากนี้ คณะกรรมาธิการฯ กับผูร้ ว่ มงานในสาธารณรัฐไอร์แลนด์ ยังท�ำงานร่วมกันโดยมีจดุ มุง่ หมายเพือ่ พัฒนาหลักเกณฑ์ทสี่ ามารถใช้รว่ มกันในดินแดนทัง้ สองส่วนของเกาะไอร์แลนด์ได้
Equal opportunities
For more than 30 years the law in the UK has been developed to try and make sure that people are not treated unfairly in all areas of life and work because of their sex, race, disability, sexuality or religion. In 2006 unfair age discrimination at work also became unlawful.
โอกาสทีเ่ ท่าเทียมกัน
กฎหมายส่งเสริมความเสมอภาคในสหราชอาณาจักรมีววิ ฒ ั นาการทีย่ าวนานกว่า 30 ปี และได้รบั การพัฒนาปรับปรุงมาโดยตลอด เพือ่ ให้มนั่ ใจว่าพลเมืองทุกคนมีสทิ ธิและโอกาสที่ เท่าเทียมกันในการด�ำเนินชีวติ และการท�ำงาน โดยไม่ถกู เลือกปฏิบตั ิ หรือกีดกัน ด้วยเหตุผล ทางเชือ้ ชาติ เพศ ความพิการ หรือศาสนา ในปี ค.ศ. 2006 มีขอ้ บัญญัติให้การปฏิบตั ิ ต่อพนักงานอย่างไม่เป็นธรรมด้วยเหตุผลในเรือ่ งอายุเป็นความผิดตามกฎหมาย
Life in the UK 251
If you face problems with discrimination, you can get more information from the Citizens Advice Bureau or from one of the following organisations: The Commission for Racial Equality – www.cre.gov.uk The Equal Opportunities Commission – www.eoc.org.uk The Disability Rights Commission – www.drc.org.uk (These three organisations will be brought together in the Commission for Equality and Human Rights from October 2007). หากคุณมีปญ ั หาเป็นผูห้ นึง่ ทีถ่ กู เลือกปฏิบตั ิ คุณสามารถขอข้อมูลเพิม่ เติมได้จากหน่วยงาน ให้คำ� แนะน�ำแก่ประชาชน หรือจากองค์กรต่อไปนี้ คือ คณะกรรมาธิการพิทกั ษ์ความเสมอภาคทางเชือ้ ชาติ (Commission for Racial Equality) - www.cre.gov.uk คณะกรรมาธิการส่งเสริมการมี โอกาสทีเ่ ท่าเทียมกัน (Equal Opportunities Commission) – www.eoc.org.uk คณะกรรมาธิการคุม้ ครองสิทธิของคนพิการ (The Disability Rights Commission) – www.drc.org.uk (ตัง้ แต่เดือนตุลาคม ค.ศ. 2007 เป็นต้นไป จะมีการรวมหน่วยงานทัง้ สามนีเ้ ข้าด้วยกัน เป็น คณะกรรมาธิการส่งเสริมความเสมอภาคและพิทกั ษ์สทิ ธิมนุษยชน (Commission for Equality and Human Rights) The Human Rights Act lists 16 basic rights (the ‘Convention Rights’): The right to life – Everyone has the right for their life to be protected by the law. The state can only take someone’s life in very limited circumstances, such as when a police officer acts justifiably in self-defence Prohibition of torture – No one should be tortured or punished or treated in an inhuman or degrading way Prohibition of slavery and forced labour – No one should be held in slavery or forced to work 252 Life in the UK
The right to liberty and security – Everyone has the right not to be detained or have their liberty taken away, unless it is within the law and the correct legal procedures are followed The right to a fair trial – Everyone has the right to a fair trial and a public hearing within a reasonable period of time. Everyone charged with a criminal offence is presumed innocent until proved guilty No punishment without law – No one should be found guilty of an offence that was not a crime at the time it was committed Right to respect a person’s private and family life – Everyone has the right for their private and family life, their home and their correspondence to be respected. There should not be any interference with this unless there are very good reasons, such as state security, public safety or the prevention of a crime Freedom of thought, conscience and religion – Everyone is free to hold whatever views and beliefs they wish. Again, this right is only limited for reasons such as public safety, the protection of public order and the protection of the freedom and rights of others Freedom of Expression – Everyone has the freedom to express their views. This may, however, be limited for reasons of public safety or to protect the rights of others Freedom of assembly and association – Everyone has the right to get together with other people in a peaceful way. This again may be limited for reasons of public safety or to protect the rights of others Right to marry – Men and women have the right to marry and start a family, but national law may put restrictions on when this may take place and with whom Prohibition of discrimination – Everyone is entitled to the rights and freedoms set out in the European Convention on Human Rights. This is regardless of their race, sex, language, religion, political opinion, national or social origin or for any other reason Protection of property – No one should be deprived of their possessions except in the public interest, such as when the state raises taxes or confiscates goods that are unlawful or dangerous Life in the UK 253
The right to education – No one should be denied the right to education The right to free elections – Elections for government must be free, fair and take place at reasonable intervals with a secret ballot Prohibition of the death penalty – No one can be condemned to death or executed พระราชบัญญัติว่าด้วยสิทธิมนุษยชน ได้ก�ำหนดสิทธิขั้นพื้นฐาน 16 ประการ (‘สิทธิภายใต้อนุสญ ั ญา’) ไว้ดงั นี้ สิทธิในการมีชวี ติ อยู่ – ทุกคนมีสทิ ธิในการมีชวี ติ ที่ ได้รบั การคุม้ ครองโดยกฎหมาย รัฐจะ ท�ำลายชีวติ ได้เฉพาะในสถานการณ์จำ� กัดทีห่ ลีกเลีย่ งไม่ ได้เท่านัน้ เช่น ในกรณีทเี่ จ้าหน้าที่ ต�ำรวจมีเหตุผลสมควรทีต่ อ้ งกระท�ำการเพือ่ ป้องกันตัว ห้ามทรมาน – การทรมาน หรือลงโทษ หรือปฏิบัติต่อผู้ ใดก็ตามด้วยวิธีการที่ป่าเถื่อน ไร้มนุษยธรรม หรือเลวทราม เป็นสิง่ ที่ ไม่สมควรท�ำ ห้ามบังคับบุคคลให้เป็นทาส และใช้แรงงานบังคับ – การกักขังหน่วงเหนีย่ วตัวผู้ ใดก็ตาม ไว้เยีย่ งทาส หรือเกณฑ์แรงงาน หรือใช้แรงงานบังคับ เป็นสิง่ ที่ ไม่สมควรท�ำ สิทธิในการมีเสรีภาพและความมัน่ คงในชีวติ – ทุกคนมีสทิ ธิทจี่ ะมีอสิ ระเสรี โดยไม่ถกู กักขัง หรือถูกจ�ำกัดอิสรภาพ ยกเว้นกรณีทอี่ ยู่ ในขอบเขตของกฎหมาย และมีการด�ำเนินการตาม ขัน้ ตอนทีถ่ กู ต้องตามกฎหมาย สิทธิในการได้รบั การพิจารณาคดีดว้ ยความเป็นธรรม – ทุกคนมีสทิ ธิทจี่ ะได้รบั ความเป็น ธรรมในการพิจารณาคดี และการไต่สวนอย่างเปิดเผยภายในระยะเวลาอันเหมาะสม ทุกคนทีถ่ ูกกล่าวหาว่าท�ำความผิดทางอาญามีสิทธิ์ที่จะได้รับการสันนิษฐานไว้ก่อนว่าเป็น ผูบ้ ริสทุ ธิ์ จนกว่าจะพิสจู น์ได้วา่ มีความผิดจริงตามกฎหมาย ไม่ต้องรับโทษหากไม่มีกฎหมายบัญญัติไว้ – บุคคลที่กระท�ำการอย่างใดอย่างหนึ่ง ซึ่ง ในเวลานั้นไม่ถือว่าเป็นความผิดทางอาญา บุคคลผู้นั้นไม่ควรถูกตัดสินว่ามีความผิดตาม กฎหมาย สิทธิในการเคารพความเป็นส่วนตัวและชีวติ ครอบครัวของแต่ละบุคคล – ทุกคนมีสทิ ธิใน การด�ำเนินกิจธุระ และการใช้ชวี ติ ในครอบครัว ตลอดจนสิทธิในเคหะสถาน และการติดต่อ สือ่ สารทีเ่ ป็นเรือ่ งส่วนตัว โดยทีร่ ฐั จะเข้ามาก้าวก่ายสิทธิดงั กล่าวโดยพลการไม่ ได้ ยกเว้น 254 Life in the UK
กรณีทมี่ เี หตุผลสมควร เช่น เหตุผลทีเ่ กีย่ วกับความมัน่ คงของประเทศ ความปลอดภัยของ ประชาชน หรือการป้องกันอาชญากรรม เสรีภาพทางความคิด มโนธรรม และศาสนา – ทุกคนมีเสรีภาพทีจ่ ะมีความเชือ่ และความ คิดเห็นใดๆ ก็ ได้ตามใจปรารถนา การจ�ำกัดสิทธิเสรีภาพในเรือ่ งนีจ้ ะท�ำได้กต็ อ่ เมือ่ มีเหตุผล สมควรเพือ่ ความปลอดภัยของสาธารณชน หรือเพือ่ รักษาความสงบเรียบร้อย และปกป้อง สิทธิเสรีภาพของบุคคลอืน่ ๆ เสรีภาพในการแสดงออก – ทุกคนมีสิทธิที่จะแสดงความคิดเห็นได้อย่างเสรี อย่างไร ก็ตาม สิทธินอี้ าจถูกจ�ำกัดได้ดว้ ยเหตุผลในเรือ่ งความปลอดภัยของสาธารณชน หรือเพือ่ ปกป้องสิทธิของบุคคลอืน่ ๆ เสรีภาพในการชุมนุมและการสมาคม – ทุกคนมีสิทธิในการร่วมชุมนุมกับผู้อื่นได้อย่าง สันติวธิ ี แต่สทิ ธิเสรีภาพนีก้ อ็ าจถูกจ�ำกัดได้เช่นกัน ด้วยเหตุผลในเรือ่ งความปลอดภัยของ สาธารณชน หรือเพือ่ ปกป้องสิทธิของบุคคลอืน่ ๆ สิทธิในการแต่งงาน – ชายและหญิงมีสทิ ธิทจี่ ะแต่งงานและเริม่ ต้นชีวติ ครอบครัวร่วมกัน อย่างไรก็ตาม กฎหมายในแต่ละประเทศอาจมีขอ้ จ�ำกัดเกีย่ วกับเวลาและบุคคลทีจ่ ะแต่งงาน กัน ห้ามมิให้มกี ารเลือกปฏิบตั ิ – บุคคลทุกคนมีสทิ ธิและเสรีภาพดังค�ำประกาศในอนุสญ ั ญาว่า ด้วยสิทธิมนุษยชนแห่งยุโรป ทัง้ นี้ โดยไม่คำ� นึงถึงเชือ้ ชาติ เพศ ภาษา ศาสนา ความคิด เห็นทางการเมือง มาตุภมู ิ หรือภูมหิ ลังทางสังคม หรือด้วยเหตุผลอืน่ ใดก็ตาม ความคุ้มครองด้านทรัพย์สิน – ทุกคนมีสิทธิในการครอบครองทรัพย์สิน โดยไม่มีผู้ ใด สามารถพรากทรัพย์สนิ นัน้ ไปได้ ยกเว้นกรณีทเี่ ป็นประโยชน์ตอ่ สาธารณชน เช่น ในกรณี ทีร่ ฐั ขึน้ ภาษี หรือยึดสินค้าผิดกฎหมาย หรือสินค้าทีเ่ ป็นอันตราย สิทธิในการได้รับการศึกษา – ทุกคนควรมี โอกาสได้รับการศึกษา อันเป็นสิทธิที่ ไม่อาจ ปฏิเสธได้ สิทธิในการเลือกตั้งได้อย่างเสรี – การเลือกตั้งรัฐบาลจะต้องท�ำได้อย่างเสรี และเป็น ธรรม และจะต้องจัดให้มขี นึ้ ในระยะเวลาทีเ่ หมาะสม และมีการลงคะแนนเลือกตัง้ แบบลับ ห้ามการลงโทษประหารชีวิต – บุคคลใดก็ตามไม่สามารถที่จะถูกตัดสินลงโทษให้ถึงแก่ ความตาย หรือประหารชีวติ ได้
Life in the UK 255
The Equality Commission for Northern Ireland – www.equalityni.org For further information on discrimination at work, see chapter 6. คณะกรรมาธิการส่งเสริมความเสมอภาคของไอร์แลนด์เหนือ (The Equality Commission for Northern Ireland) – www.equalityni.org ข้อมูลเพิม่ เติมเกีย่ วกับการเลือกปฏิบตั ิในทีท่ ำ� งาน สามารถหาดูได้ ในบทที่ 6
Military service
In the UK there has been no compulsory military service since 1960.
การรับราชการทหาร
ในสหราชอาณาจักรไม่มกี ารบังคับเกณฑ์ทหารมาตัง้ แต่ปี ค.ศ. 1960
Marriage
In order to marry, each partner must be 16 years old or older, and unmarried. Anyone who is 16 or 17 and wants to get married needs written permission from their parents. Close blood relatives are not allowed to marry each other although cousins are allowed to marry. No one can be forced to get married regardless of how strong the wishes of their family may be. Couples who have agreed to marry usually announce their engagement. In the past an engagement was seen as a legal contract but these days it is not.
การสมรส
ชายและหญิงทีต่ อ้ งการสมรสกันจะต้องมีอายุ 16 ปีขนึ้ ไป และยังไม่ ได้แต่งงานกับผู้ ใด ผูท้ มี่ อี ายุ 16 หรือ 17 ปีทตี่ อ้ งการแต่งงาน จะต้องได้รบั อนุญาตเป็นลายลักษณ์อกั ษรจาก ผู้ปกครองเสียก่อน กฎหมายไม่ยินยอมให้ญาติพี่น้องที่มีสายเลือดใกล้ชิดกันแต่งงานกัน แต่ลกู พีล่ กู น้องสามารถแต่งงานกันได้ การบังคับให้ชายหรือหญิงแต่งงานกัน เป็นสิง่ ที่ ไม่ สามารถท�ำได้ แม้วา่ จะเป็นความปรารถนาของครอบครัวก็ตาม คูร่ กั ทีย่ นิ ยอมพร้อมใจที่ จะแต่งงานกันมักจะประกาศให้คนทราบว่าได้หมัน้ หมายกันไว้แล้ว ในอดีตการหมัน้ หมาย ถือว่ามีความส�ำคัญคล้ายกับการท�ำสัญญาทางกฎหมาย แต่ทกุ วันนี้ ไม่เป็นเช่นนัน้ แล้ว
256 Life in the UK
A marriage ceremony can take place in a registry office, a registered place of worship or in premises that have been approved by the local authority. You can get a list of these from your local authority. การประกอบพิธีสมรสสามารถท�ำได้ที่ส�ำนักทะเบียน ศาสนสถาน หรือสถานที่ที่ ได้รับ การอนุมัติจากองค์กรปกครองในท้องถิ่น คุณสามารถหารายชื่อสถานที่เหล่านี้ ได้จาก หน่วยงานเทศบาลของคุณ In order for a marriage ceremony to take place, couples need to get certificates from the registrar of marriages in the district(s) where they live. In order to get a certificate, the partners need to show their birth certificates or, if these are not available, their personal identity documents. If either of the partners has been married before, they need to show proof that this marriage has ended. Certificates can be collected between 21 days and 3 months before the date of the wedding. ก่อนการประกอบพิธสี มรส คูส่ มรสจะต้องไปขอใบรับรองจากนายทะเบียนผูม้ หี น้าทีร่ บั จด ทะเบียนสมรสในเขตพืน้ ทีท่ ตี่ นอาศัยอยู่ โดยน�ำใบสูตบิ ตั รไปแสดง หรือถ้าไม่มี ก็ ให้นำ� เอกสารพิสจู น์ตวั ตนไปแสดงเป็นหลักฐาน เพือ่ ขอให้เจ้าหน้าทีอ่ อกใบรับรองให้ ในกรณีที่ คูส่ มรสฝ่ายใดฝ่ายหนึง่ เคยแต่งงานมาก่อน เขาหรือเธอจะต้องน�ำหลักฐานมายืนยันว่าการ สมรสครัง้ ก่อนนัน้ ได้สนิ้ สุดลงแล้ว คูส่ มรสสามารถไปรับเอาใบรับรองนี้ ได้ภายในเวลาตัง้ แต่ 21 วัน ถึง 3 เดือน ก่อนวันประกอบพิธสี มรส The procedure for marriages in the Church of England is slightly different. The traditional method used by most couples is the publication of banns, which takes the same time as the civil method of getting married by certificate. The banns are published by being read aloud during the service on each of the three Sundays before the ceremony. You do not have to be a member of the church to be married there but it is usual for the couple to attend the church on at least one of the three occasions when the banns are read. You can get more details from either a religious minister who is authorised to conduct marriages or the local registrar of marriages- see Registration of births, marriages and deaths in the phone book. Life in the UK 257
การสมรสตามระเบียบพิธกี ารของศาสนจักรนิกายอังกฤษมีขอ้ แตกต่างบ้างเล็กน้อย คูส่ มรส ส่วนใหญ่จะประกาศข่าวการสมรสให้คนทัว่ ไปรับทราบตามธรรมเนียมดัง้ เดิม ซึง่ ใช้เวลานาน พอๆ กับวิธกี ารใช้ ใบรับรองส�ำหรับจดทะเบียนสมรสของทางราชการ การประกาศข่าวการ สมรสจะท�ำทุกๆ วันอาทิตย์ เป็นเวลาติดต่อกัน 3 อาทิตย์กอ่ นทีจ่ ะมีการประกอบพิธสี มรส โดยใช้วธิ อี า่ นข่าวการสมรสให้ศาสนิกชนทีม่ าเข้าร่วมพิธที างศาสนาได้รบั ฟังร่วมกัน คุณ ไม่จำ� เป็นต้องเป็นสมาชิกของโบสถ์ทคี่ ณ ุ จะท�ำพิธแี ต่งงาน แต่ปกติแล้ว คูบ่ า่ วสาวจะเข้า โบสถ์ ในวันอาทิตย์ทมี่ กี ารอ่านข่าวการสมรสอย่างน้อย 1 ครัง้ จากทัง้ หมด 3 ครัง้ คุณ สามารถขอทราบรายละเอียดเพิ่มเติมได้จากพระผู้สอนศาสนาที่ ได้รับมอบหมายให้เป็น ผูป้ ระกอบพิธสี มรส หรือนายทะเบียนท้องถิน่ ผูร้ บั จดทะเบียนสมรส – ดู การจดทะเบียน คนเกิด การสมรส และคนตาย ในสมุดโทรศัพท์ In the UK, many women take their husband’s surname when they get married. But there is no legal duty to do this and some women prefer to keep their own surname. ผู้หญิงส่วนใหญ่ ในสหราชอาณาจักรจะใช้นามสกุลของสามีหลังจากแต่งงานกันแล้ว แต่กฎหมายไม่ ได้บังคับไว้ว่าจะต้องท�ำเช่นนั้น และมีผู้หญิงบางคนที่ยังคงต้องการใช้ นามสกุลเดิมของตนเองต่อไป
Living together
These days, many couples in the UK live together without getting married or live together before they get married. Couples who live together without being married do not have the same legal rights as couples who are married and may face some problems if their relationship breaks up. For example, if only one partner’s name is on a tenancy agreement or title deeds to a property, the other partner may have difficulty staying in a property or claiming a share in its value.
การอยูก่ นิ ด้วยกันโดยไม่ ได้จดทะเบียนสมรส
ทุกวันนีม้ คี คู่ รองจ�ำนวนมากในสหราชอาณาจักรทีอ่ ยูก่ นิ ด้วยกันโดยทีย่ งั ไม่ ได้แต่งงาน หรือ ก่อนที่จะแต่งงานกัน คู่ครองที่อยู่กินด้วยกันโดยไม่ ได้แต่งงานจะไม่มีสิทธิทางกฎหมาย เหมือนกับคู่ครองที่แต่งงานกันแล้ว และอาจมีปัญหาบางอย่างหากความสัมพันธ์สิ้นสุด ลง ตัวอย่างเช่น ในกรณีทสี่ ญ ั ญาเช่าบ้าน หรือโฉนดบ้านและทีด่ นิ มีเพียงชือ่ ของคูค่ รอง ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่ง อีกฝ่ายหนึ่งอาจมีปัญหาที่จะอยู่ต่อไปในบ้านนั้น หรือมีปัญหาในการ เรียกร้องส่วนแบ่งจากมูลค่าของทรัพย์สนิ นัน้ 258 Life in the UK
If a married person dies without making a will, their husband or wife is entitled to all or most of their possessions. But if a couple are not married and there is no will, it can be very difficult for the surviving partner to claim any of their partner’s possessions. สามีภรรยาทีแ่ ต่งงานกัน และฝ่ายใดฝ่ายหนึง่ ถึงแก่ความตายโดยมิได้ทำ� พินยั กรรมไว้ สามี หรือภรรยามีสทิ ธิท์ จี่ ะได้รบั ทรัพย์สนิ ทัง้ หมด หรือส่วนใหญ่ของฝ่ายทีเ่ สียชีวติ แต่ถา้ ไม่ ได้ แต่งงานกัน และไม่ ได้ทำ� พินยั กรรมไว้ คูค่ รองทีย่ งั มีชวี ติ อยูอ่ าจมีปญ ั หาในการเรียกร้อง ทรัพย์สนิ ใดๆ ก็ตามของคูค่ รองทีเ่ สียชีวติ ไปแล้ว If an unmarried couple have a child, both parents have a duty to support that child until he or she is 18 years old. ในกรณีของคูค่ รองที่ ไม่ ได้แต่งงานกัน แต่มบี ตุ รด้วยกัน ทัง้ พ่อและแม่มหี น้าทีต่ อ้ งเลีย้ งดู บุตรจนกว่าบุตรจะมีอายุได้ 18 ปี
Same-sex partnerships
Couples of the same sex can now legally register their relationship and mark this with a civil ceremony known as a civil partnership. When they do this they have similar legal rights to those of married couples.
คูค่ รองเพศเดียวกัน
เวลานีค้ คู่ รองเพศเดียวกันสามารถทีจ่ ะจดทะเบียน เพือ่ ให้กฎหมายรับรองความสัมพันธ์ดว้ ย การประกอบพิธกี ารอยูร่ ว่ มกันอย่างเป็นทางการ (civil partnership) โดยมีนายทะเบียน เป็นผู้ด�ำเนินการ หลังจากการประกอบพิธีนี้แล้ว ทั้งสองฝ่ายจะมีสิทธิทางกฎหมาย เหมือนกับคูค่ รองทีแ่ ต่งงานกัน
Divorce
A divorce cannot take place during the first year of marriage. In order for a man or woman to apply for a divorce they must prove to a court that their marriage has ‘irretrievably broken down’. In order to do this, he or she must prove one of the following things has happened:
Life in the UK 259
Their partner has committed adultery Their partner has behaved unreasonably. This can cover many things such as domestic violence, assault, or refusing to have children They have lived apart for two years and both want a divorce They have lived apart for five years and only one partner wants a divorce One partner has deserted the other for at least two years before the application for divorce
การหย่าร้าง
การหย่าร้างไม่สามารถทีจ่ ะท�ำได้ภายในปีแรกของการสมรส หากต้องการหย่ากัน ฝ่าย หญิงหรือฝ่ายชายจะต้องยืน่ ค�ำร้องขอหย่า และต้องมีพยานหลักฐานมายืนยันให้ศาลเชือ่ ได้วา่ ชีวติ การสมรสของทัง้ สองฝ่าย ‘แตกร้าวอย่างไม่มวี นั ประสานให้ดี ได้เหมือนเดิม’ โดย ฝ่ายทีย่ นื่ ค�ำร้องขอหย่าจะต้องมีเหตุผลข้อใดข้อหนึง่ ต่อไปนีม้ าพิสจู น์ ให้เห็นชัดว่า คูค่ รองอีกฝ่ายหนึง่ นอกใจ หรือคบชู้ คูค่ รองอีกฝ่ายหนึง่ มีพฤติกรรมที่ ไม่เหมาะสม ซึง่ ครอบคลุมได้หลายอย่าง เช่น การแสดง ความก้าวร้าวรุนแรงในครอบครัว การท�ำร้ายร่างกาย หรือการไม่ยอมมีบตุ ร คูค่ รองทัง้ สองฝ่ายแยกกันอยูม่ าเป็นเวลา 2 ปี และทัง้ คูต่ อ้ งการหย่าขาดจากกัน ทัง้ สองฝ่ายไม่ ได้อยูด่ ว้ ยกันมานานถึง 5 ปี และคูค่ รองเพียงฝ่ายใดฝ่ายหนึง่ ต้องการที่ จะหย่า คูค่ รองฝ่ายใดฝ่ายหนึง่ ได้ทอดทิง้ อีกฝ่ายหนึง่ ไปเป็นเวลาอย่างน้อย 2 ปี ก่อนทีจ่ ะมีการ ยืน่ ค�ำร้องขอหย่า
Help and advice
The breakdown of a marriage can be a very difficult time for everyone involved. Family doctors can sometimes help by arranging an appointment with a family therapist. There is also a voluntary and independent organisation called Relate, which operates in England and Wales. You can find their contact details in the phone book under Relate or at www.relate.org.uk 260 Life in the UK
ความช่วยเหลือและค�ำแนะน�ำ
ชีวติ การสมรสทีล่ ม้ เหลวอาจเป็นปัญหาใหญ่ทมี่ ผี ลกระทบอย่างรุนแรงต่อทุกคนทีเ่ กีย่ วข้อง ในช่วงเวลานี้ แพทย์ประจ�ำครอบครัวสามารถให้ความช่วยเหลือได้ โดยนัดหมายให้คชู่ วี ติ ทีม่ ปี ญ ั หาไปพบกับเจ้าหน้าทีผ่ ู้ ให้คำ� ปรึกษา นอกจากนี้ ยังมี รีเลท (Relate) องค์กรอิสระ ทีด่ ำ� เนินการให้คำ� ปรึกษาในอังกฤษและเวลส์ดว้ ย คุณสามารถหารายละเอียดขององค์กรนี้ ได้ ในสมุดโทรศัพท์ ใต้หวั ข้อ Relate หรือเข้าไปทีเ่ ว็บไซต์ www.relate.org.uk If you are facing divorce, or if your partner has left you, it is very important to get advice about your legal position from a solicitor, particularly if you have young children or if there is disagreement over money or property. หากคุณก�ำลังจะหย่าร้าง หรือหากคู่ครองของคุณได้ทอดทิ้งคุณไป คุณควรปรึกษากับ ทนายความ เพือ่ ขอค�ำแนะน�ำเกีย่ วกับสถานะทางกฎหมายของคุณ โดยเฉพาะในกรณีที่ คุณมีลกู ทีย่ งั เล็กอยู่ หรือมีปญ ั หาเกีย่ วกับทรัพย์สนิ หรือเงินทองที่ ไม่สามารถตกลงกันได้
Domestic violence
In the UK, brutality and violence in the home is a serious crime. Anyone who is violent towards their partner – whether they are a man or a woman, married or living together – can be prosecuted. Any man who forces a woman to have sex, including a woman’s husband, can be charged with rape.
ความรุนแรงในครอบครัว
การกระท�ำที่ โหดร้ายและรุนแรงภายในครอบครัว ถือเป็นความผิดทางอาญาขัน้ รุนแรงใน สหราชอาณาจักร บุคคลทีก่ า้ วร้าวรุนแรงต่อคูค่ รองของตนเอง ไม่วา่ จะเป็นฝ่ายหญิงหรือ ฝ่ายชาย แต่งงานกันแล้ว หรือแค่อยูก่ นิ ด้วยกันก็ตาม บุคคลผูน้ นั้ สามารถถูกด�ำเนินคดี ได้ตามกฎหมาย ผูช้ ายที่ ใช้กำ� ลังบังคับผูห้ ญิงให้มเี พศสัมพันธ์ดว้ ย ถึงแม้จะเป็นสามีของ ผูห้ ญิงคนนัน้ ก็อาจถูกกล่าวหาว่าท�ำความผิดฐานข่มขืนได้ It is important for any woman in this situation to get help as soon as possible. A solicitor or the Citizens Advice Bureau can explain the available options. In some areas there are safe places for women to go and stay in called refuges or shelters. There are emergency telephone numbers in the Helpline section at the front of the Yellow Pages including, for women, the number of the nearest Women’s Centre. The police can also help women find a safe place to stay. Life in the UK 261
ผู้หญิงที่ตกอยู่ ในสภาพเช่นนี้ควรติดต่อขอความช่วยเหลือโดยเร็วที่สุด ทนายความหรือ หน่วยงานให้คำ� แนะน�ำแก่ประชาชน สามารถให้คำ� ชีแ้ จงได้วา่ มีทางเลือกอะไรบ้าง ในบาง พืน้ ทีจ่ ะมีสถานทีพ่ ำ� นักทีป่ ลอดภัยส�ำหรับผูห้ ญิง เรียกว่า ทีพ่ ำ� นักลีภ้ ยั หรือบ้านหลบภัย และในหมวดบริการโทรศัพท์สายให้ความช่วยเหลือ (Helpline) ทีด่ า้ นหน้าของสมุดโทรศัพท์ หน้าเหลืองจะมีหมายเลขโทรศัพท์เหตุฉกุ เฉิน รวมทัง้ เบอร์ โทรศัพท์ของศูนย์ชว่ ยเหลือสตรี ที่ ใกล้บา้ นทีส่ ดุ ส�ำหรับผูห้ ญิงทีม่ ปี ญ ั หา นอกจากนี้ ต�ำรวจยังสามารถช่วยเหลือผูห้ ญิงใน การหาสถานทีพ่ กั อาศัยทีป่ ลอดภัยได้ดว้ ย
Children Parents’ responsibilities The law says that parents of a child who are married to one another have equal responsibility for their child. This continues even if the parents separate or divorce. But when a child’s parents are not married, only the mother has parental responsibility unless: The father jointly registers the child’s birth with the mother The father subsequently marries the mother The father obtains the mother’s agreement for equal parental responsibility The father acquires parental responsibility by applying to court Parental responsibility continues until a child is 18 years old.
บุตรหรือผูเ้ ยาว์ ความรับผิดชอบของผูป้ กครอง กฎหมายบัญญัติไว้วา่ สามีภรรยาทีแ่ ต่งงานและมีบตุ รด้วยกันจะมีอ�ำนาจในการปกครอง บุตรเท่าเทียมกัน และจะยังคงมีความรับผิดชอบนีต้ อ่ ไปถึงแม้จะแยกทาง หรือหย่าขาด จากกันแล้วก็ตาม แต่หากบิดามารดาไม่ ได้แต่งงานกัน มารดาจะมีอำ� นาจในการปกครอง บุตรเพียงผูเ้ ดียว ยกเว้นกรณีตอ่ ไปนี้
262 Life in the UK
บิดากับมารดาแจ้งลงทะเบียนการเกิดของบุตรร่วมกัน บิดากับมารดาแต่งงานกันในภายหลัง มารดายินยอมให้บดิ ามีอำ� นาจในการปกครองบุตรเท่าเทียมกัน ศาลมีคำ� สัง่ ให้บดิ ามีอำ� นาจในการปกครองบุตรตามค�ำขอของบิดา บิดามารดาจะมีความรับผิดชอบในการปกครองบุตรจนกว่าบุตรจะมีอายุได้ 18 ปี
Support
Both parents, whether they are married to each other or not, have a legal responsibility to maintain their children financially. A father who does not have parental responsibility in law still has a duty to support his children financially.
การเลีย้ งดูบตุ ร
บิดาและมารดามีหน้าที่รับผิดชอบตามกฎหมายในการหาเงินมาเลี้ยงดูบุตร ไม่ว่าจะ แต่งงานกันหรือไม่กต็ าม บิดาที่ ไม่มสี ทิ ธิในการปกครองบุตรตามกฎหมาย ยังคงมีหน้าที่ ต้องส่งเสียอุปการะเลีย้ งดูบตุ รของตนเอง
Control
Parents are responsible for the care and control of their children until they are 18. By law, they can use reasonable force to discipline them, but if this punishment is too severe, they can be prosecuted for assault or the child may be taken into the care of the local authority.
การควบคุมดูแลบุตร
บิดามารดามีหน้าที่รับผิดชอบในการดูแลและควบคุมบุตรจนกว่าบุตรจะมีอายุได้ 18 ปี กฎหมายอนุญาตให้บดิ ามารดาลงโทษบุตรได้ตามสมควร เพือ่ สัง่ สอนให้บตุ รมีระเบียบวินยั แต่หากลงโทษเด็กรุนแรงเกินไป บิดามารดาอาจถูกด�ำเนินคดีดว้ ยข้อหาท�ำร้ายร่างกาย หรือ เด็กอาจถูกน�ำตัวไปเลีย้ งดูในสถานดูแลเด็กของหน่วยงานเทศบาลในท้องถิน่ ได้
Life in the UK 263
Many voluntary organisations and local authorities offer parenting courses, support and advice on being a parent. Parentline Plus is a national charity that works for, and with, parents. They offer a free 24-hour, 7 days a week telephone helpline service for parents – telephone: 0808 800 202, or www. parentlineplus.org.uk. You can also get information on parenting on the BBC website: www.bbc.co.uk/parenting องค์กรอาสาสมัครและหน่วยงานเทศบาลหลายแห่งจัดหลักสูตรอบรมเกีย่ วกับการปกครอง ดูแลเด็ก และให้การสนับสนุนและค�ำแนะน�ำเกีย่ วกับการเป็นพ่อหรือแม่ และยังมีองค์กรการ กุศล Parentline Plus ที่ ให้ความช่วยเหลือและร่วมมือกับผูป้ กครองทัว่ ประเทศ องค์กรนี้ มีบริการสายให้ความช่วยเหลือส�ำหรับผูป้ กครองฟรีตลอด 24 ชัว่ โมง 7 วันต่อสัปดาห์ โทรศัพท์ 0808 800 202 หรือเว็บไซต์ www.parentlineplus.org.uk และคุณยังจะ หาข้อมูลเกีย่ วกับการปกครองเด็กได้ ในเว็บไซต์ของบีบซี ี ที่ www.bbc.co.uk/parenting
Child protection
Every local authority has a legal duty to protect all children in its area from danger, and must place the safety and interest of the child above all else. If it believes that a child is suffering significant harm at home, it must take action to try and stop this happening. Where possible, local authorities try to work with parents, but they have the power to take a child from its home and into care. This is only done in an emergency or when all other possibilities have failed.
การคุม้ ครองเด็ก
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทุกแห่ง มีหน้าที่ตามกฎหมายในการคุ้มครองเด็กทุกคน ทีอ่ ยู่ ในเขตพืน้ ทีข่ องตนให้พน้ จากอันตราย และต้องให้ความส�ำคัญกับความปลอดภัยและ ประโยชน์ของเด็กเหนือสิง่ อืน่ ใด หากมีเหตุผลทีท่ ำ� ให้เชือ่ ได้วา่ เด็กก�ำลังได้รบั ภัยอันตราย ทีบ่ า้ น องค์กรเหล่านีจ้ ะต้องท�ำทุกอย่างเพือ่ หยุดยัง้ สิง่ ทีก่ ำ� ลังเกิดขึน้ และหากเป็นไปได้ ก็จะพยายามด�ำเนินการร่วมกันกับผู้ปกครองของเด็ก แต่ก็มีอ�ำนาจที่จะน�ำเด็กออกจาก บ้านไปอยู่ ในการดูแลของรัฐได้ อย่างไรก็ตาม กรณีเช่นนีจ้ ะท�ำเฉพาะเมือ่ มีเหตุฉกุ เฉิน หรือ เมือ่ ไม่มที างอืน่ ให้เลือกอีกแล้ว
264 Life in the UK
ChildLine is a free and confidential helpline for children and young people in the UK to talk about any problem with a counsellor – telephone: 0800 1111, or: www.childline.org.uk In the UK, there are laws about employment and children (see Chapter 6) ChildLine เป็นบริการสายให้ความช่วยเหลือทีช่ ว่ ยให้เด็กและผูเ้ ยาว์ ในสหราชอาณาจักร สามารถโทรศัพท์พูดคุยเกี่ยวกับปัญหาของตนกับที่ปรึกษาได้เป็นการลับเฉพาะโดย ไม่ตอ้ งเสียเงิน – โทรศัพท์ 0800 1111 หรือเว็บไซต์ www.childline.org.uk นอกจากนี้ ในสหราชอาณาจักรยังมีกฎหมายเกีย่ วกับการจ้างงานเด็กด้วย (ดูบทที่ 6)
Medical advice and treatment for children and young people
From the age of 16, young people do not need their parents’ permission for medical consultation or treatment as long as the doctor or nurse believes that the young person fully understands what is involved. If a young person under the age of 16 asks for contraceptive advice and treatment, the doctor will encourage them to discuss this with a parent or carer. But most doctors will prescribe contraception for a young person if they believe they are able to understand what is involved.
การปรึกษาแพทย์และการรักษาพยาบาลส�ำหรับเด็กและผูเ้ ยาว์
ผูเ้ ยาว์ทมี่ อี ายุ 16 ปีขนึ้ ไป สามารถปรึกษาแพทย์ หรือขอรับการรักษาจากแพทย์ได้ โดย ไม่จำ� เป็นต้องขออนุญาตจากผูป้ กครอง หากแพทย์หรือพยาบาลเชือ่ ว่าผูเ้ ยาว์นนั้ สามารถ เข้าใจได้ดี ในสิง่ ทีเ่ กีย่ วข้องกับการรักษาพยาบาล ในกรณีทผี่ เู้ ยาว์อายุตำ�่ กว่า 16 ปี และ ต้องการค�ำแนะน�ำและวิธกี ารคุมก�ำเนิดทีต่ อ้ งขอให้แพทย์ทำ� ให้ แพทย์จะแนะน�ำให้ผเู้ ยาว์ ไปปรึกษากับพ่อหรือแม่หรือผูด้ แู ลตนเองก่อน แต่สว่ นใหญ่แพทย์จะให้ ใบสัง่ ยาคุมก�ำเนิด แก่ผเู้ ยาว์ หากเชือ่ ว่าผูเ้ ยาว์สามารถเข้าใจในสิง่ ทีเ่ กีย่ วข้องได้ดี
Life in the UK 265
Leaving a child on their own
As a general rule it is against the law for children to be left alone in the home unless they are in the care of a responsible person ages 16 or over.
การปล่อยให้เด็กอยูต่ ามล�ำพัง
โดยทั่วไปแล้ว การปล่อยให้เด็กอยู่ตามล�ำพังในบ้านเป็นสิ่งที่ผิดกฎหมาย ยกเว้นกรณีที่ เด็กมีบคุ คลทีม่ คี วามรับผิดชอบอายุ 16 ปี ขึน้ ไปคอยดูแลอยู่ Childminders and nurseries must be registered and inspected by the Office for Standards in Education (Ofsted). You can get details of registered childminders in your area from your local authority, Children’s Information Service (CIS). ChildcareLink on 0800 96 02 96 or www.childcarelink.gov.uk can give you the telephone number of your local CIS. You can also contact the National Childminding Association (NCMA) on 0800 169 4486 or www.ncma.org.uk ผู้รับดูแลเด็ก และศูนย์รับเลี้ยงเด็กจะต้องจดทะเบียนการให้บริการ และมีเจ้าหน้าที่ จากส�ำนักงานก�ำกับดูแลมาตรฐานการศึกษา (Ofsted) มาตรวจสอบอยูเ่ สมอ คุณจะหา รายละเอียดของผูร้ บั ดูแลเด็กทีจ่ ดทะเบียนแล้วในเขตพืน้ ทีข่ องคุณได้จากองค์การเทศบาล หรือศูนย์บริการข้อมูลเกีย่ วกับผูเ้ ยาว์ (CIS) นอกจากนี้ ChildcareLink โทรศัพท์ 0800 96 02 96 หรือเว็บไซต์ www.childcarelink.gov.uk ยังสามารถให้เบอร์ โทรศัพท์ของ ศูนย์บริการข้อมูลเกีย่ วกับผูเ้ ยาว์ (CIS) ในเขตพืน้ ที่ ให้แก่คณ ุ ได้ดว้ ย และคุณยังสามารถ ติดต่อสมาคมผู้ ให้บริการรับดูแลเด็กแห่งชาติ (NCMA) ได้ทหี่ มายเลข 0800 169 4486 หรือไปทีเ่ ว็บไซต์ www.ncma.org.uk หมายเหตุ: โปรดอย่าลืมทบทวนบทเรียน (Check that you understand)
266 Life in the UK
Consumer protection
By law, when you buy something from a shop, it should do everything you can reasonably expect and all that the seller and manufacturer claim. The Sale of Goods Act 1979 states that the goods you buy from a shop or trader must: be of satisfactory quality, and match the description, and be fit for all their intended purposes.
Consumer protection
เมือ่ คุณซือ้ ของจากร้านค้า คุณมีสทิ ธิต์ ามกฎหมายทีจ่ ะคาดหวังให้สนิ ค้านัน้ สามารถท�ำงาน ได้ตามทีค่ ณ ุ ต้องการ และตรงตามค�ำโฆษณาอวดอ้างของผูข้ ายและผูผ้ ลิตสินค้านัน้ ๆ พอ สมควร พระราชบัญญัตกิ ารจ�ำหน่ายสินค้า ปี ค.ศ. 1979 บัญญัติไว้วา่ สินค้าทีค่ ณ ุ ซือ้ จาก ร้านค้า หรือบริษทั ผูป้ ระกอบการค้าจะต้อง มีคณ ุ ภาพทีน่ า่ พอใจ และ ตรงกับค�ำโฆษณาอวดอ้าง และ เหมาะกับการใช้งานตามจุดประสงค์ทตี่ อ้ งการ
Satisfactory quality
‘Being of satisfactory quality’ means the goods must be free from faults, scratches or damage – unless the sales assistant told you about the fault or you had a chance to look carefully at the item before you bought it and had the opportunity to find the fault.
คุณภาพทีน่ า่ พอใจ
สินค้าที่ ‘มีคณ ุ ภาพทีน่ า่ พอใจ’ คือ สินค้าที่ ไม่มขี อ้ บกพร่อง รอยขีดข่วน หรือความเสียหาย ยกเว้นกรณีทพี่ นักงานขายได้บอกคุณไว้แล้วถึงข้อบกพร่อง รอยขีดข่วน หรือความเสียหาย นั้นๆ หรือคุณมี โอกาสได้พินิจพิจารณามองหาข้อบกพร่องของสินค้านั้นอย่างถี่ถ้วนแล้ว ก่อนซือ้
Life in the UK 267
This rule applies to any goods you buy from a shop or trader – new or secondhand. But it does not apply to goods bought privately from an individual, for example through a newspaper or shop window advertisement. In these cases, the buyer is expected to take responsibility for the quality of the goods they buy. กฎข้อนี้ ใช้ ได้กบั สินค้าทุกชนิดทีค่ ณ ุ ซือ้ จากร้านค้าหรือผูป้ ระกอบการค้า ไม่วา่ จะเป็นสินค้า ใหม่ หรือสินค้ามือสอง อย่างไรก็ตาม กฎข้อนี้ ไม่ครอบคลุมไปถึงสินค้าทีซ่ อื้ จากผู้ ใดผูห้ นึง่ เป็นการส่วนตัว ตัวอย่างเช่น จากประกาศในหน้าหนังสือพิมพ์ หรือประกาศโฆษณาตาม หน้าต่างร้านค้า ในกรณีเหล่านี้ ผูซ้ อื้ จะต้องรับผิดชอบในการตรวจสอบคุณภาพของสินค้า ทีจ่ ะซือ้ เอง
Match the description
‘Matching the description’ means that the goods you buy must be the same as the description on the packaging or advertisement at the time of sale. This rule applies to all goods sold, including second-hand goods sold privately.
ตรงกับค�ำโฆษณาอวดอ้าง
สินค้าทีม่ คี ณ ุ ภาพ ‘ตรงกับค�ำโฆษณาอวดอ้าง’ คือ สินค้าทีซ่ อื้ มาแล้ว มีคณ ุ ภาพตรงกับ ค�ำชีแ้ จงบนบรรจุภณ ั ฑ์ หรือค�ำโฆษณาในเวลาทีจ่ ำ� หน่าย กฎข้อนี้ ใช้ ได้กบั สินค้าทุกชนิดที่ ขายให้ลกู ค้า รวมถึงสินค้ามือสองทีม่ กี ารซือ้ ขายเป็นการส่วนตัว
Fit for all their intended purposes
‘Being fit for all their intended purposes’ means that the goods must do what the seller, packaging or advertiser claims.
เหมาะกับการใช้งานตามจุดประสงค์ทตี่ อ้ งการ
สินค้าที่ ‘เหมาะกับการใช้งานตามจุดประสงค์ทตี่ อ้ งการ’ คือ สินค้าทีส่ ามารถท�ำสิง่ ต่างๆ ได้ตามค�ำอวดอ้างของผูข้ าย หรือผู้ โฆษณา หรือค�ำอวดอ้างบนบรรจุภณ ั ฑ์
268 Life in the UK
Taking care with your purchases
Sometimes there are problems with goods bought from shops, by mail order or on the internet and so it is a good idea to take the following steps: be cautious of advertisements that make exaggerated claims, and of people who try to sell you things at your door keep receipts as proof of purchase, particularly if the goods were expensive if there is a problem with something you bought, stop using it straight away and tell the shop or trader about the problem if you have to make a complaint to a shop or company, keep record of telephone calls and make a copy of any letters or emails that you send.
ข้อควรระมัดระวังในการซือ้ สินค้า
สินค้าที่ซื้อจากร้านค้า หรือโดยการสั่งซื้อทางไปรษณีย์ หรือทางอินเทอร์เน็ต อาจมี ข้อบกพร่องในบางครัง้ ดังนัน้ คุณจึงควรยึดถือวิธกี ารปฏิบตั ิ ดังต่อไปนี้ พึงระมัดระวังสินค้าทีม่ กี ารโฆษณาอวดอ้างเกินความจริง และคนทีม่ าเคาะประตูบา้ นเพือ่ พยายามทีจ่ ะขายของให้แก่คณ ุ เก็บใบเสร็จรับเงินจากการซือ้ สินค้าไว้เป็นหลักฐาน โดยเฉพาะสินค้าทีม่ รี าคาแพง หากสินค้าทีค่ ณ ุ ซือ้ มานัน้ มีปญ ั หา ให้คณ ุ หยุดใช้ทนั ที และแจ้งให้ทางร้าน หรือผูป้ ระกอบการ ค้าทราบถึงปัญหานัน้ ๆ ในกรณีทคี่ ณ ุ ร้องเรียนปัญหาไปทีร่ า้ นค้า หรือบริษทั คุณควรเก็บบันทึกรายละเอียดการ โทรศัพท์ และถ่ายส�ำเนาจดหมาย หรือคัดลอกข้อความในอีเมล์ที่คุณส่งไป และเก็บไว้ เป็นหลักฐาน
Life in the UK 269
Prices are usually clearly marked on most new goods and these are the prices that customers expect to pay. In general, people in the UK do not barter or negotiate prices for goods. But some bargaining may take place when buying houses, second-hand cars, or some household services such as decorating or gardening. ปกติแล้วสินค้าใหม่สว่ นใหญ่จะมีการติดป้ายบอกราคาทีค่ าดหมายให้ผซู้ อื้ ต้องช�ำระไว้อย่าง ชัดเจน โดยทัว่ ไป ผูค้ นในสหราชอาณาจักรจะไม่ตอ่ รองหรือขอให้ลดราคาสินค้า แต่อาจมี การต่อรองกันบ้างในกรณีการซือ้ บ้าน รถยนต์มอื สอง หรือบริการต่างๆ เช่น บริการตกแต่ง บ้าน หรือบริการท�ำสวน เป็นต้น
Services
The law covering services – such as hairdressing or shoe repairs – states that services must be done: with reasonable care and skill within a reasonable time for a reasonable charge. To avoid problems it is a good idea to agree the price before the work starts.
งานบริการ
กฎหมายเกีย่ วกับงานบริการต่างๆ เช่น บริการท�ำผม หรือบริการซ่อมรองเท้า บัญญัติไว้ ว่า ผู้ ให้บริการเหล่านีจ้ ะต้อง มีทกั ษะและดูแลเอาใจใส่ลกู ค้าอย่างเหมาะสม ให้บริการภายในเวลาทีเ่ หมาะสม คิดค่าบริการในราคาทีเ่ หมาะสม เพือ่ หลีกเลีย่ งปัญหา คุณควรตกลงราคากับผู้ ให้บริการก่อนเริม่ งาน
270 Life in the UK
Mail order and internet shopping
There are special regulations to protect people who buy goods from home, by post, phone or the internet. As well as the rights listed above, you are entitled to cancel your order within 7 working days if you decide that you do not want to buy the item. But this does not apply to all purchases. For example, you cannot change your mind for tickets or accommodation bookings, audio and video recordings that have been opened, newspapers and magazines, and perishable items such as flowers or food. You are also entitled to a full refund if you do not receive the goods by the date agreed or within 30 days, if you did not agree a date.
การสัง่ ซือ้ สินค้าทางไปรษณีย์ และอินเทอร์เน็ต
กฎหมายมีระเบียบข้อบังคับพิเศษเพื่อคุ้มครองบุคคลที่สั่งซื้อสินค้าจากที่บ้าน ไม่ว่าจะ เป็นการสัง่ ซือ้ ทางไปรษณีย์ ทางโทรศัพท์ หรืออินเทอร์เน็ต นอกเหนือจากสิทธิของผูซ้ อื้ ดังทีช่ แี้ จงไว้ขา้ งต้นแล้ว คุณยังมีสทิ ธิทจี่ ะยกเลิกการสัง่ ซือ้ ภายในเวลา 7 วันท�ำการ หาก คุณตัดสินใจว่าคุณไม่ตอ้ งการทีจ่ ะซือ้ สินค้านัน้ แล้ว อย่างไรก็ตาม กฎข้อบังคับนี้ ใช้ ไม่ ได้ กับการซือ้ ของทุกชนิด ตัวอย่างเช่น คุณไม่สามารถเปลีย่ นใจหลังจากซือ้ ตัว๋ หรือส�ำรอง ทีพ่ กั หรือซือ้ เครือ่ งบันทึกเสียง หรือวิดี โอทีค่ ณ ุ เปิดบรรจุภณ ั ฑ์แล้ว ตลอดจนหนังสือพิมพ์ นิตยสาร และสินค้าอืน่ ๆ ทีเ่ สียง่าย เช่น ดอกไม้ หรืออาหาร นอกจากนี้ คุณยังมีสทิ ธิท์ ี่ จะได้รบั เงินคืนเต็มตามจ�ำนวน หากคุณไม่ ได้รบั สินค้าภายในวันทีท่ ตี่ กลงกันไว้ หรือภายใน เวลา 30 วัน ในกรณีที่ ไม่ ได้ตกลงวันทีก่ นั ไว้ If you are buying goods on the internet, it is important to make sure that you have the traders’ full address. You also need to make sure that the website offers a secure way of paying – this is shown by a small picture of a yellow padlock at the bottom of the screen. หากคุณซือ้ สินค้าทางอินเทอร์เน็ต คุณจะต้องแน่ ใจว่าคุณมีทอี่ ยูข่ องผูป้ ระกอบการค้าอย่าง ครบถ้วน เรือ่ งนีส้ ำ� คัญ นอกจากนัน้ คุณยังจ�ำเป็นต้องตรวจสอบให้มนั่ ใจว่า เว็บไซต์นนั้ ๆ มีระบบการช�ำระค่าสินค้าที่ปลอดภัย โดยสังเกตดูสัญลักษณ์รูปแม่กุญแจสีเหลืองเล็กๆ ตรงล่างสุดบนหน้าจอ
Life in the UK 271
Complaints
If a fault appears soon after you have bought an item and you are not responsible, you are entitled either to your money back or to a replacement. It is the shop’s responsibility to deal with a problem.
การร้องเรียน
หากสินค้ามีข้อบกพร่องเกิดขึ้นหลังจากที่คุณซื้อมาได้ ไม่นาน และข้อบกพร่องนั้นไม่ ได้ เกิดขึ้นจากการกระท�ำของคุณ คุณมีสิทธิ์ที่จะขอเงินคืน หรือขอเปลี่ยนสินค้าใหม่ ได้ ร้านค้ามีความรับผิดชอบทีจ่ ะต้องจัดการแก้ ไขปัญหาเหล่านีอ้ ยูแ่ ล้ว If an item worked well at first and then developed a fault, you may still be entitled to all or some of your money back, to be offered a replacement or to have the item repaired free of charge. The action taken will depend on how long you have had the goods, how serious the fault is and whether it is unreasonable for a fault to develop so soon. หากของทีค่ ณ ุ ซือ้ มาท�ำงานได้ดี ในตอนแรกๆ แต่เริม่ มีขอ้ บกพร่อง คุณอาจจะยังมีสทิ ธิท์ ี่ จะขอเงินคืนได้ทงั้ หมด หรือบางส่วน หรืออาจมีสทิ ธิข์ อเปลีย่ นสินค้าใหม่ หรือขอให้ซอ่ ม สินค้านัน้ ให้ โดยไม่ตอ้ งเสียเงิน ทัง้ นี้ ขึน้ อยูก่ บั ว่าคุณมีสนิ ค้าอยู่ ในความครอบครองนาน เท่าไร หรือสินค้านัน้ มีขอ้ บกพร่องมากน้อยเพียงใด และสมควรหรือไม่ทสี่ นิ ค้าจะเกิดปัญหา ข้อบกพร่องเร็วเช่นนี้
Paying by card
If you have used a credit card to buy something which cost between £100 and £30,000 and there is a problem with it, you can claim the money back from the credit card company. This can be useful if the trader does not help to solve the problem or has gone out of business.
การใช้บตั รในการช�ำระค่าสินค้า
หากคุณใช้บัตรเครดิตในการซื้อสินค้าที่มีราคาตั้งแต่ 100 ปอนด์ ถึง 30,000 ปอนด์ และมีปญ ั หากับสินค้านัน้ คุณสามารถเรียกร้องเงินคืนได้จากบริษทั บัตรเครดิต ซึง่ นับว่า มีประโยชน์ ในกรณีที่บริษัทผู้ประกอบการค้าไม่เต็มใจที่จะช่วยแก้ปัญหา หรือบริษัทนั้น เลิกกิจการไปแล้ว 272 Life in the UK
Help and advice
You can get advice from the Trading Standards Office, listed in the phone book under the local authority, or from the Citizens Advice Bureau.
ความช่วยเหลือและค�ำแนะน�ำ
คุณสามารถขอค�ำแนะน�ำได้จากส�ำนักงานก�ำกับดูแลมาตรฐานการค้า (Trading Standards Office) ทีม่ ชี อื่ ในสมุดโทรศัพท์ ภายใต้หวั ข้อองค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ หรือจากหน่วยงาน ให้คำ� แนะน�ำแก่ประชาชน You can check the prices and performance of many products in Which? an independent magazine. You can subscribe to the magazine or read it in the reference department of most public libraries. คุณสามารถตรวจสอบราคาและคุณภาพการท�ำงานของผลิตภัณฑ์หลายประเภทได้ ใน นิตยสาร Which? ที่ ให้ความคิดเห็นอย่างเป็นอิสระ คุณสามารถสมัครเป็นสมาชิก รับนิตยสารนี้ หรือหาอ่านได้ทหี่ มวดหนังสืออ้างอิงในห้องสมุดประชาชนส่วนใหญ่ โดยทัว่ ไป There is more information about consumer rights from the BBC website: www. bbc.co.uk You can also get information from the government’s official department which protects consumers – the Office of Fair Trading, www.oft.gov.uk นอกจากนี้ ยังมีขอ้ มูลเพิม่ เติมเกีย่ วกับสิทธิของผูบ้ ริโภคในเว็บไซต์ของบีบซี ี ที่ www.bbc. co.uk และคุณยังสามารถหาข้อมูลได้จากหน่วยงานราชการทีม่ หี น้าทีค่ มุ้ ครองผูบ้ ริโภค คือ ส�ำนักงานก�ำกับดูแลการค้าทีเ่ ป็นธรรม (Office of Fair Trading) เว็บไซต์ www.oft.gov.uk หมายเหตุ: โปรดอย่าลืมทบทวนบทเรียน (Check that you understand)
©Edu-Plus CIC of Dr. Khanungnit Garnett -Duang-dhamma Building, 49 Castle Street, Banbury OXON OX16 5NU
Life in the UK 273
Help and Information Chapter 8:
Sources of
ศูนย์บริการข้อมูลและความช่วยเหลือ
Sources of Help and Information
ในบทนี้เราจะมาเรียนรู้กันว่า เมื่อมีปัญหา คุณจะไปขอความช่วยเหลือและค�ำแนะน�ำได้ จากที่ ไหนบ้าง โดยเฉพาะส�ำหรับผูอ้ พยพและผูล้ ภี้ ยั นอกจากนี้ ยังจะมีเนือ้ หาเกีย่ วกับ ศูนย์บริการข้อมูล และหน่วยงานต่างๆ ทีค่ ณ ุ จะขอความช่วยเหลือและหาข้อมูลเพิม่ เติมได้ เช่น ห้องสมุด หน่วยงานให้คำ� แนะน�ำแก่ประชาชน ต�ำรวจ แหล่งข้อมูลอืน่ ๆ รวมถึงอินเทอร์เน็ต และยังมีคำ� แนะน�ำเกีย่ วกับวิธกี ารปฏิบตั เิ มือ่ ต้องการหาข้อมูลและขอค�ำปรึกษาด้วย
Introduction
In the UK, there are many different organisations offering all kinds of help and advice. In other chapters of this book there are details of where to go to get further information on a particular subject. This section tells you more about the services offered by advice centres, libraries and about other sources of information.
ค�ำน�ำ
ในสหราชอาณาจักรมีองค์กรต่างๆ มากมายที่ ให้บริการค�ำแนะน�ำและความช่วยเหลือ เพือ่ ช่วยแก้ปญ ั หาในทุกๆ ด้าน รายละเอียดเกีย่ วกับหน่วยงานส�ำหรับติดต่อขอข้อมูลเพิม่ เติมในเรือ่ งทีต่ อ้ งการมีอยู่ ในบทอืน่ ๆ ในหนังสือเล่มนี้ ส�ำหรับในบทนีจ้ ะมีเนือ้ หาเพิม่ เติม เกีย่ วกับการให้บริการต่างๆ ส�ำหรับประชาชน โดยศูนย์ ให้คำ� แนะน�ำและห้องสมุด รวมถึง แหล่งข้อมูลอืน่ ๆ
Be prepared
When you are looking for information or help, consider following advice: Before you ask for information think carefully about what you need to know. Make a few notes about the key things you want to know Take a pen and paper to make notes about the information you receive If you do not understand English very well, take someone with you to help, or ask if there is an interpreter available Take all the relevant documents with you. Sometimes you will have an account or reference number for your case Try avoiding long explanations Life in the UK 277
Make a note of the name of the person you talk to so you can refer to it if you need to phone or visit again
การเตรียมตัวล่วงหน้า
ในการหาข้อมูล หรือขอความช่วยเหลือ คุณควรปฏิบตั ติ ามค�ำแนะน�ำต่อไปนี้ เมือ่ ต้องการติดต่อขอข้อมูล คุณควรคิดเตรียมการให้รอบคอบเสียก่อนว่า มีอะไรบ้างทีค่ ณ ุ ต้องการทราบ และจดสิง่ ส�ำคัญๆ ทีค่ ณ ุ ต้องการทราบไว้ลว่ งหน้า น�ำสมุดและปากกาติดตัวไปด้วย เพือ่ จะได้จดบันทึกข้อมูลทีค่ ณ ุ ได้รบั หากคุณมีปญ ั หาไม่เข้าใจภาษาอังกฤษ ให้หาคนทีส่ ามารถช่วยเหลือคุณได้ ไปเป็นเพือ่ น หรือ สอบถามว่ามีลา่ มแปลให้หรือไม่ น�ำเอกสารทั้งหมดที่เกี่ยวข้องติดตัวคุณไปด้วย บางครั้งคุณจะมีหมายเลขเรื่อง หรือ หมายเลขอ้างอิงส�ำหรับกรณีของคุณ พยายามอย่าพูดอธิบายยาวจนเกินไป จดชือ่ ของบุคคลทีค่ ณ ุ พูดคุยด้วย เพือ่ จะได้อา้ งถึง หากคุณจ�ำเป็นต้องโทรศัพท์ตดิ ต่อ หรือ ไปหาเขาอีก
Public libraries
Every town and city in the UK has one or more public libraries. You can find the address of your local library in the phone book. Most of the services offered by public libraries are free. They are paid for by national and local taxes. Anyone may use a local library, but if you want to borrow books and other items you usually have to become a member. To become a member you usually have to show proofs of identity and your address.
ห้องสมุดประชาชน
ในเมืองเล็กเมืองใหญ่ตา่ งๆ ในสหราชอาณาจักรจะมีหอ้ งสมุดประชาชนหนึง่ หรือสองแห่ง ขึน้ ไป คุณสามารถหาทีอ่ ยูข่ องห้องสมุดประชาชนใกล้บา้ นได้ ในสมุดโทรศัพท์ ห้องสมุด ประชาชนมีบริการต่างๆ มากมาย และส่วนใหญ่เป็นบริการฟรี บริการเหล่านี้ ได้รบั เงิน สนับสนุนที่ ได้มาจากการเก็บภาษีเทศบาลและภาษีทั่วประเทศ ทุกคนสามารถใช้บริการ
278 Life in the UK
ห้องสมุดได้ แต่หากคุณต้องการยืมหนังสือหรือของในรายการอืน่ ๆ จากห้องสมุด ปกติแล้ว คุณจะต้องสมัครเป็นสมาชิกห้องสมุดเสียก่อน โดยน�ำหลักฐานพิสูจน์ตัวตนและที่อยู่ ของคุณไปแสดง
Children
There is usually a separate section of the library for children. Libraries encourage children to read books and sometimes there are special reading activities for children.
บริการส�ำหรับเด็ก
ห้องสมุดส่วนใหญ่จะมีหมวดหนังสือส�ำหรับเด็กแยกต่างหาก เด็กๆ จะได้รบั การส่งเสริม ให้อ่านหนังสือในห้องสมุด และบางครั้งจะมีการจัดกิจกรรมการอ่านหนังสือส�ำหรับเด็ก เป็นพิเศษในห้องสมุด
Books and other items
Members can borrow books for a specific period of time. At some libraries it is possible to borrow CDs, audiotapes and DVDs. There are often books in languages other than English. There are also books on audiotape (called ‘talking books’) and books with large print for people with sight problems. If you do not return books and other items on time, you will have to pay a fine. If the library does not have a book you need, they can usually order it for you from another library.
หนังสือและรายการอืน่ ๆ
สมาชิกห้องสมุดสามารถยืมหนังสือไปอ่านได้ภายในเวลาทีก่ ำ� หนด และยังสามารถยืมซีดี เทปคาสเซ็ตต์ และดีวดี ี ได้ทหี่ อ้ งสมุดบางแห่ง นอกจากนี้ ห้องสมุดมักจะมีหนังสือในภาษา อืน่ ๆ นอกเหนือจากภาษาอังกฤษ และมีหนังสือทีอ่ า่ นอัดเสียงไว้ ในเทป (เรียกว่า ‘หนังสือ พูดได้’) และหนังสือทีม่ ตี วั พิมพ์ขนาดใหญ่สำ� หรับผูท้ มี่ ปี ญ ั หาในเรือ่ งสายตา หากคุณยืม หนังสือ หรือของอืน่ ๆ ไป แล้วส่งคืนไม่ตรงเวลา คุณจะต้องเสียค่าปรับ หากไม่มหี นังสือ ทีค่ ณ ุ ต้องการ ห้องสมุดส่วนใหญ่สามารถสัง่ หนังสือนัน้ จากห้องสมุดทีอ่ นื่ มาให้คณ ุ ได้
Life in the UK 279
Reference
In the reference section there are books such as dictionaries, encyclopaedias, telephone directories, Yellow Pages and Thomson Local guides. Sometimes there are newspapers. The reference section is helpful if you need information on something in particular. The library is also a good place to ask about local and community facilities and events. If you do not understand English very well, some libraries might offer a translation service.
หนังสืออ้างอิง
ในหมวดหนังสืออ้างอิงจะมีหนังสือประเภทพจนานุกรม สารานุกรม สมุดโทรศัพท์ สมุดโทรศัพท์หน้าเหลือง และสมุดคู่มือแนะนธุรกิจและสถานที่สำ� คัญๆ ในท้องถิ่นของ ทอมสัน บางครัง้ ก็จะมีหนังสือพิมพ์ ให้อา่ นด้วย หมวดหนังสืออ้างอิงมีประโยชน์ ในกรณีที่ คุณต้องการข้อมูลเจาะจงเฉพาะด้าน นอกจากนี้ ห้องสมุดยังเป็นสถานทีเ่ หมาะอย่างยิง่ ส�ำหรับสอบถามเกีย่ วกับสิง่ อ�ำนวยความสะดวกและงานต่างๆ ทีจ่ ดั ขึน้ ในชุมชน หากคุณ มีปญ ั หาไม่คอ่ ยเข้าใจภาษาอังกฤษ ห้องสมุดบางแห่งอาจมีบริการแปลให้คณ ุ ด้วย
Computers, photocopiers and fax machines
Libraries also have computers which the public can use to do word processing, send and receive emails and browse the internet. It is also possible in some libraries to photocopy and to send faxes. There might be a charge for these services.
คอมพิวเตอร์ เครือ่ งถ่ายเอกสาร และเครือ่ งรับส่งแฟกซ์
ห้องสมุดยังมีคอมพิวเตอร์ส�ำหรับให้ประชาชนทั่วไปสามารถเข้ามาใช้ เพื่อพิมพ์เอกสาร และรับส่งอีเมล์ หรือท่องอินเทอร์เน็ตได้ นอกจากนัน้ คุณยังสามารถถ่ายเอกสาร หรือ รับส่งแฟกซ์ได้ ในห้องสมุดบางแห่ง แต่คณ ุ อาจต้องช�ำระค่าบริการเหล่านี้
Citizens Advice Bureau
The Citizens Advice Bureau (CAB) gives free, confidential and impartial advice. It is an independent organisation with trained advisers. Most towns and cities have a CAB office. You can find the address in the phone book, the local library or visit the CAB website at www.nacab.org.uk. Before you visit a CAB office, you should check the opening times of your local office. Help is also available by email. Details about this are available on the website. 280 Life in the UK
หน่วยงานให้คำ� แนะน�ำแก่ประชาชน (Citizens Advice Bureau)
หน่วยงานให้ค�ำแนะน�ำแก่ประชาชน (CAB) จะให้คำ� แนะน�ำที่เป็นกลางและลับเฉพาะ ส�ำหรับทุกคนโดยไม่คดิ ค่าบริการ หน่วยงานอิสระนีม้ ที ปี่ รึกษาทีผ่ า่ นการอบรมมาแล้ว ใน เมืองเล็กเมืองใหญ่สว่ นมากจะมีสำ� นักงาน CAB ตัง้ อยู่ คุณสามารถหาทีอ่ ยูข่ อง CAB ได้ ในสมุดโทรศัพท์ หรือทีห่ อ้ งสมุดใกล้บา้ น หรือเข้าไปในเว็บไซต์ของ CAB ที่ www.nacab. org.uk หากคุณจะไปทีส่ ำ� นักงาน CAB คุณควรตรวจเช็คเวลาเปิดท�ำการของส�ำนักงาน CAB ในท้องถิน่ เสียก่อน นอกจากนัน้ คุณยังสามารถปรึกษาขอความช่วยเหลือได้ทางอีเมล์ โดยหาดูรายละเอียดนี้ ได้ ในเว็บไซต์
Practical help
CABs give advice and help across a wide range of topics. These include money, benefits, pensions, employment, the NHS, housing, immigration, domestic violence and consumer problems.
ความช่วยเหลือทีม่ ปี ระโยชน์
หน่วยงาน CAB จะให้คำ� แนะน�ำและความช่วยเหลือ เพือ่ แก้ ไขปัญหาในด้านต่างๆ ได้แก่ ปัญหาด้านการเงิน การขอเงินช่วยเหลือจากรัฐ เงินบ�ำนาญ การท�ำงาน บริการอนามัย แห่งชาติ (NHS) ปัญหาทีอ่ ยูอ่ าศัย การเข้าเมือง ความรุนแรงในครอบครัว และปัญหา ของผูบ้ ริโภค The CAB can also help with completing forms and writing letters. They can also help if you have to go to court or a tribunal. If you have problems understanding English they may be able to provide interpreters. The CAB also runs an information website at www.adviceguide.org.uk which gives information on a wide range of topics. It is available in English, Welsh, Bengali, Chinese, Gujarati, Punjabi and Urdu. นอกจากนี้ หน่วยงาน CAB ยังสามารถช่วยเหลือคุณในการกรอกแบบฟอร์มและเขียน จดหมาย และให้ความช่วยเหลือในกรณีที่คุณต้องไปขึ้นศาลทั่วไป หรือศาลช�ำระความ พิเศษได้ดว้ ย หากคุณมีปญ ั หาไม่เข้าใจภาษาอังกฤษ หน่วยงานนีอ้ าจช่วยจัดหาล่ามให้คณ ุ ได้ หน่วยงาน CAB ยังมีเว็บไซต์ www.adviceguide.org.uk ซึง่ จะให้ขอ้ มูลทีม่ ปี ระโยชน์ ในเรือ่ งต่างๆ มากมาย ทัง้ ทีเ่ ป็นภาษาอังกฤษ ภาษาเวลส์ ภาษาเบงกาลี ภาษาจีน ภาษา คุชราต ภาษาปัญจาบ และภาษาอูรดู Life in the UK 281
The police service
The main role of the police is to deal with crime, but they also offer protection and assistance to the public. They are expected to be friendly and helpful to people seeking their assistance. If you are worried about your personal safety or have a question about the law or crime, the police will be able to help you. In some parts of the country there are special telephone information lines for this purpose. In many communities there are community support officers (CSOs) who work at a local level to provide a visible presence on the streets and reassure local people. They may give talks on safety issues in schools and community centres and generally help the police with their local duties.
การให้บริการของต�ำรวจ
ต�ำรวจมีบทบาทหลักทีส่ ำ� คัญในการปราบปรามอาชญากรรม และมีหน้าที่ ให้ความคุม้ ครอง และความช่วยเหลือแก่ประชาชนทัว่ ไปด้วย ต�ำรวจควรเป็นมิตรและช่วยเหลือผูท้ ตี่ อ้ งการ ความช่วยเหลืออย่างจริงจัง หากคุณวิตกกังวลเกีย่ วกับความปลอดภัยของตัวคุณ หรือมี ข้อสงสัยเกีย่ วกับกฎหมายหรืออาชญากรรม ต�ำรวจจะสามารถช่วยเหลือคุณได้ ในบาง ส่วนของประเทศจะมีบริการโทรศัพท์เพือ่ จุดประสงค์นเี้ ป็นพิเศษ และในชุมชนหลายแห่ง จะมีเจ้าหน้าทีส่ นับสนุนชุมชน (CSO) ท�ำงานในท้องที่ เพือ่ ช่วยให้คนในชุมชนรูส้ กึ อุน่ ใจที่ ได้เห็นเจ้าหน้าทีป่ ฏิบตั งิ านตามถนน เจ้าหน้าทีเ่ หล่านีอ้ าจไปบรรยายในเรือ่ งความปลอดภัย ตามโรงเรียน และศูนย์ชุมชนต่างๆ และช่วยเหลือต�ำรวจในการปฏิบัติหน้าที่ทั่วไปใน ท้องถิน่ ของตน
Contacting the police
If you need advice or you need to report a crime which is not dangerous or life-threatening you should phone the local police station. The number is in the telephone book under ‘Police’. DO NOT phone 999 or 112 unless there is an emergency.
การติดต่อกับต�ำรวจ
หากคุณต้องการค�ำแนะน�ำ หรือต้องการรายงานเหตุอาชญากรรมที่ ไม่รา้ ยแรง หรือไม่ เป็นภัยคุกคามต่อชีวติ ของคุณ คุณควรโทรศัพท์ไปทีส่ ถานีตำ� รวจท้องถิน่ คุณสามารถหา หมายเลขโทรศัพท์นี้ ได้ ในสมุดโทรศัพท์ภายใต้หวั ข้อ ‘ต�ำรวจ’ แต่หา้ มโทรฯ หมายเลข 999 หรือ 112 ยกเว้นกรณีทมี่ เี หตุฉกุ เฉินเกิดขึน้ จริงๆ 282 Life in the UK
If there is a danger to life or a crime in progress, dial 999 or 112. The operator will ask which service you require: police, fire, ambulance or coastguard service. You will be asked where you are calling from and the location of the accident or emergency. Do not call 999 or 112 under any other circumstances. เมือ่ ชีวติ ตกอยู่ ในอันตราย หรือก�ำลังมีอาชญากรรมเกิดขึน้ ให้ โทรศัพท์ตดิ ต่อหมายเลข 999 หรือ 112 พนักงานรับสายจะถามคุณว่า คุณต้องการความช่วยเหลือจากหน่วยงาน ไหน ต�ำรวจ หน่วยดับเพลิง รถพยาบาล หรือหน่วยรักษาการณ์ชายฝัง่ และจะถามต่อไปว่า คุณโทรศัพท์มาจากที่ ไหน และสถานทีเ่ กิดอุบตั เิ หตุ หรือเหตุฉกุ เฉินอยูท่ ี่ ใด ห้ามโทรศัพท์ หมายเลข 999 หรือ 112 ในสถานการณ์อนื่ ๆ เป็นอันขาด
The Fire Service
The fire service (known in some areas as the fire and rescue service) can often help with fire safety and fire prevention. This includes giving advice about what to do if there is a fire, how to make a fire escape plan for you and your family and advice on fire hazards in the home. In some areas there are free home fire safety checks and the fire service might be able to fit smoke detectors, especially for the elderly. For further information contact your local fire service (the number is in the telephone book under ‘Fire’) or go to www.fire.gov.uk
หน่วยดับเพลิง
หน่วยดับเพลิง (ในบางพื้นที่เรียกว่า หน่วยกู้ภัยและดับเพลิง) จะให้ความช่วยเหลือ ในด้านความปลอดภัยจากอัคคีภัยและการป้องกันอัคคีภัย ตลอดจนให้ค�ำแนะน�ำว่า ควรปฏิบัติอย่างไรในกรณี ไฟไหม้ รวมทั้งการวางแผนหนี ไฟล่วงหน้าส�ำหรับตัวคุณและ ครอบครัว และให้ค�ำแนะน�ำเกี่ยวกับอันตรายจากไฟในบ้าน นอกจากนั้น ในบางเขต พืน้ ทีย่ งั มีการตรวจเช็คอันตรายจากอัคคีภยั ภายในบ้าน และเจ้าพนักงานดับเพลิงอาจมา ติดตัง้ เครือ่ งตรวจจับควันไฟให้ โดยเฉพาะส�ำหรับผูส้ งู อายุ คุณสามารถหาข้อมูลเพิม่ เติม ได้ โดยติดต่อหน่วยดับเพลิงในท้องถิน่ (หมายเลขโทรศัพท์อยู่ ใต้หวั ข้อ ‘ไฟ’) หรือเข้าไปที่ เว็บไซต์ www.fire.gov.uk
Life in the UK 283
Other sources of information
Yellow Pages: a yellow telephone directory which gives details of organisations, services and businesses in the local area. There is also at website at: www.yell.com Thomson Local: a guide to your local area (available in Great Britain) similar to the Yellow Pages Local authorities: all give information about their services such as education and social services. The numbers for each section of the local authority can be found in the phone book. Most local authorities have useful websites. Some have information and advice centres open to the public. Tourist information centres: give information about local attractions as well as on transport, places of worship, doctor’s surgeries and so on. Post offices: the main role of the post office is to collect and deliver mail. They also provide information about benefits and state pensions. You can also open a bank account at the post office and pay bills. At the post office you get application forms for driving licences, other licences and passports. They can also check passport applications before you send the to the passport office. Helplines: many organisations have special telephone lines which give advice on specific issues or problems. You can get these from the CAB or public library or from the internet (see below). Newspapers: these are either national or local. Local newspapers are good for local information such as the opening times of late night chemists. Television and radio channels: these are either national or local. Local radio stations can be a good source of local information Directgov: this is a Government-sponsored website that gives information about local and national government issues, ranging from how you complete a tax return to how you renew a library book, www.direct.gov.uk
284 Life in the UK
แหล่งข้อมูลอืน่ ๆ
สมุดหน้าเหลือง คือ สมุดโทรศัพท์หน้าเหลืองทีม่ รี ายละเอียดเกีย่ วกับองค์กร หน่วยงาน และผูป้ ระกอบธุรกิจต่างๆ ในเขตท้องถิน่ และยังมีเว็บไซต์ ให้ดว้ ยที่ www.yell.com สมุดโทรศัพท์ของทอมสัน (Thomson Local) เป็นคูม่ อื แนะน�ำเขตท้องถิน่ ของคุณ (หาได้ ในบริเตนใหญ่) คล้ายกับสมุดหน้าเหลือง องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ - องค์กรเหล่านีจ้ ะให้ขอ้ มูลเกีย่ วกับการให้บริการต่างๆ แก่ ประชาชน เช่น การศึกษา และสังคมสงเคราะห์ คุณสามารถหาหมายเลขโทรศัพท์ของ แต่ละหน่วยงานในสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นได้ ในสมุดโทรศัพท์ องค์กรเหล่านี้ ส่วนใหญ่จะมีเว็บไซต์ที่มีข้อมูลที่มีประโยชน์ และบางแห่งจะเปิดศูนย์บริการข้อมูลและ ค�ำแนะน�ำส�ำหรับประชาชนทัว่ ไป ศูนย์บริการข้อมูลส�ำหรับนักท่องเที่ยว : ศูนย์ฯ เหล่านี้จะให้ข้อมูลเกี่ยวกับสถานที่น่า ท่องเทีย่ วในท้องถิน่ และระบบการคมนาคมส�ำหรับการเดินทาง ศาสนสถาน คลินกิ หรือ ศูนย์การแพทย์ ฯลฯ ทีท่ ำ� การไปรษณีย์ มีหน้าทีห่ ลักในการเก็บรวบรวมและส่งไปรษณียภัณฑ์ อย่างไรก็ตาม ที่ท�ำการไปรษณีย์ยังเป็นสถานที่ที่คุณจะหาข้อมูลเกี่ยวกับเงินช่วยเหลือจากรัฐ และเงิน บ�ำนาญของรัฐได้ดว้ ย นอกจากนี้ คุณยังสามารถเปิดบัญชีธนาคาร และช�ำระค่าบริการ ต่างๆ ได้ ณ ที่ท�ำการไปรษณีย์ และสามารถขอแบบฟอร์มเพื่อยื่นค�ำขอใบขับขี่ หรือ ใบอนุญาตอืน่ ๆ และหนังสือเดินทางได้ ณ ทีท่ ำ� การไปรษณียเ์ ช่นกัน พนักงานในทีท่ ำ� การ ไปรษณียย์ งั สามารถให้ความช่วยเหลือในการตรวจเช็คใบค�ำขอหนังสือเดินทาง ก่อนทีค่ ณ ุ จะส่งไปยังส�ำนักงานหนังสือเดินทางให้คณ ุ ได้ดว้ ย สายให้ความช่วยเหลือ - องค์กรหลายแห่งมีบริการโทรศัพท์สายพิเศษส�ำหรับให้คำ� แนะน�ำ เกีย่ วกับปัญหาหรือเรือ่ งบางอย่างโดยเฉพาะ คุณสามารถขอข้อมูลเกีย่ วกับบริการสายให้ ความช่วยเหลือเหล่านี้ ได้ที่หน่วยงานให้ค�ำแนะน�ำแก่ประชาชน (CAB) หรือที่ห้องสมุด ประชาชน หรือจากอินเทอร์เน็ต (ดูขา้ งล่าง) หนังสือพิมพ์ - จะเป็นหนังสือพิมพ์ระดับชาติ หรือท้องถิน่ ก็ ได้ หนังสือพิมพ์ทอ้ งถิน่ เหมาะ ส�ำหรับการหาข้อมูลในท้องถิ่น เช่น เมื่อต้องการทราบเวลาเปิดท�ำการของร้านขายยา ทีเ่ ปิดตอนดึก เป็นต้น รายการโทรทัศน์และวิทยุชอ่ งต่างๆ ซึง่ อาจเป็นรายการทัว่ ประเทศ หรือรายการในท้องถิน่ สถานีวทิ ยุในท้องถิน่ เหมาะอย่างยิง่ ส�ำหรับการหาข้อมูลในท้องถิน่ Life in the UK 285
เว็บไซต์ Directgov เป็นเว็บไซต์ที่ ได้รับการอุดหนุนจากรัฐ เว็บไซต์เหล่านี้จะให้ข้อมูล ในเรื่องต่างๆ ที่เกี่ยวกับรัฐบาลผู้ปกครองประเทศ หรือองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น นับตั้งแต่วิธีการกรอกแบบฟอร์มเสียภาษี ไปจนถึงวิธีการยืมต่อหนังสือของห้องสมุด www.direct.gov.uk
Using the internet
The internet can be accessed through a computer either at home, in the local library or in an internet café. To get information from the internet you need to know the address of a specific website (this usually begins with ‘www’) or you need to use a search engine. The most popular search engine is Google at: www.google.co.uk The search engine uses key words to find information about a specific thing. If you enter the key words (consumer rights, for example) into the search engine, it will look for both words separately and give you millions of results. If you put inverted commas around the words (‘consumer rights’) the search engine will look for websites only with words in this combination.
การใช้อนิ เทอร์เน็ต
คุณสามารถเข้าใช้อนิ เทอร์เน็ตได้จากคอมพิวเตอร์ทบี่ า้ น หรือทีห่ อ้ งสมุดประชาชน หรือ อินเทอร์เน็ตคาเฟ่ ในการหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต คุณจะต้องทราบที่อยู่ของเว็บไซต์ที่ ให้ขอ้ มูลนัน้ ๆ โดยเฉพาะ (ทีอ่ ยูเ่ ว็บไซต์ปกติจะขึน้ ต้นด้วย ‘www’) หรือคุณอาจจ�ำเป็น ต้องใช้เครือ่ งมือค้นหาข้อมูล เครือ่ งมือค้นหาซึง่ เป็นทีน่ ยิ มใช้กนั อย่างแพร่หลาย คือ กูเกิล้ (Google) ที่ www.google.co.uk เครือ่ งมือค้นหาจะใช้คำ� ทีต่ อ้ งการค้นหา (key words) เพื่อช่วยในการหาข้อมูลที่เจาะจง หากคุณพิมพ์ค�ำที่ต้องการค้นหา (ตัวอย่างเช่น สิทธิ ผูบ้ ริโภค) ลงไป เครือ่ งมือนีจ้ ะค้นหาแต่ละค�ำแยกกัน และแสดงผลลัพธ์ออกมาเป็นล้านๆ หากคุณใส่ค�ำเหล่านี้ ไว้ ในเครื่องหมายค�ำพูด (‘สิทธิผู้บริ โภค’) เครื่องมือนี้ก็จะค้นหา เว็บไซต์ โดยใช้สองค�ำนีร้ ว่ มกัน
Websites
There are many addresses of useful websites in this guide. A particularly useful website is the BBC website at www.bbc.co.uk This gives you access to local, national and international information and has a news service in over 40 languages. It also has sections on education, history, science, business and law and provides links to other valuable sources of information. 286 Life in the UK
เว็บไซต์
ในคู่มือนี้จะมีที่อยู่ของเว็บไซต์หลายแห่งที่มีประโยชน์ โดยเฉพาะเว็บไซต์ของบีบีซี ที่ www.bbc.co.uk เว็บไซต์นจี้ ะช่วยให้คณ ุ สามารถเข้าถึงข่าวสารข้อมูลเกีย่ วกับต่างประเทศ ภายในประเทศ และท้องถิน่ และมีบริการข่าวเป็นภาษาต่างๆ กว่า 40 ภาษา นอกจากนี้ ยังมีขา่ วสารข้อมูลในหมวดต่างๆ เช่น การศึกษา ประวัตศิ าสตร์ วิทยาศาสตร์ ธุรกิจ และ กฎหมาย และยังให้ลงิ ค์เชือ่ มโยงไปยังแหล่งข้อมูลอืน่ ๆ ทีม่ คี ณ ุ ค่าด้วย หมายเหตุ: โปรดอย่าลืมทบทวนบทเรียนท้ายบท (Make sure you understand)
©Edu-Plus CIC of Dr. Khanungnit Garnett -Duang-dhamma Building, 49 Castle Street, Banbury OXON OX16 5NU
Life in the UK 287
Chapter 9:
Building Better
Communities
การร่วมมือกันพัฒนาชุมชน
Building Better Communities
Building Better Communities
Becoming a British Citizen or becoming settled in the UK brings opportunities but also responsibilities. This section looks at some of the responsibilities and gives information about some of the many ways in which people can help to make their communities a better place to live and work.
การร่วมมือกันพัฒนาชุมชน
การมีสถานะเป็นพลเมืองอังกฤษ หรือตัง้ ถิน่ ฐานอยู่ ในสหราชอาณาจักร อาจช่วยให้คณ ุ มี โอกาสใหม่ๆ ทีเ่ ป็นประโยชน์ตอ่ ชีวติ ของคุณ แต่กน็ ำ� มาซึง่ ความรับผิดชอบต่างๆ ด้วยเช่นกัน ในบทนีเ้ ราจะมาเรียนรูถ้ งึ ความรับผิดชอบ ตลอดจนการมีสว่ นร่วมในการช่วยพัฒนาชุมชน ให้มคี ณ ุ ภาพทีด่ แี ละเหมาะสมส�ำหรับการท�ำงานและการอยูอ่ าศัยมากยิง่ ขึน้
Cohesive communities
Although Britain is one of the world’s most diverse societies, most people believe that there should be a set of shared values with which everyone can agree. Many of those values are mentioned in other parts of this book. There is a general principle that all people should respect the law and the rights to others. But in addition to obeying the law, people want to get on well with their neighbours and contribute to the well-being of all. The purpose of this book is to help new migrants who want to become settled in the UK or to become British Citizens to become more aware of the laws, customs and traditions here. Knowing about these things will make it easier to become a full and active citizen, but reading a book is no substitute for being part of society. By getting to know and understand your community, life will be better for everyone.
ชุมชนที่มีความเป็นเอกภาพ
อังกฤษเป็นประเทศหนึง่ ทีป่ ระกอบด้วยชุมชนต่างๆ ทีม่ คี วามหลากหลายทางเชือ้ ชาติและ วัฒนธรรมมากที่สุดในโลก อย่างไรก็ตาม ประชาชนส่วนใหญ่เห็นว่าสังคมอังกฤษควรมี ค่านิยมทีท่ กุ คนยอมรับร่วมกัน ซึง่ ค่านิยมเหล่านี้ ได้กล่าวไว้บา้ งแล้วในบทอืน่ ๆ ในหนังสือ เล่มนี้ หลักการทีเ่ ห็นพ้องกันโดยทัว่ ไปก็คอื ทุกคนควรเคารพกฎหมายและสิทธิของบุคคล อืน่ นอกเหนือจากการเชือ่ ฟังกฎหมายแล้ว เราทุกคนยังมีความปรารถนาทีจ่ ะเป็นมิตรและ เข้ากันได้กบั คนรอบข้าง และมีสว่ นร่วมในการพัฒนาคุณภาพความเป็นอยูข่ องคนในสังคม ด้วย หนังสือเล่มนี้ ได้จดั ท�ำขึน้ โดยมีจดุ ประสงค์เพือ่ ช่วยเหลือให้ผอู้ พยพกลุม่ ใหม่ทตี่ อ้ งการ จะตั้งรกรากอยู่ ในสหราชอาณาจักร หรือต้องการมีสถานะเป็นพลเมืองสัญชาติอังกฤษ Life in the UK 291
ได้เรียนรู้เกี่ยวกับกฎหมาย และขนบธรรมเนียมประเพณีของผู้คนในอังกฤษ การเรียนรู้ สิ่งเหล่านี้จะท�ำให้พวกเขาสามารถปรับตัวเข้าสู่การเป็นพลเมืองดีของอังกฤษได้ง่ายขึ้น อย่างไรก็ตาม การเป็นส่วนหนึ่งของสังคมจะเกิดขึ้นไม่ ได้เพียงแค่การอ่านหนังสือ การ ท�ำความรูจ้ กั และเข้าใจชุมชนทีค่ ณ ุ อาศัยอยูจ่ ะช่วยให้ชวี ติ ของทุกคนมีคณ ุ ภาพดียงิ่ ขึน้ Surveys have given us some very interesting about what makes people feel good or bad about the area they live in. Everyone should try to be a good neighbour. You can start to do this by introducing yourself to people who live next to you. It is good to avoid making too much noise to respect the privacy of your neighbours. One of the most common causes of complaint about neighbours is about leaving rubbish outside the house. So make sure you know what days you can put out your rubbish for it to be collected and that you know what arrangements there are in your area for recycling. ผลจากการส�ำรวจท�ำให้เราได้รบั ทราบข้อมูลทีน่ า่ สนใจบางประการ เราได้เรียนรูว้ า่ มีอะไรบ้าง ทีท่ ำ� ให้ผคู้ นมีความรูส้ กึ ในทางลบหรือทางบวกเกีย่ วกับบริเวณทีพ่ วกเขาอาศัยอยู่ ทุกคน ควรพยายามท�ำตัวเป็นเพือ่ นบ้านทีด่ ตี อ่ กัน เริม่ ด้วยการแนะน�ำตัวเองกับเพือ่ นบ้านทีอ่ าศัย อยูต่ ดิ กับคุณ และควรเคารพความเป็นส่วนตัวของคนรอบข้าง ด้วยการไม่ทำ� เสียงดังจน เกินไป นอกจากนี้ ยังมีสาเหตุหนึง่ ทีท่ ำ� ให้มผี รู้ อ้ งเรียนเกีย่ วกับเพือ่ นบ้านมากทีส่ ดุ นัน่ ก็คอื การน�ำขยะออกไปวางทิง้ ไว้ขา้ งนอกบ้าน ดังนัน้ คุณจึงควรตรวจสอบให้แน่ ใจว่าวันไหนบ้าง ที่พนักงานจะมาเก็บขยะ เพื่อว่าคุณจะได้น�ำขยะออกไปวางไว้ข้างนอกในวันที่ถูกต้อง และคุณควรทราบด้วยว่ามีการจัดการกับขยะรี ไซเคิลในเขตพื้นที่ของคุณอย่างไรบ้าง
Good citizens
A special survey – the UK Citizenship Survey in 2005 – tells us a great deal about what people think about the rights and responsibilities of being a citizen. The things that people strongly felt should be the responsibilities of all people living in the UK were: To obey and respect the law To raise children properly To treat others with fairness and respect 292 Life in the UK
To behave responsibly To help and protect your family To respect and preserve the environment To behave morally and ethically To treat all races equally To work to provide for yourself To help others To vote
คุณสมบัตขิ องพลเมืองดี
ผลการส�ำรวจเกีย่ วกับคุณสมบัตขิ องพลเมืองดี ในสหราชอาณาจักร ประจ�ำปี ค.ศ. 2005 ทีจ่ ดั ท�ำขึน้ เป็นพิเศษ ท�ำให้เราได้ทราบอะไรหลายอย่างเกีย่ วกับความคิดเห็นของผูค้ นใน เรือ่ งสิทธิและความรับผิดชอบของการเป็นพลเมืองอังกฤษ ผูค้ นมีความรูส้ กึ อย่างแรงกล้า ว่าคนทีอ่ าศัยอยู่ ในสหราชอาณาจักรควรมีหน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบ ดังต่อไปนี้ เชือ่ ฟังและเคารพกฎหมาย เลีย้ งดูบตุ รให้เติบโตเป็นคนดี ปฏิบตั ติ อ่ บุคคลอืน่ อย่างเป็นธรรมและด้วยความเคารพ ปฏิบตั ติ นด้วยความรับผิดชอบ ช่วยเหลือและคุม้ ครองครอบครัวของตนเอง เคารพและอนุรกั ษ์สงิ่ แวดล้อม ปฏิบตั ติ นตามหลักศีลธรรมและจริยธรรมอันดีงาม ปฏิบตั ติ อ่ ทุกคนอย่างเท่าเทียมกัน ไม่วา่ จะเป็นคนเชือ้ ชาติใด ท�ำงานหาเงินเลีย้ งชีพของตนเอง ช่วยเหลือผูอ้ นื่ ไปใช้สทิ ธิเลือกตัง้ Life in the UK 293
Supporting the community
There are a number of positive ways in which you can be a good citizen. These include:
การท�ำหน้าทีช่ ว่ ยเหลือชุมชน
คุณสามารถท�ำหน้าที่ของพลเมืองดี ได้ โดยการให้ความร่วมมือในการท�ำกิจกรรมต่างๆ ทีม่ ปี ระโยชน์ตอ่ สังคม ซึง่ ได้แก่
Jury service
Apart from getting the right to vote, people on the electoral register might be asked to serve on a jury (see page 90). Jurors are chosen at random from the electoral register. Anyone who is on the electoral register and is ages 18-70 can be asked to serve. The task of the jurors is to decide the outcome of a criminal trial in the Crown Court. They will be among many people chosen each year for jury service and they will have an opportunity to be involved in the legal system. Jurors hear the more serious criminal cases such as theft, burglary, and drugs offences. Jurors also hear cases involving murder and rape, although these types of cases are less common.
การท�ำหน้าที่ ในคณะลูกขุน
นอกเหนือจากการมีสทิ ธิลงคะแนนเสียงเลือกตัง้ แล้ว ประชาชนทีม่ ชี อื่ ในทะเบียนผูม้ สี ทิ ธิ เลือกตัง้ อาจได้รบั การขอร้องให้ทำ� หน้าที่ ในคณะลูกขุน (ดูหน้า 90) ด้วย ผูท้ ที่ ำ� หน้าที่ ใน คณะลูกขุนจะได้รบั การสุม่ เลือกจากรายชือ่ ในทะเบียนผูม้ สี ทิ ธิเลือกตัง้ ใครก็ตามทีม่ ชี อื่ ใน ทะเบียนผูม้ สี ทิ ธิเลือกตัง้ และมีอายุตงั้ แต่ 18 ถึง 70 ปี สามารถทีจ่ ะถูกเรียกตัวให้มาท�ำ หน้าทีน่ ี้ ได้ คณะลูกขุนมีหน้าทีต่ ดั สินการพิจารณาคดี ในศาลสูงคดีอาญา ทุกๆ ปีจะมีการ สุม่ เลือกสมาชิกคณะลูกขุนเหล่านีจ้ ากคนจ�ำนวนมาก เพือ่ ให้มาท�ำหน้าที่ ในคณะลูกขุน ซึง่ เป็นการเปิดโอกาสให้ประชาชนได้มสี ว่ นเกีย่ วข้องในกระบวนการกฎหมาย คณะลูกขุนจะ รับฟังการพิจารณาคดีอาชญากรรมที่ร้ายแรง เช่น คดีลักทรัพย์ ปล้นทรัพย์ และคดี ยาเสพติด นอกจากนี้ คณะลูกขุนยังต้องรับฟังการพิจารณาคดีต่างๆ ที่เกี่ยวกับการ ฆาตกรรม และการข่มขืนด้วย แต่คดีเหล่านีม้ ี ไม่มากนัก
294 Life in the UK
Their task is to consider the evidence presented throughout the trial and then reach a verdict of ‘guilty’ or ‘not guilty’ based on that evidence. คณะลูกขุนมีหน้าที่พิจารณาพยานหลักฐานที่มีการน�ำเสนอตลอดการพิจารณาคดี และ ลงความเห็นตัดสินชีข้ าดว่าจ�ำเลย ‘ผิด’ หรือ ‘ไม่ผดิ ’ โดยดูจากพยานหลักฐานนัน้ ๆ Because jurors are randomly selected they represent all sections of society. They will be asked to take an unbiased approach to the case to ensure that a fair trial takes place. Being a juror is a very important role and is a chance to do something positive for the community. Some people are not qualified for jury service and others might be excused from doing it. More details can be found on the Department for Constitutional Affairs website, www.dca.gov.uk เนื่องจากสมาชิกในคณะลูกขุนถูกสุ่มเลือกให้มาท�ำหน้าที่ คนเหล่านี้จึงเป็นตัวแทนของ ประชาชนจากทุกภาคส่วนของสังคม ศาลจะขอให้ลูกขุนเหล่านี้ท�ำหน้าที่พิจารณาพยาน หลักฐานในคดีดว้ ยความเป็นกลาง เพือ่ ให้มนั่ ใจว่ามีการพิจารณาคดีอย่างเป็นธรรม การ ท�ำหน้าที่ ในคณะลูกขุนเป็นบทบาทที่ส�ำคัญมาก และเปิดโอกาสให้ประชาชนได้ท�ำสิ่งที่มี ประโยชน์ตอ่ สังคม คนบางคนไม่มคี ณ ุ สมบัติในการท�ำหน้าที่ ในคณะลูกขุน และบางคนอาจ ได้รบั การยกเว้นจากการท�ำหน้าทีน่ ี้ คุณสามารถหารายละเอียดเพิม่ เติมได้ ในเว็บไซต์ของ แผนกงานรัฐธรรมนูญ (Department for Constitutional Affairs) ที่ www.dca.gov.uk
Helping at schools
If you have children, there are many ways in which you can help at their schools. Often, parents can help in classrooms or during mealtimes by helping to supervise activities or helping children with their reading. Often you will find out about these opportunities by notices in the school or from notes your children bring home.
การช่วยเหลือที่ โรงเรียน
หากคุณมีลกู คุณสามารถทีจ่ ะช่วยท�ำสิง่ ต่างๆ ได้มากมายในโรงเรียนทีล่ กู เรียนอยู่ ส่วนใหญ่ ผูป้ กครองสามารถทีจ่ ะให้ความช่วยเหลือได้ ในห้องเรียน หรือในช่วงพักรับประทานอาหาร โดยช่วยควบคุมดูแลการท�ำกิจกรรมต่างๆ ของเด็ก หรือช่วยเด็กหัดอ่านหนังสือ คุณ สามารถหาข้อมูลเกีย่ วกับการช่วยเหลือโรงเรียนได้จากประกาศทีต่ ดิ ไว้ ในโรงเรียน หรือ จากจดหมายทีล่ กู ๆ น�ำมาทีบ่ า้ น Life in the UK 295
Many schools organise events to raise money for extra equipment or out of school activities. Activities might include book sales, toy sales, or bringing food to sell. You might have good ideas of your own for raising money. Sometimes events are organised by parent and staff associations (PSAs). These are also known as parent teacher associations (PTAs) and volunteering to help with events or joining the association is a way of doing something good for the school and also making new friends in your local community. โรงเรียนหลายแห่งจะจัดงานกิจกรรมเพื่อหาเงินมาซื้ออุปกรณ์พิเศษ หรือเพื่อการท�ำ กิจกรรมนอกโรงเรียน การจัดงานหาเงินเหล่านีอ้ าจรวมถึง การขายหนังสือ ขายของเล่น หรือน�ำอาหารมาขาย คุณเองอาจมีความคิดดีๆ เกีย่ วกับวิธกี ารทีจ่ ะช่วยหาเงินเข้าโรงเรียน ได้บ้าง งานต่างๆ เหล่านี้บางทีก็จัดขึ้นโดยสมาคมผู้ปกครองและคณาจารย์ (PSAs) ซึง่ บางทีเรียกกันว่า สมาคมครูและผูป้ กครอง (PTAs) การเสนอตัวเป็นอาสาสมัครเพือ่ ช่วยเหลือในงานส�ำคัญๆ หรือเข้าร่วมเป็นสมาชิกของสมาคม เป็นการท�ำสิง่ ทีเ่ ป็นประโยชน์ ต่อโรงเรียน และจะท�ำให้คณ ุ ได้มเี พือ่ นใหม่ๆ ในชุมชนนัน้ ๆ ด้วย
School governors
School governors are people from the school community who wish to make a positive contribution to children’s education. They must be aged 18 or over at the date of their election or appointment. There is no upper age limit.
คณะกรรมการปกครองโรงเรียน
คณะกรรมการปกครองโรงเรียนเป็นคนที่มาจากชุมชนของโรงเรียนนั้นๆ และเป็นผู้ที่ ปรารถนาจะมีส่วนร่วมในการท�ำสิ่งที่เป็นประโยชน์ต่อการศึกษาของเด็ก กรรมการจะ ต้องมีอายุ 18 ปีขนึ้ ไปในวันที่ ได้รบั เลือกตัง้ หรือได้รบั การแต่งตัง้ และไม่มกี ารจ�ำกัดอายุ สูงสุดของกรรมการ Governors are a large volunteer force and have an important part to play in raising school standards. They have three key roles of setting strategic direction, ensuring accountability and monitoring and evaluating school performance. คณะกรรมการปกครองโรงเรียนเป็นอาสาสมัครกลุ่มใหญ่ ที่มีบทบาทส�ำคัญในการยก ระดับมาตรฐานการศึกษาของโรงเรียน คณะกรรมการนีม้ บี ทบาททีส่ ำ� คัญ 3 ประการ คือ 1. ก�ำหนดทิศทางของแผนการด�ำเนินงาน 2. ตรวจสอบความรับผิดชอบ และ 3. ก�ำกับ ดูแลและประเมินผลการท�ำงานของโรงเรียน 296 Life in the UK
You can contact your local school to ask if they need a new governor. Your local education authority (LEA) will be able to help you find a school or to advise on opportunities to become an LEA governor. คุณสามารถติดต่อสอบถามโรงเรียนใกล้บ้านได้ว่าต้องการกรรมการคนใหม่หรือไม่ หน่วยงานก�ำกับดูแลการศึกษาในท้องถิน่ (LEA) ของคุณ จะสามารถช่วยคุณหาโรงเรียน หรือให้คำ� แนะน�ำเกีย่ วกับการเสนอตัวเป็นกรรมการของหน่วยงาน LEA ได้
Political parties
Political parties always welcome new members, and joining a political party is an important way of demonstrating support for the views you hold and for the democratic process. Political parties are especially busy at election times, when their members work hard to persuade people to vote for their candidates, for instance by handing out leaflets in the street or by knocking on people’s doors and asking for support. Becoming a British Citizen allows you to stand for office as a local Councillor or as a Member of Parliament and so provides an opportunity for becoming even more involved in the political life of the UK.
พรรคการเมือง
พรรคการเมืองยินดีตอ้ นรับสมาชิกใหม่อยูเ่ สมอ การเข้าร่วมเป็นสมาชิกพรรคการเมืองเป็น วิธีการที่ส�ำคัญอย่างหนึ่งในการสนับสนุนความคิดเห็นที่เป็นจุดยืนของคุณ และส่งเสริม กระบวนการประชาธิปไตย ปกติพรรคการเมืองจะมีกจิ กรรมมากมายเป็นพิเศษในช่วงการ เลือกตัง้ ลูกพรรคจะท�ำงานหนักเพือ่ ชักชวนให้ประชาชนไปลงคะแนนเลือกผูส้ มัครในสังกัด พรรคการเมืองของตน โดยการแจกจ่ายใบปลิว หรือไปเคาะประตูบา้ นเพือ่ ขอเสียงสนับสนุน เมือ่ คุณเป็นพลเมืองอังกฤษแล้ว คุณจะมีสทิ ธิล์ งสมัครรับเลือกตัง้ เป็นสมาชิกสภาเทศบาล หรือสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร คุณจึงมี โอกาสที่จะเข้าไปมีส่วนร่วมในชีวิตการเมืองของ สหราชอาณาจักรได้มากยิง่ ขึน้
Life in the UK 297
Local Services
Many local providers want to involve local people in decisions about the way in which they work. There are opportunities to serve as a Board member in Primary Care Trusts or Regional Development Agencies. Universities, local Learning and Skills Councils, housing associations and arts councils also advertise for people to serve as volunteers in their governing bodies. It is also possible to become a lay (non-police) representative on a police authority or even to apply to become a magistrate. You will often find advertisements for vacancies in your local newspaper or on local radio.
บริการต่างๆ ในท้องถิน่
องค์กรผู้ ให้บริการในท้องถิน่ ต้องการให้ประชาชนในท้องทีเ่ ข้ามามีสว่ นร่วมในการตัดสินใจ เกีย่ วกับวิธกี ารด�ำเนินงานขององค์กร คุณมี โอกาสทีจ่ ะได้ท�ำหน้าทีเ่ ป็นกรรมการในบอร์ด คณะผู้บริหารการให้บริการสุขภาพอนามัยขั้นพื้นฐาน (Primary Care Trusts) หรือ หน่วยงานพัฒนาในเขตภูมิภาค นอกจากนั้น มหาวิทยาลัย สภาส่งเสริมทักษะและการ เรียนรู้ ตลอดจนสมาคมการเคหะ และสภาศิลปกรรมในท้องถิน่ ยังประกาศเชิญชวนให้ คนทั่วไปเข้ามาเป็นอาสาสมัครในคณะกรรมการปกครองขององค์กรด้วย คุณอาจจะมี โอกาสได้เป็นผูแ้ ทนซึง่ เป็นคนธรรมดาทัว่ ไป (ที่ ไม่ ใช่ตำ� รวจ) ขององค์กรต�ำรวจ หรือจะ สมัครเป็นผูพ้ พิ ากษาแมจิสเตรทก็ยงั ได้ ต�ำแหน่งว่างเหล่านีม้ กั จะประกาศในหนังสือพิมพ์ หรือตามสถานีวทิ ยุทอ้ งถิน่
Volunteering
Volunteering is working for good causes without payment. There are many benefits from volunteering. It gives you a chance to meet new people and can help if you are bored at home. Some volunteer activities might help you by giving you a chance to practice your English or to give you work skills that will help you find a job or improve your CV. But many people volunteer simply because they want to do something to help other people. Activities you can do as a volunteer include: helping the elderly youth work 298 Life in the UK
helping improve the environment working with the homeless mentoring work in health and hospitals working with animals
การท�ำงานอาสาสมัคร
งานอาสาสมัครเป็นการท�ำงานเพื่อส่วนรวมโดยไม่ ได้รับค่าตอบแทน แต่มีข้อดีหลาย ประการส�ำหรับอาสาสมัคร ที่เห็นได้ชัดข้อหนึ่งก็คือ คุณมี โอกาสที่จะได้พบและรู้จัก เพือ่ นใหม่ๆ และช่วยให้หายเหงาหากคุณเบือ่ ทีจ่ ะอยูท่ บี่ า้ น กิจกรรมอาสาสมัครบางอย่าง อาจช่วยให้คุณได้ฝึกใช้ภาษาอังกฤษ หรือเพิ่มพูนทักษะในการท�ำงานที่จะเป็นประโยชน์ ต่อการหางานของคุณ หรือช่วยให้ประวัติข้อมูลส่วนตัวของคุณ (CV) น่าสนใจมากขึ้น อย่างไรก็ตาม หลายคนท�ำงานเป็นอาสาสมัครเพียงเพราะต้องการทีจ่ ะท�ำอะไรบางอย่าง เพือ่ ช่วยเหลือผูอ้ นื่ เท่านัน้ เอง คุณสามารถทีจ่ ะท�ำงานอาสาสมัครได้ ดังนี้ ช่วยเหลือผูส้ งู อายุ ท�ำงานเกีย่ วกับเยาวชน ช่วยพัฒนาปรับปรุงสิง่ แวดล้อม ท�ำงานช่วยเหลือผู้ ไร้ทอี่ ยูอ่ าศัย เป็นพีเ่ ลีย้ งคอยดูแลและให้คำ� ปรึกษา ท�ำงานในสถานีอนามัยและโรงพยาบาล ท�ำงานช่วยเหลือสัตว์
Life in the UK 299
Many charities want volunteers to help with their activities and to help them raise money. They often advertise in local newspapers and most charities have websites that will give you more information. If you want to volunteer you can get more information from www.do-it.org.uk which is a database of thousands of volunteering opportunities. องค์กรการกุศลหลายแห่งต้องการอาสาสมัครมาช่วยเหลือในการปฏิบัติงาน และจัด กิจกรรมหาเงินเข้าองค์กร และมักจะลงประกาศหาอาสาสมัครในหนังสือพิมพ์ท้องถิ่น องค์กรส่วนใหญ่จะมีเว็บไซต์ ให้ขอ้ มูลเพิม่ เติมส�ำหรับผูท้ สี่ นใจ หากคุณต้องการท�ำงานอาสา สมัคร คุณสามารถหาข้อมูลเพิม่ เติมได้ทเี่ ว็บไซต์ www.do-it.org.uk ซึง่ เป็นฐานข้อมูลทีม่ ี งานอาสาสมัครให้เลือกมากมาย In recognition of the important role volunteers and not-for-profit sector play in both society and the economy, the Office of the Third Sector (OTS) was set up in May 2006 to drive forward the Government’s role in supporting a thriving voluntary sector. The third sector includes voluntary and community organisations, charities, social enterprises and faith groups. รัฐบาลตระหนักดีว่าองค์กรอาสาสมัคร และองค์กรธุรกิจที่ ไม่หวังผลก�ำไร มีบทบาทที่ ส�ำคัญต่อความเจริญรุง่ เรืองของสังคมและเศรษฐกิจของชาติ ด้วยเหตุนี้ ส�ำนักงานส่งเสริม องค์กรภาคทีส่ าม (OTS) จึงได้กอ่ ก�ำเนิดขึน้ มาในเดือนพฤษภาคม ค.ศ. 2006 เพือ่ ให้รฐั มีบทบาทส่งเสริมองค์กรอาสาสมัครมากยิ่งขึ้น องค์กรภาคที่สามประกอบด้วย องค์กร ชุมชนและอาสาสมัคร องค์กรการกุศล องค์กรผูป้ ระกอบการเพือ่ สังคม และกลุม่ องค์กร เพือ่ การศาสนา The OTS brings together the work of the former Active Communities Directorate (ACD), originally in the Home Office and the School Enterprise Unit (SEnU), formally in the Department of Trade and Industry (DTI) within the Cabinet Office. It will work closely with the Department for Communities and Local Government (DCLG) on the role of third sector organisations in communities and decisionmaking at a local and regional level. For more information, visit the Office of the Third Sector website at: www.cabinetoffice.gov.uk/thirdsector 300 Life in the UK
ส�ำนักงานส่งเสริมองค์กรภาคที่สาม (OTS) เกิดจากการยุบรวมหน้าที่การท�ำงานของ อดีตกรมส่งเสริมงานชุมชน (ACD) ซึง่ เดิมอยู่ในสังกัดโฮมออฟฟิศ กับหน่วยส่งเสริมกิจการ ของสถาบันโรงเรียน (SEnU)) เดิมอยู่ ในสังกัดกรมการค้าและอุตสาหกรรม (DTI) ภายใน ส�ำนักงานคณะรัฐมนตรี ส�ำนักงานส่งเสริมองค์กรภาคที่สามด�ำเนินงานโดยใกล้ชิดกับ กรมส่งเสริมงานชุมชนและการปกครองส่วนท้องถิน่ (DCLG) ในเรือ่ งทีเ่ กีย่ วกับบทบาท ขององค์กรภาคทีส่ ามในชุมชน และการพิจารณาตัดสินใจของหน่วยงานรัฐในระดับภูมภิ าค และท้องถิน่ คุณสามารถหาข้อมูลเพิม่ เติมได้ โดยเข้าไปในเว็บไซต์ของส�ำนักงานส่งเสริม องค์กรภาคทีส่ าม www.cabinetoffice.gov.uk/thirdsector For younger people, Millennium Volunteers (MV) is a national programme aimed at people ages 16-24. As an MV you get a chance to help others by doing something you enjoy and develop your skills at the same time. There are scheme in most cities and towns. If you do 200 hours of volunteering you get an Award of Excellence. For more information go to www.milleniumvolunteers.gov.uk งานอาสาสมัครในวาระครบรอบสหัสวรรษ หรือหนึง่ พันปี (MV)) เป็นโครงการระดับชาติ ส�ำหรับกลุม่ เป้าหมายทีเ่ ป็นเยาวชนอายุ 16 ถึง 24 ปี การท�ำงานอาสาสมัครเนือ่ งในวาระ ครบรอบสหัสวรรษจะเปิดโอกาสให้เยาวชนได้ชว่ ยเหลือผูอ้ นื่ ด้วยการท�ำสิง่ ทีต่ นเองชอบ และพัฒนาทักษะของตนเองไปด้วยพร้อมกัน โครงการนีจ้ ะมีทงั้ ในเมืองเล็กเมืองใหญ่ทวั่ ไป เยาวชนทีท่ ำ� งานอาสาสมัครได้ครบ 200 ชัว่ โมง จะได้รบั รางวัลความเป็นเลิศ หากต้องการ ทราบข้อมูลเพิม่ เติม ให้เข้าไปทีเ่ ว็บไซต์ www.milleniumvolunteers.gov.uk TimeBank is a national charity that seeks to inspire and connect people to share and give their time. TimeBank appeals to people who know that their time and skills are in demand – but just don’t know what to do about it or where to start. TimeBank has worked in partnership with Government departments in finding volunteers to help with disadvantaged people. For example, TimeBank has worked with the Home Office to find volunteers to work with refugees as their mentors – to help them find jobs and to get more involved in society. For more information go to www.timebank.org.uk
Life in the UK 301
ไทม์แบงค์ (TimeBank) เป็นองค์กรการกุศลระดับชาติ มีจดุ มุง่ หมายเพือ่ ส่งเสริม และ เชื่อมโยงผู้คนให้มาร่วมกันเสียสละเวลาในการบ�ำเพ็ญประโยชน์ต่อส่วนรวม TimeBank จะเชิญชวนบุคคลที่ตระหนักว่าตนเองมีเวลาและความรู้ความช� ำนาญซึ่งเป็นที่ต้องการ แต่ ไม่รวู้ า่ ควรจะท�ำอย่างไร หรือจะเริม่ ต้นที่ ไหน TimeBank ท�ำงานร่วมกับหน่วยงานต่างๆ ของรัฐ เพือ่ มองหาอาสาสมัครทีจ่ ะมาท�ำงานช่วยเหลือบุคคลผูด้ อ้ ยโอกาส ตัวอย่างเช่น TimeBank ได้รว่ มมือประสานงานกับโฮมออฟฟิศ ในการเสาะหาอาสาสมัครทีจ่ ะมาท�ำ หน้าทีเ่ ป็นพีเ่ ลีย้ งคอยดูแลและให้คำ� ปรึกษาแก่ผอู้ พยพ เพือ่ ช่วยเหลือพวกเขาในการหางาน และเข้าไปมีสว่ นร่วมในสังคมมากขึน้ คุณจะหาข้อมูลเพิม่ เติมได้ที่ www.timebank.org.uk Community Service Volunteers (CSV) is one of the largest organisations in the UK that promotes volunteering. It prides itself on pioneering new solutions and innovative ways to tackle society’s needs and has over 40 year’s experience in supporting partners and volunteers in activities that really make a difference to people’s lives. องค์กรอาสาสมัครเพื่อชุมชน (CSV) เป็นองค์กรส่งเสริมงานอาสาสมัครที่ ใหญ่ที่สุด แห่งหนึ่งในสหราชอาณาจักร องค์กรนี้มีความภาคภูมิใจในการบุกเบิกพัฒนาวิธีการและ แนวทางใหม่ๆ ในการจัดการกับปัญหาความต้องการของคนในสังคม และมีประสบการณ์ กว่า 40 ปี ในการให้ความสนับสนุนช่วยเหลือมิตรผูร้ ว่ มงานและอาสาสมัครในการด�ำเนิน กิจกรรมต่างๆ ทีส่ ร้างความแตกต่างให้กบั ชีวติ ของผูค้ นอย่างแท้จริง CSV’s campaign to promote volunteering, CSV Make a Difference Day, is the UK’s biggest day of direct volunteering in the community. CSV has over 10,000 senior volunteers who run activities and projects for CSV and recruit other senior volunteers. For more information go to www.csv.org.uk วัน CSV Make a Difference Day เป็นวันส�ำคัญทีจ่ ดั ขึน้ เพือ่ รณรงค์สง่ เสริมงานอาสา สมัครขององค์กร CSV และเป็นวันทีย่ งิ่ ใหญ่ทสี่ ดุ ของการท�ำงานอาสาสมัครโดยตรงใน ชุมชนในสหราชอาณาจักร องค์กร CSV มีอาสาสมัครผูอ้ าวุโสกว่า 10,000 คน ด�ำเนิน กิจกรรมและโครงการต่างๆ ให้กบั CSV และเปิดรับอาสาสมัครผูอ้ าวุโสคนอืน่ ๆ คุณจะ หาข้อมูลเพิม่ เติมได้ ในเว็บไซต์ www.csv.org.uk
302 Life in the UK
The Prince’s Trust was founded in 1976 by the Prince of Wales. Having completed his duty on the Royal Navy, he became dedicated to improving the lives of disadvantaged young people in the UK, and began to Trust to deliver on that commitment. เจ้าฟ้าชายแห่งเวลส์ได้กอ่ ตัง้ องค์กรทรัสต์ ชือ่ ว่า The Prince’s Trust ขึน้ มาในปี ค.ศ. 1976 เมื่อเสร็จสิ้นภารกิจในราชนาวีอังกฤษแล้ว พระองค์ ได้ทรงเริ่มอุทิศตนในการ พัฒนาคุณภาพชีวิตของเยาวชนผู้ด้อยโอกาสในสหราชอาณาจักร และได้ก่อตั้งองค์กร ทรัสต์นขี้ นึ้ มาเพือ่ ด�ำเนินงานให้บรรลุผลตามพระราชปณิธานของพระองค์ The Trust has become the UK’s leading youth charity, offering a range of opportunities including training, personal development, support in starting up a business, mentoring and advice for young people aged 14-30. The Trust has four target groups: unemployed young people young people underachieving young people leaving care young offenders and ex-offenders องค์กรทรัสต์นี้เป็นผู้น�ำองค์กรการกุศลในสหราชอาณาจักรที่ ให้ความช่วยเหลือเยาวชน ผูด้ อ้ ยโอกาสทีม่ อี ายุตงั้ แต่ 14 ถึง 30 ปี ด้วยวิธกี ารต่างๆ เช่น ให้การฝึกอบรม พัฒนา ความก้าวหน้าส่วนบุคคล สนับสนุนการริเริม่ ก่อตัง้ กิจการ ตลอดจนเป็นพีเ่ ลีย้ งคอยดูแล และให้คำ� แนะน�ำทีม่ ปี ระโยชน์ กลุม่ เป้าหมายทีอ่ งค์กรมุง่ ให้ความช่วยเหลือมี 4 กลุม่ ดังนี้ เยาวชนที่ ไม่มงี านท�ำ เยาวชนทีม่ ผี ลสัมฤทธิท์ างการเรียนต�ำ่ เยาวชนทีพ่ น้ จากการดูแลในสถานสงเคราะห์ของรัฐ เยาวชนทีก่ ระท�ำความผิด และทีเ่ คยกระท�ำความผิด Life in the UK 303
All of these activities need volunteers. Many new or aspiring managers find that volunteering with a Prince’s Trust group helps them with their own career as they have to tackle real management issues in a challenging environment. If you want to volunteer to help disadvantaged young people you can contact the Trust at www.princes-trust.org.uk การด�ำเนินกิจกรรมทั้งหมดนี้จ�ำเป็นต้องอาศัยอาสาสมัคร บรรดาผู้จัดการที่เพิ่งอาสา เข้ามาท�ำหน้าที่ หรือมีความใฝ่ฝนั สูง พบว่าการท�ำงานอาสาสมัครกับองค์กรทรัสต์ของ เจ้าฟ้าชายมีประโยชน์ต่อการพัฒนาวิชาชีพของตนเองด้วย เพราะเปิดโอกาสให้พวกเขา ได้บริหารจัดการกับปัญหาที่แท้จริงในสภาพแวดล้อมที่ท้าทาย หากคุณประสงค์ที่จะ ท�ำงานอาสาสมัครเพือ่ ช่วยเหลือเยาวชนผูด้ อ้ ยโอกาส คุณสามารถติดต่อองค์กรทรัสต์นี้ ได้ ที่ www.princes-trust.org.uk
Charities
Britain has many thousands of active charities, working to improve the lives of people – and animals – in a wide variety of ways. Some of the organisations already mentioned in this chapter are charities, but you will hear about the work of many others. A few of the most important charities working in Britain are described below:
องค์กรการกุศล
อังกฤษมีองค์กรการกุศลมากมายที่มุ่งมั่นด�ำเนินการในรูปแบบต่างๆ เพื่อช่วยเหลือและ พัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้คนและสัตว์ทั้งหลาย องค์กรที่ ได้กล่าวถึงไปบ้างแล้วในบทนี้ เป็นองค์กรการกุศล อย่างไรก็ตาม คุณยังจะได้รบั ทราบถึงการท�ำงานขององค์กรอืน่ ๆ อีก มาก องค์กรการกุศลทีด่ ำ� เนินงานในอังกฤษทีม่ คี วามส�ำคัญมากทีส่ ดุ บางองค์กร มีดงั นี้
Comic Relief
Red Nose Day is a fundraising event that takes place every two years. Comic Relief, the organisation behind it, was set up by comedians and uses comedy and laughter to get serious messages across, while making sure that everyone who gets involved can have fun at the same time. Its objective is to raise money for deserving causes. Everything raised is distributed to well-known charities and is used for good work both in the UK and abroad. 304 Life in the UK
องค์กรหรรษาสงเคราะห์ - Comic Relief
วันจมูกแดง หรือ Red Nose Day เป็นรายการรณรงค์หาเงินเพือ่ การกุศลขององค์กร Comic Relief ทีจ่ ดั ท�ำขึน้ ทุกๆ 2 ปี องค์กร Comic Relief ก่อตัง้ ขึน้ โดยนักแสดงตลก ที่ ต้องการใช้ความตลกและเสียงหัวเราะช่วยสือ่ ความหมายให้ผคู้ นได้รบั รู้ ในเรือ่ งทีเ่ ป็นปัญหา จริงจัง และท�ำให้ผทู้ มี่ สี ว่ นร่วมได้สนุกสนานไปด้วยพร้อมกัน โดยมีวตั ถุประสงค์เพือ่ หาเงิน ช่วยเหลือผูท้ สี่ มควรได้รบั การสงเคราะห์ เงินทัง้ หมดทีห่ าได้จะน�ำไปจัดสรรให้กบั องค์กร การกุศลทีม่ ชี อื่ เสียง เพือ่ ใช้ ให้เป็นประโยชน์ทงั้ ในสหราชอาณาจักรและต่างประเทศ Red Nose Day culminates in a night of comedy and moving documentary films on television. Everyone in England, Scotland, Wales and Northern Ireland is encouraged to cast inhibitions aside, put on a Red Nose and do something a bit silly to raise money. It is an event that unites people in trying to make a difference to the lives of thousands of individuals facing terrible injustice or living in extreme poverty. The website for more information is www.comicrelief.com Red Nose Day จะปิดท้ายด้วยรายการค�ำ่ คืนแห่งความหรรษาทางโทรทัศน์ ประกอบ ด้วยรายการตลกและภาพยนตร์สารคดีน�ำเสนอเรื่องราวที่น่าสะเทือนใจ รายการนี้เชิญ ชวนให้ทกุ คนในอังกฤษ สก็อตแลนด์ เวลส์ และไอร์แลนด์เหนือ แสดงออกอย่างเต็มที่ โดย ไม่ตอ้ งเขินอาย ด้วยการใส่จมูกสีแดง และท�ำสิง่ ที่ โง่เง่าน่าหัวเราะ เพือ่ ช่วยกันระดมทุน รายการนี้ท�ำให้ผู้คนสามัคคีเป็นน�้ำหนึ่งใจเดียวกันในการพยายามสร้างความแตกต่าง ให้กับชีวิตของบุคคลจ�ำนวนมากที่พบกับความไม่เป็นธรรม หรือต้องด�ำรงชีวิตในสภาพที่ ยากจนข้นแค้น คุณจะหาข้อมูลเพิม่ เติมได้ทเี่ ว็บไซต์ www.comicrelief.com
Life in the UK 305
British Red Cross
The British Red Cross is a member of the International Red Cross and Red Crescent movement, the world’s largest humanitarian organisation. The movement champions individual and community values which encourage respect for other human beings and a willingness to work together to find solutions to community problems. The Red Cross/ Red Crescent movement is committed to, and bound by its Fundamental Principles. These are: humanity impartiality neutrality independence voluntary service unity universality
องค์กรกาชาดแห่งอังกฤษ
องค์กรกาชาดแห่งอังกฤษ เป็นสมาชิกของกระบวนการกาชาดและเสีย้ ววงเดือนแดงสากล ซึง่ เป็นองค์กรเพือ่ ความผาสุกของมนุษยชาติที่ ใหญ่ทสี่ ดุ ในโลก องค์กรนีเ้ ชิดชูคณ ุ ค่าของ บุคคลและชุมชนทีส่ ง่ เสริมให้มกี ารเคารพศักดิศ์ รีความเป็นมนุษย์ของคนอืน่ ๆ และยินดีที่ จะร่วมมือกันท�ำงานเพื่อแสวงหาแนวทางในการแก้ ไขปัญหาของสังคม องค์กรกาชาด/ เสีย้ ววงเดือนแดง มีความมุง่ มัน่ ในพันธกิจ โดยยึดถือหลักการพืน้ ฐานดังต่อไปนี้ มนุษยธรรม ความไม่ลำ� เอียง ความเป็นกลาง ความมีอสิ ระ การท�ำงานอาสาสมัคร ความเป็นเอกภาพ ความเป็นสากล It has no religious affiliation and in the UK offers volunteering opportunities in many fields, including first aid, emergency response, a message and tracing service to try to reunite people who have been separated by conflict, and helping refugees. องค์กรนี้ ไม่เกี่ยวข้องในเรื่องศาสนา และเปิดโอกาสให้อาสาสมัครในสหราชอาณาจักร สามารถเข้าร่วมท�ำงานได้ ในหลายๆ ด้าน เช่น การปฐมพยาบาล การด�ำเนินการตอบสนอง ในภาวะฉุกเฉิน บริการรับส่งข่าว และสืบหาพ่อแม่ญาติพนี่ อ้ งทีพ่ ลัดพรากกันในดินแดน ทีม่ กี ารสูร้ บให้ ได้มาพบกันใหม่ และช่วยเหลือผูล้ ภี้ ยั 306 Life in the UK
Friends of the Earth
Friends of the Earth is one of the leading environmental charities in the UK and was founded in 1971. Further information can be obtained from its website at www.foe.org.uk Its interests are: getting a grip on climate change bringing in laws to bring recycling to your doorstep warmer, more energy efficient homes protecting our countryside keeping genetically modified food off the menu persuading big companies to behave better in respect of the environment.
องค์กรมิตรของโลก
องค์กรมิตรของโลก หรือ Friends of the Earth เป็นหนึ่งในบรรดาผู้น�ำขององค์กร การกุศลผูพ้ ทิ กั ษ์สงิ่ แวดล้อมในสหราชอาณาจักร ก่อตัง้ ขึน้ ในปี ค.ศ. 1971 คุณจะหาข้อมูล เพิม่ เติมได้จากเว็บไซต์ www.foe.org.uk องค์กรนี้ ให้ความเอาใจใส่ ในเรือ่ งต่อไปนี้ การเรียนรูแ้ ละแสวงหาแนวทางในการจัดการกับปัญหาสภาพภูมอิ ากาศเปลีย่ นแปลง การน�ำกฎหมายมาใช้บงั คับ เพือ่ ให้มกี ารรี ไซเคิลทีป่ ระตูบา้ นของคุณ บ้านทีอ่ บอุน่ และประหยัดพลังงานมากขึน้ การอนุรกั ษ์และคุม้ ครองพืน้ ที่ ในชนบท การขจัดอาหารดัดแปลงพันธุกรรมออกจากรายการอาหารทีร่ บั ประทาน การชักชวนให้บริษทั ใหญ่ๆ ด�ำเนินธุรกิจด้วยวิธกี ารทีเ่ ป็นมิตรต่อสิง่ แวดล้อมมากยิง่ ขึน้
Life in the UK 307
Greenpeace
Greenpeace (www.greenpeace.org.uk) is an international environmental organisation founded in Vancouver, British Columbia, Canada in 1971. It is known for its campaigns to stop atmospheric and underground nuclear testing as well as to bring an end to high seas whaling. In later years, the focus of the organisation turned to other environmental issues, including bottom trawling, global warming, ancient forest destruction, nuclear power and genetic engineering. Greenpeace has national and regional offices in 41 countries worldwide, including the UK. It receives its income through individual contributions of an estimated 2.8 million financial supporters, as well as from grants from charitable foundations, but does not accept funding from governments or corporations.
องค์กรกรีนพีซ
กรีนพีซ (www.greenpeace.org.uk) เป็นองค์กรพิทักษ์สิ่งแวดล้อมนานาชาติที่ก่อตั้ง ขึน้ ในเมืองแวนคูเวอร์ บริตชิ โคลัมเบีย ประเทศแคนาดา ในปี ค.ศ. 1971 และมีชอื่ เสียง เป็นที่รู้จักในการรณรงค์ต่อต้านการทดลองระเบิดนิวเคลียร์ ในชั้นบรรยากาศและใต้ดิน ตลอดจนการล่าปลาวาฬในทะเลหลวง ในปีหลังๆ องค์กรกรีนพีซได้หันไปทุ่มเทความ สนใจให้กบั ปัญหาอืน่ ๆ ทีเ่ กีย่ วกับสิง่ แวดล้อม เช่น การใช้อวนจับปลาในน�ำ้ ลึก ปัญหาโลก ร้อน การท�ำลายป่าเก่าแก่ พลังนิวเคลียร์ และพันธุวศิ วกรรม เป็นต้น กรีนพีซมีสำ� นักงาน ประจ�ำเขตภูมภิ าค และภายในประเทศต่างๆ 41 ประเทศทัว่ โลก รวมทัง้ สหราชอาณาจักร และได้รบั เงินสนับสนุนจากบุคคลต่างๆ ทีบ่ ริจาคเงินช่วยเหลือประมาณ 2.8 ล้านคน และ ยังได้รับเงินอุดหนุนจากมูลนิธิการกุศลด้วย กรีนพีซมีนโยบายไม่ยอมรับเงินช่วยเหลือ จากรัฐบาลหรือบริษทั ผูป้ ระกอบธุรกิจ Greenpeace’s official mission statement describes the organisation and its aims thus: Greenpeace is an independent campaigning organisation which uses non-violent, creative confrontation to expose global environmental problems, and to force solutions for a green and peaceful future. Greenpeace’s goal is to ensure the ability of the earth to nurture life in all its diversity.
308 Life in the UK
กรีนพีซ มีปณิธานในการด�ำเนินงานตามค�ำชี้แจงเกี่ยวกับพันธกิจและจุดมุ่งหมาย ขององค์กร ดังนี้ กรีนพีซ เป็นองค์กรอิสระที่ท�ำการรณรงค์ด้วยการเผชิญหน้าอย่างสันติวิธี ในรูปแบบที่ สร้างสรรค์ เพือ่ เปิดเผยให้ชาวโลกได้รบั รูถ้ งึ ปัญหาสิง่ แวดล้อมทีก่ ำ� ลังเป็นภัยคุกคามต่อ มนุษยชาติและระบบนิเวศน์ และผลักดันให้มกี ารแสวงหาวิธกี ารแก้ปญ ั หา เพือ่ สร้างสรรค์ โลกอนาคตทีส่ งบสุขและเป็นมิตรต่อสิง่ แวดล้อม กรีนพีซมีเป้าหมายในการช่วยให้ โลกใบนี้ สามารถโอบอุม้ สิง่ มีชวี ติ ทีห่ ลากหลายให้ดำ� รงอยูต่ อ่ ไปได้อย่างยัง่ ยืน
Worldwide Fund for Nature
This charity used to be known as the World Wildlife Fund and was founded in 1961. WWF-UK works on both global and local environmental issues. Much of its work is in areas where the most critically endangered wildlife and the least protected habitats are found. It believes however that the origins of many environmental problems lie in developed countries, including for example, our consumption of natural resources.
องค์การกองทุนสัตว์ปา่ โลกสากล
องค์การนีเ้ ป็นองค์กรการกุศลทีเ่ คยมีชอื่ เรียกว่า องค์การกองทุนสัตว์ปา่ โลก ก่อตัง้ ขึน้ ใน ปี ค.ศ. 1961 องค์กร WWF-UK ของสหราชอาณาจักร ด�ำเนินงานเพือ่ ช่วยแก้ ไขปัญหา สิง่ แวดล้อมทัว่ โลกและภายในประเทศ งานส่วนใหญ่จะอยู่ ในพืน้ ทีท่ พี่ บว่ามีปญ ั หาสัตว์ปา่ ใกล้สูญพันธุ์ และที่อาศัยของสัตว์ป่าไม่ ได้รับการคุ้มครองอย่างเต็มที่ องค์กรนี้เชื่อว่า ต้นตอของปัญหาสิง่ แวดล้อมส่วนใหญ่มาจากกลุม่ ประเทศทีพ่ ฒ ั นาแล้ว เช่น จากการใช้ ทรัพยากรธรรมชาติของประชาชนในกลุม่ ประเทศเหล่านี้ WWF-UK not only directs some 70 per cent of its conservation expenditure towards its global programmes but also seeks to influence global environmental issues through responsible actions in the UK. Its website is at www.wwf.org.uk องค์กร WWF-UK ใช้จา่ ยเงินราว 70 เปอร์เซ็นต์ ของงบประมาณส�ำหรับงานอนุรกั ษ์ไป ในการด�ำเนินโครงการทัว่ โลก และพยายามด�ำเนินการอย่างรับผิดชอบในสหราชอาณาจักร เพือ่ ให้มผี ลต่อการแก้ปญ ั หาสิง่ แวดล้อมในระดับโลกด้วย คุณจะเยีย่ มชมเว็บไซต์ขององค์กร นี้ ได้ที่ www.wwf.org.uk Life in the UK 309
Oxfam
This well-known charity has its origins during the Second World War, when Greece was occupied by the Nazis and suffered a serious famine. The Oxford Committee for Famine Relief was set up in 1942 in order to raise money and persuade the British government to intervene to help the victims of famine. After the war the Oxford Committee saw a continuing need and enlarged its objectives to include ‘the relief of suffering in consequence of the war’. Activity then centred on the provision of food parcels and clothing to Europe. Today, Oxfam responds in emergencies to save lives; works with people to improve their lives and prospects through longer term development programmes; and campaigns on issues that they believe will achieve lasting change and an end to poverty. Its website is at www.oxfam.org.uk
องค์กรอ็อกซแฟม
อ็อกซแฟม เป็นองค์กรการกุศลซึง่ เป็นทีร่ จู้ กั อย่างแพร่หลาย การก่อก�ำเนิดของอ็อกซแฟม เริ่มขึ้นในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง เมื่อประเทศกรีซที่อยู่ภายใต้การยึดครองของนาซี ประสบปัญหาการขาดแคลนอาหารอย่างรุนแรง คณะกรรมการสงเคราะห์ผู้ประสบ ทุพภิกขภัยของอ็อกซฟอร์ดจึงได้ถกู จัดตัง้ ขึน้ ในปี ค.ศ. 1942 เพือ่ หาเงินช่วยเหลือ และ เรียกร้องให้รฐั บาลอังกฤษเข้าแทรกแซงเพือ่ ช่วยเหลือผูป้ ระสบทุพภิกขภัย หลังจากสงคราม เลิกแล้ว คณะกรรมการอ็อกซฟอร์ด มองเห็นความจ�ำเป็นในการให้ความช่วยเหลือต่อ ไป และได้ขยายวัตถุประสงค์ ให้ครอบคลุมถึง ‘การสงเคราะห์ผู้ประสบความทุกข์ยาก เนื่องด้วยสงคราม’ และได้มุ่งการด�ำเนินงานไปที่การจัดหาถุงอาหารและเสื้อผ้าไป ให้ยุโรป ในปัจจุบัน อ็อกซแฟมจะด�ำเนินการตอบสนองในภาวะฉุกเฉินเพื่อรักษาชีวิต ตลอดจนท� ำ งานร่ ว มกั บ ผู ้ ค นเพื่ อ พั ฒ นาคุ ณ ภาพในการด� ำ รงชี วิ ต และอนาคตของ คนเหล่านัน้ โดยอาศัยโครงการพัฒนาระยะยาว และรณรงค์ ในเรือ่ งทีอ่ งค์กรเห็นว่าจะ ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงและขจัดความยากจนได้ตลอดไป คุณจะเข้าเยี่ยมชมเว็บไซต์ ของอ็อกซแฟมได้ที่ www.oxfam.org.uk
310 Life in the UK
There are many other charities and voluntary organisations that would appreciate you giving up some of your time or your skills. They all have different aims but they all have something in common – the wish to help others and make our lives and our communities better. ยังมีองค์กรการกุศลและองค์กรอาสาสมัครอื่นๆ อีกมากมายที่จะยินดีอย่างยิ่ง หาก คุณจะสละเวลา หรือแบ่งปันความรู้ความสามารถของคุณ เพื่อบ�ำเพ็ญประโยชน์ ให้แก่ ส่วนรวม องค์กรเหล่านี้มีจุดมุ่งหมายแตกต่างกันไป แต่ทุกองค์กรมีสิ่งหนึ่งที่เหมือนกัน นั่นคือ ความปรารถนาที่จะช่วยเหลือผู้อื่น และพัฒนาคุณภาพชีวิตของเราและชุมชน ของเราให้ดขี นึ้
©Edu-Plus CIC of Dr. Khanungnit Garnett -Duang-dhamma Building, 49 Castle Street, Banbury OXON OX16 5NU ออกแบบและจัดพิมพ์ โดย ThaiSmile Media Limited 283-287 King Street, Hammersmith London W6 9NH Email : info@thaismile.com Tel: +44 (0) 20 8846 9960
Life in the UK 311
Life
in the
UK
Life
in the
UK
Life
in the
UK
คูม่ อื Life in the UK ฉบับแปลภาษาไทย (Thai version)
www.edupluscic.org
แจกฟรี ห้ามจำ�หน่าย NOT FOR SALE