ใบคาามรู้โครงสร้างของเซลล์

Page 1


ใบความรู้ เรื่อง โครงสร้ างและส่ วนประกอบของเซลล์ ( Cell) ผนังเซลล์ คลอโรพลาสต์ นิวเคลียส เยือ่ หุม้ เซลล์ ไซโทพลาซึม

ภาพส่ วนประกอบของเซลล์พชื และเซลล์สัตว์ เซลล์ ( cell) ความหมายของเซลล์ เซลล์หมายถึง หน่วยที่เล็กที่สุดของสิ่ งมีชีวติ มีขนาดแตกต่าง มีขนาดตั้งแต่เล็กที่สุดซึ่ งไม่สามารถมองเห็นได้ ด้วยตาเปล่าขึ้นไปจนกระทัง่ ขนาดใหญ่ รอเบิร์ต ฮุค ( Robert Hooke)นักวิทยาศาสตร์ ชาวอังกฤษได้คน้ พบและตั้งชื่อไว้ เมื่อปี พ.ศ. 2208

ส่ วนประกอบและหน้ าทีข่ องเซลล์ 1. ผนังเซลล์ (cell wall ) เป็ นโครงสร้างที่ไม่มีชีวติ ที่หุม้ รอบนอกสุ ดของเซลล์ มีเฉพาะในเซลล์พืชเท่านั้นเป็ นส่ วนใหญ่ ไม่พบในเซลล์สัตว์ ประกอบด้วยสารพวกเซลลูโลสเป็ นส่ วนใหญ่และสารพวกเพคติน ลิกนิน ฮีมิเซลลูโลสพบในเซลล์ที่ตอ้ งการความแข็งแรง เซลล์ของสัตว์ไม่มีผนังเซลล์แต่เซลล์สัตว์บางชนิดอาจมีสารเคลือบเยือ่ หุ ม้ เซลล์ได้ ซึ่ งมีลกั ษณะแตกต่างกันไปแล้วแต่ชนิด ของเซลล์น้ นั ๆ ตัวอย่าง เช่น เปลือกกุง้ กระดองปู มีสารเคลือบพวกไกลโคโปรตีน ( glycoprotein ) ทาหน้ าที่ ให้ความแข็งแรง ป้ องกันอันตรายให้แก่เซลล์พืชและทาให้เซลล์คงรู ปอยูไ่ ด้ 2. เยือ่ หุ้มเซลล์ ( cell menbrane) เป็ นเยือ่ บาง ๆ ที่หุ้มรอบไซไทพลาซึ ม และสารบางอย่างภายในเซลล์ องค์ประกอบหลักเป็ นสารพวกโปรตีนและ ไขมัน พบได้ท้ งั เซลล์ของพืชและเซลล์ของสัตว์ มีลกั ษณะยืดหยุน่ และยืดหดได้ ทาหน้ าที่ ควบคุมปริ มาณและชนิดของสารที่ผา่ นหรื อเข้าออกจากเซลล์ และมีรูพรุ นเล็ก ๆ เพื่อให้สารบางอย่าง ผ่านเข้าไปได้ และไม่ให้สารบางอย่างผ่านเข้าออกจากเซลล์ มีคุณสมบัติยอม ให้สารบางชนิดผ่านได้เรี ยกว่า เยือ่ เลือกผ่าน ( Semipermeable menbrane ) 3. ไซโทพลาซึม (cytoplasm ) มีลกั ษณะเป็ นของเหลว มีสารที่สาคัญปนอยูค่ ือ น้ า โปรตีน ไขมัน คาร์ โบไฮเดรต เกลือแร่ เป็ นสารที่อยูร่ อบ ๆ นิวเคลียส มีหน้ าที่ เกี่ยวกับเมตาโบลิซึม ภายในไซโทพลาซึ มของพืชจะมีเม็ดสี เขียว ที่เรี ยกว่า คลอโรพลาสต์ ( chloroplast ) ภายในไซโทพลาซึ มยังประกอบด้วยหน่วยเล็ก ๆ ที่สาคัญอีกหลายชนิดดังตัวอย่างเช่น


3.1 ไมโทคอนเดรีย ( mitochondria ) มีลกั ษณะยาวรี เป็ นแหล่งผลิตสารที่มีพลังงานสู งให้แก่เซลล์ 3.2 คลอโรพลาสต์ ( Chloroplast ) มีเฉพาะในเซลล์ที่มีสีเขียวของพืชและเซลล์ของโปรตีน บางชนิด ประกอบด้วยเยื่อหุม้ 2 ชั้น ชั้นนอกมีหน้าที่ควบคุมโมเลกุลต่าง ๆ ที่ผา่ นเข้าและออก จากคลอโรพลาสต์ ชั้นในมี ลักษณะยืน่ เข้าไปภายในและติดต่อกันเป็ นชั้นอย่างมีระเบียบแบบแผน

2 . เรื่อง การสร้ างอาหารของพืช หรือ การสั งเคราะห์ แสง ( Photosynthesis ) การสร้ างอาหารของพืช หรือ การสั งเคราะห์ แสง ( Photosynthesis ) คือ กระบวนการนาเอาพลังงานแสงสว่างมาใช้ ในการสร้างอาหารพวกคาร์ โบไฮเดรตของพืชสี เขียว จากวัตถุดิบคือก๊าซคาร์ บอนไดออกไซด์และน้ า ผลที่เกิดขึ้นจากปฏิกิริยาการสังเคราะห์ดว้ ยแสงคือ น้ าตาลโมเลกุลเดี่ยว น้ าและก๊าซออกซิ เจน ซึ่ งสรุ ปเป็ นสมการ เคมีได้ดงั นี้ สมการการสั งเคราะห์ แสง แสงสว่าง น้ า + ก๊าซคาร์ บอนไดออกไซด์ น้ าตาลโมเลกุลเดี่ยว + ก๊าซออกซิ เจน + น้ า คลอโรฟิ ลล์ แสงสว่าง H2O

+

CO2

C6H12O6

+

O2

+

H2O

คลอโรฟิ ลล์ น้ าตาลโมเลกุลเดี่ยวที่เกิดขึ้นคือ น้ าตาลกลูโคส (C6H12O6 ) จะถูกเปลี่ยนเป็ นแป้ งและเก็บสะสมไว้ในส่ วนต่าง ๆ ของพืช เช่น ใบ ลาต้น ราก ผล เมล็ด เป็ นต้น เมื่อพืชต้องการน้ าตาลมาใช้ในการเจริ ญเติบโตอีกจึงเปลี่ยนเป็ น น้ าตาลกลับมาใช้อีกครั้งหนึ่ง น้ าและก๊าซออกซิ เจนที่เกิดขึ้นจากการสังเคราะห์ดว้ ยแสงจะถูกขับออกมาภายนอกทางปากใบ ปัจจัยทีส่ าคัญในการสร้ างอาหารของพืชมี 4 อย่างคือ 1. คลอโรฟิ ลล์ ( Chlorophyll ) เป็ นสารประกอบพวกรงควัตถุ (โปรตีนชนิดหนึ่ง ) มีสีเขียว มีคุณสมบัติทางเคมี เป็ นโปรตีนที่มีแมกนีเซียม ( Mg) เป็ นองค์ประกอบอยูภ่ ายในโมเลกุล ไม่ละลายน้ าแต่สามารถละลายได้ในตัวทาละลาย อินทรี ย ์ ( Organic solvent ) เช่น เอธิ ลอัลกอฮอล์ ( Ethyl alcohol ) อะซีโตน ( Acetone ) เอธิลอีเทอร์ (Ethyl ether) คลอโรฟอร์ม (Chloroform ) พบได้ในพืชและสาหร่ ายทุกชนิด คลอโรฟิ ลล์มีอยูห่ ลายชนิด เช่น คลอโรฟิ ลล์ a คลอโรฟิ ลล์ b คลอโรฟิ ลล์ c คลอโรฟิ ลล์ d ซึ่ งแต่ละชนิดจะมีส่วนประกอบและโครงสร้างโมเลกุลคล้ายคลึงกัน คลอโรฟิ ลล์ a เป็ นคลอโรฟิ ลล์ที่พบในพืชและสาหร่ ายมุกชนิด มีสีเขียวแกมน้ าเงินเป็ นคลอโรฟิ ลล์ที่มีความสาคัญ ที่สุดในกระบวนการสร้างอาหารของพืช ทั้งนี้เพราะ สามารถนาพลังงานที่ได้รับไปใช้ได้โดยตรง แต่คลอโรฟิ ลล์ชนิด อื่น ไม่สามารถนาไปใช้ได้โดยตรง ต้องถ่ายทอดให้กบั คลอโรฟิ ลล์ a อีกทอดหนึ่งก่อน จีงสามารถนาไปใช้ได้ สาเหตุ ที่พวกคลอโรฟิ ลล์ต่าง ๆ มีสีเขียว เพราะมันดูดแสงสี เขียวจากแสงสว่างได้นอ้ ยมากหรื ออาจไม่ดูดเลย แต่ดูดแสงสี อื่น ได้ดี ดังนั้นเมื่อแสงตกบนคลอโรฟิ ลล์แสงสี เขียวจึงจะสะท้อนออกมามากกว่าแสงสี อื่น ๆ ทาให้เรามองเห็นคลอโรฟิ ลล์ มีสีเขียว 2. แสงสว่าง ( Light ) มีบทบาทสาคัญต่อการสังเคราะห์ดว้ ยแสงของพืชในแง่ที่เป็ นผูใ้ ห้พลังงานสาหรับการ เกิดปฏิกิริยาเคมีระหว่างน้ าและก๊าซคาร์ บอนไดออกไซด์ซ่ ึ งเป็ นวัตถุดิบสาคัญในการสร้างน้ าตาลกลูโคส โดยมี คลอโรฟิ ลล์ทาหน้าที่เป็ นตัวรับพลังงานแสง และพืชทุกชนิดต้องการแสงเพื่อสร้างอาหารในปริ มาณมากน้อยไม่เท่ากัน เพราะพืชบางชนิดไม่ตอ้ งมีแสงมากก็สามารถเจริ ญเติบโตได้เป็ นปกติ เช่น พืชที่ปลูกในที่ร่ม แต่พืชบางชนิดต้องการ แสงมากในการเจริ ญเติบโตเช่น พืชดอก


3. ก๊าซคาร์ บอนไดออกไซด์ ( CO2 ) เป็ นวัตถุดิบสาหรับการสร้างอาหารของพืชทาหน้าที่เป็ นแหล่งคาร์ บอน ( C ) สาหรับการสร้างสารประกอบคาร์โบไฮเดรต ( น้ าตาลและแป้ ง ) 4. นา้ (H2O ) เป็ นวัตถุดิบสาหรับการสร้างอาหารของพืชโดยเป็ นสารที่ให้ไฮโดรเจน ( H ) เพื่อรวมตัวกับ คาร์บอน ( C ) ซึ่ งได้จากก๊าซคาร์ บอนไดออกไซด์ ( CO2 ) แล้วสร้างเป็ นสารอาหารคือ คาร์ โบไฮเดรต

3. เรื่อง การลาเลียงนา้ และอาหารในพืช การลาเลียงน้ าในพืช พืชจะดูดน้ าและแร่ ธาตุที่บริ เวณปลายรากและจะถูกลาเลียงไปโดยท่อลาเลียงน้ า ซึ่ งพืชจะมีเนื้อเยือ่ ลาเลียงอยู่ 2 กลุ่มคือ ไซเลม ( Xylem ) เป็ นเนื้ อเยือ่ ลาเลียงน้ าและแร่ ธาตุ และโฟลเอม ( Phloem ) เป็ นเนื้ อเยื่อลาเลียงอาหารที่พืช สร้างขี้นโดยเนื้ อเยือ่ ทั้งสองจะประกอบกันเป็ นกลุ่มเนื้อเยื่อลาเลียงที่พบทั้งในราก ลาต้น กิ่ง ใบอย่างต่อเนื่ องกัน โครงสร้างของรากและกระบวนการในการลาเลียงน้ าและแร่ ธาตุ 1. ขนราก ( Root Hair) อยูเ่ หนื อปลายรากเล็กน้อย มีลกั ษณะเป็ นขนเส้นเล็กเป็ นฝอยจานวนมากอยูร่ อบปลายราก เป็ นโครงสร้างที่เปลี่ยนแปลงมากจากเซลล์ผวิ นอกสุ ดของราก โดยผนังเซลล์ของแต่ละเซลล์จะยืดยาวออกไป การที่ขนรากมีจานวนมากก็เพื่อเพิ่มพื้นที่ผวิ ในการสัมผัสน้ าและแร่ ธาตุต่าง ๆในดินได้มากขึ้น ช่วยให้การดูดน้ า และแร่ ธาตุต่าง ๆ เป็ นไปอย่างสะดวกและรวดเร็ ว 2. กระบวนการดูดน้ าและแร่ ธาตุ พืชจะดูดน้ าและแร่ ธาตุทางขนราก โดยจะดูดน้ าด้วยวิธีการออสโมซี ส ส่ วนการ ดูดแร่ ธาตุใช้วธิ ี การแพร่ การลาเลียงอาหารในพืช เมื่อพืชสังเคราะห์ดว้ ยแสงจะได้น้ าตาลกลูโคส น้ าตาลกลูโคสจะถูกลาเลียงไปตาม กิ่ง ก้านและลาต้นผ่านทาง กลุ่มเซลล์ที่ทาหน้าที่เป็ นท่อลาเลียงอาหารหรือโฟลเอม ( Phloem ) จากใบไปสู่ ส่วนต่าง ๆ ของพืช ที่กาลังมีการ เจริ ญเติบโตและนาไปเก็บสะสมไว้ที่ราก ลาต้น โดยวิธีการแพร่ การแพร่ คือการกระจายอนุ ภาคของสารจากที่มีความเข้มข้นของอนุภาคของสารมากไปยังบริ เวณที่มีความเข้มข้นของ อนุภาคของสารน้อย การแพร่ แบบออสโมซิ สคือ การแพร่ ของน้ าหรื อของสารผ่านเยือ่ กั้นบาง ๆ ปัจจัยทีม่ ีผลต่ อการแพร่ แบบออสโมซีส 1. ความเข้มข้นของอนุภาค หมายถึง บริ เวณที่จะเกิดออสโมซี สได้ตอ้ งมีความเข้มข้นของอนุภาคต่างกันนัน่ คือ บริ เวณหนึ่งมีความเข้มข้นมากอีกบริ เวณหนึ่งมีความเข้มข้นน้อย 2. สมบัติของเยือ่ กั้น หมายถึง เยือ่ กั้นต้องมีลกั ษณะบาง ๆ และต้องมีรูเล็ก ๆ และรู เล็ก ๆ นี้ตอ้ งยอมให้สารที่ขนาด อนุภาคเล็กกว่ารู ผา่ นไปได้ 3. ขนาดของอนุภาคของสาร หมายถึง สารต้องมีขนาดเล็กกว่ารู ของเยือ่ กั้นเสมอ จึงจะแพร่ ผา่ นไปได้ โฟลเอมที่ทาหน้าที่ลาเลียงอาหาร มีคุณลักษณะต่างกับเนื้อเยื่อไซเลมดังนี้ 1. อัตราการลาเลียง อัตราการลาเลียงในโฟลเอมสามารถเกิดได้ชา้ กว่าอัตราการลาเลียงน้ าและแร่ ธาตุในไซเล มมาก 2. ทิศทางการลาเลียง ทิศทางการลาเลียงในโฟลเอมสามารถเกิดขึ้นได้ท้ งั ในแนวขึ้นและแนวลงในเวลาเดียวกัน ซึ่งต่างกับการลาเลียงในไซเลมซึ่ งจะเกิดในแนวขึ้นเพียงทิศทางเดียว 3. เซลล์ตอ้ งมีชีวติ เซลล์ที่ทาหน้าที่ลาเลียงอาหารจะต้องเป็ นเซลล์ที่ยงั มีชีวติ อยู่ การลาเลียงจึงจะเกิดขึ้นได้ ส่ วนเซลล์ที่ใช้ในการลาเลียงน้ าและแร่ ธาตุมกั จะเป็ นเซลล์ที่ไม่มีชีวติ โดยทัว่ ไปเนื้อเยื่อโฟลเอมและเนื้อเยือ่ ไซเลมมักจะมีอยูใ่ นเซลล์ช้ นั วาสคิวลาร์ บนั เดิล ซึ่ งจะพบว่าโฟล เอมจะเรี ยงอยูด่ า้ นนอก ไซเลมจะอยูด่ า้ นใน ในลาเต้นและรากของพืช ใบเลี้ยงคู่พบเนื้ อเยือ่ เจริ ญแคมเบียมอยู่ ระหว่างโฟลเอมและไซเลม และการเรี ยนตัวของวาสคิวลาร์ บนั เดิลจะเรี ยงเป็ นวงอย่างมีระเบียบ ส่ วนในลา


ต้นและรากของพืชใบเลี้ยงเดี่ยวจะไม่มีเนื้อเยือ่ เจริ ญแคมเบียมและการเรี ยงตัวของวาสคิวลาร์ บนั เดิลจะกระจัด กระจาย สาหรับลาต้นพืชใบเลี้ยงคู่เนื้อแข็งหรื อมีอายุมาก ๆ ( พืชยืนต้น ) กลุ่มเซลล์ต้ งั แต่เนื้อเยื่อเจริ ญแคมเบียมอ อกไปจนถึงชั้นนอกสุ ดเรี ยกว่า เปลือกไม้ กลุ่มเซลล์บริ เวณถัดจากเนื้ อเยือ่ เจริ ญแคมเบียมเข้ามาข้างใน ทั้งหมดเรี ยกว่า เนื้ อไม้ ( ส่ วนใหญ่ก็คือไซเลม ) การคายน้ าของพืช การคายน้ าเป็ นกระบวนรกา


1.

2.

3. 4.

เรื่อง การเจริญเติบโตของพืช การเจริญเติบโตของพืช มี 3 กระบวนการต่าง ๆ เกิดขึ้นคือ 1.1 การแบ่งเซลล์ ทาให้มีจานวนเซลล์เพิ่มมากขึ้น เซลล์ที่เกิดขึ้นใหม่จะมีลกั ษณะเหมือนเดิมแต่มีขนาดเล็กกว่า 1.2 การเพิ่มขนาดของเซลล์ เป็ นการสร้างสะสมสาร ทาให้เซลล์มีขนาดใหญ่ข้ ึน โดยทัว่ ไปแล้วเมื่อมีการแบ่ง เซลล์แล้วก็จะเพิ่มขนาดของเซลล์ดว้ ยเสมอ 1.3 การเปลี่ยนรู ปร่ างของเซลล์เพื่อให้เหมาะสมกับหน้าที่เฉพาะอย่าง ลักษณะทีแ่ สดงว่าพืชมีการเจริญเติบโต มีดงั นี้ 1.1 รากจะยาวและใหญ่ข้ ึน มีรากงอกเพิ่มขึ้น มีการแตกแขนงของรากมากขึ้น 1.2 ลาต้นจะสู งและใหญ่ข้ ึน มีการผลิตทั้งตากิ่ง ตาใบ และตาดอก 1.3 ใบจะมีขนาดใหญ่ข้ ึน จานวนใบเพิม่ ขึ้น 1.4 ดอกจะใหญ่ข้ ึน หรื อดอกเปลี่ยนแปลงเป็ นผล 1.5 เมล็ดจะมีการงอกต้นอ่อน การทีพ่ ชื ผลติดเฉพาะฮอร์ โมนและเอนไซม์ ยังไม่ถือว่ามีการเจริ ญเติบโต ปัจจัยทีม่ ีผลต่ อการเจริญเติบโตของพืช ได้แก่ 1.1 อากาศ พืชใช้ก๊าซออกซิ เจนในการหายใจ และใช้ก๊าซคาร์ บอนไดออกไซด์ในการสร้างอาหาร 1.2 น้ าใช้ในกระบวนการลาเลียงน้ าและแร่ ธาตุใช้ในการสร้างอาหารช่วยลดอุณหภูมิภายในลาต้น 1.3 แสง ใช้สร้างอาหารและคลอโรฟิ ลล์ 1.4 แร่ ธาตุ ใช้ช่วยในกระบวนการต่าง ๆ ในการดารงชีวิตของพืช ช่วยสร้างคลอโรฟิ ลล์ 1.5 อุณหภูมิ อุณหภูมิที่พอเหมาะจาเป็ นต่อกระบวนการสังเคราะห์ดว้ ยแสง การงอกของเมล็ดและการทางานของ เอนไซม์

5. ต้ นอ่อน ( Embryo ) ต้นอ่อนประกอบด้วย 5.1 ยอดแรกเกิด จะเจริ ญไปเป็ นใบ 1.2 ใบเลี้ยง ทาหน้าที่สะสมอาหาร 1.3 ส่ วนของต้นอ่อนที่อยูเ่ หนื อใบเลี้ยง จะเจริ ญเป็ นลาต้นส่ วนบนและดอก 1.4 ส่ วนของต้นอ่อนที่อยูใ่ ต้ใบเลี้ยง จะเจริ ญเป็ นลาต้นส่ วนล่าง 1.5 รากแรกเกิด จะเป็ นส่ วนแรกที่งอกผ่านเมล็ดออกมาทางรู ไมโครไพล์ออกมาก่อน แล้วเจริ ญไปเป็ นรากแก้ว

6.1 6.1 6.2 6.3

ความสู งของต้นถัว่ ดา ระยะแรกส่ วนสู งจะเพิ่มขึ้นเล็กน้อย ระยะที่ 2 ส่ วนสู งจะเพิ่มขึ้น อย่างรวดเร็ ว ระยะต่อไปส่ วนสู งจะค่อย ๆ เพิ่มอย่างช้า ๆ และคงที่ในที่สุด จานวนใบ ต้นถัว่ ดาจะมีจานวนใบเพิ่มขึ้น จานวนราก จะเพิ่มมากขึ้น เมื่อใบแท้สังเคราะห์ดว้ ยแสงได้ใบเลี้ยงจะมีขนาดเล็กและร่ วงไปในที่สุด


7. ส่ วนประกอบเมล็ด มีส่วนประกอบดังนี้ 1.1 เปลือกหุ ม้ เมล็ด เป็ นส่ วนที่อยูน่ อกสุ ดทาหน้าที่ป้องกันอันตรายให้แก่เมล็ด ที่ดา้ นเว้าของเมล็ดจะมีรอย แผลเป็ น ซึ่ งเป็ นส่ วนที่เคยติดกับรังไข่และมีรูไมโครไพล์อยูบ่ ริ เวณนี้ ซึ่ งรากแรกเกิดจะงอกออกทางรู ไม โครไพล์น้ ี 1.2 เนื้อเมล็ด เป็ นส่ วนที่สะสมอาหารไว้เลี้ยงต้นอ่อน พืชใบเลี้ยงคู่เนื้อเมล็ดคือใบเลี้ยง เช่น พืชตระกูลถัว่ พืช ใบเลี้ยงเดี่ยว เนื้ อเมล็ดคือเอนโดสเปิ ร์ มเช่น ข้าว ข้าวโพด มะพร้าว 8. การงอกของเมล็ด ต้องอาศัยปั จจัยดังต่อไปนี้ 8.1 น้ าช่วยให้เปลือกหุ ม้ เมล็ดอ่อนนุ่ม ทาให้ตน้ อ่อน และรากสามารถงอกออกมาได้ง่ายและช่วยทาให้เกิด กระบวนการเปลี่ยนแปลงแป้ งให้เป็ นน้ าตาลเพื่อลาเลียงไปใช้ 8.2 อากาศ ก๊าซออกซิ เจนช่วยในการหายใจ o

8.3 อุณหภูมิพอเหมาะ ทาให้เอนไซม์ทางานได้ดี เมล็ดจะงอกได้ดีที่อุณหภูมิ 20 – 30 C


ชื่อ……………………….………………ชั้น ……เลขที่……………… 1.1 ส่ วนประกอบใดที่ยอมให้สารโมเลกุลเล็กผ่าน แต่ไม่ยอมให้สารโมเลกุลใหญ่ผา่ น …………………………………………………………………………………………………… 1.2 ส่ วนประกอบใดมีสมบัติเป็ นเยือ่ เลือกผ่าน …………………………………………………………………………………………………… 1.3 เปลือกกุง้ หรื อกระดองปู เปรี ยบเหมือนสิ่ งใดของเซลล์พืช …………………………………………………………………………………………………… 1.4 ส่ วนประกอบใดที่พบในเซลล์พืชแต่ไม่พบในเซลล์สัตว์ …………………………………………………………………………………………………… 1.5 จงสรุ ปรายละเอียดเกี่ยวกับเซลล์ของพืชและสัตว์ในรู ปผังมโนทัศน์ 1.1 ปัจจัยที่จาเป็ นในการสร้างอาหารของพืชคือ 1.1.1 ……………………………………………………………………………………… 1.1.2 ……………………………………………………………………………………… 1.1.3 ……………………………………………………………………………………… 1.1.4 ……………………………………………………………………………………… 1.2 ผลที่เกิดขึ้นจากการสังเคราะห์ดว้ ยแสงของพืชคือ 1.2.1 ………………………………………………………………………………….…….. 1.2.2 ……………………………………………………………………………………….. 1.2.3 ………………………………………………………………………………………. 1.3 กระบวนการสร้างอาหารของพืช ส่ งผลดีต่อสิ่ งมีชีวติ และสิ่ งแวดล้อมอย่างไร ( ให้ตอบเป็ นข้อ ๆ ) 1.3.1 …………………………………………………………………………………….. 1.3.2 ……………………………………………………………………………………… 1.3.3 ……………………………………………………………………………………… 1.3.4 ………………………………………………………………………………………


แบบประเมินพฤติกรรมการทางานกลุ่ม 1.4 สิ่ งใดที่จะถูกลาเลียงผ่านกลุ่มเซลล์ที่ทาหน้าที่เป็ นท่อลาเลียง ตอบ………………………………………………………………………………………………. 1.5 พืชจะลาเลียงอาหารไปยังส่ วนต่าง ๆ โดยวิธีการใด ตอบ………………………………………………………………………………………………. 1.6 จงวาดรู ปลักษณะท่อลาเลียงอาหารในรู ปแบบตามขวาง 1.6 ต้นอ่อนภายในเมล็ดมีส่วนประกอบอะไรบ้าง ตอบ………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………. 1.7 รากแรกเกิดของต้นถัว่ เจริ ญเติบโตต่อไป เป็ นรากชนิดใด ตอบ………………………………………………………………………………………………. 1.8 ส่ วนสู งของต้นถัว่ จะเจริ ญเติบโตเพิ่มขึ้นอย่างสม่าเสมอหรื อไม่ ตอบ………………………………………………………………………………………………. 1.9 การเจริ ญเติบโตของพืชมีกระบวนการอะไรบ้างมาเกี่ยวข้อง ตอบ………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………. 1.10 นักเรี ยนได้รับประโยชน์อะไรบ้างจากกิจกรรมนี้ ตอบ……………………………………………………………………………………………….


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.