โปรตีน (Protein)
โปรตีน (Protein) • โปรตีนเป็ นสารชีวโมเลกุลขนาดใหญ่ ประกอบด้วยหน่วย ย่อย (monomer) ที่เรียกว่า กรดอะมิโน (amino acid) • ซึ่งประกอบด้วยหมู่ carboxyl หมู่ NH2 และหมู่ R แบ่ง กรดอะมิโนเป็ น 5 กลุม่ ตามโครงสร้างทางเคมีของหมู่ R • แต่ละกรดอะมิโนจะมาเชื่อมต่อกันเป็ นสายยาวด้วย peptide bond ซึ่งเรียกว่า polypeptide โดยสาย polypeptide จะมี ปลายด้านหนึ่งเป็ นหมู่ NH2 และปลายอีกด้านหนึ่งเป็ นหมู่ COOH
สูตรโครงสร้างหลักของกรดอะมิโน
เพปไทด์ซึ่งเกิดจากกรดอะมิโนต่อกันเป็ นสายด้วยพันธะเพปไทด์
กรดอะมิโนมีประมาณ 20 ชนิ ด ดังนั้นการจัดเรียง ตัว ของกรดอะมิ โ นที่ แ ตกต่า งกัน มาก จึง ก่ อ ให้เ กิ ด ความ หลากหลายของชนิดโปรตีน และทาหน้าที่ที่แตกต่างกัน
ประเภทของกรดอะมิโนจาแนกตามสมบัติ ได้ดงั นี้ กรดอะมิโนจาเป็ น (essential amino acid) คือ กรดอะมิโนที่ร่างกายไม่ สามารถสังเคราะห์ได้ จึงจาเป็ นต้องได้รบั จากอาหาร ได้แก่ Arginine,Histidine,Isoleucine,Leucine,Lysine,Methionine Phenylalanine, Threonine, Tryptophane, Valine
กรดอะมิโนไม่จาเป็ น (non-essential amino acid) คือ กรดอะมิโน ที่ร่างกายสามารถสังเคราะห์ได้จึงไม่จาเป็ นต้องได้รบั จากอาหาร ได้แก่ Alanine, Aspartic Acid , Asparagine , Cystine , Glutamine Glutamic acid, Glycine ,Proline ,Serine Tyrosine
เรียกเพปไทด์ตามจานวนกรดอะมิโนที่มาต่อกันด้วยพันธะโคเวเลนซ์ได้ดงั นี้
Dipeptide
• ไดเพปไทด์ ประกอบด้วยกรดอะมิโน 2 หน่วย
Tripeptide
• ไตรเพปไทด์ ประกอบด้วยกรดอะมิโน 3 หน่วย
Polypeptide
• พอลิเพปไทด์ ประกอบด้วยกรดอะมิโน จานวนมากมาต่อกันด้วยพันธะเพปไทด์
The 20 Amino Acids
โครงสร้างของโปรตีน มี 4 ระดับ ดังนี้ 1. primary structure
2. secondary structure
3. tertiary structure
4. quaternary structure
• การเรียงลาดับของกรดอะมิโนในสาย polypeptide
• มีการสร้าง H-bond ระหว่างกรดอะมิโนทาให้มีการขดเป็ น helix หรือพับทบไปทบมาเป็ น sheet • โครงรูปของสาย polypeptide ทั้งสายประกอบด้วย secondary structure หลายสายรวมกัน โดยเกิดพันธะต่างๆ ภายในสาย secondary structure • ได้แก่ พันธะ ionic , hydrogen และ hydrophobic เป็ นต้น • แต่ละ polypeptide มาอยูร่ วมกันเพื่อทาหน้าที่ เช่น hemoglobin ประกอบด้วยสาย polypeptide ชนิด a และ b อย่างละ 2 สาย มาอยูร่ วมกัน
โครงสร้างปฐมภูมิ (primary structure) การจัดลาดับกรดอะมิโนในโครงสร้างปฐมภูมิกาหนดให้ ปลายหมู่อะมิโนอยู่ด้านซ้าย และปลายหมู่คาร์บอกซิลอยู่ด้านขวา Val----- His ----- Leu ----- Thre ----- Pro ----- Glu ----- Glu ----- Lys…...
โครงสร้างทุตยิ ภูมิ (secondary structure) เป็ นโครงสร้างที่เกิดจากการขดหรือม้วนตัวของโครงสร้างปฐมภูมิ ซึ่ง แสดงรู ป ร่างที่เป็ นระเบี ยบของโปรตีนที่เกิ ดจากพันธะไฮโดรเจนระหว่ าง C=O ในหน่วยของกรดอะมิโนกับหมู่ -NH ในหน่วยของกรดอะมิโนอีกหน่วย หนึ่ง แบ่งได้ 2 แบบ 1) โครงสร้างแบบเกลียวแอลฟาหรือแอลฟาเฮลิกซ์ (-helix) มี รูปร่างเป็ นเกลียว 2) โครงสร้างแบบพลีตบีตา (b-pleated sheet) มีสายโซ่ที่พบั เป็ นจีบเนื่องจากมีพนั ธะไฮโดรเจนระหว่าง C=O กับ -NH ของ กรดอะมิโนระหว่างสายโซ่ที่ขนานกัน
โครงสร้างตติยภูมิ (tertiary structure) โ ค ร ง ส ร้ า ง ต ติ ย ภู มิ เ กิ ด จ า ก โครงสร้างเกลี ยวแอลฟา (-helix) ม้วน เข้า หากัน และไขว้เ ข้า หากัน โดยมี แ รงยึด เหนี่ ยวอ่อนๆ คล้ายกับโครงสร้างทุติยภูมิ โครงสร้างตติยภูมิของโปรตีนแต่ละชนิดจะ มี ลั ก ษณะจ าเพาะขึ้ นอยู่ กั บ ล าดั บ ของ กรดอะมิโนในสายพอลิเพปไทด์ ทาให้เกิด เป็ นโครงสร้างที่ มีความเหมาะสมสาหรับ ทาหน้าที่ตา่ งๆ ของโปรตีน
โครงสร้างจตุรภูมิ (quaternary structure) เป็ นโครงสร้างที่ซับซ้อนมากขึ้ น ไปกว่ า เกิ ด จากการรวมตั ว ของ หน่ ว ยย่ อ ยชนิ ด เดี ย วกั น หรื อ ต่ า ง ชนิ ดกันของโครงสร้างตติยภูมิ โดย มี แ ร ง ยึ ด เ ห นี่ ย ว เ ห มื อ น กั บ ใ น โครงสร้า งทุ ติ ย ภู มิ และตติ ย ภู มิ ลั ก ษณะโครงสร้า งใหม่ ขึ้ นอยู่ กั บ โครงสร้างตติยภูมิซึ่งเป็ นหน่วยย่อย โดยอาจมี ก ารรวมตัว กั น เป็ นก้อ น กลม เช่ น ฮี โ มโกลบิ น หรื อ เป็ นมั ด คล้ายเส้นใย เช่น คอลลาเจน
Hemoglobin ประกอบด้วย polypeptide 4 สายรวมกัน กลายเป็ นโปรตีนที่มีรูปร่างเป็ นก้อน
การแปลงสภาพโปรตีน (denature) หมายถึง การทาให้โครงสร้างสามมิตขิ องโปรตีนเปลี่ยนแปลงไป ปั จจัยที่มีผลต่อการแปลงสภาพโปรตีน 1) ความร้อน และรังสีอุลตราไวโอเลต 2) ความเป็ นกรด หรือความเป็ นเบส 3) การฉายรังสีเอ็กซ์ 4) ตัวทาละลายอินทรีย ์ เช่น อะซีโตน เอทานอล 5) รวมตัวกับเกลือของโลหะหนัก เช่น สารประกอบของ ตะกั ่ว แคดเมียม ปรอท ทาให้โปรตีนตกตะกอน 6) การเขย่าแรงๆ ให้ตกตะกอน
หน้าที่ของโปรตีน ช่วยในการเจริญเติบโต เป็ นแหล่งพลังงาน ทาหน้าที่เป็ นเอนไซม์เร่งให้เกิดปฏิกิริยาเตมีภายใน เซลล์ของสิ่งมีชีวิต เป็ นโครงสร้างของเซลล์ เยื่อหุม้ เซลล์ เป็ น องค์ประกอบของโครโมโซม เป็ นภูมิคมุ ้ กันของร่างกาย
การทดสอบโปรตีน 1. ปฏิกิริยากับนินไฮดริน: โปรตีนที่มีกรดอะมิโนชนิด แอลฟาจะทาปฏิกิรยิ ากับนินไฮดรินให้ สีน้ าเงิน 2.ปฏิกิริยาไบยูเรต: โดยโปรตีนทุกตัวจะให้สีกบั ปฏิกิริยา การทดลองนี้เป็ นสีน้ าเงินปนม่วง โปรตีนทาปฏิกิรยิ ากับคอปเปอร์ ซัลเฟตในสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์
ลิพิด (Lipid)
ลิพิด (Lipid) ไขมันและน้ ามันเป็ น สารประกอบ เอสเทอร์ที่เกิด จากกรดไขมันกับแอลกอฮอล์ บางชนิด ที่ 25C • ของแข็ง เรียกว่า ไขมัน • ของเหลว เรียกว่า น้ ามัน
ลิพิด (Lipid) Lipids เป็ นสารที่ไม่เป็ น polymer Lipids ไม่ละลายน้ า เนื่องจากโครงสร้างของ lipids ประกอบด้วย nonpolar covalent bonds เป็ นส่วนมาก แต่จะละลายได้ดีในตัวทาละลายที่เป็ นสารอินทรีย ์ เช่น อีเทอร์ เบนซีน คลอโรฟอร์ม และเอทานอล เป็ นต้น Lipids ประกอบด้วยธาตุ C, H, O ได้แก่ • ไขมัน (Fat) • Phospholipid • Steroid • ไข (Wax)
ลิพิด (lipid) แบ่งตามโครงสร้างได้ 3 ชนิด ลิพิดเชิงเดี่ยว (simple lipid) ลิพิดเชิงซ้อน (compound
lipid)
อนุพนั ธ์ลิพิด (derived lipid)
ลิพิดเชิงเดี่ยว (simple lipid) ไขมัน(Fat): เป็ นแหล่งสะสมพลังงาน ถึงแม้ไขมัน จะไม่เป็ น polymer แต่เป็ นสารที่มีโมเลกุลขนาดใหญ่ ประกอบด้วยสารที่มีโมเลกุลขนาดเล็กกว่ามาต่อกันด้วยปฏิกิรยิ า Dehydration Fats ประกอบขึ้นด้วยกัน 2 ส่วนคือ Glycerol + กรดไขมัน (Fatty acid) 3 หมู่ **ไขมันและนา้ มันประกอบด้ วย กรดไขมันและแอลกอฮอล์ทเี่ รียกว่ า Glycerol
Glycerol
Glycerol เป็ นแอลกอฮอล์ที่มีคาร์ บอน 3 ตัว ซึ่งมีหมู่ hydroxyl ที่สามารถเกิดปฏิกริ ิยากับกรดไขมันได้ 3 หมู่
Fatty acid
จานวนกรดไขมัน Monoglyceride
• มีจานวนกรดไขมัน 1 โมเลกุล
Diglyceride
• มีจานวนกรดไขมัน 2 โมเลกุล
Triglyceride
• มีจานวนกรดไขมัน 3 โมเลกุล
ในการรวมกันของโมเลกุลของกลีเซอรอลกับโมเลกุลของกรด ไขมัน 1 โมเลกุลนั้น จะได้น้ า 1 โมเลกุล ฉะนั้นการเกิดไตรกลีเซอไรด์ จะ ได้น้ า 3 โมเลกุล
ไขมัน (Fat)
http://io.uwinnipeg.ca/~simmons/1115/cm1503/lipids.htm
กรดไขมัน แบ่งออกเป็ น 2 ชนิด กรดไขมันชนิดอิ่มตัว (Saturated fatty acid)
กรดไขมันชนิดไม่อิ่มตัว (Unsaturated fatty acid)
• มีคาร์บอนทุกอะตอมต่อกัน อยู่ ด้วยพันธะเดี่ยว
• มีบางพันธะระหว่างอะตอม ของคาร์บอนเป็ นพันธะคู่
กรดไขมัน
ไขมันที่ได้จากสัตว์ เช่น เนย มี saturated fatty acid เป็ นองค์ประกอบ มีลกั ษณะเป็ นของแข็งที่ อุณหภูมิหอ้ ง ไขมันจากพืช มี unsaturated fatty acid เป็ น องค์ประกอบ มีลกั ษณะเป็ นของเหลวที่อุณหภูมิหอ้ ง
http://io.uwinnipeg.ca/~simmons/1115/cm1503/lipids.htm
กรดไขมันที่ไม่จาเป็ น (nonessential fatty acids ) คือ กรดไขมันที่รา่ งกายสามารถสังเคราะห์ได้เองเช่น กรดบิวไทริก กรดปาล์มิติ เป็ นต้น กรดไขมันที่จาเป็ น (essential fatty acids ) คือ กรด ไขมันที่รา่ งกายไม่สามารถสังเคราะห์ได้เอง และ จาเป็ นต่อการเจริญของร่างกาย เช่น กรดไลโนเลอิก กรดไลโนเลนิก และกรดอะแรคไคโนนิก เป็ นต้น
ลิพิดเชิงซ้อน (compound lipid) ลิพิดเชิงซ้อน (compound lipid): เป็ นลิพิดที่มี สารอื่นเป็ นองค์ประกอบด้วย ได้แก่ ฟอสโฟลิพิด ไกลโคลิพิด ลิโพโปรตีน
ลิพิดเชิงซ้อน (compound lipid) • ฟอสโฟลิพิด (phospholipid) เป็ นองค์ประกอบหลักของเยื่อหุม้ เซลล์ มี คาร์บอนของกลีเซอรอล 1 อะตอม จับกับหมู่ฟอสเฟตตัวอย่างของ สารประกอบฟอสโฟลิพิด ได้แก่ เลซิทิน (lecithin) เซฟาลิน (cephalin) พลาสมาโลเจน (plasmalogen)
• ไกลโคลิพิด (glycolipid) เป็ นลิพิดที่มีคาร์โบไฮเดรตเป็ นองค์ประกอบ อยูด่ ว้ ย ลิพิดชนิดนี้พบที่ อวัยวะหลายแห่ง เช่น สมอง ไต ตับ ม้าม • ลิโพโปรตีน (lipoprotein) เป็ นไขมันที่มีโปรตีน หรือกรดอะมิโนเป็ น องค์ประกอบร่วม เป็ นส่วนประกอบของเยื่อหุม้ เซลล์ เลือด
Phospholipids • โครงสร้างคล้ายไขมัน (fat) แต่มีกรดไขมันเพียง 2 ตัวที่ตอ่ กับ glycerol • หมู่ hydroxyl อีกหนึ่งหมู่ของ glycerol ต่อกับหมู่ฟอสเฟต ซึ่งอาจมี หมู่เล็ก ๆ ต่อกับหมู่ฟอสเฟต • มีคณ ุ สมบัติ หาง (tail) ไม่ชอบน้ า (hydrophobic) เนื่องมาจาก คุณสมบัตขิ องกรดไขมัน และ • หัว (head) ชอบน้ า (hydrophllic) เนื่องมาจากคุณสมบัตขิ องหมู่ ฟอสเฟตและหมู่ที่มาเกาะกับฟอสเฟต • Phospholipids เป็ นส่วนประกอบสาคัญของเยือ่ หุม้ เซลล์
Phospholipids
Phospholipids
Phospholipids
Phospholipids
ลิพิดอนุพนั ธ์ (derived lipid) ลิพิดอนุพนั ธ์ (derived lipid): เป็ นลิพิดที่ได้มา จากลิพิด 2 ชนิดแรกที่กล่าวมาแล้ว เช่น กรด ไขมัน ซึ่งได้จากปฏิกิริยาไฮโดรลิซิส นอกจากนี้ ยังรวมถึงสเตอรอยด์ ซึ่งเป็ นสารประกอบ อินทรียท์ ี่ไม่ใช่ลิพิด แต่เนื่องจากมีสมบัตคิ ล้าย ลิพิด จึงถูกจัดไว้ในกลุม่ ลิพิด
ลิพิดอนุพนั ธ์ (derived lipid) สเตอรอยด์มีโครงสร้างทั ่วไปเป็ นวงแหวน 4 วง สเตอรอยด์มีหลายชนิดขึ้นอยูก่ บั หมู R ที่มาเชื่อมกับวงแหวน เช่น คอเลสเตอรอล: เป็ นองค์ประกอบของเยือ่ หุม้ เซลล์ โพเจสเทอโรน และเทสโทสเทอโรน: เป็ นสเตอรอยด์ ที่เป็ นฮอร์โมนเพศ เป็ นต้น
Steroids จัดเป็ น lipids เนื่องจากมีคณ ุ สมบัตไิ ม่ชอบน้ า เป็ นสาย hydrocarbon ที่มีหมู่วงแหวน 4 วงมาเกาะ ความแตกต่างของหมู่วงแหวนนี้ทาให้ เกิด steroids ชนิดต่าง ๆ เช่น คลอเรสเตอรอล , ฮอร์โมนชนิดต่าง ๆ
เทสโทสเทอโรน
โพเจสเทอโรน
คอเลสเตอรอล
สรุป ลิพิด แบ่งออกเป็ นประเภทใหญ่ได้ 3 ประเภท คือ 1. ลิพิดเชิงเดี่ยว คือ ประกอบด้วยกรดไขมันกับกลีเซอรอลหรือแอลกอฮอล์ตวั อื่น แบ่งย่อยได้เป็ น 1.1 ไขมันแท้ (true fat) เป็ นเอสเทอร์ของกรดไขมันกับกลีเซอรอล เรียก อีกชื่อหนึ่งว่า กลีเซอไรด์ ไตรกลีเซอไรด์ คือ กรดไขมัน 3 โมเลกุล ไตรกลีเซอไรด์ใน พืชส่วนใหญ่จะเป็ นของเหลวและมีจุดหลอมเหลมต ่า มักเรียกว่า น้ ามัน ส่วนไตรกลีเซอ ไรด์ในสัตว์ จะเรียกว่า ไขมัน 1.2 ขี้ผึ้งหรือไข จะพบได้ที่ผิวนอกของเปลือกผลไม้ ผิวใบไม้ สารเคลือบ ปี กแมลงและขนของสัตว์ปีก ปลาวาฬจะสะสมไขไว้ใช้เป็ นพลังงานแทนไตรกลีเซอไรด์ 2. ลิพิดเชิงซ้อน หมายถึง ลิพิดที่มีสารอื่นประกอบอยูด่ ว้ ย เช่น ฟอสโฟลิพิด ฯ 3. อนุพนั ธ์ลิพิด เป็ นสารที่ได้จากการย่อยสลายลิพิดทั้ง 2 ประเภท ที่สาคัญ ได้แก่ กรดไขมันและกลีเซอรอล เช่น 3.1 สเตอรอยด์ เป็ นอนุพนั ธ์ของลิพิดที่สาคัญคือ ฮอร์โมนเพศ ซึ่งมี โครงสร้างทั ่วไปเป็ นวงแหวน 4 วง สเตอรอยด์มีหลายชนิดขึ้นอยูก่ บั หมู่ R ที่มาเชื่อมกับวง แหวน สเตรอยด์ที่พบทั ่วไป คือ คอเลสเทอรอล
ความสาคัญของ lipids ต่อสิ่งมีชีวิต • เป็ นโครงสร้างของร่างกาย ปกป้องร่างกายจากแรงภายนอก ปกป้องอวัยวะภายในที่มีความสาคัญ • ควบคุมอุณหภูมิของร่างกาย • ช่วยทาให้ผมและขนมีสุขภาพดี • มีบทบาทในการดูดซึมวิตามิน (A, D, E, K) • ให้พลังงาน • ฮอร์โมน
การทดสอบ lipids ถูกบั กระดาษไข
ถ้าโปร่งแสง = Lipid
กรดนิวคลีอิก
(Nucleic acid)
กรดนิวคลีอิก (Nucleic
acid)
กรดนิวคลีอิก: เป็ นสารชีวโมเลกุลที่มีขนาดใหญ่ ทาหน้าที่ เก็บและถ่ายทอดข้อมูลทางพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิตจากรุน่ หนึ่งไป ยังรุน่ ต่อไป และมีหน้าที่ควบคุมการเจริญเติบโตและกระบวนการ ต่างๆของสิ่งมีชีวิตด้วย กรดนิวคลีอิกมี 2 ชนิด คือ DNA (Deoxyribonucleic acid) RNA (Ribonucleic acid)
กรดนิวคลีอิก: จะประกอบด้วยหน่วยย่อยที่เรียกว่า นิวคลีโอไทด์ (Nucleotide) ซึ่งโมเลกุลของนิวคลีโอไทด์ ประกอบด้วย 3 ส่วน ได้แก่ หมู่ฟอสเฟต น้ าตาลที่มีคาร์บอน 5 อะตอมหรือน้ าตาลเพนโทส ไนโตรจีนสั เบส (เบสที่มีไนโตรเจนเป็ นองค์ประกอบ)
โครงสร้างพื้นฐานของกรดนิวคลีอิก ซึ่งมี 2 ชนิดดังนี้ Nucleoside = base + sugar Nucleotide = base + sugar + phosphate group
ข้อแตกต่างระหว่าง DNA กับ RNA จะต่างกันที่ชนิดของน้ าตาลเพนโทส
RNA
จะประกอบด้วย น้ าตาลไรโบส (Ribose)
DNA
ประกอบด้วย น้ าตาลดีออกซีไรโบส (DeoxyRibose)
Purines
Pyrimidines
ไนโตรจีนสั เบสแบ่ง ออกเป็ น 2 กลุ่มคือ Purines ได้แก่ Adenine และ Guanine (มี 2 วง) Pyrimidines ได้แก่ Uracil, Thymine และ Cytocine (มี 1 วง)
ซึ่งสามารถเขียนสัญลักษณ์แทนชื่อเบสเหล่านี้โดยใช้อกั ษรตัวแรกของชื่อ เบสในภาษาอังกฤษและเขียนเป็ นตัวพิมพ์ใหญ่
นิวคลีโอไทด์มีโครงสร้างอยู่ 5 ชนิดแตกต่างกัน ตามส่วนประกอบที่เป็ นไนโตรจีนสั เบส ดังนี้
Guanine
Thymine
Cytosine
Adenine
Uracil
ในการรวมตัวเป็ นนิวคลีโอไทด์ เบสจะต่อกับคาร์บอนตัวที่ 1 ของ น้ าตาลเพนโทส และฟอสเฟตต่อกับน้ าตาลตัวที่ 5 ของเพนโทส
Nucleotides: เป็ นสารพลังงาน เช่น ATP Nucleotides: จะเรียงตัวต่อกันเป็ นสายยาว เรียกว่า พอลินิวคลีโอไทด์ (Polynucleotide) ใน DNA สายพอลิเมอร์จะมีลกั ษณะเป็ นเกลียวคู่
ประกอบด้วยสายพอลินิวคลีไทด์ 2 สายเชื่อมต่อกันด้วย คู่เบสที่เหมาะสมด้วยพันธะไฮโดรเจน โดยเบสไทมีน (T) จะจับกับเบสอะดีนีน (A) ส่วนเบสไซโตซีน (C) จะ จับกับเบสกวานีน (G) ส่วน RNA จะประกอบด้วยสายพอลินิวคลีโอไทด์ เพียง สายเดียวและมีเบสอะดีนีน (A) กวานีน (G) ไซโตซีน (C) และยูราซิล (U)เท่านั้น
Thymine
Cytosine
Adenine
Guanine
Polynucleotides
http://io.uwinnipeg.ca/~simmons/1115/cm1503/nucleicacids.htm
สรุปข้อแตกต่างระหว่าง DNA
and RNA
DNA Nucleotides • a) นา้ ตาล = deoxyribose • b) สาย 2 สาย พันเป็ นเกลียววนขวา เรียกว่ า Double helix (double stranded) • ชนิดเบสใน DNA Guanine (G) - Cytosine (C) Adenine(A) - Thymine (T) RNA Nucleotides • a) นา้ ตาล = ribose • b) สายเดีย่ ว Single stranded helix • c) ชนิดเบสใน RNA Uracil (U) - Adenine (A) Guanine (G) - Cytosine (C)
วิตามิน (Vitamin)
วิตามิน (vitamin) วัตถุประสงค์ของการใช้วิตามิน • ให้เพื่อเสริม เป็ นการให้วิตามินบางชนิดเสริมบางสภาวะที่รา่ งกาย มีความต้องการวิตามินและเกลือแร่มากกว่าปกติ เช่น หญิง ตั้งครรภ์ และ ระหว่างให้นมบุตรจะมีความต้องการสารอาหาร เพิ่มขึ้น • ให้เพื่อป้องกันการขาด เป็ นอาหารเสริมในคนที่มีความเสี่ยงต่อ ภาวะขาด เช่น เด็กแรกเกิด หรือผูป้ ่ วยโรคเรื้อรัง • ให้เพื่อการรักษา ให้กบั ผูป้ ่ วยที่แสดงอาการขาด • ให้เพื่อหวังผลทางเภสัชวิทยา วิตามินขนาดสูงๆจะถูกนามาใช้ใน การรักษาโรคต่างๆได้
หน้ าที่ของวิตามิน 1
2 3 4
• ช่วยให้อวัยวะต่างๆ ทางานตามปกติ • ช่วยป้องกันและต้านทานโรค • ช่วยส่งเสริมการเจริญเติบโต • ทาหน้าที่เป็ นเอนไซม์ หรือร่วมกับเอนไซม์ในการช่วย เร่งปฏิกิริยาเคมีในร่างกาย
ชนิดของวิตามิน แบ่งตามคุณสมบัตใิ นการละลายน้ า แบ่งได้เป็ น 2 กลุม่ คือ • วิตามินที่ละลายในน้ า (Water soluble vitamins) • วิตามินที่ละลายในไขมัน (Fat soluble vitamins)
Water soluble vitamins • • • • • • • • • • • •
วิตามินบี 1 วิตามินบี 2 วิตามินบี 3 วิตามินบี 5 วิตามินบี 6 วิตามินบี 9 , วิตามินบี 12 วิตามินบี 15 วิตามินบี 17 วิตามินซี วิตามินพี วิตามินเอช
(Thiamine) (Riboflavin) (Niacin) (Pantothenic acid) (Pyridoxine) (Folic acid) (Cobalamin) (Pangamic acid) (Amygdalin หรือ Laetrille) (Ascorbic acid) (Bioflavonoids) (Biotin)
Fat soluble vitamins • • • • • • •
วิตามินเอ วิตามินดี วิตามินอี วิตามินเอฟ วิตามินเค แคโรทีน เทารีน
(Retinol) (Cholecalciferol) (Tocopherol)
โรคขาดวิตามินเอ ( กระจกตาจะขุ่นเหลวและติดเชื้อได้ง่าย)
โรคขาดวิตามินซี (เหงือกบวมและมีเลือดออกง่าย, เลือดออกใต้เล็บ, ต่อมขน จะมีขนาดใหญ่และมีเลือดคลั ่ง )