Green Research 18

Page 1

¾Åѧ§Ò¹¹ÔÇà¤ÅÕÂÃ

¡Ñº¡ÑÁÁѹμÀÒ¾ÃѧÊÕ

áÅÐÀѸóվԺÑμÔ

·ÕèÁ¹ØÉ ¤Çº¤Ø ¤Çº¤ØÁäÁ‹ä´Œ


¾Åѧ§Ò¹¹ÔÇà¤ÅÕÂÃÐ

ปที่ 8 ฉบับที่ 18 ประจําเดือนพฤษภาคม 2554

¡Ñº¡ÑÁÁѹ ÀÒ¾ÃѧÊÕ

áÅÐÀÑÂ¸Ã³Õ¾ÔºÑ Ô

15-17

·ÕèÁ¹ØÉÂФǺ¤Ø ¤Çº¤ØÁäÁ‹ä´Œ

4-6

25-26

«wi qÖ ¡²|« i i w ¡}

| ¢² Ú w Ý i Ùª ¢ |} w¬z |w h w Ù

/&'

Ú w Ý i Ùª ¢ |

27-31

Ùi w h ÜÞ³Ù ¢²Ù ³Ù® h ¢Ú w Ý i Ùª ¢ |} w h w Ù

¢ª ¢ | w Ù} w h w Ù ¢² ¥h ­Ù ¡ª Ø i |® i w ¤|ªÜÞ² ª ¢ | ¢ª ¢ | w Ù} w h w Ù w « Ý}Ý i | ¢ w ­Ùw «wi®x ¢² ¥h ­Ù ¡ª Ø i |® i w ¤|ªÜÞ² ª ¢ | ww h ¢ª ¢ | w Ù} w h w Ù ¤Ù« | « Ý i | · ªÙ¡Ùw ª} } x Þ³ ¢² ¡Ù Þ }h zh ª

w ݪ ¡ÙÚ w Ý i Ùª ¢ | } w¬z |w Ü ×Ù h w Ù

7-10

11-14

18 20 18-20

21-24 w Ú ¡ ª ¡w Ð ª¢² ÒÙ ¡ h ¡|² « i ¬} Ðw h| w ¥ h ¬ w

ศูนยวิจัยและฝกอบรมดานสิ่งแวดลอม กับการขับเคลื่อนเครือขายนักวิจัยสิ่งแวดลอม

32-33

¥ h |w i ¥ ª ¡w

¤ Ùªxi «x±| ¡²|« i ²| ÞÙ

34-36

70$T

2


บรรณาธิการชวนคุย หลายปทผี่ า นมานีป้ รากฎการณหลายๆ อยางทีเ่ กิดขึน้ ราวกับเปนการ เขาสูช ว งเวลาทดสอบตัวเองอยูว า โลกยังนาจะเปนทีอ่ ยูอ าศัยของมนุษย อีกตอไปหรือไม บางบอกวาวิกฤติหายนะที่เกิดขึ้นทั่วทุกมุมโลกทั้ง ไฟปา แผนดินไหว นํา้ ทวม พายุถลม อากาศเปนพิษ เปนเพราะมนุษยทาํ รายทารุณตอธรรมชาติ จึงถึงเวลาแลวที่โลกจะเรียกรองทวงคืน บางก็วา สวนหนึง่ เปนเพราะโลกเอง ทีม่ กี ารเปลีย่ นแปลงทางกายภาพ ของตัวเอง เชนการเคลื่อนตัวของรอยเลื่อนใตมหาสมุทรและภูเขาไฟ เปนตน ที่จริง เปนความคิดเห็นที่ถูกตองทั้งสองคําตอบ ในสวนที่เกิดจากการกระทําของมนุษย ยังมีหลายอยางที่ตองเอามา ขบคิดกันถึงการโยนความผิดใหกับคนรุนกอน เชน การตัดไมทําลายปา ซึง่ วันนีค้ นตัดไม ถางไร ตกเปนจําเลย มีความผิดทีท่ าํ รายสภาพนิเวศวิทยา จนทําใหปา ไมเหลือนอย โลกรอน แตหากมองอีกแงมมุ หนึง่ ในวันกอนโนน หากไมมีไมหมอนรถไฟ ไมมีการรุกหักรางถางพง โลกในวันนี้จะเปน เชนไร เรื่องราวหนึง่ ๆ ยอมเกิดขึ้นจากปจจัยเงื่อนไขความจําเปนในสภาพ แวดลอมขณะนัน้ ซึ่งอาจไมถูกตองเมื่อเกิดขึ้นในอีกชวงเวลาหนึง่ ดังนัน้ สิ่งที่คนในรุนปจจุบันตองทํา คือ การสํารวจ วิเคราะห วิจัย หาเหตุผล ขอมูล เพือ่ นําเสนอตอประชาคมโลกใหชว ยกันตอบโจทย เปนขอมูลสําหรับ การหาทางออกที่ดีใหกับโลกใบนี้ งานของนักวิจัยสิ่งแวดลอมจึงเปนงานที่มีความสําคัญยิ่ง !

¤³Ð¼ÙŒ¨Ñ´·íÒ : ศูนยวิจัยและฝกอบรมดานสิ่งแวดลอม กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม เทคโนธานี ตําบลคลองหา อําเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี 12120 โทรศัพท 0-2577-4182-9 ตอ 1102 โทรสาร 0-2577-1138 ·Õè»ÃÖ¡ÉÒ : พรทิพย ปนเจริญ ภาวินี ปุณณกันต ºÃóҸԡÒúÃÔËÒà : บุญชอบ สุทธมนัสวงษ ºÃóҸԡÒà ธรชัย ศักดิ์มังกร ¡Í§ºÃóҸԡÒà : มีศักดิ์ มิลินทวิสมัย โสฬส ขันธเครือ นิตยา นักระนาด มิลน ศิรินภา ศรีทองทิม หทัยรัตน การีเวทย รุจยา บุณยทุมานนท จินดารัตน เรืองโชติวิทย อุไร เกษมศรี ติดตอขอเปนสมาชิก สวนความรวมมือและเครือขายนักวิจัยดานสิ่งแวดลอม ศูนยวิจัยและฝกอบรมดานสิ่งแวดลอม โทรศัพท 0-2577-4182-9 ตอ 1102, 1121, 1125 ; โทรสาร 0-2577-1138 www.deqp.go.th/website/20/

3


วงแหวนแหงไฟ (Ring of Fire) กับเหตุแหงภัยพิบัติ โดย : ขจรศักดิ์ หาญปราบ*

แผนแอฟริกัน : ครอบคลุมทวีปแอฟริกาเปนแผนทวีป

แผนแอนตารคติก :

ครอบคลุมทวีปแอนตารคติก เปนแผนทวีป

แผนออสเตรเลียน :

ครอบคลุมออสเตรเลีย (เคยเชื่อมกับแผนอินเดียน เมื่อประมาณ 50-55 ลานปกอน) เปนแผนทวีป

แผนยูเรเซียน :

ครอบคลุมทวีปเอเชียและยุโรป เปนแผนทวีป

แผนอเมริกาเหนือ :

ครอบคลุมทวีปอเมริกาเหนือ และทางตะวันออกเฉียงเหนือ ของไซบีเรีย เปนแผนทวีป

ภัยพิบตั ทิ เี่ กิดขึน้ ในโลกเราไมวา จะ

แผนดินไหว ภูเขาไฟระเบิด พายุถลม สึ น ามิ เหล า นี้ ล ว นเป น ภั ย พิ บั ติ ที่ค น ทั้งโลกไมอยากใหเกิด แตเมื่อพูดถึง วงแหวนแหงไฟ นั้นเมื่อกอนหลายคน คงนึกไมออก แตถาหากพูดถึง ภูเขาไฟ ระเบิด แผนดินไหว สึนามิ เชื่อวาก็คง พอรูถ งึ ความรายแรงกันบาง ทัง้ หมดนี้ เกิดจากกระบวนการเปลี่ยนแปลงของ เปลือกโลกสงใหเกิดผลแตกตางกัน แลวแตพนื้ ที่ ซึง่ แผนเปลือกโลกแบงไดดงั นี้

4

แผนอเมริกาใต :

ครอบคลุมทวีปอเมริกาใต เปนแผนทวีป

แผนแปซิฟก :

ครอบคลุมมหาสมุทรแปซิฟก เปนแผนมหาสมุทร นอกจากนี้ยังมีแผนเปลือกโลกที่มี ขนาดเล็กกวาไดแกแผนอินเดียน, แผน อาระเบียน, แผนแคริเบียน, แผนฮวน เดฟูกา, แผนนาซคา, แผนฟลปิ ปนสและ แผนสโกเทีย

*นักวิชาการสิ่งแวดลอม ศูนยวิจัยและฝกอบรมดานสิ่ิงแวดลอม

จากที่กลาวมาเราจะใหความสนใจที่ แผนแปซิฟก ความรุนแรงครัง้ ลาสุดจาก กรณีภยั พิบตั คิ ลืน่ ยักษสนึ ามึทเี่ กิดขึน้ ใน ญีป่ นุ จนเปนเหตุชอ็ คโลกเมือ่ ไมนานมานี้ ก็เปนสวนหนึง่ ของการเปลีย่ นแปลงของ เปลือกโลกจนทําใหเกิดแผนดินไหวครั้ง รุนแรง ผลที่ตามมาคือเมื่อเกิดสึนามิ จึ ง ทํ า ให ห ลายคนได ยิ น ชื่ อ วงแหวน แหงไฟ (Ring of Fire) และรับรูถ งึ ความ นากลัวของภัยพิบัติธรรมชาติ หลายๆ อยางที่เกิดขึ้น วงแหวนแหงไฟ (Ring of Fire) ตั้งอยูบนแผนโลกที่เรียกกันวาแผน แปซิฟก (Pacific Plate) ซึ่งก็คือพื้นที่ รอบๆ มหาสมุทรแปซิฟค มาจนถึง แถวหมูเกาะสุมาตรา โดยมีการเกิด แผนดินไหว และ ภูเขาไฟระเบิดอยูต ลอด มาในประวัตศิ าสตร นักวิทยาศาสตรจงึ เรียกวา วงแหวนไฟ หรือ Ring of Fire มาตัง้ แตกอ นทีจ่ ะมีความเขาใจเรือ่ งการ เคลื่อนที่ของแผนเปลือกโลกเสียอีก จน ในเวลาตอมาเมื่อเราจะเรียนรูเรื่องการ เคลื่ อ นไหวของแผ น เปลื อ กโลกแล ว นักธรณีวิทยาก็ยังเรียกภูมภิ าคสวนนีว้ า Ring Of Fire เชนเดิม เพราะเปนชื่อที่ เหมาะสมมาก ซึง่ นักวิทยาศาสตรนนั้ รูจ กั และศึกษากันมามากจนคาดการณไดวา จะเกิดเมือ่ ไหร แตทวาถึงอยางนัน้ ความ เสียหายและความรุนแรงก็ยากจะรับมือ สรุ ป ง า ยๆ ก็ คื อ ทั้ ง แผ นดิ น ไหว สึนามิ ภูเขาไฟระเบิด ลวนมีผลมาจากการ เปนพื้นทีท่ ตี่ งั้ อยูบ น “วงแหวนแหงไฟ”


ซึ่ ง ทํ า ให ภู มิ ป ระเทศทั้ ง บนบก ทะเล และใตพื้นดิน เอื้อตอการเผชิญหนากับ ภัยธรรมชาติ วงแหวนแหงไฟ มีลักษณะเปนเสน เกือกมา ความยาวรวมประมาณ 40,000 กิโลเมตร และวางตัวตามแนวรองสมุทร แนวภูเขาไฟและบริเวณขอบแผนเปลือกโลก โดยมีภูเขาไฟที่ตั้งอยูภายในวงแหวน แหงไฟทั้งหมด 452 ลูก และเปนพื้นที่ ที่มีภูเขาไฟคุกกรุนอยูกวา 75% จากขอมูล พบวาเหตุ แผนดินไหว ประมาณ 90% ของแผ นดิ น ไหวที่ เกิ ด ขึ้ น ทั่ ว โลกและกว า 80% ของ แผนดินไหวขนาดใหญ เกิดขึน้ ในบริเวณ วงแหวนแหงไฟ นอกจากวงแหวนแหงไฟ ยังมีแนว แผนดินไหวอีก 2 แหง ไดแก แนวเทือกเขา อัลไพน ซึ่งมีแนวตอมาจากเกาะชวาสู เกาะสุมาตรา (สาเหตุแผนดินไหวและ สึนามิที่ถลมอินโดนีเซีย) ผานเทือกเขา หิ ม าลั ย และทะเลเมดิ เตอร เรเนี ย น แนวแผ นดิ น ไหวแห ง นี้ มี แ ผ นดิ น ไหว เกิดขึน้ 27% ของทัง้ โลก และอีกแหงคือ แนวกลางมหาสมุทรแอตแลนติก ซึง่ มี แผนดินไหวเกิดขึน้ 5-6% ของทัง้ โลก[3] ทีม่ า “วงแหวนแหงไฟ” http://th.wikipedia. org/wiki/วงแหวนแหงไฟ

ภาพแสดงลักษณะแผนเปลือกโลก ที่มา http://www.drgeorgepc.com/Earthquake1964Alaska.html

ภาพวงแหวนแหงไฟ (Ring of Fire) ที่มา www.asianinfrastructure.com รายชื่อประเทศที่อยูในแนววงแหวนแหงไฟ ไดแก ประเทศเบลีซ, โบลิเวีย, บราซิล, แคนาดา, โคลัมเบีย, ชิลี คอสตาริกา, เอกวาดอร, ติมอรตะวันออก, เอลซัลวาดอร, ไมโครนีเซีย, ฟจิ, กัวเตมาลา, ฮอนดูรัส, อินโดนีเซีย, ญี่ปุน, คิริบาตี, เม็กซิโก, นิวซีแลนด, นิการากัว, ปาเลา, ปาปวนิวกินี, ปานามา, เปรู, ฟลิปปนส, รัสเซีย, ซามัว, หมูเกาะโซโลมอน, ตองกา, ตูวาลู และสหรัฐอเมริกา

5


ภาพความรุนแรงบางสวนของภ นของภัยพิบัติของเหตุการณตางๆ ที่เกิดขึ้น ในบางประเทศที่ไดรับผลกระทบ

ภาพซาย : แสดงจุดที่เกิดแผนดินไหว ทีม่ า http://www.kurzweilai.net/the-megaquake-connection-are-huge-earthquakes-linked ภาพขวา : แสดงที่ตั้งของภูเขาไฟทั้งหมดในโลก ที่มา http://www.volcano.si.edu/world/nd_regions.cfm จะเห็นไดวา พืน้ ทีร่ อบๆ วงแหวนแหงไฟนัน้ มีอตั ราการเกิดแผนดินไหวมากทีส่ ดุ และแผนดินไหวนัน้ สรางความเสียหายตอมนุษย อยางมากรวมถึงการเกิดของสึนามิ และนอกจาก “วงแหวนแหงไฟ” จะเปนแนวทีเ่ กิดแผนดินไหวแลวยังเปนแนวของ “ภูเขาไฟ” ดวย

การระเบิดของภูเขาไฟปนาทูโบ (Pinatubo) ในประเทศฟลิปปนสเมื่อป ค.ศ. 1991 ที่มา http://pi.eng.src.ku.ac.th/mod/forum/discuss.php?d=4797

ยอดเขาชินโมวดาเกกําลังระเบิดพื้นที่ ระหวางเขตควบคุม มิยาซากิและคาโกชิมาทางตอนใตของญี่ปุน เมื่อ29 มกราคม ค.ศ. 2011 ที่มา http://www.oknation.net/blog/supawan/2011/02/01/entry-1

การเกิดสึนามิครั้งลาสุดที่ญี่ปุน เหตุเนื่องจากการเกิดแผนดินไหว 8.9 ริกเตอรเมื่อวันที่ 11 มีนาคม ค.ศ. 2011 ที่มา http://clbnetwork.org/ffblog/2011/3/11/pray-tsunami-in-japan.html

6

อางอิงจาก : 1.“วงแหวนแหงไฟ” http://www.zone-it.com/150489#msg948758 2.“สึนามิ” http://www.oknation.net/blog/vconsult1978/2008/07/16/entry-11 3.“วงแหวนแหงไฟ” http://th.wikipedia.org/wiki/วงแหวนแหงไฟ 4.“Pacific Ring of Fire” http://en.wikipedia.org/wiki/Pacific_Ring_of_Fire 5.http://geography.about.com/cs/earthquakes/a/ringofre.htm 6.http://th.wikipedia.org/wiki/แผนเปลือกโลก 7.http://www.volcano.si.edu/world/nd_regions.cfm


รอบรูเรื่องกัมมันตภาพรังสี

อันตรายและการปองกัน โดย : พีรายุ หงษกําเนิด*

ที่มา: http://i1.tribune.com.pk/wp-content/uploads/2011/03/nuclear-power-plant-EPA11-136979

จากเหตุการณแผนดินไหวอยางรุนแรงขนาด 8.9 ริคเตอร ในวันมหาวิปโยค 11

มีนาคม 2554 ทางตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศญี่ปุน เปนสาเหตุใหเกิดคลื่นยักษ สึนามิสูง 6-10 เมตร เขาซัดบานเรือน สิ่งกอสราง และคราชีวิตประชาชนไมตํ่ากวา 11,800 ราย และสูญหายอีก 15,540 ราย1 จากนัน้ ทัว่ โลกตองขวัญผวากับขาวการระเบิดของ โรงไฟฟานิวเคลียร 4 แหงในบริเวณเดียวกันทีต่ งั้ อยูภ ายในเมืองฟูกชู มิ ะ ไดอิจิ (Fukushima Diichi) อันเนื่องมาจากระบบหลอเย็นหยุดการทํางาน จึงไดมีการปมนํ้าทะเลเขาสูระบบเพื่อ ลดอุณหภูมขิ องเตาปฏิกรณแทนระบบหลอเย็น สงผลใหเกิดการแพรกระจายของสารกัมมันตภาพรังสี ออกสูสิ่งแวดลอม ทั้งทางบรรยากาศ และชายฝงทะเล สําหรับสารกัมมันตรังสีที่รั่วไหลออกมา มีหลายชนิดและที่ตรวจจับไดในครั้งนีค้ ือ ไอโอดีน-131 (131I) สูงกวาระดับปกติ ถึง 126.7 เทา สารกัมมันตรังสี ซีเซียม-134 (134Cs) สูงกวาระดับปกติ 24.8 เทา และซีเซียม-137 (137Cs) สูงกวาระดับปกติ 16.5 เทา2 ซึ่งเปนสารกัมมันตรังสีที่เกิดจากปฏิกิริยาฟชชันที่เกิด ภายในเตาปฏิกรณปรมาณูของโรงไฟฟา

*นักวิชาการสิ่งแวดลอม ศูนยวิจัยและฝกอบรมดานสิ่งแวดลอม

7


สารกัมมันตรังสี เกิดขึ้นไดอยางไร ? สารกัมมันตรังสีเกิดจากสสารหรื จากสส อธาตุที่อยูในสถาพไมเสถียร (ไอโซโทปที่มีโครงสรางปรมาณูไมคงตัว, Unstable isotope) อันเนื่องมาจากความไมสมดุลยกันระหวาง โปรตอน นิวตรอนและอิเล็กตรอนที่อยูภายในอะตอมของธาตุนนั้ ๆ จึงตองมีการปลดปลอยพลังงานสวนเกินออกมาในรูปของรังสีแอลฟา รังสีบีตา รังสีแกมมา หรือรังสีเอกซ รูปใดรูปหนึง่ หรือ มากกวาหนึง่ รูปพรอมๆ กัน เพื่อปรับใหอะตอมของธาตุมีความเสถียร เรียกธาตุเหลานี้วาสารกัมมันตรังสีหรือไอโซโทปรังสี (Radioisotope) และจะคอยๆ สลายตัวไปในชัว่ ระยะเวลาหนึง่ โดยมีอตั ราการสลายตัวทีค่ งที่ ซึง่ ระยะเวลาทีไ่ อโซโทปจํานวน หนึง่ สลายตัวลดลงจนเหลือเพียงจํานวนครึ่งหนึง่ เรียกวา “คาครึ่งชีวิต (T1/2 , Half life)” ตัวอยางเชน ไอโอดีน-131 มีคา ครึ่งชีวิตเทากับ 8 วัน หมายความวาถามีไอโอดีน-131 ในวันแรก 6 กรัม หลักจากนัน้ อีก 8 วัน จะมีเหลืออยู 3 กรัม แลว ตอไปอีก 8 วัน จะมีเหลืออยู 1.5 กรัม และตอไปอีก 8 วัน ก็จะมีเหลืออยูเพียง 0.75 กรัม3 ซึ่งธาตุแตละชนิดจะมีคาครึ่งชีวิต ที่แตกตางกัน อาจมีระยะเวลาสั้นมากจนนับเปนวินาที หรืออาจจะนานเปนลานๆ ป อนึง่ แมวาธาตุที่มีความตางกันใน ความเสถียรกลาวคืออยูในสภาวะเสถียร หรือวามีการปลดปลอยรังสี ก็จะมีคุณสมบัติอื่นๆ ประจําธาตุเหมือนกันทุกประการ สําหรับแหลงกําเนิดสารกัมมันตรังสีนนั้ เกิดขึ้นไดทั้งในธรรมชาติ เกิดมาพรอมกับการกําเนิดโลก เชน คารบอน-14 (14C) และโพแทสเซียม-40 (40K) และสารกัมมันตรังสีที่เกิดจากมนุษยสรางขึ้น อาทิเชน ที่เกิดจากโรงไฟฟานิวเคลียร ซึ่งไดแก ไอโอดีน-131 และ ซีเซียม-137 เปนตน

สารกัมมันตรังสีไอโอดีน-131 และซีเซียม-137 ที่ตรวจจับได จากการรั่วไหลของโรงไฟฟาฟูกูชิมะไดอิจิ เปนอันตรายตอมนุษยหรือไมอยางไร ? อันดับแรกมาทําความรูจักธาตุไอโอดีน ซึ่งสวนใหญรูจักกันในรูปของไอโอดีนเสถียร นัน่ คือ ไอโอดีน-127 ซึ่งเปน ไอโอดีนที่อยูในธรรมชาติ และชวยในการสรางฮอรโมนของตอมไทรอยด แตเมื่อใดที่ตอมไทรอยดทํางานผิดปกติหรือที่เรียก วาตอมไทรอยดเปนพิษ แพทยจะใชไอโอดีน-131 ในการรักษา โดยการกลืนเขาไปเพื่อหยุดการทํางานของตอมไทรอยด แต การรักษาตองอยูภ ายใตความดูแลของบุคลากรทางการแพทย ซึง่ จะตองนอนพักรักษาอยูใ นโรงพยาบาลทีม่ ฉี ากกัน้ เพือ่ ปองกัน การแผรังสีแกมมา เพื่อลดการกระจายรังสีสูคนรอบขางเปนเวลาประมาณ 1 สัปดาหโดยเฉพาะในเด็กเล็กและสตรีมีครรภ ควรอยูหางจากผูปวยอยางนอย 2 เมตร (ปริมาณรังสีจะลดลง 4 เทาเมื่อเทียบกับที่ 1 เมตร) และไมควรอยูรวมกันเปนเวลานาน เชน ควรแยกนอนคนเดียว และระวังเรื่องการกําจัดปสสาวะ เชน ราดนํ้าหรือชักโครกใหบอยครั้ง4 แตสําหรับไอโอดีน-131 ที่รั่วไหลจากโรงไฟฟานิวเคลียรฟูกูชิมะ ไดอิจิ ที่สามารถแพรกระจายสูบรรยากาศไดเปนระยะทางหลายไมลนนั้ (ทั้งนีข้ ึ้นอยู กับทิศทางและความเร็วลม) เนือ่ งจากมีลกั ษณะเปนกาซ สามารถเขาสูร า งกายโดยตรงจากการหายใจเอากาซไอโอดีน-131เขาไป แตอันตรายจะมากนอยแคไหนก็ขึ้นอยูกับปริมาณที่ไดรับ สําหรับอันตรายของไอโอดีนรังสี (131I) คือเมื่อเขาสูรางกายแลวจะ เขาไปสะสมในตอมไทรอยด เนื่องจากตอมไทรอยดเปนแหลงสรางไทรอยดฮอรโมน ดังนัน้ เมื่อตอมไทรอยดไดรับไอโอดีนรังสี ในปริมาณหนึง่ ก็อาจจะเกิดการอักเสบหรือตอมไทรอยดถูกทําลาย ซึ่งหากไดรับในปริมาณนอยรางกายก็สามารถซอมแซมได แตถาหากไดรับในปริมาณมากก็อาจจะมีโอกาสเกิดมะเร็งตอมไทรอยดไดภายหลัง5 ดังนัน้ วิธีการปองกันคือการรับประทาน ไอโอดีนเสถียรเพื่อเพิ่มปริมาณไอโอดีนในตอมไทรอยดใหมากพอ เพื่อไมใหมีพื้นที่ของไอโอดีนรังสีเขาไปสะสมในตอไทรอยดได โดยไอโอดีนเสถียรที่รับประทานเขาไปคือโปแทสเซียมไอโอไดน (KI) ซึ่งมีทั้งชนิดเม็ดและนํ้า แตไมควรรับประทานเกิน ความจําเปน เพราะมีผลขางเคียงตอการสรางฮอรโมนไทรอยด การรับประทานควรอยูในดุลยพินจิ ของแพทยเทานัน้ ซีเซียม-137 สารกัมมันตรังสีอีกตัวหนึง่ ที่ควรใหความสนใจ แมจะมีพิษรุนแรงนอยกวาไอโอดีน-131 หากไดรับใน ปริมาณทีไ่ มมากนัก รางกายจะสามารถขับออกมาไดอยางรวดเร็วผานกระบวนการขับของเสียของรางกายอยางเชนเหงือ่ และ ปสสาวะนัน่ เอง แตสิ่งที่เปนกังวลอยางยิ่งคือการตกคางของซีเซียม-137 ในสิ่งแวดลอม เนื่องจากมีคาครึ่งชีวิตยาวนานถึง

8


30 ป โดยเฉพาะอยางยิ่งเมื่อถูกปนเปอนในพืช ผัก และแหลงนํ้าธรรมชาติ ทําใหสารกัมมันตรังสีดังกลาวถูกสงผานเขาไปใน วัฎจักรหวงโซอาหารของระบบนิเวศตั้งแตอันดับตนๆ (อาทิเชน แพลงกตอน สาหราย พืช) ไปสูอันดับสูงๆ ของหวงโซอาหาร (สัตวกินพืช เชน วัว หมู หรือสัตวนํ้าอยางเชน หอย กุง ปลา) และทายสุดคือมนุษยผูซึ่งบริโภคทั้งพืชและสัตวเหลานี้เปน อาหาร หรือแมกระทั้งนมซึ่งเปนผลผลิตจากสัตวกินพืชก็ยอมที่จะมีการปนเปอนสารกัมมันตรังสีดังกลาวดวย จากการศึกษาวิจัยของ Sawidis T. et. al (2003) ซึ่งไดทําการสํารวจการสะสมของซีเซียม-137 ในสาหรายบริเวณ ทางตะวันตกของอาว Thermaikos ของประเทศกรีซซึ่งเปนบริเวณที่ไดรับฝุนกัมมันตรังสีจากบรรยากาศแลวตกสูทะเล เปนผลพวงมาจากการระเบิดของโรงไฟฟาเชอรโนบิลในประเทศยูเครน พบซีเซียม-137 สะสมในสาหรายผักกาดหอม (Ulva lactuca) ปริมาณสูงถึง 189.3 Bq/kg และยังพบในสาหรายสปชีสอื่นๆอีกที่เจริญเติบโตในบริเวณอาวดังกลาว6 ผลการศึกษาดังกลาวยอมชี้ใหเห็นวาสิ่งมีชีวิตที่กินสาหรายเปนอาหารยอมหนีไมพนที่จะสะสมสารกัมมันตรังสีนี้เขาไปดวย และหลีกเลี่ยงอยางเสียไมได เมื่อปลาในบริเวณดังกลาวจะมีการสะสมในปริมาณที่สูงตามไปดวย ดังนัน้ คาดวาจะเกิดการรั่วไหลของสารดังกลาวและสารกัมมันตรังสีอื่นๆ ที่มีคาครึ่งชีวิตยาว เชน สตรอนเซียม-90 90 ( Sr) ตกคางอยูในอาหารที่ผลิตจากบริเวณใกลเคียงกับโรงไฟฟานิวเคลียรฟูกูชิมะ ซึ่งจะตองมีการตรวจสอบติดตามเปน ระยะเวลานานโดยเฉพาะอยางยิง่ สารกัมมันตรังสีทมี่ คี า ครึง่ ชีวติ ยาว เชน 137Csและ 90Sr เพือ่ ควบคุมไมใหมกี ารบริโภคอาหาร ดังกลาว

ที่มา: http://forum.serithai.net/viewtopic.php?f=2&t=33574&start=0

ระดับของสารกัมมันตรังสีที่จะเปนอันตรายตอรางกายมนุษย แบงได 2 แบบ คือไดรับในปริมาณมากภายในระยะ เวลาอันสั้น เชนกรณีเกิดเหตุระเบิดแลวเกิดการรั่วไหลของสารกัมมันตรังสีดังเชนที่เกิดขึ้นในญี่ปุนเวลานี้ กับอีกแบบหนึง่ คือ ไดรับสารกัมมันตรังสีในปริมาณนอย แตไดรับเปนระยะเวลานานๆ ซึ่งกรณีดังกลาวมักจะเห็นผลเมื่อเวลาผานไปไมนอยกวา 10 ป (สวนใหญมักเกิดเปนมะเร็ง) ทั้งนีข้ ึ้นอยูกับปริมาณรังสีที่ไดรับ ระยะเวลาที่ไดรับสัมผัส และตองเปนรังสีที่มีอํานาจ ทะลุทะลวงสูง ผลกระทบจากรังสีตอรางกาย International Commission on Radiological Protection (ICRP) ขององคการสากลในการปองกันอันตรายจากรังสี ไดรวบรวมผลกระทบจากรังสีตอรางกาย (ตารางที่ 1) สําหรับวิธกี ารปองกันไมใหรางกายไดรบั สารกัมมันตรังสี คือ ไมเขาไปอยูใ นบริเวณทีม่ สี ารกัมมันตรังสี ไมรบั ประทาน อาหารที่มีการปนเปอนสารกัมมันตรังสี ทั้งนี้หากไมมั่นใจในอาหารที่มาจากประเทศญี่ปุนวามีการปนเปอนหรือไม สามารถ ติดตามผลการตรวจสอบไดจากสํานักคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) สําหรับผูน าํ เขาอาหารจากประเทศญีป่ นุ ถาตองการ ทราบวาอาหารมีการปนเปอ นสารกัมมันตรังสีในสินคาเกินมาตรฐานทีก่ าํ หนดหรือไม สามารถติดตอไดที่ “งานบริการตรวจวัด กัมมันตรังสีสินคาสงออก” สถาบันนิวเคลียรแหงชาติ ซึ่งจะรับตรวจสอบสินคาประเภทอาหารและเครื่องดื่ม พรอมออก ใบรับรองรายงานผล ติดตามรายละเอียดไดที่ http://www.tint.or.th/service/export.html สําหรับการปองกันฝุนควัน

9


ตารางที่ 1 ผลกระทบจากรังสีตอรางกาย ปริมาณรังสี (มิลลิซีเวิรต)

แสดงอาการ

2.2

เปนระดับรังสีปกติในธรรมชาติ ที่มนุษยแตละคนไดรับใน 1 ป

5

เกณฑสูงสุดที่อนุญาตใหสาธารณชนไดรับใน 1 ป

50

เกณฑสูงสุดที่อนุญาตใหผูปฏิบัติงานทางรังสีไดรับใน 1 ป

250

ไมปรากฏอาการผิดปกติใดๆ ทั้งระยะสั้นและระยะยาว

500

เม็ดเลือดขาวลดลงเล็กนอย

1,000

มีอาการคลื่นเหียน และออนเพลีย เม็ดเลือดขาวลดลง

3,000

ออนเพลีย อาเจียน ทองเสีย เม็ดเลือดขาวลดลง ผมรวง เบื่ออาหาร ตัวซีด คอแหง มีไข อายุสั้น อาจเสียชีวิตภายใน 3-6 สัปดาห

6,000

ออนเพลีย อาเจียน ทองรวงภายใน 1-2 ชั่วโมง เม็ดเลือดลดลงอยางรวดเร็ว ผมรวง มีไข อักเสบบริเวณปาก และลําคออยางรุนแรง มีเลือดออก มีโอกาสเสียชีวิตถึง 50% ภายใน 2-6 สัปดาห

10,000

มีอาการเหมือนขางตน ผิวหนังพองบวม ผมรวง เสียชีวิตภายใน 2-3 สัปดาห

ที่มา http://www.rmutphysics.com/physics/oldfront/65/nuclear1/icrp.html “หนวยวัดปริมาณรังสีเพื่อใชในการควบคุมและประเมินความอันตรายมีอยูหลายหนวย เชน คูรี (Ci) เบคเคอเรล (Bq) เรินทเกน (R) แตเมื่อใชในการประเมินในเชิงที่เกี่ยวของกับสุขภาพแลว จะใชเปนหนวยของรังสีที่ถูกดูดกลืน (Absorbed dose) ที่เรียกวา เกรย (gray) หรือ หนวยรังสีสมมูลที่เรียกวา ซีเวิรต (Sv)”

กัมมันตรังสีที่แพรกระจายในบรรยากาศ โดยเฉพาะผูท ี่อาศัยอยูใ กลโรงไฟฟานิวเคลียรทเี่ กิดอุบตั เิ หตุ ควรอยูแตเฉพาะภายใน ที่พัก ไมควรเปดเครื่องปรับอากาศ การระบายอากาศ รวมทั้งปดประตูหนาตางเพื่อปองกันฝุนกัมมันตรังสีเขาไปภายในบาน แตสําหรับบริเวณที่อยูไกลจากโรงไฟฟาที่เกิดอุบัติเหตุ เชนประเทศไทยไมควรมีความวิตกกังวล แตอยางไรก็ตามหนวยงานราชการ เชน สํานักงานปรมาณูเพื่อสันติไดมีสถานีเฝาระวังภัยทางรังสีในอากาศ จํานวน 8 สถานีตามภูมิภาคตางๆ โดยขอมูลปริมาณรังสีที่ตรวจวัดจากแตละสถานีจะถูกสงเขามายังศูนยระวังภัย แหงชาติที่กรุงเทพฯ แบบตอเนื่องตลอดเวลา (Real time) ซึ่งจะแสดงขอมูลผานทางเว็บไซต www.oaep.go.th เอกสารอางอิง : 1.แผนดินไหว-สึนามิ ที่ญี่ปุน, สํานักขาวไทยรัฐ, สืบคน 10 เมษายน, 2554, จากเว็บไซต http://www.thairath.co.th/feed/2 2.เทปโกตรวจพบ’กัมมันตรังสี’ในนํ้าทะเล, สํานักขาวคมชัดลึก, สืบคน 18 เมษายน, 2554, จากเวบไซต www.komchadluek.net ตางประเทศ ขาวทั่วไป 3.สํานักงานพลังงานปรมาณูเพื่อสันติ (2542). ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับพลังงานนิวเคลียรและกัมมันตรังสี, การฝกอบรมหลักสูตร การปองกัน อันตรายจากรังสี, น.19. 4.ธีรพล เปรมประภา, สุจิตรา ทองมาก, ธัญญลักษณ เธียรธัญญกิจ และคณะ (2549). การรักษาตอมไทรอยดเปนพิษดวยกัมมันตรังสี I-131, สงขลานครินทรเวชสาร, ปที่ 24 ฉบับที่ 4 ก.ค.-ส.ค. 5.นายแพทย สามารถ ราชดารา (2554). ความรูทั่วไปเกี่ยวกับสารกัมมันตรังสีไอโอดีน อันตราย และการปองกัน สมาคมเวชศาสตรนิวเคลียร แหงประเทศไทย, สืบคน 8 เมษายน, 2554, จากเวบไซต: http://www.oaep.go.th/dt_news1.php?id=809 6.Sawidis T., Heinrich G. and Brown M-T., 2003. Cesium-137 concentrations in marine macroalgae from different biotopes in the Aegean Sea (Greece). Ecotoxicology and Environmental Safety, 54, 249–254.

10


สถานการณการตกคาง ของ

ÊÒÃ¾Ô É μ¡¤Œ Ò §ÂÒǹҹª¹Ô ´ ãËÁ‹ (Polybrominated Diphenyl Ethers; PBDEs) ในตัวอยางตะกอนดินบริเวณปากแมนํ้าและตอนบนของอาวไทย

โดย : อารีรัตน จากสกุล * และ รุจยา บุณยทุมานนท **

* นักวิชาการสิ่งแวดลอมชํานาญการ ศูนยวิจัยและฝกอบรมดานสิ่งแวดลอม ** ผูอ าํ นวยการสวนหองปฏิบตั กิ ารไดออกซินและสารอันตราย ศูนยวจิ ยั และฝกอบรมดานสิง่ แวดลอม

11


สารพิษตกคางยาวน งยาวนาน (Persistent Organic Pollutants; POPs) คือสารอินทรียที่ ทนตอการยอยสลายในสิ่งแวดลอม เชน ขบวนการยอยสลายทางเคมี ชีวภาพ และแสง โดยเหตุผลนีส้ ารกลุม นีจ้ งึ ถูกจัดเปนสารเคมีทมี่ สี ภาพตกคางยาวนานในสิง่ แวดลอม ซึง่ มีคณ ุ สมบัติ อื่นๆ อีกเชน สามารถเคลื่อนยายเปนระยะทางไกลๆ สะสมในเนื้อเยื่อของสิ่งมีชีวิตทั้ง มนุษยและ สัตว ถายทอดทางหวงโซอาหาร . . . และที่สําคัญอยางยิ่งคือ มีผลกระทบตอสุขภาพมนุษยและสิ่งแวดลอม . . . .............................................

สาร POPs โดยทั่วไปมีคุณสมบัติละลายนํ้าไดนอย ละลายไดดีในไขมัน เปนสารกึ่งระเหยและนํ้าหนัก โมเลกุลสูง สาร POPs ที่มีนํ้าหนักโมเลกุลตํ่ากวา 236 กรัมตอโมลมีความเปนพิษและความคงตัวในสิ่งแวดลอมตํ่า เมื่อมนุษยและสัตวสัมผัสกับสารดังกลาวจะกอใหเกิดผลกระทบตอรางกาย คือ สาร POPs จะไปกอกวนการทํางาน ของระบบตอมไรทอของสิ่งมีชีวิต เรียกวา “สารกอกวนระบบตอมไรทอ (Endocrine disrupters)” โดยเมื่อเขาสู รางกายแลว สาร POPs บางชนิดสามารถเลียนแบบการทํางานของฮอรโมนได และ/หรือบางชนิดสามารถขัดขวาง การทํางานของฮอรโมนในรางกาย สงผลใหเกิดความไมสมดุลของระดับฮอรโมนและระบบตอมไรทอ ในรางกายและ กอใหเกิดผลเสียตอสุขภาพตามมา และยิง่ ไปกวานัน้ ยังมีผลตอระบบประสาทคือ ทําใหการทํางานของระบบประสาท ผิดปกติ เปนสารกอมะเร็งรวมถึงมีความสัมพันธกับการเปนโรคมะเร็งเตานม มะเร็งระบบสืบพันธุ ปริมาณและ คุณภาพของอสุจิตํ่าลง เกิดความผิดปกติของระดับฮอรโมนเพศและฮอรโมนไทรอยด โดยทัว่ ไปมนุษยและสัตวมกั ไดรบั สารกลุม นีผ้ า นทางการสัมผัสทางผิวหนังซึง่ ทําใหเกิดการระคายเคืองบริเวณ ผิวหนัง การหายใจ และการกินอาหาร จากผลการตกคางไดยาวนานนัน้ กอใหเกิดอันตรายตอสุขภาพและระบบ นิเวศ สาร POPs หลายชนิดกอใหเกิดผลกระทบตอสุขภาพอนามัยตอมนุษยและสิ่งแวดลอมดังกลาว ซึ่งจาก ความตระหนักของสารพิษประเภทตางๆ เมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2544 รัฐบาลประเทศตางๆ ทั่วโลกไดประชุมกัน ทีก่ รุงสตอกโฮลม ประเทศสวีเดน และรับรองขอตกลงระหวางประเทศเพือ่ จํากัดการใช ยกเลิกการผลิต การปลดปลอย และการเก็บรักษาสาร POPs ขอตกลงตามอนุสัญญาสตอกโฮลมวาดวยสารพิษที่ตกคางยาวนาน ซึ่งผลจากการ ประชุม ณ กรุงสตอกโฮลมในครั้งนัน้ ไดกาํ หนดเปาหมายในการลดและเลิกใชสาร POPs 12 ชนิด ดังตารางที่ 1 ซึ่งสารดังกลาวมีที่มาจากแหลงอุตสาหกรรมและแหลงอื่นๆ เชน เปนสารเคมีที่ใชกําจัดศัตรูพืช สารเคมีทาง อุตสาหกรรม และสารมลพิษที่ปลดปลอยโดยไมจงใจจากขบวนการเผาไหมและกระบวนการผลิต ซึ่งสารพิษเหลานี้ มีคุณสมบัติคลายกัน 4 ประการ คือ มีความเปนพิษสูง ตกคางยาวนานเปนเวลาหลายปกวาจะเปลี่ยนไปอยูในสภาพที่ไมเปนอันตราย มีการระเหยและเคลื่อนยายไปไดไกลทั้งในอากาศและนํ้า สะสมในเนื้อเยื่อไขมัน จากการเพิ่มเติมสารจํานวน 9 ชนิดนัน้ พบวามีสารกลุมหนึง่ เปนที่นาสนใจคือ สารกลุม Polybrominated Diphenyl Ethers ซึ่งตาม POPs ชนิดใหมกําหนดไวเพียง 2 ชนิด คือ commercial pentabromodiphenyl ether (c-PentaBDE) และ commercial octabromodiphenyl ether (c-OctaBDE) หรือทีเ่ รียกเปนกลุม วา Polybrominated diphenyl ether (PBDEs) เนื่องจากขณะนี้ประเทศไทยยังไมมีขอมูล การผลิต การจําหนาย การนําเขาหรือแมแต การตกคางของสารกลุมนี้ในสิ่งแวดลอม ดังนัน้ จึงควรมารูจักกับสารกลุมนีก้ ัน สาร PBDEs เปนสารอินทรียที่มนุษยสังเคราะหขึ้นมา และผลิตทางการคา เพื่อนํามาใชในงานดาน อุตสาหกรรม โดยนํามาเติมลงในขบวนการผลิตอุปกรณไฟฟา แผงวงจรไฟฟา จอภาพคอมพิวเตอรและโทรทัศน รวมถึงสิ่งทอตางๆ เชน พรม ผามาน ที่นอน และโซฟา เพื่อวัตถุประสงคทําใหการติดไฟชาลง จึงเรียกสารกลุม PBDEs นี้วา สารหนวงการติดไฟ 12 12


ตารางที่ 1 แสดงชนิดของสารพิษตกคางยาวนาน 12 ชนิด รายการที่

รายชื่อสารเคมี

วัตถุประสงคการใชงาน

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12

aldrin chlordane DDT dieldrin endrin heptachlor mirex toxaphene polychlorinated biphenyls hexachlorobenzene dioxins furans

ดานการเกษตร ดานการเกษตร ดานการเกษตร/สาธารณสุข ดานการเกษตร ดานการเกษตร ดานการเกษตร ดานการเกษตร ดานการเกษตร ดานอุตสาหกรรม ดานอุตสาหกรรม สารที่ปลดปลอยโดยมิไดจงใจ สารที่ปลดปลอยโดยมิไดจงใจ

ปจจุบันมีสาร POPs ตัวใหมไดถูกบรรจุไวในอนุสัญญาสตอกโฮลมเพิ่มเติม สืบเนื่องจากการประชุมสมัยที่ 4 เมื่อ พฤษภาคม 2552 ใหบรรจุรายชื่อสารเคมี 9 ชนิดภายใตอนุสัญญาสตอกโฮลมดังนี้

ตารางที่ 2 แสดงชนิดของสารพิษตกคางยาวนาน 9 ชนิดเพิ่มเติม รายการที่

รายชื่อสารเคมี

วัตถุประสงคการใชงาน

1 2 3 4 5 6 7 8 9

alpha-hexachlorocyclohexane (alpha-HCH) beta-hexachlorocyclohexane (alpha-HCH) chlordecane lindane hexabomobiphenyl (HBB) pentachlorobenzene (PeCB) commercial pentabromodiphenyl ether (c-PentaBDE) peruorooctane sulfonate (PFOS) commercial octabromodiphenyl ether (c-OctaBDE)

ดานการเกษตร ดานการเกษตร ดานการเกษตร ดานการเกษตร/สาธารณสุข ดานอุตสาหกรรม ดานอุตสาหกรรม ดานอุตสาหกรรม ดานอุตสาหกรรม ดานอุตสาหกรรม

13 13


ปจจุบันสาร PBDEs ถูกจัดใหอยูในกลุมสารพิษตกคางยาวนาน (Persistent Organic Pollutants, POPs) และอยูในกลุ อมไรทอ (Endocrine Disruptor Compounds, EDCs) ใน ในสิ่งแวดลอม และอย นกลมของสารรบกวนระบบต ข มนุษยและสัตวเลี้ยงลูกดวยนม หลายประเทศทางแถบยุโรป เชน สวีเดน และนอรเวยมีการหามนําสาร PBDEs ชนิด decabromo diphenyl ether มาใชในอุตสาหกรรมตางๆ เชน การผลิตสิ่งทอ เฟอรนิเจอร และอุปกรณไฟฟา สวนประเทศทางแถบเอเชีย เชน ประเทศจีน ออกกฎหมายหามนําสาร PBDEs ชนิด octa และ pentabromo diphenyl ether มาใชในอุตสาหกรรมการผลิตอุปกรณไฟฟาออกมาบังคับใชแลวเชนกัน สําหรับประเทศไทยยังไมมี กฎหมายการหามนําสาร PBDEs มาใชในอุตสาหกรรมดังกลาว อยางไรก็ตามประเทศไทยไดใหสตั ยาบันในอนุสญ ั ญา สตอกโฮลม โดยมีจุดมุงหมายเพื่อการคุมครองสุขภาพอนามัยของมนุษย และสิ่งแวดลอมจากสารมลพิษตกคาง ยาวนาน การติดตามตรวจสอบสารพิษตกคางยาวนานในสิ่งแวดลอม เปนความรวมมือระหวางหนวยงาน The United Nations University และศูนยวิจัยและฝกอบรมดานสิ่งแวดลอม โดยในป 2554 ไดทําการตรวจ วิเคราะหปริมาณสาร PBDEs เพื่อประเมินสถานการณของการตกคางของสาร PBDEs ในตัวอยางตะกอนดิน และ นําขอมูลสนับสนุนคณะกรรมการ Stockholm’s convention ของประเทศไทย ในป 2554 Stockholm’s convention ประกาศใหสาร PBDEs เปน “New POPs” ผลการตรวจวัดปริมาณสาร PBDEs ในตะกอนดินจากอาวไทยโดยเก็บตัวอยางตะกอนดิน 16 จุด จากปากแมนํ้าในอาวไทยตอนบน รวมถึงพื้นที่อุตสาหกรรม ตัวอยางตะกอนดินทําการสกัดดวยวิธี soxhlet extraction เปนเวลา 20 ชั่วโมง และวิเคราะหดวยเครื่อง GC/MS QP 2010 โดยใชคอลัมน Rtx1614 การทดสอบหาเปอรเซนต recovery ดําเนินการทดสอบโดยใชเทคนิคการเติมสารที่เปน 13C-PBDE (สาร Labeled-BDE) 9 ชนิด คือ ตั้งแต Tri-BDE ถึง Deca-BDE และสาร Native-BDE 7 ชนิด คือ Tri-BDE ถึง Hepta-BDE ลงในตัวอยางตะกอนดินและทําการวิเคราะหทุกขั้นตอนเหมือนตัวอยางปกติเพื่อ ทดสอบความสามารถในการสกัดตัวอยาง (% recovery test) ซึ่งในที่สุดแลวปริมาณสารที่สามารถสกัด ออกมาไดจะมีความเขมขนเทียบกับปริมาณ 13C-PBDE ที่เติมลงไปตอนตนนัน้ คิดเปนรอยละ 90-108% และ คาความสามารถที่ตํ่าที่สุดที่สามารถตรวจวัดไดดวยวิธีนี้ (Limit of quantitation, LOQ) อยูในชวง 0.12 นาโนกรัม ตอกรัม ถึง 0.46 นาโนกรัมตอกรัม ผลการตรวจวัดสรุปวาไมพบสาร PBDE ในตัวอยางตะกอนดินเนือ่ งจากปริมาณทีพ่ บนัน้ มีปริมาณตํา่ กวา คา LOQ มาก จึงสรุปวาไมพบปริมาณสาร PBDEs ตกคางในตัวอยางตะกอนดินที่เก็บจากแมนํ้าสายหลัก 4 สาย ของประเทศไทย ไดแก แมนาํ้ เจาพระยา แมนาํ้ แมกลอง แมนาํ้ บางปะกง และแมนาํ้ ทาจีน และในพืน้ ทีอ่ ตุ สาหกรรม จังหวัดระยอง เอกสารอางอิง Gevao, B., Jaward, F.M., MacLeod,M., and Jones, K.C., 2010. Diurnal Fluctuations in Polybrominated Diphenyl Ether Concentrations During and After a Severe Dust Storm Episode in Kuwait City, Kuwait 44, 8114–8120. Hooper, K. and McDonald, T.A., 2000. The PBDEs: an emerging environmental challenge and another reason for breast-milk monitoring programs. Environ Health Prospect 108, 387–392. Ronald, A.H., 2004. Polybrominated Diphenyl Ethers in the Environment and in People: INCLUDEPICTURE “http:// pubs.acs.org/appl/literatum/publisher/achs/journals/entities/2009.gif” \* MERGEFORMATINET A Meta-Analysis of Concentrations. Environmental Science and Technology 38, 945–956. The United Nation University and Shimadzu Corporation, 2010. Training Workshop; Testing method for brominated diphenyl ethers (BDEs) in sediment by GC/MS manual.

14 14


การประเมินผลกระทบดานเสียง จากโครงการพัฒนาทาอากาศยาน โดย : ธนาพันธ สุกสอาด*

หลังจากเปดใชทาอากาศยานสุวรรณภูมิเมื่อเดือนกันยายน พ.ศ.2549 ไดมีประชาชนที่อาศัยอยู

โดยรอบทาอากาศยานรองเรียนเกี่ยวกับปญหามลพิษทางเสียงที่เกิดจากการขึ้นและลงของเครื่องบิน ทั้งกลางวันและกลางคืนเปนจํานวนมาก จึงทําใหมีผูสนใจเกี่ยวกับปญหามลพิษทางเสียงมากขึ้น ตลอดจนวิ ธี ก ารประเมิ น ผลกระทบด า นเสี ย งจากโครงการท า อากาศยานว า มีวิ ธี ก ารอย า งไรและ ใชคาตัวแปรใดเปนเกณฑ สําหรับการประเมินผลกระทบดานเสียงจากอากาศยานในประเทศไทยใชคา Noise Exposure Forecast, NEF สําหรับประเมินและจัดทําแผนที่เสนเสียงซึ่ง NEF (Noise Exposure Forecast) หมายถึง เสนทํานายคาระดับเสียงจากโครงการทาอากาศยาน เปนเครื่องมือในการจัดทํารายงาน ผลกระทบสิ่งแวดลอม (Environmental Impact Assessment, EIA) สําหรับประเมินพื้นที่ที่คาดวาจะ ไดรับผลกระทบดานเสียง และรวมถึงเปนเครื่องมือสําหรับการวางแผนจัดการการใชประโยชนที่ดิน ที่เหมาะสมกับพื้นที่บริเวณโดยรอบทาอากาศยาน คา NEF ไมมีหนวย สําหรับผลกระทบดานเสียงจาก โครงการทาอากาศยานสามารถแบงไดเปน 4 ระดับ ดังแสดงในตารางที่ 1

*นักวิชาการสิ่งแวดลอมชํานาญการพิเศษ ศูนยวิจัยและฝกอบรมดานสิ่งแวดลอม

15


ตารางที่ 1 ผลกระทบดานเสียงจากโครงการทาอากาศยาน

NEF นอยกวา 30 30-35 35-40

มากกวา 40

ผลกระทบดานเสียง พื้นที่นั้นไมมีผลกระทบดานเสียงจากทาอากาศยาน มีเสียงรบกวนจากทาอากาศยาน ที่อยูอาศัยในบริเวณ ตองไดรับการปรับปรุงเพื่อลดเสียง มีเสียงรบกวนจากทาอากาศยานมาก และจะตองมี มาตรการในการแกไขที่อยูอาศัยในบริเวณตองไดรับการ ปรับปรุงเพื่อลดเสียง มีเสียงรบกวนจากทาอากาศยานรุนแรง และตอง ดําเนินการเจรจาขอซื้อที่ดินหรือจายคาชดเชย

เครือ่ งมือทีใ่ ชในการจัดทําเสนเสียง NEF ปจจุบันนิยมใชโปรแกรมแบบจําลองทางคณิตศาสตร Integrated Noise Model (INM) ที่พัฒนาขึ้นโดยหนวยงาน Federal Aviation Administration ประเทศสหรัฐอเมริกาฉบับลาสุดเปนรุน 7.0b ปรับปรุง เมื่อวันที่ 30 กันยายน 2552 NEF นัน้ มิไดมาจากการตรวจวัดโดยเครื่อง มือตรวจวัดระดับเสียง แตมาจากการคํานวณดวยโปรแกรม INM7.0b ซึ่งจะมีฐานขอมูลเสียงของเครื่องบินแตละประเภทไวแลว สําหรับขอมูล นําเขาที่สําคัญไดแก ตําแหนงที่ตั้งของทาอากาศยาน พิกัดทางภูมิศาสตร ของทางวิ่งและขอมูลกายภาพของทาอากาศยาน เสนทางการบิน จํานวน เที่ยวบินเฉลี่ย ชนิดของอากาศยาน และขอมูลอุตุนิยมวิทยา เชน อุณหภูมิ ความเร็วลม สําหรับจํานวนเที่ยวบินเฉลี่ย หมายถึง จํานวนเที่ยวบินเฉลี่ย ตอวัน ซึ่งหาไดจากขอมูลสถิติรายป ในกรณีการจัดทํารายงานผลกระทบ สิง่ แวดลอม (EIA) ดานเสียง จํานวนเทีย่ วบินเฉลีย่ สามารถประเมินไดจาก 1. ขีดความสามารถสูงสุดในการรองรับอากาศยาน 2. ความสามารถในการรองรับอากาศยานตามอัตราการเจริญเติบโต ในอนาคต (Aircraft Movement Forecast)

การติดตามตรวจสอบเสนเสียง จากโครงการทาอากาศยาน

การติดตามตรวจสอบเสนเสียงจากโครงการทาอากาศยาน จะตอง จัดทําเสนเสียงจากการดําเนินการในสถานการณการบินจริงทุกๆ 1-2 ป โดยใชโปรแกรมแบบจําลองทางคณิตศาสตรและใชขอมูลคาเฉลี่ยจํานวน เที่ยวบินรายวันจากสถิติการบินใน 1- 2 ปนนั้ นอกจากนี้ยังตองมีสถานี ตรวจวัดเสียงเพื่อใชเปรียบเทียบขอมูลระหวางคา NEF ที่คํานวณไดจาก

16

การตรวจวัดจริงกับคา NEF ทีไ่ ดจาก การคํ า นวณโดยแบบจํ า ลองทาง คณิตศาสตรรายป การคํานวณ NEF นัน้ สามารถคํานวณไดจากสมการดังนี้ NEFij = EPNLij+10log (Nd+16.67Nn)-88 โดย EPNLij (Effective Perceived Noise Level) คือระดับเสียงอางอิง สําหรับ เครื่องบินชนิด i และเสนทางบิน j Nd = จํานวนของเครื่องบินใน เวลากลางวัน (ชวงเวลา 07.00 น. ถึง 22.00 น.) Nn = จํานวนของเครื่องบินใน เวลากลางคืน (ชวงเวลา 22.00 น. ถึง 07.00 น.)

NEF มีการชดเชยคาระดับเสียง ที่เกิดขึ้นในเวลากลางคืน (22.00 น. ถึง 07.00 น.) โดยถือวาเครื่องบินใน เวลากลางคืนรบกวนมากกวาในเวลา กลางวัน

การแก ไ ขป ญ หา มลพิ ษ ทางเสี ย ง จากอากาศยานใน ตางประเทศ ในประเทศตางๆ ทีม่ ปี ญ  หาเรือ่ ง มลพิษทางเสียงจากทาอากาศยานได มีการจัดทําโครงการการจัดการเสียง ที่ เ หมาะสมที่ เ รี ย กว า Noise Compatibility Program(NCP) โดย มีจุดมุงหมายเพื่อควบคุมเสียงจาก อากาศยานและการจัดการการใชทดี่ นิ ที่ เหมาะสมและสอดคล อ งกั บ การ พัฒนาทาอากาศยาน วัตถุประสงคที่ สําคัญของโครงการการจัดการเสียง ทีเ่ หมาะสมคือการศึกษาคาระดับเสียง จากโครงการทาอากาศยานในปจจุบนั


ซึง่ รวมถึงพื้นทีท่ ี่ไดรบั ผลกระทบดานเสียงจากโครงการทาอากาศยานดวย โดยเสนอแนะมาตรการเพื แนะมาตรการเพือ่ ลดระดับเสียง จากเครื่องบินตลอดจนการเปลี่ยนการจัดการการบินใหเหมาะสมกับการแกปญหา ในพื้นที่ที่ยังไมถูกพัฒนาซึ่งอยู บริเวณโดยรอบทาอากาศยานใหมีการสงเสริมการใชที่ดินที่เหมาะสมกับการพัฒนาทาอากาศยานในอนาคตตั ศ ใ ัวอยาง เชน การใชประโยชนที่ดินเพื่อเปนเขตเกษตรกรรม อุตสาหกรรม หรือยานการคา มากกวาที่จะเปนที่อยูอาศัย หรือ เปนสถานที่ที่ไวตอการรับเสียงเชน โรงเรียน ศาสนสถานหรือโรงพยาบาล นอกจากนี้พื้นที่ที่เปนที่อยูอาศัยซึ่งคาดวา จะไดรับผลกระทบในอนาคตหรือไดรบั ผลกระทบในปจจุบนั ควรมีการกําหนดทางเลือกทีเ่ หมาะสมในการลดจํานวน ผูไดรับผลกระทบดังกลาว สําหรับโปรแกรมที่จัดทําขึ้นควรมีการนําไปปฏิบัติ ทบทวนและ ปรับปรุงแกไขใหทันสมัย อยูเ สมอเพือ่ ใหการแกไขปญหามลพิษทางเสียงจากอากาศยานเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ (http://scottsdalairport.com)

การใชประโยชนที่ดินบริเวณโดยรอบทาอากาศยาน การจัดการและการวางแผนการใชที่ดินบริเวณโดยรอบทาอากาศยานถือวาเปนวิธีการจัดการปญหาที่ไดผลดี ที่สุดทั้งนี้เพื่อใหแนใจวากิจกรรมตางๆ ที่อยูใกลกับอากาศยานเหมาะสมสําหรับกิจกรรมการบิน การจัดการ การใช ประโยชนที่ดินนี้มีวัตถุประสงคหลักเพื่อลดจํานวนประชากรที่ไดรับผลกระทบจากปญหาเสียงรบกวนของเครื่องบิน ขณะบินขึ้นและลง Federal Aviation Administration (FAA) ของประเทศสหรัฐอเมริกา ไดแนะนําการแบงเขต การใชทดี่ นิ บริเวณโดยรอบทาอากาศยาน ตารางที่ 2 การใชที่ดินตามขอกําหนดของ Federal Aviation Administration (FAA) ดังแสดงในตารางที่ 2 โดยใชคาระดับ เสียงกลางวันกลางคืน( Ldn) เปนเกณฑ ซึ่ ง เมื่ อ เปรี ย บกั บ ระดั บ NEF แล ว NEF 30 จะมีคาประมาณ Ldn เทากับ 65 เดซิ เ บล (เอ) จากตารางที่ 2 จะเห็นไดวากิจกรรมประเภทที่อยูอาศัย สถานที่สาธารณะ เชน โรงเรียน วัด ศาสนสถาน โรงพยาบาล สถานพักฟน เปนพื้นที่ออนไหว (sensitive area) ไม เ หมาะสมสํ า หรั บ พื้ น ที่ ที่ ไ ด รั บ ผลกระทบจากเสียงของทาอากาศยาน สําหรับกิจกรรมที่สามารถกระทบได ในพื้นที่ที่ไดรับผลกระทบดานเสียง จากทาอากาศยาน เชน การใชที่ดิน เพื่อธุรกิจการคาและอุตสาหกรรม โดย เฉพาะอยางยิง่ กับกิจกรรมทีม่ สี ว นเกีย่ วของ กับทาอากาศยาน เชน โรงแรม ภัตตาคาร โกดังเก็บสินคา กิจกรรมเกีย่ วกับการนําเขา และสงออกสินคา ตลอดจนอุตสาหกรรม ทีเ่ กีย่ วของกับการบิน ดังนัน้ จึงควรวางแผน การใชทดี่ นิ ใหเหมาะสมกับการใชประโยชน ที่ดินโดยรอบ เพื่อลดปญหาผลกระทบที่ จะเกิดขึ้นในอนาคต

17


การพัฒนาผลิตภัณฑชุมชน

การจัดการสิ่งแวดลอม โดย : รัฐ เรืองโชติวิทย*

ผลิตภัณฑชุมชน หมายถึงผลิตภัณฑที่ผลิตในชุมชน โดยใชภูมิปญญาชาวบาน วัตถุดิบพื้นบานหรือมีการคิดคน จากทองถิ่นในความเปนเอกลักษณของชุมชนนัน้ มีความโดดเดน เปนการผลิตจากการทําในครัวเรือนมาสูการ รวมกลุมกันในชุมชน โดยป 2545 สมัยรัฐบาล พตท.ดร.ทักษิณ ชินวัตร ไดหยิบยกเปนนโยบายสําคัญที่สนับสนุนใหชุมชน ไดมีผลิตภัณฑแตละตําบล ที่เรารูจักกัน ในชื่อ หนึง่ ตําบลหนึง่ ผลิตภัณฑ (OTOP) และจากการศึกษา วัสดุ สิ่งของเครื่องใช ตลอดจนการผลิตจากภูมิปญญาชาวบานจะมีคําวา ผลิตภัณฑชุมชน (community product) เปนคําที่นิยมใชกันในปจจุบัน ซึง่ ในทีน่ ี้ เราใหความหมายรวมถึงการบริการ การทองเทีย่ ว ทีส่ ามารถตอบสนองความตองการของผูบ ริโภค สะทอน ใหเห็นวัฒนธรรมและประเพณีทองถิน่ หรือชุมชนนัน้ ๆ เปนภูมปิ ญญาไทย และกระบวนการทางความคิด จากศิลปวัฒนธรรม ประเพณี การตอยอดภูมิปญญาทองถิ่นและการแลกเปลี่ยนเรียนรู เพื่อใหเปนผลิตภัณฑที่มีคุณภาพ มีจุดเดน จุดขายที่รูจักกันแพรหลาย จะเห็นไดวาจากความหมายผลิตภัณฑชุมชน จึงเปนความจําเปนที่ผูประกอบการตองคํานึงถึงการพัฒนา ผลิตภัณฑ การบริการและการควบคุมคุณภาพการผลิตใหไดมาตรฐาน ทีผ่ า นมามีมาตรฐานผลิตภัณฑชมุ ชน (มผช.) ที่สํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม(มอก.) กําหนดมาตรฐานสินคาขึ้นตามชนิดสินคา ผลิตภัณฑชุมชนที่ ขอการรับรอง สําหรับในดานการจัดการสิ่งแวดลอม มีขอกําหนดและมาตรฐานตางๆ ที่จะชวยใหผลิตภัณฑชุมชนที่มี การสงออกตองคํานึงถึงและดําเนินการใหไดตามขอกําหนดตางๆ ของประเทศผูส งั่ ซือ้ สินคา เชน ระบบการจัดการสิง่ แวดลอม ISO 14000 การใหฉลากสิ่งแวดลอม ฉลากเขียว ฉลากประหยัดพลังงาน เปนตน ซึ่งสําหรับผลิตภัณฑชุมชน นอกเหนือ จากการแขงขันดานราคา รูปแบบ ความสวยงาม เอกลักษณของผลิตภัณฑ แลวยังตองใหความสําคัญในการผลิตที่เปนมิตร ตอสิ่งแวดลอมมากขึ้น ในบทความนี้ ผูเขียนคิดและวิเคราะหจากปจจัยการปรับตัวสําหรับดานสิ่งแวดลอมจากประเด็นตอไปนี้ 1. ความตองการสินคาที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม(Eco product) ผูผลิตจากชุมชน ตองทําความเขาใจ กฎระเบียบ ขอกําหนดของมาตรฐานการผลิตสินคาที่ประกอบดวยกระบวนการผลิต การใชสารเคมี การใชพลังงาน การใชทรัพยากร หลักคิดงายๆ ที่ชุมชนที่ตองการพัฒนาผลิตภัณฑ ตองพิจารณาตั้งแต การเลือกใชวัตถุดิบ การศึกษาขอมูลการผลิตสินคาที่เปน มิตรตอสิง่ แวดลอม วาตองมีการจัดการสิง่ แวดลอมอยางไร แลวกลับมาพิจารณากระบวนการผลิตในปจจุบนั โดยเทียบกับ

18

*นักวิชาการสิ่งแวดลอมชํานาญการพิเศษ ศูนยวิจัยและฝกอบรมดานสิ่งแวดลอม


มาตรฐานการผลิตที่ดําเนินการอยู รวมกับมาตรฐานคุณภาพดานสิ่งแวดลอม เชน การลดของเสีย พลังงาน และการจัดการของเสีย ทีม่ ปี ระสิทธิภาพ ตลอดจน การเลือกใชสารเคมีในการผลิต เพื่อใหไดผลิตภัณฑที่ปลอดภัย เปนมิตรตอ สิง่ แวดลอม สําหรับผลิตภัณฑชมุ ชนควรตองพัฒนาหรือเปลีย่ นแปลงกระบวนการ ผลิตดวยการลงทุนใหนอยที่สุด โดยการใหความสําคัญกับการเปลี่ยนแปลง พฤติกรรมการผลิตอยางงาย เชน ระบบการจัดการคุณภาพ (TQM) การทํา 5 ส. ของโรงงาน ระบบการวางแผนการผลิตที่มีประสิทธิภาพ เปนตน 2. การพัฒนากระบวนการผลิต และการติดตามขอมูลขาวสารตางๆ ทีเ่ กีย่ วของกับสินคา ผลิตภัณฑทดี่ าํ เนินการในปจจุบนั ตองปรับเปลีย่ นกระบวนการ ผลิตใหทันตอกระแสความตองการผลิตภัณฑที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม ผูผลิต ตองใหความสําคัญตอการติดตามขาวสารการตลาด วิจัยและพัฒนาศักยภาพ ของผูผลิตสินคา โดยเฉพาะผลิตภัณฑชุมชนซึ่งมองเหมือนเปนเรื่องยาก แต อยากใหคดิ วาทําไมในอดีตโบราณวิทยาการตางๆ จึงมีการพัฒนาการผลิต อยางตอเนือ่ ง จากภูมปิ ญ  ญาของไทยทีม่ อี ยูห ากวิเคราะหทมี่ า และนํามาประยุกต ใชจะเปนเครื่องมือ รูปแบบการผลิตที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม อยางงายๆ ที่เริ่มตนจากองคความรูที่มีอยู 3. ระบบฉลากดานสิง่ แวดลอม เปนเครือ่ งมือหนึง่ ทีผ่ ลิตภัณฑ ชุมชนนานํามาปรับใช โดยเริ่มจากการพัฒนาระบบฉลากที่เปนมิตร ตอสิ่งแวดลอม ซึ่งฉลากที่ผลิตภัณฑชุมชนนาจะพิจารณาคือ ฉลาก สิ่งแวดลอม ประเภทที่ 2 ที่ทําไดงายและสะดวกตอการปรับเปลี่ยน ทีเ่ ปนตัวตนของผลิตภัณฑชมุ ชน โดยอาศัยหลักการสําคัญของฉลาก สิ่งแวดลอมประเภทที่ 2 คือการประกาศตนเองในการนําเสนอ ความสามารถในการจัดการสิ่งแวดลอม ตามกําลัง ความสามารถ ของชุมชน เชน การลดของเสีย การจัดการของเสีย การรีไซเคิล ทรัพยากร เปนตน

19


บทสรุป

การจัดการสิ่งแวดลอมสําหรับผลิตภัณฑชุมชน เปนเรื่องใกลตัว ที่ตองคํานึงถึง โดยเฉพาะจากเครื่องมือการจัดการสิ่งแวดลอมสําหรับ ผลิตภัณฑชุมชนที่กลาวมาแลว ไมวาจะเปนระบบฉลากมาตรฐาน การผลิตที่คํานึงถึงความเปนมิตรตอสิ่งแวดลอมแลว นอกจากจะทําให การผลิต ผลิตภัณฑชุมชนไดคุณภาพดีขึ้น ยังชวยลดคาใชจายอีกทาง หนึง่ ในความหลากหลายของผลิตภัณฑชมุ ชน การลงทุนการผลิตทีเ่ ปน ขอจํากัด ความรูการผลิต ตามภูมิปญญาทองถิ่น และการสงเสริมผลิตภัณฑชุมชนใน การจัดการสิ่งแวดลอม ตามที่ไดกลาวถึงตองอาศัยเวลาและความทุมเทของผูประกอบการ จึงตองไดรับการสนับสนุน จากภาครัฐ และหนวยงานที่เกี่ยวของในการใหสนับสนุนอยาง เรงดวน ทันตอกระแสความตองการของตลาด การพัฒนาผลิตภัณฑชุมชนที่เปนมิตรตอ สิ่งแวดลอม ที่ไดมาตรฐาน ตองเปนการพัฒนาที่ไมหยุดอยูกับที่ เพราะในตลาดโลกมีการ แขงขันสูง ประเทศไทยจําเปนตองสงเสริมสนับสนุนใหผลิตภัณฑชุมชน สรางนวัตกรรมใน การผลิต มีศกั ยภาพและความพรอมทีจ่ ะพัฒนาอยางตอเนือ่ ง โดยเฉพาะมาตรฐานการจัดการ สิ่งแวดลอม จึงตองมีการยกเครื่องการพัฒนาอยางมีระบบ มีเจาภาพและการดําเนินการที่ สอดคลองกัน บูรณาการองคความรูการผลิตกับการจัดการสิ่งแวดลอม การใชทรัพยากร อยางมีประสิทธิภาพ จะเปนกลไกสําคัญตอการขับเคลื่อนการผลิตสําหรับผลิตภัณฑชุมชน ของประเทศ กับการไดมาซึ่งการยอมรับสินคาที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอมจากตางประเทศ ในวันนีก้ ารผลิตยังตามกับความตองการของตลาด และยังตองใหการสงเสริมการ พัฒนาการผลิตอีกมาก รวมทัง้ การประสานการใหความรูก บั ผูป ระกอบการ ในชุมชนอยาง ตอเนื่อง ซึ่งตองทํากันอยางจริงจัง เปนวาระแหงชาติที่เราทั้งหลายตองชวยกันเพื่อวันนี้ และวันขางหนาสําหรับผลิตภัณฑชุมชน ผลิตภัณฑที่แสดงถึงความเปนไทย ความเปน เอกลักษณของเราสูสายตาชาวโลกที่แสดงใหเห็นถึงความเปนมิตรตอสิ่งแวดลอม เอกสารอางอิง : เอกสารการสอนชุดวิชา การพัฒนาผลิตภัณฑชุมชน หนวยที่ 1 มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมมาธิราช มิถุนายน 2551 นนทบุรี เอกสารประกอบการฝกอบรม Eco design สมาคมวิศวกรบริการที่ปรึกษา กระทรวงอุตสาหกรรม โรงแรมแม็กซ กรุงเทพฯ 2554

20


การผลิ ต เ ซ รามิ ก ส ท เ ่ ี ป น  มิ ต รต อ สิ ง ่ แวดล อ ม ตอบโจทยการสงออกสูตลาดโลก โดย : นายรัฐ เรืองโชติวิทย*

ารผลิตเซรามิกส หรือเครื่องเคลือบดินเผา เปนการผลิตที่มีมานานแลว จากบานเชียง จังหวัดอุดรธานี หรือ เครื่องเคลือบดินเผาจากเตาทุเรียง จังหวัดสุโขทัย มาสู เตามังกรที่ผลิตโอง จังหวัดราชบุรี จากภูมิปญญาชาวบานสูอุตสาหกรรม ที่มีการผลิตนับพันลานบาท ที่ขายภายในประเทศ สูตลาดโลก มีการพัฒนามายาวนาน ประเทศไทย จึงเปนประเทศหนึง่ ที่มีการออกแบบผลิตภัณฑไดตามความตองการของ ตลาดโลกโดยเฉพาะรูปแบบ ความสวยงาม และความเปนเอกลักษณของศิลปะตะวันออก ทีม่ คี วามเปนตัวตนของชาติไทย ผูผ ลิตจึงตองมีการพัฒนาใหทนั สมัย และเปนไปตามขอกําหนด ตางๆ ทีใ่ หผผู ลิตตองปฏิบตั ติ าม ขอกําหนดดานสิง่ แวดลอม เปนสวนหนึง่ ทีใ่ นปจจุบนั ผูผ ลิตตอง ศึกษาและใหความสําคัญ

*นักวิชาการสิ่งแวดลอมชํานาญการพิเศษ ศูนยวิจัยและฝกอบรมดานสิ่งแวดลอม

21


การตอบโจทยสําหรับการสงออกสู ตลาดโลก สําหรับอุตสาหกรรมเซรามิกส ตองไมเปนการตั้งรับรอคอยขอกําหนด กฎระเบียบตางๆ ออกมาแลวจึงตอง ปฏิบัติตาม ผูเขียนบทความนี้ จึงอยาก จะใชประสบการณทที่ าํ งานรวมกับผูผ ลิต และมีความสุขในการพัฒนางาน สราง ภูมคิ มุ กันตอกฎระเบียบตางๆ โดยเฉพาะ ดานสิ่งแวดลอมไดอยางยั่งยืน และ ไมจําเปนตองลงทุนสูงเพื่อจัดการกับ ปญหาขอกําหนดดานสิง่ แวดลอมทีม่ อี ยู เรื่อยๆ ตามความประสงคของประเทศ ผูสั่งซื้อที่มีขอกําหนดดานสิ่งแวดลอม สําคัญๆ ดังนี้ กลุมประเทศยุโรป จะเนนการผลิตที่ไมใชสารเคมีที่มี พิษหรือหามใช การกําจัดซากบรรจุภณ ั ฑ และการรับผิดชอบตอสินคาที่มีความ ชํารุดตองนํากลับไปทําลายไมให เปน กากของเสียทิ้งในประเทศของเขา ซึ่ง ผูประกอบการจะตองใหความสนใจตอ มาตรการ Eco label หรือ EU flower ตั้งแตการจัดหาแหลงวัตถุดิบ การดูแล ผลกระทบสิ่งแวดลอมจากกระบวนการ ผลิต ซึ่งจะมีผลตอตนทุนคอนขางมาก ประเทศญี่ปุน เนนการรับรองตามมาตรฐานญี่ปุน เอง คือ JIS ที่ใหความสําคัญระบบ ควบคุมคุณภาพการผลิต การควบคุม คุณภาพการผลิต การใชสารเคมี กลุม โพลิคลอริเนท-แนพทาลีน ที่เปนสาร หลอลืน่ สี สารเพิม่ ความเสถียรทางไฟฟา การทนตอการติดไฟ หรือกลุม สารไตรบิว ทิวทินออกไซด (TBTO) ซึ่งเปนสารฆา เชื้อโรค สารตานเชื้อรา เปนตน ประเทศจีน เนนมาตรฐาน ฉลาก CCC Mark (China Compulsory Certication) และการทดสอบผลิตภัณฑตามมาตรฐาน ISO 10545-1 ถึง 7 เปนตน

22


เพือ่ เปนโจทยสาํ หรับผูป ระกอบการ ที่จะสงออกเซรามิกส จึงขอนําเสนอ ประสบการณในแงมุมผูผลิตที่จัดระบบ การจั ด การสิ่ ง แวดล อ มได อ ย า งมี ประสิทธิภาพ ดังนี้ 1. ความเปนตัวตนของภูมิปญญา ไทย ทําใหหลายชาติอิจฉา ดวยวัตถุดิบ ของไทยมี คุ ณ ภาพ ดิ น ที่ มี คุ ณ ภาพ ภูมปิ ญ  ญาการผลิตทีใ่ ชเตามังกร (เตาเผา เครื่องเคลือบดินเผาชนิดหนึง่ ) ที่ตองให ความสนใจในการปรับปรุงระบบเตา การ ใชเครื่องมือวัดระดับความรอนที่เหมาะ สมกับเวลาในการเผาจะชวยในการลด มลพิษทางอากาศและการใชพลังงานที่ มีประสิทธิภาพ 2. การเลิกใชสารพิษหรือโลหะใน กระบวนการผลิตและวัตถุดิบ สําหรับ การสงเซรามิกสขายในสหภาพยุโรป ผูประกอบการจะตองคํานึงถึงหรือให ความสนใจตอมาตรการ Eco-Label หรือ EU flower ในเรื่องแหลงที่มาของ วัตถุดิบ การดูแลผลกระทบสิ่งแวดลอม จากกระบวนการผลิต supplier ที่เปน ผูจัดหาวัตถุดิบมีความแตกตางกัน หาก Eco Label มีผลบังคับใหผปู ระกอบการ ตองปรับตัวมากขึน้ ถึงแมจะเปนมาตรการ สมัครใจก็ตาม 3. การศึกษาขอมูลใหทันสมัยจาก Supplier เชน การวิเคราะหผลกระทบ

สิ่งแวดลอม ที่มาของแหลงดิน วัตถุดิดบิ ตัง้ แตตน นํา้ ถึงปลายนํา้ การกําจัดของเสียี ข อ มู ล การลดผลกระทบสิ่ ง แวดล อ ม ที่ตองพัฒนากระบวนการผลิต ซึ่งอาจ ทําใหมีผลตอตนทุน เชน ถาในเตาเผามี ตะกั่วอยูแลว แมนําสีที่ไมมีตะกั่วมาใช หรือการเปลีย่ นเตาหรือกระบวนการผลิต ก็ อ าจมี ต ะกั่ ว ปนเป  อ นในผลิ ต ภั ณ ฑ จึงตองมีการปรับเปลี่ยนเตาที่มีการปน เปอนแลวทําใหมีคาใชจายสูง 4. ปญหาอุตสาหกรรมเซรามิกสไทย คือ สินคาผลิตภัณฑเซรามิกสที่ผลิตใน ประเทศจากโรงงานขนาดเล็ก และมี ผลิ ต ภั ณ ฑ นํ า เข า จากต า งประเทศ จํานวนมาก เชน จีนและเวียดนามนัน้ ยังไมมีการตรวจสอบคุณภาพสินคา ซึ่ง ผลิตภัณฑเหลานั้นอาจมีการปนเปอน สารเคมีที่เปนอันตรายตอผูบริโภคได อยางไรก็ตาม สําหรับสินคาที่ผลิต ในประเทศกําหนดมาตรฐานการผลิต ตามมาตรฐานอุ ต สาหกรรม (มอก.) อยูแ ลว ซึง่ ผูผ ลิตตองผลิตใหไดมาตรฐาน กอนวางจําหนาย ในขณะทีส่ นิ คานําเขา สามารถวางขายในทองตลาดทัว่ ไปไดจงึ มีราคาถูกกวาสินคาของประเทศเรา 5. จากกฎระเบียบตางๆ ที่กลาวมา แล ว เป น ป ญ หาที่ เ กิ ด ผลกระทบต อ ผูป ระกอบการขนาดกลางและขนาดเล็ก

ในดานเทคโนโลยีการผลิต การปรับเปลีย่ น กระบวนการตอบสนองตอ ขอ กําํ หนด ระเบียบของทีล่ กู คาตองการ มีผลตอการ หาแหลงเงินทุนในการปรับปรุงอยางมาก เชน การแกไขการปนเปอ นสารเคมีตกคาง ในเตาเผา โดยการเปลี่ยนเตาเผา ตอง ใชคาใชจายที่สูงมาก หรือการปรับ เปลีย่ นการผลิตโดยใชกา ซ LPG ของ กลุมโรงงานเซรามิกส ลําปาง เมื่อราคา กาซสูงขึ้นตองปรับเปลี่ยนวิธีการเผา เปนตน 6. ปญหาการรับรองและทดสอบ ผลิ ต ภั ณฑ จ ากหน ว ยงานของไทยยั ง ไมเพียงพอ หนวยบริการทดสอบและ วิเคราะหผลิตภัณฑเซรามิกส ทีผ่ ผู ลิตใช บริการ เชน กรมวิทยาศาสตรบริการ ศูนยเทคโนโลยีโลหะและวัสดุ(MTEC) สถาบันวิจยั วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี แหงชาติ (วว.) ใชระยะเวลาในการทดสอบ ประมาณ 7-14 วัน และตองรอสง ตัวอยางทดสอบดวยความลําบาก มีระยะ ทางไกล เชน กลุมโรงงานเซรามิกส ลําปางสงทดสอบที่กรุงเทพฯ เปนตน จากโจทยที่ตั้งไว ขอตอบโจทยจาก แนวคิดของงานดานการจัดการสิง่ แวดลอม ในการผลิตทีเ่ ปนมิตรตอสิง่ แวดลอม จาก ประสบการณชีวิตที่คลุกคลีในวงการนี้ มองจากผลกระทบและปญหาที่เกิดขึ้น จากข อ กํ า หนด กฎ ระเบี ย บในการ สงออกสินคาสูต ลาดโลก ในปจจุบนั และ อนาคต ดังนี้ ควรมีการพัฒนาปรับปรุงมาตรฐาน คุณภาพสินคาที่ทันสมัย เปนประโยชน ตอผูบริโภคและความสามารถในการ แขงขัน ปจจัยสําคัญคือเพิ่มศักยภาพ บุคลากรการผลิต การออกแบบที่เปน มิตรตอสิ่งแวดลอม เสริมสรางความ สามารถในการผลิต การใชทรัพยากร อยางมีประสิทธิภาพ

23


ควรมีหนวยงานรองรับการทดส การทดสอบ หรือการตัง้ หองปฏิบตั กิ ารทดสอบ (Tes (Testing LLab) b) และหนวยตรวจสอบและรับรอง ผลิตภัณฑเซรามิกส เปนศูนยบริการแบบ เบ็ดเสร็จ (One stop service) เพื่อ อํานวยความสะดวกใหกบั ผูป ระกอบการ ควรมีหนวยงานใหคําปรึกษาในการ สงออกเซรามิกส และติดตามมาตรฐาน ตางๆ มาตรการที่ตางประเทศกําหนด ควรเนนการประชาสัมพันธ ทําความ เขาใจกฎระเบียบแตละประเทศกลุม ผู  สั่ ง ซื้ อ สิ นค า อย า งต อ เนื่ อ งและเป น ปจจุบนั สินคาเซรามิกสเปนอุตสาหกรรม ทีส่ าํ คัญทีค่ วรใหความสําคัญการออกแบบ ซึ่งตองมีแนวคิดในการออกแบบที่เปน มิตรตอสิ่งแวดลอมอยูดวย ตอบโจทย ตรงตามความตองการของลูกคา ควรมีการวิจยั และพัฒนา เทคโนโลยี เพื่อการลดของเสีย เพิ่มประสิทธิภาพ การผลิต การประหยัดพลังงาน และควร สงเสริมกระบวนการผลิตที่เปนมิตรตอ สิ่งแวดลอม สรุปจากทีก่ ลาวมาแลวทัง้ ขอกําหนด ตางๆ ในแตละกลุม ประเทศ ยังตองอาศัย ความรวมมือของจากภาครัฐ หนวยงาน การศึกษาวิจยั และผูป ระกอบการทีต่ อ ง ตอบรับตอการเปลีย่ นแปลง การพัฒนา ระบบการผลิ ต มี ก ารแลกเปลี่ ย น ประสบการณ ติดตามขาวสาร ขอมูล ขอกําหนดตางๆ ใหทนั สมัยอยูต ลอดเวลา ซึ่ ง ในอนาคตกระแสการกี ด กั น ทาง การคา โดยเฉพาะในดานสิง่ แวดลอม จะเปนสวนหนึง่ ทีผ่ สู ง ออกเซรามิกสจะ ตองใหความสนใจและปฏิบัติใหทันตอ การเปลี่ยนแปลงจะทําใหประเทศของ เรายืนอยูไดในเวทีโลก

24

เอกสารอางอิง : สถาบันสิ่งแวดลอมไทย.2543. สูทศวรรษใหม ของการคา-สิ่งแวดลอมในประเทศไทย. กรุงเทพฯ กรมควบคุมมลพิษ 2549. การออกแบบที่เปน มิตรตอสิ่งแวดลอม. กรุงเทพฯ รัฐ เรืองโชติวิทย 2548. บทบรรยาย วิชาการ จัดการมลพิษ กรณีศกึ ษาการสงออกสินคาไทย. มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต กรุงเทพฯ กรมสงเสริมคุณภาพสิง่ แวดลอม รายงานการศึกษา การประยุ ก ต ใ ช เ ทคโนโลยี ส ะอาดใน การผลิตเซรามิกส กทม. 2553


แก้ปัญหาสิ่งแวดล้อม...ด้วยการวิจัย... ปัญหา

โดย : สุรสิน ธรรมธร*

สิง่ แวดล้อมต่างๆ ในประเทศไทยและทัว่ โลก เช่น ปัญหาน�้ำเสีย มลพิษทางอากาศ มลพิษทางเสียง ขยะล้นเมือง ฯลฯ ต้นตอของปัญหาต่างๆ ล้วนแล้วเกิดจากน�้ำมือมนุษย์แทบทั้งสิ้น การใช้ทรัพยากรอย่างไม่คุ้มค่า การตัดไม้ท�ำลายป่า การเพิม่ ปริมาณจ�ำนวนประชากรอย่างรวดเร็ว การขยายตัวของภาคเศรษฐกิจโดยมิได้ค�ำนึงถึงอัตรา การรองรับของภาคสิ่งแวดล้อม สาเหตุดังกล่าวมีการกล่าวถึงมาอย่างยาวนาน แต่เป็นที่น่าแปลกใจว่าสาเหตุดังกล่าวยัง ไม่ได้รบั การแก้ไขให้หมดไป ในยุคโลกาภิวตั น์ดา้ นการศึกษา มนุษย์ได้คดิ ค้นกระบวนการเพือ่ น�ำมาใช้แก้ปญ ั หาสิง่ แวดล้อม โดยอาศัยกระบวนการค้นหาและพัฒนาความรู้ของมนุษย์อย่างเป็นระบบที่เรียกว่า กระบวนการวิจัย ปัจจุบันอาจแบ่ง กระบวนการวิจัยได้ออกเป็น 2 วิธีการวิจัยหลักๆ คือ วิธีการวิจัยเชิงปริมาณ และวิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ วิธีการวิจัย ทั้ง 2 วิธี นัน้ จะน�ำมาซึ่งองค์ความรู้ใหม่เพื่อน�ำมาใช้ในการพัฒนาด้านต่างๆ เพื่อให้ชีวิตมนุษย์ดำ� รงอยู่ได้ การใช้กระบวนการวิจัยเชิงปริมาณ ข้อดีคือ การท�ำให้เห็นผลประจักษ์ในเชิงตัวเลขอย่างชัดเจน สามารถสุ่ม ตัวอย่างได้ทวั่ ถึง ข้อมูลจึงสามารถใช้เป็นอ้างอิงได้แต่เมือ่ น�ำมาใช้ในการแก้ปญ ั หาสิง่ แวดล้อมจริงๆ เช่น การแก้ไขปัญหาเรือ่ ง ขยะมูลฝอย ผลการศึกษาดังกล่าวท�ำให้รู้ข้อมูลด้านต่างๆ เช่น ปริมาณขยะมูลฝอยที่เกิดขึ้นจริงในแต่ละวัน องค์ประกอบของ ขยะมูลฝอย แต่ข้อมูลต่างๆ เหล่านี้เป็นเพียงข้อมูลสนับสนุนเพื่อตัดสินใจในการแก้ปัญหาเท่านัน้ ส่วนกระบวนการวิจัยเชิง คุณภาพมุ่งเน้นศึกษาธรรมชาติของมนุษย์ที่ไม่สามารถตีค่าออกมาในรูปของตัวเลขได้ การวิจัยชนิดนี้เน้นการเข้าถึงกลุ่ม ประชาชนและบริบทของพืน้ ทีศ่ กึ ษามีตวั นักวิจยั เองเป็นเครือ่ งมือหลักในการวิจยั ผลการศึกษาจึงสามารถใช้ได้กบั พืน้ ทีท่ ที่ ำ� การ ศึกษาเท่านัน้ ยากต่อการน�ำไปใช้ในพื้นที่ ที่มีบริบทแตกต่างกัน ในกระบวนการวิจัยและพัฒนาเพื่อแก้ปัญหาสิ่งแวดล้อมที่ สัมฤทธิ์ผลอย่างเป็นรูปธรรม กุญแจส�ำคัญ คือ ประชาชน ด้วยเหตุนี้เองการผสมผสานการวิจัยเชิงปริมาณเพื่อให้เห็นภาพ ชัดเจนในเชิงประจักษ์ และใช้กระบวนการวิจยั เชิงคุณภาพเพือ่ เปลีย่ นมนุษย์ทเี่ ป็นศัตรูของธรรมชาติให้เข้าใจ และตระหนักถึง ความส�ำคัญพร้อมที่จะให้ความร่วมมือในการแก้ปัญหา สอดแทรกการสร้างจิตส�ำนึกในคุณค่าของสิ่งแวดล้อม ชี้ให้เห็น ผลกระทบที่จะเกิดกับตนเองและบุคคลรอบข้างเมื่อสิ่งแวดล้อมเสื่อมโทรมลง การใช้กระบวนการวิจัยเพื่อแก้ปัญหาสิ่งแวดล้อมเริ่มจาก บริบทที่ 1 รูส้ ภาพและปัญหาทีแ่ ท้จริง เริม่ จากศึกษาถึงปรากฏการณ์ แสวงหาความจริงในสภาพทีเ่ ป็นอยูโ่ ดย ธรรมชาติ (Naturalistic Inquiry) เปรียบเสมือนการสอบสวน มองภาพรวมทุกมิติ (Holistic Perspective) ด้วยตัวผู้วิจัยเอง อาศัยทั้งข้อมูลเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ เพื่อหาความสัมพันธ์ของปรากฏการณ์ที่สอดคล้องกับสภาพแวดล้อมนัน้ โดยให้ ความส�ำคัญกับข้อมูลทีเ่ ป็นความรูส้ กึ นึกคิด คุณค่าของมนุษย์ และความหมายทีม่ นุษย์ให้ตอ่ สิง่ แวดล้อมต่างๆ รอบตัว วิเคราะห์ ข้อมูลโดยการตีความสร้างข้อสรุปในแต่ละกรณีจนไปถึงการสร้างข้อสรุปในภาพรวมที่เรียกว่าการสร้างข้อสรุปแบบอุปนัย (Inductive Analysis) บริบทที่ 2 สร้างการมีส่วนร่วม ใช้กระบวนการวิจัยเชิงคุณภาพชักน�ำประชาชนให้เห็นสภาพปัญหา สอดแทรกข้อมูลเชิงปริมาณที่เกิดขึ้นจริง ชี้ให้เห็นภาพผลกระทบอย่างชัดเจน สัมผัสได้ อาศัยทักษะการโน้มน้าวจิตใจ และ เปิดโอกาสให้ประชาชนได้แสดงทัศนะเกี่ยวกับปัญหา เพื่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นในหมู่ประชาชน พร้อมร่วมกัน ค้นหาสาเหตุของปัญหา และสร้างแนวทางการแก้ปัญหาในแบบฉบับของตนเอง โดยนักวิจัยหรือผู้เชี่ยวชาญภายนอก เป็นผู้สนับสนุนข้อมูลทางวิชาการให้กบั ประชาชน ทัง้ นีจ้ ะท�ำให้เกิดการยอมรับในวิธกี ารแก้ปญ ั หาทีก่ �ำหนดขึน้ ประชาชนเกิด ความตระหนัก มีความภาคภูมิใจเมื่อปัญหาได้ถูกคลี่คลาย อีกทั้งยังเกิดความยั่นยืนของการแก้ปัญหาในระยะยาว

*นักวิชาการสิ่งแวดล้อม ศูนย์วิจัยและฝึกอบรมด้านสิ่งแวดล้อม

25


บริบทที่ 3 พร้อมเพรียงแก้ปัญหา ก่อนที่จะลงมือปฏิบัติต้องมีการซัก ซ้อมความเข้าใจ วิธีการปฏิบัติที่ได้ตกลงกัน และชี้ถึงผลตอบแทนที่จะได้รับเมื่อการ แก้ปัญหาเป็นผลส�ำเร็จ ผลตอบแทนดังกล่าวอาจไม่อยู่ในรูปของตัวเงิน แต่อาจอยู่ใน ลักษณะผลตอบแทนทางอ้อม เช่น สุขภาพที่ดีขึ้น สิ่งแวดล้อมที่ดี ปัญหามลพิษลดลง สิ่งที่ขาดไม่ได้คือ การก�ำหนดตัวชี้วัดการด�ำเนินการแก้ไข ทั้งนีต้ ัวชี้วัดอาจจะใช้ข้อมูล เชิงปริมาณมาก�ำหนด และอาจน�ำวิธีการวิจัยเชิงปริมาณมาช่วยในการตรวจสอบเพื่อ ให้เกิดความชัดเจนยิ่งขึ้น เมื่อระยะเวลาผ่านไปจะท�ำให้เห็นผลจากการแก้ปัญหาได้ อย่างชัดเจน ช่วงระยะเวลาการลงมือปฏิบัติเพื่อแก้ปัญหาต้องแบ่งออกเป็นระยะๆ และในแต่ระยะจะต้องน�ำข้อมูล ผลการด�ำเนินการ สภาพปัญหาที่เกิดจากการ ด�ำเนินการ อุปสรรค มาร่วมกันสนทนา และน�ำมาแก้ไขปรับปรุงเพื่อด�ำเนินการใน ระยะต่อไป กระบวนการศึกษาวิจัยเพื่อการแก้ปัญหาสิ่งแวดล้อม ต้องค�ำนึงถึง กระบวนการร่วมคิด ร่วมท�ำ ร่วมตัดสินใจ และร่วมรับผลประโยชน์ โดยทุกขั้นตอน จะต้องอาศัยความเข้าใจและเข้าถึงบริบทของชุมชน ผสมผสานเทคนิคต่างๆ ใน การศึกษา เช่น การสนทนากลุ่ม (Focus Group) หรืออาจใช้วิธีการวิจัยเชิงปริมาณ ร่วมด้วย เช่น การใช้แบบสอบถาม เพื่อศึกษาทัศนคติของประชาชนในพื้นที่ และที่ สิ่งที่ต้องค�ำนึงถึงตลอดการศึกษาวิจัยคือ 1) ท�ำความรู้จักชุมชน และบริบทของชุมชนให้มากเพียงพอ 2) ค้ น หาบุ ค คลที่ ค วรน� ำ เข้ า มามี ส ่ ว นร่ ว ม หรื อ บุ ค คลที่ มี ผ ลต่ อ ความส�ำเร็จของการศึกษา เช่น ปราชญ์ชาวบ้านซึ่งเป็นที่เคารพนับถือของประชาชน 3) ใช้กระบวนการวิธีการสื่อสาร และถ่ายทอดอย่างเหมาะสมไม่ถือตน ว่าเป็นผู้มีความรู้มากกว่า ลดการหยิ่งยโส 4) เป็นผู้ฟังที่ดี จดบันทึก และสรุปทุกวัน 5) ชีน้ ำ� ให้เห็นถึงว่าสุดท้ายของการวิจยั ชาวบ้านจะได้และต้องเสียอะไร จากการศึกษา การพัฒนาและแก้ไขปัญหาสังคม ชุมชน และสิ่งแวดล้อมเป็นเรื่องที่ ท�ำได้ยาก ถ้าขาดความร่วมมือของประชาชน นักวิจัยเองจึงต้องแสดงความจริงใจใน การร่วมเป็นส่วนหนึง่ ในการแก้ปัญหา สุดท้ายแล้วงานวิจัยจะช่วยสร้างคุณลักษณะ การเรียนรู้แบบพหุภาคีของประชาชนชน พร้อมก่อเกิดจิตส�ำนึกตระหนักในปัญหา หน้าที่ ซึ่งทั้งนีจ้ ะน�ำไปสู่การพัฒนาอย่างยั่งยืนของชุมชนอย่างแท้จริง บรรณานุกรม นิศา ชูโต. (2540). การวิจัยเชิงคุณภาพ. กรุงเทพฯ: พี. เอ็น. การพิมพ์ สุธรรม นันทมงคลสมัย. (2543). เปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างการวิจัยเชิงปริมาณและการวิจัยเชิงคุณภาพในงานวิจัยด้านสังคมศาสตร์. วารสารสาธารณสุขศาสตร์, 30(3), 231-234. ชัชวาลย์ ทัตศิวัช, ( 2553) การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research-PAR) : มิติใหม่ของรูปแบบวิธีวิจัยเพื่อ การพัฒนาชุมชนระดับท้องถิ่น, http://publicrelationsbu.multiply.multiplycontent.com/journal.

26


ศูนยวิจัยและฝกอบรม.......

ดานสิ่งแวดลอม

กับการขับเคลื่อนการดําเนินงานของเครือขายนักวิจัยสิ่งแวดลอม โดย : จินดารัตน เรืองโชติวิทย* อุไร เกษมศรี**

นั บ ตั้ ง แต ในอดี ต ที่ ผ  า นมาจวบ นโยบายและจัดทําโครงการตางๆ เพื่อ ทั นต อ สถานการณ ก ารเปลี่ ย นแปลง จนถึงปจจุบัน ทรัพยากรมนุษยเปน รักษาสภาพสิ่งแวดลอมของโลก สังคม อยางตอเนื่อง และสามารถนําไปใชใน ป จจั ยหลั กในการทําลายสิ่งแวดล อม ไมวาจะเปนปญหาสิ่งแวดลอมทางดาน อากาศ นํ้ า ขยะ สารอั น ตราย การเปลีย่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ เปนตน อันเปนสาเหตุที่ทําใหเกิดภัยพิบัติตางๆ ที่เกิดขึ้นทั่วโลก ไมวาจะเปนเหตุการณ สึนามิ อุทกภัย ดินถลม ภัยแลง ทัง้ หมดลวนมาจากสาเหตุปจ จัยหลัก อันเกิดมาจากนํ้ามือของมนุษยทั้งสิ้น รวมถึงสาเหตุอตั ราการเจริญเติบโตของ ประชากรมนุษยอยางรวดเร็ว ซึ่งเปน ที่มาของความตองการของมนุษยในมิติ ทางดานของเศรษฐกิจและสังคม อันเปน เหตุทําใหสภาพสิ่งแวดลอมทั่วโลกนัน้ ถูกทําลายลง เพราะสาเหตุจากปจจัย ดังกลาวขางตน ปจจุบนั ไดมหี ลายหนวยงาน ทั้งภาครัฐ เอกชน และภาคประชาชน หันมาสนใจและเอาใจใสตอ สิง่ แวดลอม กั น มากขึ้ น ทํ า ให ห ลายหน ว ยงานมี

หรือชุมชน ใหมีการดํารงอยูเคียงคูกับ ความตองการในการพั ฒนาทางดาน เศรษฐศาสตรของมนุษย และเพือ่ ใหเกิด ความสมดุลยกนั มากยิง่ ขึน้ เพือ่ การบริโภค ที่ยั่งยืนตอไป ด ว ยเหตุ นี้ กรมส ง เสริ ม คุ ณ ภาพ สิ่งแวดลอม โดยศูนยวิจัยและฝกอบรม ดานสิง่ แวดลอม ในฐานะทีเ่ ปนหนวยงานหลัก ทีใ่ หความสําคัญตอสิง่ แวดลอม จึงไดกอ ตั้ ง เครื อ ข า ยนั ก วิ จั ย สิ่ ง แวดล อ มขึ้ น เพื่อเปนการพัฒนากระบวนการศึกษา วิจัยดานสิ่งแวดลอม โดยมุงเนนการ สงเสริมการมีสว นรวมในการศึกษาวิจยั ทางวิชาการของนักวิจัยจากหนวยงาน และภาคีทเี่ กีย่ วของ รวมทัง้ เพือ่ ใหสมาชิก เครือขายนักวิจยั สิง่ แวดลอมไดมโี อกาส แลกเปลี่ยนความรู ขอมูลทางวิชาการ และประสบการณตางๆ ซึ่งกันและกัน ซึ่งจะทําใหไดมาซึง่ ขอมูลทีท่ ันสมัยและ

การปองกันแกไขปญหาสิง่ แวดลอมของ ประเทศไดอยางทันสถานการณ และ หลั ง จากการจั ด ตั้ ง เครื อ ข า ยนัก วิ จั ย สิง่ แวดลอม ศูนยวจิ ยั และฝกอบรมดาน สิ่งแวดลอม ไดรวมกับสมาชิกเครือขาย นักวิจยั สิง่ แวดลอม กําหนดกรอบทิศทาง การดํ า เนินงานของเครื อ ข า ยนัก วิ จั ย สิง่ แวดลอม ซึง่ ประกอบดวย 3 ภารกิจหลัก ไดแก การสรางเครือขายใหเขมแข็ง การจัดทํา KM เพื่อการพัฒนานักวิจัย และการบูรณาการงานวิจัย และเพื่อ เปนการผลักดันการดําเนินงานภายใต ภารกิจของเครือขายนักวิจยั สิง่ แวดลอม ศูนยวิจัยและฝกอบรมดานสิ่งแวดลอม จึงไดดาํ เนินการสงเสริมและพัฒนาระบบ การจัดการความรูของเครือขายนักวิจัย สิ่งแวดลอม ผานทางการจัดเวทีแลก เปลี่ยนเรียนรู โดยมุงเนนใหเกิดการ แลกเปลี่ยนเรียนรูในองคความรูทาง

*นักวิชาการสิ่งแวดลอมชํานาญการ ศูนยวิจัยและฝกอบรมดานสิ่งแวดลอม **นักวิชาการสิ่งแวดลอม ศูนยวิจัยและฝกอบรมดานสิ่งแวดลอม

27


µ¦ ¦³Á¤· ªµ¤Á®¤µ³­¤ ° µ¦Ä o° »£µ µÃ ° Á®¨È ¦³ »«¼ ¥r ¸É ¼ ¦´ ¦» oª¥Ã¡¨¸Á¤°¦r¦nª¤ ´ µ¦Á® ¸É¥ª ε ªµ¤¦o° µ ¤nÁ®¨È Å¢¢jµÄ µ¦Á¦n µ¦¢g ¢¼ Ê뵀 o · ¨³ · Ä ¡ºÊ ¸É · ¤°» ­µ® ¦¦¤ ¤µ µ¡» ¸É Á g ° oª¥¤¨­µ¦°· ¦¸¥r¦³Á®¥ ¸É¤¸ ¨°¨¸ Á } ° r ¦³ ° ¡¨ Á¡È ¦´ r1, ¢¦ µ r ¤µÁ®¨È¤2, ¡¸¦¡ ¬r ­» ¦Á ³2 1£µ ª· µª·«ª ¦¦¤Ã¥ µ, ³ª·«ª ¦¦¤«µ­ ¦r, ¤®µª· ¥µ¨´¥ Á¦«ª¦ ¨³ 2 «¼ ¥rª· ´¥Â¨³ f ° ¦¤ oµ ­·É ª ¨o°¤, ¦¤­n Á­¦·¤ » £µ¡­·É ª ¨o°¤,

¦³ ¦ª ¦´¡¥µ ¦ ¦¦¤ µ ·Â¨³­·É ª ¨o°¤

¸É¤µ ° { ®µÂ¨³ ªµ¤­Îµ ´ ¾­µ¦°· ¦¸¥r¦³Á®¥ ¸É¤¸ ¨°¦¸ Á } ° r ¦³ ° (Volatile Chlorinated Organics) Á n Å ¦ ¨°Ã¦Á° ·¨¸ (TCE) ( ¼¦¼ ¸É 1) Á } ­µ¦Á ¤¸°´ ¦µ¥ ¹É ¼ Ä oÄ ¦·¤µ ¤µ Ä °» ­µ® ¦¦¤®¨µ¥ ¦³Á£ Á n °» ­µ® ¦¦¤°¸Á¨È ¦° · ­r °» ­µ® ¦¦¤ µ¦ ¨· 讳 ¨³ °» ­µ® ¦¦¤ ´ ®o Ä µ ³ ¸É Á } ´ ª ´ Å ¤´ µ 讳 o µ ¨³ ·Ê ­n ª °¸Á¨È ¦° · ­r nµ Ç ¾ µ¦ ´ µ¦ µ °» ­µ® ¦¦¤ ¸É Á g ° ­µ¦°´ ¦µ¥Á®¨nµ ¸Ê°¥nµ Ťn ¼ ª· ¸ εĮoÁ · µ¦ Á g ° Ä ­·É ª ¨o°¤Ã ¥Á ¡µ³°¥nµ ¥·É µ¦ Á g ° · ¨³ Ê뵀 o · ( ¼¦¼ ¸É 2) ¹É n°Ä®oÁ · ¨Á­¸¥ n°­» £µ¡ ° ¤ »¬¥r ¸É ºÉ¤ Ê뵀 o · ¸É Á g ° Á ºÉ° µ ­µ¦°· ¦¸¥r¦³Á®¥ ¸É ¤¸ ¨°¨¸ Á } ° r ¦³ ° Á } ­µ¦ n°¤³Á¦È ¾ µ¦ Á g ° ° Ê뵀 o · oª¥­µ¦ · ¸Ê ¼ ¡ ´ÉªÅ Ä ¦³Á «°» ­µ® ¦¦¤Â¨³® ¹É Ä ¦ ¸ Á g ° °´ °ºÊ° µª ¼ ­¦oµ Á } £µ¡¥ r ( ¼¦¼ ¸É 3) Ä Îµ ° Á ¸¥ª ´ µ¦ Á g ° ¸Ê È ¼ ¦ª ¡ Ä ¦³Á «Å ¥ oª¥Á n Ä ¦·Áª · ¤°» ­µ® ¦¦¤¤µ µ¡» ¾ µ¦ Á g ° ° · ¨³ Ê뵀 o · oª¥­µ¦°· ¦¸¥r¦³Á®¥ ¸É¤¸ ¨°¨¸ Á } ° r ¦³ ° Á } µ¦ Á g ° ¸É¢g ¢¼Å o¥µ ¸É­» · ® ¹É µ¦Ä oÁ à 襸 µ¦¢g ¢¼¡ºÊ ¸É Á g ° ¸É ·¥¤Ä o ´ °¥nµ ¡¦n®¨µ¥ (Conventional Remediation Technology) Á n µ¦­¼ °° ¤µÁ¡º°É ε ´ (Pump-and-Treat) ¨³ µ¦ ε ´ à ¥ ´ ¡¦» ¸É ε · ¦·¥µ ´ ¤¨­µ¦ (Permeable Reactive Barrier (PRB)) ³¤¸ nµÄ o nµ¥¤®µ«µ­Â¨³ · Áª¨µ µ ¾ µ¦­n ° »£µ µÃ ° Á®¨È ¦³ »«¼ ¥r(Nanoscale Zerovalent Iron (NZVI)) (¦¼ ¸É 4) ¨ Å Ä o · Á¡ºÉ° µ¦¢g ¢¼ µ¦ Á g ° Â Ä (In Situ) ­µ¤µ¦ ¨ nµÄ o nµ¥Å o ¹ 80% °¥nµ Ŧ È ¸ª· ¸ ¸Ê­µ¤µ¦ Ä o­¨µ¥Å oÁ ¡µ³­µ¦¡·¬ ¸É¨³¨µ¥°¥¼nÄ Ê뵀 o · (dissolved phase) Á nµ ´Ê  nŤn­µ¤µ¦ Ä oÄ µ¦­¨µ¥­µ¦¡·¬ ¸É oµ à ¥ µ¦ ¼ ´ °¥¼nÄ · Å o (sorbed phase) oª¥Á® » ´ ¨nµª µ¦Ä o° »£µ µÃ ° Á®¨È ¦³ »«¼ ¥r ³­µ¤µ¦ ε ´ Å o n Êε Ä o · ¸É Á g °  nŤn­µ¤µ¦ ε ´ ­µ¦ Á g ° · ¸Ê°° µ · Å o ´Ê ®¤ ¨³Ä ¸É­» ­µ¦¡·¬ ³ ¼ ³¨³¨µ¥°° ¤µ (back diffusion) ¨³­n ¨¨ n° » £µ¡ Ê뵀 o · (¦¼ ¸É 5)

­¤¤ · µ / §¬ ¸ ¸ÉÄ oÄ µ¦«¹ ¬µª· ´¥ 9° »£µ µÃ ° Á®¨È ¦³ »«¼ ¥rÁ } ° »£µ ¤nÁ®¨È µÃ  Ferromagnetic ­µ¤µ¦ ­¦oµ ªµ¤¦o° à ¥ µ¦ Á® ¸É¥ª ε µ ¤nÁ®¨È Å¢¢jµ£µ¥Ä o­ µ¤Â¤nÁ®¨È ¦³Â­­¨´ nµ ¦µ µ¦ r Hysteresis Losses ¸ÉÁ · ¹Ê Ä ª´ ´ ¦ Magnetization/Demagnetization ° ° »£µ ¤nÁ®¨È

¦¼ ¸É 1: ­µ¦Å ¦ ¨°Ã¦Á° ·¨¸ (TCE)

¦¼ ¸É 2: µ¦ Á g ° ° · ¨³ Ê뵀 o · oª¥­µ¦°· ¦¸¥r¦³Á®¥ ¸É¤¸ ¨°¨¸ Á } ° r ¦³ ° (¦¼ ¼ ´ ¨° ¤µ µ (Stewart 2008) ¦¼ ¸É 3: £µ¡¥ r Á¦ºÉ° A Civil Action (1998) Á ¸É¥ª ´ µ¦ Á g ° oª¥ ­µ¦ TCE

NZVI

¤ºÉ° P º°°´ ¦µ µ¦Á · ªµ¤¦o° f º° ªµ¤ ¸É­ µ¤Â¤nÁ®¨È Å¢¢jµ ¦³Â­­¨´ ¨³ U º°¡ºÊ ¸ÉÄ o Hysteresis Loop ° ° » £ µ ¤n Á ®¨È µÃ £µ¥Ä o­ µ¤Â¤nÁ ®¨È °» ®£¼¤· ­¼ ­» ° µ¦Á® ¸É¥ ª ε à ¥° » £ µ ¤nÁ ®¨È µÃ ¤¸ nµ ¦³¤µ ~400 ° «µÁ ¨Á ¸¥­ ¹É ¤µ Á · ¡°­Îµ®¦´ µ¦Ä®o ªµ¤¦o° Á¡ºÉ°Á¦n µ¦ ε ´ µ¦ Á g ° Ä o · 9 ªµ¤¦o° ¸É­¦oµ µ Á® ¸É¥ª ε µ ¤nÁ®¨È Å¢¢jµ£µ¥Ä o ­ µ¤Â¤nÁ®¨È ¦³Â­­¨´ nª¥Ä µ¦ ¹ Á°µ­µ¦¡·¬ ¦³Á£ ­µ¦°· ¦¸¥r¦³Á®¥ ¸É¤¸ ¨°¦¸ Á } ° r ¸É ¼ ¼ ´ °¥¼n ´ · Ä®o ¨³¨µ¥°° ¤µ (Desorption ®¦º° Back Diffusion) ¨³ ¼ ­¨µ¥ à ¥ µ¦ ε · ¦·¥µ µ Á ¤¸ ´ ° »£µ µÃ ° Á®¨È ¦³ »«¼ ¥r ( ¼¦¼ ¸É 6) 9 µ¦Ä o ªµ¤¦o° ¦nª¤ ´ µ¦­¨µ¥Ã ¥ µ¦ ε · ¦·¥µ µ Á ¤¸ ³Á¦n °´ ¦µ µ¦­¨µ¥¤¨­µ¦Á¤ºÉ°Á ¸É¥ ´ µ¦ ε · ¦·¥µ µ Á ¤¸°¥nµ Á ¸¥ª

´Ê ¸É 1 µ¦Á ¦¸¥¤Â¨³ª·Á ¦µ³®r » ­¤ ´ · ° ° »£µ µÃ ° Á®¨È ¦³ »«¼ ¥r ¸É ¼ ¦´ ¦» oª¥­µ¦Ã¡¨¸Á¤°¦r

´Ê ¸É 2

µ¦ ¦³Á¤· ªµ¤­µ¤µ¦ ° µ¦Ä o° »£µ µÃ ° Á®¨È ¦³ »«¼ ¥r ¸É ¼ ¦´ ¦» oª¥­µ¦Ã¡¨¸Á¤°¦r¦nª¤ ´ µ¦Ä o ªµ¤¦o° µ µ¦Á® ¸¥É ª ε µ ¤nÁ®¨È Å¢¢jµÄ µ¦ ε ´ µ¦ Á g ° ° · ¨³ Ê뵀 o · µ ¡ºÊ ¸É · ¤ °» ­µ® ¦¦¤¤µ µ¡» Ä µ¦ ¨°  Batch

¦¼ ¸É6: µ¦ ε ´ à ¥Á · ¸É ¼ εÁ­ °Ä o°Á­ °Ã ¦ µ¦ ¸Ê ¹É Ä o ªµ¤¦o° ¸É­ ¦oµ µ µ¦Á® ¸É ¥ª ε µ ¤nÁ ®¨È Å¢¢jµ ° ° »£µ µÃ ° Á®¨È ¦³ »«¼ ¥r¦nª¤ ´ µ¦ ε · ¦·¥µ µ Á ¤¸ Á¡ºÉ°­¨µ¥ TCE µ¦Á® ¸É¥ª ε µ ¤nÁ®¨È Å¢¢jµ ° ° »£µ µ à ³Á¦n °´ ¦µ µ¦ µ¦ ¼ ¨ ¨n°¥ (Desorption) ° TCE °° ¤µ µ · ¹É εĮo°´ ¦µ µ¦ ε ´ Á¦Èª ¹Ê

´Ê ¸É 3

¦°  ª ªµ¤ · ¸ÉÄ oÄ µ¦ εÁ · µ¦ª· ´¥ µ¦¦´ ¬µÃ¦ ¤³Á¦È Ä »¬¥r

 µ¦ª· ´¥

µ¦¢g ¢¼ µ¦ Á g ° ­µ¦ °´ ¦µ¥Ä ­·É ª ¨o°¤Ä o ·

µ¦ ¦³Á¤· ªµ¤ »¤o » µ Á«¦¬ «µ­ ¦r ° µ¦Ä o° »£µ µÃ ° Á®¨È ¦³ »«¼ ¥r ¸É ¼ ¦´ ¦» oª¥­µ¦Ã¡¨¸Á¤°¦r¦nª¤ ´ µ¦Ä o ªµ¤¦o° µ µ¦ Á® ¸É¥ª ε µ ¤nÁ®¨È Å¢¢jµÁ¤ºÉ°Á ¦¸¥ Á ¸É¥ ´ ª· ¸°ºÉ Ç

VS.

¦¼ ¸É 4:° »£µ µÃ ° Á®¨È ¦³ »«¼ ¥r ¸É ¼ ¦´ ¦» oª¥Ã¡¨¸Á¤°¦r ¦¼ ¸É 5: ¦³ ª µ¦ µ Á ¤¸-¢d­· ­r ¸ÉÁ · ¹Ê Ä ¦³ ´ äÁ¨ »¨ ¸ÉÁ ¸É¥ª o° ´ µ¦Ä o° »£µ µÃ ° Á®¨È ¦³ »«¼ ¥rÁ¡ºÉ°¢g ¢¼ · ¨³ Ê뵀 o · ¸É Á g ° oª¥ TCE à ¥ µ¦ ε ´ oª¥ · ¦·¥µ µ Á ¤¸ (Dechlorination reaction) Á nµ ´Ê ¹É ´Ê µ¦ ¼ ¨ ¨n°¥ (Desorption) ° TCE °° ¤µ µ · ³Á } ´Ê ¸É ε® °´ ¦µ¦ª¤ µ¦ ε ´

¦³Ã¥ r ¸É µ ªnµ ³Å o¦´

ª´ » ¦³­ r DNAPL targeting

Á¡ºÉ°Á¦n µ¦ º ­£µ¡ ° ¡ºÊ ¸É Á g ° ¨³¨ nµÄ o nµ¥Ä µ¦¢g ¢¼ à ¦ µ¦ª· ´¥ ¸ÊÁ­ ° ª´ ¦¦¤ µ¦Ä o° »£µ µÃ ° Á®¨È ¦³ »«¼ ¥r ¸É ¼ ¦´ ¦» oª¥Ã¡¨¸Á¤°¦r¦nª¤ ´ µ¦Á® ¸É¥ª ε ªµ¤¦o° µ ¤nÁ®¨È Å¢¢jµÄ µ¦Á¦n µ¦¢g ¢¼ Ê뵀 o · ¨³ · à ¥ª´ » ¦³­ r®¨´ ° à ¦ µ¦ª· ´¥ ¸Ê º° 9Á¡ºÉ° ¦³Á¤· ¦³­· ·£µ¡, ªµ¤ »o¤ nµÄ Á · Á«¦¬ «µ­ ¦r, ¨³ µ¦­ ª ¦´ ¬µ ¦´¡¥µ ¦ Ê뵀 o · à ¥ µ¦¢g ¢¼ oª¥ ° »£µ µÃ ° Á®¨È ¦³ »«¼ ¥r ¸É ¼ ¦´ ¦» oª¥Ã¡¨¸Á¤°¦r¦nª¤ ´ µ¦Á® ¸É¥ª ε ªµ¤¦o° µ ¤nÁ®¨È Å¢¢jµÁ¤ºÉ°Á ¸¥ ´ µ¦Ä o° »£µ µÃ ° Á®¨È ¦³ »«¼ ¥rÁ¡¸¥ °¥nµ Á ¸¥ª à ¥ ¦³Á¤· µ ¨ µ¦ ¨° Ä ®o° · ´ · µ¦ ¹É Ä o · ¨³ Ê뵀 o · µ · ¤°» ­µ® ¦¦¤¤µ µ¡» ¹É Á } ® ¹É Ä ¡ºÊ ¸É Á g ° ¦· ¸É ¼ ¦ª ¡ Ä ¦³Á «Å ¥ Reference: Stewart, R. (2008). "Environmental Science in the 21st Century-An Online Textbook."

วิชาการ และประสบการณ การวิจัย ระหวางสมาชิก ซึง่ จะสงผลตอการพัฒนา ประสิ ท ธิ ภ าพการศึ ก ษาวิ จั ย ภายใต เครือขายตอไป นอกเหนือจากนัน้ ศูนยวจิ ยั และฝกอบรมดานสิง่ แวดลอม ไดดาํ เนิน โครงการสงเสริมสนับสนุนการศึกษาวิจยั แบบบูรณาการ ภายใตเครือขายนักวิจัย สิ่ ง แวดล อ ม เพื่ อ เป นการสนั บ สนุน กระบวนการศึ ก ษาวิ จั ย และพั ฒ นา เทคโนโลยีดา นสิง่ แวดลอมตามนโยบาย ของรัฐบาลปจจุบัน ที่มุงเนนการศึกษา วิจัยที่จะนําไปสูการพัฒนาเทคโนโลยี หรื อ องค ค วามรู  ที่ ส ามารถนํ า ไปใช ประโยชนไดจริงในพืน้ ที่ ซึง่ ในปงบประมาณ 2554 ศู น ย วิ จั ย และฝ ก อบรมด า น สิ่งแวดลอม ไดดําเนินการสงเสริมการ จั ด ทํ า โครงการวิ จั ย แบบบู ร ณาการ ภายใต เครื อ ข า ยนัก วิ จั ย สิ่ ง แวดล อ ม ผานการจัดประกวดขอเสนอโครงการ วิ จั ย และการพั ฒ นาเทคโนโลยี ด  า น สิ่งแวดลอมภายใตบริบท การพัฒนาที่ ยัง่ ยืน โดยมีวตั ถุประสงคเพือ่ ใหเกิดการ

28

Straining& Collector Ripening

Aggregation& Disaggregation

¦¼ ¸É 7 : ° »£µ ¤nÁ®¨È µÃ ¸É ¼ ¦´ ¦» oª¥Ã¡¨¸Á¤°¦r ¼ ­n Á oµÅ Ä ¦nµ µ¥ ¼o iª¥Á¡ºÉ° µ¦¦´ ¬µÃ¦ ¤³Á¦È à ¥ª· ¸ µ Á ¤¸¦nª¤ ´ ª· ¸ µ ªµ¤¦o° (Hyperthermia) à ¥ µ¦Á® ¸É¥ª ε µ ¤nÁ®¨È Å¢¢jµ (Barakat, 2009)

Attachment& Detachment

¦¼ ¸É 8 :° »£µ µÃ ° Á®¨È ¦³ »«¼ ¥r ¸É ¼ ¦´ ¦» oª¥Ã¡¨¸Á¤°¦r ¼ ­n ¨ Å Ä o · Á¡ºÉ°¢g ¢¼ µ¦ Á g ° à ¥ µ¦ ε ´ ­µ¦¡·¬Ã ¥ª· ¸ µ Á ¤¸¦nª¤ ´ µ¦Á® ¸É¥ª ε ªµ¤¦o° µ ¤nÁ®¨È Å¢¢jµ

Reference: Baraket, N. S. Nanomedicine. 2009;4(7):799-812. (http://www.medscape.com/viewarticle/712338_7)

สรรคสรางองคความรูใ หมๆ รวมถึงการ พั ฒ นาองค ค วามรู  แ ละเทคโนโลยี ในลักษณะของการตอยอดงานวิจยั และ/ หรือสามารถนําไปประยุกตใชในพื้นที่ ได จ ริ ง ตลอดจนเป นการกระตุ  น ให ทุ ก ภาคส ว นที่ เ กี่ ย วข อ งตระหนั ก ถึ ง ความสํ า คั ญ ในการศึ ก ษาวิ จั ย ด า น สิ่ ง แวดล อ ม การประกวดดั ง กล า ว มีผสู นใจสงขอเสนอโครงการเขาประกวด จํานวนทั้งสิ้น 80 โครงการ โดยไดมี การดําเนินการตัดสินการประกวดเมื่อ วันที่ 5 มีนาคม 2554 ที่ผานมา ซึ่งมี ขอเสนอโครงการที่ไดรับรางวัลจํานวน 5 โครงการ สําหรับการมอบรางวัลนัน้ ศูนยวิจัยและฝกอบรมดานสิ่งแวดลอม จะจัดใหมีขึ้นในงานวันสิ่งแวดลอมโลก วันที่ 5 มิถุนายน 2554 ณ อิมแพค เมืองทองธานี

¨ ¦³ µ ª· µ µ¦: µ ª· ´¥ ¸ÊÁ } µ ª· ´¥ o 宦´ (Original Research) Á¡ºÉ°Á¡·É¤ ¦³­· ·£µ¡ µ¦¢g ¢¼ · ¨³ Ê뵀 o · ¸ É Á g ° oª¥­µ¦°· ¦¸¥r¦³Á®¥ ¸¤É ¸ ¨°¦¸ Á } ° r ¦³ ° ¹ É Á } { ®µÄ® n ¸É ε¨´ Å o¦ ´ ªµ¤­ Ä µ ­´ ¤ ´ ª· ¥´ µ µ µ · oµ ­·É ª ¨o°¤Â¨³® nª¥ ¸ É · ´ · µ ¢g ¢¼¡ºÊ ¸ É Á g ° ¦· ªµ¤­ÎµÁ¦È ° µ ª· ´¥ ·Ê ¸Ê ³Å o¦´ ªµ¤­ Ä µ ´ ª· ´¥ µ µ µ ·Â¨³ ´ ª· ´¥Ä ¦³Á «Ä ­µ µ µÃ Á à 襸¨³Á à 襸­·É ª ¨o°¤ ε ª ¤µ ¨ ¦³ µ ­´ ¤Â¨³­·É ª ¨o°¤: Ä £µ¡¦ª¤ µ ª· ´¥ ¸Ê­¦oµ Á à 襸Á¡ºÉ° µ¦¢g ¢¼­·É ª ¨o°¤ ¸É Á g ° Á¡ºÉ° » £µ¡ ¸ª· ¸ É ¸ ¹Ê ¨³ µ¦¡´ µ ¸¥É ´É ¥º Á à 襸 ¸Ê ³ nª¥Ä®o µ¦¢g ¢¼¡ºÊ ¸É Á g ° ­ÎµÁ¦È ¨»¨nª Å oÁ¦Èª ¹Ê ¨³ ε ´ ªµ¤Á­¸É¥ n°­» £µ¡ ° ¦³ µ ¸ÉÅ o¦´ ¨ ¦³ Å o¦ª Á¦Èª¥· É ¹Ê µ ª· ´¥ ¸Ê ³¤¸ ¨ ¦³ µ ­´ ¤Â¨³­· É Âª ¨o°¤ ° ¦³Á «Á¦µ°¥nµ ´ Á Ä Ã ¦ µ¦ n°Á ºÉ° ¹É ³ª· ´¥­µ¤µ¦ ¨° Ä oÄ µ¦¢g ¢¼¡ºÊ ¸É Á g ° ¦· Ä · ¤°» ­µ® ¦¦¤¤µ µ¡» ¨³¡ºÊ ¸ É Á g ° °ºÉ Ç Reference: Zhang, X. K., Li, Y. F., and Xiao, J. Q. (2003). Journal of Applied Physics, 93(10), 7124-7126

ศูนยที่ถูกปรับปรุงดวยโพลีเมอรรวมกับ การเหนีย่ วนําความรอนทางแมเหล็กไฟฟา ในการเร ง การฟ  น ฟู นํ้ า ใต ดิ น และดิ น ในพื้นที่นิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุดที่ ปนเปอนดวยมลสารอินทรียระเหยที่มี คลอลีนเปนองคประกอบ โดย ดร.ธนพล เพ็ญรัตน จากภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัย นเรศวร รางวัลรองชนะเลิศอันดับหนึง่ : โครงการ การสังเคราะหเซนเซอรที่ มีความไวสูงสําหรับตรวจวัดโลหะหนัก ปรอทในนํ้าและในเซลลสิ่งมีชีวิตดวย เทคนิคการเปลีย่ นสีและสัญญาณฟลูออ เรสเซนต โดย ดร.สรวง สมานหมู จาก ศูนยพนั ธุวศิ วกรรมและเทคโนโลยีชวี ภาพ แหงชาติ

รางวัลชนะเลิศ : รางวัลรองชนะเลิศอันดับสอง : โครงการ การประเมินความเหมาะสม โครงการ การพัฒนาตนแบบของวิธี ของการใชอนุภาคนาโนของเหล็กประจุ วิเคราะหยาซึ่งใชสารเคมีและกอใหเกิด


ชีวภาพโพลีไฮดรอซีอัลคาโนเอต โดย ดย นางสาวพีรายุ หงษกาํ เนิด จากศูนยวจัจิ ยั และฝกอบรมดานสิ่งแวดลอม 2. โครงการ การศึกษาการเพาะเลีย้ ง มดไฮ Crematogaster orgenhoferi (May, 1879) เพือ่ การใชประโยชนอยาง ยัง่ ยืน :กรณีศกึ ษาพืน้ ทีป่ า อําเภอดานซาย จังหวัดเลย โดย ผศ.ดร.โยธิน สุรยิ พงศ รางวัลชมเชย 2 รางวัล : 1. โครงการ การใชแกลบและกาก จากโปรแกรมวิชาวิทยาศาสตรสงิ่ แวดลอม นํ้าตาลเปนวัตถุดิบในการผลิตพลาสติก มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย ของเสียปริมาณนอย:การไทเทรตยอสวน สําหรับวิเคราะหปริมาณโซเดียมคลอไรด และยาชนิด อื่ น ๆ ในรู ป เกลื อ ไฮโดร คลอไรด โดย รศ.ดร.ธีรศักดิ์ โรจนราธา จากภาควิชาเภสัชเคมี คณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

นอกจากจะมีการประกวดขอเสนอ โครงการวิจยั แลว ศูนยวจิ ยั และฝกอบรม ดานสิ่งแวดลอม ไดคัดเลือกขอเสนอ โครงการวิจัยจํานวน 7 โครงการจาก ขอเสนอโครงการทีส่ ง เขาประกวดทัง้ หมด เพื่อสนับสนุนใหมีการศึกษาวิจัยตอไป และจะไดมีการนําเสนอผลการศึกษา วิจัยทั้ง 7 โครงการดังกลาว ประมาณ เดือนธันวาคม 2554

โครงการวิจัยที่ดําเนินการภายใตเครือขายนักวิจัยสิ่งแวดลอมในป 2554 ที่ไดจากคัดเลือกการประกวด ขอเสนอโครงการวิจยั และการพัฒนาเทคโนโลยีดา นสิง่ แวดลอม ภายใตบริบท “การพัฒนาทีย่ งั่ ยืน” ลําดับที่

โครงการ

เจาของโครงการ

1.

การประเมินความเหมาะสมของการใชอนุภาคนาโนของเหล็กประจุศูนยที่ถูก ปรับปรุงดวย โพลีเมอรรวมกับการเหนี่ยวนําความรอนทางแมเหล็กไฟฟาใน การเรงการฟนฟูนํ้าใตดินและดินในพื้นที่นคิ มอุตสาหกรรมมาบตาพุดที่ปน เปอนดวยมลสารอินทรียระเหยที่มีคลอลีนเปนองคประกอบ

ดร.ธนพล เพ็ญรัตน ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยนเรศวร

2.

การสังเคราะหเซนเซอรที่มีความไวสูงสําหรับตรวจวัดโลหะหนักปรอท ในนํ้าและในเซลลสิ่งมีชีวิตดวยเทคนิคการเปลี่ยนสีและสัญญาณ ฟลูออเรสเซนต

นายสรวง สมานหมู ศูนยพันธุวิศวกรรม และเทคโนโลยีชีวภาพแหงชาติ

3.

การพัฒนาตนแบบของวิธีวิเคราะหยาซึ่งใชสารเคมีและกอใหเกิดของเสีย ปริมาณนอย:การไทเทรตยอสวนสําหรับวิเคราะหปริมาณโซเดียมคลอไรด และยาชนิดอื่นๆ ในรูปเกลือไฮโดรคลอไรด

รศ.ดร.ธีรศักดิ์ โรจนราธา ภาควิชาเภสัชเคมี คณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

4.

การศึกษาการเพาะเลี้ยงมดไฮ Crematogaster orgenhoferi (May, 1879) เพื่อการใชประโยชนอยางยั่งยืน:กรณีศึกษาพื้นที่ปา อําเภอดานซาย จังหวัดเลย

ผศ.ดร.โยธิน สุริยพงศ โปรแกรมวิชาวิทยาศาสตรสิ่งแวดลอม มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย

5.

การศึกษาและประเมินประสิทธิภาพถังบําบัดสิ่งปฏิกูลแบบถังกรอง ไรอากาศที่ใชชิ้นยางพื้นรองเทาเกาและเศษอิฐมวลเบาเปนตัวกรอง ของถังสวมอาคารหองนํ้ากลางวิทยาลัยเทคนิคดอนเมือง

นายประเสริฐ ธงไชย วิทยาลัยเทคนิคดอนเมือง

6.

การอนุรักษฟนฟูสิ่งแวดลอมในพื้นที่อาวปตตานี: กรณีศึกษาการจัดการ นํ้าเสียในบานดาโตะ อ.ยะหริ่ง จ.ปตตานี

นายวรพงษ เจริญวงษ คณะทํางานเสียงเล็ก ๆ เพื่อสันติภาพ

7.

การศึกษาของเสียจากธรรมชาติ(ขี้ยอ) และของเสียจากโรงงาน (นํ้าลางกุง เศษอาหารและนํ้าสมควันไม) เพื่อประโยชนในการปลูกพืช (ทดแทนการใช ปุยเคมีและสารฆาแมลง) ในจังหวัดจันทบุรี

รศ.ดร.พิชัย สราญรมย คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฎรําไพพรรณี

29


สวนการสงเสริมและพัฒนาระ นาระบบ การจัดการความรูของเครือขายนักวิจัย สิ่งแวดลอม ในป 2554 ศนย ศูนยวิจัยแและ ฝกอบรมดานสิ่งแวดลอม ไดรวมกับ คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยบูรพา จัดเวทีการแลกเปลีย่ น เรียนรูงานวิจัยดานสิ่งแวดลอม ภายใต เครือขายนักวิจัยสิ่งแวดลอม จํานวน 6 ครั้ง เพื่อใหสมาชิกเครือขายนักวิจัย

สิง่ แวดลอม ไดมโี อกาสแลกเปลีย่ นเรียนรู ขอมูลวิชาการและประสบการณการวิจยั ด า นสิ่ ง แวดล อ ม และเพื่ อ ส ง เสริ ม กระบวนการแลกเปลีย่ นเรียนรูข องสมาชิก เครือขายนักวิจยั สิง่ แวดลอมในการกําหนด แนวทางการศึกษาวิจัยดานสิง่ แวดลอม รวมกันในอนาคต ในลักษณะตอยอด การศึกษาวิจยั ซึง่ คาดวาจะมีผเู ขารวมเวที แลกเปลีย่ นเรียนรูจ าํ นวนรวมทัง้ สิน้ 500 คน

ทัง้ นีห้ ากสนใจเขารวมเวทีแลกเปลีย่ น เรียนรู สามารถดาวนโหลดใบสมัครไดที่ http://www.deqp.go.th/website/20 และ http://www.ertc.deqp.go.th/ern หรือสอบถามขอมูลเพิ่มเติมไดที่ สวน ความรวมมือและเครือขายนักวิจัยดาน สิง่ แวดลอม ศูนยวจิ ยั และฝกอบรมดาน สิ่งแวดลอม โทรศัพท 02-5774182-9 ตอ 1102, 1121

การจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรูงานวิจัย ประจําป 2554 หัวขอการแลกเปลี่ยนเรียนรูงานวิจัย

30

วัน-เวลา

สถานที่การจัดเวที

ขยะมูลฝอยและนํ้าเสีย กฎหมายกับการจัดการดานสิ่งแวดลอม

2 พฤษภาคม 2554 20 พฤษภาคม 2554

มหาวิทยาลัยราชภัฏลําปาง มหาวิทยาลัยขอนแกน

สารอันตราย

24 มิถุนายน 2554

มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา

การบริโภคที่ยั่งยืน

22 กรกฎาคม 2554

มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎรธานี

การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและพลังงาน

19 สิงหาคม 2554

มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี

อากาศ เสียงและความสั่นสะเทือน

23 กันยายน 2554

มหาวิทยาลัยบูรพา


สํ า หรั บ ในเรื่ อ งของทิ ศ ทางการ ขับเคลือ่ นของเครือขายนักวิจยั สิง่ แวดลอม ในอนาคต ศูนยวิจัยและฝกอบรมดาน สิ่งแวดลอม จะดําเนินการขับเคลื่อน การดํ า เนินงานของเครื อ ข า ยนัก วิ จั ย สิง่ แวดลอมอยางตอเนือ่ ง เพือ่ ใหเกิดการ พัฒนาองคความรูด า นสิง่ แวดลอม และ การยกระดับองคความรูใ หเปนทีย่ อมรับ สูสากล โดยมุงเนนประเด็น ดังตอไปนี้  เพิ่ ม ศั ก ยภาพทางการวิ จั ย ของ สมาชิกเครือขายฯ เพื่อเปนแรงกระตุน ในการคนควางานวิจัยอันจะนําไปสูการ พัฒนาองคความรูดานสิ่งแวดลอม จัดเวทีแลกเปลีย ่ นเรียนรูง านวิจยั เพือ่ ใหสมาชิกเครือขายฯ ไดแลกเปลีย่ น องคความรู รวมถึงการระดมความคิด ในการแกไขปญหาสิ่งแวดลอม การถายทอดองคความรู โดยการ จัดประชุมสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เพื่อ ถายทอดองคความรู หรือเทคโนโลยีทไี่ ด จากการศึ ก ษาวิ จั ย ภายใต เครื อ ข า ย นักวิจัยสิ่งแวดลอม โดยมุงแกไขปญหา ของพื้ นที่ อ ย า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ และ สอดคลองกับบริบทของทองถิน่ นัน้ ๆ อีก ทั้งยังเปนการสรางโอกาสในการขยาย สมาชิกเครือขายนักวิจัยสิ่งแวดลอมไป ทั่วประเทศ การสนับสนุนการจัดทําโครงการ วิ จั ย ร ว มกั น ภายใต เครื อ ข า ยนัก วิ จั ย สิง่ แวดลอม โดยใชทนุ ของแตละภาคสวน เชน งบวิจัยรวม หรือความรวมมือทาง ด า นบุ ค คลากร สถานที่ ตลอดจน

เครื่องมืออุปกรณในการวิเคราะห และ หองปฏิบัติการสําหรับการศึกษาวิจัย และในขณะนี้ ศูนยวจิ ยั และฝกอบรม ดานสิ่งแวดลอม ไดเปดรับขอเสนอ โครงการวิจัยที่จะมีการดําเนินการใน ปงบประมาณ 2555 แลว หากสมาชิก ท า นใดสนใจสามารถดาวน โ หลด

รายละเอียดการสงขอเสนอโครงการ วิจยั เขารวมในโครงการวิจยั แบบบูรณาการ ภายใตเครือขายนักวิจัยสิ่งแวดลอม ได ที่ http://www.deqp.go.th/ website/20 และ http://www.ertc. deqp.go.th/ern

31


ภูรองกลา ภูทับเบิก ชุมชนเขมแข็ง สิ่งแวดลอมยั่งยืน จ

โดย : อรศัย อินทรพาณิชย*

ากการศึกษาความเปนอยูและวิถีชีวิตของชุมชนตางๆ บนพื้นภูมิภาคนี้ พบวาหลายๆ ชุมชน อาศัยอยูรวมกันกับธรรมชาติอยางชาญฉลาด มีการนําเอาความรูภูมิปญญาตั้งแตบรรพบุรุษดั้งเดิมเขามาประยุกต ใชกบั ชีวติ ประจําวัน มีการเลือกทีอ่ ยูอ าศัยเพือ่ ความสะดวกสบายและความเหมาะสมในการทํามาหากิน ใชประโยชน จากทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมแบบพึ่งพาอาศัย มีขนบธรรมเนียมประเพณีวัฒนธรรม บางสวนที่เกิดจาก ปรากฏการณทางธรรมชาติ ซึ่งเปนการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติอยางแยบยล ชุมชนของแตละภูมิภาคจะตางกัน ทั้งในดานลักษณะภูมิอากาศ ภูมิประเทศ วิถีชีวิต ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมซึ่งทรัพยากรธรรมชาติเปน ตนทุนที่สําคัญในการดํารงชีวิตของชุมชน บางพื้นที่เหมาะกับการทําเกษตรกรรม บางพื้นที่มีภูมิอากาศที่เย็นสบาย อุณหภูมิเหมาะกับพืชพรรณไมนานาชนิด ภูมิประเทศที่สวยงามเชนเดียวกับที่ภูทับเบิกและภูรองกลา ทั้งสองชุมชน นี้มีวิถีชีวิตคลายคลึงกับชุมชนของญี่ปุน ที่เรียกกันวา ซาโตยามา (satoyama) ซาโตยามา เปนภาษาญีป่ นุ มาจากคําวา ซาโต (sato) แปลวา พื้นทีท่ ที่ ําการเกษตรกรรม คําวายามา (yama) แปลวา ภูเขา ดังนัน้ ซาโตยามา ถาแปลตามตัวอักษร หมายถึง การทําเกษตรกรรมบริเวณภูเขา ทํานองเดียวกับ Community and Nature ก็หมายถึง ชุมชนที่อยูรวมกับธรรมชาติ ซึ่งชุมชนที่มีความเปนอยูรวมกับธรรมชาติใน ภูมิภาคนี้ มีการใชทรัพยากรแตกตางกันไป เชน ทําการเกษตร การเลี้ยงสัตว ทําเหมืองแร ทําปาไมเพื่อการสราง บานเรือน หาของปา อาจกอใหเกิดผลกระทบตอระบบนิเวศนและความหลากหลายทางชีวภาพที่เกิดขึ้นจากใช ทรัพยากรดังกลาว ทั้งนี้การจัดการพื้นที่ที่เปนลักษณะเดียวกันกับซาโตยามาจะตองมีการพัฒนาใหมีการจัดการอยางมี ประสิทธิภาพ ตามแนวคิดหลักของซาโตยามามี 5 ประการไดแก 1) การใชทรัพยากรทีอ่ ยูภ ายใตกาํ ลังความสามารถ ของสิ่งแวดลอมนัน้ (carrying capacity) 2) การใชทรัพยากรธรรมชาติโดยการหมุนเวียน (cyclic use) 3) การตระหนักและรูค ณ ุ คาและความสําคัญของ วัฒนธรรมประเพณีดั้งเดิม 4) การจัดการทรัพยากรธรรมชาติโดยความรวมมือ จากทุกภาคสวนที่เกี่ยวของ และ 5) การสนับสนุนเศรษฐกิจและสังคมของทองถิ่น นัน้ ๆ

32

*นักวิชาการสิ่งแวดลอมชํานาญการ สถาบันฝกอบรมและถายทอดเทคโนโลยีดานสิ่งแวดลอม


ทุกภูมิภาคของประเทศไทยมี ยมีชุมชนที่อาศัยรวมกับธรรมชาติ มีความ สัมพันธเชิงระบบ การพัฒนาพืน้ ทีเ่ พือกิ อ่ กิจกรรมใดๆ ยอมสงผลกระทบทัง้ ระบบ เชน ในกรณีของชุมชนหมูบานทับเบิก ตั​ั้งอยูที่ตําบลวั​ังบาลอํ​ําเภอหลมสัก จั​ังหวั​ัด เพชรบูรณ ซึ่งมีความสูงจากระดับนํ้าทะเล ประมาณ 1,768 เมตร ภูมิประเทศ มีความงดงามตามธรรมชาติปาไม อากาศบริสุทธิ์เย็นสบายตลอดป ในตอนเชา มีหมอกและกลุมเมฆ เปนแหลงปลูกกะหลํ่าปลีที่ใหญที่สุดในโลก คนสวนใหญเปน ชาวเขาเผามงทีย่ ายมาจากทางภาคเหนือของประเทศ วิถชี วี ิตของชาวมงไดรบั การ พัฒนาในการประกอบอาชีพ มีการทําแปลงเกษตรกรรมขนาดใหญ ในพื้นที่ อันกวางไกลเหลานีไ้ ดรบั การจัดสรรจากธรรมชาติในเรือ่ งของนํา้ เพราะการปลูกผัก ในพื้นที่เหลานี้ไมจําเปนตองหาแหลงนํ้าเปนที่ลําบากเหมือนการทําแปลงผัก ในภาคกลาง อยางไรก็ตามชาวมงยังคงรักษาประเพณี วัฒนธรรมของเขาไวได ไมตกอยูภายใตอารยธรรมจากที่อื่น ดังจะเห็นไดจากการรักษาประเพณีไหวผี การแสดงเตนรําตางๆ ที่หมูบานทับเบิกหากนักทองเที่ยวจะพักแรมจะตอง กางเตนท ในบริเวณที่จัดใหซึ่งจะไดรับบรรยากาศในการทองเที่ยวแบบงาย ๆ ชุมชนหมูบานรองกลา ตั้งอยูตําบลเนินเพิ่ม อําเภอนครไทย จังหวัด พิษณุโลก ลักษณะภูมิประเทศตลอดจนการทํามาหากิน มีความคลายกันกับชุมชน ซาโตยามาในประเทศญี่ปุนมีการทํานาและผลิตกาซชีวมวล หมูบานทับเบิก แตที่ชุมชนหมูบานรองกลาจะมีโฮมสเตยขึ้นอยูหลายหลัง นักทองเที่ยวสะดวกสบายมากขึ้นในการพักอาศัยอยู เมื่อเทียบกับที่ชุมชนหมูบาน ทับเบิก จะมีกลุมชาวบานคอยอํานวยความสะดวกพาดูแหลงธรรมชาติ การเดินปา จากการสอบถามชาวบานทําใหทราบวาจะมีศนู ยการทองเทีย่ วในอนาคต เปนอาคาร ขนาดเล็ก มีไวเพื่อเปนแหลงใหขอมูลและอํานวยความสะดวกแกนกั ทองเที่ยว ทั้งสองชุมชนไดรับการสงเสริมการทองเที่ยวจากหนวยงานภาครัฐรวม กับเอกชน และผูน าํ ชุมชน ในการวางแผนการจัดการทองเทีย่ วในพืน้ ทีข่ องพวกเขา มีการจัดทําและรวบรวมขอมูลแหลงทองเทีย่ ว และแผนการในอนาคตตอการ ทองเที่ยวเชิงนิเวศ และในที่สุดจะตองไมลืมแนวคิดหลักของซาโตยามา 5 ประการ ซึ่งพบ วามีอยูห นึง่ ขอทีก่ ลาวถึงความรวมมือทุกภาคสวนในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ การพัฒนาที่ยั่งยืนจะตองสรางชุมชนเขมแข็ง ใหเกิดความตระหนักและรับรูถึง ปญหาสิง่ แวดลอม มีความเขาใจและเห็นคุณคาของทรัพยากรธรรมชาติในพืน้ ที่ ของตน มีการใชประโยชนทรัพยากรธรรมชาติอยางพอดีและรักษาไวเพื่อ การตั้งบานเรือนของชาวมงในปจจุบันในหมูบานรองกลา คนรุนตอไป . . . ซึ่งจะตองลงมือปฏิบัติเพื่อชุมชนเขมแข็งและสิ่งแวดลอมยั่งยืน จังหวัดพิษณุโลก ..........................

เอกสารอางอิง http://satoyama-initiative.org/

สภาพในหมูบานชุมชนทับเบิก

33


สาร

VOCs ปาไม ส กับ

โดย : เพลินพิศ พงษประยูร*

ารอินทรียร ะเหยงาย (Volatile Organic Compounds; VOCs) ในบรรยากาศเกิดไดทงั้ จากธรรมชาติ (Biogenic VOCs; BVOCs) และการกระทําของมนุษย (Anthropogenic VOCs; AVOCs) จากการประเมินของ IPCC ป ค.ศ. 2001 พบวาปริมาณสาร VOCs ที่มีการปลอยสูบรรยากาศของโลกมากกวา 88% เกิดจากแหลงธรรมชาติ และมากกวา 99% ของสาร VOCs ที่เกิดจากแหลงธรรมชาติ เปนการปลอยจากพืช โดยสารทีม่ สี ดั สวนของการปลอยสูง ไดแก สาร isoprene (2-methyl-1,3-butadiene; C5H8) และสาร monoterpenes (C10H16 เชน α-pinene β-pinene และ limonene) ซึ่งสาร isoprene มีสัดสวนการปลอยสูงสุดถึง 77% รองลงมาเปน สาร monoterpenes 19% สาร VOCs ที่ปลอยจากธรรมชาติ มีบทบาทสําคัญในชั้นบรรยากาศชั้นใกลโลก (โทรโฟสเฟยร) เนื่องจากมีสัดสวน ปริมาณการปลอยสูง ซึง่ สาร isoprene และสาร monoterpenes ทีม่ กี ารปลอยจากพืช ไมมผี ลกระทบตอสุขภาพของประชาชน แตเมื่ออยูในอากาศจะมีความไวตอการทําปฏิกิริยาในบรรยากาศสูงและจะถูกออกซิไดซไดงาย มีชวงชีวิต (lifetimes) ใน ชั้นบรรยากาศโทรโฟสเฟยรสั้นมาก นอยกวา 1 วัน (ประมาณ 1 ชั่วโมง สําหรับสาร isoprene) เนื่องจากมีสูตรโครงสราง เปนไฮโดรคารบอนที่มีพันธะคู ทําใหงายตอการทําปฏิกิริยากับไฮดรอกซิล กาซโอโซน และกาซไนโตรเจนออกไซด จึงเปนสารที่มีบทบาทสําคัญใน กระบวนการเคมีในบรรยากาศ สนับสนุนการเกิดปฏิกริ ยิ าโฟโตเคมิคลั ทําใหเกิดกาซโอโซนซึ่งเปนมลพิษที่สําคัญในบรรยากาศ และยังมีการรวม ตัวกับฝุน ละอองทําใหเกิดละอองทุตยิ ภูมใิ นบรรยากาศ (Secondary organic aerosol; SOA) ซึง่ เปนอันตรายตอสุขภาพของประชาชน กาซโอโซน ทีอ่ ยูใ นบรรยากาศโทรโฟสเฟยรเปนพิษตอสิง่ มีชวี ติ ทําใหไมสบาย เกิดอาการ เจ็บคอ หายใจไมสะดวก ถาไดรับเปนเวลานานเนื้อเยื่อปอดจะถูกทําลาย อย า งถาวร และมี ผ ลต อ ระบบภู มิ คุ  ม กั นของมนุ ษ ย นอกจากนี้ กาซโอโซนยังเปนตัวออกซิไดสอยางแรง ทําใหสงิ่ กอสรางชํารุด เปนตัวฟอกสี และยังมีผลทําใหผลผลิตทางการเกษตรตกตํ่าลงอีกดวย พื้นที่ปาไมในเขตรอนมีการปลอยสาร VOCs ปริมาณสูง ซึ่งปจจัย ที่มีผลตอชนิดและปริมาณการปลอยสาร VOCs ขึ้นอยูกับแสง อุณหภูมิ ชนิดของพืชพรรณ และความหนาแนนของชีวมวลในพื้นที่ปาไม พืชแตละ ชนิดจะมีการปลอยปริมาณสาร VOCs ที่แตกตางกัน จากการศึกษา ของ Kesselmeier และ Staudt (1999) พบวาอัตราการปลอยของสาร isoprene และสาร monoterpenes จากพืชแตละชนิดมีปริมาณทีแ่ ตกตางกัน และพืชบางชนิดไมมีการปลอยสาร VOCs

34

*นักวิชาการสิ่งแวดลอมชํานาญการ ศูนยวิจัยและฝกอบรมดานสิ่งแวดลอม


สําหรับปาไมในเขตรอนจะมีการปลอยสาร isoprene มากกวา 50% ของสาร VOCs ทั้งหมดที่ปลอยจากปาไม ใน ขณะที่สาร monoterpenes การปลอยนอยกวา 10% ซึ่งตรงขามกับปาไมในเขตอบอุ ขตอบอุนจะมีการปลอยสาร monoterpenes ในปริมาณที่มากกวา เนื่องจากอิทธิพลของอุณหภูมิมีผลตอปริมาณการปลอยสาร สาร isoprene โดยทั่วไปแลวการปลอยสาร isoprene จะเพิ่มขึ้นตลอดทั้งวันเมื่อระดับอุณหภูมิสูงขึ้นและแสงมากในชวงเวลาบาย และปริมาณการปลอยจะลดลงเปน ศูนยในเวลากลางคืน

ภาพที่ 1 แสดงแหลงกําเนิดของสาร VOCs และการเกิดปฏิกิริยาเคมีในบรรยากาศ

สาร VOCs ทีป่ ลอยจากพืชออกสูบ รรยากาศจะถูกออกซิไดซภายใน 1 ชัว่ โมง โดยทําปฏิกริ ยิ ากับไฮดรอกซิล เปนการ “ทําความสะอาด” ในบรรยากาศ ซึ่งจะทําใหเกิดอนุมูลเปอรร็อกซี่ (RO2) อาจนําไปสูการกอตัวของกรดอินทรีย ขึ้นอยูกับ ระดับของไนตริกออกไซด ทําใหเกิดกาซโอโซน แตปฏิกิริยาที่คลายกันสามารถเกิดขึ้นไดโดยการออกซิเดชั่นของกาซโอโซน และไนตริก ซึ่งเปนการลดปริมาณของสาร VOCs ทั้งจากธรรมชาติและจากกิจกรรมของมนุษย สภาพแวดลอมที่มีระดับกาซไนโตรเจนออกไซดตํ่า (โดยทั่วไปจะนอยกวา 5-10 ppt) จะถูกเรียกวาบรรยากาศ “สะอาด” กาซโอโซนจะเกิดจากปฏิกิริยาโฟโตเคมิคอล ระหวางกาซไนโตรเจนออกไซด สาร VOCs และแสงแดด ภายใต สภาพบรรยากาศปกติปฏิกิริยาโฟโตดีคอมโพสิชั่นของกาซไนโตรเจนไดออกไซด จะเกิดกาซโอโซน และวงจรจะเกิดความ สมดุลโดยไนตริกออกไซดและกาซโอโซน อยางไรก็ตามหากมีระดับกาซไนโตรเจนออกไซดสูง (ในชวง ppb) จะเรียกวา “สกปรก” ถาไนตริกออกไซด สามารถเปลี่ยนกลับไปเปนไนโตรเจนไดออกไซด โดยไมตองมีกาซโอโซน จะทําใหกาซโอโซนถูก สรางขึ้นเกิน (ดังแสดงในภาพที่ 2)

ภาพที่ 2 แสดงวงจรการรีไซคลิงของไฮดรอกซิกในบรรยากาศ

35


ตามธรรมชาติพื้นที่ปาไมมีการปลอยสารมลพิษสูบรรยากาศ แตจะมีการทําความสะอาดโดยเกิดปฏิกิริยาเคมี ในบรรยากาศ ทําใหเกิดความสมดุลย (ดังภาพที่ 3) แตเมื่อพื้นที่ปาไมถูกทําลาย พื้นที่ที่เคยเปนแหลงกักเก็บกาซโอโซนของ ชั้นบรรยากาศโทรโฟสเฟรีย จะเปลี่ยนเปนแหลงปลอยแทนเมื่อพุมไมไมสามารถดักจับกาซไนโตรเจนออกไซดที่ถูกปลอยจาก ดินและการปลอยกาซไนโตรเจนออกไซดที่เพิ่มขึ้น จากการเผาปาและจากการกระทําของมนุษย (เชน รถยนต) ทําใหเกิดเมฆ กลั่นตัว นําไปสูเมฆที่มีการพัดโหมกระหนํ่าทําใหปริมาณฝนลดลงและลดการระเหย ทําใหระดับความรุนแรงของการเกิด มลพิษทางอากาศสูงขึ้น การปลอยสาร isoprene จากปาไมไมเพียงแตจะมีผลตอบรรยากาศบริเวณพื้นที่ปาไมเทานัน้ ยังมี ผลตอคุณภาพอากาศของเขตเมืองและเขตรอยตอระหวางเมือง เนือ่ งจากเกิดการพัดพาและทําปฏิกริ ยิ ากับไนโตรเจนออกไซด ที่เกิดจากการกระทําของมนุษย

ภาพที่ 3 แสดงปฏิกิริยาทางชีวเคมีและชีวฟสิกสของปาไมเขตรอน ภาพซายแสดงถึงพืน้ ทีป่ า ไมตามธรรมชาติ ภาพขวาแสดงถึงพืน้ ทีป่ า ไมทถี่ กู ทําลายและมลพิษทีเ่ กิดขึน้

สารมลพิษอากาศทุติยภูมิ (Secondary Air Pollutants) : เปนสารมลพิษทางอากาศที่ไมไดเกิดและถูกระบายจาก แหลงกําเนิดใด ๆ แตเกิดขึ้นในบรรยากาศจากปฏิกิริยาเคมีระหวางสารมลพิษอากาศปฐมภูมิกับสารประกอบอื่น ๆ ที่อยู ในบรรยากาศ เชน กาซโอโซน ฝุนละอองขนาดเล็ก และสารมลพิษทางอากาศที่เปนสารอนินทรีย (Inorganic) เชน กาซ ไฮโดรเจนซัลไฟด และ ฝุนตะกั่ว เปนตน ละอองทุติยภูมิในบรรยากาศ (Secondary organic aerosol; SOA) จะเปนการ รวมตัวของสารมลพิษอากาศปฐมภูมิกับฝุนละอองขนาดเล็ก เอกสารอางอิง : กรมควบคุมมลพิษ. 2554. รูรอบทิศ มลพิษทางอากาศ บทเรียน แนวคิด และการจัดการ. House, J. et.al. Ecosystems and Human Well-being: Current State and Trends. Chapter 13 : Climate and Air Quality. PCC. 2005. Climate Forcing Through Atmospheric Chemistry. Kesselmeier, J. and M. Staust. 1999. Biogenic Volatile Organic Compounds (VOC): An Overview on Emission, Physiology and Ecology. Journal of Atmospheric Chemistry. No.33. pp. 23–88. 1999. Lelieveld, J., et.al., 2008. Atmospheric oxidation capacity sustained by a tropical forest. Vol 452. Pressley, S. N.. 2004. Isoprene Flux Measurements Above a Northern Hardwood Forest. Washington State University. Department of Civil and Environmental Engineering. Sharkey, T. D. *, A. E. Wiberley and A. R. Donohue. 2008. Isoprene Emission from Plants: Why and How. Annals of Botany. Vol. 101. pp 5–18. Volatile Organic Compounds in the Biosphere-Atmosphere System (VOCBAS), 2010. www.esf.org/vocbas.


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.