1/2547 eTAT Tourism Journal

Page 1

e TAT l

l l

l

eTATjournal.com

1 2547

TOURISM JOURNAL 2004 vol 1

แนวโน้มของอุตสาหกรรมท่องเที่ยวโลก และของประเทศไทย GMS กับการส่งเสริมการท่องเที่ยว การเจรจาพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ใน องค์การการค้าโลก สายการบินต้นทุนต่ำ(Low Cost Airlines) และผลกระทบที่มีต่อการท่องเที่ยวขาเข้า


e TAT พบกองบรรณาธิการ ประจำไตรมาสที่ 1/2547 มกราคม-มีนาคม 2547

ด้วยภาระหน้าที่ใหม่ของ ททท. ที่มุ่งเน้นไปในด้านการตลาด ททท. ได้มีการปรับโครงสร้างขององค์กร ครั้งใหญ่เมื่อเดือนกรกฎาคม 2546 ในปีนี้กองบรรณาธิการชุดใหม่จึงได้ปรับเปลี่ยนรูปแบบการนำเสนอ สาระต่างๆ ในด้านการท่องเที่ยวโดยผนวกจุลสารท่องเที่ยว และ บทความเชิงวิชาการ "เข็มทิศ" เข้าด้วย กัน และขอเรียกว่า e-TAT Tourism Journal โดยจะนำเสนอบนเว็บไซด์ของ ททท. ด้วยกองบรรณาธิการ หวังว่าสื่ออิเล็กทรอนิกส์นี้จะทำให้สามารถตอบสนองความต้องการที่จะบริโภคข้อมูลข่าวสารเชิงวิชาการ ตลอดจนความเคลื่อนไหวต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยว ได้อย่างกว้างขวาง สะดวก รวดเร็ว และ ประหยัด ซึ่งเหมาะกับยุคที่ลดการใช้กระดาษ (Paperless Age) เป็นที่สุด ฉบับนี้เราขอเปิดตัวต่อท่านทั้งหลายด้วยสถานการณ์ท่องเที่ยวของปี 2546 แนวโน้มการท่องเที่ยวโลก พร้อมด้วยเรื่องราวที่อยู่ในความสนใจขณะนี้ เช่น การส่งเสริมการท่องเที่ยวของกลุ่มอนุภาคลุ่มน้ำโขง (GMS) ตลาดนักท่องเที่ยวญี่ปุ่น สายการบินต้นทุนต่ำ และโฮมสเตย์ ตามด้วยเกร็ดเล็กๆ น้อยๆ เกี่ยวกับ สปา อันดับของแหล่งท่องเที่ยวต่างๆ จำแนกตามจำนวนนักท่องเที่ยวและรายได้ที่ได้รับ ตลอดจน ประเด็นร้อนเกี่ยวกับการเปิดเสรีด้านการท่องเที่ยว กรณีพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์เป็นการตบท้าย นอกจากเนื้อหาสาระที่เกี่ยวกับการท่องเที่ยวโดยตรงแล้ว พวกเรายังได้พยายามค้นหาสิ่งต่างๆ ที่น่าสนใจ และเลือกเฟ้นสิ่งซึ่งเป็นประโยชน์ มีสาระมาประมวลนำเสนอต่อท่านผู้อ่านด้วย แต่ข้อจำกัด ในหลายๆ ด้าน โดยเฉพาะกำลังคน และเวลา กองบรรณาธิการต้องขออภัยมา ณ ที่นี้ หากมีข้อบกพร่อง ผิดพลาดประการใด ทางกองบรรณาธิการพร้อมที่จะรับฟังข้อเสนอแนะ รวมทั้งข้อท้วงติงต่างๆ และยินดี ที่จะปรับปรุงแก้ไขเพื่อให้ e-TAT Tourism Journal ฉบับต่อๆ ไปดีขึ้น นอกจากนี้ ถ้าท่านใดมีข้อมูลที่ ต้องการจะบอกเล่าเพื่อเป็นการถ่ายทอดประสบการณ์ เราก็ยินดีที่จะรับไว้พิจารณา และหากบทความ ของท่านได้รับคัดเลือกมานำเสนอใน e-TAT Tourism Journal ท่านจะได้รับค่าตอบแทนเล็กๆ น้อยๆ เพื่อเป็นกำลังใจ ทั้งนี้ท่านสามารถติดต่อเราได้ที่หมายเลขโทรศัพท์ 0-2250-5500 ต่อ 2625-7 และหมายเลขโทรสาร 0-2253-7468 หรือที่ e-mail : walailak.noypayak@tat.or.th หรือ roongtip.wongpatikarn@tat.or.th

สารบัญ

eTAT Tourism Journal จุลสารวิชาการอิเล็กทรอนิกส์ การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย 1600 ถนนเพชรบุรีตัดใหม่ แขวงมักกะสัน เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท์: 0 2250 5500 ต่อ 2620-2 โทรสาร: 0 2253 7468 email: etatjournal@tat.or.th website: http://www.etatjournal.com

สถานการณ์การท่องเที่ยว • สถานการณ์การท่องเที่ยวของนักท่องเที่ยวชาวต่างประเทศที่เดินทางเข้ามาประเทศไทยในปี 2546 • สถานการณ์ตลาดนักท่องเที่ยวชาวไทยปี 2546 • แนวโน้มของอุตสาหกรรมท่องเที่ยวโลกและของประเทศไทย • ผลกระทบทางเศรษฐกิจที่เกิดจากอุตสาหกรรมท่องเที่ยว - (ตารางผลกระทบทางเศรษฐกิจที่เกิดจากอุตสาหกรรมท่องเที่ยว) • วิเคราะห์ศักยภาพของอุตสาหกรรมท่องเที่ยวของประเทศไทย • GMS กับการส่งเสริมการท่องเที่ยว ตลาดนักท่องเที่ยวญี่ปุ่น • สายการบินต้นทุนต่ำและผลกระทบที่มีต่อการท่องเที่ยวขาเข้า • กิจกรรมโฮมสเตย์ของนักท่องเที่ยวชาวไทย สาระน่ารู้ • สปา • อันดับของแหล่งท่องเที่ยวต่างๆ (1) • อันดับของแหล่งท่องเที่ยวต่างๆ (2) • การเปิดเสรีด้านการท่องเที่ยวกรณีพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์

e TAT Tourism Journal 2547


ของนักทองเที่ยวชาวตางประเทศที่เดินทางเขาประเทศไทยในป 2546 ภาพรวม

ในชวงตนป 2546 สถานการณการทองเที่ยวของทั่วโลกไดรับผลกระทบอยางหนักจาก 2 เหตุการณหลักคือ สงครามระหวางสหรัฐอเมริกาและอิรักที่เกิดขึ้นในเดือนกุมภาพันธ ตาม ดวยการแพรระบาดของโรคซารส (SARS) หรือโรคทางเดินหายใจเฉียบพลันรุนแรงในภูมิภาคเอ เชียตั้งแตเดือนมีนาคมถึงมิถุนายน โดยเหตุการณที่สงผลกระทบรุนแรงตอประเทศไทยมากที่สุด เปนประวัติการณ คือ สถานการณการแพรระบาดของโรคซารส แมองคการอนามัยโลกจะไมได ประกาศวาประเทศไทยเปนแหลงที่มกี ารแพรระบาดของโรคซารสก็ตาม จากวิกฤตการณดังกลาว ทําใหประเทศไทยตองปรับเปาหมายจํานวนนักทอง เที่ย วลง จาก 11.13 ลานคน เปน 9.70 ลานคน (ลดลงรอยละ 10.15) รวมทั้ง เป า หมายรายไดจาก 360,600 ลานบาท เปน 289,600 ลานบาท (ลดลงรอยละ 10.47) ประเทศไทยไดรับผลกระทบหนักที่สุดในเดือนพฤษภาคม แตเมื่อหลายประเทศในเอเชียได รวมมือกันและสามารถควบคุม การระบาดของโรคซารส ไดภายในเดือนมิถุนายน สถานการณ การทองเที่ยวของไทยก็เริ่มคลี่คลายตัวไปในทางที่ดีขึ้นนับแตเดือนกรกฎาคมเปนตนมา โดยได รับปจจัยเสริมจากการที่ภาครัฐและเอกชนตางรวมมือกันสงเสริม ตลาดโดยใชม าตรการดาน ราคาเพื่อดึงดูดใจนักทองเที่ยว ผนวกกับภาพลักษณดานความปลอดภัยในประเทศที่รัฐบาลได พยายามนําเสนอในการจัดประชุมเอเปคในเดือนตุลาคม รวมทั้งการเปดบริการของสายการบิน ตนทุนต่ําในชวงปลายป ทําใหในไตรมาสสุดทายสถานการณการทองเที่ยวไดพลิกฟนกลับมาอีก ครั้งในระดับปานกลางที่อัตราการเติบโตรอยละ 8 ทั้งนี้ โดยสรุปในภาพรวมป 2546มีนักทองเที่ยวชาวตางประเทศเดินทางมาไทยทั้ง สิ้น 10,004,453 คน หรือมีอัตราการเติบโตลดลงรอยละ 7.36 (ซึ่งเปนอัตราที่ลดลง นอยกว าเป าหมายที่ วางไวที่ ระดั บ 10.15) อยางไรก็ดี เมื่อเปรียบเทียบกับ คูแ ขงขัน ที่ สําคัญภายในภูมิภาค พบวาประเทศไทยยังคงมีจํานวนนัก ทองเที่ยวที่ชะลอตัวลดลงนอยกวา ประเทศอื่นๆ โดยเฉพาะฮองกง มาเลเซีย และสิงคโปร ซึ่งมีอัตราการเติบโต ลดลงไปถึงรอยละ 27 20 และ 19 ตามลําดับ

ภูมิภาคเอเชียตะวันออก

ตลาดเอเชียตะวันออกมีการปรับตัวลดลงรอยละ 5.59 โดยประเทศไทยไดรับนักทอง เที่ยวจากตลาดเอเชียตะวันออกเปนจํานวนทั้งสิ้น 6,166,460 ลานคน การลดลงของนักทอง เที่ยวในภูมิภาคนี้เกิดจากการแพรระบาดของโรคซารสในหลายๆ ประเทศในภูมิภาคเอเชียในชวง ปลายไตรมาสแรก และมีผลกระทบมากขึ้นในไตรมาสที่ 2 ซึ่งลดลงถึงรอยละ 46.56 จํานวนผู ติดเชื้อและผูเสียชีวิตที่มีมากขึ้นจากโรคซารสในพื้นที่ตางๆ เชน จีน ฮองกง และไตหวัน สราง สงวนสิทธิ์ หามทําซ้ํา ทั้งหมด หรือบางสวน ไมวาในรูปแบบหรือสิ่งใด โดยไมไดรับ การอนุญาต จากการทองเที่ยวแหงประเทศไทย -1-


ความหวาดวิ ต ก และ ทํ าลายบรรยากาศในการท อ ง เที่ยวเปนอันมาก รวมทั้งนักทองเที่ยวในพื้นที่เสี่ยงตาง ชะลอการเดินทางออกนอกประเทศ เพื่อยับยั้งการแพร ระบาดของเชื้อโรค กอใหเกิดผลเสียหายอยางรุนแรงกับ อุตสาหกรรมทองเที่ยวทั่ว ภูมิภาคเอเชีย โดยฉุดอัตรา การเจริญ เติบโตโดยรวมใหลดลง แมวาจะมีก ารฟนตัว อยางรวดเร็ว ในไตรมาสที่ 3 ในอัต รารอยละ 8 และมี อัตราการเติบโตเพิ่มมากขึ้นในอัตรารอยละ 17 ในไตรมาสที่ 4 ก็ตาม เมื่อพิจารณาจํานวนนักทองเที่ยวรายตลาดแลวพบวา ตลาดหลักเกือบทุกตลาดหลักใน ภูมิภาคเอเชีย อันไดแก ไตหวัน จีน ญี่ปุน สิงคโปร และเกาหลี มีการปรับตัวลดลง โดยตลาดที่ ไดรับผลกระทบมากที่สุด คือ ไตหวัน ลดลงรอยละ 23 จีนลดลงรอยละ 18 และญี่ปุนลดลง รอยละ 17 เนื่องจากจีนและไตหวันเปนพื้นที่แพรระบาดของโรคซารส จึงมีการชะลอการเดินทาง ออกนอกประเทศ ในสวนของญี่ปุนนอกจากจะมีความออนไหวในเรื่องของความปลอดภัยในการ เดินทางในชวงที่เกิดโรคซารสแลว การชะลอตัวทางเศรษฐกิจก็เปนอีกปจจัยหนึ่งที่ทําใหนักทอง เที่ยวญี่ปุนเดินทางออกนอกประเทศนอยลง ตรงกันขามกับตลาดฮองกงและเวียดนามที่แมวาจะ ประสบกับปญหาการแพรระบาดของโรคซารสในประเทศ และมีจํานวนนักทองเที่ยวเดินทางมา ไทยลดลงในเดือนเมษายนและพฤษภาคม แตก็สามารถฟนตัวกลับมาไดอยางรวดเร็วจนมีการ เติบโตในระดับที่นาพอใจนับตั้งแตเดือนมิถุนายนเปนตนมา ในขณะที่ตลาดมาเลเซียมีการปรับตัว เพิ่มขึ้นเพียงเล็กนอยในอัตรารอยละ 3 และตลาดอินโดนีเซียเพิ่มขึ้นในอัตรารอยละ 2 สวนตลาด อินโดจีน นอกเหนือจากเวียดนามที่ปรับตัวเพิ่มขึ้นถึงรอยละ 39.58 แลว ลาวเปนอีกตลาดหนึ่ง ที่มีการขยายตัวเพิ่มขึ้นรอยละ 11ในขณะที่กัมพูชายังมีการปรับตัวลดลง ปจจัยหลายประการที่เกื้อหนุนใหตลาดตางๆในภูมิภาคเอเชียมีการฟนตัวไดอยางรวด เร็วในชวงครึ่งปหลังเพราะลวนแลวแตมีสวนกระตุนความตองการของนักทองเที่ยวใหมีการเดิน ทางมากยิ่งขึ้น มีอาทิการทําตลาดอยางหนักของภาครัฐ และ เอกชนโดยมีการสงเสริมการขาย การลดราคารายการนําเที่ยวและบัตรโดย สารเครื่องบิน ตลอดจนงานเทศกาลชวงปลายป เชน ฮารีรายา คริสตมาส และปใหม ซึ่งทําใหการทองเที่ยวคึกคักขึ้น รวมทั้งการเปดใหบริการของ สายการบินตนทุนต่ํา

ภูมิภาคยุโรป

สถานการณการทองเที่ยวของนักทองเที่ยวยุโรปในภาพรวมของป 2546 โดยสรุปแลว พบวาสถานการณตลาดอยูในชวงชะลอตัว โดยมีนักทองเที่ยวยุโรปเดินทางเขาสูประเทศไทยมี จํานวนทั้งสิ้น 2,256,160 คน ซึ่งมีอัตราขยายตัวลดลงรอยละ 7.94 ทั้งนี้สาเหตุหลักที่ทําให ตลาดที่กําลังเติบโตตองประสบกับภาวะชะงักงันนั้น เกิดจากผลกระทบของการแพรระบาดของ โรคซารสในภูมิภาคเอเชีย ในชวงเดือนมีนาคมถึงกรกฎาคมเปนสาเหตุสําคัญ ผนวกกับภาวะ เศรษฐกิจชะลอตัว ในประเทศที่ เป นตลาดหลัก เชน เยอรมนี ฝรั่งเศส สวิส เซอรแ ลนด อิตาลี เปน ตน และกํ าลังแผขยายไปยั งประเทศอื่น ๆ ในภู มิภ าคยุ โรป อย างไรก็ต าม แมว าในเดื อ น สงวนสิทธิ์ หามทําซ้ํา ทั้งหมด หรือบางสวน ไมวาในรูปแบบหรือสิ่งใด โดยไมไดรับ การอนุญาต จากการทองเที่ยวแหงประเทศไทย -2-


มกราคมตลาดยุโรปจะมีการขยายตัวอยางตอเนื่องจากปลายป 2545 เปนตนมา แตเมื่อเขาสู เดือนกุม ภาพันธการขยายตัวของตลาดกลับชะลอตัว ลง เนื่องจากความวิตกกังวลตอสถาน การณความไมสงบของโลก เพราะแนวโนมการเกิดสงครามระหวางสหรัฐฯ กับอิรักมีสูงมาก จน กระทั่งสงครามไดปะทุ ขึ้น จริงในชวงกลางเดือนมีนาคม ผ นวก กั บ เกิ ดก ารแพ ร ระบาดของโรคซารสขึ้นในไมกี่ สัปดาหถัดมา สงผลใหนับ ตั้ งแต เดื อ นมี น าคม เป น ต น มา สถานการณ ตลาดภูมิ ภาคยุโรปเขาสูภาวะหดตัวลง เรื่อ ยมา โดยในไตรมาสที่ สองและไตรมาสที่ ส ามนั้ น ตลาดมีการชะลอตัวลดลง ร อ ยละ 22 และร อ ยละ14 ตามลําดับ สวนในไตรมาส สุ ด ท า ยซึ่ ง สภาวะการแพร ระบาดของโรคซารส ไดคลี่คลายลงแลวนั้น จํานวนนักทองเที่ยวยุโรปก็เริ่มปรับตัวดีขึ้น โดยมี การชะลอตัวลงของตลาดเพียงรอยละ 5 เทานั้น อยางไรก็ตามเมื่อเปรียบเทียบผลกระทบตอ การทองเที่ยวของไทยอันเนื่องจากเหตุวิกฤตในป 2546 กับป 2544ที่เกิดเหตุการณกอวินาศ กรรมในสหรัฐอเมริกานั้น สังเกตไดวาผลกระทบจากวิกฤตโรคซารสที่สงผลตอตลาดยุโรปนั้นมี มากกวาผลกระทบจากเหตุการณ 11 กันยายน ทั้งนี้เนื่องจากการแพรระบาดของโรคซารสเปน วิกฤตการณที่เกิดขึ้นภายในภูมิภาคเอเชีย ดังนั้นผลกระทบที่เกิดขึ้นกับการทองเที่ยวของไทยจึง เปนผลกระทบโดยตรง ในขณะที่เหตุวินาศกรรมในสหรัฐฯ สงผลกระทบตอประเทศไทยในทาง ออมเทานั้น หากพิจารณาในรายตลาดแลว พบวาการชะลอตัวของตลาดในอัตราที่สูงมากกวารอยละ 10 นั้นเกิดขึ้นในตลาดขนาดกลางและขนาดเล็ก ไดแก ตลาดอิตาลี สเปน สวิสเซอรแลนด และยุ โรปตะวันออก คงมีฝรั่งเศสซึ่งเปนตลาดขนาดใหญเพียงตลาดเดียวที่มีจํานวนนักทองเที่ยวหด ตัวลดลงเกินกวารอยละ 10 การชะลอตัวลงของตลาดอิตาลี และสเปน นอกจากมีสาเหตุมาจากเศรษฐกิจที่อยูใน ชวงซบเซาแลว ลักษณะเฉพาะของนักทองเที่ยวที่มีความออนไหวตอความปลอดภัยอยางมากก็ เปนสวนหนึ่งที่มีอิทธิพลสําคัญกับตลาดดังกลาว สําหรับตลาดสวิสเซอรแลนดนั้น นอกจากผล กระทบภายนอกจากการแพรระบาดโรคซารสแลว ภายในประเทศเองก็ประสบปญหาเศรษฐกิจที่ ชะลอตัว ตั้งแตป 2545 เปนตนมา ภาคการเงินและภาคการทองเที่ยวซึ่งเปนธุรกิจหลัก ของ ประเทศยังไมฟนตัว นับตั้งแตไดรับผลกระทบจากเหตุวินาศกรรมในสหรัฐอเมริกา สวนฝรั่งเศส และยุโรปตะวันออกก็ประสบกับปญหาเศรษฐกิจซบเซาเชนเดียวกับตลาดอื่นๆ เมื่อพิจารณาการฟนตัว กลับมาของตลาดแลวพบวา ตลาดออสเตรียและเยอรมนีเปน ตลาดที่ฟนตัวกลับมาไดรวดเร็วที่สุดในไตรมาสสุดทายของป เนื่องจากนักทองเที่ยวสวนใหญ เปนกลุม ผูม าเยือนซ้ําซึ่งมีความรูจัก และเขาใจประเทศไทยเปนอยางดี ดังนั้นจึงสามารถเรียก ความเชื่อมั่นดานมาตรการการรักษาความปลอดภัยจากนักทองเที่ยวกลุม นี้กลับมาไดในชว ง ระยะเวลาอันสั้น สวนตลาดรัสเซียนั้นเปนเพียงตลาดเดียวในภูมิภาคยุโรปที่มีการขยายตัวโดดเดนโดยมี การเติบโตเพิ่มขึ้นถึงรอยละ 31แมวาในไตรมาสที่ 2 และ 3 จะไดรับผลกระทบจากโรคซารสเชน เดียวกับตลาดอื่นๆ แตก็สามารถกลับมาฟนตัวไดอยางรวดเร็วในชวงครึ่งปสุดทาย โดยตลอด สงวนสิทธิ์ หามทําซ้ํา ทั้งหมด หรือบางสวน ไมวาในรูปแบบหรือสิ่งใด โดยไมไดรับ การอนุญาต จากการทองเที่ยวแหงประเทศไทย -3-


ทั้งป 2546 ประเทศไทยไดรับนักทองเที่ยวรัสเซียกวา 9 หมื่นคน เพิ่มขึ้นจากป 2545 กวา 2 หมื่นคน เนื่องจากภาครัฐและเอกชนรวมมือทําการตลาดอยางจริงจัง จึงสงผลใหตลาดรัสเซียเปน ตลาดที่มีการเติบโตสวนทางกับตลาดอื่นๆ ในภูมิภาคเดียวกัน

ภูมิภาคอเมริกา

ในป 2546 มี นัก ทองเที่ ยวจากภูมิภ าคอเมริก าเดิน ทางมาไทยลดลงไปรอยละ 6 หรื อ มี จํ านวน 576,589 คน เนื่ องจากได รับ ผลกระทบจากสงคราม ระหวาง สหรัฐอเมริกา-อิรัก และการแพรระบาดของโรคซารส โดยตลาด จากภูมิภาคนี้มีทิศทางชะลอตัวลงตั้งแตเดือนมีนาคมเปนตนมา ทั้งนี้แมวา ในชวงครึ่งปหลังประเทศไทยจะสามารถควบคุมสถานการณโรคซารสได แลวก็ตาม แตสถานการณทองเที่ยวจากตลาดนี้ก็ยังคงตกอยูในภาวะซบ เซาเชนเดิม เนื่องจากยังคงมีกระแสของการกอการรายจากทั่วโลกมุงเปา ไปยังชาวอเมริกันซึ่งเปนตลาดหลักจากภูมิภาคนี้ ในขณะที่ตลาดรองเชนแคนาดาก็ยังคงไมคลาย ความหวั่นวิตกตอสถานการณโรคซารส ที่ระบาดในประเทศของตนเชนกัน กอปรกับมีกระแส ขาววาโรคซารสจะกลับมาระบาดอีกครั้ง ในชวงฤดูหนาวซึ่งตรงกับชวงไตรมาสสุดทายของไทย จึงเปนปจจัยสําคัญที่ทําใหตลาดจากภูมิภาคนี้ตกอยูในสภาพซบเซาตลอดทั้งป

ภูมิภาคเอเชียใต

ในขณะที่ตลาดภูมิภาคอื่นๆ มีการชะลอตัวลดลงอยางมาก แตตลาดเอเชียใตกลับเปน ตลาดเดียวที่ชะลอตัวลดลงเพียงเล็กนอย คือ ชะลอตัวลดลงในอัตรารอยละ 0.10 ซึ่งนับวาคงที่ เทากับปที่ผานมาโดยมีจํานวนนักทองเที่ยว 390,335 คน เนื่องจากสถานการณตลาดคอนขาง ดีในชวงไตรมาสแรก และสามารถฟนตัวกลับมาสูแดนบวกไดอยางรวดเร็วในชวงครึ่งปหลังภาย หลังจากที่ทรุดต่ําลงในไตรมาสที่ 2 จากวิก ฤตโรคซารส ทั้งนี้ตลาดบังคลาเทศซึ่งเปนตลาด อันดับสองของภูมิภาคเปนเพียงตลาดเดียวที่ไมไดรับผลกระทบจากโรคซารสและ ยังคงมีก าร เดินทางมาประเทศไทยเพิ่มขึ้นในระดับสูง อยางไรก็ดี มีขอสังเกตวาการเดินทางเขามาของตลาด บังคลาเทศไดสรางปญหาสังคมแกประเทศไทยคอนขางมาก ไมวาจะเปนปญหาการลักลอบเขา มาทํางาน หรือปญหาการหลอกลวงตางๆ เปนตน สําหรับในชว งครึ่งปหลัง ตลาดหลักเชน อินเดียรวมทั้งตลาดรองอื่นๆ เชน ศรีลังกาและปากีสถานตางเชื่อมั่นในมาตรการรักษาความ ปลอดภัยของไทยและฟนตัว กลับมาสูประเทศไทยไดอยางรวดเร็ว นอกจากนี้การเพิ่ม เที่ยวบิน ของศรีลังกาแอรไลนจาก 4 เที่ยวบิน/สัปดาห เปน 7 เที่ยวบิ น/สัปดาห ตั้ งแตเดือนตุล าคม เปนตนมา ก็นับเปนอีกปจจัยหนึ่งที่สงเสริมใหนักทองเที่ยวศรีลังกามีการเดินทางมาไทยเพิ่มขึ้น ในชวงไตรมาสสุดทายของป

ภูมิภาคโอเชียเนีย

สถานการณทองเที่ยวของภูมิภาคโอเชียเนียในป 2546 อยูในชว งภาวะชะลอตัวตั้งแต ปลายป 2545 เปนตนมาจนกระทั่งปลายป 2546 สถานการณจึงเริ่ม ปรับตัว ดีขึ้น โดยในป 2546 ประเทศไทยไดรับนัก ทองเที่ยวจากภูมิภาคโอเชียเนียเปนจํานวนทั้งสิ้น 343,914 คน สงวนสิทธิ์ หามทําซ้ํา ทั้งหมด หรือบางสวน ไมวาในรูปแบบหรือสิ่งใด โดยไมไดรับ การอนุญาต จากการทองเที่ยวแหงประเทศไทย -4-


ลดลงในอัตรารอยละ 19 หรือมีจํานวนนักทองเที่ยวลดลงกวา 8 หมื่นคน ทั้งนี้สาเหตุหลักเกิด จากความวิตกกังวลในภัยจากการกอการรายที่กําลังเกิดขึ้น ในประเทศตางๆ ทั่วโลก โดยนับตั้ง แต ก ารเกิดระเบิด บนเกาะบาหลี ประเทศอินโดนีเซีย เมื่ อปลายป 2545 ที่เป นเหตุ ใหนั ก ทอ ง เที่ยวออสเตรเลียเสียชีวิตเปนจํานวนมาก จากเหตุการณนี้พฤติกรรมของนักทองเที่ยวออสเตร เลียไดเปลี่ยนแปลงไป มีความระมัดระวังในการเดินทาง มากขึ้น รวมทั้งใหความสําคัญกับปจจัยดานความปลอด ภัยเปนอันดับตนๆ ในการตัดสินใจเดินทาง และติดตาม การประกาศเตือนเรื่อง ความปลอดภัยจากทางภาครัฐ อยางใกลชิด ในขณะเดียวกันประเทศไทยกลับตกอยูใน บัญ ชีร ายชื่อประเทศที่ มีความเสี่ยงต อการกอการราย ซึ่งทางกระทรวงการตางประเทศของออสเตรเลียไดประกาศเตือนนักทองเที่ยวของตนอยูเปน ระยะๆ โดยชี้เฉพาะไปยังภูเก็ตและพัทยาวาเปนเปาหมายในการกอการราย กระแสขาวดังกลาว สงผลกระทบตอภาพลักษณและ การทองเที่ยวของไทยโดยตรง ทําใหนักทองเที่ยวไมมั่นใจตอ ความปลอดภัยในประเทศไทย สถานการณตลาดจึงตกอยูในภาวะหดตัวเกือบตลอดทั้งป การ แพรระบาดของโรคซารสในภูมิภาคเอเชียยิ่งซ้ําเติมใหสถานการณตลาดนี้ทรุดตัวลงมากยิ่งขึ้น อยางไรก็ตาม ในชวงปลายป 2546 เมื่อสถานการณโรคซารสคลี่คลายลง และไมมีการกอการ รายเกิดขึ้นในประเทศไทยตามกระแสขาวที่เกิดขึ้นกอนหนานี้ นักทองเที่ยวออสเตรเลียจึงมีความ มั่นใจตอสถานการณในประเทศไทยมากขึ้นโดยมีนักทองเที่ยวกลุมตลาดเกา (Revisit) เปนนักทอง เที่ยวกลุมแรกที่เริ่มเดินทางกลับเขามาในประเทศไทยอีกครั้ง

ภูมิภาคตะวันออกกลาง

ในรอบป 2546 ตลาดตะวันออกกลางตกอยูในภาวะซบเซามาโดยตลอด นับตั้งแตชวง ตนปซึ่งเกิดสงครามระหวางสหรัฐอเมริกาและอิรัก ทําใหแทบทุกประเทศในภูมิภาคนี้ขาดความ มั่นใจในความปลอดภัยในการเดินทางตลอดทั้งป รวมทั้งยังมีความหวาดวิตกกับภาวะการ ระบาดของโรคซารสในเอเชียในชวงไตรมาสที่ 2 ดวย ประกอบกับตลาดอิสราเอลซึ่งเปนตลาด หลักของภูมิภาคนี้ยังประสบกับภาวะทางการเมืองที่ไมแนนอนจากปญหาความขัดแยงกับปาเลส ไตนที่ยืดเยื้อมานาน จึงทําใหตลาดนี้ตกอยูในภาวะซบเซาตลอดทั้งป ในขณะที่ตลาดรองอื่นๆ ก็ อยูในภาวะขาลงเชนเดียวกันจากปจจัยขางตน จึงทําใหในป 2546 มีนักทองเที่ยวเดินทางมาไทย ลดลงไปรอยละ 4 หรือมีจํานวนนักทองเที่ยว 203,878 คน อยางไรก็ดี ในชวงไตรมาสสุดทาย ตลาดสหรัฐอาหรับเอมิเรตตที่แมจะเปนตลาดขนาดเล็กแตมีปริมาณการใชจายสูง พลิกฟนกลับ มาสูแดนบวกไดอีกครั้งในอัตราการเติบโตที่คอนขางสูง การเติบโตของตลาดนี้ไดสงผลดีตอราย ไดทางการทองเที่ยวระดับหนึ่ง

ภูมิภาคแอฟริกา

ในรอบป 2546 ตลาดจากภูมิภาคแอฟริกาตกอยูในภาวะขาลงมาโดยตลอด ทําใหมีนัก ทองเที่ยวจากภูมิภาคนี้เดินทางมาไทยเพียง 67,117 คน หรือลดลงไปถึงรอยละ 25 สาเหตุ สําคัญเกิดจากปญหาการบริหาร/จัดการดานการตลาดของสายการบินในแอฟริกาใต โดยสาย สงวนสิทธิ์ หามทําซ้ํา ทั้งหมด หรือบางสวน ไมวาในรูปแบบหรือสิ่งใด โดยไมไดรับ การอนุญาต จากการทองเที่ยวแหงประเทศไทย -5-


การบินไทยซึ่งแตเดิมไดทําการบินรวมกับเซาท แอฟริกัน แอรไลนจํานวน 3 เที่ยวบิน/สัปดาห ใน เสนทางบินตรงโยฮันเนสเบิรก-กรุงเทพฯ ไดยกเลิก สํานัก งานในพื้นที่ จึงทําใหการดําเนินงาน ดานการตลาดไมประสบความสําเร็จเทาที่ควร และไดยกเลิกเที่ยวบินตรงดังกลาวไปในที่สุด ลักษณะกลุมตลาดที่ประเทศไทยไดรับ Ø ภาวะวิกฤตการณทั้งสงคราม การกอการราย และโรคระบาดที่เกิดขึ้นในป 2546 ไดสราง กระแสความสับสนตอตลาดนักทองเที่ยว สงผลใหตลาดนักทองเที่ยวสตรีซึ่งมีความออนไหว ตอความปลอดภัยในการเดินทางไดชะลอการเดินทางลงอยางมาก รวมทั้งการเจาะตลาด กลุมใหมๆ (First visit) ก็ทําไดยากขึ้นเชนกัน การลดลงของกลุมตลาดใหมสวนหนึ่งไดสงผล ใหมีการเดินทางทองเที่ยวกับบริษัทนําเที่ยวนอยลงดวย Ø ในขณะที่ตลาดเกา (Revisit) ซึ่งเคยเดินทางมาประเทศไทยแลวจะเขาใจความแตกตางระหวาง ประเทศไทยและประเทศอื่นๆ ในภูมิภาคไดดี จึงยังคงเดินทางมาไทยเพิ่มขึ้นในอัตรารอยละ 4 นอกจากนี้ นักทองเที่ยวที่จัดการเดินทางมาเอง (FIT) ซึ่งสวนใหญจะเปนกลุมตลาดเกา ก็มีแนวโนมเพิ่มขึ้นเชนกันในอัตรารอยละ 3 เนื่องจากนักทองเที่ยวกลุมนี้มีประสบการณใน การเดิน ทาง และ สามารถคนหาขอมูล การเดิ นทางต างๆ ได ดว ยตนเอง จึงเขาใจสถาน การณประเทศไทยไดเปนอยางดี การเพิ่มขึ้นของตลาดเกาและตลาดที่จัดการเดินทางมาเอง ซึ่งเปนฐานตลาดขนาดใหญของไทย ทําใหสถานการณการทองเที่ยวโดยรวมของไทยมีอัตรา การชะลอตัวลดลงไมมากนัก Ø การสรางความเชื่อมั่นดานความปลอดภัยของรัฐบาลและการสงเสริมการประชุมขนาดใหญ ในประเทศไทยหลายครั้ง อาทิ การประชุมเอเปคแและการประชุมเรื่องการจัดการปญหาโรค ซารสระหวางประเทศในภูมิภาคเอเชีย เปนตน ไดสงผลใหนักทองเที่ยวกลุมนักธุรกิจและกลุม ขาราชการมีการเดินทางมาไทยเพิ่มมากขึ้น Ø การสงเสริมดานการตลาดโดยการแขงขันดานราคากันอยางรุนแรงในชวงครึ่งปห ลังภาย หลังจากวิก ฤตโรคซารสสงผลใหประเทศไทยไดรับกลุมตลาดระดับลางเพิ่ม ขึ้นคอนขางสูง และมีอัตราสวนการครองตลาดใกลเคียงกับกลุมตลาดระดับกลาง Ø สําหรับกลุมตลาดระดับบนในปนี้แมจะมีก ารขยายตัวไมสูงนัก แตก็ยังสามารถครองสว น แบงทางการตลาดไดมากที่สุด Ø กลุมตลาดอื่นๆ ที่มีแนวโนมเติบโตดี ไดแก ตลาดกลุมผูสูงอายุและกลุมครอบครัว แมวาจะ ยังมีขนาดตลาดไมใหญนัก แตก็จัดเปนนักทองเที่ยวที่มีแนวโนมการใชจายสูง การคาดการณสถานการณการทองเที่ยวในป 2547 • สถานการณในภาพรวม : ในป 2547 คาดวาสถานการณก ารทองเที่ยวของตลาด ตางประเทศโดยรวมจะปรับตัวดีขึ้นจากปที่ผานมา แตอาจจะเติบโตไดในระดับปานกลาง เทานั้น เนื่องจากในชวงตนปไดเกิด วิกฤตการณการระบาดของโรคไขหวัดนก ความไม สงบในภาคใตและการกอการรายในประเทศตางๆ ที่บั่นทอนความมั่นใจดานความปลอด ภัยในการเดินทางของนักทองเที่ยว สวนหนึ่งนอกจากนี้ หลายประเทศที่เปนตลาดสําคัญ สงวนสิทธิ์ หามทําซ้ํา ทั้งหมด หรือบางสวน ไมวาในรูปแบบหรือสิ่งใด โดยไมไดรับ การอนุญาต จากการทองเที่ยวแหงประเทศไทย -6-


ของไทย เชน มาเลเซีย สหรัฐอเมริกา ไตหวัน สหราชอาณาจักร สเปน และอินเดีย ต า งก็ กํ า ลั ง มี ก ารเปลี่ ย นแปลงด านการเมื อ งในประเทศ ซึ่ ง จะส ง ผลให ส ภาพทาง เศรษฐกิจไมแนนอนดวยเชนกัน และอาจทําใหนักทองเที่ยวระมัดระวังการใชจายมากขึ้น ทั้งนี้ประเด็นสําคัญที่สุดซึ่งคาดวาจะกระทบตอสถานการณทองเที่ยวคือ การกอการราย ขามชาติที่เกิดจากความขัดแยงทางการเมืองซึ่งกําลังจะปะทุขึ้นในหลายประเทศทั่วโลก ทําใหทุกประเทศระมัดระวังเกี่ยวกับเรื่องนี้เปนพิเศษ อยางไรก็ดี ทั้งภาครัฐและภาคเอก ชน ไมวาจะเปนธุรกิจทองเที่ยว หรือสายการบินของประเทศไทยตางก็พยายามรวมมือ กันเพื่อสงเสริมการทองเที่ยว ซึ่งคาดวาจะเปนปจจัยบวกที่เสริมตลาดไดในระดับหนึ่ง • ภูมิภาคเอเชียตะวันออก : จากการแพรระบาดของโรคไขหวัดนก จึงคาดวาตลาดหลัก สว นใหญ จะมี ก ารชะลอตั ว ในชว งไตรมาสแรกโดยเฉพาะในตลาดญี่ ปุ น จีน ฮอ งกง เกาหลี ไตหวัน และสิงคโปร เชนเดียวกับตลาดมาเลเซียซึ่งอาจมีการขยายตัวเพิ่มขึ้นไม มากนักเนื่องจากผลกระทบจากเหตุการณความไมสงบในภาคใตซึ่งมีอยางตอเนื่อง ทําให การเดินทางเขาไปในพื้นที่ทองเที่ยวที่กําลังมีปญหา คือ นราธิวาส ปตตานี และยะลา ลดนอยลง อยางไรก็ตาม คาดวาสถานการณตลาดของภูมิภาคนี้จะปรับตัวดีขึ้นตาม ลําดับในไตรมาสถัดไป เนื่องจากมีขอสังเกตวานักทองเที่ยวจากตลาดเอเชียตะวันออกจะ มีพฤติกรรมที่ออนไหวตอวิกฤตตางๆ ไดงาย และจะชะลอตัวลงทันทีเมือ่ เกิดเหตุวิกฤต ตางๆ แตเมื่อสถานการณ คลี่คลายตัวลง ก็จะเปนตลาดในลําดับแรกที่ฟนตัวเร็ว กวา ตลาดระยะกลางและระยะไกลอื่นๆ นอกจากนี้ ตลาดยังไดรับปจจัยเกื้อหนุนอื่นๆ โดย เฉพาะการเพิ่ม เที่ยวบินในหลายเสนทางของสายการบินไทย เชน กรุงเทพฯ–โตเกียว และเชียงใหม – สิบสองปนนา ซึ่งเริ่มบินในชวงฤดูรอนป 2547 ทั้งนี้รวมถึงการเปดเสน ทางใหมของแอรเอเชีย คือกรุงเทพฯ-สิงคโปร ในเดือนกุมภาพันธ ซึ่งมีสว นชว ยเพิ่ม จํานวนนักทองเที่ยวใหสามารถเดินทางเขาประเทศไดมากขึ้น • ภูมิภาคยุโรป: ปจจัยดานบวกสําหรับตลาดนี้ในป 2547 คือ การเพิ่มเที่ยวบินของสาย การบินไทยในเสนทางจากแฟรงคเฟรท ลอนดอน โคเปนเฮเกน และมิลานมายังประเทศ ไทย ที่จะชวยสนับสนุนการเดินทางของนัก ทองเที่ยวยุโรปไดอยางมาก อยางไรก็ตาม หลายประเทศในภูมิภาคยุโรปก็ยังคงตองเผชิญกับปญหาภาวะเศรษฐกิจตกต่ําอยู แมวา บางประเทศจะคาดการณวาสภาพเศรษฐกิจในป 2547 นาจะปรับตัวดีขึ้น แตประชาชน ก็ยังคงระมัดระวังการใชจายอยู เนื่องจากยังไมแนใจในสถานการณในอนาคต ปจจัยลบ ที่สําคัญ อีก ประการหนึ่ง คือ เรื่องความปลอดภัยทั้งภายในและภายนอกภูมิภาค เหตุ การณกอการรายระเบิดขบวนรถไฟในสเปนเมื่อตนป 2547 ชี้ใหเห็นวาภัยจากการกอ การรายไดเขาใกลวิถีชีวิตของชาวยุโรปมากขึ้น โดยเฉพาะกับประเทศที่เปนพันธมิตรกับ สหรัฐอเมริกา ดังนั้นนักทองเที่ยวจึงมีแนวโนมที่จะตระหนักถึง ความปลอดภัยและเพิ่ม ความระมัดระวังในการเดินทางมากขึ้น อีกทั้งสถานการณความไมปลอดภัยภายนอกภูมิ ภาค เชน การระบาดของไขหวัดนกในประเทศไทย ก็นับเปนอีกปจจัยหนึ่งที่เปนอุปสรรค ตอการสงเสริมการทองเที่ยวของไทยในป 2547 ดังนั้นในภาพรวมคาดวาสถานการณ

สงวนสิทธิ์ หามทําซ้ํา ทั้งหมด หรือบางสวน ไมวาในรูปแบบหรือสิ่งใด โดยไมไดรับ การอนุญาต จากการทองเที่ยวแหงประเทศไทย -7-


การทอ งเที่ย วจากภู มิภ าคยุโรปจะคงอยู ในภาวะทรงตั ว อยู เนื่ องจากอุป สรรคหลาย ประการดังกลาวขางตน ภูมิภ าคอเมริกา : คาดวาตลาดจากภูมิภาคอเมริกาจะยังไมสามารถฟนตัวมาอยูใน แดนบวกไดมากนัก เนื่องจากในปนี้จะมีการเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา ซึ่งอาจ จะสงผลใหเกิดการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองและเศรษฐกิจในสหรัฐอเมริกา กอปรกับ สถานการณความขัดแยงระหวางสหรัฐฯ กับประเทศตางๆ ในตะวันออกกลาง จะทําให ประชาชนชาวอเมริกันหวั่นเกรงภัยจากการกอการรายที่พุงเปาไปที่ชาวอเมริกันและอาจ จะปะทุขึ้นทั่วโลก ทําใหในปนี้สถานการณการเดินทางทองเที่ยวของตลาดตกอยูในภาวะ ไมแนนอน ภูมิภาคเอเชียใต : ตลาดภูมิภาคเอเชียใตมีแนวโนมที่จะกลับมาเติบโตในแนวบวกไดอีก ครั้งและ มีทิศ ทางที่สดใสมากขึ้น เนื่องจากไดรับปจจัยเสริม จากการที่ส ายการบินไทย เพิ่มเที่ยวบินตรงจากเมืองหลักในอินเดียหลายเสนทางผนวกกับการเพิ่มเที่ยวบินของทั้ง สายการบินไทยและสายการบินศรีลังกาแอรไลนจากศรีลังกาเขาสูไทยเพิ่มขึ้นเชนกัน ภูมิภาคโอเชียเนีย: คาดวาตลาดโอเชียเนียอาจจะเติบโตเพิ่มขึ้นจากปที่ผานมาแตอยูใน อัตราที่ไมสูงนัก เนื่องจากนักทองเที่ยวมีความเชื่อมั่นตอความปลอดภัยในประเทศไทย มากขึ้น ในขณะเดียวกันสภาวะเศรษฐกิจของออสเตรเลียก็มีแ นวโนม ดีขึ้น อยางไรก็ ตาม ปจจัยสําคัญที่ตองใหความสนใจและระมัดระวังเปนพิเศษ คือ สถานการณความ ไมสงบในเขตพื้นที่ชายแดนภาคใตที่ทวีความรุนแรงมากขึ้น หากสถานการณอยูในสภาวะ ที่ไมสามารถควบคุมได และลุกลามจนกลายเปนการกอการรายระดับชาติ ก็อาจจะกลาย เปนประเด็นสําคัญที่ทําลายความเชื่อมั่นที่มีตอประเทศไทยของนักทองเที่ยวตลาดนี้ไดใน ที่สุด ภูมิภ าคตะวัน ออกกลาง: ตลาดจากภูมิภาคนี้อาจจะยังไมสามารถฟนตัวไดมากนัก เนื่องจากสถานการณการเมืองในภูมิภาคนี้ยังมีความไมมั่นคงคอนขางสูงโดยเฉพาะใน ประเทศอิสราเอล ซึ่งประชาชนกําลังตกเปนเปาของการโจมตีหรือการกอการรายทั่วโลก รวมทั้งนักทองเที่ยวชาวอิสราเอลที่อยูในประเทศไทยดวยเชนกัน เนื่องจากอิสราเอลได ลอบสังหารผูนําทางศาสนาของปาเลสไตนเสียชีวิตในเดือนมีนาคม

สงวนสิทธิ์ หามทําซ้ํา ทั้งหมด หรือบางสวน ไมวาในรูปแบบหรือสิ่งใด โดยไมไดรับ การอนุญาต จากการทองเที่ยวแหงประเทศไทย -8-


สถานการณตลาดนักทองเที่ยวชาวไทย ป 2546 ภาพรวม การที่รัฐบาลไดประกาศเพิ่มความเชื่อมั่นใหแกประชาชนภายในประเทศเพื่อกระตุนใหเกิดการ เดิ นทางท องเที่ ย วในช วงเทศกาลสงกรานตซึ่ งเปนชว งเวลาหนึ่ งที่ คนไทยนิย มเดิ นทางท องเที่ ย ว โดยมีรางวัล ชดเชยใหสําหรับประชาชนคนไทยที่เดินทางทองเที่ยว และ ติดเชื้อโรคซารสในประเทศ ไทยแล ว เสีย ชี วิต เป นจํา นวนเงิน 1 ลา นบาท และหากเจ็ บปว ยจะไดรับการรั กษาอยา งดี ในโรง พยาบาลชั้นนํา นับไดวาเปนจุดหันกลับที่ดีขึ้นของทิศทางการทองเที่ยวของคนไทยจากที่เคยชะลอ การเดิ นทางเนื่ องจากความไมแ นใจในสถานการณ ก ารระบาดของโรคซาร ส ในประเทศไทย การ ดําเนินการสนับสนุนกิจกรรมทองเที่ยวภายในประเทศอยางตอเนื่องไดสงผลใหเมื่อสิน้ ป 2546 มีคน ไทยเดินทางทองเที่ยวภายในประเทศ 68.77 ลานคน-ครั้ง เพิ่มขึ้นรอยละ 11.24 และมีการใชจา ย เฉลี่ย ตอคนต อวัน 1,825.88 บาท เพิ่ม ขึ้นร อยละ 8.07 กอใหเกิ ดรายได 288,826.11 ลานบาท เพิ่มขึ้นรอยละ 22.73

สถานการณการเดินทางทองเที่ยวในประเทศของคนไทย การเดินทางทองเที่ยวภายในประเทศของคนไทยในชว งที่เกิด วิกฤตการณ จ ากปจ จัยภายนอก ไดรับการกระตุนจากการรณรงค ด ว ยเคมเปญ ”Unseen in Thailand” อั นเป นการนํ า เสนอแหล งท อ ง เที่ ย วและกิ จ กรรมในชุ ด มุ ม มองใหม ในเมื องไทยเมื่ อเดื อนเมษายน 2546 ซึ่งไดรับการตอบรับจากประชาชนภายในประเทศเป นอย า ง มาก นอกจากนี้ หนวยงานตางๆ ทั้งภาครัฐและเอกชนที่เกี่ยวของได ร ว มมื อ กั นส ง เสริ ม ใหค นไทยมี ก ารเดิ น ทางท องเที่ ย วมากขึ้ น โดยการจั ด งานแสดงตลาดนั ด ผู บริ โ ภค(Consumer Fair) อาทิ ง าน Amazing Thailand Grand Sale & Grand Service และ International Youth & Eco Travel Mart ในเดื อ น เมษายน งานไทยเที่ ย วไทยที่ ศู น ย ป ระชุ ม แห ง ชาติ สิ ริ กิ ต ติ์ และ Thailand Travel Mart(TTM)ที่ BITEC ใน เดื อ น กั น ย าย น ร วม ถึ ง Unseen October Holiday APEC ในเดือนตุลาคม โครงการ Unseen October Holiday APEC มีวัตถุประสงคที่จะกระตุนใหคนไทยออกมาเดิน ทางทองเที่ยวภายในประเทศในชวงวันหยุด เพิ่มมากขึ้น และเพิ่มกระแสการเดินทางทองเที่ยวภาย สงวนสิทธิ์ หามทําซ้ํา ทั้งหมด หรือบางสวน ไมวาในรูปแบบหรือสิ่งใด โดยไมไดรับ การอนุญาต จากการทองเที่ยวแหงประเทศไทย -1-


ในทดแทนการสูญเสียรายไดที่เกิดจากการหยุดชะงักการเดินทางของนักทองเที่ยวตางประเทศ โครง การนี้ไดใหงบประมาณสนับสนุนโครงการใหรางวัลแกขาราชการและนักเรียนที่มีความประพฤติดี เดนจํานวน 82 ลานบาท โดยมุงหวังกระตุนใหคนไทยออกมาเดินทางทองเที่ยวในชวงที่รัฐบาลเปน เจาภาพจัดการประชุม ผูนําเอเปค ประมาณวันที่ 17 - 22 เดือนตุล าคม 2546 โดยเฉพาะในวัน หยุด ยาว ตอ เนื ่อ งของขา ราชการและรัฐ วิส าหกิจ ในเขต กรุ ง เทพมหานคร นนทบุ รี และ สมุทรปราการ และไดมีการจัด แพกเก็จทัวรตามรอยผูนําเอเปคชมสถานที่สําคัญที่ไดตอนรับผูนําเอ เปคหลังการจัดประชุมผูน ําฯ จนถึงเดือนกุมภาพันธ 2547 นอกจากนี้ มี การเพิ่ ม สีสันการจัด กิจกรรมการท องเที่ย วที่ สําคั ญของประเทศไทยในชว ง เดือนพฤศจิกายน 2546 ดวยเทศกาลลอยกระทงป 2546 และ การจั ด งานเฉลิ ม ฉลองการนั บ ถอยหลั ง และเริ่ ม ต น ป ใหม ที่ กรุ ง เทพมหานคร (Bangkok Count Down 2004) ทั้ ง นี้ เพื่ อ มุ ง หวังกระตุนใหคนไทยออกมาเดินทางทองเที่ยวภายในประเทศใน ชวงไตรมาสที่ 4 ของป 2546 การสงเสริมใหคนไทยเดินทางทองเที่ยวในประเทศยังคง มีต อเนื่ องด วยการรณรงค สงเสริ มการท องเที่ ย วแลกเปลี่ ย น ระหว างภู มิ ภาค เชน การจัด แพกเก็จ นํ าเที่ย วให กับคนไทยในจั งหวัด กระบี่ม าท องเที่ย วที่ จังหวั ด อุบลราชธานี ตามมาดวยการเปดตัวของ Campaign “Unseen Paradise” และ “โครงการวันธรรมดา ที่ไมธรรมดา” ในตนป 2547 ในป 2546 ผูเยี่ ยมเยือนคนไทยซึ่งประกอบดว ยกลุม ที่มีก ารพักค างคืนหรือที่เรี ยกวา นั ก ทองเที่ยว และ กลุม ที่ไมมีการพักคางคืนหรือที่เรียกวา นักทัศนาจรนั้น มีการขยายตัวคอนขางนา พอใจ โดยกลุมนักทองเที่ยวไทยมีจํานวน 42,815,651 คน-ครั้ง เพิ่มขึ้นรอยละ 11.46 ขณะที่ นัก ทัศนาจรไทยมีจํานวน 25,951,747 คน-ครั้ง เพิ่มขึ้นรอยละ 10.88 เมื่อพิจารณาการกระจายตัวในการเดินทางทองเที่ยวภายใน ประเทศของคนไทยจํ า แนกตามภู มิ ภ าคแล ว ภาคกลาง (ไม ร วม กรุงเทพมหานคร) มีคนไทยไปเยี่ยมเยือน 18,003,836 คน-ครั้ง เพิ่มขึ้นรอยละ 8.34 รองลงมาเปนภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีคน ไทยไปเยี่ ย มเยื อ น 15,905,733 คน-ครั้ ง เพิ่ ม ขึ้ น ร อ ยละ 2.30 ขณะที่ภาคเหนือ มีคนไทยไปเยี่ยมเยือน 9,719,279 คน-ครั้ง เพิ่มขึ้นรอยละ 7.51ภาคตะวันออก มี คนไทยไปเยี่ยมเยือน 9,257,618 คน-ครั้ง เพิ่มขึ้นถึงรอยละ 17.23 และภาคใต มีคนไทยไปเยี่ยม เยือน 8,670,645 คน-ครั้ง เพิ่มขึ้น สูงที่สุด คือ รอยละ 23.84 สําหรับกรุงเทพมหานครนั้นมีคน ไทยไปเยี่ยมเยือนถึง 19,524,010 คน-ครั้ง เพิ่มขึ้นรอยละ 16.35

สงวนสิทธิ์ หามทําซ้ํา ทั้งหมด หรือบางสวน ไมวาในรูปแบบหรือสิ่งใด โดยไมไดรับ การอนุญาต จากการทองเที่ยวแหงประเทศไทย -2-


จํานวนคืนพักของนักทองเที่ยวคนไทยในป2546 มีถึง 124,994,217 คืนพัก โดยมีระยะเวลา พํานักเฉลี่ย 2.61 วัน ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีจํานวนคืนพักมากที่สุด คือ 32,182,197 คืนพัก รองลงมาเปนภาคเหนือ (19,053,059 คืนพัก) ภาคใต (17,058,435 คืนพัก) ภาคกลางซึ่งไมรวม ก รุ งเท พ ม ห าน ค ร (10,563,166 คื น พั ก ) แล ะภ า ค ต ะวั น อ อ ก (9,864,334 คื น พั ก ) ส ว น กรุงเทพมหานครมี จํา นวนคืนพัก ถึง 36,273,026 คืน พัก ซึ่งเพิ่ม ถึงรอยละ 23.84 เมื่อเทีย บกับป 2545 หากพิจารณาในแงรายไดและการใชจายเฉลี่ยตอคนตอวัน พบวารายไดจากนักทองเทีย่ วพัก คา งคืนมีจํานวน 255,341.01 ลานบาท เพิ่มขึ้นรอยละ 23.21เพราะมีการใชจายเฉลี่ยตอคนตอ วัน 2,042.82 บาท เพิ่มขึ้นรอยละ 7.79 สวนรายไดจ ากนัก ทัศนาจรมีจํา นวน 33,485.10 ลาน บาท เพิ่มขึ้นรอยละ 19.21 โดยมีการใชจายเฉลี่ยตอคนตอวัน 1,008.89 บาท เพิ่มขึ้นรอยละ 7.51 ภาคใต เ ป น ภาคที่ ไ ด รั บ รายได จ ากการเดิ น ทางท อ งเที่ ย วของคนไทยสู ง ที่ สุ ด คื อ 40,231.46 ลานบาท เพิ่ม ขึ้นรอยละ 25.63 และมีการใชจายเฉลี่ย 2,115.71 บาท/คน/วัน เพิ่ม ขึ้นเล็กนอยเพียงรอยละ 1.25 รองลงมาเปนภาคเหนือซึ่งไดรับรายได 38,022.09 ลานบาท เพิ่ม ขึ้นรอยละ 13.31 โดยมี การใชจา ยเฉลี่ย ตอคนต อวัน 1,771.44 บาท เพิ่ม ขึ้นร อยละ 3.88 ภาค กลางไมรวมกรุงเทพมหานครไดรับรายได 25,112.82 ลานบาท เพิ่มขึ้นรอยละ 27.61 โดยมีการ ใชจาย เฉลี่ยตอคนตอวัน 1,123.86 บาท เพิ่มขึ้นรอยละ 17.02 ขณะที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ไดรับรายได 23,820.02 ลานบาทเพิ่มขึ้นรอยละ 7.08 โดยมีการใชจายเฉลี่ยตอคนตอวัน 628.64 บาท เพิ่ มขึ้ นร อยละ 2.81 และภาคตะวั นออกไดรั บรายได 22,174.12 ล า นบาท เพิ่ มขึ้นรอยละ 23.06 โดยมี ก ารใช จ า ย เฉลี่ ย ต อ คนต อ วั น 1,582.82 บาท เพิ่ ม ขึ้ น ร อ ยละ 3.06 สํ า หรั บ กรุงเทพมหานครนั้นไดรับรายไดถึ ง 139,465.60 ลานบาท เพิ่ม ขึ้นรอยละ 27 โดยมีก ารใชจาย เฉลี่ยตอคนตอวัน 2,891.16 บาท การที่คนไทยมีการเดินทางทองเที่ยวในประเทศเพิ่มขึ้นบรรลุเกินเปาหมายที่กําหนดไว สวน หนึ่งเปนผลกระทบเชิงบวกจากปจจัยภายนอกประเทศ ทั้งวิกฤติก ารณสงครามอิรักและสหรัฐ โรค ระบาดซารสในภูมิภาคเอเชีย สวนปจจัยภายใน เชน การกําหนดนโยบายทีช่ ัดเจนของรัฐบาลโดยเนน การกระตุนรณรงคสงเสริม การทองเที่ยวภายในประเทศ และ สรา งกระแสใหคนไทยเดินทางทอง เที่ยวภายในประเทศอยางตอเนื่อง โดยมีเคมเปญ “Unseen in Thailand” ซึ่งไดรับการกลาวขวัญและ ไดรับความนิยมจากประชาชนคนไทยเพิ่มมากขึ้นนั้น ลวนเปนปจจัยเสริมประการสําคัญที่ทําใหคน ไทยนิยมเดินทางทองเที่ยวในประเทศ

สงวนสิทธิ์ หามทําซ้ํา ทั้งหมด หรือบางสวน ไมวาในรูปแบบหรือสิ่งใด โดยไมไดรับ การอนุญาต จากการทองเที่ยวแหงประเทศไทย -3-


สถานการณการเดินทางทองเที่ยวในตางประเทศของชาวไทย

สงครามอิรัก-สหรัฐอเมริกา และโรคระบาดซารสได สงผลใหคนไทยมีการเดินทางไปตางประเทศลดลง หันเหและ เลื อกเดิ นทางท องเที่ ย วภายในประเทศ เพิ่ มขึ้ นในช วงครึ่งป แรกจึงมีคนไทยเดินทางออกตางประเทศเพียง 969,370 คน ลดลงร อ ยละ 15.89 เมื่ อเปรี ย บเที ย บกั บ ป ที่ ผ า นมา หาก พิจารณาในรายละเอีย ด พบวา หากเปนแหลงทองเที่ย วใน ภูมิภ าค มีเฉพาะมาเลเซีย ที่คนไทยเดินทางไปทองเที่ย วเพิ่ม ขึ ้น (+4.83%) หรื อมี จํ า นวน 375,498 คน แตก ารเดิ น ทางไปแหล ง ท อ งเที่ ย วอื่ นๆ กลั บลดลง กลา วคือ มีคนไทยเพียง 88,979 คน เดินทางไปสิงคโปร ลดลงรอยละ 32.69 จีน (64,511 คน ลดลงรอยละ 44.47) ฮองกง (55,440 คน ลดลงรอยละ 43.47) และไตหวัน (52,849 คน ลด ลงรอยละ 21.79) สวนในชว งครึ่งหลังของป 2546 คนไทยมี การเดิ นทางทอ งเที่ ย วตา งประเทศเพิ่ ม ขึ้ น แต เนื่องจากในชวงครึ่งปหลังประเทศไทยมีการสรางกระแสการเดินทางทองเที่ยวภายในประเทศ เพิ่ม ขึ้นสูงมาก ทั้งราคาแพกเก็จการจัดงานสงเสริมสินคา โดยเฉพาะการเพิ่มชองทางใหกบั คนไทยในการ ซื้อโปรแกรมทองเที่ยวโดยสะดวกและคุมคา ทําใหชวง 9 เดือนแรกของป 2546 มีคนไทยเดินทาง ออกตางประเทศ 1,448,579 คน ลดลงรอยละ 8.56 แหลงทองเที่ยวซึ่งคนไทยนิยมอันดับแรกยังคงเปนมาเลเซีย (653,642 คน เพิ่มขึ้นรอยละ 6.58) รองลงมาเป น สิ งคโปร (117,098 คน ลดลงร อยละ 18.77) จี น (122,943 คน ลดลง รอยละ 34.41) ฮองกง (116,440 คน ลดลงรอยละ 30.14)และญี่ปุน (92,883 คนเพิ่มขึ้นรอยละ 9.90) จากสถานการณ และแนวโนม ดังกลา วจึงคาดวาสิ้นป 2546 คนไทยจะเดินทางทองเที่ยวใน ตางประเทศลดลงรอยละ 4.5 เมื่อเปรียบเทียบกับป ที่ผานมา โดยประเทศที่ไดรับความนิยมยังเปนประเทศในแถบภูมิภาคเอเชียเชนเดิม ที่มา : งานวิเคราะหสถานการณต ลาดในประเทศ และ งานฐานขอมูลการตลาด กองวิชาการ ฝาย นโยบายและแผน การทองเที่ยวแหงประเทศไทย

สงวนสิทธิ์ หามทําซ้ํา ทั้งหมด หรือบางสวน ไมวาในรูปแบบหรือสิ่งใด โดยไมไดรับ การอนุญาต จากการทองเที่ยวแหงประเทศไทย -4-


แนวโนมของอุตสาหกรรมทองเที่ยวโลกและของประเทศไทย รุงทิพ วองปฏิการ* ตลาดการทอ งเที่ย วโลกในปจ จุบัน นี้ม ี การเติบ โต อยางรวดเร็วและอยูในอัตราคอนขางสูง จากการพยากรณ ขององคการการทองเที่ยวโลก (World Tourism Organization) คาดวาในป 2563 จะมีนักทองเที่ยวเดินทางระหวางประเทศ เปนจํานวนกวา 1.5 พันลานคน ยุโรปจะยังคง เปนแหลงทอง เที่ ย วที่ นั ก ท อ งเที่ ย วนิ ย มเดิ น ทางไปเยี่ ย มเยื อ นมากที่ สุ ด อยางไรก็ดี สวนแบงทางการตลาดของยุโรปจะลดลง ซึ่งทําให แหลงทองเที่ยวอื่นๆ โดยเฉพาะแหลงทองเที่ยวในเอเชียแปซิ ฟค มีนัก ทองเที่ยวไปเยี่ยมเยือนเพิ่ม ขึ้นและ ยังคงเปนแหลง ทองเที่ยวที่นัก ทองเที่ยวนิยมเปนลําดับ 2 ของโลก โดยจะมีนัก ทองเที่ยวถึง 397 ลานคน อัตราการเติบโตเฉลี่ยประมาณรอยละ 6.5 ตอป สมาคมสงเสริมการทองเที่ยวภูมิภาคเอเชียแปซิฟค (PATA) คาดการณวาในป 2547 ภูมิ ภาคเอเชียแปซิฟคจะยังคงมีการขยายตัวทางการทองเที่ยว สวนหนึ่งเปนผลมาจากเหตุการณ “11 กันยายน” ที่เปนแรงผลักสําคัญซึ่งทําใหชาวยุโรปหันเหการเดินทางมายังเอเชียแปซิฟค ความ ตองการจํานวนที่นั่งและเที่ยวบินมายังภูมิภาคจึงคาดวาจะสูงขึ้นอยางตอเนื่อง และผูโดยสาร ประมาณรอยละ 40 เปนชาวตางประเทศ ทั้งนี้นักทองเที่ยวจะมีการเดินทางทองเที่ยวในระยะสั้น มากขึ้นอยางเห็นไดชัด โดยเฉพาะในเสนทางสิงคโปร-กัวลาลัมเปอร-กรุงเทพฯ จะไดรับความนิยม อยางมาก อยางไรก็ดี แมวาแนวโนมการเติบโตทางการทองเที่ยวจะอยูในอัตราที่นาพอใจยิ่ง แตการ แขงขันทางการทองเที่ยวกลับทวีค วามรุนแรงมากยิ่งขึ้น เนื่องจากการทองเที่ยวเปนอุตสาห กรรมภาคบริก ารซึ่งนํ าเงินตราตางประเทศเขาสูระบบเศรษฐกิจของประเทศได อยางรวดเร็ว ประเทศที่กําลังพัฒนาหลายประเทศหันมาใหความสําคัญกับการทองเที่ยว โดยเนนการพัฒนาการ ทองเที่ยวใหอยูในลําดับตนๆของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ประเทศที่พัฒนาแลวก็ ไดเรงพัฒนาการทองเที่ยวเชนเดียวกัน โดยเฉพาะประเทศในสหภาพยุโรปซึ่งนับวาเปนแหลงทอง เที่ยวสําคัญของโลก อาทิ ฝรั่งเศส สหราชอาณาจักร และอิตาลี ตลอดจนแหลงทองเที่ยว เชน ออสเตรเลียและสิงคโปรไดทําการวิจัยศึกษาทางดานความสามารถในการแขงขันไดของแหลง ทองเที่ ยว (Destination Competitiveness) เพื่อ เพิ่ม ศัก ยภาพให ส ามารถแขงขันได กับ คูแ ขงทาง การทองเที่ยว ไมวาจะเปนประเทศที่เปนแหลงทองเที่ยวเดิม (Traditional Destination) หรือแหลง ทองเที่ยวใหม -------------------------------------------------------------------------*หัวหนางานวิจัยและวิชาการ กองวิชาการ ฝายนโยบายและแผน ททท. สงวนสิทธิ์ หามทําซ้ํา ทั้งหมด หรือบางสวน ไมวาในรูปแบบหรือสิ่งใด โดยไมไดรับ การอนุญาต จากการทองเที่ยวแหงประเทศไทย -1-


ประเทศไทยซึ่งอยูในภูมิ ภาคเอเชียแปซิฟค จะเป นแหลงท องเที่ยวจุดหมายปลายทาง (Destination) หนึ่งที่นักทองเที่ยวใหความสนใจเดินทางมาเยี่ยมเยือน สวนแบงทางการตลาดทาง การทองเที่ยวที่ไทยจะได รับ นั้นคาดวาจะสูงขึ้น โดยในป 2563 จะมีนัก ทองเที่ยวเดินทางมา เยี่ยมเยือนประเทศไทยประมาณ 37 ลานคน เพิ่มขึ้นในอัตราเฉลี่ยรอยละ 6.9 สวนกระแสการ ทองเที่ยวโลก นอกจากจะเปนเรื่องของความบันเทิงเพลิดเพลิน ความตื่นเตน ที่ตองมีสาระแลว ประเด็นในเรื่องความมั่น คง ปลอดภัย ความสะอาด สุ ขอนามั ย และความพอใจ ก็เปน เรื่อ ง สําคัญเชนเดียวกัน

สงวนสิทธิ์ หามทําซ้ํา ทั้งหมด หรือบางสวน ไมวาในรูปแบบหรือสิ่งใด โดยไมไดรับ การอนุญาต จากการทองเที่ยวแหงประเทศไทย -2-


ผลกระทบทางเศรษฐกิจที่เกิดจากอุตสาหกรรมทองเที่ยว รุงทิพ วองปฏิการ* และ สุกิจ วงษนพดลเดชา** คําวา “การทองเที่ยว” นั้น มีทั้งความหมายอยางแคบและความหมายอยางกวาง แต อาจประมวลสรุปไดวา การทองเที่ยวหมายถึงผลรวมของปรากฏการณตางๆ และความ สัมพันธที่เกิดขึ้นระหวางธุรกิจทองเที่ยวและธุรกิจที่เกี่ยวเนื่องกับการทองเที่ยว ภาครัฐ องค กรเอกชน ตลอดจนประชาชนในทองถิ่นซึ่งเปนเจาของทรัพยากรทองเที่ยวอันถูกผนวกอยูในกิจ กรรมหรือกระบวนการในการดึงดูดใจนักทองเที่ยวผูมาเยือน1 จากความหมายขางตน เห็นไดวาอุตสาหกรรมทองเที่ยวครอบคลุมหนวยตางๆ อยางนอย 5 กลุม คือ นักทองเที่ยวหรือผู มาเยือนธุรกิจทองเที่ยว และ ธุรกิจที่เกี่ยวเนื่องกับการทอง เที่ ย วภาครั ฐ องค ก รเอกชน และชุ ม ชนในพื้ น ที่ ท อ งเที่ ย ว ซึ่งเปนเจาของทรัพยากรทอง เที่ยวกลุม เหลานี้ลว นมีความ เกี่ยวพันเชื่อมโยงระหวางกัน และ มี ส ว นได ส ว นเสี ย จาก ก ารท อ งเที่ ยว ฉะนั้ น จึ ง มี ความ จํ า เป น อย างยิ่ ง ที่ จะ ตอ งพั ฒ นาผลั ก ดัน ส งเสริ ม และสนับสนุนใหอุตสาหกรรม ทองเที่ยวสามารถดําเนินไปได อยางเหมาะสม สอดคลองกับสภาพการณตางๆ ทั้งภายนอกและภายใน และใหมีความสามารถ ในการแขงขันได ทั้งนี้เพื่ อใหอุตสาหกรรมทองเที่ยวมีศัก ยภาพและสามารถมีบทบาทในการ พัฒนาเศรษฐกิจของประเทศไทยไดตามเปาหมายที่วางไวโดยเฉพาะในปจจุบันที่มีการแขงขันทาง การทองเที่ยวอยางเขมขนเนื่องจากประเทศตางๆ ลวนเห็นความสําคัญและมีการพัฒนาสงเสริม อุตสาหกรรมทองเที่ยวของตนอยางจริงจัง ผลกระทบของอุตสาหกรรมทองเที่ยวดานเศรษฐกิจ ไทยเป นประเทศหนึ่งที่เห็นถึงความสําคัญ ของอุตสาหกรรมทองเที่ยวเป นอยางมาก เนื่องจากเปนอุตสาหกรรมที่กอใหเกิดผลกระทบทั้งทางเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และสิ่งแวด ลอม บทบาทที่เดนชัดบทบาทหนึ่งในชวงหลายปที่ผานมาของอุตสาหกรรมทองเที่ยวก็คือ บท บาทดานเศรษฐกิจ ซึ่งอาจกลาวไดวาอุตสาหกรรมทองเที่ยวเปนแหลงทํารายไดที่สําคัญใหกับ ประเทศในลําดับตนโดยเฉพาะการนําเงินตราตางประเทศเขามาใชจายในระบบเศรษฐกิจของ ประเทศ รายละเอียดดังตารางที่ 1 -------------------------------------------------------------------------* หัวหนางานวิจัยและวิชาการ กองวิชาการ ฝายนโยบายและแผน ททท. **ที่ปรึกษาโครงการบัญชีประชาติดานการทองเที่ยว (Tourism Satellite Account) สงวนสิทธิ์ หามทําซ้ํา ทั้งหมด หรือบางสวน ไมวาในรูปแบบหรือสิ่งใด โดยไมไดรับ การอนุญาต จากการทองเที่ยวแหงประเทศไทย

-1-


ตารางที่ 1 เปรียบเทียบผลกระทบทางเศรษฐกิจจากการทองเที่ยวระหวางป 2545 – 2546 2545

2546*

ชาวไทย

ชาวตางประเทศ

รวม

ชาวไทย

ชาวตางประเทศ

รวม

รายไดจากนักทองเที่ยว (ลานบาท)

235,337

323,484

558,821

301,900

289,600

591,500

ผลกระทบทางเศษฐกิจที่มีตอ การผลิตภายในประเทศ (ลานบาท)

15,425

524,183

839,608

404,640

470,708

875,349

69,970

270,892

440,862

218,045

242,343

460,388

1,220,421

1,473,898

1,319,044

2,884,650

1.58

1.62

1.58

1.63

1.61

5,102

48,535

6,216

48,527

20

136

24

136

ผลิตภัณฑมวลรวมภายในประเทศ (ลานบาท) การจางงาน (คน) การทวีรายได การเปลี่ยนแปลงอุปสงคทางการทองเที่ยว - การเปลี่ยนแปลงของมูลคาการผลิตภายในประเทศ ตอนักทองเที่ยว 1 คน (บาท) - การเปลี่ยนแปลงของจํานวนการจางงานตอนักทองเที่ยว 1,000 คน(คน) หมายเหตุ

2,694,319 1,565,606 1.61

*ประมาณการรายได ณ วันที่ 9 ธันวาคม 2546 วิเคราะหผลกระทบทางเศรษฐกิจจากตาราง TSA 1998

สงวนสิทธิ์ หามทําซ้ํา ทั้งหมด หรือบางสวน ไมวาในรูปแบบหรือสิ่งใด โดยไมไดรับ การอนุญาต จากการทองเที่ยวแหงประเทศไทย

-2-


ผลกระทบทางเศรษฐกิจของการทองเที่ยว สามารถประมาณการไดจากจํานวนนักทอง เที่ยวที่มีการเดินทางทองเที่ยวในประเทศไทย ซึ่งในป 2546 นักทองเที่ยวระหวางประเทศที่เดิน ทางเขามาในประเทศมีจํานวน 9.7 ลานคน สามารถสรางรายไดใหกับประเทศ 289,600 แสน ลานบาท หรือประมาณรอยละ 4.9 ของจีดีพีทั้งประเทศขณะเดียวกันภายใตภาวะเศรษฐกิจ ที่ถดถอยในชว ง 2-3 ปที่ผานมา ทําใหคนไทยหันมาทองเที่ยวภายในประเทศมากขึ้นและลด สัด สว นการเดินทางไปตางประเทศไดจํา นวนหนึ่ง สง ผลใหก ารทอ งเที่ย วภายในประเทศมี อัตราการเติบโตสูงขึ้น โดยในปเดียวกันนี้ คาดวาคนไทยมีการเดินทางทองเที่ยวในแหลงทอง เที่ยวภายในประเทศทั้งสิ้น 65.10 ลานคน-ครั้งกอใหเกิดรายไดห มุนเวียนในแหลงทองเที่ยว ตางๆ 301,900 ลานบาท ไมเพียงแตรายไดเหลานี้เทานั้นที่ประเทศไดรับ แตผลกระทบของ การใชจายของนักทองเที่ยวยังสงผลตอเนื่องไปตามสาขาการผลิตอื่นๆ ซึ่งผลิตสินคาและบริการ ตอบสนองความตองการของนักทองเที่ยวอีกดวย (ตารางที่ 2 ถึง 8) จากการประมาณการความสําคัญทางเศรษฐกิจของการทองเที่ยวภายในประเทศที่มีตอ ประเทศซึ่งไดจากการวิเคราะหบัญชีประชาชาติดานการทองเที่ยว สามารถสรุปผลกระทบทาง เศรษฐกิจที่เกิดขึ้นจากการใชจายของนักทองเที่ยวภายในประเทศไทยป 2546ไดวากิจกรรมทอง เที่ยวไมเพียงแตกอใหเกิดการผลิตเพิ่มขึ้นในอุตสาหกรรมทองเที่ยวหรือสาขาที่ผลิตสินคา และ บริการที่เปนที่ตองการของนักทองเที่ยวเทานั้น แตยังทํา ใหเกิดการผลิตเพิ่มขึ้นในสาขาการผลิตอื่นๆ ตามมาดวย โดยในป 2546 รายได จากการใชจายของทอ ง เที่ยวทั้งนักทองเที่ยวชาวตางประเทศ และ นักทองเที่ยว คนไทยที่ เดิ น ทางทอ งเที่ ยวในประเทศทั้ง สิ้ น 591,500 ลานบาท กอให เกิดการผลิ ตสินคาและบริการในประเทศ (Gross Domestic Output) เปนมูลคาถึง 875,349 ลานบาท สําหรับผลของการทองเที่ยว ที่มีตอมูลคาผลิตภัณฑมวลรวมภายในประเทศประมาณ ไดวาการใชจายของนักทองเที่ยวสามารถสรางผลิตภัณ ฑมวลรวมภายในประเทศไดประมาณ 460,388 ลานบาท และคาดวาจะมีก ารจางงานเพื่อรองรับการผลิตดังขางตนเปนจํานวนถึง 2.88 ลานคน จากภาพรวมผลกระทบที่เกิดขึ้นนี้ สามารถจําแนกเปนผลกระทบที่เกิดจากการใชจาย ของนักทองเที่ยวระหวางประเทศ และนักทองเทียวชาวไทยไดดังนี้

ผลกระทบทางเศรษฐกิจจากการใชจายของนักทองเที่ยวระหวางประเทศ - การใชจายของนัก ทองเที่ยวระหวางประเทศในป 2546 จํานวน 289,600 ลาน บาท กอใหเกิดการผลิตสินคาและบริก ารในประเทศเปนมูล ค าถึง 470,708 ลานบาท และ สามารถสรางผลิตภัณฑมวลรวมภายในประเทศไดประมาณ 242,343 ลานบาท

สงวนสิทธิ์ หามทําซ้ํา ทั้งหมด หรือบางสวน ไมวาในรูปแบบหรือสิ่งใด โดยไมไดรับ การอนุญาต จากการทองเที่ยวแหงประเทศไทย

-3-


ผลของการทอ งเที่ย วที่ม ีตอ การจา งงานประมาณไดว า การทอ งเที่ย วของนัก ทอ งเที่ยว ระหวางประเทศ กอใหเกิดการจางงานทั้งทางตรงและทางออมรวมประมาณ 1.32 ลานคน - ทางดานรายได จากการประมาณการพบวา การใชจายของนักทองเที่ยวระหวาง ประเทศ 1 ลานบาท จะกอใหเกิดรายไดทั้งทางตรงและทางออมเพิ่มขึ้นเปน 1.63 ลานบาท - ในสวนของผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงดานผลผลิตนั้น พบวาถาจํานวนนัก ทองเที่ยวระหวางประเทศเพิ่มขึ้น 1 คน จะทําใหเกิดการผลิตสินคาและบริการขึ้นภายในระบบ เศรษฐกิจเปนมูลคา 48,527 บาท และเกิดการจางงานรวมเพิ่มขึ้น 136 คน จากการเพิ่ม ขึ้น ของนักทองเที่ยวระหวางประเทศ 1,000 คน

ผลกระทบทางเศรษฐกิจจากการใชจายของนักทองเที่ยวคนไทย - การเดินทางทองเที่ยวภายในประเทศของนัก ทองเที่ยวคนไทยป 2546 กอใหเกิด การผลิตสินคาและบริการในประเทศทั้งสิ้น 404,640 ลานบาทและสามารถสรางผลิตภัณฑมวล รวมภายในประเทศไดประมาณ 218,045 ลานบาท - ผลของการทอ งเที่ย วที่ม ีตอ การจา งงานประมาณไดว าการทอ งเที่ย วภายใน ประเทศของนักทองเที่ยวคนไทย กอใหเกิดการจางงานทั้งทางตรงและทางออมรวมประมาณ 1.56 ลานคน - จากการประมาณการผลทางดานรายได พบวาการใชจายของนักท อ งเที่ ย วคน ไทย1 ลานบาท จะกอใหเกิดรายไดทั้งทางตรงและทางออมเพิ่มขึ้นเปน 1.58 ลานบาท - สําหรับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงดานการผลิตพบวาถานักทองเที่ยวคนไทย เดินทางทองเที่ยวภายในประเทศเพิ่มขึ้น 1 คน จะทําใหเกิดการผลิตสินคาและบริการขึ้นภายใน ระบบเศรษฐกิจเปนมูลคา 6,216 บาท และเกิดการจางงานรวมเพิ่มขึ้น 24 คน สําหรับนักทอง เที่ยวคนไทยที่เพิ่มขึ้นทุก 1,000 คน

ผลกระทบของอุตสาหกรรมทองเที่ยวดานสังคม วัฒนธรรม และสิ่งแวดลอม

นอกจากผลกระทบในเชิงเศรษฐกิจแล ว ผลได ของการทองเที่ยวยังไดสงผลกระทบทางบวกตอเนื่องใน เชิงสังคม วัฒ นธรรม และสิ่งแวดลอมดว ย กลาวคื อ การที่การทองเที่ยวกอใหเกิดการกระจายรายไดและการ จางงานนั้น ทําใหกลุมประชาชนที่ประกอบอาชีพดานการ ทองเที่ยวและสาขาที่เกี่ยวเนือ่ งกับการทองเที่ยวมีรายได สามารถซื้อหาสินคาอุปโภคบริโภคและบริการตางๆ ให กับตนเองและครอบครัวซึ่งเปนการเสริมสรางคุณ ภาพ ชีวิตและทําใหมีชีวิตความเปนอยูที่ดีขึ้น สวนกลุมประชา ชนที่อาศัยอยูในบริเวณที่มีทรัพยากรทองเที่ยวซึ่งสวยงาม นาสนใจ เปนที่รูจัก จนสามารถดึง

สงวนสิทธิ์ หามทําซ้ํา ทั้งหมด หรือบางสวน ไมวาในรูปแบบหรือสิ่งใด โดยไมไดรับ การอนุญาต จากการทองเที่ยวแหงประเทศไทย

-4-


ดูดใจใหนักทองเที่ยวทั้งชาวไทยและชาวตางประเทศเดินทางไปเยี่ยมเยือนและทองเที่ยวนั้น นอก จากจะเปนความภาคภูมิใจของประชาชนในพื้นที่แลว ยังเปนโอกาสอันดีที่ประชาชนเหลานั้นจะได ใชประโยชนจากทรัพยากรทองเที่ยวเหลานั้น เพราะสามารถประกอบกิจกรรมนันทนาการได ทําใหสามารถผอนคลายจากชีวิตและภาระงานประจําวัน สงผลใหมีสุขภาพกายที่ สมบูรณแข็งแรงและมีสุขภาพจิตที่ดีที่สดใส เปนประชากรที่มีคุณภาพ กลุมเยาวชนในพื้นที่เหลา นั้นก็มีโอกาสที่จะไดเปดโลกทัศนเนื่องจากทรัพ ยากรทองเที่ยวในพื้นที่เปรียบไดกับหองปฏิบัติ การ ทําใหเยาวชนสามารถที่จะเรียนรูจากของจริง การไดสัมผัสและเรียนรูเกี่ยวกับทรัพยากร ทองเที่ย วทั้ง ทางธรรมชาติประวัติศ าสตร โบราณสถาน โบราณวัตถุ ศิล ปะวัฒ นธรรมและ ขนบธรรมเนีย มประเพณีซึ่ง สะทอ นภูมิปญ ญาของบรรพชน ทําใหประชาชนโดยเฉพาะเยาว ชนมีความรูความเขาใจในเรื่องราวตางๆ อันงดงาม ทรงคุณคาและนําไปสูความรูสึกรักและหวง แหน กอใหเกิดการอนุรักษและพัฒนามิใหทรัพยากรทองเที่ยวของตนถูกทําลาย สูญสลาย หาก มีการนําทรัพยากรทองเที่ยวเหลานี้ไปใช ก็จะรังสรรคใหมีการจัดการอยางระมัดระวัง และมีการ บริโภคอยางมีจิตสํานึกโดยคํานึงถึงอนุชนคนรุนตอๆ ไปตามหลัก การและแนวคิดในเรื่องของ การทองเที่ยวอยางยั่งยืน (Sustainable Tourism) จากที่กลาวมาขางตน สามารถสรุปไดวา การทองเที่ยวเปนอุตสาหกรรมหนึ่งที่มีความ สําคัญตอประเทศชาติ และมีคุณลักษณะพิเศษเนื่องจากมีองคประกอบที่หลากหลาย แตลวนมี ความเกี่ยวพันเชื่อมโยงระหวางกัน ขณะเดียวกันก็อาจมีสวนไดและสวนเสียประโยชนแตกตางกัน แตละองคประกอบในอุตสาหกรรมทองเที่ยวไทยจึงจําเปนตองมีการประสานเชื่อมโยงกันเพื่อ จะผลัก ดันและสนับสนุนใหก ารพัฒนาการทองเที่ยวเปนไปอยางมีคุณ ภาพ สงผลกระทบใน ทางบวกตอเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม สิ่งแวดลอม และการตลาด ประการสําคัญคือ กอให เกิดประโยชนตอ ทุก ฝายอยางเต็ม ที่แ ละแทจ ริง ประโยชนที่ก ลาวนี้ห มายความรวมถึง การ กระจายรายไดการยกระดับคุณภาพชีวิต และการไดรับผลตอบแทนหรือกลับมาบํารุงรักษาและ จัดการทรัพยากรทองเที่ยวดวย

สงวนสิทธิ์ หามทําซ้ํา ทั้งหมด หรือบางสวน ไมวาในรูปแบบหรือสิ่งใด โดยไมไดรับ การอนุญาต จากการทองเที่ยวแหงประเทศไทย

-5-


ตารางที่ 2 ผลกระทบทางเศรษฐกิจของรายไดจากนักทองเที่ยวภายในประเทศ ป 2546

ลําดับที่

กิจกรรม

ผลกระทบทางเศรษฐกิจ รายได ผลิตภัณฑ จากนักทอง การผลิต มวลรวม เที่ยวภาย ภายใน การจาง ในประเทศ ภายในประเทศ ประเทศ งาน(คน) (ลานบาท)

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20

เกษตร เหมืองแร อุตสาหกรรมการผลิต สาธารณูปโภค กอสราง คาสง-คาปลีก บริการขนสงสินคา บริการธุรกิจและสังคม โรงแรมและที่พัก บานหลังที่สอง ภัตตาคาร รานขายอาหารและเครื่องดื่ม การขนสงผูโดยสารทางรถไฟ การขนสงผูโดยสารทางถนน การขนสงผูโดยสารทางน้ํา การขนสงผูโดยสารทางอากาศ การใหบริการสนับสนุนการขนสง บริการใหเชาเครื่องอุปกรณโดยไมมีผูควบคุม บริการนําเที่ยว บริการทางดานวัฒนธรรม บริการบันเทิง กีฬา และกิจกรรมนันทนาการ ผลรวมทั้งหมด อุตสาหกรรมทองเที่ยว สัดสวน อุตสาหกรรมตอเนื่อง สัดสวน

(ลานบาท)

การนําเขา (ลานบาท)

(ลานบาท)

32,047 192,342 5,475 4,766 136,555 78,235 51,669 1,399 47,874 5,798 16,233 4,039 3,896 195 10,977

55,557 6,529 270,794 21,340 1,279 103,140 23,198 154,737 80,307 55,714 1,593 49,458 6,620 22,522 6,227 184 4,928 195 11,026

36,627 4,507 89,270 9,084 460 73,363 10,909 117,257 50,057 23,302 738 18,261 3,484 8,089 3,688 66 2,916 143 8,167

1,230,474 2,071 220,184 12,364 3,149 295,953 18,022 446,736 140,983 213,680 7,252 149,559 9,122 10,973 5,530 286 14,675 941 102,694

4,114 8,139 90,028 1 6 162 28,492 5 143 22 -

591,500

875,349

460,388

2,884,650

131,112

220,316 37.25 371,184 62.75

238,776 27.28 636,573 72.72

118,911 25.83 341,477 74.17

655,696 22.73 2,228,954 77.27

170 0.13 130,942 99.87

หมายเหตุ วิเคราะหผลกระทบทางเศรษฐกิจจากตาราง TSA 1998 สงวนสิทธิ์ หามทําซ้ํา ทั้งหมด หรือบางสวน ไมวาในรูปแบบหรือสิ่งใด โดยไมไดรับ การอนุญาต จากการทองเที่ยวแหงประเทศไทย 1


ตารางที่ 3 ผลกระทบทางเศรษฐกิจของรายไดจากนักทองเที่ยวชาวตางประเทศ ป 2546 ผลกระทบทางเศรษฐกิจ ผลิตภัณฑ นักทองเที่ยว การผลิต มวลรวม การจางงาน การนําเขา ชาวตาง ภายใน ภายใน ประเทศ ประเทศ ประเทศ รายไดจาก

ลําดับที่

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20

หมวดกิจกรรม

เกษตร เหมืองแร อุตสาหกรรมการผลิต สาธารณูปโภค กอสราง คาสง-คาปลีก บริการขนสงสินคา บริการธุรกิจและสังคม โรงแรมและที่พัก บานหลังที่สอง ภัตตาคาร รานขายอาหารและเครื่องดื่ม การขนสงผูโดยสารทางรถไฟ การขนสงผูโดยสารทางถนน การขนสงผูโดยสารทางน้ํา การขนสงผูโดยสารทางอากาศ การใหบริการสนับสนุนการขนสง บริการใหเชาเครื่องอุปกรณโดยไมมีผูควบคุม บริการนําเที่ยว บริการทางดานวัฒนธรรม บริการบันเทิง กีฬา และกิจกรรมนันทนาการ ผลรวมทั้งหมด อุตสาหกรรมทองเที่ยว สัดสวน อุตสาหกรรมตอเนื่อง สัดสวน

หมายเหตุ

(ลานบาท)

(ลานบาท)

(ลานบาท)

(คน)

2,326 99,994 3 1,496 50,643 61,003 30,336 779 23,892 3,518 8,699 2,236 1,116 45 3,515

20,702 3,937 154,983 13,194 761 47,031 10,553 74,901 62,060 32,320 889 24,699 4,210 11,822 3,322 104 1,639 45 3,538

13,648 2,718 51,091 5,616 273 33,453 4,963 56,759 38,684 13,518 411 9,119 2,216 4,246 1,967 38 970 33 2,621

458,500 1,249 126,017 7,644 1,874 134,953 8,198 216,245 108,951 123,959 4,044 74,688 5,800 5,760 2,950 162 4,881 215 32,954

1,445 4,658 40,181 1 91 784 2 82 12 -

289,600

470,708

242,343

1,319,044

47,257

135,138 46.66 154,462 53.34

144,648 30.73 326,061 69.27

73,822 30.46 168,521 69.54

364,364 27.62 954,680 72.38

97 0.20 47,160 99.80

วิเคราะหผลกระทบทางเศรษฐกิจจากตาราง TSA 1998 สงวนสิทธิ์ หามทําซ้ํา ทั้งหมด หรือบางสวน ไมวาในรูปแบบหรือสิ่งใด โดยไมไดรับ การอนุญาต จากการทองเที่ยวแหงประเทศไทย 2

(ลานบาท)


ตารางที่ 4 ผลกระทบทางเศรษฐกิจของรายไดจากการเดินทางทองเที่ยวภายในประเทศของคนไทย ป 2546

ลําดับที่

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20

กิจกรรม

เกษตร เหมืองแร อุตสาหกรรมการผลิต สาธารณูปโภค กอสราง คาสง-คาปลีก บริการขนสงสินคา บริการธุรกิจและสังคม โรงแรมและที่พัก บานหลังที่สอง ภัตตาคาร รานขายอาหารและเครื่องดื่ม การขนสงผูโดยสารทางรถไฟ การขนสงผูโดยสารทางถนน การขนสงผูโดยสารทางน้ํา การขนสงผูโดยสารทางอากาศ การใหบริการสนับสนุนการขนสง บริการใหเชาเครื่องอุปกรณโดยไมมีผูควบคุม บริการนําเที่ยว บริการทางดานวัฒนธรรม บริการบันเทิง กีฬา และกิจกรรมนันทนาการ ผลรวมทั้งหมด อุตสาหกรรมทองเที่ยว สัดสวน อุตสาหกรรมตอเนื่อง สัดสวน

หมายเหตุ

รายไดจาก ผูเยี่ยม เยือนคน ไทย(ลาน บาท)

ผลกระทบทางเศรษฐกิจ ผลิตภัณฑ การผลิต มวลรวม การจาง การนําเขา ภายใน ภายใน งาน ประเทศ ประเทศ (ลานบาท)

(ลานบาท)

(คน)

29,721 92,347 5,471 3,271 85,912 17,231 21,333 619 23,983 2,280 7,534 1,804 2,780 151 7,463

34,855 2,592 115,812 8,146 518 56,108 12,645 79,836 18,246 23,394 705 24,760 2,411 10,700 2,906 80 3,289 151 7,488

22,979 1,789 38,178 3,468 186 39,910 5,947 60,498 11,374 9,784 326 9,142 1,269 3,843 1,721 29 1,946 110 5,546

771,974 822 94,167 4,720 1,276 160,999 9,824 230,491 32,033 89,722 3,208 74,871 3,321 5,213 2,580 124 9,793 727 69,740

2,669 3,481 49,847 1 6 71 27,707 3 61 10 -

301,900

404,640

218,045

1,565,606

83,855

85,178 28.21 216,722 71.79

94,128 23.26 310,512 76.74

45,090 20.68 172,955 79.32

291,332 18.61 1,274,274 81.39

73 0.09 83,782 99.91

วิเคราะหผลกระทบทางเศรษฐกิจจากตาราง TSA 1998 สงวนสิทธิ์ หามทําซ้ํา ทั้งหมด หรือบางสวน ไมวาในรูปแบบหรือสิ่งใด โดยไมไดรับ การอนุญาต จากการทองเที่ยวแหงประเทศไทย 3

(ลานบาท)


ตารางที่ 5 การทวีรายไดจากการใชจายของนักทองเที่ยวภายในประเทศ ป 2546

การทวีรายได ลําดับที่

กิจกรรม เบื้องตน

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20

เกษตร เหมืองแร อุตสาหกรรมการผลิต สาธารณูปโภค กอสราง คาสง-คาปลีก บริการขนสงสินคา บริการธุรกิจและสังคม โรงแรมและที่พัก บานหลังที่สอง ภัตตาคาร รานขายอาหารและเครื่องดื่ม การขนสงผูโดยสารทางรถไฟ การขนสงผูโดยสารทางถนน การขนสงผูโดยสารทางน้ํา การขนสงผูโดยสารทางอากาศ การใหบริการสนับสนุนการขนสง บริการใหเชาเครื่องอุปกรณโดยไมมีผูควบคุม บริการนําเที่ยว บริการทางดานวัฒนธรรม บริการบันเทิง กีฬา และกิจกรรมนันทนาการ ผลรวมทั้งหมด

ทางตรง

ทางออม

ผลรวม

0.0353 0.2466 0.0966 0.0146 0.2011 0.1436 0.0948 0.0026 0.0879 0.0117 0.0302 0.0075 0.0071 0.0004 0.0201

0.0368 0.0018 0.1587 0.0241 0.0018 0.0641 0.0184 0.0539 0.0025 0.0043 0.0002 0.0017 0.0002 0.0075 0.0028 0.0002 0.0013 0.0000 0.0001

0.0299 0.0102 0.0916 0.0151 0.0005 0.0286 0.0097 0.0290 0.0013 0.0031 0.0001 0.0012 0.0002 0.0036 0.0011 0.0001 0.0006 0.0000 0.0000

0.1020 0.0120 0.4969 0.0392 0.0023 0.1893 0.0426 0.2840 0.1474 0.1022 0.0029 0.0908 0.0121 0.0413 0.0114 0.0003 0.0090 0.0004 0.0202

1.0000

0.3806

0.2257

1.6063

สงวนสิทธิ์ หามทําซ้ํา ทั้งหมด หรือบางสวน ไมวาในรูปแบบหรือสิ่งใด โดยไมไดรับ การอนุญาต จากการทองเที่ยวแหงประเทศไทย 4


ตารางที่ 6 การทวีรายไดจากการใชจายของนักทองเที่ยวชาวตางประเทศ ป 2546

การทวีรายได ลําดับที่

กิจกรรม เบื้องตน

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20

เกษตร เหมืองแร อุตสาหกรรมการผลิต สาธารณูปโภค กอสราง คาสง-คาปลีก บริการขนสงสินคา บริการธุรกิจและสังคม โรงแรมและที่พัก บานหลังที่สอง ภัตตาคาร รานขายอาหารและเครื่องดื่ม การขนสงผูโดยสารทางรถไฟ การขนสงผูโดยสารทางถนน การขนสงผูโดยสารทางน้ํา การขนสงผูโดยสารทางอากาศ การใหบริการสนับสนุนการขนสง บริการใหเชาเครื่องอุปกรณโดยไมมีผูควบคุม บริการนําเที่ยว บริการทางดานวัฒนธรรม บริการบันเทิง กีฬา และกิจกรรมนันทนาการ ผลรวมทั้งหมด

ทางตรง

ทางออม

ผลรวม

0.0028 0.2765 0.0693 0.0079 0.1749 0.2106 0.1048 0.0027 0.0825 0.0141 0.0300 0.0077 0.0039 0.0002 0.0121

0.0379 0.0020 0.1642 0.0292 0.0021 0.0638 0.0187 0.0540 0.0024 0.0037 0.0002 0.0016 0.0002 0.0072 0.0026 0.0002 0.0013 0.0000 0.0001

0.0308 0.0116 0.0945 0.0164 0.0006 0.0293 0.0098 0.0298 0.0013 0.0031 0.0001 0.0012 0.0002 0.0036 0.0011 0.0001 0.0006 0.0000 0.0000

0.0715 0.0136 0.5352 0.0456 0.0026 0.1624 0.0364 0.2586 0.2143 0.1116 0.0031 0.0853 0.0145 0.0408 0.0115 0.0004 0.0057 0.0002 0.0122

1.0000

0.3913

0.2341

1.6254

สงวนสิทธิ์ หามทําซ้ํา ทั้งหมด หรือบางสวน ไมวาในรูปแบบหรือสิ่งใด โดยไมไดรับ การอนุญาต จากการทองเที่ยวแหงประเทศไทย 5


ตารางที่ 7 การทวีรายไดจากการใชจายของนักทองเที่ยวคนไทย ป 2546

การทวีรายได ลําดับที่

กิจกรรม เบื้องตน

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20

เกษตร เหมืองแร อุตสาหกรรมการผลิต สาธารณูปโภค กอสราง คาสง-คาปลีก บริการขนสงสินคา บริการธุรกิจและสังคม โรงแรมและที่พัก บานหลังที่สอง ภัตตาคาร รานขายอาหารและเครื่องดื่ม การขนสงผูโดยสารทางรถไฟ การขนสงผูโดยสารทางถนน การขนสงผูโดยสารทางน้ํา การขนสงผูโดยสารทางอากาศ การใหบริการสนับสนุนการขนสง บริการใหเชาเครื่องอุปกรณโดยไมมีผูควบคุม บริการนําเที่ยว บริการทางดานวัฒนธรรม บริการบันเทิง กีฬา และกิจกรรมนันทนาการ ผลรวมทั้งหมด

ทางตรง

ทางออม

ผลรวม

0.0721 0.2127 0.1275 0.0222 0.2309 0.0675 0.0836 0.0024 0.0939 0.0090 0.0304 0.0072 0.0109 0.0006 0.0292

0.0356 0.0016 0.1526 0.0183 0.0015 0.0645 0.0179 0.0538 0.0027 0.0050 0.0002 0.0019 0.0003 0.0079 0.0030 0.0002 0.0014 0.0000 0.0001

0.0289 0.0086 0.0883 0.0136 0.0005 0.0277 0.0094 0.0280 0.0013 0.0030 0.0001 0.0011 0.0002 0.0037 0.0011 0.0001 0.0006 0.0000 0.0000

0.1365 0.0102 0.4536 0.0319 0.0020 0.2197 0.0495 0.3127 0.0715 0.0916 0.0028 0.0970 0.0094 0.0419 0.0114 0.0003 0.0129 0.0006 0.0293

1.0000

0.3685

0.2163

1.5847

สงวนสิทธิ์ หามทําซ้ํา ทั้งหมด หรือบางสวน ไมวาในรูปแบบหรือสิ่งใด โดยไมไดรับ การอนุญาต จากการทองเที่ยวแหงประเทศไทย 6


ตารางที่ 8 ผลกระทบทางเศรษฐกิจจากการเปลี่ยนแปลงอุปสงคทางการทองเที่ยว 2546

ลําดับที่

หมวดกิจกรรม

การเปลี่ยนแปลงของมูล คาการผลิตภายใน ประเทศตอนักทองเที่ยว 1 คน( บาท )

535 40 1,779 125 8 862 194 1,226 280 359 11 380 37 164 45 1 51 2 115

ชาวตาง ประเทศ 2,134 406 15,978 1,360 78 4,849 1,088 7,722 6,398 3,332 92 2,546 434 1,219 342 11 169 5 365

6,216

48,527

คนไทย 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20

เกษตร เหมืองแร อุตสาหกรรมการผลิต สาธารณูปโภค กอสราง คาสง-คาปลีก บริการขนสงสินคา บริการธุรกิจและสังคม โรงแรมและที่พัก บานหลังที่สอง ภัตตาคาร รานขายอาหารและเครื่องดื่ม การขนสงผูโดยสารทางรถไฟ การขนสงผูโดยสารทางถนน การขนสงผูโดยสารทางน้ํา การขนสงผูโดยสารทางอากาศ การใหบริการสนับสนุนการขนสง บริการใหเชาเครื่องอุปกรณโดยไมมีผูควบคุม บริการนําเที่ยว บริการทางดานวัฒนธรรม บริการบันเทิง กีฬา และกิจกรรมนันทนาการ ผลรวมทั้งหมด

การเปลี่ยนแปลงของ จํานวนการจางงานตอ นักทองเที่ยว 1,000 คน( คน )

1 0 1 0 0 0 0 0 0 1

ชาวตาง ประเทศ 47 0 13 1 0 14 1 22 11 13 0 8 1 1 0 0 1 0 3

24

136

คนไทย 12 0 1 0 0 2 0 4 0 -

สงวนสิทธิ์ หามทําซ้ํา ทั้งหมด หรือบางสวน ไมวาในรูปแบบหรือสิ่งใด โดยไมไดรับ การอนุญาต จากการทองเที่ยวแหงประเทศไทย 7


วิเคราะหศักยภาพของอุตสาหกรรมทองเที่ยวของประเทศไทย รุงทิพ วองปฏิการ* ผลกระทบในเชิงบวกที่เกิดขึ้น จาก อุต สาหกรรมท อ งเที่ ย ว โดยเฉพาะผลในเชิ ง เศรษฐกิ จ ทําให มิอ าจหลี ก เลี่ ยงการประเมิ น วิเคราะหอุตสาหกรรมทองเที่ยวได เนื่องจาก ศัก ยภาพการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของ ไทย จํ าเป น อย างยิ่ ง ที่ จ ะต อ งอาศั ย อุ ต สาห กรรมท อ งเที่ ย วนั่ น เอง ดั ง นั้ น จึ ง เป น เรื่ อ ง สําคัญที่จะตองวิเคราะหสถานภาพของประเทศไทยในฐานะที่เปนแหลงทองเที่ยว รวมทั้ง วิเคราะหสภาพแวดลอมภายในประเทศไทยเพื่อประเมินและ กําหนดยุทธศาสตรทางการ ทองเที่ยวเพื่อเพิ่มศักยภาพและเพื่อพัฒนาเศรษฐกิจของไทย จากการประเมินวิเคราะหจุดเดนจุดดอยภัยคุกคามและโอกาสทางการ ทองเที่ยวดวย SWOT Analysis สามารถสรุปไดดังนี้ จุดแข็ง • เปนจุดหมายปลายทางที่เปนที่รูจักระดับหนึ่ง • แหล งทอ งเที่ยวมี ความหลากหลายและมีศั กยภาพเทียบเคียงได

กับแหลงทองเที่ยวระดับโลก • คนไทยมีชื่อเสียงในเรื่องอัธยาศัยไมตรีที่มีตอนักทองเที่ยว • มีความคุมคาเงิน • ไดรับเลือกใหเปนแหลงทองเที่ยวยอดนิยมจากการสํารวจ เชน Lonely Planet จุดออน • ไมมีสัญลักษณที่เปนหนึ่งเดียวในโลก • ไมมีการพัฒนาสินคาและบริการเฉพาะทางที่เหมาะสมเพียงพอเพื่อรองรับแตละกลุม

เปาหมาย • ยังขาดความมี มาตรฐานในดานสิ่งอํานวยความสะดวกและความปลอดภั ยในบาง สวน • มีการหลอกลวงเอาเปรียบนักทองเที่ยว • มีการตัดราคาระหวางผูประกอบการไทย -------------------------------------------------------------------------*หัวหนางานวิจัยและวิชาการ กองวิชาการ ฝายนโยบายและแผน ททท. สงวนสิทธิ์ หามทําซ้ํา ทั้งหมด หรือบางสวน ไมวาในรูปแบบหรือสิ่งใด โดยไมไดรับ การอนุญาต จากการทองเที่ยวแหงประเทศไทย -1-


• ขาดการประสานงานระหวางหนวยงานที่เกี่ยวของ • ขาดขอมู ลที่ทัน เหตุ การณ และความรูความเขาใจที่ถู กตอ งในการบริห าร/จัดการ

ดานการทองเที่ยว • ปญหาการกอการรายในหลายภูมิภาคทั่วโลก ภัยคุกคาม • ภาวะเศรษฐกิจของตลาดสําคัญอยูในภาวะชะงักงัน เชน ญี่ปุน • ปญหาโรคซาร (รอบสอง) และปญหาไขหวัดนก • ตนทุนในการสงเสริมการทองเที่ยวสูงกวาแหลงทองเที่ยวคูแขงขัน • คูแขง ขันทางการทอ งเที่ยวมีจํานวนเพิ่ม มากขึ้นจากการเปดการคาเสรี ขณะที่ขี ด ความสามารถในการแขงขันของธุรกิจทองเที่ยวไทย โดยเฉพาะกลุมวิสาหกิจขนาด กลางและขนาดยอมยังอยูในระดับที่คอนขางต่ํา โอกาส • ตลาดทองเที่ยวระยะใกลของไทย เชน มาเลเซีย จีน มีการเติบโตสูง • นักทองเที่ยวภายในภูมิภาคมีการใชจายตอคนตอวันสูงกวาคาเฉลี่ย • เศรษฐกิจจีนขยายตัวตอเนื่อง ทําใหนักทองเที่ยวจีนมีกําลังซื้อสูงขึ้น • ที่ตั้งของไทยนับเปนศูนยกลางของอนุภาคลุมน้ําโขง ซึ่งเปนจุดสนใจของตลาด ดังนั้น จะเห็นไดวาประเทศไทยมีโอกาสที่คอนขางจะ ดีหากไมมีตัวแปรที่ไมสามารถจะควบคุมได เชน โรคซาร โรค ไขหวัดนก และการกอการราย อยางไรก็ดี การตัด ราคา หรือการขายในราคาต่ํ า แมวาจะทําใหมีจํานวนนักทองเที่ยวเพิ่มขึ้น แตกําไรที่ไดตอ หัวกลับต่ําทําใหมีเงินเหลือเพื่อการปรับปรุงฟนฟูทรัพยากร ที่ใช ไปน อย สง ผลตอ เนื่อ งให ทรั พ ยากรท องเที่ ยวที่ ถู ก ใช เสื่อมโทรมลง โดยสรุปจะเห็นไดวาจุดแข็ง จุดออน ภัยคุกคาม และโอกาสของประเทศไทยสวนใหญยัง คงเปนประเด็นเดิม ๆ ซึ่งหากจัดกลุมโครงสรางปญหาในอุตสาหกรรมทองเที่ยว อาจจัดได 4 กลุม ดังนี้ กลุมที่ 1 เปนปญหาในระดับนโยบาย อาทิ ปญหาในเรื่องการบริหารจัดการ ปญหาการบังคับ ใชก ฏหมาย ปญ หาความจํากัดของงบประมาณในการดําเนินงานทั้งดานการตลาดและการ พัฒนา กลุมที่ 2 เปนปญหาในระดับการบริหารจัดการ ซึ่งแบงออกไดเปน 3 กรอบปญหา ไดแก

สงวนสิทธิ์ หามทําซ้ํา ทั้งหมด หรือบางสวน ไมวาในรูปแบบหรือสิ่งใด โดยไมไดรับ การอนุญาต จากการทองเที่ยวแหงประเทศไทย -2-


*กรอบดานการพัฒนา ปญหาที่พบมีอาทิ ปญหาการพัฒนา/การอนุรักษสินคาการทอง เที่ยว ปญหาบริการทองเที่ยวและบุคลากร ปญหาความปลอดภัยของนักทองเที่ยว *กรอบดานการตลาด ปญหาที่พบ อาทิ ปญหาการสงเสริมการทองเที่ยว *กรอบดานการบริหารจัดการ ปญหาที่พบมีอาทิ ปญหาโครงสราง/กฎหมาย ปญหางบ ประมาณ ปญหาองคกรทองถิ่นยังขาดความเขมแข็ง กลุมที่ 3 เปนปญหาในระดับปฏิบัติการ ซึ่งมีปญหามากมายที่เกิดขึ้นเปนประจํา

สงวนสิทธิ์ หามทําซ้ํา ทั้งหมด หรือบางสวน ไมวาในรูปแบบหรือสิ่งใด โดยไมไดรับ การอนุญาต จากการทองเที่ยวแหงประเทศไทย -3-


GMS กับการสงเสริมการทองเที่ยว รุงทิพ วองปฏิการ* และ อาภารัตน กิตติจิรพงศ** ดวยความพยายามที่จะใหภาครัฐและเอกชนในกลุม แมน้ําโขง(Greater Mekong Subregion :GMS) รวมมือกันในดานการทองเที่ยวมากยิ่งขึ้น การทองเที่ยวแหงประเทศไทย (ททท.) จึง รวมกับสมาคมสงเสริมการทองเที่ยวภูมิภาคเอเชียแปซิฟก (PATA) ธนาคารเพื่อการพัฒนาแหง เอเชี ย (ADB) และคณ ะกรรมาธิ ก ารเศรษฐกิ จ และสั ง คมสํ า หรั บ ภู มิ ภ าคเอเชี ย แปซิ ฟ ก (UNESCAP) จัด Mekong Tourism Forum (MTF) ครั้งที่ 9 ขึ้น การประชุมนี้นับเปนเวทีสําคัญที่ทําใหผูเกี่ยวของสามารถแลกเปลี่ยนขอมูล ระดมความ คิ ด เห็ น ตลอดจนขอ เสนอ แนะในก ารปรั บ ปรุ ง แล ะ ส ง เสริ ม แหล ง ท อ งเที่ ย ว รวมทั้ ง กิ จ กรรมการท อ ง เที่ ย ว ข อ ง ก ลุ ม ป ร ะเท ศ สมาชิกอนุภูมิภาคลุมน้ําโขง (Greater Mekong Subregion : GMS) 6 ป ร ะ เ ท ศ อั น ประกอบด ว ยกั ม พู ช า ลาว พ ม า ไทย เวี ย ดนาม แล ะ มณฑลยูน นาน ใหเป น ที่ รู จักในตลาดโลกมากขึ้น ขอ สรุ ป รวมถึ ง ข อ เสนอแนะ ตางๆ ที่ไดจากเวทีนี้ ไดถู ก นําไป ประมวลวิเคราะห เพื่อรายงาน ตอคณะทํางานดานการทองเที่ยว GMS (GMS Tourism Working Group) และนําไป จัดทํากรอบในการวางแผนเพื่อสรางความรวมมือดานการทองเทีย่ ว ของกลุม GMS ทั้งในระยะสั้น ระยะกลาง และระยะยาว ขอเสนอแนะในระยะสั้นนั้นคาดวาจะสามารถดําเนินการไดในระยะ 12 เดือนขางหนานี้ และ สามารถรายงานใหทราบความคืบหนาไดในการประชุม MTF ครั้งที่ 10 ซึ่งมีกําหนดจัดใน เดือนมีนาคม 2548 ที่เสียมเรียบ กัมพูชา สวนขอเสนอแนะสําหรับการดําเนินการในระยะกลาง และระยะยาวจะตกผลึกและนําไปใชในการจัดทํากลยุทธดานการทองเที่ยวของกลุม GMS ตอไป ทั้งนี้ค าดวาคณะทํางานดานการทองเที่ยว GMS จะมีการพิจารณาและรับรางกลยุทธที่ไดรับ การสนับสนุนจาก ADB ในการประชุมครั้งที่ 10 ดวย เปนที่นาสนใจวาความคาดหวังที่ชัดเจนจากการจัดการประชุม MTF ในครั้งนี้ ไดทําใหตอง ทาทายทุกคนที่เกี่ยวของลองคิดและทบทวนการมีความรวมมือในเชิงปฏิบัติการในแงมุมตางๆ โดยเฉพาะในการ พัฒนาสินคาทางการทองเที่ยว การพัฒนาบุคลากรดานการทองเที่ยว การตั้ง -------------------------------------------------------------------------* หัวหนางานวิจัยและวิชาการ กองวิชาการ ฝายนโยบายและแผน **พนักงานประชาสัมพันธ 6 กองประชาสัมพันธในประเทศ ฝายโฆษณาและประชาสัมพันธ สงวนสิทธิ์ หามทําซ้ํา ทั้งหมด หรือบางสวน ไมวาในรูปแบบหรือสิ่งใด โดยไมไดรับ การอนุญาต จากการทองเที่ยวแหงประเทศไทย -1-


ชื่อ แหลงทองเที่ยวในเชิงการ คา (Destination Branding) และการจัด การการทอ งเที่ย วอยาง ยั่งยืนทั้งในมิติของธรรมชาติและวัฒนธรรม และเพื่อใหไดขอสรุปที่เต็มไปดวยสาระ จึงไดมีการ แบงกลุม เพื่อระดมความคิดเห็นเปน 3 กลุม เพื่อพิจารณา ในเรื่องของการปกปอง การวาง ตําแหนง และการสงเสริมการขายกลุม GMS ในปนี้มีหนวยงานและผูประกอบธุรกิจทองเที่ยวจากทั่วโลก รวมทั้งองคการสงเสริมการทอง เที่ยวของกลุมประเทศอนุภูมิภาคลุมน้ําโขง ตลอดจนองคกรระหวางประเทศตางๆ เขารวมงาน ประมาณ 300 คน โดยมีนายสนธยา คุณปลื้ม รัฐมนตรีวาการกระทรวงการทองเที่ยวและกีฬา เปนประธานเปดการประชุม การประชุมในปนี้ใหความสําคัญตอการหามาตรการการปองกันวิกฤตการณตางๆ ที่มี ผลกระทบตอการทองเที่ยวภายในอนุภูมิภาคลุมน้ําโขง ทั้งภัยคุกคามที่เกิดจากโรคระบาดและปจจัย ดานลบ อาทิ การกอการรายขามชาติ การวางตําแหนงยุทธศาสตรดานการแขงขันในตลาด โลก และการสงเสริมการทองเที่ยวใหเขมแข็งทั้งภายในและนอกภูมิภาค ภายใตแนวคิด “Protect, Position and Promote” โดยเนนการแสวงหาความรว มมือในระดับพหุภาคีเพื่อพัฒ นาการทอง เที่ยวและ การดําเนินการดานการตลาดรวมกันระหวางประเทศสมาชิก ในการประชุม MTF ครั้งที่ 9 นี้ ที่ประชุมมีขอเสนอแนะที่นําไปสูการจัดทําแผนเชิงกลยุทธ ภายใตแนวคิดขางตนทั้งในระยะสั้น ระยะกลาง และระยะยาวซึ่งประเทศสมาชิกจะตองเพิ่มความ รวมมือกันอยางแข็งแกรงมากขึ้น การที่ทุกประเทศมีความเห็นพองกันวา กลุม ประเทศอนุภูมิภาคลุม น้ําโขงเปนจุดหมาย ปลายทางที่มีศักยภาพสูงทางการทองเที่ยว ดวยมีความโดดเดนดานโบราณสถาน โบราณวัตถุ และศิลปวัฒนธรรม จึงไดพุงเปาไปที่การทําการตลาดรวมที่จะตองมีการดําเนินการในระดับที่ เข ม ข น มากขึ้น ทั้ ง นี้ ป ระเทศไทยได รั บ มอบหมายให เป น แกนนํ าในการทํ าการตลาดในต า ง ประเทศ ขณะเดียวกันการดําเนินการในเรื่องของการสงเสริม การขาย รวมทั้งการวิจัย และ พัฒนาบุคลากรดานการทองเที่ยวของประเทศสมาชิก ก็เปนประเด็นที่ไดรับความสนใจเปนอยาง มากเชนกัน สาระสําคัญสามารถสรุปไดดังนี้ 1. ระยะสั้น 1.1 สนับสนุนการจัดการและประสิทธิภาพของ Agency for Co-ordinating Mekong Tourism Activities : AMTA โดย • ใหการทองเที่ยวของแตล ะประเทศจัดหาเงินประมาณ 15,000 เหรียญสหรัฐ (ระยะ เวลา 2 ป) • จัดตั้ง AMTA ใหเปนองคกรที่ถูกตองตามกฎหมายในประเทศไทย • ใหการทองเที่ยวแหงประเทศไทย (ททท.) จัดหาพื้นที่และอุปกรณให

สงวนสิทธิ์ หามทําซ้ํา ทั้งหมด หรือบางสวน ไมวาในรูปแบบหรือสิ่งใด โดยไมไดรับ การอนุญาต จากการทองเที่ยวแหงประเทศไทย -2-


• จัดจางผูชวยและผูจัดการมืออาชีพ • มอบหมายใหพ นัก งานของหนวยงานในแตล ะประเทศ ชว ยผูจัดการในการดําเนิน การตามแผนปฏิบัติก ารใหบ รรลุ เปาหมายตามตัวชี้วัดที่กําหนดไว • จัด ตั ้ง คณ ะกรรมการที ่ป รึก ษาโดยมี PATA เปน ประธาน เพื่อกําหนดตัว ชี้วัด เปาหมาย และวัตถุประสงคของ AMTA • จัดประชุมในกลุมประเทศสมาชิกทุกๆ 3 เดือน โดยมีผู จัด การ AMTA และพนัก งานที ่ป ระสานงานในกิจ การของ AMTA เพื ่อ รายงานเรื่อ งตา งๆ รวมถึง ความคืบ หนาตา งๆ ตามตัวชี้วัดที่กําหนดไว 1.2 ปกปอง • สนับสนุนใหเขตปกครองทองถิ่นที่เกี่ยวของในลาวและกัมพูชา มีการประชุมรวมกันใน เรื่องการปกปองและ จัดการปลาโลมาในแมน้ําโขงอยางมีความรับผิดชอบ • จัด เตรีย มกรณีศ ึก ษาเกี่ย วกับการสื่อสารในเรื่อ งการทองเที่ย ว และ การปกปอ ง ทรัพยากรของผูเกี่ยวของในลาวและเวียดนาม • เตรียมและจัด “โครงการฝก อบรมดานการจัดการการทองเที่ยวและทรัพยากรที่มี ระยะเวลา 2 สัปดาห” ใหกับเจาหนาที่อาวุโสที่ดูแลรับผิดชอบในการวางแผนและพัฒนาการ ทองเที่ยว • พัฒนาหลักสูตรเกี่ยวกับการทองเที่ยวเชิงนิเวศและการทองเที่ยวที่เนนชุมชนเปนหลัก • ศึก ษาการประเมินความตองการการฝก อบรมเพื่อการวางแผนและพัฒนาการทอง เที่ยวในกลุม GMS ใหเสร็จสมบูรณ • ประเมินความเปน ไปไดในการออกใบรับ รองใหกับ บริษัท จัด นํา เที่ยว และจัดเตรีย ม Concept Paper • รวบรวมการดําเนินการ/วิธีปฏิบัติที่ดี ในเรื่องการทองเที่ยวอยางมีความรับผิดชอบ เปนกรณีศึกษา และเผยแพรใหภาครัฐและเอกชนทราบ รวมทั้งมีการจัด Workshop • เชิญเจาหนาที่ที่ดูแลมรดกทั้งดานวัฒนธรรมและธรรมชาติรวมการประชุม MTF ครั้ง ที่ 10 • จัดทํา Position Paper เรื่องการสื่อสารในประเด็นที่เกี่ยวกับการทองเที่ยวกับสื่อ • เผยแพรกรณีศึกษาที่ไดจาก LEAP Program 1.3 วางตําแหนง

สงวนสิทธิ์ หามทําซ้ํา ทั้งหมด หรือบางสวน ไมวาในรูปแบบหรือสิ่งใด โดยไมไดรับ การอนุญาต จากการทองเที่ยวแหงประเทศไทย -3-


• สมาชิก GMS เห็นวา “Mekong Region” เปน ชื่อ ที่อุตสาหกรรมทองเที่ยวโลกและนัก ทองเที่ยวรูจักแลว ฉะนั้นในเบื้องตนนี้ จึงเห็นควรให AMTA ทําการศึกษาวิจัยเพื่อตรวจสอบ สมมติฐานดังกลาว 1.4 สงเสริม • Database Marketing โดย -รวบรวมขอมูลที่สําคัญเกี่ยวกับ MICE Organizers -จัดขอมูลจําแนกเปนประเภท -จัดสงจดหมายขาว ปรับปรุงสินคาใหทันสมัย เปนตน ตามเวลาที่กําหนดไว -เสนอการบริการแจกจายขอมูลที่จัดประเภทไวเรียบรอยแลวแกภาคเอกชน • E-Marketing โดย -ทําใหเว็บไซดทันสมัยอยูเสมอ -เพิ ่ม การเชื่อ มโยงกับ หนว ยงานการทอ งเที ่ย วของแตล ะประเทศ PATA ADB และ UNESCAP -เพิ่มเติมขอมูลในเรื่องปฏิทินงานเทศกาล/กิจกรรมตางๆ 2. ระยะกลางและระยะยาว 2.1 ปกปอง • มีการประเมินเกี่ยวกับความเปนไปไดในการออกใบรับรองใหกับมัคคุเทศกทองถิ่น • จัดทํา Briefing Paper และหลักสูตรการฝกอบรมเรื่องความสามารถในการรองรับเพื่อ การจัดการสถานที่ทองเที่ยวซึ่งเปนมรดกทางดานวัฒนธรรมและธรรมชาติ • จัดทํากลยุทธเพื่อใหเกิดความเขาใจระหวางผูเกี่ยวของตางๆ • ปรับเทคนิค ของประเทศอื่นๆมาใชในการจัดการทรัพ ยากรทางธรรมชาติและสิ่งที่ตก ทอดสูรุนปจจุบันของกลุม GMS • จัดทํากลยุทธเพื่อยกระดับความตระหนักรับรูของภาคเอกชนในการจัดการสิ่งที่ไดตก ทอดมาสูรุนปจจุบัน • ทํางานรวมกับหนวยงานดานวัฒนธรรมและ ธรรมชาติใ นการบังคับใชมาตรการเพื่อ รักษามรดกที่มีไวใหได • จัดทํา Concept Paper และหลัก สูต รการฝก อบรมเพื่อใหมั่นใจวากิจ กรรมทางวัฒ น ธรรม และธรรมชาติยังคงความเปนตัวตนที่แทจริง มิไดถูกปรุงแตงจนบิดเบือนไป • จัดทํากลยุทธทางการตลาดที่เคารพตอการรักษามรดกที่สืบทอดมา • ศึก ษาวิจัย ในเรื่อ งความตอ งการของนัก ทอ งเที่ยวทั้ง ในประเด็น ที่เกี่ย วกับ ประสบ การณ ในทางวัฒนธรรมและธรรมชาติ สงวนสิทธิ์ หามทําซ้ํา ทั้งหมด หรือบางสวน ไมวาในรูปแบบหรือสิ่งใด โดยไมไดรับ การอนุญาต จากการทองเที่ยวแหงประเทศไทย -4-


• ประเมินและกําหนดวิธีในการรักษาระดับของรายไดที่เกิดจากการทองเที่ยวเชิงวัฒน ธรรม • พัฒ นาเทคนิค การจัด การเพื่อสรางความมั่นใจวาระบบของการแบง คาธรรมเนีย ม การเขาชมใหกับแหลงทองเที่ยวมีความโปรงใส • จัด ทํา Concept Paper และหลัก สูต รการฝก อบรมที ่ใ หค วามสํา คัญ กับ การลดผล กระทบทางลบของการทองเที่ยวที่มีตอชุมชนโดยรอบ 2.2 วางตําแหนง • สนับสนุนการเดินทางทองเที่ยวภายใน GMS • สนับสนุนการเดินทางทองเที่ยวระหวาง GMS กับภูมิภาคอื่นๆ • จัดทําโครงการเพื่อจัดทําฐานในการวัดความสําเร็จในการชักจูงใหมีก ารเดินทางทอง เที่ยวระหวางภูมิภาค • แกไขปญหาในการเดินทางขามแดนของคนในบังคับของประเทศเพื่อนบาน • พิจารณาโอกาสที่จีนจะเปนตลาดสําคัญสําหรับกลุม GMS • ตองดําเนินการในเรื่องตอไปนี้เพื่อการวางตําแหนงในอนาคตสําหรับการเดินทางทอง เที่ยวระหวางภูมิภาค คือ -พัฒนาระบบในการอํานวยความสะดวกเรื่อง Visa-on-arrival -ปรับปรุงโครงสรางภาษีชายแดนใหซับซอนนอยลง -ศึกษาโอกาสที่อินเดียจะเปนตลาดสําคัญสําหรับกลุม GMS • พิจารณาในประเด็นตอไปนี้ในการที่จะจัดทําแนวคิดในการวางตําแหนง เพราะสมาชิก ตระหนักดีวาโอกาสในการแขงขันของกลุม GMS จะเกิดขึ้นไดถา -ทําใหการเดินทางทองเที่ยวภายในภูมิภาคสะดวก -วางนโยบายที่จะรัก ษาไวซึ่งจุดแข็งของแตล ะวัฒนธรรม/บูรณภาพของผูค นที่แ ตก ตางกัน -กําหนดขอผูกพันโดยรวมเพื่อการทองเที่ยวที่มีคุณภาพ -เชื่อมโยง Mekong Style กับศิลปะ วัฒนธรรม และอาหารแมจะมีความแตกตางกัน • อาจกําหนดแนวคิดหลัก ในการวางตําแหนงทางการตลาดสําหรับ GMS ในอีก 10 ป ขางหนา เปน “celebrating GMS lifestyles and cultural diversity.” • เนนไปที่งานเทศกาลและการเฉลิม ฉลองในการดําเนินการตลาดแนวใหมของ GMS ดว ยภาพของกลุม GMS ที่มีตอเนื่องยังคงเปนในเรื่องของความสงบ ความรว มมือ และการ เฉลิมฉลอง เชน -Special annual events that cross borders -Special events that gather decision-makers สงวนสิทธิ์ หามทําซ้ํา ทั้งหมด หรือบางสวน ไมวาในรูปแบบหรือสิ่งใด โดยไมไดรับ การอนุญาต จากการทองเที่ยวแหงประเทศไทย -5-


-Special events that move around the Mekong countries covering popular aspects of life-style เชน กีฬา (ฟุตบอล) เทศกาลอาหาร เทศกาลดนตรี และแรลลีรถ เปนตน • นําเสนอสิ่งที่กลาวไปขางตนในการไปรวม Trade Show • ใหความสําคัญกับการสรางขีดความสามารถในการแขงขันในเชิงวัฒนธรรมของกลุม GMS ดวยโดยผนวกกับการเฉลิมฉลองในเรื่องวิถีชีวิต ภาพยนตร ศิล ปะ และดนตรี เปนตน โดยใช Online ดวยนอกเหนือไปจากการทําการตลาดแบบเดิม • ใช “แมน้ําโขง” เปนตัวเชื่อมโยงความหลากหลายของ GMS • วางตําแหนงดานอุปทานของกลุม GMS ภายใตแนวคิด “Making Travel Easier” • เชื่อมโยงการจัด MTF กับงาน/เทศกาลเฉลิม ฉลองเพื่อเพิ่มความนาสนใจใหมีมากขึ้น รวมทั้งเพื่อใหเวทีนี้เปนที่หารือกันระหวางบริษัทจัดนําเที่ยวและหนว ยงานการทองเที่ยวของ แตละประเทศ 2.3 สงเสริม • ประชาสัมพันธ -เคมเปญในระดับรากหญาโดยใชความเปนบานพี่เมืองนอง -ใชผูมีชื่อเสียงตามการเปดตัวของภูมิภาค -ทํางานรวมกับคณะกรรมการภาพยนตรของประเทศสมาชิกใน GMS • ขายตรง -ทําใหหนวยงานการทองเที่ยวในกลุม GMS รูจักสินคาทางการทองเที่ยวของกลุม -สนับสนุน Trade และ MICE Tradeshow -เพิ่มแหลงทองเที่ยวของ GMS ในกําหนดการสําหรับ Fam. Trip ที่หนวยงานการทอง เที่ยวจัด • กําหนดตราสินคา -ปลอย Jewels of the Mekong สูตลาดอีกครั้ง -เนน Sub-brands ไปที่ธรรมชาติ วัฒนธรรม และความยวนใจ -ใชเทศกาลตางๆ ของ GMS เปนเครื่องมือในการกําหนดตราสินคา โดยสรุป อาจกลาวไดวาการรว มมือกันของกลุม GMS มีความชัดเจนมากขึ้นเปนลําดับ โดยเฉพาะในการสงเสริมการตลาดในลักษณะของ “Single Destination” การทําการตลาดทอง เที่ยวของกลุม ประเทศอนุภูมิภ าคลุม น้ําโขงในระยะตอ ไปจะไมเนนการขายประเทศใดประเทศ หนึ่งเพียงตลาดเดียว แตจะเสนอขายการทองเที่ยวเปนกลุมประเทศ โดยใชจุดดึงดูดจากความ เปนกลุมประเทศลุมน้ําโขงที่มีศักยภาพดานแหลงทองเที่ยว โดยเฉพาะแหลงทองเที่ยวประเภท ธรรมชาติแ ละวั ฒ นธรรมมาเป นจุด ขายหลัก และอาศั ยประโยชนจ ากการที่ แ ตล ะประเทศมี พรมแดนติดตอกัน แนวทางการสงเสริมการขายเบื้องตนอาจดําเนินการโดยการปรับปรุงและ พัฒนาเว็บไซด “Mekong-tourism” ที่มีอยูแลวใหสามารถเขาถึงไดงายและมีความทันสมัยมากขึ้น สงวนสิทธิ์ หามทําซ้ํา ทั้งหมด หรือบางสวน ไมวาในรูปแบบหรือสิ่งใด โดยไมไดรับ การอนุญาต จากการทองเที่ยวแหงประเทศไทย -6-


ซึ่ง อาจจะมีก ารเปลี่ย นชื ่อ เว็บ ไซดเปน experiencemekong visitmekong หรือ discoverymekong เว็บไซดนี้จะเปนตัวเชื่อมโยงและเผยแพรขอมูลของทุกประเทศ นอกจากนี้ จะมีการผลิตเอกสาร เผยแพรประเภทแผนพับตางๆ เพื่อใชในการประชาสัมพันธการทองเที่ยว รวมทั้งจะมีการเขา รวมงานสงเสริมการขายในระดับนานาชาติรวมกันดวย เปนตน ในสวนของการประชุมคณะทํางานสาขาการทองเที่ยวของกลุมประเทศลุมน้ําโขง ที่ประชุม ไดมี ม ติใหประเทศไทยเปนศูนยก ลางในการทําการตลาดภายในอนุภูมิภาค เนื่องจากมีความ พรอมและศักยภาพมากที่สุด โดยจะมีคณะทํางานที่เปนตัวแทนของแตละประเทศสมาชิกเขามา รวมทํางานดวย และเนนการสงเสริมการขายดาน e-Marketing ใหมากขึ้น เพื่อใหลูกคาสามารถ เขาถึงขอมูลไดอยางสะดวกยิง่ ขึ้น นอกจากนี้ ททท. จะใหการสนับสนุนในการจัดพื้นที่สําหรับการ สงเสริมการทองเที่ยวของกลุมประเทศลุมน้ําโขง ในการรวมงานสงเสริมการขายระดับนานาชาติ แตละครั้ง การที่ที่ประชุมมีฉันทามติรวมกันที่จะใหประเทศไทยคงภาระกิจหลักในการเปนศูนยประสาน งานดานการทองเที่ยวของกลุมประเทศลุมน้ําโขง (AMTA) ตอไป และใหจัดตั้งศูนย AMTA เปน องคกรอิสระที่จดทะเบียนอยางถูกตองตามกฎหมายในประเทศไทยดังที่กลาวแลวขางตน ทั้งนี้เพื่อ สงเสริมใหมีความรวมมือระหวางประเทศสมาชิกเพิ่มมากขึ้นผานศูนยประสานงาน AMTA นั่น เอง สวน ADB จะใหการสนับสนุนในเรื่องของการศึกษาวิจัย และ ใหคําปรึกษาในการพัฒนาระบบ สาธารณูป โภคทางการทองเที่ยว อาทิ การสรางถนนเชื่อมโยง การสรางทาเรือ การปรับปรุงทา อากาศยานในเมื องหลักทางการทองเที่ยวของประเทศสมาชิก ขณะที่ PATA เสนอแนะใหก ลุ ม ประเทศลุมน้ําโขงเพิ่มความเขมขนในการทําการวิจัยและการพัฒนาดานการทองเที่ยวใหมากยิ่ง ขึ้นรวมทั้งการจัดฝกอบรมพัฒนาบุคลากรเพื่อสงเสริมทักษะดานการบริการการทองเที่ยว โดยให ประเทศสมาชิกที่มีความพรอมและองคกรระหวางประเทศที่เกี่ยวเนื่องกับการทองเที่ยวทําหนาที่ สนับสนุนในสวนนี้ นอกจากนี้ จะมีการสงเสริมใหภาคเอกชนดานการทองเที่ยวอาทิ บริษัทนําเที่ยว สายการ บิน โรงแรม บริษัทรถเชา และบริษัทเดินเรือ เปน เขามามีสวนรวมมากขึ้นโดยเฉพาะใน Mekong Tourism Forum ขอคิดเห็นที่นาสนใจจากวิทยากร • ปจจัยสําคัญในการพัฒนาการทองเที่ยวในอนุภูมิภาคนี้ คือ ความพรอมของโครงสรางพื้นฐานดานการขนสง อาทิ เสนทาง คมนาคมและสถานพักแรม เปนตน รวมถึงการพัฒนาคุณภาพ ดานการบริการใหสามารถแขงขันกับตลาดโลกได • ธุรกิจการใหบริการสายการบินตนทุนต่ํา และศักยภาพของ ตลาดนักทองเที่ยวจีน จะเปน ปจ จัย สงเสริม สําคัญ ที่ทําใหอุต สงวนสิทธิ์ หามทําซ้ํา ทั้งหมด หรือบางสวน ไมวาในรูปแบบหรือสิ่งใด โดยไมไดรับ การอนุญาต จากการทองเที่ยวแหงประเทศไทย -7-


สาหกรรมการเดินทางทองเที่ยวในกลุมประเทศลุม น้ําโขงมีการขยายตัวอยางรวดเร็วในระยะ ตอไป • กลุม GMS ตองสงเสริมใหผูประกอบการขนาดกลางและขนาดยอมมีการพัฒนาและมีความรู ดานการทองเที่ยว รวมทั้งตองใหความสําคัญกับการพัฒนาดานทรัพยากรบุคคลดวยการสงเสริม ความรูดานการบริการ ในธุรกิจการทองเที่ยว ตลอดจนมีความรวมมือกันระหวางภาครัฐและภาค เอกชนในการพัฒนาอุตสาหกรรมดานการทองเที่ยว ความคืบหนาของการดําเนินงานที่สําคัญ • รัฐบาลไทยใหการสนับสนุนการพัฒนาโครงสรางพื้นฐานดานการขนสงเพื่อสงเสริมการเดิน ทางทองเที่ยวภายในภูมิภาคมากขึ้น โดยในวันที่ 1 เมษายน 2547 จะเปดใหมีบริก ารเดิน ทาง โดยรถยนตโดยสารสาธารณะไป-กลับ ระหวางไทยและลาวผา นสะพานมิต รภาพไทย-ลาว เปนครั้งแรกใน 2 เสนทาง คือ เสนทางหนองคาย–เวียงจันทนและเสนทางอุดรธานี–เวียงจันทน วันละ 2 เที่ยวในแตละเสนทาง สถิติการเดินทางเขาอนุภูมิภาคลุมน้ําโขงของนักทองเที่ยวระหวางประเทศ ป 2545-2546 ประเทศ ป 2545

ป 2546

กัมพูชา

786,526

701,014

ลาว

735,662

465,470 (ม.ค.–ก.ย.) พมา 217,212 205,610 ไทย 10,799,06 8,899,877 7 (ม.ค.–พ.ย.) เ วี ย ด 2,627,988 2,428,735 นาม ยูนนาน 1,304,000 1,001,000 รวม 16,206,90 13,700,80 7 6

อัตราการเติบโต (รอยละ) -10.87

หมายเหตุ

-7.58

เดิ น ท าง เข าท าง บ ก / น้ํ า / อากาศ เดิ น ท าง เข าท าง บ ก / น้ํ า / อากาศ เดินทางเขาทางอากาศ เดิ น ท าง เข าท าง บ ก / น้ํ า / อากาศ เดินทางเขาทางอากาศ

-23.28 -

เดินทางเขาทางอากาศ -

-16.00 -5.34 -8.88

ที่ ม า : การประชุ ม Mekong Tourism Forum (MTF) ครั้ ง ที่ 9 ณ โรงแรมเชอราตั น จั ง หวั ด เชียงใหม ระหวางวันที่ 26 - 28 มีนาคม 2547

สงวนสิทธิ์ หามทําซ้ํา ทั้งหมด หรือบางสวน ไมวาในรูปแบบหรือสิ่งใด โดยไมไดรับ การอนุญาต จากการทองเที่ยวแหงประเทศไทย -8-


สายการบินตนทุนต่ํา (Low Cost Airlines) และผลกระทบที่มีตอการทองเที่ยวขาเขา จิรา บัวทอง* ความเปนมา ธุ ร กิ จ สายการบิ น นั้ น ถื อ ได ว า เป น องค ประกอบที่ สํ า คั ญ องค ป ระกอบหนึ่ ง ของอุ ต สาห กรรมทองเที่ยวดวยมีรูปแบบการขนสงผูโดยสารที่ สะดวกรวดเร็ ว ประหยั ดเวลา และมีประสิ ทธิภาพ แต ห ลั งจ าก เกิ ด เห ตุ ก ารณ วิ น าศ ก รร ม 11 กันยายน ทําใหเกิดความซบเซาขึ้นกับธุรกิจการบินทั่วโลก สมาคมขนสงทางอากาศระหวางประเทศ (International Air Transport Association - IATA) เป ด เผยว า ในป 2544 สายการบิ น จํ านวนมาก ประสบกั บ การขาดทุ น มากกว า 18 พั นล านเหรี ย ญสหรั ฐ และ 13 พั นลา นเหรี ยญสหรั ฐ ในป 2545 เนื่องจากจํานวนผูโดยสารลดลงเพราะมีความหวาดวิตกในเรื่องของความปลอดภัย ประกอบ กับภาวะเศรษฐกิจที่ซบเซา ทําใหมีผลกระทบตอการทองเที่ยวและการเดินทางโดยเครื่องบิน ขณะที่ ตนทุนดําเนินการทางดานการบินกลับสูงขึ้นจากภาระคาใชจายดานการประกันภัย และ ระบบรักษา ความปลอดภัยที่เพิ่มขึ้นอยางมาก จึงสงผลใหธุรกิจสายการบินขาดทุนอยางหนัก ในขณะที่สายการบินใหญๆ ทั่วโลกประสบกับภาวะตกต่ํา โดยเฉพาะสายการบินยักษใหญใน อเมริกา สายการบินขนาดเล็ก ซึ่งใหบริก ารแบบประหยัดดวยตนทุนต่ํา ที่เรียกวา Low-cost Airlines หรือ Budget Airlines เชน Southwest Airlines JetBlue Airways และ AirTran Airways กลับสามารถอยู รอดและฟนฝาวิกฤตไปได รวมทั้งยังสามารถชิงสวนแบงตลาดของสายการบินใหญๆ ในสหรัฐฯ ได ดวย สายการบินขนาดเล็กที่ใหบริก ารแบบตนทุนต่ําทั้งเกาและใหมตางเกิดขึ้นอยางมากมายในยุ โรปและเอเชีย โดยเฉพาะหลังจากที่เกิดการระบาดของโรคซารส ซึ่งทําใหสายการบินใหญๆ ไดรับผล กระทบอยางหนักอีกครั้ง และประสบกับการขาดทุนอยางมาก เนื่องจากตองใชเงินในการทําตลาดและ ---------------------------------------------------------------------------*นักวิชาการทองเที่ยว 4 งานวิเคราะหสถานการณตลาดตางประเทศ กองวิชาการ ฝายนโยบายและ แผน การทองเที่ยวแหงประเทศไทย

สงวนสิทธิ์ หามทําซ้ํา ทั้งหมด หรือบางสวน ไมวาในรูปแบบหรือสิ่งใด โดยไมไดรับ การอนุญาต จากการทองเที่ยวแหงประเทศไทย -1-


สงเสริมการขาย แตยังคงไดรายไดลดลงจากการลดราคาบัตรโดยสารเครื่องบินเพื่อจูงใจผู โดยสาร ขณะที่คาใชจายกลับมีมากขึ้น ในชว งนี้เองสายการบินแบบตนทุนต่ําจึงเริ่มไดรับความนิยม เพิ่มขึ้นทั้งจากผูลงทุนและผูใชบริการเพราะคาโดยสารเครื่องบินประหยัดกวา รวมทั้งเหมาะสมกับ สภาวะเศรษฐกิจในปจจุบัน

ลักษณะของสายการบินตนทุนต่ํา สายการบินตนทุนต่ํามีรูปแบบการบริการที่แตกตางจากบริการของสายการบินใหญๆ เพื่อ ใหสอดคลองกับสถานการณเศรษฐกิจ และทัศนคติของผูบริโภคที่เปลี่ยนไป ลักษณะสําคัญๆ มีดังนี้ 1. ราคาบัตรโดยสารเครื่องบินของสายการบินประเภทนี้ต่ํากวาบัตรโดยสารชั้นประหยัด ของสายการบินใหญๆ ประมาณ 40-50 % 2. ใหบริการแบบ Single Economy Class คือมีบริการที่นั่งเฉพาะชั้นประหยัด 3. ใหบริการเสนทางบินไมไกลนัก สวนใหญมักใชเวลาบินไมเกิน 3-4 ชั่วโมง 4. สวนใหญจะไมมีบริการอาหารและเครื่องดื่มใหแกผูโดยสารบนเครื่องบิน หากผูโดยสาร ตองการ ก็สามารถซื้อไดจากพนักงานในราคาพิเศษ ซึ่งวิธีนี้จะชวยลดภาระงานและจํานวนพนักงาน ตอนรับบนเครื่องบินได 5. เนนบริการขึ้นและลงจอด ณ สนามบินระดับรอง ไมใชสนามบินที่เปนศูนยกลางการ บินหลักๆ ระหวางประเทศ (Hub) ทําใหตนทุนคาใชสนามบินต่ํากวา ไมวาจะเปนคาธรรมเนียมขึน้ –ลง จอด และการใชพื้นที่จอดเครือ่ งบิน 6. มักใชเครื่ องบินโดยสารเพียงรุ นเดียวหรือแบบเดี ยว ในการใหบริก ารเพื่อประหยัดค า บํารุงรักษา (สวนใหญ คือ Boeing 737 Commercial Jet) ตลอดจนคาใชจายฝกอบรมนักบิน เพราะ การใชเครื่องบินนอยรุนทําใหประหยัดคาอะไหล/อุปกรณ และงายตอการดูแลรักษา นอกจากนี้ ยัง อาจไดรับสวนลดในการสั่งซื้อจากบริษัทผูผลิตเครื่องบินเมื่อเหมาซื้อเครื่องบินแบบและรุนเดียวกัน ทั้งฝูงบิน 7. มีการพัฒนาระบบการจอง และ การขายบัตรโดยสารของสายการบินเองโดยไมผานตัว กลางหรือตัว แทนจําหนาย เพื่อลดคาใชจายตางๆ เชน คาคอมมิส ชั่ น เป น ต น ส วนใหญ เป นการขายบั ตรโดยสารผ านทางอินเตอร เน็ ต (eticketing) หรือทางโทรศัพท (Call Center) นอกจากนี้ เพื่อประหยัดคาใช จายในการพิมพและคากระดาษ สายการบินมีการออกบัตรโดยสารแบบ Ticketless คือ ไมมีการออกบัตรโดยสารเปนกระดาษให แตจะบอกรหัส บัตรโดยสารใหผู โดยสาร เมื่ อ Check-in ผูโดยสารเพี ยงแต บอกรหั ส และแสดงบัตรประจําตัวประชาชนใหเจาหนาที่ตรวจสอบเทานั้น

สงวนสิทธิ์ หามทําซ้ํา ทั้งหมด หรือบางสวน ไมวาในรูปแบบหรือสิ่งใด โดยไมไดรับ การอนุญาต จากการทองเที่ยวแหงประเทศไทย -2-


8. ไมมีการบริการภาคพื้นดิน เชน ไมมีหองรับรองพิเศษ (VIP Lounge) ไมมีบริการจัดสง หรื อ ถ ายโอนสั ม ภาระเลยเส น ทางบิ น หรื อ จุ ดหมายปลายทาง (No Baggage Transferring Service) แตอ าจมีบ ริก ารตามความตอ งการของผูโดยสาร เชน ห องรับรอง รถรั บส งจากสนามบิ นไปยั ง เมืองปลายทาง โดยผูโดยสารตองเสียคาใชจายเพิ่มเติม

สายการบินตนทุนต่ําและเสนทางการบินที่เปดในภูมิภาคเอเชียแปซิฟก แอรเอเชีย (Air Asia) แอร เอเชียมีบริ ษัท แม อยู ในประเทศมาเลเซี ย มี ก ารขยายฐานธุรกิจ โดยการรว มทุนกับชิ น คอรปเปดสายการบิ นในประเทศไทยโดยใชชื่อว า บริ ษั ท แอร เอเชีย เอวิเอชั่น จํา กัด และใช Boeing 737-300 เพียงรุนเดียวมีความจุ 148 ที่นั่ง แอรเอเชียมีการเปดเสนทางการบินทั้งในประเทศมา เลเซียและไทย รวมทั้งเสนทางการบินระหวางประเทศ เชน ไทยและสิงคโปร ในเร็วๆ นี้ แอรเอเชียจะมี การรวมทุนกับประเทศสิงคโปร ซึ่งขณะนี้อยูในระหวางการสรรหาผูลงทุนรวม ในสวนของแอรเอเชียประเทศไทย สํานักงานคณะกรรมการสงเสริมการลงทุน (BOI) ไดยก เวนภาษีรายไดนิตบิ ุคคลรอยละ 30 และอากรนําเขาเครื่องจักรตางๆ ที่ใชประกอบการเปนเวลา 8 ป เพื่อสงเสริมการลงทุน ทั้งนี้การลงทุนของแอรเอเชียในประเทศไทยจะกอใหเกิดการจางแรงงานไทย 279 คน สวนราคาบัตรโดยสารเครื่องบินที่ขายจะถูกกวาทองตลาดรอยละ 20-50 สายการบินมี การเปดตัวอยางเปนทางการเมื่ อเดือนมกราคมที่ผ านมาดวยการกํ าหนดราคาเริ่ มตนที่ 99 บาท จํานวน 40,000 ใบ และตอ งเดิ นทางใหเสร็ จสิ้ นภายในเดื อนกุ ม ภาพั นธ ซึ่ งได รับความสนใจจาก ประชาชนเป นจํานวนมาก ราคาดังกลาวนี้ไมรวมภาษีมูล คาเพิ่ม ภาษีส นามบิน ค าประกั น และค า ธรรมเนียมในการออกบัตรโดยสาร แอรเอเชียคาดวาจะคุมทุนภายในระยะเวลา 8-10 เดือน และไดวางแผนขยายเสนทางการบิน เปน 3 ระยะ คือ ในระยะแรกเปนการเปดตัว เสน ทางการบิน 4 เสนทาง ระยะที่ 2 จะเพิ่ ม เส นทาง การบิ น ที ่ ม ี ศ ั ก ยภาพทั้ ง ในและนอกประเทศโดยเริ่ ม บินไปยังพมา จี น และเวี ย ดนามในชว งเดื อน มีนาคม/เมษายน สว นในระยะที่ 3 จะเป ดเที่ยวบินที่ ไมมี ใครบิ นมาก อน แต จ ะมีราคาสู งกว าปกติ สําหรับเสนทางการบินมายังประเทศไทยมีดังนี้ • สิงคโปร–กรุงเทพฯ เปนเสนทางที่เปดใหมในเดือนกุมภาพันธ โดยมีเพียง 1 เที่ยวบินตอวัน มี ราคาเริ่มตนที่ 59.99 เหรียญสิงคโปร หรือประมาณ 1,300 บาท ไมรวมภาษีสนามบิน • กัวลาลัมเปอร–ภูเก็ต ราคา 89.99 ริงกิต หรือประมาณ 962 บาท โดยมีเพียง 1 เที่ยวบินตอ วัน

สงวนสิทธิ์ หามทําซ้ํา ทั้งหมด หรือบางสวน ไมวาในรูปแบบหรือสิ่งใด โดยไมไดรับ การอนุญาต จากการทองเที่ยวแหงประเทศไทย -3-


• ยะโฮรบ ารู–กรุงเทพฯ ราคา 99.99 ริ งกิต หรือประมาณ 1,068 บาท ในระหว างวันที่ 2 กุมภาพันธ–27 มีนาคม 2547 โดยมีเพียง 1 เที่ยวบินตอวัน ∗∗ • กั ว ลาลั ม เปอร–อะลอ สตาร (หาดใหญ ) มี 2 เที่ ยวบิ น ต อ วั น โดยผู โดยสารต องนั่ ง รถ โดยสารเขาไปที่หาดใหญ ใชเวลาประมาณ 90 นาที

นกแอร (Nok Air) การบินไทยได ประกาศตัวผูถือหุนสายการบิน ตนทุนต่ํา โดยตกลงจะใชชื่อวา นกแอร (Nok Air) ซึ่งมีนายพาที สารสิน เปนประธานเจาหนาที่บริหารของบริษัท (CEO) โดยมีผูรวมทุน คือ การ บินไทย ทิพยประกันภัย และสํานักงานทรัพยสินสวนพระมหากษัตริย มีเงินทุนจดทะเบียนประมาณ 500 ลานบาท นกแอรเริ่มดําเนินการในไตรมาสที่ 2 ของป 2547 โดยใชเครื่องบิน B737-400s จํานวน 3 ลําน และเริ่มต นให บริก ารใน 6 เสนทางหลัก ในประเทศ คือ ภูเก็ต เชี ยงใหม อุดรธานี ขอนแกน พิษณุโลก และหาดใหญ สวนเสนทางระหวางประเทศซึ่งจะเปนเสนทางที่ใชเวลาบินภายใน 3 ชั่วโมงจากกรุงเทพฯ มีกําหนดเปดดําเนินการในป 2548

One Two Go by Orient Thai เปนสายการบินตนทุนต่ําของ Orient Thai โดยมีความมุงหวังที่จะแขงกับแอรเอเชีย และใชกล ยุทธท างการตลาดในการเป นสายการบิ นของคนไทยเพื่ อคนไทย One Two Go ใชเครื่อง Boeing 757-200s ซึ่งมี ค วามจุประมาณ 200 ที่นั่ง มีเสนทางหลัก คื อ กรุ งเทพฯ–เชี ยงใหม ในราคา 1,400 บาท และเสนทางใหมอีก 2 เสนทาง คือ กรุงเทพฯ–เชียงราย และ กรุงเทพฯ–หาดใหญ โดย ราคาบัตรโดยสารจะถูกกวาของการบินไทย 30%

Virgin Blue Airlines Virgin Blue เปนสายการบินต นทุน ต่ําของประเทศออสเตรเลีย สว นใหญ ให บริก ารเส นทาง การบิ นในประเทศออสเตรเลี ย และกําลั งขยายเสนทางไปยังนิว ซีแลนด ทางสายการบิ นคาดว าได กําไรเพิ่มขึ้นรอยละ 36 หรือประมาณ 150 ลานเหรียญออสเตรเลียในสิ้นเดือนมีนาคม 2547

Lion Air Lion Air ของอินโดนิเชียเริ่มดําเนินการมาตั้งแตป 2542 โดยกอนหนานี้บริษัทดําเนินธุรกิจ นํ าเที่ ยวมาถึ ง 13 ป และไดยื่ น ขอเป ด สายการบิ น ดั งกล า วต อ รั ฐบาล เพราะหลั งจากเกิ ด ภาวะ เศรษฐกิจถดถอยซึ่งสงผลกระทบตอสายการบินตางๆ Lion Air จึง มีความคิดที่จ ะใหบริการเที่ยว บินซึ่งมีคาใชจายต่ํากวา สายการบินอื่นโดยเนนกลุมผูโดยสารระดับกลางถึงระดับลาง เริ่มแรกเปน

สงวนสิทธิ์ หามทําซ้ํา ทั้งหมด หรือบางสวน ไมวาในรูปแบบหรือสิ่งใด โดยไมไดรับ การอนุญาต จากการทองเที่ยวแหงประเทศไทย -4-


การเปดบริการเฉพาะเที่ยวบินในประเทศ ตอมามีการขยายเสนทางจากจาการตาไปยังกัวลาลัมเปอร โฮจิมินห ซิตี้ สิงคโปร และจากเดนปาซาร (บาหลี) ไปยังสิงคโปร รวมถึงสิงคโปรไปยังโฮจิมินห ซิตี้ และจากเมดานไปยังปนัง

Tiger Airlines Singapore Airlines มีแ ผนในการลงทุนจัดตั้งสายการบินตนทุนต่ําโดยรวมกับ Ryan Air ซึ่ง เปนสายการบินตนทุนต่ําในยุโรป Singapore Airlines ถือหุนรอยละ 49 ขณะที่ Ryan Air ถือหุนรอย ละ 16 สวนอีกรอยละ 11 รัฐบาลสิงคโปรเปนผูถือหุน และอีกรอยละ 24 มี Indigo Investment ซึ่ง David Bonderman ประธานของ Ryan Air และ Bill Franke เปนผูถือหุน คาดวาจะเริ่มดําเนินการไดใน ชว งกลางป 2547 โดยจะมีเสนทางการบินไปยังฮองกง ไทย บาหลี อินเดีย และตอนใตของจีน ซึ่ง เปนเสนทางบินที่ไมเกิน 4 ชั่วโมง การบริห าร/จัดการสายการบินจะแยกจากสายการบินหลัก สวน ในด านเทคนิคและความรู ดานการจัดการต างๆ จะเป นความร วมมือ จาก Ryan Air เนื่องจากการ บริห ารสายการบินตนทุนต่ํา มีความแตกตางอยางมากจากสายการบินธรรมดา และเปนการยากที่ จะบริหารงานทั้ง 2 ระบบไปพรอมๆ กัน จึงจําเปนตองมีผูเชี่ยวชาญพิเศษในดานนี้เขามารวมดวย นอกจากนี้ สิงคโปรจะมีการขยายสนามบินชางฮี เพื่อรองรับสายการบินตนทุนต่ําโดยเฉพาะ โดยจะมีการยกเวนหรือลดคาธรรมเนียมตางๆ เพื่อลดตนทุนการดําเนินงานของสายการบินตนทุน ต่ํา และยังเปนการสงเสริมใหประเทศสิงคโปรเปนศูนยกลาง (Hub) ทางการบินในเอเชียอยางแทจริง

ผลจากการเกิดสายการบินตนทุนต่ํา ผลดี

• กระตุนใหนักทองเที่ยวมีการเดินทางโดยเครื่องบินมากขึ้น และขยายเสนทางทองเที่ยวไดกวางขวางขึ้น โดยเฉพาะนัก ทองเที่ยว จากมาเลเซียซึ่ งมัก เดิ นทางเขาประเทศไทยจากดานทางบกที่อําเภอ หาดใหญเปนหลัก ราคาบัตรโดยสารเครื่องบินที่ถูกลงอยางมากจะ เป นตั วจู งใจใหนั กท องเที่ ยวเดิ นทางท องเที่ ยวไปยั งแหลง ทองเที่ ยว อื่ น ๆ เช น เชี ย งใหม แ ละภู เ ก็ ต มากขึ้ น แทนที่ จ ะท อ งเที่ ย วอยู ใ น กรุงเทพฯ เพียงอยางเดียว จึงเปนการกระจายนักทองเที่ยว และทํา ใหสะดวกสบายในการบินตรงมากขึ้น • ทําใหเกิดการขยายตัวของนัก ทองเที่ยวกลุมตางๆ มากขึ้น โดยเฉพาะตลาดนักทองเที่ยว ระดับกลางและระดับลางที่มีงบจํากัดในการเดินทาง รวมทั้งทําใหมีการขยายตัวในกลุมนักทองเที่ยว สงวนสิทธิ์ หามทําซ้ํา ทั้งหมด หรือบางสวน ไมวาในรูปแบบหรือสิ่งใด โดยไมไดรับ การอนุญาต จากการทองเที่ยวแหงประเทศไทย -5-


จากประเทศเพื่ อนบานและในภูมิ ภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต และเปนการสง เสริ มใหเมืองหลัก ใน ประเทศไทย เชน เชียงใหมและภูเก็ต รวมทั้งเมืองใหญอื่นๆ เปนศูนยกลางทางการบิน และเปนประตู สูประเทศเพื่อนบานอื่นๆ • เพิ่มความถี่ในการเดินทางมากขึ้น โดยนักทองเที่ยวมีโอกาสเดินทางไดบอยขึ้น จากเดิ ม อาจเดินทางเพียงปละ 1 ครั้ง ราคาบัตรโดยสารเครื่องบินทีถ่ ูกลงทําใหนักทองเที่ยวมีโอกาสเลือกเดิน ทางได มากกว า 1 ครั้ง ตอป โดยสงเสริมใหนักท อ งเที่ ยวมาเลเซีย และสิ งคโปรส ามารถเดินทางมา ประเทศไทยในชวงสุดสัปดาหไดงายขึ้น โดยเฉพาะการเดินทางเขาภูเก็ตและเชียงใหมซึ่งจะทําใหประเทศ ไทยมีจํานวนนักทองเที่ยวและรายไดโดยรวมมากขึ้น แตวันพักเฉลี่ยของนักทองเที่ยวสั้นลง • สงผลดีตอธุรกิจทองเที่ยวอื่นๆ เชน ตัวแทนจําหนายบริการทางการทองเที่ยว บริษัทจัด นํ าเที่ ยว และโรงแรมสามารถเสนอขายรายการนํ าเที่ ยวหรื อแพ็ก เกจได ห ลายรู ป แบบในราคาที่ ประหยัดหรือถูก ลง ซึ่งจะชวยสงเสริมการขยายตัวของภาคธุรกิจ เพราะเมื่อนักทองเที่ยวสามารถ ประหยัดค าใชจายในสวนของการเดิ นทาง ก็จะมีเงินในการใชจายเปนคาที่พัก คาอาหาร คาของที่ ระลึก และการจับจายใชสอยอื่นๆ ไดมากขึ้น นอกจากนี้ ยังทําใหเกิดการขยายตัวของธุรกิจโรงแรม เพิ่มขึ้นเพื่ อรองรับกระแสการเดินทางของกลุมนักทองเที่ยวระดับกลาง–ลาง โดยในป หนา โรงแรม 1-3 ดาว มีแนวโนมจะเติบโตมากขึ้น ทั้งดานอัตราการเขาพักเฉลี่ยและจํานวนโรงแรม ทั้งนี้ โรงแรม ในเครือ ACCOR มีนโยบายที่จะเปดโรงแรมระดับกลาง– ลางในเมืองทองเที่ยวหลั ก รองรับ เช น โคราชและขอนแกน เปนตน • ทําใหเกิดการแขงขันในภาคธุรกิจการบินและภาคการขนสงอื่นๆ มากขึ้นไมวาจะเปนรถไฟ หรือรถประจําทางทั้งในดานราคา คุณภาพ และการบริการ ซึ่งธุรกิจตางๆ ตองมีการปรับปรุง เปลีย่ น แปลง และพัฒนาประสิทธิภาพใหดีขึ้นอันจะสงผลดีตอผูบริโภคในการมีทางเลือกมากยิ่งขึ้น

ผลลบ • ทางเลือกทีม่ ากขึน้ ทําใหนักทองเที่ยวไทยเดินทางออกไปเที่ยวตางประเทศมากขึ้นกวาเดิม สวนนักทองเที่ยวตางประเทศที่เคยเดินทางมาประเทศไทยไดงาย เชน มาเลเซีย ซึ่งนิยมเดินทางโดย รถยนต/รถโดยสารมาไทย ก็สามารถเดินทางไปประเทศอื่นๆ ได เชน บรูไน หรือในเสนทางอื่นๆ เนื่องจากราคาคาบัตรโดยสารเครื่องบินถูกลงและมีความสะดวกรวดเร็ว ซึ่งอาจทําใหมีการดึงนัก ทองเที่ยวสวนหนึ่งไปจากประเทศไทยได

ขอเสนอแนะ

1. สายการบินตนทุนต่ําจะตองรักษาคุณภาพของการบริการใหได โดยจะตองใหขอมูลที่เปน จริงกับผูบ ริโภคเกี่ยวกับมาตรฐานความปลอดภัยของเครื่องบิน เทคนิคการขายและการโฆษณาจะตอง สงวนสิทธิ์ หามทําซ้ํา ทั้งหมด หรือบางสวน ไมวาในรูปแบบหรือสิ่งใด โดยไมไดรับ การอนุญาต จากการทองเที่ยวแหงประเทศไทย -6-


ตรงไปตรงมา ไมหลอก ลวงผูบริโภค การใหบริก ารตองตรงเวลา สะดวกสบาย มีประกันสําหรั บ การเดินทาง และใชกลยุทธดานราคาทีด่ ึงดูดใจตลอดไป 2. ใหระวังการถือโอกาสขึ้นราคาคาบริการของธุรกิจโรงแรมและบริษัทนําเที่ยวจากภาวะ เศรษฐกิจขาขึ้น และการสงเสริมการเดินทางของสายการบินตนทุนต่ํา ซึ่งจะทําใหเกิดผลเสียตอภาค ธุรกิจทองเที่ยวโดยรวม ดังนั้น สายการบินตนทุนต่ํา บริษัทนําเที่ยว และโรงแรมควรรวมมือกันทํา แพ็ก เกจราคาพิเศษ หรือเสนอขายการทองเที่ยวในรูปแบบใหมโดยอาจพิจารณาเจาะกลุมนักธุรกิจ หรือกลุมครอบครัว ซึ่งมีเวลาเดินทางทองเที่ยวชวงสั้นๆ แควันหยุดสุดสัปดาห ซึ่งจะทําใหมีก าร ขยายฐานลูก คาไดก วางขวางขึ้น โดยเฉพาะกลุม นัก ทองเที่ยวในวันหยุดสุดสัปดาห (Weekender) อันเปนการสงเสริมการทองเที่ยวอีกทางหนึ่ง 3. บริ ษัท ทาอากาศยานไทย จํ ากั ด (มหาชน) (ทอท.) และหน วยงานต างๆ ที่ เกี่ ยวของ ควรรวมกันพิจารณาการเปดพื้นที่ทาอากาศยานทั้งแหงเกาและแหงใหมเพื่อรองรับการใหบริการ ของสายการบินต นทุนต่ําที่จะขยายตัวมากขึ้น ในเอเชีย โดยจะตองคํานึงถึง การคิด คาธรรมเนีย ม และการใหบริการตางๆ ที่ตางไปจากสายการบินปกติอนื่ ๆ ทั้งนี้เพื่อใหสามารถแขงขันกับสิงคโปร และสนับสนุนใหไทยเปนศูนยกลางการบินและการทองเที่ยวในเอเชียไดอยางแทจริง ที่มา : เอกสารอางอิง จาก วารสาร Airport & Airline Aia Pacific และเว็บไซตของสายการบินตนทุน ต่ํา

สงวนสิทธิ์ หามทําซ้ํา ทั้งหมด หรือบางสวน ไมวาในรูปแบบหรือสิ่งใด โดยไมไดรับ การอนุญาต จากการทองเที่ยวแหงประเทศไทย -7-


กิจกรรมโฮมสเตยของนักทองเที่ยวชาวไทย นงลักษณ อยูเย็นดี∗ จากการศึก ษากลุม นัก ทองเที่ยวโฮมสเตยชาว ไทยที่ เข า พั ก ค า งคื น โดยได ทํ า การศึ ก ษาป จ จั ย ทาง ลัก ษณะสว นบุ ค คลและแรงจูงใจที่ ทําให นัก ทอ งเที่ย ว ชอบเดินทางเขาไปทองเที่ยว โดยใชแบบสอบถามเก็บขอ มู ล จากนั ก ท อ งเที่ ย วกลุ ม ตั ว อย างจํ านวน 402 ตั ว อย าง จากพื้ น ที่จั ด โฮมสเตย จํานวน 5 แห ง โดยแบ ง กลุมพื้นที่ที่ใชในการศึกษาเปน 2 กลุมพื้นที่ คือกลุมพื้น ที่ โฮมสเตย ที่ มี ค วามเด น ทางด านธรรมชาติ คื อ ที่ บานเขาเหล็ก จังหวัดกาญจนบุรี และ บานทาดาน จังหวัดนครนายก พื้นที่ที่มีความเดนทาง ด า นวั ฒ นธรรม คื อ ที่ บ า นปลายโพงพาง จั ง หวั ด สมุ ท รสงคราม บ า นปราสาท จั ง หวั ด นครราชสีมา และบานโคกโกง จังหวัดกาฬสินธุ จากนั้นทําการวิเคราะหเพื่อตรวจสอบสมมติ ฐานโดยใชสถิติแบบ t-test และแบบ F-test สําหรับทดสอบปจจัยทางลักษณะประชากรและการ วิ เคราะห ค าสั ม ประสิ ท ธิ์ สั ม พั น ธ (Correlation) และการวิ เคราะห ถ ดถอยพหุ คู ณ (Multiple Regression) สําหรับปจจัยทางดานแรงจูงใจโดยกําหนดใหมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ผลการวิจัยปรากฎวา ปจจัยทางดานประชากรที่มีความสัมพันธกับความชอบในการเขา รวมกิจกรรมโฮมสเตยทั้งในพื้นที่ธรรมชาติและพื้นที่วัฒนธรรม คือ อายุ อาชีพ รายได และภูมิ ลําเนา ขณะที่เพศ และระดับการศึกษาเปนปจจัยที่ไมมีสัมพันธกับความชอบของนักทองเที่ยว สวนปจจัยทางดานแรงจูงใจพบวา แรงจูงใจที่มีความสัมพันธกับความชอบของนักทอง เที่ยวโฮมสเตยของทั้งพื้นที่ธรรมชาติและวัฒนธรรม คือ แรงจูงใจดานความสะดวกสบายในการ เดินทางเขาถึงแหลงทองเที่ยว แรงจูงใจการเรียนรูวัฒนธรรม ประเพณีและวิถีชีวิต แรงจูงใจ ดานกิจกรรมการแสดง และการละเลน แรงจูงใจในเรื่องของทัศนียภาพของแหลงทองเที่ยว และ แรงจูงใจดานการพักผอนทางรางกายและจิตใจ (ดวยคาสัมประสิทธิ์ในการทํานายเทากับ .153) สวนในพื้นที่ธรรมชาติคือแรงจูงใจดานการพักผอนและความเปนมิตรไมตรีเจาของบาน (ดวยคา สัมประสิทธิ์ในการทํานายเทากับ .087) และสําหรับพื้นที่วัฒนธรรม คือ แรงจูงใจทางดานความ สะดวกสบายในการเดินทางเขาถึง แรงจูงใจในการเรียนรูวัฒนธรรม ประเพณีและวิถีชีวิต แรง จูงใจด านความปลอดภัย และแรงจูงใจในเรื่องของความสะดวกสบายของ สิ่งอํานวยความ สะดวก (ดวยคาสัมประสิทธิ์ในการทํานายเทากับ .248) ∗

นักวิชาการทองเที่ยว 6 งานวิเคราะหตลาดในประเทศ กองวิชาการ ฝายนโยบายและแผน ททท. สงวนสิทธิ์ หามทําซ้ํา ทั้งหมด หรือบางสวน ไมวาในรูปแบบหรือสิ่งใด โดยไมไดรับ การอนุญาต จากการทองเที่ยวแหงประเทศไทย

-1-


จากผลการศึกษาในเรื่องลักษณะทั่วไปของนักทองเที่ยวพบวานักทองเที่ยวชาวไทยที่เดิน ทางเขาไปทองเที่ยวสวนใหญเปนโสดและเปนเพศหญิงมากกวาเพศชาย โดยมีอายุไมมากนัก สวนใหญอยูในวัยหนุมสาว จบการศึกษาในระดับปริญญาตรี และมีรายไดต่ํากวา 10,000 บาท เปนนักเรียน นักศึกษาและมีภูมิลําเนาอยูในกรุงเทพฯ และปริมณฑลมากที่สุด นักทองเทีย่ วสวนใหญเดินทางทองเที่ยวในรูปแบบโฮมสเตยเปนครั้งแรกโดยมีระยะเวลา ในการพัก คางแรมจํานวน 1 คืน และมีความตองการกลับไปทองเที่ยวอีก สิ่งที่นัก ทองเที่ยว ตองการ คือ การไดเขาไปสัมผัส เรียนรู ศึกษาวิถีชีวิตความเปนอยู และความมีน้ําใจไมตรีของคน ในทองถิ่นที่ไมสามารถหาไดจากวิถีชีวิตคนในเมือง นอกจากนี้ นักทองเที่ยวอยากมีสวนรวมกับ ชุมชนในการทํากิจกรรมตางๆ อาทิ การประกอบอาชีพ การใชชีวิตรวมกับชุมชน และการทําบุญ ตักบาตร เปนตน นักทองเที่ยวมักตองการพักคางแรมกับชาวบานในครัวเรือนเดียวกันมากกวา พักคางโดย แยกที่พักกับชาวบาน ซึ่งเปนแนวเดียวกันกับผลการศึกษาในเรื่องของการจัดลําดับ ความชอบของการทองเที่ยวโฮมสเตยในดานตางๆ ที่พบวานักทองเที่ยวสวนใหญชอบโฮมสเตย เพราะ ตองการศึกษาวิถีชีวิตและวัฒนธรรมสูงที่สุด รองลงมา คือ ความตองการใกลชิดธรรม ชาติ

หากเปนพื้นที่วัฒนธรรม นักทองเที่ยวสวนใหญเดินทางกับกลุมเพื่อนโดยมีขนาดกลุม โดยเฉลี่ยมาก ที่สุดคือ 38 คนตอกลุม หากเปนพื้นที่ธรรมชาติจะมีขนาดกลุมเล็กที่สุด คือ 15 คนตอกลุม แตโดยภาพรวมแลวขนาดกลุมอยูที่ 28 คนตอกลุม แหลงขอมูลที่ทําใหนักทองเที่ยวทราบขอมูลเกี่ยวกับแหลงทองเที่ยวโดยมากคือ คนใกล ชิดโดยเฉพาะ เพื่อน อาจารย และผูบังคับบัญชามากที่สุด คาใชจายโดยเฉลี่ยอยูที่ 960 บาทตอครั้ง ทั้งนี้ในพื้นที่ธรรมชาติมีคาใชจายเฉลี่ยตอครั้ง สูงที่สุด คือ 1,059 บาท ในขณะที่ในพื้นที่วัฒนธรรมมีคาใชจายเฉลี่ยตอครั้งต่ําที่สุด คือ 889 บาท จากการทดสอบสมมติฐานพบวาปจจัยทางลักษณะประชากร คือ รายได อาชีพ อายุ และ ภูมิลําเนามีความสัมพันธกับความชอบในการประกอบกิจกรรมโฮมสเตยอยางมีนัยสําคัญทาง สถิติ ที่ระดับ 0.05 นักทองเที่ยวในกลุม ที่มีรายไดนอย คือมีรายไดต่ํากวา 10,000 บาท โดย เฉพาะนัก เรียน นิสิต นัก ศึก ษา ที่มีอายุต่ํากวา 20 ป ละมีภูมิลําเนาอยูในภาคตะวันออกเฉียง สงวนสิทธิ์ หามทําซ้ํา ทั้งหมด หรือบางสวน ไมวาในรูปแบบหรือสิ่งใด โดยไมไดรับ การอนุญาต จากการทองเที่ยวแหงประเทศไทย

-2-


เหนือ จะมีคาเฉลี่ยความชอบ ในการเขารวมกิจกรรมโฮมสเตยมากกวากลุมอื่นๆ ขณะที่เพศและ ระดับการศึก ษาไมมีความสัมพันธกับ ความชอบในการประกอบกิจกรรมโฮมสเตยอยางมีนัย สําคัญทางสถิติ อยางไรก็ดี เมื่อพื้นที่ตางกัน และ ลักษณะนักทองเที่ยวตางกัน แรงจูงใจก็ตางกันดวย โดยแรงจูง ใจทางดานการศึกษาวิถีชีวิตและวัฒนธรรม ความสะดวกสบายในการเดินทางเขาถึง แหลงทองเที่ยว ความนาสนใจของกิจกรรมการแสดงและการละเลน การพักผอนทางรางกาย จิตใจ และทัศนียภาพของ แหลงทองเที่ยว โดยแรงจูงใจ ลวนมีความสัมพันธกับความชอบของ นักทองเที่ยวชาวไทยทั้งพื้นที่ธรรมชาติ และ วัฒนธรรม แรงจูงใจทั้งหมดกอใหเกิดความผันแปร ในตัวแปรตาม คือความชอบของนักทองเที่ยว ชาวไทยในการเขารวมกิจกรรมโฮมสเตยรอยละ 15.3 โดยแรงจูงใจที่มีอิทธิพ ลมากที่สุด คือ แรงจูงใจทาง ดานการเดินทางเขาถึงแหลงทอง เที่ยวที่งายและสะดวกสบาย (ดวยคาสัมประสิทธิ์การถดถอยที่ปรับเปน คามาตรฐานแลว (Beta) เทากับ .183) สําหรับในพื้นที่ธรรมชาติปรากฏวาแรงจูงใจที่มี ความสัมพันธกับความสนใจในการเขา รวมกิจกรรมโฮมสเตยของนักทองเที่ยวชาวไทย คือ แรงจูงใจในการพักผอนทางรางกายและจิต ใจ ความเปนมิตรไมตรีและความสุภาพออนโยนของเจาของบานและทองถิ่น โดยแรงจูงใจทั้ง หมดกอใหเกิดความผันแปรในตัวแปรตาม คือ ความชอบของนักทองเที่ยวชาวไทยในการเขารวม กิจกรรมโฮมสเตยรอยละ 8.7 โดยแรงจูงใจที่มีอิทธิพ ลมากที่สุดคือแรงจูงใจทางดานการพัก ผอนทางรางกายและจิตใจ (ดวยคาสัมประสิทธิ์การถดถอยที่ปรับเปนคามาตรฐานแลว (Beta) เทากับ .200) ในพื้นที่วัฒนธรรมพบวามีแรงจูงใจเพียง 4 ตัว ที่มีความสัมพันธกับความชอบของนัก ทองเที่ยวชาว ไทยในการเขารวมกิจกรรมโฮมสเตย คือ แรงจูงใจทางดานความสะดวกสบายใน การเดินทางเขาถึงแหลงทองเที่ยวแรงจูงใจทางดานการศึกษาวิถีชีวิตและวัฒนธรรม แรงจูงใจ ทางดานความปลอดภัยของแหลงทองเที่ยว กิจกรรมทองเที่ยวและแรงจูงใจทางดานความ สะดวกสบายของที่พักและสิ่งอํานวยความสะดวก โดยแรงจูงใจทั้งหมดกอใหเกิดความผันแปรใน ตัว แปรตาม คือ ความชอบของนัก ทองเที่ยวชาวไทยในการเขารว มกิจกรรมโฮมสเตยรอยละ 24.8 และแรงจูงใจที่มีอิทธิพลมากที่สุด คือ แรงจูงใจทางดานการศึกษาวิถีชีวิตและวัฒนธรรม (ดวยคาสัมประสิทธิ์การถดถอยที่ปรับเปนคามาตรฐานแลว (Beta) เทากับ .246) ขอเสนอแนะ ขอเสนอแนะจากการศึกษา 1. จากผลการศึกษาลักษณะทั่วไปของนักทองเที่ยวที่พบวานักทองเที่ยวกวารอยละ 70 เปน เพศหญิง ซึ่งมีพ ฤติกรรมอยางหนึ่งที่ถือเปนลักษณะประจําตัว ของนัก ทองเที่ยวกลุม นี้ คือ การจับจายใชสอย (รัญจวน, 2543) ดังนั้นหากในพื้นที่โฮมสเตยสามารถจัดหาสินคาทองถิ่น หรือของที่ระลึกตางๆ เพื่อใหนักทองเที่ยวไดเลือกซื้อสินคาตามความพอใจแลว นอกจากจะทํา สงวนสิทธิ์ หามทําซ้ํา ทั้งหมด หรือบางสวน ไมวาในรูปแบบหรือสิ่งใด โดยไมไดรับ การอนุญาต จากการทองเที่ยวแหงประเทศไทย

-3-


ใหชุมชนมีรายไดจากการทองเที่ยวเพิ่มมากขึ้นยังทําใหนักทองเที่ยวไดรับความพึงพอใจและเปน การเพิ่ ม มู ล ค า ของการเดิ นทางท องเที่ย วให กั บ นั ก ทอ งเที่ ย วดว ย ทั้ งนี้ สิน ค าที่ นํ ามาวาง จําหนายควรเปนสินคาในทอง ถิ่น ไมใชสินคาที่สามารถหา ซื้อไดตามตลาดทั่วไป ซึ่งจะทํา ใหนัก ทองเที่ยวรูสึก ถึงคุ ณ คาสินคาที่ซื้อไปไดมากกวา สิน ค า ที่ ส ามารถหาซื้ อ ได ต าม ทองตลาดทั่วไป นอกจากนี้ยัง ควรให ค วามสนใจกั บ นั ก ท อ งเที่ ย วกลุ ม ดั ง กล า ว โดย เฉ พ าะใน เรื่ อ งขอ งค วาม ปลอดภัยในชีวิตและทรัพ ยสิน โดยการจั ด ที่ พั ก ที่ มี ค วาม ปลอดภัยและเปนสัดสวนใหกับ นั ก ท อ งเที่ ย วกลุ ม ผู ห ญิ ง จากรายงานการสัม มนาการ ทองเที่ยวงาน ITA ที่ฮองกง ของรัญจวน (2543) กลาววานักทองเที่ยวกลุมตลาดผูหญิงโสดจะเปนกลุมตลาดที่มีศักยภาพ ในอนาคต และนักทองเที่ยวกลุมนี้ใหความสําคัญเปนอันดับหนึ่งในเรื่องของความปลอดภัยใน ชีวิตและทรัพยสิน ในขณะที่นุชนารถ (2539) กลาววาโดยภาพรวมแลวนักทองเที่ยวเพศหญิง ตองการรูปแบบการทองเที่ยวที่ปลอดภัยมากกวาเพศชาย 2. จากการศึกษาในเรื่องของขอมูลทางดานการเดินทางพบวา นักทองเที่ยวสวนใหญเดินทาง ทองเที่ยวในรูปแบบโฮมสเตยเปนครั้งแรกและเมื่อถามถึงความตองการในการกลับมาเยือนพบ วาโดยสวนใหญมีแนวโนมกลับไปเยือนซ้ํา ดังนั้นการดําเนินกลยุทธทางการตลาดเพื่อกระตุนให นักทองเที่ยวกลับไปเยือนซ้ํา อาทิ พิจารณาจัดทําปฎิทินทองเที่ยวในแตละเดือน หรือตามฤดูกาล หรือตามชวงเวลา โดยมีรายละเอียดเกี่ยวกับกิจกรรมหรือเหตุการณหรือปรากฏการณตางๆ ที่ นักทองเที่ยวจะไดพบเห็นหากเขามาทองเที่ยวในชวงเวลานั้นๆ และจัดสงไปยังกลุมนักทองเที่ยว ที่เคยเขามาทองเที่ยว วิธีนี้อาจมีคาใชจายแตสามารถหลีกเลี่ยงไดโดยจัดทําและนําไปวางตามจุด ประชาสัมพันธตางๆเชนที่การทองเที่ยวแหงประเทศไทย เปนตนซึ่งเปนวิธีที่สามารถ ดึงดูดนัก ทองเที่ยวกลุมใหมและกลุมเดิมใหเดินทางไปทองเที่ยว 3. การที่นักทองเที่ยวสวนใหญมีระยะเวลาในการพักคางแรมจํานวน 1 คืนสูงที่สุด ชี้ใหเห็นวา นักทองเที่ยวใชเวลาอยูในแหลงทองเที่ยวไมนานนัก สาเหตุสวนหนึ่งอาจเนื่องมาจากกิจกรรมใน แหลงทองเที่ยวมีนอยหรือไมดึงดูดความสนใจที่จะทําใหนักทองเที่ยวใชเวลาอยูในแหลงทองเที่ยว ไดนาน การเพิ่มกิจกรรมที่นาสนใจอาจทําใหนักทองเที่ยวเพิ่มระยะเวลาในการพํานักนานขึ้น ซึ่ง จะทําใหการใชจายของนักทองเที่ยวเพิ่มมากขึ้น 4. จากการศึกษาในเรื่องของรูปแบบการพักคางที่นักทองเที่ยวตองการ พบวานักทองเที่ยว สวนใหญตองการพักคางแรมกับชาวบานในครัวเรือนเดียวกันมากที่สุด ทําใหแนวโนมของความ ตองการรูปแบบที่พักจะเปนไปในทิศทางของการพักคางแรมกับชาวบานมากกวา อยางไรก็ตาม การจัดการควรขึ้นอยูกับความพึงพอใจของนักทองเที่ยวเปนหลัก อนึ่งการพักคางแรมในครัว เรือนเดียวกันแตนักทองเที่ยวมีพื้นที่เปนสัดสวนและมีความเปนสวนตัวอาจสามารถชดเชยความ ตองการของนักทองเที่ยวในกลุมที่ตองการพักแยกที่พักกับชาวบานไดในระดับหนึ่ง สงวนสิทธิ์ หามทําซ้ํา ทั้งหมด หรือบางสวน ไมวาในรูปแบบหรือสิ่งใด โดยไมไดรับ การอนุญาต จากการทองเที่ยวแหงประเทศไทย

-4-


5. การที่นักทองเที่ยวมีขนาดกลุมตั้งแต 21 คนขึ้นไปมากที่สุด ฉะนั้นเมื่อรับนักทองเที่ยวกลุม ใหญแลวไมควรรับนักทองเที่ยวกลุมอื่นๆ อีก หรือควรมีการจัดการ/แยกออกจากกันเพื่อไมให เกิดการรบกวนกันและแยงสิ่งอํานวยความสะดวกกัน เปนตน ทั้งนี้เพื่อปองกันการกระทบกระทัง่ ระหวางกลุม 6. แหลงขอมูลที่ทําใหนักทองเที่ยวทราบเกี่ยวกับแหลงทองเที่ยวสวนใหญมาจากสื่อบุคคลมาก กวาสื่อสาธาณะตางๆ ดังนั้นจึงควรทําการประชาสัม พันธไปยังสื่อ สาธารณ ะต า งๆ มากขึ้ น เพื่ อ ให มี นั ก ท อ งเที่ ย วมาเยื อ นอย า ง สม่ํ า เสมอ สื่ อ หนึ่ ง ที่ น า จะพิ จ ารณ าเผยแพร ข อ มู ล คื อ สื่ อ ทาง อินเตอรเน็ต (Internet) เพราะสะดวกในการคนหา ใหรายละเอียดได มาก และ สามารถปรับปรุงขอมูล ใหทันสมัยอยูเสมอ ทั้งนี้อาจรวม กันทําหลายๆ พื้นที่ หรือขอความอนุเคราะหหนวยงานตางๆ ในการ จัดทําก็ได 7. จากผลการศึกษาในดานความคิดเห็นของนักทองเที่ยวที่มีตอขอ มูลในการเดินทางทองเที่ยวโดยสวนใหญเห็นวา การใหขอมูลกับนัก ทองเที่ยวทั้งกอนการเดินทางและในระหวางการพํานักในแหลงทองเที่ยวไมเพียงพอ ดังนั้น นัก จัดการจึงควรพิจารณาในประเด็นของการใหขอมูล กับนัก ทองเที่ยวทั้งกอนการเดินทางและ ระหวางเดินทางทองเที่ยวในพื้นที่การใหขอมูลกอนการเดินทางจะมีประโยชนในแงที่วานักทอง เที่ยวสามารถเตรียมตัวและ สรางความคาดหวังเกี่ยวกับแหลงที่จะเดินทางไดอยางถูกตอง ขอ มูลที่ควรใหนักทองเที่ยวทราบกอนการเดินทาง คือ ขอมูลเกี่ยวกับที่ตั้งของแหลงทองเที่ยว ที่ อยูเบอรโทรศัพทที่ติดตอไดกรณีนักทองเที่ยวหลงทาง สิ่งที่นักทองเที่ยวจะไดพบหรือไดทํากิจ กรรมในขณะมาเยือนแหลงทองเที่ยว การเตรียมตัวของนักทองเที่ยวกอนการเดินทาง ขอปฏิบัติ ตัวของนักทองเที่ยว ขอหามตางๆ ในระหวางพํานักอยูในแหลงทองเที่ยว รวมทั้งในเรื่องของคา ใชจ ายด านการบริ ก าร ค าที่ พั ก ค าทํ ากิจ กรรมต างๆ ทั้ งนี้ เพื่ อ เป น ขอ มู ล ให นัก ท อ งเที่ ย ว สามารถประเมินตนเองไดอยางถูกตองวาเหมาะสมกับแหลงทองเที่ยวดังกลาวหรือไม ขอมูล เหลานี้จะทําใหนักทองเที่ยวไมมีความคาดหวังเกินความเปนจริงและทําใหนักทองเที่ยวมีความพึง พอใจในที่สุด ในระหวางทองเที่ยว ควรมีก ารใหคําแนะนําและใหความรูกับนักทองเที่ยว นัก ทองเที่ยว จํานวนมากตอง การมัคคุเทศกทองถิ่นในการใหขอมูลและนําชมสถานที่ทองเที่ยว นอกจากนี้ ยัง เห็นวาในแหลงทองเที่ยวควรมีระบบสื่อความหมายตางๆ อาทิ ปายสื่อความหมาย แผนพับ หรือคูมือนักทองเที่ยวซึ่งประกอบไปดวยขอปฏิบัติตัว ขอมูลแนะนําสถานที่ทองเที่ยว กิจกรรม และเวลาที่ส ามารถทํ ากิ จกรรมได เปน ตน ทั้งนี้ อาจมีก ารจัดทํ าเว็ บไซดสําหรับโฮมสเตยใ น ประเทศไทยเพื่อเปนขอมูลใหกับนักทองเที่ยวที่สนใจการทองเที่ยวในลักษณะนี้ ขอดีของการทํา เว็บไซด คือ ขอมูล สามารถกระจายไดกวางขวาง นัก ทองเที่ยวไดเห็นทั้งภาพและขอมูล ซึ่งจะ ชวยในการเตรียมตัวและการสรางความคาดหวังที่ถูกตอง แตทั้งนี้ตองมีผูดูแลรักษาระบบและ ปรับปรุงขอมูลใหทันสมัยอยูเสมอ สงวนสิทธิ์ หามทําซ้ํา ทั้งหมด หรือบางสวน ไมวาในรูปแบบหรือสิ่งใด โดยไมไดรับ การอนุญาต จากการทองเที่ยวแหงประเทศไทย

-5-


8. การที่นักทองเที่ยวในกลุมที่มีรายไดนอย คือ มีรายไดต่ํากวา 10,000 บาท โดยเฉพาะ นักเรียน นิสิต นักศึกษาที่มีอายุต่ํากวา 20 ป และมีภูมิลําเนาอยูในภาคตะวันออกเฉียงเหนือชอบ กิจกรรมโฮมสเตยมากกวากลุมอื่นๆ ดังนั้น หากนักการจัดการตองการจะขยายฐานกลุมเปา หมายไปยังกลุมอื่นๆ ที่มีรายไดม ากกวาและไมใชกลุมที่เปนนักเรียนนักศึก ษา อาจตองมีการ ปรับเปลี่ยนการจัดการในบางดานใหมีมาตรฐานขึ้น 9. การที่มีแรงจูงใจมากกวาหนึ่งขอที่มีความสัมพันธกับความชอบของนักทองเที่ยว แรงจูง ใจในที่นี้ก็คือความตองการของนักทองเที่ยว ดังนั้นในฐานะของนักจัดการ ควรทําความเขาใจ เกี่ยวกับแรงจูงใจแตละขอและหาทางตอบสนองตอแรงจูงใจดังกลาว เพราะเมื่อแรงจูงใจไดรับ การตอบสนอง ก็จะทําใหนักทองเที่ยวเกิดความพึงพอใจ 10. การที่แหลงทองเที่ยวโฮมสเตยแตล ะแหง มีม าตรฐานในการจัดการแตกตางกันทั้งใน เรื่องของบานพัก สิ่งอํานวยความสะดวก และการบริการ เปนตน ดังนั้นเพื่อใหการจัดการเปน ไปอยางมีม าตรฐานควรมีหนวยงานกลางในการควบคุม ดูแล จัดการการทองเที่ยวรูปแบบ โฮมสเตย โดยมีภารกิจในการใหการอบรม ความรู รวมทั้งการกําหนดและจัดการการทองเที่ยว ใหเปนไปตามมาตรฐานสากลตลอดจนดําเนินการในเรื่องของการตลาด ขอเสนอแนะในการทําวิจัยครั้งตอไป 1. เนื่องจากการวิจัยครั้งนี้เปนการศึกษาในภาพรวมของ 5 พื้นที่ ซึ่งอาจใหขอมูลในแงของ ภาพรวมมากกวาในระดับพื้นที่เฉพาะและเปนการวิจัยเชิงปริมาณ ดังนั้นควรมีการศึกษาในระดับ ลึกของแตละพื้นที่ โดยใชทั้งการวิจัยเชิงปริมาณและคุณภาพเพื่อใหไดผลที่ถูกตองมากขึ้น 2. ควรมีการศึกษารูปแบบการบริหาร/จัดการแหลงทองเที่ยวชุมชน ที่นําไปสูความยั่งยืนและ ประสบผลสําเร็จ ในปจจุบันการจัดการการทองเที่ยวโดยชุมชนมีหลายรูปแบบ อาทิ การบริหาร เปนกลุมองคกรและการบริหารโดยผูมีอํานาจเพียงคนเดียว ซึ่งแตละแบบมีขอดีขอเสียแตกตาง กัน ฉะนั้นควรจะมีการศึกษารูปแบบตางๆ เหลานั้นเพื่อเปนตัวอยางในการพัฒนาตอไป 3. ควรมีการศึกษาผลกระทบของชุมชนที่ดําเนินการจัดการทองเที่ยวในรูปแบบโฮมสเตย ทั้งนี้ เพื่อปองกันผลกระทบดานลบที่อาจจะเกิดขึ้นและสงเสริมผลกระทบดานบวกเพื่อการทองเที่ยวใน ทิศทางที่ยั่งยืนตอไป 4. ควรมีการศึกษาเพื่อกําหนดมาตรฐานเบื้องตนของการทองเที่ยวในรูปแบบโฮมสเตยหรือจัด ทําคูมือการพัฒนาการทองเที่ยวในรูปแบบโฮมสเตยเพื่อเปนแนวทางการพัฒนาและจัดการการ ทองเที่ยวในรูปแบบดังกลาว ที่มา : วิทยานิพนธระดับมหาบัณฑิต สาขาอุทยานและนันทนาการ เรื่อง “ปจจัยที่มีความสัมพันธกับความชอบ ในการเข ารวมกิ จกรรมโฮมสเตยของนักท องเที่ยวชาวไทย” คณะวนศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ป 2546

สงวนสิทธิ์ หามทําซ้ํา ทั้งหมด หรือบางสวน ไมวาในรูปแบบหรือสิ่งใด โดยไมไดรับ การอนุญาต จากการทองเที่ยวแหงประเทศไทย

-6-


สปา

“สปา” เริ่มแพรหลายเขามาในบานเราเมื่อหลายปกอน และไดรับความนิยมไปสูวงกวาง อยางรวดเร็วแมในตอนนั้นสถานที่ที่จะเปน “สปา” ไดอยางแทจริงนั้นจะมีอยูอยางจํากัดก็ตาม ปจจุบัน “สปา” เกิดขึ้นมากมาย ทั้งนี้เพราะตลาดของ “สปา” ขยายตัวอยางรวดเร็ว เพื่อรอง รับความตองการอยางสูงจากผูบริโภคยุคดิจิทอล ที่ไดรับความเครียดจากการทํางาน “สปา” จึงกลายเปนทางออกอยางหนึ่งของคนเหลานี้ “สปา” เปนกิจกรรมเพื่อการบําบัดสุขภาพดวยน้ําในหลากหลายวิธี ไมวาจะปนอาบ แช หรือตื่ม นอกจากนี้ ยังมีเรื่องโภชนาการ การออกกําลังกาย และธรรมชาติบําบัดเขามาเกี่ยว ของดวย อยางไรก็ตาม หัวใจของสปามีอยู 4 ประการดวยกัน คือ การอาบน้ําชําระรางกาย การใหความรอนแกรางกาย การขัดถู-นวด และการผอนคลาย ไฮโดรเทอราป (Hydrotherapy) หรือวารีบําบัด วิธีนี้จะใชทั้งน้ํารอนและน้ําเย็นรวมกัน ทั้งการอาบ อัง แช และจุม น้ําจะชวยชําระลางทํา ความสะอาด และกระตุนระบบไหลเวียนชวยใหรางกายสดชื่นและผอนคลาย อะโรมาเทอราป (Aromatherapy) หรือ สุวคนธบําบัด

อะโรมาเทอราป หรือ สุวคนธบําบัดเปนการใชคุณ สมบัติแหงกลิ่นหอมของดอกไมและ สมุนไพรมาสกัดเปนน้ํามันหอมระเหยที่นําไปใชในลักษณะตางๆ กัน กลิ่นเหลานี้มีผลตอรางกาย จิตใจ และอารมณมากทีเดียว สงวนสิทธิ์ หามทําซ้ํา ทั้งหมด หรือบางสวน ไมวาในรูปแบบหรือสิ่งใด โดยไมไดรับ การอนุญาต จากการทองเที่ยวแหงประเทศไทย -1-


พฤกษาบําบัด (Herbalism) วิธีนี้เปนการนําชาสมุนไพรตางๆ มาชงน้ําดื่ม เชน ชาตะไคร ชาดอกคําฝอย ฯลฯ สมุนไพรเหลานี้มีประโยชน ตอรางกายหลายดาน โดยเฉพาะการปรับสมดุลใหกับราง กาย การนวด (Massage) การนวดจะชวยใหรางกาย กลามเนื้อผอนคลาย กระตุน ระบบไหลเวีย นชว ยให รางกายปรับเขาหาสมดุ ล จิตใจสงบคลายความ เครียดและความกังวลตางๆ การกดจุด (Reflexology) วิธีเปนการใชนิ้วมือกดลงไปยังจุดบนฝาเทา ซึ่ง จุดเหลานั้นจะเชื่อมตอกับระบบประสาททั่ว รางกาย การ กดที่ถูกตองจะทําใหรางกายผอนคลาย โยคะ (Yoga) การฝกโยคะจะชวยใหรางกายมีความยืดหยุน โดย เฉพาะตามขอตอตางๆ โยคะเปนการออกกําลังกายที่ผสม ผสานเรื่องของการฝกลมหายใจใหถูกตอง โยคะจึงทําให รางกายและจิตใจเกิดสมดุล การนั่งสมาธิ (Meditation) การนั่งสมาธิ คือ การทําใหจิตใจจดจออยูที่สิ่งใด สิ่งหนึ่งจนอยูในจุดที่สงบ อาจใชวิธีกําหนดลมหายใจก็ได การนั่งสมาธิจะทําใหจิตใจสบาย สงบ นอนหลับไดดีขึ้น โภชนบําบัด (Nutrition Therapy) โภชนบําบัดเปนวิธีการบําบัดรางกายใหมีสุขภาพดี ขึ้น ด ว ยการกิ น อาหารที่ ถู ก หลั ก โภชนาการ การกิ น อาหารที่ ดีจ ะช ว ยล างพิ ษ ออกจากรางกาย วิ ต ามิ น และ เกลือแรในอาหารจะชวยฟนฟูสภาพรางกายใหดีขึ้นได

สงวนสิทธิ์ หามทําซ้ํา ทั้งหมด หรือบางสวน ไมวาในรูปแบบหรือสิ่งใด โดยไมไดรับ การอนุญาต จากการทองเที่ยวแหงประเทศไทย -2-


International Tourist Arrivals by Country of Destination Source : World Tourism Oganization (WTO) September 2003 90 95 97 98 99 00 01 02 Country of Destination 1 1 1 1 1 1 1 1 United States 3 4 4 4 2 2 2 2 Spain 2 3 3 2 3 3 3 3 France 4 2 2 3 4 4 4 4 Italy 24 10 7 7 7 7 5 5 China 5 6 6 6 6 6 6 6 Germany 6 5 5 5 5 5 7 7 United Kingdom 7 7 8 8 8 9 9 8 Austria 11 8 9 13 15 13 13 9 China,Hong Kong SAR 23 24 23 19 10 10 10 10 Greece 9 12 11 9 9 8 8 11 Canada 21 20 13 12 23 14 11 12 Turkey 10 17 15 14 14 12 12 13 Mexico 15 13 10 15 11 11 14 14 Australia 14 16 18 17 16 16 18 15 Netherlands 8 9 14 10 12 15 15 16 Switzerland 13 14 17 20 18 17 17 17 Thailand 16 21 22 23 19 19 16 18 Belgium/Luxembourg 29 25 39 41 29 24 19 19 Malaysia 19 22 25 22 22 23 21 20 Portugal 18 18 24 16 17 18 20 21 Korea, Republic of 12 11 19 21 21 21 23 22 Singapore 61 15 12 11 20 20 24 23 Poland 32 30 34 39 39 34 30 24 Macau 27 29 31 30 28 30 26 25 Taiwan (Pr. Of China)

6 ตุลาคม 2546 International Tourism Receipts (US$ million) 1998 1999 2000 2001 2002*

1990

1995

1997

43,007

63,395

73,301

71,286

74,731

82,042

72,295

66,547

18,593

25,388

26,651

29,839

32,497

31,454

32,873

33,609

20,184

27,527

28,009

29,931

31,507

30,754

29,979

32,329

16,458

28,729

29,714

29,866

28,359

27,500

25,787

26,915

2,218

8,733

12,074

12,602

14,099

16,224

17,792

20,385

14,288

18,135

16,488

16,766

18,116

18,483

17,225

17,969

13,762

18,554

20,039

20,978

20,223

19,544

16,283

17,591

13,417

12,927

10,991

11,276

11,035

9,931

10,118

11,237

5,032

9,604

9,242

7,496

7,210

7,886

8,241

10,117

2,587

4,136

5,151

6,188

8,783

9,219

9,448

9,741

6,339

7,882

8,828

9,396

10,171

10,704

10,774

9,700

3,225

4,957

8,088

7,809

5,203

7,636

8,932

9,010

5,467

6,179

7,593

7,493

7,223

8,295

8,401

8,858

4,088

7,857

9,057

7,335

8,027

8,452

7,625

8,087

4,155

6,252

6,304

6,850

6,996

7,217

6,722

7,706

7,411

9,365

7,915

7,973

7,769

7,500

7,618

7,628

4,326

7,664

7,048

5,934

6,695

7,112

6,731

7,530

3,721

4,677

5,270

4,623

6,472

6,588

6,917

6,892

1,667

3,909

2,702

2,456

3,540

4,936

6,376

6,785

3,555

4,339

4,619

5,302

5,261

5,257

5,479

5,919

3,559

5,587

5,116

6,865

6,802

6,811

6,283

5,277

4,937

8,390

6,066

5,402

5,859

6,018

5,079

4,932

358

6,614

8,679

7,946

6,100

6,100

4,815

4,500

1,473

3,233

2,956

2,648

2,598

3,205

3,745

4,415

1,740

3,286

3,402

3,372

3,571

3,738

3,991

4,197


International Tourist Arrivals by Country of Destination Source : World Tourism Oganization (WTO) September 2003 90 95 97 98 99 00 01 02 Country of Destination 173 23 16 18 13 164 32 26 Russian Fed 28 49 42 36 41 39 34 27 Croatia 42 35 28 40 26 25 29 28 Egypt 17 31 26 26 31 33 35 29 Japan 48 36 30 29 32 31 27 30 Hungary 33 42 41 28 25 26 31 31 Brazil 26 34 32 32 33 32 33 32 Ireland 174 26 20 31 44 42 40 33 Ukraine 31 37 35 34 35 35 36 34 India 43 47 45 52 49 44 45 35 New Zealand 131 143 144 149 143 136 38 36 Dominica 44 41 38 37 38 40 43 37 South Africa 35 43 46 44 43 41 39 38 Puerto Rico 38 52 50 47 47 45 44 39 Morocco 37 38 37 42 40 43 49 40 Philippines 70 55 53 50 50 49 50 41 Cuba 45 48 52 51 52 50 51 42 Tunisia 63 51 58 58 56 55 118 43 Syria 66 65 204 64 62 58 59 44 Untd Arab Emirates 49 54 55 55 54 52 54 45 Jamaica 68 60 66 63 55 53 53 46 Costa Rica 175 59 60 54 69 62 63 47 Lebanon 52 64 63 66 64 64 66 48 Jordan 51 57 59 57 61 61 64 49 Chile 104 87 80 71 66 63 65 50 Tanzania

1990

6 ตุลาคม 2546 International Tourism Receipts (US$ million) 1998 1999 2000 2001 2002*

1995

1997

-

4,312

7,164

6,508

7,510

-

3,561

4,188

1,704

1,349

2,530.00

2,733

2,493

2,758

3,335

3,811

1,100

2,684

3,727

2,565

3,903

4,345

3,800

3,764

3,578

3,226

4,326

3,742

3,428

3,373

3,301

3,499

824

2,640

3,440

3,514

3,407

3,438

3,933

3,273

1,444

2,097

2,595

3,678

3,994

4,228

3,701

3,120

1,883

2,691

3,189

3,247

3,320

3,387

3,547

3,089

-

3,865

5,340

3,317

2,124

2,207

2,725

2,992

1,513

2,583

2,913

2,948

3,009

3,168

3,042

2,923

1,030

1,488

2,093

1,441

1,737

2,062

2,252

2,918

25

34

40

38

49

47

2,798

2,736

992

2,126

2,769

2,717

2,637

2,707

2,501

2,719

1,366

1,828

2,046

2,233

2,139

2,388

2,728

2,486

1,259

1,304

1,449

1,712

1,880

2,040

2,460

2,152

1,306

2,454

2,831

2,413

2,531

2,134

1,723

1,741

243

977

1,354

1,571

1,695

1,737

1,692

1,633

948

1,393

1,414

1,557

1,560

1,496

1,605

1,422

320

1,338

1,035

1,017

1,031

1,082

-

1,366

315

632

859

893

1,012

1,064

1,328

740

1,069

1,131

1,197

1,280

1,333

1,233

1,209

275

660

719

884

1,036

1,229

1,278

1,078

-

710

1,000

1,221

673

742

837

956

512

652

774

773

795

722

700

786

540

900

1,020

1,062

898

827

788

733

65

259

392

570

733

739

725

730


International Tourist Arrivals by Country of Destination Source : World Tourism Oganization (WTO) September 2003 90 95 97 98 99 00 01 02 Country of Destination 151 166 160 161 151 165 119 51 Mauritania 69 75 74 73 75 72 69 52 Mauritius 101 91 97 93 91 85 75 53 Ghana 72 68 64 69 72 67 71 54 Uruguay 93 99 111 108 101 90 84 55 Botswana 58 72 84 91 92 95 83 56 Kenya 105 144 180 134 128 118 101 57 Algeria 201 201 197 201 201 201 120 58 Afghanistan 162 120 155 139 104 84 121 59 Albania 188 174 178 171 154 138 122 60 Amenia 150 194 174 192 192 192 123 61 American Samoa 144 167 175 174 166 152 124 62 Angola 124 133 138 137 137 133 106 63 Anguilla 67 90 96 97 94 92 125 64 Antigua,Barb 41 40 40 35 37 38 42 65 Argentina 62 70 68 67 65 68 61 66 Aruba 74 119 108 117 127 129 126 67 Azerbaijan 36 50 51 53 51 48 127 68 Bahamas 146 152 137 142 140 135 108 69 Bangladesh 55 67 69 68 68 65 128 70 Barbados 86 89 90 85 81 76 129 71 Barhrain 189 153 158 158 167 151 130 72 Belarus 117 117 124 123 118 111 94 73 Belize 128 147 154 156 185 185 131 74 Benin 56 71 75 76 77 79 132 75 Bermuda

6 ตุลาคม 2546 International Tourism Receipts (US$ million) 1998 1999 2000 2001 2002*

1990

1995

1997

9

11

21

20

28

244

430

485

503

545

81

233

266

284

238

611

759

117

162

443 64 -

-

612

542

625

612

304

386

448

520

695

653

652

561

318

136

175

234

313

300

309

486

361

290

304

276

308

297

32

6

74

80

102

100

133

4

-

-

-

-

-

65

27

54

211

389

-

-

5

7

10

27

45

-

-

-

-

10

1

-

-

10

-

-

-

13

10

9

8

13

18

-

-

35

49

57

58

56

55

61

-

298

247

269

256

290

290

-

-

1,131

2,144

2,693

2,936

2,813

2,817

2,534

-

350

521

668

732

778

638

890

-

228

70

162

125

81

63

-

-

1,324

1,346

1,416

1,354

1,583

1,814

-

-

11

23

59

51

50

50

48

-

494

612

657

703

677

711

-

-

135

247

311

366

408

469

-

-

23

25

22

12

19

-

-

44

77

87

108

111

121

121

-

28

27

31

33

-

-

-

-

490

488

478

487

479

431

-

-

-


International Tourist Arrivals by Country of Destination Source : World Tourism Oganization (WTO) September 2003 90 95 97 98 99 00 01 02 Country of Destination 168 176 181 176 172 157 133 76 Bhutan 97 102 107 104 109 105 91 77 Bolivia 139 141 142 146 144 122 103 78 Bonaire 193 172 167 160 159 177 134 79 Bosnia Herzg 88 95 100 98 93 89 135 80 Br.Vingin Is 196 191 148 189 189 189 136 81 Brunei Darussalam 64 73 73 59 59 56 56 82 Bulgaria 147 151 147 147 184 184 137 83 Burrkina Faso 163 183 196 200 200 200 138 84 Burundi 186 110 120 110 108 100 139 85 Cambodia 112 142 145 186 180 141 140 86 Cameroon 160 169 166 162 157 176 141 87 Cape Verde 73 77 77 80 80 77 142 88 Cayman Islands 166 196 185 194 194 194 143 89 Cent.Afr.Rep. 155 195 176 193 193 193 144 90 Chad 60 62 57 62 60 57 55 91 Colombia 167 156 157 167 161 154 145 92 Comoros 154 164 173 172 168 178 146 93 Congo 142 145 151 155 146 144 147 94 Cook Is 113 113 121 125 122 132 148 95 Cote d'lvoire 92 98 102 95 97 102 149 96 Curacao 39 44 48 48 48 47 48 97 Cyprus 59 33 29 27 34 36 37 98 Czech Rep 158 198 193 197 197 197 150 99 Dem.R.Congo 20 27 33 33 30 28 28 100 Denmark

6 ตุลาคม 2546 International Tourism Receipts (US$ million) 1998 1999 2000 2001 2002*

1990

1995

1997

2

5

6

8

9

10

-

-

91

139

166

200

174

160

156

-

18

37

44

43

45

87

75

-

7

15

21

21

-

-

-

132

205

219

255

300

315

-

-

-

-

-

-

-

-

-

320

473

496

966

932

1,201

-

11

25

39

42

4

1

1

100

103

53

36

39

6

10

15

20

23

236

394

436

450

-

-

39

1,074

-

-

-

-

-

-

-

-

-

166

190

228

-

-

-

-

39

-

-

-

-

-

439

448

-

-

3

-

5

-

-

-

-

-

8

-

9

-

-

-

-

-

406

657

1,043

929

928

1,028

1,209

-

2

21

26

16

19

15

-

-

8

14

10

9

12

-

-

16

28

35

34

39

36

-

-

51

89

95

98

100

57

-

-

120

175

201

261

267

227

-

-

1,258

1,788

1,639

1,696

1,878

1,897

1,981

-

419

2,875

3,647

3,719

3,035

2,869

2,979

-

-

-

-

-

-

3,211

3,460

4,025

3,923

-

7 3,322

3,672

2 3,185

-


International Tourist Arrivals by Country of Destination Source : World Tourism Oganization (WTO) September 2003 90 95 97 98 99 00 01 02 Country of Destination 199 177 188 195 195 195 151 101 Djibouti 47 46 44 46 42 37 41 102 Dominican Rp. 78 88 92 89 88 82 76 103 Ecuador 138 137 126 116 103 98 87 104 El Salvador 172 200 195 199 199 199 152 105 Equatorial Guinea 182 123 122 154 152 143 104 106 Eritrea 177 80 76 72 73 74 72 107 Estonia 133 148 150 166 164 127 153 108 Ethiopia 76 83 91 99 95 103 89 109 Fiji 40 45 47 49 53 51 52 110 Finland 116 161 168 168 148 142 115 111 Former Yug.Rep of Macedc 192 187 199 143 142 172 154 112 French Guiana 81 82 86 86 85 168 155 113 French Polynesia 165 171 177 173 169 159 117 114 Gabon 130 154 153 144 183 183 156 115 Gambia 185 184 78 82 83 81 157 116 Georgia 122 129 140 136 134 128 105 117 Grenada 77 74 83 78 86 80 158 118 Guadeloupe 46 186 49 43 46 167 159 119 Guam 79 85 89 87 84 73 73 120 Guatermala 125 182 183 184 176 156 116 121 Guinea 129 115 136 140 136 171 160 122 Guyana 115 127 139 138 139 134 161 123 Haiti 127 109 110 109 107 96 162 124 Honduras 85 97 106 101 102 101 80 125 Iceland

1990

1995

1997

4

4

900

1,568

188 18

-

1

6 ตุลาคม 2546 International Tourism Receipts (US$ million) 1998 1999 2000 2001 2002* -

-

-

2,099

2,153

2,483

255

290

291

41

75

-

2

-

-

2,860

2,689

-

343

402

430

-

125

211

254

235

-

-

-

-

-

-

-

58

90

34

28

36

74

-

-

353

465

534

560

506

507

-

25

26

36

16

16

68

-

-

202

283

294

244

284

189

226

-

1,167

1,570

1,644

1,643

1,528

1,412

1,441

-

45

19

14

15

37

37

23

-

51

50

-

-

-

-

-

-

7

-

-

-

-

171

326

345

354

394

3

7

7

8

11

26

23

32

49

416

-

-

7

-

-

-

-

423

400

413

-

-

38

54

55

59

63

67

63

-

197

458

372

466

375

418

-

-

936

-

1,450

2,361

1,908

-

-

-

185

277

325

323

399

535

493

-

30

1

5

1

7

12

14

-

27

78

60

54

59

-

-

46

56

57

56

55

54

-

-

29

107

146

168

195

262

-

-

139

185

173

207

221

227

335

-

-


International Tourist Arrivals by Country of Destination Source : World Tourism Oganization (WTO) September 2003 90 95 97 98 99 00 01 02 Country of Destination 25 19 21 24 24 22 22 126 Indonesia 107 96 88 77 71 66 58 127 Iran 198 193 171 191 191 191 163 128 Iraq 34 32 36 38 36 29 46 129 Israel 178 104 93 84 87 87 77 130 Kazakhatan 171 180 191 182 179 163 164 131 Kiribati 89 105 105 102 124 120 165 132 Kuwait 190 175 179 175 165 155 166 133 Kyrgyzstan 164 149 130 130 123 115 99 134 Lao P.Dem.R. 181 158 104 106 115 109 95 135 Latvia 140 146 159 157 156 149 167 136 Lesotho 159 188 182 164 153 174 168 137 libya 179 116 85 79 74 83 78 138 Lithuania 120 125 128 126 121 113 169 139 Madagascar 143 170 172 169 160 147 170 140 Malawi 98 94 94 88 89 88 81 141 Maldives 114 150 156 128 129 126 171 142 Mali 53 61 70 70 67 69 70 143 Malta 191 178 190 181 178 162 172 144 Marshall Is 71 78 79 83 82 91 85 145 Martinique 161 157 170 153 149 173 173 146 Mongolia 156 159 184 177 170 158 174 147 Montserrat 152 139 152 151 150 139 111 148 Myanmar 57 63 67 187 187 187 175 149 N.Mariana Is 99 84 87 92 181 181 176 150 Namibia

6 ตุลาคม 2546 International Tourism Receipts (US$ million) 1998 1999 2000 2001 2002*

1990

1995

1997

2,105

5,229

5,321

4,331

4,710

5,749

5,411

-

61

190

327

477

662

671

1,122

-

-

-

-

-

-

-

-

1,396

2,964

2,836

2,657

2,974

3,819

2,166

-

122

289

407

363

356

396

-

1

2

2

3

3

2

-

-

132

121

188

207

92

98

-

-

5

7

8

14

15

-

-

25

73

80

97

114

104

-

20

192

182

117

131

120

-

27

22

24

23

24

-

-

6

18

28

-

-

77

360

460

550

391

384

-

40

58

74

91

100

119

-

-

16

9

11

15

20

27

-

-

89

211

286

303

314

321

331

-

47

25

26

89

77

71

-

-

496

660

648

656

679

613

580

-

3

3

3

4

4

-

-

240

384

400

415

404

302

245

-

5

21

13

35

36

-

-

7

20

5

8

11

9

-

-

9

38

34

35

35

42

45

-

455

655

672

-

-

-

-

-

85

278

333

288

-

-

-

-

-

3 17 6 -

-

13

-

-

-


International Tourist Arrivals by Country of Destination Source : World Tourism Oganization (WTO) September 2003 90 95 97 98 99 00 01 02 Country of Destination 106 106 117 113 110 104 93 151 Nepal 96 108 116 122 117 117 177 152 New Caledonia 145 131 127 127 119 116 98 153 Nicaragua 141 163 162 165 155 175 178 154 Niger 132 128 114 115 113 107 92 155 Nigeria 195 181 192 185 186 186 179 156 Niue 30 39 43 45 45 46 47 157 Norway 103 112 119 118 120 112 96 158 Oman 83 107 115 124 131 123 102 159 Pakistan 187 185 198 119 114 106 180 160 Palestine 80 79 82 74 76 70 68 161 Panama 119 122 132 133 130 121 100 162 Papua New Guinea 90 103 65 121 126 119 181 163 Paraguay 75 76 62 65 63 60 62 164 Peru 204 204 203 204 204 204 182 165 Qatar 183 126 187 148 147 137 109 166 Rep Moldova 180 93 98 94 98 97 86 167 Reunion 94 69 72 96 99 86 79 168 Romania 148 179 163 163 163 150 183 169 Rwanda 200 197 189 196 196 196 184 170 Saba 84 86 95 90 90 94 88 171 Saint Lucia 135 140 149 150 145 140 113 172 Samoa 169 199 194 198 198 198 185 173 Sao Tome Prn 82 100 109 107 111 108 186 174 Senegal 91 111 113 120 116 114 97 175 Seychelles

6 ตุลาคม 2546 International Tourism Receipts (US$ million) 1998 1999 2000 2001 2002*

1990

1995

1997

64

117

116

153

168

167

137

-

94

108

117

110

112

110

-

-

12

50

74

90

107

111

109

-

17

15

18

18

24

-

-

25

54

118

142

145

148

156

-

2

2

1

-

-

-

-

1,570

2,362

2,216

2,172

2,115

1,937

2,042

-

69

92

108

114

106

120

118

-

156

114

117

98

76

84

92

-

-

-

-

114

132

155

-

-

172

367

374

494

538

576

626

-

41

60

71

75

76

92

101

-

128

137

753

111

81

101

-

-

217

428

824

845

890

911

865

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

57

4

40

37

46

46

-

-

216

249

271

259

255

244

-

106

590

526

260

254

359

362

-

10

2

17

19

17

24

-

-

-

-

-

-

154

268

20

38

2

-

4

-

-

-

284

291

311

277

232

-

37

38

42

40

39

-

2

-

-

-

-

-

167

161

153

178

166

140

-

-

126

98

122

111

112

115

113

-


International Tourist Arrivals by Country of Destination Source : World Tourism Oganization (WTO) September 2003 90 95 97 98 99 00 01 02 Country of Destination 137 173 200 179 175 179 187 176 Sierra Leone 102 66 71 75 78 78 67 177 Slovakia 176 53 54 56 58 59 60 178 Slovenia 157 162 165 180 177 180 188 179 Solomon Is 87 92 101 100 96 99 90 180 Sri Lanka 65 81 81 81 79 75 74 181 St Maarten 109 121 131 131 133 131 189 182 St.Kitts-Nev 111 138 133 135 132 124 190 183 St.Vincent,G 134 160 186 159 158 146 107 184 Sudan 170 155 135 183 171 153 191 185 Suriname 126 134 146 145 141 145 192 186 Swaziland 22 28 27 25 27 27 25 187 Sweden 203 203 202 203 203 203 193 188 Tajikistan 110 165 169 170 174 161 194 189 Togo 153 168 164 178 173 160 195 190 Tongo 95 118 103 103 105 169 196 191 Trinidad Tbg 194 189 129 105 182 182 197 192 Turkmenistan 123 130 118 112 100 93 82 193 Turks,Caicos 149 114 112 114 112 170 198 194 Ugahda 50 58 61 61 57 54 57 195 US.Virgin Is 197 192 161 190 190 190 199 196 Uzbekistan 121 124 141 141 138 130 110 197 Vanuatu 54 56 56 60 70 71 200 198 Venezuela 100 190 123 188 188 188 201 199 Viet Nam 136 132 134 129 135 125 114 200 Yemen

1990

1995

19

6

70

620

1997

6 ตุลาคม 2546 International Tourism Receipts (US$ million) 1998 1999 2000 2001 2002* 8

8

-

-

546

489

461

432

639

-

1,084

1,188

1,088

954

964

996

-

7

16

16

7

6

-

-

132

225

216

231

275

253

211

-

316

349

375

430

461

498

493

-

58

65

72

76

70

58

-

-

56

41

70

71

74

79

-

-

21

19

4

21

22

30

56

-

1

21

63

2

9

16

-

-

30

48

39

47

50

34

-

-

2,906

3,464

3,730

4,189

3,894

4,034

4,162

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

58

13

13

13

9

5

-

-

9

10

16

8

9

7

-

-

95

72

193

201

210

-

-

-

74

192

-

-

-

-

328

-

-

-

1,196

-

-

-

-

-

37

53

113

157

238

285

10

78

135

144

149

-

697

822

874

940

955

1,177

-

-

-

-

19

-

39

58

46

52

56

58

46

-

496

951

1,086

961

673

563

-

-

-

-

-

-

-

38

-

85 20

50

88 69

84

61

76


International Tourist Arrivals by Country of Destination Source : World Tourism Oganization (WTO) September 2003 90 95 97 98 99 00 01 02 Country of Destination 184 136 143 152 162 148 112 201 Yugoslavia 118 135 125 132 125 166 202 202 Zambia 108 101 99 111 106 110 203 203 Zimbabwe 202 202 201 202 202 202 204 204 Former U.S.S.R.

1990

6 ตุลาคม 2546 International Tourism Receipts (US$ million) 1998 1999 2000 2001 2002*

1995

1997

42

41

35

17

41

47

75

75

85

60

145

230

158

-

-

-

-

-

26

40

-

-

-

-

202

125

-

-

-

-

-

-


International Tourist Arrivals by Country of Destination

6 ตุลาคม 2546 International Tourist Arrivals (*1000)

Source : World Tourism Oganization (WTO) September 2003 90

95

97

98

99

00

01

02

1

1

1

1

1

1

1

1

3

3

3

3

3

3

2

2

2

2

2

2

2

2

3

3

4

4

4

4

4

4

4

4

173

7

6

6

5

5

5

5

7

5

5

5

6

6

6

6

10

11

9

8

7

9

8

7

8

6

8

7

8

8

7

8

6

10

12

10

11

11

9

9

9

12

13

12

12

10

10

10

16

15

16

17

16

15

14

11

5

8

10

11

13

13

11

12

12

16

18

15

14

14

13

13

174

9

7

9

10

12

12

14

14

18

24

26

20

18

15

15

20

19

19

19

21

20

17

16

13

17

17

14

15

16

16

17

18

20

22

20

19

21

19

18

11

13

15

16

17

17

18

19

17

21

20

18

18

19

20

20

175

14

14

13

9

7

21

21

31

35

205 204 201

25

23

22

19

22

23

25

24

22

22

23

15

55

34

33

38

27

24

24

Country of Destination France Spain United States Italy China United Kingdom Canada Mexico Austria Germany China,Hong Kong SAR Hungary Greece Poland Malaysia Turkey Portugal Thailand Switzerland Netherlands Russian Fed Saudi Arabia Singapore Croatia

1990

1995

1997

1998

1999

2000

2001

2002*

52,497

60,033

67,310

70,040

73,042

75,580

76,506

77,012

34,085

34,920

43,252

43,396

46,776

47,898

49,519

51,748

39,362

43,318

47,752

46,404

48,497

50,945

45,490

41,892

26,679

31,052

34,692

34,933

36,516

41,181

39,055

39,799

-

20,034

23,770

25,073

27,047

31,229

33,167

36,803

18,013

23,537

25,515

25,744

25,396

25,211

22,833

24,180

15,209

16,932

17,636

18,828

19,367

19,663

19,697

20,057

17,176

20,241

19,351

19,392

19,043

20,641

19,811

19,667

19,011

17,173

16,647

17,352

17,467

17,982

18,180

18,611

17,045

14,847

15,837

16,511

17,116

18,983

17,861

17,969

6,581

10,200

10,406

10,160

11,328

13,059

13,725

16,566

20,510

19,620

17,248

16,812

14,402

15,571

15,340

15,870

8,873

10,130

10,070

10,916

12,164

13,096

14,053

14,180

-

19,215

19,520

18,780

17,950

17,400

15,000

13,980

7,446

7,469

6,211

5,551

7,931

10,222

12,775

13,292

4,799

7,083

9,040

8,960

6,893

9,586

10,783

12,782

8,020

9,511

10,172

11,295

11,632

12,097

12,167

11,666

5,299

6,952

7,294

7,764

8,580

9,508

10,061

10,799

13,200

11,500

10,600

10,900

10,700

11,000

10,700

10,000

5,795

6,574

7,834

9,312

9,874

10,003

9,500

9,595

-

10,290

15,350

15,805

18,496

21,169

7,402

7,943

2,209

3,325

-

-

-

6,295

6,724

7,511

4,842

6,422

6,531

5,631

6,258

6,917

6,726

6,996

7,049

1,485

3,834

4,499

3,805

5,831

6,544

6,944


International Tourist Arrivals by Country of Destination

6 ตุลาคม 2546 International Tourist Arrivals (*1000)

Source : World Tourism Oganization (WTO) September 2003 90

95

97

98

99

00

01

02

176

23

25

22

23

24

25

25

28

27

33

32

28

30

28

26

44

25

26

24

25

26

27

27

22

24

27

23

22

23

26

28

177

31

21

21

36

37

29

29

47

42

215

41

39

40

40

30

26

29

32

34

31

28

33

31

23

34

31

36

35

35

36

32

24

28

30

29

29

33

30

33

32

26

28

30

30

32

32

34

29

38

35

39

32

31

37

35

30

30

29

35

34

34

34

36

21

40

37

38

37

39

39

37

42

49

40

28

27

29

35

38

38

58

56

56

56

52

48

39

27

36

36

37

41

41

41

40

34

44

42

40

42

45

50

41

39

51

48

47

43

43

45

42

59

66

68

61

62

64

64

43

178

41

45

48

49

51

51

44

35

46

44

46

45

50

52

45

179

56

57

58

58

58

54

46

45

52

47

51

52

56

57

47

Country of Destination Belgium Macau South Africa Ireland Ukraine Untd Arab Emirates Korea, Republic of Japan Tunisia Indonesia Egypt Australia Morocco Brazil Bahrain Puerto Rico Argentina Dominican Rp. Syria Taiwan (Pr. Of China) India New Zealand Philippines

1990

1995

1997

1998

1999

2000

2001

2002*

-

5,560

6,037

6,179

6,369

6,457

6,452

6,724

2,513

4,202

3,836

4,517

5,050

5,197

5,842

6,565

1,029

4,684

5,653

5,898

6,026

6,001

5,908

6,550

3,666

4,818

5,587

6,064

6,403

6,749

6,448

6,476

-

3,716

7,658

6,208

4,232

4,406

5,791

6,326

973

2,315

2,991

3,393

3,907

4,134

5,445

2,959

3,753

3,908

4,250

4,660

5,322

5,147

5,347

3,236

3,345

4,218

4,106

4,438

4,757

4,772

5,239

3,204

4,120

4,263

4,718

4,832

5,057

5,387

5,064

2,178

4,324

5,185

4,606

4,728

5,064

5,154

5,033

2,411

2,871

3,657

3,213

4,490

5,116

4,357

4,906

2,215

3,726

4,318

4,167

4,459

4,946

4,817

4,841

4,024

2,602

3,072

3,242

3,817

4,113

4,223

4,193

1,091

1,991

2,850

4,818

5,107

5,313

4,773

3,783

1,376

1,396

1,571

1,640

2,019

2,420

2,788

3,167

2,560

3,131

3,242

3,396

3,024

3,341

3,551

3,087

1,930

2,289

2,764

3,012

2,898

2,909

2,629

2,820

1,305

1,776

2,211

2,334

2,651

2,973

2,883

2,811

562

815

891

1,267

1,386

1,416

1,318

2,809

-

2,332

2,372

2,299

2,411

2,624

2,617

2,726

1,707

2,124

2,374

2,359

2,482

2,649

2,537

2,370

-

1,409

1,497

1,485

1,607

1,789

1,910

2,045

1,025

1,760

2,223

2,149

2,171

1,922

1,797

1,933


International Tourist Arrivals by Country of Destination

6 ตุลาคม 2546 International Tourist Arrivals (*1000)

Source : World Tourism Oganization (WTO) September 2003 90

95

97

98

99

00

01

02

75

69

61

60

60

60

58

48

58

63

62

62

63

63

60

49

48

54

54

55

57

59

59

50

46

61

60

63

65

67

65

51

180

48

46

50

54

55

55

52

66

67

72

70

69

72

72

53

62

81

76

76

77

76

73

54

41

82

81

80

80

79

76

55

181

87

85

84

84

86

79

56

52

65

67

74

76

78

78

57

78

92

86

87

88

89

85

58

108 129 111 109 106 107

96

59

182 107 110

94

60

105 106 113 113 110 111 100

61

183

33

11

27

26

36

31

62

33

37

41

31

33

38

38

63

184 201 206 205

50

44

42

64

185

32

38

43

46

46

43

65

186

43

43

45

44

47

44

66

187

50

52

44

47

48

46

67

25

39

39

42

40

42

47

68

37

47

50

49

48

49

49

69

188 202

49

52

55

54

53

70

96

89

106

Country of Destination Cuba Jordan Chile Jamaica Uruguay Costa Rica Botswana Algeria Lebanon Kenya Mauritius Zambia Tanzania Ghana Czech Rep Norway Andorra Bulgaria Sweden Finland Romania Cyprus Denmark

1990

1995

1997

1998

1999

2000

2001

2002*

327

742

1,153

1,390

1,561

1,741

1,736

1,656

572

1,074

1,127

1,256

1,358

1,427

1,478

1,622

943

1,540

1,644

1,759

1,622

1,742

1,723

1,412

989

1,147

1,192

1,225

1,248

1,323

1,277

1,266

-

2,022

2,316

2,163

2,073

1,968

1,892

1,258

435

785

811

943

1,032

1,088

1,132

1,113

543

521

734

750

843

995

1,049

1,037

1,137

520

635

678

749

866

901

998

-

450

558

631

673

742

837

956

814

896

907

792

862

899

841

838

292

422

536

558

578

656

660

682

141

159

341

362

404

457

492

565

-

285

347

450

564

459

501

550

146

286

325

348

373

399

439

483

-

3,381

16,830

5,482

5,610

4,666

5,194

-

1,955

2,880

2,802

4,538

4,481

4,348

4,244

-

-

-

-

-

2,347

2,949

3,516

-

-

3,466

2,980

2,667

2,472

2,785

3,186

-

-

2,310

2,388

2,573

2,595

2,746

2,894

-

-

1,779

1,832

2,644

2,454

2,714

2,826

-

3,009

2,757

2,957

2,966

3,209

2,995

2,820

-

1,561

2,100

2,088

2,223

2,434

2,686

2,697

-

-

-

2,158

2,073

2,023

2,088

2,028

-


International Tourist Arrivals by Country of Destination

6 ตุลาคม 2546 International Tourist Arrivals (*1000)

Source : World Tourism Oganization (WTO) September 2003 90

95

97

98

99

00

01

02

189 203 207 206 202

62

56

71

36

53

55

57

59

61

61

72

102

86

75

66

64

66

62

73

190

80

77

72

72

69

63

74

191

74

64

59

61

73

66

75

192

70

65

68

74

71

67

76

50

64

70

71

70

74

68

77

43

45

51

54

51

53

69

78

49

62

63

64

66

70

70

79

54

60

59

65

68

68

71

80

76

78

74

73

73

75

74

81

99

73

83

77

79

82

75

82

193

94

90

85

82

85

77

83

64

77

84

83

78

81

80

84

51

68

73

75

75

80

81

85

194 143 145

92

86

88

82

86

98

114

99

89

85

84

83

87

68

76

80

82

83

87

84

88

53

57

66

81

91

93

86

89

73

90

88

91

93

90

87

90

65

85

96

100

98

91

88

91

195

79

82

86

92

98

89

92

103 111 102

99

95

92

90

93

Country of Destination Kazakhatan Bahamas Iran Estonia Lithuania Slovenia Slovakia Israel Malta Guam Peru Nigeria Namibia Guatermala Luxembourg Azerbaijan El Salvador Aruba Colombia Ecuador US.Virgin Is Latvia Oman

1990

1995

1997

1998

1999

2000

2001

2002*

-

-

-

-

-

1,471

1,845

-

1,562

1,598

1,618

1,528

1,577

1,596

1,439

-

154

452

740

1,008

1,321

1,342

1,402

-

-

530

730

825

950

1,240

1,320

-

-

650

1,012

1,416

1,422

1,083

1,271

-

-

732

974

977

884

1,090

1,219

-

822

903

814

896

975

1,053

1,219

-

1,063

2,215

2,010

1,942

2,312

2,417

1,196

-

872

1,116

1,111

1,182

1,214

1,216

1,180

-

780

1,362

1,382

1,137

1,162

1,287

1,160

-

317

541

747

820

944

1,027

1,010

-

190

656

611

739

776

813

955

-

-

399

502

614

693

758

861

-

509

563

576

636

823

826

835

-

820

768

771

789

863

835

812

-

93

123

483

602

681

766

-

194

235

387

542

658

795

735

-

433

619

650

647

683

721

691

-

813

1,399

969

674

546

557

616

-

362

440

529

511

518

627

609

-

463

454

411

422

484

607

592

-

-

539

625

567

544

509

591

-

149

279

375

424

503

571

562

-

-


International Tourist Arrivals by Country of Destination

6 ตุลาคม 2546 International Tourist Arrivals (*1000)

Source : World Tourism Oganization (WTO) September 2003 90

95

97

98

99

00

01

02

91

99

95

97

100 100

91

94

79

112 117 115 111 101

92

95

69

89

91

90

94

95

93

96

71

96

103

98

103

94

95

97

118 109 108 101

99

99

97

98

96

101 105 104 104 103

98

99

80

84

89

88

90

96

99

100

70

72

78

93

96

97

101 101

92

103 104 103 108 109 102 102

61

88

92

95

101 108 103 103

84

97

94

94

97

40

118 118 121 138 127 105 105

82

100 107 107 105 122 106 106

77

93

106 106 102 110 107 107

86

98

100 102 107 115 108 108

105 104 104

196 147 116 116 109 114 109 109 85

108 109 105 116 119 110 110

81

91

98

67

95

101 108 115 117 112 112

89

115 120 123 119 121 113 113

112 121 118 111 111

109 117 124 125 122 125 114 114 111 126 135 136 127 126 115 115 113 130 134 139 136 133 116 116

Country of Destination Panama Honduras Barbados Pakistan Nicaragua Maldives Martinique N.Mariana Is Reunion St Maarten Nepal Yugoslavia Fiji Sri Lanka Cayman Islands Georgia Bolivia Paraguay Bermuda Monaco Saint Lucia French Polynesia Bangladesh

1990

1995

1997

1998

1999

2000

2001

214

345

421

431

457

484

519

-

290

271

303

321

371

471

518

-

432

442

472

512

515

545

507

-

424

378

375

429

432

557

500

-

106

281

358

406

468

486

483

-

195

315

366

396

430

467

461

-

282

457

513

549

564

526

460

-

426

669

685

481

493

517

436

-

200

304

374

400

394

430

424

-

545

449

439

458

445

432

403

-

255

363

422

464

492

464

363

-

1,186

228

298

283

152

239

351

-

279

318

359

371

410

294

348

-

298

403

366

381

436

400

337

-

253

361

381

404

395

354

334

-

85

313

317

384

387

302

-

254

284

355

387

342

306

300

-

280

438

395

350

269

323

295

-

435

387

380

369

354

328

275

-

245

233

259

278

278

300

270

-

141

231

248

252

264

270

250

-

132

172

180

189

211

252

228

-

115

156

182

172

173

199

207

-

-

2002*


International Tourist Arrivals by Country of Destination

6 ตุลาคม 2546 International Tourist Arrivals (*1000)

Source : World Tourism Oganization (WTO) September 2003 90

95

97

98

99

00

01

02

155 138 133 129 128 132 117 117 90

116 129 132 129 135 118 118

131 128 127 135 130 136 119 119 93

134 139 138 132 134 120 120

104 139 157 133 137 140 121 121 136 151 150 146 140 139 122 122 161 158 132 131 124 137 123 123 116 135 136 134 135 141 124 124 138 149 152 148 143 142 125 125 119 137 143 145 141 145 126 126 55

155 170 175 178 155 127 127

128 140 148 147 142 146 128 128 197 102

97

137 166 159 129 129

125 146 149 149 145 148 130 130 60

131 146 141 133 131 131 131

142 168 161 155 151 152 132 132 139 153 163 156 149 151 133 133 137 156 158 154 165 156 134 134 146 165 171 174 167 157 135 135 135 159 166 162 158 158 136 136 132 191 174 171 171 168 138 137 127 160 169 167 163 162 139 138 120 163 153 158 155 163 140 139

Country of Destination Myanmar Curacao Ugahda Belize Mongolia Madagascar Lao P.Dem.R. Gabon Turks,Caicos Seychelles Iraq Grenada Eritrea New Caledonia Former Yug.Rep of Macedc Mali Samoa Yemen Cook Is St.Vincent,G Angola Liechtenstien Togo

1990

1995

1997

1998

1999

2000

2001

21

117

189

201

198

208

205

-

219

232

209

199

198

191

205

-

69

160

227

192

187

191

205

-

197

131

146

176

181

196

196

-

147

108

82

197

159

158

192

-

53

75

101

121

138

160

170

-

14

60

193

200

259

191

169

-

109

125

167

195

177

155

169

-

49

79

93

111

121

152

165

-

104

121

130

128

125

130

129

-

748

61

51

45

30

78

127

-

76

108

111

116

125

129

123

-

315

410

188

57

70

113

-

87

86

105

104

100

110

101

-

562

147

121

157

181

224

99

-

44

43

75

83

82

86

89

-

48

68

68

78

85

88

88

-

52

61

81

88

58

73

76

-

34

48

50

49

56

73

75

-

54

60

65

67

68

73

71

-

67

10

45

52

45

51

67

-

78

59

57

59

60

62

58

-

103

53

92

69

70

60

57

-

-

2002*


International Tourist Arrivals by Country of Destination

6 ตุลาคม 2546 International Tourist Arrivals (*1000)

Source : World Tourism Oganization (WTO) September 2003 90

95

97

98

99

00

01

02

163 194 195 178 172 173 141 140 143 170 164 163 159 164 142 141 145 167 172 172 169 165 143 142 156 178 187 177 173 170 144 143 144 161 167 166 162 169 145 144 147 154 177 179 175 175 146 145 57

182

87

180 176 174 147 146

151 172 176 176 170 172 148 147 198 204 189 187 180 177 149 148 152 171 188 183 182 179 150 149 122 173 208 192 189 184 151 150 199 180 185 190 187 183 152 151 200 193 182 195 192 186 153 152 201 192 192 194 193 187 154 153 167 195 197 198 195 189 155 154 162 187 198 196 190 185 156 155 169 197 199 199 194 188 157 156 166 196 196 200 196 190 158 157 202 205 209 207 197 191 159 158 170 199 202 201 198 192 160 159 56

59

58

53

53

57

161 160

87

206

53

67

67

65

162 161

72

83

69

69

71

77

163 162

Country of Destination Chad Papua New Guinea Vanuatu Niger Bonaire Sudan San Marino Anguilla Guinea Albania Sierra Leone Rep Moldova St Eustatius Saba Sao Tome Prn Montserrat Bhutan Marshall Is Tajikistan Niue Zimbabwe Viet Nam Brunei Darussalam

1990

1995

1997

1998

1999

2000

2001

2002*

9

8

9

41

43

43

56

-

41

42

66

67

67

58

54

-

35

44

50

52

51

58

53

-

21

35

19

42

43

50

52

-

37

59

63

62

61

51

50

-

33

63

30

38

39

38

50

-

582

28

532

36

35

43

49

-

31

39

43

44

47

44

48

-

17

23

27

33

37

-

19

28

26

32

34

-

13

11

16

24

-

-

30

40

98

38

-

-

32

21

19

14

18

16

-

-

9

25

9

9

9

10

-

-

10

11

11

9

9

9

-

3

6

5

6

6

7

8

-

13

19

5

7

10

10

7

-

2

5

5

6

7

8

7

-

5

6

6

6

5

5

5

-

2

4

4

-

-

-

-

-

1

2

2

2

2

2

2

-

605

1,363

1,495

1,986

2,101

1,868

-

-

250

-

1,716

978

1,211

1,383

-

-

377

498

850

964

967

984

-

-


International Tourist Arrivals by Country of Destination

6 ตุลาคม 2546 International Tourist Arrivals (*1000)

Source : World Tourism Oganization (WTO) September 2003 90

95

97

98

99

00

01

02

74

75

79

78

81

83

164 163

63

71

71

79

87

102 165 164

158 119 128 119 113 104 166 165 97

113 114 114 114 112 167 166

88

110 115 111 112 113 168 167

203 207 210 130 120 116 169 168 107 124 131 127 123 120 170 169 83

104 112 120 117 123 171 170

101 121 125 122 118 124 172 171 94

120 126 126 126 128 173 172

100 145 140 143 131 129 174 173 112 123 130 128 125 130 175 174 123 162 173 181 134 138 176 175 106 132 137 144 139 143 177 176 126 142 147 151 147 144 178 177 129 136 141 140 144 147 179 178 133 141 159 160 153 149 180 179 134 176 178 170 152 150 181 180 154 183 175 173 160 153 182 181 160 152 160 157 203 154 183 182 130 150 154 150 150 161 184 183 140 169 168 169 161 166 185 184 148 164 162 165 168 167 186 185

Country of Destination Guadeloupe Venezuela Cambodia Trinidad Tbg Senegal Palestine Iceland Swaziland Br.Vingin Is Antigua,Barb Lesotho Malawi libya Haiti Ethiopia Burrkina Faso Guyana Dem.R.Congo Cape Verde Kuwait St.Kitts-Nev Suriname Palau

1990

1995

1997

1998

1999

2000

331

640

660

693

711

807

-

-

525

700

814

685

587

469

-

-

17

220

219

286

368

466

-

-

195

260

324

334

358

399

-

-

246

280

314

352

369

389

-

-

-

-

-

201

271

330

-

-

142

190

202

232

263

303

-

-

263

300

340

284

289

281

-

-

160

219

244

279

286

281

-

-

197

220

232

234

240

237

-

-

171

87

144

150

186

231

-

-

130

192

206

220

254

228

-

-

96

56

50

32

178

174

-

-

144

145

149

147

143

140

-

-

79

103

115

91

92

136

-

-

74

124

138

160

117

126

-

-

64

106

76

68

75

105

-

-

55

36

30

53

80

103

-

-

24

28

45

52

67

83

-

-

15

69

76

77

79

-

-

73

79

88

93

84

69

-

-

46

43

61

55

63

58

-

-

33

53

74

64

55

58

-

-

-

2001

2002*


International Tourist Arrivals by Country of Destination

6 ตุลาคม 2546 International Tourist Arrivals (*1000)

Source : World Tourism Oganization (WTO) September 2003 90

95

97

98

99

00

01

02

204 189 183 182 174 171 187 186 157 181 179 184 177 176 188 187 205 208 211 185 179 178 189 188 206 209 212 208 184 180 190 189 165 185 180 186 185 181 191 190 149 174 181 189 188 182 192 191 171 200 203 203 199 193 193 192 121 166 156 152 146 194 194 193 207 175 151 153 148 195 195 194 208 210 213 161 156 196 196 195 209 177 155 168 157 197 197 196 124 148 142 159 164 198 198 197 153 188 184 209 181 199 199 198 117 179 193 191 183 200 200 199 164 190 191 193 186 201 201 200 210 184 190 197 191 202 202 201 168 198 200 202 200 203 203 202 211 127 122 110 204 204 204 203 95

125 119 117 205 205 205 204

212 122 121 118 206 206 206 205 213 144 123 124 207 207 207 206 115 133 138 142 208 208 208 207 150 186 186 188 209 209 209 208

Country of Destination Amenia Tongo Micronesia (Fed.St.of) Mauritania Comoros Congo Tuvalu Gambia Bosnia Herzg French Guiana Kyrgyzstan Cameroon American Samoa Burundi Solomon Is Cent.Afr.Rep. Kiribati Belarus Cote d'lvoire Turkmenistan Uzbekistan Benin Djibouti

1990

1995

21

1997

1998

1999

2000

2001

2002*

12

23

32

41

45

-

-

30

26

27

31

35

-

-

27

28

33

-

-

24

30

-

-

-

-

-

-

-

-

-

8

23

26

27

24

24

-

-

33

37

26

20

14

19

-

-

1

1

1

1

1

1

-

-

100

45

85

91

96

-

-

-

-

37

100

90

89

-

-

-

-

68

70

-

-

-

-

-

-

36

87

59

69

-

-

-

89

84

133

69

59

-

-

-

26

18

22

27

-

-

-

109

34

11

15

26

-

-

-

9

12

16

13

21

-

-

-

26

17

7

10

-

-

-

3

5

2

1

-

-

-

-

161

254

355

-

-

-

-

196

188

274

301

-

-

-

-

-

218

257

300

-

-

-

-

-

92

253

272

-

-

-

-

110

138

148

152

-

-

-

-

33

21

20

21

-

-

-

-

3

-


International Tourist Arrivals by Country of Destination

6 ตุลาคม 2546 International Tourist Arrivals (*1000)

Source : World Tourism Oganization (WTO) September 2003 90

95

97

98

99

00

01

02

110 105

93

210 210 210 210 209

214 211 194 211 211 211 211 210 215 212 201 212 212 212 212 211 159 213 204 213 213 213 213 212 141 157 165 164 154 160 137 213 172 214 214 214 214 214 214 214 114 215 144 215 215 215 215 215

Country of Destination Qotar Somalia Afghanistan Rwanda Dominica Former U.S.S.R. Korea, D P Rp

1990

1995

1997

136

294

435

-

-

-

-

-

-

-

10

-

-

-

-

-

-

-

4

-

-

-

-

-

-

1

-

-

-

-

-

68

-

16 45

60

1998

65

1999

66

2000

74

69

2001

2002*

-

-

-

-

-

-

-

115

-

128

-

-

-

-


การเจรจาพาณิชยอิเล็กทรอนิกสในองคการการคาโลก ความเปนมา

ในการประชุมรัฐมนตรีองคการการคาโลกครั้งที่ 2 เมื่อเดือนพฤษภาคม2541 ณ กรุง เจนีวา ประเทศสวิตเซอรแลนด ไดมีการหารือเกี่ยวกับการพาณิชยอเิ ล็กทรอนิกสและที่ประชุมรัฐ มนตรีไดมีมติใหคณะมนตรีทั่วไปจัดทําแผนงานเพื่อพิจารณาในเรื่องนี้ แตความคืบหนาในเรื่องนี้ ยังไมมีมากนัก ทั้งนี้เนื่องมาจากเหตุผล 3 ประการ คือ (1)ธรรมชาติของพาณิชยอิเล็กทรอนิกส ซึ่งเปนดิจิตัลที่จับตองไมได (Intangible / Non Physical Material) (2) พาณิชยอิเล็กทรอนิกส เปน เรื่องที่เกี่ยวพันกับหลายหนวยงานในองคการการคาโลกซึ่งทําใหเกิดความซ้ําซอนและลักลั่นใน การพิจารณา และ(3) การเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็วของเทคโนโลยีสารสนเทศ

แนวคิดและทาทีของประเทศตางๆ กลุมประเทศที่พัฒนาแลว ในการหารือที่ผานมาประเทศที่พัฒนาแลว เชน สหรัฐอเมริกา สหภาพยุโรป แคนาดา และญี่ปุน เปนตน มีความประสงคที่จะผลักดันใหมีการเปดเสรีในเรื่องพาณิชยอิเล็กทรอนิกส ทั้ง นี้เนื่องจากประเทศเหลานี้เปนประเทศที่มีความกาวหนาทางดานเทคโนโลยีสารสนเทศ และเปนผูสง ออกสินคาและบริการที่เกี่ยวเนื่องกับการพาณิชยอิเล็กทรอนิกส จึงตองการใหมีการลด เลิกขอ จํากัด ตลอดจนกฏระเบียบตางๆ ของรัฐที่จะมีผลกีดกันการพัฒนาพาณิชยอิเล็กทรอนิกส ทั้งนี้ มีหลายประเทศไดเสนอขอเสนอเกี่ยวกับพาณิชยอิเล็กทรอนิกสในดานที่เปนประโยชนกับประเทศ ของตนตอองคการการคาโลกแลว กลุมประเทศกําลังพัฒนา เนื่องจากพาณิชยอิเล็กทรอนิก สเปนการคารูปแบบใหมที่ประเทศพัฒนาแลวเปนผูนํา ขณะที่ป ระเทศกําลังพั ฒ นาเป นผู นําเขา ที่สํ าคัญ คือ มี ชอ งวางหรือ ความแตกตางในเรื่องนี้ ระหวางประเทศที่พัฒ นาแลวและประเทศที่กําลังพัฒนาเปนอยางมาก ฉะนั้น ประเทศที่กําลัง พัฒนา เชน อียิปต อินเดีย และประเทศในกลุมอาเซียน เปนตน จึงมีความเห็นวายังไมควรมีการ เจรจาหรือทําความตกลงใดๆ ในเวทีขององคการการคาโลก แตควรใหประเทศกําลังพัฒนาไดมี สงวนสิทธิ์ หามทําซ้ํา ทั้งหมด หรือบางสวน ไมวาในรูปแบบหรือสิ่งใด โดยไมไดรับ การอนุญาต จากการทองเที่ยวแหงประเทศไทย

-1-


2

โอกาสพัฒนาความพรอมในดานตางๆเสียกอนซึ่งรวมถึงองคประกอบพื้นฐาน ทั้งนี้เพื่อลดชอง วางหรือขจัดความแตกตางในเรื่องนี้ระหวางประเทศที่พัฒนาแลวและประเทศที่กําลังพัฒนา จึง ควรใหทั้ง 2 ฝายมีการเจรจาในเรื่องนี้ ประเด็นสําคัญ สําหรับประเด็นสําคัญที่จะถูกหยิบยกขึ้นมาพิจารณากอนที่จะมีการเจรจาทําความตกลง นั้น นาจะเปนประเด็นดังตอไปนี้ กลาวคือ 1.ควรจะมีระดับการเปดตลาดพาณิช ยอิเล็ก ทรอนิกสในองคการการคาโลกมากนอยเพียงใด ระหวางการเปดตลาดเต็มที่ เปดตลาดบางสวน หรือปดตลาด 2.ควรหรือไมที่จะพยายามปดกั้นพาณิชยอิเล็กทรอนิกสจากภายนอกประเทศ และหากจะทําจะมี ความเปนไปไดหรือไม เพียงใด 3.การพิจารณาจัดกลุมการพาณิชยอิเล็กทรอนิกสวา ควรจะใหการพาณิชยอิเล็กทรอนิก ส เปนการคาสินคา หรือการคาบริการหรือไมเปนทั้งสินคาและบริการแตใหเปนเรื่องใหมที่นอก เหนือจาก สินคาและบริการ 4.ถาการพาณิชยอิเล็กทรอนิกสเปนการคาบริการ ควรจะเปน Mode 1 หรือ 2* 5.การคาทางพาณิชยอิเล็กทรอนิกสควรจะมีการเก็บภาษีนําเขาหรือไมในกรณีที่เปนสินคาดิจิตัล นอกจากนี้ ควรหรือไมที่จะมีการเก็บภาษีอื่นๆ เชน ภาษีรายไดและภาษีมูลคาเพิ่ม วิเคราะหแนวโนม การที่ ประเทศในกลุ ม ที่ พั ฒ นาแลว เห็น ควรให มีก ารเจรจาจัด ทําความตกลงในเรื่อ ง พาณิ ช ย เล็ก ทรอนิ ก ส ซึ่ง ขณะนี้ มี ประเทศตางๆ เสนอขอเสนอเกี่ย ว กับ พาณิชยอิเล็กทรอนิก สในดาน ที่เปนประโยชนกับ ประเทศของตน ต อ องค ก ารการค า โลกไปแล ว นั้ น ป ร ะก อ บ กั บ ก าร ค าพ าณิ ช ย อิเล็กทรอนิกสมีมูลคาสูงมากและมี อัตราการเพิ่มอยางรวดเร็วในแตละ ป โดยในป 2545 พาณิ ช ย อิ เล็ ก ทรอนิ ก ส จ ะมี มู ล ค า สู ง ถึ ง 1,234 พันลานเหรียญสหรัฐ จาก ในป 2538 ที่ มี มู ลค าเพี ยง 0.1 พั น ล า นเหรี ย ญสหรั ฐ (จากการ ค า ด ก า ร ณ ข อ ง ส ห ภ า พ โท ร คมนาคมระหว างประเทศ) ทํ าให คาดห ม ายได ว า กลุ มป ระเทศ ที่ พัฒนาแลวจะตองพยายามผลักดันใหมีการเจรจาเกี่ยวกับพาณิชยอิเล็กทรอนิกสอยางแนนอน ฉะนั้น ประเทศที่กําลังพัฒนาตองมีการพิจารณาหาจุดสมดุลที่ทําใหทุกประเทศไดรับประโยชน และ เปนธรรมโดยใชก ารเจรจารอบใหมขององคก ารการคาโลกเปนเวที ซึ่งประเด็นในขางตน ประเทศไทยจะต อ งติ ด ตามศึ ก ษา และประสานงานกั บ กรมเจรจาการค าระหว างประเทศ กระทรวงพาณิชยอยางใกลชิดตอไป *บริการระหวางประเทศมี 4 รูปแบบ (Modes) คือ Mode 1 : Cross Border Supply หรือ การใหบ ริการขามแดน หมายถึง การยอมใหคนใน ประเทศหนึ่งนําเขาบริการของผูใหบริการของประเทศอื่นๆ โดยผูใหบริการสามารถสงบริการ ขามประเทศมาใหแก ผูซื้อบริการในอีกประเทศได สงวนสิทธิ์ หามทําซ้ํา ทั้งหมด หรือบางสวน ไมวาในรูปแบบหรือสิ่งใด โดยไมไดรับ การอนุญาต จากการทองเที่ยวแหงประเทศไทย

-2-


3

Mode 2 : Consumption Abroad หมายถึง การยอมใหคนในประเทศหนึ่งเขาไปซื้อบริการของผู ใหบริการในประเทศของผูใหบริการ Mode 3 : Commercial Presence หมายถึ ง การยอมให ค นในประเทศหนึ่ ง เข า มาตั้ ง ธุ ร กิ จ บริการในประเทศอื่น และขายใหแกคนในประเทศซึ่งธุรกิจบริการตั้งอยูนั้นโดยตรง Mode 4 : Presence of Natural Persons หมายถึง การยอมใหบุคคลธรรมดาในประเทศหนึ่ง เขามาทํางานในอีกประเทศหนึ่ง

สงวนสิทธิ์ หามทําซ้ํา ทั้งหมด หรือบางสวน ไมวาในรูปแบบหรือสิ่งใด โดยไมไดรับ การอนุญาต จากการทองเที่ยวแหงประเทศไทย

-3-


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.