FA-AKSORN JOURNAL YEAR 15 VOL. 2

Page 1

FA-aksorn Journal ‘Root’ YEAR 15 VOL. 2

Linguistics ThIngs x think InTERVIEW TechnoSCOPE WHYSPREAD! ART’s Side SHORT STORY

Faculty of arts, silpakorn university


, ROOT YEAR 15 VOL.2

N R O S K L A A N FAR U O J

UNIVERSITY N R O K A P IL S , S RT FACULTY OF A

R DEAN’S LETTE

หากกล่าวถึง “ราก” หลายคนคงคิดถึงพืช ต้นไม้มีรากที่เรียกว่ารากแก้ว รากฝอย รากแขนง รากค้ำ�จุน รากสังเคราะห์แสง รากหายใจ ฯลฯ แต่รากทีส ่ �ำ คัญสำ�หรับต้นไม้คอ ื รากแก้ว รากแก้วทีห ่ ยัง่ ลงในดินได้ลก ึ ย่อมทำ�ให้ตน ้ ไม้นน ้ั เกิดความมัน ่ คง แข็งแรง และแม้รากแก้วจะฝ่อไปก็จะมีรากฝอย ขึน ้ มาแทนที่ เพือ ่ ค้�ำ จุนต้นไม้นน ้ั ให้เติบโตได้ตอ ่ ไป สังคมและประเทศชาติของเราก็เช่นเดียวกัน หากไร้ราก ความเติบโตก็พร้อมจะฝ่อ และพังทลายหากเราไม่ แข็งแรงพอ รากของสังคมที่หยั่งลงลึกก็คือวัฒนธรรมของสังคมและประเทศชาติของเรา ซึ่งย่อมแตกต่างกันไปตามแต่ บริบทของพืน ้ ทีแ ่ ละช่วงเวลา วารสารฟ้าอักษรปีท่ี 15 ฉบับที่ 2 เสนอแนวคิดหลักคือ “ราก” ทีท ่ �ำ ให้สงั คมของเราเติบโต “ราก” ของสังคมเรา คืออะไร จะหมายถึงวัฒนธรรม คนในสังคม ความเจริญและการพัฒนาในแต่ละช่วงเวลาในพืน ้ ทีท ่ เ่ี รียกว่าประเทศไทยใช่ หรือไม่ หรือจะมีสง่ิ อืน ่ อีก สังคมไทยเกิดความเปลีย ่ นแปลงอยูต ่ ลอดเวลา มีอะไรใหม่ๆ ทีเ่ กิดขึน ้ และเรากำ�ลังตามไม่ทน ั หรือถูกทิง้ ให้ลา้ หลังบ้างหรือไม่ ลองเปิดวารสารนี้ดู และทำ�ความเข้าใจกับ “ราก” ที่นักศึกษาคณะอักษรศาสตร์ร่วมกันเสนอ เผื่อจะพอเข้าใจ บทบาทของตนเองได้วา่ “คุณ” เป็นรากประเภทใด และคุณจะนำ�พาสังคมของเราให้เจริญเติบโตขึน ้ ได้อย่างไร หรือเผือ ่ จะพอตระหนักได้ว่า “ราก” ของสังคมไทยแข็งแกร่งเพียงพอหรือยัง และเราจะทำ�ให้รากฝอยทั้งหลายเติบโตและยึด แผ่นดินนีไ้ ว้อย่างแข็งแกร่งต่อไปได้อย่างไร

รองศาสตราจารย์ ดร. วรางคณา นิพท ั ธ์สข ุ กิจ คณบดีคณะอักษรศาสตร์

E EDITOR’S NOT

กว่าที่โลกจะก่อกำ�เนิดขึ้นมาและกลายเป็นโลกที่เราคุ้นเคยนั้น ก็ต้องมีจุดเริ่มต้นและผ่านกระบวนการมากมาย ตามความเชือ ่ ของแต่ละคน ไม่วา่ จะเป็นทฤษฎีก�ำ เนิดเอกภพ พระเจ้าผูส ้ ร้างโลก หรือแม้กระทัง่ เอเลีย ่ นเป็นผูน ้ �ำ เทคโนโลยี และความเจริญก้าวหน้ามาเผยแพร่บนดาวเคราะห์ของเรา ทุกสรรพสิง่ ล้วนมีจด ุ เริม ่ ต้น เช่นเดียวกับต้นไม้ทต ่ี อ ้ งมีรากหยัง่ ลึกลงไปในดินก่อนจะตามมาด้วยลำ�ต้น กิง่ ก้านสาขา ใบ ดอก ฯลฯ ในโลกยุคปัจจุบน ั ทีม ่ ก ี ารพัฒนาไปอย่างก้าวกระโดด มีการต่อยอดและคงรักษาสิง่ ต่างๆ จากอดีตมากมาย หาก เรามองย้อนกลับไปจะเห็นได้วา่ ทุกสิง่ อย่างล้วนเริม ่ มาจากจุดเริม ่ ต้นเล็กๆ (ทีย ่ ง่ิ ใหญ่) ทัง้ สิน ้ เราคงไม่มภ ี าษาให้ใช้ตด ิ ต่อ สื่อสาร หากมนุษย์ยุคก่อนไม่พยายามคิดค้นวิธีการสื่อสารกับเพื่อนร่วมเผ่าพันธุ์ของตน เราคงไม่มีระบอบการปกครอง แบบประชาธิปไตย หากชาวกรีกไม่เป็นผูร้ เิ ริม ่ แนวคิดดังกล่าว เราคงไม่มเี ทคโนโลยีอย่าง Google Drive หากมนุษย์ ไม่มค ี วามพยายามทีจ่ ะเก็บรักษาข้อมูลของตน โลกปัจจุบน ั เกิดจากการประกอบสร้างของทุกสิง่ ทุกอย่างในอดีต การทีเ่ ราจะเข้าใจสิง่ หนึง่ สิง่ ใดได้อย่างลึกซึง้ เราจำ�เป็นต้องเข้าใจพืน ้ ฐานหรือทีม ่ าทีไ่ ปของสิง่ ต่างๆ เหล่านัน ้ ก่อน วารสารฟ้าอักษรฉบับนีจ้ งึ ขอพาทุกคนย้อนกลับไปสำ�รวจถึงรากและความเป็นมาของสิง่ ต่างๆ ทัง้ ภาษา ค่านิยมทางสังคม เทคโนโลยี ศิลปะ รวมถึงปรากฏการณ์ทางสังคมที่เกิดขึ้น และหวังว่าวารสารฉบับนี้จะเป็นส่วนหนึ่งที่ช่วยขยายมุมมอง ในด้านต่างๆ ของผูอ ้ า่ นมากขึน ้

ปรเมษฐ์ เอีย ่ มสอาด บรรณาธิการวารสารฟ้าอักษร


&

Contents Contact Contributors Linguistics 3 Things x Think 5 Mythology 7 Hate Speech 13 TechnoScope 16 ไทยมุง ไทยเมาท์ 17 จอมพล ป. รากวัฒนธรรมใหม่ 20 Interview 24 WhySpread! 30 Art’s Side 31 Short Story 33

Executive Editor Prasitchai Jirapasittinon

Editor Poramet Aiemsa-ard

Advisors Naowarat Patipatpakdee Weena Wutthichamnong

Editorial Staff Pawornrat Tiensirirerk

Contributors Chanon Wuttibenjapolchai Chisaphat Srisapum Jaruwan Sudaduong Kittipod Sahawiriyasakul Natthakan Jampasri Roipim Poopakhun Santiti Danpan Supasit Sittising Thanida Wimonsate Thidsadee Tangjan Proofreaders Ailada Leatkhunthot Parinda Wongcharoen Phuntharee Poolwong Preeyanut Bootsawai Rungthip Saowanee Sarita Mhoryaananchai Tamonwan Supanukanon กองบรรณาธิการวารสารฟ้าอักษร ชั้น 1 อาคาร 36 ปี คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์ จังหวัดนครปฐม 73000

Art Director Cholticha Loyfa Graphic Designers Kornwara Chaintarawong Parinda Wongcharoen Pemika Potprasat Praewpan Hansapan Ramita Khongchub Tanaporn Chumpoo Coordinators Kwanjit Janjan Pariyaphat Sukhonphanit Praepilai Mekhakul Administrator Apichaya Singchu Secretary Kwanjit Janjan วารสารฟ้าอักษร FA-AKSORN Journal faaksonjournal@gmail.com www.medium.com/@faaksornjournal


ความเสมอภาคที่หลอมรวมกับภาษา ถ้าภาษาอังกฤษไม่ใช่ภาษากลาง แล้วภาษาอะไรจะเป็นภาษากลางล่ะ?

คำ�ตอบสำ�หรับคำ�ถามนี้ต้องทำ�ให้คุณประหลาดใจอย่างแน่นอน....เพราะว่า ภาษาที่ จ ะเฉิ ด ฉายบนเวที โ ลกแทนภาษาอั ง กฤษนั้ น ....มี แ นวโน้ ม ว่ า จะไม่ ใ ช่ ภ าษาที่ มี คนใช้กันแพร่หลายอย่างภาษาจีนแต่อย่างใด แต่เป็นภาษาที่ง่ายกว่า และเป็นกลางต่อผู้ที่ ต้องศึกษามากกว่า นั่นก็คือ...ภาษาเอสเปอรันโต (Esperanto) Historio de Esperanto!

ความเป็นมาของภาษาเอสเปอรันโต

“เอสเปอรันโต” เป็นภาษาที่ลุดวิก ลาซาร์ ซาเมนฮอฟ (Ludwig Lazar

Zamenhof) จักษุแพทย์ชาวโปแลนด์ ประดิษฐ์ขึ้นในปี ค.ศ. 1887 เพื่อให้เป็นภาษากลาง เพราะตอนนั้นโลกยังไม่มีภาษากลางที่ทุกคนสามารถใช้สื่อสารกันได้ โดยซาแมนฮอฟได้ ค้นคว้าและศึกษาภาษาต่างๆ ในทวีปยุโรป แล้วนำ�ความรู้นั้นมาสร้างเป็นภาษาใหม่

ในช่วงก่อนสงครามโลกครั้งที่สอง ภาษาเอสเปอรันโตเป็นที่นิยมอย่างมาก

เพราะมีความเชื่อว่าภาษานี้เป็นภาษาแห่งสันติภาพ ผู้คนสามารถใช้ภาษานี้สื่อสารกันได้ อย่างเท่าเทียม ไร้ข้อจำ�กัดทางวัฒนธรรม และไร้ความได้เปรียบ เสียเปรียบของภาษาแม่ ของผู้พูด

แต่ภายหลังเมื่อสงครามโลกครั้งที่สองสิ้นสุดลง

เจตจำ�นงที่จะทำ�ให้ภาษา

เอสเปอรันโตเป็นภาษากลางของโลกก็ถูกแช่แข็งไป เพราะภาษาเอสเปอรันโตได้รับ ความนิยมน้อยลง

แล้วภาษาที่มีคนใช้เยอะอย่างภาษาอังกฤษ

กลางของโลกยาวนานมาจนถึงปัจจุบัน

ก็ก้าวขึ้นมาเป็นภาษา

แต่ถึงอย่างนั้นภาษานี้ก็ได้หยั่งรากลึกลงไปยัง

ผืนดินแห่งชีวิตของมนุษย์แล้ว และรากนั้นก็ยังคงเพิ่มพูนและแตกรากย่อยต่อไปเรื่อยๆ เพราะบางครอบครัวที่มีพ่อหรือแม่ที่พูดภาษาเอสเปอรันโตได้ เขาจะพูดคุยกับลูกทำ�ให้ มีเด็กๆ ที่เติบโตมากับภาษานี้แล้วประมาณ 2,000 คน และแน่นอนว่าพวกเขาย่อม มีภาษานี้อยู่ในทุกๆ

ลมหายใจ

ดังนั้นภาษานี้ก็จะตกทอดต่อไปยังรุ่นต่อไปเรื่อยๆ

โดยจำ�นวนผู้ใช้ภาษาเอสเปอรันโตในปัจจุบันนี้มีอยู่ประมาณ

2,000,000

คนแล้ว

อะไรทีท ่ �ำ ให้ภาษานีเ้ หมาะจะเป็นภาษากลางมากกว่าภาษาอังกฤษและภาษาจีน? ถึ ง แม้ ว่ า ภาษาเอสเปอรั น โตจะไม่ ไ ด้ มี ค นใช้ ม ากเท่ า กั บ ภาษาอั ง กฤษและ ภาษาจีน แต่ภาษานี้ง่ายกว่ามาก ทั้งในด้านของไวยากรณ์ที่ไม่ซับซ้อน และแทบไม่มี ข้อยกเว้น ทำ�ให้ผู้ศึกษาสามารถใช้ภาษาเอสเปอรันโตได้ภายในระยะเวลาอันสั้น ด้าน การออกเสียง ภาษานี้มีการออกเสียงตรงตัวตามการสะกด และไม่มีระบบวรรณยุกต์ที่ ก่อให้เกิดความสับสนสำ�หรับผู้ศึกษาที่ภาษาแม่ไม่มีระบบวรรณยุกต์ และด้านการเขียน ตัวอักษรที่ใช้นั้นคือตัวอักษรละตินจำ�นวน 28 ตัว ซึ่งทำ�ให้ไม่ต้องจำ�การเขียนคำ�ศัพท์ แต่ละคำ�แบบภาษาจีน

3


เอสเปอรันโต ไฟสีขาวแห่งความหวัง

โดย ก้อนเมฆสีแดงและดอกกุหลาบสีขาว

นอกจากนี้ ภาษาเอสเปอรันโตยังมีส�ำ เนียงเฉพาะตัว ซึง่ ภาษาแม่ไม่มอ ี ท ิ ธิพลต่อสำ�เนียงแต่อย่างใด ทำ�ให้ผู้ พูดรู้สึกผ่อนคลายมากกว่าเมื่อต้องสนทนากับผู้อื่น และ ช่วยลดการไม่เข้าใจกันระหว่างการสื่อสารของผู้สนทนา อั น เนื่ อ งมาจากการออกเสี ย งที่ แ ตกต่ า งกั น ของแต่ ล ะ สำ�เนียง ด้วยลักษณะเหล่านี้ทำ�ให้ภาษาประดิษฐ์นี้ง่ายที่ จะศึกษา และเหมาะสมกับตำ�แหน่งภาษากลางของโลก มากกว่าภาษาอังกฤษและภาษาจีน ถึงแม้ว่าในความเป็น จริงแล้วภาษาเอสเปอรันโตจะไม่ใช่ภาษากลางของโลก แต่องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่ง สหประชาชาติ (UNESCO) ได้ประกาศให้ภาษานี้เป็น ภาษาช่วยการสื่อสารสากล (International auxiliary language) ซึ่งเป็นภาษาช่วยการสื่อสารที่มีคนใช้มาก ที่สุดของโลก เอสเปอรันโต: ภาษารากฐานสูก ่ ารเรียนรูภ ้ าษาอืน ่ ! ถ้าหากคุณรู้ภาษาเอสเปอรันโตแล้วล่ะก็ คุณจะ สามารถเข้าใจภาษาอื่นๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งกลุ่มภาษา โรมานซ์ เช่น ภาษาฝรัง่ เศส ภาษาสเปน และภาษาอิตาเลียน ได้ อ ย่ า งรวดเร็ ว ....เพราะภาษาเอสเปอรั น โตนั้ น กำ � เนิ ด มาจากการผสมกั น ระหว่ า งภาษาโรมานซ์ แ ละภาษา เจอร์แมนิก ดังนั้นถ้าความฝันของคุณคือการพูดได้หลาย ภาษา การเริ่มต้นศึกษาที่ภาษาเอสเปอรันโต ก็ถือว่าเป็น ก้าวแรกที่จะทำ�ให้ฝันของคุณเป็นจริงได้ง่ายยิ่งขึ้น อีกทั้ง ยังมีแนวโน้มทีค ่ ณ ุ จะใช้ภาษาต่างๆ เหล่านัน ้ ได้ดม ี ากขึน ้ อีกด้วย

สำ�หรับในประเทศไทยเอง ชมรมภาษาเอสเปอรันโต กรุงเทพก็ได้จัดการประชุมเยาวชนผู้ใช้ภาษาเอสเปรันโต ในภูมภ ิ าคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ครัง้ ที่ 1 ณ กรุงเทพ มหานครและพระนครศรีอยุธยา เมือ ่ วันที่ 27-29 เมษายน 2561 ดังนั้นนอกจากจะเป็นภาษาที่ง่ายต่อการเรียนแล้ว ยังเป็นภาษาที่สามารถนำ�ผู้พูดไปพบเจอกับผู้คนใหม่ๆ และสังคมใหม่ๆ ได้อีกด้วย แล้วถ้าอยากเรียนภาษาเอสเปอรันโต...เราสามารถ เรียนได้ที่ไหนครับ? ผู้ที่สนใจศึกษาภาษาเอสเปอรันโตสามารถเรียน ได้ด้วยตัวเองผ่านแอปพลิเคชัน เช่น Duolingo เว็บไซต์ เช่น Kurso de Esperanto และ YouTube หรือ เรียนกับทางชมรมภาษาเอสเปอรันโตกรุงเทพ Verda Elefanto ส่วนใหญ่แล้วคอร์สเรียน และไฟล์หนังสือ ต่างๆ จะสามารถเข้าถึงได้ในโลกอินเทอร์เน็ต และ แน่นอนว่าเกือบทั้งหมดนั้นฟรี! บทสรุ ป แห่ ง ภาคี สี ข าว...เอสเปอรั น โตแสงไฟจาก ประภาคาร ท้ายทีส ่ ด ุ นี้ ถึงแม้วา่ ในปัจจุบน ั ภาษาเอสเปอรันโต จะไม่ได้เป็นภาษาสากลของโลก ไม่ได้มีคนใช้มากเท่ากับ ภาษาอื่นๆ เช่น ภาษาจีน และภาษาอังกฤษ และไม่ได้เป็น ที่รู้จักมากมายนัก แต่ก็ไม่สามารถปฏิเสธได้ว่า ภาษานี้ มี ค วามเหมาะสมที่ สุ ด ที่ จ ะก้ า วขึ้ น มาเป็ น ภาษาสากล ของโลกต่อไปในอนาคต

เอสเปอรั น โตภาษาแห่ ง ความเท่ า เที ย ม “ไร้รอยต่อของวัฒนธรรม ไร้ชอ ่ งว่างของเชือ ้ ชาติ ที่จะพาคุณพบเจอมิตรภาพ! เอสเปอรันโต คลืน ่ ใต้น�ำ้ ทีจ่ ะพัดนำ�ความเสมอภาคมาสู่ Nin estas amikoj! การสื่อสารที่เป็นสากลอย่างแท้จริง” (นีน เอสตาส อามีโกย = We are friends!) ภาษาเอสเปอรันโตนัน ้ ไม่ได้เป็นภาษาของชนชาติใด ชนชาติหนึ่ง หรือประเทศใดประเทศหนึ่ง และผู้พูดสามารถ สือ่ สารกันได้ แม้ว่าจะมีวฒ ั นธรรมและภาษาแม่ทแี่ ตกต่างกัน ก็ตาม ผู้พูดภาษานี้จึงสามารถสื่อสารกันและมีไมตรีตอ ่ กัน ได้งา่ ย เพราะภาษาเอสเปอรันโตเป็นสะพานเชือ ่ มความแตกต่าง นัน ้ ๆ ผูใ้ ช้ภาษาเอสเปอรันโตมีประมาณ 2,000,000 คน รายการอ้างอิง และสมาคมเอสเปอรันโตสากล (Universala EsperantoAsocio) มีสมาชิกอยูม ่ ากกว่า 120 ประเทศ ซึ่งจะมีการจัด Lernu. (ม.ป.ป.). เอสเปรันโตคืออะไร?. เข้าถึงเมื่อ 17 พฤษภาคม. เข้าถึงได้จาก https://lernu.net/th/esperanto การประชุมใหญ่เอสเปอรันโตสากล (Universala Kogreso McGill, Elina. (2018). 5 Reasons Why Esperanto Is Worth Learning. Accessed May 17. Available from https://medium.com/the-poly de Esperanto) สำ�หรับผู้ใช้ภาษาเอสเปอรันโตเป็นระยะๆ glot-path/5-reasons-why-esperanto-is-worth-learning-d0e3e และในการประชุมนี้กเ็ ป็นโอกาสทีด ่ ท ี ผี่ ู้ใช้ภาษาเอสเปอรันโต 512d2a1 Robert P. (2019). The Wonderful Horrible History of Esperanto, the จะได้พบกับผู้คนจากต่างแดน ต่างวัฒนธรรม และแน่นอนว่า Universal Language. Accessed May 17. Available from https:// owlcation.com/humanities/The-Wonderful-Horrible-History-ofEsperanto-the-Universal-Language

“เอสเปอรันโตจะเป็นสะพานเชื่อมความแตกต่าง และนำ�มาสู่มิตรภาพ และความเสมอภาค” 4


นิทาน เรื่องเล่า กุศโลบาย

ปลูกฝังค่านิยมของคนได้อย่างไร โดย ภาพสะท้อนบนรอยยิ้ม

“กาลครั้งหนึ่งนานมาแล้ว...” ในแต่ละท้องถิ่นของตนเอาไว้ในเนื้อในนิทานอีสปที่เราทราบ กันดีอยู่แล้วว่าเป็นนิทานที่แฝงข้อคิดเอาไว้ในเรื่อง และนิทาน ชาดกต่างๆ ที ่แสดงให้เห็นถึ ง ผลของการทำ�ดีไม่เบียดเบียน ผู้อื่นหรือแม้กระทั่งความเชื่อต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นเรื่องเวรกรรม เรื่องผีสาง เทวดานางไม้ กฎแห่งกรรมล้วนเป็นเรื่องที่ตัวเรา ในวัยเด็กนั้นรับมาจากคนรอบข้างด้วยเหตุผลที่ว่ามันน่าสนุก มันช่างมหัศจรรย์โดยที่เราไม่ทันนึกย้อนคิดไปตอนนั้นเลยว่า เรือ ่ งทีเ่ ราได้อา่ นไปนีม ้ น ั สอดแทรกอะไรอยู่ สำ�หรับเด็กในวัยช่างจินตนาการนัน ้ จะเป็นวัยทีช ่ า่ งคิด ช่างฝัน ฉะนัน ้ แล้วการสัง่ สอนทางอ้อมอย่างการเล่านิทานหรือ การเล่าเรือ ่ งต่างๆ ทีส ่ อดแทรกเนือ ้ เรือ ่ งทีจ่ ะสัง่ สอนหรือปลูกฝัง ลงไปในนิ ท านที ่ เ ด็ ก ๆ ชื ่ น ชอบ ประโยชน์ ข องการทำ � เช่ น นี ้ ประการแรกทีเ่ ราเห็นได้ชด ั คือ เด็กๆ เลือกทีจ่ ะไม่ปฏิเสธการนัง่ ฟัง เรือ ่ งราวสนุกสนานอย่างนิทาน หากเราสอนเรือ ่ งบางอย่างตรงๆ กับเด็กก็อาจจะเป็นการทำ�ให้เด็กในวัยนี้เบื่อและไม่สนใจที่จะ รับฟังรับรู้ ซึ่งในกรณีนี้หากผู้ปกครองหลายต่อหลายคนไม่ สามารถควบคุมเด็กๆ ให้ทำ�ตามที่พวกเขากำ�หนดเอาไว้ได้ การกระทำ�ของเด็กๆ ทีม ่ อ ี ารมณ์น�ำ เหตุผลก็จะนำ�พาให้อารมณ์ และเหตุผลของเหล่าผู้ปกครองไม่เป็นที่พึงพอใจ จนอาจจะนำ� ไปสู่การลงโทษกันในที่สุด ซึ่งไม่ได้เป็นผลดีต่อพัฒนาการของ เยาวชนแต่อย่างใด ฉะนั้นประโยชน์ประการต่อมาของการเล่า นิทานให้เด็กๆ ฟังจึงเปรียบเสมือนการสั่งสอนไปพร้อมกับ การเชือ ่ มความสัมพันธ์อน ั ดีระหว่างคนในครอบครัวเข้าด้วยกัน

วลียอดนิยมเมื่อเริ่มต้นเล่านิทานสักเรื่องหนึ่งหรือถ้า ย้อนกลับไปในสมัยทีเ่ รายังเป็นเด็กตัวเล็กๆ วลีนจ้ี ะกลายเป็นวลี ที่เราจะได้ยินเมื่อมีใครซักคนมาเล่านิทานสักเรื่องหนึ่งให้เราฟัง แน่นอนว่านิทานที่เราได้ฟังในตอนที่เรายังเป็นเด็กน้อยหอยสังข์ นั้นเปรียบเสมือนโลกในจินตนาการโลกในเทพนิยาย เรื่องราว สุดแฟนตาซี เป็นเรื่องที่สนุกสนานเพลิดเพลินแต่บางครั้งผู้ใหญ่ บางคนได้สอดแทรกข้อคิด คติสอนใจหรือแม้กระทั่งอุดมการณ์ ลงไปในจินตนาการของพวกเขาจนสามารถกลัน ่ กรองมันออกมา เป็นนิทานเรือ ่ งเล่าให้เล่าสูก ่ น ั ฟังโดยทีผ ่ รู้ บ ั สารไม่วา่ จะเป็นผูอ ้ า่ น หรือผู้ฟังก็จะซึมซับเจตจำ�นง ในการแต่งเรื่องเรื่องหนึ่งขึ้นมา อย่างช้าๆ จนหล่อหลอมเป็นนิสัย ความเชื่อค่านิยมของคนใน สังคมไปโดยปริยาย นิทานเรือ ่ งเล่านัน ้ เปรียบเสมือนกุศโลบายอย่างหนึง่ ทีค ่ อย ปลูกฝังให้แก่มนุษย์ตั้งแต่เด็กๆ ใครจะคิดว่านิทานสำ�หรับเด็ก จะสอดแทรกความต้องการของผูเ้ ขียนลงมาด้วยแล้วทำ�ไมถึงมา ปรากฏในรูปแบบของนิทานสำ�หรับเด็กในช่วงวัยก่อนเข้าเรียนนัน ้ เป็นเด็กทีอ ่ ยูใ่ นช่วงเพ้อฝันช่างจินตนาการการรับรูเ้ รือ ่ งนิทานนัน ้ จะส่งผลต่อการเสริมสร้างจินตนาการทีส ่ �ำ คัญให้กบ ั เด็กๆในช่วงนัน ้ แบบไม่เป็นการยัดเยียดอุดมการณ์หรือค่านิยมอะไรบางอย่างให้ เด็กแบบตรงๆ ซึง่ เด็กในช่วงวัยนีไ้ ม่สามารถทีจ่ ะเข้าถึงความเป็นอยู่ ของสังคมภายนอกเพราะสังคมของเด็กในช่วงวัยนี้มักผูกติดกับ ครอบครัวและกลุม ่ เพือ ่ นจำ�นวนไม่มากนักผนวกกับที่ได้กล่าวไป ข้างต้นแล้วว่าเด็กในช่วงวัยนี้เป็นวัยที่มีจินตนาการพลุ่งพล่าน เมือ ่ พวกเขารับรูเ้ รือ ่ งทีเ่ กีย่ วกับการเสริมสร้างจินตนาการอย่างนิทาน ทีเ่ ป็นเนือ ้ หาเบาสมอง และเสริมสร้างจินตนาการของเด็ ก ในช่ ว ง วั ย นี ้ อาทิ นิ ท านพื ้ น บ้ า นที ่ ส อดแทรกวั ฒ นธรรมประชานิยม

5


การใช้เวลาด้วยกันโดยการอ่านนิทานให้เด็กในครอบครัวฟัง หรือจะเป็นการทีผ ่ ป ู้ กครองนัง่ ฟังบุตรหลานอ่านนิทานให้ฟงั นัน ้ ก็เป็น การใช้เวลาร่วมกันทีจ่ ะส่งผลให้ครอบครัวอบอุน ่ ไม่บาดหมางกัน แถมยังเป็นการสัง่ สอนบุตรหลานทางอ้อมทีพ ่ วกเขาค่อยๆ ซึมซับ คำ�สอนต่างๆเข้ามาสู่มุมมองการใช้ชีวิตในสังคมนิทานจำ�พวกนี้จะแสดงภาพให้เด็กๆ เห็น ซึ่งเด็กๆ ก็จะเลือกรับสิ่งที่ดี ในทำ�นองเดียวกัน พวกเขาก็จะปฏิเสธสิ่งที่ไม่ดี อย่างเช่น ในไตรภูมิพระร่วง การที่เรามองสวรรค์เป็นสถานที่ที่งดงามเราทำ�ดี แล้วเราจะได้ขน ้ึ สวรรค์กเ็ ป็นกุศโลบายทางอ้อมทีช่ ก ั จูงนำ�พาให้เราได้ท�ำ ความดีตามทีเ่ นือ ้ แท้ของเรือ ่ งราวทีผ ่ แู้ ต่งอยากจะนำ�เสนอ ซึ่งทำ�ให้การปลูกฝังค่านิยมตั้งแต่เด็กผ่านการเล่าเรื่องนั้นเป็นรากฐานสำ�คัญของสังคมทางอ้อมอย่างปฏิเสธไม่ได้

สำ�หรับย่อหน้าสุดท้าย หากจะกล่าวแบบปิดเรือ ่ งจบของนิทานคงจะต้อง ขึน ้ ต้นด้วยประโยคทีว่ า่ “นิทานเรือ ่ งนีส ้ อนให้รวู้ า่ ...” ฉะนัน ้ แล้วจึงขอจบคอลัมน์น้ี ไปด้ ว ยประโยคที ่ว่า นิทานเรื่องนี้สอนให้รู้ว่านิทานทุก เรื่องล้วนมีข้อคิด สอดแทรกทีจ่ ะทำ�ให้มนุษย์อยูใ่ นสังคมได้อย่างมีความสุข เพราะข้อคิดทีส ่ อดแทรก นัน ้ ได้ถก ู ถ่ายทอดจากคนสูค ่ น จากรุน ่ สูร่ น ุ่ ซึง่ ในการทีพ ่ วกผูใ้ หญ่จะเติบโต พวกเขา ก็ตอ ้ งเป็นเด็กมาก่อน ความเชือ ่ ทีต ่ กทอดกันมานัน ้ จะเป็นเส้นทางการสร้างค่านิยม ที่เป็นข้อตกลงร่วมกันในสังคมขึ้นมาผ่านนิทานที่เปรียบเสมือนคำ�สอนที่เป็น เรือ ่ งเล่าแสนสนุกที่เล่ากันจากรุ่นหนึ่งส่งต่อมาสู่อีกรุ่นหนึ่ง


Mythology

...ว่าด้วยปกรณัมปรัมปรา

“จักรวาลปะทุมาแต่กาลไหน เรามนุษย์พึงสังวรทั้งชีวิต

- นิทรา ปาฏิหาริย์ -

สวรรค์ใดใคร่สงสัยใครลิขิต ทั้งกายจิตสมภพขึ้นด้วยเหตุใด”

ในยุคที่วิทยาศาสตร์กลายมาเป็นเครื่องมือในการ ตอบคำ�ถามอันแสนพิศวงหลายแสนคำ�ถามในโลกปัจจุบัน และสร้างเรื่องเหนือความคาดหมายราวกับเป็นของวิเศษ ที่อยู่ในกระเป๋าโดราเอมอนพวกเรารู้สึกอุ่นใจทุกครั้งที่มี วิทยาศาสตร์คอยวิ่งแก้ปัญหาอันน่ากลัวที่อยู่รอบตัวเรา และสร้ า งสรรค์ วิ ท ยาการอั น แสนวิ เ ศษขึ้ น มาตลอดหาก เรามองว่ า ปั จ จุ บั น เราโชคดี ที่ มี ศ าสตร์ ศ าสตร์ นี้ ค อยช่ ว ย เหลือเราอยู่ แต่ก็น่าสงสัยว่าในสมัยก่อนเราใช้อะไรใน การตอบปัญหาเหล่านั้นเพื่อให้ชีวิตของมนุษย์ดำ�เนินไปได้ อย่างมีความหวัง หากเราย้อนไปยังยุคก่อนประวัติศาสตร์ เราก็จะ พบวิธีการแก้ปัญหาที่น่าสนใจมากมายหลายประการ เช่น การสวดมนต์ การประกอบพิธีกรรม การริเริ่มจดบันทึก แต่วิธีการแก้ปัญหาที่เป็น ‘แก่นราก’ ของหลายวัฒนธรรม ก่อนประวัติศาสตร์ที่ทำ�หน้าที่ถ่ายทอดเรื่องราวให้เหล่า ประชาชนรั บ รู้ กั น อย่ า งแพร่ ห ลายนั้ น จะเป็ น “ปกรณั ม ปรัมปรา” (Mythology) คำ�ว่า “ปรัมปรา” ในพจนานุกรม ฉบั บ ราชบั ณ ฑิ ต ยสถาน พ.ศ. 2554 [1] อธิ บ ายไว้ ว ่ า ปรัมปรา อ่านว่า ปะ-รำ�-ปะ-รา เป็นคำ�วิเศษณ์ที่ยืมมาจาก ภาษาบาลีสันสฤกต แปลว่า สืบๆ กันมา, เก่าก่อน แต่ใน สาขาวิชาปรัชญา เรื่องปรัมปรา (Myth) หมายถึง เรื่องเล่า ที่เล่าสืบเนื่องกันมาเกี่ยวกับสิ่งที่มีอำ�นาจเหนือธรรมชาติ ที่ แ ฝงความคิ ด ทางปรั ช ญาหรื อ ต้ น กำ � เนิ ด ทางความเชื่ อ ทางสังคม นอกจากนี้ตัวปกรณัมปรัมปราเองก็แฝงเอาไว้ ซึ่งสัจธรรมและคติธรรมซึ่งเปรียบได้ดั่งตาชั่งความดีตาม มาตรฐานของสังคมนั้นๆ ดังนั้น การสร้างเรื่องปรัมปรา ก็ อ าจหมายถึ ง การนำ � เหตุ ก ารณ์ จ ริ ง มาอธิ บ ายด้ ว ย เรื่องเล่า (Mythologization) ดังนัน ้ เรือ ่ งเล่าปรัมปราจึงเป็นอีกศาสตร์ทไ่ี ม่ใช่เพียง การรับรู้เพื่อเล่นหรือเพื่อความบันเทิงแต่ในตัวเนื้อหายัง ประกอบไปด้วยประวัติศาสตร์และวิถีชีวิตของคนสมัยนั้น ยกตัวอย่างเช่น รูปบนไห หรือผนังวิหาร ที่มีการกล่าวถึง บรรดาเทพหรือวีรบุรุษ (Hero) ที่เป็นเรื่องเล่าเพื่อสร้าง ขวัญหรือโศกนาฏกรรม[2] นอกจากนี้ ปกรณัมยังแสดงถึง วิถีชีวิตของคนในพื้นที่นั้นๆ

เพราะปกรณัมนั้นยังมีความสัมพันธ์ในอีกรูปแบบ และในบางพื้ น ที่ ป รั ม ปรายั ง เป็ น เสมื อ นศาสนาสำ � หรั บ พวกเขาความสำ�คัญของเรื่องปรัมปราดูเหมือนจะไม่ใช่แค่ เรื่องเล่าคติสอนใจดั่งที่ใครหลายๆ คนเข้าใจอีกต่อไป แต่ ศาสตร์ของปกรณัมปรัมปราเหมือนจะลึกซึ้งหยั่งรากไปถึง แก่นและแกนของวัฒนธรรมมากกว่าที่เราจะมองดูแค่ผิว เผินได้ Yggdrasil ต้นไม้โลกและจุดกำ�เนิดสรรพสิ่ง เรื่อง เล่าปรัมปราของชาวไวกิ้ง การผูกพันอย่างจำ�เป็นเพื่อให้ เข้าใจถึงที่มาของโลกผ่านบทกลอน ดัดแปลงจาก Norse Mythology โดย นีล ไกแมน (Neil Gaiman) สารจากผู้เขียน“เรื่องเล่าที่กำ�ลังจะได้อ่านต่อไปนี้ เป็ น เรื่ อ งปรั ม ปราแห่ ง นอร์ ส เนื่ อ งจากธี ม ของวารสารนี้ เป็ น เรื่ อ งเกี่ ย วกั บ รากผู้ เ ขี ย นจึ ง อยากนำ � เรื่ อ งปรั ม ปรา ที่เกี่ยวกับรากมาเล่าให้ทุกท่านฟังโดยทั้งหมดนี้แปลงมา จากหนังสือเรื่อง Norse Mythology ของ นีล ไกแมน และผู้ เ ขี ย นยั ง สอดแทรกข้ อ มู ล บางอย่ า งที่ ไ ม่ ไ ด้ มี ใ น หนังสือหรือไม่ได้แปลเอาไว้ เพื่อให้ทุกท่านได้ท่องไปยัง โลกอันแสนพิศวง และเต็มไปด้วยกลิ่นอายของดินแดนยุค อัศวินและคนเถื่อน ผู้เขียนพยายามแปลงให้ภาษามีความ โบราณบ้างเพื่อให้เกิดอรรถรสในการอ่านและต่อไปนี้เชิญ ท่านผู้อ่านหยิบ ‘กุญแจ’ ฟ้าอักษรเล่มนี้และเปิดประตูไปสู่ ดินแดนบ้านเกิดของเทพเจ้าสายฟ้า ณ บัดนี้”

7


- ก่อนกำ�เนิดโลกและมนุษย์ “ก่อนการปะทุขึ้นของผืนเมทินี ณ กาลนัน ้ จักรวาลไร้ซงึ่ ชีวต ิ ให้อศ ั จรรย์ ดวงผกาย หงายในราตรี นภากว้างให้ฝูงวิหคโบยบิน ไร้ซึ่งกระทั่ง ศิ ว โลกอั น แสนโสภาให้นิ มิ ต ถึ ง จั ก รวาลนั้ น เป็น อรู ป ที่ โ ขมงไปด้ว ยม่า นหมอกที่ ห นาวเสี ย ดกระดู ก และ อัคนิรุทรที่ลุกไหม้เป็นนิรันดร์ ณ กาลนั้นทั้งจักรวาลมี เพียงสองดินแดนที่มิอาจบรรจบหนึ่งคือดินแดนเหมันต์ นิ รั น ดร์ก าลทั่ ว ทั้ ง ทวี ป คื อ ดิ น แดนที่ ห นาวเหน็ บ สุ ด ขั้ ว หฤทัย อนึ่งนั้นคือดินแดนร้อนแรงดังเพลิงอาทิตย์ แดน วินาศโลกาที่บนผืนดินโชติช่วงไปด้วยเพลิงที่ลุกไหม้ไม่รู้ จบรู้สิ้น และธารลาวา มีเพียงยักษาตนหนึ่งผู้ยืนหนึ่งเก่า กว่าเทวาทั้งปวง นามนั้นระบือลือลั่นว่าเป็นเหตุพามา ซึ่งกาลอวสานของมวลมหาชีวิตทั้งปวงด้วยการตะบัน แสงเพลิงเพียงครั้งเดียวเป็นสุริยันแห่งทวยเทพฆาต[3] เซทัล”

“ตรงกลางของทั้งสองดินแดน เป็นช่องว่างมิอาจ บรรจบ เป็น อนธการมื ด บอดว่า งเปล่า ล�้ ำ ลึ ก เป็น อนั น ต์ มีเพียงล�ำธารนามแหวกอนธการเลื้อยผ่านช่องว่างอันไร้ ที่สิ้นสุดนี้ เมื่อเวลาผ่านไปนานกว่าสหัสวรรษธรณีกาล[4] ธารน�้ำแปรเปลี่ยนเป็นธารน�้ำแข็งมารุต[5]ร้อนจากเปลว ไฟละลายความยะเยือกของธารน�้ำแข็ง ก�ำเนิดยักษา มีขนาดล้นฟ้าล้นแผ่นดินผู้เป็นบรรพบุรุษแห่งมวลราพณ์ ที่ก�ำลังจะอุบัติข้น ึ อีกไม่กี่พันราตรี “ยูเมียร์ยักษา” ผู้เป็น ทั้งบุรุษและสตรีในตนเดียวกัน” “อนึ่ ง จากยั ก ษาแล้ว หยดน�้ ำ จากกระบวนการ หลอมละลายธารน�้ำแข็งก็ก�ำเนิดเกิ ดขึ้นซึ่งอุสุภเพศเมียตัว โอฬารเกิ น จิ น ตนาการมั น มี ชี วิ ต อาศั ย ด้ว ยการเลี ย น�้ ำ แข็ ง บนธารและลิ่ ม ที่ จั บ ตั ว อยู ่ล ะแวกนั้ น อุ สุ ภ เพศเมี ย ตั ว นี้ ม อบ อาหารเลี้ยงยักษ์ยูเมียร์ให้เติบใหญ่ด้วยน�้ำนมที่ไหลออกมา เป็นกษีราชล[6]จากเต้าทั้งสี่ของมัน ยักษ์ยูเมียร์จึงขนานนาม อสุภตัวเมียนี้ว่า “อูร์หูมลา” ระหว่างที่มันเลียน�้ำแข็งก็ปรากฏ เป็นผมของคน วันที่สองปรากฏเป็นหัว และจนวันที่สาม สมบูรณ์เป็นบุรุษนาม “บูริ” บรรพบุรุษแห่งทวยเทพ บูริสมรส กั บ ธิ ด ายั ก ษาซึ่ ง เธอเป็น หนึ่ ง ในบุ ต รและบุ ต รี ทั้ ง สามที่ เ กิ ด มาจากเหงื่อในระหว่างแขนของ ยูเมียร์ และขาที่ให้ก�ำเนิด ยักษ์ “ฉกัณฐ์” หรือหกเศียร ต่อมาบูริให้ก�ำเนิด “โบว์” และ โบว์ก็สมรสกับธิดายักษานาม “เบสล่า” และให้ก�ำเนิดบุตร ชายทั้งสาม “โอดิน วีลีย์ และเวย์”

8


“บุตรชายทั้งสามของ บูริ และ เบสล่า โตขึ้นจนเข้าสู่วัยมาณพ[7] สามหน่อ มิอาจจินตนาการถึงชีวิตภายหน้าได ้ บนดิ น แดนธารแหวกอนธกาล พวกเขาเหม่อมอง ฟ้าที่ไร้ดวงดาว และพิสุธาที่ไร้ชีวา พวกเขา หารือกันถึงดินแดนที่พวกเขาสามารถเติม เต็มชีวิตลงไปได้ ดินแดนที่สามารถเรียก ได้ว่าบ้าน และโอดิน โอรสที่จะกลายเป็น บิดาแห่งมวลมนุษย์ และทวยเทพก็ตกลง กับภาตระทั้งสามว่าจะพิฆาตทวดของตน หรือยูเมียร์[8] นี่ เ ป็น สิ่ ง จ�ำเป็น อั น พึ ง กระท�ำของ สามภาตระเพื่ อ ให้อี ก หลายชี วิ ต ก�ำเนิ ด ขึ้น ทั้งสามจึงเข้าใช้ศาสตราวุธเสียบแทง ยู เ มี ย ร์จ นเกิ ด โลหิ ต ไหลเป็น กระแสธาร อันก�ำเนิดเป็นมหาสมุทรสุดลึกล�้ำล้อมดิน แดนของมนุษย์เอาไว้กายเนื้อของเขาถูก น�ำมาเป็น ธรณี ดิ น กระดู ก เป็น บรรพตสู ง ลิบฟ้า เกศากลายเป็นพฤกษา เศียรกลาย เป็นนภา สมองเป็นหมู่เมฆ และขนตาเป็น อาณาเขตของมนุษย์”

“เมื่อโลกถูกสร้างขึ้น และห้อมล้อม ไว้ด ้ว ยมหาสมุ ท รเหล่า ยั ก ษาที่ ร อดชี วิ ต จากการสร้างโลกถูกจ�ำกัดให้อยู่ขอบโลก ใกล้ท ะเลลึ ก บนแผ่น ดิ น ที่ ทั้ ง สามเรี ย ก “มิดการ์ด” ดินแดนที่สวยราวสวรรค์สร้าง แต่ก ลั บ ไร้ซึ่ ง ผู ค ้ นทั้ ง สามรู ้ว ่า โลกใบนี้ มิ อ าจจะเป็น โลกได้ห ากไร้ผู ้อ าศั ย แต่ใ น ที่ สุ ด ทั้ ง สามภาตระไปพบกั บ ขอนไม้ส อง ขอนนอนอยู ่ริ ม ทะเลขอนแรกเป็น ไม้ แข็งแรงทนทานเหมาะส�ำหรับการแปรรูป เป็นอาวุธ ขอนที่สองเป็นไม้เอม สวยงาม แต่ก็ แ ข็ ง แรงพอที่ จ ะมาสร้า งเป็น บ้า นได้ วี ลี ย ์ใ ส่ค วามทะเยอทะยานและความรู ้ เข้า ไปในขอนไม้ทั้ ง สองส่ว นเวย์ส ลั ก ไม้ ให้เ ป็น รู ป ชายและหญิ ง สุ ด ท้า ยทั้ ง สาม หาพรรณไม้มาให้ท้ังคู่สวมใส่จากนั้นชาย หญิงคู่แรก บรรพบุรุษแห่งมวลมนุษย์ก็ได้ ก�ำเนิดขึ้น ผู้ชายท�ำจากไม้แอชนาม “อาร์ก” ส่วนสตรีเพศนาม “เอมบล่าหรือเอม” ทั้งคู่ เข้า อาศั ย ข้า งหลั ง ก�ำแพงที่ ท�ำจากขนตา ของยั ก ษ์ยู เ มี ย ร์ และนี่ คื อ ต้น ก�ำเนิ ด ของ สรรพสิ่ง เหล่าชีวิตบนโลกทั้งเก้าที่เชื่อม ต่อกันกับต้นไม้โลกหรือ “อิกดราซิล” โอดิน ใช้ต้นไม้นี้ในการเดินทางไปยังโลกต่างๆ เพื่อหาความรู้และอักษรรูนสิ่งที่มิอาจหยั่ง ถึงจากบ่อน�้ำแห่งมเมียร์โอดินได้น�ำพามา ซึ่งความรู้ที่ซุกซ่อนอยู่ในบ่อน�้ำก่อนจะเผย แพร่มั น แก่ทุ ก สรรพสิ่ ง บนอาณาจั ก รทั้ ง เก้าของเขา[9]”


- อิกดราซิล และโลกทั้งเก้า “หลังจากโลกถือกำ�เนิดขึน ้ และอิกดราซิล ได้ถก ู ปลูกขึน ้ ทัง้ โลกก็ได้กล่าวถึงความสวยงาม ของมันพฤกษาที่งดงามและสมบูรณ์ที่สุดใน ผื น พิ ภ พต้ น ไม้ ม หั ศ จรรย์ นี้ เ ชื่ อ มต่ อ โลกทั้ ง หลายเอาไว้ด้วยกัน และเป็นที่รวมพลพรรค ของเทพเจ้าเพื่อหารือกันในทุกวัน จวบจน วาระสุ ด ท้ า ยของโลกเมื่ อ มหาสงครามมา ถึงอิกดราซีลมีขนาดใหญ่โตมโหฬารจนราก ของมั น เลื้ อ ยขยั บ จั บ ถึ ง สามโลกเพื่ อ กิ น นํ้ า จากกาสารเพื่ อ ให้ มั น ยั ง คงดำ � รงชี พ อยู่ ไ ด้ รากแรกนั้ น เลื้ อ ยไปยั ง ส่ ว นที่ ลึ ก ที่ สุ ด ไปยั ง ดินแดนอันเก่าแก่ “เหมันต์นิรันดร์กาล” ใน บ่อนํ้านั้นมีมังกรนามว่า “นิดฮอกก์” ที่แทะ รากอยู่เป็นอาจิณ รากที่สองเลื้อยผ่านไปยัง ดินแดนยักษา

เจ้าของกาสารนี้คือ มเมียร์ผู้รอบรู้ เจ้าของ กาสารที ่ บ รรจุ อ นั น ตะความรู ้ ลำ � ต้ น ของ อิ ก ดราซิ ล นั้ น สามารถปี น เพื่ อ ไปยั ง โลก ต่างๆได้แต่เหล่าเทวามิจำ�เป็นต้องปีนป่าย เพื่อไปเยือนสถานที่ต่างๆพวกเขาเยื้องย่าง ด้ ว ยสะพานสายรุ้ ง ที่ ใ ช้ ชื่ อ ว่ า “ไบฟร็ อ ส” สะพานนี้ จ ะผลาญขาของยั ก ษาทุ ก ตนที่ กลํ้ากรายเข้ามาพยายามจะเยื้องย่างมายัง สะพานแห่งนี้”


“โลกทัง้ เก้าทีส ่ ะพานสายรุ้งเชือ ่ มไปถึงนัน ้ มีทงั้ หมดดังนีแ้ ห่งแรกก็คอ ื ดินแดนแห่งเทพเจ้า [10] “แอสการ์ด” สอง “เอฟไฮม์” บ้านของเหล่าศุกลภูติ สาม “นิดาวิเลียร์” หรืออีกชือ่ “สวาล์ทราฟไฮม์” ื่ สี่ “มิดการ์ด” ดินแดน ทีอ ่ ยู่ของเหล่าคนแคระ[11] ผู้รงั สรรค์สงิ่ ของอันน่าอัศจรรย์ให้แก่เผ่าพันธุ์อน [12] ของเหล่ามนุษย์ ห้า “โยทันไฮม์” บ้านของเหล่ายักษา หก “วานาไฮม์” บ้านของเหล่าเทพวาเนียร์ อยู่อย่างสันติสขุ กับเทพเอเซียร์[13] เจ็ด “เนฟฟิวไฮม์” ดินแดนเหมันต์นริ น ั ดร์ แปด “มูสเปวไฮม์” แดนวินาศโลกาอันทีเ่ ซทัลอยู่และสุดท้าย “เฮล” สถานทีท ่ ค ี่ นตายอย่างไร้เกียรติอยู่[14] ณ ดินแดน แห่งเทพเจ้า“แอสการ์ด”สถานทีท ่ เี่ หล่าเทวาจะมาประชุมกันจนกระทัง่ วันสุดท้ายเมือ ่ มหาสงคราม ได้มาเยือนทีน ่ ค ี่ อ ื กาสารแห่งเอิร์ด เป็นสถานทีศ ่ ก ั ดิส ์ ท ิ ธิอ ์ น ั สามดรุณี ผู้ถก ั ทอโชคชะตาของเหล่า ชายและหญิงแห่งมิดการ์ดงานของพวกเธอค่อยถักทอโชคชะตาของพวกเขาและท�ำนายอนาคต พวกเธอจะรังสรรค์โชคชะตาของพวกเราด้วยน�้ำมือเธอ”

[1] จินดารัตน์ โพธิ์นอก. (2561). “ปรัมปรา.” เดลินิวส์. (9 มีนาคม): 24. [2] Groeneveld, Emma. (2017). Norse Mythology. Accessed May 15. Available from https://www.ancient.eu/Norse_Mythology/. “Peeling back the layers of history in order to form a properly detailed and accurate picture of the myths, beliefs, and customs as they actually were in the Viking Age is no mean feat, especially for an overwhelmingly oral society, as Scandinavia mostly was at the time.” [3] Wikipedia. (2019). Surtr. Accessed May 16. Available from https://en.wikipedia.org/wiki/Surtr#Place_names_and_modern_influence. “Surtr moves from the south with the scathe of branches: there shines from his sword the sun of Gods of the Slain.” [4] Knowledge Corner. (2556). ธรณีกาล. เข้าถึงเมื่อ 16 พฤษภาคม. เข้าถึงได้จาก https://bit.ly/2XPOfPr [5] ลม, เนื่องจากลม [6] กษีราชล หมายถึง แม่น�้ำนม มาจาก กษีรา ส. แปลว่าน�้ำนม และ ชล ส. ชนละ แปลว่า แม่น�้ำ [7] มาณพ หมายถึง วัยรุ่น [8] Wikipedia. (2019). Ymir. Accessed May 16. Available from https://en.wikipedia.org /wiki/Ymir#Attestations. High adds that “Odin and his brothers must be the rulers of heaven and earth; it is our opinion that this must be what he is called. This is the name of one who is the greatest and most glorious that we know, and you would well to agree to call him that too”. [9] McCoy, Daniel. (n.d.). Odin’s Discovery of the Runes. Accessed May 24. Available from https://norse-mythology.org/tales/odins-discovery-of-the-runes/. อักษรรูนเป็นอักษรโบราณที่ใช้กันในแทบสแกนดิเนเวียร์และเยอรมันก่อนที่ภาษาลาตินจะเข้ามา อักษรรูนนั้นคือสัญลักษณ์ของสิ่งที่มีพลังมากที่สุดของจักรวาล นอกจากนี้อักษรรูนยังความเกี่ยวเนื่อง กันระหว่างอดีตและปัจจุบัน และโอดินคือคนที่ตามหาและเปิดเผยอักษรรูนนี้โดยความกระหายในความรู้ของเขาเอง [10] Light elf เอล์ฟแห่งแสง, ศุกล มีความหมายว่าแสงสว่าง [11] หรือเข้าใจว่าเป็นดาร์คเอล์ฟ ในตำ�นานนอร์ส [12] ในหนังสือนิยมใช้คำ�ว่า Men and Women ผู้ชายและผู้หญิงมากกว่า human ที่แปลว่ามนุษย์ ซึ่งน่าสนใจว่าทำ�ไม [13] เทพที่อาศัยอยู่ที่ แอสการ์ด เคยมีสงครามกันแต่ก็สงบลงด้วยสนธิสัญญา ให้แต่งละฝั่งส่งคนมาอยู่ในบ้านตนเอง แต่นั่นก็ยังไม่ทำ�ให้สงครามสงบลงจน ควาเซีย (Kvasir) ผู้ที่ฉลาดในบรรดาผู้ที่ฉลาด ที่สุดเกิดขึ้นจากน้ำ�ลาย และสร้างสันติสุขขึ้นระหว่างสองฝ่าย [14] สำ�หรับชาวนอร์ส การตายที่ไม่ได้เกิดจากการสู้รบเราจะไม่ได้ขึ้นไปบน ว่าฮาลา ห้องโถ่งของเหล่าเทวา เพื่อสู้เคียงบ่าเคียงไหล่ใน แร็คนาร็อก (Ragnarok) แต่จะไปอยู่ที่เฮล และจะขึ้นมาอีกครั้งเพื่อสู้เคียงข้างเหล่ายักษ์ [15] Buckley, Camille. (2017). How Icelandic Norse Mythology Influenced Tolkien. Accessed May 28. Available from https://theculturetrip.com/europe/iceland /articles/how-icelandic-norse-mythology-influenced-tolkien/. [16] McCoy, Daniel. (n.d.). What is a Kenning?. Accessed May 24. Available from https://norse-mythology.org/what-is-a-kenning/. A simple example would be “man of rings,” a kenning for “king.” Kings were men who gave out rings and other finery to their followers, so it was fitting to call a king a “man of rings.”

11


-สรุปหลังอ่านปกรณัมนอร์ส-

หากพู ด ถึ ง ตำ � นานนอร์ ส ภาพของเทพเจ้ า สายฟ้าเคราทองขีเ้ ล่นของธอร์ทแ่ี สดงโดย คริส เฮมส์เวิรธ์ (Chris Hemsworth) และโลกิ ที ่ แ สดงโดย ทอม ฮิดเดิลสตัน (TomHiddleston) เทพจอมเจ้าเล่ห์ ซึ่ ง ทั้ ง คู่ นั้ น ต่ า งประสบความสำ � เร็ จ อย่ า งล้ น หลาม จากภาพยนตร์ค ่ ายมาร์ เ วลสตู ด ิ โอ (Marvel Stdio) และทำ � ใ ห้ ใ ค ร ห ล า ย ค น ต่ า ง ส น ใ จ ป ก ร ณั ม น อ ร์ ส มากขึ้นเรื่อยๆ เพราะด้วยเสน่ห์และบุคลิกของเทพเจ้า แต่ละองค์ที่มีความเป็นเอกลักษณ์ไม่ว่าจะการกระทำ� อั น ไม่ ยั้ ง คิ ด ของธอร์ ภ าคแรกที่ ก็ แ สดงถึ ง ความมุ ท ะลุ แ ล ะ ข า ด ก า ร ยั บ ยั้ ง ชั่ ง ใ จ ที่ เ ห ล่ า เ ท พ เ จ้ า พึ ง มี โอดินจึงต้องส่งธอร์ลงมายังโลกและริบพลังทั้งหมดเพื่อ เป็นการทำ�โทษหากสั งเกตดู จ ะพบว่ าเทพนอร์ ส ที่ ทาง ภาพยนตร์ นำ � เสนอมานั้ น ช่ า งขาดบุ ค ลิ ก อั น เคร่ ง ขรึ ม อย่างที่เราจินตนาการไว้ ที่ ผ มจะกล่ า วต่ อ ไปก็ คื อ นี่ คื อ เอกลั ก ษณ์ ข อง ปกรณัมนอร์ส เทพเจ้าทุกองค์มเี อกลักษณ์เป็นของตัวเอง และน่าสนใจทั้งสิ้นเนื้อเรื่องเต็มไปด้วยการผจญภัย เพื่อ หยุ ด ยั้ ง การมาของมหาสงครามแร็ ค นาร็ อ กและยั ง มี อีกมาก ความนุ่มลึกของบทประพันธ์นี้เต็มไปด้วยมนต์ ขลังเป็นพิเศษ จนกลายเป็นอีกหนึ่งแรงบันดาลใจให้ กับ เจ.อาร์. โทลคีน ให้สร้างสรรค์ “เดอะลอร์ดออฟ เดอะริงส์” (The Lord of the Rings) ออกมา[15] และที่น่าสนใจไปมากกว่านั้นคือวิธีการทำ�งานของปก รณัมนอร์สและกวีนิพนธ์ ซึ่งเป็นแหล่งข้อมูลหลักที่ ทำ � ให้ เ ราเข้ า ใจวิ ถี ชี วิ ต ชาวไวกิ้ ง เพื่ อ อธิ บ ายถึ ง ความ สำ�คัญของปกรณัมนอร์ส การที่เราใช้ทำ�ความเข้าใจ กลอนของบทกลอนชาวไวกิ้งโบราณ วิธีนี้เรียกว่า “เคน นิ่ง” (Kenning) เป็นเครื่องมือการประพันธ์บทกลอน ของชาวไวกิ้งโบราณ โดยมีการอ้างอิงถึงปกรณัมนอร์ สอยู่ทุกครั้ง หมายความว่าหากเราขาดความเข้าใจปก รณัมนอร์ส เราก็ไม่มีทางเข้าถึงแหล่งข้อมูลที่ใช้เข้าใจ วิถีชาวไว้กิ้งโบราณได้เลย ในส่วนของวิธีการเคนนิ่งคือ การแทนคำ � คำ � หนึ่ ง ด้ ว ยวลี ห นึ่ ง ที่ อ าจอ้ า งอิ ง มาจาก ปกรณัมนอร์ส ตัวอย่างเช่น ผู้ครองแหวน (Man of rings) การเคนนิ่งของคำ�คำ�นี้คือ “พระราชา” เพราะ ราชาเป็นผู้มอบแหวนให้กับผู้ติดตาม ดังนั้น พระราชา จึงถูกแทนด้วยคำ�ว่า “ผู้ครองแหวน”[16] ทั้งนี้เพื่อแสดง ถึงอารมณ์ และความสวยงามของบทกวีนั้นๆ

จะสามารถสังเกตได้ว่าตัวเนื้อความของบทกลอนนั้นจะ มาจากวัฒนธรรมท้องถิ่นของชาวไวกิ้งเอง ตัวภาษาและ รูปเนื้อหาของบทกวีจึงซับซ้อน และมีวิธีการวางที่ลึกล�้ำ มากทีเดียว การรักษาและท�ำความเข้าใจวิถีของชาวไวกิ้ง จึงดูยุ่งยากซับซ้อนมากขึ้นไปอีกกระนั้นมันก็ยิ่งสะท้อน ถึงแก่นรากอันส�ำคัญระหว่างคนในสมัยก่อนและปกรณัม ปรัมปรา หากเราขาดความเข้าใจในเนื้อหาปกรณัมนอร์ส แล้ว การทีเ่ ราจะเข้าใจวิถแี ละศาสนาของชาวนอร์สโบราณ เองก็ดูเหมือนจะเป็นไปไม่ได้เลย ค�ำและความหมายก็ มิอาจจะตีความได้โดยความเข้าใจของเราเพราะมันต้อง อาศัยคลังศัพท์เสมือนอย่างปกรณัมนอร์สเอาไว้เพื่อให้ เราคนในยุ ค ปัจ จุ บั น ได้มี โ อกาสท�ำความเข้า ใจอี ก เรื่ อ ง เล่า ปรั ม ปราที่ ดู เ หมื อ นจะห่า งไกลจากชี วิ ต ปัจ จุ บั น เรา มากแต่มั น กลั บ กลายเป็น กุ ญ แจดอกส�ำคั ญ ที่ ท�ำให้เ รา เข้า ใจตั ว ตนในอดี ต ที่ ลึ ก ลั บ พอๆกั บ ตั ว ตนแห่ง อนาคต หรื อ ล�ำต้น ที่ ก�ำลั ง จะเติ บ ใหญ่ขึ้ น ไปอี ก บทความนี้ ตั้ ง ใ จ ที่ จ ะ เ ส น อ ใ ห ้ทุ ก ค น ไ ด ้มี โ อ ก า ส ไ ด ้เ ข ้า ใ จ ความส�ำคัญของเรือ ่ งเล่าต่างๆ และพยายามท�ำความเข้าใจ โดยไม่ขับไล่ไสส่งการเติบโตของเรากับเสียงเล่าอ้างของ ต�ำนานต่างๆ นั้นแฝงความหมายที่ลึกซึ้งเอาไว้ที่ก�ำลัง คอยให้ใ ครบางคนท�ำความเข้า ใจอี ก และด้ว ยฉะนี้ ผ ม ผู ้เ ขี ย นบทความก็ ข อกล่า วลาด้ว ยการเคนนิ่ ง อั น แสน ลึกลับอย่าง

“ The wave of the sea,

either you and me. We will, again, meet. When summer’s wind blows. Eyes of you may look. At cloud-sky painted.

รายการอ้างอิง

Gaiman, Neil. (2017). Norse Mythology. London: Bloomsbury. Groeneveld, Emma. (2017). Norse Mythology. Accessed May 10. Available from https://www.ancient.eu/Norse_Mythology/. Hurstwic Heathen Study Group. (2016). Hurstwic: Religion in Viking Age. Accessed May 15. Available from https://www.youtube.com/watch?v=DHrPovKBAdw. Muscato, Christopher. (n.d.). Yggdrasil the Tree of Life: Norse Mythology & Symbol. Accessed May 15. Available from https://study.com/academy/lesson/yggdrasil-the-tree-of-life-norse-mythology-symbol.html.

12


HATE

SPEECH

By Meraki

ดาบที ่ ท ำ � ด้ ว ยเหล็ ก กล้ า ปื น ที่ เ ต็ ม ไปด้ ว ยลู ก กระสุ น หรือกำ�ปัน ้ ทีป ่ ระกอบไปด้วยกระดูก 27 ชิ้นอาจเป็นอาวุธที่สร้าง ความเจ็บปวดให้ร่างกายคุณอย่างแสนสาหัสแต่สงิ่ เหล่านีไ้ ม่อาจ ทะลุเข้าไปสร้างบาดแผลในใจของคุณได้ มีบางสิ่งที่ดเู หมือนไร้ค่า แต่เต็มไปด้วยราคามหาศาล บางสิ่งที่จบ ั ต้องด้วยมือไม่ได้แต่กลับ ตราตรึงในหั วใจไม่เ สื่อมคลาย บางสิ่งที่เบาบางเหมือนขนนก บางสิ่ง...ที่เรียกว่าคำ�พูด ในอดีตนัน ้ Hate Speech มีความหมายแคบและเจาะจง ว่าเป็นการพูดทีก ่ อ ่ ให้เกิดความรุนแรงยุยงให้เกิดความเกลียดชัง หรือการก่อการร้าย อ้างอิงตัวอย่างได้จากสมัยสงครามโลกครัง้ ที่ 2 ที่กลุ่มนาซีเยอรมันได้ใช้คำ�พูดลักษณะดังกล่าวมาเป็นโฆษณา ชวนเชื่ อ และเป็ น เหตุ ท ี่ น ำ � มาสู ่ ก ารฆ่ า ล้ า งเผ่ า พั น ธุ ์ ช าวยิ ว โดยยกประเด็นเรื่องความแตกต่างของอัตลักษณ์ทางเชื้อชาติ และศาสนามาเป็นตัวแบ่งแยกและสร้างความเกลียดชังให้คนในชาติ ทว่าเมื่อกาลเวลาผ่านไปสงครามกลายเป็นเรื่องน่ารังเกียจและ อาชญากรรมการก่อการร้ายเป็นเรื่องใต้ดิน ความหมายของ Hate Speech ได้ขยายกว้างขึ้นให้เหมาะกับบริบทของยุคสมัย Social Media ได้กลายมาเป็นเครื่องมือสำ�คัญของการแพร่ กระจายคำ�พูดรุนแรง ในปัจจุบน ั เราสามารถพบเจอคำ�พูดลักษณะ Hate Speech ได้ทุกที่และทุกรูปแบบ โดยมักมีลักษณะโจมตี ความชอบส่ ว นบุ ค คล อั ต ลั ก ษณ์ ท ่ี ม ี ม าแต่ ก ำ � เนิ ด เช่ น สี ผ ิ ว เชื ้ อ ชาติ ศาสนา นอกจากนี ้ ย ั ง รวมถึ ง คำ � พู ด ยุ แ ยงให้ เ กิ ด ความแตกแยกในสังคมด้วย

13


เชื่อว่าตั้งแต่เกิดมา ไม่มีใครเลยที่ไม่เคย พูดจาทำ�ร้ายคนอืน่ และไม่เคยถูกคนอืน่ พูดจาทำ�ร้าย ไม่ว่ามันจะเป็นเพียงอุบัติเหตุทางอารมณ์หรือ ความตั้งใจแต่ค�ำ พูดร้ายกาจเหล่านี้ได้เข้าไปฝังลึก อยูใ่ นหัวใจอันเปราะบางของผู้ได้ฟงั อำ�นาจของมัน จะค่อยๆ แปรเปลีย่ นนิสยั หรือการกระทำ�ของผูฟ ้ งั ไปทีละน้อย เช่น หากคุณเคยตอบคำ�ถามในห้องเรียน แล้วถูกกล่าวหาว่าอวดเก่ง คุณอาจจะกลายเป็น คนทีไ่ ม่กล้าแสดงออกอีกต่อไป คำ�พูดนัน้ สร้างรอยแผล

ทีไ่ ม่อาจมองเห็นได้ดว้ ยตาเปล่า มันคืออาชญากรรม ทางจิตใจทีม ่ เี พียงเหยือ่ ทีส่ ามารถรับรูไ้ ด้ โดยปกติแิ ล้ว คำ�ว่า “อาชญากรรม” นัน ้ จะประกอบด้วยผู้กระทำ� และผูถ้ กู กระทำ� แต่พวกเรามักจะเข้าใจความรู้สึก ของเหยื่อเพียงฝ่ายเดียว ใครจะรู้ว่าครั้งหนึ่ง ผูก้ ระทำ�เหล่านัน ้ เคยเป็นเหยื่อมาก่อน ใครจะรู้ว่า พวกเขาต้ อ งเจอกั บ สิ ่ ง ใดมาบ้ า ง ก่ อ นที่ ม ั น จะหลอมรวมให้เขากลายเป็นคนร้าย

เบื้องหลังถ้อยคำ�ประทุษวาจาที่ เหล่าผู้ร้ายไม่อาจเปิดเผย

คุณเคยได้ยินประโยคที่กล่าวว่า ทุกอย่าง เกิดขึน้ ย่อมมีเหตุผลของมันเสมอไหม การพูดก็เช่นกัน หากลองมองย้อนกลับไปถึงรากของเหล่า Hate Speecher อาจทำ�ให้เราพบคำ�ตอบและที่มาของคำ�พูดร้ายๆ เบือ้ งหลังทีไ่ ม่มใี ครรู้ สิง่ ทีม ่ น ั สร้างคนร้ายกาจในสายตา พวกเราคืออะไร บนโลกนีท ้ เ่ี ต็มไปด้วยการตัดสินคน จากอารมณ์และความรู้สึก ความเข้าใจอาจเป็น สิง่ จำ�เป็นมากทีส ่ ด ุ ในเวลานี้ จากทีเ่ ราเคยตัง้ คำ�ถามว่า เขาพูดแบบนัน ้ เพือ ่ อะไร ลองเปลีย ่ นมาเป็นอะไรคือ สาเหตุทท ่ี �ำ ให้เขาพูดแบบนัน ้ แน่นอนว่าคงไม่มคี �ำ ตอบ ตายตัวที่จะสามารถอธิบายเรื่องนี้ได้ในเมื่อทุกคน ถูกเลีย้ งดูมาแตกต่างกัน เจอเหตุการณ์ตา่ งๆ ในชีวติ ที่ แ ตกต่ า งกั น และมี ว ิ ธ ี ร ั บ มื อ ที่ แ ตกต่ า งกั น นัน ่ จึงเป็นสาเหตุทพ ่ี วกเราไม่มใี ครทีเ่ ป็นเหมือนใคร ได้ ร ้ อ ยเปอร์ เ ซ็ น ต์ และนั ่ น เป็ น สาเหตุ ที่ เ หล่ า Hate Speecher ไม่เหมือนใครเช่นกัน วั น นี ้ ว ารสารฟ้ า อั ก ษรจะพาทุ ก คนมา ทำ�ความเข้าใจกับหนึ่งใน Hate Speecher ที่ใช้ โซเชี ย ลเป็ น สื ่ อ กลางในการแสดงความคิ ด เห็ น ในแบบที่ผู้คนทั่วไปไม่พึงชื่นชม เราจะมาพูดคุยถึง ความคิดและมุมมองทีแ่ ตกต่างออกไป เพื่อให้ผู้อา่ น มีโอกาสทำ�ความเข้าใจกับเขามากขึน ้ ผ่านบทสัมภาษณ์ สั้นๆ ข้างล่างนี้เลยค่ะ

14


Q: การพูด Hate Speech ในพื้นที่โซเชียล ส่งผลอะไรในชีวิตจริงบ้างไหม นี่เป็นเพียงบทสนทนาสั้น ๆ ที่ ฟ้ า อั ก ษรนำ � มาถ่ า ยทอดให้ ท ุ ก คนได้ อ่านกัน อาจช่วยให้หลายๆ คนเข้าใจ มุมมองที่แตกต่างจากที่ตัวเราเป็นอยู่ และเปิดใจยอมรับมากขึ้น เราเชื่อว่า ความเข้าใจเป็นตัวช่วยสำ�คัญในการ สร้ า งมิ ติ ใ หม่ ข องความสั ม พั น ธ์ ที่ ดี ถ้าเรายอมรับและเข้าใจ คอยให้โอกาส ชี้แนะทิศทางที่ถูกต้องกว่า สร้างสังคม ที่ดีกว่าให้เขา สักวันหนึ่งเขาจะซึมซับ ความดีงามของมันและเปลี่ยนแปลง ในที่สุด แต่อย่างไรก็ตาม ในส่วนของ การแสดงความเห็นต่างนัน ้ มีวธิ แี สดงออก ได้หลายวิธโี ดยหลีกเลีย่ งถ้อยคำ�หยาบคาย เพือ ่ ไม่ให้เกิดความรุนแรงทีอ ่ าจจะตามมา ภายหลัง และไม่มีใครเลยทีส่ มควรได้รับ คำ�พูด Hate Speech ไม่ว่าในโลก แห่ ง ความเป็ น จริ ง หรื อ โลกโซเชี ย ล ดังนัน ้ เราจึงควรระวังเสมอเมือ ่ พูดอะไร ออกไป เพราะสุดท้ายแล้วคำ�พูดเหล่านัน ้ อาจเผลอไปทำ�ร้ายใครอย่างแสนสาหัส และคำ�พูดเหล่านัน ้ ล้วนสะท้อนให้เห็นถึง ตัวตนที่เราเป็น “Your beliefs become your thoughts. Your thoughts become your words. Your words become your actions. Your actions become your habits. Your habits become your values. Your values become your destiny.” - Mahatma Gandhi

A: มีนะ คือเราด่าในโซเชียล ต่อให้โดนด่ากลับมันก็ไม่ได้มีผลอะไรกับชีวิตเรา ไม่มีใครรู้จักตัวตนของเรา ยอมรั บ ว่า ตัวเองก็ผิดที่พูดไม่ดี แต่ที่เกิ ดขึ้นคือ คุณบังเอิญมารู้ว่ามันเป็นเรา แล้วมาเป็นเดือดเป็นร้อนในชีวิตจริง ซึ่งเรามองว่า มันคือคนละโลก เราอาจมี Mindset ของเรา ในโซเชียลอาจจะเป็นคนรุนแรง แต่ในชีวิตจริงเราแยกแยะออกว่าอะไรดีหรือไม่ดี

Q: คิดว่าสิ่งที่ทำ�อยู่มันผิดไหม

A: เรารู้ว่ามันไม่ใช่สิ่งที่ดี เราพยายามเปลี่ยนแปลงตัวเอง มันอาจต้องใช้เวลา แต่ผลกระทบที่เราได้จากอดีตของเราคือ ต่อให้เราเปลี่ยนแปลงตัวเองยังไง เราก็ไม่สามารถลบภาพแบบที่เราเคยเป็นได้เลย

Q: คิดว่าอะไรคือสิ่งที่ทำ�ให้เราเป็นคนแบบที่ เป็นอยู่

A: เราโดน Bully มาตั้งแต่เด็ก เรื่องรูปร่างหน้าตา การพูด เราไม่อยากโทษ สั ง คมที่เราเจอ แต่อยากให้เข้าใจจริง ๆ ว่าสังคมที่ทุกคนเจอมันแตกต่างกัน มันหล่อหลอมคนจริงๆ นะ ไม่มี ใครรู้ ห รอกว่าคนคนหนึ่งเจออะไรมาบ้าง และมันยากแค่ไหน

Q: มีอะไรที่อยากให้คนอื่นรู้บ้างไหม บางเรื่อง ที่คนอื่นอาจจะเข้าใจผิดเกี่ยวกับตัวเรา A: บางทีค�ำ พูดของเรากับความตั้งใจของเรามันแตกต่างกัน เราหวังดี แต่อาจเป็นเพราะ วิธีการพูดของเราอาจทำ�ให้คนอื่นเข้าใจที่เราสื่อสารผิดไป ผิดไปจากจุดประสงค์ ที่เราพูด เราไม่ ได้ ตั้ งใจให้ ใ ครรู้สึกไม่ดี เราอาจมีความคิดเห็นแตกต่างจากสังคม ถ้าการแสดงความเห็นของเรามันหยาบคายหรือทำ�ร้ายใคร เราอยากขอโทษจริงๆ 15


Techno Scope Root(less)


“ตรงนั้นมีอะไรกันเหรอ... ไหนลองไปดูซิ”

เราคงเคยได้ยินหรือพูด วลีนี้กับตัวเองและเพื่อนๆ อยู่ ไม่มากก็น้อยในสถานการณ์ ใดสถานการณ์หนึ่ง และเมื่อได้ยิน วลีนี้แ ล้ ว จะมีสักกี่คนที่สามารถถอดใจไม่เดินตามไป “มุง” ดูว่ า จริงๆ แล้วที่ตรงนั้นเกิดอะไรขึ้น เรามั ก จะพบเห็ น ผู ้ ค นเข้ า มาเบี ย ดเสี ย ดเยี ย ดยั ด กั น เพือ่ เข้าไปดูเหตุการณ์หนึ่งอย่างใกล้ชด ิ เหมือนกับว่ามีอะไรบางอย่าง มากระตุ้นต่อมความอยากรู้อยากเห็นของเรา ซึ่งแน่นอนว่าไม่ใช่ ตัวเราแค่คนเดียวทีม ่ พ ี ฤติกรรมเช่นนี้ อีกหลายๆ คนก็เป็นเหมือนกัน และเมื่อมีคนไปดูหลายๆ คนเข้า จึงเกิ ดการสอบถามกับคนที่อยู่ ใกล้เคียงถึงความเป็นมาเป็นไปของเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นด้วยความ อยากรู้อยากเห็น พฤติกรรมที่ว่านี้อาจเรียกได้ว่าเป็นพฤติกรรมเลียนแบบ ของกลุ่มคนและการแพร่ระบาดทางอารมณ์ของบุคคล กล่าวคือ เมื่อเราเห็นใครทำ�อะไรที่เป็นที่น่าสนใจ เราก็จะเกิ ดความรู้สึก สนใจตามและอยากเข้าไปมีส่วนร่วมด้วย นอกจากนี้ ผูค ้ นที่เข้ามา รวมกลุ่มก็มาจากความสมัครใจ ไม่ใช่การถูกบีบบังคับ เหตุเพราะ คนผู้นั้นมีอารมณ์ร่วมนั่นเอง ซึ่งการแสดงพฤติกรรมมักจะทำ�ตาม ผู้นำ�หรือทำ�ตามๆ กัน เช่น ถ้ามีใครปรบมือก่อน คนอื่นๆ ก็จะ ปรบมือตาม เป็นต้น

ถ้าจะอธิบายถึงพฤติกรรมการเลียนแบบหรือการทำ�ตามๆ กัน เรามีความเห็นว่าพฤติกรรมนี้มีมาตั้งแต่เรายังเด็กๆ ที่เปรียบกับ รากอ่อนๆ ของต้นกล้า สั่งสมมาเรื่อยๆ ทั้งจากพ่อแม่ ผู้ปกครอง ครู และเพือ ่ น ทีเ่ ราได้รับอิทธิพลจากคนเหล่านีผ ้ ่านทางสังคมที่เรา อาศั ย อยู ่ จนกลายเป็ น รากแห่ ง การลอกเลี ย นแบบที ่ แ ข็ ง แรง เมื่อ เราเห็นคนทำ�มากๆ เข้า เราก็จ ะเกิ ดคำ�ถามกั บ ตั ว เองว่ า “ฉันจะต้องทำ�แบบนั้นบ้างรึเปล่านะ?” และเมือ่ เราเห็นว่าคนในสังคม ทำ � พฤติ ก รรมเหล่ า นั ้ น ตามๆ กั น มากๆ เราก็ จ ะรู ้ ส ึ ก ว่ า “ฉันก็ควรจะต้องทำ�แบบนั้นบ้างสินะ” และจะคิดว่าสิ่งนั้นไม่ใช่ พฤติกรรมที่ผิดปกติ เหตุเพราะใครๆ ก็ทำ�กัน ในทางกลับกันก็จะ คิดว่า “ถ้าฉันไม่ทำ�สิ ฉันจะเป็นคนที่แปลกแยกในสังคมนี้” พฤติ ก รรมการ “มุ ง ดู ” หรื อ “Seeing Group” ความจริงนั้นไม่ใช่พฤติกรรมใหม่หรือความรู้ใหม่ของไทยเรา แต่อย่างใด เพราะเรารู้จกั กับคนกลุ่มนี้มานานแล้ว และมันก็ฝังราก หยั่งลึกอยูก ่ บ ั เรามาช้านาน ไม่ว่าจะยุคสมัยไหนก็ตาม เรามักจะเห็น พฤติกรรมนี้ในกลุ่มคนกลุ่มหนึ่ง ซึ่งเราเรียกพฤติกรรมนี้ในชื่อว่า “ไทยมุง” นั่นเอง

ทำ�ไมต้อง “ไทยมุง”? ทำ�ไมเราต้องไปมุงดูอะไรที่ไม่ใช่เรื่องของตัวเอง?

นั่นก็เพราะในบางครั้งเราคิดว่าเรื่องนั้น “อาจจะ” เป็น เรือ่ งของตัวเอง และถึงแม้ทา้ ยทีส ่ ด ุ แล้วเรือ่ งนัน ้ จะไม่ใช่เรือ่ งของตน ก็ตาม แต่อย่างน้อยๆ เราก็ได้เป็นส่วนหนึ่งของเหตุการณ์นั้น

ไทยมุง ไทยเมาท์ โดย BAGUETTE


บทบาทที่โดดเด่นมากๆ ของ “ไทยมุง” ในสายตาของเรา ก็คือ ความใจกล้าของคนที่ได้ไปร่วมอยู่ในเหตุการณ์ในสถานที่ที่มี ผูค ้ นคับคั่ง และอันตรายในบางครั้งบางคราว ซึ่งจะเป็นไปอย่างไม่ คำ�นึงถึงเหตุและผล เช่น เหตุการณ์แก๊ปไฟฟ้าระเบิดที่จังหวัดพังงา เมือ่ วันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2534 ได้มีรถบรรทุกเกิดเสียหลัก พลิกควํ่า แก๊ปไฟฟ้าที่บรรจุในลังไม้ตกกระจายเกลื่อนเต็มถนน และสองข้างทาง ชาวบ้านในละแวกนัน ้ ต่างกรูกันเข้ามาดูโดยไม่ฟัง คำ�ห้ามปรามของเจ้าหน้าทีต ่ �ำ รวจ ทำ�ให้เกิดอันตรายต่อ “ไทยมุง” คื อ เมื ่ อ แก๊ ป ไฟฟ้ า ระเบิ ด ชาวไทยมุ ง เสี ย ชี ว ิ ต ทั น ที 60 คน และมีคนบาดเจ็บอีกมากมาย ซึ่งสาเหตุของการระเบิดมาจาก แรงเสียดสีทช่ี าวไทยมุงไปงัดตูค ้ อนเทนเนอร์ ซึง่ ท่อแก๊ปไฟฟ้าเหล่านี้ มีคุณสมบัติจุดระเบิดได้ง่าย เพียงแค่มแี รงกระทบ ประกายไฟจาก บุหรี่ หรือการอัดกระแทกก็ทำ�ให้ระเบิดได้ หรืออาจมีชาวไทยมุง เก็บแก๊ปไปสูบบุหรี่นั่นเอง

เมื่อมีการ “มุง” ก็ต้องมีการ “เมาท์” การ “เมาท์ ” ของชาวไทยมุ ง มั ก เป็ น ของคู่ กั น เมาท์เหตุก ารณ์ที่เกิ ดขึ้น ทั้งจากสิ่งที่เห็นมาเองกั บ ตาจริ ง ๆ หรือแม้กระทั่งการใส่สีตีไข่เข้าไปเพื่อเพิ่มอรรถรสในวงสนทนา การเมาท์ในมุมมองของเราเปรียบเสมือนการสือ ่ สารกัน รูปแบบหนึ่งผ่านการพูด ซึ่งการพูดนั้นเป็นรูปแบบหลักของมนุษย์ ที่มีมานานไม่แพ้การ “มุง” และเป็นลักษณะเฉพาะของมนุษย์ การพูดทำ�ให้มนุษย์มก ี ารเข้าสังคม และเป็นเครือ ่ งมือเพือ ่ ใช้ในการ สื่อสารระหว่างบุคคล ถ่ายทอดความรู้สึกนึกคิด ความเข้าใจ และ ความต้องการ โดยอาศัยภาษาเป็นตัวสื่อความหมายของสิ่งที่ผู้พด ู ต้องการจะนำ�เสนอ

18


มิตรภาพที่ดีมักเริ่มต้นขึ้นด้วยการพูดคุยกัน การเป็น เพื่อนกันมักจะเกิ ดจากการที่เรามีความสนใจต่อสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เหมื อ นๆ กั น เกิ ด การแลกเปลี ่ ย นความคิ ด เห็ น ซึ ่ ง กั น และกั น และไม่นานก็กลายเป็นความสัมพันธ์ฉันมิตร การพูดคุยกับเพือ ่ นในกลุม ่ เพือ่ นร่วมงาน หรือคนรู้จักจะช่วยทำ�ให้เรารู้จักสร้างความสัมพันธ์ กั บ บุ ค คลอื ่ น เมื ่ อ เรากลายเป็ น เพื ่ อ นกั บ ใครสั ก คนอย่ า ง เป็นทางการแล้ว ในบางครั้งเราก็จะเริ่มพูดคุยกันในเรื่องของ บุคคลที่สามซึ่งระดับความไว้วางใจระหว่างกันสามารถดูได้จาก การที ่ เ พื ่ อ นใหม่ ข องเราจะนำ � ข้ อ มู ล เหล่ า นี ้ ไ ปเล่ า ต่ อ หรื อ ไม่ เรียกได้ว่าเป็นการพิสูจน์นิสัยกันเลย

“คนวงในเขาเมาท์กันว่า...”

แน่นอนว่าในชีวิตของเราต้องเคยได้ยินวลีนี้อยู่บ่อยครั้ง นั บ ว่ า มั น เป็ น วลี ท ี ่ ส ุ ด แสนจะเบสิ ก ในวงสนทนาเลยก็ ว ่ า ได้ เมื่อเราเริ่มจับเข่าคุยเรื่องของบุคคลที่สาม แต่ ในบางครั้งเราก็มี คำ�ถามเกิดขึ้นในใจเช่นกันว่า คนวงในน่ะในแค่ไหน ทำ�ไมจึงกล้า เอาเรื่องของผู้อื่นมาเล่าจนสนุกปาก และเราไม่รู้ด้วยซํ้าว่าเรื่องนี้ ถูกแต่งเติมมาไม่รู้กี่ทอดต่อกี่ทอดแล้ว เราเคยสงสั ย หรื อ ไม่ ว ่ า การ “เมาท์ ” มั น ดี อ ย่ า งไร แล้วเหตุใดคนไทยจึงชอบ “เมาท์” ทั้งๆ ที่ก็มีคนอยู่จำ�นวนไม่น้อย ที่เบื่อพวกขี้เมาท์ ชอบซุบซิบนินทา

“ The only time people dislike gossip is when you gossip about them.” – Will Rogers เราเห็นด้วยกับคำ�พูดนีอ ้ ยู่ไม่นอ้ ย และเมือ่ ลองย้อนกลับมา มองดูตัวเอง ก็ปฏิเสธไม่ได้เลยว่ามันคือเรือ่ งจริง เราไม่ชอบการเมาท์ ซุบซิบนินทา แต่เมื่อเราตกอยู่ในสภาวะของ “ผู้นินทา” มันก็เป็น เรื ่ อ งยากที ่ เ ราจะหลี ก เลี ่ ย งมั น ในขณะเดี ย วกั น เมื ่ อ เรารู ้ ว ่ า เราตกอยู่ในสภาวะของ “ผู้ถูกนินทา” เราก็คงจะเสียใจอยู่ไม่น้อย ที่เรื่องของเรากลายเป็นประเด็นการพูดคุยอย่างสนุกปากให้กับ คนกลุ่มใดกลุ่มหนึ่ ง ที่เราก็ ไ ม่รู้ว่าเขารู้จักเรา “ดี ” เท่าตัวเราเอง หรือรู้จักเรา “มากกว่า” ที่เรารู้จักตัวของเราเอง แล้วรู้หรือไม่ว่าการที่คนไทยชอบซุบซิบนินทา จับกลุ่ม เมาท์กน ั นัน ้ แท้จริงแล้วก็ทำ�ให้อารมณ์ดขี น ึ้ ช่วยลดความวิตกกังวล และความเครีย ดลงได้ และยั งทำ � ให้ ผ ู้ นิ น ทารู้สึก ว่าตัวเองเป็น ทีย่ อมรับของเพือ่ นฝูง ถึงแม้วา่ เราจะรักสันโดษหรือรักการอยูค ่ นเดียว มากเพียงใด แต่ทา้ ยทีส ่ ด ุ เราก็ตอ ้ งการเป็นทีย ่ อมรับของเพือ ่ นฝูงอยูด ่ ี มีคนเคยกล่าวไว้ว่า คนทีม ่ ีชีวต ิ ทางสังคมจึงจะมีความสุข หรือมีสขุ ภาพที่ดีและมีชีวิตยืนยาวกว่าคนที่อยู่โดดเดี่ยว ซึ่งกลไก หนึ่งที่จะช่วยสร้างความสัมพันธ์ระหว่างคนในกลุ่มให้แน่นแฟ้น นั่นคือการสื่อสาร และแน่นอนว่าการ “เมาท์” ก็เป็นการสร้าง ความสัมพันธ์ด้วยการสร้าง “ศัตรูร่วม” ขึ้นมานั่นเอง เมือ่ เราไม่ชอบใครเอามากๆ การเมาท์จงึ เกิดขึน ้ ซึง่ ส่วนใหญ่ จะเป็นเรื่องที่ไม่ดีของฝ่ายตรงข้ามเสียด้วย ทั้งเรื่องจริงเรื่องแต่ง ผสมปนเปกันไปหมด จนบางทีเราก็ไม่สามารถรู้ไ ด้ว่าจริง ๆ แล้ว เรื่องจริงมันเป็นอย่างไรกันแน่

“นตฺถิ โลเก อนินฺทิโต” คนไม่ถูกนินทาไม่มีในโลก

เมื่อเราอ่านมาถึงตรงนี้แ ล้ว คงรู้สึกว่าการเมาท์ ซุบซิบ นินทานั้นช่างน่ากลัวเสียจริง ถ้าจะให้หลีกเลี่ยงการถูกเมาท์นั้น คงเป็นไปได้ยาก เพราะเราไม่สามารถห้ามความคิดของคนอื่นได้ หากแต่เราสามารถยับยั้งความคิดของตัวเองที่จะ “เมาท์” ผู้อื่นได้


โดย ทุ่นดำ�

จอมพล ป. พิบูลสงคราม: “รัฐนิยม” ปฐมบทของวัธนธัมไทย ราก(ใหม่) ความเป็นไทยบนเหง้า(เก่า)แก่

เมือ ่ “ความเป็นไทย” ถูกตัง้ คำ�ถามขึน ้ มากมายในปัจจุบัน มีการสำ�รวจตรวจตราว่าอะไร กันแน่ทเ่ี ป็นของไทยจริงๆ บ้าง ไม่วา่ จะเป็นภาษา อาหาร เครื่องแต่งกาย รวมไปถึงวิถีชีวิตที่ดำ�รงอยู่ จนพบว่า “วัฒนธรรม” ที่เราดำ�รงอยู่น้ันเกิดการผสมผสานอย่าง หลากหลายเข้าด้วยกัน มีการแลกเปลี่ยนกันในหลายๆ ด้ า น ทำ � ให้ ค วามเป็ น ไทยที่ แ ท้ จ ริ ง ตรงไหนไม่ เ จอ

จนครั้งหนึ่งเราต้องสร้างมันขึ้นมา เพื่อประกาศให้รู้ว่า “ความเป็นไทย” เป็นสิง่ ศิวไิ ลซ์ เป็นสิง่ ดีงาม ทีค ่ วรค่าแก่ ดำ�รงอยูแ่ ละปรากฏตัวในสังคม จนเกิดเป็นการสถาปนา ระบบวัฒนธรรมใหม่ทเ่ี รียกว่า “รัฐนิยม”

20


จอมพล ป. พิบล ู สงคราม: โหมโรง “สยาม” เป็น “ไทย” จอมพล ป. พิ บู ล สงคราม ขึ้ น มาเป็ น ผู้ นำ � ของ ประเทศในขณะที่สถานการณ์มีแนวโน้มที่จะก่อให้เกิดความ กระทบกระเทือนต่อฐานะของรัฐบาลและความมั่นคงของ ประเทศชาติ จากการลาออกจากตำ�แหน่งนายกรัฐมนตรีของ พระยาพหลพลพยุหเสนา ย่อมเป็นหลักฐานที่แสดงให้เห็น ว่า รัฐบาลของคณะราษฎรกำ�ลังประสบปัญหาทางการเมือง อันเนื่องมาจากการรวมตัวของฝ่ายตรงข้าม ดังนั้น คณะผู้ ก่อการเปลี่ยนแปลงการปกครองจึงหวังว่าจอมพล ป. พิบูล สงคราม จะสามารถขจัดปัญหาทางการเมืองในขณะนั้นได้ สำ�เร็จ เนือ ่ งจากจอมพล ป. พิบล ู สงคราม เป็นบุคคลทีม ่ ค ี วาม สามารถและมีก�ำ ลังทหารอยูใ่ นความปกครอง ซึง่ ย่อมจะเป็น ทีย ่ �ำ เกรงของฝ่ายตรงข้าม เพื่ อ การสร้ า งสั ม พั น ธภาพและปรั บ ความเข้ า ใจ ระหว่างรัฐบาลกับประชาชน จอมพล ป. พิบูลสงคราม จึง พยายามที่จะแสดงให้ประชาชนเห็นว่ารัฐบาลนี้เป็นรัฐบาล ของประชาชน และดำ�เนินการทุกอย่างเพื่อประชาชนและ ชาติเป็นสำ�คัญ ดังจะเห็นได้จากคำ�ปราศรัยและสุนทรพจน์ ของจอมพล ป. พิบูลสงคราม ทำ�ให้รัฐบาลพยายามที่จะ ดำ�เนินนโยบายอย่างใดอย่างหนึง่ เพือ ่ ผนวกผลประโยชน์ของ ประเทศชาติและของรัฐบาลควบคู่กน ั แต่นโยบายนั้นจะต้อง แสดงให้ประชาชนเห็นว่ารัฐบาลดำ�เนินการเพื่อผลประโยชน์ ของประเทศชาติ เ ป็ น สำ � คั ญ นโยบายที่ รั ฐ บาลกำ � หนดขึ้ น เพือ ่ แก้ไขปัญหาต่างๆ ในขณะนัน ้ ก็คอ ื “นโยบายสร้างชาติ” ความหมายของคำ�ว่า “สร้างชาติ” ดังกล่าวย่อมแสดงให้เห็น เจตนารมณ์ของจอมพล ป. พิบูลสงคราม ที่พยายามจะยก ระดับฐานะความเป็นอยูแ ่ ละการดำ�เนินชีวต ิ ของชนในชาติให้ ทัดเทียมอารยประเทศ ซึง่ แสดงว่าเป็นเจตนาดีของรัฐบาลทีม ่ ี ต่อประเทศชาติในขณะนัน ้

นายกรัถมนตรี: “เชือ ่ ผูน ้ �ำ ชาติ(นิยม)พ้นภัย” งานสร้ า งชาติ เ ป็ น งานสำ � คั ญ ที่ จำ � เป็ น ต้ อ งอาศั ย ความร่วมมือและการสนับสนุนจากประชาชน ดังนั้นรัฐบาล จึงต้องหาวิธีการอย่างใดอย่างหนึ่งเพื่อให้ประชาชนเข้าใจ และเกิดความนิยมต่อนโยบายสร้างชาติทก ่ี �ำ หนดขึน ้ และยินดี ทีจ่ ะปฏิบต ั ต ิ ามด้วยความพึงพอใจ ซึง่ การกระทำ�ต่างๆ ล้วน แสดงให้เห็นว่า จอมพล ป. พิบล ู สงคราม ได้พยายามปลุกเร้า “ชาตินย ิ ม” ให้เกิดขึน ้ ในบริบทของสังคมไทยขณะนัน ้ เนือ่ งจากจอมพล ป. พิบลู สงคราม เป็นผูท ้ ม ่ี ค ี วามสนใจ และเลื่อมใสในลัทธิชาตินิยมก่อนที่จะดำ�รงตำ�แหน่งนายก รัฐมนตรี ดังนัน ้ ลัทธิชาตินย ิ มจึงถูกนำ�มาใช้เป็นเครือ ่ งมือของ รัฐบาล ในการรวมพลังสามัคคีของคนในชาติให้ปฏิบัติตาม วิธีการที่รัฐบาลกำ�หนดขึ้น โดยอ้างเหตุผลเรื่องผลประโยชน์ และความเจริญก้าวหน้าของประเทศชาติเป็นเรื่องสำ�คัญ การเผยแพร่ ค วามรู ้ ส ึ ก ชาติ น ิ ย มในหมู ่ ป ระชาชนชาวไทย ในขณะนั้น ส่วนมากออกมาในรูปของบทละครและบทเพลง ปลุกใจ เร้าใจประชาชนให้ตน ื่ ตัวในการรักชาติ เกิดความภาคภูมใิ จ ในบรรพบุรุษ และสดุดียกย่องความยิ่งใหญ่ของชนชาติไทย หลวงวิจิตรวาทการได้อธิบายถึงเหตุผลในการใช้ บทละครและบทเพลงประเภทปลุกใจ เพือ ่ เผยแพร่ลท ั ธินย ิ ม ว่า “เป็นวิธีการที่ปลูกฝังชาตินิยมได้โดยสะดวกและเข้าถึง ประชาชนได้โ ดยง่ายกว่าวิธีอ ย่างอื่นๆ” รัฐบาลได้ ใช้ วิทยุ กระจายเสียงและหนังสือพิมพ์เป็นสื่อกลางจากรัฐบาลไปสู่ ประชาชน ในด้านกิ จการวิทยุกระจายเสียงซึ่งอยู่ในความ ควบคุมของกรมโฆษณาการนั้น ได้กลายเป็นกระบอกเสียง ที่สำ�คัญที่สุดของรัฐบาลในการโน้มน้าวจิตใจราษฎรให้เกิด ความรักชาติ และมีความรู้สึกคล้อยตามแนวทางที่รัฐบาล กำ�หนดขึน ้ วิทยุกระจายเสียงทำ�หน้าทีเ่ ผยแพร่บทเพลง บท ละครประเภทปลุกใจ คำ�ขวัญ คำ�ปราศรัย และสุนทรพจน์ ของนายกรัฐมนตรีในวาระต่างๆ ซึ่งล้วนแล้วแต่มีข้อความที่ ปลุกใจ เร้าใจประชาชนทัง้ สิน ้

21


รัฐนิยม: กระแสวัธนธัมไทยของคนไท(ย) ในสมัยรัฐบาลของจอมพล ป. พิบูลสงคราม (พ.ศ. 2481–2487) มีอยู่คำ�หนึ่งที่กล่าวถึงกันมากในขณะนั้น ก็คือคำ�ว่า “รัฐนิยม” และได้มีประกาศใช้ “รัฐนิยม” สำ�หรับ ประชาชนได้ปฏิบัติตามคำ�ประกาศจำ�นวน 12 ฉบับ ระหว่าง พ.ศ. 2482–2485 แต่ก็ดูเหมือนว่า “รัฐนิยม” เหล่านี้ มิใช่เป็นพระราชบัญญัติที่สามารถจะใช้บังคับให้ประชาชน ปฏิบัติตามข้อกฎหมายได้ แต่เป็นการส่งเสริมและแนะนำ� ให้ประชาชนปฏิบัติตาม ดังนั้นจึงไม่ประสบความสำ�เร็จตาม วัตถุประสงค์ของรัฐบาลเท่าใด อย่างไรก็ตาม ในการประชุม คณะรัฐมนตรีก่อนที่จะมีการประกาศใช้ “รัฐนิยม” ดังกล่าว คณะรัฐมนตรีก็ได้มีการถกเถียงและแสดงความคิดเห็นกัน อย่างกว้างขวาง คนที่มีบทบาทสำ�คัญและได้รับมอบหมาย จากนายกรัฐมนตรีไปยกร่างคำ�ประกาศ “รัฐนิยม” เพื่อให้ คณะรัฐมนตรีพิจารณาก็คือ หลวงวิจิตรวาทการ

สวัสดีค่ะ

อย่างไรก็ตาม หลังจากที่รัฐบาลได้ช้ีแจงให้ราษฎร เข้ า ใจถึ ง จุ ด ประสงค์ ข องการออกประกาศรั ฐ นิ ย มออกให้ ประชาชนถือเป็นข้อปฏิบต ั ิ ผลปรากฏว่าอาจจะได้ผลบางเรือ ่ ง แต่บางเรื่องก็ไม่ได้ผล เพราะขัดกับลักษณะนิสัยของคนไทย เนือ ่ งจากข้อปฏิบต ั เิ หล่านัน ้ คนไทยส่วนใหญ่อาจไม่เคยปฏิบต ั ิ มาก่อน และบางครัง้ ก็เห็นว่าไม่จ�ำ เป็นสำ�หรับการดำ�เนินชีวต ิ ประจำ�วัน เพราะการกล่าวถึงประโยชน์ของประเทศชาติยงั อยู่ ไกลตัวเกินไปและไม่เห็นว่าจะมีความสำ�คัญอย่างไรกับรัฐนิยม กับการสร้างชาติ ดังนัน ้ การประกาศใช้รฐั นิยมของรัฐบาลจอมพล ป. พิบล ู สงคราม จึงต้องเปลีย ่ นมาใช้ประกาศเป็นพระราชบัญญัติ วัฒนธรรม ซึ่งมีผลบังคับและบทลงโทษผู้ฝ่าฝืน ในการตรา กฎหมายวัฒนธรรมดังกล่าวก็ก่อให้เกิดการโต้เถียงกันอย่าง กว้างขวางในรัฐสภา โดยเฉพาะสมาชิกสภาผูแ้ ทนราษฎรทีไ่ ม่ เห็นด้วยกับวิธก ี ารบีบบังคับของรัฐบาล ภายหลังสิน ้ สุดรัฐบาล ของจอมพล ป. พิบล ู สงคราม ไปแล้ว วัฒนธรรมบางอย่างที่ ประกาศใช้ในสมัยรัฐบาลจอมพล ป. พิบลู สงครามก็ถก ู ยกเลิกไป อย่างไรก็ตามการประกาศใช้รฐั นิยมในสมัยจอมพล ป. พิบล ู สงครามนัน ้ ก็ยงั มีอท ิ ธิพลหลงเหลืออยูบ ่ า้ งในระยะ หลังต่อมา แต่เปลีย ่ นเป็นใช้คาํ ขวัญแทน ดังเช่นในสมัยรัฐบาล จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ เป็นต้น โดยมีพลตรี หลวงวิจต ิ รวาท การ (ยศขณะนัน ้ ) เป็นมันสมอง เรือ ่ ง “คําขวัญ” ให้กบ ั จอม พลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ เช่นเดียวกับทีเ่ ป็นมันสมองเรือ ่ ง “รัฐนิยม” ให้กบ ั จอมพล ป. พิบล ู สงคราม นัน ่ เอง

ในการประกาศใช้รฐั นิยมในสมัยรัฐบาลจอมพล ป. พิบล ู สงคราม (พ.ศ. 2481–2487) เกิดขึน ้ จากนโยบายสร้าง ชาติของจอมพล ป. พิบล ู สงคราม โดยทีร่ ฐั บาลต้องการใช้วธิ ี โน้มน้าวให้ประชาชนเห็นความสําคัญและคล้อยตามคำ�เชิญ ชวนของรัฐบาลในการทีจ่ ะปฏิบต ั ต ิ นตามรัฐนิยมของชาติ ซึง่ รัฐบาลได้ออกประกาศเชิญชวนมาเป็นระยะๆ การที่รัฐบาล ไม่ตราออกเป็นพระราชบัญญัติ ก็เพราะเห็นว่าไม่สมควรที่ จะออกกฎหมายบีบบังคับราษฎรในระยะแรก เพราะอาจจะ ไม่ได้ผลเท่าทีค ่ วรถ้าจะต้องใช้วธิ บ ี งั คับ แต่การทีค ่ อ ่ ยเป็นค่อย ไปโดยให้ราษฎรได้ซึมซับแนวปฏิบัติตามรัฐนิยมไปทีละน้อย น่ า จะกลายเป็ น ลั ก ษณะนิ สั ย ของประชาชนชาวไทยไปได้ ในทีส ่ ด ุ

22


ความเป็นไทย: ราก(ใหม่)บนเหง้า(เก่า)แก่ ลักษณะสำ�คัญของ “ความเป็นไทย” ในปัจจุบน ั จึง อยู่ท่ีความลักลั่น ย้อนแย้ง และหลากหลายที่ดำ�รงอยู่ด้วย กัน ซึ่งความเป็นไทยในแต่ละแบบแต่ละมาตรฐาน ก็มีพ้ืนที่ แสดงออกเฉพาะเป็นของตนเองซึ่งความเป็นไทยในแต่ละ แบบแต่ละมาตรฐาน ก็มพ ี น ้ื ทีแ่ สดงออกเฉพาะเป็นของตนเอง ทัง้ ในกลไกราชการ อำ�นาจรัฐ ภาคประชาสังคม และภาคธุรกิจ โดยตราบเท่าทีไ่ ม่มก ี ารแย่งชิงขยายพืน ้ ทีแ่ ห่งอำ�นาจในกลไก รัฐและภาคประชาสังคมของกลุม ่ ทางการเมืองอืน ่ มากไปกว่า นีอ ้ ก ี สถานะทีม ่ น ่ั คง (Status quo) ของ “ความเป็นไทย” โดยรวมก็จะไม่ถก ู รบกวนตัง้ คำ�ถามจนเกิดวิกฤติมากนัก อย่างไรก็ดี ในปัจจุบัน กลุ่มชนชั้นนำ�ใหม่ ซึ่งก็คือ กลุ่มทุนที่เติบโตขึ้นพร้อมกับโลกาภิวัตน์ ได้พยายามขยาย เขตแดนอำ�นาจของตนเองออกไป จนกระทัง่ ไปรบกวนความ เป็นไทยในรูปแบบอืน ่ ๆ และกลายเป็นการต่อสูแ้ ย่งชิงทีเ่ หนือ กว่าทางการเมือง แต่มก ี ารต่อสูท ้ างด้านอุดมการณ์ความเป็น ไทยในรูปแบบเก่าและรูปแบบใหม่ก�ำ ลังเกิดขึน ้ อีกครัง้ หนึง่ ด้วย

ปรากฏการณ์ขา้ งต้นคือเครือ ่ งบ่งชีใ้ ห้เห็นว่าการต่อสู้ ทางการเมืองที่เกิดขึ้นในเวลาที่ผ่านมา นอกจากจะเป็นการ ต่อสู้ทางการเมืองเพื่อครองอำ�นาจรัฐแล้ว สิ่งที่สำ�คัญอีก ประการหนึ่งคือเป็นการต่อสู้เพื่อครองกลไกในการแย่งชิง อำ�นาจนำ�ทางด้านอุดมการณ์ดว้ ย ซึง่ อุดมการณ์ทถ ่ี ก ู สถาปนา ในช่วงเวลาต่างๆ อย่างมีนย ั ยะสำ�คัญก็คอ ื อุดมการณ์ชาตินย ิ ม ว่าด้วย “ความเป็นไทย” ซึง่ ทีผ ่ า่ นมานัน ้ “ความเป็นไทย” ได้ ถู ก กำ � หนดนิ ย ามในลั ก ษณะที่ ห ลากหลาย และบางครั้ ง ก็ขัดแย้งกันเอง อันเป็นผลมาจากผลประโยชน์และแนวคิด ทางการเมืองทีแ ่ ตกต่างและขัดแย้งกัน อย่างไรก็ดี ความขัดแย้งในการแย่งชิงอำ�นาจที่มัก จะนำ�ไปสู่การหาทางจัดสรรแบ่งปันอำ�นาจระหว่างชนชั้นนำ� กลุ่มต่างๆ ในท้ายที่สุดทำ�ให้เกิดความจำ�เป็นที่จะต้องแบ่ง ปันพืน ้ ทีใ่ นการกำ�หนดความหมายทางอุดมการณ์/วัฒนธรรม แห่งชาติขน ้ึ มาร่วมกันด้วย แต่ดว้ ยความทีน ่ ย ิ าม “ความเป็น ไทย” ของแต่ละกลุม ่ แตกต่างกัน จึงเกิดการสร้างสิง่ ทีเ่ รียกว่า “สภาวะยกเว้น” ขึน ้ มา ซึง่ ก็คอ ื การเปิดพืน ้ ทีใ่ ห้ความเป็นไทย ในแบบฉบับต่างๆ ได้มพ ี น ้ื ทีข ่ องตนเอง เยีย ่ งองค์อธิปต ั ย์ใน สภาวะยกเว้น ที่องค์อธิปัตย์ ณ ส่วนกลางอนุญาตให้ดำ�รง อยูใ่ นพืน ้ ทีเ่ ฉพาะหนึง่ ๆ โดยที่ “ความเป็นไทย” แบบทีก ่ ลุม ่ ทางการเมืองต่างๆ มีการนิยามขึน ้ มาแตกต่างกันนัน ้ มีสาม แบบใหญ่ๆ คือ 1) ความเป็นไทยแบบวัฒนธรรม ไทย-พุทธ 2) ความเป็นไทยแบบกษัตริย์นิยม และ 3) ความเป็นไทย แบบพหุวฒ ั นธรรม ซึง่ ความเป็นไทยทัง้ สามแบบนี้ มีทง้ั ด้าน ทีห ่ นุนเสริมและขัดแย้งกันเอง

มรดกตกทอด : เราหลง(เหลือ)ลืมอะไรบางอย่าง? หาอะไรทีเ่ ป็นของเราเจอหรือไม่...นัน ่ เป็นคำ�ถามทีต ่ อ ้ งหาคำ�ตอบสำ�หรับทุกคน

รายการอ้างอิง จุมพฏ เลขะพันธุ์. (2543). “ลัทธิชาตินิยมในประเทศไทย: ศึกษานโยบายชาตินิยมของไทยสมัยจอมพล ป. พิบูลสงคราม ดำ�รงตำ�แหน่ง นายกรัฐมนตรี.” วิทยานิพนธ์ปริญญา มหาบัณฑิต สาขาวิชารัฐศาสตร์บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยรามคำ�แหง. ณรงค์ พ่วงพิศ. (2545). “การประกาศใช้ “รัฐนิยม” ในสมัยรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม (พ.ศ. 2481-2487).” ประวัติศาสตร์: 20-44. เทียมจันทร์ อ่ำ�แหวว. (2521). “บทบาททางการเมืองและการปกครองของจอมพล ป. พิบูลสงคราม (พ.ศ. 2475-2487).” วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต แผนกวิชาประวัติศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. อนุธีร์ เดชเทวพร. “ความเป็นไทย หลายหน้า: การแย่งชิงและแบ่งปันพื้นที่นิยาม.” Veridian E-Journal, Silpakorn University 5, 3 (กันยายน-ธันวาคม 2555): 87-105.

23


Interview

เมือ่ กาลเวลาผ่านไป ความคิดและวิถชี วี ต ิ ของมนุษย์ ในแต่ละยุคสมัยก็เปลีย ่ นแปลง วันนีฟ ้ า้ อักษรจะพาทุกคน มาเปิ ด มุ ม มองความคิ ด เห็ น เกีย ่ วกับความเป็นไทยและ วิถชี วี ต ิ ของคนในแต่ละ Generation โดยที่เราได้มีโอกาส มาพูดคุยกับทั้ง 3 คน จาก 3 Gen คนแรกคือ ผู ้ช ่วย ศาสตราจารย์บญ ุ ส่ง ชัยสิงห์กานานนท์ อาจารย์ประจำ� ภาควิชาปรัชญา คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร คนทีส่ องคือ อาจารย์ ดร. ปัทมา ฑีฆประเสริฐกุล อาจารย์ ประจำ�ภาควิชาภาษาไทย คณะอั กษรศาสตร์ มหาวิทยาลั ย ศิลปากร และคนสุดท้ายคือ นายพชร อินทร์วงศกร นักศึกษาสาขาวิชาเอกประวัตศ ิ าสตร์ คณะอักษรศาสตร์ รุ่นที่ 47 มหาวิทยาลัยศิลปากร ซึ่งเป็นบุคคลทีอ ่ ยู ่ในช่วง Baby Boomer Gen X และ Gen Y ตามลำ�ดับ ในแต่ละ Generation จะมี มม ุ มองทีเ่ หมือนหรือต่างกันอย่างไร เราลองมาหาคำ�ตอบไปพร้อมๆ กันกับบทสัมภาษณ์นี้ ได้เลยค่ะ

โดย ธนิดา วิมลเศรษฐ

รากความเป็ น ไทยในมุ ม มองของอาจารย์ เป็นอย่างไรคะ? เวลาพูดคำ�ว่ารากความเป็นไทยมันเป็นอะไรที่ค่อนข้าง คลุมเครือ เพราะว่าสิ่งที่เรียกว่าความเป็นไทย หรือสิ่งที่ก�ำ หนด ให้ ม ั น เป็ น ความเฉพาะ และมั ก จะถู ก สร้ า งขึ ้ น มามากกว่ า ความเป็นจริง เวลาพูดถึงราก บางอย่างมันก็จะเป็นปกรณัม คือถูกสร้างขึน ้ มาจากชนชัน ้ นำ�ของไทยในบางยุคสมัย ตัวอย่างเช่น การบอกว่าประเทศเรามีอายุยน ื ยาวมา 700 ปี ตั้งแต่ตน ้ ยุคสุโขทัย อะไรประมาณนี้ พวกนี้ก็เป็นปกรณัมที่ถูกสร้างขึ้นมา

คิดว่าอัตลักษณ์ทม ่ี รี ว่ มกันของคนใน Generation อาจารย์คืออะไรคะ? จริ ง ๆ คำ � ว่ า อั ต ลั ก ษณ์ ร ่ ว มกั น มั น ก็ ค ลุ ม เครื อ นะ แต่ถ้าถามถึงในยุคทีผ ่ มเกิดยุคนัน ้ ว่ากลุม ่ คนทีเ่ ป็นวัยรุน ่ สนใจอะไร กลุ่มที่ไม่ใช่วัยรุ่นสนใจอะไรอย่างนี้ก็พอจะเห็นภาพคร่าวๆ แต่ก็ถือว่าเป็นกระแสที่พอปในตอนนั้น ซึ่งบางคนเขาก็อาจจะ ไม่ได้อยู่ในกระแสนี้ เช่น วัยรุ่นได้รับอิทธิพลจากตะวันตกจาก สิ่งต่างๆ ใช่ไหม ก็นย ิ มใส่กางเกงขาบานๆ เขาเรียกอะไรขาช้าง หรือเปล่าไม่รู้ คือมันมีหลายไซซ์ ต่อมามันก็ใหญ่ขึ้นๆ บานขึน ้ มา อีกเยอะ ส่วนผู้หญิงก็มีอย่างพวกขาสั้นที่เรียกว่า Hot pants อะไรอย่างนี้ แต่ถ้าเป็นอัตลักษณ์หรือเอกลักษณ์อะไรที่มีร่วมกัน มันก็ไม่มี คือพอพูดถึงเรือ่ งเอกลักษณ์มน ั เป็นเรือ่ งของสิ่งประดิษฐ์ สั ง คมแต่ ล ะยุ ค มั น ก็ อ ยากจะผลั ก ดั น คนให้ ไ ปในทิ ศ ทางใด ทิศทางหนึ่ง สิ่งหนึ่งที่เป็นเครื่องมือก็คือสถาบัน คือมันมีอะไร บางอย่างทีจ่ งู ใจให้คนเป็นแบบนี้ แล้วก็ตามมาด้วยลักษณะเฉพาะนี้ มันดีกว่าลักษณะเฉพาะอื่นๆ มันเป็นสิง่ ทีเ่ ราควรทีจ่ ะต้องรักษาไว้ ซึ่งจริงๆ คืออัตลักษณ์มักเป็นสิ่งที่ถูกออกแบบมาโดยชนชั้นนำ� 24

Baby Boomer Generation ผู้ช่วยศาสตราจารย์ บุญส่ง ชัยสิงห์กานานนท์


บางคนหรือใครบางกลุ่ม แล้วก็มาครอบสังคมเพื่อชักนำ�ไปใน ทิศทางใดทิศทางหนึ่ง อย่างสังคมไทยเราเป็นสังคมที่มีแนวคิด แบบอนุรักษนิยม แล้วก็มีลักษณะของการเชิดชูสถาบันกษัตริย์ การออกแบบเอกลักษณ์ หรืออัตลักษณ์ไทยมันก็เลยไปผูกกับ อย่างนี้ คือให้ความสำ�คัญกับสถาบันเป็นแกน แล้วก็สร้างปกรณัม เกี่ยวกับอะไรอย่างนี้ขึ้นมา พวกนี้มันก็จะถูกถ่ายทอดมาให้เรา เลยตั้งแต่เราเกิดมาในครอบครัว ในระบบทีพ ่ อ่ แม่กไ็ ด้รบ ั การปลูกฝัง เรือ่ งพวกนีม ้ า แล้วก็มาถ่ายทอดอีกทีหนึ่ง พอเข้าไปในโรงเรียน เราก็ได้รับการถ่ายทอดอีกทีหนึ่ง โรงเรียนเองเป้าหมายก็ไม่ได้ ทำ�ให้เด็กคิดเป็น แต่ต้องการให้คิดตาม โรงเรียนก็ถ่ายทอด อุดมการณ์รัฐหรือความคิดของรัฐแล้วแต่ยุคสมัยเข้ามาในหัว นักเรียน ก็จะมีมหาวิทยาลัยทีถ ่ ้าอาจารย์ตระหนักเนีย ่ ก็จะไม่ได้ เป็นตัวไปถ่ายทอดแบบนัน ้ แต่จะเป็นการวิจารณ์ แต่ว่าถ้าอาจารย์ คิดไปตามกรอบของรัฐเนีย ่ เขาก็จะเหมือนครูโรงเรียน แล้วมันก็ จะทำ�ให้เราเกิ ดความคิดที่เป็นอัตลักษณ์แบบนี้ แล้วก็เชื่อ อย่างจริงจังด้วย

สภาพสั งคมในปัจจุบันต่างจากสภาพสั งคม ในยุคที่อาจารย์เติบโตมาอย่างไรคะ? คือในปัจจุบันเราได้รับอิทธิพลเทคโนโลยีสมัยใหม่ มันส่งผลให้มีความต่าง ต่างกันด้วยอิทธิพลของสื่อนี่แหละ อย่างเช่น เนือ ่ งจากว่าเดีย ๋ วนี้ทก ุ คนสามารถหามือถือได้ ในราคา ที่ไม่สูง แล้วมือถือมันก็มีอิทธิพลในการเปลี่ยนวิถีชีวิตของคน เดีย ๋ วนีต ้ น ื่ มาเราก็ไม่ได้ตั้งนาฬิกาปลุกแล้ว แต่เราปลุกจากมือถือ แล้วโซเชียลมีเดียก็มอ ี ท ิ ธิพล ตื่นขึ้นมาก็ต้องเปิดดูเลยว่ามีอะไร อัปเดตบ้างในเฟซบุ๊ก ในไลน์ ในอะไรพวกนี้ ซึ่งพวกนี้มันแสดง อิทธิพลทีเ่ ข้ามาแทรกแซงเรา ข้อดีก็คอื มันทำ�ให้คนสามารถทีจ่ ะ เลือกกลุม ่ ทีม ่ ค ี วามคิด แนวคิด หรือเรือ่ งทีส่ นใจร่วมกัน แล้วเรา ก็ เ ข้ า ไปเข้ า ร่ ว มกลุ่ ม กั บ เขา ซึ ่ ง เมื่ อ ก่ อ นบางที ม ั น ก็ ย าก เพราะคนทีเ่ ป็นคนเป็นๆ ทีอ่ ยู่ใกล้ๆ เรา ไม่ได้สนใจอะไรเหมือนเรา แล้วการที่จะติดต่อกับคนที่มันห่างไกลมันลำ�บาก ซึ่งสื่อพวกนี้ มันเป็นสิง่ ทีค ่ อ่ นข้างเปิดคนจากทีไ่ หนก็ไม่ร้ ู แต่มรี สนิยม มีความสนใจ เหมือนเรา เราก็สามารถไปเข้าร่วมกลุม ่ กับเขาได้ บางทีอยูห ่ า่ งไกล ไม่ตอ ้ งเจอตัวเป็น ๆ ก็ได้ ก็ยงั สือ ่ สารกันได้ทก ุ วัน แต่ในแง่ของ ข้อเสียคือทำ�ให้เราสนใจแค่กบ ั เรือ่ งทีเ่ ราสนใจ แล้วก็หมกมุน ่ ไปกับมัน

ถ้ า เป็ น ตั ว แทนของคนใน Generation อยากบอกเล่าอะไรในความเป็น Gen นี้คะ? คือผมไม่สามารถเป็นตัวแทนของคนใน Generation ผมได้ น ะ เพราะผมก็ ไ ม่ ไ ด้ ต ามกระแสในสมั ย นั ้ น อั น นั ้ น คืออย่างทีห ่ นึง่ อย่างทีส่ องคือถ้าจะบอกเป็นภาพรวมแทน จริงๆ มันพูดลำ�บาก เพราะว่าการอินเทรนด์มันเป็นกระแสที่มันมาเป็น ระยะๆ แล้วก็เปลี่ยนไปเรื่อย ๆ เทรนด์มันเปลี่ยน สมมุติว่า เราไปหยุด อยู่ในช่วงของปีนี้ มันก็เป็นของช่วงปีนั้น มันไม่ได้ หยุ ดอยู่ แ ค่ น ั ้ น อะ แต่ ถ ้ า มอง เนื่ อ งจาก Baby Boomer เป็นยุคทีร่ ุ่นพ่อแม่มีลก ู เยอะ อย่างน้อยก็ 3-4 ขึน ้ ไปถึง 7-8 คน ลักษณะของการเลี้ยงดูมน ั ก็จะเป็นครอบครัวที่ใหญ่พอสมควร แล้วก็ มีร ะบบคุณค่าแบบเดิมที่พ่อแม่ต้องพยายามอบรมลูก ในลักษณะบางแบบ อย่างเช่นแบบอนุรักษนิยม มันก็ยังมีอยู่สูง อนุรกั ษนิยมก็ได้แก่การเน้นคุณค่าแบบทีถ ่ กู ปลูกฝังมาในสังคมไทย อย่างเน้นเรือ่ งการกตัญญู การทีจ่ ะต้องยึดถือศาสนาใดศาสนาหนึง่ แล้วก็จะมีประเพณีพิธีกรรมตามวาระเวลา ส่วนผู้หญิงก็ต้อง รักนวลสงวนตัว เพราะว่าในสังคมไทยเป็นสังคมทีผ่ ชู้ ายเป็นใหญ่ มาตั้งแต่สมัยโบราณแล้วใช่ไหม มันก็จะมีคำ�สอนที่เหมือนจะ พยายามจัดระเบียบผู้หญิง เพื่อให้ผู้หญิงอยู่ในการควบคุม ของผู้ชาย เรื่องรักนวลสงวนตัวมันเลยถูกนำ�มาเป็นคุณค่าว่า ความสำ�คัญของผู้หญิงอยู่ที่พรหมจรรย์

รากความเป็ น ไทยในมุ ม มองของอาจารย์ เป็นอย่างไรคะ? อา จ ต้ อ ง เ ริ่ ม จา กที่ ว่ า อ ะไร คื อ ความ เ ป็ น ไทย หมายถึงผู้คน ดินแดน ภาษา การแต่งกาย การแสดงออก วัฒนธรรม หรืออะไรกันแน่ บางคนอาจจะบอกว่าความเป็นไทย คือชาติ ศาสน์ กษัตริยก ์ ไ็ ด้ บางคนอาจจะบอกว่าความเป็นไทย คื อ ผู ้ ค นที่ พ ู ด ภาษาไทย บางคนก็ ว ่ า ต้ อ งมี ว ั ฒ นธรรมไทย ความเป็นไทยดูจะไหลเลื่อน เพิ่มเติม และลดหายไปในแต่ละ ยุคสมัย มุมมองถึงรากความเป็นไทยของครู ก็คงตอบได้ ใน 25 มุมมองของคนที่เดินผ่านมาถึงยุคสมัยนี้ ซึ่งอีก 10 ปีข้างหน้า


Generation X ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปัทมา ฑีฆประเสริฐกุล

ต้องนับว่าเป็นการสร้างสรรค์ทางปัญญา เราสามารถจับนั่นมานิด โน้นมาหน่อยจนสร้างสิ่งใหม่ให้เกิดขึ้นมาทีไ่ ม่ใช่การลอกเลียน แต่คือความชาญฉลาดที่เข้าใจว่าลักษณะเฉพาะของตัวเอง คืออะไร แล้วเพิ่มเติมอะไรเข้ามาต้องปรับอย่างไรให้เข้ากับ ลักษณะเฉพาะ ค่านิยม วัฒนธรรม และรสนิยมของคนไทย

มุมมองนี้ก็อาจจะไหลเลื่อนไปก็ได้นะ แต่ถ้าถามในตอนนี้ก็คง มองว่ารากความเป็นไทย คื อ ความผสมผสาน เราจะเห็นว่า หลายส่วนในสังคมไทยล้วนเป็นเรื่องการผสมผสานอยู่มาก เช่น พิธีกรรมหลายพิธีเราก็เอาความเชื่อแบบพุทธ พราหมณ์ และผีมาผสมรวมกัน คนไทยก็มีหลากชาติพันธุ์ผสมกันไปมา จนตอนนีล ้ กู ครึ่งลูกเสีย ้ วก็มม ี ากมาย อาหารเราก็เอาของฝรั่งบ้าง มอญบ้าง อินเดียบ้าง อาหรับบ้าง เอามาปรับเครื่องปรุง และรสชาติจนกลายเป็นอาหารไทยได้เช่นกัน เรารับวัฒนธรรมอื่น เข้ามา แต่เอามาปรับเอามาแต่งจนเกิดลักษณะทีไ่ ม่เหมือนใคร กลายเป็นลักษณะเฉพาะของ “ความเป็นไทย” เราจึงเป็นชาติที่ สามารถขยายความเป็นไทยไปได้หลากหลายมาก การผสมผสานนีแ้ สดงให้เห็นถึงอะไรของคนไทยได้บา้ ง ประการแรกคือความถ่อมตนที่ยอมรับเอาสิ่งต่างๆ เข้ามา เพือ่ ใช้ประโยชน์แก่ชาติตน เพราะไม่ได้เป็นผูย ้ ด ึ มัน ่ กับสิง่ ทีต ่ นเป็น และมีมากจนไม่สามารถปรับตัวเองได้ ความถ่อมตนนี้ทำ�ให้ ความเป็นไทยเราตั้งอยู่บนความยืดหยุ่นที่สามารถปรับไปตาม กาลเวลาได้ จ น “ ความเป็ น ไทย ” ยั ง สื บ ต่ อ ไปได้ อ ย่ า งดี ประการทีส่ องคือสติปญ ั ญาความคิดสร้างสรรค์ ในการผสมผสาน สิ่ ง ต่ า ง ๆ จนเกิ ดอั ต ลั ก ษณ์ ของไทยบางประการขึ้ น มาได้ 26


ถ้ า เป็ น ตั ว แทนของคนใน Generation อยากบอกเล่าอะไรในความเป็น Gen นี้คะ? คนยุคครูคือ “คนในระหว่าง” นั่นหมายถึงเรารักษา บางอย่างที่เราเติบโตมาและเปิดรับสิ่งใหม่เพิ่มเข้ามา เรารู้จัก มารยาทและกาลเทศะ เคารพและให้ เ กี ย รติ ผ ู ้ อ ื ่ น ในแบบ คนโบราณ แต่เราก็มีบางช่วงเวลาที่มีความเป็นปัจเจกเฉพาะ ตั ว เองสู ง แบบคนรุ ่ น ใหม่ มั น เหมื อ นเราเปิ ด ฟั ง เพลง ‘หมั่นคอยดูแลและรักษาดวงใจ’ ของพี่เบิร์ด ธงไชย แมคอินไตย และสามารถนั่งดูรายการ The Rapper ไปอย่างมีความสุข ได้เหมือนกัน การเป็น “คนในระหว่าง” ไม่ใช่คนรวดเร็วแต่ก็ ไม่เชื่องช้า ไม่ใช่คนหัวโบราณแต่ก็ไม่ลํ้าสมัยจนก๋ากั่นเกินไป นั่นคือ อัตลักษณ์ของคนยุคครู “คนในระหว่าง”

คิดว่าอัตลักษณ์ทม ่ี รี ว ่ มกันของคนใน Generation อาจารย์คืออะไรคะ? อัตลักษณ์ร่วมในคนยุคเดียวกันกับครูน่าจะเป็นเรื่อง การเป็นทั้งคนหัวโบราณและคนหัวสมัยใหม่ เพราะยุคของครู เป็นยุคคาบเกีย ่ วระหว่างความโบราณทีเ่ ทคโนโลยียงั ไม่กา้ วหน้านัก กับการเริ่มต้นก้าวสูค ่ วามทันสมัยทางเทคโนโลยี ในครึ่งชีวิตแรก อยูแ่ ละเติบโตมาจากความคิดแบบเก่า ส่วนอีกครึ่งชีวิตต่อมาก็ อยูก ่ บ ั ความทันสมัยทางเทคโนโลยี ดังนั้นคนยุคครูจึงมีทั้งยึดใน ความโบราณบางอย่างและกล้าเปิดรับสิ่งใหม่ๆ เราเกรงใจ และให้ความเคารพผูอ้ าวุโสกว่ามาก แต่เราก็สร้างความเป็นกันเอง ให้กับเด็กสมัยใหม่ให้เขารู้สึกเบาใจสบายใจได้ด้วย แต่ยังอยู่ ภายใต้กรอบการมีมารยาทและให้เกียรติกันและกันนะ

สภาพสั งคมในปัจจุบันต่างจากสภาพสั งคม ในยุคที่อาจารย์เติบโตมาอย่างไร? สภาพสังคมยุคครูไม่รวดเร็วเท่ายุคนี้ เราอยากได้อะไร เราต้องลงแรงมาก เช่น เกี่ยวกับการเรียนละกัน ถ้าต้องการ หนังสือเล่มหนึ่งซึ่งไม่มีที่หอสมุดเราแต่มีที่หอสมุดแห่งอื่น ไม่มีการยืมข้ามห้องสมุด ไม่ มี อิ น เทอร์ เ น็ ต ให้ ด าวน์ โหลด เราก็ ต ้ อ งยอมนั ่ ง รถข้ า มจั ง หวั ด ไ ป ที่ หอสมุ ด แห่ ง นั ้ น การทำ�รายงานส่งอาจารย์ก็ไม่มีการทำ�รายงานแบบกด Copy แล้ว Paste ได้จากเว็บต่างๆ ทุกอย่างคือการนั่งอ่านหนังสือ เล่มต่างๆ คิดวิเคราะห์เองแล้วนำ�มาเรียบเรียงเขียนด้วยมือ การติดต่อสื่อสารก็ต้องใช้เวลานานนะ เวลาคิดถึงเพื่อนหรือ ใครขึ้นมาก็เขียนจดหมาย บางทีก็โทรศัพท์ แต่ต้องไปหยอด ตู้ โทรศัพท์สาธารณะนะ แล้วก็ต้องไปยืนรอต่อคิวคนมากบ้าง น้อยบ้างเพือ่ จะโทรศัพท์ทต ี่ ู้โทรศัพท์สาธารณะทีก ่ ไ็ ม่ได้มม ี ากนัก การได้ยืนรอแบบรอจริ งๆ นี่แหละที่ทำ�ให้ทั้งคนโทร.ไปและ คนรับสายปลายทางรู้ว่าทุกนาทีที่เราสนทนากันมีค่ามากแค่ไหน มันไม่ใช่การโทร.เมื่อไรก็โทรได้แบบที่เรามีโทรศัพท์มือถือกัน ซึ ่ ง ก็ แ ปลกที่ เ มื่อ เรามี โ ทรศั พ ท์ ส ่ ว นตั ว สะดวกโทร.คุ ย กั น แต่กลับไม่คอ่ ยโทรศัพท์หากันนัก ส่วนปัจจุบันทุกอย่างรวดเร็ว ไปหมด คนก็เลยต้องใช้ชีวิตเร็วตามความทันสมัยของสังคม ความรวดเร็วนีก้ ม ็ ท ี ั้งข้อดีทท ี่ �ำ ให้เกิดสิ่งใหม่ๆ มากมาย ไม่นา่ เบือ่ และไม่ซํ้าซาก แต่ก็นั่นแหละนะ มันก็ลดทอนคุณค่าของทุกสิ่ง ลงไปด้วยเช่นกัน สำ�หรับครูแล้ว เวลาเป็นเครื่องพิสูจน์ใจและ คุณค่าอย่างหนึ่งนะ ถ้ามันมาเร็วมันก็ไปเร็ว แต่ถ้าเราทอดเวลา ให้กบ ั สิ่งต่างๆ ใช้เวลากับบางสิ่งบางอย่างและบางคนให้มากขึน ้ เราจะมีเวลาพิจารณาสิ่งนั้นหรือคนนั้น รวมทั้งตัวเราเองด้วย ไม่ใช่มองกันแค่ฉาบฉวยเท่านั้น ลองเดินให้ช้าลงสิ เราอาจมอง เห็นแง่มุมบางอย่างที่เราไม่คิดว่าจะได้เห็นนะ

Generation Y นายพชร อินทร์วงศกร นักศึกษาสาขาวิชาเอกประวัติศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ รุ่นที่ 47 มหาวิทยาลัยศิลปากร

27


รากความเป็นไทยในมุมมองของพีเ่ ป็นอย่างไรคะ? รากความเป็นไทยสำ�หรับคนส่วนใหญ่ เขาอาจคิดว่า มันเป็นการแสดงออกในเรื่องของวัฒนธรรม การแสดงออก ทางพฤติกรรมต่างๆ เช่น การไหว้ อุปนิสัย ถ้านึกถึงคนไทย โดยทั่วไปแล้ว ก็จะคิดว่าเป็นคนทีเ่ คารพผู้ที่อาวุโสกว่า เป็นคนที่ มี จิตใจโอบอ้อมอารี มีศิลปวัฒนธรรมที่ค่อนข้างมีเอกลักษณ์ เฉพาะตั ว นู ่ น นี่ น ั ่ น แต่ เ อาเข้ า จริ ง ถ้ า โฟกั ส ในเรื่ อ งของ รากความเป็นไทย นี่คิดว่ามันเป็นผลผลิตในช่วงยุคหลัง ๆ ละ มันไม่ใช่ว่ารากความเป็นไทยมันมีมาตั้งแต่สมัยยุคสุโขทัย หรือตั้งแต่มีรัฐไทยขึ้นมา ที่จริงความเป็นไทยมันจะเริ่มมีมา ตั้งแต่ช่วงหลัง พ.ศ. 2475 มานี่เอง ก็คือจะมีช่วงยุคสร้างชาติ สร้ า งความเป็ น ไทย ตั ้ ง แต่ ส มั ย จอมพล ป. จอมพลสฤษดิ์ จริงๆ พวกนี้มันมีมาก่อนหน้านี้แล้ว มันค่อยๆ มีมาตั้งแต่สมัย รัชกาลที่ 5 ก็คือกรมพระยาดำ�รงราชานุภาพ ท่านจะผลิตงาน ด้ า นประวั ต ิ ศ าสตร์ อ อกมาเพื่ อ ให้ ม ั น เป็ น อั ต ลั ก ษณ์ ข อง ความเป็นไทย แต่คำ�ว่าความเป็นไทยมันถูกใช้เยอะในช่วงสมัย ของจอมพล ป. มากกว่า เขาจะกำ�หนดตีกรอบมาเลยว่าอันนี้

คือความเป็นไทยนะ อันนี้คือการแสดงของคนไทย โขนมันคือ ของคนไทย ในความเป็นจริงคิดว่าความเป็นไทยมั น ไม่ ใช่ สิ่งเหล่านี้ ความเป็นไทยมันคือความหลากหลาย ที่มันมาผสม มาจากที่อื่น อย่างเช่นในเรื่องของโขน เราเคลมว่ามันเป็น ของไทย แต่ที่จริงมันมาจากอินเดีย โขนที่กัมพูชาก็มี ที่ล่าสุด มันมีข้อพิพาทกัน กัมพูชาเขาก็เคลมว่ามันเป็นของเขา ถ้าเกิด จะดูรากความเป็นไทยแท้ๆ จ๋าๆ เนีย ่ คิดว่าหายากมากในปัจจุบน ั เพราะรากมันผสมผสานกันมา พอมาถึงปัจจุบน ั รากมันผสมกันมา เยอะมาก จนเราไม่รู้ว่าความออริจินอลของมันคืออะไร


สภาพสั งคมในปั จ จุ บ ั น ต่ า งจากสภาพสังคม ในยุคที่พี่เติบโตมาอย่างไร? นี ่ เ กิ ด ปี พ.ศ. 2539 อายุ 22 ปี ในยุ ค นั ้ น ก็ ค ื อ เพิ ่ ง เริ ่ ม มี อ ิ น เทอร์ เ น็ ต นะ พี ่ ว ่ า มั น แตกต่ า งกั น ในเรื ่ อ งของ ความรวดเร็ว ความรวดเร็วในทุกสิ่งทุกอย่างเลย เมื่อก่อน จำ�ได้ว่าตอนเป็นเด็ก พ่อเพิง่ ซือ้ คอมพิวเตอร์มาใหม่ ซือ้ เน็ตมาใหม่ เน็ตยังเป็นแบบเติมบัตรอยูเ่ ลย แล้วตอนนัน ้ MSN เพิง่ เข้ามา เพื ่ อ นทุ ก คนมี ห มด กลั บ บ้ า นทุ ก วั น เราจะต้ อ งไปออนเอ็ ม มันมีชว่ งระยะเวลาทีเ่ ราจะต้องรอไปทำ�สิง่ สิง่ หนึง่ พอมาในปัจจุบนั เฮ้ ย มึ ง ตอบแชตหน่ อ ย ก็ ค ว้ า โทรศั พ ท์ ข ึ ้ น มาตอบได้ เ ลย มันไม่ต้อ งกลับไปแบบ เฮ้ยเดี๋ย วก่อ นมึง เดี๋ยวกู ก ลั บ หอ เดี๋ยวกูไปเปิดคอม เดี๋ยวกูไปซื้อเน็ต อะไรอย่างนี้ เรื่องของ เทคโนโลยีคือมันพัฒนาไปเยอะมาก มันไว แล้วมันก็พัฒนา แบบก้าวกระโดด บางทีในสิ่งที่เรารับ มันอาจจะยังไม่เหมาะสม กับบางสิ่งบางอย่าง อย่างเช่นเรื่องของการรับวัฒนธรรมต่างๆ เข้ามา นี่คิดว่ามันไวไป แต่ถ้าถามว่าไม่รับได้ไหม ไม่ได้ เพราะ กระแสสังคม กระแสโลกมันไปในทิศนั้น เราจะไปต้านไปบอก เฮ้ย เน็ตไวไปว่ะ ไม่เอา มันก็จะดูตกขอบไปอะเนอะ อีกอย่าง ก็เป็นในเรื่องของความสะดวก ในการเข้าถึงอะไรหลาย ๆ อย่าง พอเข้าเว็บไซต์ไปมันมีให้หมดทุกอย่าง เราไม่ต้องพยายามอะไร แล้วอีกอย่างหนึ่งพอเราไม่ต้องพยายามอะไรอย่างนี้ มันทำ�ให้ เหมือนคน Gen เราไม่อดทน มันก็จะมีแบบพวกวลีที่เราได้ยน ิ เยอะมากสำ�หรับเรานะ เราไม่รู้ว่าคนอื่นได้ยินไหม แบบว่า ไอ้ เ ด็ ก รุ ่ น ใหม่ ม ั น ไม่ อ ดทน ทั ้ ง งาน ทั ้ ง ทำ � อะไรต่ า ง ๆ แย่ เดีย ๋ วแป๊บๆ เดีย ๋ วมันก็ออกละ นี่คือสิ่งที่เจอตอนปี 4 เยอะมาก ตอนเพือ ่ นจะไปสัมภาษณ์สมัครงาน เขาก็จะได้รับคำ�ครหาเยอะ ก็คือมันไม่ใช่ว่าไม่อดทนอย่างนั้น แต่เรามีตัวเลือกที่มันดีกว่า คือคนในยุคก่อนกว่าเขาจะทำ�อะไรมาได้ในแต่ละอย่างมันยากกว่า แต่เรามันมีทางลัดอะ เพราะงัน ้ ความลำ�บากมันคนละเลเวลกันเลย แล้วเขาเอาความลำ�บากของคนเลเวลเขามาเทียบกับเลเวลเราอะ พี่ว่ามันไม่สมควร

คิดว่าอัตลักษณ์ทม ี่ รี ว่ มกันของคนใน Generation พี่คืออะไรคะ? ปัจจุบันมันถูกแบ่งออกเป็นยุคๆ เป็น Gen ต่างๆ ซึ่งมันก็จะมีจดุ เด่นของเขาใช่ไหม อย่างเช่นในช่วง Baby Boomer มันคือช่วงสร้างชาติ สร้างรัฐต่างๆ คนที่เป็นผู้นำ�ในการปกครอง เขาจะตีกรอบทุกอย่าง เพือ่ สร้างความเป็นอัตลักษณ์ของชาตินนั้ ๆ เพราะฉะนัน ้ แล้ว Baby Boomer มันคือผลผลิตของวาทกรรม สร้างชาติทั้งหลายแหล่ และเขาก็ถูกตีกรอบมาหมดเลยว่า อย่างนีน ้ ะเป็นสิง่ ทีถ่ กู ต้อง อันนีค ้ อื ความดีงาม อันนีค ้ อื สิง่ ทีต ่ อ้ งทำ� และห้ามหลุดจากกรอบใบนั้น พอคนรุ่นเขามีลูกหลานออกมา ก็คือ Gen X คน Gen X จะรู้สึกว่าคนรุ่นพ่อรุ่นแม่เขา มันมี กรอบบางอย่างที่มันไม่เหมาะสมกับ Gen ของเขา แน่นอนว่า หนทางแก้ไขเขาไม่สามารถแก้ไขในรุ่นพ่อแม่เขาได้ เขาก็มา แก้ไขในรุ่นลูก ก็คือ Gen Y ฉะนั้น Gen X จะเป็น Gen ที่ ค่อนข้างเลีย ้ งลูกค่อนข้างโอ๋ ค่อนข้างที่จะสปอยล์ ดังนั้น Gen Y จะค่อนข้างเป็นยุคที่มีของครบทุกอย่าง พ่อแม่ค่อนข้างที่จะ เปิดกว้างมากขึ้น ค่อนข้างที่จะตามใจมากขึ้น จะสังเกตได้จาก เรื ่ อ งของความหลากหลาย เปรี ย บเที ย บง่ า ยๆ เมื ่ อ ก่ อ น ครอบครัวบ้านพี่ รุน ่ ยายเขาจะค่อนข้างเข้มงวดในเรือ่ งของเพศมาก คือมีญาติเป็นกะเทยอยู่คนหนึ่ง ญาติคนนี้ก็จะไม่ถูกนับว่า เป็นญาติ เขาจะกลายเป็นคนนอกของครอบครัวไป มันค่อนข้าง ที่จะตีกรอบรุนแรงมากในยุค Baby Boomer ในครอบครัว ของพี่นะ แต่ของครอบครัวคนอื่นไม่รู้ พอมายุคเราเกิดมาปุ๊บ เราก็เห็นว่าน้าคนนี้ก็ปกติ น่ี หว่า แต่ทำ�ไมเวลาไปคุยกับยาย ยายจะไม่ชอบคนนี้มากเลย แล้วคนในยุคเดียวกับยายเขาจะมี Ideal แบบเดียวกัน เลยว่า ยี้กะเทย ยี้น่า เกลียด ยีไ้ ม่เหมาะ แต่พอมารุ่นเรา เราก็มองว่า เฮ้ย แล้วไงวะ เฉยๆ ในยุคเรา มั น ค่ อ นข้ า งเปิ ด กว้ า งมากขึ ้ น นอกจากนี ้ ม ั น ก็ ม ี เ รื่ อ ง ความเสมอภาคความเท่ า เที ย มกั น ด้ ว ยที ่ เ ปิ ด กว้ า งมากขึ ้ น บางทีมันอาจได้รับอิทธิพลมาจากตะวันตกมากขึ้นอะไรแบบนี้ และอีกอย่างในช่วงยุค Gen เราทุกอย่างมันพัฒนาไปไวมาก เรื่ อ งข้ อ มู ล ข่ า วสารมั น ก็ ค ่ อ นข้ า งที่ จ ะเปิ ด กว้ า งมากขึ ้ น เราเข้าถึงง่าย ทำ�อะไรมันก็รวดเร็ว บางทีมน ั ก็เร็วไปในบางเรือ ่ ง แต่เมือ่ เทียบกับ Gen อื่นๆ เราถือว่ามันเร็วนะ ทั้งในเรื่องของ การศึกษา การรับข้อมูล และการเจริญเติบโต

ถ้ า เป็ น ตั ว แทนของคนใน Generation อยากบอกเล่าอะไรในความเป็น Gen นี้คะ? ใ น ยุ ค ที่ เ ร า เกิ ดมามั น จะมี ท ั ก ษะใน เ รื่ อ งของ ความหลากหลาย เดีย ๋ วนี้คนเราทำ�อะไรเป็นแค่อย่างเดียวไม่ได้ ในคณะเราก็เหมือนกัน ขนาดเรายังต้องมีเอกมีโทเลย มันต้องมี ทักษะในด้านอืน ่ ๆ มีทกั ษะหลัก ทักษะรอง แล้วเดีย๋ วนีเ้ ราอยากจะ ศึกษาอะไรก็ได้ มันมีสงิ่ อำ�นวยความสะดวกให้เราพัฒนาตัวเราเอง ได้มากยิง่ ขึน ้ สมมติแฟนพีช่ อบโยคะ อยากเรียนโยคะ แต่แฟนพี่ ทำ�งานทั้งวันเลย คือเดี๋ยวนี้มันไม่ต้องไปเข้าคอร์ส นั่งรถไปถึง ปิ่นเกล้าเพื่อไปเรียนกับครู 3 ชั่วโมงแล้ว แต่เขาอยู่ในห้องเขา เปิ ด คอมขึ ้ น มา ซื ้ อ คอร์ ส ออนไลน์ แล้ ว เขาก็ ท ำ � ตาม พอมันเรียนรูด ้ ้วยตัวเองได้ง่ายขึ้น มันก็เป็นช่องทางในการพัฒนา ศักยภาพของตัวเราได้ดยี งิ่ ขึน ้ มันจึงเป็นทักษะทีค่ อ่ นข้างหลากหลาย แล้วในสายงานปัจจุบันเขาต้องการความหลากหลายของ Gen เราด้วย นี่คือสิ่งที่เราต้องการที่จะขาย แล้วมันก็เป็นทักษะ ที่เราควรมีใน Gen Y 29


WhySpread! WhySpread! By บต.

ท�ำไมเราถึงไม่ยอมทิง้ รากเหงา้ ให ห ้ มดไปทัง้ ๆ ทีเ่ ทคโนโลยี มันท�ำใหเ้ ราสะดวกสบายขนาดนี?้ ในวั น ที่ บ ้า นเมื อ งของเราถู ก พั ฒ นาไปด้ว ย สิ่งก่อสร้างขนาดใหญ่ การสร้างทางหลวงให้กว้างและ ไกล รวมถึงทางด่วนที่ถูกสร้างขึ้นมาเพื่อคัดกรองรถที่มี ก�ำลังจ่ายเพือ ่ ขับไปให้ถงึ จุดหมายปลายทางได้เร็วเฉกเช่น อภิ สิ ท ธิ์ ช น การกระจายความเจริ ญ ทางวั ต ถุ ใ นแบบ สั ง คมจากเมื อ งหลวงกรุ ง เทพสู ่ตั ว เมื อ งของทุ ก จั ง หวั ด รวมถึงห้างสรรพสินค้าที่ไม่จ�ำเป็นต้องเดินทางไกลเราก็ ไปถึงได้ ท้องฟ้าคือเส้นทางที่จะพาเราไปไหนก็ได้ในโลก อย่างรวดเร็ว แน่นอน! ว่าเราขึ้นเครื่องบิน หากเราลองสั ง เกตช่ว งอายุ ข องเราที่ ผ ่า นกั บ ความเป็นอยู่ของคนทั่วๆ ไปนั้น มันเปลี่ยนเร็วมากนะ เมื่อความเจริญที่เป็นอุดมคติของสังคมเมืองเริ่มบุกรุก สังคมชนบท เคยสงสัยไหมล่ะว่าอะไรจะเกิดขึ้น? ผู้เขียน เห็นว่าความแตกต่างของการใช้ชีวิตในสังคมเมืองและ สั ง คมชนบทแตกต่า งกั น ที่ สั ง คมเมื อ งผู ้ค นจะออกไป ท�ำงานในตอนเช้า เพื่ อ หาเงิ น เดื อ นในตลาดเศรษฐกิ จ การท�ำงานออฟฟิศ การส่ง ลู ก เข้า ไปเรี ย นในโรงเรี ย น ที่ดีเพื่อแข่งขันเข้าไปในตลาดที่มีค่าแรงดีกว่า เป็นนักสู้ ในระบบเศรษฐกิจที่ดี เข้าถึงเทคโนโลยีที่ทันสมัย การมี ที่อยู่อาศัยที่ปลอดภัยโดยการสร้างกรอบรั้วขึ้นมา เช่น หมู่บ้านจัดสรรที่มีขอบเขตชัดเจน มีเพื่อนบ้านที่มาจาก ต่างที่กัน ซึ่งคนในสังคมเมืองไม่จ�ำเป็นต้องรู้จักกันก็ได้ เราต่างคนต่างอยู่ เมื่อย้อนกลับมาที่สังคมชนบทอันเป็น สังคมก่อนหน้าของสังคมเมือง ผู้เขียนเห็นว่าวิถีชีวิตส่วน ใหญ่นั้นขึ้นอยู่กับความเป็นครอบครัว ญาติพี่น้องและ สั ง คมเกษตรกรรม ผู ้ค นไม่ไ ด้ต ้อ งการแข่ง ขั น กั บ ผู ้ค น รอบข้าง การมีวัฒนธรรมในชุมชนที่ผูกให้คนในสังคม ได้พ บปะพู ด คุ ย และท�ำกิ จ กรรมร่ว มกั น การสร้า งบ้า น เรือนใกล้ชิดกันในหมู่เครือญาติที่ไม่ได้มีรั้ว เมื่อเวลามี ปัญหาก็สามารถหยิบยืม ช่วยเหลือเกือ ้ หนุนกันได้ แต่เมือ ่ สังคมทุนนิยมที่ต้องใช้เงินเข้ามา มีการรับฟังข่าวและสื่อ ต่างๆ ผ่านวิทยุ โทรทัศน์ รวมทั้งอินเทอร์เน็ต ในปัจจุบัน การศึ ก ษากลายเป็น สิ่ ง จ�ำเป็น การเรี ย กร้อ งของ เทคโนโลยีของคนในสังคมชนบทท�ำให้เกิดการโอนถ่าย คนชนบทไปอยู ่ใ นสั ง คมเมื อ งมากขึ้ น คนจากสั ง คม ชนบทก็ จ�ำเป็น ต้อ งพั ฒ นาตั ว เอง เมื่ อ มี ลู ก หลานก็ พั ฒ นากลายเป็น คนในสั ง คมเมื อ งในที่ สุ ด แม้ก ระทั่ ง การที่ ค นที่ อ ยู ่ใ นสั ง คมชนบทเดิ ม ก็ ต ้อ งเปลี่ ย นส�ำเนี ย ง ภาษาของตั ว เองเพื่ อ ให้ก ลื น ไปกั บ คนในสั ง คมเมื อ ง แ ล ะ ทิ้ ง สั ง ค ม เ ดิ ม ใ น ฐ า น ะ พื้ น ที่ ข อ ง ค ว า ม ท ร ง จ�ำ และแผ่นดินเกิด

รากเหง้าของความเป็นเราคือความเชื่อและวิถี ชีวต ิ เดิมๆ เราปฏิเสธการหายไปของมันไม่ได้หรอก เพราะ เทคโนโลยีมันพัฒนาไปทุกวัน ผู้อ่านเคยสงสัยไหมว่าสิ่งที่ เราเชือ ่ สิง่ ทีเ่ ราคิดว่าดีในวันนีจ้ ะกลายเป็นรากเหง้าในอีก แบบฉบับหนึ่งของคนในอนาคต เหมือนที่รุ่นปู่ย่าตายาย ของเราที่ ไ ม่เ คยได้ใ ช้ไ ฟฟ้า แล้ว ก็ ไ ด้ใ ช้ไ ฟฟ้า ในวั น หนึ่ ง มีวท ิ ยุทรานซิสเตอร์ เครือ ่ งเล่นแผ่นเสียงเป็นเครือ ่ งบันเทิง จนวันนี้มันก็เริ่มจางหายไปและถูก แทนที่ด้วยโทรศั พ ท์ มื อ ถื อ และอิ น เทอร์เ น็ ต ความเร็ ว สู ง จากการขี่ เ กวี ย น เป็น ยานพาหนะในรุ ่น ทวดก็ ก ลายเป็น การขั บ รถยนต์ และขึ้นเครื่อ งบินที่ใช้เวลาอันรวดเร็ว เพียงแค่หนึ่ งวั น ก็ พ าเราไปอี ก ซี ก โลกได้อ ย่า งสะดวกสบาย สิ่ ง ที่ ท�ำให้ เรารู ้สึ ก ว่า รากเหง้า มั น หายไปอาจเป็น เพี ย งเพราะ เทคโนโลยี มั น พั ฒ นาเร็ ว เกิ น ไปเมื่ อ เที ย บกั บ อายุ ไ ข อั น สั้ น ของเรา เราเพี ย งแค่เ กิ ด มาเห็ น เทคโนโลยี รุ ่น ก่อ นหน้า และตายในยุ ค ที่ เ ทคโนโลยี พั ฒ นาที ห ลั ง ซึ่ ง มั น เปลี่ ย นวิ ถี ชี วิ ต ของเรา ครอบครั ว และคนรอบข้า ง ตลอดเวลา หรื อ มาเปลี่ ย นแบบฉั บ พลั น เรารู ้สึ ก ตื่ น เต้น กั บ การเห็ น มั น ถู ก สร้า งขึ้ น มา แต่ก็ ต อ ้ งแลกกั บ การมีวิถีชีวิตที่เปลี่ยนไป “สวัสดีลูกหลานมนุษย์ทายาทลิงเปลือยทุกคน” ไม่ต้องตกใจว่าท�ำไมผู้เขียนถึงใช้ค�ำพูดนี้ เพราะว่าเราต่าง ก็เป็นทายาทของบรรพบุรษ ุ ทีม ่ วี วิ ฒ ั นาการจากสัตว์ป่าจน เวลาผ่านมาวิวัฒนาการก็พาเรามาอยู่ในจุดที่เราเป็นสัตว์ สังคม เราท�ำได้เพียงอยู่กับเทคโนโลยีที่เราเรียกร้อง และ ก็ยอมรับในการเปลีย ่ นไปของชีวต ิ หากเราปฏิเสธมัน เราก็ ต้องกลับไปเป็นลิงเปลือยเหมือนบรรพบุรษ ุ แรกเริม ่ ของเรา

30


ART ’ S SIDE กอธิค (Gothic) สถาปัตยกรรมที่เป็นภาพสะท้อนรากของสังคมยุโรปยุคกลาง

โดย ศุภศิษฏ์ สิทธิสิงห์

เชื่อว่าในไม่กี่เดือนที่ผ่านมา หลายๆ ท่านคงจะทราบกันดีว่าเกิดเหตุอัคคีภัยขึ้น ที่มหาวิหารนอเทรอดาม (Notre-Dame de Paris) ณ กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส ทีถ ่ ก ู สร้างขึน ้ มาในปี ค.ศ. 1163 และเสร็จสิน ้ ในปี ค.ศ. 1345 มหาวิหารนอเทรอดามเป็น สถาปัตยกรรมแบบกอธิค สถาปัตยกรรมที่เป็นที่นิยมในช่วงยุคกลางของยุโรป (Middle Ages: ค.ศ. 476-1492) สถาปัตยกรรมรูปแบบกอธิคเป็นสถาปัตยกรรมทีพ ่ บในช่วงยุโรป สมัยกลาง ก่อนทีจ่ ะเสือ่ มความนิยมลงหลังจากการเข้าสูย ่ ค ุ ฟืน ้ ฟูศลิ ปวิทยาการ (Renaissance) ดังนั้นสถาปัตยกรรมในรูปแบบกอธิคอย่างมหาวิหารนอเทรอดามจึงเป็นโบราณสถาน ที่สำ�คัญแห่งหนึ่งของโลก จึงไม่เป็นเรื่องที่น่าแปลกใจเลยที่หลังจากการเกิดเหตุเพลิงไหม้ ครั้งนี้ ผู้คนทั่วโลกจะแสดงความเสียใจต่อการสูญเสียครั้งสำ�คัญของโลก และในครานี้ ผู้เขียนจึงอยากจะทำ�ให้ผู้อ่านทุกท่านเข้าใจถึงความสำ�คัญของสถาปัตยกรรมแบบกอธิค สถาปัตยกรรมเก่าแก่ที่เปรียบเสมือนสัญลักษณ์ของยุคแห่งศรัทธาในยุโรปสมัยกลาง สถาปัตยกรรมในรูปแบบกอธิคนั้นเป็นสถาปัตยกรรมที่ได้รับความนิยมอย่างสูง ในช่วงยุโรปยุคกลาง ปรากฏการก่อสร้างมหาวิหารหลายแห่งในช่วงเวลานั้น ด้วยอำ�นาจ ของคริสตจักรที่ล้นฟ้า สามารถเข้าควบคุมอำ�นาจทางโลกได้โดยง่าย ฉะนั้นการที่จะสร้าง สถาปัตยกรรมรูปทรงใหญ่โตโอ่อ่าแบบสถาปัตยกรรมแบบโรมาเนสก์ (Romanesque) หรือกอธิคก็ไม่ใช่เรือ ่ งแปลก ทำ�ให้สถาปัตยกรรมกอธิคเป็นสถาปัตยกรรมทีส ่ ะท้อนให้เห็นถึง ความศรัทธาของผู้คนในยุคสมัยนั้น ซึ ่ง เป็น ยุ ค สมัย ที ่ความศรัทธาของผู้คนต่อศาสนา มีจำ�นวนมหาศาล จนทำ�ให้ผู้คนในยุคหลังกล่าวขานนามของยุคนั้นว่าเป็นยุคแห่งศรัทธา (Age of Faith) สถาปัตยกรรมรูปแบบกอธิคได้พฒ ั นารูปแบบมาจากศิลปะโรมาเนสก์ โดยจุดเริม ่ ต้น ของสถาปัตยกรรมในรูปแบบกอธิคนั้นเริ่มมาจากในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 12 อำ�นาจของ กษัตริย์ถูกลดทอนอำ�นาจลงจากระบบฟิวดัล (Feudalism) ซึ่งเป็นระบบที่ผู้เป็นเจ้าของ ที่ดินหรือที่เรียกว่าลอร์ด (Lord) จะมอบที่ดินให้แก่บุคคลที่เรียกว่าวัสเซิล (Vassal) โดยทีว่ ส ั เซิลนัน ้ จะขึน ้ ตรงกับลอร์ดของตนเท่านัน ้ ฉะนัน ้ แล้วพวกเขาจะไม่ขน ้ึ ตรงต่อบุคคล ที่มีตำ�แหน่งมากกว่านี้ กษัตริย์ที่เป็นเจ้าของที่ดินทั้งหมดในอาณาจักรก็ไม่ได้มีกำ�ลังพล มากพอ หากเทียบกับขุนนางที่เป็นลอร์ดซึ่งมีกำ�ลังคนมากกว่า เนื่องจากชนชั้นสูงนั้น มีจำ�นวนน้อยกว่าชนชั้นล่าง ดังนั้นกษัตริย์ที่มีวัสเซิลเป็นชนชั้นสูงอย่างขุนนางก็จะมี กำ�ลังคนน้อยกว่าขุนนางที่มีวัสเซิลทั้งเป็นชนชั้นสูงด้วยกันหรือชนชั้นล่าง จึงกล่าวได้ว่า ผู้มีอำ�นาจใหญ่ในสังคมยุโรปสมัยนั้นคือขุนนาง มีพระผู้ใหญ่รูปหนึ่งนามว่า ซูว์เฌ หรือ ซูวเ์ ฌแห่งแซ็ง-เดอนี (Suger de Saint-Denis) เขาเป็นทีป ่ รึกษาให้กบ ั พระเจ้าหลุยส์ท่ี 6 (Louise VI) แห่งฝรั่งเศสในขณะนั้น ซูว์เฌมีความคิดที่จะดึงศาสนาเข้ามาพัวพันกับ การเมือง เขาส่งเสริมการมีอ�ำ นาจของกษัตริยโ์ ดยให้กษัตริยเ์ ป็นศูนย์รวมจิตใจของประชาชน ผ่ า นการมี บ ทบาทของศาสนา ดั ง นั ้ น เขาจึ ง เลื อ กทางที ่ จ ะทำ � นุ บ ำ � รุ ง วิ ห ารแซ็ ง -เดอนี ที ่ น อกจากตั ว ของแซ็ ง -เดอนี ท ี ่ เ ป็ น ชื ่ อ ของวิ ห ารนั ้ น เป็ น บุ ค คลสำ � คั ญ ทางศาสนาแล้ ว ตัววิหารยังเป็นที่ประกอบศาสนพิ ธ ีตั้งแต่สมัยจักรพรรดิชาร์เลอมาญ (Charlemange) และยังเป็นที่ฝังพระศพของราชวงศ์อีกหลายพระองค์ โดยการบูรณะนั้นเดอนีต้องการ ให้วิหารอารามแห่งนี้ใหญ่โต มีรัศมีข่มโบสถ์อื่น ๆ เป็นศูนย์กลางทั้งของสถาบันกษัตริย์ และศาสนา ทำ � ให้ ก ่ อ กำ � เนิ ด มหาวิ ห ารแซ็ ง -เดอนี (Basilica of Saint-Denis) สถาปัตยกรรมแบบกอธิคแห่งแรกของโลก 31


ศิลปะแบบกอธิคมีลักษณะเรียวบางอ่อนช้อย ใช้เทคนิคสร้างโครงโดยใช้คํ้ายัน หรือครีบ เรียกว่า “ครีบยันลอย” เพือ ่ ยันนำ�้ หนักของทัง้ สองข้าง มีเสาหินเพือ ่ รองรับนาํ้ หนัก ของหลังคาและคานเพดาน ท�ำให้สถาปัตยกรรมแบบกอธิคไม่จ�ำเป็นทีจ่ ะต้องมีก�ำแพงหนา เพือ ่ รองรับนํา้ หนัก ท�ำให้อาคารสามารถมีพน ื้ ทีว่ ่างภายในได้กว้างขวางยิง่ ขึน ้ นอกจากนี้ ยังมีหอคอยสูงของอาคารเพื่อเพิ่มความสูงของอาคารให้สูงสง่าสมเป็นสถานที่ศักดิ์สิทธิ์ ทางศาสนา ส่วนประตูหน้าต่างก็บีบยอดโค้งมนแบบโรมาเนสก์เป็นโค้งแหลมขนาดกว้าง เพือ ่ ให้แสงผ่านเข้าออกได้ นอกจากนีย ้ งั มีการน�ำแผ่นกระจกสีต่างๆ มาตัดต่อประกอบกัน เป็นภาพหรือลวดลายภายในกรอบช่องแสงหรือหน้าต่างเหล็ก ด้านในประดับประดาไปด้วย ประติมากรรมแบบลอยตัวของแม่พระ พระเยซู นักบุญ และบุคคลส�ำคัญทางศาสนาต่างๆ สถาปัตยกรรมรูปแบบกอธิคเป็นสถาปัตยกรรมที่มีขนาดสูงใหญ่ ท�ำให้พวกเขา เรียกศิลปะแนวนีว้ ่ากอธิค เพราะดูสงู ใหญ่เหมือนพวกชนเผ่ากอธ (Goths) ชนเผ่าอนารยชน เยอรมัน (Barbarian) ชนเผ่าหนึง่ และการออกแบบมาให้มย ี อดแหลมสูงเสียดฟ้าเพือ ่ ให้ แสดงถึ ง อ�ำนาจของศาสนจั ก รที่ ส ามารถติ ด ต่อ พระเจ้า ที่ อ ยู ่บ นสวรรค์ไ ด้ การสร้าง มหาวิหารในรูปแบบกอธิคจึงเป็นการสร้างเพือ ่ แข่งขันกันถึงอ�ำนาจ บารมี และความศรัทธา ทางศาสนาของผู้คนที่มีอ�ำนาจในยุคกลาง สถาปัตยกรรมกอธิคจึงเป็นภาพสะท้อนถึงยุคสมัยของสังคมในช่วงนั้นที่มีราก มาจากความเชือ ่ ทางศาสนา อาจจะเพราะว่าการผูกอำ�นาจทางความรูท ้ ศ ่ี าสนาคอยปิดกัน ้ แนวคิดอืน ่ ๆ ทีไ่ ม่ใช่ความรูจ้ ากศาสนจักร ทำ�ให้ความรูแ้ ละความเชือ ่ ของคนในสังคมผูกติด กับความเชือ ่ ทางศาสนาไปโดยปริยาย นอกจากนีศ ้ าสนายังมีบทบาทอย่างมากในการเมือง ของแต่ละดินแดนในช่วงนั้นอีกด้วย ทั้งการที่ศาสนจักรมีบทบาทในการแต่งตั้งตำ�แหน่ง ขุนนางต่างๆ บางครัง้ ก็รวมไปถึงการแต่งตัง้ ผูค ้ รองนครอีกด้วย หรือการทีข่ น ุ นางในสมัยนัน ้ ถ้ามีลก ู หลายคน พวกเขาจะให้ลก ู คนโตครองตำ�แหน่งในตระกูลต่อ โดยลูกคนอืน ่ ก็จะให้บวช เพื่อสร้างอำ�นาจให้กับตระกูล จุดนี้แสดงให้เห็นถึงการที่ศาสนามีอำ�นาจในขนาดที่ขุนนาง ผู ้ซ ่ึง มีอ ำ � นาจสูง กว่ากษัตริย์ในช่วงที่ระบบฟิวดัลเจริญรุ่งเรืองยังต้องอาศัยผลประโยชน์ จากศาสนจักร ถ้าขุนนางหลายต่อหลายตระกูลต่างทยอยเข้ามาพึ่งอำ�นาจของศาสนจักร ทายาทเหล่านัน ้ เองก็จะเป็นอำ�นาจให้ศาสนจักรไปด้วย อีกทัง้ ต้นทุนในการผลิตหนังสือทีเ่ ป็น แหล่งความรูน ้ น ้ั มีราคาแพงมาก มหาวิทยาลัยทีเ่ กิดขึน ้ ก็ยงั ต้องใช้วธิ ก ี ารจดจากคำ�บอกเล่า ของอาจารย์ผู้สอน ฉะนั้นแล้วแหล่งความรู้ก็จะถูกกลุ่มผู้มีอำ�นาจอย่างศาสนจักรบงการ ไปเสียหมด แสดงให้เห็นถึงอำ�นาจอันล้นฟ้าของศาสนาคริสต์ในยุคแห่งศรัทธาที่เป็นยุค ที่ย่อยออกมาจากยุโรปยุคกลางอีกทีหนึ่ง ถึงแม้ในเวลาต่อมาจะเกิดยุคฟืน ้ ฟูศล ิ ปวิทยาการซึง่ พวกเขาเน้นความสำ�คัญไปทาง ศิลปะแบบกรีก-โรมัน และแม้ศิลปะรูปแบบกอธิคในยุคแห่งศรัทธาที่สร้างขึ้นมาเพื่อ วั ต ถุ ป ระสงค์ ท างการแสดงอำ � นาจของศาสนจั ก รจะถู ก ดู ห มิ ่ น และเสื ่ อ มความนิ ย มลง แต่ถงึ กระนัน ้ สถาปัตยกรรมแบบกอธิคก็เป็นสถาปัตยกรรมทีแ ่ สดงให้เห็นถึงความเป็นอยู่ ของผู้คนยุโรปในยุคกลางได้เป็นอย่างดี ถึงแม้อิทธิพลต่องานศิลปะในยุคต่อมาจะไม่ได้ ส่งผลกระทบอะไรมากนัก แต่ก็ปฏิเสธไม่ได้ว่าศิลปะแบบกอธิคที่แสดงออกมาในรูปแบบ สถาปัต ยกรรมนั น ้ เป็ น สิ ่งทีม ่ ีคณ ุ ค่ า ทางประวัต ศ ิ าสตร์ที ส ่ �ำ คัญของโลกใบนีเ้ ลยที เดียว สถาปัตยกรรมในรูปแบบกอธิ ค คือสิ่งที่สะท้อนให้เห็นถึงความคิด ความเป็นอยู่ของคน ในยุคยุคหนึง่ จึงไม่เป็นทีแ ่ ปลกใจเลยว่าเพราะเหตุใดเหล่าผูค ้ นทัว่ โลกจึงแสดงความเสียใจ ต่อการเกิดเหตุอค ั คีภย ั ครัง้ ใหญ่ทโ่ี บราณสถานทีเ่ ป็นทัง้ กระจกสะท้อนและหีบเก็บบรรยากาศ ในยุคที่ศาสนามีบทบาททั้งทางการเมืองและทางสังคมของยุโรป

รายการอ้างอิง วิจิตร เจริญภักตร์. (2543). ประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรมตะวันตก. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. อนันตชัย เลาหะพันธุ. (2558). เรื่องน่ารู้ในยุโรปยุคกลาง. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ: ศักดิโสภาการพิมพ์. Wikipedia. (2019). Basilica of Saint-Denis. Accessed May 25. Available from https://en.wikipedia.org/ wiki/Basilica_of_Saint-Denis Wikipedia. (2019). Notre-Dame de Paris. Accessed May 25. Available from https://en.wikipedia.org/ wiki/Notre-Dame_de_Paris


l a k F O F O Y Y R

R O O T T SS

33


n a al d

BY ANONYMOUS

09.00 น. ตามเวลาท้องถิ่น เขาก้าวขาออกมาจากรถเก๋งสีดำ�มันขลับแล้วเดินตาม ผู้หญิงคนหนึ่งที่มารอรับหน้าตึก เดินเข้าไปในอาคารทรงกลม ประหลาดทีส ่ ลักตัวอักษรสีทองว่า “กองบัญชาการกองทัพบก” ประตูอต ั โนมัตเิ ปิดต้อนรับเขาให้เข้าไปข้างในทีต ่ กแต่ง ด้วยสถาปัตยกรรมอั น งามวิ จ ิ ต รและสลั กประวัติกองทัพบก ตั้งแต่เริ่มก่อตั้งจนถึงปัจจุบันด้วยภาษาท้องถิ่น เขาไม่เคยเห็น องค์กรไหนในประเทศนีจ้ ะมีส�ำ นักงานทีย ่ ง่ิ ใหญ่อลังการเท่ากับ กองทัพบกแห่งนีม ้ าก่อนแม้จะเดินทางไปทัว่ ทัง้ โลก เขากล้าพูด ได้วา่ มันเป็นสถาปัตยกรรมทีส ่ วยงามทีส ่ ด ุ เท่าทีช่ วี ต ิ เขาเคยเห็นมา เขามองไปรอบตัวอย่างตื่นตาตื่นใจ นับเป็นครั้งแรกที่ เขาได้เข้ามาเหยียบสถานที่อันถือเป็นองค์กรที่เข้มแข็งอีกแห่ง ของประเทศบ้านเกิดหลังจากที่ต้องไปเรียนต่อไกลถึงอีกฟาก หนึ่งของโลกตั้งแต่จบมัธยมปลาย ประเทศเล็กๆ ที่แทบหาไม่ เจอในแผนที่โลกและไม่มีผลต่อเศรษฐกิ จโลกในวงกว้างถูก กลืนหายไปกับกระแสสังคมส่วนใหญ่ เขาเพิ่งตระหนักได้กับ ตนเองว่าเขารู้เรื่องราวต่างๆ ของประเทศบ้านเกิดตนเองน้อย เหลือเกิน ประตู ข องห้ อ งประชุ ม เปิ ด กว้ า ง.....เขาก้ า วเข้ า ไป ท่ า มกลางสายตาของผู้ ค นมากมายที่ จั บ จ้ อ งมายั ง เขาเป็ น ตาเดียว ชายหนุ่มขยับมือจัดสูทสีดำ�สนิทของตนก่อนจะโค้ง เป็นการทำ�ความเคารพแล้วเดินไปนั่งที่ที่ถูกจัดไว้ให้ ชายใน ชุดทหารที่นั่งหัวโต๊ะประชุมกระแอมไอเล็กน้อยแล้วขยับเข้า มาเปิดไมโครโฟนตั้งโต๊ะ ชายสูงวัยกวาดสายตาไปรอบห้อง แล้วเริ่มพูด “เมื่อองค์ประชุมมากันครบแล้ว กระผม...ผู้บัญชาการ ทหารสูงสุดและผู้ดำ�รงตำ�แหน่งผู้นำ�ประเทศในขณะนี้อยากจะ ชี้แจงให้พวกท่านได้เข้าใจตรงกัน และเราจะได้เริ่มการประชุม หารื อ กั น ในหั ว ข้ อ การพั ฒ นาชาติ ใ ห้ ก้ า วไปข้ า งหน้ า อย่ า ง มั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน” ท่านผู้บัญชาการทหารสูงสุดยิ้มที่มุมปาก แต่เขากลับ รู้สึกว่าดวงตาของท่านไม่ได้ยิ้มตาม

34

เขาสบตากับชายอายุมากกว่าอยู่ครู่หนึ่ง ก่อนจะ หลบตาลงก้มอ่านเอกสารที่เพิ่งจะได้รับแจกเมื่อครู่ รำ�พึง กับตนเองในใจว่าเขาไม่ได้รับรู้ข่าวสารบ้านเมืองของบ้าน เกิ ดมานานเท่าไรแล้วจึงไม่เคยรู้มาก่อนว่าบัดนี้ประเทศนี้ ถูกปกครองโดยทหารไปแล้ว เขาจำ�ได้ว่าประเทศของเขาเป็นประชาธิปไตยโดย มีประธานาธิบดีเป็นประมุข...เขาไม่รู้เลยว่าเพราะเหตุใด นายพลคนนี้ จึ ง ดำ � รงตำ � แหน่ ง ควบคู่ ทั้ ง ผู้ บั ญ ชาการทหาร สูงสุดขณะเป็นผู้นำ�ประเทศไปพร้อมกันได้ ชายหนุ่มได้แต่เก็บงำ�ความสงสัยเอาไว้ในใจ “พวกท่ า นทั้ ง หลายในที่ นี้ นั บ ว่ า เป็ น ผู้ มี ค วามรู้ ความสามารถในด้านต่างๆ ไม่วา่ จะเป็นวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี นิติศาสตร์ รัฐศาสตร์ หรือวัฒนธรรม การร่วมมือกันของ พวกเราจะทำ � ให้ ป ระเทศก้ า วไปข้ า งหน้ า อย่ า งแน่ น อน นอกจากนี้ ยั ง มี ห ลายท่ า นที่ จ บจากต่ า งประเทศกลั บ มา ร่วมพัฒนาชาติกับเราอีกด้วย” “เพื่อไม่ให้เป็นการเสียเวลา เชิญเลยครับ” หญิงสาวคนหนึ่งที่นั่งอยู่ตรงข้ามกับเขายกมือขึ้น แล้วลุกยืนเต็มความสูง หน้าตาคมเข้มของหล่อนทำ�ให้เขา พอจะเดาได้ ว่ า หล่ อ นคงมี เ ชื้ อ สายจากประเทศใกล้ เ คี ย ง อย่างประเทศไทยไม่มากก็น้อย “ด้วยความเคารพค่ะท่านผู้นำ� ดิฉันดีใจที่ท่านได้จัด ให้มีการหารือกับท่านผู้มีความรู้ความสามารถทุกท่านเพื่อ นำ�พาประเทศชาติให้พัฒนาไปข้างหน้า และสำ�หรับดิฉันมี ความคิดเห็นว่าเราควรพัฒนาให้ประเทศของเราเป็นแหล่ง พลังงานของโลก เป็นแหล่งอุตสาหกรรมที่แข็งแกร่งเพื่อให้ นานาประเทศยอมรับ” หล่ อ นหั น มาสบตากั บ เขาอยู่ ค รู่ ห นึ่ ง ก่ อ นจะนั่ ง ลง เขายังคงมองตามหล่อนตาไม่กระพริบ ผู้หญิงคนนี้เป็นคน สวยและพูดจาฉะฉาน กล้าแสดงความคิดเห็นของตนเอง โดยไม่ได้ตะขิดตะขวงว่าตนเป็นผู้หญิงคนเดียวในที่ประชุม แห่งนี้เลย


“ท่านผูน ้ �ำ ครับ กระผมเห็นต่างจากท่านด็อกเตอร์ปารี” ชายร่างท้วมคนหนึ่งยกมือขึ้นบ้าง เขาเหลือบมองหญิงสาว ที่เพิ่งนั่งลงไปเล็กน้อย ก่อนจะขยับมือจัดสูทที่ตนสวมอยู่ ให้เข้าที่ “ต้องขออภัยท่านด็อกเตอร์ ท่านไปร�่ำเรียนถึง เมืองนอกเมืองนามานานจึงไม่ได้เข้าใจบริบทของประเทศ บ้านเกิดท่านเอง ประเทศของเราเป็นประเทศเกษตรกรรม และประชาชนของเรายังเป็นบ้านป่าเมืองเถื่อน ที่ไหนใกล้ ทะเลก็มีโจรสลัด ที่ไหนอยู่บนดินก็ปล้นฆ่ากันเอง กระผม อยากจะเรียนอย่างนี้ว่าประชาชนของเราต้องมีความเป็น อารยชนเสียก่อนท่าน ให้ปฏิบต ั ต ิ ามประเทศทีเ่ จริญแล้ว อย่างประเทศไทยหรือประเทศตะวันตก วัฒนธรรมไหนล้าหลัง ก็ควรยกเลิกไปเสีย” “ท่านศาสตราจารย์สม ุ าน กระผมเองก็อยากจะโต้แย้ง ว่าท่านเองก็พด ู ไม่ถก ู ต้อง” ผูช้ ายทีน ่ ง่ั อยูข่ า้ งเขาลุกขึน ้ พูด บ้างชายผูน ้ ส ี้ วมชุดชนเผ่าสดใสแตกต่างจากคนอืน ่ ๆ ทีน ่ ง่ั อยู่ ในห้องประชุม แต่กลับพูดภาษากลางของประเทศได้อย่าง คล่องแคล่วไม่มีติดขัด “ประเทศของเรารุ่ ม รวยด้ ว ยวั ฒ นธรรมพื้ น เมื อ ง อันเป็นวิถีชีวิตของชาวบ้านทั่วไป เป็นรากฐานสำ�คัญที่ผูก ให้คนในชาติอยูร่ วมกันได้ ท่านจะมายกเลิกง่ายๆ เช่นนีไ้ ม่ ได้” เขาสั ง เกตได้ ว่ า ท่ า นศาสตราจารย์ กำ � ลั ง โกรธจั ด ในช่วงชีวต ิ ในวงวิชาการทีม ่ ผ ี ค ู้ นเคารพนับถือมามาก ท่านคง ไม่เคยเผชิญหน้ากับการโต้แย้งอย่างแข็งกร้าวเช่นนีม ้ าก่อน “ประเทศจะเป็นอารยะได้อย่างไรหากยังมีวฒ ั นธรรม ล้าหลังอยู่” “เป็นอารยะไม่จำ�เป็นต้องดูถูกรากเหง้าของตนเอง เสมอไป ท่านสุมาน” ชายในชุดชาวเผ่ากล่าวด้วยนำ�้ เสียงราบเรียบ แต่กลับ สะเทือนห้วงอารมณ์ของผู้ฟังอย่างรุนแรง ทั้งห้องประชุม เงียบกริบไม่ได้ยินแม้กระทั่งเสียงหายใจ “ท่านสุมาน ต้นไม้ใหญ่ยน ื ต้านพลังสัตว์ใหญ่ได้กด ็ ว้ ย รากฐานทีแ่ ข็งแรง หากไม่มรี ากฐานอันยัง่ ยืนนีเ้ ราจะแผ่ขยาย กิง่ ก้านสาขา ผลิดอกออกผลกันได้อย่างไร สุดท้าย...เราก็ตอ ้ ง ถูกโค่นลงอย่างน่าอนาถใจอย่างนั้นน่ะหรือ” “ดิฉันเห็นด้วยค่ะ” ด็อกเตอร์ปารีลุกขึ้นสนับสนุน ความคิดของชายผู้นี้หลังจากที่ปล่อยให้ความเงียบครอบงำ� ห้องประชุมอยูน ่ าน “เอกลักษณ์อน ั เป็นรากหยัง่ ลึกในประเทศ ของเราต่างหากจะช่วยพัฒนาประเทศได้อย่างมั่นคง” “เอาล่ะ ผมได้ฟังความเห็นของทุกท่านแล้ว กรุณา นัง่ ลงเถิดครับ อย่าได้โต้แย้งกันเลย” ท่านผูน ้ �ำ เลือ ่ นตัว เข้าไปใกล้ไมโครโฟนตัง้ โต๊ะแล้วกรอกเสียงลงไป ยุตไิ อความโกรธ ของศาสตราจารย์ผู้ทรงเกียรติให้สงบลงและยอมนั่งลงบน เก้าอี้แล้วเงียบเสียงลง “มีทา่ นไหนจะอภิปรายเป็นรายต่อไป เชิญเลยครับ”

35

“เมือ ่ ครูห ่ ลายท่านได้พด ู ถึงรากฐานทีจ่ ะพัฒนาประเทศ ไปข้างหน้า ในประเด็นนี้ ผมเองก็อยากจะต่อยอดสักเล็กน้อย” ชายคนที่ลุกขึ้นพูดนั่งอยู่ข้างเขา รูปร่างเล็กแกร็นและผมบน ศีรษะขาวโพลนไปทั้งหัว แต่เขากลับเห็นว่าอีกฝ่ายยังไม่ได้ดู มีอายุมากขึ้นขนาดนั้น เขาจำ�ได้ว่าชายผู้นี้เป็นนักการเมือง คนสำ�คัญของประเทศ เพราะชายผู้นี้มีชื่อเสียงดังกระฉ่อนไป ถึงต่างประเทศที่เขาร่ำ�เรียนอยู่ทีเดียว “กระผมเห็นว่ารากฐานทีแ่ ท้จริงของการพัฒนาประเทศ ให้ก้าวไปข้างหน้าได้คือประชาธิปไตยครับ” เสียงฮือฮาดังขึ้น ทันทีที่ประโยคนั้นของนักการเมืองใหญ่ได้จบลง ห้องประชุม อันเคร่งเครียดไม่เหลือซึง่ ความเงียบขรึมอีกต่อไป เขาเห็นใคร ต่อใครต่างหันหน้าเข้าพุดคุยกันอย่างตื่นเต้น ประโยคหนึ่งที่ เขาจับใจความได้คือ ...พวกเราไม่มีมันมานานแล้ว เขาไม่เข้าใจว่ามันหมายความว่าอย่างไร ท่านนายพลขยับตัวนัง่ หลังตรงจากเก้าอีป ้ ระจำ�ตำ�แหน่ง เขาเห็นว่าท่านนายพลเขม็งเครียดขึ้นเล็กน้อยขณะจ้องหน้า ของนักการเมืองท่านนี้เขม็ง น�้ำเสียงที่ใช้พูดคุยด้วยก็ต�่ำกว่า ปกติ “กรุณาอธิบายด้วยครับ” ชายผู้นั้นจ้องหน้าท่านนายพลนิ่งงันไม่มีหลบตาก่อน จะเปิดปากพูดช้าๆ จงใจให้ทก ุ คนในห้องประชุมได้ฟงั กันชัดๆ “ท่านผู้นำ�ครับ ประเทศเราเริ่มต้นขึ้นมาก็เริ่มด้วย ประชาธิปไตย ครอบครัวของผมทำ�งานเป็นนักการเมืองมา รุ่นสู่รุ่น พวกเราเห็นแล้วครับท่านผู้นำ�ว่าแท้ที่จริงสิ่งที่ฝังราก อยู่กับประเทศเรามานานแสนนานคืออะไร” “ท่ า นผู ้ น ำ � ครั บ รากฐานที ่ แ ท้ จ ริ ง ของประเทศคื อ ประชาธิปไตย และสิง่ ทีพ ่ วกเราทุกคนต้องการคือประชาธิปไตย!” “ประเทศของเรามีการรัฐประหารวนมาทุกสี่ถึงห้าปี เป็นปกติ” ท่านผูน ้ �ำ เปรยขึน ้ แทรกการประชุม เขาเห็นว่านีเ่ ป็น ครัง้ แรกทีท ่ า่ นเอ่ยปากแทรกการอภิปรายของผูเ้ ข้าร่วมประชุม “การรัฐประหารเกิดขึน ้ ทุกครัง้ เพือ ่ ให้สงั คมเกิดความสงบ เรียบร้อย เมือ ่ บ้านเมืองเกิดความวุน ่ วาย ทหารต้องเข้ามายุติ ความวุ่นวายนั้น และนำ�พาประเทศให้พัฒนาไปข้างหน้า” ท่า นผู้น�ำมองหน้า ผู้เข้าร่วมประชุมแต่ละคนก่อนจะ เอ่ยปากยย้ำหนักแน่น “มนุษย์เราหวนกลับคืนสูธ่ รรมชาติตนเอง ท่านนักการเมือง ...เหมือนที่ต้นไม้ย่อมกลับคืนราก” ทัง้ ห้องประชุมเงียบกริบ เขาได้ยน ิ แค่เสียงลมหายใจ เท่านั้น “ท่านพูดว่ารากฐานทีแ่ ท้จริงของประเทศคือประชาธิปไตย ท่านกำ�ลังเข้าใจผิดอย่างรุนแรงครับ รวมถึงทุกท่านในทีป ่ ระชุม แห่งนี้อีกด้วย”


เสียงเปิดประตูดังขึ้นอย่างแรงพร้อมกับร่างของ นายทหารนั บ สิ บ นายวิ่ ง กรู เ ข้ า มาในห้ อ งพร้ อ มกั บ อาวุ ธ หนัก เขาเบิกตากว้างด้วยความตกใจ ไม่ต่างจากใครต่อใคร ที่อยู่ในห้องประชุมร่วมกับเขา ปืนทุกกระบอกเล็งมาทีพ ่ วกเขาด้วยแววตาราบเรียบ ท่านนายพลยกยิ้มที่ริมฝีปาก เขารู้สึกราวกับเห็น รอยยิ้มของปีศาจ “รากทีฝ ่ งั ลึกทีส ่ ด ุ ในประเทศแห่งนี.้ ..คือการรัฐประหาร นั่นรวมไปถึงการควบคุมให้ทุกคนคิดเหมือนกัน ไม่กระด้าง กระเดือ ่ ง พวกท่านเป็นผูม ้ ค ี วามรูค ้ วามสามารถ ควบคุมยาก... และผมจำ�เป็นต้องกำ�จัดพวกคุณทุกคนทิ้ง” “ท่านผู้นำ�!” ปีศาจสยายปีก สีดำ�สนิทของปีกมันกระพือวาบไป ทั่วทั้งห้อง เขาสะดุ้งสุดตัวเมื่อได้ยินเสียงปืนดังมาจากหน้า ประตูแล้วร่างของเพือ ่ นนักวิชาการค่อยๆ ร่วงลงไปกองกับพืน ้ เท่านั้นเขาก็ตระหนักรู้ได้อย่างแจ่มแจ้ง การประชุมวิชาการครั้งนี้เป็นฉากบังหน้า แท้ ที่ จ ริ ง แล้ ว พวกเขาทุ ก คนถู ก ลวงมาหาที่ ต าย และกลับเข้าสู่รากเดิมที่ทำ�ให้ประเทศนี้เป็นอย่างทุกวันนี้ “พวกคุณทำ�ให้ผมไม่มท ี างเลือก...ผมขอยึดอำ�นาจ!”

11.47 น. ตามเวลาท้องถิ่น ท่านผู้นำ�ประกาศยึดอำ�นาจตัวเองอีกครั้ง



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.