2
3
ความศรัทธาต่อพระนางพรหมจารีมารีย ์ ของ นักบุญกัสปาร์ แบร์โทนี (โดย คุณพ่อวสันต์ พิรุฬห์วงศ์ CSS)
////////////////////////// ในความศรัทธาต่างๆ ของคุณพ่อกัสปาร์ แบร์โทนี ขณะที่ท่านยังมีชีวิตอยู่นนั้ ตามประวัติหลักฐานที่เรามี พบว่า “พระนางพรหมจารีมารีย”์ เป็ นผูห้ นึ่งที่ท่านมีความเคารพศรัทธาอย่างมาก คุณพ่อกาเยตาโน จาโกเบ ผูเ้ ขียนประวัติชีวิตของคุณพ่อแบร์โทนีเป็ นคนแรก ได้เขียนไว้ในตอนหนึ่งซึ่งถือเป็ นประจักษ์พยานที่ดีแก่เราในเรื่อง นีว้ ่า “เพือ่ จะกล่าวว่าคุณพ่อกัสปาร์ แบรโทนี มีความรักศรัทธามากมายแค่ไหนต่อพระแม่มารีย์ ท่านได้ทา หลายสิ่งหลายอย่างมากมายแค่ไหนเพือ่ พระนาง และท่านมีความร้อนรนในทุกอณูของหัวใจมากมายแค่ ไหนในความรักและรับใช้ในพระนางนัน้ เราคงไม่สามารถเขียนทุกสิ่งเหล่านีบ้ รรจุไว้ได้หมดใน หน้ากระดาษ หรือถ้าจะบรรจุได้ก็เป็ นเพียงแค่บางส่วนเท่านัน้ ” หลักฐานน่าทึ่งที่แสดงถึงความรักฉันบุตรของคุณพ่อแบร์โทนีต่อพระนางมารีย์ คือ บทภาวนาที่ท่านเขียน ไว้ในสมุด “บันทึกชีวิตฝ่ ายจิต” (Memoriale Privato) ของท่าน เมื่อวันที่ 24 พฤษภาคม 1810 ท่านว่า “โอ้ พระมารดาของข้าพเจ้า ข้าพเจ้าขอกราบวันทาพระนาง ขอโปรดประทานพรของพระนาง โปรดอวยพรข้าพเจ้าและทุกคนทีเ่ ป็ นทีร่ กั ของข้าพเจ้า โปรดถวายแด่พระเป็ นเจ้า ทุกสิ่งทีข่ า้ พเจ้าจะ กระทาและทนทุกข์ในวันนี ้ ร่วมกับฤทธิ์กศุ ลและพระบารมีของพระบุตรของพระนาง ข้าพเจ้าขอถวายและ อุทศิ เพือ่ ปรนนิบตั พิ ระนาง ซึ่งตัวข้าพเจ้าทัง้ ครบ และทุกสิ่งทีเ่ ป็ นของข้าพเจ้า ข้าพเจ้าขอมอบสิ่งทัง้ ปวงนี ้ ไว้ในความอารักขาของพระนางด้วย ข้าแต่พระมารดาทีร่ กั ยิ่งของข้าพเจ้า โปรดวอนขอแด่พระเป็ นเจ้า ซึ่งพระคุณแห่งความศักดิส์ ทิ ธิ์ ทัง้ วิญญาณและกาย และบันดาลให้ขา้ พเจ้าไม่กระทาสิ่งใดในวันนี ้ ให้เป็ นทีข่ ดั พระทัยพระองค์ ข้าพเจ้าวิงวอนขอพระนาง เดชะการปฏิสนธินริ มลและพรหมจารีนริ มลของพระนาง” 1.
กลุ่มเยาวชนเล็ก ๆ ของแม่พระ
ความบริสทุ ธิ์ไร้มลทินในชีวิตวัยเยาว์ของท่านนักบุญผูศ้ กั ดิส์ ิทธิ์ของเรา ถูกรักษาไว้ภายใต้รว่ มเงาของดอก ลีลี่ขาวบริสทุ ธิ์ ซึ่งคุณพ่อแบร์โทนีได้มอบถวายตัวท่านเองไว้ใต้รม่ ความคุม้ ครองนีน้ บั แต่ยามรุง่ อรุณของชีวิตของ ท่าน ขณะเมื่ออายุได้ 11 ปี ครึง่ คุณพ่อแบร์โทนีได้เข้าร่วมใน “กลุ่มแม่พระถือสารฯ” ซึ่งเป็ นกลุม่ เยาวชนเล็กๆ ก่อตัง้ โดยพระสงฆ์คณะเยสุอิตภายในโรงเรียนนักบุญเซบาสเตียน ความศรัทธาต่อแม่พระนีก้ ็ยงั คงผลิบานต่อไป ในตัวท่านแม้เมื่อต่อมาคณะเยสุอิตถูกระงับดาเนินกิจการลงชั่วคราวก็ตาม ความศรัทธาต่อแม่พระของกลุม่ เยาชน นีเ้ ป็ นความศรัทธาที่ฉายแสงมาจากชื่อของกลุม่ นีเ้ อง การถวายตัวของพระแม่มารียใ์ นการรับสารจากอัครเทวดา
4
เป็ นแบบอย่างของการปฏิญาณตนภายในอย่างบริสทุ ธิ์ของสมาชิกในกลุม่ และการได้รบั การปกป้องคุม้ ครอง พิเศษจากพระนาง เกี่ยวกับกลุม่ เยาวชนเล็กๆ ของพระนางมารียน์ ี ้ ผูเ้ ขียนชีวประวัติคนแรกของคุณพ่อแบร์โทนี คือ คุณพ่อกา เยตาโน จาโกเบ ได้บนั ทึกท่าทีของท่านไว้ว่า “ท่านมอบตนเป็ นพิเศษและทัง้ หมดฉันบุตรในความศรัทธาต่อพระนางมารีย์ ท่านร้องหาและทูลวิงวอนขอ ต่อพระมารดาแห่งความเมตตา และผูเ้ สนอวิงวอนทีท่ รงอานาจอย่างสม่ าเสมอ พร้อมกับมอบถวาย ดวงใจทีบ่ ริสทุ ธิข์ องท่านแด่พระนาง” คุณพ่อผูเ้ ขียนชีวประวัติท่านนี ้ ยังเล่าต่อไปถึงเรื่องการเตรียมสมโภชพระนางมารียข์ องคุณพ่อแบร์โทนี สมัยที่ท่านยังเป็ นเยาวชนอยู่นวี ้ ่า ท่านได้เตรียมตัวสมโภชด้วยการร่วมในนพวารศักดิส์ ิทธิ์ รับศีลศักดิส์ ิทธิ์ต่างๆ อย่างสม่าเสมอ และปฏิบตั ิกิจศรัทธาพิเศษต่อแม่พระโดยเฉพาะ ได้แก่ การเตรียมจิตใจตลอดเดือนพฤษภาคม ด้วยการภาวนาถวายเกียรติแด่แม่พระ และกระตือรือร้นในการเผยแพร่ความรักของแม่พระแก่บคุ คลทั่วไป เรายังคงเก็บรักษาโครงร่างของหัวข้อที่คณ ุ พ่อแบร์โทนีใช้เพื่อกระตุน้ เพื่อนๆ สมาชิกในกลุม่ ของท่านให้มี ความศรัทธาพิเศษต่อพระนางพรหมจารีผศู้ กั ดิส์ ิทธิ์ ท่านกล่าวไว้ว่า “ยิ่งเคารพศรัทธาและแสวงหาการปกป้องคุม้ ครองจากผูท้ สี่ ามารถช่วยได้มากเท่าใด ก็ย่งิ จาเป็ นทีจ่ ะต้อง รู จ้ กั ผูน้ นั้ คนถูกปรับโทษถึงตายก็เพราะเขามองความน่ากลัวของความทุกข์ทรมานเพียงว่าเป็ นสิ่งทีใ่ กล้ จะมาถึง ดังนัน้ ยิ่งเล็งเห็นคุณค่าของการปกป้องคุม้ นีม้ ากเท่าไร ก็ย่งิ มั่นใจได้เท่านัน้ ว่า จะได้รบั การ ปกป้องคุม้ ครองจากผูท้ สี่ ามารถช่วยได้และทรงเอาใจใส่ในทุกการแสวงหาของเรา” ดังนี ้ เหตุผลที่กระตุน้ เราทุกคนผูถ้ ูกปรับโทษสูค่ วามตายนิรนั ดรให้แสวงหาการปกป้องคุม้ ครองจากพระ นางมารีย์ จึงสรุปลงเอยอยู่ท่กี ารเป็ นศิษย์ติดตามพระนาง พูดอีกนัยก็คือ มองแบบอย่างจากพระนาง ดังเช่นคา กล่าวของพระนางในตอนต้น ที่จะทาให้ดวงใจที่แข็งกระด้าง ดวงใจที่ไร้ความรูส้ กึ ได้ส่นั ไหว และกลายเป็ นดวงใจที่ เปี่ ยมด้วย “ความรักอ่อนโยนและเป็ นที่รัก” ของบรรดาศิษย์ผตู้ ิดตาม พระนางพรหมจารีศกั ดิส์ ิทธิ์ยิ่ง ขณะทรงตื่นเฝ้าอย่างจดจ่อด้วยดวงใจที่สภุ าพ และยินยอมให้ “พระ ประสงค์สาเร็จไป” (fiat) ได้สอนเราถึงคุณค่าของการมอบตนอย่างครบครันต่อพระประสงค์ของพระเป็ นเจ้า และ ดังนี ้ พระนางจึงเป็ นอาจารย์ผสู้ อนการภาวนาและสอนการสนิทสัมพันธ์กบั พระเจ้าที่ประเสริฐยิ่งของเรา เป็ นผูท้ ่นี า เรามีประสบการณ์ต่อการประทับอยู่ของพระเจ้า พระนางทรงปรารถนาอย่างยิ่งที่จะทาให้ดวงใจของเราเป็ นพระ วิหารที่ประทับของพระบุตรของพระนาง 2.
พระสงฆ์ของแม่พระ
กล่าวได้ว่า ขณะเมื่ออายุได้ 18 ปี การที่คณ ุ พ่อแบร์โทนีได้ตดั สินใจเลือกเดินบนหนทางของการเป็ น สามเณรนัน้ ท่านได้รบั แรงบันดาลใจจากพระมารดามารียน์ เี ้ อง ผูซ้ ่งึ ตลอดระยะเวลานับแต่นนั้ ได้ทรงนาทางและ ช่วยเหลือท่านตลอดเส้นทางเดินจนบรรลุชีวิตการเป็ นพระสงฆ์ในที่สดุ นี่จึงไม่ใช่เหตุบงั เอิญที่คณ ุ พ่อแบร์โทนีเลือก วันบวชเป็ นพระสงฆ์ของท่านให้เป็ นวันเสาร์ (เสาร์ท่ี 20 กันยายน 1800) และวันเดียวกันนัน้ ท่านได้ถวายมหาบูชา มิสซาครัง้ แรกในวัดน้อยของแม่พระ (วัดแม่พระบังเกิดแห่งเกียยา ดิลลาซี) ด้วยการฉลองแม่พระแห่งความเมตตา
5
คุณพ่อนิโคลา กัลวานี สังฆรักษ์ของคุณพ่อแบร์โทนี ในการแนะนาการดาเนินชีวิตการเป็ นสงฆ์แก่ท่าน โดยเน้นถึงชีวิตการบาเพ็ญพรตนัน้ ยังได้เน้นถึงพันธะสาคัญของการดาเนินชีวิตเช่นนีว้ ่า “นอกจากพระเป็ นเจ้าแล้ว พระนางพรหมจารีมารีย์ตอ้ งเป็ นอันดับแรกในดวงใจของท่าน เพราะท่านจะไม่ สูญเสียคุณค่าอะไรไปเลยในชีวติ แต่กลับจะช่วยรักษาไฟรักในการอุทิศตนศรัทธาของท่านให้ลกุ โชติช่วง ทุกวัน” และคุณพ่อแบร์โทนีก็มิได้เพียงรักษาและเพิ่มพูนความรักศรัทธาต่อพระนางมารียใ์ ห้คงอยู่ในหัวใจของ ท่านเสมอเท่านัน้ ท่านยังได้ปลุกเร้าดวงใจของผูอ้ ่นื ให้เร่าร้อนในความรักต่อพระนางด้วย ท่านมอบถวายหน้าที่การ งานและผลสาเร็จใดๆ ทัง้ หมดของท่านแด่พระนางด้วยความไว้วางใจ เฉพาะอย่างยิ่งในยามที่ท่านพบความ ยากลาบากและรูส้ ึกท้อแท้ผิดหวังตามประสามนุษย์ ในปี แรกของการเป็ นสงฆ์ ท่านมอบตนอย่างซื่อสัตย์ตาม แบบอย่างของท่านนักบุญเปาโล ในวัดบ้านเกิดของท่าน ท่านได้ทาอย่างสุดความสามารถที่จะเอาชนะปัญหาและ อุปสรรคต่างๆ ที่รุมเร้าเข้ามาจากบรรดาคนบาปที่ใจแข็งกระด้าง เพื่อนาพวกเขากลับเข้าสูพ่ ระหรรษทาน อาศัย ความช่วยเหลือของพระนางพรหมจารีมารีย์ ท่านกล่าวกับพวกเขาว่า “ถ้าพวกท่านต่อต้านคาของเรา ก็ขออย่าได้ต่อต้านพระหัตถ์แห่งความรักของพระนางเลย” ขณะเดียวกัน คุณพ่อแบร์โทนีก็อทุ ิศตนในการภาวนาอย่างร้อนรนต่อพระนางพรหมจารี วิงวอนขอพระ นาง เพื่อปาดนา้ ตาแห่งความทุกข์ระทมของผูท้ ่เี ป็ นทุกข์กลับใจ นี่เป็ นความหวังและความวางใจอย่างลึกซึง้ ที่ท่าน นักบุญมีต่อแม่พระ คุณพ่อแบร์โทนียงั ได้สมัครเป็ นหนึ่งในกลุม่ อาสาสมัครผูร้ บั ใช้พระเจ้าของคุณพ่อเปโตร เลโอนาร์ดี โดย สมัครไปบริการรับใช้และช่วยเหลือดูแลผูป้ ่ วยตามสถานพยาบาลต่างๆ ทัง้ กลางวันและกลางคืน เป็ นต้นผูป้ ่ วยที่ กาลังจะสิน้ ใจ ครัง้ หนึ่ง ในการปลุกเร้าใจคุณพ่อโจวันนี บัตติสตา เลน๊อตตี ในการให้ความรักต่อผูป้ ่ วยไข้ ท่าน ได้กล่าวด้วยดวงใจเบิกบานยินดีและมีชีวิตชีวาว่า “ให้เราเรียนแบบเรื่องนีจ้ ากพระมารดาของเรา สาหรับตัวข้าพเจ้าเอง ความประทับใจต่อสิ่งทีพ่ ระนางมา รียก์ ระทากับนางเอลิซาเบ็ธนัน้ ยังคงอยู่ในดวงใจของข้าพเจ้าเสมอ แม้พระนางเพิ่งได้รบั การแจ้งข่าวดีจาก อัครเทวดา แต่ครัน้ ได้ยนิ เรือ่ งราวของนางเอลีซาเบ็ธ พระนางก็ครุ่นคิดทีจ่ ะไปเยีย่ มและช่วยเหลือนาง เท่าทีพ่ อจะทาได้ และพระนางก็รีบเดินทางไปเยีย่ มและช่วยเหลือในทันที นีเ่ ป็ นคาทีผ่ ูน้ พิ นธ์พระวรสารได้ เขียนและยืนยันไว้ แม้ว่าหนทางจะยาวไกล ทุรกันดารและยากลาบากในการเดินทาง แต่ดว้ ยใจทีเ่ ป็ นห่วง เป็ นใย ความพร้อมทีจ่ ะให้ความช่วยเหลือเต็มเปี่ ยมล้นในจิตใจ และด้วยความรักอย่างแท้จริงในหัวใจ พระนางจึงรีบเดินทางไปในทันที และเมือ่ ไปถึง พระนางก็ประทับอยู่ทนี่ ่นั ไม่ใช่หนึ่งวัน สองวัน หรือสาม วัน แต่เป็ นสามเดือน เพือ่ คอยช่วยเหลือในสิ่งทีจ่ าเป็ นต่อนางเอลิซาเบ็ธ” คุณแม่เลโอโปลดีนา โนเดต์ ได้เขียนจดหมายถึงคุณพ่อแบร์โทนีในวันหนึ่ง โดยกล่าวกับท่านว่าเธอไม่ เข้าใจในคากล่าวที่ว่า “ความเชือ่ ศรัทธาเดียวทีเ่ ราพึงมีคือความเชือ่ ศรัทธาต่อพระเยซู” เพราะเธอเห็นว่ายังมีบุคคล อื่นๆ อย่างพระนางมารียแ์ ละนักบุญยอแซฟ ที่มีสมั พันธ์ใกล้ชิดกับกับพระองค์ในขณะดารงชีพในฐานะเป็ นมนุษย์ คุณพ่อแบร์โทนีได้อธิบายและกล่าวยืนยันเรื่องนีแ้ ก่เธอว่า “พระผู้เป็ นเจ้าของเราและองค์พระผู้ไถ่เยซูคริสต เจ้าคือความเชื่อศรัทธาแรกและดีที่สุดของเรา” ท่านกล่าวต่อไปว่า “และต่อจากนี้ ไม่มีใครที่น่ารัก
6
เหมาะสมและดีสาหรับเราเท่าพระนางพรหมจารีผู้ศักดิส์ ิทธิ์ย่งิ พระมารดาของพระองค์ และพระภัสดา มีผู้บริสุทธิ์ยิ่งของพระนาง คือ ท่านนักบุญยอแซฟ” และดังนี ้ จึงนับแต่เริ่มแรกทีเดียวทีค่ ุณพ่อแบร์โทนี เลือกท่านทัง้ สองให้เป็ นองค์อุปถัมภ์หมู่คณะของท่าน โดยเฉลิมฉลองในธรรมลา้ ลึกแห่งการวิวาห์ของท่านทัง้ สอง และพร้อมกันนี ้ ท่านยังได้ถวายพระแท่นหลักในวัดน้อยสติมมาเตของท่านถวายเป็ นเกียรติแด่การวิวาห์ของ ท่านทัง้ สองนีด้ ว้ ย ในฐานะพระสงฆ์ผนู้ ากลุม่ แม่พระของเมืองเวโรนา คุณพ่อแบร์โทนีพบว่าไม่มีสิ่งใดที่ดีท่สี ดุ และปลอดภัย ที่สดุ เท่ากับการมอบบรรดาเยาวชนของท่านไว้ภายใต้ร่มความคุม้ ครองของแม่พระ ท่านต้องการมอบชีวิตของ กลุม่ แม่พระของท่านทัง้ หมดนีไ้ ว้กบั พระนางมารีย์ พร้อมกับการถวายคารวกิจแด่พระนางนี ้ ท่านยังได้แนะนา บรรดาเยาวชนของท่านให้รบั ศีลศักดิส์ ิทธิ์อย่างสม่าเสมอ และปฏิบตั ิฤทธิ์กศุ ลของการเป็ นคริสตชนอย่างครบถ้วน ตามแบบอย่างของพระนางผูเ้ ป็ นมารดาของพระเจ้า ในฐานะผูบ้ กุ เบิกและริเริ่มเปิ ดโรงเรียนสาหรับเด็กและเยาวชนทั่วไปๆ ในเวโรนา ท่านได้ก่อตัง้ “กลุ่มแม่ พระ” ขึน้ ภายในอารามสติมมาเตของท่าน โดยให้ความศรัทธาที่มีต่อแม่พระเป็ นเหมือน “หัวใจ” สาคัญของการ พัฒนาชีวิตและจิตใจของบรรดาเยาวชนและนักเรียนของท่านโอวาทที่ท่านมอบให้กบั นักเรียนและเยาวชนของท่าน ทุกวันจึงเป็ นเรื่องของแม่พระ ซึ่งท่านกล่าวได้อย่างคล่องแคล่วและร้อนรน การทางานกับเยาวชนเช่นนีข้ องท่านเป็ นเครื่องหมายของการกลับมาผลิบานใหม่ หลังจากที่ได้ถกู ทาลาย ไปโดยนโปเลียน ซึ่งเป็ นการทาลายที่ไม่ใช่เพียงแค่สกั การสถานภายนอก แต่รวมถึงชีวิตและจิตใจวิญญาณของ ชาวเวโรนาด้วย ครัง้ ที่มีพิธีระลึกถึงคุณพ่อกัสปาร์ แบร์โทนี เป็ นครัง้ แรก คุณพ่อเชซาเร เบรสชานี่ นักเทศน์ท่มี ีช่อื เสียง มากในเวโรนา ได้กล่าวสุนทรพจน์ถึงท่านว่า “ท่านได้รบั พันธะกิจในการเอาใจใส่รวบรวมเด็กและเยาวชนมาสูค่ วามเชือ่ และศรัทธา และด้วยไฟทีถ่ ูกจุด ขึน้ ด้วยเปลวศักดิส์ ทิ ธิแ์ ห่งการมอบอุทศิ ตน กลุ่มแม่พระน้อยๆ ก็ได้ถูกจัดตัง้ ขึน้ โดยมีพระนางพรหมจารี มารียเ์ ป็ นผูอ้ ปุ ถัมภ์คมุ ้ ครอง แสงประกายของกลุ่มนีส้ ่องสว่างไปอย่างรวดเร็ว เหมือนเป็ นอัศจรรย์สาหรับ ชาวเมืองเวโรนาและเมืองอืน่ ๆ ใกล้เคียง เพราะต่อมากลุ่มแม่พระในลักษณะเดียวกันนีไ้ ด้ถูกจัดตัง้ ตามวัด ในเมืองต่างๆ นับเป็ นร้อยๆ กลุ่ม มีเด็กและเยาวชนเข้าเป็ นสมาชิกนับพันๆ คน สร้างความอบอุ่นใจให้กบั บรรดาผูป้ กครอง และความเบิกบานใจให้กบั บรรดาพระสงฆ์ผอู ้ ภิบาลวิญญาณ” 3.
ความวางใจของเด็กกาพร้า
ดวงใจที่อทุ ิศตนคือดวงใจที่หนั กลับมาหาพระนางมารียพ์ ร้อมกล่าวว่า “พระมารดาของข้าพเจ้า ที่ วางใจของข้าพเจ้า” คุณพ่อแบร์โทนีเป็ นผูห้ นึ่งที่มีดวงใจอุทิศตนเช่นนี ้ ความวางใจที่ท่านมีต่อพระนางมารีย์ ต่อ พระนามของพระนาง ต่อฤทธานุภาพและดวงหทัยศักดิ์สิทธิ์ของพระนางนัน้ เป็ นความวางใจที่มาจากจิตสานึก แห่งการเป็ นบุตรที่มอบตนเองอย่างสิน้ เชิงแด่พระเป็ นเจ้า นี่เป็ นเอกลักษณ์เฉพาะตัวของคุณพ่อแบร์โทนี ท่านมอบ ความไว้วางใจทัง้ หมดไว้กบั พระนางมารีย์ มอบตนภายในไว้ในอ้อมพระหัตถ์ของพระผูเ้ ป็ นมารดา นี่ไม่ใช่เป็ นการ
7
ลดการมอบตัวของท่านแด่พระเป็ นเจ้าลงแต่อย่างใด แต่กลับเป็ นหลักประกันและช่วยท่านให้มอบตนแด่พระเจ้าได้ อย่างครบครันยิ่งขึน้ “ความสุภาพถ่อมตนอย่างทีส่ ุด” คือลักษณะความวางใจของคุณพ่อแบร์โทนีท่มี ีต่อพระเป็ นเจ้าและพระ มารดาผูศ้ กั ดิส์ ิทธิ์ เป็ นความวางใจที่ปราศจากความไว้ใจในตนเองและความวางใจใดๆ ทัง้ สิน้ ในความสามารถ ของตน บทภาวนาแด่แม่พระที่คณ ุ พ่อแบร์โทนีเขียนไว้ในสมุด “บันทึกชีวิตฝ่ ายจิต” ของท่านเมื่อวันที่ 24 พฤษภาคม 1810 แสดงให้เห็นถึงเหตุการณ์และความรูส้ ึกพิเศษที่เกิดขึน้ ในชีวิตของท่านเอง กล่าวคือ ในการจาก ไปอย่างไม่มีวนั กลับของนางบรูโนรา มารดาของท่าน เมื่อวันที่ 6 กุมภาพันธ์ ปี เดียวกันนัน้ ความรูส้ ึกที่เกิดขึน้ กับ คุณพ่อแบร์โทนีในขณะนัน้ ไม่ใช่เพียงแค่การกาพร้ามารดาแต่ท่านยังกาพร้าบิดาด้วย เนื่องจากฟรังเชสโก หลุยส์จี บิดาของท่าน แม้จะยังคงมีชีวิตอยู่ แต่ก็ไม่ได้มีสว่ นเกี่ยวพันกับท่านอีกต่อไป ทัง้ ในเรื่องความรักผูกพันและเรื่อง ทรัพย์สินมรดก ขณะที่ท่านนักบุญผูศ้ กั ดิส์ ิทธิ์ได้ออกจากบ้านเกิดของตนและไปอาศัยอยู่กบั ญาติช่วั คราว ท่านยก สายตาขึน้ สูเ่ บือ้ งบนดังเช่นท่านนักบุญฟรังซิสแห่งอัสซีซี พร้อมกับภาวนาด้วยความวางใจจากห้วงลึกแห่งจิตใจ ของท่าน “ข้าแต่พระบิดาของข้าพเจ้าทัง้ หลาย พระองค์สถิตในสวรรค์” นี่เป็ นการยอมรับการทดลองด้วย ความวางใจของท่าน ปลดเปลือ้ งเสือ้ คลุมใดๆ ฝ่ ายโลก มอบจิตวิญญาณทัง้ ครบไว้ในพระหัตถ์ของพระบิดาเจ้า สวรรค์ เดือนพฤษภาคมต่อมา ซึ่งเป็ นเดือนที่ท่านต้องย้ายออกจากบ้านเกิดของท่านนัน้ คุณพ่อแบร์โทนีกลับรูส้ กึ ว่า ความรักที่เข้มแข็งขึน้ ในความวางใจต่อพระแม่มารียไ์ ด้ก่อกาเนิดขึน้ ในดวงใจของท่าน ดังนี ้ “บทภาวนาแด่แม่ พระทีท่ ่านสวดเพื่อระลึกถึงนางบรู โนรา มารดาของท่านอย่างสม่าเสมอในทุกเช้า จึงเป็ นการแสดงความ รัก การถวายเกียรติแด่พระมารดาแห่งสวรรค์ พร้อมกับการรือ้ ฟื้ นการมอบถวายตัวไว้ในอ้อมพระหัตถ์ แห่งความรักของพระนาง” สาหรับคุณพ่อแบร์โทนี แม่พระคือมารดาและเจ้านายของบ้าน เครื่องบูชาและคาภาวนาต่างๆ ล้วนถูก นาเสนอต่อพระเป็ นเจ้าผ่านทางพระหัตถ์ของพระนางผูน้ ี ้ ดังนัน้ กิจการทุกอย่าง รวมถึงความทุกข์ยากลาบาก ต่างๆ ในชีวิตประจาวันของเราก็ถกู รวมไว้กบั คุณความดีของพระนางและของพระบุตรของพระนางด้วย สิ่งเดียวที่ พระนางทรงรอคอยจากเราก็คือ “ความบริสุทธิ์ทางใจและกาย” และ “การไม่ทาสิ่งใดให้เป็ นทีข่ ัดเคือง พระทัยพระเป็ นเจ้า” ความเหมาะสมและสมบูรณ์ครบครันต่อการยอมรับบทภาวนาบทนีอ้ ยู่ท่พี ระพรพิเศษแห่งการปฏิสนธิ นิรมลของพระนางพรหมจารีมารีย์ ซึ่งคุณพ่อแบร์โทนีนอ้ มรับในทันทีดว้ ยดวงใจที่เปี่ ยมด้วยความเชื่อ ถึงสิ่งที่พระ ศาสนาจักรได้ประกาศมาเป็ นเวลาหลายศตวรรษในเรื่องความเป็ น “พรหมจารีนิรมล” ที่ยงั คงเปล่งแสงประกาย เสมอในพระนาง “ทั้งก่อนเกิด ในการเกิด และหลังการเกิด” ่ วกเราน้อมรับและถือปฏิบัติ ทัง้ หมดนีค้ ือความหมายของบทภาวนาของคุณพ่อแบร์โทนี ทีพ ภาวนานีน้ ับแต่สมัยแรก
8
4.
ผู้ร้อนรนในการส่งเสริมความศรัทธาต่อพระนางมารียผ์ ู้ปฏิสนธินิรมล
คุณพ่อกาเยตาโน จาโกบเบ ผูเ้ ขียนชีวประวัติของคุณพ่อแบร์โทนีเป็ นคนแรกและได้จดั พิมพ์ในปี 1858 ซึ่ง เป็ นปี เดียวกับการประจักษ์ของพระนางมารียผ์ ปู้ ฏิสนธินิรมลที่เมืองลูรด์ ได้กล่าวขอโทษไว้ในตอนหนึ่งที่ท่านไม่ สามารถทาให้หลายสิ่งหลายอย่างกระจ่างชัดได้ ท่านได้เขียนไว้ว่า “ข้าพเจ้าต้องการเพียงเน้นถึงความภักดีและความเชือ่ ทีค่ ณ ุ พ่อแบร์โทนีมีต่อการปฏิสนธินริ มลของพระ นางพรหมจารีมารีย์ ซึ่ง (อาจเป็ นการหยั่งรู ใ้ นจิตใจของท่านถึงเกียรติมงคลใหม่ของพระนางนี ้ ซึ่งหนึ่งปี หลังการตายของท่าน ก็ได้มีการประกาศอย่างชัดเจนเป็ นข้อความเชือ่ ต่อสาธารณชนทั่วโลก) ท่านได้ ถวายเกียรติแด่พระนางโดยไม่เคยสงสัย ท่านพร้อมทีจ่ ะมอบชีวิตถวายแด่พระนาง แม้ความศรัทธานีจ้ ะ ยังไม่ได้รบั การประกาศอย่างเป็ นทางการจากพระศาสนจักร เหมือนกับข้อความเชือ่ อืน่ ๆ ก็ตาม” คุณพ่อท่านเดียวกันนีย้ งั ได้กล่าวถึงมูลเหตุของเรื่องนีต้ ่อไปอีกว่า “นับแแต่เริ่มแรกแล้วทีค่ ณ ุ พ่อแบร์โทนีไม่เคยคิดหรือสงสัยในพระนางมารีย์ พระนางผูซ้ ่งึ เป็ นสิ่งสร้างแรก และเป็ นผูท้ พี่ ระเจ้าทรงรักจนถึงกาลนิรนั ดร์ ในการเป็ นผูร้ บั พระพิโรธของพระเจ้า แม้แต่เพียงชั่วขณะเวลา ใดเวลาหนึ่ง เพราะพระนางได้รบั การเลือกสรรให้เป็ นพระวิหารขององค์พระผูเ้ ป็ นเจ้า และยังเป็ นผูไ้ ด้รบั การทดลองในช่วงเวลาหนึ่งด้วย ดังนัน้ ทุกครัง้ ทีภ่ าวนาวอนขอ ถวายคารวกิจ และแสดงความเคารพ ศรัทธาต่อพระนางผูป้ ราศจากมลทินบาปใดๆ พระนางผูไ้ ด้รบั เกียรติเป็ นมารดาขององค์พระผูเ้ ป็ นเจ้า ไม่ ว่าเวลาใดและโอกาสใด คุณพ่อแบร์โทนีก็ภาวนาด้วยความเชือ่ ศรัทธา หวังวางใจ และเปี่ ยมด้วยความรัก เสมอ ซึ่งสิ่งนีเ้ ป็ นการแสดงออกทีด่ ที ไี่ ม่ใช่เป็ นเพียงแค่ความเชือ่ ส่วนตัวของท่าน แต่ยงั เป็ นข้อคาสอนทีม่ า จากธรรมประเพณีของพระศาสนจักรและได้ถูกจารึกไว้ในหัวใจของคุณพ่อแบร์โทนี” เป็ นเรื่องน่ายินดีท่ใี นเวลาต่อมา สมเด็จพระสันตะปาปาปี โอที่ 9 ในจดหมายเวียนลงวันที่ 2 กุมภาพันธ์ ปี 1849 ได้กล่าวถึงการเรียกร้องที่เป็ นอันหนึ่งอันเดียวกันของบรรดาพระสังฆราชทั่วโลก ในการประกาศถึงความ ศรัทธาอย่างเป็ นทางการจากฝ่ ายพระศาสนจักร ต่อพระนางมารียผ์ ปู้ ฏิสนธินิรมล นี่นบั เป็ นการเริ่มต้นที่น่ายินดียิ่ง สาหรับความเชื่อของคริสตชนทั่วโลก คุณพ่อแบร์โทนีได้สนิ ้ ใจเมื่อวันที่ 12 มิถนุ ายน ปี 1853 และแน่นอนว่า จาก วิมานสวรรค์ ท่านได้รว่ มยินดีกบั พระศาสนจักรที่ในปี ต่อมาได้การประกาศเป็ นข้อความเชื่ออย่างเป็ นทางการว่า “พระนางมารียเ์ ป็ นผู้ปฏิสนธินิรมล” การกระทาอย่างหนึ่งที่น่าประทับใจของคุณพ่อแบร์โทนีก็คือ ก่อนที่ท่านจะสร้างพระแท่นบูชาหลักตรง กลางวัดน้อยที่อารามสติมมาเตของท่าน เพื่อถวายเป็ นเกียรติแด่การวิวาห์ศกั ดิส์ ิทธิ์ของพระนางพรหมจารีมารีย์ และได้อภิเษกใช้อย่างเป็ นทางการเมื่อวันที่ 6 กันยายน ปี 1818 นัน้ ท่านได้จดั การซ่อมแซมและตกแต่งพระแท่นไว้ อย่างเหมาะสมสวยงาม พร้อมกับซ่อมแซมห้องเล็กๆ ที่เป็ นสถานที่ประกอบคารวกิจศรัทธาต่อการปฏิสนธิของพระ นางมารีย์ ผ่านทางภาพวาดขนาดใหญ่ท่เี ป็ นตัวแทนและทรงคุณค่ายิ่ง วาดโดยจิตรกร ชื่อ อามิกัซซี่ นี่เป็ นกิจการ ภายนอกประการหนึ่งที่แสดงถึงความศรัทธามากมายของคุณพ่อแบร์โทนีท่มี ีต่อการปราศจากมลทินของพระนาง มารีย์ ห้องเล็กๆ นี ้ คุณพ่อแบร์โทนียงั ใช้เป็ นที่รวบรวมบรรดาเด็กๆ และเยาวชน เพื่อการเข้าเงียบและฟื ้ นฟูชีวิต จิตวิญญาณ ท่านกระตุน้ และเร้าใจเยาวชนเหล่านัน้ ให้รกั ในพระเป็ นเจ้าและแม่พระ และนี่เป็ นเหตุท่ที าให้เยาวชน
9
คนหนึ่งของคุณพ่อแบร์โทนี ชื่อ หลุยส์จี กาลยีอาร์ดี ได้รบั ศีลบวชเป็ นพระสงฆ์ในเวลาต่อมา และได้เป็ นผูแ้ ต่ง บทเพลงและดนตรีต่างๆ ที่มีช่ือเสียงคนหนึ่งในสมัยนัน้ ด้วย บทเพลงหนึ่งที่สาคัญคือเพลง “Tota pulchra” เป็ น เพลงที่มีช่อื เสียงและเป็ นที่รูจ้ กั ทั่วไป ไม่ใช่เฉพาะในเมืองเวโรนาเท่านัน้ แต่แพร่หลายไปถึงเวเนเซีย กรุงโรม และ ปารีส เลยทีเดียว 5.
ความรักศรัทธาต่อพรหมจารียิ่งของพระนางมารีย์
นับแต่วนั ที่ 25 กุมภาพันธ์ ปี 1816 ซึ่งเป็ นวันเริ่มก่อตัง้ กลุม่ พระแม่มารียข์ องวัดนักบุญแฟรโมอย่างเป็ น ทางการ กลุม่ นีไ้ ด้รบั ชื่อว่า “ความบริสุทธิ์ของพระนางมารีย”์ และต่อมาชื่อเดียวกันนีก้ ็ถูกนามาใช้สาหรับกลุ่ม แม่พระของอารามสติมมาเต ชื่อนีย้ งั ได้แพร่หลายไปยังกรุงโรมและมีการใช้เป็ นชื่อของกลุม่ แม่พระเป็ นครัง้ แรกใน โรม เมื่อวันที่ 4 เมษายน ปี 1824 เมื่อคุณพ่อแบร์โทนีพดู ถึงความเป็ นพรหมจารีบริสทุ ธิ์ยิ่งของพระแม่มารีย์ ท่านจะพูดอย่างดีท่สี ดุ เท่าที่จะ สามารถพูดได้ โดยขัน้ แรกของบันไดลา้ ลึกของพระนางนีเ้ ป็ นเรื่องการวิวาห์บริสทุ ธิ์ ขัน้ ที่สองเป็ นเรื่องการรักษา พรหมจรรย์ของพระนาง และขัน้ ที่สามคือความเป็ นพรหมจารีบริสทุ ธิ์ยิ่งของพระนาง สิ่งที่ท่านเน้นเป็ นพิเศษก็คือ การถวายตนด้วยการถือศีลบนตลอดชีวิต ท่านกล่าวว่า “อะไรเป็ นจุดหมายปลายทางทีส่ ูงส่งของมนุษย์? มนุษย์ทเี่ จริญชีวติ อยู่ในเนือ้ หนังยังคงมีชีวติ อยู่ต่อไปได้ อีกหรือ? เพราะการมีชีวติ อยู่ ไม่ใช่เป็ นชีวติ ภายใต้เนือ้ หนังอีกต่อไปแล้ว แต่ทกุ อย่างอยู่ภายใต้จิต” แต่กระนัน้ ก็ดี ท่านอธิบายไปว่า เรายังคงอยู่ห่างไกลจากความครบครันของพระนางมารียผ์ ศู้ กั ดิส์ ิทธิ์ยิ่งนี ้ ท่านพูดต่อไปว่า “คนทีไ่ ด้ปฏิญาณถวายตนตลอดชีวิตด้วยการถือศีลบนคือผูเ้ ป็ นพรหมจรรย์ ถือเป็ นความพรหมจรรย์ทงั้ กายและจิตใจ เป็ นพรหมจรรย์นริ นั ดร์ เป็ นวิหารสาหรับสร้างความเป็ นหนึ่งเดียวของพระเจ้าและความ สนิทสัมพันธ์กบั เจ้าบ่าวของเขาผูน้ นั้ เอง เป็ นทีป่ ระทับของพระจิตศักดิส์ ทิ ธิ์ เพือ่ บันดาลความศักดิส์ ทิ ธิ์ และการมอบอุทิศตนทัง้ หมดต่อองค์พระเจ้าผูท้ รงสรรพานุภาพ และดูเหมือนว่า ทุกสิ่งอย่างทีก่ ล่าวมา ทัง้ หมดนี ้ เราพบได้ในองค์ราชินแี ห่งบรรดาพรหมจารีนนั้ แล้ว” โดยทั่วไป คนที่ปฏิญาณตนถือศีลบนพรหมจรรย์จะต้องต่อสูก้ บั คาเสนอแนะต่างๆ ที่น่าราคาญใจจาก ฝ่ ายโลก จากมารร้ายและจากเนือ้ หนัง เกี่ยวกับเรื่องนีค้ ณ ุ พ่อแบร์โทนีให้ขอ้ สังเกตว่า “นีเ่ ป็ นสภาพของผูช้ อบธรรมในโลกทีย่ งั ต้องชาระตนต่อไปอีก โดยจิตใจของเขาจะ “จาเริญขึน้ ใหม่ทกุ วัน” (2 คร. 4:16) โดยอาศัยพระหรรษทานของพระเยซูคริสต์ พระผูไ้ ถ่ของเรา แต่เนือ้ หนัง “ยังคงคร่ าครวญรอ คอยการทีพ่ ระเจ้าทรงให้เป็ นบุตร” (รม 8:23) “เมือ่ พระคริสตเจ้าผูท้ รงเป็ นชีวติ ของเราทรงปรากฎ ขณะนัน้ ท่านก็จะปรากฎพร้อมกับพระองค์ในศักดิศ์ รีดว้ ย” (คส. 3:4)” วิญญาณบางดวงที่ได้รบั สิทธิพิเศษ หลังจากได้ต่อสูอ้ ย่างยาวนานแล้ว ก็ได้รบั สันติสขุ และเข้าถึง สถานะการสนทนาส่วนตัวกับองค์ปรีชาญาณที่มิได้ถูกสร้าง และเข้าสนิทสนมภายในกับพระองค์ อย่างไรก็ดี ใน ระดับนีย้ งั ถือว่าได้เข้าถึงน้อยอยู่ เพราะยังไม่ใช่ระดับที่ม่นั คงและถาวร ตรงกันข้าม รูปแบบที่ครบครันก็คือรูปแบบ ที่เราพบในพระนางมารีย์ คุณพ่อแบร์โทนีจึงกล่าวว่า
10
“ความบริสทุ ธิข์ องพระนางส่องประกายสดใส ไม่เคยสลัวลาง ไม่มีแม้แต่ล่องรอยของความหม่นหมอง จิตใจของพระนางสลวนขึน้ หาพระเจ้าตลอดเวลา ไม่มีส่งิ ใดในโลกทีจ่ ะขัดขวางและดึงพระนางให้หนั หลัง กลับได้ นีค่ อื สิ่งทีด่ ที เี่ ราสามารถกล่าวถึงความงดงามได้ทกุ อย่างต่อเบือ้ งพระพักตร์พระเจ้า และการ ปราศจากมิลทินใดๆ ของพระนาง” 6.
การปลอบใจครั้งสุดท้ายจากพระมารดาแห่งสวรรค์
ในการวาดภาพคุณพ่อแบร์โทนีลงบนผืนผ้า เพื่อประดับไว้ท่สี กั การสถานแม่พระเมืองลูรด์ ที่เมืองเวโรนา ของจิตรกรที่ช่ือ อาโรนนี เดล เวคคีโอ นัน้ ได้หยิบเอาลักษณะพิเศษในชีวิตของคุณพ่อแบร์โทนีมาถ่ายทอดอย่าง ชัดเจน นั่นคือ ภาพของการรับความเจ็บปวดทรมาน ทัง้ ภายในและภายนอก นับแต่อายุ 35 ปี จนกระทั่งเสียชีวิต เมื่ออายุเกือบ 76 ปี โรคภัยต่างๆ ได้เข้ามารุมล้อมและทาให้ท่านทุกข์ทรมานอย่างแสนสาหัส ท่านผ่านการผ่าตัด กว่า 300 ครัง้ เป็ นการผ่าตัดในยุคที่ยงั ไม่มียาสลบ นี่ถือว่าคุณพ่อผูศ้ กั ดิส์ ิทธิ์ของเราได้เลียนแบบองค์พระผูเ้ ป็ นเจ้า ผูต้ รึงบนกางเขนอย่างใกล้ชิด ความทุกข์ทรมานของท่านเป็ นการเดินตามพระทรมานขององค์พระมหาเยซูคริสต เจ้า ระหว่างช่วงเวลาของการเป็ นมรณสักขีของท่านที่ดาเนินไปอย่างช้าๆ นัน้ คุณพ่อแบร์โทนีได้พบความ บรรเทาใจและความช่วยเหลือจากพระมารดา เป็ นการปลอบประโลมและการบรรเทาใจที่ท่านไม่สามารถหาได้ จากที่ไหนอีกแล้วในโลกนี ้ ด้วยเหตุนี ้ ท่านจึงเก็บมงกุฎของแม่พระแห่งสายประคาศักดิส์ ิทธิ์และรักษาไว้กบั ตัวท่าน เสมอ โดยวางไว้ใต้หมอนที่ท่านใช้หนุนนอน เพื่อสะดวกที่จะหยิบขึน้ มาใช้บรรเทาใจในยามเมื่อท่านรูส้ กึ เจ็บปวด ทรมานอย่างหนักจากอาการป่ วย และยามใดที่ท่านทรุดหนักถึงกับชักและพูดไม่ได้สบั ท่านก็ยงั สามารถเผยอริม ฝี ปากและเปล่งเสียง “วันทา มารีอา” ได้อย่างชัดเจน วันหนึ่งในช่วงเวลาท้ายๆ ของชีวิต คุณพ่อแบร์โทนีกล่าวกับสมาชิกคนหนึ่งที่คอยเฝ้าดูแลและให้ความ ช่วยเหลือท่านว่า เพียงแค่ราพึงถึงบทวันทามารีอา ท่านก็รูส้ กึ เพียงพอแล้วที่จะใช้ราพึงนับเป็ นชั่วโมงๆ ในคืนหนึ่ง ท่านได้ใช้เวลาเกือบตลอดทัง้ คืนเพื่อราพึงถึงความจริงอันประเสริฐของบทวันทามารีอานัน้ ซึ่งได้ทาให้จิตใจท่าน เปี่ ยมล้นด้วยความรักต่อพระนาง ความมั่นใจว่าแม่พระได้เสด็จมาหาท่านในช่วงเวลาท้ายๆ ของชีวิตนัน้ ได้รบั การยืนยันจากคาถามซา้ หลายๆ ครัง้ ของคุณพ่อแบร์โทนีเองแก่พยาบาลที่ดแู ลท่าน ท่านถามซา้ ๆ เพื่อยืนยันว่าท่านไม่ได้หลับและฝันไป แต่ กาลังตื่นอยู่ เพราะท่านรูส้ ึกกังวลใจในความสุภาพของท่านว่าอาจจะมีคาพูดอะไรบางอย่างที่แสดงออกมาโดยไม่ เหมาะสม และอย่างน้อยก็มีครัง้ หนึ่งที่เหตุการณ์นไี ้ ด้เกิดขึน้ ขณะที่สมาชิกที่อยู่เฝ้าท่านอยู่ดว้ ยนัน้ ไม่ได้ยินหรือ เห็นอะไรที่แปลกไปจากปกติเลย อย่างไรก็ดี พยาบาลที่เฝ้าไข้ท่านก็ได้ยืนยันในเรื่องนีว้ ่า “คุณพ่อแบร์โทนีมีสขุ ภาพใจทีเ่ ข้มแข็งและรู ต้ วั อยู่ตลอดเวลาจนกระทั่งหมดลมหายใจและจากไป ท่าน ไม่ได้สูญเสียความรู ส้ ึกตัวจนถึงกับเพ้อหรือไม่มีสติ ท่านไม่เคยแม้แต่อยู่ในลักษณะของตรีทูตหรือเห็น ภาพหลอนแต่อย่างใด” นี่ทาให้ม่นั ใจว่า เป็ นพระนางมารียพ์ รหมจารียิ่ง ที่ได้เสด็จมาเยี่ยมเยียนท่านและปลอบประโลมใจผูร้ บั ใช้ ที่ซื่อสัตย์ยิ่งของพระนาง
11
กระทั่งถึงวันสิน้ ท้ายของชีวิต อาการป่ วยของคุณพ่อแบร์โทนีกาเริบหนักจนถึงกับชัก แต่ท่านก็ได้ทาในสิ่ง ที่เคยทามาเสมอ นั่นคือ ร้องหาพระนามศักดิส์ ิทธิ์ของพระเยซูเจ้าและพระนางมารีย์ และโดยความช่วยเหลือของ พระองค์ท่านทัง้ สอง คุณพ่อแบร์โทนีก็ได้สนิ ้ ใจอย่างศักดิ์สิทธิ์ในตอนบ่ายของวันอาทิตย์ท่ี 12 มิถนุ ายน ปี 1853 ศพของท่านได้รบั การตกแต่งด้วยชุด “ธรรมทูตแพร่ธรรม” ตามความปรารถนาของท่าน ในมือถือมงกุฎ แห่งสายประคาศักดิส์ ิทธิ์ นี่ไม่ใช่เป็ นการจัดภาพตามแบบธรรมเนียม แต่เป็ นสิ่งที่เกิดขึน้ จริงในชีวิตของท่าน ชีวิตที่ ไม่เคยละทิง้ ความรักต่อพระมารดาแห่งสวรรค์ 7.
ทานายการกลับใจของโปรเตสแตนต์คนหนึ่ง อาศัยความช่วยเหลือของพระนางมารีย์
“พระนางพรหมจารีผศู้ ักดิส์ ิทธิ์ยิ่ง จะบันดาลสิง่ นั้นให้กับเธอ” นี่เป็ นถ้อยคาที่คณ ุ พ่อแบร์โทนีกล่าว ปลอบใจ ต่อการภาวนาวิงวอนขอของสตรีคนหนึ่งที่มีความปรารถนาอย่างแรงกล้าที่จะให้สามีของเธอกลับใจ สามี ของเธอเป็ นชาวสวิสชื่อ โจวันนี โจร์โจ ราดิอุส ทางานเป็ นหัวหน้านายสถานีรถไฟของเมืองเวโรนา คุณพ่อฟ รังเชสโก ฟาเรซซาแห่งฟิ ลิปปี นี เล่าเรื่องนีว้ ่า “ประมาณปี ครึ่ง ก่อนทีค่ ณ ุ พ่อแบร์โทนีจะเสียชีวิต ข้าพเจ้าได้ไปเยีย่ มท่าน ซึ่งเป็ นสิ่งทีข่ า้ พเจ้าทาอยู่อย่าง สม่ าเสมอ ครัง้ หนึ่งท่านได้เล่าให้ขา้ พเจ้าฟังว่า มีสตรีคนหนึ่งทีเ่ ป็ นภรรยาของโจวันนี โจร์โจ ราดิอสุ ซึ่ง เป็ นโปรเตสแตนท์ เธออาศัยอยู่ในเขตวัดของเรา ได้มาภาวนาอย่างสม่ าเสมอต่อพระนางพรหมจารีมารีย์ เพือ่ ให้สามีของเธอกลับใจ คุณพ่อแบร์โทนีได้เข้าไปบอกกับเธอว่า (ข้าพเจ้ายังจาได้ถงึ สีหน้า ประกายแวว ตา และนา้ เสียงของท่านในตอนนัน้ ได้) “จงภาวนาต่อไป อย่าได้ หยุดหย่อน ต่อพระนางพรหมจารีผ้ ู ศักดิ์สิทธิ์ย่งิ เพราะยิ่งเธอพากเพียรภาวนาอย่างไม่หยุดหย่อนต่อพระนาง เธอก็จงมั่นใจว่าพระ นางจะประทานให้ อย่างไม่ต้องสงสัย” คุณพ่อฟรังเชสโกได้ประจักษ์ในคาทานาย ที่คณ ุ พ่อแบร์โทนีได้ให้ความมั่นใจไว้ก่อนหน้านี ้ ในเรื่องการ กลับใจของสามีชาวโปรเตสแตนท์คนนัน้ และท่านก็ให้ความมั่นใจในการภาวนาในลักษณะเช่นนีก้ บั อีกหลายๆ คน คุณพ่อฟรังเชสโกเล่าต่อไปว่า “ในเดือนมกราคมของปี 1856 นายราดิอสุ ผูน้ ไี ้ ด้ลม้ ป่ วยลง อาการค่อนข้างหนักถึงกับอาจเสียชีวิตได้ ภรรยาของเขาเองก็ไม่รูจ้ ะพูดอย่างไรกับเขาเพือ่ ขอให้เขาเปลีย่ นศาสนา แต่ดว้ ยความศรัทธาอย่างแรง กล้า นางภาวนาวิงวอนขอต่อไปด้วยความเชือ่ ไว้ใจ ดัง.. “คาแนะนาของคุณพ่อแบร์โทนี” ทีส่ ดุ ในวันที่ 20 เดือนเดียวกันนัน้ เอง พระเป็ นเจ้าก็ได้ประทานแสงสว่างส่องจิตใจของโปรเตสแตนท์คนนัน้ เขาเริ่มรู ต้ วั ถึงความผิดพลาดต่างๆ ทีไ่ ด้ทาไป และได้ขอให้ภรรยาไปเชิญพระสงฆ์คาทอลิกมา เพราะเขาได้ตดั สินใจ ทีจ่ ะชาระล้างความผิดต่างๆ ของเขา กลับคืนดีกบั พระศาสนจักรและตายในพระศาสนจักรคาทอลิก” เขาได้รบั ศีลล้างบาปภายใต้เงื่อนไข ด้วยไม่แน่ใจว่าการรับศีลล้างเข้าเป็ นโปรเตสแตนท์ของเขาในตอน แรกนัน้ ได้รบั การโปรดอย่างถูกต้องหรือไม่ บาปผิดต่างๆ ของเขาได้รบั การอภัย และผ่านทางมือพระสังฆราชที่ ได้รบั เชิญมา เขายังได้รบั ศีลกาลังและศีลมหาสนิทในรูปแบบของศีลเจิมคนป่ วย และต่อมาวันที่ 24 เดือนเดียวกัน เขาก็ได้มอบวิญญาณคืนแด่พระเจ้าด้วยจิตใจที่เปี่ ยมสุขและสันติ แม่พระได้รับชัยชนะในทีส่ ุด เหมือนดังทีค่ ุณพ่อแบร์โทนีม่ันใจแต่ต้น
12
เป็ นเรื่องที่เกิดขึน้ อย่างน่าประหลาดใจเหมือนกันที่เราทราบต่อมาว่า ผูท้ ่ีกลับใจนัน้ เป็ นปู่ ของ เอมิลิโอ ราดิอุส นักหนังสือพิมพ์ท่สี ร้างผลงานที่มีค่าและมีช่ือเสียงหลายเล่ม และหนึ่งในผลงานนัน้ คือ การเขียนเกี่ยวกับ ชีวิตของคุณพ่อแบร์โทนี (1975) นั่นเอง ขอท่านนักบุญกัสปาร์ แบร์โทนี บิดาผูศ้ กั ดิส์ ิทธิย์ ิ่งของเรา ภาวนาเพื่อพวกเราทุกที่เป็ นลูกๆ ของท่านด้วย เทอญ เพื่อเราจะได้มีความรักและศรัทธาต่อพระนางพรหมจารีมารียเ์ หมือนอย่างท่าน เพื่อเราจะได้รบั การปกป้อง คุม้ ครองและการบรรเทาใจจากพระนางเหมือนอย่างที่ท่านได้รบั “โอ้ พระมารดาของข้าพเจ้า ข้าพเจ้าขอกราบวันทาพระนาง ขอโปรดประทานพรของพระนาง โปรดอวยพรข้าพเจ้าและทุกคนทีเ่ ป็ นทีร่ กั ของข้าพเจ้า โปรดถวายแด่พระเป็ นเจ้า ทุกสิ่งทีข่ า้ พเจ้าจะ กระทาและทนทุกข์ในวันนี ้ ร่วมกับฤทธิ์กศุ ลและพระบารมีของพระบุตรของพระนาง ข้าพเจ้าขอถวายและ อุทศิ เพือ่ ปรนนิบตั พิ ระนาง ซึ่งตัวข้าพเจ้าทัง้ ครบ และทุกสิ่งทีเ่ ป็ นของข้าพเจ้า ข้าพเจ้าขอมอบสิ่งทัง้ ปวงนี ้ ไว้ในความอารักขาของพระนางด้วย ข้าแต่พระมารดาทีร่ กั ยิ่งของข้าพเจ้า โปรดวอนขอแด่พระเป็ นเจ้า ซึ่งพระคุณแห่งความศักดิส์ ทิ ธิ์ ทัง้ วิญญาณและกาย และบันดาลให้ขา้ พเจ้าไม่กระทาสิ่งใดในวันนี ้ ให้เป็ นทีข่ ดั พระทัยพระองค์ ข้าพเจ้าวิงวอนขอพระนาง เดชะการปฏิสนธินริ มลและพรหมจารีนริ มลของพระนาง” /////////////////////
เรียบเรียงจาก เขียนโดย แปลและเรียบเรียง
San Gaspare Bertoni e la Madonna P. Nello Dalle Vedove คุณพ่อวสันต์ พิรุฬห์วงศ์ CSS ศูนย์แบร์โทนีศึกษา สามพราน