preface ครีเอทีฟ อีกหนึ่งอาชีพที่อยู่ใกล้ตัวเราในทุกๆที่ สื่อต่างๆที่เรามองเห็นล้วนมาจากไแเดียของครีเอทีฟทั้ง สิ้น ก่อนจะผ่านกระบวนการสร้างสรรค์สื่อออกมาเป็น Visual ให้เราเห็น ในรายงานเล่มนี้ เราจะพาทุกคนไปทำ�ความรู้จัก ให้มากขึ้นกับคำ�ว่า ครีเอทีฟ มีหน้าที่อะไร คิดงานยัง ไง ปัญหาที่พบเจอ รวมถึงคุณสมบัติดีๆที่ครีเอทีฟควรมี และความแตกต่างระหว่าง ครีเอทีฟ และ กราฟิคดีไซน์ เนอร์ และ ณ ที่นี้ต้องขอขอบคุณ องค์กรนวัตกรรม
สังคม CreativeMove และ Infographic Thailand ที่ให้ความอนุเคราะห์เข้าดูงานและให้ ข้อมูลดีๆมาประกอบรายงานเล่มนี้
Creative Team
Con Con Ten Ten TS TS
& r o t c i D e v i t Crea Ner g i s e D c fi a r G ? o d y e h T t a h W
e v o M e v i t Crea Let’s know infographic
c i h p a r g o f In Thailand P I R T D L E I F E C N E I R E P EX
n o i t a t S t N ex p i h s n r e t In
1
4 12
14 21 25
Creative Director & Graphic Designer
WHAT THEY DO ? 1
Creative Director Creative Director/ Art Director ผู้ ดูแลกำ�กับภาพรวม ทั้งแนวคิดและรายละเอียด ของงานในทุกๆขั้นตอนเพื่อให้งานออกมาตรง กับวัตถุประสงค์ เป็นนักออกแบบประเภทนัก คิด ไม่จำ�เป็นต้องเก่งด้านโปรแกรมออกแบบ แต่ต้องแม่นเรื่อง Concept และมีความคิด แหวกแนว โดดเด่น คิดนอกกรอบ ชอบคิดค้น หาไอเดียใหม่ๆมานำ�เสนอตลอดเวลา จึงส่ง ต่อให้ Graphic Designer ต่อไป
Graphic Designer Graphic Designer ผู้ที่นำ�ความคิด ของ creativeและ arts director มาสร้าง สรรค์ออกเป็น Visual ที่สามารถสื่อความ หมายได้ตรงตามแนวคิด และกรอบความ คิดที่วางไว้ โดยกราฟฟิคดีไซน์เนอร์จำ�เป็น ที่จะต้องมีทักษะการใช้โปรแกรมออกแบบได้ เป็นอย่างดี เพราะจะช่วยสร้างสรรค์ให้งานมี ความน่าสนใจมากยิ่งขึ้น
2
3
4
CREATIVITY ART & DESIGN CAN CHANGE THE
องค์กรนวัตกรรมสังคม CreativeMOVE เป็นองค์กรที่ดำ�เนินการในรูปแบบของ ธุรกิจเพื่อสังคม (Social Enterprise) ซึ่งเป้าหมายในการใช้ความคิดสร้างสรรค์ การ ออกแบบ และศิลปะ เพื่อขับเคลื่อนปัญหาสังคมและสิ่งแวดล้อม ก่อตั้งโดย เอซ ธนบูรณ์ สมบูรณ์ ปัจจุบัน CreativeMOVE ให้บริการด้านการวิจัยและออกแบบพัฒนานวัตกรรม สังคม ไม่ว่าจะเป็นผลิตภัณฑ์ กิจกรรม โครงการ แคมเปญรณรงค์ กิจกรรม CSR ฯลฯ และ CreativeMOVE ยังให้บริการด้านสื่อสารกับองค์กรภาครัฐ เอกชน และองค์กรด้าน สังคมต่างๆ ทั้งในและต่างประเทศ
5
บทสัมภาษณ์ จาก Creative Director
เอซ
ธนบูรณ์ สมบูรณ์ Executive & Creative Director of CreativeMove
6
Q: แนะนำ�ตัวหน่อยค่ะ A: ชื่อพี่เอซ ธนบูรณ์ สมบูรณ์ ครับ เป็นผู้ก่อตั้ง และผู้อำ�นวยการฝ่ายสร้างสรรค์ Creative director Q: พูดถึงบริษัท CreativeMove หน่อยค่ะ ว่า ทำ�งานด้้านใดบ้าง? A: CreativeMove เป็นองค์กรนวัฒกรรมสังคม เคยเป็น Creative และ Design Agency ทั่วๆไป งานที่ รับกับลูกค้า 100% ที่กี่ยวกับด้านสังคมและสิ่งแวดล้อม ทั้งหมด ช่วยในความคิดสร้างสรรค์การออกแบบ แคมเปญ นวัตกรรม หรือว่าออกแบบกิจกรรมด้านสังคม (CSR) ให้มีประสิทธิภาพน่าสนใจ และก็ดูมีหน้าตาที่มี ความน่าสนใจมากขึ้นครับ
Q: ใช้อะไรเป็นแรงกระตุ้นความคิดสร้างสรรค์ ในการทำ�งานด้าน Creative? A: หลักๆก็คงเรื่องของการดูหนังฟังเพลงทั่วไป และการอ่านหนังสือ บางทีก็จะดูว่าคนอื่นเขาทำ�อะไร กันบ้างนะครับ สิ่งที่ดูก็คือว่า เขามีไอเดียอะไรน่าสนใจ แล้วเราก็ใช้เป็นแนวทาง เช่น เขามีวิธีการน่าสนใจนะใน การทำ�งาน และก็ไม่ได้ดูว่า เอ๊ะ!เอามาทำ�เป็นแบบนี้นะ Q: Creative Director ต้องทำ�อะไรบ้าง? แต่ดูว่าเขามีวิธีคิดในการพัฒนายังไงบ้าง เราก็จะศึกษา A: สิ่งที่ต้องทำ�ก็คือว่า เวลาได้โจทย์จากลูกค้า และก็ดูจากสิ่งรอบๆตัว มาก็ต้องคิดว่าเราจะต้องแก้ปัญหาลูกค้ายังไง ส่วนใหญ่ ลูกค้าจะมีปัญหาว่าอยากทำ�นู้นอยากทำ�นี่ และจะต้อง คิดว่าทำ�ยังไงให้มีประสิทธิภาพที่สุด น่าสนใจที่สุด เรา จะไม่ได้มองแค่เรื่องของความว่าน่าสนใจที่สุดก่อน เรา จะมองว่าปัญหาของลูกค้าคืออะไร อยากจะทำ�ให้คนมา บริจาคเลือดมากที่สุด อยากให้คนเข้าใจเรื่องปัญหา สังคมหรือสิ่งแวดล้อมมากที่สุด เราจะมองตรงนั้นก่อน แล้วก็จะกลับมาพร้อมกับเครื่องมือว่าจะทำ�ยังไงให้มัน เซ็กซี่ขึ้น คือมันดูสร้างสรรค์ขึ้นหรือในเชิงการออกแบบ มันดูน่าสนใจมากขึ้น
7
Q: คุณสมบัติของคนที่สนใจในอาชีพ Creative Director ควรประกอบด้วยอะไรบ้าง? A: จริงๆอาชีพ Creative Director เรียกว่าเป็น ตำ�แหน่งละกัน คงต้องเป็นคนที่ Active ติดตามข่าวสาร ทั่วไปอยู่เสมอว่าตอนนี้โลกถึงไหนแล้ว Creative ก็คือ การใช้ไอเดียของเราในการไปพัฒนาสิ่งต่างๆให้มันน่า สนใจมากขึ้น ถ้าเราไม่มีข้อมูลที่น่าสนใจข้อมูลของโลก ปัจจุบันเราจะสื่อสารกับคนข้างนอกไม่ได้ เพราะปัจจุบัน โลกมันเปลี่ยนไปเร็วมากนะ ก็คงต้องติดตามข่าวสาร ใหม่ๆอยู่เสมอ Q: มีเกณฑ์ในการเลือกรับงานไหมคะ? แล้วพี่ เลือกจากอะไร? A: เกณฑ์ในการรับงานของเราก็คือว่า จะต้อง เป็นโครงการที่เกี่ยวกับแก้ปัญหาสังคมหรือสิ่งแวดล้อม ทั้งหมดนะครับ เรื่องทั่วไปที่จะมาขายของเราจะไม่รับ และก็วิธีการรับงานของเราก็จะมี Chart อยู่ 3 ตัว อย่าง
แรกคือเราทำ�แล้วเราแฮปปี้กับมันไหม แฮปปี้กับมันก็คือ เป็นสิ่งที่เราอยากทำ�หรือเปล่า? เป็นปัญหาด้านประเด็น สังคมและสิ่งแวดล้อมที่เราสนใจอยู่หรือเปล่า? ทำ�แล้ว เป็นผลงานที่เราเอาไปใช้เป็น Portfolio กล้าเอาไปให้ คนอื่นดูหรือเปล่า คือที่เราทำ�อยากให้มั่นใจว่าเราทำ�เต็ม ที่กล้าเอาไปให้คนอื่นดู นี่คืองานฉัน อย่างที่2 ก็คือว่า มันมี Impact หรือเปล่า? ทำ�แล้วสร้างการเปลี่ยนแปลง ให้กับสังคมหรือสิ่งแวดล้อมหรือเปล่า? ถ้ามันไม่มีเราก็ ไม่รับเลย อย่างน้อยมันต้องสร้างการเปลี่ยนแปลงอะไร ดีๆขึ้นมาให้กับสังคม และอย่างสุดท้ายคือ ได้เงินหรือ เปล่า? ส่วนนี้จะเป็นข้อสุดท้ายเลยเพราะ2ตัวแรกเรา สนใจที่จะทำ�และมันสร้าง Impact เกิดคนที่เดินเข้ามาขอ ความช่วยเหลือเรา มีงบน้อยหรือไม่มีงบเลย เราก็จะดูว่า เรามีเวลาไหม ทีมตอนนี้ว่างกันอยู่หรือเปล่า ก็จะทำ�ตรง นั้นโดยที่อาจจะมีค่าใช้จ่ายไม่ได้สูงนัก หรือจะทำ�ฟรีใน บางกรณีครับ ก็เลยจะใช้เรื่องของรายได้เป็นตัวสุดท้าย แต่ก็ไม่ใช่ว่าจะทำ�แบบฟรีไปทั้งหมด ก็คือเราจะต้อง Balance ระหว่างการที่เราช่วยสังคมด้วยกับการทำ�เพื่อ ธุรกิจด้วยเพื่อให้องค์กรอยู่ได้ Q: ฝากถึงนักศึกษาที่สนใจอยากฝึกงานที่นี่ หน่อยค่ะ A: คนที่สนใจทำ�ที่นี่นะครับก็คงต้องเข้าใจเรื่อง ปัญหาสังคมสิ่งแวดล้อมบ้างแล้วก็สนใจที่จะแก้ปัญหา ถ้า คิดว่าอยากจะมาเพื่อทำ�อะไรที่มันเท่ๆ อยากทำ�ไรที่เก๋ๆ นะครับก็อาจจะไม่ใช่ที่นี่ แต่ถ้าเกิดว่ามองว่าอยากจะแก้ ปัญหาสังคมโดยวิธีใหม่ๆนะครับ และก็แนวทางใหม่ๆ ที่ นี่น่าจะเหมาะกับน้องๆนะครับ
CreativeMove ในโครงการ “ศูนย์การเรียนรู้ Green Hope” ห้องสมุดจากวัสดุเหลือใช้ในไซต์ ก่อสร้าง โครงการเพื่อสังคม โดย แสนสิริ
8
one part of CreativeMove
ทาม Graphic Designer of InfographicMOVE
9
Q: แนะนำ�ตัวเองหน่อยค่ะ A: ชื่อทามครับ เป็นกราฟฟิกดีไซน์เนอร์อยู่ที่ ครีเอทีฟมูฟ รับผิดชอบเรื่องกราฟฟิกทั้งหมดเลย ส่วน ใหญ่จะเป็นอินโฟกราฟฟิกแล้วก็ทำ�ซับพอร์ตพวกกราฟ ฟิกอื่นๆที่ไม่ใช่อินโฟกราฟิค จบสาขาโฆษณา จาก มหาวิทยาลัยกรุงเทพครับ Q: พีทำ�อะไรบ้างคะ ? A: พี่ทำ�อินโฟกราฟฟิก คือ ครีเอทีฟมูฟจะมีอีก พาร์ทคือ อินโฟกราฟฟิกมูฟ ซึ่งตรงนี้ล่ะคือสิ่งที่พี่ทำ� ก็ จะมีในส่วนของลูกค้าบ้างของ Internal บ้าง Q: แล้วควรมีคุณสมบัติอะไรบ้าง A: คนมองว่าอินโฟกราฟฟิกมันง่าย แค่เอา รูปมาแปะๆแล้วก็จบ แต่จริงๆแล้วมันยากนะ เพราะ มันต้องเอาภาพมาประกอบ ทักษะที่ควรจะมีคือการ เล่าเรื่อง เช่น ภายในแผ่นหนึ่งเราจะเล่ายังไงให้คน อ่านแล้วเข้าใจได้ คืออินโฟกราฟฟิกที่ดีคือการที่อ่าน ทีเดียวแล้วเข้าใจเลย ถ้าเราต้องมานั่งงงหรืออ่านซ้ำ� เพื่อทำ�ความเข้าใจอย่างนี้คือไม่เวิร์ค อีกทักษะคือการ ดีไซน์การออกแบบ แล้วก็การจัดวางเลเอาท์ เป็นสิ่งที่ จำ�เป็นในอินโฟกราฟฟิก อินโฟกราฟฟิกบางอันการจัด วางภาพสวยมากเลยแต่อ่านแล้วไม่เข้าใจ หรือบางอัน อาจจะไม่สวยมากแต่ทำ�ให้เราเข้าใจเนื้อหา อันนี้ก็ขึ้น อยู่กับทักษะที่ได้บอกไป พอมีทักษะแล้วเวลาเราทำ�งาน ออกมามันจะเปลี่ยนมุมมองแนวคิดของคนที่อ่านได้เลย ส่วนใหญ่งานของเราจะสโคปแค่เรื่องสังคม การศึกษา อะไรประมาณนี้ครับ
10
11
Let’s Know
Infographic อินโฟกราฟิก (Infographic) คือ ภาพ หรือกราฟฟิก ที่นำ�เอา ข้อมูล สถิติ ตัวเลข ต่างๆอันมหาศาล มาย้นย่อทำ�ให้เข้าใจได้ง่าย สามารถจดจำ�ง่ายภายในไม่กี่นาที อีกทั้งยังมี การดีไซน์ที่ สวยงาม
หลั ก การออกแบบอิ น โฟกราฟิ ก ส์ แบ่งเป็น 2 ส่วน คือ 1.ด้านข้อมูล ข้อมูลที่จะนำ�เสนอจะ ต้องมีความหมาย มีความน่าสนใจ เรื่องราว เปิดเผยเป็นจริง มีความถูกต้อง ส่วนใหญ่ มักเป็นหัวข้อที่เป็นที่สนใจของประชาชนใน ขณะนั้นๆ 2. ด้านการออกแบบ ต้องมีรูปแบบ แบบแผน โครงสร้าง หน้าที่การทำ�งาน และความสวยงาม โดยออกแบบให้เข้าใจ ง่าย ใช้งานง่าย และใช้ได้จริง
12
13
Infographic Thailand เป็นบริษัทแรกและบริษัทอันดับ 1 ในการการผลิตอินโฟ กราฟิคทั้งแบบเคลื่อนไหวและแบบสิ่งพิมพ์ในประเทศไทย โดยได้รับความไว้วางใจจากลูกค้า ระดับพรีเมี่ยมมากกว่า 200 แบรนด์ และสร้างผลงานอินโฟกราฟฟิคมาแล้วกว่า 3,000 ชิ้น มีสมาชิกในทีมทำ�งานอย่างเต็มที่ความเชี่ยวชาญในแต่ละด้าน มีจุดมุ่งหมายที่จะให้เนื้อหาที่ดี ที่สุดสำ�หรับทั้งลูกค้าและผู้บริโภคของเรา
14
Q: แนะนำ�ตัวหน่อยค่ะ A: พี่ชื่อ กัส ครับ พัชรดนัย ทองนำ� ตอนนี้ทำ� ตำ�แหน่ง Creative Director อยู่ที่ Infographic Thailand ประวัติการศึกษา พี่จบจากคณะ ICT สาขานิเทศน์ เอกการโฆษณา ที่มหาวิทยาลัยศิลปากร ประวัติการ ทำ�งานก็คือ เรียนโฆษณามาก็เลยอยากทำ�วงการโฆษณา ก็เลยไปทำ�อยู่สักพัก ทำ�ตำ�แหน่ง Art Director แล้วก็ ตอนนี้มาทำ�ที่ Infographic Thailand ก็เป็น Infographic Creative ก็เป็น Creative ที่คิดงาน Infographic เป็นหลัก Q: ในแต่ละวัน Creative ต้องทำ�อะไรบ้าง? A: ในแต่วันของ Creative หลักๆเลยเวลาเราทำ� อินโฟกราฟิคมันจะแบ่งเป็น 2 part ใหญ่ๆ ก็คือ part ของดราฟ แล้วก็ part ของ design ดราฟก็คือโครงร่าง ที่จะจัดการกับข้อมูลทุกอย่าง การดราฟนี่แหละคือหน้าที่
15
ของ Creative ที่ต้องรับผิดชอบ อีกอันนึงที่ต้องทำ�ก็คือ การเขียน Motion Script ก็คืออินโฟกราฟิคแบบที่เป็น คลิปวีดิโอ เราก็ต้องเขียนสคริปต์ว่าใครเล่าเรื่องอะไรยัง ไง เวลาเราทำ�อินโฟกราฟิคคือ เราทำ�เรื่องยาก ให้ มันเป็นเรื่องง่าย หรือว่าเรื่องที่ไม่น่าสนใจให้มันน่าสนใจ ขึ้นมา ในเรื่องข้อมูลจะมาจากเราค้นหาเอง หรือลูกค้า ให้มาแล้วแต่งาน บางครั้งลูกค้ามีข้อมูลมาให้เลยว่า อยากจะพูดถึงอะไร บางครั้งงานนั้นลูกค้าไม่ได้เตรียม ข้อมูลมาให้ มีแค่ว่ามีจุดประสงค์ เช่น อยากให้คนมา ซื้อของ อยากให้คนมาร่วมงาน อยากให้คนมาลองใช้ App ของเค้า แต่เค้าไม่ได้มีข้อมูลให้ เค้ามีแค่จุดประสงค์ เพราะฉะนั้นอันนี้ก็จะเป็นหน้าที่ที่เป็นหลักๆและสำ�คัญ ของ Creative ในการค้นคว้าบางทีก็ต้องเสิร์ชใน Internet เปิดหนังสือ หรือว่าคุยกับผู้เชี่ยวชาญแล้วแต่รูปแบบ งาน อย่างบางเรื่องที่ข้อมูลจะเฉพาะมากๆ เราก็ต้องขอ
interview with
คุยกับผู้เชี่ยวชาญหรือว่าขอคุยกับลูกค้าเพื่อสัมภาษณ์แล้ว ก็เก็บข้อมูลส่วนนั้นมาเป็นตัวข้อมูลของเรา ทีนี้จัดการกับ ข้อมูลเสร็จสิ่งที่เราต้องทำ�ต่อมาคือ เราต้องย่อยข้อมูลให้ มันเข้าใจง่าย เราจะต้องดึงข้อมูลที่มันสำ�คัญ สิ่งที่ตอบ กับจุดประสงค์ เช่น จุดประสงค์คือขายสินค้า เราต้อง รู้แล้วว่าข้อมูลของเราข้อไหนบ้างที่คนอ่านแล้วอยากซื้อ ของเลย หรือว่ามันทำ�เพื่อเตือนภัย เราต้องรู้ว่าข้อมูล ส่วนที่เราดึงมาแล้วคนกลัว กลัวแล้วแบบเตือนภัยแล้วเรา เลิกทำ�เลย เพื่อให้สื่อออกมามีผลใช้งานได้ดีที่สุด ถ้าเป็นดราฟที่เป็นภาพนิ่งเราก็ต้องคิดภาพละว่า ภาพหลักเราจะเป็นอะไร เราจะใส่ข้อมูลเข้าไปกี่ขั้นตอน จากที่เราย่อยออกมาแล้ว หรือว่าถ้าเป็น Motion Script เราก็ต้องรู้ว่า มันมีกี่นาที ไปลงใน Channels ไหน ลง ใน Media อะไร แล้วก็เราก็เริ่มเขียนออกมา สุดท้ายงา นที่ี Creative เป็นคนทำ�ก็คือดราฟแล้วก็ Motion Script ก็จะเป็นแบบ Dialog การพูดว่า Scene นี้พูดว่ายังไง
แล้วก็ภาพเป็นยังไง Q: Infographic ประเภทไหนเป็นที่นิยมจาก ลูกค้าและกำ�ลังได้รับความสนใจมากที่สุด? A: ถ้าแบบไหนเป็นที่นิยม สำ�หรับที่เราทำ� แล้ว ก็ที่เรามีข้อมูลของประเทศไทย แบบ List จะเป็นที่นิยม มาก เราน่าจะเคยเห็นแบบ 5 วิธีกำ�จัดคราบบนเสื้อ 7 วิธี สมัครงานให้ผ่าน 8 วิธีสร้างความประทับใจเมื่อแรกพบ แบบนี้เราก็จะเคยเห็นบ่อย เพราะว่าอะไร เพราะว่าข้อมูล ที่เรา work มันจะเป็นข้อมูลที่เป็นข้อมูลเชิงคุณภาพเป็น ส่วนใหญ่ เพราะว่าคนไทยเราไม่นิยมเสพข้อมูลที่เป็นเชิง ปริมาณสถิติ เพราะว่าจะรู้สึกว่ามันวิชาการเกินไป มัน น่าเบื่อจำ�ไม่ได้ มันไม่น่าสนใจเพราะฉะนั้นงานที่เราทำ� จะเป็นแบบข้อมูลเชิงคุณภาพซะเป็นส่วนใหญ่
16
17
Q: มีเกณฑ์การเลือกรับงานไหมคะ? แล้วคัด จากอะไรบ้าง? A: ถ้าถามว่าที่นี่มีเกณฑ์ในการเลือกรับงาน ไหม มีครับ มีอยู่ที่ว่า เนื่องจากเราเป็นบริษัทที่ทำ�อิน โฟกราฟฟิค เป็นเจ้าแรกๆเลยก็ว่าได้ ที่นี้แบรนด์ที่เรา จะดู คือ แบรนด์ที่ค่อนข้างแบบมี Protencial หมาย ถึงว่าอาจจะเป็นแบรนด์ใหญ่ ถามว่าทำ�ไม เพราะว่ามัน เกี่ยวกับควอลิตี้ของงานกับเรา ที่มันแมสกับแบรนด์ที่มัน ใหญ่ หรือว่าโปรเจ็คที่มันน่าสนใจด้วย เราต้องดูก่อน ว่าแบรนด์ไหนเหมาะกับการนำ�เสนอแบบไหน อย่างเช่น บางแบรนด์เข้ามาบอกว่าทำ�วิดีโอ แต่ว่าเราดูแล้วเนื้อหา ของเขามันไม่เหมาะกับทำ�วิดีโอ ทำ�เป็นแค่ภาพนิ่ง สัก 2 ชิ้น น่าจะเหมาะกว่า เราก็จะแนะนำ�เขาไป อย่างนั้นครับ
Q: คุณสมบัติของคนที่สนใจอยากทำ�งานด้าน นี้ ควรมีทักษะด้านใดบ้างคะ? A: คนชอบถามเยอะว่า ทำ�อินโฟกราฟฟิคเรียน อะไรมา เพราะมันไม่มีคณะอินโฟกราฟฟิค คณะอินโฟ กราฟฟิคครีเอทีฟไรงี้ มันคงไม่มีเนอะ แต่ว่าพี่ว่าเรียน อะไรก็ได้ อย่างเช่น ครีเอทีฟที่ทำ�งานอยู่ก็มาจากหลาก หลาย ทั้งสายโฆษณา รัฐศาสตร์ อะไรอย่างงี้ ซึ่ง คุณสมบัติที่ต้องมีหลักๆเท่าที่พี่เห็นนะ เรื่องของการเป็น นักเล่าเรื่อง ครีเอทีฟหลักๆ คือเป็นนักเล่าเรื่องคืออย่าง ที่พี่บอกว่าอินฟกราฟฟิค คือการทำ�เรื่องที่ไม่น่าสนใจให้ น่าสนใจ อันดับแรกก็ต้องเป็นนักเล่าเรื่องก่อน ถ้าสมมติ ว่า รู้ตัวว่าเป็นคนที่ อย่างเช่น นั่งเรียนอยู่แล้วเพื่อนถาม ว่า อาจารย์อธิบายไม่เข้าใจเลย แล้วเราอธิบายให้เพื่อน ฟังแบบเป็นฉากๆเลยอะ เอ้อ..คุณอาจจะเหมาะกับอินโฟ กราฟฟิคก็ได้ เพราะว่า คนที่เป็นนักเล่าเรื่อง ไม่ใช่แค่ เล่าเรื่องให้มันสนุก เรื่องอะมันต้องเข้าใจง่าย แล้วก็จับ คนดูให้อยู่ จริงๆ
คุณสมบัติหลักๆก็คือ การย่อยข้อมูล เสพข้อมูล ต้องเป็นคนที่ชอบเสพข้อมูลแล้วก็เสพข้อมูลได้เก่ง และ ก็สามารถที่จะเล่าถ่ายทอดเรื่องราวนั้นๆให้คนอื่นได้เก่ง ด้วยเหมือนกัน นอกนั้นก็.. ถ้าสมมติว่ามีคนสอนเรื่อง ทางด้านคอมพิวเตอร์กราฟฟิคเป็นจะดีมาก Q: ปัญหาอะไรบ้างที่เจอในการทำ�งาน? A: ปัญหาในการทำ�งานมีเยอะมาก ก็จะมีถ้าแบ่ง แบบใหญ่ๆเลยก็จะเป็นปัจจัยภายนอกและปัจจัยภายใน ปัจจัยภายนอกคือลูกค้า เราเคยเห็นเพจแบบพวก ลูกค้าผู้น่ารักอะไรอย่างนี้ไหม ลูกค้าก็จะมีปัญหาอยู่แล้ว แหละซึ่งเราไม่ควรจะไปมองว่าแบบลูกค้ามีปัญหา ซึ่ง สุดท้ายเราเป็นหน้าที่ ที่ต้องตอบโจทย์ให้เขาอยู่ดี เพราะ ฉะนั้นพี่ก็จะตัดปัญหาเรื่องลูกค้าไป ส่วนปัญหาภายใน ก็จะมี เช่น เรื่องที่ทำ�เป็นเรื่องยากมาก อย่างเรื่อง เศรษฐศาสตร์มหภาค เรื่องของปิโตรเลียมที่แบบลึก มากๆ ขุดเจาะน้ำ�มัน กี่ร้อยล้านปี มีสารอะไรบ้าง อัน นี้ก็จะเป็นปัญหาอันดับแรก คือ Creative ไม่ได้มีความ รู้เกี่ยวกับเรื่องนั้น วิธีแก้ปัญหาคือ็ต้องไปรู้เรื่องนั้นให้ ได้ เพราะว่าการทำ�อินโฟกราฟิคบอกเลยว่ามันไม่ใช่การ ย่อ หมายความว่า ไม่ใช่คุณมีหน้ากระดาษ a4 1 แผ่น Copy มาแล้วก็ลบๆๆตัดคำ� มันไม่ใช่ เราต้องเข้าใจเรื่อง นั้นจริงๆ ส่วนใหญ่วิธีแก้คือจะให้ผู้เชี่ยวชาญมาเล่าจะง่าย กว่า เพราะถ้าเราไปอ่านบางทีมันเป็นตัวหนังสือเราถาม เราโต้ตอบกับมันไม่ได้ ผู้เชี่ยวชาญนั้นสามารถถามได้ เช่น ผมไม่เข้าใจจุดนี้ หรือไม่เข้าใจจุดไหน ผู้เชี่ยวชาญก็ จะช่วยได้ อีกปัญหาหนึ่งที่มักจะเจอและคนชอบถาม เรื่อง ของการคิดงานไม่ออก Creative ก็ต้องแก้ปัญหาเรื่อง คิ ด การไม่ อ อกโดยที่ มี ห ลากหลายมั น เป็ น แล้ ว แต่ ส ไตล์ อย่างเช่น หาเพื่อนลองโชว์ไอเดีย กับ Creative คนอื่น ถามกับคนอื่นว่า ถ้าเป็นเธอจะคิดเรื่องนี้ยังไง หรือเรา คิดแบบนี้น่าสนใจไหม หรือทำ�ยังไงให้มันน่าสนใจ ก็ให้ 2 คนคิดดีกว่าคนเดียวคิด ก็ช่วยๆกัน หรือลองดู Reference อะไรที่มันใหม่ๆ เกี่ยวกับเรื่องนั้น
18
ผลงานอินโฟกราฟฟิคของเด็กฝึกงานที่ลงบน แฟนเพจและเว็บไซต์ของ infographic thailand
Q: ฝากถึงคนที่อยากฝึกงานที่นี่ ควรเตรียมตัว อย่างไรบ้าง? A: ถ้าอยากมาทำ�งานที่นี่ควรเก็บ port ไว้ให้ เยอะๆ เก็บงานระหว่างเรียน ถ้างานระหว่างเรียนตั้งแต่ ปี 1 ปี 2 มันไม่ work เรามองย้อนกลับมาแล้วการ ที่เราทำ�เมื่อตอนเราเด็กๆ แต่ตอนนี้เราโตขึ้นเราเก่งขึ้น ลองสร้างขึ้นมาเอง คือมันไม่ต้องมีโปรเจคอะไรก็ได้ เรา คิดเรื่องที่เราอยากทำ� แล้วเราก็ create งานขึ้นมา สัก 2-3 ชิ้นที่ มันเป็นเลเวลที่เราทำ�ได้ด เพราะว่าportสำ�คัญ มากๆ พี่เขาว่าจะดูก่อนว่าเด็กทำ�ได้ประมาณไหน หลัง จากนั้นก็จะเรียกสัมภาษณ์ซึ่งพี่ว่าไม่ได้ยากเลย แค่ attitude แบบที่ว่าทุกคนที่อยู่ในสังคมมหาลัยอยู่กับเพื่อนๆ ได้ก็คงจะไม่ได้มี atiitude ที่มันแย่ เพราะฉะนั้นสำ�คัญที่ portfolio ถ้าน้องๆมาฝึกงานที่นี่เนี่ย เวลาที่เรามาฝึกงาน หลักๆคือเราจะได้ทำ�ชิ้นงานลงบน fanpage Infographic Thailand ซึ่งมีคนตามอยู่แสนกว่าคน จะได้รู้ว่าเราจะ ได้ทำ�งานซึ่ง Touch กับคนจริงๆ หมายความว่าเราจะ ได้ทำ�งานที่เราลงไปแล้วเราจะรู้เลยว่ามันดีหรือไม่ดี จาก ยอด like หรือยอด share หรือคน comment ถ้างาน เราไม่ดีมันก็จะสะท้อนออกมาจาก comment หรือว่าย อด like ยอด share มาฝึกงานที่นี่ได้ทำ�งานจริงแน่นอน แล้วก็ถ้าเราทำ�งานที่ีมาตรฐานถึง ทางเราก็จะมีแบบงาน ลูกค้าให้ลองทำ�ด้วย
19
Q: แนะนำ�ตัวหน่อยค่ะ A: ชื่อ พัชริน วงศ์แก้วฟ้าเป็น senior infographic designer ของที่นี่ จบจากสาขา communication arts เอกดีไซน์ มศว Q: ในแต่ละวัน Graphic Designer ต้องทำ� อะไรบ้างคะ? A: จะมีแบ่งเป็นโซนที่เป็นของ creative draft ก็ จะเหมือนเป็นแค่ outline ร่างหรือเป็นพวกย่อย content มา ซึ่งพอรับต่อมาก็อย่างแรกเลยก็คือทำ�ความเข้าใจของ draft ก่อนว่ามันหมายถึงเรื่องอะไร หรือสามารถอธิบาย ความรู้ด้านใดก็ต้องศึกษาก่อน มันมีอารมณ์มันมี mood and tone ยังไงทีนี้งานที่ดีไซเนอร์มันจะมีเรื่อง mood board ก็จะประกอบไปด้วย concept ของงานชิ้นนี้ว่า ชิ้นนี้มี concept อะไร ลูกค้ากำ�หนดอะไรมาหรือโจทย์ ที่ creative ส่งมาต้องการอะไรสื่อสารอะไรกับงาน เราก็ ดูภาพรวมทั้งหมดว่าได้งานชิ้นนี้เราจะทำ� Mood ออกมา เป็นแบบไหน คิดเลยว่าเลย์เอ้าท์แบบไหนที่จะเข้ากัน จาก นั้นเริ่มสเกตคร่าวๆแล้วเราก็เริ่มแบบมีการจัด font อิ น โฟกราฟฟิ ค จริ ง ๆแล้ ว ใจความสำ � คั ญ คื อ มั น คือ message มันคือ content อันไหนไม่ต้องการความ ละเอี ย ดมากเป็ น แบบสิ่ ง บรรยายไม่ จำ � เป็ น ก็ ไ ซต์ เ ล็ ก ลง หน่อย แล้วก็วางตามเลย์เอ้าท์ที่เราคิดไว้ พอวาง Typo ทุกอย่างเสร็จแล้วค่อยขึ้นดีไซน์ว่าชิ้นนี้มีคาแร็คเตอร์ยังไง ดีไซน์ยังไง ก็เริ่มหา reference เลย ในไทยค่ อ นข้ า งมองว่ า มั น เป็ น แค่ คำ � เป็ น ภาพที่ ประกอบข้อความ ซึ่งจริงๆแล้วมันไม่ใช่ ต้องคิดว่ามันจะ สื่ออะไรได้บ้าง พอดีไซน์โดยรวมเสร็จก็มานั่งเช็ค message ต่างๆว่ามันสื่อสารครบไหม เพราะบางทีการวาง เลย์เอ้าท์มันมีข้อจำ�กัด อย่างเช่นมันควรจะอยู่ตรงนี้ มัน ไม่สวยก็เลยยกไปไว้ตรงนี้ มันทำ�ให้ message หาย เพราะงั้นเวลาทำ�เสร็จ ก็มาดูโดยรวมว่ามัน สื่อ key message ที่เราต้องการนำ�เสนอหรือเปล่า ถ้ามันหายไป ก็ถือว่า งาน Infographic ชิ้นนี้มันไม่สำ�เร็จ
Q: ฝากถึงคนที่อยากฝึกงานที่นี่ ควรเตรียมตัวอย่างไรบ้างคะ? A: ถ้าอยากจะฝึกด้านกราฟฟิคดีไซน์ควรจะเตรียมอะไรบ้าง จริงๆแล้วถ้าน้องไม่ได้เรียนมา โดยตรงแบบเป็นสายดีไซเนอร์เราก็สามารถทำ�ได้ สำ�หรับพี่คือคุณอ่านทฤษฎีมามันไม่เท่ากับคุณ ได้ฝึกปฏิบัติเพราะฉะนั้นที่อยากจะทำ�จริงๆอยากให้ฝึกฝนมากๆ ฝึกตัวเองตลอดเวลา คอยฝึกคอย ดู tutorial เพราะตอนนี้ก็มีสอนอะไรเยอะแยะ แล้วก็อย่าหยุดแค่ถ้าคุณเป็นแล้ว คุณไม่ได้ดูเหมือน เก่งกว่าคนอื่นเพราะฉะนั้นคุณถ้าคุณหยุดคนหนึ่งก็ก้าวนำ�คุณไปเรื่อยๆก็ต้องคอยอัพเดทตลอดเวลา ไม่ว่าจะเป็นทั้งแบบเทคนิคหรือ skills
บ ั ก น ้ ึ ข ก า ม ้ ห ใ ทำ�ความรู้จัก
20
d l e Fi
r e p x E 21
p i r T
e c ien 22
จากการไปศึกษาดูงานที่ องค์กรนวัตกรรมสังคม CreativeMove และ Infographic Thailand
ทำ�ให้เราได้รับประโยชน์ดังนี้
23
1. มีความรับผิดชอบ ต่อหน้าที่ที่ตนเองได้รับมอบหมาย แบ่งเวลาเป็น และทำ�งานกันอย่างเป็นระบบ 2. ได้เรียนรู้ชีวิตการทำ�งานในสังคม การทำ�งานร่วมกับผู้อื่น การมีมิตร สัมพันธ์ไมตรีให้แก่กันกัน รู้จักกาลเทศะ 3. เข้าใจความหมายของอาชีพนี้มากขึ้น รู้ทักษะ การเล่าเรื่อง การใช้ โปรแกรม การจัดวาง การคิดอย่างสร้างสรรค์ 4. การทำ�ประโยชน์ต่อสังคม ตีความจากข้อมูลให้ออกมาเป็นภาพ ให้คน สามารถรู้และเข้าใจความหมายได้ง่ายขึ้น
24
NEXT STATION
INTERNSHIP 25
การเตรี ย มตั ว ที่ สำ � คั ญ สู่ การเป็นCreative Di-
rector
พกสมุดโน้ตติดตัวไปทุกที่ ไม่ว่าเราจะไปที่ไหน สิ่งหนึ่งที่ห้ามลืมก็คือ “สมุดโน้ต” ้มีอะไรไว้จดเวลานึกอะไรออก เพราะความ คิดดีๆมักจะไม่เลือกสถานที่หรือเลือกเวลา ดังนั้นแล้ว จงเตรียมสมุดไว้จดอยู่ตลอด เพื่อไม่ให้เราพลาดที่จะ จดบันทึกความคิดของเรา อีกทั้งยังสามารถจดไว้เพื่อเตือนตัวเราเองในเรื่องอื่นๆอีกด้วย พักบ้าง เมาท์บ้าง การทำ�งานหรือการคิดโดยที่ไม่หยุดพักเลย จะยิ่งเป็นการทำ�ให้สมองของเราล้าและคิดอะไรไม่ออก ควรพักในทุกๆชั่วโมงบ้างสักสิบหรือสิบห้านาที ดูวิว ดูท้องฟ้า ปล่อยความคิดให้ล่องลอยบ้าง หรือหันไป คุยกับเพื่อนให้เกิดบทสนทนาที่ผ่อนคลาย จะทำ�ให้สมองหายล้าแล้วยังอาจจะทำ�ให้ความคิดหรือไอเดียดีๆ ลื่นไหลได้มากขึ้นโดยไม่รู้ตัว อยู่กับคนที่มีความคิดสร้างสรรค์ หาโอกาสไปพูดคุยหรือใช้ชีวิตกับกลุ่มคนที่มีความคิดสร้างสรรค์ทั้งในด้านเดียวกับเรา แล้วก็ด้าน อื่นๆด้วย เพราะมันจะเป็นโอกาสที่ทำ�ให้เราเรียนรู้และได้รับแรงบันดาลใจดีๆจากกลุ่มคนเหล่านั้น การ พูดคุยแลกเปลี่ยนความคิดเห็นบ่อยๆ หรือรับฟังคำ�วิจารณ์จากคนอื่น จะทำ�ให้ความคิดของเราเปิดกว้าง มากขึ้น แหกกฎเกณฑ์เดิมๆ ลองเปิดใจและทำ�อะไรใหม่ๆให้กับตัวเองบ้าง เริ่มต้นได้ตั้งแต่การฟังเพลง ลองหาเพลงในแบบที่ เราไม่เคยฟังมาฟังดู ลองไปเดินเล่นในที่ที่ปกติเราไม่ไป อย่าเป็นเหมือนคนอื่น มันเป็นเรื่องดีที่เราจะอยากมีความคิดดีๆหรือไอเดียเจ๋งๆเหมือนคนอื่น แต่เราก็ต้องเป็นตัวเรา ไม่ใช่บังคับหรือผลักดันตัวเองให้เป็นเหมือนคนอื่น ดังนั้น บอกตัวเองเสมอว่า “เราคือเรา”
26
S trengtH eakness w ppotunity O hreat T
27
จุดแข็ง : วาดเขียนได้ทำ�ให้ง่ายต่อการออกแบบลงโปรแกรม และใช้โปรแกรมAiได้ ดี เขียนบทความได้ตีความได้ จุดอ่อน : คิดงานไม่เร็วไม่มีอุปกรณ์ในการทำ�งานแบบพกพา (notebook) ทำ�ให้ ลำ�บากกับการทำ�งานนอกสถานที่ โอกาส : ได้รับการว่าจ้างเกี่ยวกับการออกแบบวาดรูปเป็นรายได้เสริม งานใน วิชาเรียนจะได้รับมอบหมายให้ทำ�เกี่ยวกับการออกแบบเสมอ อุปสรรค : เดินทางสะดวกแต่การเดินทางผ่านรถไฟฟ้าจะทำ�ให้รายจ่ายเพิ่มมาก ขึ้น จุดแข็ง : 1.มีความอดทนต่องานทุกงานที่เข้ามาสูง มีความละเอียดในการตรวจ สอบงาน 2.คุ้นเคยกับAi 3.มีอุปกรณและเทคโนโลยีในการทำ�งาน (NB) จุดอ่อน : คิดงานช้า ทำ�งานช้า ใช้เวลาทำ�ความเข้าใจสักพักนึง โอกาส : ได้ฝึกฝนได้รับโอกาสในการออกแบบเกี่ยวกับงานกลุ่ม อุปสรรค : ไม่มีพาหนะส่วนตัว อาจจะทำ�ให้ใช้เวลาในการเดินทางมาก
จุดแข็ง : มีทักษะทางด้านศิลปะ ชอบวาดรูป ทักษะการใช้โปรแกรม AI ค่อฯ ข้างดี และการออกแบบคาเรคเตอร์ จุดอ่อน : ใช้เวลาในการคิดงานค่อนข้างนานและมีการเปลี่ยนแปลงอยู่บ่อยๆ ไม่ ค่อยมั่นใจกับงานชิ้นนั้น โอกาส : ได้ฝึกฝนจากการทำ�งานกลุ่มการออกแบบคาฉรคเตอร์ตัวการ์ตูนต่างๆ และการทำ�งานกราฟิกอยู่เรื่อยๆ อุปสรรค : คู่แข่งทางด้านงานกราฟิกมีมาก
จุดแข็ง : ตั้งใจทำ�งานที่ได้รับมอบหมาย ชอบหาแรงบรรดาลใจ บ่อยๆ ติดตาม เทคโนโลยี ทันสมัย จุดอ่อน : สื่อสารกับผู้อื้นไม่ค่อยรู้เรื่อง คนอื่นไม่เข้าใจที่เราพูด ,ทำ�งานช้า โอกาส : ได้ทำ�งานกลุ่มและได้รับหน้าที่ออกแบบอยู่บ่อยครั้ง อุปสรรค : การแข่งขันสูงถ้างานไม่ดีจริงก็อาจจะไม่มีงานทำ� หรือหางานทำ�ยาก
28
จุดแข็ง : ชอบในการทำ�งานด้านดีไซน์ สามารถออกแบบและใช้โปรแกรมได้ดีใน ระดับหนึ่ง เวลาทำ�งานกลุ่มมักเป็นแนวคิดหลักเสมอ จุดอ่อน : วาดรูปไม่เลยทำ�ให้เวลาวาดในโปรแกรมค่อนข้างยาก ชอบทำ�งานตาม อารมณ์ โอกาส : ได้รับโอกาสในการทำ�งานด้านกราฟฟิคบ่อย มีเวลาฝึกฝนอย่างต่อเนื่อง อุปสรรค : คู่แข่งในงานด้านนี้เยอะ จุดแข็ง : มีความคิดสร้างสรรค์ คิดนอกกรอบ ชอบทดลองสิ่งใหม่ ใช้โปรแกรม Ai ได้ค่อนข้างดี เล่าเรื่องผ่านภาพได้ จุดอ่อน : ยึดติดกับความคิดของตนเอง ต้องใช้เวลาในการคิดงาน ถ้าไม่มีตัว กระตุ้นหรือแรงผลักดันจะทำ�งานได้ช้า โอกาส : ฝึกการทำ�งานด้านออกแบบ จากการทำ�งานภายในกลุ่ม เช่น การดราฟ ตัวการ์ตูน อุปสรรค : คู่แข่งในสายงานมีมากทำ�ให้งานที่ทำ�ออกมาต้องสวยและดีจริงๆ จุดแข็ง : 1.ออกแบบงาน มีความคิดสร้างสรรค์ วาดรูปได้ดีเป็นพื้นฐานที่ทำ�ให้ใช้ โปรแกรมAi ได้ดีด้วยเช่นกัน 2.มีความสามารถในการเล่าเรื่องให้เป็นรูปภาพได้ ทำ�ให้เข้าใจง่ายมากขึ้น จุดอ่อน : ใช้เวลาคิดงานค่อนข้างช้าในการหาคอนเซ็ปให้ตรงกับจุดประสงค์ของงาน โอกาส : ได้มีโอกาสรับผิดชอบงานต่างๆที่มีการออกแบบ วาดรุปเป็นส่วนใหญ่ อุปสรรค : ไม่สะดวกในการเดินทาง เนื่องจากบ้านอยู่ไกล มีค่าใช้จ่ายเยอะในการ เดินทาง จุดแข็ง : มีความคิดสร้างสรรค์ ชอบการออกแบบ และสามรถใช้โปรแกรมAIได้ จุดอ่อน : ต้องการแรงดันดานใจในการคิดงานเพื่อให้คิดงานออก โอกาส : งานที่ได้รับมอบหมาย หลายๆงานทำ�ให้เราได้ฝึกงานประเภทนี้ และฝึก ความคิดสร้างสรรค์ อุปสรรค : การเดินทางไปกลับค่อนข้างที่จะไม่สะดวก ใช้เวลาเยอะและค่าใช้จ่าย ค่อนข้างสูง จุดแข็ง : มีทักษะในการวาดรูป สามารถใช้โปรแกรม Photoshop และ Illustrator ในการสรางภาพต่างๆได้ มีทักษะในการเขียน จุดอ่อน : ยังออกแบบได้ไม่ชำ�นาญ งานที่ออกแบบยังไม่มีเอกลักษณ์และจุดที่โดด เด่นน่าสนใจ โอกาส : ได้รับการเรียนการสอนจากอาจารย์มีที่ความเชียวชาญจากภาควิชา เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา มีอุปกรณ์ในการสร้างผลงานอย่างครบถ้วน อุปสรรค : ไม่มีรถยนต์ส่วนตัว อาจทำ�ให้การเดินทางเกิดความลำ�บากและล่าช้า
29
จุดแข็ง : 1.มีความคิดสร้างสรรค์ ชอบอะไรแปลกใหม่และแตกต่าง 2.ต้องการสร้างความเปลี่ยนแปลง 3.ใช้โปรแกรม Ai, Ps, Pr, Lr, Id, Dw ได้ 4.ชื่นชอบการวาด เขียนและสนใจงานด้านศิลป์ 5.ชอบการวางแผนออกแบบและเรียนรู้สิ่งใหม่ตลอดเวลา จุดอ่อน : 1.ไม่ถนัดเทคนิกพิเศษของโปรแกรมตัดต่อ 2.ไม่ชอบอ่านหนังสือเยอะๆ 3.ไม่ค่อยช่างสังเกตุรายละเอียด โอกาส : 1.ไม่เกี่ยงงานชอบหาประสบการณ์ 2.สาขาที่เรียนทำ�ให้มีความสามารถหลายด้าน 3.เป็นหัวหน้าทีมบ่อย ทำ�ให้มีประสบการณ์การจัดการและวางแผนเยอะ อุปสรรค : 1.คู่แข็งในสายงานนี้มีมาก 2.ถ้างานไม่ Ceative จริงก็จบ จุดแข็ง : 1.ความคิดสร้างสรรค์ สามารถใช้โปรแกรมAi,Ps,Pr,Lr,Id ได้ 2.มีความรู้ด้านศิลปะมาก วาดรูปได้ จุดอ่อน : 1.ไม่ถนัดงานด้านภาพเคลื่อนไหน 2.ไม่ถนัดการเขียนcontent 3.ไม่รอบคอบและไม่กระตือรือร้น โอกาส : มีโน๊ตบุค และรับงานเสริมที่เกี่ยวกับโปรแกรม อุปสรรค : 1.ไม่มีเวลาเริ่มเรียนโปรแกรมใหม่ๆ 2.คนทำ�งานสายนี้เยอะ อาจจะหางานยาก จุดแข็ง : มีความคิดสร้างสรรค์นอกกรอบ ชอบการออกแบบ ถนัดโปรแกรม ai จุดอ่อน : 1.ขาดการควบคุมอารมณ์ 2.ทำ�ภาพเคลื่อนไหวไม่เป็น โอกาส : ได้ฝึกทำ�ลองทำ�งานจริงๆบ่อยครั้ง และเรียนภาควิชาที่ตรงสาขา อุปสรรค : ครอบครัวไม่สนับสนุนสายงานนี้ จุดเเข็ง : 1.สามารถใช้โปรเเกรม adobe ได้เป็นอย่างดี 2.เรียนรู้โปรเเกรมต่างๆได้อย่างรวดเร็ว 3.สังเกตสิ่งรอบตัวอยู่ตลอดเวลา จุดอ่อน : ไม่ค่อยรอบคอบ โอกาส : มีประสบการณ์ฝึกวานเกี่ยวกับ graphic เเละ creative บ่อยครั้ง ได้ฝึกการใช้โปรเเกรมอยู่ตลอดเวลา อุปสรรค : การเดินทางไปฝึกสหกิจ ในสถานที่ไกลๆค่อนข้างลำ�บาก
30
e v i t a e r C m a Te
สมาชิกในกลุ่ม แถวที่ 1 คุณัญญา เทิดทินวิทิต 57080500405 แถวที่ 2 ชัยกานต์ มณีจักร์ 57080500408 พรชิตา พิลาล้ำ� 57080500424 สุวรรณี แซ่ลิ้ม 57080500438 แถวที่ 3 กัญญพัชร หาดสมบัติ จรรญมณฑน์ มณีรัตนโสภณ จิราพิสิฐ เจริญภัทรปรีดา ธัญวดี นิรุติศาสตร์
57080500441 57080500443 57080500445 57080500452
แถวที่ 4 มาลินี ตานี 57080500470 เมธาวี อินทร์ใหญ่ 57080500472 ณิชา ไพอนนท์ 57080500478 สุริยะ ธีระอรรถ 57080500484