PORTFOLIO
Keerati Iyakeaw,Faculty of Architecture, Khon kaen university
PROFILE
น.ส. กีรติ อัยยะแก้ว
เกิดวันที่ 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2529 การศึกษา
- โรงเรียนอนุบาล สาธิตศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น - โรงเรียนประถม สาธิตศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น - โรงเรียนมัธยม สาธิตศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น - คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ความสามารถ - Autocad - Sketch Up - Adobe photoshop - Adobe illustrator - Microsoft Office
e-mail : keerati_i@hotmail.com
PROJECT
REVERSIDE VILLA 2006 - 2nd Year Project
ใกล้ชิดธรรมชาติ โครงการบ้านพักตากอากาศ แยกอาคารออกจากกัน เพื่อรับกับ บรรยากาศภายนอกอย่างเต็มที่
HIP HIP HOTEL HOTEL
2007 - 3rd Year Project
แนวคิดโครงการมาจากสภาพภายนอก site ที่มีทัศนียภาพ ไม่ดีเท่าที่ควร จึงมีการแก้ปัญหาด้วยการออกแบบให้มีทัศนียภาพ ที่น่ามองขึ้นภายในsite รูปแบบการวางอาคารจึงออกมาในรูปแบบ คอร์ทล้อม space
UNIVERSITY UNIVERSITY COMPLEX COMPLEX 2007 - 3nd Year Project
ใช้แนวแกนทางสัญจร เดิมของทั้งคนและรถ เป็นตัว ดึงคนเข้ามาภายในโครงการ และเชื่อมโยงเข้ามาสู่กิจกรรม ภายใน เช่น บริเวณลานด้าน หน้า
SURGICAL AND HEALTHY HOSPITAL 2007 - 3nd Year Project
แนวความคิดของโครงการคือต้องการทำให้ โรงพยาบาลไม่น่ากลัวอย่างที่เคยเป็นโดยใช้ life style ของผู้หญิงในการออกแบบ คือความสวยงามดังนั้น แม้กระทั่งห้องพักก็ไม่เหมือนโรงพยาบาลทั่วไป
COMUNITY COMUNITY CENTER CENTER 2008 - 4th Year Project
Elevation A Elevation B
1st Floor Plan Elevation C Elevation D
2nd Floor Plan
3rd Floor Plan
เนื่องจากโครงการเป็นอาคารเพื่อรองรับ การทำกิจกรรมนักศึกษา ดังนั้นจึงออก แบบอาคารให้มี spaceที่ตอบสนองกิจ กรรมดังกล่าว คือไม่ว่าจะอยู่ส่วนใดของ อาคารก็จะสามารถรับรู้ มีส่วนร่วมกับ กิจกรรมที่เกิดขึ้นภายในโครงการ
THE KHON KAEN MIXER-USE COMPLEX THE KHON KAEN MIXER-USE COMPLEX 2008 - 4th Year Project
เนื่องจากโครงการเป็นอาคารขนาดสูง จึงต้องมีการจัดการเรื่องระบบอาคารค่อนข้างมาก ดังนั้น จึงใช้งานระบบเป็นแนวคิดหลักของโครงการ และพยายามให้ห้องทุกๆห้องได้รับแสงธรรมชาติ อย่างทั่วถึง
X3 X3 HOUSE HOUSE
2008 - 4th Year Project
1st FLOOR PLAN
MY PLACE.......... MEMORY
HOUSE1
HOUSE 1 ประทับใจการเข้าไปใช้ space แสงเงา effect
Hagia Sophia
La Tourette Ronchamp
ความสงบ ป่า
Ronchamp
HOUSE 2 space ที่สงบ
ประสบการณ์ร่วม
HOUSE2 แสงเงา effect
HOUSE 3 ของเล่น ท่องเที่ยว ของเล่น ท่องเที่ยว HOUSE3
EXREPIENCE HOUSE2 HOUSE1
ความต้องการร่วม
HOUSE3
ใช้ธรรมชาติเข้ามาเป็นตัวร้อยเรียงเรื่องราว ของบ้านแต่ละหลังเข้าด้วยกัน
2nd FLOOR PLAN
THESIS
THESIS TEXTILE TEXTILE AND AND CULTURAL CULTURAL CENTER CENTER OF OF THAI THAI PHUAN PHUAN BANMI, BANMI, LOPBURI LOPBURI 2009 - 5th Year Project
ความสำคัญของโครงการ ชาวไทยพวนอำเภอบ้านหมี่ จ.ลพบุรีนั้น มีการทอผ้าในวิถีชีวิตมานาน ถือว่าการทอผ้าเป็นภูมิปัญญา เป็นมรดกทางวัฒนธรรมที่มีคุณค่าอย่างหนึ่งของผู้หญิงชาว ไทยพวนและความสามารถในการคิดสร้างสรรค์ที่ยังคงไว้เป็นเอกลักษณ์ เป็นวัฒนธรรมที่สืบทอด กันมาตั้งแต่สมัยโบราณจากแม่สู่ลูก จากยาย ย่า สู่ลูกหลานด้วยจุด ประสงค์เพื่อทอไว้ใช้ในชีวิตประจำวันและใช้ในพิธีกรรมทางศาสนา โดยมีกรรมวิธีการทอหลายวิธี แต่เมื่อเวลาผ่านไปมีการพัฒนาจากการทอผ้าไว้ใช้ในครัวเรือน มาเป็นผลิตเพื่อการค้าทำให้เกิดปัญหาตามมา คือการแข่งขันกันเองในหมู่บ้าน เกิดปัญหากดราคา กันเอง ชาวบ้านมุ่งหวังให้ผ้าของตัวเองขายให้ได้มากที่สุด ไม่มีการแลกเปลี่ยนความรู้ และเทคโนโลยีการทอผ้าใหม่ๆระหว่างกัน จึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องเร่งสร้าง ความสามัคคี และความเข้มแข็งของคนในหมู่บ้าน ดังนั้นจึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมีศูนย์ส่งเสริมให้หมู่บ้าน และคนในหมู่บ้านมีความเข้มแข็ง และสามารถรักษา วัฒนธรรมดั้งเดิมให้คงอยู่ ท่ามกลางกระแสสังคมที่เปลี่ยนแปลง เพื่อรักษามรดกทางวัฒนธรรมของชาวไทยพวนให้คนรุ่นหลังได้เรียนรู้สืบต่อไป จึงเป็นที่มาของการจัดตั้ง ศูนย์ผ้าทอ และวัฒนธรรมไทยพวน อ.บ้านหมี่ จ.ลพบุรี
CONCEPT DESIGN แนวคิด ทฤษฎี ในการออกแบบ
แนวความคิดสถาปัตยกรรมร่วมสมัย เป้าหมาย
ข้อมูล
สังเคราะห์
SPACE นำ space ของเรือนพวนเข้ามาใช้ในการออกแบบ
ประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม วิถีชีวิต
จากบทความ อุบายไปสู่การสร้างสรรค์งานสถาปัตยกรรมไทย ร่วมสมัยจากรากวัฒนธรรมท้องถิ่น โดย ร.ศ. อนุวิทย์ เจริญศุภกุล
แนวความคิด วิธีการ
เรือน
สถาปัตยกรรมร่วมสมัย
สถาปัตยกรรมพื้นถิ่น
เล้า
ตีความ
วิเคราะห์
Planning , Landscape การวางผังมีการเลียนแบบผังของชุมชน เพื่อสร้างความรู้สึกที่ต่อเนื่องกับชุมชน circulation
เรือน
function function function
site
LINE
COLOR พรรณไม้ที่นำมาใช้ ต้นไม้ที่ให้สีในการย้อมผ้า
ปลูกต้นไม้แบบrandom ใช้landscape แบบ freeform
เล้า
LINE
SHADE SHADOW
PLAN ป่าไผ่
ป่าไผ่
ป่าไผ่
ป่าไผ่
LANDMARK STAFF
STO. ป่าไผ่
STO.
LIVING MUSEUM นิทรรศการมีชีวิต +0.20
STO. RECEPTION
KITCHEN RESTAURANT +0.20
LIVING MUSEUM นิทรรศการมีชีวิต +0.20
SHOP +1.00
ช่าง
SHOP
ระบบไฟฟ้า
LIVING MUSEUM นิทรรศการมีชีวิต +0.20
SHOP
โถงนักท่องเที่ยว
ระบบน้ำ
หมากสง-สีกากี แกมเหลือง
TEXTILE SHOP +1.00
มะเกลือ-ดำ
ต้นหว้า-ม่วง
PARKING สมอ-ดำ
STO.
ขนุน-เหลือง คำแสด-แดง
COFFEE SHOP
หูกวาง-เขียว
คราม-สีคราม
กรรณิการ์-สีเหลือง
PARKING ดาวเรือง-สีเหลือง ทับทิม-สีตองอ่อน
อุปกรณ์ในการทอผ้า ผ้าเก่าแก่หายาก
STAFF
วิธีทอผ้า
EXHIBITION
นิทรรศการชั่วคราว
STO. ประวัติชาวไทยพวน
ชาวไทยพวนกับการทอผ้า รับประทานอาหาร (ปรับอากาศ)
ฝ่ายวิชาการ
RESTAURANT
ห้องเก็บข้อมูล
EXHIBITION STAFF
PANTRY
ต้อนรับ STO.
STO. ต้อนรับ
OFFICE
รองผู้อำนวยการ
ประชุม
ห้องสัมนา(50คน)
MUSEUM
OFFICE
ผู้อำนวยการ
KITCHEN
LANDMARK
PLAZA HALL TEXTILE SHOP SHOP PARKING
THESIS TEXTILE TEXTILE AND AND CULTURAL CULTURAL CENTER CENTER OF OF THAI THAI PHUAN PHUAN BANMI, BANMI, LOPBURI LOPBURI 2009 - 5th Year Project
ELEVATION A
ELEVATION C
TEXTILE SHOP
EXHIBITION
OFFICE
RESTAURANT
EXHIBITION
PRESENTATION
PRESENTATION PRESENTATION PERSPECTIVE
PRESENTATION PRESENTATION PERSPECTIVE
MODEL
PRESENTATION PRESENTATION MODEL
WORKSHOP
WORKSHOP WORKSHOP
สัมนาเชิงประฏิบัติการณ์ อีสานล้านนาครั้งที่ 9 ในหัวข้อ Universal Design: Waterfront ที่จังหวัดกาฬสินธ์ุ
โครงการพัฒนาชุมชนแออัดในเขตตัวเมืองขอนแก่นแบบบูรณาการณ์