System & Technical for office design

Page 1

งานระบบ เทคนิคประกอบอาคาร และกฎหมายที่เกี่ยวข้ องกับอาคารสานักงาน

นางสาว ณัฐพร บรรเลงศิลป์ นางสาว ณิชา เกษศิริ นางสาว ดวงใจ แจ้ งสนิท นางสาวทิพย์สคุ นธ์ อยู่คง นายธนเชษฐ์ ศุขะทัต

จัดทาโดย 04530011 04530012 04530013 04530014 04530015

รายวิชา TECHNOLOGICAL SYSTEM IN INTERIOR DESIGN II (361201) ภาควิชาออกแบบตกแต่งภายใน คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร


งานระบบ งานระบบไฟฟ้า ระบบไฟฟ้ า หมายถึงลักษณะการส่ งจ่ายกระแสไฟฟ้ าจากแหล่งกานิดไปยังผูใ้ ช้ไฟฟ้ า ตามประเภทการใช้งาน โดย ส่ งจากสถานีไฟฟ้ าผ่านสายไฟฟ้ าแรงสูง สถานีไฟฟ้ าย่อย หม้อแปลงแปลงไฟฟ้ าให้ต่าลง ไปยังบ้านพักอาศัย สานักงาน หรื อโรงงานอุตสาหกรรม

การเดินสายไฟมีอยู่ 2 ประเภท ประเภทแรกคือ การเดินสายไฟบนผนังหรื อที่เรี ยกว่า เดินลอย วิธีน้ ีค่าใช้จ่ายถูกกว่า แต่จะมองเห็นสายไฟบนผนัง ไม่ค่อยเรี ยบร้อย การตกแต่งห้องลาบากกว่า แต่สามารถตรวจ สอบความเสี ยหายได้ง่าย รวมทั้งการเปลี่ยนสายไฟก็ง่าย เพราะมองเห็น ประเภทที่สองคือ การเดินผ่านท่อซึ่งฝังในผนังอาคารหรื อที่เรี ยกว่า เดินร้อยสายผ่านท่อ วิธีน้ ีจะได้งานที่เรี ยบร้อย เพราะมองไม่เห็น จากภายนอก ท่อสายไฟจะฝังอยูใ่ นผนัง ต้อง ทาพร้อมการก่อสร้างอาคาร การตกแต่งห้องจะง่ายกว่าและ มีท่อป้ องกันสายไฟไว้ ค่าใช้จ่ายสูงกว่า แบบแรก การติดตั้งก็ยงุ่ ยากกว่ารวมถึงการตรวจสอบและการเปลี่ยนภายหลังก็ทาได้ ลาบากกว่าแบบแรก

ระบบปรับอากาศ ชนิดของระบบปรับอากาศ มี 4 ประเภทดังนี้ 1. ระบบทํานํา้ เย็นระบายความร้ อนด้ วยนํา้ (Water Cooled Water Chiller) เป็ นระบบที่ใหญ่ที่สุดในบรรดา ระบบทาความเย็นทั้งหมด ซื่ง


อุปกรณ์ที่สิ้นเปลืองกาลังไฟฟ้ ามากที่สุดคือ ตัวเครื่ องทาน้ าเย็น ประกอบด้วย ปั๊มน้ าเย็น ปั๊มน้ าระบายความร้อน หอผึ่งเย็น อุปกรณ์จ่าลมเย็น การทางาน จะแบ่งเป็ น 2 วงจรดังนี้ - วงจรน้ าเย็น เริ่ มจากปั๊มน้ าเย็นขับน้ าเข้าไปรับความเย็นจากคูลเลอร์ที่มีสารทาความเย็นอยู่ เพื่อให้ได้อุณหภูมติ ามที่กาหนด ไว้ จากนั้นก็ทาการขับน้ าเย็นที่ได้อุณหภูมิที่ตอ้ งการแล้วไปยังอุปกรณ์ส่งจ่ายลมเย็น และอุปกรณ์ส่งจ่ายลมเย็นในแต่ละชุด จะมีลิ้นควบคุมปริ มาณน้ า เพื่อกาหนดปริ มาณน้ าตามตัวควบคุมอุณหภูมิที่ส่งสัญญาณ และพออุณหภูมิของน้ าเริ่ มสูงขึ้นก็ จะถูกส่ งไปทาความเย็นที่คูลเลอร์อีกครั้ง - วงจรน้ าระบายความร้อน เริ่ มจากปั๊มน้ าระบายความร้อน ขับน้ าไปรับความร้อนจากคอนเดนเซอร์ และเมื่อนามีอุณหภูมิที่ สูงขึ้นก็จะถูกขับไปที่หอผึ่งเย็น (ระบายความร้อนโดยการใช้อากาศจากสภาพแวดล้อมปกติ) และหลังจากอุณหภูมิน้ าลดลง แล้วน้ าก็จะถูกดูดจากปั๊มน้ าระบายความร้อนเพื่อขับเข้าเดนเซอร์อีกครั้งหนึ่ง

2. ระบบทํานํา้ เย็นระบายความร้ อนด้ วยอากาศ (Air Cooler Water Chiller) เป็ นระบบเล็กกว่าระบบทาน้ าเย็น ระบายความร้อนด้วยน้ าเพราะตัดระบบระบายความร้อนด้วยน้ าออกไป จึงอุปกรณ์ที่สิ้นเปลืองกาลังไฟฟ้ ามากที่สุดเพียง ไม่กี่อนั คือ ตัวเครื่ องทาน้ าเย็น ประกอบด้วย ปั๊มน้ าเย็น อุปกรณ์ส่งจ่ายลมเย็น ระบบนี้จะมีการระบายความร้อน ของขดลวดระบายความร้อนโดยใช้อากาศเป่ าหรื อดูดอากาศผ่าน ซึ่งพัดลมจะมี ํ นในระบบระบายความร้อนด้วยอากาศนี้จึงมีประสิ ทธิภาพต่ากว่า จานวนหลายชุดในแต่ละ Chiller ดังนั้นเครื่ องทาน้าเย็ แบบระบายความร้อนด้วยน้ า เพราะระบบระบายความร้อนด้วยน้ าจะระบายความร้อนได้ดีกว่า อีกทั้งเมื่อพัดลมชารุ ดจะเกิด การลัดวงจรของลมทาให้ประสิ ทธิภาพการระบายความร้อนลดลงด้วย


3. ประเภทเป็ นชุดระบายความร้ อนด้ วยนํา้ (Water Cooled Package) ระบบปรับอากาศแบบนี้จะมี ขนาดเล็กโดยทั้งชุดอยูภ่ ายในบริ เวณปรับอากาศซึ่งจะมีคอมเพรสเซอร์อยูภ่ ายในด้วย แต่จะมีขดท่อระบายความร้อนด้วยน้าํ แยกกันแต่ละชุด ดังนั้นปัญหาของระบบนี้คือการบารุ งรักษาหรื อการทาความสะอาดคอนเดนเซอร์ซ่ึงมีขนาดเล็กและมี ํ ํ จานวนมาก ส่ วนระบบปั๊มน้าระบายความร้ อนและหอผึ่งเย็นจะเหมือนกับระบบระบายความร้อนด้วยน้าแบบอื ่น ในการ ตรวจสอบและบารุ งรักษาคอนเดนเซอร์น้ นั ก็ทาเช่นเดียวกับคอนเดนเซอร์ของระบบใหญ่

4. ประเภทแยกส่ วน (Split Type) เป็ นระบบปรับอากาศที่มีขนาดเล็กที่สุด ส่ วนใหญ่จะใช้กบั ห้องขนาดเล็ก เพราะสะดวกในการใช้งานและการดูแลรักษา ส่ วนประกอบที่ใช้พลังงานแยกออกเป็ น 2 ส่ วนคือ -คอนเดนซิ่งยูนิตหรื อคอยล์ร้อน อยาภายนอกห้อง ประกอบด้วยขดท่อความร้อน พัดลมและคอมเพรสเซอร์ -แฟนคอยล์ยนู ิต หรื อคอยล์เย็น จะอยูภ่ ายในห้อง ประกอบด้วยขดท่อความเย็นและพัดลม โดยทั้งสองส่ วนจะเชื่อมต่อกันด้วยท่อทองแดง วิธีดูแลรักษาที่สาคัญของระบบแอร์แบบนี้ คือต้องทาความสะอาด ชุดขดท่อทั้งร้อนและเย็นและแผ่นกรองอากาศเป็ นประจา อีกทั้งยังต้องตรวจเช็คปริ มาณน้ ายาแอร์นและคอยตรวจเช็คสภาพ ฉนวนหุ ้มท่อ


ระบบประปา น้ าจาเป็ นจะต้องมีการวาง ระบบน้ าประปา มาใช้ในอาคารด้วย ในการนาน้ ามาใช้กบั อาคารบ้านเรื อน ทั้งหลาย จะต้องมีการวางระบบที่ดี เพื่อให้เกิดความสะดวกใน การใช้งานอีกทั้งสะดวกในการบารุ งรักษาอีกด้วย ต้องคานึงถึง การจัด วางตาแหน่ง ท่อต่างๆได้แก่ ระบบท่อน้ าดี ระบบท่อน้ าทิ้ง ระบบท่อน้ าเสี ย และ ระบบท่อระบายอากาศ ให้เหมาะสมกับการ ใช้งาน เพื่อประสิ ทธิภาพ ในการใช้ ตลอดจนอายุการใช้งานที่ยาวนานและเนื่องจากระบบท่อต่าง ๆ จะถูกซ่อนไว้ตามที่ ต่างๆเช่นในผนัง พื้น ฝ้ าเพดาน ฉะนั้น ก่อนการ ดาเนินการก่อสร้างต้องมีการวางแผนให้ดี เพื่อประโยชน์ในการซ่อมบารุ ง ในภายหลัง และนอกจากนี้ ยังมีปัจจัยอื่น ๆ ที่ตอ้ ง คานึงถึงอีกมากมาย ดังเช่น 1) จัดเตรี ยมพื้นที่การเดินท่อทั้งแนวนอน แนวดิ่ง รวมถึงระยะลาดเอียงต่าง ๆ 2) ติดตั้งฉนวนในระบบท่อที่จาเป็ นเช่น ท่อน้ าเย็น เพื่อลดความเสี ยหายจากการรั่วซึม 3) ออกแบบระบบแขวน และรายละเอียดอื่น ๆ ตามมาตรฐานของอุปกรณ์ต่าง ๆ 4) จัดเตรี ยมพื้นที่สาหรับการบารุ งรักษา หลักการจ่ ายนํา้ ภายในอาคารมี 2 ลักษณะคือ 1) ระบบจ่ ายนํา้ ด้ วยความดัน (Pressurized/Upfeed System) เป็ นการจ่ายน้ าโดยอาศัย การอัดแรงดันน้ า ในระบบ ท่อประปาจากถังอัดความดัน (Air Pressure Tank) ระบบที่ ใช้กบั ความสูงไม่จากัด ทั้งยังไม่ตอ้ งมี ถังเก็บน้ า ไว้ดาดฟ้ าอาคาร

1

2

2) ระบบจ่ ายนํา้ โดยแรงโน้ มถ่ วง (Gravity Feed/Downfeed System) เป็ นการสูบน้ าขึ้นไปเก็บไว้บนดาดฟ้ าแล้ว ปล่อยลงมาตามธรรมชาติ ตามท่อต้องเป็ นอาคารที่มีความสูงตั้งแต่ 10 ชั้น ขึ้นไป ถือเป็ น ระบบ ที่ไม่ซบั ซ้อนไม่ตอ้ งใช้ไฟในการจ่าย แต่จะต้องเตรี ยมถังเก็บน้ า ไว้บนดาดฟ้ า จึงต้องคานึงถึง เรื่ อง โครงสร้างในการ รับน้ าหนัก และความสวยงามด้วย ตําแหน่ งทีต่ ้งั ถังเก็บนํา้ ทีใ่ ช้ งานทัว่ ไปมีทตี่ ้งั 2 แบบคือ - ถังเก็บนา้ บนดิน ใช้ ในกรณีที่มีพื ้นที่เพียงพอกับการติดตัง้ อาจติดตังบนพื ้ ้นดิน หรื อบนอาคาร หรื อติดตังบน ้ หอสูง เพื่อใช้ ประโยชน์ ในการใช้ แรงดันน ้า สาหรับแจกจ่ายให้ สว่ นต่างๆของอาคาร การดูแลรักษาสามารถทาได้ ง่ายแต่ อาจดูไม่เรี ยบร้ อยและไม่สวยงามนัก


- ถังเก็บนา้ ใต้ ดนิ ใช้ ในกรณีที่ไม่มีพื ้นที่ในการติดตังเพี ้ ยงพอและต้ องการให้ ดเู รี ยบร้ อยสวยงามการบารุงดูแล รักษาทาได้ ยาก ดังนันการก่ ้ อสร้ าง และการเลือก ชนิดของถังต้ อ งมีความละเอียดรอบคอบ

ระบบสั ญญาณเตือนอัคคีภัย ( Fire Alarm System) อัคคีภยั ก่อให้เกิดความสูญเสี ยทั้งชีวิตและทรัพย์สิน สาเหตุส่วนใหญ่มาจาก ขณะที่เริ่ ม เกิดเพลิงไหม้จะไมมี่คนอยู ห่ รื อเกิดในบริ เวณที่ไม่มีคนเห็น กว่าจะรู้ตวั เพลิงก็ลุกลามจนเกินกา ลังที่คนไม่กี่คนหรื ออุปกรณ์ดบั เพลิงขนาดเล็ก ที่มีอยู่ ภายในอาคารจะทา การสกัดไฟได้ ดังนั้นจึงจา เป็ นต้องมีระบบสัญญาณเตือนอัคคีภยั ติดตั้งไว้ในอาคาร เพื่อให้สามารถรับรู้ เหตุการณ์ล่วงหน้า ก่อนที่ไฟจะลุกลามจนควบคุมไม่ได้ ส่ วนประกอบของระบบสัญญาณเตือนอัคคีภยั มี 5 ส่ วนใหญ่ๆ ซึ่งทา งานเชื่อมโยงกัน 1. ชุดจ่ ายไฟ (Power Supply) ชุดจ่ายไฟ เป็ นอุปกรณ์แปลงกา ลังไฟฟ้ าของแหล่งจ่ายไฟมาเป็ นกา ลังไฟฟ้ า กระแสตรง ที่ใช้ปฎิบตั ิงาน ของระบบและจะต้องมีระบบไฟฟ้ าสารอง เพื่อให้ระบบทา งานได้ในขณะที่ไฟปกติดบั


2. แผงควบคุม (Fire Alarm Control Panel)

เป็ นส่ วนควบคุมและตรวจสอบการทางานของอุปกรณ์และส่ วนต่างๆในระบบทั้งหมด จะประกอบด้วย วงจร ตรวจคุมคอยรับสัญญาณจากอุปกรณ์เริ่ มสัญญาณ, วงจรทดสอบการทา งาน, วงจรป้ องกันระบบ, วงจรสัญญาณแจ้งการทา งานในสภาวะปกติ และภาวะขัดข้อง เช่น สายไฟจากอุปกรณ์ตรวจจับขาด, แบตเตอรี่ ต่า หรื อไฟจ่ายตูแ้ ผงควบคุมโดนตัด ขาด เป็ นต้น ตูแ้ ผงควบคุม(FCP)จะมีสัญญาณไฟและเสี ยงแสดงสภาวะต่างๆบนหน้าตู้ เช่น - Fire Lamp : จะติดเมื่อเกิดเพลิงไหม้ - Main Sound Buzzer : จะมีเสี ยงดังขณะแจ้งเหตุ - Zone Lamp : จะติดค้างแสดงโซนที่เกิดAlarm - Trouble Lamp : แจ้งเหตุขดั ข้องต่างๆ - Control Switch : สา หรับการควบคุม เช่น เปิ ด/ปิ ดเสี ยงที่ตแู้ ละกระดิ่ง,ทดสอบการทา งานตู,้ ทดสอบ Battery,Resetระบบหลังเหตุการณ์เป็ นปกติ จุดกาเนิดของสัญญาณเตือนอัคคีภยั ซึ่งแบ่งออกเป็ น 2 ชนิด คือ


1.1 อุปกรณ์เริ่ มสัญญาณจากบุคคล (Manual Station) ได้แก่ สถานีแจ้งสัญญาณเตือนอัคคีภยั แบบ ใช้มือกด (Manual Push Station)

1.2 อุปกรณ์เริ่ มสัญญาณโดยอัตโนมัติ เป็ นอุปกรณ์อตั โนมัติที่มีปฎิกิริยาไวต่อสภาวะ ตามระยะต่างๆ ของการเกิดเพลิงไหม้

ได้แก่ อุปกรณ์ตรวจจับควัน(Smoke Detector) อุปกรณ์ตรวจจับความร้อน(Heat Detector) อุปกรณ์ตรวจจับเปลวไฟ (Flame Detector) อุปกรณ์ตรวจจับแก๊ส (Gas Detector) 4. อุปกรณ์แจ้ งสัญญาณด้ วยเสียงและแสง (Audible & Visual Signalling Alarm Devices) หลังจากอุปกรณ์เริ่ มสัญญาณทา งานโดยส่ งสัญญาณมายังตูค้ วบคุม(FCP) แล้ว FCPจึงส่ งสัญญาณ ออกมาโดยผ่านอุปกรณ์ ได้แก่ กระดิ่ง, ไซเรน, ไฟสัญญาณ เป็ นต้นเพื่อให้ผอู้ ยูอ่ าศัย, ผูร้ ับผิดชอบหรื อเจ้าหน้า ที่ดบั เพลิงได้ทราบว่ามีเหตุเพลิงไหม้ เกิดขึ้น

5. อุปกรณ์ประกอบ (Auxiliary Devices) เป็ นอุปกรณ์ที่ทา งานเชื่อมโยงกับระบบอื่นที่เกี่ยวข้องกับการควบคุมป้ องกัน และดับเพลิงโดยจะถ่าย ทอดสัญญาณระหว่าง ระบบเตือนอัคคีภยั กับระบบอื่น เช่น 5.1 ส่ งสัญญาณกระตุน้ การทา งานของระบบบังคับลิฟท์ลงชั้นล่าง, การปิ ดพัดลมในระบบปรับอากาศ, เปิ ดพัดลม ในระบบระบายอากาศ, เปลี่ยนแปลงเพื่อควบคุมควันไฟ,การควบคุมเปิ ดประตูทางออก, เปิ ดประตูหนีไฟ, ปิ ดประตูกนั ควันไฟ, ควบคุมระบบกระจายเสี ยง และการประกาศแจ้งข่าว, เปิ ดระบบดับเพลิง เป็ นต้น


5.2 รับสัญญาณของระบบอื่นมากระตุน้ การทา งานของระบบสัญญาณเตือนอัคคีภยั เช่น จากระบบพ่น น้ าปั๊ม ดับเพลิง ระบบดับเพลิงด้วยสารเคมีชนิดอัตโนมัติ เป็ นต้น การออกแบบระบบสั ญญาณเตือนอัคคีภัย ปัจจัยที่ตอ้ งพิจารณาในการออกแบบ 1. ความสู งของเพดาน : มีผลกับจา นวนอุปกรณ์ตรวจจับที่ตอ้ งใช้ต่อพื้นที่ ความร้อนหรื อควันที่ลอย ขึ้นมาถึง อุปกรณ์ตรวจจับที่ติดตั้งบนเพดานสูง จะต้องมีปริ มาณความร้อน หรื อควันที่มากกว่าเพดานต่า เพื่อให้อุปกรณ์ตรวจจับทา งานในเวลาที่เท่ากัน จึงต้องลดระยะห่ างระหว่างตัวตรวจจับ เพื่อ ให้ระบบเสริ มกา ลังตรวจจับให้ละเอียดถี่ข้ ึน เราจะพิจารณากา หนดระยะจัดวางตัวตรวจจับที่ติดบนเพดานโดยอ้างอิงจาก ตารางต่อไปนี้ ชนิดตัวตรวจจับ พื้นที่การตรวจจับ (ตารางเมตร) ระยะห่ างระหว่างอุปกรณ์ (เมตร) ตัวจับควัน(smoke detector) 150 9 ตัวจับควัน(smoke detector) 75 4.5 ตัวจับความร้อน(heat detector) 70 6 ตัวจับความร้อน(heat detector) 35 3

ความสูงเพดาน (เมตร 0.4 4.0 0.4 4.9

2. สภาพแวดล้อม : อุณหภูมิ,ไอน้ า,ลม,ฝุ่ น,สิ่ งบดบัง,ประเภทวัสดุที่อยูบ่ ริ เวณนั้น ฯลฯ จะมีผลกับการ เลือกชนิด ของอุปกรณ์ตรวจจับและตา แหน่งการติดตั้ง เช่น ตัวจับควันจะไม่เหมาะกับบริ เวณที่มีฝนุ่ , ไอน้ าและลม Rate of Rise Heat Detector ไม่เหมาะที่จะติดไว้ในห้องBoiler ถ้าเป็ นสารติดที่ติด ไฟแต่ไม่มีควันก็จา เป็ นต้องใช้ Flame Detector ดังนั้นเราจะต้องมีพ้นื ฐานเข้าใจหลักการทา งานของ ตัวตรวจจับแต่ละ ชนิด 3. ระดับความสํา คัญและความเสี่ยง : เราควรเลือกใช้อุปกรณ์ที่ตรวจจับได้ไวที่สุด เพื่อรับรู้เหตุการณ์ ทันทีก่อนที่ จะลุกลามใหญ่โต ในบางสถานที่อาจมีปัจจัยเสี่ ยงต่า เช่น เป็ นพื้นที่ที่อยูใ่ นระยะของ สายตาของเจ้าหน้าที่ประจา ตลอดเวลา บริ เวณที่ไม่มีวตั ถุติดไฟหรื อติดไฟยาก สาหรับบริ เวณที่อาจ เสี่ ยงต่อการสูญเสี ยชีวิตเราจะต้องใช้อุปกรณ์ที่แจ้งเหตุได้เร็ ว ที่สุดไว้ก่อนได้แก่ ตัวจับควัน 4 . เงินงบประมาณทีต่ ้งั ไว้ : งบลงทุนเป็ นข้อจา กัดทา ให้ไม่สามารถเลือกอุปกรณ์ตรวจจับ ชนิดที่ดีที่สุด ติดตั้งไว้ ทุกจุดในอาคารเพราะราคาสูง จา ต้องยอมเลือกชนิดที่มีราคาถูกไปแพงดังนี้ 1. Fix Temperature Heat Detector - -> 2. Rate of Rise Heat Detector - -> 3. Combination Heat Detector - - > 4. Photo Electric Smoke Detector - -> 5. Ionization Smoke Detector - -> 6. Flame Detector - ->7. Beam Smoke Detector การที่สามารถค้นหาจุดเกิดเหตุได้เร็ วเท่าไร นัน่ หมายถึงความสามารถในการระงับเหตุก็จะมากขึ้นด้วย ดังนั้น การจัดโซนจึงเป็ นความสา คัญในการออกแบบระบบ Fire Alarm กรณีเกิดเหตุเริ่ มต้นจะทา ให้กระดิ่งดัง เฉพาะ โซนนั้นๆ ถ้าคุมสถานะการณ์ไม่ได้จึงจะสั่งให้กระดิ่งโซนอื่นๆดังตาม แนวทางการแบ่งโซนมีดงั นี้ 1. ต้องจัดโซน อย่างน้อย 1 โซนต่อ 1 ชั้น 2. แบ่งตามความเกี่ยวข้องของพื้นที่ ที่เป็ นที่เข้าใจสา หรับคนในอาคารนั้น เช่น โซน Office, โซน Workshop 3. ถ้าเป็ นพื้นที่ราบบริ เวณกว้าง จะแบ่งประมาณ 600 ตารางเมตร ต่อ 1 โซน เพื่อสามารถมองเห็น หรื อค้นพบจุด เกิดเหตุโดยเร็ว


4. คนที่อยูใ่ นโซนใดๆ ต้องสามารถได้ยนิ เสี ยงกระดิ่ง Alarm ในโซนนั้นได้ชดั เจน การออกแบบติดตั้ง Manual Station ระบบ Fire Alarm จะต้องมีสวิทซ์กดฉุ กเฉิ น(Manual Station)ด้วยอย่างน้อยโซนละ 1 ชุด สา หรับกรณี ที่คน พบเหตุการณ์ก่อนที่ Detector จะทา งานหรื อไม่มี Detector ติดตั้งไว้ในบริ เวณนั้น Manual Station จะต้องมีลกั ษณะดังนี้ 1. เป็ นการง่ายต่อการสังเกต โดยใช้สีแดงเข้ม ดูเด่นหรื อมีหลอดไฟ(Location Light) ติดแสดงตาแหน่งในที่มืด หรื อยามค่าคืน 2. ตา แหน่งที่ติดตั้ง ต้องอยูบ่ ริ เวณทางออก ทางหนีไฟ ที่สามารถมองเห็นได้ชดั เจน 3. ระดับติดตั้งง่ายกับการกดแจ้งเหตุ (สูงจากพื้น 1.1-1.5 เมตร) 4. กรณีระบบมากกว่า 5 โซน ควรมีแจ็คโทรศัพท์เพื่อใช้ติดต่อระหว่างเจ้าหน้าที่บริ เวณที่เกิดเหตุกบั ห้องควบคุม ของอาคาร เพื่อรายงานสถานะการณ์และสั่งให้เปิ ดสวิทซ์ General Alarm ให้กระดิ่งดังทุกโซน การกาหนดตา แหน่งอุปกรณ์แจ้งสัญญาณอุปกรณ์แจ้งสัญญาณมีหลายชนิด ได้แก่ กระดิ่ง ไซเรน ไฟสัญญาณ กระพริ บ โดยทัว่ ไปเราจะนิยมติด ตั้งกระดิ่งไว้บริ เวณใกล้เคียงหรื อที่เดียวกับ Manual Station ในระดับหูหรื อเหนือ ศีรษะ เราจะมีกระดิ่งอย่าง น้อย 1 ตัว ต่อโซนหรื อเพียงพอ เพื่อให้คนที่อยูเ่ ขตพื้นที่โซนนั้นได้ยนิ เสี ยงชัดเจนทุกคน (รัศมี ความดังระดับที่พอเพียงของกระดิ่งขนาด 6 นิ้วจะไม่เกิน 25 เมตร) ส่ วนไซเรนเราจะติดตั้งไวใต้ชายคาด้านนอก เพื่อแจ้ง เหตุ ใหบุค้ คลที่อยูนอกอาคารได้รับทราบว่ามีเหตุผดิ ปกติ โดยเราจะกาหนดให้ไซเรนดังทันทีทุกครั้งที่เกิดเหตุก่อน จากนั้น จึงจะรอการตัดสิ นใจว่าจะให้โซนอื่นๆดังตามหรื อไม่ตา แหน่งการติ ดตั้งตูค้ วบคุม (Fire Alarm Control Panal) เราจะ ติดตั้งตูค้ วบคุม (FCP) ไว้บริ เวณที่มีเจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัย หรื อช่างควบคุมระบบอาคาร หรื อห้องเจ้าหน้าที่รักษา ความปลอดภัย

ระบบรักษาความปลอดภัยCCTV ระบบโทรทัศน์ วงจรปิ ด ระบบ CCTV จะมีอุปกรณ์เป็ น กล้องโทรทัศน์ ซึ่งตั้งไว้ตามจุดต่างๆ โดยเฉพาะส่ วนที่ ล่อแหลมต่อ การถูกบุกรุ ก หรื อส่ วนที่อาจ เกิด อุบตั ิเหตุได้ง่าย เช่น ประตู ทางเข้า , รั้วบ้าน และตามทางเดินต่าง ๆ เมื่อ กล้องส่ งสัญญาณ จะมา แสดงผลที่ เครื่ องรับ โทรทัศน์ ซึ่งอาจเป็ นส่ วนที่เป็ น จุดรักษาการณ์หลัก ในบ้าน ระบบการแสดงผล มีหลายรู ปแบบเช่น กล้องแต่ละตัว จะมี เครื่ องรับโทรทัศน์ แสดงตามจานวนกล้อง หรื อมีกล้องหลายตัวแต่มีเรื่ องรับเครื่ องเดียวโดย การตั้งเวลา แสดงผลสลับหมุนเวียนกันไป วิธีน้ ีจะทาให้ ยามรักษาการณ์ ไม่ตอ้ งใช้จานวนมาก บางครั้งอาจ ตั้งระบบให้สามารถ บันทึก เหตุการณ์ ทั้งหมด ลงบนม้วน วีดีโอ เทป ได้เพื่อการใช้ เห็นหลักฐานในการจับกุม หรื อหาตัวคนร้ายในภายหลัง


ประตูอตั โนมัติ ในกรณีที่เราต้องการ ความสะดวกสบาย หรื อเป็ น การรักษาความปลอดภัย ด้วย อาจใช้ประตูใน ระบบอัตโนมัติ ในการใช้งานได้ โดยเฉพาะส่ วนที่ผา่ นเข้าออกในจุดสาคัญ มีคนเข้าออกมาก ต้องการ ความสะดวกสบาย หรื อ ต้องการ ความปลอดภัย ประตูอตั โนมัติ ที่นิยมใช้มีหลายรู ปแบบสามารถสรุ ปได้ดงั นี้ ร ะบบรีโมทคอนโทรล - ประตูทางเข้าหน้าบ้าน อาจใช้เป็ น ระบบรี โมทคอนโทรล ในการปิ ด-เปิ ด ในกรณีที่ไม่ตอ้ งการลงจากรถ ไปเปิ ด หรื อปิ ดประตู หรื อไม่ตอ้ งออกมานอกบ้าน เพื่อเปิ ดประตูรับแขก บานเลือ่ นอัตโนมัติ - ประตูทางเข้าหลักที่มีคนเข้าออกมากอาจเป็ น บานเลื่อนอัตโนมัติ โดยใช้ เซ็นเซอร์ แสงอินฟราเรด ซึ่งจะทางาน เมื่อมีคนจะผ่าน เข้าออก นิยมใช้กบั อาคารสาธารณะ เช่น ธนาคารห้างสรรพสิ นค้า เป็ นต้น สวิทช์ปิด-เปิ ดในห้อง - ประตูห้องบุคคลสาคัญ มีสวิทช์ปิด-เปิ ดจากในห้อง ซึ่งจะเปิ ดให้เข้าได้เมื่อคนในห้องกดสวิทช์อนุญาตเท่านั้น คียก์ าร์ด - ประตูที่ตอ้ งใช้ คียก์ าร์ด หรื อต้องป้ อนรหัสผ่านเข้าออก เช่นประตูห้องโรงแรม ,ประตูทางเข้าคอนโดมิเนียม ,อพาร์ทเมนท์ หรื อประตูทางเข้าห้อง นิรภัยต่างๆ

ระบบเครื่องสแกนลายนิว้ Fingerprint System

ระบบเครื่ องสแกนลายนิ้วมือ คือ ระบบที่ตอ้ งใช้ ลายนิ้วมือ ของ บุคคลที่ได้รับการอนุญาต หรื อ บุคคลที่ได้ทาการ โปรแกรมบันทึก ลายนิ้วมือ ลงไว้ใน ตัวเครื่ องสแกนลายนิ้วมือ ที่ใช้ควบคุมระบบการทางานต่างๆแล้ว ซึ่งหากบุคคลใด ไม่ได้มี การบันทึก ลายนิ้วมือ ลงไว้ใน ตัวเครื่ อง สแกนลายนิ้วมือ ก็จะไม่สามารถเข้าใช้งานระบบที่ตอ้ งมีการสแกน ลายนิ้วมือนี้ได้ ส่ วนระบบที่นาการสแกนลายนิ้วมือ เข้ามาใช้งานใน การควบคุม เช่นการใช้เครื่ องสแกนลายนิ้วมือ มาทา เป็ น เครื่ องลงเวลาการทางาน ของพนักงาน ในองค์กร เพราะ ระบบจะทาการระบุตัวบุคคล ได้ดีกว่า และแน่นอนกว่าระบบ อื่นๆ เพื่อป้ องกันการลงเวลาทางานแทนกัน ของพนักงาน การใช้เครื่ องสแกนลายนิ้วมือ มาทาเป็ น ระบบควบคุมการเข้าออก ของประตูสถานที่ต่างๆ ที่ไม่ตอ้ งการให้บุคคลอื่นใด ที่ไม่ได้รับอนุญาตผ่านเข้า -ออก ทางประตูน้ นั ๆ อาทิเช่น ประตู หน้าทางเข้า-ออกของสถานที่ , ประตูห้องบัญชีและการเงิน , ประตูห้องเก็บสิ นค้า , ประตูห้องควบคุมระบบต่างๆ , ประตูตู้ เซฟต่างๆ เป็ นต้น


งานระบบสื่อสาร ระบบโทรศัพท์ แบ่งเป็ นระบบภายนอกและภายใน ระบบโทรศัพท์ภายนอก คือ ระบบที่ใช้เบอร์ โทรศัพท์ ที่ติดต่อกับ เบอร์โทรที่มีตวั เลข 9 หลักทั้งในกรุ งเทพ ปริ มณฑลและส่ วนภูมิภาค รวมทั้งระบบโทรศัพท์ เคลื่อนที่ต่าง ๆ หรื อแม้แต่เบอร์โทรศัพท์การให้บริ การต่าง ๆ เช่นการสัง่ อาหาร. โทรสอบถามเส้นทาง, โทรสอบถาม รายละเอียด อื่น ๆ การใช้โทรศัพท์ ในรู ปแบบนี้ จะต้องทาเรื่ องขอใช้บริ การ จาก องค์การโทรศัพท์ และบริ ษทั เอกชนที่รับ สัมปทานจากรัฐบาล ระบบโทรศัพท์ภายใน คือ ระบบที่ใช้ติดต่อกันเองภายในบ้าน, อาคาร หรื อภายในหน่วยงานระบบนี้ไม่เสี ย ค่าบริ การให้กบั ผูใ้ ห้ บริ การ แต่ตอ้ งเสี ยค่าใช้จ่าย อุปกรณ์ตามปกติแล้ว ระบบโทรศัพท์ภายใน และภายนอกสามารถ เชื่อมต่อกันได้ สามารถโอนสาย หรื อพ่วงสาย ให้โทรศัพท์ได้หลายเครื่ องตามต้องการ เราสามารถมีเครื่ องอานวยความ สะดวก ในการสื่อสารภายในบ้านได้ เช่น ระบบเสี ยง ตามสาย โดยการ เดินระบบ เครื่ องเสี ยงได้แก่ ไมโครโฟน และลาโพง กระจายเสี ยงไปในส่ วนที่ตอ้ งการระบบเสี ยงตามสาย อาจไม่ตอ้ งมี ไมโครโฟน สื่ อสารก็ได้ แต่อาจเป็ นระบบเสี ยงเรี ยกแบบ ดนตรี หรื อเสี ยงกริ่ งได้ อินเตอร์ เน็ตความเร็วสู ง (Boardband) อินเตอร์เน็ตเป็ นระบบการสื่ อสาร ที่ทนั สมัยและใช้ประโยชน์ได้หลากหลายที่สุด ในปัจจุบนั ส่ วนประกอบที่ สาคัญ ในการใช้ ระบบ อินเตอร์เน็ตคือ 1. เครื่ องคอมพิวเตอร์ 2. ระบบโทรศัพท์ 3. โมเด็ม และโปรแกรมใช้งานอินเตอร์ เน็ต 4. สิ ทธิ ในการใช้อินเตอร์ เน็ต หรื อชัว่ โมงการใช้อินเตอร์ เน็ตจากผูใ้ ห้บริ การ หรื อ ISP ในปัจจุบนั มีการพัฒนาสายอินเตอร์เน็ต ความเร็ วสูงจากสายโทรศัพท์ธรรมดาเป็ นสายเคเบิลใยแก้ว มีผลให้การค้นหาข้อมูล และการใช้งานมีความเร็ ว เพิ่มขึ้นมาก

ระบบโครงสร้ างอาคาร ระบบโครงสร้ างแบบเสาและคาน เสาคานคอนกรี ตหรื อ ค ส ล. นั้นประกอบด้วย "คอนกรี ต" ซึ่งทาหน้าที่รับแรงอัด และมี "เหล็กเส้น" อยูภ่ ายในทา หน้าที่รับแรงดึง ปกติในแบบก่อสร้างนั้นจะมีการระบุรายละเอียดของเสาและคานในทุกจุด มีการระบุขนาดของเหล็กเส้น ที่ใช้ในเสาและคาน คอนกรี ตเสริ มเหล็ก ส่ วนอาคาร บ้านเรื อนทัว่ ไปนั้นมักจะใช้เสา และคานที่ทาด้วยคอนกรี ต เสริ ม เหล็ก เสา - โครงของเสา และคานนี้ตอ้ งมีความมัน่ คง และแข็งแรง เพราะนอกจากจะต้องรับน้ าหนักของ ของตัวบ้านที่เหลืออีก ทั้งหมด ไม่ว่าจะเป็ นพื้น ผนังหรื อหลังคา บ้าน อาคารที่ช่วย รับแรงทางแนวตั้ง ก่อนที่ถ่าย ต่อไปยังฐานราก


คานและพืน้ - คานเป็ นส่ วนประกอบทางแนวนอนของโครงสร้างแบบเฟรมซึ่ งเป็ นรู ปแบบโครงสร้างที่ใช้เป็ นหลักสาหรับอาคารสู ง ในยุคปัจจุบนั - ระดับความสาคัญของคานอาจจะแบ่งได้เป็ น Girder, Beam และ Joist - คานเหล็กในอาคารสู งที่ใช้ทวั่ ไป มีคานเหล็กรู ปตัว I Vierendeel Truss และโครง Truss ธรรมดา - บางอาคารอาจจะใช้คานโครงทรัสขนาดใหญ่รับพื้นเพื่อลดจานวนเสาหรื อสร้างพื้นที่โล่งในอาคารให้มากที่สุด - คานคอนกรี ตแบบหล่อกับที่ (Cast in Place) จะหล่อเป็ นชิ้นเดียวกันกับพื้น - ระบบพื้นและคานอาจะแยกได้เป็ น แบบทางเดียว (One Way Systems), แบบสองทาง(Two Way System) หรื อแบบหลายทาง (Multi Way System) ลักษณะของสถาปัตยกรรมทีเ่ หมาะสม โครงสร้างของเสา และคานโดยทัว่ ไปมีท้งั ที่ทาด้วยเหล็ก และคอนกรี ตเสริ มเหล็ก โดยโครงสร้างทีท่ าด้วยเหล็ก มักจะใช้ในงาน โครงสร้างด้านอุตสาหกรรมหรื ออาคารขนาดใหญ่มากกว่า ส่ วนอาคารบ้านเรื อนทัว่ ไปนั้นมักจะใช้เสา และ คานที่ทาด้วยคอนกรี ตเสริ ม เหล็ก กรรมวิธีที่ปฏิบตั ิกนั โดยส่ วนใหญ่ก็คือการผูกเหล็กเส้นเป็ นโครงเชื่อมต่อกันตั้งแต่ โครงสร้างของฐานราก เสา และคานจากนั้นก็จะ ทาไม้แบบ และหล่อคอนกรี ตเชื่อมต่อ เสา และคานต่างๆให้เป็ นโครงสร้าง ที่ต่อเนื่องกัน ข้ อพิจารณาในการออกแบบ พิจารณาระบบเสาและคาน เสาควรมี ความกว่างประมาน 4 เมตรจะทาให้ประหยัดเงินได้มากที่ สุด และควร วางเสาไว้ในตาแหน่งที่เหมาะด้วย ถ้าต้องการเพิ่งความห่ างระหว่าเสา ก็ จะต้องมีการเสริ มเหล็กเข้าไปด้วย แต่จะทาให้คาน มีขนาดใหญ่ข้ ึนตามไปด้วยและมีความแพงมากขึ้น ดังนั้นผูอ้ อกแบบควรคานึงให้ดีเพื่อจากัดค่าใช้จ่ายได้

กฎหมายที่มีผลต่ อการออกแบบตกแต่ งภายในอาคารสํ านักงาน “สํ านักงาน” หมายความว่า อาคารหรื อส่ วนหนึ่ งส่ วนใดของอาคารที่ใช้เป็ นสานักงานหรื อที่ทาการ “คลังสิ นค้า”

หมายความว่า อาคารหรื อส่วนหนึ่งส่ วนใดของอาคารที่ใช้เป็ นที่สาหรับเก็บสิ นค้าหรื อสิ่ งของเพื่อประโยชน์ทางการค้าหรื อ อุตสาหกรรม หมวดที่ 1 ลักษณะของอาคาร ข้อ 2 ห้องแถวหรื อตึกแถวแต่ละคูหา ต้องมีความกว้างโดยวัดระยะตั้งฉากจากแนวศูนย์กลางของเสาด้านหนึ่งไป ยังแนวศูนย์กลางของเสาอีกด้านหนึ่งไม่นอ้ ยกว่า 4 เมตร มีความลึกของอาคารโดยวัดระยะตั้งฉากกับแนวผนังด้านหน้าชั้น ล่างไม่นอ้ ยกว่า 4 เมตร และไม่เกิน 24 เมตร มีพ้นื ที่ช้ นั ล่างแต่ละคูหาไม่นอ้ ยกว่า 30 ตารางเมตร และต้องมีประตูให้คนเข้า ออกได้ท้งั ด้านหน้าและด้านหลัง ในกรณีที่ความลึกของอาคารเกิน 16 เมตร ต้องจัดให้มีที่ว่างอันปราศจากสิ่ งปกคลุมขึ้นบริ เวณหนึ่งที่ระยะระหว่าง 12 เมตรถึง 16 เมตร โดยให้มีเนื้อที่ไม่นอ้ ยกว่า 10 ใน 100 ของพื้นที่ช้ นั ล่างของอาคารนั้น


ห้องแถวหรื อตึกแถวที่สร้างอยูร่ ิ มถนนสาธารณะต้องให้ระดับพื้นชั้นล่างของห้องแถวหรื อตึกแถวมีความสูง 10 เซนติเมตรจากระดับทางเท้าหน้าอาคาร หรื อมีความสูง 25 เซนติเมตรจากระดับกึ่งกลางถนนสาธารณะหน้าอาคาร แล้วแต่ กรณี ข้อ 4 ห้องแถว ตึกแถว หรื อบ้านแถวจะสร้างต่อเนื่องกันได้ไม่เกินสิ บคูหา และมีความยาวของอาคารแถวหนึ่ง ๆ รวมกันไม่เกิน 40 เมตร โดยวัดระหว่างจุดศูนย์กลางของเสาแรกถึงจุดศูนย์กลางของเสาสุ ดท้าย ไม่ว่าจะเป็ นเจ้าของเดียวกัน และใช้โครงสร้างเดียวกันหรื อแยกกันก็ตาม ข้อ 7 ป้ ายหรื อสิ่ งที่สร้างขึ้นสาหรับติดหรื อตั้งป้ ายที่อาคารต้องไม่บงั ช่องระบายอากาศ หน้าต่าง ประตู หรื อทาง หนีไฟ ข้อ 8 ป้ ายหรื อสิ่ งที่สร้างขึ้นสาหรับติดหรื อตั้งป้ ายบนหลังคาหรื อดาดฟ้ าของอาคารต้องไม่ล้ าออกนอกแนวผนัง รอบนอกของอาคาร และส่วนบนสุ ดของป้ ายหรื อสิ่ งที่สร้างขึ้นสาหรับติดหรื อตั้งป้ ายต้องสูงไม่เกิน 6 เมตรจากส่ วนสูงสุ ด ของหลังคาหรื อดาดฟ้ าของอาคารที่ติดตั้งป้ ายนั้น ข้อ 9 ป้ ายที่ยนื่ จากผนังอาคารให้ยนื่ ได้ไม่เกินแนวกันสาด และให้สูงได้ไม่เกิน 60 เซนติเมตร หรื อมีพ้นื ที่ป้ายไม่ เกิน 2 ตารางเมตร ข้อ 10 ป้ ายที่ติดตั้งเหนือกันสาดและไม่ได้ยนื่ จากผนังอาคาร ให้ติดตั้งได้โดยมีความสูงของป้ ายไม่เกิน 60 เซนติเมตรวัดจากขอบบนของปลายกันสาดนั้น หรื อมีพ้นื ที่ป้ายไม่เกิน 2 ตารางเมตร ข้อ 11 ป้ ายที่ติดตั้งใต้กนั สาดให้ติดตั้งแนบผนังอาคาร และต้องสูงจากพื้นทางเท้านั้นไม่นอ้ ยกว่า 2.50 เมตร ข้อ 12 ป้ ายโฆษณาสาหรับโรงมหรสพให้ติดตั้งขนานกับผนังอาคารโรงมหรสพ แต่จะยืน่ ห่ างจากผนังได้ไม่เกิน 50เซนติเมตร หรื อหากติดตั้งป้ ายบนกันสาด จะต้องไม่ยนื่ ล้ าแนวปลายกันสาดนั้น และความสูงของป้ ายทั้งสองกรณีตอ้ งไม่ เกินความสูงของอาคาร ข้อ 13 ป้ ายที่ติดตั้งอยูบ่ นพื้นดินโดยตรง ต้องมีความสูงไม่เกินระยะที่วดั จากจุดที่ติดตั้งป้ ายไปจนถึงกึ่งกลางถนน สาธารณะที่อยูใ่ กล้ป้ายนั้นที่สุด และมีความยาวของป้ ายไม่เกิน 32 เมตร หมวด 2 ส่ วนต่าง ๆ ของอาคาร ส่ วนที่ 1 วัสดุของอาคาร ข้อ 14 สิ่ งที่สร้างขึ้นสาหรับติดหรื อตั้งป้ ายที่ติดตั้งบนพื้นดินโดยตรงให้ทาด้วยวัสดุทนไฟทั้งหมด ข้อ 15 เสา คาน พื้น บันได และผนังของอาคารที่สูงตั้งแต่สามชั้นขึ้นไป โรงมหรสพ หอประชุม โรงงาน โรงแรม โรงพยาบาล หอสมุด ห้างสรรพสิ นค้า อาคารขนาดใหญ่ สถานบริ การตามกฎหมายว่าด้วยสถานบริ การ ท่าอากาศ ยาน หรื ออุโมงค์ ต้องทาด้วยวัสดุถาวรที่เป็ นวัสดุทนไฟด้วย ข้อ 16 ผนังของตึกแถวหรื อบ้านแถว ต้องทาด้วยวัสดุถาวรที่เป็ นวัสดุทนไฟด้วย แต่ถา้ ก่อด้วยอิฐธรรมดาหรื อ คอนกรี ตไม่เสริ มเหล็ก ผนังนี้ตอ้ งหนาไม่นอ้ ยกว่า 8 เซนติเมตร ข้อ 17 ห้องแถว ตึกแถว หรื อบ้านแถวที่สร้างติดต่อกัน ให้ มีผนังกันไฟทุกระยะไม่เกินห้าคูหา ผนังกันไฟต้อง สร้างต่อเนื่องจากพื้นดินจนถึงระดับดาดฟ้ าที่สร้างด้วยวัสดุถาวรที่เป็ นวัสดุทนไฟ กรณีที่เป็ นหลังคาสร้างด้วยวัสดุไม่ทนไฟ ให้มีผนังกันไฟสูงเหนือหลังคาไม่นอ้ ยกว่า 30 เซนติเมตร ตามความลาดของหลังคา ข้อ 18 ครัวในอาคารต้องมีพ้นื และผนังที่ทาด้วยวัสดุถาวรที่เป็ นวัสดุทนไฟ ส่ วนฝาและเพดานนั้น หากไม่ได้ทาด้วยวัสดุ ถาวรที่เป็ นวัสดุทนไฟ ก็ให้บุดว้ ยวัสดุทนไฟ


ส่ วนที่ 2 พืน้ ทีภ่ ายในอาคาร ข้อ 19 อาคารอยูอ่ าศัยรวมต้องมีพ้นื ที่ภายในแต่ละหน่วยที่ใช้เพื่อการอยูอ่ าศัยไม่นอ้ ยกว่า 20 ตารางเมตร ข้อ 21 ช่องทางเดินในอาคาร ต้องมีความกว้างไม่นอ้ ยกว่าตามที่กาหนดไว้ดงั ต่อไปนี้ ประเภทอาคาร ความกว้าง 1. อาคารอยูอ่ าศัย 1.00 เมตร 2. อาคารอยูอ่ าศัยรวม หอพักตามกฎหมายว่าด้วยหอพัก สานักงาน อาคารสาธารณะ อาคารพาณิชย์ โรงงาน อาคารพิเศษ 1.50 เมตร ข้อ 22 ห้องหรื อส่ วนของอาคารที่ใช้ในการทากิจกรรมต่าง ๆ ต้องมีระยะดิ่งไม่นอ้ ยกว่าตามที่กาหนดไว้ดงั ต่อไปนี้ ประเภทการใช้อาคาร ระยะดิ่ง 1. ห้องที่ใช้เป็ นที่พกั อาศัย บ้านแถว ห้องพักโรงแรม ห้องเรี ยนนักเรี ยนอนุบาล ครัวสาหรับอาคารอยูอ่ าศัย ห้องพักคนไข้ พิเศษ ช่องทางเดินในอาคาร 2.60 เมตร 2. ห้องที่ใช้เป็ นสานักงาน ห้องเรี ยน ห้องอาหาร ห้องโถงภัตตาคาร โรงงาน 3.00 เมตร 3. ห้องขายสิ นค้า ห้องประชุม ห้องคนไข้รวม คลังสิ นค้า โรงครัว ตลาด และอื่น ๆ ที่คล้ายกัน 3.50 เมตร 4. ห้องแถว ตึกแถว| 4.1 ชั้นล่าง 3.50 เมตร 4.2 ตั้งแต่ช้ นั สองขึ้นไป3.00 เมตร 5. ระเบียง 2.20 เมตร ระยะดิ่งตามวรรคหนึ่งให้วดั จากพื้นถึงพื้น ในกรณีของชั้นใต้หลังคาให้วดั จากพื้นถึงยอดฝาหรื อยอดผนังอาคาร และ ในกรณีของห้องหรื อส่ วนของอาคารที่อยูภ่ ายในโครงสร้างของหลังคา ให้วดั จากพื้นถึงยอดฝาหรื อยอดผนังของห้อง หรื อส่ วน ของอาคารดังกล่าวที่ไม่ใช่โครงสร้างของหลังคา ห้องในอาคารซึ่งมีระยะดิ่งระหว่างพื้นถึงพื้นอีกชั้นหนึ่งตั้งแต่ 5 เมตรขึ้นไป จะทาพื้นชั้นลอยในห้องนั้นก็ได้ โดย พื้นชั้นลอยดังกล่าวนั้นต้องมีเนื้อที่ไม่เกินร้อยละสี่ สิบของเนื้อที่ห้อง ระยะดิ่งระหว่างพื้นชั้นลอยถึงพื้นอีกชั้นหนึ่งต้องไม่ น้อยกว่า2.40 เมตร และระยะดิ่งระหว่างพื้นห้องถึงพื้นชั้นลอยต้องไม่นอ้ ยกว่า 2.40 เมตร ด้วย ห้องน้ า ห้องส้วม ต้องมีระยะดิ่งระหว่างพื้นถึงเพดานไม่นอ้ ยกว่า 2 เมตร ส่ วนที่ 3บันไดของอาคาร ข้อ 23 บันไดของอาคารอยูอ่ าศัยถ้ามีตอ้ งมีอย่างน้อยหนึ่งบันไดที่มีความกว้างสุ ทธิไม่นอ้ ยกว่า 80 เซนติเมตร ช่วงหนึ่งสูงไม่เกิน 3 เมตร ลกตั้งสูงไม่เกิน 20 เซนติเมตร ลูกนอนเมื่อหักส่ วนที่ข้ นั บันไดเหลื่อมกันออกแล้วเหลือความ กว้างไม่นอ้ ยกว่า 22 เซนติเมตร และต้องมีพ้นื หน้าบันไดมีความกว้างและยาวไม่นอ้ ยกว่าความกว้างของบันได บันไดที่สูงเกิน 3 เมตร ต้องมีชานพักบันไดทุกช่วง 3 เมตร หรื อน้อยกว่านั้น และชานพักบันไดต้องมีความกว้าง และยาวไม่นอ้ ยกว่าความกว้างของบันได ระยะดิ่งจากขั้นบันไดหรื อชานพักบันไดถึงส่ วนต่าสุ ดของอาคารที่อยูเ่ หนือขึ้นไป ต้องสูงไม่นอยกว่า 1.90 เมตร ข้อ 24 บันไดของอาคารอยูอ่ าศัยรวม หอพักตามกฎหมายว่าด้วยหอพัก สานักงาน อาคารสาธารณะ อาคารพาณิชย์ โรงงาน และอาคารพิเศษ สาหรับที่ใช้กบั ชั้นที่มีพ้นื ที่อาคารชั้นเหนือขึ้นไปรวมกันไม่เกิน 300 ตารางเมตร ต้องมีความกว้าง


สุ ทธิไม่นอ้ ยกว่า 1.20 เมตร แต่สาหรับบันไดของอาคารดังกล่าวที่ใช้กบั ชั้นที่มีพ้นื ที่อาคารชั้นเหนือขึ้นไปรวมกันเกิน 300 ตารางเมตร ต้องมีความกว้างสุ ทธิไม่นอ้ ยกว่า 1.50 เมตร ถ้าความกว้างสุ ทธิของบันไดน้อยกว่า 1.50 เมตร ต้องมีบนั ไดอย่าง น้อยสองบันได และแต่ละบันไดต้องมีความกว้างสุ ทธิไม่นอ้ ยกว่า 1.20 เมตร บันไดของอาคารที่ใช้เป็ นที่ชุมนุมของคนจานวนมาก เช่น บันไดห้องประชุมหรื อห้องบรรยายที่มีพ้ืนที่รวมกัน ตั้งแต่500 ตารางเมตรขึ้นไป หรื อบันไดห้องรับประทานอาหารหรื อสถานบริ การที่มีพ้นื ที่รวมกันตั้งแต่ 1,000 ตารางเมตร ขึ้นไป หรื อบันไดของแต่ละชั้นของอาคารนั้นที่มีพ้นื ที่รวมกันตั้งแต่ 2,000 ตารางเมตรขึ้นไป ต้องมีความกว้างไม่นอ้ ยกว่า 1.50 เมตร อย่างน้อยสองบันได ถ้ามีบนั ไดเดียวต้องมีความกว้างไม่นอ้ ยกว่า 3 เมตร บันไดที่สูงเกิน 4 เมตร ต้องมีชานพักบันไดทุกช่วง 4 เมตร หรื อน้อยกว่านั้น และระยะดิ่งจากขั้นบันไดหรื อชานพักบันไดถึง ส่ วนต่าสุ ดของอาคารที่อยูเ่ หนือขึ้นไปต้องสูงไม่นอ้ ยกว่า 2.10 เมตร ชานพักบันไดและพื้นหน้าบันไดต้องมีความกว้างและความยาวไม่นอ้ ยกว่าความกว้างสุ ทธิของบันได เว้นแต่ บันไดที่มีความกว้างสุ ทธิเกิน 2 เมตร ชานพักบันไดและพื้นหน้าบันไดจะมีความยาวไม่เกิน 2 เมตรก็ได้ บันไดตามวรรคหนึ่ งและวรรคสองต้องมีลูกตั้งสูงไม่เกิน 18 เซนติเมตร ลูกนอนเมื่อหักส่ วนที่ข้ นั บันไดเหลื่อมกัน ออกแล้วเหลือความกว้างไม่นอ้ ยกว่า 25 เซนติเมตร และต้องมีราวบันไดกันตก บันไดที่มีความกว้างสุ ทธิเกิน 6 เมตร และ ช่วงบันไดสูงเกิน 1 เมตร ต้องมีราวบันไดทั้งสองข้าง บริ เวณจมูกบันไดต้องมีวสั ดุกนั ลื่น ข้อ 25 บันไดตามข้อ 24 จะต้องมีระยะห่ างไม่เกิน 40 เมตร จากจุดที่ไกลสุ ดบนพื้นชั้นนั้น ข้อ 26 บันไดตามข้อ 23 และข้อ 24 ที่เป็ นแนวโค้งเกิน 90 องศา จะไม่มีชานพักบันไดก็ได้ แต่ตอ้ งมีความกว้าง เฉลี่ยของลูกนอนไม่นอ้ ยกว่า 22 เซนติเมตร สาหรั บบันไดตามข้อ 23 และไม่นอ้ ยกว่า 25 เซนติเมตร สาหรับบันไดตามข้อ 24 ส่ วนที่ 4 บันไดหนีไฟ ข้อ 27 อาคารที่สูงตั้งแต่สี่ช้ นั ขึ้นไปและสูงไม่เกิน 23 เมตร หรื ออาคารที่สูงสามชั้นและมีดาดฟ้ าเหนือชั้นที่สามที่มี พื้นที่เกิน 16 ตารางเมตร นอกจากมีบนั ไดของอาคารตามปกติแล้ว ต้องมีบนั ไดหนีไฟที่ทาด้วยวัสดุทนไฟอย่างน้อยหนึ่ง แห่ งและต้องมีทางเดินไปยังบันไดหนีไฟนั้นได้โดยไม่มีสิ่งกีดขวาง ข้อ 28 บันไดหนีไฟต้องมีความลาดชันน้อยกว่า 60 องศา เว้นแต่ตึกแถวและบ้านแถวที่สูงไม่เกินสี่ ช้ นั ให้มีบนั ได หนีไฟที่มีความลาดชันเกิน 60 องศาได้ และต้องมีชานพักบันไดทุกชั้น ข้อ 29 บันไดหนีไฟภายนอกอาคารต้องมีความกว้างสุ ทธิไม่นอ้ ยกว่า 60 เซนติเมตร และต้องมีผนังส่ วนที่บนั ได หนีไฟพาดผ่านเป็ นผนังทึบก่อสร้างด้วยวัสดุถาวรที่เป็ นวัสดุทนไฟ บันไดหนีไฟตามวรรคหนึ่ง ถ้าทอดไม่ถึงพื้นชั้นล่างของอาคารต้องมีบนั ไดโลหะที่สามารถเลื่อนหรื อยืดหรื อ หย่อนลงมาจนถึงพื้นชั้นล่างได้ ข้อ 30 บันไดหนีไฟภายในอาคารต้องมีความกว้างสุ ทธิไม่นอ้ ยกว่า 80 เซนติเมตร มีผนังทึบก่อสร้างด้วยวัสดุถาวร ที่เป็ นวัสดุทนไฟกั้นโดยรอบ เว้นแต่ส่วนที่เป็ นช่องระบายอากาศและช่องประตูหนีไฟ และต้องมีอากาศถ่ายเทจากภายนอก อาคารได้โดยแต่ละชั้นต้องมีช่องระบายอากาศที่เปิ ดสู่ภายนอกอาคารได้มีพ้นื ที่รวมกันไม่นอ้ ยกว่า 1.4 ตารางเมตร กับต้องมี แสงสว่างให้เพียงพอทั้งกลางวันและกลางคืน ข้อ 31 ประตูหนีไฟต้องทาด้วยวัสดุทนไฟ มีความกว้างสุ ทธิไม่นอ้ ยกว่า 80 เซนติเมตร สูงไม่นอ้ ยกว่า 1.90 เมตร และต้องทาเป็ นบานเปิ ดชนิดผลักออกสู่ภายนอกเท่านั้น กับต้องติดอุปกรณ์ชนิดที่บงั คับให้บานประตูปิดได้เอง และต้อง สามารถเปิ ดออกได้โดยสะดวกตลอดเวลา ประตูหรื อทางออกสู่บนั ไดหนีไฟต้องไม่มีธรณีหรื อขอบกั้น


ข้อ 32 พื้นหน้าบันไดหนีไฟต้องกว้างไม่นอ้ ยกว่าความกว้างของบันไดและอีกด้านหนึ่งกว้างไม่นอ้ ยกว่า 1.50 เมตร หมวด 4 แนวอาคารและระยะต่าง ๆ ของอาคาร ข้อ 40 การก่อสร้างหรื อดัดแปลงอาคารหรื อส่ วนของอาคารจะต้องไม่ล้ าเข้าไปในที่สาธารณะ เว้นแต่จะได้รับ อนุญาตจากเจ้าพนักงานซึ่งมีอานาจหน้าที่ดูแลรักษาที่สาธารณะนั้น ข้อ 41 อาคารที่ก่อสร้างหรื อดัดแปลงใกล้ถนนสาธารณะที่มีความกว้างน้อยกว่า 6 เมตร ให้ร่นแนวอาคารห่ างจาก กึ่งกลางถนนสาธารณะอย่างน้อย 3 เมตรอาคารที่สูงเกินสองชั้นหรื อเกิน 8 เมตร ห้องแถว ตึกแถว บ้านแถว อาคารพาณิชย์ โรงงาน อาคารสาธารณะ ป้ ายหรื อสิ่ งที่สร้างขึ้นสาหรับติดหรื อตั้งป้ าย หรื อคลังสิ นค้า ที่ก่อสร้างหรื อดัดแปลงใกล้ถนน สาธารณะ (1) ถ้าถนนสาธารณะนั้นมีความกว้างน้อยกว่า 10 เมตร ให้ร่นแนวอาคารห่ างจากกึ่งกลางถนนสาธารณะอย่างน้อย 6 เมตร (2) ถ้าถนนสาธารณะนั้นมีความกว้างตั้งแต่ 10 เมตรขึ้นไป แต่ไม่เกิน 20 เมตร ให้ร่นแนวอาคารห่ างจากเขตถนน สาธารณะอย่างน้อย 1 ใน 10 ของความกว้างของถนนสาธารณะ (3) ถ้าถนนสาธารณะนั้นมีความกว้างเกิน 20 เมตรขึ้นไป ให้ร่นแนวอาคารห่ างจากเขตถนนสาธารณะอย่างน้อย 2 เมตร ข้อ 43 ให้อาคารที่สร้างตามข้อ 41 และข้อ 42 ต้องมีส่วนต่าสุ ดของกันสาดหรื อส่ วนยืน่ สถาปัตยกรรมสูงจาก ระดับทางเท้าไม่นอ้ ยกว่า 3.25 เมตร ทั้งนี้ ไม่นบั ส่ วนตบแต่งที่ยื่นจากผนังไม่เกิน 50 เซนติเมตร และต้องมีท่อรับน้ าจากกัน สาดหรื อหลังคาต่อแนบหรื อฝังในผนังหรื อเสาอาคารลงสู่ท่อสาธารณะหรื อบ่อพัก ข้อ 44 ความสูงของอาคารไม่ว่าจากจุดหนึ่งจุดใด ต้องไม่เกินสองเท่าของระยะราบ วัดจากจุดนั้นไปตั้งฉากกับ แนวเขตด้านตรงข้ามของถนนสาธารณะที่อยูใ่ กล้อาคารนั้นที่สุดความสูงของอาคารให้วดั แนวดิ่งจากระดับถนนหรื อระดับ พื้นดินที่ก่อสร้างขึ้นไปถึงส่ วนของอาคารที่สูงที่สุด สาหรับอาคารทรงจัว่ หรื อปั้นหยาให้วดั ถึงยอดผนังของชั้นสูงสุ ด สาหรับอาคารซึ่งเป็ นห้องแถวหรื อตึกแถว ความยาวของอาคารตามแนวถนนสาธารณะที่แคบกว่าต้องไม่เกิน 15 เมตร ข้อ 50 ผนังของอาคารที่มีหน้าต่าง ประตู ช่องระบายอากาศหรื อช่องแสง หรื อระเบียงของอาคารต้องมีระยะห่ าง จากแนวเขตที่ดิน ดังนี้ (1) อาคารที่มีความสูงไม่เกิน 9 เมตร ผนังหรื อระเบียงต้องอยูห่ ่ างเขตที่ดินไม่นอ้ ยกว่า 2 เมตร (2) อาคารที่มีความสูงเกิน 9 เมตร แต่ไม่ถึง 23 เมตร ผนังหรื อระเบียงต้องอยูห่ ่างเขตที่ดินไม่นอ้ ยกว่า 3เมตร ผนังของอาคารที่อยูห่ ่ างเขตที่ดินน้อยกว่าตามที่กาหนดไว้ใน (1) หรื อ (2) ต้องอยูห่ ่ างจากเขตที่ดินไม่นอ้ ยกว่า 50 เซนติเมตร เว้นแต่จะก่อสร้างชิดเขตที่ดินและอาคารดังกล่าวจะก่อสร้างได้สูงไม่เกิน 15 เมตร ผนังของอาคารที่อยูช่ ิดเขต ที่ดินหรื อห่ างจากเขตที่ดินน้อยกว่าที่ระบุไว้ใน (1) หรื อ (2) ต้องก่อสร้างเป็ นผนังทึบ และดาดฟ้ าของอาคารด้านนั้นให้ทา ผนังทึบสูงจากดาดฟ้ าไม่นอ้ ยกว่า 1.80 เมตร ในกรณีก่อสร้างชิดเขตที่ดินต้องได้รับความยินยอมเป็ นหนังสื อจากเจ้าของ ที่ดินข้างเคียงด้านนั้นด้วย


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.