Offset Printing

Page 1

Offset Printing 1

OFFSET PRINTING


2 Offset Printing

ประวัติการพิมพ์ offset หลักในการพิมพ์ offset Offset หรือ การพิมพ์พื้นราบ มีต้นกำ�เนิดจากการพิมพ์ด้วยการค้นพบของ อลัวส์เซเนเฟลเดอร์(Alois Senefelder) ด้วยการใช้ แท่งไขมันเขียนลงบนแผ่นหินขัดเรียบ ใช้น้ำ�บางๆ หรือความเปียกชื้นลงไปคลุมพื้นที่ซึ่งไม่ต้องการให้เกิดภาพก่อนแล้วจึงคลึงหมึกตาม ลงไปไขมันที่เขียนเป็นภาพจะรับหมึกและผลึกดันน้ำ� และน้ำ�ก็ผลักดันหมึกมิให้ปนกันเมื่อนำ�กระดาษไปทาบและใช้น้ำ�หนักกดพิมพ์พอควร กระดาษนั้นจะรับและถ่ายโอนหมึกที่เป็นภาพจากแผ่นหิน ปัจจุบันการพิมพ์พื้นราบที่รู้จักกันในนามพิมพ์หินได้พัฒนาจากการใช้คน ดึงแผ่นหินที่หนาและหนักกลับไปกลับมา เพื่อทำ�การพิมพ์ได้ชั่วโมงละไม่กี่แผ่นได้ มีความเปลี่ยนแปลงเป็นลำ�ดับ จากการใช้แรงคนเป็น เครื่องจักร ไอน้ำ�และจากเครื่องจักร ไอน้ำ�เป็นเครื่องยนต์พร้อมกับเปลี่ยนลักษณะของแผ่นภาพพิมพ์จากหินเป็นโลหะ ที่บางเบสามา รถโค้งโอบรอบไม่ได้และได้ใช้เป็นผืนผ้ายาง (rubber printing) กระดาษหรือวัสดุพิมพ์จะไม่สัมผัสกับแม่พิมพ ้์(plate cylinder)โดยตรง แต่จะอยู่ในระหว่างโมผ้ายาง (blandet cylinder)กับโมกดพิมพ์(imoression cylinder) ชื่อของวิธีนี้ เคยเรียกเมื่อเริ่มแรกว่า ‘’’ลิโธ กราฟี’’ (Lithography) อันเป็นภาษากรีก ที่มีความหมายว่าเขียนบนหิน ได้เปลี่ยนแปลงเพิ่มเติมคำ�ว่า เซตออฟ (set-off) หรือ ‘’ออฟ เซต’’ (offset) ซึ่งหมายถึงการพิมพ์ได้รับหมึกจากแม่พิมพ์ไปหมดแต่ละแผ่น แล้วเตรียมรับหมึกพิมพ์ในแผ่นต่อไป ชื่อของวิธีพิมพ์นี้จึง เรียกว่า ‘’ออฟเซตลิโธกราฟี’’(offset lithography) ในปัจจุบันสามารถพิมพ์ลงบนวัสดุพิมพ์หลายชนิดไม่ว่าจะเป็นกระดาษผิวหยาบ พลาสติก ผ้าแพร หรือแผ่นโลหะ


Offset Printing 3

หลักของการพิมพ์ offset คือ น้ำ�กับ น้ำ�มันจะไม่รวมตัวกันซึ่งบนแผ่นแม่พิมพ์จะมีทั้ง สอง ส่วนคือ บริเวณที่ไม่มีภาพก็จะเป็นที่รับน้ำ�และ ในส่วนที่มีภาพก็จะเป็นสารเคมีที่เป็นพวกเดียวกับ หมึก หน้าที่ของบริเวณทั้งสองของแม่ พิมพ์ 1. ส่วนที่ไร้ภาพและรับน้ำ� จะทำ�หน้าที่ในการรับน้ำ� หรึอความชื้น และผลักดันหมึกให้ออก นอกบริเวณ 2. ส่วนที่เป็นภาพจะทำ�หน้าที่รับหมึกและผลักดัน น้ำ�มันออกนอกบริเวณของตน ซึ่งในแต่ละส่วนจะ ทำ�หน้าที่ๆแตกต่างกัน

หลักในการถ่ายทอดภาพของเครื่องพิมพ์ออฟเซต ออฟเซตเป็นระบบการพิมพ์พื้นฐานทั่วไปในระบบ 3 โม คือ 1. โมแม่พิมพ์ 2. โมผ้ายาง 3. โมแรงกด พร้อมด้วยระบบทำ�ความชื้นและระบบการจ่ายหมึกให้แกแม่พิมพ์เมื่อมีการ เคลื่อนไหว แม่พิมพ์จะหมุนไปรับน้ำ� หรือ ความชื้น แล้วจึงหมุนไปรับน้ำ� แล้วจึง ไปรับหมึก เมื่อแม่พิมพ์รับหมึก ในบริเวณภาพแล้วจะหมุนลงไปถ่ายโอนไปให้โมผ้ายาง แล้วจึงถ่านลงวัสดุพิมพ์ โดยมีโมกดพิมพ์ ู่ รองรับอยู่เป็นระบบการพิมพ์ทางอ้อม ประโยชน์ของการพิมพ์ทางอ้อม 1. ในการพิมพ์ภาพลงสู่ผ้ายาง ผิวของผ้ายางมีความอ่อนนุ่มจึง สามารถแนบกระชับกับผิว ของของการดาษที่เป็นแอ่ง และขรุขระได้ดีกว่าการใช้ แม่พิมพ์โดยตรง 2. ผ้ายางจะไม่ทำ�ให้ตัวของแม่พิมพ์ชำ�รุด เหมือนกับการพิมพ์ทางตรง 3. สะดวกในการตรวจสอบความถูกต้องของภาพ และข้อความบนแม่พิมพ์เพราะเป็นตัวตรง ไม่ใช่ตัวกลับอย่าง เลตเตอร์เพลส ซึ่งตรวจสอบได้ยาก


4 Offset Printing

ขนาดของเครื่องพิมพ์ offset

เครื่องพิมพ์ออฟเซ็ท โดยทั่วไปมีหลักการเดียวกัน คือ ประกอบด้วยโมแม่พิมพ์ โมยางและโมพิมพ์ ที่โมแม่พิมพ์จะมีระบบ การให้น้ำ�และต่อเพลทอยู่ การถ่ายทอดภาพ เกิดจากโมแม่พิมพ์ได้ รับหมึก แล้ถ่ายทอดภาพให้โมยาง แล้วโมยางจึงถ่ายทอดภาพให้ กับกระดาษ หรือวัสดุที่ใช้พิมพ์ ในการถ่ายทอดภาพจากโมหนึ่งไป ยังโมหนึ่งจะต้องใช้แรงกดน้อยที่สุด ออฟเซ็ทเล็ก เป็นเครื่องพิมพ์ขนาดเล็ก พิมพ์กระดาษได้ขนาด 10 *15 นิ้ว ถึงขนาด 13 *17 นิ้วโดยประมาณ เครื่องชนิดนี้มีอุปกรณ์ ประกอบในการทำ�งานน้อยไม่ยุ่งยาก ใช้ง่าย เหมาะสำ�หรับงาน พิมพ์ขนาดเล็ก เช่น หัวจดหมาย หนังสือเวียนแผ่น โฆษณาเผย แพร่ เล็กๆ ไม่เหมาะสำ�หรับงานพิมพ์สอดสี หรือ สี่สี เพราระบบฉากยัง ไม่มีความเที่ยง ตรงดีพอ ขนาดตัดสี่ เป็นเครื่อ งพิมพ์ที่ ขนาดใหญากว่าออฟเซ็ดเล็กสามารถ พิมพ์ได้ขนาดประมาณ 15 *21 นิ้ว หรือ 18 * 25 นิ้ว มีอุปกรณืช่วยในการพิมพ์ มากขึ้นและระบบน้ำ�ดีขึ้นกว่า สามารถพิมพ์งานได้เกือบทุกชนิด ไม่ว่าจะเป็นสีเดียวหรือหลายสี ก็ตาม เหมาะสำ�หรับ พิมพ์หนัสือยกเป็นเล่ม ภาพโปสเตอร์ขนาดกลาง งานพิมพืทั่วไป และงานพิมพ์ทีที่มี จำ�นวนพิมพ์ไม่มากนัก เช่น ครั้งละไม่เกิน 5,000 ชุด ถ้าเป็นการ พิมพ์จำ�นวนมากๆแล้ว จะเป็นการเสียเวลา เพราะมีขนาดเล็ก ไม่สามารถลงพิมพ์ได้คราว ละหลายๆแบบได้ เครื่องพิพม์ขาดนี้นิยมใช้ทั่วไปในท้องตลาด ถ้า พิมพ์หนังสือ ยก จะพิมพ์ขนาด 8 หน้ายก ได้ ทั้งี้แล้วแต่ขนาด ของเครื่องพิพม์ การที่เรียกเครื่องพิมพ์ขนาดตัดสี่นั้น เพราะใช้กระดาษ ขนาด 15.5 -*1.5 นิ้ว ที่เกิดจากการ แบ่งกระดาษขนาดใหญ่ 31 *43 นิ้ว เป้นสี่ส่วนได้พอดี ซึ่งเมื่อนำ� กระดาษขนาด นี้ไปพิมพ์และพับเป็นเล่มแล้ว จะได้หนังสือที่มีขนาดเล็กเรียกว่า 8 หน้ายก

ขนาดตัดสอง เป็นเครื่องพิมพ์ขนาดที่ใหญ่กว่าขนาดตัดสี่เกือบเท่าตัว กล่าวคือ สามารถพิมพ์ได้ 25 * 36 นิ้ว หรือบางแม่พิมพ์ สาม รถพิมพ์ขนาด 28 * 40 นิ้วได้ เหมาะสำ�หรับใช้พิพม์งานทางการ ค้าทั่วไป เช่น หนังสือยกโปสเตอร์ขนาดใหญ่ แผ่นโฆษณา และงาน พิมพ์ทุกชนิด เนื่องสามารถพิมพ์ได้ขนาดใหญ่ จึงสามารถลงแบที่ จะพิมพ์ได้ครวละหลายๆแบบ และสามารถตัดซอยเป็นแบบที่ต้องการ ได้ภายหลัง ทำ�ให้ประหยัดเวลาในการพิมพ์ เป็นเครื่องพิมพ์ขนาด ที่นิยมใช้กันทั่วไป มีอุปกรณ์ประกอบในการช่วยพิมพ์ดีฉากพิมพ์ แม่นยำ� และความเร็วสูง ขนาดตัดหนึ่ง เป็นเครื่องพิมพ์ ชนิดป้อนแผ่นขนาดใหญ่ที่สามารถ พิมพ์กระดาษ 30 * 40 นิ้ว หรือโตกว่าได้ มีอุปกรณ์ช่วยใน การพิมพ์มากขึ้น ส่วนมากใช้ในการพิมพ์หนังสือ โปสเตอร์และบร จุภณฑ์ ที่มีปริมาณการพิมพ์มากๆ มีใช้น้อยกว่าขนาด สี่ตัด และ ขนาดสองตัด นปัจจุบัน จัดได้ว่าระบบการพิมพ์ ออฟเซ็ต เป็นระบบงาน พิมพ์ที่มีผู้นิยมใช้มากที่สุด เพราะให้คุณภาพของงานพิมพ์ที่สูง และ ราคาไม่สูงมาก เหมาะสำ�หรับใช้พิมพ์สื่อสิ่งพิมพืทุกชนิด ทั้งหนังสือ ที่ต้องการสีเดียวและสี่สี


Offset Printing 5

การพิมพ์ Offset ชนิดแผ่น

การพิมพ์ทุกระบบ ไม่ว่าจะเป็นเลตเตอร์เพรส กราวัวร์ หรือออฟเซต ในอุตสาหกรรม การพิมพ์มักจะแบ่งเครื่องพิมพ์ออกเป็น 2 ชนิด คือ ชนิดหนึ่งตัดกระดาษเป็นแผ่นให้ ได้กับขนาดของเครื่องพิมพ์และชนิดของงาน แล้วปริ้นเข้าเครื่องพิมพ์และพิมพ์ออกมา ได้ด้านเดียวหรือสองด้านเป็นยกพิมพ์หนังสือเล่มหรือเป็นแผ่นโปสเตอร์ ด้วยความเร็ว สูงสุดทางการผลิตจะได้ไม่เกิน 9,000 -10,000 แผ่นต่อชั่วโมง ทั้งที่เครื่องพิมพ์นั้น สามารถผลิตได้ถึง 11,000แผ่นต่อชั่วโมงแต่ไม่มีเจ้าของเครื่องพิมพ์ใด ใช้ความเร็วสูง สูงสุดตามนั้น เพราะจะเป็นเหตุให้เครื่องพิมพ์เสื่อมโทรมเร็วกว่าปกติ อีกชนิดหนึ่งเป็น เครื่องป้อนม้วน

หลักการสามโมในการ พิมพ์ออฟเซต

1.1 โมแม่พิมพ์ (plate cylinder)เป็นโลหะทรง กระบอกที่รองรับแผ่นแม่พิมพ์โลหะซึ่ง โอบโมไว้และ มีที่จับยึดไว้อย่างมั่งคงมีตำ�แหน่งสัมผัวกับลูกลิ้ง น้ำ�และลูกกลิ้งหมึกชุดสุดท้ายและ สัมผัสกับโมในขณะพิมพ์ ถ่ายโอนภาพจากแม่พิมพ์ ลงบนโมยาง 1.2 โมยาง (blanket cylinder) เป็นโลหะทรง กระบอกสำ�หรับรองรับแผ่นผ้ายางที่โอบโม และจับยึดอย่างมั่นคงมีตำ�แหน่งสัมผัสระหว่างโมแม่ พิมพ์กับวัสดุพิมพ์ทำ�หน้าที่รับหมึกพิมพ์จาก บริเวณภาพของของแม่พิมพ์ ในลักษณะกลับซ้ายเป็นขวาหรือขวาเหมือนภาพส่งกระจก และถ่ายโอนภาพนั้น ลงสู่วัสดุพิมพ์ในลักษณะภาพที่เป็นจริง 1.3โมกดพิมพ์ (impression cylinder) เป็นโลหะทรงกระบอกสำ�หรับรองรับวัสดุ พิมพ์มีตำ�แหน่ง ประชิดกับโมยาง ทำ�หน้าที่กดวัสดุพิมพ์ให้สัมผัสกับโมยาง โดยมีวัสดุพิมพ์แทรกอยู่ ระหว่างกลาง

การพิมพ์ Offset ชนิดม้วน

วัตถุประสงค์ของเครื่องพิมพ์ออฟเซต ก็เหมือนอุดมการณ์ที่เป็นทฤษฎีของการ พิมพ์ระบบอื่นว่าสามารถปรับแต่งและพิมพ์ได้ดี ด้วยความสะดวกและสะอาด มีความคม ชัดเมื่อดูด้วยตาเปล่าจนถึงแว่นขยายส่องแต่การเกิดขึ้นของเครื่องพิมพ์ป้อนม้วน มี ความมุ่งหมายหรือวัตถุประสงค์ หลักคือเพื่อลดเวลาการผลิตหรือให้ได้ปริมาณการ ผลิตมากกว่าการพิมพ์ป้อนแผ่นในช่วงระยะเวลาเท่ากัน ยิ่งกว่านั้นความแตกต่างทาง กลศาสตร์ ยังเป็นการเอื้อประโยชน์ให้การพิมพ์ป้อนม้วนที่มีคุณค่าสูงเด่นในระดับหนึ่ง ความแตกต่างทางรูปลักษณ์กับเครื่องพิมพ์ป้อนม้วนที่สำ�คัญประการแรก ได้แก่ การยกเลิกแม่พิมพ์และใช้โมยางอีกลูกหนึ่งเพิ่มเข้าไปทำ�หน้าที่กดพิมพ์ กล่าวอีกนัย หนึ่งก็คือเพิ่มโมแม่พิมพ์และโมยางเครื่องพิมพ์ชนิดป้อนม้วน มักประกอบขึ้นด้วย 2หน่วย พิมพ์ ขึ้นไปจนถึง 10 หน่วยในแถวหนึ่ง(one line)และปริมาณการผลิตต่อชั่วโมง ยังแตกต่างกันตามขนาด และวัตถุประสงค์ของสิ่งพิมพ์เช่น การพิมพ์โปสเตอร์ การ พิมพ์หนังสือเล่ม การพิมพ์หนังสือพิมพ์ และการพิมพ์บรรจุภัณฑ์ ฯลฯวัตถุประสงค์ ทางการพิมพ์เหล่านี้ จะเป็นสิ่งกำ�หนดขนาดตัดตามยาว(cut-off) ของม้วนกระดาษซึ่ง เกิดจากเส้นรอบวงของโมแม่พิมพ์โมยาง และโมตัด(cutting cylinder)เพราะการพิมพ์บาง ชนิดตัดสองด้านหรือด้านเดียวโดยไม่ต้องพับ เช่นโปสเตอร์ บางชนิดต้องพับสองหรือ สามครั้งจากหน่วยส่ง ออกในเครื่องพิมพ์เป็นยกพิมพ์ และตัดเจียนสามด้าน เช่นหนังสือเล่ม และบางชนิดไม่ ต้องนำ�ไปตัดเจียนอีกภายหลังที่พับและตัดเป็นฉบับหนังสือพิมพ์แล้วหรือในบางกรณีที่ นอกจากพิมพ์หนังสือพิมพ์ด้วยจำ�นวนหน้าตามจำ�นวนม้วนกระดาษเท่ากับหน่วยพิมพ์ คือหน่วยพิมพ์ละสองหน้า

การเลือกใช้กระดาษ การรู้จักชนิดของกระดาษและเลือกใช้ให้เหมาะสมกับงาน จะทำ�ให้ลดค่าใช้จ่ายในการ พิมพ์ได้มาก กระดาษที่มีราคาแพงและสวยงามไม่จำ�เป็นที่จะเป็นกระดาษที่เหมาะสมที่สุด สำ�หรับการใช้งานเสมอไป กระดาษที่มีราคาถูกที่สุดอาจจะเหมาะสมที่สุดก็ได้ ซึ่งทั้งนี้ย่อม ขึ้น อยู่ที่วัตถุประสงค์ของการใช้งาน การเลือกใช้กระดาษควรคำ�นึงถึงสิ่งต่อไปนี้เป็นหลัก คือ 1.ใช้ระบบการพิมพ์ที่เหมาะสมกับกระดาษ 2.ใช้หมึกพิมพ์ให้เหมาะสมกับกระดาษ 3.ใช้กระดาษที่มีคุณสมบัติสอดคล้อง กับลักษณะของงานพิมพ์ ระบบการพิมพ์ออฟเซ็ท

กระดาษที่ใช้พิมพ์ กับระบบการพิมพ์ออฟเซ็ท

ควรมีคุณสมบัติดังนี้ 1.มีผิวเรียบเพื่อให้รับหมึกได้ดี 2.ไม่มีขุยและฝุ่นบนผิวกระดาษ เพราะจะทำ�ให้ ภาพพิมพ์ มีรูรอยด่างของขลุยกระดาษ 3.ต้านทานน้ำ�และความชื้นได้ดี ไม่ยืดง่ายเมื่อถูก ความชื้น 4.มีเนื้อกระดาษสม่ำ�เสมอและรักหมึกได้ดี 5.มีความราบเรียบตลอดทั้งแผ่นเพื่อให้ป้อนเข้า เครื่องได้สะดวก ในกรณีของกระดาษอาร์ตลายผ้า อาร์ตหนังไก่ และกระดาษปั้มลายต่างๆ ก็ยัง สามารถใช้พิมพ์ด้วยระบบออฟเซ็ทได้ดีเพราะการถ่ายทอดภาพโดยผ่านผ้ายางแบลงเกต ทำ�ให้มีความยือหยุ่นตัวดี และแรงกดในการพิมพ์ก็มีมากพอ


6 Offset Printing

การควบคุมงานพิมพ์ Offset การพิมพ์ที่ได้มาตราฐาน คือ การพิมพ์ที่มีคุณภาพเหมือนต้นฉบับนี่คือคำ�จำ�กัดความที่ ชัดเจนที่สุด ปัจจัยที่เอื้ออำ�นวยให้บรรลุถึงคุณภาพที่ดี ได้มาตรฐาน แบ่งเป็น 2 ประการ คือ ประการแรก ได้แก่ การเตรียมพร้อมพิมพ์ (makeready) ประการหลัง ได้แก่ การพิมพ์ (press running)] การเตรียมพร้อมพิมพ์ที่สมบูรณ์ไม่เพียงแต่จะทำ�ให้งานพิมพ์ได้ มาตราฐานทั้งยังเป็นการลดต้นทุนการผลิต เพราะไม่มีอุปสรรคไปชะงักการพิมพ์ทำ�ให้ต้องหยุดแก้ไขปัญหา เช่น อายุแม่พิมพ์สั้นกว่าที่กำ�หนดด้วยการด้วยการไม่รับหมึก(blinding) การแตกตามแนวหัวแม่พิมพ์

การเตรียมพร้อมพิมพ์จำ�แนกได้ดังนี้ 1. แม่พิมพ์ เมื่อนำ�เข้าไปโอบหุ้มโมแล้วถือว่าเป็นส่วนของหน่วย พิมพ์ ปัญหาที่เกิดจากการพิมพ์ ์เหลี่ยม(misregister) หรือ แม่พิมพ์ แตก มักเกิดจากการงอแม่พิมพ์ไม่ได้ฉาก คือ แนวงอฉาก ไม่ขนานกับสองแนวหัวท้าย เมื่อนำ�ไปโอบรอบโมความแตกต่างของ แนวขนานอาจมีเพียง 0.20 มิลลิเมตร ถึง 0.76 มิลลิเมตรทำ�ให้แม่พิมพ์โก่ง ไม่เรียบแนบไปกับตัวโม ภายหลังที่นำ�แม่พิมพ์เข้า ใส่และล็อกเรียบร้อยแล้ว เมื่อลงมือพิมพ์ ลูกกลิ้งหมึกและโมยางจะรีดการโป่งนั้นตลอดเวลาจนแม่พิมพ์ฉีกไปแตกตามรอยพับ 2. การงอแม่พิมพ์ด้วยน้ำ�หนักความกดพอให้เกิดมุมฉากเท่านั้น อย่าใช้แรงกระแทกย้ำ�จนเกิดมุม แหลมคม ทำ�ให้แผ่นอะลูมิเนียมเกิดรอยปริแตกตามแนวนั้นเมื่อพิมพ์ได้ไม่นาน 3. ปลายของแม่พิมพ์ด้านที่งอสองครั้ง ควรมีความยาวพอสมควร ให้ลุกเบี้ยวภายในมีโอกาสจับยึดได้มั่นคงหากปล่อย ให้ปลายลิ้นสั้นลูกเบี้ยวภายในจะจับไม่อยู่ 4.ใช้น้ำ�มันเครื่องทาบางๆให้ทั่วพื้นหลังแม่พิมพ์แล้วใช้กระดาษรองหนุนเป็นวิธีที่ค่อนข้างได้ ผลดี เพราะกระดาษที่วับน้ำ�มันไว้จะป้องกันน้ำ�ซึม และป้องกันสนิมกับตัวโม


Offset Printing 7

สิ่งพิมพ์ที่เหมาะกับ offset ระบบออฟเซตเป็นระบบการพิมพ์ที่ใช้กันมากที่สุดทั่วโลกในปัจจุบันเพราะให้งานพิมพ์ที่สวย งามมีความคล่องตัวในการจัดอาร์ตเวอร์คและไม่ว่าจะออกแบอย่างไรการพิมพ์ก็ไม่ยุ่งยากมากจนเกินไปประกอบกับ ความ ก้าวหน้าในการทำ�ฟิล์มและการแยกสีในปัจจุบัน ทำ�ให้ยิ่งพิมพ์จำ�นวนมากเท่าไหร่ก็จะยิ่งถูกลง สิ่งพิมพ์ที่จะพิมพ์ด้วยระบบ ออฟเซตควรมีลักษณะดังต่อไปนี้

1. มีจำ�นวนพิมพ์ตั้งแต่ 3,000 ชุด ขึ้นไป 2. มีภาพประกอบหรืองานประเภท กราฟ มาก 3. ต้องการความรวดเร็วในการจัดพิมพ์ 4. ต้องการความประณีต สวยงาม 5. เป็นการพิมพ์ หลายสี หรือภาพ สี่สีที่ต้องการความสวยงามมากๆ 6. มีงานอาร์ตเวอร์คที่มีความยุ่งยากสลับซับซ้อนมาก 7. มีงบประมาณในการจัดพิมพ์เพียงพอ

ระบบออฟเซตสามารถให้งานพิมพ์ที่คุณภาพดีได้เพราะ 1. การถ่ายทอดภาพกระทำ�โดยการถ่ายทอดลงบนผ้ายางแบลงเกตก่อน แลวจึงถ่ายทอดลงบนกระดาษ ทำ�ให้การถ่ายทอดหมึกเป็นไปอย่างสม่ำ�เสมอ 2. สามารถใช้สกรีนที่มีความละเอียดมากๆ ถึง 175 -200 เส้น/นิ้วได้ทำ�ให้ภาพที่ออก มามีความละเอียดสวยงาม 3. การพิมพ์ภาพสี่สีทำ�ได้สะดวก เพราะสามารถปรับตำ�แหน่งของแม่พิมพ์และกระดาษ ให้ลงในตำ�แหน่งที่ตรงกันของแต่ละสีได้ง่าย 4.สามารถพิมพ์ลงบนกระดาษได้เกือบทุกชนิด


8 Offset Printing

การใช้ภาพประกอบ ภาพประกอบของสื่อเป็นสิ่งที่ช่วยเร้าความสนใจ และทำ�ให้สิ่งพิมพ์หน้าสนใจ มากยิ่งขึ้น เพราะผู้ดูจะให้ความสนใจในเบื้องแรกต่อภาพมากกว่าข้อความที่ต้องอ่าน เพราะใช้เวลาในการทำ�ความเข้าใจน้อยกว่า ฉะนั้นหากภาพที่ใช้ประกอบในการออก แบบมีคุณภาพ สามารถสื่อคามหมายได้ดี และมีความเหมาะสมกับเนื้อหาและวัตถุ ประสงค์ของการใช้สื่อสิ่งพิมพ์นั้นๆ แล้ว จะทำ�ให้สิ่งพิมพ์ได้ประโยชน์ตรง ตามความ ต้องการยิ่งขึ้น

1.หลักในการใช้ภาพประกอบ 1.1 การคัดเลือกภาพเพื่อใช้ในการประกอบแบบนั้น ต้องพิจารณาถึง เนื้อหา ข่าวสาร เนื้อความที่สำ�คัญ และองค์อื่นที่จะช่วยให้เกิดการรับรู้ของ ผู้อ่านได้ดีขึ้น ไม่ควรคำ�นึงถึงความรู้สึกของช่างภาพมากเกินไปว่าเขาจะรู้ สึกอย่างไรที่ไม่ใช้ภาพที่เขาถ่ายมา เพราะการฝืนเลือกใช้ภาพที่ไม่มีความ เหมาะสมจะทำ�ให้สิ่งพิมพ์นั้นลดคุณค่าลงไป 1.2ภาพที่คมชัด สวยงาม ไม่จำ�เป็นต้องเป็นภาพที่เหมาะสมกับการ, ออกแบบเสมอไปหากไม่เข้ากับเนื้อเรื่อง ภาพที่ตรงกับเรื่องและสามารถ อธิบายหรือเสริมเนื้อเรื่องได้จะเป็นภาพที่เหมาะสมในการนำ�มาใช้มากที่สุด แต่อย่างไรก็ตามในกรณีที่ได้ภาพที่คมชัดสวยงามมาแล้วและยังไม่มีโอกาสที่ จะใช้ก็ควรเก็บรักษาไว้และจัดระบบการจัดเก็บให้ดี เพื่อสามารถนำ�มาใช้ได้ใน โอกาสต่อไป 1.3 ภาพคุณภาพต่ำ� บางครั้งอาจมีความจำ�เป็นที่จะต้องใช้ภาพที่มีคุณภาพต่ำ�อย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ ก็อาจใชเทคนิค การออกแบบมาช่วยโดยการจัดให้ภาพนั้นอยู่ทางด้านล่างของหน้าและ ไม่พยายามเน้นหรือทำ�ให้เป็นจุดสนมากเกินไป และใช้ตัวอักษรพาดหัวที่มีขนาดใหญ ่เพื่อหันเหความสนใจออกไป หรือใช้สกรีนแบบต่างๆที่แปลกออกไปมาใช้ในการทำ� ภาพให้ดูแปลกตามากขึ้น


Offset Printing 9

2.การบังภาพ (cropping) ในบางกรณีภาพถ่ายที่ได้มาเป็นภาพที่ถ่ายใน ระยะไกลเกินไป ทำ�ให้ครอบคลุมส่วนอื่นๆที่ไม่ต้องการติดตามมาด้วย ฉะนั้นจึงจำ�เป็น ต้องปิดหรือบังส่วนที่ไม่ต้องการออกไป แล้วนำ�ภาพนั้นมาขยายเฉพาะส่วนที่ต้องการ เท่านั้น ซึ่งเป็นความจำ�เป็นที่จำ�ต้องทำ�เช่นนี้เพราะส่วนอื่นที่ไม่เกี่ยวข้องนั้น บางครั้ง กลายเป็นสิ่งที่ลดความสนใจของผู้อ่านลงไปเพราะเมื่อดูภาพนั้นแล้วหาจุดที่เป้นจุดเด่น ของภาพไม่ได้ ถึงแม้ว่าการบังภาพจะทำ�ให้ขนาดของภาพเล็กลงแต่จะได้รายละเอียด ของภาพมากขึ้น

ตัวอย่างการบังภาพ

รูประยะไกล 3.การคัดเลือกภาพ การคัดเลือกภาพเพื่อใช้ประกอบการออก แบบสื่อสิ่งพิมพ์นั้นจะต้องคิดอยู่เสมอว่างานที่เรากำ�ลังทำ�อยู่นั้น คือ การ เลือกภาพใช้ภาพเพื่อธุรกิจของการพิมพ์มิใช่การพิจารณาว่าภาพนั้นมี ศิลปะหรือมีความสวยงามในแง่ของภาพนั้นมากน้อยเพียงไร นั่นคือ ภาพ นั้นจะต้องให้ผลดีต่อเนื้อเรื่องที่จะพิมพ์เป็นสำ�คัญ ถึงแม้บางครั้งภาพที่ ได้จะมิใช่ภาพที่ดีในแง่ของศิลปะการถ่ายภาพก็ตาม ในกรณีที่มีภาพที่มีคุณภาพดีให้เลือกหลายภาพ เกณฑ์การ ตัดสิน ใจก็คือ เลือกภาพที่มีความหมายตรงกับเนื้อความ และเสริมเนื้อหามาก ที่สุด

เอาส่วนที่บังภาพมาขยาย


10 Offset Printing

4.การทำ�ให้ภาพน่าสนใจขึ้นโดยการจัดเรียงภาพ การใช้ภาพเดี่ยวใน บางกรณีอาจดูไม่น่าสนใจ หากใช้ภาพที่มีความสัมพันธ์ต่อเนื่องมาจัดเรียงลำ�ดับกันขึ้น จะทำ�ให้ภาพนั้นดูสะดุดตา และน่าสนใจ ซึ่งอาจจัดเรียงในลักษณะใดก็ได้ เช่น เรียง ตามลำ�ดับไปอย่างปกติ เรียงซ้อนเหลื่อมกัน เรียงในแนวทแยง เป็นต้น

5.การจัดภาพขนาดเล็กให้รวมกันเป็นกลุ่ม การใช้ ภาพขนาดเล็กสอดแทรกอยู่ในเนื้อความทั่วไป อาจ ไม่เป็นที่น่าสนใจเท่าที่ควร จึงอาจพิจารณาจัดให้ภาพเหล่า นั้นอยู่รวมกันเป็นกลุ่ม ในรูปทรงที่น่าสนใจ ซค่งจะทำ�ให้ เรียกความสนใจได้มากกว่า แต่ต้องคำ�นงด้วยว่า การจัดเป็น กลุ่มอาจทำ�ได้หลายวิธีต่างๆเช่น 1)จัดวางภาพทั้งหมดไว้บนแบรคกราวด์เดียวกัน 2)จัดให้ภาพทั้งหมดอยู่ในกรอบที่ปิดทุกด้าน 3)จัดวางบนเส้นตารางห่างๆ 4)จัดเรียงภาพให้มีลักษณะรูปร่างเดียวกันซ้ำ�ๆกันทั้งกลุ่ม 5)จับคู่ภาพที่มีความต่อเนื่องกันหรือใกล้เคียงกันเข้ากัน

6.การเร้าความสนใจโดยการทำ�ภาพให้มีความต่อเนื่องบ่อยครั้งการใช้ ภาพเพียงภาพเดียวไม่สามารถอธิบายเรื่องราวได้ทั้งหมด ไม่ว่าภาพที่ใช้จะเป็นภาพที่ดี เพียงใดก็ตาม จึงจำ�เป็นต้องใช้ภาพหลายภาพมาจัดเรียงไว้ในลักษณะคล้ายกับการจัดลำ�ดับ เป็นระยะๆแต่ไม่ต่อเนื่องบนหน้าเดียวกัน เป็นการสร้างความสัมพันธ์ให้เกิดขึ้น และพัฒนา ความคิดของผู้อ่านตามลำ�ดับซึ่งในการพิจารณาใช้ภาพมาประกอบมาสร้างความคิอให้เกิด เป็นลำ�ดับ จะต้องพิจาณาภาพให้ดีและต้องอธิบายเหตุผลของการใช้ภาพแต่ละภาพได้เสมอ ว่า ทำ�ไมถึงได้ใช้ภาพนั้นๆ ต้องแน่ใจว่ามีความสอดคล้องและสร้าง เสริมความเข้าใจเนื้อหา ได้มากกว่า และที่สำ�คัญต้องไม่ใช่ภาพมากเกินไป ควรใช้ภาพให้มาก ที่สุดเท่าที่จะน้อยได้

http://student.nu.ac.th/namo/learn.html


Offset Printing 11

จัดทำ�โดย นายกิตติ สุวรรณเอกสิทธิ์ นายปิยะวัฒน์ วริรุณ นายภวนนท์ วงศ์โกมลวิจิตร นางสาววิชชุดา เนียมสุคนธ์สกุล นายวีระศักดิ์ บุญวงษ์

53218404 53218414 53218419 53218424 53218425


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.