ศูนย์การเรียนรู้ขยะทะเล บริเวณชายฝั่งป่าชายเลน
ในอนาคต จานวนประชากรบนโลกใบนี้จะเพิ่ มขึ้นจากในปี 2019 โลกมีประชากรอาศัยอยู่ 7.7 พั นล้านคน แต่ภายในปี 2100 โลกจะมีจานวนประชากรเพิ่ มเป็น 10.9 พั นล้านคน ซึ่งกิจกรรมต่าง ๆ ที่เกิดจากมนุษย์ ส่งผลให้เกิดขยะจานวนมาก ซึ่งขยะเหล่านั้นจะถูกกาจัดอย่างถูกและไม่ถูกวิธี ขยะที่ถูกกาจัดอย่างไม่ถูกต้องจะถูกพั ดพาไป และสถานที่ที่ขยะจะถูกพั ด พาไปจากแผ่นดินใหญ่ที่เป็นที่สุดท้าย คือ ทะเล ปัจจุบันปัญหาขยะในทะเลเป็นประเด็นร้อนที่ทั่วโลกให้ความสนใจ ทั้งนี้เพราะขยะเหล่านั้นแทบจะเป็นไปไม่ได้เลยที่จะ ย่อยสลายได้ ดังนั้น จึงเกิดการสะสมและทับถมกัน จนปริมาณเพิ่ มมากขึ้นเกินกว่าธรรมชาติจะรับมือไหว ส่งผลกระทบกัน อย่างทั่วถึง โดยขยะนั้นบางส่วนก็ลอยอยู่ในทะเล และบางส่วนก็ถูกพั ดกลับมาขึ้นตามแนวชายฝั่ง ซึ่งแนวชายฝั่งที่มีความ อ่อนไหวทางระบบนิเวศ คือ แนวชายฝั่งป่าชายเลน ขยะในทะเลที่ลอยมาติดแนวป่าชายเลนส่งผลให้คุณภาพน้าชายฝั่งเสื่อมโทรมลง ส่งผลกระทบต่อสิ่งมีชีวิตที่มาอยู่ อาศัย หลบภัย หรือใช้เป็นแหล่งเจริญเติบโต ตลอดจนส่งผลกระทบถึงวิถีชีวิตของมนุษย์ที่มีการพึ่ งพิ งคุณประโยชน์ ของป่าชายเลน ทั้งในด้านสังคม เศรษฐกิจ และสิ่งแวดล้อม จึงเกิดเป็นศูนย์การเรียนรู้ขยะทะเล บริเวณชายฝั่งป่าชายเลน เพื่ อช่วยแก้ปัญหาขยะทะเลที่ลอยมาติดแนวชายฝั่ง ภายใต้กระบวนการการดักจับ จัดการ แปรรูปและต่อยอด ผ่านกระบวนการลงมือทา เรียนรู้ และการอาศัยความร่วมมือกัน ของคนในชุมชน เพื่ อให้คนเกิดความตระหนักถึงปัญหาของขยะทะเล ที่ส่งผลมากมายต่อระบบนิเวศป่าชายเลน รวมไปถึง ผลกระทบต่อคนในชุมชนที่มีการพึ่ งพาอาศัยป่าชายเลน และมุ่งเน้นให้คนเกิดจิตสานึกในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมต่อไป
The world's population will increase from 7.7 billion billions in 2019 to 10.9 billion by 2100. Human-caused activities produce a vast amount of waste, which will be appropriately and inappropriately disposed of. Debris that has been improperly disposed of will be blown away. And the last place, the sea, is where debris gets swept away from the mainland. The problem of marine debris is currently a prominent topic of discussion across the world. This is due to the fact that those wastes are nearly hard to decompose, so they pile up. Until the amount exceeds nature's ability to deal, the waste floating in the sea and some blown back up along the shore have a significant impact on each other. Especially, the mangrove shoreline is the most ecologically fragile. The degradation of coastal water quality is caused by marine debris that floats along the mangrove forests. affects the way of life of humans who rely on the advantages of mangrove forests in terms of society, economics, and ecology, as well as living species that come to live, take refuge, or utilize as a source of growth. As a result, it was established as a Marine Debris in Mangrove Shoreline’s management and learning Center to assist in the solution of the problem of floating marine debris along the coast through the process of collecting, manipulating, processing, and enhancing through the process of doing, learning, and depending on community collaboration To raise public knowledge about the problem of marine debris, which affects many mangrove forest ecosystems, including the impact on people who live in communities that rely on mangrove forests, and to focus on people to raise environmental conservation awareness.
ที่มาและความสาคัญ
ท รั พ ย า ก ร ท า ง ท ะ เ ล แ ล ะ ช า ย ฝั่ ง นั บ เ ป็ น พื้ น ฐ า น ท า ง เศรษฐกิจที่สาคัญของประเทศไทย รวมถึ ง ระดั บ ภู มิ ภ าคและระดั บ โลก โดยทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งมี การเปลี่ ย นแปลงอยู่ ต ลอดเวลา แ ล ะ มี ค ว า ม อ่ อ น ไ ห ว ต่ อ ก า ร เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง ค่ อ น ข้ า ง ม า ก ทั้ ง อิ ท ธิ พ ลของปั จ จั ย ที่ ม าจากการใช้ ป ร ะ โ ย ช น์ ข อ ง ม นุ ษ ย์ แ ล ะ จ า ก ป ร า ก ฏ ก า ร ณ์ ต า ม ธ ร ร ม ช า ติ ร ว ม ทั้ ง ผ ล ก ร ะ ท บ จ า ก ก า ร เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง ส ภ า พ อ า ก า ศ โ ล ก ส่ ง ผลกระทบต่ อ ระบบนิ เ วศทาง ทะเล ซึ่ง
“ป่าชายเลน
Mangrove forest” เป็ นระบบนิเ วศที่ มีค วามเฉพาะตั ว มีความหลากหลายทางชีวภาพสูง เป็นองค์ประกอบที่สาคัญอย่างยิ่ง ข อ ง ช า ย ฝั่ ง ท ะ เ ล นั บ เ ป็ น ทรั พ ยากรที่ มี คุ ณ ค่ า มหาศาล ทั้ ง ทางด้ า นเศรษฐกิ จ สั ง คม และ สิ่งแวดล้อมของประเทศ
ที่มาและความสาคัญ สถานการณ์ปริมาณพื้ นที่ป่าชายเลนของไทย ตั้งแต่ปี พศ.2543 – 2562 ที่มา : กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
แนวโน้มของพื้ นที่ป่าชายเลนของไทยมีแนวโน้มเพิ่ มขึ้น จากกิจกรรมการรณรงค์การรักษาพื้ นที่ป่า แต่ในทางกลับกัน ปัจ จั ย ที่ ส่ ง ผลแทรกแซงต่ อ การเจริ ญ เติ บ โตของป่ า ก็ มี อ ยู่ ไ ม่ น้ อ ย เนื่ อ งจากการเวลาที่ เ ปลี่ ย นไป ท าให้ ก ารขยายตั ว ของ เมื อ งเพิ่ มมากขึ้ น และกิ จ กรรมของมนุ ษ ย์ เ องที่ เ ป็ น ปั จ จั ย สาคัญที่ส่งผลร้ายต่อป่าชายเลน โดยปั จจัย สาคัญ ที่เกิ ดจากมนุษ ย์และยัง เป็นประเด็นไป ทั่วโลก นั่นคือ ปัญ หาของขยะมูล ฝอยที่ติด ในแนวป่ าชายเลน เนื่องจากขยะมี ปริมาณที่เพิ่ มขึ้ นตามจานวนประชากร แต่เมื่ อ ขาดการจัดการอย่างถูกวิธี ทาให้สิ่งที่เคยเป็นประโยชน์กลับให้ โทษแก่มนุษย์และสิง ่ แวดล้อม
1,800,000 1,600,000 1,400,000 1,200,000 1,000,000 800,000 600,000 400,000 200,000
ป่าชายเลนในไทยมีเนื้อที่ทั้งหมดประมาณ
0 (ไร่)
ปี 2543
ปี 2552
ปี 2547 ทั่วประเทศ
ภาคใต้
ภาคตะวันออก
ภูมิประเทศชายฝั่ง
ภูมิอากาศ
การขยายตัวของเมือง
ขยะมูลฝอย
ปี 2557
ปี 2562
ภาคกลาง
น้าขึ้นน้าลง
การทานากุ้ง
ภาคกลาง : 108,156.87 ไร่ ่ ีมากทีส ่ ด จังหวัดทีม ุ คือ สมุทรสงคราม ภาคตะวันออก : 201,374.34 ไร่ ่ ีมากทีส ่ ด จังหวัดทีม ุ คือ จันทบุรี ภาคใต้ : 1,427,488.53 ไร่ ่ ีมากทีส ่ ด จังหวัดทีม ุ คือ พั งงา
ล้านไร่
ที่มา : ส่วนส่งเสริมและพั ฒนาทรัพยากรป่าชายเลน สานักอนุรักษ์ทรัพยากรป่าชายเลน กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง
คลื่นและกระแสน้า
การทานาเกลือ
สภาพดิน
การตัดไม้ทาลายป่า
ที่มาและความสาคัญ ขยะในป่าชายเลนเกิดการสะสมตัวขึ้นจากขยะที่ถูกพั ดพามาตามกระแสน้า ทั้งทีไ่ หลผ่านในช่วงน้าขึ้นน้าลง และที่ ถู ก พั ดมาจากทะเล เข้ า สู่ ช ายฝั่ ง ติ ด อยู่ ต ามล าต้ น ของต้ น ไม้ แ ละรากที่ โ ผล่ เ หนื อ ผิ ว ดิ น ท าหน้ า ที่ ล ด ความเร็วของน้า และดักขยะที่มีน้าหนักเบาไว้ เช่น ถุง พลาสติก ส่วนรากค้าจุนของไม้ป่าชายเลนสามารถดัก ขยะที่มีน้าหนักมากได้ เช่น กระป๋องโลหะ เศษไม้ แก้ว ที่ถูกพั ดพาเข้ามาตามกระแสคลื่น จะตกทับถมที่พื้นป่า ชายเลนด้านนอก พบว่าขยะเหล่านี้ส่วนใหญ่จะมีปริมาณมากในพื้ นที่ริมชายฝั่ง และลดน้อยลงตามลาดับ เมื่อ เข้าไปในพื้ นที่ป่าชายเลนด้านใน ยกเว้น ขวดแก้ว เศษกระดาษ ที่อาจลอยน้าเข้าไปได้หลายร้อยเมตร ยกเว้นใน บางพื้ นที่ที่ มี ชุม ชนอยู่ด้ า นหลัง ป่ าชายเลน ปริ ม าณและชนิ ด ของขยะ อาจมีค วามแตกต่า งออกไปเนื่ อ งจาก ชุมชนมักมีการทิง ้ ขยะลงสู่ป่าชายเลนแนวหลังโดยตรง
%
ของขยะมูลฝอยถูก กาจัดอย่างถูกวิธี
%
ของขยะมูลฝอยถูก กาจัดอย่างไม่ถูกวิธี
ที่มา : รายงานส่วนบุคคล แนวทางการบริหาร การจัดการขยะพลาสติกในทะเลของไทย
ประเทศไทยมีขยะในทะเล พบได้ตาม
ตัน/ปี
จากการกาจัดขยะไม่ถูกวิธี ทาให้ไทยมีขยะมูลฝอย สะสม เท่ากับ ตึกใบหยก2 จานวน 103 ตึก
ส่งผลกระทบถึงการดารงชีวิต ่ ะเปลี่ยนแปลงไป ของชาวบ้านทีจ เนื่องจากผลกระทบทั้งทางตรง และทางอ้อมของขยะ ทั้งวิถช ี ว ี ต ิ วัฒนธรรม และประเพณี
ส่งผลกระทบถึงความสมดุลของ ระบบนิเวศบริเวณนั้น ทาให้ขาด ่ งและขาดความครบ ความต่อเนือ วงจร เกิดผลกระทบเป็นทอด ๆ ่ ด ไปในทีส ุ
แนวคิด และวัตถุประสงค์ของโครงการ จากการเล็งเห็นถึงคุณค่าของระบบนิเวศป่าชายเลน และผลกระทบที่จะเกิดขึ้น ทั้งในปัจจุบันและอนาคต จึงเกิดเป็นแนวคิดในการปกป้อง รักษา และอนุรักษ์ พื้ นที่ที่มีความอ่อนไหวทางระบบนิเวศ จากปัญหาขยะ ซึ่งเป็นปัญหาที่มนุษย์ สร้างขึ้น ด้วยโครงการ
ศูนย์การเรียนรูข ้ ยะทะเล บริเวณชายฝั่งป่าชายเลน
ส่งผลกระทบถึงการประกอบ อาชีพ การสร้างรายได้จากการ พึ่ งพาป่าชายเลน ตั้งแต่การ ่ ว การทาประมง ท่องเทีย
เพื่ อให้ปริมาณขยะ บริเวณชายฝั่ง ป่าชายเลนมี จานวนลดน้อยลง
เชื่ อ มโยงโครงข่ า ยการจั ด การ ปั ญ หาขยะทะเลในป่ า ชายเลน เข้ า กั บ ชุมชนที่เป็นทางออกของขยะทะเลเพื่ อเป็นการปกป้องรักษาแนวป่าชายเลน
เพื่ อให้ระบบนิเวศป่า ชายเลนบริเวณนั้น มีความสมบูรณ์ และ สามารถให้บริการ ทางนิเวศได้อย่าง ครบครัน
เพื่ อให้ผู้คนได้เรียนรู้ และตระหนักถึง ปัญหาของขยะ
เพื่ อให้ขยะถูกนาไป ต่อยอด ด้วยวิธีที่ สร้างสรรค์ เกิดเป็น มูลค่าและกิจกรรมใน พื้ นที่
แนวทางในการพั ฒนาโครงการ คือ การปฏิบัติและลงมือทาจริง ภายใต้กระบวนการการเข้ามาเรียนรู้ เพื่ อให้ เกิดองค์ความรู้ที่สามารถนาไปต่อยอดได้ โดยอยู่ในขอบเขตการดูแลของรัฐวิสหากิจชุมชน เพื่ อให้คนในชุมชน ได้มีรายได้ และการประกอบอาชีพที่หลากหลายและมั่นคงมากยิ่งขึ้น
แนวทางการพั ฒนา และลักษณะของโครงการ
ภาใต้ ก ระบวนการปฏิ บั ติ จริง ของคนในชุมชนและผู้ มีส่วนเกี่ยวข้อง พร้อมทั้ง เปิ ด ให้ มี ก ารเข้ า มาเรี ย นรู้ กับบุคคลที่มีความสนใจ
การดั ก จั บ /เก็ บ ขยะทั้ ง ก่ อ นและหลั ง ติ ด แนวป่ า ชายเลน
ก ร ะ บ ว น ล า เ ลี ย ง คั ด แยก ทาความสะอาด และแบ่งประเภทของขยะ
ก า ร น า ข ย ะ ม า ต่ อ ย อ ด โดยการแปรรู ป ส่ ง ขาย และส่งออก
เจ้าของโครงการ คือ GESAMP กลุ่มผู้เชี่ยวชาญที่มี ความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อมในทะเล โดยได้รับการ สนับสนุนจาก UN
กลุ่มรัฐวิสาหกิจ ชุมชน
สนับสนุนในเรื่องการ ให้บริการด้านชุด ความรู้
สนับสนุนในเรื่องการ ประชาสัมพั นธ์ โครงการ
ขอบเขตของเนื้อหา ขั้นตอนการดาเนินงาน ประโยชน์ที่ คาดว่าจะได้รับ
1. 2. 3. 4.
1. 2. 3. 4. 5.
วิเคราะห์ข้อมูลเพื่ อการออกแบบ วิเคราะห์ข้อมูลของพื้ นที่ระดับมหภาค (Macro scale) วิเคราะห์ข้อมูลของพื้ นที่ระดับจุลภาค (Micro scale) วิเคราะห์แนวคิดของโครงการและผู้ใช้งาน
แนวคิดในการออกแบบ การวางระบบการทางานในโครงการ การวางผังโครงการ การออกแบบภูมิทัศน์ การออกแบบรูปแบบการเรียนรู้ในโครงการ
สามารถช่วยลดปริมาณขยะที่ลอยมา ติดมาติดแนวชายฝั่งป่าชายเลนได้
ผู้คนเกิดจิตสานึกและมีความตระหนักใน ปัญหาของขยะในป่าชายเลน
1. ศึ ก ษาความเป็ น ไปได้ ข องโครงการ ทั้ ง ในด้ า นสถานการณ์ ข องขยะทะเล และป่าชายเลนที่ได้รับผลกระทบจากขยะทะเลในปัจจุบันและอนาคต 2. ศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับขยะทะเล และระบบนิเวศป่าชายเลน เพื่ อวิเคราะห์ถึง บทบาทของโครงการ 3. ศึกษาหาพื้ นที่ที่มีความเหมาะสมในการตั้งโครงการ 4. ศึ ก ษากรณี ตั ว อย่ า งอย่ า งที่ มี ค วามใกล้ เ คี ย ง เพื อน าเอาแนวคิ ด และ แนวทางมาปรับใช้ 5. วิเคราะห์พื้นที่โครงการ • วิเคราะห์ถึงสภาพพื้ นที่เดิม และแนวโน้มในอนาคต ในทุกๆมิติ • วิเคราะห์ถึงปัจจัยต่างๆที่มีผลในการออกแบบ • วิเคราะห์ถึงโอกาสและอุปสรรคของพื้ นที่ในการออกแบบ • วิเคราะห์ถึงศักยภาพของพื้ นที่ในการออกแบบ • วิเคราะห์ถึงลักษณะเฉพาะตัวของที่ตั้งโครงการ เพื่ อนามาต่อยอดให้ เกิดเอกลักษณ์ของโครงการ เช่น รูปแบบของสถาปัตยกรรม วัสดุ และการวางผัง • วิเคราะห์ถึงผู้ใช้งานโครงการ รวมถึงวิเคราะห์รูปแบบการใช้งานเดิม 6. กาหนดแนวทางและแนวคิดในการออกแบบ 7. การออกแบบและพั ฒนาโครงการ 8. ประเมินคุณค่าของโครงการ
เป็นโครงการตัวอย่างให้กับพื้ นที่อื่นที่ ประสบปัญหาเดียวกันได้
ความหมายของป่าชายเลน
ป่าชายเลน
(mangrove
forest
หรื อ intertidal
forest) คื อ ระบบนิ เ วศที่ อ ยู่ ใ นแนวเชื่ อ มต่ อ ระหว่ า งพื้ นแผ่ น ดิ น กั บ พื้ นน้ า ทะเล บริเวณเขตร้อนและกึ่งร้อน ประกอบด้วยสังคมพื ชและสัตว์ทม ี่ ีความหลากหลายอาศัยอยู่ร่วมกัน ภายใต้ สภาพแวดล้อมของดินเลนน้ากร่อย และได้รับอิทธิพลจากน้าทะเลอย่างสม่าเสมอ
ป่าชายเลนที่อยู่บริเวณปากแม่น้าหรือน้ากร่อย ป่าชายเลนประเภทนี้พบขึ้นอยู่ตาม ริมแม่น้าและร่องน้าที่ได้รับอิทธิพลจากน้าจืดมาก โดยพื้ นที่ป่าชายเลนด้านที่ติดกับ ทะเล จะมีต้นไม้ขึ้นอยู่หนาแน่น และมีจานวนชนิดต้นไม้มากกว่าบริเวณที่ห่างจาก ทะเลขึ้นไป หรืออยู่ทางด้านต้นน้า
ป่ า ชายเลนที่อ ยู่ ริม ทะเล ป่ า ชายเลนประเภทนี้ จ ะพบตามบริ เ วณชายฝั่ งหรื อปาก แม่น้าสายเล็ก ๆ ซึ่งได้รับอิทธิพลจากน้าจืดน้อย หรือมีน้าจืดไหลลงสู่บริเวณป่า ชายเลนในปริมาณน้อย น้าในป่าชายเลนประเภทนี้ส่วนใหญ่จะเป็นน้าทะเล
ประเภทของป่าชายเลน การแบ่งระบบนิเวศและการบริหารจัดการป่าชายเลนของประเทศไทยแบ่งออกเป็น 6 ส่วน โดยแบ่งตามลักษณะ
ทางภูมิประเทศ ชนิดพั นธุ์ไม้ ความคล้ายคลึงกันของสังคมพื ช การขึ้นลงของน้าทะเล และความสอดคล้องกันของระบบ นิเวศและการบริหารจัดการ 1. บริเวณอ่าวพั งงา ประกอบด้วยจังหวัดกระบี่ ภูเก็ต และพั งงา (อ.ตะกั่วทุ่ง อ.เมือง และ อ.ทับปุด) 2. บริ เ วณภาคใต้ ฝ่ ั งทะเลอั นดามั น ตอนบน ประกอบด้ ว ยจั ง หวั ด ระนอง และพั งงา (อ.ตะกั่ ว ป่ า อ.คุร ะบุ รี และ อ.ท้า ย เหมือง) 3. บริเวณภาคใต้ฝ่ ังทะเลอันดามันตอนล่าง ประกอบด้วยจังหวัดตรัง และสตูล 4. บริเวณชายฝั่งทะเลภาคตะวันออก ประกอบด้วยจังหวัดตราด จันทบุรี และระยอง 5. บริ เ วณอ่ า วไทยตอนบน ประกอบด้ ว ยจั ง หวั ด ชลบุ รี ฉะเชิ ง เทรา สมุ ท รปราการ กรุ ง เทพมหานคร สมุ ท รสาคร สมุทรสงคราม เพชรบุรี และประจวบคีรีขันธ์ 6. บริเวณภาคใต้ฝ่ ังตะวันออก ประกอบด้วยจังหวัดชุมพร สุราษฎร์ธานี นครศรีธรรมราช และสงขลา ที่มา : ป่าชายเลน - ระบบฐานข้อมูลทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง (dmcr.go.th)
Overwash forests เป็นลักษณะ ป่าชายเลนที่ขึ้นบนที่ราบน้าทะเล ท่วมถึง เมื่อน้าท่วมมีลักษณะ คล้ายเกาะ และได้รับอิทธิพลจาก กระแสน้าขึ้นลงอย่างสม่าเสมอ
Fringe forests เป็นป่าชายเลนที่ อยู่บนชายฝั่งที่มีความลาดชันน้อย พบทั่วไปบริเวณชายฝั่งของ แผ่นดินใหญ่และเกาะใหญ่ ๆ มัก พบป่าประเภทนี้อยู่บริเวณที่เป็น ่ อ่าวเปิด และได้รับอิทธิพลจากคลืน ลมไม่แรง
Basin forests เป็นป่าชายเลนที่ เป็นพื้ นที่ต่า น้าท่วมขัง พบขึ้นอยู่ บนฝั่งที่ติดป่าบก สัมผัสกับน้าจืด จากบนบก และน้ากร่อยนานกว่าป่า ชายเลนที่อยู่ตามชายฝั่ง
Riverine forests เป็นลักษณะป่า ชายเลนที่ขึ้นบนร่องน้า หรือทางน้า จืดที่ไหลลงสู่ทะเล
Scrub/Dwarf forests เป็นป่า ชายเลนที่ขึ้นบนบริเวณที่มีปัจจัย จากัดการเจริญเติบโต โดยทั่วไปจะ เป็นไม้พุ่มเตี้ย ๆ ประมาณ 2 เมตร มักพบในบริเวณที่แห้งแล้งกว่า บริเวณอื่น
Hammock forests เป็นป่าชาย เลนที่มีลักษณะคล้าย Basin forests แต่ระดับความสูงของ พื้ นที่ป่าประเภทนี้จะมากกว่าป่าชาย เลนประเภทอื่น ๆ
ป่าชายเลนนั้นมีคุณค่าและส่งเสริมคุณภาพชีวต ิ ของมนุษย์มานับไม่ถ้วน มีการให้บริการในด้าน ต่าง ๆ ซึ่งล้วนแล้วแต่เป็นปัจจัยพื้ นฐานในการดารางชีวิต โดยได้แบ่งลักษณะการให้บริการ ทางนิเวศของป่าชายเลน ออกตามหลักของ Ecosystem services ดังนี้
I.
เป็นแหล่งอาหารของคนและสัตว์
II.
เป็นแหล่งวัตถุดิบไม้ในการก่อสร้าง
III.
ป่าชายเลนเป็นแหล่งอนุบาลสัตว์น้า วัยอ่อน เป็นแหล่งอาหาร ที่อยู่ อาศัย หลบภัย สืบพั นธุ์และ เจริญเติบโตของสัตว์น้านานาชนิด
ความสาคัญ และการให้บริการของป่าชายเลน
ช่วยป้องกันการถล่มและการกัดเซาะ บริเวณชายฝั่ง
เป็นแหล่งพั กผ่อนหย่อนใจและ นันทนาการของคน
เป็นแหล่งดูดซับปฏิกูลต่าง ๆ ได้แก่ ขยะ คราบน้ามัน เป็นต้น
เป็นแหล่งศึกษา ให้ความรู้ และวิจัย ธรรมชาติ
ป่าชายเลนช่วยปกป้องชีวิตและ ทรัพย์สินของประชาชนที่อาศัย บริเวณชายฝั่งจากภัยธรรมชาติ ป่าชายเลนช่วยลดปริมาณก๊าซ คาร์บอนไดออกไซด์์ในบรรยากาศ
III.
บอกเล่าถึงอัตลักษณ์และวิถีชีวิต ของพื้ นที่
IV. ช่วยส่งเสริมสุขภาพกายและสุขภาพ ใจ
I.
ช่วยรักษาสมดุลวัฏจักรของชีวิต
II.
ช่วยรักษาสมดุลและปกป้องความ หลากหลายของชีวภาพบริเวณนั้น
ความหมายและที่มาของขยะทะเล
ขยะทะเล (Marine debris) คือ ผลิตภัณฑ์จากฝีมือมนุษย์ที่ตกลงไป อยู่ในทะเล หรือของเสียที่ผ่านกระบวนการผลิตใด ๆ แล้วไหลลงสู่ทะเล โดย การจงใจทิ้งหรือการปล่อยปละทิง ั้ ใจ สู่สภาพแวดล้อมทางทะเล ้ ขว้างโดยไม่ตง และชายฝั่ง รวมถึงเครื่องมือประมงและวัสดุที่เกิดจากกิจกรรมขนส่งทางเรือ
แหล่งกาเนิดของขยะทะเล
1. แหล่งบนบก ได้แก่ ขยะบนบกที่ไม่ได้รับการจัดเก็บและบาบัดอย่างถูกต้อง ที่ ถู ก พั ดพาไปกั บ แม่ น้ า ล าคลอง หลุ ม ฝั ง กลบขยะ (land-fills) ที่ มี ก าร จัดการไม่ถูกต้อง ขยะจากระบบระบายน้า (discharge from storm water drains) การทิ้งขยะบนชายหาด และบริเวณชายฝั่งจากกิจกรรม การท่องเที่ยว และอื่น ๆ ภัยพิ บัตทางธรรมชาติ เช่น น้าท่วม สึนามิ เป็น ต้น 2. แหล่ง ในทะเล ได้แ ก่ การท าประมงและอุตสาหกรรมการประมง (fishing industry) การเดินเรื อพาณิ ชย์แ ละท่อ งเที่ย ว (commercial and recreational shipping) การทาเหมืองแร่ (offshore mining and extraction) การทิ้งขยะลงสู่ทะเลโดยผิดกฏหมาย (illegal dumping at sea)
ทีมากราฟฟิก : https://www.smithsonianmag.com/history/how-should-memorialize-those-lost-warterror-180971006/ ที่มาข้อมูล : รายงานส่วนบุคคล แนวทางการบริหารจัดการขยะพลาสติกทะเลของไทย : การประยุกต์จากระดับนานาชาติสู่ ระดับประเทศ
ปริมาณและชนิดของขยะที่สะสมในป่าชายเลน มักมีความสัมพั นธ์กับแหล่งของขยะในบริเวณใกล้เคียง เช่น ขยะที่พบในป่าชายเลนสมุทรสาคร มักจะเป็นขยะพลาสติก ที่เกี่ยวกับอุปกรณ์ทาจากการประมง ส่วนขยะที่พบในป่าชายเลน จังหวัดสมุทรสงคราม ระยอง และจันทบุรีมักเป็นขยะเศษซากเปลือกผลไม้ ที่เป็นสินค้าส่งออกของจังหวัดนั้น ๆ เป็นต้น (กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง, 2550)
ประเภทของขยะทะเลที่พบในป่าชายเลน
ประเภท
หมายเหตุ
ระยะย่อยสลาย
ประเภท
หมายเหตุ
ระยะย่อยสลาย
ประเภท
หมายเหตุ
ระยะย่อยสลาย
ประเภท
หมายเหตุ
ระยะย่อยสลาย
ประเภท
หมายเหตุ
ระยะย่อยสลาย
พลาสติก
LDPE
450 ปี
สิง ่ ทอ
ไหมพรม
5 เดือน
กระดาษ
-
2 เดือน
ยางและหนัง
-
40 ปี
ดินเผา
-
5 ปี
วัสดุหรือผลิตภัณฑ์ที่ทาจากพลาสติก ได้แก่ ถุงพลาสติก ภาชนะพลาสติก ของเล่นเด็ก ของใช้
สิ่งทอต่าง ๆ ที่ทามาจากเส้นใยธรรมชาติและ ใยสังเคราะห์ ได้แก่ ฝ้าย ลินิน ขนสัตว์ ผ้า ไนลอน เสื้อผ้า ผ้าเช็ดมือ ถุงเท้า ผ้าขี้รว ิ้
ประเภท
หมายเหตุ
ระยะย่อยสลาย
ประเภท
หมายเหตุ
อลูมิเนียม
ไหมพรม
200 ปี
แก้ว
-
่ า โลหะ ได้แก่ วัสดุหรือผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ ทีท จากโลหะ ได้แก่ กระป๋อง ตะปู ลวด ภาชนะ สายไฟ เป็นต้น
ระยะย่อยสลาย
-
แก้ว ได้แก่ วัสดุหรือผลิตภัณฑ์ที่ทาจากแก้ว ได้แก่ เศษกระจก ขวด หลอดไฟ เครื่องแก้ว
ที่มา : คู่มือแนวทางการจัดการขยะในป่าชายเลน กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง
กระดาษ ได้แก่ วัสดุหรือผลิตภัณฑ์ที่ทาจาก เยื่อกระดาษ ได้แก่ กระดาษ หนังสือพิ มพ์ ใบปลิว ถุงกระดาษ กล่องกระดาษ ลัง
ประเภท
หมายเหตุ
อาหารสด
-
ระยะย่อยสลาย
15 วัน
ผักผลไม้และเศษอาหาร ได้แก่ เศษผัก เศษ ผลไม้ เศษอาหารที่เหลือ จากการปรุงอาหาร และเหลือจากการบริโภค เช่น เปลือกผลไม้ เศษผัก เป็นต้น
ยางและหนัง ได้แก่ วัสดุและผลิตภัณฑ์ที่ทา จากยางและหนัง ได้แก่ รองเท้า กระเป๋า ลูก บอล เป็นต้น
ประเภท
หมายเหตุ
ไม้
-
ระยะย่อยสลาย
15 ปี
ไม้ เช่น วัสดุหรือผลิตภัณฑ์ที่ทามาจากไม้ เช่น กล่องไม้ เก้าอี้ โต๊ะ เฟอร์นิเจอร์ เครื่อง เรือน เป็นต้น
หิน กระเบื้อง กระดูก และเปลือกหอย ได้แก่ เศษหิน เปลือกหอย เศษกระดูกสัตว์ เช่น ก้างปลา เครื่องปั้นดินเผา เปลือกหอย กุ้ง ปู เครื่องเคลือบ
ประเภท
หมายเหตุ
อื่น ๆ
-
ระยะย่อยสลาย
15 ปี
วัสดุอื่น ๆ ได้แก่ วัสดุที่ไม่สามารถจัดเข้ากลุ่ม ต่าง ๆ ข้างต้นได้
ประเภทของขยะทะเลที่พบในป่าชายเลน
1. PET/PETE (Polyethylene Terephthalate) ้ เหนียว ทนทานต่อแรงกระแทก คุณสมบัติ : พลาสติกโพลีเมอร์ใส เนือ ป้องกันการไหลผ่าของแก๊สได้ ตัวอย่าง : ขวดน้าดื่ม ขวดน้ามัน แก้วน้าพลาสติก 2. HDPE (High-density Polyethylene) คุณสมบัติ : มีความหนานแน่นสูง แข็งแรง โปร่งใสน้อยกว่า PET ทนต่อ ความเป็นกรด-ด่างได้ดี ป้องกันความชื้นได้ดี ตัวอย่าง : ขวดนม เครื่องสาอาง ถังน้ามัน แกลลอน ฝาขวดน้า 3. PVC (Polyvinyl Chloride) คุ ณ สมบั ติ : มี ค วามแข็ ง แรงมาก ป้ อ งกั น ไอน้ า และอากาศซึ ม ผ่ า น และ ป้องกันไขมันได้ดี ตัวอย่าง : ท่อน้า ของเล่นเด็ก หลอดพลาสติกแบบแข็ง ผ้าม่านห้องน้า 4. LDPE (Low-density Polyethylene) คุณสมบัติ : โปร่งแสง ความหนานแน่นต่า นิ่ม เหนียว ยืดได้ ไม่ทนความร้อน แต่สามารถทนความเย็นได้ ตัวอย่าง : ถุงพลาสติกหูหิ้ว หลอดพลาสติก ฟิล์มห่ออาหาร ขวดน้าบีบได้ 5. PP (Polypropylene)
คุณสมบัติ : พลาสติกแข็ง แต่เบา ทนแรงกระแทก และทนความร้อนได้ดี ตัวอย่าง : เครื่องมือแพทย์ บรรจุภัณฑ์อาหาร 6. PS (Polystyrene/Styrofoam) คุณสมบัติ : มีความยืดหยุ่นพอประมาณ ค่อนข้างแตกหักง่าย ตัวอย่าง : เสื้อชูชีพ กล่องโฟมใส่อาหาร ผนังฉนวนความร้อน
กรณีศึกษา : การดักจับขยะทะเล ที่มา : คู่มือการปักไม้ไผ่ เพื่ อป้องกันและแก้ปัญหาการกัดเซาะชายฝั่ง กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง
การกัดเซาะชายฝั่ง เกิด จากการบุก รุ ก ป่ า ชายเลน เพื่ อเปลี่ ย นสภาพเป็ น พื้ นที่ เ ก ษ ต ร ก ร ร ม ห รื อ เ พ า ะ เ ลี้ ย ง สั ต ว์ น้ า ตลอดจนการสร้างสิ่งก่อสร้างอื่นในป่าชาย เลน ทาให้ขาดแนวป้องกันคลื่นลมที่จะเข้ามา ปะทะฝั่ง จึงทาให้เกิดการกัดเซาะได้ง่ายและ รุนแรงขึ้น การปั ก ไม้ ไ ผ่ ช ะลอคลื่ น จึ ง เป็ นแนวคิดที่ถูกนามาใช้เพื่ อลดการกัดเซาะ ชายฝั่ ง โดยแนวไม้ ไ ผ่ จ ะลดความรุ น แรง ของคลื่ น และเพิ่ มการตกตะกอนของดิ น เลนที่ มี ค วามอุ ด มสมบู ร ณ์ เป็ น การขยาย อาณาเขตการเจริญเติบโตของป่า
นาแนวคิดในด้านขนาด และระยะการปัก เพื่ อดัก ดินเลน มาปรับใช้เป็นการ ปักไม้ไผ่ เพื่ อดักขยะทะเล
โครงสร้างที่เหมาะสมกับ หาดเลน คือ โครงสร้างที่ มีน้าหนักเบา และต้อง สามารถให้สัตว์ทะเล สัตว์ น้า สัตว์หน้าดินลอดผ่าน ไปได้
ระยะที่เหมาะสมในการปัก แนวไม้ไผ่ คือ ไม่เกิน50 200 เมตร จากแนว ชายฝั่ง
นาไปปรับใช้กับวิธีการดัก จับรูปแบบอื่น เนื่องจาก อาจจะยังมีขยะทะเลเล็ด ลอดเข้าไปได้
กรณีศึกษา : การดักจับขยะทะเล ที่มา https://spilltech.no/expandi-systems/expandi-catalog-2021.html:
Boom
เป็นอุป กรณ์ ที่ใช้ในการ
ควบคุ ม ทิ ศ ทางของน้ า มั น ที่ รั ว ไหลในทะเล
โดย shore sealing boom เหมาะ กับพื้ นที่ที่มีการขุ้น – ลงของระดับน้า ใช้ได้ ดี กั บ บ ริ เ ว ณ ที่ เ ป็ น ห า ด เ ล น ห รื อ ท ร า ย เนื่ องจากโครงสร้า งทามาจากเส้ นใยอย่ า ง หนา และภายใน 2 แนวทุ่ น ล่ า งบรรจุ น้ า เพื่ อให้ Boom ลอยขึ้นลงตามระดับน้าได้ อย่ า งอิ ส ระ และแนวทุ่ น บน เป็ น อากาศ เพื่ อให้ Boom ลอยตั ว เหนื อ ผิ ว น้ า ต ล อ ด เ ว ล า มี ข น า ด ตั้ ง แ ต่ เ ส้ น ผ่ า น ศูนย์กลาง 400 -800 มม.
นามาดักจับขยะทะเล ประเภทที่มีน้าหนักเบา หรือ ลอยอยู่บนผิวน้า
กรณีศึกษา : การดักจับขยะทะเล ทีมา : https://www.asla.org/2019studentawards/682668_A_Plastic_Tide.html
“ A plastic tide “ by Wiley Chi Wai Ng, The University of Hong Kong เป็ น วิ ท ยานิ พ นธ์ ที่ เ กี่ ย วกั บ การ จัดการปัญหาขยะทะเลของชุมชนริมฝั่งทะเล ในมาเลเซีย โดยขั้นตอนใหญ่ๆ คือ การดั ก จับขยะ การคัดแยก การทาความสะอาดและ ท า ใ ห้ แ ห้ ง สุ ด ท้ า ย คื อ ก า ร แ ป ร รู ป ข ย ะ พลาสติก
องศาของแนวอาคารที่ใช้ ดักจับขยะทะเล ทามุมกัน 60° เพื่ อประสิทธิภาพ สูงสุดในการดักขยะทะเล
การใช้แสงแดดในการตาก แห้ง เป็นวิธีที่ใช้ต้นทุน ต่าสุด และยังสามารถฆ่า เชื้อโรคได้อีกด้วย
กรณีศึกษา : การต่อยอดขยะทะเล
ที่มา : https://urbancreature.co/zero-waste-akira-sakano/ https://readthecloud.co/akira-sakano/
จังหวัด Tokushima ประเทศญี่ปุ่น ยั ง มี เ มื อ งเล็ ก ๆ อย่ า ง ‘Kamikatsu’ ที่ มี ประชากรเพี ยง 1,700 คน และส่ ว นใหญ่ เป็ นผู้ สูงอายุ ซึ่ง เคยเผชิญ ปั ญหาด้านการ จั ด การขยะไม่ ต่ า งจากเมื อ งอื่ น ๆ ทั่ ว โลก จนกระทั่งปี 2003 เริ่มปฏิบัติการแยกขยะ เมื่อ 20 ปีก่อน ชาวเมืองกาจัดขยะ ทุกอย่างด้วยวิธีการเผา แต่รัฐบาลท้องถิ่น เห็นว่า การตั้งโรงงานเผาขยะในชุมชนนั้นใช้ ง บ ป ร ะ ม า ณ ม า ก อี ก ทั้ ง ส่ ง ผ ล เ สี ย ต่ อ สิ่งแวดล้อมและสุขภาพจึงมองหาวิธีจัดการ ขยะที่ถูก ลง และเป็ นมิต รกับ ทุกคน นั่ นคื อ การแยกขยะเพื่ อน าไปรี ไ ซเคิ ล นอกจาก สุ ข ภ า พ ช าว เ มื อ ง ที่ ดี ขึ้ น เ งิ น ภ า ษี ข อ ง ประชาชนที่ แ ต่ เ ดิ ม ถู ก น าไปใช้ จั ด การขยะ รว มถึ ง รา ยได้ จ ากก ารรี ไ ซ เ คิ ล ก็ น าไ ป พั ฒนาคุณภาพชีวิตของคนในชุมชน
การทาให้การแยกขยะขยะ เป็นเรื่องง่าย คือ สร้าง ทางเลือกให้คนในชุมชน มี ระบบการจัดการที่ชัดเจน มีสิ่งอานวยความสะดวก และให้ความรู้
นาแนวคิดของโครงการ ไปปรับกับพื้ นเพเดิมของ การจัดการขยะของชุมชน เพื่ อความค่อยเป็นค่อยไป
ต้องได้รับความร่วมมือ จากคนในชุมชน ร้านอาหาร ร้านค้าต่าง ๆ เพื่ อความยั่งยืนในการลด ปริมาณขยะ
มีพื้นที่สนับสนุนการต่อยอด ขยะและลดขยะที่หลากหลาย เช่น Package free shop, Refill station, Exchange second hand shop and Upcycling craft center
กรณีศึกษา : การต่อยอดขยะทะเล ที่มา : https://readthecloud.co/recycled-plastic-pavement-blocks/
โครงการบล็ อ กปู ถ นนรี ไ ซเคิ ล ใช้ ถุงพลาสติกมาตัดแบ่งเป็นบล็อกปูถนนที่มี ความทนทานสูงในราคาต้นทุนที่ไม่มากนัก ขั้ น ตอนการผลิ ต เริ่ ม แรก คื อ การ คัดแยกขยะ ต้องเป็ นขยะถุงพลาสติกที่ยืด ได้ ห รื อ เป็ น ถุ ง แบบอ่ อนเท่า นั้ น เมื่ อ ได้แ ล้ ว จึงนาถุงมาย่อยเป็นชิ้นเล็ก ๆ เมื่อย่อยเสร็จ แล้ว จึงนาไปตากให้แห้ง จากนั้นจึงนาทราย ผสมในอัต ราส่ ว น พลาสติก 1: ทราย3 เมื่ อ ได้ แ ล้ ว จึ ง น าทรายใส่ ใ นเครื่ อ งผสมร้ อ น ที่ ทางภาควิชาคิดค้นและพั ฒนาขึ้นมาจากนั้น จึงเทวัสดุที่หลอมรวมกันแล้วบรรจุในพิ มพ์ เหล็ก แล้วอัด หรือตอก แล้วทิ้งให้เซ็ตตัว
บล็อกปูถนนที่ได้จากการ ผลิต สามารถเอากลับมา ใช้ในการก่อสร้าง และเป็น องค์ประกอบของ โครงการได้
เหมาะกับการเอามาใช้ใน ชุมชน เนืองจากขนาด ของการผลิตไม่ใหญ่มาก สามารถทาได้
ขยะที่นามาทาส่วนใหญ่ เป็นพลาสติกประเภท LDPE (พลาสติกชนิด อ่อน) ซึ่งพบได้มากและมี อยู่ทั่วไป
กรณีศึกษา : การต่อยอดขยะทะเล ที่มา : https://www.recycleengineering.com/knowledge_base-recycling/
การนาของเสียหรือวัสดุที่ใช้แล้ว มา ผ่ า น ก ร ะ บ ว น ก า ร แ ป ร รู ป ห รื อ ป รั บ ป รุ ง คุณภาพ เพื่ อให้ข องเสียกลับมามีคุณภาพ เที ย บเท่า หรื อ ใกล้ เ คี ยงของเดิ ม หรือ ให้ ไ ด้ วัตถุดิบใหม่ หรือผลิตภัณฑ์ใหม่
นามาใช้กับขยะพลาสติก ในโครงการ เพื่ อเป็นการ เพิ่ มมูลค่าใหกับขยะ มากกว่าการส่งขาย
เลือกการผลิตที่ไม่ใช้ เครื่องมือจักรกลขนาด ใหญ่ มีความเหมาะสมกับ ขนาดของโครงการ
กรณีศึกษา : การต่อยอดขยะทะเล
ที่มา : https://www.okmd.or.th/okmd-kratooktomkit/4396 http://readthecloud/upcycling-upstyling-home-products/ http://readthecloud.co/shopping-upcycling-fashion-products/
การนาวัสดุที่ไม่ใ ช้แล้ว หรือของที่จ ะ ถูกทิ้งเป็นขยะมาแปลงให้เป็นผลิตภัณฑ์ใหม่ ที่ มี คุ ณภ า พ ดี ก ว่ า เ ดิ ม แล ะ สา ม าร ถ น า กลั บ มาใช้ ป ระโยชน์ ไ ด้ หรื อ ออกแบบให้ มี ความสวยงาม เพื่ อให้มี มูล ค่า เพิ่ มขึ้ น โดย ไม่ทาให้ คุณภาพและส่ว นประกอบของวั สดุ นั้นลดลง โดยจะไม่ผ่านกระบวนการแปรรูป ทางอุต สาหรกรรม และไม่ผ่านกระบวนการ ทางเคมี ที่ มี ผ ลเสี ย ต่ อสิ่ ง แวดล้ อ ม หรื อ ใช้ สารเคมีให้น้อยที่สุด
นามาใช้กับขยะทะเล โดย พั ฒนาให้เป็นจุดขายที่ เป็นเอกลักษณ์ของ โครงการ
ถือเป็นการสร้างรายได้ เพิ่ มเติมให้กับคนในชุมชน นอกเหนือจากการประมง
“อ่าวไทยตอนบน”
Site information and analysis
มีขยะไหลออกสู่ทะเลมากที่สุด
อ่าวไทยตอนบน (Upper, Gulf of Thailand) เป็นแหล่งทรัพยากรประมงและระบบนิเวศทางทะเลที่สาคัญของประเทศ มีความอ่อนไหวเปราะบางต่อการ ่ ุ่มแม่นา้ 5 สายสาคัญ ได้แก่ แม่น้าบางปะกง เจ้าพระยา ท่าจีน แม่กลอง และแม่น้าบาง เปลี่ยนแปลงคุณภาพสิ่งแวดล้อมและความอุดมสมบูรณ์ ประกอบด้วย พื้ นทีล ตะบูน ซึ่งไหลผ่านพื้ นที่ลุ่มน้าภาคกลาง ตลอดจนชุมชนเมืองที่มีบ้านเรือนตั้งอยู่หนาแน่น
กรุงเทพมหานคร
แนวชายฝั่งยาว 6 กิโลเมตร มีพื้นที่ป่าชายเลน 4,741.24 ไร่ และมีปริมาณขยะสะสมในแนวป่าชายเลน - กิโลกรัม/ไร่/ปี
สมุทรสาคร
่ ่าชายเลน 27,068.89 ไร่ มีแนวชายฝั่งยาว 43 กิโลเมตร มีพื้นทีป และมีปริมาณขยะสะสมในแนวป่าชายเลน 632.86 กิโลกรัม/ไร่/ปี
สมุทรปราการ
มีแนวชายฝั่งยาว 50 กิโลเมตร มีพื้นที่ป่าชายเลน 21,087.06 ไร่ และมีปริมาณขยะสะสมในแนวป่าชายเลน – กิโลกรัม/ไร่/ปี
สมุทรสงคราม
มีแนวชายฝั่งยาว 25 กิโลเมตร มีพื้นที่ป่าชายเลน 28,038.37 ไร่ และมีปริมาณขยะสะสมในแนวป่าชายเลน 135 กิโลกรัม/ไร่/ปี
ฉะเชิงเทรา
่ ่าชายเลน 11,557.73 ไร่ มีแนวชายฝั่งยาว 16 กิโลเมตร มีพื้นทีป และมีปริมาณขยะสะสมในแนวป่าชายเลน - กิโลกรัม/ไร่/ปี
เพชรบุรี
มีแนวชายฝั่งยาว 92 กิโลเมตร มีพื้นที่ป่าชายเลน 19,486.75 ไร่ และมีปริมาณขยะสะสมในแนวป่าชายเลน 103 กิโลกรัม/ไร่/ปี
ชลบุรี
มีแนวชายฝั่งยาว 172 กิโลเมตร มีพื้นที่ป่าชายเลน 6,656.14. ไร่ และมีปริมาณขยะสะสมในแนวป่าชายเลน 22.59 กิโลกรัม/ไร่/ปี
0
May
117,153
236,577
242,212 Mar
จากการสารวจการไหลเข้า – ออกของขยะบริเวณปากแม่น้าสายสาคัญทั้ง 5 สาย พบว่า
2,000
จานวนรวมของขยะลอยน้า (ชิ้น) ทีไ่ หลเข้า ออกบริเวณปากแม่น้าทั้ง 5 สายใน 1 วัน
Nov
• ขยะไหลอกจากแม่น้าสู่ทะเลมากที่สุด ช่วงฤดูฝน (พฤษภาคม - พฤศจิกายน) • ขยะไหลเข้าจากทะเลสู่แม่น้ามากที่สุด ช่วงหน้าแล้ง (พฤศจิกายน - พฤษภาคม)
3,000
1,000 Aug
1,244
5,659 4,504
4,000
0
Mar
817
100,000
65,495
200,000
5,000
82,882
300,000
6,000
960
500,000 400,000
7,000
499,299
600,000
8,000
565,750
591,325
700,000
1,440
ไหลเข้า
ไหลออก
May
Aug
Nov
นา้ หนักรวมของขยะลอยน้า (กก.) ที่ไหลเข้า ออกบริเวณปากแม่น้าทั้ง 5 สายใน 1 วัน
้ ทีป ่ ่าชายเลน จาแนกตามภาค และจังหวัด 2543-2562 กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง ที่มา : เนือ การศึกษาชนิดและปริมาณขยะลอยน้าบริเวณปากแม่น้าในอ่าวไทยตอนบน http://www.cuti.chula.ac.th/articles/478/ คู่มือแนวทางการจัดการขยะในป่าชายเลน กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง
สมุทรสงคราม
ตั้งอยู่ภาคกลางตอนล่างของประเทศ ไทย ประมาณเส้นรุ้งที่ 13 องศาเหนือและเส้นแวงที่ 100 องศาตะวันออก ตั้งอยู่ริมฝั่งทะเลอ่าวไทยด้านทิศตะวันตก บริ เ วณปากแม่ น้ า แม่ ก ลองห่ า งจากกรุ ง เทพมหานครไป ทางทิศ ตะวัน ตกเฉียงใต้ ประมาณ 65 กิ โลเมตร มี พื้นที่ ประมาณ 416.707 ตารางกิ โลเมตร หรื อ 260,422 ไร่ แบ่งออกเป็น 3 อาเภอ 36 ตาบล 284 หมู่บ้าน 24 ชุมชน
• • • • • • •
Site information and analysis
ประกอบไปด้วย 3 อาเภอ ได้แก่ อาเภอเมืองสมุทรสงคราม มีเนื้อที่ 169.057 ตร.กม. คิดเป็น 40 % อาเภออัมพวา มีเนื้อที่ 170.164 ตร.กม. คิดเป็น 41 % อาเภอบางคนที มีเนื้อที่ 77.486 ตร.กม. คิดเป็น 19 % มีอาณาเขตติดต่อกับจังหวัดใกล้เคียง ดังนี้ ทิศเหนือ ติดต่อกับ ราชบุรีและสมุทรสาคร ทิศใต้ ติดต่อกับ อ่าวไทยและเพชรบุรี ทิศตะวันออก ติดต่อกับ สมุทรสาคร ทิศตะวันตก ติดต่อกับ ราชบุรีและเพชบุรี
จากสถิติ ปริมาณของ พื้ นทีของป่า ชายเลนตาม จังหวัด ใน พื้ นที่อ่าวไทย ตอนบน
พื้ นที่ส่วนใหญ่เป็น ที่ราบลุ่ม ริมทะเล สภาพดินเป็นดิ นเหนีย ว ปนทรายไม่มีภูเขาหรือเกาะ แม่น้าสาคัญ คือ แม่น้าแม่กลอง นอกจากนี้ ยั ง มี ล าคลองมากมาย แยกออกมาจากแม่ น้ า แม่ กลอง 366 คลอง ลาประโดง 1,947 ลาประโดง สมุทรสงครามตั้งอยู่บริเวณชายฝั่งทะเลอ่าวไทย ได้รับ อิทธิ พลจากลมมรสุ มตะวัน ตกเฉีย งใต้ พายุ ดีเปรสชั่น พายุ ไต้ ฝุ่ น จากอ่าวไทยและทะเลจี น ใต้ พั ดพาฝนมาตกในฤดู ร้ อน อากาศไม่ ร้ อ นจั ด เกิ น ไป และฤดู ห นาวอากาศไม่ ห นาวจั ด สมุ ท รสงครามมี อ ากาศดี ต ลอดทั้ ง ปี โดยมี อุ ณ หภู มิ เ ฉลี่ ย 39.82 องศาเซลเซียส
ประชากร มี 192,052 คน ( ข้อมูลปี2563 ) แบ่งเป็น ❑วัยเด็ก (0-14ปี) 25,620 คน (ร้อยละ 13.34) ❑วัยแรงงาน (15-59ปี) 119,770 คน (ร้อยละ 62.36) ❑วัยผู้สูงอายุ (60ปี+) 44,569 คน (ร้อยละ 23.21) ❑จาแนกอายุไม่ได้ 2,093 คน (ร้อยละ 1.09) การประกอบอาชีพ ประชากรส่วนใหญ่ร้อยละ 70 ประกอบอาชีพเกษตรกรรม และกสิกรรม ได้แก่ การทาสวน นอกจากนั้นประชากรที่อาศัยอยู่บริเวณชายฝั่งทะเล ส่วนมากมีอาชีพ การทาประมง ซึ่งสามารถสร้างรายได้หลักให้แก่จังหวัดจานวนมาก
จังหวัดสมุทรสงคราม เป็นจังหวัดที่มี ขนาดของพื้ นที่ป่าชายเลนมากที่สุดในอ่าวไทย ตอนบน อี ก ทั้ ง ยั ง เป็ น ป่ า ชายเลนที่ มี ส ภาพ สมบูรณ์ดี เต็มไปด้ว พรรณไม้และสรรพสัต ว์ แต่ ป ริ ม าณของขยะที่ ล อยมาติ ด แนวป่ า ชาย เลน ก็มีมากเป็นอันดับ 2 ในอ่าวไทยตอนบน เพื่ อเป็ น การรั ก ษา ปกป้ อ ง คุ ณ ภาพ ของป่ า ชายเลนให้ อุ ด มสมบู ร ณ์ ดี จึ ง เลื อ ก จั ง ห วั ด ส มุ ท ร ส ง ค ร า ม เ ป็ น พื้ น ที่ ใ น ก า ร ออกแบบ
การเดินทางมาโดย รถโดยสารสาธารณะ • บริษัท ขนส่ง จากัด เปิดบริการเดิน รถกรุ ง เทพฯ-สมุ ท รสงคราม โดยมี รถจากสถานีขนส่งสายใต้ ถนนบรม ราชชนนี ทุกวัน ตั้งแต่เวลา 05.5021.00 น. รถปรั บ อากาศ (ด าเนิ น ทัวร์) • รถตู้ ขึ้ น รถที่ ข นส่ ง สายใต้ ใ หม่ ( ปิ่ น เกล้า) • จากสถานีรถไฟวงเวียนใหญ่ มีรถไฟ สายวงเวียนใหญ่ -มหาชัยออกทุกวัน ลงรถไฟที่สถานีรถไฟมหาชัย จังหวัด สมุทรสาคร ข้ามเรือจากท่ามหาชัยไป ฝั่ งท่ า ฉลอม เพื่ อต่ อ รถไฟที่ ส ถานี ร ถ ไ ฟ บ้ า น แ ห ล ม ไ ป ยั ง จั ง ห วั ด สมุทรสงคราม
การเดินทางมาโดย รถส่วนตัว • จากกรุ ง เทพฯ ขึ้ น ทางด่ ว นไปลง ดาวคะนอง ไปตามทางหลวง หมายเลข 35 ถนนสายธนบุ รี - ปาก ท่อ (พระราม 2) ผ่านสี่แยกมหาชัยนาเกลือ ประมาณหลักกิโลเมตรที่ 63 จะมี ท างแยกต่ างระดั บ เข้ าตั ว เมื อ ง สมุทรสงคราม
Site information and analysis
ถนนหลักเข้าตัวเมือง
: ทางหลวงแผ่นดิน 325 สายบางแพ - สมุทรสงคราม
ถนนพระราม 2
ถนนหลักเข้าตัวเมือง
: ทางหลวงแผ่นดิน3093 ปากท่อ - ท่าน้าสมุทรสงคราม
ถนนเพชรเกษม
ที่มา : https://www.emagtravel.com/archive/samutsongkh ram.html
Site information and analysis
อนุรักษ์เพื่ อการอยู่อาศัย ที่อยู่อาศัยหนาแน่นน้อย
ที่อยู่อาศัยหนาแน่นปานกลาง พาณิชยกรรมและที่อยู่อาศัยหนาแน่น มาก อุตสาหกรรมเฉพาะกิจ ชนบทและเกษตรกรรม อนุรักษ์สภาพแวดล้อม ที่โล่งเพื่ อการนันทนาการ สถาบันการศึกษา ที่โล่งเพื่ อการรักษาสิ่งแวดล้อม อนุรักษ์เพื่ อส่งเสริมวัฒธรรมไทย สถาบันศาสนา สถาบันราชการ สาธารณูปโภค ที่มา : http://www.samutsongkhram.go.th/V2013/index.ph p/11-about/5044-2017-04-30-00-51-20
❑ป่ า ชายเล นใน ที่ ดิ น กรร มสิ ท ธิ์ ข อง ราษฎร ป่ า เดิ ม ที่ อ ยู่ ใ นพื้ นที่ ข องประชาชน และ เป็ น พื้ น ที่ ป ลู ก ป่ า ไม้ โ ก ง ก าง ใ น ที่ ดิ น กรรมสิทธิ์ ตั้งอยู่ที่ต.ยี่สาร อ.อัมพวา และ ต.แหลมใหญ่ อ.เมื อ งฯ รวมเนื้ อ ที่ ปลูกประมาณ 6,000 ไร่ ❑ป่าชายเลนบนพื้ นที่งอกชายฝั่งทะเล เป็ น โครงการฟื้ นฟู ป่ า ชายเลนบนพื้ นที่ งอกชายฝั่ งทะเล ต าบลคลองโคน อ าเภอเมื อ ง ได้ เ นื้ อ ที่ ป่ า 2,598 ไร่ 3 งาน มีการดาเนินการออกหนังสือสาคัญ ส าห รั บที่ ห ล ว ง ที่ ส าธ า ร ณ ป ร ะ โ ย ช น์ ชายทะเล จานวน 6 แปลง เนื้อที่ 1,884 ไร่ 1 งาน 26 ตารางวา ❑ป่ า ชายเลนที่ ป ลู ก ขึ้ น หลั ง แนวไม้ ไ ผ่ ชะลอคลื่น ได้ มี โ ครงการปั ก ไม้ ไ ผ่ ช ะลอคลื่ น เพื่ อ ป้ อ งกั น การกั ด เซาะชายฝั่ งทะเล พื้ นที่ ต าบลบางแก้ ว ต าบลบางจะเกร็ ง และ ต า บ ล แ ห ล ม ใ ห ญ่ อ . เ มื อ ง ฯ จ . สมุ ท รสงคราม พื้ นที่ ห ลั ง แนวไม้ ไ ผ่ ได้ ด าเนิ น การปลู ก ป่ า ชายเลนเพื่ อให้ ก าร ป้ อ ง กั น ก า ร กั ด เ ซ า ะ ช า ย ฝั่ ง ยั่ ง ยื น ป้ อ งกั น แนวไม้ ไ ผ่ ไ ม่ ใ ห้ พั งลง และเป็ น การป้ อ งกั น การกั ด เซาะชายฝั่ งอย่ า ง ยั่งยืน พื้ นที่ที่มีสภาพเป็นป่าชายเลน เขตพิ ทักษ์ป่าชายเลน นากุ้ง เกษตรกรรม พื้ นที่อื่น ๆ เขตปลูกป่าเต็มพื้ นที่ เขตปลูกเสริม
ที่มา : ทรัพยากรป่าชายเลนจังหวัดสมุทรสงคราม สานัก อนุรักษ์ทรัพยกรป่าชายเลน กรมทรัพยากรทางทะเลและ ชายฝั่ง
ส มุ ท ร ส ง ค ร า ม ไ ม่ มี พื้ น ที่ ป่ า ส ง ว น แ ห่ ง ช า ติ เนื่ อ งจากได้ ถู ก เพิ กถอนตั้ ง แต่ ปี พ .ศ. 2501 สภาพพื้ นที่ ที่มี เ ป็ น พั นธุ์ ไ ม้ ป่ า ชายเลน แบ่ ง เป็ น 2 ลั ก ษณะ คื อ ป่ า ชายเลนในที่ ดิ น กรรมสิ ท ธิ์ ข อง ราษฎร และป่าชายเลนบนพื้ นที่งอกชายฝั่งทะเล ซึ่ง ป่าชายเลนที่เป็นกรรมสิทธิ์ของราษฎรเป็ นพื้ นที่ป่า ไม้ โ กง กาง เ พื่ อใช้ เ ผ าถ่ า น ในปั จจุ บั น จั ง ห วั ด สมุทรสงครามมีพื้นที่ป่าชายเลน 3 ลักษณะ
Site information and analysis
Site selection : Macro scale
ต.บางบ่อ
อ.เมืองสมุทรสงคราม มีพื้นที่รวม 19,086 ไร่
สรุป
พื้ นที่ที่มีความเหมาะสมในการออกแบบโครงการ คือ
ตาบลคลองโคน อาเภอเมืองสมุทรสงคราม
ต.บางจะเกร็ง
อ.เมืองสมุทรสงคราม มีพ้ื นที่รวม 4,156 ไร่
20%
25%
35%
Criteria
มีการพึ่ งพาป่าชายเลน ด้านการท่องเที่ยว
ด้านการประมง
เป็นทางออก ของขยะ
มีปริมาณป่าชายเลนที่ ควรแก่การรักษา
รวม
1. คลองโคน
8/1.6
8/1.6
8/2
10/3.5
8.7
2. บางจะเกร็ง
8/1.6
8/1.6
10/2.5
4/1.4
7.1
3. บางแก้ว
8/1.6
4/0.8
6/1.5
6/2.1
6
20%
ต.คลองโคน
อ.เมืองสมุทรสงคราม มีพื้นที่รวม 21,056 ไร่
ตั้งอยู่บริเวณปากอ่าวแม่กลอง เป็น ที่ ที่ มี ผื น ป่ า ชายเลนมากกว่ า 2,000 ไร่ มีสถานที่ท่องเที่ยวและกิ จกรรมที่ เกี่ยวข้องกับป่าชายเลนมากมาย เช่น การประมงริ ม ชายฝั่ ง การปลู ก ป่ า ชายเลน รวมไปถึ ง ที่ พั กโฮมสเตย์ และร้านอาหารชื่อดังมากมาย
ตั้ ง อยู่ ป ากแม่ น้ า แม่ ก ลอง มี ส ถานที่ ท่ อ งเที่ ย วที่ มี ชื่ อ เสี ย งของสมุ ท รสงคราม นั่ น ก็ คื อ ดอนหอย หลอด เป็ นสันดอนตั้ ง อยู่ป ากแม่ น้าแม่ กลอง เกิ ด จากการตกตะกอนของดินปนทราย
ตั้ ง อยู่ ป ากคลองบางบ่ อ มี สถานที่ ท่ อ งเที่ ย วที่ ส าคั ญ คื อ โรงเรี ย นธรรมชาติ ป่ า ชายเลน ซึ่ ง ก่ อ ตั้ ง ขึ้ น เพื่ อ ขยายอาณาเขตของพื้ นที่ป่ า ชายเลนที่หายไป
หมู่ที่ 1 บ้านคลองคต มี 103 ครัวเรือน
หมู่ที่ 6 บ้านประชาชมชื่น มี 107 ครัวเรือน หมู่ที่ 5 บ้านคลองช่อง มี 218 ครัวเรือน
หมู่ที่ 2 บ้านคลองโคน มี 192 ครัวเรือน
Site analysis : Macro scale
องค์การบริหารส่วนตาบลคลองโคน
หมู่ที่ 3 บ้านคลองโคน มี 126 ครัวเรือน
หมู่ที่ 4 บ้านแพรกทะเล มี 161 ครัวเรือน
หมู่ที่ 7 บ้านคลองช่องน้อย มี 166 ครัวเรือน
ตั้งอยู่ห่างจากอาเภอ เมื องสมุท รสงครามประมาณ 15 นาที มี พื้ นที่ ใ นความรั บ ผิ ด ชอบทั้ ง สิ้ น 33.69 ตร.กม. (21,056ไร่ ) มีพื้นที่ส่ว นใหญ่เ ป็ นที่ราบชายฝั่ ง มีป่าแสมและโกงกาง บริ เวณที่อยู่ติด ชาย เลนจะเป็นพื้ นที่น้าเค็ม และพื้ นที่บางส่วนจะเป็นพื้ นที่น้ากร่อย • ทิศเหนือ ติดต่อกับ ต.บางขันแตก อ.เมืองสมุทรสงคราม • ทิศใต้ ติดต่อกับ ต.บ้านแหลม จ.เพชรบุรี • ทิศตะวันออก ติดต่อกับ ต.บ้านใหญ่ อ.เมืองสมุทรสงคราม และอ่าวไทย • ทิศใต้ ติดต่อกับ ต.ยี่สาร อ.อัมพวา
1. 2. 3. 4. 5. 6. 7.
แบ่งเป็น 7 หมู่บ้าน ดังนี้ บ้านคลองคต (มีจานวนประชากร 450 คน รายได้เฉลี่ย 80,256 บาท/คน/ปี) บ้านคลองโคน (มีจานวนประชากร 839 คน รายได้เฉลี่ย 64,179บาท/คน/ปี) บ้านคลองโคน (มีจานวนประชากร 531 คน รายได้เฉลี่ย 34,231 บาท/คน/ปี) บ้านแพรกทะเล (มีจานวนประชากร 584 คน รายได้เฉลี่ย 44,432 บาท/คน/ปี) บ้านคลองช่อง (มีจานวนประชากร 889 คน รายได้เฉลี่ย 63,975 บาท/คน/ปี) บ้านประชาชมชื่น (มีจานวนประชากร 613 คน รายได้เฉลี่ย 403,073 บาท/คน/ปี) บ้านคลองช่องน้อย (มีจานวนประชากร 621 คน รายได้เฉลี่ย 92,138บาท/คน/ปี)
ที่มา : แผนพั ฒนาสามปี ขององค์การบริหารส่วนตาบลคลองโคน
พื้ นที่ในการออกแบบ คือ ป่าชายเลนของตาบลคลองโคน และ ชุมชนที่เป็นปลายทางสุดท้ายของขยะก่อนไหลออกสูท ่ ะเล นั่นก็ คือ หมู่ที่
มีวิถีชีวิตที่ผูกพั นกับสายน้า ทั้งในชีวิตประจาวัน การเดินทาง การท่องเที่ยว และขนบธรรมเนียม ประเพณี
บ้านเรือนส่วนใหญ่ตั้งอยู่และหันหน้าเข้า หาคลอง มีรูปแบบของสถาปัตยกรรม ที่มีความเฉพาะตัว
มีป่าชายเลนเป็นภาพจาและ ทรัพยากรที่ล้าค่าของชุมชน
2 3 4 5 และ 7
มีการพึ่ งพาทรัพยากรธรรมชาติในการดารงชีพ ทั้งในการท่องเที่ยว การหา/เพาะเลี้ยงหอย และสัตว์ทะเลอื่น ๆ
อาคารบ้านเรือนส่วนใหญ่ตั้งอยู่สองฝั่ งของคลองและลาประโดงที่ไหลลงสู่ อ่าวไทย บ้านมีการตั้ง เสาสู ง เพื่ อรองรับ ระดั บน้ าที่ มีการขึ้ นลงตลอดเวลา ส่วนใหญ่ร้างขนานไปกับลาคลอง มีชานหรือพื้ นที่ส่วนกลางของบ้านหันมา ทางคลอง มีการปักไม้ ไผ่หรื อสร้างอาคารเล็ ก ๆ เพื่ อเป็ นที่จอดเรื อ และมี ทางเดินบนน้าจากเรือขึ้นมาบนบ้าน ส่ว นอาคารที่อยู่กลางทะเลหรือกะเตง เป็นอาคารที่ใช้พักระหว่างดูแลฟาร์มหอยแครง และยังมีที่จอดเรือ โดยยัง สามารถแขวนและยกเรือขึ้นเหนือน้าได้อีกด้วย
วิถีชีวิตของคนในชุมชนส่วนใหญ่พึ่งพาทรัพยากรทางทะเลเป็นหลัก ทั้งการ ท าประมง ที่ เ พาะเลี้ ย งเองโดยสั ม ปทานที่ จ ากรั ฐ และออกหาจั บ ตาม ธรรมชาติ ส่งขายเป็ นสินค้าอาหารสด หรือแปรรูป ได้แก่ น้าปลา กะปิ หรือ เคย อาหารทะเลแห้ ง นอกจากนั้ น ยั ง มี ที่ พั กและร้ า นอาหารที่ มี ชื่ อ เสี ย ง มากมาย คอยดึงดูดนักท่องเที่ย ซึ่งที่นี่สามารถมาเที่ยวได้ตลอดทั้งปี
ชุมชนมีการพึ่ งพาป่าในการใช้ไม้ของต้นโกงกางมาซ่อมแซมบ้าน และเผาทา ฟืน นอกจากนั้นก็เป็นเรื่องของการท่องเที่ยว นั่งเรือชมป่ าและลิงแสม ป่า ที่นี่มีสภาพที่อุดมสมบูรณ์ดี ป่ ามีความหนาแน่นของต้นไม้มาก มีพรรณไม้ หลากหลายชนิ ด และลั ต ว์ ม ากมาย ได้แ ก้ โกงกางใบใหญ่ โกงกางใบเล็ ก แสม ลาพู ลิงแสม ปลาตีน นก ตัวเงินตัวทอง เป็นต้น
ที่มา : แผนพั ฒนาสามปี ขององค์การบริหารส่วนตาบลคลองโคน
Site analysis : Macro scale ข้อมูล ประชากรของตาบลคลองโคน โดยแนวโน้มการเจริ ญ เติ บ โตของจานวนผู้ ห ญิ ง มี มากกว่า ผู้ ช าย และผู้ ค นส่ วนใหญ่ อยู่ใ นช่ วงวัยทางาน โดยประชากรส่ ว นใหญ่ ป ระกอบอาชี พ ท า ประมง รับจ้างทั่วไป และมีคนจานวนไม่น้อยที่ไม่ได้รับการจ้างงาน
ชาวประมง ออกไปเก็บตามสัตว์ทะเลธรรมชาติ ในช่วงเช้ามืด/บ่ายแก่ๆ ซึ่งเป็นช่วงน้าลด และกลับเข้าฝั่ง เพื่ อส่งขายในช่วงสายๆของวัน
อาชีพค้าขายส่วนใหญ่ จะเป็นร้านอาหาร ร้านขายของชา ร้านขายของ ฝาก ร้านขายวัตถุดิบอาหารทะเลที่ได้จากอ่าวไทย นอกนั้นเป็นร้านขาย ของเบ็ดเตล็ดที่ใช้ในครัวเรือน
อาชีพรับจ้างทั่วไป ทาทั้งในพื้ นที่และนอกพื้ นที่ มีทั้งรับจ้าง ในร้านอาหาร รีสอร์ทที่พักในชุมชน ขับรถรับส่ง นักท่องเที่ยว ขนอาหารทะเลเพื่ อนาไปขาย นาเกลือ รวมไป ถึงรับจ้างกับหน่วยงานข้างนอก
พนักงานเงินเดือน มีทั้งพนักงานราชการ พนักงานบริษัท รวมไปถึงพนักงานรัฐวิสาหกิจ ทางาน ทั้งในพื้ นที่ คือ เทศบาลตาบลคลองโคน หรือโรงพยาบาลส่งเริมสุขภาพตาบลคลองโคน
Site analysis : Macro scale
ถนนพระราม 2 (ทางหลวงแผ่นดิน 4) สายด าว คะ นอง –วั งมะน าว ตั ด ผ่ าน กรุ ง เ ทพฯ สมุ ท ร สาค ร สมุทรสงคราม ราชบุรี เป็นเส้นทางหลักสู่ภาคใต้
ถนนในชุ ม ชน เป็ น ถนนที่ แ จกจ่ า ยเข้ า ไปยั ง บ้ า นเรื อ น และสถานี่ต่าง ๆ ในชุมชน เป็นถนนคอนกรีต-ดิน
ถนนสส.4002 (บ้านดอนจั่น-บ้านคลองช่อง) เป็นเส้นหลักที่เข้ามา ในตัวชุมชนคลองโคน และอื่น ๆ
ถนนดินที่ลัดรอบคันนากุ้ง ชาวบ้านใช้สัญจรในการเข้า ไปทาการเกษตรและประมง
Site analysis : Macro scale
ภู มิ ประเทศโดยรวมค่ อ นข้ างแบน ราบ ไม่มีเนินหรือภูเขาขนาดใหญ่
Contour interval 5 m
11
9
ที่มา : https://en-gb.topographic-map.com/maps/lplt/Thailand/
6
3
0
metres
ทิ ศ ทางของกระแสน้ า ทะเลในแต่ ล ะ ช่วงเวลาของปี
Site analysis : Macro scale
ก ร ะ แ ส น้ า ใ น อ่ า ว ไ ท ย ต อ น ใ น เ ป็ น กระแสน้ า ที่ ไ ม่ ค่อ ยแรงและไม่ส ม่ า เสมอ อยู่ ภายใต้ อิ ท ธิ พ ลของกระแสน้ า ขึ้ น -น้ า ลง ใน ระหว่ า งช่ ว งน้ า ขึ้ น กระแสน้ า ไหลขึ้ น ไปทาง ทิศเหนือและกลับทิศกันในขณะน้าลง กาลัง แรงของกระแสน้ า ผั น แปรตามคาบเวลาน้ า ขึ้น-น้าลง 1. ในฤดู ล มมรสุ ม ตะวั น ออกเฉี ย งเหนื อ (พฤศจิกายน-มกราคม) กระแสน้าจะไหล ทวนเข็มนาฬิ กา 2. ใ น ฤ ดู ล ม ม ร สุ ม ต ะ วั น ต ก เ ฉี ย ง ใ ต้ (พฤษภาคม-สิง หาคม) กระแสน้า จะไหล ตามเข็มนาฬิ กา
การขึ้น-ลงของระดับน้า
น้ า ผ ส ม ช นิ ด น้ า เ ดี่ ย ว ( Mixed, Diurnal dominant) เป็นลักษณะของน้า ขึ้ น 1 ครั้ ง และน้ า ลง 1 ครั้ ง ต่ อ วั น เป็ น ส่วนมาก (มีบางขณะที่น้าขึ้น 2 ครั้ง น้าลง 2 ครั้งต่อวัน) ซึ่งความสูงและเวลาน้าขึ้นจะ แตกต่างกันมาก
ทรัพยากรน้า
ตาบลคลองโคน จั ดอยู่ในเขตน้า เค็ ม คือ เป็นพื้ นที่ริมฝั่งทะลที่เข้ามาอยู่ในระยะ 3 กิโลเมตร สภาพเป็นน้าเค็ม
ระดับน้าในแต่ละไตรมาสของปี วัดที่ปากแม่น้าแม่กลอง
ที่มา : http://www.mkh.in.th/index.php?option=com_content&view=article&id=74&Itemid=355&lang=th http://www.mkh.in.th/index.php?option=com_content&view=article&id=74&Itemid=355&lang=th ตาราง น้าขึ้นน้าลง ปากน้าแม่กลอง (สมุทรสงคราม) มีนาคม 2565 (thailandtidetables.com)
บ้านเรือนเกาะตาม เส้ น ถนน และเส้ น คลอง ส่ ง ผลถึ ง ค ว า ม แ ต ก ต่ า ง ของรู ป แบบทาง สถาปัตยกรรม
Site analysis : Macro scale
พื้ น ที่ ส่ ว น ใ ห ญ่ ชา ว บ้ า น ใ ช้ ท า น า กุ้ง และนาเกลือ
ป ร ะ ม ง พื้ น บ้ า น ขึ้ น อ ยู่ กั บ ส ภ า พ ความเป็ น ไปของ ธรรมชาติ
ป ร ะ ม ง ที่ ถู ก สั ม ป ท า น ที่ มี เ จ้ า ข อ ง ก า ร ใ ช้ ง า น ที่ ดิ น ต้ อ ง ได้รับ อนุญ าตจาก เจ้าของที่เท่านั้น
ป่ าชายเลนที่ เ ป็ น ที่ หลวงสาธารณะ ชาวบ้ า นสามารถ เข้ า มาใช้ ง านพื้ นที่ ได้ ในบางกรณี
เขตที่อยู่อาศัย (สิ้นสุดก่อนเข้าแนวป่าชายเลน)
พื้ นที่นากุ้ง นาเกลือ เขตประมงพื้ นบ้าน (ชาวบ้านสามารถมาจับ หอยแครงได้ตาม ธรรมชาติ รัฐบาลเป็นเจ้าของที่)
เขตประมง (พื้ นที่ ถู ก สั ม ปทานไปเป็ น ฟาร์ ม หอยแครง มี เจ้าของเป็นชาวบ้าน หรือเอกชน)
ที่หลวงสาธารณะ
น่านน้าภายใน (Internal Waters)
คื อ น่ า นน้ า ทางด้ า นแผ่ น ดิ น ของเส้ น ฐาน (baselines) แห่งทะเลอาณาเขต (อนุสัญญาฯ ข้อ 8 วรรคหนึ่ง) เช่น อ่าว แม่น้า ปากแม่น้า ทะเลสาบ เ ป็ น ต้ น ซึ่ ง รั ฐ ช า ย ฝั่ ง มี อ า น า จ อ ธิ ป ไ ต ย (sovereignty) เหนือน่านน้าภายใน (อนุสัญญาฯ ข้ อ 2) ในท านองเดี ย วกั บ ที่ รั ฐ ชายฝั่ งมี อ านาจ อธิปไตยเหนือดินแดน (territory) ดังนั้นหากเรือ ต่างชาติหรืออากาศยานต่างชาติจะผ่านเข้ามาในเขต น่ า นน้ า ภายในของรั ฐ ชายฝั่ ง เรื อ ต่ า งชาติ หรื อ อากาศยานต่างชาตินั้นจะต้องขออนุญาตรัฐชายฝั่ง ก่อน ได้แก่ พื้ นที่ที่แสดงด้วยสีเขียวทั้งหมด ซึ่งอยู่ ด้านในถัดจากเส้นฐานไปถึงฝั่ง
Site analysis : Macro scale
พระราชบัญญัติป่าไม้ พ.ศ. 2484
มาตรา 54 ห้ ามมิใ ห้ ผู้ใ ด ก่ อสร้า งแผ้ ว ถาง หรือเผาป่า หรือกระทาการด้ว ยประการใดๆอันเป็ น การท าลายป่ า หรื อ เข้ า ยึ ด หรื อ ครอบครองป่ า เพื่ อ ตนเองหรื อ ผู้ อื่ น เว้ น แต่ จ ะกระท าภายในเขตที่ ไ ด้ จาแนกไว้เ ป็นประเภทเกษตรกรรม และรัฐมนตรีได้ ประกาศในราชกิ จ จานุ เ บกษาหรื อ ได้ รั บ ใบอนุ ญ าต จากพนักงานเจ้า หน้าที่ การขออนุญาตและการอนุญ าต ให้ เ ป็ นไป ตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไขที่กาหนดในกฎกระทรวง
พระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ. 2535 พระราชบั ญ ญั ติ นี้ มี บ ทบั ญ ญั ติ คุ้ ม ครอง พื้ นที่ ซึ่ ง เป็ น ที่ อ ยู่ อ าศั ย ของสั ต ว์ ป่ า และคุ้ ม ครอง ชนิ ด พั นธุ์ สั ต ว์ ต ามบั ญ ชี ร ายชื่ อ สั ต ว์ ป่ า คุ้ ม ครอง ท้ า ยพ ระราชบั ญ ญั ติ ป่ าชายเ ลนจึ ง ได้ รั บ การ คุ้มครองเพราะเป็ นแหล่ง ที่อยู่ อาศั ยของสั ต ว์ป่ าใน รายชื่ อ สั ต ว์ ป่ า คุ้ ม ครอง นอกจากความคุ้ ม ครอง จาก"เขตห้ามล่าสัต ว์ป่า "แล้วยังได้รับ การคุ้มครอง โดยจัดตั้งพื้ นที่"เขตรักษาพั นธุ์สัตว์ป่า“ มาตรา 36 ในเขตรักษาพั นธุ์สัตว์ป่า ห้ามมิ ให้ผู้ใดล่าสัตว์ป่า ไม่ว่าจะเป็นสัตว์ป่าสงวนหรือสัตว์ ป่าคุ้มครองหรือมิใช่ หรือเก็บหรือทาอันตรายแก่รัง ของสัตว์ป่า เว้นแต่จะกระทาเพื่ อการศึกษาหรือวิจัย ทางวิชาการและได้รับอนุญาตเป็นหนังสือจากอธิบดี โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการ มาตรา 38 ในเขตรักษาพั นธุ์สัตว์ ป่า ห้ามมิให้ ผู้ใด ยึดถือหรือครอบครองที่ดินหรือปลูก หรือก่อสร้าง สิ่ ง หนึ่ ง สิ่ ง ใด หรื อ ตั ด โค่ น แผ้ ว ถาง เผา หรื อ ทาลายต้ นไม้ ห รื อ พฤกษชาติ อื่น หรื อ ขุ ด หาแร่ ดิ น หิน หรือเลี้ยงสัตว์ หรือปล่อยสัตว์หรือสัตว์ป่า หรือ เปลี่ ย นแปลงทางน้ า หรื อท าให้ น้ า ในล าน้ า ล าห้ ว ย หนอง บึ ง ท่ ว มท้ น เหื อ ดแห้ ง เป็ น พิ ษ หรื อ เป็ น อันตรายต่อสัตว์ป่า
่ อกชายฝั่งทะเลทีเ่ ป็นทีห ่ ลวงทีส ่ าธารณประโยชน์ชายทะเล ป่าชายเลนบริเวณนีเ้ ป็นป่าชายเลนบนพื้ นทีง
่ ินทีท ่ างราชการได้จัดให้ หรือสงวนไว้เพื่ อให้ประชาชนได้ใช้ประโยชน์ร่วมกัน เช่น ที่ทาเลเลี้ยงสัตว์ ป่าช้า ฝังและเผาศพ ห้วย ที่หลวงสาธารณะประโยชน์ = ทีด ที่ชายตลิ่ง เป็นต้น ตามกฎหมายถือว่าเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดิน ผู้ใดจะเข้ายึดถือครอบครองเพื่ อประโยชน์แต่เฉพาะตนนั้นไม่ได้เว้นแต่ จะได้รับอนุญาต จากพนักงานเจ้าหน้าที่ตามที่ระเบียบและกฎหมายกาหนดไว้ พื้ นที่งอกชายฝั่ งทะเล = สภาพป่าชายเลนโดยธรรมชาติ จะมีการเปลี่ยนแปลงโดยธรรมชาติอยู่ตลอดเวลาไม่มากก็น้อย เช่น การเปลี่ยนแปลงจากเลนงอก เป็นป่าชายเลน และป่าชายเลนเมื่อมีตะกอนมาสะสมมากขึ้น ก็จะเปลี่ยนสภาพเป็นที่ดอนหรือป่าดอน ที่มา :อาณาเขตทางทะเล (mkh.in.th)
Site analysis : Macro scale
ชุม ชนมี ส าธารณู ป โภคและสาธารณู ป การที่ ค่ อ นข้ า ง ครบครั น มี วั ด และโรงเรี ย นประจ าชุ ม ชน ส่ ว นใหญ่ พึ่ งพารายได้จากนักท่องเที่ยว คือ กิจการร้านอาหาร กิ จ กรรม และที่ พั ก ท าให้ บ รรยากาศค่ อ นข้ า งเงี ย บ เหงาในวันธรรมดา (จันทร์-ศุกร์)
อง ค์ ก ารบ ริ ห าร ส่ ว น ต าบ ล คลองโคน ศาสนสถาน
โรงเรียน ร้านอาหารและร้านขายของชา ที่พักนักท่องเที่ยว
ชุดดิน TC
กลุ่มชุดดินที่ 12 ลักษณะดินเกิดจาก ตะกอนนําทะเล ในบริเวณที่ราบนําทะเลท่วม ถึงและชะวากทะเล เป็นดินลึก การระบายนํา เลวมาก เนื้อดินเป็นพวกดินเหนียว หรือดิน ร่วนเหนียวปนทรายแป้ง พื้ นที่มีลักษณะเป็น ดินเลน ดินบนสีดาปนเทา มีจุดประสีนําตาล เล็กน้อย ดินล่างเป็นดินเลน สีเทาแกมหรือ เทาปนเขียว ความอุดมสมบูรณ์ปานกลาง – สูง pH ประมาณ 7.0 - 8.5 ปัญหาที่มี คือ เป็นดินเลนที่มีโครงสร้างเลว และเป็นดินเค็ม และพื้ นที่ยังคงมีนําทะเลท่วมถึงอยู่ กลุ่มดิน ชุดที่ 12 จัดอยู่ในประเภทชุดดิน ท่าจีน หรือ ดินคล้ายอื่น ๆ ข้อจากัดการใช้ประโยชน์ เป็นดินเค็มจัด น้าทะเลท่วมถึง ระดับ น้าใต้ดินขึ้นสูงเกือบถึงผิวหน้าดินตลอดปี ข้อเสนอแนะในการใช้ประโยชน์ ควรปล่อยไว้เป็นป่าธรรมชาติ (ป่าชาย เลน) เพื่ อเป็นที่อยู่อาศัยและแพร่ขยายพั นธุ์ ของสัต ว์ทะเลต่าง ๆ แต่บางส่ วนที่ อยู่ ห่า ง ทะเลมาก อาจใช้ปลู ก พื ชทนเค็ ม ได้โดยการ ยกร่อง
Site analysis : Macro scale
ชุดดิน FSP เป็นพื้ นที่ที่มีความเหมาะสมของดินใน การทาการประมงเพาะเลี้ยงนากุ้ง และทานา เกลือ
ดินบริเวณพื้ นทะเลของอ่าวไทย ตอนใน ร้อยละ 60 ประกอบด้วยตะกอนโคลนทะเล ปนด้วยเศษเปลือกหอย ดินตะกอนมีสีเ ทาอมเขียว เขียวเทา เทา และน้าตาลเข้ม รองลงมาเป็ นตะกอน โคลนปนทรายร้อยละ 20 สีเทาอมเขียว เขียวเทา ทรายที่ เ ป็ น องค์ ป ระกอบเป็ น ทรายละเอี ย ด มี เ ศษ เปลือกหอยปนร้อยละ 0-30 พื้ นตะกอนที่เป็นทราย ปนโคลนทะเลและตะกอนทรายพบสะสมจากชายฝั่ ง และบริเวณรอบเกาะต่าง ๆ ลั ก ษณะธรณี วิ ท ยาชั้ น ตะกอนใต้ พื้ นท้ อ ง ทะเลแบ่งออกเป็น 2 ชุด คือ ชั้ นตะกอนชุด ล่าง มี ร่ อ งรอยถู ก กั ด เซาะเป็ น ร่ อ งน้ า ขนาดใหญ่ และชั้ น ตะกอนชุ ด บนมี ค วามหนาตั้ ง แต่ 0-19 เมตร ดิ น ตะกอนในอ่าวไทยตอนในมีการสะสมของโลหะหนัก
ชุดดิน TC (ดินชุดท่าจีน)
ที่มา : แผนการจัดการทัพยากรที่ดินชายฝั่งทะเล กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง
ชุดดิน FSP (พื้ นที่เพาะเลี้ยงบ่อกุ้ง นาเกลือ)
Site analysis : Macro scale
1 โกงกางใบใหญ่ Rhizophora mucronate 5 แสมทะเล Avicennia alba 9 ตาตุ่มทะเล Excoecaria agallocha
2 โกงกางใบเล็ก Rhizophora apiculate 6 โปรงแดง Ceriops tagal 10 ประสักแดง Bruguiera sexangula
3 แสมขาว Avicennia alba 7 ลาแพน Sonneratia ovata 11 ตาตุ่มทะเล Sonneratia caseolaris
4 แสมดา Avicennia officinalis 8 ตะบูนขาว Xylocarpus granatum 12 โพทะล Thespesia populnea
1 ตัวเงินตัวทอง Varanus salvator 5 นกชายเลนเขียว Tringa ochropus 9 ปลาตีน Oxudercinae
2 ไส้เดือน Lumbricina 6นกตีนเทียน Himantopus himantopus 10 ปูแสม Sesarma
3 ปูก้ามดาบ Uca vocans 7 นกกระสานวล Ardea cinerea 11 นากทะเล Enhydra lutris
4 นกกินเปี้ ยว Todiramphus chloris 8 นกหัวโตทรายเล็ก Charadrius mongolus 12 ลิงแสม Macaca fascicularis
หมู่ที่ 2 และ 3 บ้านคลองโคน Site selection : Micro scale
หมู่ที่ 4 บ้านแพรกทะเล
สรุป
พื้ นที่ที่มีความเหมาะสมในการออกแบบโครงการ คือ
ชุมชนคลองโคน หมู่ที่ 2 และ 3
หมู่ที่ 5 และ 7 บ้านคลองช่อง และ คลองช่องน้อย 40%
25%
35%
มีความหนาแน่นของ ่ ด ครัวเรือนมากทีส ุ
เข้าถึงได้ง่ายจาก ภายนอก
มีรายได้ตอ ่ หัวน้อย
รวม
1. บ้านคลองโคน
8/3.2
10/2.5
10/3.5
9.2
2. บ้านแพรกทะเล
6/2.4
6/1.5
8/2.8
6.7
3. บ้านคองช่อง/ คลองช่องน้อย
10/4.0
8/2
6/2.1
8.1
Criteria
จากการวิเคราะห์ถึงข้อจากัด และข้อกาหนดในการใช้ พื้ นที่ชายฝั่งทะเลอ่าวไทย รวมไปถึงแนวคิด ทฤษฎี การปักไม้ไผ่ เพื่ อดักตะกอนเลน ซึ่งนามาปรับใช้กับ การดั ก จั บ ขยะ ได้ เ ป็ น เงื่ อ นไขในการก าหนดพื้ นที่ ศึ ก ษาในการออกแบบการดั ก จั บ ขยะทะเล บริ เ วณ รอยต่อป่าชายเลน – ทะเลอ่าวไทย ดังนี้
• ไ ม่ รุ ก ร า น ใ น พื้ น ที่ ข อ ง ช า ว บ้ า น ที่ มี ก า ร สัมปทานพื้ นที่ เพื่ อการประมง • อยู่ในระยะไม่เกิน 50-200 เมตร จากแนว ชายฝั่งป่าชายเลน • ไม่กีดขวางเส้นทางเข้าออกเรือประมงของ ชาวบ้าน
พื้ นที่นอกชายฝั่ ง ที่มีการสั มปทานที่ เพื่ อใช้ ใน การเพาะเลี้ยงสัตว์น้า โดยชาวบ้าน และเอกชน
ระยะ 150 เมตร ขึ้นไปจากชายฝั่ง ระยะ 100 เมตร จากชายฝั่ง ระยะ 50 เมตร จากชายฝั่ง
พื้ นที่ศึกษาออกแบบ
Site location
จากการวิ เ คราะห์ ถึ ง การตั้ ง ถิ่ น ฐานของบ้ า นรื อ น พื้ นที่ที่ไม่ได้ใช้ประโชน์ในชุมชน ทางน้าที่ชาวบ้านขุด เพื่ อนาน้าไปใช้ในการเพาะเลี้ยงนากุ้ง สาธาณูปโภค สาธารณูปการ รวมไปถึงเส้นทางการสัญจรของเรือ ที่ใช้ในชุมชน ได้เป็นเงื่อนไขในการกาหนดพื้ นที่ในการ ดักจับขยะทะเลจากชุมชน บริเวณรอยต่อป่าชายเลน กับคลอง ดังนี้
• ไม่ขวางเส้นทางการเดินเรือของคนในชุมชน • ไม่ขวางเส้นทางน้าที่ชาวบ้านขุด • รายละเอียดของวิธีการดักจับจะต่างกับการ ดักจับนอกชายฝั่งทะเล (ขนาด ระยะห่าง)
เส้นทางน้าระหว่างคลอง – นากุ้ง เขตบ้านเรือนที่อยู่อาศัย แนวการดักจับขยะทะเล บริเวณริมคลอง
Site location
จากการวิเคราะห์องค์ประกอบของพื้ นที่ในด้านต่าง ๆ ดังนี้ • เส้นทางสัญจร และลักษณะการเข้าถึงชุมชน • Node ของชุมชน • ตาแหน่งของพื้ นที่ว่างของชุมชน • ลักษณะมุมมองที่เห็นภายในชุมชน • ตาแหน่งของบ้านเรือนในชุมชน ทาให้เห็นถึงศักยภาพของลานวัดของวัดคลองโคน ที่ในปัจจุบันเป็นลานดิน / ลานคอนกรีต ปัจจุบันถูก ใช้ ง านให้ เ ป็ น ลานเอนกประสงค์ ข องวั ด ใช้ จั ด งาน ประจ าปี เช่ น งานกฐิ น หรื องานผ้ าป่ า เป็ น ต้ น เป็ น พื้ นที่ของสงฆ์ และยังเป็นพื้ นที่ศูนย์กลางของชุมชน เข้ า ถึ ง ได้ จ ากถนนหลายสาย เชื่ อ มต่ อ กั บ วั ด และ โรงเรียน มองเห็นได้จากการสัญจรที่ผ่านไปผ่านมา จากศักยภาพที่มีความเหมาะสม จึงนามาสู่การเลือก เป็ น ที่ ตั้ ง ของโครงการศู น ย์ ก ารเรี ย นรู้ ข ยะทะเล บริเวณชายฝั่งป่าชายเลน
พื้ นที่มีขนาด 113,229 ตร.ม. หรือ 71 ไร่ เป็น พื้ นที่ดาเนินการหลักของโครงการ
Site location
จากการวิเคราะห์องค์ประกอบของพื้ นที่ในด้านต่าง ๆ รวมไปถึงแนวคิด เบื้องต้นในการดาเนินการของ โครงการ ทั้ ง กระบวนการดั ก จั บ ขยะจากทางทะเล อ่าวไทย ชุมชน การลาเลียง การคัดแยก และการต่อ ยอดขยะทะเล เพื่ อเป็นการปกป้องรักษาแนวป่าชาย เลนอย่ า งยั่ ง ยื น จึ ง เกิ ด เป็ น พื้ นที่ ใ นการออกแบบ ทั้งหมด 3 โซนใหญ่ ๆ ดังนี้
• zone A : การดักจับขยะทะเล จากฝั่งทะเล อ่าวไทย • zone B : การดักจับขยะทะเล บริเวณ รอยต่อคลองกับป่าชายเลน • zone C : พื้ นที่ต่อยอดและเรียนรู้คุณค่า ของป่าชายเลน และปัญหาของขยะทะเล ขนาดของพื้ นที่ในการศึกษาและออกแบบ
544,558 ตร.ม. (346 ไร่)
19,530 ตร.ม. (12 ไร่)
113,229 ตร.ม. (71 ไร่)
รวมพื้ นที่ในการศึกษาและออกแบบ ทั้งหมด
677,317 ตร.ม. หรือ 423 ไร่
Site location
ศูนย์การเรียนรู้ขยะทะเล บริเวณชายฝั่งป่าชายเลน
Overall program
ปกป้องและรักษาคุณภาพของป่าชายเลน จากปัญหาขยะทะล
เชื่ อ มโยงโครงข่ า ยการจั ด การ
ปัญหาขยะทะเลในป่าชายเลน เข้ากับ ชุมชนที่เป็นทางออกของขยะทะเลใน ตาบลคลองโคน เพื่ อเป็นการปกป้อง รักษาแนวป่าชายเลน
เพื่ อให้ปริมาณขยะบริเวณชายฝั่งป่า ชายเลนมีจานวนลดน้อยลง
เพื่ อให้ระบบนิเวศป่าชายเลนบริเวณนั้น มีความสมบูรณ์ และสามารถให้บริการ ทางนิเวศได้อย่างครบครัน
เพื่ อให้ผู้คนได้เรียนรู้และตระหนักถึง ปัญหาของขยะเล
เพื่ อให้ขยะถูกนาไปต่อยอด ด้วยวิธีที่ สร้างสรรค์ เกิดเป็นมูลค่าและกิจกรรม ในพื้ นที่
กระบวนการดาเนินงานภายในโครงการ แบ่งเป็นพื้ นที่ 3 โซนหลัก ๆ ซึ่งตั้งอยู่ตามจุดต่าง ๆ ของชุมชนคลองโคน ประกอบไปด้วย กระบวนการดักจับขยะทะเล (Collecting) กระบวนการลาเลียง คัดแยกและทาความสะอาดขยะทะเล (Processing) และกระบวนการ ต่อยอดขยะทะเล (Transformation) ซึ่งทุก ๆกระบวนการเปิดให้ผู้ที่มีความสนใจเข้ามารับรับชมและเรียนรู้ได้
Strategies plan
Strategies plan : Waste management
ที่มา : คู่มือแนวทางการจัดการขยะในป่าชายเลน กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง
Strategies plan : Waste management
1. PET (Polyethylene Terephthalate)
เสื้อผ้า กระเป๋า ของตกแต่ง
2. HDPE (High-density Polyethylene)
เครื่องใช้ในครัวเรือน เครื่องมือการประมง
3. PVC (Polyvinyl Chloride)
ส่งขายไปยังร้านวงษ์พาณิชย์ติวานนท์
4. LDPE (Low-density Polyethylene)
บล็อกปูพื้น ตะกร้า ถุงใส่ของ / ส่งให้โครงการวน
5. PP (Polypropylene)
ส่งขายไปยังร้านวงษ์พาณิชย์ติวานนท์
6. PS (Polystyrene or Styrofoam)
ข้าวของเครื่องใช้ในครัวเรือน เครื่องมือการประมง เครื่องใช้ในครัวเรือน เครื่องมือการประมง
1. Cardboards
ใช้งานในโครงการ / ส่งขายร้านวงษ์พาณิชย์ติวานนท์
2. Color paper
ส่งขายไปยังร้านวงษ์พาณิชย์ติวานนท์
3. Black & White paper
ส่งขายไปยังร้านวงษ์พาณิชย์ติวานนท์
ส่งขายไปยังร้านวงษ์พาณิชย์ติวานนท์ เครื่องใช้ในครัวเรือน ส่งขายไปยังร้านวงษ์พาณิชย์ติวานนท์ เครื่องใช้ในครัวเรือน / ขายร้านวงษ์พาณิชย์ติวานนท์
ปุ๋ยหมัก ใช้ในการเกษตร เฟอร์นิเจอร์ เครื่องใช้ในครัวเรือน เฟอร์นิเจอร์
ส่งขายบริษัท อีโค แมเนจเม้นท์ อินดัสเตรียล จากัด
Strategies plan : Waste transforming
ก ร ะ บ ว น ก า ร รี ไ ซ เ คิ ล ข ย ะ พลาสติ ก ประเภทที่ 1 2 และ 4 เป็ น กระบวนการรี ไ ซเคิ ล ที่ ใ ช้ เ ครื่ อ งจั ก ร และขนาดการผลิตที่เหมาะสมกับขนาด ของที่ ตั้ ง ซึ่ ง เป็ น ลั ก ษณะของชุ ม ชน ด าเนิ น การในระดั บ รั ฐ วิ ส าหกิ จ ชุ ม ชน เพื่ อให้ ไ ด้ สิ น ค้ า เช่ น กระเป๋ า ถุ ง ผ้ า ของใช้ในครัวเรือน ที่สร้างรายได้ให้กับ ชุ ม ช น โ ด ย สิ น ค้ า เ ห ล่ า นั้ น จ ะ ถู ก ออกแบบ และพั ฒนาให้ มี เ อกลั ก ษณ์ แ ล ะ ทั น ส มั ย เ พื่ อ รั บ กั บ เ ท ร น ที่ เปลี่ ย นไปตลอดเวลา รวมไปถึ ง การ ผลิตเพื่ อใช้ในโครงการ คือ อิฐบล็อก เพื่ อนามาสร้างภาพจาในการใช้พื้นที่ใน โครงการ
Strategies plan : Waste transforming
กระบวนการ upcycling ใช้กับ ขยะที่ ดั ก จั บ ได้ จ ากทะเล และต้ น ทาง ของขยะ นั่ น คื อ ชุ ม ชน โดยมี ก ารคั ด แยกขยะตามคุ ณ ภาพ และสี เพื่ อให้ ง่ า ย ต่ อ ก า ร น า ไ ป อ อ ก แ บ บ เ ป็ น ผลิตภัณฑ์ต่อไป โ ด ย ข ย ะ พ ล า ส ติ ก ที่ น า ม า upcycle มีทั้งหมด 3 ประเภท คือ 1 2 และ 4 มี ก ารออกบบลิ ต ภั ณ ฑ์ จ าก ขยะ ให้ ส ามารถน ามาใช้ ไ ด้ ทั้ ง ในพื้ นที่ ของโครงการ ด้ ว ยการน ามาตกแต่ ง จั ด สรร สร้ า งภาพจ าให้ กั บ โครงการ อี ก ช่ อ งทางหนึ่ ง คื อ ผลิ ต เป็ น สิ น ค้ า เพื่ อขายทารายได้ให้กับโครงการ โดย สิ น ค้ า นั้ น สามารถใช้ ใ นชี วิ ต ประจ าได้ ห รื อ ต า ม เ ท ร น กั บ โ ล ก ยุ ค ปั จ จุ บั น เ ป็ น ไ ด้ ทั้ ง ข อ ง ใ ช้ / ต ก แ ต่ ง บ้ า น เครื่ อ งประ ดั บ เช่ น โคมไฟ ต่ า ง หู ประติมากรรม ตะกร้า ถุงผ้า เป็นต้น
Strategies plan : Waste transforming
กระบวนการ upcycling ใช้กับขยะที่ดัก จั บ ได้ จ ากทะเล และต้ น ทางของขยะ นั่ น คื อ ชุมชน โดยมีการคัดแยกขยะตามคุณภาพ และสี เพื่ อให้ง่ ายต่อการนาไปออกแบบเป็น ผลิต ภัณ ฑ์ ต่อไป โดยขยะประเภทเศษผ้า หรือเสื้อผ้าที่ไม่ได้ ใช้แล้ว จะถูกนามาคัดแยกตามเนื้อผ้า และสี เพื่ อ นาไปตัดเย็บใหม่ ให้เป็นข้าวของเครื่องใช้ ได้แก่ ผ้าม่าน ผ้าคลุมพรมเช็ดเท้า เป็นต้น เกิดเป็นงาน ศิลปะที่เรียกว่า “Patchwork” ข ย ะ ป ร ะ เ ภ ท เ ศ ษ ก ร ะ เ บื้ อ ง ห ลั ง ค า เครื่ อ งปั้ นดิ น เผา ไปจนถึ ง พวกเปลื อ กหอย จะ ถูกนามาคัดแยกตามสี และนาไปประยุกต์เข้ากับ การปั้นดิน เพื่ อเป็นข้าวของเครื่องใช้ในครัวเรือน เกิดเป็นลวดลายเฉพาะของเครื่องปั้นดินเผา ขยะประเภทเศษแก้ ว ขวด กระจก จะถู ก คัดแยกตามเกรด สี และสภาพของขยะ ก่อนจะ ถู ก น ามาหลอม หรื อ ตั ด แต่ ง เพื่ อให้ ก ลายเป็ น ของใช้ในครัวเรือน และเป็นลวดลายเฉพาะ เช่น กระถางต้นไม้ จานรองแก้ว จานรองเทียนหอม เป็นต้น และขยะประเภทเศษไม้ ไม้กระดาน แผ่นไม้ จะถูกนามาคัดแยกตามเนื้อไม้แ ละขนาด ก่อนจะ แบ่ ง ส่ ว นหนึ่ ง ใช้ ซ่ อ มบ ารุ ง บ้ า นเรื อ นในชุ ม ชน เพื่ อลดการตั ด ไม้ จ ากต้ น โกงกาง และอี ก ส่ ว น หนึ่ ง น ามาประดิ ษ ฐ์ เ ป็ น ข้ า วของเครื่ อ งใช้ ใ น ครัวเรือน สุ ด ท้ า ย คื อ ข ย ะ ที่ มี ข น า ด ใ ห ญ่ จ า ก ครัว เรือ น จะมีพื้ ที่สาหรับซ่อมบารุ งในโครงการ เพื่ อลดการทิ้งให้กลายเป็นขยะ
Function and area requirements
Function and area requirements
Function and area requirements
User analysis
โค ร ง ก าร เปิ ด ใ ห้ ผู้ ที่ มี ค ว า ม สนใจในการอนุรักษ์ป่าชายเลน และผู้ ที่ มี ค วามสนใจในปั ญ หา ของขยะทะเล ได้เข้ามาศึกษา ดู งาน เรี ย นรู้ น าองค์ค วามรู้ ไป ปรั บ ใช้ โดย มี พ้ื นที่ ท่ี ส ามารถ รองรั บได้ ห ลากห ลาย ตาม จ า น ว น ข อ ง ผู้ ที่ เ ยี่ ย ม ช ม รวมทั้งอาศัยความร่วมมือจาก ชุ ม ช น ใ น ก า ร ใ ห้ บ ริ ก า ร อาสาสมัครที่ต้องการมาศึกษา องค์ความรู้อีกด้วย
โครงการอยู่ภายใต้การดูแลของชุมชน นาโดย ผู้นาชุมชนบ้านคลองโคน ซึ่งมีวิสัยทัศน์ในการ ดูแลปกป้องรักษาป่าชายเลนเดิมอยู่แล้ว และมี การจ้างงานชาวบ้านในชุมชน มาเป็นส่วนหนึ่ง ในการดาเนินโครงการ รวมไปถึงการประสาน ขอความร่ ว มมื อ กั บ ชาวบ้ า น ในการอ านวย ความสะดวกให้แก่นักท่องเที่ยวอีกด้วย
User analysis : Insider
• ดู แ ล แ ล ะ จั ด กา รข ยะ ทะ เ ล บ ริ เ ว ณ รอยต่อป่าชายเลน – ทะเลอ่าวไทย • ให้องค์ความรู้แก่นักท่องเที่ยว
• ดู แ ล แ ล ะ จั ด กา รข ยะ ทะ เ ล บ ริ เ ว ณ รอยต่อป่าชายเลน – คลอง • ให้องค์ความรู้แก่นักท่องเที่ยว
• ดูแลและจัดการขยะทะเล จากโซน A/B • ดูแลและจัดการขยะจากชุมชน • ให้องค์ความรู้แก่นักท่องเที่ยว
• นาขยะจากครัวเรือนมาจัดการในพื้ นที่ ของโครงการ • ใช้บริการธนาคารขยะ
• นานักท่องเที่ยวล่องเรือชมป่าชายเลน • น านั ก ท่ อ งเที่ ย วชมและศึ ก ษาดู ง าน ตามพื้ นที่ต่างๆ ของโครงการ
User analysis : Outsider
• แวะเข้ า มาชมโครงการในช่ ว งเวลา สั้ น ๆ เช่ น แวะมาซื้ อ ของ แวะทาน อาหาร หรือแวะเข้าชมนิทรรศการ
• เข้ามาชมโครงการ โดยใช้ระยะเวลาเต็ม วัน • เข้ามาทากิจกรรมในโครงการ เช่น การ ทางานคราฟต์จากขยะ
• เ ข้ า มา ศึ ก ษา ดู ง าน เ รี ยน รู้ แล ะท า กิจกรรมต่างๆ ในโครงการ
• มาศึ ก ษาดู ง าน วิ จั ย เรี ย นรู้ และท า กิ จ กรรม เพื่ อน าองค์ ค วามรู้ ไ ปต่ อ ยอดและพั ฒนา
• เข้ า มาท ากิ จ กรรมเหมื อ นพนั ก งาน เพื่ อมาเรียนรู้เอาองค์ความรู้ไปปรับใช้ และเรียนรู้วิถีชุมชน
เส้นทางการเรียนรู้ภายในโครงการ มีทั้งระยะสั้นและระยะยาว เพื่ อตอบโจทย์ความหลากหลายของความต้องการของ ผู้ใช้งานในโครงการ โดยมีการออกแบบเส้นทางการเรียนรูใ้ นโครงการให้เป็นระบบวน (Loop) เพื่ อความต่อเนื่องในการทา ความเข้าใจในองค์ประกอบและองค์ความรู้ของโครงการ
Learning route
Learning route ที่ตอบโจทย์กับคนที่แวะเข้า มาในโครงการในช่วงเวลาสั้นๆ มีจุดให้ความรู้ นิทรรศการให้รับชม และร้านค้าขายของที่ระลึก จากโครงการ
Learning route ที่ตอบโจทย์กับคนที่ แวะเข้ า มาในโครงการในช่ ว งเวลาสั้ น ๆ และต้ องการรั บ ชมกระบวนการจั ด การ ข ย ะ ใ น โ ค ร ง ก า ร มี จุ ด ใ ห้ ค ว า ม รู้ นิ ท รรศการให้ รั บ ชม จุ ด แวะชมการต่ อ ยอด และร้ า นค้ า ขายของที่ ร ะลึ ก จาก โครงการ
Learning route ที่ตอบโจทย์กับคน ที่ แ ว ะ เ ข้ า ม า ใ น โครงการใน ช่ ว งเวลาสั้ น ๆแต่ ยั ง ต้ อ ง ก า ร เ ห็ น กระบวนการ จั ด การขยะตั้ ง แต่ ก า ร คั ด แ ย ก ไ ป จนถึงการต่อยอด
Learning route
Learning route ที่ตอบโจทย์กับคน ที่ตั้งใจเข้ามาศึกษาดูงาน หรือหาองค์ ความรู้จากโครงการ จะเริ่มตั้งแต่การ ลงทะเบียน ทาความเข้าใจในโครงการ รวมไปถึ ง สภาพของพื้ นที่ จากนั้ น จะ นั่งเรือไปยังโซน A ไปดูการดักจับขยะ ทะเลบริเวณนอกชายฝั่ง แวะเข้าโซน B และระหว่างทาง เพื่ อชมวิธีการดักจับ ขยะทะเลระหว่างชุมชน-คลอง ก่อนจะ กลับมาที่โซน C เพื่ อชม/ลงมือทาการ จั ด ก า ร ข ย ะ ใ น ขั้ น ต อ น ต่ อ ๆ ไ ป ตลอดไปจนถึงการต่อยอดเป็นสินค้า / ผลิตภัณฑ์ อีกทั้งยังมีพื้นที่เรียนรู้หรือ นิทรรศการกลางแจ้งให้รับชมอีกด้วย
เพื่ อเป็นการลดการเกิดขยะทะเลในป่าชายเลนอย่างยัง ั้ แต่ต้นตอของของขยะ ซึ่งก็คือ ชุมชน โดยการอาศัยความร่วมมือ ่ ยืน จึงแก้ตง ของชุมชนในการลดขยะ ด้วย การสร้างแรงจูงใจ • ออกมาตรการการเก็บขยะของเทศบาล • มีถังขยะแยกประเภท (แบ่งตามสี เพื่ อความเข้าใจง่าย) • ขอความร่วมมือร้านค้าในชุมชน ให้สามารถใช้ขยะแลกแทนเงิน โดยให้มูลค่าขยะสูงกว่าภายนอก • สร้างธนาคารขยะ ให้ชาวบ้านเอาขยะมาเปิดบัญชีธนาคาร มีผลตอบแทนประจาปี เกิดเป็นกิจกรรมในชุมชน
Design concept
่ งด้วยลักษณะของพื้ นที่มีการขึ้น-ลง พื้ นที่ที่มีความยืดหยุ่นต่อสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ เนือ ของระดับน้าในทุกๆ วัน ส่งผลให้กิจกรรม และการใช้ชีวิตขึ้นอยู่กับการเปลี่ยนแปลงของระดับน้า ส่งผลให้ space มีการเปลี่ยนถ่ายระดับอยู่โดยตลอด จากตั้งแต่บนฝั่ง ไปจนถึงในคลอง
Design concept : Planning concept
การใช้ พื้ นที่ ส่ ว นใหญ่ ข องชาวบ้ า น จะใช้ ชีวิตอยู่บน “ชานบ้าน” ซึ่งเป็นพื้ นที่กึ่ง เปิดโล่ง หันหน้าเข้าหาคลอง เชื่อมต่อกับที่ จอดเรือที่อยู่ในคลอง
พื้ นที่ ที่ มี ค วามยื ด หยุ่ น ต่ อ สภาพแวดล้ อ ม ทางธรรมชาติ เนื่องด้วยลักษณะของพื้ นที่ มี ก า ร ขึ้ น - ล ง ข อ ง ร ะ ดั บ น้ า ใ น ทุ ก ๆ วั น ส่งผลให้กิจกรรม และการใช้ชีวิตขึ้นอยู่กับ การเปลี่ ย นแปลงของระดั บ น้ า ส่ ง ผลให้ space มี ก ารเปลี่ ย นถ่ า ยระดั บ อยู่ โ ดย ตลอด จากตั้งแต่บนฝั่ง ไปจนถึงในคลอง
พื้ นที่ที่มีความยืดหยุ่นต่อสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ เนื่องด้วยลักษณะของพื้ นที่มีการขึ้น-ลงของระดับน้าใน ทุกๆ วัน ส่งผลให้กิจกรรม และการใช้ชีวิตขึ้นอยู่กับการเปลี่ยนแปลงของระดับน้า ส่งผลให้ space มีการเปลี่ยน ถ่ายระดับอยู่โดยตลอด จากตั้งแต่บนฝั่ง ไปจนถึงในคลอง
Design concept : Image concept
ถอดฟอร์มจากรูปแบบสถาปัตยกรรม ในท้องที่ และต้นโกงกาง ซึ่งเป็นภาพ จ า ข อ ง ชุ ม ช น ไ ด้ อ อ ก ม า เ ป็ น คาแรคเตอร์ในการออกแบบ ดังนี้ • เส้นตั้ง (Vertical line) • การยกเสาสูง • การเล่นระดับ • การมี pattern ที่ซ้ากัน
ไม้ไผ่
กระเบื้อง
ไม้โกงกาง
นอกจากนั้ นยั ง นา Proportion & Scale ที่ได้จากสถาปัตยกรรมมาใช้ใน การออกแบบ เพื่ อให้ ง านออกแบบไม่ รู้สึกแปลกแยกออกจากตัวชุมชน
หลังคาจาก
ผนังไม้ไผ่สาน
สังกะสี
เนื่องจากสภาพดินในพื้ นที่เป็นดินเหนียว มีความเค็มจัด และเป็นพื้ นที่นากุ้งมาก่อ นอกจากจะต้องมีการปรับสภาพ ดินและปรับระดับแล้ว ยังคงต้องมีการคัดสรรพรรณไม้ที่มีความสามารถในการทนต่อความเค็มได้ โดยแบ่งได้ทั้งไม้ ยืนต้น ไม้พุ่ม ไม้คลุมดิน รวมไปถึงพื ชผักสวนครัวที่ปลูกในโครงการ
Design concept : Planting concept
Schematic diagram
Vision plan
เชื่ อ มโยงโครงข่ า ยการจั ดการ ปัญหาขยะทะเลในป่าชาย
เลน เข้ า กั บ ชุ ม ชนที่ เ ป็ น ทางออกของขยะทะเลในต าบลคลอง โคน เพื่ อเป็นการปกป้องรักษาแนวป่าชายเลน ด้วย
Route ของกิจกรรม (โดยอาศัยความร่วมมือกันของ แต่ละหมู่บ้าน) ที่จะขยายต่อในอนาคต
Strategic planning
ในขั้นแรก ต้องสูบ น้าออกจากนากุ้งก่อน จากนั้น ใช้วั สดุ ที่มีเ นื้อ หยาบและมี ข นาดใหญ่ เช่ น แกลบ ขี้ เ ลื่ อ ย หรือ ยิปซัม (CaSO4.2H2O) ผสมลงไปในดินบน แล้วให้ น้าขัง บนดินสลับ กั บดิ นแห้ ง 4-5 รอบ เป็ นเวลา 2 ดือน หลังจากนั้น ล้างดินด้วยน้าจืด
ต่อ มา ปลู ก พื ชที่ ช่ว ยลดความเค็ มในดิ น ได้ แ ก่ หญ้ า ขน หญ้าเนเปียร์แคระ หญ้าเนเปี ยร์ลูกผสม ถั่วโสนแอฟริกา เป็ น ต้ น โดยพื ชเหล่ า นี้ น อกจากจะช่ ว ยฟื้ นฟู ดิ น แล้ ว ยั ง สามารถส่งออกเป็นพื ชอาหารสัตว์ได้
หลั ง จากนั้ น จึ ง ท าการสั บ พรวนดิ น เพื่ อลดโครงสร้ า ง ของดินที่ แน่นทึบ น้ าไหลผ่ านยาก ทาประมาณ 3-4 รอบ โดยต้องทิ้งระยะให้ดินได้พักตัว
หลั ง จากที่ ค วามเค็ ม ของดิ นลดลง ในบริ เ วณที่ ต้ อ งการ ปรับระดับให้สูงขึ้น ใช้วิธี “Encapsulation” หรือการนา ขยะที่ ไ ด้ จากทั้ ง ทะเลและชุ มชน มาฝั ง กลบแทนการเทดิ น บริเวณพื้ นบ่อจะปู HDPE ก่อนจะเทขยะลงไป แล้วปิดผิว ด้วย HDPE อีกครั้ ง และต่ อท่ออากาศออกมา เพื่ อเอา แก๊สมีเทนออก
ที่มา : ch1.pdf (psu.ac.th)
Design phasing ในกระบวนการดาเนินการก่อสร้างโครงการ ที่ตั้งบางส่วนเป็นแปลงนากุ้งเดิม ทาให้ต้องมีการปรับปรุงสภาพดิน ปรับระดับหน้าดิน เนื่องจากข้อจากัดของ ดินประเภทนี้ที่เคยเป็นนากุ้งมาก่อน ทาให้การก่อสร้าง และชนิดของพื ชพั นธุ์ ทาได้ไม่มากนัก จึงมีการปรับปรุงที่ดิน โดยมีการปรับปรุงบางส่วน ในพื้ นที่ที่ ต้อ งการระดั บ ที่สู ง ขึ้ น มาจากเดิม ได้ แก่ พื้ นที่ ของการจั ด การขยะ (Waste management) เพราะต้องการการ service ที่สะดวกที่สุด จึงต้องปรับ ระดับดินให้เท่ากับระดับถนนภายนอก
เริ่ ม การออกแบบ โดยพื้ นที่ ที่ ต้ อ งการปรั บ ระดั บ ได้ แ ก่ พื้ นที่ที่ต้องการการ service ด้วยรถ เพื่ อความสะดวกใน ก า ร เ ข้ า อ อ ก จ า ก ภ า ย น อ ก เ ช่ น โ ซ น waste management เนื่ อ งจากต้ อ งใช้ ร ถขนขยะไปมาใน โครงการกับภายนอกตลอดเวลา
Master plan
พื้ นที่ของโครงการ แบ่งออกเป็น 3 โซนหลัก เพื่ อการจัดการขยะทะเลอย่างมีประสิทธิภาพ คือ
• •
•
Zone A : พื้ นที่บริเวณนอก ชายฝั่งทะเลอ่าวไทย เป็นพื้ นที่ดัก จับขยะที่ลอยมากับกระแสน้าทะเล Zone B : พื้ นที่ดักจับขยะจาก คลอง โดยพื้ นที่ จั ด การเป็ น แนว รอยต่ อ ระหว่ า งคลองและป่ า ชาย เลน เพื่ อป้องกันไม่ให้ขยะ ไหลเข้า สู่ผืนป่าได้ Zone C : พื้ นที่ศูนย์การจัดการ และเรี ย นรู้ ห ลั ก รองรั บ ขยะที่ ม า จ า ก ท ะ เ ล แ ล ะ ข ย ะ ที่ ช า ว บ้ า น ต้องการทิ้ง
โดยขยะจากโซน A และ B จะถูกลาเลียงไปที่ โซน C ด้วยเรือ และรถกระบะ ซึ่งโซน C ก็จะ มีการจัดการขยะต่อไป ทั้งแปรรูปในโครงการ และส่งขายในส่วนที่จัดการไม่ได้
พื้ นที่ของกระบวนการดักจับขยะทะเล ที่ถูกพั ดพามาตามทิศทางของกระแสน้า โดย แนวคิ ด ในการวางผั ง ได้ ท าการศึ ก ษาจาก กรณีศึกษาตัว อย่างของแนวทางการปั กไม้ ไผ่ เพื่ อดักตะกอนดินเลน และกรณีศึกษาอื่น ๆ ข้ อ ก าหนด กฎหมาย ลั ก ษณะทางภู มิ ประเทศ เส้นทางน้า การใช้ที่ดินเดิม เป็นต้น เกิดเป็นแนวไม้ไผ่ และแนว floating boom เพื่ อการดักขยะทะเล แบ่งออกเป็น
1.
2.
ก า ร ดั ก ข ย ะ ชั้ น น อ ก สุ ด ( Primary collecting ) : ด้วย แนวของ floating boom เพื่ อ ดั ก เอาขยะที่ มี น้ า หนั ก เบา หรื อ ลอยน้ า ผู ก ยึ ด เข้ า กั บ กะเตง ( service building) และเสาม้ไผ่ ปักเป็นระยะ ๆ การดั ก ขยะชั้ น ใน (Secondary collecting) : ด้วยแนวไม้ไผ่ที่มี ลั ก ษณะเป็ น สามเหลี่ ย มด้ า นเท่ า โดยใน 1 เซต ประกอบไปด้ ว ย กะเตง แนวไม้ ไ ผ่ 3 ชุ ด (เว้ น ทางเข้า – ออกเรือประมาณ 10 เมตร)
Zone A : Master plan
Zone A : System map
Zone A : Bamboo waste trapping details
นาแนวคิดสถาปัตยกรรมพื้ นถิ่นมาปรับการใช้งาน เพื่ อให้ตอบโจทย์กับความต้องการของโครงการ เนื่องจากสภาพพื้ นทะเลบริเวณนี้เป็นหาด เลน จึงเลือกใช้ไม้ไผ่ ซึ่งมีน้าหนักเบา และหาได้ง่าย มาใช้งาน อีกทั้งยังนารูปแบสถาปัตยกรรมจากแต่เดิม “กะเตง” คือ อาคารหลังเล็ก ๆ ที่ ชาวบ้านมาพั กอาศัย เพื่ อเฝ้ าฟาร์มหอยแครง มาใช้งานในการพั กขยะที่ดักจับมาได้ มีการคัดแยกเบื้องต้น ก่อนลาเลียงขึ้นฝั่งไปยังศูนย์การ เรียนรู้ต่อไป
Zone A : Floating boom & Service building
ขยะเมื่อลอยมาติดกับแนวดักขยะ ( แนวไม้ไผ่ / floating boom) จะถูกลาเลียงมาที่กะเตงด้วยเรือ โดยกะเตงจะมีบ ริเ วณที่ จอดเรื อ และราวที่ ใช้ผู กเรื อ มีทางเดิน เพื่ อให้ค นสามารถนาขยะล าเลียงมาใน อาคาร เพื่ อคัดแยกเบื้องต้น โดยอาคารยังทาหน้าที่เป็นแนวยึดของ floating boom อีกด้วย หลังจาก นั้นจะลาเลียงขยะกลับไปที่ศูนย์ เพื่ อจัดการต่อไป
Zone A : Perspective
ขยะเมื่อลอยมาติดกับแนวดักขยะ ( แนวไม้ไผ่ / floating boom) จะถูกลาเลียงมาที่กะเตงด้วยเรือ โดยกะเตงจะมีบ ริเ วณที่ จอดเรื อ และราวที่ ใช้ผู กเรื อ มีทางเดิน เพื่ อให้ค นสามารถนาขยะล าเลียงมาใน อาคาร เพื่ อคัดแยกเบื้องต้น โดยอาคารยังทาหน้าที่เป็นแนวยึดของ floating boom อีกด้วย หลังจาก นั้นจะลาเลียงขยะกลับไปที่ศูนย์ เพื่ อจัดการต่อไป
Zone A : Perspective
พื้ นที่ ข องกระบวนการดั ก จั บ ขยะ ที่ ถู ก พั ดพามาตามทิ ศ ทางของกระแสคลอง เพื่ อเป็ น การ ป้องกันไม่ให้ขยะจากชุมชนไหลเข้าสู่ผืนป่า จึงนาศึกษาวิธีการปักแนวไม้ไผ่ แล้วนามาปรับใช้ โดย ตอบรับกั บระดับ น้าขึ้น – น้าลง สภาพดิน และเส้นทางการเดินเรือ ชมป่าชายเลนของการ ท่องเที่ยวในชุมชน โดยขยะที่ลอยมาติด แนวไม้ไผ่ จะมี เรือมาเก็บ และลาเลี ยงไปยังศูน ย์การ จัดการและเรียนรู้ต่อไป
Zone B : Bamboo waste trapping details
แนวไม้ไผ่ที่ปักตามแนวคลอง โดยตอบรับกับกระแสน้าขึ้นน้าลงในแต่ละวัน ใช้เรือในการเก็บขยะ โดยแนวไม้ไผ่ จะเว้นช่องทางเข้า – ออกของเรือตามบ้าน และทางน้าที่ชาวบ้านขุด เพื่ อนาน้าเข้านากุ้ง
Zone B : Perspective
พื้ นที่ของกระบวนการจัดการ เรียนรู้ และต่อยอดขยะทะเล โดยมีพื้นที่ของทั้งคนในชุมชน และ พื้ นที่ของผู้ที่สนใจ ให้เข้ามาเรียนรู้ผ่านกระบวนการลงมือทา ให้ได้เห็นถึงผลกระทบของขยะทะเล ที่ส่งผลถึงป่าชายเลน ให้คนได้เกิดความตระหนัก และมีจิตสานึกรักที่ดีต่อป่าชายเลน
Zone C : Master plan
Zone C : Zoning map
Zone C : Approach map
Zone C : Buildings type map
Zone C : Water management map
Zone C : Community space plan
พื้ นที่ ข องคนในชุ ม ชน เปิ ด ให้ เ ป็ น พื้ นที่ ส าธารณะที่ ใ ห้ ช าวบ้ า นเข้ า มาท ากิ จ กรรม และมี ก ารให้ ค วามรู้ กั บ คนในชุ ม ชนเรื่ อ งการจั ด การขยะ เนื่องจากชุมชนคลองโคน เป็นชุมชนที่อยู่ใกล้แนวป่าชายเลน จึงต้องมีการทาความเข้าใจในการจัดการ และผลกระทบที่จะเกิดขึ้น หากละเลยใน เรื่องของการจัดการขยะ อีกทั้งยังมีส่วนของการบริการชาวบ้านในด้านการซ่อมแซมขยะชิ้นใหญ่ เช่น เฟอร์นิเจอร์ในครัวเรือน เพื่ อยืดอายุ ของขยะให้นานขึ้น มีแปลงผักที่ใช้ป๋ย ุ หมัก ที่ได้จากขยะพวกเศษอาหารจากร้านค้าและครัวเรือน
Zone C : Community space isometric
่ ว ด้วย detention lawn อาคาร พื้ นที่ของคนในชุมชน เชื่อมต่อกันด้วยถนนกรวด และลานโล่ง กั้นระหว่างโซนชุมชนกับทางเดินนักท่องเทีย ส่วนใหญ่เป็นอาคาร 1 ชั้น เพื่ อความคุ้นเคยในการเข้ามาใช้งานพื้ นที่ของชาวบ้าน และง่ายต่อการใช้งาน แปลงผักนอกจากจะใช้ปุ๋ยหมักจาก เศษอาหารในโครงการ ยั ง เปิ ด ให้ ช าวบ้ า นที่ เ ป็ น สมาชิ ก ของธนาคารขยะ มาเก็ บ เกี่ ย วเอาไปบริ โ ภคได้ ถื อ เป็ น ผลก าไรในทุ ก ๆ สั ป ดาห์ นอกจากนั้นยังมีอาคารเอนกประสงค์ ให้ชาวบ้านเข้ามาทากิจกรรม เนื่องจากตัวชุมชนเอง ขาดพื้ นที่สาธารณะ
Zone C : Community space section
ทางเข้าของโครงการ รองรับการสัญจรของรถบริการ และการเดินเท้า มีหลังคาที่ทามาจากพลาสติกรีไซเคิล ตลอดทางเดิน กั้นทางสัญจรรถและคนด้วยแนวต้นไผ่ ซึ่งเป็นวัสดุหลักในโครงการ
Zone C : Community space perspective
ลานเอนกประสงค์ข องโครงการ ใช้ในการจัดงานเทศกาลต่าง ๆ จัดนิทรรศการ รวมไปถึงงานต่าง ๆ ของ ชุมชนสามารถมาใช้งานพื้ นที่บริเวณนี้ได้ มองเห็นอาคารของกระบวนการต่าง ๆ ในโครงการ
Zone C : Community space perspective
Zone C : Waste management plan
พื้ นที่การจัดการขยะของโครงการ รับขยะจากทะเล คลอง และชาวบ้าน ประกอบไปด้วยพื้ นที่รองรับขยะ (ที่ยังไม่ได้คัดแยก) พื้ นที่ทาความ สะอาดขยะ และบาบัดน้าเสีย (ด้วยเครื่องกล และระบบธรรมชาติ) พื้ นที่ตากแห้งขยะ มีทั้งโรงเรือนพร้อมด้วยอุปกรณ์ฆ่าเชื้อโรค ราวตาก และ ลานตาก ขึ้นอยู่กับความเหมาะสมของขยะ พื้ นที่คัดแยกขยะ (ด้วยเครื่องจักร และแรงงานคน) ขยะที่แปรรูปในโครงการจะถูกส่งไปเก็บไว้ และ บางส่วนที่จัดการไม่ได้ ก็จะเก็บไว้ รอรถจากภายนอกมารับต่อไป โดยพื้ นที่ส่วนนี้จะเชื่อมต่อกับพื้ นที่ของชุมชน เพื่ อให้ชาวบ้านนาขยะมาทิ้ง ได้ ด้ ว ย พื้ นที่ บ าบั ด น้ า ด้ ว ยระบบธรรมชาติ พื้ นที่ ต่ อ ยอดขยะ และพื้ นที่ เ รี ย นรู้ ข องนั ก ท่ อ งเที่ ย ว เพื่ อให้ ค นนอกสามารถเข้ า มาศึ ก ษา กระบวนการทางานของโครงการ
Zone C : Waste management isometric
(
(
) )
Zone C : Waste management system
โซนการจัดการขยะ เป็นหัวใจหลักของโครงการ เชื่อมต่อกันด้วยอาคารทางเดิน ป้องกันฝนตก ลานกรวด เลือกใช้กรวดเพราะว่าต้องการ ป้องกันน้าท่วมขังและความร้อนสะสม เนื่องจากบริเวณนี้ต้องการพื้ นที่ hardscape ขนาดใหญ่ เพื่ อการเข้ามาบริการของรถกระบะ / 6ล้อ มีการยกระดับภายในอาคาร และกั้นผนังด้วยแผงไม้ไผ่ เพื่ อแบ่งการใช้งานอาคาร
Zone C : Waste management section
พื้ นที่แรกเริ่มของกระบวนจัดการขยะในโครงการ เป็ นอาคารโปร่ง เพื่ อความยืดหยุ่นในการใช้งาน มีการกั้น พื้ นที่ ด้ว ยผนัง ไม้ ล้ อมด้ว ยลานกรวด เพื่ อให้ง่ ายต่อการขั บรถเข้ามาบริ การ มี อาคารทางเดิ นเชื่อมต่ อไปยั ง ส่วนการทาความสะอาด และยังเชื่อมต่อกับพื้ นที่ของชุมชนอีกด้วย
Zone C : Waste management perspective
พื้ นที่ท าความสะอาดขยะ เป็ น อาคารโปร่ ง มีบ่ อน้ า เพื่ อท าความสะอาดขยะด้ ว ยแรงคน และมี ห้อ งทาความ สะอาดขยะด้วยเครื่องจักร อีกทั้งยังมีเครื่องกรอง Micro plastic (MPSS) เพื่ อบาบัดน้าเสียที่เกิดขึ้นจากการ ล้าง ก่อนปล่อยลงสู่ระบบบาบัดน้าด้วยธรรมชาติ (Bioswale) ต่อไป
Zone C : Waste management perspective
พื้ นที่ ต ากแห้ ง ขยะหลั ง จากทาความสะอาด มี ทั้ง โรงเรื อน ราวตาก และลานตาก แล้ ว แต่ ค วามเหมาะสมของ ประเภทขยะ โดยการใช้แสงอาทิตย์ทาให้ขยะแห้ง เป็นวิธีที่ใช้ต้นทุนต่าที่สุด อีกทั้งยังฆ่าเชื้อโรคได้อีกด้วย
Zone C : Waste management perspective
Zone C : Waste transforming plan
พื้ นที่การต่อยอดขยะ มีทั้งกระบวนการการ Recycle และ Upcycling ขึ้นอยู่กับความเหมาะสมของประเภทขยะ โดยกระบวนการต่อยอด เป็นการเพิ่ มมูลค่า เปลี่ยนจากขยะให้ไม่เป็นขยะอีกต่อไป อีกทั้งยังเป็ นการสร้างอาชีพ และรายได้ให้กับคนในชุมชน ผลิตภัณฑ์หรือสินค้าที่ได้ จะมีการนามาใช้งานในโครงการอีกด้วย เป็นการโฆษณาสินค้าไปในตัว เชิญชวนให้คนที่มีความสนใจเห็นลักษณะการใช้งานได้จริง และส่งขาย เป็นสินค้าที่เป็นเอกลักษณ์ของโครงการต่อไป
Zone C : Waste transforming isometric
่ มต่อกันด้วยลานบล็อกคอนกรีต ที่ผลิตจากพลาสติกรีไซเคิล แบ่งประเภทการทางานตามอาคาร มีทั้งการ โซนการต่อยอดและแปรรูปขยะ เชือ recycle และ upcycling อาคาร recycle จะปิดทึบ เพื่ อป้องกันเสียงและสารเคมี ที่จะรบกวนผู้ที่เข้ามาใช้งาน อาคาร upcycling จะเปิด โล่งกว่า และยังมีพื้นที่ทางานคราฟต์บริเวณภายนอกอาคาร เชื่อมต่อไปยังคาเฟ่ และลานกิจกรรมเอนกประสงค์
Zone C : Waste transforming section
พื้ นที่แปรรูปรูปขยะ ด้ว ยวิธีการ Upcycling เป็นวิธีที่ใช้เครื่องจักรกลและสารเคมีน้อย ส่งผลดีต่อคนและ สภาพแวดล้อม โครงการได้แบ่งประเภทของวิธีตามความเหมาะสมของขยะ โดยจะต่อยอดให้เกิดเป็นสินค้าที่ สามารถใช้งานได้จริงและสร้างสรรค์ เกิดเป็นเม็ดเงินให้กับโครงการ
Zone C : Waste transforming perspective
พื้ นที่กิจกรรมบริเวณอาคารต่อยอดขยะ เป็นลานกิจกรรม ที่สามารถใช้งานได้อย่างยืดหยุ่น บล็อกปูพื้นทามา จากพลาสติกรีไซเคิล และเฟอร์นิเจอร์ที่ใช้ตกแต่ง ล้วนเป็นผิตภัณฑ์จากโครงการ ลานนี้ทาหน้าที่คล้ายกับโชว์ รูมสินค้า เพื่ อให้ผู้ที่สนใจได้เห็นการใช้งานจริง จากผลิตภัณฑ์ของโครงการ
Zone C : Waste transforming perspective
ทางเดินเชื่อมต่อระหว่างพื้ นที่ต่อยอดขยะ กับพื้ นที่ Play & Learn มีอาคารที่ใช้เก็บสินค้าของโครงการ และ เปิดขายไปในตัว รับกับพื้ นที่สนามเด็กเล่นภายนอกที่เ ป็ นเนินซึ่งเกิดจากการนาขยะมาถม เป็ นการสอดแทรก การเรียนรู้วิธีการจัดการขยะอีกรูปแบบหนึ่ง ก่อนที่จะส่งยังอาคารพิ พิธภัณฑ์และลานเอนกประสงค์
Zone C : Waste transforming perspective
พื้ นที่การเรียนรู้หลักที่เป็นไฮไลต์ของโครงการ ประกอบไปด้วยอาคารพิ พิธภัณฑ์ป่าชายเลน เป็นอาคาร semi outdoor ที่ ร วบรวมเอาข้ อ มู ล ความรู้ ข องป่ า ชายเลน จั ด แสดงประมาติ ม ากรรมที่ จ าลองลั ก ษณะของต้ น โกงกาง รวมถึงผลกระทบของขยะที่ส่งผลถึงป่า โดยรูปแบบอาคาร ได้นาเส้นสายการเป็ น Skeleton ของ อาคารท้องถิ่นและเส้นสายของต้นโกงกาง รวมกับนาวัสดุพื้นถิ่นมาใช้ ลานจัดแสดงนิทรรศการชั่วคราว ใช้จัด งานที่อยู่นอกอาคาร โดยจะมีนิทรรศการหมุนเวียนตลอดทั้งปี
Zone C : Outdoor learning isometric
พื้ นที่เปิดโล่งกลางพิ พิธภัณฑ์ จาลองสภาพแวดล้อมของป่าชายเลน และนาสัญลักษณ์ต่าง ๆ ที่สื่อถึงป่าชาย เลนมาใช้ ทั้ง เส้นตั้ง ไม้ที่นามาปั กพื้ น เพื่ อสื่อถึง รากอากาศของต้นโกงกาง รวมไปถึง ประติ มากรรม ที่เ ป็ น ตัวแทนของป่า โดยถือเป็นสอดแทรกความรู้ ความเข้าใจ และสร้างความตระหนักกับคนให้เห็นถึงความสาคัญ ของป่าชายเลน
Zone C : Outdoor learning perspective
่ อกแบบและพั ฒนาพื นทีใ่ นชุมชนริมชายฝั่งทะเล ให้ ภาพรวมของศูนย์การเรียนรู้ขยะทะเล บริเวณชายฝั่งป่าชายเลน ทีอ สามารถขจั ด และแก้ ไ ขปั ญ หาขยะทะเล เพื่ อรั ก ษาความอุ ด มสมบู ร ณ์ ข องสภาพแวดล้ อ มป่ า ชายเลน ให้ ยั ง คงอยู่ ให้บริการแก่มนุษย์และระบบนิเวศได้อย่างครบครัน
สามารถช่วยลดปริมาณขยะที่ลอยมา ติดมาติดแนวชายฝั่งป่าชายเลนได้
ผู้คนเกิดจิตสานึกและมีความตระหนักใน ปัญหาของขยะในป่าชายเลน
Zone C : Overall perspective
เป็นโครงการตัวอย่างให้กับพื้ นที่อื่นที่ ประสบปัญหาเดียวกันได้
Project’s value
โครงการช่ ว ยรั ก ษาสมดุ ล ของระบบนิ เ วศป่ า ชายเลน ให้ ระบบนิเวศในพื้ นที่นี้เชื่อมต่อกันอย่างสมบูรณ์ ทาให้ป่าชาย เลนบริ เ วณชุ ม ชนตลองโคนสามารถใหเบริ ก ารทางนิ เ วศ (Ecosystem services) ได้อย่างครบครัน
ช่วยรักษาวิถีชีวิ ตของชาวบ้ านในชุ มชนที่ มีการพึ่ งพาป่าชาย เลนในการด ารงชี วิ ต รวมไปถึ ง ประเพณี วั ฒ นธรรม โดย โครงการนี้ ยั ง ช่ ว ยให้ ค นได้ มี ป ฏิ สั ม พั นธ์ กั น ท ากิ จ กรรม ร่วมกัน เกิดเป็นความสัมพั นธ์อันดีระหว่างบุคคล ครัวเรือน และชุมชน
ช่วยส่งเสริ มเศรษฐกิจของคนในชุ มชน ทั้ งทางตรงและทางอ้อม เนื่องจาก คนในชุ ม ชนส่ ว นใหญ่ ป ระกอบอาชี พ ที่ ต้ อ งพึ่ งพาสภาพแวดล้ อ มตาม ธรรมชาติเป็นหลัก เมื่อธรรมชาติมีความอุดมสมบูรณ์ดี ย่อมส่งผลให้สามารถ ทารายได้ได้มาก นอกจากนั้นตัวโครงการเองยังสร้างอาชีพ ด้วยการเปิดให้ ชาวบ้านเข้ามาทางานในหน้าที่ต่างๆ เป็นการเพิ่ มอัตราการจ้างงานได้อีกด้วย
สุดท้ายนี้ วิทยานิพนธ์นี้จะสาเร็จลุล่วงไม่ได้เลย ถ้าขาดบุคคลเหล่านี้ ขอบคุณทุกๆ คาแนะนา ทุกๆ องค์ความรู้ ทุกๆความช่วยเหลือ รวมไปถึงแรงใจจากทุก ๆ คน ขอขอบคุณจากเบื้องลึกของหัวใจมา ณ ที่นี้
▪
่ รึกษาวิทยานิพนธ์ ที่คอยให้คาแนะนา ความ ขอบคุณอ.วศักดิ์ เหลืองสุวรรณ ทีป ช่วยเหลือต่างๆ ในกระบวนการออกแบบ คอยชี้แนะแนวความคิด สโคปของงาน คอยถามไถ่ผลักดันงานออกแบบให้ออกมาได้ในที่สุด
▪
ขอบคุณแคท (ก็ได้) ที่ลากไปไหนก็ไป อยากกินอะไรก็ไปด้วยกัน และที่สาคัญขอบคุณที่ สามารถหาวิธีมารองรับได้ตลอดเวลา ไม่ว่าจะมาอารมณ์ไหน
▪
ขอบคุณเพื่ อนๆ LAK04 ทุกคน ที่อยู่ด้วยกันมาตลอด 5 ปี เป็นมิตรภาพที่คิดว่าหาที่ไหน ไม่ได้แล้ว ขอบคุณที่มีอะไรก็คอยบอกกัน คอยช่วยเหลือกันตลอด ที่บอกว่า มีวันนี้เพราะ ลอกเพื่ อน ไม่ได้พูดเล่นๆ
▪
่ รึกษาร่วม ที่ให้คาแนะนาดีๆ ในการออกแบบ ขอบคุณอ.สิริลักษณ์ แสงสงวน ทีป แนะนามิติใหม่ๆ ในกระบวนการคิดการออกแบบ ทาให้เข้าใจในมุมมองใหม่มากขึ้น
▪
ขอบคุณอ.โต ในตอนปี 3 ที่บอกเราว่า Strategy กับ Method ไม่เหมือนกัน ตอนนั้นจาความรู้สึกได้เลยว่า เบิกเนตร มันคืออาการแบบนี้แหละ
▪
ขอบคุ ณ อิ ค คิ ว แนต แสตมป์ น้ อ ยหน่ า ดิ ว หวาน มี น แคท แอนดี้ ที่ เ ป็ น เพื่ อนกั น มา ตลอด 5 ปี ไม่เหงาเลยเพราะมีเพื่ อนแบบนี้
▪
่ อกให้เลิกใช้สมุดมีเส้น กับเลิกเขียนความคิด ขอบคุณอ.น้า ในวันนั้นตอนปี 4 ทีบ เป็นข้อๆ เป็นจุดเปลี่ยนที่เริ่มต้นเราอีกคนเลย
▪
ขอบคุ ณ เพื่ อนสถ.ทุ ก คน ที่ ค อยถามไถ่ สุ ข ภาพจิ ต สุ ข ภาพใจกั น มาตลอดช่ ว งท า วิทยานิพนธ์
▪
ขอบคุณอาจารย์ในภาคภูมิสถาปัตยกรรมทุกคน ที่คอยเคี่ยวเข็ญให้องค์ความรู้ ชุดใหญ่ เป็นพื้ นฐานในกระบวนการคิด การออกแบบ มิติต่างๆ ในการมองโลกใบ นี้ ใ ห้ เ ปลี่ ย นไปจากเดิ ม ขอบคุ ณ ที่ พ าออกไปข้ า งนอกบ่ อ ยๆ ขอบคุ ณ ที่ ม อบ บรรยากาศดีๆ ให้ในช่วงชีวิตนักศึกษานี้ และขอบคุณมากๆ ที่สุด คือ การที่ให้เรา เป็นตัวของตัวเอง
▪
ขอบคุณร้านข้าวทุกร้าน ที่คอยเยียวยาจิตใจในวันแย่ๆ
▪
ขอบคุณหมาจรทุกตัว ที่เป็นกาลังใจรายวันมาตลอด 5 ปี
▪
ขอบคุณพ่ อกับแม่ สาหรับกองทุนด้านการศึกษาที่ขอมานับไม่ถ้วน ขอบคุณที่เข้าใจในเรื่อง เล็กๆ น้อยๆ
▪
ขอบคุณทุกๆ กาลังใจที่มองไม่เห็น
▪
ขอบคุณอาจารย์ในภาควิชาสถาปัตยกรรมหลัก ที่มอบองค์ความรู้พื้นฐานของ การเป็นนักศึกษาสถาปัตย์ได้เป็นอย่างดี
▪
ขอบคุณเพจ ศูนย์อนุรักษ์ป่าชายเลนคลองโคน & ผู้ใหญ่ชงค์โฮมสเตย์ รีสอร์ท ป้าคนขับเรือที่ให้ชุดข้อมูลที่ดีที่สุดในโลก และพี่ ดิว แอดมินเพจ ที่ดูแลพวกเรา ระหว่างไปดูไซต์
▪
ขอบคุณบ้ านไม้ช ายเลน คลองโคน จ.สมุทรสงคราม สาหรับที่ พักระหว่างไปดู ไซต์ และอาหารที่พักอร่อยและให้เยอะที่สุดในโลก
▪
ขอบคุณสายรหัส 04 08 83 103 ที่ดูแลกันมาตลอด 5 ปี ขอบคุณพี่ ๆ ที่สอน งานมาตั้งแต่ปี 1 โชคดีมากๆที่ตอนปี 1-3 ยังไม่มีโควิด ทาให้ได้เรียนรู้งานจาก พี่ ๆ แบบ 100% และขอบคุณที่มาคอยถามไถ่และให้กาลังใจกันมาตลอด
และสุดท้ายนี้ จะเป็นใครไปไม่ได้ นอกจากขอบคุณตัวเองที่ที่รู้จักและเข้าใจในตัวเอง และ คอยนาศักยภาพนั้นออกมาใช้ในการทางาน ทาให้เราสนุกกับการเรียนมากขึ้น ถึงแม้จะมีวันที่ทอ ้ บ้าง เหนื่อยบ้ าง งอแงบ้าง แต่ก็ข อบคุณที่ ก้าวข้ ามวันแย่ๆ เหล่านั้นมาได้ ท้ ายที่สุด นี้ รู้สึ ก ภูมิใจมากๆ กับผลงานที่ออกมา
▪
ธีรวัตร เปรมปรี. (2561), การศึกษาชนิดและปริมาณขยะลอยน้าบริเวณปากแม่น้าในอ่าวไทยตอนบน : สถาบันวิจัยและพั ฒนาทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง
▪
ฐิตินันท์ ศรีสถิต. (2552), คู่มือเรียนรู้ขยะทะเล : ชายฝั่งอ่าวไทยและทะเลอันดามัน : กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง
▪
สุรีย์ สตภูมินทร์. (2563), แนวทางการบริหารจัดการขยะพลาสติกของไทย : การประยุกต์จากระดับนานาชาติสู่ระดับประเทศ : กระทรวงการต่างประเทศ
▪
สานักการจัดการป้องกันการกัดเซาะชายฝั่งทะเลและพื้ นที่ชายฝั่ง. (2551), แผนการจัดการทรัพยากรที่ดินชายฝั่งทะเลจังหวัดสมุทรสงคราม : กองอนุรักษ์ทรัพยากรชายฝั่ง
▪
กองบริหารจัดการพื้ นที่ชายฝั่ง. (2561), คู่มือความรู้ การกัดเซาะชายฝั่ง : กองอนุรักษ์ทรัพยากรชายฝั่ง
▪
สมศักดิ์ พิ ริยโยธา. (2556), คู่มือการแก้ไขปัญหาการกัดเซาะชายฝั่งด้วยการปักไม้ไผ่ชะลอคลื่นโดยประชาชนมีส่วนร่วม : กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง
▪
สานักอนุรักษ์ทรัพยากรป่าชายเลน กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง. (2553), ดินป่าชายเลนในประเทศไทย : โรงพิ มพ์ ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย
▪
ศูนย์วิจัยป่าไม้. (2553), รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการการจาแนกเขตการใช้ประโยชน์ที่ดินป่าชายเลน : ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กรุงเทพฯ
▪
สานักอนุรักษทรัพยากรป่าชายเลน. (2556), คู่มือความรู้เรื่องป่าชายเลน : กองอนุรักษ์ทรัพยากรป่าชายเลน