E ? ,
Volume#1 2553
ทรงพระเจริญ
“พระมหากษัตริย์ และพระราชินี ผู้ทรงครองหัวใจของพสกนิกรไทยทั้งประเทศ”
สวัสดีครับท่านผู้อ่านทุกท่าน อีแมกกาซีนฉบับปฐมฤกษ์ฉบับนีเ้ ป็นความภาคภูมใิ จ อย่างยิ่งของชมรมโฟกัสซิ่งคลับ ชมรมนี้เป็นชุมชนของผู้รัก การถ่ายภาพโดยยึดถือแนวทางความเป็นจิตรศิลป์ แม้นว่า ชมรมโฟกัสซิ่งคลับจะเป็นชมรมถ่ายภาพเล็กๆ แต่พวกเรา ทุกคนมีความสุข มีความผูกพันและมีความมุง่ มัน่ ทีจ่ ะเผยแพร่ ความรู้ ค วามเข้ า ใจในการถ่ า ยภาพโดยยึ ด ถื อ ความเป็ น จิตรศิลป์ เหมือนดั่งที่อาจารย์ผู้ประสาทวิชาแก่พวกเราได้มี ความสุขกับการทุม่ เทในสิง่ ทีค่ วรทำดังกล่าว ท่านบอกพวกเรา ว่ า ที่อ าจารย์ ท ำเช่ น นี้เ พราะอาจารย์ ข องท่ า นมี ค วามสุ ข กับการได้สอนโดยไม่ได้เลือกที่รักมักที่ชังมาโดยตลอด “อย่าให้ความรู้ที่คุณมีอยู่มันตายไปพร้อมกับตัวคุณ แต่....จงนำไปถ่ายทอดให้กับผู้ที่ยังไม่รู้ต่อไป” อาจารย์มิเพียงสอนให้เรารู้กฎเกณฑ์ในการถ่ายภาพ อย่างมีศิลปะ ท่านยังสอนให้พวกเราอย่าได้ยึดติดกฎเกณฑ์ ดังกล่าว ท่านได้พร่ำบอกเพือ่ ให้เราระลึกอยูเ่ สมอว่าอิสระภาพ ในการหามุมมองถ่ายภาพเป็นการสร้ า งสรรค์ ง านศิ ล ปะ ที่ยิ่งใหญ่ “ไม่ได้อยู่ในกรอบ แต่มาอยู่ในกรอบ อยู่ในกรอบแท้จริงไม่ได้อยู่ในกรอบ” เมือ่ ท่านได้อา่ น FOC e-Magazine ฉบับนีแ้ ล้ว เห็ น ว่ า มีประโยชน์ก็ช่วยส่งต่อให้กับผู้ท่ที ่านเห็น สมควรด้วยเพื่อเป็นการแทนคุณของบูรพจารย์ ที่ได้สั่งสมและสั่งสอนศิลปศาสตร์นี้ด้วยเถิด นพดล ปัญญาวุฒิไกร
ทีมงาน โฟกัสซิ่งคลับ ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์ อาจารย์ธวัช มะลิลา อาจารย์ธรชัย ศักดิ์มังกร อาจารย์ภูวพงษ์ ผจญอริพ่าย เบญจวรรณ ศักดิ์มังกร
สารบัญ “ภาพถ่าย” แรงบันดาลใจจากกล้องตัวจิ๋ว สู่นักพิชิตรางวัล “ธวัช มะลิลา”
ฝนตก ที่อินทนนท์
บรรณาธิการ นพดล ปัญญาวุฒิไกร นักเขียน ชัยพฤกษ์ อุลุชาฎะ ทนงศักดิ์ ธรรมวุฒิ ดุสิต ปัญญาคม ณัฐดิษฐ ตัณฑประศาสน์ พรวิทย์ ศักดิ์โสภาวิวัฒน์ พจนา ปั้นพินิจ ศิลปกรรม ชัยวัฒน์ ปัญญาวิริยกุล ดิศราพร ญาติพร้อม พิสูจน์อักษร โสภิดา ธนสุนทรกูร ติดต่อโฆษณา/ประชาสัมพันธ์ คุณนก 085-923-4312 คุณขวัญ 080-604-4773
CX2
ประสิทธิภาพที่ ไม่เล็กเหมือนตัว
Motor Expo พริตตี้สาวสวย
เรียนรู้อะไรจากการถ่ายภาพ
ตามรอยอารยธรรมแดนภารตะ
ตอนแรก (สีสันอินเดีย)
ก้าวย่างความสำเร็จจากหนุ่มนักออกแบบ
สู่นักถ่ายภาพเวดดิ้งมืออาชีพ
อยากถูกวิจารณ์ พาชิมริมเล . . .
หาดทรายสวย. . .น้ำใส . . . บรรยากาศสบาย
สไตล์บ้านตุ่ม
Focus lk Ta
เล่าเรื่อง : พจนา ปั้นพินิจ
“ภาพถ่าย” แรงบันดาลใจจากกล้องตัวจิ๋ว สู่นักพิชิตรางวัล “ธวัช มะลิลา”
5 www.focusingclub.net
และปรารถนา แต่ชีวิตใช่สิ้นหวัง ด้วยจิต สำนึกที่เตือนตนว่าความสำเร็จใช่ขึ้นกับ สถาบันการศึกษา แต่อยู่ที่การกระทำ กั บ ทั้ ง ตระหนั ก ถึ ง ความรั บ ผิ ด ชอบ ต่อครอบครัวและน้องๆ อีก 2 คน เด็กน้อยศิษย์ก้นกุฏิหลวงตาเผื่อน ท่านจึงตัดสินใจเบนเข็มเข้าศึกษาต่อใน วัด ไก่เ ตี ้ ย อำเภอบางบาล จังหวัด สายวิชาชีพที่พณิชยการพระนคร พระนครศรีอยุธยา หรือวัดธรรมจักร แม้ความหวังที่จะศึกษาต่อใน ในปั จ จุ บ ั น กลายเป็ น เด็ ก กรุ ง เทพ เมื อ งฟ้ า อมรภายหลั ง จบชั้ น ประถม ระดั บ มหาวิ ท ยาลั ย จะเป็ น เพี ย งแค่ ปีที่ 4 แม้ความผิดหวังจากการสอบ ความฝัน แต่ความก้าวหน้าในหน้าที่ เข้าโรงเรียนเตรียมทหารอันเป็นความฝัน การงานกลั บ เป็ น เรื่ อ งจริ ง ของชี วิ ต
Focusing Club E-Magazine
จากเด็กหนุ่มเมืองคนดีศรีอยุธยา ธวัช มะลิลา หรือครูธวัช ของชาว โฟกัสซิ่งกลายเป็นนักถ่ายภาพรุ่นเก๋า มากด้วยฝีมือล้นด้วยรางวัลรับประกัน ผลงานที่สร้างสรรค์ผ่านช่องมองภาพ เล็กๆ บันทึกผ่านแผ่นฟิล์มสู่กระดาษ เป็นความทรงจำอันเปี่ยมด้วยความสุข เ มื่ อ ห ว น ร ะ ลึ ก ถึ ง เ ว ล า ที่ ผ่ า น ไ ป พร้ อ มกั บ เทคโนโลยี ที่ ก้ า วกระโดด จากแผ่ น ฟิ ล์ ม สู่ ก าร์ ด ความจำที่ มี ความจุมหาศาลดุจดัง่ ฟิลม์ หลายสิบม้วน หาได้ เ ป็ น อุ ป สรรคขวางกั้ น การก้ า ว ให้ทันเพื่อสิ่งอันเป็นที่รัก ฉันรู้สึกและ รับรู้ได้ถึงจิตวิญญาณในความเป็นครู ผ่านแววตา รอยยิม้ และน้ำเสียงยามท่าน เล่าเรื่องราวชีวิตและผลงาน
www.focusingclub.net
6 Focusing Club E-Magazine
ตลอดระยะเวลา16 ปีที่ทำงานกับ บริษัท CPAC ซึ่งอยู่ในเครือปูนซีเมนต์ไทย ท่ า นได้ รั บ การสนั บ สนุ น และความ ไว้วางใจอย่างต่อเนื่องจนได้ทำหน้าที่ เลขานุการผู้ช่วยผู้จัดการใหญ่ บริษัท ปู น ซิ เ มนต์ ไ ทย จำกั ด อยู ่ 20 ปี และก้าวเข้าสู่ระดับบริหาร 4 ปี “ธวัช มะลิลา” ไว้ในงานนิทรรศการ ก่อนเกษียณอายุงาน ภาพถ่ายเช่นนี้บ้าง แม้เป็นเด็กบ้านนอก แต่การได้ ลู บ คลำ และลองเล่ น กล้ อ ง Agfa ของคุณอาอยู่หลายครั้งหลายหน ทำให้ ท่านตกหลุ ม รั ก การถ่ า ยภาพจนเพี ย ร พยายามเก็บเล็กผสมน้อย เพื่อเป็น เจ้าของกล้อง Kodak ความชื่นชม ในผลงานจากผู้ที่รู้จักเป็นกำลังใจให้ครู ความสำเร็จเกิดขึ้นได้ มุ่งมั่นเรียนรู้การถ่ายรูปอยู่ตลอดเวลา ด้วยความเพียรพยายาม จนกระทัง่ เมือ่ ปีพศ.2502 สมาคมถ่ายภาพ แห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ ได้จัดแสดงนิทรรศการ “การถ่ายภาพ ประเภทจิ ต รศิ ล ป์ (Pictorial photography) ทั่วประเทศ ครั้งที่ 1” ความตื่ น ตาตื่ น ใจในความสวยงาม ของภาพถ่ า ยชนิ ด ที่ ไ ม่ เ คยพบเห็ น มาก่อน ในครั้งนั้นได้เป็นแรงบันดาลใจ และความใฝ่ ฝั น ที่ จ ะให้ ป รากฏชื่ อ
“ ”
7 www.focusingclub.net
สมาคมสยามคัลเลอร์สไลด์ และสมาคม ถ่ายภาพกรุงเทพ เพื่อเป็นการเสริมสร้าง ประสบการณ์ตลอดจนสั่งสมความรู้ที่ ไม่มีวันจบสิ้นจากวิทยากรที่คร่ำหวอด ในวงการถ่ายภาพ ด้วยความมุ่งมั่น เช่ น นี้ เ องทำให้ แ นวทางการถ่ า ยภาพ จิตรศิลป์ (Pictorial photography) ซึมซับเข้าไปอยู่ในสายเลือด และเป็นจุด นอกเหนือจากการได้เล่าเรียน เริ่ ม ต้ น ของการเป็ น ผู้ พิ ชิ ต รางวั ล การ จากครูอาจารย์ดังกล่าวแล้ว ครูยังได้ ถ่ายภาพในเวลาต่อมา สมัครเป็นสมาชิกสมาคมถ่ายภาพทั้ง สามแห่ง คือ สมาคมถ่ายภาพแห่ง ประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์,
Focusing Club E-Magazine
ปู น ซี เ มนต์ ไ ทยมิ ใ ช่ เ ป็ น เพี ย ง สถานที่ทำงาน แต่ยังเป็นที่ที่ครูได้เข้า ร่วมกิจกรรมในชมรมถ่ายภาพของบริษทั และไม่ มี สั ก ครั้ ง ที่ จ ะพลาดการส่ ง ภาพถ่ายเข้าประกวด ท่านเล่าอย่าง อารมณ์ดีมีอารมณ์ขันว่า “ผมจะได้รับ รางวั ล เสมอถ้ า คนส่ ง ภาพประกวด มีน้อยกว่ารางวัลที่กำหนดไว้” การ เข้าร่วมกิจกรรมดังกล่าวทำให้มีความ กระหายที่จ ะเรี ย นรู้ก ารถ่ า ยภาพมาก ยิ่งขึ้นกอปรกั บ ความสงสั ย ใคร่ อ ยากรู้ ว่ากรรมการตัดสินภาพใช้เกณฑ์อะไร ในการพิจารณาความสวยงามของภาพ ภาพใด สมควรหรือไม่สมควรจะได้รับ รางวัลจึงเป็นจุดเริ่มต้นของการเรียนรู้ การถ่ายภาพอย่างจริงจังจากครูอาจารย์ ที่ท่านให้ความเคารพรักมาโดยตลอด เริ่มตั้ง แต่ อ าจารย์ ท อม เชื้อวิวัฒน์, อาจารย์ ศ.พูน เกษจำรัส, อาจารย์จิตต์ จงมัน่ คง และอาจารย์ไพบูลย์ มุสกิ โปดก
www.focusingclub.net
8 Focusing Club E-Magazine
ครัน้ เอ่ยถามถึงผลงาน ท่านกล่าว ตอบพร้อมกับอมยิ้ม และแววตาอันส่อง ประกายเหมือนกับได้ระลึกถึงความหลัง อันเปีย่ มไปด้วยความสุขกับความสำเร็จ “ผลงานและชื่อของผมปรากฏบน บอร์ดแสดงนิทรรศการ สมุดภาพ นิตยสาร หนังสือฉบับพกพา และ ในปฏิทนิ แม้จะไม่ใช่ผลงานยอดเยีย่ ม ระดับโลก แต่...มันคือสิ่งที่ผมเคย วาดฝัน และปรารถนาอย่างแรงกล้า มาตัง้ แต่เมือ่ ครัง้ ได้เข้าชมนิทรรศการ ถ่ายภาพเมือ่ ปี พ.ศ.2502 ผมได้บรรลุ ความฝั น ซึ่ ง มี ค วามหมายอย่ า งยิ่ ง สำหรับผม ผมมีความสุขเป็นความสุข อันยิ่งใหญ่ของอดีตเด็กวัดบ้านนอก คนหนึง่ แม้วา่ มันจะเป็นเพียงเศษเสีย้ ว ธุ ลี ใ นความรู้ สึ ก ของอี ก หลายๆ คนก็ตาม”
แห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ อยู่นานนับสิบปีในตำแหน่งต่างๆ จนถึง ตำแหน่งเลขาธิการของสมาคมดังกล่าว พร้อมๆกันกับได้รับเกียรตินิยมทางด้าน การถ่ายภาพ ตั้งแต่ Es.PST Es.FIAP, A.PST ในช่วงปี 2534-2536 Hon.PST เมื่อเดือนมีนาคม 2541 และHon.F.PST ในเดือนพฤศจิกายน 2543
ความภูมิใจอย่างหนึ่งในระหว่างการ เป็นกรรมการบริหารสมาคมคือ การรับ หน้าทีเ่ ขียนบทความ “ก่อนจะลัน่ ชัตเตอร์” ในวารสาร “แว่ น แก้ ว” ตั ้ ง แต่ ฉบั บ เดือนสิงหาคม 2530 เพื่อถ่ายทอด ประสบการณ์ของนักถ่ายภาพที่ชนะเลิศ การประกวดจากทุกสนามแข่งขันอันเป็น ทั้ ง ประโยชน์ ต นและประโยชน์ ท่ า น ผู้ อ่ า นที่ ต่ า งใฝ่ เ รี ย นรู้ ก ารถ่ า ยภาพ และเมื่อฉันเรียนถามถึงบุคคลอันเป็น ที่ชื่นชอบ และยึ ด ถื อ เป็ น แนวทาง จากผู้พิชิตรางวัลประกวดภาพถ่าย ท่านขยับยืดตัวตรงขึ้น (จากที่นั่งตัวตรง ครู ผู้ เ ป็ น ที่ เ คารพรั ก ของเหล่ า ศิ ษ ย์ อยูแ่ ล้ว)เพือ่ แสดงถึงความรักความเคารพ ได้ ก้ า วสู่ ก ารเป็ น กรรมการตั ด สิ น การ ที่มีต่อผู้ที่จะได้กล่าวถึง ประกวดภาพถ่ า ยกรรมการสอบรั บ เกียรติบัตรของสมาชิกสมาคม จนถึง เป็นกรรมการบริหารสมาคมถ่ายภาพ
ต้องดิ้นรนไม่มีแรงกดดัน ไม่ต้องวิตก ทุกข์ร้อนที่จะแสวงหาความสำเร็จทาง ด้านชือ่ เสียงทีจ่ ะได้จากการประกวดภาพ ไม่ต้องตะเกียกตะกายทรมานร่างกาย เพี ย งเพื่ อ ให้ ไ ด้ ภ าพถ่ า ยที่ สุ ด ยอดไป แข่งขันอีกต่อไป
www.focusingclub.net
จากการฟังเรือ่ งราว ได้เห็นภาพถ่าย ที่ได้รับรางวัลต่างๆ อย่างมากมาย ทำให้ ได้รู้ว่าครูธวัชถ่ายภาพอย่างสวยงามได้ ทุกประเภท ยามขึ้นเหนือล่องใต้ ปีนป่าย หมอบมุด ร้อนกระหายหิวอย่างไรก็มิ อาจหยุดยั้งไฟแห่งความปรารถนาที่จะ พิชิตรางวัลประกวดภาพถ่าย ซึ่งเป็น เช่ น นี้ อ ยู่ น านจนกระทั่ ง ท่ า นอิ่ ม ตั ว กั บ ความสำเร็จ จนเหมือนมีเสียงกระซิบที่ ข้างหูว่า “พอเถอะ” ครูผู้เป็นที่เคารพ จึงเปลี่ยนวิถีชีวิตการถ่ายภาพจากผู้ล่า รางวัล มาเป็นการถ่ายภาพเพื่อความสุข ความสุขทีไ่ ด้เปลีย่ นบรรยากาศ ความสุข ที่ไ ด้ส ั ม ผั สธรรมชาติ ได้ส ูดอากาศ “ย้อนไปตั้งแต่ ปี 2536 ขณะที่ผม อันบริสุทธิ์ ความสุขที่ได้จากการร่วม เป็นกรรมการบริหารสมาคมถ่ายภาพ เดินทางกับเพื่อนฝูงลูกศิษย์ลูกหาคนรัก แห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ การถ่ายภาพเช่นเดียวกัน ท่านได้ปล่อย ได้รู้จกั กับคุณธรชัย ศักดิ์มังกร หรือเป็น ใจไปกับความสุขในการถ่ายภาพที่ไม่
9
การมีโอกาสได้พูดคุยและคลุกคลี แม้ น จะเป็ น เพี ย งช่ ว งระยะเวลาสั้ น ๆ ก็ได้ทำให้ฉันประจักษ์ว่าวัยกว่า 70 ปี ไม่ได้เป็นอุปสรรคต่อความจำ สุขภาพกาย และสุขภาพใจเลยแม้แต่น้อย นั่นเป็น เพราะว่าครูผ้มู ีจิตวิญญาณความเป็นครู อย่างเปีย่ มล้น ได้บริหารสมองและร่างกาย อยูต่ ลอดเวลาด้วยการคิดก่อนกดชัตเตอร์ ออกกำลังกายด้วยการตระเวนถ่ายภาพ กับบรรดาลูกศิษย์ และไตร่ตรองพิจารณา ภาพถ่ายเพื่อปรับปรุงสื่อการสอนอย่าง สม่ำเสมอ เมื่อนึกถึงเรื่องสอนทำให้ฉัน อดเรี ย นถามไปเสี ย มิ ไ ด้ ว่ า ครู อ ยู่ กั บ โฟกัสซิ่งได้อย่างไร
Focusing Club E-Magazine
“บุคคลที่ผมชื่นชอบและยกย่อง อีกทัง้ ยังมีอทิ ธิพลต่อการพัฒนาแนวทาง การถ่ายภาพ มีอยู่ 4 ท่าน คือ อาจารย์ศาสตราจารย์พูน เกษจำรัส, อาจารย์จิตต์ จงมั่งคง, อาจารย์ ไพบูลย์ มุสิกโปดก และอาจารย์ทอม เชื้อวิวัฒน์”
www.focusingclub.net
10 Focusing Club E-Magazine
ที่รู้จักกันอย่างดีในนาม “ครูมังกรดำ” ซึ่งเป็นกรรมการฝ่ายโครงการ ต่อมา ครู มั ง กรดำได้ อ อกนิ ต ยสารถ่ า ยภาพ “ปรับโฟกัส” และได้ให้เกียรติเชิญผม เป็นนักเขียนกิตติมศักดิ์ (นักเขียนที่ อยากเขียนเมื่อไรก็ค่อยเขียน) ตลอดจน เป็นผู้ตัดสินการประกวดภาพ และเขียน คำวิจารณ์ภาพของนิตยสาร จนกระทั่ง ต้นปี 2539 ได้เข้าร่วมเป็นหนึ่งในสี่ ของผู้สอนหลักสูตรอบรมการถ่ายภาพ “ทางลัดสู่ถนนฟิล์ม” ก่อนจะมาเป็น “ทางลัดสู่ถนนภาพ” เมื่อดิจิตอลเริ่ม เข้ามามีบทบาทเปิดสอนเรื่อยมาจนถึง รุ่นที่ 35 เมื่อเดือนสิงหาคม 2549 ก่อน ที่ ท างชมรมโฟกั ส ซิ่ ง จะเข้ า มาสานต่ อ ในเรื่องของงานสอน โดยในช่วงกลาง ของระยะเวลาตั้ ง แต่ ที่ เ ปิ ด สอนนั้ น อาจารย์ศรศักดิ์ ศักดิ์บดินทร์ ได้ขอแยก ตั ว ไปทุ่ ม เทให้ กั บ การประกอบอาชี พ ส่วนตัว จึงเหลือที่สอนกันอยู่เพียง 3 คน คือ อาจารย์ธรชัย ศักดิ์มังกร อาจารย์ภวู พงษ์ ผจญอริพา่ ยและผมเอง”
เปลี่ยนพฤติกรรมการถ่ายภาพในแนว บันทึก (Record photography) อันเป็น ความเคยชินของนักถ่ายภาพส่วนใหญ่ มาเป็ น การถ่ า ยภาพในแนวจิ ต รศิ ล ป์ (Pictorial Photography) โดยเน้น การสร้างพืน้ ฐานทีถ่ กู ต้อง ซึง่ หากเปรียบ เทียบกับการเรียนหนังสือก็คือ การสอน “ชั้นอนุบาล” เมื่อผู้เรียนมีพื้นฐานที่ แข็งแกร่งพอแล้ว ก็จะช่วยให้ผนู้ น้ั ก้าวไป “เมื่อชมรมโฟกัสซิ่งเข้ามารับผิด บนถนนถ่ายภาพได้อย่างมั่นคงและมี ชอบงานสอน ผมได้รบั การร้องขอให้ชว่ ย ความสุข” ถ่ายทอดแนวทางการถ่ายภาพ เพื่อปรับ
กับการส่งภาพเข้าสอบรับเกียรตินยิ ม จากสมาคมถ่ า ยภาพทั้ ง ในและ ต่างประเทศ ”
11 www.focusingclub.net
เมื่อฉันได้ถามถึงอุปกรณ์ในการ ถ่ายภาพ ท่านมิเพียงให้ข้อมูลอุปกรณ์ ที่ ใ ช้ อ ยู่ เ ท่ า นั้ น แต่ ยั ง ให้ แ ง่ คิ ด แก่ นั ก ถ่ า ยภาพที่ยัง หลงวนเวี ย นกั บ อุ ป กรณ์ ถ่ายภาพดั ง นี ้ “ปั จ จุ บ ั น ผมใช้ ก ล้ อ ง DSLR Nikon D80 เลนส์ 80-200 มม. 11-18 มม. 18-200 มม. แมโคร 105 มม. แมโคร 60 มม. และ 50 มม. ทุกทริปที่ออกถ่ายภาพ ผมจะไม่ลืม ติดกล้องสำรองไปด้วย คือ DSLR-Like Canon SX10 IS ชนิดจอพลิกกลับได้ ซึ่งมีเลนส์ซูม 20X (28-560 มม.) น อ ก จ า ก นี้ ก็ ยั ง มี ก ล้ อ ง ค อ ม แ พ ค
Focusing Club E-Magazine
ครูผเู้ ป็นทีเ่ คารพรักยังได้กระตุน้ และสนับสนุนให้นักถ่ายภาพโดยเฉพาะ มือใหม่ส่งภาพเข้าประกวด และเพื่อให้ การเข้าร่วมมีประโยชน์อย่างแท้จริง สิง่ ที่ ผู้ส่งประกวดจะต้องทำเป็นอันดับแรก ก็ คื อ ศึ ก ษาทำความเข้ า ใจกั บ หั ว ข้ อ ประกวด และกติ ก าอย่ า งละเอี ย ด รอบคอบ พิจารณาว่าทางผู้จัดต้องการ ให้สื่อถึงสิ่งใดหรือเน้นสิ่งใดเป็นพิเศษ หรือไม่ และควรปฎิบัติตามกติกาอย่าง เคร่งครัด ต่อมาก็ต้องหาภาพที่พอใจ และตรงกับหัวข้อประกวด ถ้ามีอยู่แล้ว ก็อุ่นใจได้ แต่หากไม่มีก็ต้องหาเช้า กินค่ำ (พูดพลางหัวเราะพลาง) ออก ตระเวนถ่ า ยภาพให้ ต รงตามหั ว ข้ อ สุ ด ท้ า ยผู้ ส่ ง ภาพประกวดต้ อ งมี น้ ำ ใจ นั ก กี ฬ ายอมรั บ ผลการตั ด สิ น ของ คณะกรรมการที่ ส ำคั ญ ที่ สุ ด คื อ อย่ า ลำพองใจหากได้รางวัล แต่เมือ่ พลาดหวัง ก็จงอย่าได้เสียใจ อย่าท้อใจ ให้ถือเสียว่า เราได้ ร่ว มสนุ ก และเอาประสบการณ์ เป็นครูเพียรปรับปรุงแก้ไข สักวันโอกาส จะเป็นของเรา อย่าลืมนะ “การส่งภาพ เข้าประกวดเป็นหนทางพิสูจน์ฝีมือ ในการถ่ายภาพของเรา เช่นเดียวกัน
www.focusingclub.net
12 Focusing Club E-Magazine
ขนาดเล็กอีก 3 กล้อง คือ Canon IXUS 85IS, Ricoh R6 และ Nikon CoolPix 3500 ไว้ พ กพาถ่ า ยรูปแบบสบายๆ ไม่ต้องแบกน้ำหนัก “การมีโอกาส ครอบครองอุ ป กรณ์ ถ่ า ยภาพที่ มี ประสิทธิภาพสูงๆ เป็นเรื่องดีแต่จะ ดีกว่าถ้าได้ใช้อุปกรณ์ที่มีอยู่แล้วให้ เกิดประโยชน์สูงสุดได้ใช้อย่างคุ้มค่า การติดตามเทคโนโลยีใหม่ๆเป็นเรือ่ ง ดีแต่อย่าได้หลงใหลใฝ่หาเพื่อเป็น เจ้าของจนเกิดทุกข์” ท่านได้ฝากความปรารถนาดีถึง นักถ่ายภาพมือใหม่ไว้วา่ ทุกคนต้องผ่าน การเป็นมือใหม่เหมือนกันหมด นอกเหนือ จากการเข้ า รั บ การอบรมทางด้ า น การถ่ายภาพโดยเฉพาะ หรือศึกษาจาก ตำราแล้ ว ภาพดี ๆ ที ่ ม ี ใ ห้ ช มใน อินเตอร์เน็ตและนิตยสารต่างๆน่าจะเป็น ประโยชน์ ในการนำมาประยุกต์ใช้ให้ สอดคล้องกับแนวคิดของตนเอง จะช่วย ให้ใช้เวลาพัฒนาฝีมือน้อยกว่า การลอง ผิดลองถูกด้วยตนเองตามลำพัง จงหมั่น หาความรูเ้ พิม่ เติม และขยันออกถ่ายภาพ หาประสบการณ์ และท่านยังได้ยำ้ แล้ว ย้ ำ อี ก ว่ า จงถ่ า ยภาพอย่ า งมี ค วามสุ ข
อย่ า ไปทำให้ เ กิ ด ทุ ก ข์ ได้ โ อกาส ถ่ายภาพดีๆ ก็ถ่ายเก็บเอาไว้ ไม่ได้ ก็ไม่เป็นไร คิดเสียว่า “ไม่มีใครได้ ทุกอย่างที่ต้องการในทุกเวลา” ครูยังได้ฝากข้อเตือนใจที่กลั่น จากประสบการณ์ชีวิตของท่าน ซึ่งฉัน ขอจำใส่ใจด้วยความสำนึกในความกรุณา “ความพยายามอยู่ที่ไหน ไม่เสมอไปว่า ความสำเร็จจะต้องอยูท่ น่ี น่ั ทุกครัง้ ทุกเรือ่ ง และกับทุกคน อาจประสบความสำเร็จ เฉพาะบางครั้ง บางเรื่อง และบางคน แม้ ก ระนั้ น ก็ ข อเพี ย งให้ มี ค วามมานะ บากบั่น อดทน พยายาม จนสุดขีดความ สามารถที่เรามี อย่ารีบด่วนท้อถอย ไปเสียก่อน แต่เมื่อได้พิจารณาอย่าง ถ่องแท้แล้ว หากเห็นว่าสิ่งใดเกินกำลัง ก็ต้องยอมรับ อย่าดันทุรัง หันมาพึง พอใจกับสิ่งที่ตนเป็นและตนมี ใช้ชีวิต อย่างพอเพียงตามอัตภาพ ไม่ฟุ้งเฟ้อ ฟุ่มเฟือยเห่อเหิม ทะเยอทะยานอยาก จนทำให้เกิดความเดือดร้อนกับตัวเอง และหรื อ คนใกล้ ชิ ด “เมื่อ เดิ น ทางผิ ด ควรคิดกลับไปตัง้ ต้นใหม่ ดีกว่าจะก้าว ต่อไปทั้งที่รู้แน่ๆ ว่าหลงทาง” นี่แหละ คือ “ความสุข” ในการใช้ชีวิตซึ่งจะส่งผล
www.focusingclub.net
อย่าให้ความรูท้ ค่ี ณ ุ มี มันตายไป พร้ อ มกั บ ตั ว คุ ณ แต่ … จงนำไป ถ่ายทอดให้กับผู้ที่ยังไม่รู้ต่อๆ ไป
13
“ปัจจุบันผมมีความสุขอย่างยิ่ง กับการใช้ชีวิตหลังเกษียณ พอใจกับสิ่ง ที่มี ยินดีกับสิ่งที่ได้ ใช้ชีวิตอย่างมี ความสุขตามอัตภาพ พยายามไม่ทำให้ ตั ว เองและผู้ อื่ น ต้ อ งเดื อ ดเนื้ อ ร้ อ นใจ ผมมีความสุขกับ การออกไปถ่ายภาพ และมีความสุขกับการได้ถ่ายทอดสิ่งที่ (พอจะ) รู้ให้กับผู้ที่ยังไม่รู้”
ท้ายสุดนี้ท่านได้มอบผลงาน ภาพถ่ายที่เคยได้รับรางวัล ซึ่งเป็น ภาพที่ ถ่ า ยจากกล้ อ งฟิ ล์ ม ทั้ ง สิ้ น พ ร้ อ ม แ น ว คิ ด ใ น ก า ร ถ่ า ย ภ า พ แก่นักถ่ายภาพผู้สนใจ Focusing Club E-Magazine
ให้เราถ่ายภาพอย่างมี“ความสุข”ไปด้วย อย่างแน่นอน ฉั น อำลาครู ธ วั ช ไปด้ ว ยความ เคารพรักอย่างยิ่ง การได้สัมภาษณ์ทำให้ ฉั น รู้สึก ได้ ถึง ความเป็ น ผู้มีเ มตตาเต็ ม เปี่ยมไปด้วยจิตวิญญาณของความเป็น ผู้ให้ ผู้มีความสุขกับการสอนเหมือนดั่ง ครู อ าจารย์ ข องท่ า นที่ ไ ด้ ม อบสิ่ ง ดี ๆ เหล่านี้แก่ครู และท่านไม่ได้ลังเลเลย ที่ จ ะส่ ง ต่ อ ปณิ ธ านดั ง กล่ า วสู่ ลู ก ศิ ษ ย์ ทุกคน
www.focusingclub.net
14 Focusing Club E-Magazine
ภาพนี้เป็นภาพที่เกาะไข่ อุทยาน แห่งชาติตะรุเตา ครูธวัชยอมพลาดโอกาส สวมชูชพี ว่ายน้ำไปชมความงดงามบนเกาะ ด้ ว ยความไม่ อ ยากให้ ก ล้ อ งเปี ย กน้ ำ แต่ได้โอกาสถ่ายภาพสวยๆ พิชิตรางวัล เป็ น มุ ม ถ่ า ยภาพบนดาดฟ้ า เรื อ ด้ ว ย เลนส์ 20 มม. ที่ให้มุมมอง 94 องศา ติดฟิลเตอร์ CPL ตัดแสงสะท้อนของผิวน้ำ ใช้เส้นแบ่งภาพไว้ด้านบน เพื่อสื่อถึง เรื่องราวที่อยู่ด้านล่าง กลุ่มคนซึ่งเป็น
จุดเด่นของภาพอยู่ด้านล่างซ้ายถ่วงดุล กับตัวเกาะ ทีอ่ ยูด่ า้ นบนขวามีวรรณะสีอนุ่ ของชูชีพช่วยสร้างมิติให้ภาพ เมื่ออยู่ บนวรรณะสีเย็นของน้ำทะเล เป็ น ภาพที่ ไ ด้ รั บ รางวั ล จาก นิตยสารสกุลไทยในหัวข้อ “รักป่า รักน้ำ รักธรรมชาติ เมืองไทยสวยงาม” โดยท่าน ศาสตราจารย์พูน เกษจำรัส ได้กรุณาให้ เกียรติรว่ มถ่ายภาพแสดงความยินดีดว้ ย
Focusing Club E-Magazine
15
3) ความเปรียบต่างของสีแดง/ น้ำเงิน เป็นภาพที่ได้รับรางวัลจากบริษัท โกดัก (ประเทศไทย) จำกัด หัวข้อ “กีฬาเพือ่ คุณภาพชีวติ ” ประการสำคัญ ก็คอื ท่านอาจารย์จติ ต์ จงมัน่ คง ให้เกียรติ ร่วมถ่ายภาพแสดงความยินดี
www.focusingclub.net
ภาพนี้ เ ป็ น ภาพการแข่ ง ขั น รถ จักรยานที่สนามกีฬาหัวหมาก ใช้เทคนิค แพนกล้องตามการเคลือ่ นไหวของตัวแบบ ขณะใช้ชตั เตอร์สปีดต่ำจุดเด่นของภาพนี้ คือ การเน้นความเปรียบต่าง (Contrast) ซึ่งมีอยู่ 3 อย่างด้วยกันคือ 1) ความเปรียบต่างของการ เคลื่อนไหวช้า/เร็ว 2) ความเปรียบต่างของขนาด ใหญ่/เล็ก
www.focusingclub.net
16 Focusing Club E-Magazine
ภาพต่อมาเป็นการประกวดภาพ ที่แสนวิเศษภาพที่พิชิตรางวัลจากภาพ แพนกล้ อ ง การแข่งขันรถจักรยาน ทำให้ได้ไปถ่ายภาพ ในมหกรรมกีฬา โอลิมปิก1988ทีก่ รุงโซล ประเทศเกาหลีใต้ แล้วก็ได้ภาพที่ชนะในการประกวดของ องค์ ก ารส่ ง เสริ ม การท่ อ งเที่ ย วของ เกาหลีใต้ พูดง่ายๆ คือรางวัลสูร่ างวัล จุ ด เด่ น ของภาพนี้ ก็ คื อ การบอกเล่ า
เรื่องราวเหตุการณ์ ในรูปแบบของการ ถ่ายภาพทีเผลอ (Candid) ตัวแบบ แสดงกิริยาอาการต่างๆ กัน ในขณะที่ ยังไม่รู้ตัวว่ากำลังถูกถ่ายภาพตัวแบบ อยู่ ใ นตำแหน่ ง ย้ อ นแสงแต่ ไ ม่ ด ำมื ด เนื่องจากได้รับแสงสะท้อนจากผิวถนน มีการล้อเลียนกันระหว่างตัวแบบกับเงา ด้านล่าง
Focusing Club E-Magazine
17
เป็ น ภาพที่ ไ ด้ รั บ รางวั ล การ ประกวดของฟิ ล์ ม สี โ คนิ ก้ า ในหั ว ข้ อ “โลกสุดสวยด้วยโคนิก้า” โดยมีท่าน อาจารย์ไพบูลย์ มุสิกโปดก ให้เกียรติ ถ่ายภาพร่วมแสดงความยินดี
www.focusingclub.net
ภาพนี้เป็นภาพกลุ่มเด็กชาวเขา ที่จังหวัดเชียงใหม่ ขณะเล่นจุดประทัด กัน เนื่องในเทศกาลปีใหม่ รอจับจังหวะ ที่ประทัดใกล้จะระเบิด สื่อถึงอารมณ์ ของเด็กๆ ทีก่ ำลังสนุกสนานระคนตืน่ เต้น กับเสียงประทัดทีก่ ำลังจะเกิดขึน้ ในเวลา อีกไม่นาน
www.focusingclub.net
18 Focusing Club E-Magazine
เป็นภาพที่ได้รับรางวัลการประกวด ภาพนี้เป็นภาพของยายกำลังนั่ง จักตอก โดยมีหลานสาวนั่งดูอยู่ใกล้ๆ ของ HelpAge International หัวข้อ ด้วยความสนใจ ถ่ายที่อำเภอเชียงของ “Young & Old – Side by Side” จังหวัดเชียงราย จุดเด่นของภาพนี้อยู่ที่ การถ่ายทอดวิ ถี ช ี วิ ตชนบท ทั้งการ แต่งกายสภาพแวดล้อม มีความเป็น เอกภาพด้วยสายตาของตัวแบบทั้งยาย และหลาน ที่ต่างก็มองไปยังจุดเดียวกัน
Focusing Club E-Magazine
19
ด้ า นบนเพื่ อ บอกเล่ า เรื่ อ งราวที่ อ ยู่ ด้านล่างของภาพ ใช้ยอดมะพร้าว และ ยอดไม้อื่นๆ ที่อยู่ด้านล่างทำหน้าที่ เป็นฉากหน้า เพื่อสร้างมิติให้กับภาพ เป็ น ภาพที่ ไ ด้ รั บ รางวั ล การประกวด ในหัวข้อ “เมืองไทยแสนสวย”
www.focusingclub.net
ภาพนี้เป็นภาพที่ถ่ายขณะปีนป่าย ขึ้นไปบนจุดชมวิว ของเกาะวัวตาหลับ อุทยานแห่งชาติหมูเ่ กาะอ่างทอง จังหวัด สุ ร าษฎร์ ธ านี ผมตั ้ ง ชื ่ อ ภาพนี ้ ว ่ า “รอเรือ...เรือรอ” เพราะเรือบรรทุก ผู้โดยสารหลายลำกำลังจอดรอรับผู้ที่ ขึ้นมาชมวิวบนเกาะ ในขณะที่มีกลุ่มคน ที่ชายหาดกำลังยืนรอเรือหางยาวมารับ ไปขึ้นเรือใหญ่ โดยใช้เส้นขอบฟ้าอยู่
www.focusingclub.net
20 Focusing Club E-Magazine
ภาพนี้ถ่ายที่สวนรุกชาติรักษะ วารินจังหวัดระนอง เมืองแห่งฝนแปด แดดสี่ โดยขอให้ภรรยากางร่ม ไปเดินบน สะพานแขวนด้านล่าง เพื่อเป็นแบบ ถ่ายภาพ จัดองค์ประกอบของภาพ แล้ ว ผมก็ ล งไปยื น เคี ย งคู่ กั บ ภรรยา โดยให้เพื่อนกดชัตเตอร์แทน เมื่อได้รับ สัญญาณจากผม จุดเด่นของภาพอยู่ที่ตัวแบบ ซึ่งอยู่ ในตำแหน่งจุดตัดเก้าช่อง ทางด้าน
ล่างขวา ถ่วงดุลกับก้อนหินที่อยู่ด้านล่าง ซ้าย อีกทั้งเส้นของสะพานแขวนและ วรรณะสีอุ่นของเครื่องแต่งกายตัวแบบ ที่ทาบทับไปบนวรรณะสีเย็นของต้นไม้ ใบหญ้า ซึ่งเป็นฉากหลัง ช่วยเพิ่มการ สร้างมิติให้ภาพได้อย่างดียิ่ง
Focusing Club E-Magazine
21
ผมสังเกตเห็นว่าไม้พื้นสะพานบางแผ่น ผุเป็นช่องโหว่ บางแผ่นหลุดห้อยร่องแร่ง แม่กำลังยื่นมือออกไปรับลูกด้วยความ เป็นห่วง ผมจึงรีบกดชัตเตอร์ถ่ายภาพ ไว้ก่อน ภาพนี้เน้นเรื่องราว ความรักและ ผูกพันระหว่างแม่ลกู ใช้วรรณะสีเส้นสาย และฉากหน้ า ในการเน้ น มิ ติ ค วามลึ ก ของภาพ เป็นภาพที่ได้รับรางวัลการประกวด จากธนาคารทหารไทยร่วมกับฟิล์มฟูจิ ในหัวข้อ “แม่ลูกผูกพัน”
www.focusingclub.net
ภาพนี้ได้รับรางวัลการประกวด ภาพถ่ายแหล่งท่องเที่ยว จังหวัดระนอง ประเภทแหล่งท่องเที่ยวทั่วไป เป็นเหตุการณ์ “รางวัลสูร่ างวัล” อี ก ครั้ง หนึ่ง ในยามเช้ า ของวั น ที่ไ ปรั บ รางวัล ประกวดภาพถ่ายแหล่งท่องเที่ยว จังหวัดระนอง ได้พาภรรยาและลูกสาว ตั ว เล็ ก ไปเที่ ย วที่ ส ะพานแขวนเช่ น ครั้งก่อน เพื่อเก็บภาพไว้เป็นที่ระลึก โดยให้ทง้ั สองเดินไปนัง่ ห้อยเท้าทีส่ ะพาน แต่ ใ นขณะที่ ทั้ ง สองกำลั ง เดิ น อยู่ นั้ น
www.focusingclub.net
22 Focusing Club E-Magazine
ภาพนี้ได้รับรางวัล การประกวด ส่ ง ท้ า ยด้ ว ยภาพ “คู ่ ข วั ญ ” เป็ น ภาพฝึกถ่ายคราวไปรับการอบรม จากนิตยสาร Photo และสมาคมสยาม ในหลักสูตรของอาจารย์ทอม เชื้อวิวัฒน์ คัลเลอร์สไลด์ โดยมีแก้วน้ำสีแดง สีเหลือง และสีเขียว วางอยู่ บ นกระจกฝ้ า ของโต๊ ะ ตั ว เล็ ก ๆ ซึ่งมีไฟส่องจากด้านล่าง ผมเลือกถ่าย เจาะที่เงาสะท้อนของแก้วใส่น้ำสีเหลือง และสีแดง ซึ่งเป็นวงกลมบิดเบี้ยวอยู่ บนผิวแก้วที่ใส่น้ำสีเขียว
Focusrip T
เรื่อง : พรวิทย์ ศักดิ์โสภาวิวัฒน์
ฝนตกที่อินทนนท์
ฟ้าร้องดังกึกก้อง สายฝนสาด กระทบหน้าต่างมาตลอดเกือบหนึ่งสัปดาห์ ก่อนหน้าทริปอินทนนท์ เสมือนจะสั่นคลอนความตั้งใจของผมที่จะไปถ่ายรูป ณ ที่แห่งนี้
เช้าวันศุกร์ซึ่งเป็นวันออกเดินทาง อากาศค่อนข้างดี ไม่มีฝนในกรุงเทพ แต่ ดูพยากรณ์อากาศที่เชียงใหม่แล้ว ก็มีฝนบ้าง...ในที่สุดฝนก็ตกจริงๆ ที่อินทนนท์!!
Focusing Club E-Magazine
“ไปอินทนนท์ทำไมในช่วงหน้าฝน ขอให้ฝนตกที่อินทนนท์” เป็นคำถาม แกมคำขู่ของเพื่อนๆ ที่ทำงาน ขณะที่พวกเขารวมกลุ่มกันไปน้ำตกทีลอซู แต่ผม กลับแยกตัวไปอินทนนท์ แม้จะรู้สึกแปลกเหมือนกันที่ไปเที่ยวภาคเหนือตอนบน ในช่วงหน้าฝน
23 www.focusingclub.net
www.focusingclub.net
24 Focusing Club E-Magazine
เตรียมพร้อมอุปกรณ์ ฝนตกๆ อย่างนี้เตรียมอุปกรณ์ ป้องกันไปก่อนดีกว่า แม้กล้องบางรุ่น จะกันน้ำได้บ้าง แต่ไม่เปียกเลยย่อม ดีกว่าอยู่แล้ว ขอเริ่มที่กระเป๋ากล้อง ก่ อ นหากใบที่ เ ราใช้ อ ยู่ ไ ม่ มี ผ้ า กั น ฝน ก็อาจจะซื้อผ้าดังกล่าวมาเพื่อป้องกัน ในกรณี ฝนตกไม่ หนั ก ไปถ่า ยรูป ใน สถานการณ์เ ช่ น นี้สิ่ ง สำคั ญ ที่ ค วรจะมี มากทีส่ ดุ คือเสือ้ กันฝน ซึง่ ได้รบั คำแนะนำ จากอาจารย์ ภู วพงษ์ว ่า ให้ซ ื้อแบบ “ค้างคาว”เมือ่ ใส่แล้วจะคลุมกระเป๋ากล้อง ไปด้วยในตัว ตอนแรกๆ ก็งงอยูเ่ หมือนกัน เสื้ อ กั น ฝนแบบค้ า งคาวเป็ น แบบ ไหนนะ มันคงเป็นเสื้อที่รูปร่างคล้าย ค้างคาวกระมัง เมื่อใส่แล้วต้องห้อย หัวนอนไหมนะ ตอนไปซื้อถึงได้รู้ว่า มันเป็นผ้าพลาสติกสี่เหลี่ยมที่มีกระดุม อยู่ตามแนวยาว ทั้งสองข้างมีฮูดคลุม หัวกันเปียกด้วย ขอแนะนำว่าให้เลือกซือ้ แบบหนาๆ จะดีกว่าเพราะอย่างบาง จะขาดง่าย ต้องขอขอบคุณอาจารย์ภูวพงษ์ เป็ น อย่ า งมาก เพราะถ้ า ไม่ ไ ด้ ร ั บ คำแนะนำให้ซื้อเสื้อกันฝน “ค้างคาว”
กระเป๋ากล้องของผมคงกลายสภาพเป็น กระติกใส่นำ้ ไปแล้วทีอ่ า่ งกา เพราะทีน่ นั่ ฝนได้ตกหนักมาก คุ้มแสนคุ้มจริงๆ แนวทางถ่ายรูปในทริปนี้ ในทริปนี้ผมได้ถ่ายรูปหลากหลาย มาก ไม่ว่าจะเป็นการถ่ายภาพทิวทัศน์ (Landscape),การถ่ายภาพทีเผลอ(Candid), หรือจะเป็นการถ่ายภาพบุคคล (Portrait) รวมถึงการถ่ายภาพแมโคร (Macro) แต่ ไ ม่ ว่ า จะเป็ น แนวไหนก็ ห าท้ อ งฟ้ า สีฟา้ ใสๆ ได้ยากมาก จะมีเฉพาะบางช่วง บางตอนเท่านั้น ส่วนใหญ่ท้องฟ้าจะมี สีออกขาวๆ มัวๆ ทั้งวันทำให้รูปถ่าย ที่ต้องมีส่วนของท้องฟ้าแลดูไม่สวยนัก ยังดีนะทีผ่ มได้ถา่ ยรูปโดยจัดองค์ประกอบ ให้มีส่วนของท้องฟ้าอยู่เล็กน้อยหรือไม่ มีเลย
Focusing Club E-Magazine
25
ธรรมชาติที่แม่กลางหลวง มาเยื อ นท้ อ งนาและผื น ป่ า ใน หน้าฝนทั้งที เราก็หวังสบายตาได้เห็น สีเขียวๆ ของธรรมชาติ ทริปนีเ้ ราได้แวะนา ขัน้ บันได ทีบ่ า้ นแม่กลางหลวง อ.จอมทอง จ.เชียงใหม่ ซึ่งอยู่บนกม.26 ของเส้นทาง ขึน้ ดอยอินทนนท์ ทีน่ ม่ี บี า้ นพักหลายแบบ มีทง้ั แบบอยูข่ า้ งๆ ทุง่ นา หรือถ้าชอบนอน ฟั ง เสี ย งน้ ำ ไหลก็ เ ลื อ กบ้ า นริ ม แม่ น้ ำ เรือนพักบางส่วนอยู่ในระหว่างก่อสร้าง เพื่อรองรับนักท่องเที่ยวที่จะไปเยือนกัน
มากขึ้น โดยเฉพาะในช่วงฤดูหนาว ฝนเริ่มตกพรำๆ ลงมาเป็นการ ทักทาย แล้วก็หยุดไปในที่สุด อานิสงค์ จากฝนตกทำให้ เ ราได้ ภ าพทุ่ ง นาขั้ น บันไดทีม่ ฉี ากหลังเป็นสันเขากับสายหมอก แต่หมอกก็อยู่ไม่นานแล้วก็จางหายไป พร้อมกับแสงแดดเริ่มสาดส่อง ทำให้ รู้ สึ ก ร้ อ นขึ้ น เรื่ อ ยๆในวั น ที่ เ ราไปเยือน ทุง่ นาส่วนใหญ่ยงั คงเป็นสีเขียวชอุม่ แต่ ก็ มี บ างทุ่ ง ที่ เ ริ่ ม เปลี่ ย นเป็ น สี เ หลื อ งๆ
www.focusingclub.net
นาขั้นบันได บ้านแม่กลางหลวง
Focusing Club E-Magazine
26
www.focusingclub.net
พร้อมจะเก็บเกี่ยวข้าว ทุ่งนาขั้นบันไดสีเหลืองตัดกับสีเขียวเป็นภาพที่น่าดูยง่ิ นัก ผมถ่ายภาพทิวทัศน์ทน่ี แ่ี บบสบายๆ ใช้การวัดแสงแบบเฉลี่ยแล้วชดเชยไปทางบวก นิดหน่อย เพื่อให้สีเขียวของทุ่งข้าวออกสว่างนิดๆ ช่องรับแสงค่อนไปทางแคบ คือประมาณ f/8 เพื่อให้ภาพทุ่งนามีช่วงความชัดพอสมควร ค่า ISO ที่ใช้ก็ไม่ต้อง สูงนัก ประมาณ 200 ก็เพียงพอในสภาพแสงเช่นนี้
ป่าฝนที่อ่างกา เรามาถึงอ่างกาพร้อมกับสายฝนพรำๆ เหมือนเป็นการทักทายผู้มาเยือน เป็นครั้งแรก ท้องฟ้าเริ่มขมุกขมัวด้วยละอองฝน สภาพแสงน้อย ประกอบกับ ความหนาทึบของป่าทำให้การถ่ายรูปเป็นไปอย่างยากลำบาก ต้องใช้ ISO สูงๆ การใช้ขาตัง้ กล้องจะช่วยได้มาก ผมได้ลองถ่ายภาพระยะใกล้ (Close-up) โดยตั้ง ISO1600 แต่ได้ภาพไม่ค่อยคมชัดนักเนื่องจากความไวชัตเตอร์ค่อนข้างต่ำ ผมอยู่
Focusing Club E-Magazine
27 www.focusingclub.net
ถ่ายรูปได้ไม่นานฝนก็ตกลงมาอย่างแรง ทำให้พวกเราจำเป็นต้องเก็บกล้องและ ตัดสินใจกลับที่พักไปในที่สุด ในเช้าวันต่อมาเรากลับไปแก้มือกันอีกครัง้ ณ อ่างกา โดยไม่ลืมขาตั้งกล้องอันเป็นอุปกรณ์สำคัญที่จะต้องนำติดตัวไปด้วย ผมตั้งใจ ถ่ายภาพเพื่อถ่ายทอดความอุดมสมบูรณ์ของผืนป่าแห่งนี้ จึงเมียงมองหามุมกล้อง ที่มีม่านหมอกปกคลุม ถ่ายภาพมอสและเฟิร์นที่ขึ้นคลุมราวทางเดินและตามลำต้น ของต้นไม้ใหญ่อย่างหนาแน่น นอกจากนีก้ ารถ่ายภาพใบเฟิร์น หรือใบไม้ในลักษณะ ย้อนแสงก็จะได้ภาพที่สวยงามมากเลยทีเดียว
www.focusingclub.net
28 Focusing Club E-Magazine
ประเพณียี่เป็งสันทราย งานประเพณียี่เป็งสันทรายใน ปีที่ผ่านมา ตรงกับวันที่ 24 ตุลาคม 2552 จุดเด่นของการถ่ายรูปทีน่ จ่ี ะเป็นอย่างอืน่ ไปไม่ได้ นอกจากการถ่ายภาพการ ลอยโคมนั บ พั น นั บ หมื่ น ของบรรดา นักท่องเที่ยว และของพระภิกษุ สามเณร
สิ้นเสียงสัญญาณให้ทุกๆ คนปล่อยโคม เสียงกดชัตเตอร์ของเหล่าช่างภาพก็ดงั ขึน้ อย่ า งไม่ ห ยุ ด ยั้ ง เพื่ อ เก็ บ ภาพความ ประทับใจไว้ให้ได้มากที่สุด ช่วงเวลา ดังกล่าวเป็นบรรยากาศที่น่าประทับใจ อย่างยิ่ง
ของไฟโคมลอยออกสี ส้ ม มากเกิ น ไป จึงปรับลดลงมาประมาณ 3500 - 3800 Kelvin แม้ภาพที่ได้จะมีสีของไฟโคม ลอยติดสีสม้ อยูบ่ า้ ง แต่ภาพจะดูสวยกว่า แต่ถ้าใครไม่ชอบอมส้มก็สามารถปรับ ลดลงไปมากกว่า 3800 Kelvin
29 www.focusingclub.net
งานลอยโคมยี่เป็ง เลนส์ มุ ม กว้ า งเป็ น เลนส์ ห ลั ก ที่ ผ มใช้ ใ นการถ่ า ยภาพตอนลอยโคม แม้ แ สงจะน้ อ ยแต่ ก็ ไ ม่ ส ามารถใช้ ข า ตั้งกล้องได้ เพราะไม่สะดวกต่อการ เคลื่อนไหว เราต้องปรับตั้ง ISO ที่ 1600 ขึ้นไป ช่วงแรกของการถ่ายผมเลือก white balance เป็น Daylight แต่สี
ส่วนใครพลาดไปในปีที่ผ่านมา ก็ไม่เป็นไรครับ ปีนี้มีให้แก้ตัวกันใหม่ ในวันที่ 20 พฤศจิกายน 2553
Focusing Club E-Magazine
ส่วนการวัดแสงนั้นผมจะวัดที่ ตัวโคม ตรงที่สว่างกลางๆ ขณะที่เขา กำลังจุดโคม แล้วลองถ่ายดูจนได้แสง พอดี จากนั้นจึงปรับเป็นโหมด Manual เพื่อที่เวลาลอยโคมเราจะได้ถ่ายอย่าง ต่อเนื่อง ไม่ต้องกังวลเรื่องวัดแสงอีก ต่อไป เหลือไว้แค่จัดองค์ประกอบภาพ และกดชัตเตอร์ก็พอ
www.focusingclub.net
30 Focusing Club E-Magazine
วัดพระสิงห์ ใครต่อใครบอกว่าพระอุโบสถของ วัดนี้จะสวยด้วยแสงตอนเช้าๆ สีทอง ของพระอุ โ บสถสะท้ อ นกั บ แสงแดด อุณหภูมิอุ่นๆ เป็นภาพที่สวยงามมาก เสี ย ดายอย่ า งยิ่ ง ในวั น ที่ ไ ปมี เ มฆเต็ ม ท้องฟ้าไปหมด จึงแลดูไม่ค่อยงามอย่าง ที่วาดฝัน ได้แต่หวังว่าการมาคราวหน้า จะเป็ น วั น ที่ ฟ้ า สวยเอื้ อ อำนวยให้ ผ ม ได้ เ ก็ บ ภาพความสวยงามของที่ นี่ กับเขาบ้าง
ชาวเขาที่ดอยปุย
เยือนถิ่นชาวเขาเผ่าม้งที่ดอยปุย เดินทางขึ้นเขากันอีกครั้ง โดยมี จุดหมายอยู่ที่การถ่ายวิถีชีวิตชาวเขา ที่ดอยปุยการถ่ายภาพที่นี่คงเป็นภาพ เด็กๆ ซึ่งมีอยู่ค่อนข้างเยอะ เมื่อเทียบกับ ผู้ใหญ่ ที่สำคัญเด็กที่นี่เป็นมิตรกับ นั ก ท่ อ งเที่ ย วและส่ ว นมากยิ น ดี ใ ห้ ถ่ายรูป ยิ่งถ้าคุณให้ค่าขนมแก่พวกเด็ก สั ก เล็ ก น้ อ ยพวกเขาจะโพสท่ า ให้ คุ ณ ถ่ายจนเกินคุ้มเลยทีเดียว
Focusing Club E-Magazine
31 www.focusingclub.net
ดอกไม้สวยๆ ที่สวนพฤกษศาสตร์สริ กิ ติ ์ิ ที่ สุ ด ท้ า ยแล้ ว สิ น ะแน่ น อน ว่ามาสวนฤกษศาสตร์เพื่อถ่ายดอกไม้ ต้นไม้สวยๆ ที่มีอยู่มากมาย มาคราวนี้ ผมเน้ น แต่ ถ่ า ยดอกไม้ ใ นเรื อ นกระจก ซึ่งมีหลายโรงเรือนมาก แต่ละเรือนมี พรรณไม้ต่างๆ กัน เช่น ป่าดิบชื้นดอกบัว พืชกินแมลง เป็นต้น สภาพโรงเรือน และ สภาพแสงของที่น่เี หมาะอย่างยิ่งกับการ ถ่ายภาพแมโคร ลองหามุมที่แสงสวยๆ ตกกระทบใบไม้ดอกไม้ หรือจะลองถ่าย ดอกไม้สวยๆ ย้อนแสง และอย่าลืมนะครับ การถ่ า ยภาพแมโครจำเป็ น ต้ อ งใช้ ข า ตั้งกล้องเพื่อให้ได้ภาพคมชัด
วัดแสงทำไง?
ตั้ง ISO เท่าไหร่ดี? ชัดลึก ชัดตื้น แปลว่าอะไรอ่ะ?
ถ่ายเพื่อน แต่ ไหงต้นไม้ชัด?
ใช้เป็นแต่ P แล้ว AV ใช้ทำอะไรเหรอ?
ถ้าซื้อกล้องมา 4 หมื่น ใช้เป็นแค่ 4 พัน รีบมาเข้าคอร์ส Basic SLR กับชมรมโฟกัสซิ่ง คลับ แล้วทุกปัญหาจะมีทางแก้ Basic SLR คอร์สพื้นฐานความรู้เรื่องการทำงานของกล้อง SLR หลักการวัดแสง รู้จัก Lens & Focal Length และ Depth 0f field ระยะเวลาการอบรม: 2 วัน ตั้งแต่ 8.30 - 17.30 น. วันที่: 24-25 เมษายน 2553 สถานที่: สถาบันราชภัฏจันทรเกษม สนใจเข้าอบรมคอร์สต่างๆ ติดต่อคุณนก 089-151-0986, คุณขวัญ 080-604-4773 e-mail: focusingclub@msn.com หรือที่ www.focusingclub.net
โอนเงินเข้าบัญชี: 216-211-293-1 ธนาคารไทยพาณิชย์ สาขาอาคารเพลินจิต เซ็นเตอร์ ชื่อบัญชี นางสาวกุลธิดา กู้เกียรติ พร้อมแจ้งการโอนเงินทางโทรศัพท์ คุณนก 089-151-0986, คุณขวัญ 080-604-4773
Focusest T
เรื่อง : ณัฐดิษฐ ตัณฑประศาสน์
CX2 ประสิทธิภาพที่ ไม่เล็กเหมือนตัว
33 www.focusingclub.net
1 ผู้อ่านอาจจะไม่คุ้นตาคำศัพท์เกี่ยวกับการถ่ายภาพที่นิตยสารฉบับนี้ใช้ ขอเรียนให้ท่านทราบว่าเราใช้คำตามที่ราชบัณฑิตยสถาน บัญญัติ เพื่อสร้างความคุ้นเคยอย่างค่อยเป็นค่อยไป ทางเราจึงใช้คำภาษาต่างประเทศอย่างเดียวในบางที่ ขณะที่บางแห่ง ใช้คำไทยทีท่ างราชบัณฑิตกำหนดไว้โดยไม่มคี ำต่างประเทศกำกับไว้ในวงเล็บ และบางจุดใช้คำไทยโดยมีคำต่างประเทศกำกับไว้ อ้างอิงตาม 1. ศัพท์คอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 7 พ.ศ. 2549 2. พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 3. ศัพท์เทคโนโลยีทางภาพ อังกฤษ-ไทย ไทย-อังกฤษ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2548
Focusing Club E-Magazine
กล้อง Compact หรือ กล้องปัญญาอ่อนในทุกวันนี้มีมากมาย หลายยี่ ห้ อ หลายรุ่ น นั บ จำนวนรุ่ น ที่ ออกมาในแต่ ล ะปี แ ทบนั บ กั น ไม่ ไ หว ในบรรดากล้องค็อมแผ็กต์ 1 ที่ออกมา ในปี 2009 รุ่นที่ผมสนใจมากที่สุดคือ กล้องCanon G10 และ Ricoh CX1 ถ้าเป็นไปได้ผมอยากจะมีไว้ทั้ง 2 รุ่น ด้ ว ยเหตุ ผ ลธรรมดาที่ สุ ด คื อ ไม่ อ ยาก แบกกล้อง DSLR ติดตัวไปไหนมา ไหนตลอด ในวันที่แสนจะขี้เกียจ จึงเริ่ม มองหากล้องกระทัดรัดซักตัวที่มีระบบ Manual ที่สามารถปรับตั้งค่าต่างๆ ได้
ผมเลือกมองไปที่ Canon G10 ด้วยขนาดที่เล็กกว่า DSLR ที่ผมมีอยู่ มั น จึ ง ง่ า ยที่ จ ะเอาติ ด ตั ว ไปไหนมา ไหนได้ และมันสามารถถ่ายภาพได้ เกือบทุกที่ แต่กล้องรุ่นนี้ไม่มีสิ่งที่ผม ต้องการอย่างหนึ่งคือ ระยะซูมที่ยาว เพี ย งพอสำหรั บ การถ่ า ยภาพในทุ ก สถานการณ์ ตั้งแต่ถ่ายภาพภูมิทัศน์ หรือแม้แต่ถ่ายในที่แคบๆ จนถึงถ่าย แนวทีเผลอที่พวกเรามักใช้ทับศัพท์ว่า Candid ซึ่งระยะที่ว่านั้นก็คือ ระยะซูมที่ 28-200 มม. G10 มีเพียงระยะซูม แค่ 28-140 มม.ทำให้ผมแอบเทใจให้ Ricoh CX1 ที่มีระยะซูมที่ 28-200 มม. พร้อมฟังก์ชันต่างๆ ที่มีมาไม่แพ้ G10 แต่ก็ไม่มีในสิ่งที่ผมต้องการ คือไม่ สามารถปรับตั้งค่าแบบ Manual ได้ ด้ ว ยเหตุ นี้ ผมจึงยังหากล้องกระทัดรัด มาประจำกายไม่ได้ซักที จนผมลืมที่จะ คิดถึงมันไปพักใหญ่
Focusing Club E-Magazine
34
www.focusingclub.net
ได้เกือบทุกสถานการณ์ ถ่ายภาพสวย ด้วยศิลป์ก็ได้ แล้วคำว่า “เอาวะ” ก็ดัง ก้องอยู่ในใจ
แต่แล้วไม่นานก็มีข่าว Canon G11 ออกมาพร้อมกับ CX2 ทำให้ผมคิด หนักอีกครั้ง โดยสิ่งที่ G11 มีเพิ่มมา ให้มากกว่า G10 และโดนใจผมก็คือ สามารถบันทึกภาพเป็น File RAW และจอภาพสามารถพลิกได้ แม้จะลด ขนาดลงจาก 3.0 นิ้วเป็น 2.8 นิ้วก็ตาม ในด้าน CX2 สิ่งที่สร้างความลำบากใจ ให้กับผมคือ กล้องรุ่นนี้มาพร้อมกับ เลนส์ 28-300 มม. และการทำงาน ที่เร็วขึ้น ผมจึงถามตัวเองว่า 28-300 มม. ของ CX2 กับคุณสมบัติเดิมที่เหมือน CX1 มีระบบกันสัน่ จอภาพกว้างละเอียด และดูสวยสุด แล้วผมจะเอาอะไรอีก... ปรับ Manual, File ภาพสวยสู้ไม่ได้ ก็ไม่เป็นไร แต่มนั ชดเชยแสงได้ ถ่ายภาพ
เรามาแหวกพุง CX2 ตามสไตล์ บ้านๆ แบบผมในฐานะคนใช้กล้องแบบ ไม่เอาจริงเอาจังมากนัก ผมจะไม่เจาะลึก ฟังก์ชันต่างๆ แต่จะหาว่ามันมีอะไร น่าสนใจบ้างสำหรับเราๆ ไอ้ที่ลึกซึ้ง มากๆ ปล่อยไว้ให้โปรเค้ามาผ่าไส้กนั ดีกว่า เราเอาแบบสบายๆ นะครับ ซึ่งโดย ปกติ ผ มจะพิ จ ารณาด้ า นรู ป ลั ก ษณ์ ภายนอกฟั ง ก์ ชั น ที่ เ พี ย งพอกั บ การ ใช้งานของผม และลักษณะการใช้งาน ว่ายากง่ายแค่ไหน รวมถึงการพกพา สะดวก โดยจะเว้นเรื่องราคาเอาไว้ ไม่พดู ถึงครับ ด้านล่างคือคุณลักษณะ อย่างคร่าวๆ ครับ
www.focusingclub.net
ด้านบนทางซ้ายแกะตัวอักษร เป็นร่องลึกลงไปสีเดียวกับกล้อง บ่งบอก ศักยภาพอัตราขยายของเลนส์ 10.7X(เท่า) มีปุ่มกลมๆ อยู่ 3 ปุ่มเรียงตัวกันอยู่
35
รูปทรงดูคมเข้มไร้ความโค้งมน ทำให้ดูแมนดีครับ ด้านหน้าเด่นด้วย กระบอกเลนส์ ที่ ข นาดปาเข้ า ไปเกื อ บ ครึ่งหนึ่งของตัวกล้อง นั่นเพราะมีเลนส์ 28-300 มม. ที่ซุกซ่อนอยู่ข้างใน อีกด้าน มีกริปลายพิรามิดนูนออกมาช่วยให้ไม่ดู เรียบจนเกินไป แถมยังช่วยให้จบั ถนัดขึน้ ซึ่งไม่มีใน CX1 จุดที่น่าติสักหน่อยคือ ด้ามจับทำจากพลาสติกดำด้านทำให้ กล้องดูกระป๋องก๊องแก๊งไปนิดนึง
Focusing Club E-Magazine
ดังคำโบราณกล่าวไว้ว่า ไก่งาม เพราะขน คนงามเพราะแต่ง เวลาควง แฟนสวย หล่อ น่ารัก ก็เป็นธรรมดาที่จะ ชูคอยืดอกอวดใครต่อใครอย่างภาคภูมใิ จ ดั่งเหม่ยลี่อวดลุงกับสองสาวที่เดินผ่าน มาในเรื่อง “รถไฟฟ้ามาหานะเธอ” ก็ไม่ปาน CX2 ออกตัวมาด้วยกัน 3 สี คือ บรอนซ์เงิน, ดำ และดำชมพู สำหรับ ให้เราเลือกให้เหมาะกับบุคลิกของแต่ละ คนโดยเฉพาะ สีดำชมพูเหมาะสำหรับ คนที่ ยั ง เลื อ กไม่ ไ ด้ ว่ า จะแอบหวาน หรือคมเข้มดี
Focusing Club E-Magazine
36
www.focusingclub.net
ที่ ด้ า นขวาตามปกติ ข องกล้ อ งทั่ ว ไป เพราะผู้ใช้ส่วนใหญ่ถนัดขวา ปุ่มเปิดปิด ปุ่มกดชัตเตอร์พร้อมวงแหวนซูมแบบ เลื่อนซ้ายขวา และวงแหวนปรับ Mode ซึ่งทั้ง 3 ปุ่มเป็นสีเงินทำให้กล้องดูดี มีระดับขึ้น
จอก็ไม่ได้ขี้เหร่เลย บอกได้ว่าดูภาพ จากจอในกล้ อ งมั น สวยกว่ า ดู ใ นจอ ของโน้ ต บุ๊ ก คอมพิ ว เตอร์ ม ากโขเลย ทีเดียว แต่โดยปกติเราเอาอะไรแน่นอน จากจอหลังกล้องไม่ได้อยู่แล้ว แค่มัน ให้ความรู้สึกดีตอนดูหลังถ่ายเท่านั้น
เราข้ า มเรื่ อ งหน้ า ตากล้ อ งไป กันดีกว่า เพราะของดีต้องดูกันด้าน คุณสมบัตแิ ละประสิทธิภาพครับเจ้าCX2 มีอะไรที่คล้ายๆ กับกล้อง Compact ทัว่ ไปมีครับ จะมีของเล่นใหม่กน็ ดิ หน่อย ซึ่ ง ผมจะหยิ บ ออกมาเล่ า ให้ ฟั ง แค่ ด้านหลัง ฝั่งซ้ายเป็นจอภาพ บางอย่างเท่านั้นนะครับ เอาที่มันเด่นๆ ขนาด 3 นิ้วความละเอียดสูง ถ้าว่ากัน เอาเรือ่ งแรกกันก่อนเจ้าเลนส์ 28-300 มม. ตามคุ ณ สมบั ติ ตั ว เลขอั น หน้ า รำคาญ ที่สร้างความฮือฮาในใจผมมาก คือ 920,000 Dot/inch บางคนบอก ด้วยช่วงทางยาวโฟกัสที่มากถึง ไม่รู้หรอกว่ามันละเอียดยังไง เอาเป็น ละเอียดกว่าจอของกล้องตัวละหลาย 10.7X กระบอกเลนส์เวลาที่ออกมา หมื่นซะด้วยซ้ำ ซึ่งเวลาดูภาพหลังถ่าย ยาวมากกว่ า ความหนาของกล้ อ ง ภาพที่ ถ่ า ยทอดออกมาสวยงามมาก เสียอีกครับ แต่ไม่ต้องห่วงว่ากล้อง แต่ ใ นความสวยนั้ น มั น ก็ มี สิ่ ง ที่ ต้ อ ง จะหนาเทอะทะ เพราะเวลาเก็บเลนส์ คำนึงถึง นั่นคือมันสวยเกินจริงไป จะหดสั้ น เข้ า ไปเก็ บ ให้ ใ นตั ว กล้ อ งที่ มี หรือเปล่า ต้องระวังจะถูกจอหลังกล้อง ความหนาไม่ถึง 3 ซม. ด้วยซ้ำ ดังนั้น หลอกเอา ผมลองเทียบกับจอของ ขนาดของกล้ อ งจึ ง ไม่ ใ หญ่ เ กิ น สาวๆ โน้ตบุ๊กคอมพิวเตอร์ของผมที่คุณภาพ จะพกพาไปในกระเป๋าสะพายได้สบาย
37 www.focusingclub.net
เป็นภาพเจดีย์วัดป่าสว่างบุญ ภาพที่ออกมี Distortion ไม่มากนักคมชัด ในระดับพอใจทั้งตรงกลาง และขอบภาพ แม้ว่าขอบภาพจะคมน้อยกว่าก็ตาม
Focusing Club E-Magazine
ภาพผีเสื้อตัวนี้ถ่ายมาในสภาพแสงที่ค่อยข้างดีครับ ภาพจัดว่าคมชัด ให้สีสรรดี แต่ต้องขึ้นอยู่กับการปรับสี ที่ตัวกล้องด้วยว่าเราจะปรับแบบ Vivid หรือ Normal
หรื อ จะพกติ ด เอวไปทำงานอย่ า งผม ก็ ไ ม่ ไ ด้ ส ร้ า งความยุ่ ง ยากหรื อ ทำให้ เอวของผมหนาขึ้นจนสาวๆ ทักให้หมด หล่อซะหน่อย แล้วเรื่องความคมชัด ของเลนส์ล่ะ อืม... ต้องบอกว่าพอใช้ พอใจในระดั บ ราคาครั บ เลนส์ ใ ส คมชัดดี ในสภาพแสงปกติถึงแสงมาก แต่ ใ นสภาพแสงน้ อ ยทำเอาอึ ด อั ด ใจ พอควร แต่มันก็เป็นธรรมดาของกล้อง ค็อมแผ็กต์ ผมได้เอาไปทดสอบการ ใช้งานจริงที่เขาใหญ่ ถ้าสภาพแสงดี ภาพจะออกมาแจ่มแหล่มมาก มาดูภาพ ของจริงกันบ้างดีกว่า ภาพที่เห็นทั้งหมด ผมย่อภาพลงแล้วใส่ Sharpen ไปหนึง่ ครัง้
เจ้าระยะ 28 มม. ทำให้ผมพอใจ มากในการเอาไปถ่ า ยภาพภู มิ ทั ศ น์ แม้ว่าจะไม่ได้กว้างแบบ Super Wide แต่ ก็ ถื อ ว่ า ได้ ร ะยะกว้ า งที่ เ พี ย งพอDR Mode และพอเพียงกับการถ่ายภาพทั่วไปครับ อ ย่ า ง ภ า พ ที่ เ ห็ น เ ป็ น ภ า พ เ จ ดี ย์ วัดป่าสว่างบุญ ภาพถ่ายที่ถ่ายออกมามี ความผิดรูป (หรือที่พวกเราชอบใช้คำว่า Distortion) ไม่มากนัก คมชัดในระดับ พอใจทั้งตรงกลางและขอบภาพ แม้ว่า ขอบภาพจะคมน้อยกว่าก็ตาม
www.focusingclub.net
38 Focusing Club E-Magazine
ใช่ว่าระยะ 28 มม. จะถ่ายภาพ ภูมิทัศน์ได้เท่านั้นครับ ในที่แคบอย่าง ภาพที่โต๊ะอาหารก็ทำให้เราสามารถได้ ภาพโดยไม่ต้องถอยหลังไปถ่าย เรียกว่า แทบไม่ตอ้ งขยับตัวก็ได้ภาพหลากหลาย รูปแบบ เราสามารถถ่ายภาพทีเผลอได้ ไม่ยากด้วยเจ้า CX 2 ในขณะที่ผมนั่งรอ น้ อ งรั ก ที่ ก ำลั ง เดิ น ทางออกมาจากป่ า ก็แอบเห็นเด็ก 2 คนกำลังเล่นรถเด็กเล่น กันอยู่ห่างออกไปเกือบ 10 เมตร ถ้าเป็น DSLR ผมคงต้องลุกไปถ่ายภาพเด็กคู่นี้ เป็ น แน่ แ ท้ และหากผมลุ ก ออกไป ถ่ายภาพ ก็อาจไม่ได้ภาพทีเผลอที่เป็น ธรรมชาติเท่าไหร่นัก ผมเลยถ่ายด้วย กล้อง CX2 สบายๆ ไขว่ห้าง จิบน้ำอัดลม ไปถ่ายไป ซึ่งผมยังมีระยะซูมเหลือ เสียด้วยซ้ำ ไม่จำเป็นต้องซูมสุดปลาย
เลนส์ที่ 300 มม. แต่อย่างใด ถ่ายระยะ มาเผื่อคร็อปอีกหน่อยแบบเย็นใจ ว่ากันเรื่องเลนส์ไปพอควรแล้ว มาว่ากันเรื่อง ISO บ้าง เค้ามีให้เรามา เลือกใช้งานตั้งแต่ 80-1600 เลยทีเดียว จะมากมายไปไหน โดยแบ่งเป็น 80100-200-400-800-1600Auto และ Auto Hi แต่อย่าว่าอย่างนู้น อย่างนี้เลยนะครับ เกินกว่า 200 Noise ก็ เ ดิ น ตบเท้ า มาหากั น แล้ ว สำหรั บ Compact ทุกตัว แต่สำหรับตัวนี้ผม ยอมรับได้ที่ 800 แต่ถ้าไม่จำเป็นผมก็ ไม่ใช้เกิน 400 และจะหลีกเลี่ยงการใช้ ISO สูงในสภาพที่แสงน้อยจริงๆ แต่ ส่วนใหญ่ผมจะใช้ Auto ถ้าหากสภาพ แสงมันเปลี่ยนไปมา เช่น เดินเข้าไป ในป่า, เส้นทางศึกษาธรรมชาติทม่ี แี สงบ้าง ไม่มีแสงบ้าง เพราะกลัวลืมนะครับ
มาดูภาพที่แสงน้อยบ้าง ภาพนี้ถ่ายตอนเพิ่งตื่น ตอนเช้า ไม่ได้ใช้ขาตั้งกล้อง ออกจากเต็นท์ ก็ถ่ายเลยครับ
VDO: ก็ง่ายๆ ตรงตัว คือไว้ถ่ายวีดีโอ แบบไม่จำกัดเวลา ขึ้นอยู่กับแบตเตอรี่ และความจุของ Memory Card
www.focusingclub.net
My 1 และ My 2: เป็นโหมดส่วนตัวของ เจ้าของกล้องเองที่จะตั้งค่าต่างๆ ไว้ตาม แต่ใจชอบครับ
39
DR Mode
Auto: หรือโหมดกล้องเขียว โหมดนี้ คล้าย Easy ต่างกันตรงที่สามารถปรับ โน่นนี่ได้มากกว่า เช่น WB, ISO และอื่นๆ อีกมากมาย
Focusing Club E-Magazine
มาคุยกันเรื่องโหมดถ่ายภาพบ้าง DR: เป็นโหมดเพิ่ม Dynamic Range เค้ามีมาให้ไม่มากนัก แต่ครอบคลุมนะ ในกรณีที่ภาพมีความต่างของแสงมาก เจ้าโหมดนี้จะช่วยเราเก็บรายละเอียด Easy: ก็ตามความหมายครับ ไม่ต้อง ในส่ ว นมื ด และสว่ า งได้ ด้ ว ยการ คิดมาก กล้องคิดให้หมด เราจะปรับตั้ง ถ่ายภาพ 2 ครั้งต่อเนื่องอย่างรวดเร็ว อะไรไม่ได้ครับ มาก ภาพแรกจะถ่าย Under อีกครั้ง Continue Mode: เจ้าสี่เหลี่ยมหลาย จะถ่าย Over แล้วกล้องจะเอาภาพทั้ง 2 อันซ้อนกันคือโหมดถ่ายต่อเนื่อง ซึ่งเรา ภาพมารวมกัน ทำให้ภาพมี Dynamic เลือกอัตราความเร็วได้ ตั้งแต่ 5 ภาพ Range ค่อนข้างกว้างเมื่อเทียบกับ ต่อวินาที จนถึง 120 ภาพต่อวินาที แต่ สภาพปกติ สามารถเก็บรายละเอียด ความละเอียดภาพมันจะลดลงไปด้วย ได้ทั้งในส่วนมืดและส่วนสว่าง ข้อระวัง นะครับพี่น้อง ก็คือต้องถือกล้องนิ่งๆ ในกรณีแสงน้อย Normal Mode เพราะถ้ า ความไวชั ต เตอร์ ต่ ำ เกิ น ไป ภาพมั น จะเหลื่ อ มกั น เพราะมื อ เราสั่ น ตอนกล้องบันทึกภาพทั้ง 2 ครั้ง
www.focusingclub.net Focusing Club E-Magazine
40
Miniature: ผมตั้งชื่อเองว่าโหมดหลัง เบลอร์ เจ้าวิธีนี้จะเว้นบางส่วนของภาพ ไว้ ป กติ แต่ จ ะทำให้ ภ าพส่ ว นที ่ เ รา ต้องการเบลอร์ได้ใกล้เคียงผลที่ได้จาก Telephoto lens คือชัดในส่วน Subject ทีเ่ ราเลือก และพร่าในส่วนทีเ่ ราไม่ได้เลือก ซึ่งเราสามารถปรับใช้ได้ท้ังแบบแนวตั้ง และแนวนอน ด้วยการใช้งานที่ไม่ยาก เย็นอะไรนัก
โหมด Miniature
Skew Correct: ไว้ใช้แก้ไขสัดส่วนวัตถุ ที่บิดเบี้ยวจากการถ่ายภาพในมุมที่ไม่ ถูกต้อง เช่น ถ่ายนามบัตร แบบเอียงๆ กล้องจะแก้ให้ตรงเหมือนของจริงครับ แต่ อ าจจะเหลื อ ขอบมาให้ เ ห็ น บ้ า ง เราต้องมาคร็อปออกอีกครั้งหนึ่ง โหมด Skew Correct
www.focusingclub.net
ทีเด็ดที่แอบซ่อนอยู่ในเจ้า CX2 อีกอย่างคือเรือ่ งโฟกัสครับ เจ้านีส่ ามารถ เลือกจุดโฟกัสได้หลายแบบ Multi AF, Spot AF, Continue AF, Multi Target AF, MF, Snap ซึ่งก็ทำงานได้ดี รวมถึงสามารถ Pre Focus ได้ Continue AF: แม้ว่ามันจะไม่เก่งเท่า DSLR แต่มันก็มีประโยชน์ไม่น้อยในการ ติดตามวัตถุที่เคลื่อนที่ แต่ที่แหวกแนว กว่าชาวบ้านคือโหมด Multi Target AF กล้องจะเลือกจุดโฟกัสเอง โดยเลือก
ทีไ่ ม่กล่าวถึงไม่ได้เลยอีกเรือ่ งคือ การปรั บ เลื่ อ นจุ ด โฟกั ส ไปที่ ส่ ว นไหน ของหน้าจอก็ได้ ซึ่งไม่ได้มีประโยชน์ เพียงแค่การถ่ายภาพแมโคร แต่ยังมี ประโยชน์ในการถ่ายภาพทั่วไป เรา ไม่จำเป็นต้องขยับกล้องไปมา แค่เลื่อน จุดโฟกัสไปยังจุดทีเ่ ราต้องการ โดยเลือ่ น ไปมาด้วยปุ่ม Fn และนอกจากนั้นยัง ทำให้ วั ด แสงได้ แ ม่ น ยำมากขึ้ น ด้ ว ย เป็ น ฟั ง ก์ ชั น ที่ ผ มใช้ ง านบ่ อ ยไม่ แ พ้ กั บ การปรับ WB และการปรับชดเชยแสง การปรับชดเชยแสงเป็นฟังก์ชัน ที่ผมนิยมใช้มาก คือเราสามารถปรับ ชดเชยแสงได้ -2EV ไปจนถึง +2EV มี ประโยชน์ในการสร้างสรรค์สีและแสง ให้กับภาพของเรามาก เพราะกล้อง จะทำการวัดแสงจากค่าเทากลาง 18% ซึ่งอาจได้ภาพที่ไม่ถูกใจเรา ตรงนี้เอง เราก็ปรับมันซะให้ตรงใจด้วยการปรับ ชดเชยแสงครับ
41
Discreet Mode: โหมดสายลับ วิธีนี้ จะปิดเสียงทุกอย่าง และไม่เปิดแฟลช เหมาะกับการแอบถ่าย หรือถ่ายในโรง ละคร หรือในขณะนอนฟังโอเปร่าจะได้ ไม่รบกวนคนข้างเคียงและนักดนตรี
ทั้งหมด 7 จุด แล้วถ่ายทั้งหมดมาให้ เราเลือกอีกที เก่งกาจไหมครับพี่น้อง
Focusing Club E-Magazine
Scene: โหมดนี้เหมือนกล้องทั่วไปที่ ภายในมี Mode ย่อยให้เลือกเยอะแยะ Portrait, Landscape, Sport, Night Portrait, Nightscape, High Sens, Discreet Mode, Zoom Macro, Black&White, Miniature, Skew Correct, Text Mode ซึ่งผมจะเล่าเฉพาะที่น่า สนใจ 3 โหมดเท่านั้นนะครับ
www.focusingclub.net
42 Focusing Club E-Magazine
การปรับเลื่อนจุดโฟกัส, การปรับ ชดเชยแสง รวมถึงการปรับ WB และการ ปรับขนาดภาพ สามารถทำได้โดยง่าย ด้วยการกดปุ่ม ADJ/OK ลงไปตรงกลาง มันจะพาเข้าไปสู่เมนูลัด ที่ทำให้เรา สามารถปรั บ ฟั ง ก์ ชั น ข้ า งต้ น ได้ ทั น ที และยังสามารถปรับเปลี่ยนเป็นฟังก์ชัน อื่ น ได้ ด้ ว ยการเปลี่ ย นค่ า ที่ ตั้ ง มาจาก โรงงานโดยการเข้าไปในเมนู เพื่อเปลี่ยน หน้าที่ของปุ่ม Fn เราสามารถตั้งและ เปลี่ ย นเป็ น ฟั ง ก์ ชั น อื่ น ได้ ต ามที่ เ รา ต้องการ
Flash
Items
กล่าวโดยสรุป CX2 เป็นกล้อง ที่ใช้สนุกพกติดตัวไปได้ทุกที่ มีฟังก์ชัน และระยะทางยาวโฟกั ส ของเลนส์ ครอบคลุ ม ในทุ ก กิ จ กรรม ไปเที ่ ย ว ไปทำงาน ใช้ได้หมด ภาพที่ถ่ายออกมา อยู่ในเกณฑ์ดีถ้าสภาพแสงดี แต่อยู่ใน สภาพแสงน้ อ ยก็ อ ย่ า ไปหวั ง อะไร มากนัก คนที่จะซื้อไปใช้ต้องศึกษาอ่าน คู่มือมากหน่อย เพราะมีของให้เล่นเยอะ
Specifications
Built-in flash mode
Auto (during low light and when the subject is backlit), Red-eye-Reduction, Flash On, Slow Synchro, Flash Off
Built-in flash range
Approx. 20 cm - 3.0 m (Wide), approx. 25 cm 3.0 m (Telephoto) (ISO Auto/ISO 400, from the front of the lens)
Flash compensation
+/-2.0EV (1/3EV Steps)
No. of Effective Pixels (Camera)
Approximately 9.29 million pixels
Monitor
Image Sensor
1/2.3-inch CMOS (total pixels: approx. 10.29 million pixels)
3.0-inch Transparent LCD (approx. 920,000 dots)
Shooting Mode
Auto Shooting Mode / Easy Shooting Mode / Dynamic Range Double Shot Mode / Continuous Shooting Modes (Continuous, M-Continuous Plus, Ultra-High-Speed Continuous) / Scene Modes (Portrait / Sports / Night Portrait / Landscape / Nightscape / High Sensitivity / Zoom Macro / High-Contrast B&W / Miniaturize / Skew Correction / Text) / My Setting Mode / Movie Mode
Lens
Focal length
f=4.9-52.5mm (equivalent to 28-300 mm for 35 mm film cameras. With Step Zoom set, option of eight fixed lengths: 28 mm, 35 mm, 50 mm, 85 mm, 105 mm, 135 mm, 200 mm, and 300 mm)
F-aperture
F3.5 (Wide) - F5.6 (Telephoto)
Shooting Distance
Normal shooting: Approx. 30 cm - infinity (Wide), approx. 1.5 m - infinity (Telephoto) Picture Quality Mode*4 (from the front of the lens) Macro: Approx. 1 cm - infinity (Wide), approx. No. of Pixels Still image/multi28 cm - infinity (Telephoto), approx. 1 cm Recorded picture infinity (Zoom Macro) (from the front of the lens)
Lens Construction 10 elements in 7 groups (aspheric lens: 4 elements and 5 surfaces) Zoom Magnification
Optical: 10.7x zoom (equivalent to 28-300 mm focal length for 35 mm cameras) Digital: 4.8x up to 51.4x (equivalent to 1440 mm) when used with optical zoom Auto Resize: 5.4x*1 up to 57.8x*1 (equivalent to 1620 mm) when used with optical zoom
Focus Mode
Multi AF (contrast AF method) / Spot AF (contrast AF method) / Continuous AF / MultiTarget AF / Manual Focus / Fixed Focus (Snap) / Infinity (AF auxiliary light)
Motion Blur Reduction
Image sensor shift method image stabilizer
Shutter Speed*2
Still image
8, 4, 2, 1 - 1/2000 sec.
Movie
1/30 - 1/2000 sec.
Continuous shooting speed*3
approx.5 frames/sec. (F3456, F3:2, F1:1 shooting time; shooting speed after 60 pictures is approx. 3 frames/sec.)
Continuous Shooting
Continuous shooting capacity Exposure Control
640 x 480: 15 frames / sec. (1 min. 42 sec.), 320 x 240: 15 frames / sec. (4 min. 19 sec.) / 640 x 480: 30 frames / sec. (51 sec.), 320 x 240: 30 frames / sec. (2 min. 12 sec.)
Still Image
JPEG(Exif ver.2.21)*7
Multi-picture
CIPA DC-X007-2009 Multi-Picture Format
Movie
AVI (Open DML Motion JPEG Format compliant)
Compression method
JPEG Baseline method compliant
Exposure Compensation
Manual Exposure Compensation +/-2.0EV (1/3EV Steps), Auto Bracket Function (-0.5EV, ±0, Interface +0.5EV)
AUTO / Multi-Pattern AUTO / Outdoors / Cloudy / Incandescent / Incandescent 2 / Fluorescent / Manual, White Balance Bracket Function Auto (during low light and when the subject is Auto (during low light and when theOn, subject backlit), Red-eye-Reduction, Flash Slow is Synchro, Flash Off
Built-in flash range
Approx. 20 cm - 3.0 m (Wide), approx. 25 cm 3.0 m (Telephoto) (ISO Auto/ISO 400, from the front of the lens)
Flash compensation
+/-2.0EV (1/3EV Steps)
Monitor
3.0-inch Transparent LCD (approx. 920,000 dots)
Shooting Mode
Auto Shooting Mode / Easy Shooting Mode / Dynamic Range Double Shot Mode / Continuous Shooting Modes (Continuous, M-Continuous Plus, Ultra-High-Speed Continuous) / Scene Modes (Portrait / Sports / Night Portrait / Landscape / Nightscape / High Sensitivity / Zoom Macro / High-Contrast B&W / Miniaturize / Skew Correction / Text) / My Setting Mode / Movie Mode
Picture Quality Mode*4
F (Fine) / N (Normal)
No. of Pixels Recorded
Still image/multipicture
[4:3] 3456 x 2592, 3072 x 2304, 2592 x 1944, 2048 x 1536, 1728 x 1296 (M-Cont Plus), 1280 x 960, 640 x 480 [3:2] 3456 x 2304 [1:1] 2592 x 2592
Movie
640 x 480, 320 x 240
Text
3456 x 2592, 2048 x 1536
Recording Media
Storage Capacity
Movie
Program AE
Built-in flash flash Built-in mode
SD memory card (32, 64, 128, 256, 512 MB, 1GB, 2GB), SDHC memory card (4GB, 8GB, 16GB, 32GB), Internal memory (approx. 88MB) Still image/multi-
3456 x 2592 (F: 24, N: 42) / 3456 x 2304 (F:
SD memory card (32, 64, 128, 256, 512 MB, 1GB, 2GB), SDHC memory card (4GB, 8GB, 16GB, 32GB), Internal memory (approx. 88MB)
Recording File Format
Exposure Mode
Flash Flash
3456 x 2592, 2048 x 1536
Still image/multipicture
Multi (256 segments), Center Weighted Light Metering, Spot Metering
White Balance Mode
640 x 480, 320 x 240
Text
Storage Capacity (Pictures/ Time):*5 (internal memory approx. 88MB)
Exposure Metering Mode
AUTO, AUTO-HI, ISO80 / ISO100 / ISO200 / ISO400 / ISO800 / ISO1600
[4:3] 3456 x 2592, 3072 x 2304, 2592 x 1944, 2048 x 1536, 1728 x 1296 (M-Cont Plus), 1280 x 960, 640 x 480 [3:2] 3456 x 2304 [1:1] 2592 x 2592
Movie
Recording Media
999 pictures
ISO Sensitivity (Standard Output Sensitivity)
F (Fine) / N (Normal)
*6
Other Major Major Shooting Playback Functions Other
3456 x 2592 (F: 24, N: 42) / 3456 x 2304 (F: 27) / 2592 x 2592 (F: 33) / 3072 x 2304 (N: 53) / 2592 x 1944 (N: 72) / 2048 x 1536 (N: 109) / 1728 x 1296 (N: 143)(M-Cont Plus) / 1280 x 960 (N: 175) / 640 x 480 (N: 705)
Grid View, Enlarged Display (maximum Continuous, Self-Timer (operation time:16x), approx. Resize, Compensation, Whiteself-timer), Balance 10 sec. Level / approx. 2 sec. / custom Compensation, Trim, Flag, Slideshow, DPOF Interval Timer (Shooting interval: 5 sec. - 1 hour Setting (5 sec. steps)*8, Color Bracket function, Focus Bracket function, AE/AF Target Shift, Histogram, USB 2.0 (High-Speed USB) Mini-B, Mass storage Grid Guide,*9Electronic Level compatible / AV Out 1.0Vp-p (75!)
Video Signal Format
NTSC, PAL switchable
Power Supply
Rechargeable Battery: DB-70 x1, AC adapter (AC-4g option)
Battery Consumption*10
Based on CIPA Standard: Using the DB-70, approx. 290 pictures (when LCD Dim is on)*11
External Dimensions
101.5 mm (W) x 58.3 mm (H) x 29.4 mm (D) (excluding projecting parts)
Weight
Approx. 185 g (excluding battery, SD memory card, strap), Accessories approx. 23 g (battery, strap)
Operating Temperature Range
0°C - 40°C
www.focusingclub.net
ภาพชีวิตในเมือง
43
ข้ อ เสี ย ในความคิ ด ผมคื อ ไม่ มี Manual Mode ทำให้สร้างสรรค์ภาพ ได้ไม่เต็มที่ กินแบตเตอรี่พอควร หากเปิด ดูภาพบ่อยๆ และสุดท้ายจอภาพสวย เกินจริงครับ
Focusing Club E-Magazine
พอควรใช้ ง านไม่ ง่ า ยสำหรั บ มื อ ใหม่ จริงๆ แต่คนทีเ่ คยถ่ายรูปมาบ้างก็ปรับตัว ได้ไม่ยาก ใครก็ตามที่ใช้กล้องยี่ห้ออื่น มาก่อนอาจไม่คุ้นเคยกับ Scene Mode ที่มีมาให้เลือก เพราะจะต่างกับชาวบ้าน เขาเยอะในชื่อเรียก แต่ใช้งานได้ไม่ต่าง กันครับ สำหรับใครที่ต้องการใช้เป็น กล้องสำรองถือว่าดีเลยทีเดียว
ภาพท่องเที่ยวกับธรรมชาติ
Focus
ch
ni Tech
เรื่อง : ดุสิต ปัญญาคม
Motor Expo
พริตตี้สาวสวย
เรียนรู้อะไรจากการถ่ายภาพ
www.focusingclub.net
มหกรรมยานยนต์ส่งท้ายปีที่มีเป็น ประจำทุกปี นอกจากจะเป็นงานแสดง รถยนต์แล้ว ยังเรียกได้ว่าเป็นแหล่งรวม พริตตี้สาวสวยระดับประเทศเลยทีเดียว และเช่นกันงานนี้ยังเป็นงานที่รวมกล้อง และดึงดูดคนถ่ายภาพทีม่ ากทีส่ ุดก็วา่ ได้ มากจนกระทั่งค่ายกล้องบางค่ายต้อง มาร่วมแสดงสินค้าในงานนี้ กระแส
45
มิติบนใบหน้าของนางแบบชัดเจน โดยแสงข้างจากแฟลชเสริม ภายนอกที่ติดเหนือตัวกล้อง เมื่อตะแคงกล้องถ่ายภาพแนวตั้ง ในระยะที่ไม่ไกลจาก ตัวแบบเกินไป Focal legth 180 mm f 3.2, 1/250 sec ISO 500 external flash (manual)
งานนี้นับว่าเป็นสถานที่ฝึกการ ถ่ายภาพชั้นยอดเลยทีเดียว โดยเฉพาะ การถ่า ยภาพงานพิ ธี (Event) และ ภาพบุคคล (Portrait) เนื่องจากมีโจทย์ ในการถ่ายภาพที่หลากหลายทั้งตัวแบบ ที่ ต่ า งบุ ค ลิ ก ต่ า งลั ก ษณะให้ เ ลื อ กถ่ า ย จนถ่ายไม่หมด ทั้งในแง่ของสภาพแสง ทิศทาง และสีของแสง รวมถึงสภาพ แวดล้ อ มที ่ แ ตกต่ า งไป ตามแต่ ล ะ สถานที่ ภ ายในงานที่ ผู้ แ สดงสิ น ค้ า ได้ จัดไว้ พูดง่ายๆ มีโจทย์ถ่ายรูปให้เรียนรู้ กันได้ไม่หมดเลยทีเดียว ได้อะไรจากการถ่ายภาพสาวๆ ในงานนี้ มิตรภาพครับสำคัญเป็นอย่าง แรกเลย ทั้งจากน้องๆ พริตตี้ทั้งหลาย และคนทีไ่ ปถ่ายภาพด้วยกัน การผูกมิตร ทำได้ไม่ยาก ส่งรอยยิ้ม พูดคุย ทักทาย ส่งรูปที่เราถ่ายให้น้องๆ ดูบ้าง หามุมดีๆ
Focusing Club E-Magazine
การถ่ายภาพแรงขึ้นทุกปีจริงๆ จึงไม่น่า แปลกใจที่มีคนบางคนตั้งใจไปร่วมงาน แสดงรถยนต์เพื่อถ่ายภาพสาวสวย ซึ่ง ไม่ใช่แค่การถ่ายภาพสาวสวยธรรมดาๆ เท่านั้นนะ
Focusing Club E-Magazine
46
www.focusingclub.net
ได้ก็เชื้อเชิญให้คนอื่นมาถ่ายบ้างการผูก มิตรช่วยทำให้ถ่ายภาพอย่างมีความสุข และสนุกมากขึ้น เชื่อไหมว่าความสุข เหล่านั้นมันสะท้อนออกมาในภาพถ่าย ของเราอย่างไม่รู้ตัว อย่างที่สอง ได้เรียนรู้อะไรดีๆ จากน้องๆ พริตตี้ที่น่ารักซึ่งส่วนใหญ่โพ้ส แทบจะเป็นนางแบบมืออาชีพเลยทีเดียว การแสดงท่าจะแตกต่างกันออกไปตาม แต่บุคลิก และแตกต่างตามแนวคิดของ รถแต่ละค่ายที่มาแสดง ช่วยให้คน ถ่ายภาพสามารถนำไปปรับใช้กั บ การ ถ่ายภาพบุคคลอื่นๆ ได้อย่างดี สิ่งที่ได้รับต่อมาคือการพัฒนา มุมมอง เนื่องจากมีคนไปถ่ายภาพงานนี้ เยอะมากๆ และภาพทีป่ รากฏบนเว็บไซต์ ก็มากมายมหาศาลเช่นกัน ช่วยให้เรา เรียนรูจ้ ากมุมมองของเพือ่ นๆทีไ่ ปถ่ายภาพ ด้วยกันได้อย่างไม่ยากเย็น อย่างที่สี่ แฟลชเพื่อนยากกลาย เป็ น เพื่ อ นสนิ ท กั น ก็ ง านนี้ แ หละครั บ งานแบบนี้ แ ฟลชตั ว น้ อ ยกลายเป็ น พระเอกเลยก็ว่าได้ ใครไม่เคย ใครไม่คุ้น มาทดลองใช้ได้ทง่ี านนีก้ อ่ นทีจ่ ะไปเผชิญ กับการถ่ายรูปงานพิธีจริง
ความยาวโฟกัสสูง รูรับแสงกว้างเป็นตัวช่วยที่ดีสำหรับจัดการ กับฉากหลังที่ค่อนข้างรกรุงรัง Focal legth 175 mm f3.5, 1/250 sec ISO640 external flash (manual)
สำหรับงานนี้ แบบที่ ยืนอยู่บนที่สูงกว่า ทำให้หาฉากหลัง ได้ไม่ยาก เพดานสีเข้ม กับดวงไฟสวยๆ ที่กลายเป็นดวงกลมๆ เพียงแต่ยืนห่างจากแบบ มากสักหน่อย เพื่อไม่ให้ เป็นภาพมุมเงยมากเกินไป Focal legth 155 mm f3.5, 1/250 sec ISO640 external flash (manual)
www.focusingclub.net
เอาอุปกรณ์อะไรไปด้วย ? แน่นอนครับ ต้องเป็นกล้อง ส่วน เลนส์ใ ช้ไ ด้ ท ุ ก ช่ วง มุ มกว้ างใช้ เก็ บ บรรยากาศภายในงาน รวมถึงเลนส์ธรรมดา (Normal lens) ซึ่งมีข้อได้เปรียบคือช่วย ให้ถ่ายน้องๆ นางแบบได้อย่างใกล้ชิด ทำให้ ไ ด้ ภ าพถ่ า ยที่ แ สดงอารมณ์ ข อง น้องๆ นางแบบออกมาได้มีชีวิตชีวา มากขึ้น ส่วนเลนส์ถ่ายไกล (telephoto lens) ก็มีประโยชน์สำหรับการถ่ายรูป ในงานแบบนี้ เพราะช่วยกำจัดฉากหลัง ที่รกรุงรังได้ดี และยังช่วยสร้างฉากหลัง ที่สวยงามจากดวงไฟจำนวนมากมาย ในงานได้อีกด้วย
47
การถ่ายภาพครอบเฉพาะส่วนบน ทำให้สามารถใช้ความยาว โฟกัสสูงๆ ช่วยให้ละลายฉากหลังได้ดียิ่งขึ้น ดวงไฟกลมๆ ด้านหลัง ที่ช่วยสร้างความสดใสให้กับภาพถ่ายมีขนาดใหญ่ขึ้น เป็นผลมาจากความยาวโฟกัสสูงเช่นกัน Focal legth 200 mm f3.2, 1/250 sec ISO500 external flash (manual)
ประการสุ ด ท้ า ยแต่ ไ ม่ ท้ า ยสุ ด งานนี้ เ ป็ น การฝึ ก รั บ มื อ กั บ สภาพแสง ต่างๆ มีแสงหลายทิศทางให้ฝึกสังเกต ทั้ ง แสงที่ พึ ง ประสงค์ ท ำให้ ไ ด้ ภ าพที่ สวยงาม และแสงที่ไม่เป็นที่ต้องการ เช่น ทำให้ใบหน้าด่าง ขอบตาคล้ำ แสงที่ทำให้น้องๆ กลายเป็นแพนด้า เป็นต้น นับข้อดีได้ถึง 5 ข้อแล้ว และ เชื่อว่ายังมีมากกว่านี้ แต่เขียนออกมา ได้ไม่หมด เห็นอย่างนีแ้ ล้วไปฝึกถ่ายภาพ ที่งานนี้กันเถิดครับ
Focusing Club E-Magazine
นอกจากความสว่าง ของตัวแบบและสีที่ชัด ตัดกับฉากหลัง ชัดเจนแล้ว การให้ ตัวแบบบังแสงไฟที่ มากพอ ส่องจาก ด้านหลัง เห็นเป็นริมไลท์ ชัดเจน ช่วยเน้นให้ ตัวแบบโดดเด่น แยกออกจากฉากหลัง ได้ดียิ่งขึ้น Focal legth 66 mm f 4, 1/160 sec ISO400 external flash (manual)
www.focusingclub.net
48 Focusing Club E-Magazine
แฟลช เพื่อความสะดวกรวดเร็ว คล่ อ งตั ว และทำงานได้ ร วดเร็ ว กว่ า ควรใช้ แ ฟลชภายนอกติ ด ตั้ ง เพิ่ ม บน ตัวกล้อง ไม่ต้องรอประจุไฟนานเหมือน แฟลชหัวกล้อง เมื่อถ่ายภาพในแนวตั้ง และอยู่ ใ นระยะไม่ ห่ า งจากตั ว แบบ จนเกินไป แฟลชภายนอกจะช่วยทำให้ เกิดแสงข้าง และช่วยสร้างมิติจากแสง เงาบนภาพได้อีกด้วย ส่วนใครจะแยก แฟลชออกจากตัวกล้อง และหาเพื่อน ช่ ว ยถื อ แฟลชเพื่ อ สร้ า งทิ ศ ทางแสงที่ ต้องการก็ทำได้เช่นกัน แต่อาจไม่สะดวก นักโดยเฉพาะกรณีที่มีคนมากๆ
แสงและเงาสร้างมิติ บนใบหน้า เกิดจากแสงเฉียง ด้านข้างภายในงาน โดยมีแฟลชเป็นตัวเสริม ลดความแตกต่างระหว่าง ส่วนมืดและส่วนสว่าง เงาบนใบหน้าดูนุ่มนวลขึ้น อีกเช่นกัน (แตกต่างจาก เงาเข้มที่คอซึ่งโดนใบหน้า บังแสงทั้งหมดอย่างเห็น ได้ชัดเงาแบบนี้ที่แฟลช ไม่อาจช่วยลดได้) Focal legth 120 mm f3.5, 1/250 sec ISO500 external flash (manual)
อุปกรณ์กรองแสงแฟลช หรือ แผ่นสะท้อนแสง เมื่อใช้ควบคู่กับแฟลช จะได้แสงเงาที่นุ่มนวลขึ้น แต่ก็ต้องการ กำลังไฟแฟลชที่สูงขึ้นด้วย ตั้งค่ากล้องและแฟลชอย่างไรดี? ช่องรับแสง ผลของช่องรับแสง ที่ มี ต่ อ ช่ ว งความชั ด ของภาพคงเป็ น ที่ ทราบกันดีอยูแ่ ล้วการเลือกใช้ชอ่ งรับแสง จึ ง ขึ้ น อ ยู่ กั บ ค ว า ม ต้ อ ง ก า ร ช่ ว ง ความชัดของเราเอง
สาวชุดดำ กับฉากหลังสีดำ แต่แบบไม่จมไปกับฉากหลัง แบบสามารถแยกออกจากฉากหลังด้วยไฟที่ส่องมาจากทางด้านหลัง Focal legth 100 mm f3.5, 1/250 sec ISO500 external flash (manual)
49 www.focusingclub.net
ภาพจากไฟแสงสีเหลืองๆ อาจจะเพี้ยนจากความ เป็นจริงไปบ้างแต่ก็ทำให้ดูอบอุ่นไปอีกแบบ Focal legth 100 mm f3.5, 1/250 sec ISO400 external flas (manual)
ISO ส่วนใหญ่แล้วคนถ่ายภาพ สาวๆ ย่อมอยากได้ภาพเนียนใส แต่ก็ ไม่เสมอไปว่าจะต้องเลือก ISO ต่ำๆ เนื่องจากกล้องสมัยนี้ ISO400 ภาพยัง เนียนใสอยู่เลย กล้องบางตัว ISO800
Focusing Club E-Magazine
เก็บฉากหลังที่ล้อเลียนกับแบบ ช่วยให้ภาพมีเรื่องราว เป็นวิธีง่ายๆ ในการลดซ้ำซาก จำเจ กับภาพบุคคลเดี่ยวๆ Focal legth 70 mm f3.5, 1/250 sec ISO400 external flash (manual)
ความไวชัตเตอร์ เนื่องจากเป็น การถ่ า ยโดยใช้ แ สงแฟลชเป็ น หลั ก นอกจากการเลื อ กความไวชั ต เตอร์ ที่ ไ ม่ ต่ ำ เกิ น กว่ า ที่ เ ราจะถ่ า ยภาพได้ นิ่งแล้ว ยังควรพิจารณาเลือกค่าความ ไวชัตเตอร์ที่เราสามารถควบคุมความ สว่ า งของฉากหลั ง ตามที่ เ ราต้ อ งการ ด้วยโดยมีหลักง่ายๆ คือถ้าความไว ชัตเตอร์ต่ำ จะได้ความสว่างของฉาก หลังมาก และความสว่างของฉากหลัง ก็จะลดลงตามความไวชัตเตอร์ที่สูงขึ้น การถ่ า ยภาพด้ ว ยแสงแฟลชเช่ น นี้ ความไวชั ต เตอร์ ที่ เ ปลี่ ย นไปจะมี ผ ล กั บ ความสว่ า งของตั ว แบบน้ อ ยมากๆ เพราะความสว่างของตัวแบบจะขึ้นอยู่ กั บ กำลั ง ของแสงแฟลชเป็ น สำคั ญ (ความไวชั ต เตอร์ จ ะปรั บ ได้ ม ากถึ ง 1/200 หรือ 1/250 วินาทีนั้น ขึ้นอยู่กับ ค ว า ม ส า ม า ร ถ ข อ ง ก ล้ อ ง - แ ฟ ล ช แต่ละตัว)
Focusing Club E-Magazine
50
www.focusingclub.net
-1600 ยังแทบหา Noise ไม่ค่อยเจอ เรียกได้ว่า ISO อาจจะไม่ใช่ข้อจำกัดใน การถ่ายภาพอีกต่อไป แฟลช ระบบออโต้ หรือ TTL สามารถใช้ ง านได้ แ ต่ เ ราไม่ ส ามารถ ควบคุมความสว่างของแฟลชได้เนือ่ งจาก มันออโต้นั่นเอง ความสว่างที่ได้ในการ กดชั ต เตอร์ แ ต่ ล ะครั้ ง ในการถ่ า ยภาพ เดียวกันอาจจะไม่เท่ากัน ขึ้นอยู่กับ แสงสะท้ อ นของแฟลชที่ ก ล้ อ งวั ด ได้ จากการยิงแฟลชก่อนปล่อยแฟลชจริง ออกไป การใช้แฟลชระบบแมนนวล เรา สามารถควบคุ ม ความสว่ า งของแสง ได้เอง ไม่ว่าจะถ่ายกี่ครั้งความสว่าง ก็คงที่ แต่อาจยุ่งยากสักหน่อย เนื่องจาก ต้องลองผิดลองถูก คอยปรับตั้งความ สว่างขึ้นลงตามระยะห่างจากตัวแบบ ตามขนาดของช่องรับแสงและ ISO ที่ ต่างกันแต่ถ้าคุ้นเคยกับมันแล้ว จะพบว่า ไม่ ไ ด้ ย ากเกิ น ความสามารถมนุ ษ ย์ ธรรมดาอย่างเราๆ ในระบบแมนนวลจะ มีค่าให้ปรับกำลังไฟแฟลชเป็นตัวเลข ตัวอย่างเช่น 1/1 คือไฟเต็มกำลังของ
รถยนต์สีดำเข้ม ใช้เป็นฉากหลังที่ดี ขับเน้นตัวแบบให้โดดเด่นขึ้น ภาพนี้ถ่ายจากบริเวณที่มีแสงไฟส่องลงมาจากเหนือศีรษะของแบบ การให้แบบช่วยเงยหน้า และเอียงศีรษะขึ้นเล็กน้อย ช่วยลดขนาด ของเงาใต้ตาได้ นอกจากนั้นก็เป็นหน้าที่ของแฟลชที่แรงพอที่จะ ช่วลบเงาได้อีก Focal legth 85 mm f3.5, 1/250 sec ISO400 external flash (manual)
แฟลชตั ว นั ้ น และลดลงไปครั ้ ง ละ 1 สตอปตามตัวเลข 1/2, 1/4, 1/8, 1/16, 1/32, 1/64, 1/128 วิธีลองผิดลองถูกก็ไม่ยาก เช่น ถ้าตั้งกล้อง f/4 ISO 200 และแฟลช อยู่ห่างน้องๆ ที่น่ารัก 2 เมตร ลองดูว่า ใช้กำลังไฟเท่าไหร่ที่ถ่ายแล้วสว่างพอดี สมมุติว่าเท่ากับ 1/16 จากนั้นจะถ่าย
กี่รูปก็ ไม่ หวั ่ นครั บ ความสว่า งคงที่ แน่นอน ถ้าเปลี่ยนรูรับแสง หรือเปลี่ยน ISO โดยที่ระยะห่างคงเดิม ก็ปรับชดเชย แสงแฟลชขึ้นลงในปริมาณที่เท่ากัน
www.focusingclub.net
เกร็ ด เล็ ก เกร็ ด น้ อ ยที่ เ รี ย นรู้ ไ ด้ จ าก การถ่ายภาพในงาน ภาพคนที่ดูดีคือภาพที่มีอารมณ์ ความรู้สึกของตัวแบบอยู่ในภาพ ดังนั้น คอยจับจังหวะให้ดี และอาจจะต้องถ่าย เผื่อด้วยมุมเดิมๆ บ้าง เพื่อเก็บลักษณะ ท่าทางและอารมณ์ของตัวแบบทีต่ า่ งกัน
51
ฉากหน้าและเงาสะท้อน ช่วยสร้างมิติ เกิดความซ้ำซ้อน ล้อเลียน สร้างเรื่องราวให้กับภาพได้ Focal legth 105 mm f3.5, 1/250 sec ISO400 external flash (manual)
ลองเอาไปใช้ดูนะครับ แล้วจะ รู้ สึ ก ว่ า ง่ า ยกว่ า หั ด ปั่ น จั ก รยานซะอี ก ไม่ต้องตกอกตกใจถ้าภาพมืด หรือสว่าง เกินไป เพราะแรกๆ ก็อาจจะผิดๆ ถูกๆ บ้าง แต่พอคุ้นเคยแล้วจะควบคุม ความสว่างได้ไม่ยาก และจะสนุกกับ การถ่ายภาพแนวนี้
Focusing Club E-Magazine
ส่วนระยะห่างจากตัวแบบมีผล ต่อความสว่างคือถ้าช่องรับแสง ISO และใช้กำลังไฟแฟลชเหมือนเดิม แต่ ระยะใกล้ขึ้นครึ่งหนึ่ง ความสว่างของ ภาพจะเพิ่มขึ้น 2 สต็อป ด้วยกำลัง ไฟแฟลช จากตัวอย่างเดิมเรายังคงใช้
ขนาดช่องรับแสง f/4 และ ISO 200 และกำลังไฟแฟลช 1/16 เท่าเดิมแล้ว เดินเข้าไปใกล้แบบให้ระยะห่างเหลือ แค่ 1 เมตร ถ้าจะให้ความสว่างของภาพ น้องๆ เท่าเดิม ก็ตอ้ งปรับลดกำลังไฟแฟลช เป็น 1/64 ในทางกลับกันถ้าถอยออกไป เป็นระยะ 2 เท่าของระยะเดิม หรือ ห่าง 4 เมตร เราต้องปรับกำลังไฟแฟลช เพิ่มขึ้น 2 สต็อป เป็น 1/4 เพื่อจะได้ ภาพสว่างเท่าเดิม
Focusing Club E-Magazine
52
www.focusingclub.net
แต่เชื่อว่าถึงไม่บอกทุกคนก็อยาก ทำความรู ้ จั ก น้ อ งๆ กั น อยู ่ แ ล้ วจริ ง ไหมครับ
การหันข้างของและบิดตัวแบบ ทำให้เกิดเส้นโค้งที่อ่อนช้อย สร้างความงดงาม และน่าสนใจให้กับภาพได้เสมอ Focal legth 80 mm f3.5, 1/250 sec ISO500 external flash (manual)
โดยเฉพาะจากดวงตาที่ เ ป็ น หน้ า ต่ า ง ของดวงใจ หลายคนทำตรงนีไ้ ด้ดอี ยูแ่ ล้ว จึงไม่ยากเลยที่เราจะรอจังหวะดีๆ แล้ว ค่อยกดชั ต เตอร์ ยิ่งถ้า เรามีโ อกาส ทำความรู้จักสร้างมิตรภาพกับน้องๆ ไว้ ผลที่ได้ตามมาคืออารมณ์ที่แสดงออก ของน้องๆ พริตตี้ ซึ่งช่วยให้ภาพดูดี ขึ้นมากอย่างไม่คาดคิด ดังนั้นอย่าลืม ทำความรู้จักน้องๆ ไว้นะครับ
แสงเงาในภาพ เนื่องจากงานนี้ เป็ น งานแสดงรถเขาจึ ง จั ด ไฟไว้ ใ ห้ ร ถ ดูโดดเด่น ซึ่งอาจไม่เอื้ออำนวยต่อการ ถ่ายภาพบุคคล แต่มันก็ช่วยให้เราได้ ฝึกรับมือกับสภาพแสงหลายๆ แบบ ได้เป็นอย่างดี แน่นอนว่าถ้าถ่ายภาพ ออกมาแล้วหน้าน้องๆ มีรอยด่าง หรือ ขอบตาคล้ำเป็นหมีแพนด้า จากแสงไฟ ที่ส่วนใหญ่ตกลงมาตรงๆ จากด้านบน เหมือนแสงอาทิตย์เที่ยงวัน ภาพคง ไม่น่าดูเท่าไหร่ ดั ง นั้ น ก่ อ นถ่ า ยต้ อ งสั ง เกตดู ก่อนว่าบริเวณไหนที่แบบยืนอยู่ มุมไหน ที่เกิดเงาที่ไม่สวยงามบนใบหน้า หรือ ถ้าเลี่ยงไม่ได้จริงๆ ก็ใช้แสงแฟลช เพือ่ ช่วยลบเงาดังกล่าวได้บา้ ง แต่ถา้ แสง และเงาที่ไม่พึงปรารถนาดังกล่าวแรง มากๆ สามารถปรับค่ากล้องเพื่อรับแสง ดังกล่าวให้น้อยลง โดยปรับขนาดช่อง รับแสงให้แคบลงสักหน่อย และเลือก ISO ที่ต่ำลง และเพิ่มผลของแสงแฟลช
บนภาพโดยปรับความแรงของแสงแฟลช ให้มากขึน้ หรือเข้าใกล้ตวั แบบให้มากขึน้ แต่ก็จะได้ภาพที่มีฉากหลังชัดขึน้ และ มืดลงในส่วนที่แสงแฟลชส่องไปไม่ ถึ ง ตามค่าช่องรับแสงและ ISO ที่ปรับด้วย
www.focusingclub.net
ฉากหน้า ฉากหลัง ช่วยสร้างมิติ ของภาพทำให้ ตั ว แบบโดดเด่ น ได้
53
การจับจังหวะภาพทีเผลอช่วยสร้างชีวิตชีวาให้กับภาพ บ่งบอกอารมณ์ของตัวแบบได้เป็นอย่างดี Focal legth 125 mm f3.5, 1/250 sec ISO400 external flash (manual)
Focusing Club E-Magazine
การจับจังหวะภาพทีเผลอ ช่วยสร้างชีวิตชีวาให้กับภาพ บ่งบอกอารมณ์ของตัวแบบได้เป็นอย่างดี Focal legth 125 mm f3.5, 1/250 sec ISO400 external flash (manual)
แสงสวยๆในงานนีก้ ม็ ี การจัดไฟ ของซุ้มรถยนต์บางค่าย ที่เห็นตั้งเป็นเสา สูงกว่าศีรษะเราประมาณ 1.5 - 2 เมตร เป็นตัวสร้างแสงสวยๆ ได้เลย ทั้งแสง ด้านข้างสร้างมิตบิ นใบหน้าให้กบั ตัวแบบ และเป็นแสงส่องด้านหลังทีส่ ว่างมากพอ เมื่ อ ประกอบกั บ ฉากหลั ง สี เ ข้ ม ทำให้ เกิดแสงเน้นขอบ (rim light) ที่สวยงาม แยกตั ว แบบออกจากฉากหลั ง ได้ เ ป็ น อย่า งดี สำหรั บกรณี แ สงด้ านข้ าง ถ้าต้องการเน้นแสงเงาจากไฟดังกล่าวก็ ไม่ยาก เพียงแค่ปรับค่ากล้องเพื่อรับแสง ดังกล่าวให้มากขึ้น โดยใช้ขนาดช่อง รับแสงที่กว้างขึ้น ISO ที่สูงขึ้น และปรับ ลดอิทธิพลของแสงแฟลช โดยปรับลด กำลังของแฟลชลง หรือจะอยู่ห่างจาก ตัวแบบมากขึ้นก็ทำได้
Focusing Club E-Magazine
54
www.focusingclub.net
ช่วยสร้างความสดใสให้กับภาพได้ด้วย และทัง้ หมดนีอ้ าจต้องฝึกสังเกตฉากหน้า และฉากหลัง เดินหา และมองหลายๆ มุมก่อนถ่าย ขยับตัวเราไปด้านซ้าย ด้านขวา ย่อตัว ลดกล้องต่ำลง หรือชู กล้องให้สูงขึ้น เพื่อเปลี่ยนฉากหน้าและ ฉากหลังให้ได้ตามที่เราต้องการ
สาวชุดขาว การถ่ายให้หน้าสว่างพอดี อาจจะทำให้สูญเสียรายละเอียด ของชุดสีขาวไปบ้างแต่ก็คงดีกว่าถ่ายมาแล้วหน้าดูหมองคล้ำ แต่ชุดขาวดูสว่างพอดี Focal legth 85 mm f3.5, 1/250 sec ISO640 external flash (manual)
ไม่ยาก แน่นอนว่าทั้งฉากหน้าและ ฉากหลั ง ไม่ ค วรจะเด่ น กว่ า ตั ว แบบ แต่ จ ะหาฉากหน้ า เพื่ อ ถ่ า ยภาพสาวๆ ในงานนี้ได้ไม่มากนัก ส่วนฉากหลัง สิ่ ง ที่ ห าได้ ไ ม่ ย ากคื อ สิ่ ง ที่ อ ยู่ ไ กลออก ไปพ้นระยะชัด เช่น เพดานด้านบนสีเข้ม ผนังเรียบๆ ที่ผู้จัดงานจัดไว้ หรือใช้ รถยนต์ในงานเป็นฉากหลัง นอกจากนี้ ยังมีด วงไฟที ่ อ ยู ่ ไกลๆ พ้นระยะชัด กลายเป็นดวงๆ สีสวยๆ โดยเฉพาะ เมื่อใช้เลนส์ถ่ายไกล (Telephoto lens)
ภาพนี้มีไฟอยู่ทางด้านซ้ายบน อยู่ในเฉียงเข้าด้านหน้าของตัวแบบ เล็กน้อย ทำให้เกิดเงาทางด้านขวาของภาพ แสงแฟลช เข้าไปช่วย เพิ่มความสว่างและลดความแตกต่างของ ส่วนมืดกับส่วนสว่าง ทำให้เงาดูนุ่มนวล เหมาะกับสาวๆ ใสๆและแยกแบบสีดำออกจาก ฉากหลังด้วยฉากหลังที่สว่างกว่า Focal legth 115 mm f3.5, 1/250 sec ISO640 external flash (manual)
ออกไปฝึกถ่ายภาพกันนะครับ หวั ง ว่ า คงมี โ อกาสได้ เ จอกั น งานหน้ า Motor Show 2010 ขอให้ทุกท่าน ถ่ า ยภาพอย่ า งมี ค วามสุ ข ขอบคุ ณ อีกครั้งครับ Focusing Club E-Magazine
55 www.focusingclub.net
ขอขอบคุณที่อ่านกันมาจนถึง ตรงนี้ประสบการณ์เล็กๆ น้อยๆ ของผม ในเรื่องการถ่ายภาพ การใช้ฉากหน้า ฉากหลัง แสงและเงา และวิธีการ ใช้แฟลช คงจะเป็นประโยชน์ในการ ถ่ายภาพสำหรับเพื่อนๆ พี่ๆ น้องๆ ที่อ่านคอลัมน์นี้ และหวังว่าภาพถ่าย ที่ น ำมาเป็ น ตั ว อย่ า งคงจะอธิ บ าย ในเรือ่ งมุมมององค์ประกอบภาพ และการ แสดงท่ า ของนางแบบให้ เ ข้ า ใจได้ ไม่มากก็นอ้ ย ส่วนอารมณ์ของภาพขอให้ เป็นหน้าที่ตัวแบบเป็นผู้ส่อื สารกับผู้อ่าน เองนะครับ ผมขอขอบพระคุณอาจารย์ธวัช อาจารย์มังกรดำ และอาจารย์ภูวพงษ์ ที่ถ่ายทอดวิชาความรู้ ขอขอบคุณ เพื่อนๆ ในชมรมโฟกัสซิ่งทุกคนสำหรับ ประสบการณ์ แ ละความทรงจำดี ๆ เกี่ยวกับการถ่ายภาพ ขอบคุณพี่ฉุน สำหรั บ โอกาสในการเขี ย นบทความ ครั้งแรก และที่ขาดไปเสียมิได้คือผู้จัด งานและน้องๆ พริตตี้ทุกคน ทั้งในงาน Motor Expo และ Motor Show ที่ทำ ให้งานแสดงรถยนต์กลายเป็นโรงเรียน ฝึกฝนการถ่ายภาพชั้นเยี่ยมสำหรับผม
“มาถ่ายภาพในงานด้วยกันนะคะ” ภาพจากบูธกล้อที่มีในงาน motor expo เป็นครั้งแรก Focal legth 80 mm f3.2, 1/250 sec ISO400 external flash (manual)
กฎของการถ่ายภาพ คืออะไร . . .
Focusing Club E-Magazine
56
www.focusingclub.net
ศิลปะภาพถ่าย คืออะไร . . .
การจัดองค์ประกอบภาพ คืออะไร . . .
ทุกคำถาม มีคำตอบที่ คอร์ส Art of Photography
กับชมรมโฟกัสซิ่งคลับ
ระยะเวลาการอบรม: 2 วัน ตั้งแต่ 08.30 - 17.30 น. วันที่: 15-16 พฤษภาคม 2553 สถานที่: สถาบันราชภัฏจันทรเกษม สนใจเข้าอบรมคอร์สต่างๆ ติดต่อคุณนก 085-923-4312, คุณขวัญ 080-604-4773 e-mail: focusingclub@msn.com หรือที่ www.focusingclub.net
โอนเงินเข้าบัญชี: ธนาคารไทยพาณิชย์ ชื่อบัญชี ชมรมโฟกัสซิ่ง สาขาตรีเพชร บัญชีออมทรัพย์ 006-2-74146-4 พร้อมแจ้งการโอนเงินทางโทรศัพท์ คุณนก 085-923-4312, คุณขวัญ 080-604-4773
Focus kpack Bac
เรื่อง : ชัยพฤกษ์ อุลุชาฎะ
แดนภารตะ
ตามรอยอารยธรรม ตอน: สีสันอินเดีย
Focusing Club E-Magazine
57
อิ น เดี ย เป็ น ประเทศที่ มี ค วาม เปรียบต่างในเกือบทุกสิ่ง ที่เห็นได้ชัด คือความแตกต่างของชนชั้น ความเชื่อ ในศาสนาฮิ น ดู ไ ด้ แ บ่ ง ผู้ ค นออกเป็ น วรรณะต่างๆ โดยแต่ละวรรณะมีสังคม เป็นของตนเองไม่ปะปนกับวรรณะอื่นๆ สภาพชีวิตความเป็นอยู่ก็เช่นกัน คนจน ก็จนสุดๆ ถึงกับต้องนอนกลิ้งเกลือก
ขะมุกขะมอม คลุกฝุน่ อยูข่ า้ งถนน ผอม แห้งเพราะไม่มีจะกิน ในขณะที่คนรวย ก็ร่ำรวยติดอันดับโลก เสื้อผ้าเรียบกริบ กลิ่ น น้ ำ หอมฟุ้ ง มาแต่ ไ กลความเชื่ อ ความศรั ท ธาในทางศาสนาก็ มี ค วาม หลากหลาย แม้แต่ภาษาพูดก็แตกต่าง กั น ไปในแต่ ล ะท้ อ งถิ่ น รวมนั บ ได้ ก ว่ า ร้อยภาษา
www.focusingclub.net
Ricoh CX1 F3.6 1/6sec. ISO200 Center weighted average แนวคิดในการถ่าย ที่สถานีรถไฟจันสี หลังจากเดินทางจากเดลฮีโดยรถไฟตู้นอนปรับอากาศระหว่างรอหาแท๊กซี่ เพื่อเดินทางต่อไปยัง หมู่บ้านขชุราโห ก็อยากเก็บบรรยากาศที่สถานีรถไฟไว้เป็นที่ระลึกเลือกช่วงที่รถไฟกำลังจะเคลื่อนตัวออกจากสถานีให้ดูพริ้วไหวขัดแย้ง กับผู้คนที่หยุดนิ่ง และเลือกให้สาหรี่สีส้มเป็นจุดเด่นของภาพ เลือกถ่ายด้วยคอมแพค เพราะไม่แน่ใจว่าในสถานที่อย่างนี้จะห้ามการถ่ายภาพหรือไม่ และท่ามกลางผู้คนพลุกพล่าน ที่พร้อมจะหยุด ดูสิ่งที่แปลกปลอมแตกต่างจากพวกเค้า การใช้คอมแพคจึงน่าจะดูกลมกลืนดีกว่า
นอนข้างถนน หากินด้วยการขอทาน ประทังชีวิตไปวันๆ และบางคนก็ยากไร้ มากจนมีสภาพการดำรงชีพไม่ได้ดีกว่า ชีวิตความเป็นอยู่ของสัตว์เลี้ยง เช่น วัว ควาย และแพะ
Focusing Club E-Magazine
58
www.focusingclub.net
ท่ามกลางความทุกข์ยากดังกล่าว ผู้คนส่วนใหญ่ก็ดูจะเข้าใจสัจธรรมใน ชีวิต ไม่จมปลักกับความทุกข์ รู้จักที่จะ
Ricoh CX1 F3.6 1/620sec ISO80 Center weighted average แนวคิดในการถ่ายภาพ ที่ตลาดนัดเหมือนกัน ที่ร้านขายภาพ เทพเจ้า และดาราอินเดียยืนรอจังหวะให้มีสาหรี่สีสดๆ เข้ามา ประกอบฉาก เพื่อให้มีเรื่องราวและสีสัน
ท่ามกลางความแตกต่างในแต่ละสิ่ง อินเดียก็เป็นประเทศที่มีสีสัน ผู้คนทั้ง หญิงชายนิยมนุ่งห่มด้วยเสื้อผ้าสีฉูดฉาด บาดตา ประดับประดาด้วยของตกแต่ง ต่างๆ อย่างมลังเมลือง สีของอาคาร บ้ า นเรื อ นก็ มี ค วามสดใสไม่ แ พ้ สี ข อง เสือ้ ผ้า ทำให้ดูมีชีวิตชีวาและชวนมอง เป็นอย่างยิ่ง เท่ า ที่ ไ ด้ สั ม ผั ส ชี วิ ต ของผู้ ค น อินเดียแล้ว เราได้เห็นความทุกข์ยาก ในการดำรงชีวติ ของคนยากจนทีม่ แี ต่ตวั
Ricoh CX1 F3.6 1/570sec ISO80 Center weighted average แนวคิดในการถ่าย ที่ตลาดนัดชาวบ้าน หมู่บ้านขชุราโห สีสันสดใส ของผู้คนทั้งชายและหญิง รวมทั้งสินค้าที่วางขาย อีกทั้งผู้คนที่นี่ก็มักจะยินดีให้ถ่ายภาพทำให้สนุกทั้งคนถ่าย และคนถูกถ่าย การใช้คอมแพคถ่าย จะทำให้คนที่ถูกถ่ายไม่ตกใจ และยังวาง ท่าทางเป็นธรรมชาติ แต่หากยกกล้องSLR ขึ้น ตัวแบบจะหยุด กิจกรรมทั้งหมด และหันมามองกล้องทันที ทำให้บางสถานะการณ์ คอมแพคก็ได้เปรียบกว่ากล้องใหญ่
Focusing Club E-Magazine
59
แนวคิดในการถ่ายภาพ ที่เอลโลร่า ณ.ระเบียงเหนือประตูทางเข้าเขาไกรลาศ เด็กผู้หญิงอินเดียกลุ่มหนึ่ง นั่งพักอยู่บนขอบระเบียง ภาพนี้เพียงแค่รอคอยให้ใครคนใดคนหนึ่งหันมามองกล้อง แต่ภาพนี้เกินความคาดหมาย เพราะกลับได้เรื่องราวและความแตกต่าง ทั้งการมองกล้อง และการแต่งกายที่แตกต่างกัน ถึงแม้จะแสงแบนแต่ก็ได้เรื่องราวมาแทนที่
Ricoh CX1 F3.6 1/34 ISO88 Metering mode Center weighted average แนวคิดในการถ่าย ริมบาทวิถีในตัวเมือง เดลฮีสามารถใช้ประกอบอาชีพ ได้หลากหลาย เช่น รับจ้างซ่อมรองเท้า หรือตัดผมกันริมทาง เป็นช่วงการเดินถ่ายไลฟ์ในเมือง วันสุดท้ายก่อนเดินทางกลับไทย การถ่ายภาพ เราแค่ยกกล้องให้ดู ใบ้ให้ดู ว่าขอถ่ายนะ เขาก็ไม่ว่าอยากถ่ายก็ถ่ายไป ขอดูภาพตัวเอง บ้างในจอ LCD แต่มีบ้าง เหมือนกันที่ยกมือห้าม ถ้าเจอแบบนี้ ก็ไม่ควรดื้อถ่าย ให้มีการเคืองกันเกิดขึ้น
www.focusingclub.net
Canon EOS 50D F 5.7 1/99sec ISO250 Metering mode Pattern White balance Daylight
www.focusingclub.net
60 Focusing Club E-Magazine
Ricoh CX1 F 3.2 1/620 ISO80 Center weighted average แนวคิดในการถ่ายภาพ ภาพนี้ถ่ายจากหน้าโรงแรมที่พักที่เมืองอรังคบาธ ระหว่างรอรถแท๊กซี่มารับไปเที่ยวถ้ำเอลโรล่า เห็นแสงยามเช้า ส่องที่กำแพงที่มีตัวอักษรภาษาฮินดีวาดไว้บนกำแพง รอให้มีสาหรี่สีสดๆ ผ่านเข้ามาเพื่อเพิ่มสีสันให้กับภาพ แต่ผลพลอยได้กลับได้คนเดิน สวนมาใส่เสื้อสีสดเช่นเดียวกัน ภาพนี้ต้องใช้คอมแพคถ่าย เพราะแบบไม่ตื่นตกใจจนหยุดเดิน หรือเกร็ง
ดำรงชีพอย่างมีความสุขเท่าที่จะแสวง หาได้ ฉะนั้นตลอดช่วงเวลาแห่งการ เดินทาง จึงได้พบปะผู้คนที่มีมิตรไมตรี มีรอยยิม้ ทีม่ อบให้กบั คนต่างแดนเช่นเรา เสมอๆ ในช่วงแรกๆ เราไม่ค่อยกล้า ถ่ายรูปผู้คนซึ่งแต่งตัวด้วยอาภรณ์สีสัน ฉูดฉาด และประดับประดาเครือ่ งตกแต่ง กันเต็มที่ แต่หลังจากได้รับการเชื้อเชิญ Canon EOS50D F5.7 1/197 ISO200 Metering mode Pattern White balance Daylight แนวคิดในการถ่ายภาพ เด็กๆ ที่เคยชินกับการใส่เครื่องประดับตั้งแต่เด็ก นั่งเหงาๆ อยู่หน้าบ้าน และไม่ว่าอะไร ที่พวกเราจะถ่ายภาพเธอ
Ricoh CX1 F4.6 1/84 ISO100 Metering mode Center weighted average แนวคิดในการถ่ายภาพ ขอทานในอินเดีย พบเห็นได้ทั่วไปในเมืองใหญ่ๆ ทั้งๆ ที่นอกเมือง ยังมีที่ทางที่สามารถทำไร่ ทำนาได้ แต่ผู้คนอินเดีย ก็ยังนิยมเข้ามาอยู่แออัดในเมือง ไม่มีบ้าน ก็นอนกันริมถนน เป็นภาพชินตา ทั้งคนอินเดีย ด้วยกันเอง และนักท่องเที่ยวอย่างเรา อาจเป็นได้ว่า การทำการเกษตรจะทำได้เฉพาะคน วรรณะแพศย์เท่านั้น วรรณะอื่นๆ ก็ต้องทำงานตาม วรรณะของตนเอง เมื่อไม่มีงานจึงต้องมาขอทานแทน
Focusing Club E-Magazine
61 www.focusingclub.net
ให้ถ่ายรูปพวกเขาบ่อยๆ จึงทำให้เรา ผ่อนคลายและรู้สึกสนุกร่วมกันทั้งคน ถ่ายและคนถูกถ่าย และเราเองก็มี ความสุขเมื่อได้เห็นรอยยิ้มเมื่อพวกเขา เห็นภาพตัวเองผ่านจอแอลซีดี การที่ผู้คนอินเดียนิยมแต่งตัวสีสัน ฉู ด ฉาดประดั บ ประดาตั ว เองอย่ า ง
สุดโต่ง ก็เลยเถิดไปถึงงานศิลปะต่างๆ ที่ทุ่มเทกันอย่างเต็มที่ไม่มียั้ง พาให้คน ต่างบ้านต่างเมืองที่มาเยือนถึงกับตื่น ตะลึงในความอลังการ เคล้ากับความ ฉงนสนเท่ ห์ ใ นความมานะอุ ต สาหะ เป็ น อย่ า งมาก ถึ ง กั บ มี ค ำกล่ า ว เปรียบเปรยว่า “มาอินเดีย...หากจะ
Canon EOS 50D F5.7 1/790 ISO200 Metering mode Pattern White balance Daylight
Canon EOS 50D F5.7 1/500 ISO 250 Metering mode Partial White balance Daylight
แนวคิดในการถ่ายภาพ เด็กๆ ในหมู่บ้านที่ขชุราโห ที่สนุกกับ การขี่จักรยานตามดูกลุ่มพวกเรา ถ่ายภาพคนในหมู่บ้าน และตื้อขอให้พวกเราถ่ายให้บ้าง
แนวคิดในการถ่ายภาพ ที่หมู่บ้านขชุราโห สีสันสดใส ของบ้านเรือน ตัดกับสาหรี่สดใส ทำให้ภาพดูมีชีวิตชีวา
ดูความยิ่งใหญ่ของฮินดูต้องไปที่ขชุราโห
หากจะดู ค วามยิ่ ง ใหญ่ ข องมุ ส ลิ ม ต้ อ ง ที่ ทั ช มาฮาลและหากจะดู ค วามยิ่ ง ใหญ่ ของพุทธศาสนาต้องถ้ำอจันตา”
Ricoh CX1 F4.4 1/34 ISO200 Metering mode Center weighted average แนวความคิดในการถ่าย ความสนุกสนานร่าเริงของผู้คน ในเทศกาลบูชาพระพิฆเนศ ฝนจะตกน้ำจะท่วม ก็ไม่อาจ ห้ามความสนุกได้
ในตอนต่อไป จะพาทุกท่านไป ชมความยิ ่ ง ใหญ่ ข องขชุ ร าโห และอจันตา ให้เห็นกับตา
Focus lery Gal
บทสัมภาษณ์ : พจนา ปั้นพินิจ
ก้าวย่างความสำเร็จจากหนุ่มนักออกแบบ สู่นักถ่ายภาพเวดดิ้งมืออาชีพ
www.focusingclub.net
สวัสดีคะ่ ฉบับปฐมฤกษ์นี้ เราจะ พาท่านผูอ้ า่ นไปทำความรูจ้ กั กับสถาปนิก หนุ่มรุ่นใหม่ไฟแรง อัธยาศัยดีมีความ มุ่งมั่นในการค้นหาตัวเอง แม้จะเป็น เพียงความบังเอิญ แต่ในที่สุดเขาก็ได้ค้ นพบในสิ่งที่ตามหา จากสิ่งที่ได้แค่มอง และชอบจนกลายเป็ น อาชี พ ที่ เ ขารั ก มีความสุขกับสิง่ ทีไ่ ด้ทำ จึงไม่นา่ แปลกใจ ที่ผ ู้ชายชื ่ อ “ธนทั ต อริย ภิญ โญ” ส่ ว นเรื่ อ งเรี ย นผมจบทางด้ า น จะเป็นหนึ่งในช่างภาพมืออาชีพที่ลูกค้า สถาปัตยกรรม แต่ไม่ได้ทำงานด้านนี้ ต่ า งเรี ย กหาให้ เ ป็ น ผู้ เ ก็ บ ภาพความ สักเท่าไหร่เพราะไม่ค่อยชอบงานด้านนี้ ประทับใจในโอกาสสำคัญของชีวิต
63
ช่ ว ยเล่ า ประวั ติ ใ ห้ ฟั ง แบบคร่ า วๆ หน่อยคะ? ผมเป็นคนกรุงเทพฯ มีพี่น้อง 5 คน ผมเป็นลูกคนที่ 4 ที่บ้านเปิดร้านขาย อาหาร ร้านขายขนม โดยมีคุณแม่เป็น คนทำ ถ้าว่างเมื่อไหร่ก็จะมาช่วยงาน หยิบนัน่ ทำนีไ่ ปเรือ่ ยตามแต่คณ ุ แม่จะสัง่ แต่สง่ิ ทีช่ อบทีส่ ดุ คือการได้คยุ และบริการ ลูกค้านี่แหละครับ อาจเป็นเพราะผม มีความสุขและชอบงานบริการเป็นพิเศษ กระมัง
Focusing Club E-Magazine
จากปากต่อปาก จากภาพสูภ่ าพ จากผลงานสู่ ผ ลงานที่ ส ร้ า งสรรค์ อย่างไม่หยุดยั้ง ชื่อของชายหนุ่มผู้นี้จึง เป็นทีก่ ล่าวขวัญถึงในกลุม่ ช่างภาพวิวาห์ มืออาชีพ แม้ความสำเร็จจะเป็นที่ ประจักษ์แต่ก็ไม่หยุดใฝ่รู้มุ่งมั่นพัฒนา ตนเองตลอดเวลา เพราะ “รอยยิ้มของ ลูกค้าคือความภูมิใจของเขา”
www.focusingclub.net
64 Focusing Club E-Magazine
เลื อ กเรี ย นตามเพื่ อ นไปแบบนั้ น เอง หลั ง จากเรี ย นจบก็ ห าอะไรทำไป เรื่อยเปื่อย ทำค่อนข้างเยอะ ดีบ้าง แย่บ้าง แต่ไม่เคยท้อ เพราะคิดว่าเรา ได้ ป ระสบการณ์ จ ากสิ่ ง ที่ ท ำเสมอ เหมื อ นเป็ น ช่ ว งที่ ก ำลั ง ค้ น หาตั ว เอง ท ำ เ ย อ ะ ก็ จ ริ ง แ ต่ ไ ม่ เ ก่ ง ซั ก อ ย่ า ง เหมือนเป็ด (เข้าใจเปรียบนะค่ะ) จนได้ มาทำร้ า นถ่ า ยรู ป ก็ ต อบตั ว เองได้ ว่ า “นี่แหละใช่เลย” (ตบตักตัวเองดังจนเรา ตกใจหมดเลยค่ะ) การได้ถ่ายภาพเหมือนได้เติมเต็ม อะไรบางอย่างในชีวิต เจอในสิ่งที่ค้นหา มานาน ผมรู้สึกสนุกและมีความสุข ทุกครั้งเมื่อได้ออกไปถ่ายภาพให้ลูกค้า รู้ สึ ก ตื่ น เต้ น ที่ จ ะได้ พ บปะพู ด คุ ย กั บ ผู้ คนมากมาย ดีใจที่จะได้เพื่อนเพิ่มขึ้น ที่สำคัญคือทำให้หลายๆ คนมีความสุข กับรูปทีเ่ ราถ่าย แค่นก้ี แ็ ฮปปีม้ ากแล้วครับ
แต่ ปั จ จุ บั น ผมเลิ ก เปิ ด ร้ า น แล้วครับ เพราะต้องการทุ่มเทให้กับงาน ถ่ายภาพ เราจะไม่เกินร้อยกับลูกค้า ได้อย่างไร ในเมื่อเขาไว้วางใจให้เรา ถ่ายภาพเนื่องในโอกาสที่สำคัญที่สุด ในชีวติ ไม่ตอ้ งกังวลเรือ่ งร้าน ไม่ตอ้ งห่วง
Focusing Club E-Magazine
65 www.focusingclub.net
ลูกน้อง เอาเวลามาทุ่มเทกับงานถ่ายรูป เริ่มถ่ายภาพตั้งแต่เมื่อไหร่คะ? เกือบๆ 4 ปีแล้วครับ ด้วยเหตุ และการบริการลูกค้าดีกว่า จึงตัดสินใจ บังเอิญจากที่พี่คนหนึ่งมาชวนเราไปรับ มาเป็นช่างภาพอิสระอย่างเต็มตัว ช่ ว งกิ จ การร้ า นถ่ า ยรู ป นั่ น แหละครั บ ผมเองว่ า งงานอยู่ จึ ง สนใจทั้ ง ที่ ยั ง ถ่ายภาพไม่เป็น เคยแต่ถ่ายเล่นสนุกๆ
www.focusingclub.net
66 Focusing Club E-Magazine
ด้วยกล้อง Compact โดยใช้เพียงโหมด เดียวคือ Auto (มาถึงตรงนี้หัวเราะ ร่วนเลยค่ะ) ร้านที่รับช่วงมานี่มีกล้อง Olympus E-1 ผมจึงต้องศึกษาหา ข้อมูลทั้งการใช้กล้อง และเทคนิคการ ถ่ายภาพตามเว็บไซต์ หนังสือถ่ายภาพ หรือนิตยสารต่างๆ ไปเรื่อยๆ แต่ก็ยังรูส้ กึ ว่าถ่ายภาพไม่ได้เรือ่ งอยูด่ ี เพราะผมไม่ใช่ แค่ ถ่า ยแบบลองผิ ด ลองถู ก แค่ น้ัน นะ ถ่ายแบบงงๆ ด้วย (พูดไปหัวเราะไป) ดิจิตอลทำให้ทุกอย่างดูง่ายขึ้น ไปหมด แต่กท็ ำให้เราเสียนิสยั คือไม่คอ่ ย รอบคอบเวลาถ่ายภาพ ถ่ายเสียก็ลบ ถ่ายใหม่ ยังเคยนึกเสียดายทีเ่ รามาสนใจ ถ่ายภาพช้าไป เพราะคนที่มีพื้นฐานใน การถ่ า ยรู ป จากกล้ อ งฟิ ล์ ม เขาต้ อ งมี แนวคิดในการถ่ายภาพ เพือ่ นๆ ที่เคย เล่นกล้องฟิล์มเล่าให้ฟังว่า กว่าจะได้ ภาพแต่ละภาพคิดแล้วคิดอีก เพราะทุก ภาพคือเงินหลายบาท ทั้งค่าฟิล์มและ ค่าล้างอัดรูป พูดเช่นนีไ้ ม่ได้หมายความว่า คนถ่ า ยด้ ว ยดิ จิ ต อลจะมี พื้ น ฐานไม่ ดี ไปเสียทั้งหมด จึงขอฝากผู้รักผู้สนใจ ในการถ่ายภาพรุ่นใหม่ๆ ด้วยว่าพื้นฐาน และแนวคิดนี่เป็นเรื่องสำคัญ
67 www.focusingclub.net
ตอนที่ เ ปิ ด ร้ า นถ่ า ยรู ป ก็ ยั ง ไม่ เ คย เรียนถ่ายภาพทีไ่ หนมาก่อนใช่ไหมคะ คือมีความรู้แบบงูๆ ปลาๆ แล้วหลัง จากนั้นได้เรียนถ่ายภาพที่ไหนบ้าง ไหมคะ? ครับ งูๆ ปลาๆ และแบบงงๆ ด้ว ย ในบางครั ้ ง เลยต้องหาที่เรียน ถ่ายภาพ ก็มาลงเอยกับชมรม Focusing Club ผมว่ามันเป็นพรหมลิขิตแน่ๆ เลย (หัวเราะอารมณ์ดีเชียวค่ะ) ผมอ่านเจอ หลั ก สู ต รอบรมถ่ า ยภาพของชมรมนี้ จากนิตยสารฉบับหนึ่งราว 3 ปีที่แล้ว จึงตัดสินใจลงเรียน 3 หลักสูตร มี
ก า ร ไ ด้ เ รี ย น นี่ ท ำ ใ ห้ ก่ อ น ถ่ า ยภาพทุ ก ครั้ ง จะคิ ด ก่ อ นแล้ ว ว่ า จะ ถ่ายอย่างไร จะนำเสนออะไรให้คนดู ผมต้ อ งขอกราบขอบพระคุ ณ อาจารย์ ทัง้ สองท่านคือ อาจารย์ภวู พงษ์ ผจญอริพา่ ย และอาจารย์ธวัช มะลิลา ทั้งสองท่านนี้ เป็นแบบอย่างของผม จากนัน้ ผมก็พยายาม ออกทริปกั บชมรม ทุ ก ครั ้ ง ผมจะได้ เทคนิ ค และข้ อ คิ ด ในการถ่ า ยภาพใน มุมมองของหลายๆ ท่าน คนในชมรมนี้ อยู ่ ก ั น แบบพี ่ ๆ น้ อ งๆ มี อ ะไรดี ๆ
Focusing Club E-Magazine
Art of Photography, Portrait และ Studio Portrait ซึ่งไม่ผิดหวังเลย การได้ มาเรี ย นทำให้ เ รารู้ ว่ า ที่ เ ราถ่ า ยภาพ ไม่สวย ถ่ายไปงงไป เพราะเราถ่ายภาพ แบบไม่มีหลักการ ไม่รู้กฎอะไรสักอย่าง จุดตัดเก้าช่องคืออะไร กฎสามส่วน เป็นอย่างไร วัดแสงก็ไม่เป็น ศิลปะการ ถ่ายภาพเป็นอย่างไรไม่ต้องพูดถึง
Focusing Club E-Magazine
68
www.focusingclub.net
มุมไหนสวยก็ชี้ชวนกันดู แบ่งกันถ่าย เฮฮากันไปครับ แบ่งปันสิ่งดีๆ กันอยู่ เสมอทำให้ยิ่งสนุก และมีความสุขกับ การถ่ายภาพมากๆ แ ล้ ว ใ ช้ ล็ อ ก อิ น ว่ า อ ะ ไ ร ค่ ะ ใ น Focusing Club moshi ครับ มาพู ด ถึ ง เรื่ อ งงานกั น บ้ า งดี ก ว่ า ค่ ะ หลังจากเรียนถ่ายภาพ คุณโมชิเก็บ เกี่ ย วประสบการณ์ ม าได้ ร ะยะหนึ่ ง จากนั้นก็รับงานถ่ายภาพนอกสถาน ที่แบบจริงๆ จังๆ เลยใช่ไหมคะ? จริงๆ ก็รับมาเรื่อยๆ แต่เราก็ อยากได้ความรู้มากกว่าที่เป็นอยู่ ส่วนใหญ่งานที่รับเป็นงานแบบไหน ค่ะ? ส่วนใหญ่งานที่ทำจะเป็นพวกถ่าย งานพิธีการประมาณ 70% และก็มีพวก
69 www.focusingclub.net
Pre-Wedding ที่ช่วงหลังเริ่มเยอะขึ้น นอกนั้ น ก็ จ ะมี ง านถ่ า ยสถาปั ต ยกรรม งานรับปริญญาบ้างครับ จริงๆ แล้วอะไร ที่ได้สตางค์ผมทำหมด (หัวเราะร่วน เลยค่ะ)
ลู ก ค้ า มี ห ลายแบบเคยเจอลู ก ค้ า ที่เข้าใจอะไรยากไหม หรือขอโน่น ขอนี่ ถ้าเจอเหตุการณ์แบบนี้จะแก้ ปัญหาอย่างไร เรื่องแบบนี้อย่างไรก็ต้องมีบ้าง ก่อนอื่นเราต้องใจเย็น ค่อยๆ พูด ห้ามใช้ อารมณ์เด็ดขาด อันนี้สำคัญ เช่น ลูกค้า บางคนจะต่อราคาก่อน พอได้แล้วก็ จะเริ่มขอให้แถมโน่นนี่ ซึ่งเราก็ต้องดู ว่าถ้าอะไรที่เราให้ได้ก็ยินดีนะ แต่ถ้า
Focusing Club E-Magazine
แล้วหาลูกค้าอย่างไรคะ ส่วนใหญ่มา จากไหน ? แรกๆที่ เ ริ่ ม รั บ งานถ่ า ยภาพก็ อาศัยคนรู ้ จ ั ก เพื ่ อ นๆ พี ่ ๆ น้ อ งๆ หางานมาให้ แต่เดี๋ยวนี้ส่วนใหญ่จะ เป็นลูกค้าที่แนะนำต่อๆ กันไปครับ จะมี บ้ า งที่ เ ข้ า ไปดู ง านผมในเว็ บ ไซต์ Multiply.com แล้วชอบงานของเรา ก็จะติดต่อมาครับ เคยมีลูกค้ารายหนึ่ง เป็นฝรั่งโทรมาจากเมืองนอก บอกว่า อยากมาแต่งงานที่เมืองไทย อยากได้ ภาพแนวที่ดูเป็นไทย งานนี้ทำให้ผม ภูมิใจมากที่จะนำเสนอความเป็นไทย ผ่า นภาพถ่ าย แทบจะไปถ่ ายให้ ฟรี เลยครับ ล้อเล่นนะครับ
www.focusingclub.net
70 Focusing Club E-Magazine
ให้ไม่ได้จริงๆ ก็ต้องบอกลูกค้าไปตรงๆ ส่ ว นใหญ่ ลู ก ค้ า ก็ จ ะเข้ า ใจนะครั บ เพราะจริงๆ แล้วลูกค้าเขาก็รู้ว่าราคา ที่เราคิดมันไม่แพงเลย แต่หลายคนก็ ต่อเอาสนุกครับ ปกติทำงานคนเดียวหรือทำเป็นทีมค่ะ? แล้วแต่รูปแบบของงานมากกว่า เดี๋ยวนี้ลูกค้าจะชอบถ่ายภาพแคนดิด บางงานจึ ง ต้ อ งมี ช่ า งภาพอย่ า งน้ อ ย สองคน เพราะถ้าคนเดียวจะเก็บได้ไม่ ครบทัง้ งานจริงๆ เรามีทมี งานอยูห่ ลายคน อย่างบางงานมีแขกมาร่วมงานเป็นพันคน เราต้องแจ้งลูกค้าเลยว่าต้องใช้ช่างภาพ อย่างน้อย 3 คนขึ้นไป ไม่งั้นจะเก็บ รายละเอี ยดของงานได้ไม่ครบ ซึ่ง ส่ ว นใหญ่ ลู ก ค้ า จะเข้ า ใจไม่ ค่ อ ยมี ปัญหาครับ
ทำงานด้านนีจ้ ริงๆ แล้วชอบถ่ายภาพ แนว Portrait หรือถ่ายเพราะเป็น อาชีพของเราค่ะ? จริงๆ ผมชอบถ่ายภาพทุกแนว เพียงแต่ที่ถนัดจะเป็น Portrait กับ Landscape ทุกวันนี้มีความสุขที่ได้ ทำงานที่ตัวเองรัก และสนุกกับงานที่ทำ
Focusing Club E-Magazine
71 www.focusingclub.net
อยู่แล้วครับ ไม่ได้ทำไปเพียงเพราะ ทุกงาน งานไหนที่ทำให้ลูกค้าผมยิ้ม เป็นหน้าที่ ถ้าทำแบบนั้นเราจะทำมัน นัน่ ทำให้ผมมีความสุขแล้วครับ โชคดี ได้ไม่ดี และทำได้ไม่นานแน่นอนเชือ่ ผมสิ ผมยังไม่เคยเจอลูกค้าที่แสดงความไม่ พอใจหลังรับรูป นั่นถือเป็นความสำเร็จ ผลงานชิ้นไหนที่ประทับใจที่สุดค่ะ? อย่างหนึ่งของช่างภาพ แต่ถ้าเอาแบบ จริงๆ งานของลูกค้าแต่ละคู่ ล่าสุดก็จะเป็นงานที่ไปถ่ายกันที่โคราช มีความน่ารักแตกต่างๆ กันไป ผมชอบ ค่อนข้างทำงานแข่งกับเวลากันสักนิด
www.focusingclub.net
72 Focusing Club E-Magazine
เพราะกว่าจะเริม่ ถ่ายภาพกันก็เกือบเทีย่ ง และมี เ วลาไม่ ม ากต้ อ งดู แ สงด้ ว ย น่ะครับ แต่เราตั้งเป้ากันไว้ว่าจะไปถ่าย กัน 3 แห่ง ซึ่งก็ผ่านไปด้วยดี แถม โชคดีอ ี ก อย่ า งที ่ ฟ ้ า เปิด ฟ้าใสมาก (ในรอบหลายวันเลยก็ว่าได้) เลยทำงาน ง่ายขึ้นเยอะครับอีกงานไปถ่ายที่ Rose Garden วันนัน้ โชคไม่ดฝี นตกเกือบทัง้ วัน
แต่ดีที่ไม่ตกหนัก ผมเองก็ยืนถ่ายภาพ กลางฝนเลย ส่วนลูกค้าเราก็ให้เขา ถื อ ร่ ม ไปยื น กุ๊ ก กิ๊ ก กั น อยู่ ส องคนครั บ เป็นการแก้ปญ ั หาเฉพาะหน้าไป ฮ่า ฮ่า ฮ่า สนุกมากจริงๆครับวันนั้น แต่พอกลับ มาถึ ง บ้ า นต้ อ งรี บ เช็ ด กล้ อ งแล้ ว หา ซิลิก้าเจลดูดความชื้น มิฉะนั้นกล้องพัง ขึ้นมาคงไม่สนุกแน่ๆ มองทิศทางการถ่ายภาพแต่งงานว่า จะไปในรูปแบบไหน? เดี๋ ย วนี้ ค นหั น มาเล่ น กล้ อ งกั น เยอะมาก เพราะราคากล้องที่ถูกลง
ขึน้ ได้ตลอดเวลา ต้องค่อยเป็นค่อยไป ครับ ภาพงานแต่งงานนี่ต้องเป็นภาพ ที่ คู่ บ่ า วสาวหยิ บ มาดู ค รั้ ง ใดต้ อ ง ประทับใจเมื่อนั้น ถ้าถ่ายมาเยอะแต่ใช้ ได้ไม่กี่ใบหรือพลาดจังหวะสำคัญไปคง เสียดายแย่ จะให้กลับไปแต่งใหม่คงไม่ ดีมั้งครับ
73 www.focusingclub.net
ถ้าเช่นนั้นช่วยแนะนำเทคนิคในการ ถ่ายภาพแต่งงานให้หน่อยสิคะ ถ้าหลักๆ จะแยกเป็นสองส่วน ส่ ว นแรกในส่ ว นของลู ก ค้ า ต้ อ งมี ก าร พูดคุยเพื่อเก็บข้อมูลจากลูกค้าก่อน เรา ต้องถามความต้องการของลูกค้าว่าเขา ต้องการภาพแนวไหน สถานที่แบบไหน รวมถึงให้คำแนะนำลูกค้า กรณีที่เขา ไม่มีแนวความคิด การพูดคุยกับลูกค้า
Focusing Club E-Magazine
จากแต่ก่อนมาก บางคนเริ่มหัดถ่าย ภาพใหม่ๆ พอเพื่อนเห็นว่าเราเล่นกล้อง ถ่ายกันเล่นๆ แล้วดูสวยดี เวลามีงาน สำคัญ อย่างเช่น งานแต่งงานก็ขอให้ ไปเป็นตากล้องถ่ายรูปให้ อยากจะ แนะนำว่าไปช่วยเพื่อนถ่ายได้แต่ขอเขา ไปเป็นกล้องที่ 2 หรือ 3 จะดีกว่าครับ เพราะถ้ า เป็ น กล้ อ งหลั ก แล้ ว เราไม่ มี ประสบการณ์รับรองว่าปัญหาตามมา แน่นอน การถ่ายเล่นแบบสนุกสนาน กับงานพิธีการมันมีข้อแตกต่างกันมาก พอสมควร ของแบบนี้อยากให้ค่อยเป็น ค่อยไปจะดีกว่า แรกๆนี่ผมขอตามพี่ๆ ช่างภาพไปช่วยถ่ายแบบฟรีๆ เลย ให้ทำ อะไรเราก็ได้หมด แบกกล้อง ยกไฟ เพราะมันทำให้เราได้เรียนรูว้ ธิ กี ารทำงาน และการแก้ปัญหาเฉพาะหน้าที่อาจเกิด
Focusing Club E-Magazine
74
www.focusingclub.net
ยังเป็นการสร้างความคุ้นเคยและความ เป็ น กั น เองระหว่ า งลู ก ค้ า กั บ ช่ า งภาพ ลู ก ค้ า จะไม่ รู้ สึ ก เขิ น เวลาที่ เป็นแบบในการถ่ายภาพอีกด้วย ส่วน ที่สองคือการเตรียมตัวของช่างภาพเอง ช่ า งภาพเดี๋ ย วนี้ ต้ อ งหาความรู้ ใ ส่ ตั ว
ตลอดเวลา เพราะทุกวันนีม้ อี ะไรใหม่ๆ มาให้เล่นตลอด ทั้งเรื่องของอุปกรณ์และ เทคนิคในการถ่ายภาพต่างๆ ถ้าเรา หยุดนิ่ง คนอื่นๆ ที่อยู่หลังเราจะเดินแซง เราไปหมด ส่วนในเรื่องของมุมมอง
Focusing Club E-Magazine
ไหนที่จะเน้นมากหน่อย ก็จะไปทำต่อ ใน Photoshop ครับ เพราะบางทีเจอ ปัญหาเวลาไปถ่ายงาน Pre-Wedding แล้วฟ้าไม่เป็นใจ แบบนีต้ อ้ งเอามาแก้ไขบ้าง เหมือนกัน มีเทคนิคง่ายๆ ที่ใช้บ่อย คือใส่ฟลิ เตอร์สฟี า้ เข้าไปก็พอช่วยให้ภาพ ดูดีขึ้นได้ หรือบางครั้งก็ใช้วิธีย้อมสีภาพ เป็นโทนเหลือง โทนส้มไปเลยก็มี แล้วแต่ ว่าอยากให้ภาพออกมาสไตล์ไหน
75
แล้วขั้นตอนในการตกแต่งภาพนี่ใช้ โปรแกรมอะไรค่ะ? ทุกวันนีห้ ลักๆ ก็จะเป็นโปรแกรม Lightroom กับ Photoshop ครับ ถ้าแค่ปรับสี แสง แก้ White Balance ก็จะทำใน Lightroom ก่อน ส่วนภาพ
www.focusingclub.net
ในการถ่ า ยภาพก็ ห าดู ศึ ก ษาจาก เว็บไซต์ต่างประเทศบ้าง จากช่างภาพ รุ่นพี่ๆ บ้าง แล้วเราก็ต้องนำมา ประยุกต์ใช้ มาดัดแปลง ไม่ใช่ลอกมุม แบบนั้นจะไปไม่ได้ไกล
www.focusingclub.net
76 Focusing Club E-Magazine
อุปกรณ์ที่ใช้อยู่ปัจจุบันเป็นตัวไหน บ้างค่ะ? กล้อง: Canon EOS 5D MARKII, Canon EOS 40D เลนส์: EF17-40F4L,EF24-70 F2.8L, EF 70-200 F2.8L, EF 85 F1.8 แฟลช: Canon Speedlight 580EX 1 ตัว และ Canon Speedlight 580EX II 1 ตัว
บทสัมภาษณ์ และผลงานบางส่วน ที่ได้นำเสนอในครั้งนี้คงจะเป็นแรง บันดาลใจให้หลายท่านพร้อมที่จะ ก้ า วเดิ น สู่ ค วามเป็ น มื อ อาชี พ แบบ เขาผู้นี้... ธนทัต อริยภิญโญ
เยี่ยมชมผลงานได้ที่ http://tanatatphoto.multiply.com สนใจติดต่อ Tel. 089-777-4474 ผลงานของหนุ่มไฟแรงอารมณ์ดีผู้นี้ (Moshi) มิ เ พี ย งสร้ า งความประทั บ ใจให้ กั บ ลูกค้าเท่านัน้ แต่ยงั สร้างความสุขและ รอยยิ้ ม ให้ กั บ ทุ ก คนที่ ไ ด้ พ บเห็ น
Focusomment C
เรื่อง: ทนงศักดิ์ ธรรมวุฒิ
อยากถูกวิจารณ์
77
ภาพนี้นำมาโพสต์โดย คุณ Mati ซึ่งมี ข้ อ มู ล ก า ร ถ่ า ย รู ป แ ล ะ ก า ร ตั้ ง ค่ า กล้องดังนี้ อุปกรณ์ Camera: full frame Lens: 10-24 mm DX Filter CPL nikon การตั้งค่ากล้อง: 1/320 sec. f/9 Focal Length 10 mm Color Space RGB, jpeg, vivid เร่ง sat เร่ง sharp อย่างละขีด แนวความคิดการถ่ายรูป หอเอนเมืองพิซ่า มันเอนของมันอยู่แล้ว แต่อยากให้มันเอนอีก แบบ extreme เลยเลือกมุม เลือกเลนส์ distortion สูงๆ มาใช้
www.focusingclub.net
ฉบับนี้ผมได้เลือกภาพที่นำมา โพสต์โดยคุณ Mati และคุณ api2009 ดู กันนะครับว่าผู้ถ่ายภาพมีแนวความคิด และวิธีการถ่ายภาพอย่างไร และความ เห็นของท่านอื่นๆ มีอย่างไรบ้าง
อย่างไรก็ตามความสวยงาม ของภาพถ่ า ยจะว่ า ไปแล้ ว ก็ ข้ึน อยู่กั บ รสนิ ย มด้ ว ยนะครั บ ไม่ ม ี ใ ครถู ก ไม่มีใครผิด วิจารณ์เพื่อสร้างสรรค์ครับ แต่ เ ราทุ ก คนที่ เ ข้ า มาในห้ อ งอยากถู ก วิจารณ์นี้ต่างก็เปิดใจกว้างเพื่อร่วมกัน สร้างสรรค์สิ่งดีๆ ให้กับผู้รักการถ่ายภาพ ที่สนใจทุกๆ ท่านครับ
Focusing Club E-Magazine
สวั ส ดี ค รั บ ท่ า นผู้ อ่ า นทุ ก ท่ า น ก่อนอื่นผมขอเอ่ยถึงที่มาของคอลัมน์นี้ ก่อนก็แล้วกันนะครับ คอลัมน์นี้มาจาก ห้องอยากถูกวิจารณ์ของเว็บบอร์ดชมรม โฟกัสซิ่งคลับ (www.focusingclub.net) ห้องนี้เป็นห้องที่เชิญชวนให้สมาชิกมา โพสต์ภาพเพือ่ ให้สมาชิกท่านอืน่ ๆ ได้รว่ ม วิจารณ์แสดงความเห็นในเชิงสร้างสรรค์ ซึง่ จะนำไปการยกระดับความรูแ้ ละทักษะ ในการถ่ายภาพให้กับสมาชิก
Focusing Club E-Magazine
78
www.focusingclub.net
คำถามคือ คนดูเค้าอาจจะโดนหลอก เพราะ distortion แบบนี้ภาพถ่ายทาง แนวสารคดีคงไม่ดีแน่ แต่ถ่ายเอามันส์ เพื่อนๆ ว่าไงครับ Ampawa ได้แสดงความเห็นไว้ดังนี้ครับ “ข้อแรกเรื่องเทคนิคการถ่ายภาพ ถือว่าตั้งกล้องได้ดี วัดแสงได้แม่น ทำให้ ได้ภาพสีสดใส แต่เรื่องการใช้เลนส์นั้น เนื่ อ งจากเป็ น การใช้ เ ลนส์ มุ ม กว้ า ง ตัวคูณที่ระยะ 10 mm. กับกล้อง ฟูลเฟรมทำให้ติดขอบดำไปบ้างอันนี้ดี ไม่ได้ขึ้นอยู่กับเราพอใจเช่นกัน แต่เป็น ข้อหนึ่งที่ต้องพิจารณา เพราะปกติจะ พยายามหลีกเลี่ยง ต่อมาเรื่องศิลปะและองค์ประกอบ ในรู ป อั น นี้ ถื อ ว่ า การจั ด องค์ ประกอบทำได้ดอี ยูแ่ ล้วเช่นกัน มีเพียง รายละเอียดเล็กๆ น้อยๆ ที่เข้ามา ข้อแรก คื อ มุ ม ซ้ า ยด้ า นล่ า งมี ค นเดิ น อยู่ อั น นี้ เค้าอยู่มุมภาพดูแล้ว ทำให้ภาพรกไปนิด นะครั บ ดู จัง หวะให้ ค นนี้ อ อกไปน่ า จะ ดีกว่าเพราะจะไม่ไปกวนสายตา ต่อมา เป็นเรือ่ งการ Crop ภาพ จะเห็นว่ากลุม่ คน ที่โดนตัดขาไปตรงกลางพอดีเลย ปกติ
พยายามอย่ า ตั ด ขาตรงข้ อ จะดี ก ว่ า ถอยหลังออกไปนิด ให้กว้างกว่านี้นิด จะดูดีกว่าครับ อีกเรื่องดูไปที่เมฆจะเห็น มี ร อ ย เ ป็ น แ น ว ย า ว น่ า จ ะ ม า จ า ก เครือ่ งบินบินผ่าน ทำให้เกิดเป็นแนวยาว รูปนี้ไม่เด่นมาก แต่ก็ต้องระวัง เพราะมัน จะเป็ น เส้ น ที่ ไ ปตั ด หอเอี ย งนะครั บ และเรื่องสุดท้าย เรื่องทิศทางแสงดูแล้ว เป็นการถ่ายรูปตามแสงตรงๆ อันนี้ เวลาไปเที่ ย วคงทำอะไรยากหน่ อ ย เพราะเราจะรอก็คงไม่ได้ เนื่องด้วย คนถ่ า ยต้ อ งการให้ เ ห็ น ถึ ง ความเอี ย ง จึงต้องยืนมุมนี้ แต่ก็ต้องแรกมาด้วย แสงหน้าพอดี ถ้าได้แสงข้างผมว่าหอเอน จะมีมิติมากกว่านี้” ส่วนคุณ Mack ได้ตั้งข้อสังเกตว่า “ใช้ lens wide มากไปหรือ เปล่ า เลยทำให้ ห อเอนขาดความ อลังการไปนิด”
แนวความคิดการถ่ายรูป อยากได้รูปบรรยากาศตอนเช้า ที ่ ม ี แ สงและเงา ถ่ า ยที ่ ห น้ า บ้ า น ต่างจังหวัด ตอนเช้า 07.13 น.
www.focusingclub.net
อุปกรณ์ Camera: cannon 1000D Lens: 18-200 mm การตั้งค่ากล้อง: 1/332 sec f/7 Focal Length 200 mm Manual mode
79
ภาพต่อมาที่กระทู้ http://focusingclub. net/smf/index.php/topic, 4448.0.html โดยคุณ api2009 โดยให้รายละเอียดของภาพไว้ดังนี้ครับ
Focusing Club E-Magazine
ปิดท้ายด้วยคุณ kingk สรุปได้นา่ ฟังครับ ทำให้ contrast จัดขึ้น มันน่าจะคม มากขึ้นด้วยในตัว ลองไม่เพิ่ม sharp “ภาพนีค้ งไม่มคี ำวิจารณ์ เพราะ หรือลดลงดู น่ าจะได้ ภาพสี จั ดที ่ ไ ม่ คุณmatiบอกมาตรงตามความต้องการ กระด้างมาให้ชมบ้างนะครับ” ของผู้ถ่ายอยู่แล้ว ดังนั้นทำได้ดีดั่งใจ คนถ่ายจึงดีอยูแ่ ล้ว แต่ไม่ได้หมายความว่า แล้วท่านละครับมีความเห็นเช่นไร จะดีดั่งใจคนดูนะครับ เพราะความชอบ อยากชวนให้ ม าแสดงความเห็ น ดี ๆ แต่ละคนไม่เหมือนกัน ผมไม่ชอบภาพ ได้ที่ http://focusingclub.net/smf/ สีแป๊ดๆ เกินจริง และความคมที่ทำให้ index.php/topic,4137.0.html ภาพดูกระด้างเกินไป การตั้ง vivid ขึ้น
www.focusingclub.net
80 Focusing Club E-Magazine
สำหรั บ ภาพนี้ ผ มได้ แ สดงความเห็ น ไว้ดังนี้ “ภาพนี้สวยด้วยแสงและเงา+ จังหวะครับ... มาดูกันว่าสวยยังไง... ในเชิงจิตรศิลป์ภาพนีจ้ ะมีกรอบซ้อนกรอบ ถึงสองชั้นครับ กรอบใหญ่สุดคือแนว ต้นไม้สองฟากถนนเป็นรูป 3 เหลีย่ มใหญ่ กรอบรองลงมาคื อ ถนนที่ อ ยู่ ใ นกรอบ ใหญ่อีกทีหนึ่ง จะเห็นได้ว่าทรงของ แนวต้ น ไม้ แ ละถนนเป็ น ทรงเดี ย วกั น และกรอบรองอย่ า งถนนมี ห น้ า ที่ อี ก อย่างหนึ่ง คือนำสายตาเข้าสู่กลางภาพ เมื่ อ มี ค นอยู่ ใ นกรอบด้ ว ยแล้ ว หน้ า ที่ ของมัน (เติมจินตนาการผู้ชมไป) คือ พา Subject หลัก (คน) ไปสู่กลางภาพ หรื อ เดิ น ไปตามทางข้ า งหน้ า นั่ น เอง (งงมั้ย...) ประกอบกับได้เงาใบไม้ ด้านมุม ซ้ า ยล่ า งมาช่วยเป็นระยะใกล้ ให้กับภาพ ทำให้ภาพมีความลึกมากขึ้น ถ้ า ขยั บ กล้ อ งมาทางซ้ า ยอี ก นิ ด ให้ ติ ด แนวต้นไม้ด้านซ้ายอีกหน่อย เพื่อให้ เป็นกรอบซ้าย (ตรงนี้ไม่รู้เหมือนกัน นะครับว่าในสถานที่จริงด้านซ้ายพอจะ เอือ้ อำนวยมัย้ ) ภาพจะมีมิติกว่านี้ เพราะ ได้กรอบซ้ายมาช่วยการวัดแสงและเลือก
ช่วงเลนส์ถือว่าทำได้ดีครับ เลือกใช้ช่วง เลนส์ เ ทเล ทำให้ ฉ ากหลั ง ละลาย ไม่รกตาและดึงถนนเป็นแนวได้ขนาดนี้ ตัวแบบใส่รองเท้าบู๊ท อยู่ในกริยากำลัง หัวเราะ (หรือเปล่า) แต่ถามว่าหัวเราะ กั บ ใครล่ ะ ถ้ า ตั ว แบบหั น หน้ า มาทาง ผู้ถ่ายภาพ ภาพก็จะเป็นอีกอย่างหนึ่ง เลยครับรถอยู่ทางซ้ายของภาพเป็นตัว ขโมยซีนแย่งความเด่นไป แต่ก็ไม่มาก โดยรวมเกือบเป็นภาพที่ดีมากแล้วครับ เพราะสถานที่ อารมณ์ของแสง เอือ้ อำนวย มากมายแต่ติดที่ตัวแบบไม่ค่อยลงตัว... แต่อย่างว่าล่ะครับภาพแนวนี้เซ็ทถ่าย ไม่ได้ ผมชอบภาพนี้ครับ.... ในความเห็น ส่วนตัวของผมถือว่าเป็นภาพที่ดีเกือบ เยี่ยมแล้วครับ ปล. ถ้าคุณแต่งภาพด้วยคอมพิวเตอร์ เก่งๆ นะผมว่าภาพนี้หลังปรับแต่งจะมี พลังมากกว่านี้มากมายเลยล่ะครับ”
ขอบคุ ณ ครั บ สำหรั บ การติ ด ตาม พบกันใหม่ในฉบับหน้า สวัสดีครับ
www.focusingclub.net
หวังว่าคอลัมน์นี้คงมีประโยชน์ กั บ ผู้ อ่ า นบ้ า งไม่ ม ากก็ น้ อ ยนะครั บ การฝึกวิจารณ์ภาพนี่เป็นประโยชน์กับ ตัวผู้วิจารณ์เองด้วย เพราะได้เรียนรู้และ นำไปประยุกต์ในการถ่ายภาพของตัวเอง ได้เช่นกันครับ
81
และจัดองค์ประกอบ มองในมุมของ subject คือลุงที่ดูแล้วยังไม่น่าสนใจ เท่าไหร่ ไม่ว่าจะเป็นการแต่งตัว หรือ ท่าทางการเดินที่ไม่รู้ว่ามองอะไรไปทาง ขวาลองคิดดูเล่นๆ ว่า ถ้าหากเป็นคุณตา เดินจูงหมา หรือเด็กเดินมา หรือเข็น รถลาก หรือเกวียนเดินมานี่มันจะเยี่ยม แค่ไหน ยิ่งถ้าผมฟูๆ เต็มหัวด้วยแล้ว ยิ่งได้แสง hair light ผมเป็นประกาย ดูแล้วภาพน่าสนใจมากขึ้น มองในมุม ของการเลือกมุมมอง และการจัด องค์ประกอบ มีความคิดในการเล่นกับ เงาได้ ดี แ ต่ ว างคนไว้ ก ลางภาพมาก เกินไปภาพเลยดูไม่เด่นเท่าที่ควรครับ” พร้อมกันนี้ได้ช่วย Crop ภาพด้วย
Focusing Club E-Magazine
ส่วนคุณ Linglom ได้ร่วมกันสร้างสรรค์ สิ่งดีๆ ไว้ดังนี้ครับ “บรรยากาศยามเช้า แสงแดด สี ท องอ่ อ นแสงแบบนี้ เ หมาะแก่ ก าร ถ่ายภาพมากเลย ได้แสงดีภาพก็สวย ไปเกื อ บครึ่ ง แล้ ว ที่ เ หลื อ ก็ ต้ อ งอาศั ย subject ที่น่าสนใจ + การเลือกมุมมอง
P or t rait Worksho p
แสงหน้า แสงหลัง แสงข้าง
เรียนรู้เรื่องแสง และอีกมากมายเทคนิค กับคอร์ส Portrait Workshop สำหรับนักถ่ายภาพ ที่ผ่านการเรียนรู้ เรื่องการถ่ายภาพเบื้องต้นแล้ว และ ต้องการคำแนะนำ เพิ่มเติมอย่างละเอียด ในเฉพาะเรื่อง โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในด้านการถ่ายภาพ Portrait ซึ่งเป็นที่นิยม กันอย่างมากของนักถ่ายภาพรุ่นใหม่ๆ Portrait Workshop เป็นการแนะนำ การถ่ายภาพบุคคลด้วยแสงธรรมชาติ ทั้งในสถานที่และนอกสถานที่อย่างละเอียด และสามารถนำไปใช้งานได้จริงอีกด้วย ระยะเวลาการอบรม: 1 วัน ตั้งแต่ 08.30 - 17.30 น. วันที่: 28 มีนาคม 2553 สถานที่: สถาบันราชภัฏจันทรเกษม
สนใจเข้าอบรมคอร์สต่างๆ ติดต่อคุณนก 089-151-0986, คุณขวัญ 080-604-4773 e-mail: focusingclub@msn.com หรือที่ www.focusingclub.net โอนเงินเข้าบัญชี: 216-211-293-1 ธนาคารไทยพาณิชย์ สาขาอาคารเพลินจิต เซ็นเตอร์ ชื่อบัญชี นางสาวกุลธิดา กู้เกียรติ พร้อมแจ้งการโอนเงินทางโทรศัพท์ คุณนก 089-151-0986, คุณขวัญ 080-604-4773
Focusavel Focus Tr
เรื่อง: โสภิดา ธนสุนทรกูร ภาพ: หมูบิน
พาชิมริมเล . . . หาดทรายสวย. . . น้ำใส . . . บรรยากาศสบาย
www.focusingclub.net
เดินทางผ่านมายัง อ.ท่าใหม่ ระหว่างทางได้มองเห็นป้าย “ครัวชลิต” ก็สงสัยว่าของ พี่ตุ่ม-ชลิต เฟื่องอารมณ์ หรือไม่ จึงขับรถมาเรือ่ ยๆ เรียบชายทะเล ที่มุ่งหน้าไปยังหาดคุ้งกระเบน แต่พอ มาถึ ง ทางเข้ า หาดก็ มี อี ก ป้ า ยบอกให้ เราชวนติดตาม “บ้านตุ่ม วิลเลจ แอนด์ รีสอร์ท”
83
วันหยุดสุดสัปดาห์ได้มีโอกาสมา เมืองจันทบุรี เมืองที่ยังคงมีวิถีชีวิต ที่น ่า สนใจไม่ แ พ้ จ ั ง หวัดอื่นๆ ของ ประเทศไทย ผลไม้ขึ้นชื่อ มีทั้งมังคุด เงาะ ทุเรียน กระท้อน ลองกอง ซึ่งเรา จะได้ชิมกับช่วงเดือนเมษายนเป็นต้นไป สถานที่ท่องเที่ยวมากมาย ทั้งสถานที่ ทีเ่ ป็นธรรมชาติ วิถชี วี ติ หรือสถาปัตยกรรม ต่างๆ
Focusing Club E-Magazine
สไตล์บ้านตุ่ม
เ มื่ อ ม า ถึ ง “ บ้ า น ตุ่ ม . . . ” บรรยากาศของที่นี่ เ ป็ น ธ ร ร ม ช า ติ มากๆ เราสัมผัสได้ เมื่อก้าวเข้ามาที่นี่ ความร่ ม รื่ น ของต้ น ไม้ น านาชาติ ที่ ผู้ ปลู ก สร้ า งตั้ ง ใจบรรจงคั ด สรรพั น ธ์ุ ไ ม้ ที่หลากหลาย เพื่อให้ผู้มาเยือนได้มี ความสุข ได้สัมผัสอากาศที่สดชื่น
บ้านตุ่มเขียว
www.focusingclub.net Focusing Club E-Magazine
84
ได้รับลมเย็นพร้อมกับความเงียบสงบ เหมาะกับการพักผ่อนจริงๆ ด้านหน้า รีสอร์ทติดทะเลที่เงียบสงบ ช่วงเวลา ที่ ไ ด้ ไ ปเยื อ นเป็ น เวลาที่ พระอาทิตย์ ลับขอบฟ้าตรงเส้นขอบทะเลพอดี
บรรยากาศหน้าห้องพัก
ลักษณะบ้านแต่ละหลัง พี่ตุ่มเล่า ให้ฟังว่า “บ้านทุกหลังเราจะเน้นแบบ ไทยๆ อุปกรณ์ตกแต่งก็จะเป็นของเก่าๆ ที่ได้ไปตระเวนหามาหลายที่ กว่าจะได้ ของแต่ละชิ้นมานั้นไม่ง่ายเลย... ส่วน การตั้งชื่อบ้านก็จะไม่เหมือนกับรีสอร์ท อื่นๆ ที่จะตั้งเป็น A1, A2 หรือตั้ง เป็นชื่อ เช่น บ้านลีลาวดี...ที่นี่จะตัง้ ชือ่ โดยใช้ สี ข องประตู เ ป็ น ชื่ อ เรี ย กบ้ า น โดยเอาชื่อของพี่เองมานำหน้าสี เช่น บ้านตุ่มแดง บ้านตุ่มฟ้า บ้านตุ่มแสด บ้านตุ่มตึก... แต่ละหลังการตกแต่งก็จะ แตกต่างกัน ผู้เข้าพักอยากสามารถ เลือกพักได้” ไข่ชลิต นอกจากบ้านพัก สวยๆ สไตล์ ธรรมชาติ อีกด้าน เ ป็ น ร้ า น อ า ห า ร “ครัวชลิต” ซึ่งเป็นร้าน อาหารสไตล์ ไ ม่ แ ตกต่ า งจากบ้ า นพั ก เลย อยู่ริมทะเลพี่ตุ่มบอกว่า “ต้องการให้ นั ก ท่ อ งเที่ ย วที่ มี โ อกาสได้ แ วะมา ไม่ต้องไปหาร้านอาหาร จึงเปิดร้าน อาหารขึ้น โดยเมนูแนะนำของร้านคือ “ไข่ชลิต” งงอยู่ว่าหน้าตาเป็นอย่างไร
Focusing Club E-Magazine
หมูชะมวง
www.focusingclub.net
ความใส่ใจในการเลือกอุปกรณ์ ตกแต่ง หรือการเลือกสรรเมนูอาหาร ทำ ให้เรารูว้ า่ พีต่ มุ่ ในฐานะเจ้าของ “บ้านตุม่ และครัว ชลิ ต” มี ความใส่ ใ จในทุ ก รายละเอียด เพื่อให้ลูกค้ามีความสุข กับการได้เข้ามาเยือนที่นี่ เหมือนได้พัก บ้านของตัวเอง ใครที่ได้ผ่านมาอย่าลืม พี่ ตุ่ ม อธิ บ ายเพิ่ ม ว่ า เมื่ อ ก่ อ นตอนเปิ ด แวะเข้ามาชิมอาหารจานเด็ด หรือเข้า ร้านอาหารที่กรุงเทพฯ ไข่ชลิตจะใช้ มาแวะพักที่นี่ได้น่ะค่ะ ไข่ แ ดงเค็ ม ห่ อ ด้ ว ยทอดมั น นำไปทอด แล้วมาผ่าครึ่ง พอมาทีน่ ก่ี อ็ ยากให้มี ความแปลก จึงดัดแปลงเป็นไข่ตุ๋น หม้อไฟ ข้างในจะเป็น sea food สดๆ บ้านตุ่มฟ้า
85
บรรยากาศภายในรีสอร์ท
มหาชัยฟุตซอล
สนามฟุตบอลหญ้าเทียมใหญ่ที่สุดในประเทศไทย
ถนนพระราม2 กม.26 ฝั่งขาเข้ากทม. โทร.034-870800, 034-870900
สนใจลงโฆษณา
ติดต่อ คุณนก 085-923-4312 คุณขวัญ 080-604-4773