สารศรัทธาชน วารสารของมู ลนิธิศรัทธาชนเพื่อการศึ กษาและเด็กก�ำพร้าประจ�ำปี พ.ศ.2557
มู ฮ�ำหมัด สัจจเทพ
ดาวจรัสแสงแห่งชุ มชนบ้านดอน
4
สารศรัทธาชน
สารศรัทธาชน
5
6
สารศรัทธาชน
สารศรัทธาชน
7
และเหมือนเช่นเคย ในช่วงเดือนรอมฎอนของทุกปี สารศรัทธาชน ที่พี่น้องถืออยู่ ในมือก็จะกลับมาทักทายและพบปะพี่น้องกันอีกครั้ง หนึง่ ปี พบกันหนึง่ ครัง้ อาจแลดูเนิน่ นานเกินไป แต่เอาเข้าจริง รอบปีทผี่ า่ นมา “เรา” ก็ท�ำอะไรต่อมิอะไรมากมาย จนเวลาหนึ่งปีที่ดูยาวนานในตอนแรกหดสั้นลง “เรา” ใน ที่นี้หมายถึงองคาพยพทั้งหมดของ มูลนิธิศรัทธาชนเพื่อการศึกษาและเด็กก�ำพร้า องค์กรที่ก่อก�ำเนิดจากจุดเล็กๆ และก้าวเดินด้วยแรงศรัทธา และความมุ่งมั่นของ ทีมงานทุกคน หนึ่งปีที่ผ่านมา ศรัทธาชน ยังคงแข็งขันในงานที่ท�ำมาต่อเนื่องกว่า 20 ปี นั่นคือ การช่วยเหลือเด็กก�ำพร้า หญิงม่าย คนยากจนและขัดสน นอกจากนั้น หนึ่งปีที่ผ่าน ศรัทธาชน ยังมุ่งมั่นขยายกิ่งก้านสาขาของการท�ำงานให้ ยังประโยชน์แก่สงั คมมุสลิมให้มากทีส่ ดุ เท่าทีก่ ำ� ลังของทีมงานจะท�ำได้และตัง้ อยูบ่ นการ อนุมัติจากอัลลอฮ์พระผู้เป็นเจ้า สารศรัทธาชน ฉบับนี้จึงเปรียบเสมือนบันทึกการท�ำงานในรอบหนึ่งปีของพวกเรา ศรัทธาชน เพือ่ ย�ำ้ เตือนแก่ตวั เราเอง และเพือ่ ยืนยันกับพีน่ อ้ งผูร้ ว่ มศรัทธาและชาวมือบน ทั้งหลายที่อยู่เบื้องหลังและเป็นผู้สนับสนุนที่ส�ำคัญ ว่าเราจะยังคงมุ่งมั่นรับใช้อมานะฮ์ อันยิง่ ใหญ่ทพี่ นี่ อ้ งวางใจให้พวกเราศรัทธาชนได้ทำ� หน้าทีด่ แู ลช่วยเหลือเด็กก�ำพร้าและ สร้างประโยชน์ให้กับสังคมมุสลิมต่อไป หน้าปกฉบับนี้ เล่าเรื่องราวของ มูฮ�ำหมัด สัจจเทพ ผู้ชนะเลิศโครงการ กุรอานไทย แลนด์ ซีซั่น 2 ที่จัดขึ้นโดยยาตีมทีวีเมื่อช่วงเดือนเมษายนที่ผ่านมา เรื่องราวจะเป็น อย่างไรนั้นติดตามได้ในเล่ม และนอกจากบันทึกกิจกรรมและการท�ำงานต่างๆ ทีผ่ า่ นมาในรอบปีของศรัทธาชน แล้ว สารศรัทธาชนปีนี้ยังขนสาระวิชาการจากนักวิชาการอิสลามชั้นน�ำมาน�ำเสนอให้ กับพีน่ อ้ งได้อา่ นและศึกษาเพือ่ ความรูก้ นั อย่างเต็มอิม่ ทัง้ จาก อ.อามีน เหมเสริม หัวหน้า ฝ่ายวิชาการ มูลนิธิศรัทธาชน อ.อัชอะรีย์ เรืองปราชญ์ ผู้อ�ำนวยการสถานีโทรทัศน์ยา ตีมทีวี อ.ยะห์ยา โต๊ะมางี ประธานมูลนิธิอิสลามเพื่อการพัฒนาหนองจอก และอีก มากมายหลายท่าน หวังเป็นอย่างยิ่งว่า การพบกันหนึ่งปีครั้งของสารศรัทธาชนฉบับเล็กๆในมือของพี่ น้องฉบับนี้นั้น จะไม่ท�ำให้เราห่างเหินกันดังเช่นระยะห่างของสารศรัทธาชนเล่มนี้ อินชาอัลลอฮฺ
ท่านคือคนส�ำคัญ ที่จะร่วมสานฝั น ให้เด็กก�ำพร้า
คณะผู้จัดท�ำ
เจ้าของ มูลนิธิศรัทธาชนเพื่อการศึกษาและเด็กก�ำพร้า คณะที่ปรึกษา คุณยาซีน ลีวัน, คุณสุนทร สุรี, อ.เรืองฤทธิ์ เกตุเลขา บรรณาธิการอ�ำนวยการ ร.ต.อ.พรชัย ไวยศิลป์ กองบรรณาธิการ ฟุรกอน อิสมาแอล, อัสมา กันซัน, ฮุสนา สุขไสว, สิริกัลยา บินอับ ดุลลา, ไอนุน พานิชนก, ปานวาด เลาะหมุด, กุลธิดา นุชนาฏ ศิลปกรรม อรดา โต๊ะมางี ฝ่ ายการตลาด มนตรี สมานะวณิชย์, ปัญญา สุวรรณดี, กอเซ็ม พุ่มอรุณ ส�ำนักงาน อาคารรักษ์สุภา 48/48 ซ.ลาดพร้าว 112 แขวงพลับพลา เขตวังทองหลาง กทม.10310 โทรศัพท์ 02-934-3495 โทรสาร 02-934-3496 Website www.satthachon.or.th Facebook satthachon
8
สารศรัทธาชน
สารศรัทธาชน
9
ก่อก�ำเนิด-ก้าวเดิน-ศรัทธาชน มูลนิธศิ รัทธาชนเพือ่ การศึกษาและเด็กก�ำพร้า เริม่ ตัง้ ไข่ เมือ่ หลายๆ คนเริม่ คิด พูดคุย คล้ายกัน ตัง้ แต่ปี 2540 ปณิธานมุง่ หวังร่วมกัน ตกลงตั้งเป็นชมรมศรัทธาชนเพื่อการศึกษาและเด็กก�ำพร้า ปี 2541 ได้รับอนุญาตจากส�ำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ ให้จัด ตั้งเป็นมูลนิธิเมื่อ ปี 2543 โดยมีวัตถุประสงค์คือ 1. ส่งเสริม สนับสนุนการศึกษาเด็กก�ำพร้าที่ยากจน และขาดโอกาสทางการศึกษา 2. ช่วยเหลือ สนับสนุนด้านความเป็นอยู่ทั่วไปของเด็กก�ำพร้า และครอบครัวของเด็กก�ำพร้า 3. ส่งเสริมและพัฒนาอาชีพให้กับครอบครัวของเด็กก�ำพร้า 4. ส่งเสริมการปลูกฝังคุณธรรม เพื่อการพัฒนาจิตใจเด็กและเยาวชนให้เป็นผู้มีคุณธรรม 5. ด�ำเนินการเพื่อสาธารณประโยชน์ หรือร่วมมือกับองค์กรการกุศลอื่นๆ เพื่อสาธารณประโยชน์
ท่านคือคนส�ำคัญที่จะร่วมสานฝั นให้เด็กก�ำพร้า โดยการบริจาคเงินเข้าบัญชี ธนาคารกรุ งเทพ สาขาลาดพร้าว 99 บัญชีกระแสรายวัน ชื่อบัญชี มู ลนิธิศรัทธาชนเพื่อการศึ กษาและเด็กก�ำพร้า เลขที่บัญชี 181-3-09014-7 ธนาคารอิสลามแห่งประเทศไทย สาขาคลองตัน บัญชีกระแสรายวัน ชื่อบัญชี มู ลนิธิศรัทธาชนเพื่อการศึ กษาและเด็กก�ำพร้า เลขที่บัญชี 001-6-00162-1 หรือติดต่อมู ลนิธิฯ 02-934-3495 โทรสาร 02-934-3495 10
สารศรัทธาชน
ขวบปี แรกของ สหกรณ์ศรัทธาชน จ�ำกัด 20 เมษายน 2557 สหกรณ์ศรัทธาชน จ�ำกัด ได้จัด ประชุ มใหญ่เป็นปี แรก ซึ่ งจัดขึ้นในวันสุดท้ายของงาน Bangkok Halal ประจ�ำปี 2014 ณ สนามราชมังคลา กีฬาสถาน หัวหมาก ในวันนัน้ ร.ต.อ. พรชัย ไวยศิลป์ ประธานสหกรณ์ ได้กล่าวเปิ ดประชุ มว่า “ นับเป็นความ ้ ่ีน้องสมาชิกสหกรณ์ศรัทธาชน ยินดีอย่างยิง่ ที่ วันนีพ ได้มาร่วมประชุ มเพื่อรับทราบผลการด�ำเนินงานของ สหกรณ์ในรอบ 9 เดือนที่ผ่านมา สหกรณ์ปิดบัญชี ณ 31 ธันวาคม จึงอาจเรียกได้ว่า เราแต่งงานกันมา 1 ปี (1 เมษายน 2556 ถึง 20 เมษายน 2557) และตัง้ ท้อง 9 เดือน (1 เมษายน 2556 ถึง 31 ธันวาคม 2556)”
อัลฮัมดุลิ้ลลาฮฺ รอบปีแรกในธุรกิจที่สหกรณ์ด�ำเนินการ เราสามารถ บรรลุวตั ถุประสงค์ของการตัง้ สหกรณ์ เราแบ่งปันผลก�ำไรจากการด�ำเนิน งานของสหกรณ์ กลับสูม่ ลู นิธศิ รัทธาชน และยาตีมทีวี องค์กรละ 27,500 บาท พร้อมปันผลเงินหุ้นให้สมาชิกสหกรณ์ อัตราหุ้นละ 3 บาท ในระยะ เวลาเพียง 9 เดือน (หุ้นสหกรณ์หุ้นละ 100 บาท) สหกรณ์ศรัทธาชน จ�ำกัด ยังเป็นสหกรณ์เล็กๆ ซึง่ เกิดขึน้ ภายใต้รม่ เงา ของมูลนิธิศรัทธาชน ปัจจุบัน สหกรณ์ มีสมาชิก 741 คน และเงินทุน กว่า 35 ล้านบาท ค�ำถาม : เป็นสมาชิกสหกรณ์ศรัทธาชนได้อะไร ? ค�ำตอบ : อินชาอัลลอฮฺ สิ่งแรกที่ท่านได้ คือ ผลบุญ เพราะนโยบาย แรกในการจัดสรรผลก�ำไรของสหกรณ์คือ ปันส่วนหนึ่ง กลับคืนสู่ มูลนิธิ ศรัทธาชน และสนับสนุนการออกอากาศยาตีมทีวี (ทีวเี พือ่ เผยแพร่ศาสนา) ก�ำไรส่วนที่เหลือจึงกลับคืนสู่สมาชิกสหกรณ์ ในรูปผลตอบแทน เงินหุ้น และเงินฝาก
จากมือบน สูม่ อื ล่าง ด้วยดุอาอ์ ร่วมสรรสร้าง สูแ่ นวทาง ธุ รกิจ อิสลาม เรายังคงยึดมั่นในการด�ำเนินงานตามค�ำขวัญของสหกรณ์ คือ เปิด โอกาสให้ครอบครัวก�ำพร้าซึง่ เป็นมือล่าง ใช้สทิ ธิใ์ นการสะสมหุน้ เพือ่ ก้าว สูก่ ารเป็นมือบน และสมาชิกทัว่ ไปใช้สทิ ธิด์ า้ นสินเชือ่ กับสหกรณ์ เพือ่ เรียน รู้การเป็นมือล่าง ซึ่งสมาชิกทุกคนของสหกรณ์จะหมุนเวียนกันเป็นทั้ง มือบนและมือล่างเพื่อเกื้อกูลกันในการด�ำเนินธุรกิจตามหลักการอิสลาม เราจะค่อย ๆ ก้าวเดินไปด้วยกันอย่างระมัด ระวัง และรอบครอบ หากมือไหน อ่อนล้า เราพร้อมจะช่วยกันพยุงเดินต่อไป ภายใต้ร่มเงาของ มูลนิธิศรัทธาชน ในปีนี้สหกรณ์ศรัทธาชน จ�ำกัด มีนโยบายขยายสินเชื่อ หลายธุรกิจ จึงขอเชิญพี่น้องศรัทธาชน ร่วมเป็นเจ้าของสหกรณ์ศรัทธา ชนจ�ำกัด เพื่อเงินออมของท่านจะยังประโยชน์สู่พ่ีน้องมุสลิม และผล ตอบแทนกลับคืนสู่ท่านทั้งดุนยาและอาคีเราะฮฺ.
สหกรณ์ศรัทธาชน จ�ำกัด เลขที่ 96 ซอยลาดพร้าว 114 ถนนลาดพร้าว แขวง พลับพลา เขตวังทองหลาง กรุ งเทพมหานคร 10310 โทร. 085-389-6886 ,02-934-0426 เปิ ดท�ำการวันจันทร์ ถึงวันศุกร์ เวลา 08.30-16.30 น. สารศรัทธาชน 11
อินทผลัม พระราชทาน
โดยพระราชทานให้มูลนิธิศรัทธาชนเพื่อการศึกษาและเด็กก�ำพร้า เป็นผูด้ ำ� เนินการน�ำผลอินทผลัมไปมอบให้ชาวมุสลิมนัน้ มูลนิธศิ รัทธาชนฯ ได้น�ำเรียน ฯพณฯ จุฬาราชมนตรี เพื่อกรุณาทราบพร้อมแต่งตั้งคณะ ที่ปรึกษา คือ 1. อาจารย์สมศักดิ์ ชุ่มชื่น 2. อาจารย์พรชัย จุฑามาศ 3. อาจารย์ภักดี มะแอ 4. อาจารย์ ดร.ประภาส พ่วงศิริ 5. อาจารย์ไพศาล พรมยงค์ 6. ฮัจยียาซีน ลีวัน 7. คณะกรรมการบริหารมูลนิธิศรัทธาชนฯ เป็นคณะทีป่ รึกษา พิจารณาด�ำเนินการน�ำผลอินทผลัมพระราชทาน ไปมอบให้กับคณะกรรมการมัสยิดทั่วประเทศ ครอบครัวเด็กก�ำพร้า ยากจน ผู้ต้องขังมุสลิมในเรือนจ�ำ ฯลฯ ในส่วนของมัสยิดภาคใต้ 5 จังหวัดชายแดน (ศอ.บต.) จ�ำนวน 2,410 มัสยิด , ภาคใต้ 9 จังหวัด 812 มัสยิด, ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 20 12
สารศรัทธาชน
มู ลนิธิศรัทธาชนเพื่อการศึ กษาและเด็ก ก�ำพร้า ได้รบั มอบหมายภาระกิจอันส�ำคัญยิง่ เนื่องในโอกาสเดือนรอมฎอนอันประเสริฐที่ ย่างก้าวมาถึงปี นี้ ฮ.ศ. 1435 นัน้ ก็คือ บริษัทอินทผลัม อัรรอยีฮียะห์ในเครือ ธนาคารอัรรอยีฮ่ี ราชอาณาจักรซาอุ ดิ อารเบีย ขอพระราชทานน้อมเกล้าฯถวายผล อินทผลัม แด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู ห่ วั ผ่านสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรม ราชกุมารี จ�ำนวน 60 ตัน เพือ่ พระราชทาน แก่ชาวมุ สลิมในประเทศไทย ในเดือนรอม ฎอน ฮ.ศ.1435 (มิถุนายน – กรกฏาคม 2557)
จังหวัด 50 มัสยิด, ภาคเหนือ 17 จังหวัด 68 มัสยิด , ภาคตะวันออก 8 จังหวัด 152 มัสยิด, ภาคตะวันตก 6 จังหวัด 46 มัสยิด, ภาค กลาง 11 จังหวัด 157 มัสยิด, กรุงเทพฯ 186 มัสยิด รวมทัง้ สิน้ 3881 มัสยิด มูลนิธิฯด�ำเนินการน�ำส่งโดยได้รับการประสานความร่วม มือจากองค์กรต่างๆ ศูนย์อ�ำนวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้ ฝ่ายซะกาตสังคมสงเคราะห์กรรมการกลางอิสลามแห่งประเทศไทย คณะกรรมการอิสลามประจ�ำจังหวัด คณะกรรมการมัสยิด กลุ่มชาบ๊าบอาสา , มูลนิธิศรัทธาชน , ยาตีมทีวี โรงเรียนกันซูรซอลิฮีน เพื่ออ�ำนวยบริการน�ำผลอินทผลัมพระราชทานส่งมอบให้กับคณะ กรรมการมัสยิด เพือ่ ส�ำหรับมุสลิมได้ละศีลอด ในเดือนรอมฎอน ต่อไป ขอขอบคุณบริษทั อัรรอยีฮยี ะห์ ราชอาณาจักรซาอุดอิ ารเบีย ขออัลลอฮฺ (ซบ.) ได้ประทานความสันติสุขตลอดไป ญาซากั้ลลอฮฺฮุค็อยร็อน
บัยตุลมาล
ศรัทธาชน
บัยตุลมาลคืออะไร บัยตุลมาลก็คอื บ้าน แห่งทรัพย์สนิ หรือกองคลัง สถานทีอ่ นั เป็ น ที่ ร วมของทรั พ ย์ เ งิ น ทองจนเป็ น กองทีใ่ หญ่โต ถึงระดับรัฐเป็นฝ่ ายบริหาร ก็จะเรียกเป็นทบวงหรือกระทรวงการ คลังท�ำนองนัน้ ในสมัยท่านรอซูล มีการรวบรวมเงินจากซะกาต, เงิน บริจาค, เข้ามา บริหาร เพื่อช่วยเหลือเป็นสวัสดิการสังคม ต่อเนือ่ งถึงบรรดาคอลีฟะฮ์ผทู้ รงคุณธรรมก็ปฏิบตั สิ บื ทอด แล้วตั้งเป็นบัยตุลมาล คือการรวบรวมเงินซะกาตเงิน บริจาคอืน่ ๆ จึงเป็นสถาบันรวบรวมซะกาตทีม่ พี ลัง เพือ่ ให้ ความช่ ว ยเหลื อ คนที่ อ ่ อ นแอ ดู แ ลคนที่ จ ะต้ อ งได้ รั บ อนุเคราะห์เกื้อหนุน จุนเจือ ให้มีศักยภาพ เพื่อสร้างความ เข้มแข็งให้เกิดขึ้นในสังคม สารศรัทธาชน 13
ถ้าจะว่าไปมูลนิธิศรัทธาชนฯก็มีบัยตุลมาลมาแล้วกว่า 15 ปี เพราะ มีการรวบรวมซะกาตเงินทีพ่ นี่ อ้ งผูบ้ ริจาคตัง้ เป็นฝ่ายการเงินจัดเป็นกองทุน บริหารจัดการมอบให้กบั บรรดาครอบครัวเด็กก�ำพร้าทีย่ ากจน มีการมอบ ทัง้ ครัง้ คราวและประจ�ำทีท่ ำ� เป็นรายเดือน เป็นบัยตุลมาลเล็กๆ ปัจจุบนั กองทุนรับบริจาคเติบโตขึน้ จึงมีการจัดการสงเคราะห์ชว่ ยเหลือสังคมใน มิตติ า่ งๆมากขึน้ มิได้เฉพาะแต่ครอบครัวเด็กก�ำพร้าเท่านัน้ หากแต่ยงั ให้ ความช่วยเหลือแจกจ่ายไปยังคนยากจนในวงกว้าง ตามทีอ่ ลั กุรอานก�ำหนด ว่าซะกาตเป็นสิทธิ์ของบุคคล 8 ประเภท ได้แก่ คนยากจน, คนขัดสน, คนที่มีหัวใจโน้มมาสู่อิสลาม, ผู้มีหน้าที่จัดการเรื่องซะกาต, ผู้มีหนี้สิน ล้นพ้นตัว, เพื่อกิจการในหนทางของพระเจ้า, ผู้เดินทาง
บัยตุลมาลศรัทธาชนในการด�ำเนินงาน 1. การจัดเก็บ 2. การจัดการ 3. การจัดสรรค์
องค์กรใช้ระบบการวางแผนการด�ำเนิน ตรวจสอบการท�ำงาน และ ติดตามความประเมินผลการจัดการดูแลเงินทองด้วยความระมัดระวัง โดย รักษาวินัยทางการเงินการคลังอย่างเคร่งครัด
การจัดสรร
คือการบริหารน�ำกองทุนซะกาตไปสูภ่ าคประชาชนทีจ่ ะได้รบั ทุน โดย พิจารณาจัดการขอความช่วยเหลือในภาวะความต้องการด้านต่างๆ รวม 4 ป. คือ 1.ปากท้อง (เศรษฐกิจ) 2.ปัญญา (การศึกษาเรียนรู้) 3.เป็นอยู่ (สวัสดิการสังคม) 4.ประดิษฐ์ประโยชน์ (สวัสดิการวัตถุหรือสิ่งก่อสร้าง)
บัยตุลมาลศรัทธาชนกับการขับเคลื่อน
กองทุนบัยตุลมาล ที่จะไหลลงสู่ผู้รับคือผู้บริโภคนั้นจัดเป็นเส้นทาง กองทุน 4 เส้นทาง คือ - ซะกาตเกื้อกูล การจัดเก็บ - กองทุนไม่สลาย คือการรวบรวม ซะกาต หรือการบริจาคเกิดจากการศรัทธาของผูใ้ ห้ อย่างแท้จริง ได้มาโดยวิธีจัดงานหาทุนรวมทั้ง สื่อโทรทัศน์ยาตีมทีวี, สื่อ - แฟรนไชส์ซอดะเกาะห์ วิทยุ, และอินเตอร์เน็ตประชาสัมพันธ์ ตลอดจนสื่อลูกโซ่ โอภาปราศรัย - สงเคราะห์สังคม ปากต่อปากทีแ่ นะน�ำ จนผูศ้ รัทธาชาวมือบนมอบความไว้วางใจร่วมบริจาค กลายเป็นกองทุนช่วยเหลือที่มากขึ้น
การจัดการ
1. โทรศัพท์ “ เริม่ ตัง้ แต่มคี นโทรเข้ามาแจ้งความประสงค์ทจี่ ะบริจาค ซึ่งมีอยู่สองแบบ คือ ให้พนักงานของเราไปรับ หรือว่าจะน�ำเข้ามาให้ที่ มูลนิธิเอง หรือโอนเงินเข้าบัญชีธนาคารกรุงเทพ หรือธนาคารอิสลาม 2. ตู้เซฟ “ เมื่อเราได้รับเงินแล้ว เราจะออกใบเสร็จรับเงินโดยฝ่าย บัญชีและเงินจะถูกเก็บไว้ในเซฟ พอตกเย็นทางเหรัญญิกจะน�ำเงินไป และ ทุกๆสามวันจะน�ำเงินมาเช็คยอดว่าเป็นเงินเท่าไร ซึ่งจะมีกรรมการสาม คนที่ดูแลเรื่องการเงิน จะเป็นคนตรวจสอบและรับรู้ ” 3. บัญชีธนาคาร “ หลังจากตรวจยอดเสร็จเรียบร้อยแล้ว จะน�ำเงิน เข้าไปเก็บไว้ในบัญชีซึ่งภายในมูลนิธิจะมีเงินอยู่ในเซฟไม่เกินหนึ่งหมื่น บาท ส่วนที่เหลือจะน�ำเข้าบัญชีธนาคารทั้งหมด 14
สารศรัทธาชน
ซะกาตเกือ้ กูล คือการช่วยเหลือเป็นรูปปัจเจกบุคคลที่อยู่ในกลุ่มของ
ครอบครัว เช่นการมอบทุนการศึกษาให้กับเด็กก�ำพร้าหรือให้ผู้ที่มีความ เป็นอยู่ไม่ปกติสุข หรือบุคคล 8 ประเภท ความอัลกุรอานระบุไว้ ในการ มีสิทธิ์ได้รับซะกาต กองทุนไม่สลาย เกิดจากแนวความคิดของผู้ประสงค์บริจาคเงิน ต้องการช่วยเหลือผู้เดือดร้อน พร้อมต้องการให้ผู้รับโครงการนี้ ได้สร้าง โอกาส คือมีความมุ่งมั่น มานะ อดทน ฝึกเป็นผู้มีวินัยการใช้จ่ายเงิน โดย ให้ขอยืมเงินไปใช้แล้วน�ำส่งคืนเพือ่ สามารถผ่อนคลายความเดือดร้อน เช่น กรณีเป็นหนีเ้ งินกู้ มีรายได้เป็นประจ�ำ แต่ยงั มีความเดือดร้อน หรือมีความ จ�ำเป็นล่วงหน้าที่จะต้องใช้จ่ายเงิน กองทุนจะช่วยผ่อนคลาย ไม่ต้องไป หยิบยืมเงินคนอื่นหรือต้องเสียดอกเบี้ยในอัตราสูง การที่ไม่ต้องจ่ายค่า ดอกเบี้ยก็มีรายรับเข้ามา ท�ำให้มีสภาพความเป็นอยู่ดีขึ้น แฟรนไชส์ซอดะเกาะห์ เป็นแนวความคิดช่วยเหลือคนยากจน ที่ ต้องการพลิกวิถีชีวิตสร้างโอกาสให้มีฐานะความเป็นอยู่ที่ดีขึ้นด้วยการ ประกอบอาชีพ ทีม่ สี ญ ั ลักษณ์การค้าเป็นทีน่ ยิ ม ประกอบการง่ายแต่มรี าย ได้ผลตอบแทนการขายที่ดีพอสมควร ที่ผู้ค้าเจ้าของแฟรนไชส์ประสบ ความส�ำเร็จในกิจการค้ามาแล้ว โครงการนี้เข้าต�ำราให้ทั้งเบ็ดและปลา กล่าวคือ ให้ทงั้ ความรู้ ให้ทงั้ เงินทุน ให้โอกาส โดยผูเ้ ข้าร่วมโครงการจะต้อง 1. มีความสมัครใจ มีความตั้งใจ ยอมรับกฎระเบียบการด�ำเนินการ 2. มีสภาพร่างกายพร้อมที่จะประกอบอาชีพการค้าได้ 3. เข้าร่วมโครงการใช้เวลา 3 วัน ในการฝึกอบรม 3.1 วันแรกอบรมเรื่องการศรัทธาที่เข้มแข็งก่อน
3.2 วันที่สองอบรมเรื่องอาชีพ 3.3 วันที่สามลงพื้นที่ปฏิบัติการจริง 4. สอนการจัดการระบบบัญชี 5. ขณะที่ท�ำการค้าขายเมื่อถึงเวลาละหมาดต้องละหมาดในสถาน ที่ท�ำการค้า 6. ประเมินผลการด�ำเนินการเสนอมูลนิธิฯ อย่างต่อนื่อง โครงการนี้ทางมูลนิธิฯจะเป็นผู้ด�ำเนินการออกค่าใช้จ่าย การอบรม และการลงทุนทางการค้าให้ทั้งหมด เพื่อต้องการสร้างและพลิกชีวิตชาว มือล่าง ให้เป็นชาวมือบน เพื่อต่อยอดความดีและสร้างโอกาสช่วยเหลือผู้ อื่นต่อไป สงเคราะห์สังคม มูลนิธิฯตั้งหน่วยบรรเทาทุกข์ เพื่อช่วยเหลือพี่น้อง ร่วมสังคม กรณีเกิดเหตุการณ์ภัยธรรมชาติ หรือเหตุการณ์การท�ำลาย มนุษย์ กรณีผลู้ ภี้ ยั ชาวโรฮิงยา ชาวซีเรีย ชาวอุยกูร์ ตลอดจนงานสาธารณะ ประโยชน์ เพื่อหนทางของพระผู้เป็นเจ้า เช่นการก่อสร้างสถานศึกษา สถานพยาบาล ห้องสมุด ถนนหนทาง ฯลฯ เพื่อเกิดสวัสดิภาพและความ จ�ำเริญของสังคมส่วนรวม มูลนิธศิ รัทธาชน คือมือทีป่ ระสานระหว่างชาวมือบนและมือล่าง ผ่าน กองทุนบัยตุลมาลศรัทธาชน น้อมรับความคิดเห็นข้อเสนอแนะด้วยความ ยินดีสามารถติดต่อมูลนิธิศรัทธาชน โทร.02-9343495 แฟกซ์. 02-9343496 E-mail: Satthachonfoundation@hotmail.co.th
สารศรัทธาชน 15
ของขวัญจากพระเจ้า อัจฉรา กระจ่างพัฒน์
เมือ่ 12 ปีกว่าๆ ทีผ่ า่ นมาฉันยังจ�ำได้แม่นย�ำ เพราะเป็นวันทีค่ รอบครัว ของฉันสูญเสียป๋าของฉันซึ่งเป็นหัวหน้าครอบครัว เป็นเสาหลักของบ้าน ทิ้ง 6 ชีวิตให้อยู่สู้ในโลกดุนยาต่อไป คือมะห์ฉัน พี่ชายฉันและน้องเล็กๆ อีก 3 คน ฉันจ�ำได้กลางดึกคืนวันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2545 มีคนมาบอกว่า ป๋าของฉันถูกรถชนตาย ป๋าฉันมีอาชีพขับรถสองแถว เคยกลับบ้านเวลา 5 ทุม่ ทุกวันแต่วนั นัน้ ป๋าไม่กลับตามเวลา มะห์และฉันก็รอจนหลับ พอตืน่ เช้าจึงรู้ข่าวว่าป๋าตายแล้ว ผู้คนช่วยกันน�ำมัยยัตมาท�ำพิธีและฝังจนเสร็จ มะห์ฉันพูดว่าไม่น่าใช่ ท�ำไมใช่ป๋า ท�ำไมทิ้งฉันและลูกๆไปแบบนี้จะอยู่กัน อย่างไรไม่รอดแน่ๆเลย พอฉันและมะห์เสร็จจากฝังป๋า ก็กลับบ้านแล้วมา นัง่ รวมกันว่าเป็นความจริงหรือนี้ เราไม่มปี า๋ แล้วทุกคนรูส้ กึ เศร้าใจร้องไห้ กันใหญ่ ฉันสงสารมะห์มากที่สุดมองดูน้องเล็กบนเบาะน้องอายุแค่ 2 เดือน ตัวเล็กนิดเดียวมะห์บอกว่าจะไปหางานท�ำแล้วเดี๋ยวไม่มีเงินให้ลูก ต้องเอาน้องไปจ้างเลี้ยงวันละ 50 บาท ส่วนมะห์ก็ไปรับจ้างร้านถ่าย เอกสารในตัวเมืองอยุธยา ได้ค่าจ้างวันละร้อยกว่าบาท วันแรกๆก็นั่งมอง หน้ากันทัง้ บ้าน เพราะไม่เข้าใจชีวติ เท่าไร เวลาไม่มปี า๋ แล้วรูส้ กึ ว่าขาดอะไร ไปหมด มะห์นั่งมองดูน้องเล็กๆน�้ำตาก็ไหลตลอดเวลา
16
สารศรัทธาชน
เวลาผ่านไปชีวิตก็อดๆอยากๆ เพราะมะห์ไม่มีเงินค่าใช้จ่ายค่าเลี้ยง น้องวันละ 50 บาท ค่าขนมไปโรงเรียนของฉันกับพีแ่ ละน้องอีก ค่ากับข้าว ฉันเพิ่งจะรู้ว่าความจนมันเป็นแบบนี้ ไม่มีอะไรกิน กินอิ่มแล้วมื้อต่อไปจะ กินอะไร จนวันหนึ่งครูไพเราะ สมบูรณ์ ซึ่งเป็นครูสอนที่โรงเรียนวันครู ก็ถามว่าอยูก่ นั อย่างไรเพราะครูบอกว่าสอนป๋าฉันมาตัง้ แต่เล็กๆ และก็มา สอนฉันสอนพี่ฉันอีก ฉันจึงเล่าชีวิตให้ฟัง ครูไพเราะจึงช่วยเหลือและยังมี ครูสุดา ครูอารียา ที่คอยช่วยเหลือเราพี่น้องทางด้านการเงินทุกคนจึงพอ อยู่รอดได้ ต่อมาครูไพเราะให้มะห์เขียนประวัติชีวิตและความยากล�ำบากของ ครอบครัวบอกว่าจะส่งไปให้มูลนิธิ ตอนแรกฉันไม่รู้จักว่ามูลนิธิอะไรรู้ แต่ว่าถ้าเขารู้เรื่องแล้วจะให้เงินมาช่วยเหลือและก็ได้จริงๆ เดือนละ 600 บาท โดยส่งธนาณัตมิ าทีค่ รูไพเราะ ครูไพเราะก็เอาเงินมาให้และเงินอืน่ ๆ อีก ที่ครูไพเราะเอามาให้ทุกเดือน ตอนหลังจึงรู้ว่าชื่อมูลนิธิศรัทธาชน เพือ่ การศึกษาและเด็กก�ำพร้า มีผใู้ หญ่มาเยีย่ มและน�ำของกินมาให้ น�ำเงิน มาให้และสอนให้ฉันรู้จักขอบคุณอัลลอฮฺ(ซ.บ.) ฉันคลุมฮิญาบ มะห์ฉัน
คลุมฮิญาบและละหมาด 5 เวลา ขอบคุณอัลลอฮฺที่ให้ริสกี แก่ครอบครัว ของฉันได้มีกินมีใช้ ตอนผู้ใหญ่มาเยี่ยมฉันอยู่บ้านเช่า เป็นห้องแถวเล็กๆ ค่าเช่าเดือนละ 1,000 กว่าบาท เพราะบ้านเดิมที่ฉันอยู่กับป๋าเป็นบ้าน ของอาน้องสาวของป๋า อยูช่ ายน�ำ้ แล้วน�ำ้ มันท่วมออกมาถนนล�ำบากเวลา ไปโรงเรียนต้องลุยน�้ำเข้าออกทุกวัน จนวันหนึ่งน้องคนหนึ่งเกือบจม น�ำ้ ตายและบ้านอาก็เล็กคับแคบ ฉันและมะห์จงึ แยกออกมาเช่าบ้าน แถว วัดขุนพรหมไกลโรงเรียน ซึ่งต้องนั่งรถสองแถวไปโรงเรียนที่อื่นก็ไม่มีให้ เช่า ค่าใช้จ่ายมะห์จึงเพิ่มขึ้น มะห์ต้องไปติดหนี้ร้านค้าหน้าห้องเช่ามากิน เช่นน�้ำมัน ข้าวสาร จนนานๆมะห์ไม่มีเงินจ่ายให้เขา มะห์ก็มาเล่าให้ ครูไพเราะฟัง ครูไพเราะก็ไปเล่าให้ผู้ใหญ่ในมูลนิธิฯฟังถึงปัญหาของ ครอบครัวของฉัน ต่อมาครูไพเราะก็บอกว่าทางมูลนิธิฯจะช่วยปลดหนี้ และสร้างบ้านให้ โดยประกาศทางรายการวิทยุวา่ มีผใู้ หญ่ใจดีบริจาค บ้าน เก่าในกรุงเทพฯและจะรื้อมาปลูกในที่ที่ป๋าฉันได้จากพ่อแม่ ฉันและมะห์ ฟังวิทยุทุกเช้าก็ดีใจ และครูไพเราะบอกให้เลิกเช่าบ้านและให้ไปอยู่บ้าน เก่าหลังหนึ่งซึ่งเจ้าของบ้านไปอยู่ที่อื่น และให้ฉันกับครอบครัวไปอยู่ ชัว่ คราวจนกว่ามูลนิธฯิ จะสร้างบ้านเสร็จ บ้านทีอ่ ยูห่ ลังคาพังแล้วเวลาฝนตก น�้ำไหลลงมาเปียกหมด มะห์ก็บอกว่าให้อดทนอีกหน่อยก็จะมีบ้านแล้ว ช่วยกันละหมาดขอดุอาฮฺให้บ้านเสร็จเร็วๆ จนวันหนึ่งมีรถขนไม้เก่าและกระเบื้องมากองไว้ที่ที่ของป๋า ฉันพี่ชาย และมะห์ก็มาล้างกระเบื้องช่วยเขาท�ำบ้านมองดูทุกวันจนผู้ใหญ่ใจดีท�ำ บ้านเสร็จเรียบร้อย ฉันและมะห์มองดูบ้านแล้วรู้สึกดีใจมากที่สุดมีคนมา บริจาคติดไฟฟ้าให้ ฉันฟังวิทยุเขาเรียกว่าชาวมือบนบ้าง ท่านผูใ้ หญ่ใจดีบา้ ง มากมายจนฉันซึง้ ใจ และบ้านศรัทธาชนหลังที่ 1 ก็เสร็จ ทีฉ่ นั เรียกว่าบ้าน ศรัทธาชนเพราะวันหนึง่ มีรถบัสพาคนมาเต็มบ้านมาทีบ่ า้ นของฉันน�ำเงิน มาให้ เอาแผ่นป้ายมาติดบ้านศรัทธาชน1 ยังติดจนถึงปัจจุบัน ฉันเดินเข้า บ้านจะต้องแหงนมองทุกครั้งที่เข้าบ้าน มันท�ำให้ฉันนึกถึงชีวิตที่ผ่านมา ตอนนี้ฉันอยู่ ม.3 พี่ชายอยู่ ม.4 น้องๆก็โตขึ้นมาเข้าโรงเรียนกันทุกคน มะห์ก็ท�ำงานร้านถ่ายเอกสารเหมือนเดิมชีวิตก็ดีขึ้น ก็นึกถึงบุณคุณของ ชาวมือบนและมูลนิธิฯมาก ได้ไปร่วมงาน 2 ครั้ง ไปขึ้นเวทีพูดกับมะห์ ฉันดีใจที่ได้บ้าน มะห์บอกว่าคนอื่นๆแย่กว่าเราก็มี ครอบครัวเราถือว่า อัลลอฮฺชว่ ยเหลือเราจริงๆ เราต้องเป็นเด็กดีของสังคม มะห์บอกความรูส้ กึ มาว่า ความรู้สึกของมะห์เสียใจมาก ตอนที่ป๋าตายคิดว่าจะอยู่กันอย่างไร แต่มะห์กอ็ ดทน สอนให้ลกู อดทนด้วย มะห์บอกว่าอัลลอฮฺทรงทดสอบเรา คนที่แย่กว่าเราก็มีเยอะแยะ เราจะท้อท�ำไมเกิดมามีลูกตั้ง 5 คน ลูกที่เรา รักและลูกก็เป็นเด็กดีไม่เกเรท�ำความเดือดร้อนมาให้ ลูกไม่เคยท�ำให้มะห์ เสียใจเลย อัลลอฮฺให้กบั เราจริงๆ มะห์บอกว่าขอให้ผอู้ า่ นบทความนีส้ งสาร เด็กก�ำพร้าทุกคน ทีก่ ลับถึงบ้านและไม่เคยเรียกค�ำว่าป๋า เพราะไม่มปี า๋ อยู่ ในบ้านแล้ว ตอนนีค้ วามรูส้ กึ ของมะห์มอี ยูอ่ ย่างเดียวคือ ขอเลีย้ งลูกให้โต เป็นผู้ใหญ่ที่ดีอยู่ในแนวทางของอิสลามก็พอแล้ว สอนลูกให้รู้จักขอบคุณ คนที่บริจาคเงินของกินของใช้และบ้านศรัทธาชนให้กับเรา เรามีชีวิต ที่ดีขึ้น เพราะอัลลอฮฺให้ชาวมือบนสงสารเรา ขอบคุณมูลนิธิฯที่ช่วย เหลือให้ครอบครัว ได้มีแรงสู้ต่อไปบ้านศรัทธาชนถือเป็นของขวัญ ชิ้นใหญ่จากพระผู้เป็นเจ้า สารศรัทธาชน 17
มูฮ�ำหมัด ก็มีวิถีเหมือนเด็กทั่วไป มีกลุ่มเพื่อน เวลาว่างๆของ เด็กๆก็คือมีการละเล่นบ้าง มิใช่ไปนั่งเล่นเกมส์คอมพิวเตอร์ในห้องเช่า แต่เป็นเกมส์พนื้ บ้าน เล่นลูกหิน ปาดินน�ำ้ มันบ้าง ทีไ่ ม่ตอ้ งเสียสตางค์มากนัก ขณะเล่นกับเพื่อนๆเขาจะแตกต่างจากเด็กคนอื่น ก็คือ เล่นไปแล้วคลอ เสียงอัล-กุรอานไปด้วย เพราะท่วงท�ำนองที่ไพเราะน่าฟังนี่เอง จนผู้หลัก ผูใ้ หญ่หลายคนทีผ่ า่ นไปมาก็ตอ้ งสะดุดหยุดฟังเด็กน้อย พร้อมเปรยชืน่ ชม หลายครัง้ ทีค่ ำ� ชืน่ ชอบถึงหูรอกียะห์ คุณแม่ของเด็กชายมูฮำ� หมัด จึงตัดสินใจ ส่งลูกไปฝึกอบรมการเรียนกุรอานเป็นพิเศษทีโ่ รงเรียนแสงธรรม หลอแหล สถาบันการสอนอัลกุรอาน ถึงแม้ระยะทางจากบ้านดอนที่จะไปเรียน อัลกุรอานค่อนข้างไกล แต่ครอบครัวสัจเทพก็ไม่ทอ้ เพราะรักลูกอยากเห็น ความส�ำเร็จของลูก ตกเย็นของวันจันทร์ อังคาร พุธ คุณแม่ผู้มุ่งมั่นจะ จูงมือลูกชายลงเรือจากบ้านดอนไปตามคลองแสนแสบจนถึงหลอแหล ตัง้ แต่เด็กเรียนชัน้ ป.2 ถึง ป.6 เป็นประจ�ำอย่างนี้ เป็นเวลา 5 ปี ทีม่ ฮู ำ� หมัด ขัดเกลา เพาะบ่ม ศาสตร์แห่งการอ่าน เพราะรัก สนใจ อดทน ฝึ กฝนกับการเรียน อั ล -กุ ร อาน จนกลายเป็ น เด็ ก นั ก อ่ า นที่ ดี มีความสามารถสูง ประสบความส�ำเร็จ จนได้ ชื่อว่าเป็นเด็กทีอ่ า่ นกุรอานได้ถกู ต้อง ไพเราะ น่าฟัง ที่ดีคนหนึ่งของประเทศไทย
ดาวบ้านดอน พรศิลป์
มู ฮ�ำหมัด สัจจเทพ
เด็กชายวัย 5 ขวบ ทุกเย็นหนูน้อยคนนี้ จะไปยืนเกาะรัว้ บ้านรวมเด็กไปยืนดู ไปฟังเพือ่ นๆ รุน่ พี่ ก�ำลังเรียนกุรอานที่ บ้านครูอิสมาแอล เปิดสอนให้กับเด็กๆในชุมชนบ้านดอนได้เรียนรู้ หลัง จากที่พวกเขากลับจากโรงเรียนสายสามัญ มูฮ�ำหมัดยังเข้าเรียนไม่ได้ เพราะวัยยังไม่ถึงเกณฑ์ ยังเป็นเด็กเล็กเกินกว่าที่จะรับตามระเบียบ ก�ำหนด แต่เพราะสนใจ และอยากจะเรียนรู้ เขายืนเกาะรั้วดูอยู่ทุกวันวัน แล้ววันเล่า จนครูอสิ มาแอลใจอ่อนยอมรับเด็กน้อยเข้าสูร่ วั้ บ้านอัลกุรอาน ไปเป็นลูกศิษย์อกี คนเข้าต�ำราตือ๊ ครองโลกจริงๆ แต่ความตือ๊ ของหนูนอ้ ย ไม่ใช่เพราะเกาะกระแสหรือแฟชัน่ แต่เพราะหัวใจเขาชอบฟังเสียงอัลกุรอาน เป็นพิเศษ มูฮำ� หมัดมาเรียนตัง้ แต่หกโมงเย็นถึงสองทุม่ ไม่เคยขาด ชนิดที่ แม่ไม่ต้องบอกต้องเตือนให้ไปเรียน มูฮ�ำหมัดสนใจ เอาใจใส่ จนสามารถ อ่านได้แตกตัวและคล่องแคล่วแซงเด็กรุ่นพี่ และที่ส�ำคัญเขามีซุ่มเสียงที่ จับใจไพเราะ มีท่วงท�ำนองจนครูเองก็ทึ่งในตัวลูกศิษย์ 18
สารศรัทธาชน
ชีวิตของมูฮ�ำหมัด ไม่ได้อยู่ในครอบครัวที่มั่งมี พ่อแม่มีอาชีพรับจ้าง มูฮำ� หมัดต้องช่วยครอบครัวบางวันเวลา เขาและน้องชายหิว้ ตระกร้าขนม ออกไปเร่ขายในชุมชน พอมีรายได้มาจุนเจือ แล้วชีวิตของมูฮ�ำหมัด ก็ถูกทดสอบครั้งส�ำคัญเมื่อต้นปี 2557 คุณพ่อ ของเขาถึงเวลาที่พระเจ้าเรียกกลับ เด็กชายนักอ่านกุรอานจึงกลายเป็น เด็กก�ำพร้า ท�ำให้แม่ของเขาต้องรับภาระหนักขึน้ ควบคูก่ บั การช่วยงานแม่ เรื่องการเรียนกุรอานของมูฮ�ำหมัดไม่ย่อท้อหรือละเลยแต่อย่างใด บนความระทมหม่นหมองของครอบครัวที่คุณพ่อของเขาต้องจากไป แต่ครอบครัวนี้ก็ได้รับการทดแทนที่ดี ตั้งแต่เขารัก สนใจ อดทนฝึกฝน กับการเรียนอัล-กุรอาน จนกลายเป็นเด็กนักอ่านที่ดี มีความสามารถสูง ประสบความส�ำเร็จ จนได้ชื่อว่าเป็นเด็กที่อ่านกุรอานได้ถูกต้อง ไพเราะ น่าฟัง ที่ดีคนหนึ่งของประเทศไทย เพราะเขาใฝ่ฝนั และตัง้ ใจอยากเป็นเด็กดี เป็นบ่าวทีพ่ ระเจ้าโปรดปราน จึงปฏิบตั ติ นตามทีน่ บีบอกไว้วา่ คนทีด่ ที สี่ ดุ ก็คอื คนทีเ่ รียนอัลกุรอานและ สอนอัลกุรอาน ท่านรอซูลได้กล่าวว่า “ บุคคลที่ดีที่สุด ที่ประเสริฐที่สุด ในหมู่สูเจ้า คือ ผู้ที่ร�่ำเรียนศึกาหาความรู้จากอัลกุรอาน และน�ำสิ่งที่ได้ เรียนรู้นั้นไปถ่ายทอดอีกทีหนึ่ง (ไปสอนผู้อื่นต่อ) ตั้งแต่เล็กจนโต 10 ปี บนถนนแห่งการเรียนรูก้ ารอ่านกุรอานของเด็กชายมูฮำ� หมัดเขาบรรลุตาม ที่ตั้งใจ และวางอนาคตชีวิตไว้ก็คือเป็นครูสอนกุรอาน บัดนี้พระองค์ อัลลอฮฺได้ประทานความส�ำเร็จให้กบั เขาแล้ว เด็กก�ำพร้าผูค้ ว้าฝันยอดนัก อ่านกุรอานทีไ่ พเราะ เด็กชายมูฮำ� หมัด สัจจเทพ เขาจึงเป็นเด็กทีเ่ สมือน ดาวดวงเด่นแห่งบ้านดอน
ค�ำสอนของ ท่านร่อซู ลุลลอฮฺ (ซ.ล.) อาจารย์อับดุลฆอนี บุ ญมาเลิศ
จากค�ำสอนของท่านร่อซูล ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิว่ะซัลลัม ส่วนหนึ่งใน การท�ำฮัจญ์อ�ำลานั้นคือขณะที่ท่านกล่าวคุตะบะฮฺ สั่งสอนว่า “...แท้จริงเลือดเนือ้ ทรัพย์สนิ และเกียรติยศชือ่ เสียงของพวกท่านนัน้ เป็นที่ต้องห้ามในหมู่ของพวกท่านกันเองเช่นเดียวกับ เป็นที่ต้องห้ามใน วันนี้ในเดือนนี้และในสถานที่แห่งนี้ ฉะนั้นใครที่เคยมีการล่วงละเมิดอย่างหนึ่งอย่างใด ต่อพี่น้องของเขา ก็จงได้ใช้คืนหรือขอยกโทษเสียแต่บัดนี้ ก่อนที่จะถึงวันที่เงินและทอง จะไม่ยังประโยชน์แต่อย่างใด!...” และในฮะดีษอีกตอนหนึ่งท่านกล่าวว่า “…หากตัวเขามีการงานที่ดีอยู่บ้าง ก็จะถูกยึดเอาไปตามขนาดการ กดขี่ข่มเหงผู้อื่น และหากไม่มีความดีใดๆอยู่เลย เขาก็จะถูกให้แบกบาป ของคนที่เขาได้ล่วงเกินไว้ ดังนัน้ ใครทีไ่ ด้เคยมีการล่วงเกินต่อกันในเรือ่ งหนึง่ เรือ่ งใดก็ตาม จงขอคืน เจ้าของแต่บัดนี้ ก่อนจะถึงวันที่ทั้งเงินและทองจะไม่มีราคาค่างวดใดๆ” ซึง่ ผูค้ นส่วนใหญ่กม็ กั จะไม่คำ� นึงถึงเรือ่ งสิทธิ ไม่ให้ความส�ำคัญต่อกัน และมั ก จะมุ ่ ง แต่ ห าผลประโยชน์ ใ ส่ ต นบนความเดื อ ดร้ อ นของผู ้ อื่ น จนกระทัง่ หาวิธกี ารต่างๆมาใช้เพือ่ ให้สมหวังในความนึกคิด ด้วยเล่ห์ ด้วยกล ด้วยมนตร์ ด้วยคาถา ลืมสิน้ ว่าตนนัน้ จะต้องจากไป ทิง้ ทุกสิง่ เอาไว้เป็นมรดก ของคนอื่น ดังที่อัลลอฮฺ ตะอาลา ทรงตรัสว่า “ ทุกชีวิตต้องลิ้มรสของความตาย....” แต่เขาคิดผิด คิดว่ารวยที่สุด ใหญ่ที่สุด โด่งดังที่สุดเป็นผู้มีชัยชนะ แต่ หารูไ้ ม่วา่ ชัยชนะทีแ่ ท้จริงไม่ใช่อย่างทีค่ ดิ นัน้ อัลลอฮฺ ตะอาลา ทรงตรัสว่า “ ใครที่ถูกให้เขาสวรรค์แล้วเท่านั้นคือผู้ชนะ ” ชีวติ แห่งดุนยาในโลกนี้ เป็นชีวติ ทีไ่ ม่ยงั่ ยืนเหมือนกับภาพลวงตา ดังที่ พระองค์ได้ตรัสว่า “...และชีวติ ความเป็นอยูแ่ ห่งโลกนี้ มิใช่อะไรอืน่ นอกจากสิง่ ทีอ่ ำ� นวย ประโยชน์แห่งการหลอกลวงเท่านั้น...” ท่านพี่น้องครับ ! มนุษย์ถูกให้เกิดมาเพื่อให้มีผลงาน และผลงานนั้นถูกบันทึกทั้งที่ดี และไม่ดี ส่วนที่ดีนั้นก็ควรสะสมให้มาก ที่ไม่ดีก็ควรจะก�ำจัดให้หมดไป ด้วยตัวท่านเองเพือ่ อนาคตจะได้สดใส แล้วลักษณะของคนทีด่ นี นั้ ก็ตอ้ งมี เงือ่ นไข สองประการคือ ตัง้ ใจดี และท�ำดี ตรงกันทัง้ ผลงานกับหัวใจ และ ที่ดีนั้นไม่ขัดกับหลักบัญญัติแห่งอิสลาม
ท่านร่อซูล ศ็อลลัลลอฮุอลัยฮิวะซัลลัม ได้กล่าวว่า “แท้จริงการงานต่างๆนั้นขึ้นอยู่กับเจตนารมณ์...” ดังนัน้ ท่านพีน่ อ้ งทีร่ กั ท่านพีน่ อ้ งผูศ้ รัทธาครับ ในวาระอย่างนี้ ก็สมควร อย่างยิง่ ทีท่ กุ คนจะได้ทำ� การทบทวนตนเอง ก่อนทีจ่ ะหมดโอกาสชีวติ ลง ดังที่ท่านอุมัร บินค็อฎฏอบ(ร.ฎ.) ได้ขอไว้ว่า “ท่านทั้งหลายจงคิดบัญชีของตนก่อนที่พวกท่านจะถูกคิดบัญชี” “แท้จริงแล้วการสอบสวนคิดบัญชีนั้นจะง่ายดายในวันกิยามะฮฺ ส�ำหรับคนที่คิดบัญชีของตนเองมาก่อนตอนที่อยู่ในโลกดุนยา...” และเพือ่ ให้คมุ้ คุณค่าในทุกสิง่ เราก็ตอ้ งให้หมดไปในส่วนทีเ่ ป็นประโยชน์ อย่าได้ฟมุ่ เฟือย สุรยุ่ สุรา่ ย และต้องขอบคุณต่ออัลลอฮฺ ตะอาลา ด้วยการ ใช้จ่ายส่วนต่างๆ ไปในหนทางของพระองค์ ซึ่งในวันนี้และอีกหลายวัน ที่เราทุกคนจะต้องเพิ่มความดี สร้างสัมพันธ์ไมตรีต่อกันด้วยการหยิบยื่น นับตัง้ แต่ญาติใกล้ชดิ และห่างไกล ตลอดจนผูเ้ ดือดร้อน ทัง้ หมดนัน้ เป็นการ ท�ำตามหลักของอิสลาม และเป็นส่วนหนึง่ ของการขอบพระคุณต่ออัลลอฮฺ ตะอาลา เมือ่ พระองค์ทรงโปรดปรานแล้ว พระองค์กจ็ ะทรงให้เพิม่ อีกยาวนาน ทีส่ ดุ และถ้าพระองค์ทรงกริว้ ก็อาจจะงดให้หรือตัดการช่วยเหลือ! พระองค์ ตรัสว่า “แน่นอนหากพวกท่านมีการขอบพระคุณ ข้าก็จะเพิม่ พูนให้พวกท่าน และหากพวกท่านเนรคุณ แท้จริงแล้วการลงโทษของข้าจะรุนแรงยิ่ง” หวังเป็นอย่างยิง่ ว่าทุกท่านคงจะได้เพิม่ พูนความดีให้ตนเองจนเต็มเปีย่ ม และถึงแล้วซึง่ สวนสวรรค์ ดังทีน่ บี ศ็อลลัลลอฮุอลัยฮิวะซัลลัม ได้กล่าวว่า “คนมุมินจะไม่เต็มอิ่มจากสิ่งที่ดีซึ่งเขาได้ยินมาจนกระทั่งเขาถึงแล้ว ซึ่งสวนสวรรค์” และในบางครัง้ ผูค้ นทัง้ หลาย ก็มกั จะนึกคิดว่าสิง่ ทีไ่ ด้ทำ� การบริจาคหรือ ท�ำบุญไปนัน้ มันสิน้ เปลือง หรือหมดไปจากกระเป๋า ซึง่ นัน้ เป็นการมองเห็น ส่วนผิวเผินเท่านั้น เพราะอัลลอฮฺ ตะอาลา ทรงตรัสว่า “และความดีใดๆ ที่พวกเขาได้ประกอบล่วงหน้าไว้ส�ำหรับตัวของ พวกเจ้าเอง พวกเจ้าก็จะพบมัน ณ ที่อัลลอฮฺ อัลลอฮฺนั้นทรงเห็นในสิ่ง ที่พวกเจ้าปฏิบัติกันอยู่”
สารศรัทธาชน 19
[ บททดสอบของนบีอัยยู บ ] อ.ฮานาฟี อามีน
นี่เป็นประวัติของอัยยูบที่อัลลอฮฺเล่าให้ฟัง รายละเอียดให้เราดูใน สูเราะฮฺศอดมีเรื่องเกี่ยวกับอัยยูบดังนี้ และจงร�ำลึกถึงบ่าวของเราคืออัยยูบ ขณะทีเ่ ขาวิงวอนพระผูเ้ ป็นเจ้า ของเขาว่า ชัยฏอนมันได้มาสร้างปัญหาความทุกข์ยากระทม ความทรมาน แก้ข้าพระองค์ ( 38:41) ตรงนี้ให้เราดูว่าจากประวัติศาสตร์นั้น อัยยูบเป็นคนมั่งมีคนหนึ่งใน กรุงโรม อัลลอฮฺทรงคัดเลือกให้อัยยูบมาท�ำหน้าที่เผยแผ่บทบัญญัติของ พระองค์ ท�ำหน้าทีช่ แี้ จง เป็นแบบอย่างแก่ประชาชาติ อัยยูบเป็นคนทีเ่ ปีย่ ม ไปด้วยความกรุณา ช่วยเหลือคนเจ็บป่วย คนยากจน ช่วยเหลือคนเดินทาง ที่ขัดสน เลี้ยงเด็กก�ำพร้า ดูแลแม่ม่าย ช่วยทุกสิ่งทุกอย่างอย่างเต็มความ สามารถในฐานะทีเ่ ขาเป็นคนมีฐานะ เป็นคนมัง่ มี ตอนนัน้ เขามีครอบครัว มีลูก 14 คน เป็นชาย 7 คน หญิง 7 คน ต่อมาอัลลอฮฺได้ทรงทดสอบ อัยยูบด้วยการให้รา่ งกายของเขาซูบผอมลง ลูกๆ ก็ตายไปทัง้ หมด 14 คน ทรัพย์สมบัตทิ มี่ อี ยูก่ เ็ อามาใช้จา่ ยในการรักษาจนหมดสิน้ ตอนอัยยูบมัง่ มี จะมีพวกพ้องมากมาย มีคนมาดูแลเยี่ยมเยียนเยอะ รู้จักเยอะ พออัยยูบ หมดแล้ว ลูกก็ตาย ทรัพย์สมบัติก็ไม่มีเหลือ ร่างกายซูบผอม บางครั้งจะ พบทีร่ า่ งกายจะมีหนอนติดอยูท่ เี่ นือ้ ของเขา ในสภาพอย่างนีผ้ คู้ นจึงตีจาก ไปหมด ที่เกิดขึ้นอย่างนี้อัยยูบไม่เคยปริปากว่าอัลลอฮฺลงอะซาบ อัยยูบ บอกว่า ชัยฏอนมันมาประสพกับข้าพระองค์ ข้าพระองค์เป็นนบี เป็นผู้ที่ อัลลอฮฺคัดเลือกอัลลอฮฺยังให้เป็นอย่างนี้ ให้เกิดเหตุการณ์ต่างๆนานาขึ้น ไม่ใช่เป็นการอะซาบให้เรารู้ตรงนี้ด้วย แต่เป็นการทดสอบอัยยูบ ไม่ใช่ว่า เป็นคนเลวมาก่อน อัยยูบเป็นคนดีและก็ดสี ดุ ๆ แต่อลั ลอฮฺทดสอบให้หมด สิ้นเนื้อประดาตัว ลูกๆตายหมด ที่เหลือตอนนั้นเหลือภรรยาคนเดียว ใน สภาพที่อัลลอฮฺทดสอบคนที่ยึดมั่นและเป็นคนดี ถึงขนาดนี้เขาไม่มีค�ำว่า “อัลลอฮฺลงโทษ อัลลอฮฺลงอะซาบ” แต่เขาบอกว่า “ชัยฏอนมันสร้าง ปัญหา มันทรมานฉัน มันท�ำให้ฉันเจ็บป่วย มังลงอะซาบ” แล้วเราเล่าครับ เราประกาศว่าอัลลอฮฺเป็นเจ้า ทุกวันนีเ้ รามีความทุกข์ มากนักหรือครับเราถึงได้หลุดไปจากพระบัญชาของพระองค์อัลลอฮฺ “อย่างนั้นเขาก็ท�ำได้ซิ เขารวยแล้ว” ท่านจนยิ่งกว่าอัยยูบอีกหรอครับ ? อัยยูบไม่เหลืออะไรซ�้ำยังมีหนอน เพิ่มมาที่เนื้อตัวของเขาเหลือแต่ภรรยาอัยยูบก็ยัง “แน่น” หนักแน่นต่อ การศรัทธา ท่านยังไม่มีอะไรเลยหรือครับในบ้านของท่าน ? แล้วท�ำไมจึง หลุดออกจากพระบัญชาของอัลลอฮฺได้ จนกระทั่งภรรยาของอัยยูบบอก 20
สารศรัทธาชน
ว่า “เมือ่ ไหร่จะหายซักที เป็นอยูไ่ ด้อย่างนี”้ อัยยูบสาบานว่า “ถ้าหากฉัน หายป่วยเมือ่ ไหร่ฉนั จะเฆีย่ นเธอร้อยที” เพราะภรรยาพูดแค่วา่ เมือ่ ไหร่จะ หายซักที ถ้าภรรยาเราไม่คลุมศีรษะ ภรรยาเราละหมาดไม่ตรงเวลา ภรรยาเราไม่เอาใจใส่เรือ่ งศาสนา ท่านบอกอะไรกับเขาบ้าง ? หรือว่าท่าน ยินดีทจี่ ะนอนกับไฟนรกทีม่ นั สุมอยูข่ า้ งทีน่ อนท่าน นัน่ หรือครับทีเ่ ราบอกว่า อัลลอฮฺเป็นเจ้า เราบอกว่ามุหัมหมัดเป็นศาสนทูต แบบอย่างที่เราได้รับ คืออย่างนี้แล้วอะไรที่เราบอกว่า “อัชฮะดุอันลาอิลาฮะอิลลัลลอฮฺ” ตรง ไหน? ถ้าเรามองดูผลประโยชน์ของดุนยากับทีอ่ ยั ยูบถูกทรมาน เราอยูต่ รง ไหน? ลูกเราเป็นอย่างไร? ครอบครัวเราเป็นอย่างไร? พีน่ อ้ งเราเป็นอย่างไร ? เรากล้าปริปาก บอกเขา เตือนเขา เราท�ำไหม? เรามีแต่เกรงใจกันว่าเดี๋ยว จะขาดพี่ เดี๋ยวจะขาดน้องเพราะอิสลามไม่ให้ตัดญาติขาดมิตร ครับ อิสลามไม่ให้ตดั ญาติขาดมิตร แต่อสิ ลามก็ไม่ให้ผลักหลังญาติลง นรก ท่านรู้ไหมเล่าครับ เพราะฉะนั้นถ้าเราไม่บอก เขาก็คิดว่ามันถูกแล้ว “ ขนาดมันจบมาจากอาหรับมันยังไม่บอกเลย มันเห็นอยู่ต�ำตา” เขา ก็เข้าใจว่ามันถูกแล้ว เพราะฉะนัน้ ตรงนีม้ อี ะไรบ้างทีเ่ ป็นจุดแยกระหว่าง มุอ์มิน-มุสลิม-มุนาฟิก-บิดอะฮฺ-มุชริก-กุฟฟาร อะไรคือข้อแบ่งแยก ระหว่างเรา? คนที่เป็นมุอ์มินนั้น ญาติพี่น้อง ลูกเมีย คนที่เรารู้จักท�ำผิด อัลลอฮฺบอกว่าให้เราบอก ให้เราเตือน ให้เราชี้แจง หน้าที่ของเราคือการ บอก การเตือน การชี้แจง จงเตือนเถิด หากการเตือนนั้นมันยังประโยชน์ (87:9) แปลว่าการเตือนเป็นวาญิบ แต่วิธีการอัลลอฮฺให้ปัญญาท่านมาแล้ว ท่านจะเตือนอย่างไร วิธีไหนให้เขาเข้าใจ ให้เขายุติ ให้เขาปรับปรุง ให้เขา เปลี่ยนแปลง เป็นหน้าที่ของท่าน อัยยูบได้ขอต่ออัลลอฮฺ แล้วอัลลอฮฺก็บอกว่า “ฟัสตะญับนา” เราได้ ตอบรับการวิงวอนขอของอัยยูบ เราดูนะครับ อัยยูบเป็นคนอย่างดี ยึดมัน่ ถือมั่น เหตุการณ์ที่ประสพกับอัยยูบทุกอย่างเขาไม่เคยหลุดออกมาว่า อัลลอฮฺลงอะซาบ อัยยูบบอกว่า “นี่ชัยฏอนมันทรมาน” เพราะฉะนั้น เหตุการณ์ทเี่ กิดขึน้ และอัยยูบมีมารยาท มีจรรยา พูดจาบอกให้รวู้ า่ เราคือบ่าว อัลลอฮฺคอื พระเจ้า อัลลอฮฺยนื ยันว่าเราได้ตอบรับการวิงวอนขอของเขาแล้ว แล้วอัลลอฮฺก็สั่งว่า เจ้าจงเคาะเท้าของเจ้ากับพื้น (38:42) “เราะกะเฎาะ” ถ้าใช้กบั ม้าแปลว่า มันควบอย่างเร็ว อาการทีม่ นั ควบ อย่างเร็วนัน้ เท้าของมันจะเคาะกับพืน้ อย่างแรง หลังจากอัลลอฮฺให้นบีอยั ยูบ
เคาะเท้ากับพื้นแล้วก็มีตาน�้ำพุ่งออกมา อัลลอฮฺบอกว่า นี่มันเป็นน�้ำเย็น ที่ใช้อาบและใช้ดื่ม (38:42) ที่ใช้อาบเพื่อช�ำระล้างโรคภัยไข้เจ็บภายนอก แม้กระทั่งหนอนก็ให้ หมดไป แผลก็หายไปอย่างรวดเร็ว ที่ดื่มเข้าไปก็เพื่อรักษาโรคภายในที่ ท�ำให้ร่างกายซูบผอม นี่เป็นสิ่งที่อัลลอฮฺบอกให้รู้ว่าอัยยูบคืออย่างนี้ เราประกาศว่าอัลลอฮฺเป็นเจ้า อัลลอฮฺให้ศรัทธาให้เชื่อมั่นในนบีของ พระองค์อลั ลอฮฺทงั้ หมด เชือ่ ในพฤติกรรมทีน่ บีทงั้ หลายปฏิบตั ไิ ด้ทำ� เอาไว้ เป็นแบบอย่าง เราได้ให้ครอบครัวของเขาแก่เขา และได้ให้เยีย่ งนัน้ เพิม่ ขึน้ มาอีกแก่เขา จากพระกรุณาของเราและทั้งหมดนี้เป็นข้อเตือนสติส�ำหรับคนที่มีสติ ปัญญาทั้งหลาย (38 :43) นักมุฟัสสิรีนบอกว่า การที่อัลลอฮฺให้ลูกหลานของอัยยูบตายทั้งหมด 14 คน ผู้ชาย 7 ผู้หญิง 7 อัลลอฮฺได้คืนมาให้ กลุ่มหนึ่งบอกว่าอัลลอฮฺให้ ลูกหลานของอัยยูบที่ตายไปนั้นฟื้นขึ้นมา อีกกลุ่มหนึ่งบอกว่าไม่ใช่อย่าง นั้น แต่ลูกๆที่ตายไปทั้ง 14 คนนั้นอัลลอฮฺให้สัญญาว่าให้เข้าสวรรค์แล้ว ส่วนได้ให้เยี่ยงนั้นเพิ่มขึ้นมาอีกแก่เขาแปลว่าให้มีลูกหลานเกิดขึ้นมาใหม่ บนหน้าดุนยา ชายอีก 7 หญิงอีก 7 ดังนั้นตรงที่บอกว่าให้มาใหม่นี้จะมี ข้อแตกต่างในกลุ่มนักมุฟัสสิรีน จะเห็นว่าอัยยูบเป็นคนดีแต่อัลลอฮฺก็ทดสอบสุดๆ และถ้าหากว่าเรา ฝ่าฝืนดื้อดึง เมื่ออัลลอฮฺให้เกิดเหตุการณ์อะไรขึ้นเรามีสิทธิ์อะไรที่จะ โต้แย้งว่าเราดีขนาดนั้นขนาดนี้ ? การที่ภรรยาของอัยยูบบอกว่า “ขอต่ออัลลอฮฺได้ไหมว่าให้หายสักที ฉันเบื่อในการที่จะดูแลรักษาเธอแล้ว” อัยยูบถามภรรยาว่า “เราเสพสุข อยู่ก่อนที่จะเกิดเหตุการณ์น่ะกี่ปี?” ภรรยาตอบว่า “80 ปี” เขาพูดกับ ภรรยาว่า “ฉันละอายต่ออัลลอฮฺเหลือเกินในการทีฉ่ นั มีความสุขอยู่ 80 ปี แล้วชัยฏอนมันมารบกวนเราจนกระทั่งขอต่ออัลลอฮฺนี้เพียง 18 ปี” มีความสุขอยู่ 80 ปี ที่ได้ช่วยเหลือใช้จ่ายทรัพย์สมบัติลูกหลานที่ อัลลอฮฺให้มา แล้วการทดสอบแค่ 18 ปีเท่านั้น อัยยูบบอก “ฉันละอาย ต่ออัลลอฮฺเหลือเกิน” กลับมาดูตัวเรา เราภักดีต่ออัลลอฮฺกี่ปี มีความสุข กี่ปีแล้วเกิดอะไรขั้นบ้าง เราเคยมองไหมว่านี่เกิดอะไรขึ้น นี่เกิดอะไร นั่น คือลักษณะของมุอ์มินที่จะมองเห็น แต่ถ้าเกิดแล้วซ�้ำซาก ซ�้ำซาก ปีแล้ว ปีเล่ามองไม่เห็น เราจะรอให้อะไรเกิดกับเรา รอให้อัลลอฮฺพลิกแผ่นดิน หรือครับ รอให้ธรณีสบู หรือครับ รอให้นำ�้ ท่วมเหมือนกับประชาชาติในยุค ก่อนๆหรือครับ? เพราะฉะนั้นเราอย่าใช้ชีวิตอย่างไม่ใช้สติปัญญา ท่าน อ่านกุรอ่านท่านจะพบเสมอว่า พวกเจ้าไม่ไตร่ตรองดอกหรือ (6:80 ; 32: 4) พวกเจ้าไม่ใช้สติปญ ั ญา ดอกหรือ (2 :76 ; 12 : 109) พวกเขาไม่ได้พิจารณาดอกหรือ (88 :17) อายะฮฺเหล่านีบ้ อกให้รวู้ า่ ไม่ใช้สติปญ ั ญาหรือ แล้วทุกวันนีเ้ ราใช้หรือยัง เพราะฉะนัน้ ท้ายอายะฮฺนจี้ งึ บอกว่า และทัง้ หมดนีเ้ ป็นข้อเตือนสติสำ� หรับ คนที่มีสติปัญญาทั้งหลาย เราท�ำอะไรบ้างครับ เราปรับปรุงอะไรบ้าง เรา แก้ไขอะไรบ้าง บอกลูกเตือนลูกเราบ้างไหม ท�ำผิดฝ่าฝืน ดื้อดึงเราลงโทษ ลูกเราบ้างไหม อยูไ่ ปๆจนกระทัง่ ไม่รแู้ ล้วว่าลูกหรือพ่อ ไม่รแู้ ล้วว่าลูกหรือ แม่ บางทีบอกเขาเตือนเขากลับโดนลูกตวาดเข้าให้อีก นี่คือเราเลี้ยงจน กระทัง่ เป็นลูกบังเกิดเกล้าแล้ว แต่เราดูสคิ รับอัยยูบอดทนทุกอย่างอัลลอฮฺ ก็ทดสอบ แล้วเราไม่ได้แสดงอะไรให้เห็นว่าเชื่อฟัง ยึดมั่นถือมั่น เมื่ออะไร เกิดขึ้นท่านอย่าได้บ่น ต้องอดทนอดกลั้น
มนุษย์คิดหรือว่าเพียงแต่บอกว่าเราอีมานแล้ว อัลลอฮฺจะปล่อยปละ ละเลยเขาโดยไม่ทดสอบอะไรเลยก่อนถึงวันกิยามะฮฺ (29 :2) แน่นอนครับ อายะห์นี้ยืนยันว่ามนุษย์ต้องเจอการทดสอบ ดังนั้นมันเป็นหน้าที่ของเรา ทีจ่ ะต้องปรับปรุง ทีจ่ ะต้องเปลีย่ นแปลง แล้วมุอม์ นิ เมือ่ มันเกิดเหตุการณ์ อะไรขึ้นไม่ต้องโวยวาย ไม่ต้องตีโพยตีพาย ไม่ต้องน็อตหลุด เพราะมี รายงานจากท่านอบียะหฺยา ศุหัยบ์ บินสินานเล่าว่า ท่านเราะสูลสอนว่า “เรื่องของมุอ์มินนั้นมันเป็นเรื่องน่าทึ่ง ทุกเรื่อง เป็นเรือ่ งดีทงั้ หมดส�ำหรับมุอม์ นิ ซึง่ คนอืน่ จะไม่ได้แม้แต่คนเดียวนอกจาก คนที่เป็นมุอ์มินเท่านั้น ถ้าเขาได้รับสิ่งที่ดีๆ ท�ำให้เขาปลาบปลื้มเขาก็ชุกูร ต่อพระองค์อัลลอฮฺ นั่นเป็นสิ่งที่ดีส�ำหรับเขา(แปลว่าได้รับกุศลผลบุญ อัลลอฮฺตอบแทน) ถ้าหากว่าเกิดเหตุร้ายเกิดอันตรายขึ้นกับเขาเกิดสิ่งที่ ไม่ดี เกิดความทุกข์ยากกับเขา เขาก็อดกลัน้ อดทน เขาก็ได้กศุ ลอีก”(มุสลิม) มันแปลว่าส�ำหรับคนที่เป็นมุอ์มินนั้นต้องรู้ว่าอัลลอฮฺทดสอบหัวจิตหัวใจ แห่งการศรัทธา ไม่ได้แปลว่า “ฉันละหมาดอย่างดี ท�ำหัจญ์แล้ว ออกซะกาต แล้ว ยังทรมานฉันอีก” ไม่ใช่เลย นัน่ น็อตหลุดเพราะฉะนัน้ ส�ำหรับมุอม์ นิ แล้วทุกสิ่งทุกอย่างที่เกิดขึ้น ได้รับสิ่งที่ดีขอบคุณต่อพระองค์อัลลอฮฺ การ ขอบคุณต่อพระองค์อัลลอฮฺก็คือ “อัลฮัมดุลิลลาฮฺ” “ขอบคุณพระองค์อลั ลอฮฺทที่ รงประทานความโปรดปรานแก่ขา้ พระองค์” คนที่เป็นมุสลิมทุกคนได้รับอะไรจากไหนที่เป็นของที่ดี ที่บริสุทธิ์ท่ี พระผูเ้ ป็นเจ้าประทานให้ ให้กล่าวค�ำว่า “อัลฮัมดุลลิ ลาฮฺ” แม้กระทัง่ การ เป็นมุสลิมของท่าน การเป็นมุอ์มินของท่าน เมื่อท่านได้พบกับพวกพ้อง หรือมนุษย์ด้วยกัน หรือคนต่างศาสนิกที่เขาทักทายท่าน ถามว่า “ท่าน เป็นมุสลิมหรือเปล่า?” ไม่จ�ำเป็นจะต้องตอบเขาว่าเราเป็นหรือไม่เป็น เรารู้ว่าเราเป็นอะไร หน้าทีข่ องเราก็คอื “อัลฮัมดุลลิ ลาฮฺ” นัน่ คือค�ำตอบ “ท่านเป็นมุสลิมหรือ เปล่า?” “อัลฮัมดุลิลลาฮฺ” ใครไม่รู้ก็ช่างเขา นี่คือการสรรเสริญต่ออัลลอฮฺ หรือแม้กระทั่งเราได้ รับรูเ้ รือ่ งอิสลามก็ให้เรากล่าวว่า “อัลฮัมดุลลิ ลาฮฺ” นีค่ อื เอกลักษณ์ เพราะ ฉะนั้นเมื่อได้รับสิ่งที่ดีๆไม่มี “อัลฮัมดุลิลลาฮฺ” หลุดมาจากปากรู้เอาไว้ ด้วยว่า นั่นคือกุฟฟาร นั่นคือยะฮูดี นัศรอนี นั่นคือศาสนิกอื่น การเป็น มุสลิมของท่านต้องเปล่งเสียงค�ำว่า “อัลฮัมดุลิลลาฮฺ” อีกอายะฮฺหนึ่งที่ เกี่ยวกับเรื่องของนบีอัยยูบ และเจ้าจงเอากิ่งไม้มาก�ำหนึ่งแล้วตีไปด้วย(กิ่งไม้ก�ำ)นั้น เจ้าจะเป็น คนที่ผิดค�ำสาบาน และเราก็พบว่าเขาเป็นคนที่อดกลั้น อดทน เป็นบ่าวที่ ประเสริฐ แน่นอนเขาเป็นผู้ที่หันกลับมาสู่พระผู้เป็นเจ้าเสมอมา (38 :44) นัน่ เป็นตอนทีภ่ รรยานบีอยั ยูบพูดตัดพ้อว่าเป็นขนาดนีเ้ มือ่ ไหร่จะหาย สักที นบีอัยยูบก็สาบานว่าจะเฆี่ยน 100 ที แล้วในที่สุดอัลลอฮฺก็ผ่อนผัน ให้ โดยให้เอากิง่ ไม้มาก�ำรวมกัน 100 อัน แล้วก็เอาไปตีภรรยา เหตุการณ์ นีเ้ ป็นเรือ่ งเฉพาะกิจทีอ่ ลั ลอฮฺบอกชัดเจน อนุมตั ใิ ห้เอาไม้มาก�ำรวมกันแล้ว ก็ตีลงไปมันไม่ใช่เรื่องที่เราจะเอาไปกิยาสกับเรื่อง “เฏาะลาก” การหย่า เพราะในอัลกุรอานระบุวา่ การหย่านัน้ อนุมตั ใิ ห้สองครัง้ (2 :229) พอครัง้ ที่ 3 จะต้องไปแต่งงานกับชายอืน่ ก่อน เราจะอ้างกันว่า “ฉันหย่าเธอ 3 เฏาะลาก” จะถือว่าครบ 3 เลยไหม มันไม่ใช่เรื่องกิยาส เพราะเราไม่มีค�ำอนุมัติให้ กับเรา นี่เป็นเรื่องเฉพาะกิจที่อัลลอฮฺอนุมัติให้เฉพาะนบีอัยยูบ เนื่องจาก ความอ่อนเพลียและทุกสิ่งทุกอย่างที่อัลลอฮฺทดสอบแล้วน็อตไม่หลุด ยังคงหนักแน่น มัน่ คงสุดๆ อัลลอฮฺได้อนุมตั ใิ ห้เป็นเรือ่ งเฉพาะ ส่วนเราดูวา่ ชี วิ ต ของเราเป็ น อย่ า งไร ฝ่ า ฝื น ดื้ อ ดึ ง มาตลอด แม้ ก ระทั่ ง ทุ ก วั น นี้ สารศรัทธาชน 21
ในครอบครัวเราปรับปรุงแก้ไขแล้วหรือยัง ขนาดนีเ้ รายังจะเอาข้อผ่อนผัน อีกหรือครับ? ดังนัน้ ให้เราดูวา่ มันเป็นเรือ่ งเฉพาะของใคร อัลลออฮฺอนุมตั ิ ให้เฉพาะในเหตุการณ์นนั้ ๆหรือไม่ นัน่ คือสิง่ ทีอ่ ลั ลอฮฺได้บอกให้รจู้ ากเรือ่ ง ของนบีอัยยูบ แล้วอัลลอฮฺกบ็ อกว่า {วะซิกรอ ลิลอาบิดีน} และมันเป็นข้อเตือนสติ แก่บรรดาปวงบ่าวทั้งหลายที่ยึดมั่น เราอย่าลืมว่า “อาบิดีน” ถ้าเราเป็น บ่าวทีส่ กั การะอัลลอฮฺอย่างเดียวโดยไม่รไู้ ม่หาความเข้าใจ ท่านนบีบอกว่า “คนที่มีความเข้าใจในศาสนาหนึ่งคนดีกว่าคนที่ประกอบอิบาดะฮฺ (โดยไม่เข้าใจ)ถึงหนึ่งพันคน” (ติรมิซี) เพราะฉะนั้น “อาบิดีน”ในอายะฮฺ นีจ้ งึ เป็นบ่าวทีส่ กั การะ ทีร่ ำ� ลึก ทีไ่ ด้ขอ้ เตือนสติได้บทเรียนจากการปฏิบตั ิ ของนบีในยุคก่อนๆและเหตุการณ์ทเี่ กิดขึน้ (21:85) และเรือ่ งของอิสมาอีล อิดรีส และซุลกิฟล์นั้น ทั้งหมดนี้คือผู้ที่อดทน นัน้ คือแบบอย่างจากทุกๆนบี อัลลอฮฺได้เล่าให้เราได้รบั รูว้ า่ นบีทกุ ท่าน นัน้ คือผูท้ อี่ ดกลัน้ อดทนในบทบัญญัตคิ ำ� สอน ในการทดสอบจากพระองค์ อัลลอฮฺ สิ่งที่เราจะได้รับรู้จากเรื่องของนบีอิสมาอีลคือ และจงร�ำลึกถึง เรื่องที่มีอยู่ในคัมภีร์ของอิสมาอีล แน่นอนเขาเป็นผู้ที่รักษาสัญญาอย่าง เหนียวแน่น เป็นเราะสูล เป็นนบี (19:54) นบีอิสมาอีลเคยมีนัดกับเด็กหนุ่มคนหนึ่ง ท่านรออยู่ตรงนั้นวันหนึ่ง กับคืนหนึ่งเด็กคนนั้นก็ยังไม่มา นัดตรงไหนรออยู่ตรงนั้นตลอด แล้วดูซิ เราประกาศว่าอัลลอฮฺเป็นพระผู้เป็นเจ้า มุฮัมหมัดเป็นศาสนทูตเรา ประกาศมีนัดกับอัลลอฮฮแล้วเราท�ำตามนัดอันนั้นไหม? ละหมาดเวลา อะไร? อัลลอฮฺใช้อะไร? อัลลอฮฺหา้ มอะไร? เราคบหาสมาคมพวกพ้องเพือ่ น ฝูงในกรณีไหนไม่ได้ เรานัดกับอัลลอฮฺแล้วยัง? แต่อัลลอฮฺบอกว่า กลุ่มใด พวกใดทีฝ่ า่ ฝืนละเมิดค�ำสัง่ อัลลอฮฺไฟนรกคือทีน่ ดั หมายส�ำหรับเขา (11:17) นบีอิสมาอีลถูกเรียกว่า “ศอดิก็อลวะอฺด์” เป็นผู้ที่รักษาสัญญามั่น สัจจริงในสัญญา เป็นเราะสูลและเป็นนบีท�ำหน้าที่ตามที่พระองค์ทรงใช้ เขาได้ใช้ให้ครอบครัวของเขายืนหยัดการละหมาด ให้ออกซะกาต และเขา (อิสมาอีล)เป็นที่พอพระทัย ณ ที่พระผู้เป็นเจ้าของเขา (19:55) ท่านนบีอิสมาอีลใช้ให้ลูกหลานละหมาด ซะกาตคือแบบอย่างของ หลักการ นั้นแปลว่า “ทุกเรื่อง” เราต้องใช้ก�ำชับครอบครัวของเราให้ท�ำ ห้ามในสิง่ ทีไ่ ม่ดี แล้วอย่าลืมว่าละหมาดกับซะกาตจะแยกกันไม่ได้ ทุกยุค ทุกสมัยเป็นอย่างที่มาตลอด ท่านอบูบักร์ได้สาบานว่า “ขอสาบานต่อ อัลลอฮฺว่า ฉันฆ่ามันแน่ใครที่แยกว่าละหมาดส่วนหนึ่งซะกาตส่วนหนึ่ง” (บุคคอรี : กิตาบุลเอียะอฺติศอม) แปลว่าจะละหมาดอย่างเดียวไม่ออกซะ กาต “โดน” ออกซะกาตอย่างเดียวไม่ละหมาด “โดน” อบูบกั ร์เป็นผูแ้ ปล แล้วเราอย่าลืมว่าท่านอบูบักร์เป็นบุคคลหนึ่งที่ท่านนบีไว้เนื้อเชื่อใจใช้ให้ น�ำละหมาดแทน ส่วนท่านนบีอิดรีส อัลลอฮฺได้บอกว่า และจงร�ำลึกถึง บันทึกทีเ่ กีย่ วกับเรือ่ งของอิดรีสเป็นนบีทสี่ จั จริงคนหนึง่ และเราได้ยกย่อง ให้ฐานะเขาสู่สถานที่อันสูงส่ง (19:56-57) ตอนที่ท่านนบีขึ้นไปเมียะอฺรอจญ์นั้นก็ได้ไปพบนบีอิดรีสในฟ้าชั้นที่4 ดังนั้นฐานะอันสูงส่งจึงหมายถึงทั้งในสวรรค์และในทุกวันนี้ก็อยู่ในฐานะ อันสูงส่ง บรรดานบีเหล่านี้ อัลลอฮฺได้ทรงยกย่องให้เกียรติเขาให้ความ โปรดปรานแกบรรดานบีตา่ งๆ นีท้ เี่ ป็นเลือดเนือ้ เชือ้ ไขของอาดัม และเป็น เลือดเนื้อเชื้อไขของอิบรอฮีมและของอิดรออีล(หมายถึงนบียะอฺกูบ)และ จากบรรดาผูที่เราชี้ทางสว่างให้แก่เขามาเป็นผู้น�ำ และเมื่อบุคคลเหล่านี้ ได้ยนิ การอ่านโองการต่างๆ ของพระผูท้ รงกรุณาพวกเขาจะทรุดตัวลงสุญดู ต่อพระองค์อัลลอฮฺแล้วก็ร้องไห้(สะญะดะฮ) (19:58-59) 22
สารศรัทธาชน
มนุษย์คดิ หรือว่าเพียงแต่บอกว่า เราอีมานแล้ว อัลลอฮฺ จะปล่อยปละ ละเลยเขาโดยไม่ทดสอบอะไรเลยก่อน ถึงวันกิยามะฮฺ (29:2) พวกเขาร้องไห้ในพระกรุณาของพระองค์ทไี่ ด้ให้แก่พวกเขา ทีไ่ ม่ได้ให้ เขาเป็นมนุษย์ขึ้นมา ให้สติปัญญามาแล้วก็ไปหาเอาเองเยี่ยงเดรัจฉาน อัลลอฮฺให้สติปัญญาเขา ให้ริซฺกีเขา แล้วก็ชี้ทางแก่เขาบอกแก่เขาว่าท�ำ อย่างนี้สู่สวรรค์ ท�ำอย่างนี้สู่นรก สิ่งนี้ดี สิ่งนี้ไม่ดี นี่คือที่พวกเขา {ค็อรรู สุญญะดัน วะบุ กียัน} พวกเขาจะทรุดตัวลงสุญูดต่อพระองค์อัลลอฮฺแล้ว ก็ร้องไห้ในพระกรุณาของพระผู้เป็นเจ้า ทุกวันนี้เราไม่ได้อะไรจากอัลลอฮฺเลยหรือครับ? เราถึงยังดื้อดึงกันอยู่ ทุกวันนี้ “อะอูซบุ ลิ ลาฮฺ” ส�ำหรับคนเหล่านี้ มันถึงเวลาหรือยังทีเ่ ราจะต้อง ปรับปรุงแก้ไข เริ่มที่ตัวเรา เริ่มที่ครอบครัวของเรา แล้วขยายออกไปใน หมูพ่ วกพ้องเพือ่ นฝูงของเรา น�ำสิง่ ทีด่ มี าสูล่ กู หลาน เพราะฉะนัน้ การเป็น ผู้บอก ผู้สอน ผู้ชี้แจง จึงจ�ำเป็นต้องเอาแบบอย่างที่ดีมา มันแปลว่าอย่า เอาคนชัว่ มาเป็นผูบ้ อกผูส้ อน เพราะเราจะไม่พบว่านบีทา่ นไหนละเมิดค�ำ สัง่ แต่ยงั ท�ำหน้าทีอ่ ยูใ่ ช่ไหมครับ? นัน้ คือผูท้ ำ� หน้าทีต่ อ้ งเป็นคนดี เป็นแบบ อย่างในหลักการของพระองค์อัลลอฮฺ ดีตามที่อัลลอฮฺก�ำหนดอย่าดีอย่าง ที่สังคมก�ำหนด นี่คือสภาพของคนที่รู้จักอัลลอฮฺ เขาทรุดเข่าลงสุญูดแล้ว ก็ร้องไห้ หลังจากนั้นก็ให้คนรุ่นหลังมาใช้ชีวิตอยู่ คนพวกนี้จะท�ำให้ ละหมาดหายไป ท�ำอะไรก็ท�ำตามความอยากของตัวเอง ในที่สุดพวกนี้ ก็จะได้พบกับความหายนะในชีวิตของพวกเขา (19:59) แปลว่าไม่ใส่ใจกับเรื่องละหมาด เริ่มจะละหมาดแต่ไม่เลิกชั่ว แล้วก็ มาเป็นไม่ละหมาดในที่สุดสิ่งต่างๆเหล่านี้อัลลอฮฺได้บอกให้เราได้รับรู้ว่า เราจะต้องเปลี่ยนแปลง จะต้องปรับปรุง จะต้องแก้ไขอย่าอยู่อย่างกล่าว กะลิมะฮฺอย่างเดียว นั้นคือลักษณะของคนมุนาฟิกฺ อัลลอฮฺบอกให้รู้ว่า สภาพของคนอดทนเป็นอย่างนี้ อีกท่านหนึง่ คือซุลกิฟล์ ท่านนีม้ ขี อ้ โต้แย้งในบรรดาอุลามะอ์ บางกลุม่ บอกว่าในกุรอานนั้นอัลลอฮฺจะไม่กล่าวนามใครนอกจากเป็นนบี อีกกลุ่ม หนึ่งคืออิบนิอุมัร,อบูมูซา,เกาะตาดะฮฺ อิกริมะฮฺและมุญาฮิด บุคคลเหล่า นี้บอกว่าได้ยินจากที่ท่านนบีบอกว่า “ซุลกิฟล์ไม่ได้เป็นนบี แต่ว่าเป็นคน ศอและห์”(หะดีษหะสัน) เพราะฉะนั้นเมื่อเราเรียนรู้ เมื่อเราศึกษา เมื่อ เราได้จากอัลกุรอาน ท่านครับท่านจะเปลีย่ นหรือยัง ท่านจะปรับปรุงไหม ท่านจะปล่อยให้ครอบครัวของท่านเอาแบบอย่างจากท่านนี่หรือครับ? แล้วลองจินตนาการดูข้างหน้าว่าลูกหลานของท่านจะเป็นอย่างไร ส�ำหรับคนที่ยึดมั่นถือมั่น ปรับปรุงเปลี่ยนแปลง อยู่กับบัญญัติของ พระผู้เป็นเจ้าจากแบบอย่างของท่านนบี อัลลอฮฺบอกว่า และเราได้ให้ บุคคลเหล่านี้เข้าอยู่ในพระกรุณาของเรา แน่นอนบุคคลเหล่านี้เป็นกลุ่ม ของคนซอและห์ (21:86) แปลว่าอัลลอฮฺชี้ทางสว่างสู่สวรรค์ได้ เป็นคนซอและห์ เป็นกลุ่มชนที่ ประกอบคุณงามความดีตามทีอ่ ลั ลอฮฺใช้ยตุ ติ ามทีอ่ ลั ลอฮฺหา้ ม นัน้ แปลว่า คนซ อและห์นั้นต้องดีตามที่อัลลอฮฺก�ำหนด ท่านบอกว่าอัลลอฮฺเป็น พระผู้เป็นเจ้า ท่านด�ำเนินชีวิตอย่างไรในทุกวันนี้ ?
สารศรัทธาชน 23
การตัดสินเป็นชาวนรก และสามด่าน ชารีฟ วงศ์เสงี่ยม
หนึ่งในแนวทางของอะฮฺลิซซุนนะฮฺวั้ลญะ มาอะฮฺในเรื่องนรก-สวรรค์ก็คือ จะต้องไม่ ตัดสินชี้ชัดแบบเจาะจงตัวว่าคนนั้นคนนี้เป็น ชาวสวรรค์หรือใครเป็นชาวนรกนอกเสียจาก บุ ค คลที่ มี ห ลั ก ฐานระบุ ชั ด เจาะจงเอาไว้ ว ่ า เป็นชาวสวรรค์หรือชาวนรก แต่คำ� ถามมีอยูว่ า่ ‘แล้วกาเฟรหรือพวกมุนาฟิกไม่เป็นชาวนรก อย่างนั้นหรือ ทั้งนี้ก็เพราะอัลลอฮฺได้กล่าวเอา ไว้มากมายในอัลกุรอานว่าทัง้ กาเฟรและมุนาฟิก นั้นเป็นชาวนรกและจะอยู่ในนั้นตลอดกาล หรือเหมือนกับฮะดีษที่เชื่อถือได้ที่ท่านนบีได้ บอกเอาไว้ในท�ำนองว่าคริสต์หรือยิวคนใดทีร่ บั รู้ถึงการมาของท่านนบีแล้วแต่ยังไม่มาศรัทธา ก็จงเตรียมที่นั่งเอาไว้ในนรกได้ จะว่าอย่างไร มันจะไม่ขัดกันอย่างนั้นหรือ ? ’ ค�ำตอบก็คือ ไม่ขดั กันอย่างแน่นอน ทัง้ นีก้ เ็ พราะว่าทีพ่ ระองค์ 24
สารศรัทธาชน
อัลลอฮฺกล่าวเอาในอัลกุรอานว่าทั้งกาเฟรและ มุนาฟิกนั้นเป็นชาวนรกหรือที่ท่านนบีกล่าว เกีย่ วกับคริสต์และยิวเอาไว้นนั้ เป็นการกล่าวแบบ กว้างๆ เพราะฉะนัน้ เมือ่ เป็นเช่นนีเ้ ราจึงพูดได้วา่ ทั้งกาเฟรและมุนาฟิกนั้นเป็นชาวนรกแต่เราไม่ อาจทีจ่ ะชีช้ ดั เจาะจงตัวกาเฟรคนนัน้ คนนีว้ า่ เป็น ชาวนรกได้นอกจากบุคคลทีม่ หี ลักฐานชีช้ ดั เจาะจง เอาไว้เท่านัน้ เพราะฉะนัน้ ค�ำถามมีอยูว่ า่ ลุงของ ท่านนบีอบูตอลิบเป็นชาวนรกหรือไม่ เพราะ อะไร ค�ำตอบก็คือ เป็นชาวนรก เพราะ 1.เป็น กาเฟร และ 2. มีหลักฐานชี้ชัดเอาไว้จากฮะดีษ ทีเ่ ชือ่ ถือได้ เมือ่ เป็นเช่นนีเ้ ราสามารถกล่าวได้วา่ กาเฟรเป็นชาวนรกแต่ห้ามชี้หรือเจาะจงตัวว่า ใครนอกจากจะมีหลักฐานเท่านั้น ในกรณีของบิดอะฮฺกเ็ หมือนกัน เราสามารถ พูดได้วา่ บิดอะฮฺนนั้ น�ำไปสูน่ รก โดยไม่จำ� เป็นว่า
จะหมายความว่าเป็นการชีช้ ดั แบบเจาะจงตัวว่า คนนัน้ คนนีท้ ที่ ำ� บิดอะฮฺเป็นชาวนรก ยกตัวอย่าง เช่น นาย ก. ท�ำบิดอะฮฺเตือนแล้วก็ไม่เชื่อยังคง ท�ำอยู่ เราสามารถกล่าวได้ว่านาย ก. กระท�ำใน สิง่ นัน้ น�ำไปสูน่ รก แต่นนั่ ไม่ได้หมายความว่าการ พูดเช่นนั้นจะเท่ากับเป็นการเจาะจงตัวว่านาย ก. เป็นชาวนรก เหมือนกับทีช่ าวสลัฟโดยเฉพาะ ท่านอิหม่ามอะห์หมัดได้กล่าวว่า ใครก็ตามทีบ่ อกว่า อัลกุรอานเป็นสิ่งถูกสร้าง (มัคโลค) ถือว่าเป็น กาเฟรแต่นนั่ ไม่ได้หมายความว่า ใครก็ตามทีพ่ ดู เช่นนี้แล้วจะเป็นกาเฟรสิ้นสภาพจากการเป็น มุสลิมเดี๋ยวนั้นโดยทันที และก็ไม่ได้หมายความ เช่นกันว่าเมื่อเราได้ยินใครพูดเช่นนั้นแล้ว (เช่น นาย ก. ) เราจะชี้ชัดแบบเจาะจงตัวเลยว่า นาย ก. เป็นกาเฟรและเป็นชาวนรกอย่างแน่นอน ...เปล่าเลย แต่ค�ำพูดของอิหม่ามอะห์หมัด
เป็นการพูดแบบกว้างๆ เหมือนเรื่องกาเฟรเป็น ชาวนรกตามที่ได้กล่าวไปข้างต้น เพราะฉะนั้น การพูดแบบกว้างๆจึงไม่มีปัญหาแต่อย่างใดใน กรณีที่มีหลักฐานว่ามีการกล่าวกว้างๆเช่นนั้น ส่วนการทีค่ นๆหนึง่ จะถูกตัดสินเป็นกาเฟรได้นนั้ ก็มีขั้นตอนรายละเอียดอีกมากมายซึ่งจะไม่ขอ น�ำมากล่าวเอาไว้ ณ ที่นี้ แต่บทความนี้จะเน้น ให้เข้าใจเรือ่ งการตัดสินคนๆหนึง่ ว่าเป็นชาวนรก ตามทีไ่ ด้อธิบายมาแล้ว สุดท้ายนีข้ อจบท้ายด้วย ฮะดีษบทหนึ่งที่ว่า ท่านอิหม่ามอบูดาวูดได้กล่าวเอาไว้ในสุนัน (ต�ำราบันทึกฮะดีษ) ของท่านภายใต้บทที่ใช้ ชื่อว่า “อั้ล-อะดับ” (ความประพฤติที่ดีงาม) รายงานจากท่านอบีฮรุ อยเราะฮฺ ได้กล่าวว่าท่าน นบีได้กล่าวว่า “ ในหมูข่ องชาวบนีอสิ รออีลนัน้ มี คนอยูส่ องคนทีเ่ ป็นญาติกนั โดยคนหนึง่ เป็นคน ทีท่ ำ� บาป ส่วนอีกคนหนึเ่ ป็นนักท�ำอิบาดะฮฺ เมือ่ ใดก็ตามญาติคนที่เป็นนักท�ำอิบาดะฮฺได้เห็น ญาติอกี คนยังคงท�ำบาปอยู่ เขาก็จะบอกให้ญาติ ทีท่ ำ� บาป ให้เลิกจากการท�ำบาปนัน้ อยูม่ าวันหนึง่ เมื่อเขา (ญาติที่เป็นคนบาป) ได้กระท�ำบาปอยู่ เขา (ญาติทเี่ ป็นนักท�ำอิบาดะฮฺ) จึงได้บอกเขาให้ ยับยั้งตนเองจากการกระท�ำนั้น ญาติของเขาจึง ได้พดู กับเขาไปว่า ‘จงปล่อยฉันกับพระผูอ้ ภิบาล ของฉัน ท่านถูกส่งมาเพื่อเป็นผู้ตรวจตราฉัน อย่างนั้นหรือ’ เขา (ญาติที่เป็นนักท�ำอิบาดะฮฺ) จึงได้พดู กับเขาว่า ขอสาบานด้วยอัลลอฮฺ พระองค์ จะไม่มีทางให้อภัยเจ้าและให้เจ้าได้เข้าสวรรค์ ’ เมื่อทั้งสองได้ตายลง ทั้งสองได้ถกู น�ำมายังพระ ผู้เป็นเจ้า โดยพระองค์ได้กล่าวกับเขา (ญาติคน ที่เป็นนักท�ำอิบาดะฮฺ) ว่า ‘เจ้ารู้จักข้าหรือไม่ เจ้าเป็นผู้จัดการความโปรดปรานของข้าอย่าง นัน้ หรือ’ จากนัน้ พระองค์กห็ นั ไปยังผูท้ ที่ ำ� บาป และกล่าวกับเขาว่า ‘จงเข้าไปยังสวรรค์ เจ้าได้รบั ความเมตตาจากข้ า แล้ ว ’ ส่ ว นอี ก คนหนึ่ ง พระองค์ได้สั่งให้น�ำตัวลงไปในไฟนรก ท่านอบู ฮุรอยเราะฮฺได้กล่าวเสริมว่า “ขอสาบานด้วย พระผู้ที่ชีวิตฉันอยู่ในพระหัตของพระองค์ ญาติ คนที่เป็นนักท�ำอิบาดะฮฺได้กล่าวสิ่งหนึ่งออกมา ที่ท�ำลายชีวิตของเขาทั้งในโลกนี้และโลกหน้า ” (อบูดาวูด ในอั้ลอะดับ เลขที่ 4901 ; อะห์หมัด 2:323, 363 เป็นฮะดีษฮะซัน) ถ้าเราจะตัง้ ค�ำถามว่าอะไรคือสาเหตุทที่ ำ� ให้ คนๆหนึ่งต้องกลายเป็นชาวนรก ค�ำตอบง่ายๆ ก็คอื การท�ำบาป ค�ำถามต่อมาก็คอื แล้วอะไรที่ จะถูกเรียกว่าเป็นบาปอันน�ำพาไปสูไ่ ฟนรกค�ำตอบ ก็คือ สิ่งใดจะถูกถือว่าเป็นบาปนั้น ไม่ใช่ใครจะ มานั่งคิดกันเอาเอง แต่ผู้ที่เป็นเจ้าของสวรรค์ และนรกเท่านั้นที่จะเป็นผู้ก�ำหนดว่าอะไรคือ
ถ้าเราจะตัง้ ค�ำถามว่าอะไรคือสาเหตุท่ีท�ำให้ คนๆหนึ่งต้องกลายเป็นชาวนรก ค�ำตอบง่ายๆ ก็คอื การท�ำบาป ค�ำถามต่อมาก็คอื แล้วอะไร ที่จะถูกเรียกว่าเป็นบาปอันน�ำพาไปสู่ไฟนรก ค�ำตอบก็คือ สิง่ ใดจะถูกถือว่าเป็นบาปนัน้ ไม่ใช่ ใครจะมานัง่ คิดกันเอาเอง แต่ผู้ท่ีเป็นเจ้าของ สวรรค์และนรกเท่านัน้ ที่จะเป็นผู ก้ ำ� หนดว่าอะไร คือบาป ผู ้นนั ้ ก็คือพระองค์อัลลอฮฺ
บาป ผู้นั้นก็คือพระองค์อัลลอฮฺ ค�ำถามต่อมาก็ ทุกอย่างทีพ่ ระองค์อลั ลอฮฺได้กำ� หนดว่าเป็นบาป นั้นอยู่ในระดับเดียวกันหรือไม่ ค�ำตอบก็คือ ไม่ใช่เช่นนัน้ อย่างแน่นอน เพราะบาปนัน้ มีระดับ ที่แตกต่างกันออกไป มาถึงตรงนี้ก็อาจจะมีผู้ ถามว่า แล้วเราจะต้องท�ำอย่างไรอย่างเป็น รูปธรรมถึงจะรอดพ้นจากไฟนรกและได้เข้า สวรรค์ ค�ำตอบคือการที่เราจะเป็นชาวสวรรค์ ได้และรอดพ้นปลอดภัยจากนรกได้นั้น เราจะ ต้องผ่านสามด่านต่อไปนีใ้ ห้ได้เสียก่อน มิเช่นนัน้ แล้วก็ยากทีเ่ ราจะรอดพ้นจากไฟนรกได้สามด่าน ที่กล่าวมาก็คือ 1. ด่านทีห่ นึง่ คือ จะต้องไม่ทำ� บาปทีท่ ำ� แล้ว เป็นเหตุให้สิ้นสภาพจากการเป็นมุสลิม 2. ด่านทีส่ องคือ จะต้องไม่ทำ� บาปทีท่ ำ� แล้ว เป็นเหตุให้สิ้นสภาพจากการเป็นชาวอะฮฺลิซ ซุนนะฮฺวั้ลญะมาอะฮฺ กลายเป็นมุสลิมทีห่ ลงผิด ตกอยู่หนึ่งใน 72 กลุ่มตามที่ท่านนบีได้บอกไว้ การเป็นมุสลิมอย่างเดียวนัน้ ยังไม่ถอื ว่าเป็นการ เพียงพอทีจ่ ะรับประกันสวรรค์ได้ แต่จะต้องเป็น มุสลิมที่อยู่ในกลุ่มหรือแนวทางที่ถูกต้องด้วย นั่นก็คือกลุ่มของอะฮฺลิซซุนนะฮฺวั้ลญะมาอะฮฺ และไม่ใช่ว่าใครจะอ้างตัวเองว่าเป็นชาวอะฮฺลิซ ซุนนะฮฺวั้ลญะมาอะฮฺโดยไม่มีตัวชี้วัด และสิ่งที่ จะเป็นตัวตัดสินชี้วัดความเป็นอะฮฺลิซซุนนะฮฺ
ก็คือ อุศู้ล ซึ่งเป็นอีกชื่อเรียกหนึ่งของอะกีดะฮฺ กล่าวคือ ใครก็ตามทีจ่ งใจฝ่าฝืนอุศลู้ ของอะฮฺลซิ ซุนนะฮฺวลั้ ญะมาอะฮฺ ถือว่าเขาผูน้ นั้ ได้สนิ้ สภาพ จากการเป็นชาวอะฮฺลิซซุนนะฮฺวั้ลญะมาอะฮฺ อุศู้ล คือ สิ่งที่จะต้องเชื่อให้ถูก พูดให้ถูก และ กระท�ำให้ถูก กล่าวคือ กาย วาจา ใจ อย่างหนึ่ง อย่างใดจะต้องไม่ฝ่าฝืน ผู้ใดจงใจฝ่าฝืนด้วย อย่างหนึง่ อย่างใดถือว่าเขาผูน้ นั้ ไม่ผา่ นด่านสอง เป็นอย่างน้อย และบางทีอาจจะถึงขั้นไม่ผ่าน ด่านหนึ่ง 3. ด่านทีส่ ามคือ บาปเล็กหรือบาปใหญ่ทไี่ ม่ เป็นเหตุท�ำให้สิ้นสภาพจากการเป็นมุสลิมหรือ เป็นเหตุท�ำให้เกิดการหลงผิด แต่ดูเหมือนว่าสังคมมุสลิมเราจะเน้นด่าน สามกันเป็นพิเศษซึ่งเป็นด่านที่ส�ำคัญน้อยที่สุด เมื่อเทียบกับด่านที่หนึ่งและสอง ส่วนมีรายละเอียดอะไรบ้างในเรือ่ งสามด่าน ดังกล่าวนี้ สามารถอ่านได้จากหนังสือ “สามด่าน กับการปกป้องต้นเองให้พ้นจากไฟนรก อย่าง เป็นรูปธรรม ” ความหนาเกือบ 90 หน้า ซึ่งได้ อธิบายเรื่องสามด่านนี้เอาไว้ค่อนข้างละเอียด
สารศรัทธาชน 25
อัลกุรอานกับเดือนรอมฎอน โดย อิบนุอับดิลลาห์ อัตตอบตอวี่ เอกสารอัลอิศลาหฺ
ท่านผู้อ่านที่เคารพ อัลกุรอานนั้น นับเป็นสิ่งที่ดีที่สุด เป็นคัมภีร์ที่ดี ทีส่ ดุ จากคัมภีรต์ า่ งๆ ดังนัน้ ในการศึกษาหาความรูเ้ กีย่ วกับอัลกุรอานเป็น สิ่งที่น่าส่งเสริม และในการอ่าน เพราะว่าไม่มีหนังสือใด คัมภีร์ใด ที่เมื่อ ผูอ้ า่ นแล้วจะได้รบั ผลบุญจากคัมภีรเ์ ล่มนี้ คือ อัลกุรอาน ทัง้ ศึกษาอ่านทบทวน ด้วยและสัง่ สอนสิง่ ทีอ่ ยูใ่ นนัน้ ผูน้ นี้ บั ว่าเป็นผูท้ ดี่ ี ประเสริฐทีส่ ดุ ท่านรซูลได้กล่าวว่า “ บุคคลทีด่ ที สี่ ดุ ทีป่ ระเสริฐทีส่ ดุ ในหมูส่ เู จ้า คือ ผู้ที่ร�่ำเรียนศึกษาหาความรู้จากอัลกุรอาน และก็น�ำสิ่งที่ดีได้เรียนรู้นั้นไป ถ่ายทอดอีกที่หนึ่ง (ไปสอนผู้อื่นต่อ) เวลาทีด่ ที สี่ ดุ โอกาสทีอ่ ำ� นวยในการอ่าน เรียน สอนอัลกุรอาน คือในช่วง ของรอมฎอน เป็นเดือนที่อัลลอฮฺทรงประทานอัลกุรอานทั้งหมดมาอยู่ที่ ชัน้ ฟ้าดุนยา(เลาฮุลมะฮฺฟซู ) แล้วจึงค่อยทยอยลงมาให้ทา่ นนบี ตามเหตุการณ์ และสภาพที่เหมาะสม ตลอดระยะเวลา 23 ปี อัลลอฮฺได้ตรัสยืนยันว่า อัลกุรอานถูกประทานลงมาในเดือนรอมฎอนนี้ ดังที่พระองค์ทรงตรัสไว้ในซูเราะห์อัลบากอเราะฮฺ อายะฮฺที่ 185 ความว่า : เดือนรอมฎอนนัน้ เป็นเดือนทีอ่ ลั กุรอานถูกประทานมาเพือ่ เป็นแนวทางทีถ่ กู ต้อง ส�ำหรับมวลมนุษย์ และเป็นหลักฐานทีช่ ดั แจ้งจาก แนวทางทีถ่ กู ต้อง และเป็นการจ�ำแนกระหว่างความจริงความเท็จออกจากกัน รายงานจากท่านอิบนฺอับบาส ได้เล่าว่า : ปรากฎว่าท่านนบีเป็นผู้ที่ ใจบุญศุลทานทีส่ ดุ และท่านจะใจบุญมากยิง่ ขึน้ อีกในเดือนรอมฎอน ขณะ ทีท่ า่ นญิบรีลมาพบท่าน เพือ่ ทบทวนอัลกุรอานกับท่าน ท่านญิบรีลจะมา พบท่านทุกค�ำ่ คืนของรอมฎอนเพือ่ ทบทวนอัลกุรอานกับท่าน ซึง่ ท่านรซูลลุ ลอฮฺ ตอนทีพ่ บกับญิบรีลนัน้ จะใจบุญศุลทานในความดียงิ่ กว่าลมพายุทโี่ หมพัดมา จากฮะดีษบทนี้เอง ท่านอิบนฺ ร่อญับ ได้ให้ทัศนะไว้ว่า : สมควรที่จะ ศึกษาหาความเข้าใจจากอัลกุรอานกันในเดือนอันมหาประเสริฐ และร่วม กระท�ำกันแล้วสรรหาผูท้ เี่ หมาะสม ผูม้ พี รสวรรค์ให้เขานัน้ ท่องจ�ำให้มากๆ เหตุนเี้ องในการทีจ่ ะท่องจ�ำอัลกุรอานได้มากๆ ก็ขนึ้ อยูก่ บั การอ่านให้มาก เช่นกัน ฮะดีษบทนี้ จึงเป็นเครื่องบ่งชี้การชักชวนกัน ส่งเสริมกันให้อ่าน อัลกุรอานกันให้มากๆ ในเดือนรอมฎอนนี้ 26
สารศรัทธาชน
“ จะมีเสียงกล่าวขึน้ แก่ชาวอัลกุรอาน(ผู ้ท่อี ่านและศึ กษา) เมื่อพวกเขาได้ เข้าไปในสวนสวรรค์เสียงนัน้ จะกล่าวขึน้ ว่า เจ้าจงอ่านและจงขึน้ ไป แล้วชาว อัลกุรอานก็อา่ นอัลกุรอานตามค�ำใช้นัน้ พร้อมทัง้ เดินขึน้ ไปแต่ละขัน้ และในทุกๆ อายะห์ทเ่ี ขาอ่าน เขาก็จะได้รบั หนึง่ ต�ำแหน่ง หรือฐานะหนึง่ ต�ำแหน่ง จนกระทัง่ เขา ได้อ่านถึงอายะห์สุดท้ายของเขาที่ได้เคยอ่านเอาไว้ในโลกดุนยา ”
ในการศึกษา การทบทวนท�ำความเข้าใจอัลกุรอานกันระหว่างท่าน รซูลลุ ลอฮฺกบั ท่านญิบรีล นัน้ เป็นเวลายามค�ำ่ คืน ก็เป็นอีกเหตุผลเช่นกัน ทีช่ ว่ ยให้อา่ นอัลกุรอานกันให้มากในค�ำ่ คืนของเดือรรอมฎอน เพราะว่าใน ยามค�ำ่ คืนเป็นเวลาทีผ่ คู้ นไม่ตอ้ งพะวงอยูก่ บั การท�ำงาน เป็นเวลาของการ รวมเอาไว้ซึ่งสิ่งส�ำคัญๆ ระยะเวลาที่ปาก (ค�ำพูด) และหัวใจต่างพร้อมใจ กันทีจ่ ะร่วมพิจารณาในสิง่ ต่างๆ ดังนี้ อัลลอฮฺตรัสไว้ในซูเราะฮฺอลั มุซซัมมิล อายะฮฺที่ 6 ความว่า : แท้จริงการตื่นขึ้นกระท�ำอิบาดะห์ในเวลากลางคืนนั้นเป็น ที่ซาบซึ้งตรึงใจยิ่ง เป็นเวลาที่ประทับใจยิ่ง และเป็นการอ่านที่ชัดเจน เกีย่ วกับผลบุญทีผ่ อู้ า่ นจะได้รบั มีระดับต่างๆ ยืนยันเอาไว้อย่างมากมาย ฮะดีษแรกเป็นฮะดีษทีบ่ นั ทึกที่ อิหม่ามติรมิซยี ์ ท่านอับดุลลอฮฺ บิน มัสอูด ได้กล่าวว่า ท่านรซูลลุ ลอฮฺ ได้กล่าวว่า “ผูใ้ ดอ่านอักษรใดอักษรหนึง่ จาก อัลกุรอานจะได้รับผลบุญ 1 คุณความดี และ 1 คุณความดีนั้นจะมีค่าเป็น 10 เท่า ฉัน (ท่านนบี) มิได้กล่าวว่า อลีฟ ลาม มีม หมายถึง 1 อักษร แต่ว่า อลีฟ ก็คือ 1 อักษร ลามคือ 1 อักษร และมีมคืออีก 1 อักษร ฮะดีษนีบ้ นั ทึกทีอ่ หิ ม่ามบุคอรียแ์ ละมุสลิม ซึง่ รายงานมาจากท่านหญิง อาอีซะฮฺ ได้กล่าวว่า ท่านรอซูลลุ ลอฮฺได้มรี บั สัง่ ไว้กบั ประชาชาติของท่าน ว่า “ ผูใ้ ดทีอ่ า่ นอัลกุรอานด้วยความช�ำนาญ มีความเชีย่ วชาญคล่องแคล่ว ในการอ่าน เขาจะได้อยูก่ บั บรรดามะลาอิกะห์ผทู้ รงเกียรติ ส่วนผูท้ ยี่ งั อ่าน ไม่ชำ� นาญ อ่านติดตะกุกตะกักอ่านแล้วท�ำให้เกิดความยากล�ำบากต่อเขา ในการอ่าน เขาผู้นั้นจะได้รับผลบุญ 2 เท่า ท่านผู้อ่านที่รัก จากฮะดีษข้างต้นนี้ เราก็จะทราบว่าอิสลามนั้นเป็น ศาสนาทีม่ แี ต่ให้กบั ให้ ท่านนบีรบั รองเอาไว้อย่างแน่นอนเลยว่า ผูท้ มี่ คี วาม ช�ำนาญในการอ่าน อัลลอฮฺจะให้เขาผูน้ นั้ อยูใ่ นต�ำแหน่งอันทรงเกียรติ คือ ได้อยู่ร่วมกับบรรดามะลาอิกะห์ส่วนผู้ที่ยังอ่านไม่ช�ำนาญ ไม่คล่องแคล่ว ท่านก็มิได้ท�ำให้บุคคลประเภทนี้ต้องหมดหวังหรือท้อแท้ ท่านยังสัญญา เอาไว้ตอ่ ไปอีกว่า ผูท้ อี่ า่ นในลักษณะทีย่ งั ไม่คล่องแคล่ว อ่านยังตะกุกตะกักอยู่ เขาผู้นั้นก็จะได้รับผลบุญเพิ่มขึ้นไปอีก 2 เท่า ฉะนั้นในเดือนอันมหา ประเสริฐนี้ นับเป็นโอกาสอันดี เป็นวาระที่เหมาะสม ส�ำหรับผู้ที่ยังอ่าน
อัลกุรอานไม่คล่องแคล่วจะได้มโี อกาสทีจ่ ะฝึกฝนตนเอง เสริมสร้างทักษะ การอ่านให้กับตนเอง ด้วยกับการพากเพียรในการอ่านอัลกุรอานให้มาก ขึน้ เพือ่ หวังเอาไว้สกั วันหนึง่ ข้างหน้า อินชาอัลลอฮฺเขาจะเป็นผูท้ มี่ พี รสวรรค์ มีความช�ำนาญในการอ่านคัมภีรข์ องพระองค์ และเพือ่ ต�ำแหน่งอันมีเกียรติ ณ ที่พระองค์ คือการได้อยู่ร่วมกับบรรดามะลาอิกะห์ผู้ทรงกียรติของ พระองค์ ท่านกระท�ำเช่นนี้อยู่เป็นเนืองนิด ด้วยกับการพยายามในการ อ่านจนกลายเป็นกิจวัตรประจ�ำวัน มีนิสัยชอบการอ่านจนท่านรู้สึกว่า การอ่านอัลกุรอานนั้นกลายเป็นส่วนหนึ่งในชีวิตของท่านไปแล้ว ยิ่งอ่าน ก็ยิ่งมีรสชาติ อ่านอย่างไม่รู้จักเบื่อหน่าย พี่น้องครับไม่ต้องสงสัยเลยว่า บุคคลชนิดนี้ เมือ่ การตอบแทนมาถึงเขาจะได้รบั อะไรลองพิจารณาฮะดีษ ทีจ่ ำ� มาเสนอ ท่านรซูลได้รบั สัง่ ได้บอกถึงผลบุญอะไรทีผ่ ท้ ู อี่ า่ นอัลกุรอานมากๆ จะได้รับ ฮะดีษนี้บันทึกที่ อิหม่ามอะหมัด , อันนะซาอีย์ , อบูดาวุด , ติรมิซีย์ อิบนิฮบิ บาน และท่านฮากิม แล้วฮะดีษบทนี้ ท่านเชคอัลบานีย์ ยังรับรอง ว่าเป็นฮะดีษที่ศอเฮียะฮฺ รายงานจากท่านอับดุลลอฮฺ บุตรของท่านอัมรฺ อิบนิลอาศ ได้เล่าว่า ท่านรซูลุลลอฮฺได้กล่าวว่า “ จะมีเสียงกล่าวขึ้นแก่ ชาวอัลกุรอาน(ผูท้ อี่ า่ นและศึกษา) เมือ่ พวกเขาได้เข้าไปในสวนสวรรค์เสียง นัน้ จะกล่าวขึน้ ว่า เจ้าจงอ่านและจงขึน้ ไป แล้วชาวอัลกุรอานก็อา่ นอัลกุรอาน ตามค�ำใช้นั้นพร้อมทั้งเดินขึ้นไปแต่ละขั้น และในทุกๆอายะห์ที่เขาอ่าน เขาก็จะได้รับ 1 ต�ำแหน่ง หรือ ฐานะ 1 ต�ำแหน่ง จนกระทั้งเขาได้อ่าน ถึงอายะห์สุดท้ายของเขาที่ได้เคยอ่านเอาไว้ในโลกดุนยา” จากฮะดีษบทนีจ้ ะต่างกับฮะดีษบทอืน่ ทีไ่ ด้กล่าวมาข้างต้น นอกจาก ผลบุญที่จะได้รับแล้วเขายังได้รับฐานะหรือต�ำแหน่งในสวรรค์ ซึ่งเป็น ต�ำแหน่งที่มุอฺมินเราได้รับอย่างแน่นอนและได้รับด้วยวิธีแสนจะง่ายดาย จากการอ่านอัลกุรอาน ดังนัน้ ใครทีป่ รารถนาอยากจะมีตำ� แหน่งสูง ฐานะ อันสูงส่ง ก็ควรจะไขว่คว้ามาตราบที่เขายังมีชีวิตอยู่ในดุนยานี้ ก่อนที่ จะสายเกินจะไขว่คว้ามา ท่านผูอ้ า่ นลองหลับตา ค�ำนวณดูซคิ รับว่า อัลกุรอาน ทั้งเล่ม มีทั้งหมดหกพันกว่าอายะฮฺ ใครยิ่งอ่านมากเท่าไร ฐานะของเขา จะสูงขนาดไหน? แล้วชีวติ เราทัง้ ชีวติ เคยหันมาถามกับตนเองบ้างไหมว่า 1 ปี ที่ผ่านมาเราอ่านกันได้มากน้อยแค่ไหน สารศรัทธาชน 27
แด่พวกเธอคู่ชีวิต อาจารย์อาดัม พรภาพงาม แด่ท่านมุสลิมีน ท่านคือผูช้ ายทีถ่ กู เลือก ท่านได้แต่งงานกับสาวคนหนึง่ มันไม่ใช่ความ บังเอิญ มันคือข้อก�ำหนด ปากกาได้ถูกยกแล้ว น�้ำหมึกได้แห้งแล้ว จะสุข หรือจะทุกข์ ไม่ต่างกัน หากมันได้ถูกขีดเขียนไว้แล้ว หากชีวิตคู่ของท่าน เข้าสูท่ างตัน วุน่ วายและยากทีจ่ ะยอมรับ ไม่ไหวอ่อนแรง ลองคิดดูวา่ ท่าน ต้องการอะไรจากแบบทดสอบนี้ ?? ท่านต้องการปลดเปลื้องภาระ ไปสู่ แบบทดสอบใหม่ที่ไม่รู้ว่าอนาคตจะหนักหนากว่าที่เป็นอยู่หรือไม่ ? หรือ ท่านต้องการอดทนในหนทางของท่านเพื่ออัลลอฮฺจะได้รับการอภัยใน ความผิดทีผ่ า่ นมาของท่าน ? ท่านเคยทราบมัย้ ว่าท่านจะได้รบั การอภัย ?? เมือ่ มีคนทีเ่ ลวคนหนึง่ เดินมาหาท่าน แล้วเขาบอกกับท่านว่า เขาท�ำซินา เขาเคยท�ำร้ายคน เขาเคยไม่ละหมาด เขาเคยติดยาเสพติด และเขาบอก กับท่านว่า วันนีเ้ ขาจะกลับเนือ้ กลับตัว ท่านจะให้โอกาสเขามัย้ ? แน่นอน ท่านให้โอกาสเขาแน่นอน และเมือ่ เขากลับมาหาท่านอีกภายในเดือนถัดไป ในสภาพที่เขายังท�ำความผิดอยู่ เขาได้มาหาท่านเสมือนครั้งแรก ได้บอก กับท่านว่าเขาผิดไปแล้วท่านจะอภัยให้กบั เขามัย้ ? แน่นอนท่านให้โอกาส เขาเสมอ และท�ำไมกับภรรยาทีอ่ ยูเ่ คียงคูช่ วี ติ มากับท่าน ร่วมทุกข์สขุ พร้อม กับท่าน ท่านนบีได้สอนกับเราว่า เราต้องให้อภัยภรรยาของเราวันละ70 ครัง้ และท่านนบียังย�้ำเตือนสติของเราอีกว่า เราได้ร่วมหลับนอนกับพวงนาง นางอาจมีบางอย่างที่เราไม่พอใจ แต่ยังมีอีกหลายอย่างที่เป็นความดีใน ตัวนาง แด่เธอมุสลิมะฮ์ เธอได้เลือกชายผู้นี้แล้ว เธอไม่ได้ถูกบังคับ อัลลอฮฺทรงให้โอกาสเธอ ในการเลือกเฟ้น หาคนทีเ่ ธอรัก และแน่นอน เธอรักเขาเธอจึงแต่งงานกับเขา เป็นสัจธรรมจนถึงวันแห่งการตัดสินเมือ่ เธอได้อยูก่ บั เขาเธอจะไม่พอใจเขา ในบางเรื่อง สิ่งที่เห็นก่อนครองชีวิตคู่มันต่างจากสิ่งที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน เธอต้องการรักมั่นคง ยืนยงไม่เปลี่ยนแปลง แต่เธอไม่ได้รับเช่นนั้นในโลก ของความเป็นจริง คู่ชีวิตเธอเปลี่ยนไปจากเดิม หากเธอรักเขา เธอลอง กลับใคร่ครวญหัวใจว่าเธอรักเขาทีส่ งิ่ ใด หากการเปลีย่ นแปลงไปท�ำให้เธอ แย่ลง แต่ทำ� ให้เธอใกล้ชดิ พระเจ้ามากขึน้ เพือ่ วอนขอความเห็นใจ และขอ ให้สามีกลับมาเป็นอย่างเดิม นั่นอาจจะดีกว่าการที่เขาไม่เปลี่ยนแปลงให้ เธอเศร้า แต่เธอไร้โอกาสวอนขอพระองค์ด้วยกับน�้ำตา
28
สารศรัทธาชน
หากท่านมีลูกๆ ท่านจงมองไปที่ดวงตาทั้งคู่ของพวกเขา ท่านจะเห็น ว่าตัวท่านอยู่ในสายตาของพวกเขา ท่านคือฮีโร่ ท่านคือผู้ปกป้องพวกเขา ในยามที่พวกเขาหวาดกลัว ท่านคือผู้ที่ปลอบพวกเขาในยามที่พวกเขา เสียใจร้องไห้ หากตัวท่านหายไป แล้วใครกัน ? ที่มีความห่วงใยเท่าท่าน จะดูแลพวกเขา และใครกันจะคอยตักเตือนพวกเขาให้เติบใหญ่เป็นบ่าว ที่ดีของอัลลอฮฺ อาจจะมี หรือไม่มี ใครกันเล่าที่จะล่วงรู้ ? แต่ที่รู้ๆท่านคือ คนๆนั้นในปัจจุบันนี้ หากท่านและเธอไม่ใยดีต่อกัน ไม่ขอที่จะสมานความสัมพันธ์ และ พร้อมจะตัดขาดให้สะบั้น ขาดจากกันอย่างไร้เยื่อใย โดยไม่สนใจลูกน้อย ดังนั้นพวกท่านจงปลดห่วงคล้องคอเส้นนี้ซะ ด้วยการหย่าร้างกันอย่างดี ตามค�ำสอนของท่านนบี ให้ถูกวิธีและอย่าได้ทิ้งภาระที่พวกท่านสร้าง พยานรักด้วยกัน โดยให้เขาเติบโตอย่างขุน่ มัว เพราะส่วนใหญ่ของ โจรปล้นฆ่า ข่มขืน ลักขโมย โกงกินบ้านเมือง ท�ำร้ายผู้อ่อนแอฯ คือผู้ที่ครอบครัวไม่ ประสานความรักต่อกัน หากมันมิใช่หนึ่งครอบครัว แต่เป็นครึ่งหนึ่งของ สังคม ลองค�ำนวนดูสิว่า สังคมที่เราอยู่จะแสวงหาความผาสุขได้อย่างไร มิใช่ปญ ั หาเพียงในครอบครัว เชิญมักง่ายเท่าทีม่ กั ง่าย และปล่อยให้องค์กร ศาสนาต่างๆมาแก้ปัญหา ปัญหาที่เกิดมาจากท่านทั้งสอง หากพวกท่าน อดทนอยู่กันไม่พอ แต่หากท่านอดทน ท่านอาจจะไม่อดทนก็ได้ ด้วยเหตุผลต่างๆนานา แต่ถ้าอดทนได้ อัลลอฮฺจะอยู่กับท่าน ท่านจะได้รับการชม ไม่มีใครต�ำหนิ นอกจากพวกอิจฉาความอดทนของท่าน เขาจะกล่าวกับท่านว่า ท่านจะ ทนไปท�ำไม ?? เช่นนี้แหละ ถ้าท่านหัวใจไม่หวั่นไหว ท่านจะถูกสรรเสริญ ถึงแม้ว่าท่านจะมีชีวิตที่ล�ำบากต่อไปก็ตาม แต่ท่านอย่าลืม ปริมาณผล ตอบแทนจะมากเท่ากับชีวิตท่านที่อดทนเพื่ออัลลอฮฺ โอ้ทา่ นผูศ้ รัทธา ท่านได้เริม่ ต้นความรักแบบใดกัน ท่านได้สร้างคืนวัน อันหอมหวานด้วยกับอะไร ? ความเพลิดเพลินเงินทอง ทรัพย์สมบัติ การ ท่องเที่ยว ทั้งๆที่ท่านก็รู้ดีว่าสิ่งดังกล่าวจะผ่านไป ไม่คงเหลืออะไรไว้ นอกจากความทรงจ�ำจางๆ ที่ถูกลบออกไปเมื่อความโกรธเข้ามาแทนที่ ท�ำไม ? ท่านไม่สร้างความผูกพันธ์ที่จะตราตรึงคงมั่นมิลบเลือน ? นั่นคือ การสร้างอิบาดะฮ์รว่ มกัน ละหมาดร่วมกัน อ่านอัลกุรอานด้วยกัน เสียสละ บริจาคร่วมกัน ในหนทางเพื่ออัลลอฮฺ อัลลอฮฺจะตราตรึงหัวใจของท่าน กับนาง เมื่อใดที่ ความโกรธของท่านมาเยือน ท่านจะถูกปกป้องมิให้ลืม เลือนจากความรักผูกพันธ์ดว้ ยอิบาดะฮ์ ท่านจะไม่อยากจากนางไป เพราะ นางคือคนทีค่ อยช่วยเหลือให้ทา่ นได้รบั สวรรค์ และนางก็จะอดทนต่อท่าน เพราะท่านได้จูงมือนางเข้าสวรรค์เช่นกัน แน่นอนการใช้ชีวิตคู่เปรียบ เสมือนฝันหวานของมนุษย์ แต่เบือ้ งหลังความหวานนัน้ คืออุปสรรคนานา นับประการ และเบื้องหลังอุปสรรคนานานับประการนั้น ยังคงมีความ หอมหวานอันเป็นนิรันดร์ที่อัลลอฮฺได้สัญญามันเอาไว้ หนทางอันใดเล่า จะน�ำไป ผ่านพ้นไป เดินไปยังจุดหมายแห่งความรักอันเป็นนิรนั ดร์ คนใน ยุคก่อนที่ได้รับความส�ำเร็จย่อมรู้จักมันดี ผู้ที่เคยล้มเหลวก็คุ้นเคยกับมัน มันคือ การย�ำเกรงต่อพระองค์ ดังทีพ่ ระองค์ตรัสไว้วา่ ใครก็ตามทีม่ คี วาม ย�ำเกรงเขาจะมีทางออกเสมอ ขอตักเตือนแด่ผู้ที่จะแยกทางกัน ท่านอาจ จะปลดเปลื้องภาระของท่าน แต่ท่านอาจจะทิ้งปัญหาให้สังคม และมันก็ จะเป็นค�ำถามอันขื่นขมในวันกิยามะฮ์ และท่านจะตอบกันอย่างไร ??
5 วิธีสู่การให้ท่ไี ด้คุณค่า อุ มมุ นัสรีน
หลายคนอาจจะเคยสงสัยว่า ท�ำไมนะคนเรา ถึงมีฐานะและสภาพความเป็นอยู่ที่แตกต่างกัน บ้างมีฐานะร�ำ่ รวยเป็นมหาเศรษฐีจนไม่รวู้ า่ จะใช้เงินอย่างไรหมด บ้างก็สุดแสนจะยากจน อดมื้อ กินมื้อ นีค่ อื สภาพความเป็นจริงทีเ่ ราพบเห็นในปัจจุบนั จนท�ำให้เกิดการแบ่งแยกระหว่างคนรวยและคนจน แต่ส�ำหรับอิสลามแล้วหาได้เป็นเช่นนั้นไม่ อิสลามไม่ได้สร้างความเหลือ่ มล�ำ้ ให้เกิดขึน้ ในสังคม ในทางกลับกันอิสลามได้ส่งเสริมให้มี การช่วยเหลือซึง่ กันและกัน ระหว่างคนรวยและ คนจน รวมไปถึงบุคคลทีต่ อ้ งการความช่วยเหลือ เช่น เด็กก�ำพร้า แม่ม่าย คนขัดสน การให้คือ แนวทางหนึง่ ของการช่วยเหลือ ซึง่ ไม่ได้จำ� กัดแค่ ทรัพย์สิน แต่ยังหมายรวมถึงสิ่งต่างๆ ด้วยเช่น เดียวกัน แต่การให้อย่างไรนะ ทีผ่ ใ้ ู ห้จะได้รบั ผลบุญอย่าง มากมายมหาศาลจากอัลลอฮฺ ซุบฮานะฮุวะตะอาลา 5 วิธีการให้ที่ได้คุณค่าเป็นอีกแนวทางหนึ่ง ในการตรวจสอบตัวของท่านเอง ว่าทุกครัง้ ทีห่ ยิบยืน่ สิง่ ใดก็ตามแต่ให้กบั บุคลลอืน่ นัน้ เราได้รบั ผลบุญ จากอัลลอฮฺ ซุบฮานะฮุวะตะอาลา ทุกครั้งมั้ย? แล้วมันคุ้มค่าแล้วหรือยัง? 1.ให้ดว้ ยมือขวาโดยทีม่ อื ซ้ายไม่รวู้ า่ มือขวา ได้ให้อะไรไปบ้าง ท่านนบี ซอลลั้ลลอฮุอะลัย ฮิวะซัลลัมได้เปรียบเทียบไว้อย่างสวยหรู ว่าหนึง่ ในเจ็ดจ�ำพวกทีจ่ ะได้อยูใ่ นร่มเงาของพระองค์ใน วันกิยามะฮฺนั้น คือผู้ที่มือขวาของเขาบริจาค โดยทีม่ อื ซ้ายของเขาไม่รู้ เข้าใจง่ายๆ นะ ทุกครัง้ ที่เราหยิบยื่นสิ่งใดก็ตามแต่ให้กับบุคคลอื่นเรา โอ้อวดมั้ย ? เราอยากให้คนอื่นเห็นหรือเปล่า เล่าให้คนอื่นฟังมั้ย ? จะประมาณว่า “วันนี้ฉัน บริจาคเงินให้เด็กก�ำพร้าไปประมาณแสนนึง” โดย มีเจตนาโอ้อวด ถือว่าการบริจาคของเขาไม่ได้รบั ผลบุญเลย เพราะอะไรละ ? ก็เพราะขาดความ บริสทุ ธิใ์ จในการให้แต่ละครัง้ ซ�ำ้ ร้ายจะโดนลงโทษ จากพระองค์ เพราะอัลลอฮฺ ซุบฮานะฮุวะตะอาลา
กล่าวว่า “บรรดาผู้ศรัทธาทั้งหลาย จงอย่า ให้การบริจาคทานของสูเจ้าไร้ผลด้วยการล�ำเลิก และการก่อความเดือดร้อน เช่นผูท้ บี่ ริจาคทรัพย์ ของเขาเพือ่ อวดอ้างผูค้ น อีกทัง้ เขาไม่ศรัทธาต่อ อัลลอฮฺและวันอาคิเราะฮฺ (ซูเราะฮฺอลั บาเกาะเราะฮฺ อายะที่ 19) 2.รักสิ่งไหนให้สิ่งนั้น ท่านนบีมฮู มั หมัด ซอลลัล้ ลอฮุอะลัยฮิวะซัลลัม กล่าวว่า “ไม่มีผู้ใดในพวกท่านศรัทธา จนกว่า เขารัก ทีจ่ ะให้แก่พนี่ อ้ งของเขาในสิง่ ทีเ่ ขารักเพือ่ ตัวของเขาเอง (รายงานโดยบุคอรี) เคยมั้ย? ที่ เราจะให้ของที่ตัวเองรักกับคนอื่น หายากนะ มาดูตวั อย่างท่านนบีมฮู มั หมัด ซอลลัล้ ลอฮุอะลัย ฮิวะซัลลัม ได้มีผู้หญิงคนหนึ่งได้น�ำผ้าซัมละฮฺ (เป็นผ้าทีม่ ชี ายขริบรอบด้าน) มามอบให้กบั ท่าน นบีสวมใส่ ท่านนบีจงึ ได้นำ� ผ้านัน้ มาเพราะความ ต้องการของท่าน และท่านได้สวมมัน แล้วมีชาย คนหนึ่งในหมู่ซอฮาบะฮฺ ได้เห็นท่านนบีสวม เขาจึงกล่าวว่า โอ้ทา่ นร่อซูล้ ฯ สวยดี ให้ฉนั เถอะ ท่านนบีกต็ อบว่าได้ซิ ท่านจึงได้มอบให้ไป เห็นไหม นีค่ อื แบบอย่างทีด่ งี ามต่อเรือ่ งนี้ ฉะนัน้ เลิกคิดได้ แล้วว่าจะให้ดไี หมนะ เราชอบมากเลย เสียดายจัง 3. ให้โดยไม่หวังสิ่งตอบแทน ความสุขอย่างหนึง่ ของการให้ คือให้โดยที่ มิได้มงุ่ หวังอะไรทัง้ สิน้ เฉกเช่น บรรดาซอฮาบะฮฺ หลายๆ ท่านที่ยอมบริจาคทรัพย์ที่ตัวเองมีอยู่ เพื่อช่วยเหลือศาสนา บ้างก็หมดเนื้อหมดตัว เหตุใดกันละทีบ่ รรดาซอฮาบะฮฺถงึ ได้ยอมทุม่ เท เสียสละทรัพย์สิน เงินทองมากมายขนาดนั้น ? เพียงแค่พวกเขาคิดว่า เพียงพอแล้วกับการช่วย เหลือ และการตอบแทนจากพระองค์ แล้วเราล่ะ หวังที่จะได้สิ่งตอบแทนเล็กๆน้อยๆจากมนุษย์ หรือรอคอยรางวัลชิ้นโบว์แดงจากพระองค์ 4.ไม่เลือกที่รัก มักที่ชัง งานเลี้ยงที่น่ารังเกียจที่สุด คืองานเลี้ยงที่ เชิญแต่คนรวย แต่ไม่เชิญคนจน อิสลามไม่ได้สอน ให้มนุษย์สร้างความเหลือ่ มล�ำ้ ต่อกัน แม้แต่การ
ยืนละหมาด ซึ่งถือว่าเป็นอิบาดะฮฺที่ยิ่งใหญ่ ท่านนบีได้สงั่ ใช้วา่ “พวกท่านจงจัดแถวละหมาด ให้ตรง อย่าให้เหลือ่ มล�ำ้ กัน เพราะหัวใจของพวก ท่านจะขัดแย้ง (รายงานโดยมุสลิม) หรืออีก ตัวอย่างง่ายๆ นั่นก็คือ การท�ำฮัจญ์ที่เป็นการ บ่งบอกความเท่าเทียมกัน ดังนัน้ การให้ของเรา ก็หมั่นตรวจสอบตัวเองหน่อยแล้วกันว่าให้เขา เพราะอะไร ? เพราะหวังผลประโยชน์ หรือหวังการ ตอบแทนกลับจากเขา หรือเห็นเขารวยก็ชว่ ยเหลือ เขา ทั้งที่คนยากจนไม่คิดช่วยเหลือเพียงเพราะ เขาจน ถึงให้ไปก็ไม่ได้ประโยชน์ 5.ไม่จำ� กัดประเภทสิง่ ทีจ่ ะให้ (ให้ทกุ อย่างที่ เป็นความดี) หลายคนอาจคิดว่าตัวเองฐานะก็ไม่ค่อยดี เงินที่ใช้จ่ายอยู่ทุกวันนี้ก็ไม่พอใช้อยู่แล้ว ถ้าจะ ให้บริจาคอีก คงต้องอดตายแน่ๆ มาท�ำความเข้าใจ กันใหม่ดกี ว่า อิสลามไม่ได้ตอ้ งการสร้างความล�ำบาก ให้แก่มสุ ลิมแต่อย่างใด แต่ยงั มีทางเลือกอืน่ ทีเ่ รา สามารถท�ำเป็นทาน(ซอดาเกาะฮฺ) ได้เช่นกัน แท้จริงท่านนบีมฮู มั หมัด ซอลลั้ลลอฮุอะลัยฮิวะ ซัลลัม กล่าวว่า “ทุกๆ การกระท�ำดี ถือเป็นการ ท�ำทาน (ซอดาเกาะฮฺ) ทัง้ สิน้ ” (รายงานโดยบุคอรี) ท่านนบียงั ได้กล่าวอีกว่า “ความดีทกุ อย่างนัน้ เป็น ซอดาเกาะฮฺ และส่วนหนึง่ จากความดีกค็ อื การ ที่ท่านพบพี่น้องของท่านด้วยใบหน้าที่ยิ้มแย้ม และการทีท่ า่ นเทน�ำ้ ในกระป๋องของท่านลงไปใน ภาชนะของเขา” (รายงานโดยอิหม่ามอะฮฺหมัด) ทุกๆ การกระท�ำความดีถือเป็น ซอดาเกาะฮฺ ทั้งสิ้น ไม่ต้องน้อยใจหากท่านยังไม่มีทรัพย์สิน มากพอทีจ่ ะบริจาค ความดีเล็กๆน้อยๆ แม้กระทัง่ การป้อนอาหารแก่ภรรยา ท่านนบีก็ถือว่าเป็น ซอกาเกาะฮฺ เพื่อให้การบริจาคทุกครั้งของเราได้คุณค่า พยายามตรวจสอบตัวเอง และทีส่ ำ� คัญทีส่ ดุ จิตใจ ของเราเอง เพราะเรือ่ งของการซอดาเกาะฮฺ (การให้) เป็นเรือ่ งของพฤติกรรมทีผ่ กู พันอยูก่ บั จิตใจนัน่ เอง
สารศรัทธาชน 29
บททดสอบอันยิ่งใหญ่ กับรางวัลที่ใหญ่ย่งิ อับดุลชู โกร ยุ ทธกาศ
30
สารศรัทธาชน
มนุษย์ทกุ คนทีถ่ กู ก�ำเนิดมาในโลกนี้ ล้วนต้องเผชิญกับอุปสรรค ปัญหา มากมาย โดยมีรูปแบบและเวลาที่ต่างกันออกไป อุปสรรคต่างๆ เหล่านี้ เป็นกระบวนการขัดเกลาและฝึกฝนในคราวเดียวกัน เพือ่ ให้มนุษย์มคี วาม แข็งแกร่ง มีความรอบคอบและมีไหวพริบมากขึ้น ทั้งนี้เพื่อเผชิญกับ อุปสรรคใหม่ทจี่ ะเกิดขึน้ ในคราต่อไป ตัวอย่างเช่น เมือ่ เกิดภัยพิบตั ติ า่ งๆ ขึน้ มนุษย์จะสามารถเรียนรูใ้ นสิง่ นัน้ และสามารถหาแนวทางป้องกันเพือ่ ไม่ให้ เกิดผลกระทบหรือเกิดน้อยทีส่ ดุ และเช่นเดียวกันนี้ ในเรือ่ งของการเอาชนะ โรคภัยต่างๆ ก็เป็นที่ประจักษ์แล้วว่ามนุษย์สามารถคิดค้น วิธีการรักษา และป้องกันผลกระทบจากโรคนั้นๆ ได้ โดยผ่านกระบวนการเรียนรู้จาก ผูป้ ว่ ยซึง่ ประสบกับโรคนัน้ ๆ โดยตรง ซึง่ พอสรุปได้วา่ เป็นการเรียนรูผ้ า่ น อุปสรรคนั่นเอง สัจธรรมดังกล่าว จึงไม่ใช่สงิ่ แปลกส�ำหรับมนุษยชาติอกี ต่อไป แต่เรือ่ ง ทีห่ ลายคนยังคงกังวลก็คอื การเผชิญหน้าและการฝ่าฟันอุปสรรคเหล่านัน้ ได้อย่างไรต่างหาก ที่ยังคงเป็นข้อกังวลจนบางครั้งส่งเป็นผลกระทบต่อ จิตใจ ร่างกายและทรัพย์สิน เช่น การเกิดความเครียด วิตกกังวล ในการ หาทางออกเพื่อแก้ไขอุปสรรคนั้นๆ และในจ�ำนวนนี้อีกไม่น้อย ที่พวกเขา ยังคงหาทางออกไม่ได้ จนบางครั้งน�ำไปสู่การจบชีวิตตัวเอง ดังกล่าวนั้น เป็นเพราะ การขาดความรู้ ความเข้าใจทีถ่ กู ต้องในการแก้ไขเพือ่ คลีค่ ลาย อุปสรรคเหล่านั้นอย่างถูกวิธี ในอิสลาม อุปสรรคหรือบททดสอบนั้น เป็นเรื่องที่มนุษย์ทุกคนต้อง เผชิญ มิอาจหลีกเหลี่ยงได้ เพราะนั้นคือกระบวนการคัดกรองผู้ศรัทธา
“ แท้จริงผลตอบแทนที่ยงิ่ ใหญ่นนั ้ เกิดจากบททดสอบ ที่หนักหน่วง หากพระองค์ อัลลอฮฺ ทรงรักกลุ่มชนใด พระองค์จะทรงทดสอบพวก เขา ดังนัน้ ผู ้ใดที่ยอมจ�ำนน พระองค์ จ ะทรงพอพระทั ย ต่ อ เขา และหากว่ า ผู ้ ใ ดไม่ พอใจ (ต่อบททดสอบนัน้ ) พระองค์ก็ทรงไม่พอพระทัย ต่อเขา (เช่ นกัน) ”
ออกจากผูป้ ฏิเสธศรัทธา กล่าวคือ บททดสอบนัน้ คือ เครือ่ งมือและพระประสงค์ จากพระเจ้าเพือ่ คัดแยกบ่าวของพระองค์ ดังโองการแห่งอัลกรุอาน ซูเราะห์ อัลบะกอเราะห์ อายะห์ที่ 155 ความว่า “และเราจะทดสอบพวกเจ้าอย่างแน่นอน ด้วยสิง่ ใดสิง่ หนึง่ จากความหวาดกลัวและความหิวโหยและด้วยการสูญเสียในทรัพย์สมบัติ ชีวิต และพืชผล (อย่างใดอย่างหนึ่ง) และเจ้า (โอ้มุฮัมหมัด) จงแจ้งข่าวดี แก่บรรดาผู้อดทนเถิด” และอีกโองการหนึ่งใน ซูเราะห์อัลอังกะบูต อายะห์ที่ 1 และ 2 ว่า ความว่า “อะลิฟ ลาม มีม มนุษย์คิดหรือว่า พวกเขาจะถูกทอดทิ้ง (ไม่ถูกสนใจ) เพียงแค่พวกเขากล่าวว่าเราศรัทธาแล้ว และพวกเขาจะไม่ ถูกทดสอบ กระนั้นหรือ” และท่านศาสนทูตของอัลลอฮฺ (ซอลลัล้ ลอฮุอะลัยฮิวะซัลลัม) ได้กล่าว เอาไว้โดยการบันทึกจากท่าน อัลติรมีซีย์ว่า ความว่า “แท้จริงผลตอบแทนทีย่ งิ่ ใหญ่นนั้ เกิดจากบททดสอบทีห่ นักหน่วง หากพระองค์อัลลอฮฺ ทรงรักกลุ่มชนใด พระองค์จะทรงทดสอบพวกเขา ดังนั้นผู้ใดที่ยอมจ�ำนน พระองค์จะทรงพอพระทัยต่อเขา และหากว่าผูใ้ ด ไม่พอใจ (ต่อบททดสอบนัน้ ) พระองค์กท็ รงไม่พอพระทัยต่อเขา (เช่นกัน)” ดังนัน้ การยอมจ�ำนน (มิใช่ความท้อแท้ หมดก�ำลังใจ) และการอดทน อดกลั้นต่อความยากล�ำบากนั้น จึงเป็นวิสัยของผู้ศรัทธาอย่างแท้จริง ซึ่ง
นอกจากการได้รับรู้และเข้าใจในนัยยะดังกล่าวแล้ว สิ่งที่เขาจะได้รับนั้น ก็จะมีความคุ้มค่าอย่างยิ่ง นั้นคือ ความพอพระทัยจากพระเจ้าของเขา และยังรวมไปถึงสิ่งดีๆ ที่เขาจะได้รับหลังจากผ่านพ้นบททดสอบไปแล้ว อย่างที่เราเคยได้ยินว่า “ฟ้าหลังฝนนั้นย่อมงดงามเสมอ” นอกจากนี้ ผู้ศรัทธาควรตระหนักถึงข้อปฏิบัติที่ควรปฏิบัติในขณะที่ เขาก�ำลังเผชิญกับบททดสอบและปัญหาเหล่านัน้ ด้วย เพราะเป็นสิง่ ส�ำคัญ ที่จะน�ำเขาไปสู่รางวัลที่แสนคุ้มค่า เพื่อให้บททดสอบนั้นถูกขจัดออกไป หรือถูกบรรเทาลงโดยเร็ว จึงขอหยิบยก บทความวิชาการส่วนหนึ่งของ เชค คอลิด บินซูอูด อัลบุลัยฮัด ที่ได้รวบรวมข้อควรปฏิบัติบางประการไว้ ดังนี้ • การขอดุอาพร้อมกับการขออภัยโทษต่ออัลลอฮฺ การขอดุอา จะเป็นอีกสาเหตุหนึ่งที่บททดสอบนั้นจะถูกขจัดออกไป หากการขอดุอานั้น มีผลที่ยิ่งใหญ่กว่าบททดสอบ แต่ถ้าการดุอานั้นมีผล น้อยกว่าสาเหตุที่ท�ำให้เกิดบททดสอบนั้น บททดสอบก็จะยังคงอยู่ ผู้ขอ ดุอาจะต้องท�ำการขออภัยโทษต่ออัลลอฮฺให้มาก พร้อมกับใคร่ครวญ ตัวเองในความผิดทีเ่ ขาเคยพลาดพลัง้ มา เพือ่ จะได้ทำ� การขออภัยโทษ (เตาบัต) อย่างถูกจุด เพราะบางครั้งความผิดนั้นอาจเกี่ยวข้องกับสิทธิของผู้อื่น ซึ่ง ต้องได้รับการอภัยจากผู้นั้นด้วย • การละหมาด (หมายถึงการละหมาดภาคอาสา (สุนัต)) การละหมาดเพิ่มเติมจากการละหมาดภาคบังคับ 5 เวลา (ฟัรดู) โดย เฉพาะการละหมาดในยามค�ำ่ คืน (กียามุลลัยล์) นัน้ จะช่วยสร้างความใกล้ชดิ ต่อพระองค์อัลลอฮฺได้เป็นอย่างดี จึงเป็นโอกาสดีที่ผู้ศรัทธาจะได้วิงวอน ขอความเมตตาและการช่วยเหลือจากพระองค์ดว้ ยจิตใจทีบ่ ริสทุ ธิ์ ในยาม ที่ห่างไกลจากสายตาผู้คน • การอ่านอัลกรุอาน อัลกรุอานนัน้ เป็นยาขนานเอกในการบ�ำบัดโรคทางใจ การอ่านอัลกรุอาน ให้มากและสม�ำ่ เสมอ จึงสามารถช่วยเยียวยาและท�ำให้จติ ใจชุม่ ชืน่ มีชวี ติ ชีวาได้ ดังนั้นผู้ที่อ่านอัลกรุอานด้วยใจที่บริสุทธิ์เป็นกิจวัตร ย่อมส่งผลดี ในเชิงป้องกันได้ (อินชาอัลลอฮฺ) ดังทีพ่ ระองค์อลั ลอฮฺ ได้ตรัสไว้ในซูเราะห์ อัลอิสรออ์ อายะห์ที่ 72 โดยมีความหมายว่า “และเราได้ประทานส่วน หนึง่ จากอัลกุรอานลงมา ซึง่ เป็นการบ�ำบัดและความเมตตาแก่บรรดาผูศ้ รัทธา” • การบริจาคทาน (การซอดาเกาะห์) มีตวั บทมากมายจากอัลกรุอานและอัลฮาดิษ ได้กล่าวถึงความประเสริฐ และคุณค่าของการบริจาคทาน ทั้งยังเป็นการงานที่ดี (เมื่อบริสุทธิ์ใจ) ที่ จะช่วยสร้างความพอพระทัยจากพระองค์อัลลอฮฺ เพื่อให้หลุดพ้นจาก ความยากล�ำบากในบททดสอบนั้น การงานหรือข้อปฏิบตั ขิ า้ งต้นนัน้ เป็นเพียงส่วนหนึง่ ทีผ่ ศู้ รัทธาปฏิบตั ิ จะได้รบั ความเมตตาจากพระองค์อลั ลอฮฺ ให้เขาได้หลุดพ้นจากบททดสอบ ที่หนักหน่วง พระองค์ทรงได้กล่าวไว้ในซูเราะห์อัลชัรห์ อายะห์ที่ 5 ซึ่งมี ความหมายว่า “ในความยากล�ำบากนัน้ จะมีความง่ายดายอยูเ่ สมอ” เมือ่ ได้รบั ทราบเช่นนีแ้ ล้ว เราจะประจักษ์วา่ เหตุและผลจะสัมพันธ์กนั แล้วเรา จะเลือกแนวทางไหนที่ดีส�ำหรับเรา จึงขอวิงวอนจากพระองค์อัลลอฮฺ โปรดทรงเมตตาพวกเราทั้งหลาย ให้ผ่านพ้นและปลอดภัยจากบททดสอบทั้งหลายของพระองค์ด้วยเทอญ
สารศรัทธาชน 31
[ Social network ] อ.ซอฟวาน มะลิวัลย์ ขอความสันติสขุ ความเมตตาจากอัลลฮฺ ทรง มีแด่พนี่ อ้ งทีต่ ดิ ตามอ่าน ส�ำหรับฉบับนีผ้ มอยาก จะน�ำเสนออายะห์อัลกุรอานที่อัลลอฮฺทรงตรัส ว่า ...แท้จริงพระองค์ไม่ได้อธรรมกับมนุษย์แต่ อย่างใด แต่วา่ มนุษย์นนั้ ได้อธรรมกับตัวเอง จาก อายะห์ทกี่ ล่าวมานีจ้ ะเห็นได้วา่ แท้จริงพระองค์ นัน้ ไม่ได้อธรรมต่อมนุษย์แต่อย่างใด แต่วา่ มนุษย์ ต่างหากที่ได้อธรรมกันเอง ฉะนั้นเรื่องในฉบับนี้ จึงอยากจะน�ำเสนอและพูดคุยกับพี่น้อง และ ท�ำความเข้าใจถึงความส�ำคัญของ โทรศัพท์ โดย เฉพาะมือถือและ Social Network ถ้าเอ่ยถึงโทรศัพท์มอื ถือและ Social Network ต่างๆ แน่นอนครับ เราต่างก็รู้กันดีว่า มันมีซึ่ง ประโยชน์ ม ากมายและก็ มี โ ทษมากมายเช่ น เดียวกัน ดังนั้นเรื่องราวที่จะได้อ่านต่อไปนี้ มัน อาจจะท�ำร้ายจิตใจพีน่ อ้ งบ้างในบางครัง้ ผมเอง ก็อยากจะขอมาอัฟกับพี่น้องด้วย ถ้าบอกถึงเครือข่าย Social Network ใน ขณะนี้ ผมว่าหลายๆครอบครัวก็ก�ำลังประสบ กับปัญหากันมาพอสมควรเลยทีเดียว เนือ่ งจาก ระบบต่างๆเหล่านี้ วันนีห้ ลายต่อหลายครอบครัว ก็ก�ำลังมีปัญหากับคนในครอบครัว กับลูกกับ หลาน และหลายๆคน อาจจะเป็นปัญหาระหว่าง สามีกับภรรยา ลูกกับพ่อแม่ หรือแม้กระทั่งคน ใกล้ชดิ ต่างผิดใจกันเพราะโทรศัพท์ตา่ งๆเหล่านัน้ ถ้าพูดถึงระหว่างพ่อแม่กบั ลูก หลายครอบครัว ก�ำลังประสบปัญหาว่าลูกอยากได้โทรศัพท์ รบเร้า ให้ซื้อให้ เป็นโทรศัพท์ที่สามารถเล่น Line, 32
สารศรัทธาชน
Whatsapp หรือ Social Network ต่างๆได้ พ่อแม่ บางคนยอมลงทุนซื้อโทรศัพท์ให้ลูกในราคาที่ แพงมาก เพื่อหวังว่าจะได้โทรหาลูกและติดต่อ กับลูก แต่ทว่าพีน่ อ้ งเคยสังเกตบ้างหรือเปล่าครับ ว่าเงินที่เราจ่ายไปเพื่อซื้อโทรศัพท์ให้ลูกนั้น และหวังว่าลูกจะเอามาโทรหาเรานัน้ เขาน�ำไปใช้ ประโยชน์อะไรบ้าง และโทรหาเราวันละกี่ครั้ง มีหลายครัง้ ทีย่ งั ต้องให้เราเติมเงินค่าโทรและค่า เน็ตให้อีกด้วย แล้วพี่น้องทราบหรือเปล่าว่าเงิน ที่หมดไปกับการโทรของลูกเราเขาโทรหาใคร เขาก�ำลังแชตอยู่กับใคร ถ้าหากเขาใช้โทรหาเรา หรือคนในครอยครัว หรือใช้ในการจ�ำเป็นมันก็ ดีไป แต่ถ้าหากว่าเขาเอาไปโทรหาแฟน โทรหา กิ๊ก หรือไปท�ำอะไรที่ผิดต่อหลักการของอิสลาม หรือแม้กระทั่งเอาไปดูหนังโป๊ และเราก็เป็นคน เติมเงินให้เขา เราเองก็จะต้องรับผิดชอบในสิง่ ที่ เกิดขึ้นเช่นกัน พี่น้องผู้ร่วมศรัทธาครับ มีไหมครับที่พี่น้อง จะขอดูโทรศัพท์ที่ลูกเราก�ำลังใช้อยู่ และเช็คว่า เขาใช้โทรศัพท์โทรหาใคร และดูอะไร โดยเฉพาะ ขาดอารยธรรม ขาดการเรียนรูเ้ รือ่ งศาสนา ขาด ความย�ำเกรงต่ออัลลอฮฺ ซ.บ. เราเคยรู้กันบ้าง หรือเปล่าว่า โทรศัพท์ที่เราซื้อให้ลูกเรานั้นด้วย ความรัก และปรารถนาดีกบั ลูกและหลานเรานัน้ มันก�ำลังท�ำลายอนาคตของลูกหลานเราโดยที่ เราไม่รู้ตัวด้วยซ�้ำ หรืออาจจะสายไปดังอายะห์ ที่กล่าวมาข้างต้นว่า ... แท้จริงอัลลอฮฺทรงไม่ได้ อธรรมกับเราแต่เราก�ำลังอธรรมกับตัวเอง
พี่น้องผู้ร่วมศรัทธาครับ เพราะ Facebook ท�ำให้หลายต่อหลายคนเข้าสวรรค์ของอัลลอฮฺ ซ.บ. และอีกหลายคนก็เพราะ Facebook เช่นเดียวกัน ต้องตกนรกของอัลลอฮฺ ซ.บ. ดังนั้นจึงอยากจะ ตักเตือนสติพนี่ อ้ งทีก่ ำ� ลังหลงใหลอยูก่ บั Social Network ว่าต้องระมัดระวังเป็นอย่างมากใน การที่จะเล่น Facebook เปรียบเสมือนเราเป็น ผึ้ง เพราะผึ้งจะตอมเฉพาะดอกไม้ เลือกชื่นชม สิ่งที่สวยงาม หรือเลือกเฉพาะสิ่งที่มีประโยชน์ และที่ส�ำคัญต้องไม่ผิดหลักการของศาสนาด้วย เราต้องไม่เป็นแบบแมลงวันที่ได้เลือกชม ทุกสิ่ง ทุกอย่าง แล้วเราก็จะตกหลุมพลางของชัยฏอนไป นั่งชมสิ่งที่เน่าเหม็นสิ่งที่เลวร้าย ผิดและขัดกับ หลักการของศาสนาอิสลาม ดังนัน้ ก่อนทีเ่ ราจะโพส แชร์ หรือแม้กระทัง่ การที่เราจะคอมเม้นต์ข้อความอะไรสักอย่าง ควรต้องคิดและพิจารณาก่อนว่า อัลลอฮฺทรงพอ พระทัยหรือไม่ และเราจ�ำเป็นต้องค�ำนึงถึงสิง่ นี้ ก่อนเสมอ เพราะทุกรูปทุกค�ำพูดที่เราได้แสดง ความคิดเห็นนั้น มีมาลาอิกะห์บันทึกไว้ในบัญชี เราเสมอ ยิง่ แพร่ขยายไปมากเท่าไหร่ยงิ่ ส่งผลต่อ เรามากเท่านั้น หากว่าดีก็อัลฮัมดุลิลลาฮฺ แต่ ถ้าหากว่าชั่วละ... ดังนั้นจึงอยากฝากถึงพี่น้อง ทุกคนที่ก�ำลังหลงใหลอยู่กับการหลอกล่อของ เหล่ามารร้ายทัง้ หลาย และต้องขออภัยโทษต่อ อัลลอฮฺให้มากๆ
ครอบครัวมุ สลิม อ.ยะฮฺ ยา โต๊ะมางี
เมือ่ เราพูดถึงค�ำว่า “ ครอบครัว ” ทุกคนก็จะเข้าใจได้วา่ หมายถึงสมาชิก ที่อยู่ร่วมกันที่ประกอบไปด้วย พ่อ แม่ ลูก หลาน และทุกคนที่อยู่ภายใต้ ความรับผิดชอบของเรา เมือ่ เป็นเช่นนีก้ ต็ อ้ งมีผรู้ บั ผิดชอบทีจ่ ะควบคุมดูแล เพือ่ ให้ทกุ คนในครอบครัวด�ำเนินชีวติ ไปตามกฎเกณฑ์ของศาสนาอิสลาม ซึ่งเป็นเพียงกฎเกณฑ์เดียวที่จะสามารถปกป้องตัวเราและครอบครัวของ เราให้พ้นจากไฟนรกได้ หน้าที่นี้ก็ไม่พ้นจากผู้ที่มีบทบาทเป็นหัวหน้า ครอบครัวไม่ว่าจะเป็นพ่อ หรือแม่ก็ตาม ดังที่อัลลอฮฺตะอาลาได้ก�ำชับไว้ ความว่า “ โอ้บรรดาผูศ้ รัทธาเอ๋ย จงคุม้ ครองตัวของพวกเจ้าและครอบครัว ของพวกเจ้าให้พน้ จากไฟนรก เพราะเชือ้ เพลิงของมันคือมนุษย์ และก้อน หิน มีมลาอิกะฮฺผู้แข็งกร้าวหาญคอยเฝ้ารักษามันอยู่ พวกเขาจะไม่ฝ่าฝืน อัลลอฮฺในสิ่งที่พระองค์ทรงบัญชาแก่พวกเขา และพวกเขาจะปฏิบัติตาม ที่ถูกบัญชา ” (ซูเราะฮฺอัตตะหรีม อายะฮฺที่ 6) ท่านผู้มีเกียรติทั้งหลาย อายะฮฺอัลกุรอานที่น�ำมานี้ ท�ำให้เราได้รู้ถึง หน้าที่ที่ต้องพึ่งปฏิบัติต่อตัวเอง และหน้าที่ที่เราต้องปฏิบัติต่อครอบครัว ของเรา คือการปกป้องให้พน้ จากไฟนรกนัน่ เอง การปกป้องให้พน้ จากไฟ นรกนั้น เราต้องรีบท�ำกันในโลกนี้ ทั้งหัวหน้าครอบครัว และสมาชิกใน ครอบครัว ต่างก็ต้องคอยก�ำชับกันให้ปฏิบัติในสิ่งที่ท�ำให้เข้าใกล้สวรรค์ และห่างไกลจากไฟนรก พ่อแม่นั้นมิใช่เพียงมีหน้าที่ชี้น�ำอย่างเดียว แต่ ต้องเป็นผู้ปฏิบัติน�ำด้วย การสอนคนด้วยปฏิบัตินั้น ย่อมส่งผลดีกว่าการ สอนคนเพียงค�ำพูด ท่านผู้มีเกียรติทั้งหลาย ถ้าเยาวชนคนหนุ่มสาวซึ่งเป็นลูกหลานของ เรา ไม่เข้าใจข้อปฏิบตั ทิ างศาสนา ไม่รวู้ า่ อะไรฮาลาล อะไรฮะรอม สิง่ ไหน ศาสนาใช้ สิ่งไหนศาสนาห้าม อะไรควรทิ้ง อะไรควรท�ำ แยกแยะไม่ได้ แล้วจะต่างอะไรกับสัตว์โลกอื่นๆ ที่ไม่มีปัญญา เพราะมันก็ไม่สามารถ แยกแยะอะไรได้เหมือนกัน ในทีส่ ดุ แล้วลูกหลานเราประเภทนีแ้ หละทีม่ นั จะท�ำลายอุมมะฮฺของนบีมุฮัมหมัด ศ็อลลัลลอฮุอลัยฮิวะซัลลัม ดังที่ท่าน กล่าวไว้ ความว่า “ ความวิบัติของประชาชาติของฉัน อยู่ในมือทั้งสองของคน หนุ่มสาวที่โง่เขลา ” (บุคอรีย์ได้รายงานหะดีษนี้) ท่านผู้มีเกียรติทั้งหลาย เราได้เห็นมามากมายแล้วใช่ไหม ? ว่าผู้ที่มา ท�ำลายเราทั้งทรัพย์สิน เงินทอง ต�ำแหน่งหน้าที่การงาน มิใช่ใครเลย คือ ลูกหลานของเราที่ใกล้ตัวเรานั้นเอง สาเหตุจากการที่พวกเขาด�ำเนินชีวิต นอกกรอบของศาสนาอิสลามนัน้ เอง และสาเหตุทพี่ วกเขาออกนอกกรอบ นั้น มันมีสาเหตุมาจากอะไรกัน ? จึงเป็นหน้าที่ของพวกเราที่จะต้องมา พูดคุยถกเถียงกันในประเด็นนี้ ว่าจะท�ำอย่างไรกันทีจ่ ะท�ำให้ลกู หลานของ
เราอยู่ในกรอบของศาสนา เป็นคนดี มีคุณธรรม เป็นประโยชน์ต่อตนเอง ครอบครัว และสังคม กระผมขอฝากว่าจงอย่าเลี้ยงลูกคนเดียว แต่จงให้ คนอื่นเลี้ยงด้วย คือ ช่วยกันดูแล ชี้น�ำในทางที่ดีระหว่างกัน การดูแล เยาวชน คนหนุ่มสาวซึ่งเป็นลูกหลานในสังคมของเรา ผมขอน�ำเรียนกับ ท่านทั้งหลายว่า จะต้องให้ความร่วมมือกัน 5 กลุ่มคน ด้วยกัน และแต่ละ กลุม่ นัน้ จะต้องจริงจัง เพราะถือเป็นอมานะฮฺทรี่ บั มาจากอัลลอฮฺ ตะอาลา กลุ่มที่ 1 คือ ผู้ปกครอง : ต้องจริงจังกับลูกๆ ต้องมีแม่บททางศาสนา มาสอน และมีแม่แบบมาแสดง พ่อแม่ต้องเป็นหลักในการอบรม และ ปฏิบัติน�ำ กลุ่มที่ 2 คือ สถาบัน : ผู้บริหารไม่ว่าจะเป็นในระดับโรงเรียน ชมรม มัสญิด หรือสมาคมต้องบริหารโดยมีกฎระเบียบทีช่ ดั เจน โดยเฉพาะกฎระเบียบ ข้อปฏิบัติต่างๆ ต่อเยาวชน กลุ่มที่ 3 คือ ผู้รู้ : ได้แก่ ครู อาจารย์ วิทยากร ต่างต้องเป็นผู้ที่ให้ ความรู้ได้ และเป็นแบบอย่างได้ และรักในหน้าที่ของตน กลุ่มที่ 4 คือ ผู้ให้การสนับสนุน : ในแต่ละสังคมที่เราอยู่ร่วมกัน ถ้า ใครท�ำในสิ่งที่ดี เราก็ต้องช่วยกันสนับสนุน ส่งเสริม เพื่อเป็นก�ำลังใจให้ ผู้คนปฏิบัติดีอย่างต่อเนื่อง กลุม่ ที่ 5 คือ หน่วยงานต่างๆของรัฐ : ทีต่ อ้ งสนับสนุนสิง่ ทีเ่ ป็นความดี และปราบปรามสิง่ ทีเ่ ป็นความชัว่ ช้า ต้องจริงจังกับการยับยัง้ สิง่ ทีเ่ ป็นอบายมุข และสิ่งมอมเมาต่างๆ ในสังคม โดยไม่เห็นกับหน้าใคร ท่านผูม้ เี กียรติทงั้ หลาย กระผมขอฝากกับผูป้ กครองทุกท่านว่า ถ้าเรา ต้องการให้ลูกๆ เป็นคนดี มีคุณธรรมแล้ว ควรปฏิบัติอย่างไร 1.สอนให้ลูกเข้าใจศาสนาอิสลามจากค�ำพูด และการกระท�ำของเรา เองก่อน 2. ต้องท�ำแบบอย่างที่ดีให้ลูกเห็นเป็นประจ�ำ 3. ให้ลูกท�ำอามั้ล อิบาดะฮฺ ร่วมกับเราให้มากที่สุด 4. ให้ลูกมีส่วนร่วมหรืองานการกุศลต่างๆ 5. ให้ลูกยอมรับค�ำเตือน หรือข้อเสนอแนะของคนอื่นด้วย ... มีลูกดี 10 คน ยังถือว่าน้อยไป แต่ถ้ามีลูกเลวเพียงคนเดียวก็ถือว่า มากไปแล้ว... ... จงสอนให้ลูกเป็นคนดีก่อน แล้วความเก่งจะตามมาเอง ... แล้วพบกันใหม่ถ้ามีโอกาส อินชาอัลลอฮฺ สารศรัทธาชน 33
รู้มยั ้ มนุษย์เกิดมาเพื่ออะไร ?? อ.อับดุลฮาลีม สุไลหมัด
อัลลอฮฺ ซุบฮานะฮูว่ะต่ะอาลานั้น ได้ทรง สร้างมนุษย์ชนึ้ มา เพือ่ ให้ทำ� การเคารพภักดีตอ่ พระองค์เพียงองค์เดียวเท่านัน้ ดังทีพ่ ระองค์ได้ ทรงด�ำรัสไว้ ความว่า “และเรา (อัลลอฮฺ) มิได้สร้างญิน และมนุษย์ทงั้ หลายมาเพือ่ การใดไม่ เว้นแต่เพือ่ ให้พวกเขาทั้งหลายได้ท�ำการเคารพภักดีต่อเรา (เพียงหนึง่ เดียว) เท่านัน้ ” ดังนัน้ เพือ่ ให้การมีอยูข่ องมนุษย์ในโลกนีเ้ ป็น ไปอย่ า งราบรื่ น และพร้ อ มที่ จ ะด� ำ เนิ น ตาม วัตถุประสงค์ของอัลลอฮฺ พระผูส้ ร้าง พระองค์จงึ ทรงบันดาลสิ่งต่างๆขึ้นมาในโลกนี้ เพื่อเอื้อ อ�ำนวยให้บา่ วของพระองค์ได้สามารถบรรลุตาม เจตนารมย์ทพี่ ระองค์ได้ทรงวางเอาไว้ ดังทีพ่ ระองค์ ได้ทรงตรัสไว้ ความว่า “ พระองค์ คือผูท้ รงบันดาลสิง่ ต่างๆ ทัง้ หมดบนผืนแผ่นดินนี้ เพือ่ (เป็นประโยชน์แก่) พวกเจ้า” แต่ ทั้ ง นี้ ก็ มิ ไ ด้ ห มายความว่ า มนุ ษ ย์ จ ะ สามารถน�ำเอาสิง่ ต่างๆทีม่ อี ยูใ่ นโลกนีม้ าใช้ และ บริโภค อย่างไม่มขี อ้ จ�ำกัด เพราะสิง่ ใดก็ตามที่ เป็นโทษกับมนุษย์ พระองค์อลั ลอฮฺ ก็จะทรงห้าม การน�ำมาใช้และบริโภค ส่วนสิง่ ใดทีเ่ ป็นคุณ และ มีประโยชน์กบั มนุษย์ พระองค์กท็ รงอนุมตั ิ ผ่าน ทางบทบัญญัตขิ องศาสนทูตในแต่ละประชาชาติ ดังปรากฎในโองการอัลกุรอาน ความว่า “ และเขา (นบีทมี่ าจากอัลลอฮฺ) ก็ได้ อนุมตั สิ งิ่ ทีด่ ี และห้ามสิง่ ไม่ดี แก่มวล (ประชาชาติ ของเขา) และเพือ่ เป็นการทดสอบในความศรัทธาของ บ่าวทีม่ ตี อ่ พระองค์ พระองค์จงึ ได้ทรงก�ำหนดให้ มีขอ้ อนุมตั ิ และข้อห้าม เพือ่ จะได้เป็นทีป่ ระจักษ์ ชัดว่า ผูใ้ ด คือบ่าวผูม้ ศี รัทธา และภักดีตอ่ พระองค์ อย่างแท้จริง ดังทีป่ รากฎในค�ำสอนของท่านนบี มุฮมั หมัด ซ.ล. ทีว่ า่ ความว่า สิง่ ทีไ่ ด้รบั การอนุมตั นิ นั้ ชัดเจน สิง่ ต้ อ งห้ า มก็ ชั ด เจน และยั ง มี อี ก หลายสิ่ ง ที่ ยั ง คลุมเครืออยู่ ซึ่งคนจ�ำนวนมากยังไม่รู้ (ถึงข้อ บัญญัตเิ กีย่ วกับสิง่ นัน้ ) ฉะนั้น การใช้ชีวิตของมุสลิมในปัจจุบันซึ่ง เป็นการใช้ชีวิตร่วมกับสังคมต่างศาสนา มีการ พึง่ พาอาศัยซึง่ กันและกัน ท�ำให้บางครัง้ เกิดความ ยากล�ำบาก และมีขอ้ สงสัยในสินค้าและผลิตภัณฑ์ 34
สารศรัทธาชน
ทีม่ อี ยูต่ ามท้องตลาด โดยเฉพาะในส่วนของปัจจัย สี่ อันประกอบไปด้วย อาหาร เครือ่ งนุง่ ห่ม ทีอ่ ยู่ อาศัย และยารักษาโรค ซึง่ จากการค้นคว้าวิจยั และการตรวจสอบโดยผูเ้ ชีย่ วชาญก็แสดงให้เห็น ว่า มีผลิตภัณฑ์บางชนิด ทีไ่ ด้รบั การผลิตหรือมี ส่วนประกอบ มาจากสิง่ ต้องห้ามต่างๆ ฉะนัน้ เรา ในฐานะมุสลิมผู้ศรัทธาต้องมีความรู้และความ เข้าใจในหลักการของศาสนาเกีย่ วกับสิง่ ดังกล่าว โดยหลักการศาสนา ผลิตภัณฑ์ใดทีผ่ ลิตหรือ มีสว่ นประกอบมาจากสิง่ ต้องห้ามตามหลักศาสนา ผลิตภัณฑ์ดงั กล่าวก็ถอื ว่าเป็นสิง่ ต้องห้ามด้วยเช่น กัน เช่น อาหารทีม่ สี ว่ นผสมของหมู เหล้า หรือ เนือ้ สัตว์ทไี่ ม่ได้รบั การเชือดตามหลักศาสนา ยา รักษาโรคบางชนิดทีผ่ ลิตจากวัตถุดบิ หรือสารตัง้ ต้น ที่เป็นเลือด หรือสารคัดหลั่งของสัตว์บางชนิด ผลิตภัณท์เครือ่ งหนัง กระเป๋า รองเท้าทีใ่ ช้หนัง สุกรมาท�ำรองพืน้ รองเท้า เครือ่ งประดับทีท่ ำ� มา จากกระดูกหรือชิน้ ส่วนของสัตว์ ทัง้ หลายทัง้ ปวง นี้จัดอยู่ในหมวดของสิ่งต้องห้ามทั้งสิ้น จึงเป็น หน้าทีข่ องมุสลิมทีต่ อ้ งหลีกเลีย่ งจากสิง่ ดังกล่าว ให้ได้มากทีส่ ดุ เพราะทีท่ า่ นนบี ซัลลัลลอฮุอลัย ฮิวะ่ ซัลลัม ได้กล่าวไว้ ความว่า อัลลอฮฺ ซุบฮาน่ะฮูวะ่ ต่ะอาลา นัน้ เป็นผูท้ ดี่ ยี งิ่ ทีพ่ ระองค์จะไม่ทรงตอบรับ นอกจาก สิง่ ทีด่ เี ท่านัน้ แต่ในทางปฎิบตั ิ ผลิตภัณท์ดงั กล่าวก็มที งั้ สิง่ ทีเ่ ราสามารถหลีกเลีย่ งได้และหลีกเลีย่ งไม่ได้ ซึง่ ในการหลีกเลี่ยงอาจเป็นในรูปของการงดใช้ ผลิตภัณฑ์นนั้ ซึง่ จะต้องไม่กอ่ ให้เกิดผลเสียใดๆ แก่ตัวผู้งดเอง หรือมีวิธีการใช้สิ่งอื่นทดแทนที่ สามารถให้ผลได้เหมือนกันหรือใกล้เคียงกันเช่น อาหารจานด่วนบางยีห่ อ้ ทีเ่ ราสามารถหลีกเลีย่ ง ได้ โดยเลือกอาหารทีไ่ ม่มขี อ้ ห้ามแต่อย่างใดมา บริโภคแทน ส่วนผลิตภัณฑ์ที่เราไม่สามารถหลีกเลี่ยงได้ ไม่วา่ จะเป็นผลิตภัณท์ทยี่ งั ไม่มสี งิ่ ทดแทน เช่นยา รักษาโรคบางชนิด วัคซีนป้องกันโรค ดังทีเ่ ป็นข่าว อยูใ่ นปัจจุบนั ทีย่ งั ไม่สามารถผลิตจากวัตถุดบิ ที่ ฮะลาลได้ หรื อ เป็ น ผลิ ต ภั ณ ท์ ที่ มี สิ่ ง ฮะลาล ทดแทนได้ แต่ผู้ใช้อยู่ในสถานะที่อยู่ในภาวะ คับขันซึง่ ไม่มที างเลือก กรณีดงั กล่าวนี้ อิสลาม ก็ได้ให้ทางออกไว้โดยถือเป็นกรณีคับขันจ�ำเป็น โดยอนุญาตให้ใช้ผลิตภัณฑ์นนั้ ได้ ดังทีพ่ ระองค์ได้ ทรงตรัสไว้
ความว่า ดังนั้นบุคคลใดที่ตกอยู่ในภาวะ จ�ำเป็นท่ามกลางความหิวโหยโดยไม่มีความมุ่ง หมายต่อสิง่ ต้องห้ามแล้ว (เขาก็สามารถบริโภค นั้นได้) แน่นอนอัลลอฮฺนั้นทรงอภัยโทษทรง เมตตาเสมอ แต่อะไรเล่าคือภาวะจ�ำเป็น ? ตามทีอ่ ลั ลอฮฺ ได้ทรงบอกเราไว้ บรรดานักวิชาการได้ให้นยิ าม ของค�ำว่า “ภาวะจ�ำเป็น” คือภาวะทีบ่ คุ คลหนึง่ อาจมีอนั ตรายถึงแก่ชวี ติ หรือทุพพลภาพ หาก มิได้กนิ หรือใช้ของต้องห้ามดังกล่าว เช่น บุคคล หนึง่ มีอาการเจ็บป่วยซึง่ แพทย์วนิ จิ ฉัยแล้วว่า ต้อง ได้รบั ยาบางชนิด แต่ยาดังกล่าวผลิตหรือมีสว่ น ประกอบจากสิง่ ต้องห้าม ศาสนาอนุญาตให้บคุ คล ดังกล่าวใช้ยานีไ้ ด้เพือ่ รักษาชีวติ เอาไว้เท่านัน้ ซึง่ “ภาวะจ�ำเป็น” นีต้ อ้ งได้รบั การประเมิน ว่ามีขนาดความจ�ำเป็นมากน้อยเท่าใดจึงจะท�ำให้ บุคคลนัน้ พ้นขีดอันตราย โดยนักวิชาการได้วาง หลักเกณฑ์เกีย่ วกับการประมาณการณ์นไี้ ว้วา่ “ภาวะจ�ำเป็น” (ทีไ่ ด้รบั การผ่อนผัน) ต้อง ถูกประมาณให้เป็นไปตามขนาดของความจ�ำเป็น นัน้ ๆเท่านัน้ จึงหมายความว่า สิง่ ต้องห้ามจะได้ รับการผ่อนผันก็เท่าทีม่ คี วามจ�ำเป็นเท่านัน้ ฉะนัน้ สิง่ ต้องห้ามหลายชนิดทีเ่ ราพบเห็นได้ ในชีวิตประจ�ำวันของเราที่ยังไม่มีสิ่งฮะลาล มา ทดแทนก็ได้รับการผ่อนผันให้ใช้ได้ตามความ จ�ำเป็นเท่านัน้ โดยเฉพาะอย่างเรือ่ งของยารักษา โรคทีส่ ว่ นใหญ่แล้วมาจากสิง่ ทีต่ อ้ งห้ามทัง้ สิน้ แต่ ด้วยเหตุผลของความจ�ำเป็นเพือ่ การรักษาพยาบาล ศาสนาจึงอนุญาตและผ่อนผัน ให้ใช้ได้แค่เท่าที่ จ�ำเป็นเท่านั้นและเพื่อป้องกันการฉวยโอกาสที่ อาจอาศัยข้อผ่อนผันนี้ จึงขอย�้ำอีกว่า เท่าที่มี ความจ�ำเป็นเท่านัน้ คือ อาจท�ำให้ถงึ แก่ชวี ติ หรือ ทุพพลภาพได้ ทั้งนี้จุดประสงค์หลักของการเขียนนี้ มิได้ ต้องการให้เกิดกระแสต่อต้านหรือปฏิเสธการใช้ สิ่งต้องห้ามที่มุสลิมเรามีความจ�ำเป็นต้องใช้แต่ อย่างใด โดยอ้างว่าเป็นสิง่ ทีต่ อ้ งห้าม หรือเอาไป เป็นข้ออ้างเพือ่ ฉวยโอกาสใช้ขอ้ ผ่อนผันอย่างไม่ สมเหตุสมผล แต่ต้องการจุดประกายให้สังคม มุสลิมได้ตระหนักถึงความจริงข้อนี้ เพือ่ จะน�ำไป สูก่ ารพัฒนาจนเป็นผลิตภัณท์ทฮี่ ะลาลโดยแท้จริง จากมือมุสลิม ทั้งนี้เพื่อประโยชน์ต่อโลกมุสลิม และสังคมต่างศาสนิกด้วยเทอญ
หน่วยบรรเทาทุกข์ มู ลนิธิศรัทธาชน เรื่อง : โนรี สลาลี
หน่วยบรรเทาทุกข์มูลนิธศิ รัทธาชน ถือได้วา่ เป็นอีกกิง่ งาน หนึ่งของมูลนิธศิ รัทธาชนฯ ทีม่ หี น้าทีเ่ ตรียมพร้อมคอยออก ให้การช่ วยเหลือพี่น้องที่เดือดร้อนได้อย่างทันท่วงที งาน หลักๆโดยรวมของหน่วยบรรเทาทุกข์ของเราจะเป็นงานด้าน การลงพืน้ ที่จริงให้ความช่ วยเหลือ ไม่ว่าจะเป็นพี่นอ้ งชาว ก�ำพร้าและพีน่ อ้ งทุกๆท่านทีไ่ ด้รบั ความเดือดร้อน ล่าสุดทาง หน่วยของเราได้ให้การช่ วยเหลืองานด้านมนุษยธรรมแก่พน่ี อ้ ง ผู ้ลีภ้ ัยชาวซีเรีย ปาเลสไตน์ โรฮิงยารวมทัง้ พี่น้องเชือ้ สาย ตุรกี และอีกมากมายหลายประเทศ โดยทางมูลนิธิฯได้ร่วมกับหน่วยของเราด�ำเนินการดูแล ติดตาม ให้การช่วยเหลือแก่พนี่ อ้ งทีไ่ ด้รบั ความเดือดร้อน โดยมีการช่วยเหลือ หลักๆดังนี้ 1.ส่งทีมช่างซ่อมแซมบ้านเด็กก�ำพร้าที่เห็นว่ามีความล�ำบากใน ชีวิตความเป็นอยู่ 2.การจัดทีมงานอาสาพร้อมออกให้การช่วยเหลือในช่วงเหตุการณ์ ฉุกเฉิน หรือเร่งด่วน เช่น ไฟไหม้ น�้ำท่วมฯลฯ โดยทางหน่วยพร้อม ทีมงานอาสาของเราจะลงพืน้ ทีท่ นั ทีเมือ่ ได้รบั แจ้ง พร้อมทัง้ น�ำสิง่ ของ ไปมอบเพื่อให้การช่วยเหลือเบื้องต้น 3.ให้การช่วยเหลือด้านมนุษยธรรมแก่พี่น้องผู้อพยพลี้ภัย ชาว ซีเรีย ปาเลสไตน์ อัฟกานิสถาน ปากีสถาน โซมาเลีย รวมทั้งพี่น้อง ชาวโรฮิงยาและพี่น้องเชื้อสายตุรกีด้วย นีเ่ ป็นเพียงงานหลักๆของหน่วยบรรเทาทุกข์ โดยมีชอ่ งทาง ยาตีม ทีวี ที่เปรียบเสมือน กระบอกเสียงส�ำคัญของการกระจายข่าวความ เดือดร้อนของพี่น้องให้ทราบถึงผู้ใจดีทุกท่าน โดยพี่น้องที่รับชมสื่อ ถือได้วา่ เป็นส่วนหนึง่ ทีท่ ำ� ให้การรอความช่วยเหลือของพวกเขาได้รบั การช่วยเหลืออย่างทันท่วงทีจากการประชาสัมพันธ์ หรือการจัด รายการพิเศษเพื่อเปิดรับบริจาค
สารศรัทธาชน 35
เมื่อเราได้รับทราบหลักการงานเบื้องต้นของหน่วยบรรเทาทุกข์ แล้ว ทางหน่วยจะขอประมวลกิจกรรมที่ผ่านมาโดยสรุปของทาง หน่วยให้ได้รับทราบกัน เหตุการณ์นำ�้ ท่วม ปี 2554 ทางหน่วยบรรเทาทุกข์พร้อมทีมงาน อาสาได้ลงพืน้ ทีช่ ว่ ยเหลือพีน่ อ้ งเกือบทุกจุด พร้อมทัง้ น�ำสิง่ ของยังชีพ มอบให้พี่น้อง ต้นปี 2556 ได้ให้การช่วยเหลือพี่น้องชาวโรฮิงยา ที่อพยพเข้า มาเนือ่ งจากการถูกเข่นฆ่าทีร่ ฐั อารกันในประเทศพม่าโดยทางหน่วยฯ และยาตีมทีวพี ร้อมทีมงานได้ตดิ ตามสถานการณ์พร้อมเตรียมให้การ ช่วยเหลือพวกเขาขึ้นจากเรือที่อพยพหนีตายกันมา ให้การดูแลชาวซีเรีย และอีกหลายๆด้วยกับการมอบปัจจัยยังชีพ เบือ้ งต้น โดยจัดท�ำชุดยังชีพแจกเป็นรายเดือนเพือ่ บรรเทาความเดือดร้อน รวมทั้งด้านการรักษาพยาบาลเบื้องต้น ลงพื้นที่เยี่ยมเยียนพี่น้องชาวโรฮิงยา ซีเรียและอื่นๆ ตามจุด กักขังต่างๆทัง้ ใน กรุงเทพฯและต่างจังหวัดพร้อมทัง้ มอบสิง่ เพือ่ นเป็น ช่วยเหลือเบื้องต้น ช่วยเหลือพี่น้องมุสลิมเชื้อสายตุรกี ที่อพยพเข้ามา โดยให้การ ดูแลเบื้องต้นผ่านคณะท�ำงานที่ร่วมด้วยช่วยกันในการดูแล ส่งมอบชุดซะกาตฟิตเราะห์ เนื้อกุรบ่าน และของยังชีพ เพื่อ ผูล้ ภี้ ยั ถือเป็นอีกภารกิจหนึง่ ของทีมงานอาสาน�ำ้ ใจงามของหน่วยเรา ทีท่ ำ� งานกันอย่างขยันขันแข็งเพือ่ ส่งมอบดีๆให้ถงึ มือทุกท่านด้วยยินดี ภารกิจของการรือ้ ถอนสิง่ ปลูกสร้าง ขนย้าย ของบริจาคทีพ่ นี่ อ้ ง ผูม้ จี ติ ศรัทธายินดีทจี่ ะมอบให้กบั ทางมูลนิธเิ พือ่ น�ำมาใช้ประโยชน์ตอ่ ไป และยังรวมถึงการออกเยีย่ มครอบครัวก�ำพร้าตามต่างจังหวัดเพือ่ ส่งมอบทุนการศึกษาและชุดเยี่ยมให้กับครอบครัวก�ำพร้า นี่เป็นเพียงกิจกรรมโดยสรุ ปของหน่วยฯแต่ทางทีมหน่วย บรรเทาทุกข์ซ่ึ งทางเราอาจจะไม่ได้อธิบายถึงรายละเอียดของ งานทุกงานอย่างละเอียด แต่โดยรวมแล้วงานพวกเรา คืองาน “ส่งมอบความสุข ขจัดความทุกข์” ให้กับทุกๆท่าน แม้ว่า หนทางอาจจะล�ำบากแต่เมือ่ เรารับทราบแล้วว่าเบือ้ งหน้ามีเสียง แห่งความเดือดร้อนจากพี่น้อง รออยู พ ่ วกเรายินดีทจ่ี ะฝ่ าไป เพือ่ ช่ วยเหลือทุกท่าน เพียงแค่เห็นรอยยิม้ ทีเ่ ปื้ อนบนใบหน้าของ ผู เ้ ดืออดร้อน สิง่ นีก้ ค็ อื ก�ำลังใจในการท�ำงานของพวกเราทุกคน
36
สารศรัทธาชน
ประมวลภาพ
สารศรัทธาชน 37
38
สารศรัทธาชน
สารศรัทธาชน 39
40
สารศรัทธาชน
มู ฮ�ำหมัด สัจจเทพ แชมป์ กุรอานไทยแลนด์ ซีซนั่ 2 กับรางวัลแท้จริงที่แม่คาดหวัง
เรื่อง : ดาวุด ลาวัง ภาพ : ชมรม Santichon Production House
ส�ำหรับผู ช้ มยาตีมทีวี มูฮ�ำหมัด สัจจเทพ คือผู ช้ นะเลิศ กุรอานไทยแลนด์ ซีซนั่ 2 และรองชนะเลิศอันดับสอง กุรอานไทยแลนด์ ซีซนั่ แรก ส�ำหรับแวดวงนักกอรี มู ฮ�ำหมัด สัจจเทพ คือกอรี อายุ 14 ปี ท่ีคว้าแชมป์ กอรีมาหลากหลายเวที ส�ำหรับเพื่อน ๆ ที่โรงเรียนสุเหร่าบ้านดอน มู ฮ�ำหมัด สัจจเทพคือเพือ่ นร่วมชัน้ ทีใ่ ห้เวลาส่วนใหญ่ไปกับการฝึ ก ซ้ อมอ่านอัลกุรอานมากกว่าวิง่ เล่น แต่ส�ำหรับพ่อแม่ของเขาแล้วมู ฮ�ำหมัด สัจจเทพ คือ ่ อ่ แม่มใี ห้กบั ลูก ผลลัพธ์ของความห่วงใยอย่างแท้จริงทีพ สารศรัทธาชน 41
พ่อเป็นมุ อัลลัฟ แต่ลูกเป็นนักอ่านอัลกุรอาน การส่งลูกให้เรียนศาสนา ส�ำหรับบางครอบครัวอาจเป็นการเติมเต็ม ชีวิตลูกหลานไม่ให้ออกนอกลู่นอกทาง ส�ำหรับบางคนคือการปูทางสู่การ ประกอบอาชีพอะไรในอนาคต แต่สำ� หรับรอกียะฮ์ สัจจเทพ การส่งมูฮำ� หมัด ลูกชายคนรองให้เรียนศาสนานั้น เป็นเพราะความห่วงใยที่เธอมีต่อลูก “ตัง้ ใจตัง้ แต่แรกแล้ว ตัง้ แต่ยงั ไม่มเี ขาแล้ว คือสามีเราไม่ใช่มสุ ลิมตัง้ แต่ เริม่ แรก พ่อแม่กไ็ ม่ได้อยากจะให้แต่งกับเขา เพราะเป็นคนต่างศาสนิก แต่ เราก็แต่งเขามาแล้ว เราก็คิดว่าถ้าเรามีลูก เราต้องดันลูกไปทางศาสนา แน่นอน เพราะว่าเรากลัวมากว่าถ้าเกิดวันข้างหน้าเราไม่รู้ว่าอะไรจะเกิด ขึน้ กับเรา ถ้าลูกเราไม่แน่นตรงนี้ ไม่รวู้ า่ ฉันกับสามีใครจะไปก่อนกัน ก็เลย จะผลักดันลูกอยู่ในศาสนาอย่างเดียวมาตั้งแต่เริ่มแรก ก็ขอจากอัลลอฮฺ มาแล้วว่าถ้ามีลูกผู้ชายจะให้เขาชื่อมุฮ�ำหมัดและขอให้เขารักในการอ่าน การเรียนให้เขาแน่นในศาสนา แล้วอัลลอฮฺก็รับดุอาอ์” ต้องยอมรับความจริงว่าภาพของมุสลิมที่แต่งงานกับคนต่างศาสนิก คือภาพทีพ่ บเห็นกันเกร่อในสังคมมุสลิม และอีกภาพทีพ่ บเจอได้มากมาย ไม่แพ้กนั ก็คอื ภาพทีฝ่ า่ ยทีเ่ ป็นมุสลิมแต่เดิมเสียชีวติ ไปก่อน แล้วคูค่ รองที่ เป็นมุอลั ลัฟก็เปลีย่ นกลับไปนับถือศาสนาเดิม พร้อมทัง้ น�ำลูกหลานไปอยู่ กับตนด้วย ซึ่งเมือ่ ตกอยูใ่ นสถานการณ์นนั้ ลูกหลานที่หวั ใจไม่หยัดยืนอยู่ ในอิ สลามก็ อาจเหิ น ห่ างออกไปจากแนวทางของอัลอิสลามได้ การ สนับสนุนให้ลูกเรียนศาสนา ให้ลูกได้ศึกษาอัลกุรอาน จึงเป็นวัคซีนอย่าง ดีทจี่ ะประกันได้วา่ ไม่วา่ อะไรจะเกิดขึน้ อิสลามทีแ่ น่นแฟ้นในหัวใจของลูก หลานจะฉุดรั้งให้พวกเขามั่นคงอยู่ในแนวทางที่เที่ยงตรง 42
สารศรัทธาชน
“อยากให้ลูกเป็น ให้อยู่กับอัลลอฮฺ เราก็ห่วง ไม่รู้ว่าฉันกับสามีใครจะ ไปก่อนกัน เพราะว่าตัวอย่างทีเ่ ห็นก็มี บางทีวา่ แบบว่าถ้าศาสนาเราไม่แข็ง แล้วถ้าเกิดเขาเอาลูกเราไป เราก็ตอ้ งเอาลูกเรามาอยูก่ บั เรา คือเราจะเน้น ให้หนักเลยเรือ่ งเรียนศาสนา สามัญก็ไม่คอ่ ยเท่าไหร่หรอกดุนยามันก็เป็น โลกสั้นๆนะไม่อยากคิดอะไรมาก”รอกียะฮ์ สัจจเทพ บอกเล่าถึงความ ตั้งใจของเธอ ข้างบันไดแชมป์ กอรี มูฮำ� หมัดเริม่ ต้นเรียนศาสนาแบบเด็กทัว่ ๆ ไป เขาเริม่ ต้นเรียนอัลกุรอาน ครั้งแรกตอน 5 ขวบกับฮัจญะฮ์ฟาติเมาะฮ์ มีสุวรรณ ครูสอนอัลกุรอาน แถวบ้าน จนเมือ่ มูฮำ� หมัดอายุ 8 ขวบ คุณรอกียะห์กส็ ง่ ให้ไปเรียนกอรีกบั อาจารย์อิสมาแอล หวังมา ดังความตั้งใจแต่แรกของเธอที่อยากจะให้ลูก มุง่ เน้นไปทางด้านการเรียนอัลกุรอานซึง่ อาจารย์อสิ มาแอลนีเ่ องทีค่ น้ พบ ความสามารถของมูฮ�ำหมัด และเริ่มส่งเขาไปทดสอบการอ่านอัลกุรอาน ตามงานต่าง ๆ และมูฮ�ำหมัดก็ฉายแววตั้งแต่บัดนั้น “อาจารย์อิสมาแอล หวังมา เห็นผมอ่านกุรอานอะไรพอได้ ๆ เขาก็ ลองส่งไปทดสอบดูก็พอเขาส่งไปทดสอบก็ได้รางวัลครับ ผมก็เลยชอบ ก็เลยรักการอ่านมาเรื่อย ๆ” จากการได้รบั รางวัลอยูบ่ อ่ ยครัง้ จนข่าวไปเข้าหูของอาจารย์อรุณ บุญชม อิหม่ามมัสยิดดารุ้ลมุห์ซีนีน (บ้านดอน) ว่ามีเยาวชนในชุมชนมีความ สามารถในการอ่านอัลกุรอาน
ตัง้ ใจตัง้ แต่แรกแล้ว ตัง้ แต่ยัง ไม่มีเขาแล้ว ก็ขอจากอัลลอฮฺ มาแล้วว่าถ้ามีลกู ผู ช้ ายจะให้เขา ชื่ อมุ ฮ�ำหมัดและขอให้เขารักใน การอ่าน การเรียนให้เขาแน่น ในศาสนา แล้วอัลลอฮฺกร็ บั ดุอาอ์
“อิหม่าม อ.อรุณ ท่านก็เห็นความสนใจนะครับ ทีว่ า่ มีเด็กชุมชนสนใจ อ่านกุรอานเขาเลยปรึกษากันในชุมชนว่าจะส่งผมไปเรียนกุรอาน ก็ให้ทนุ ผมให้ไปเรียนที่ ส.แสงธรรม หลอแหลครับ” มูฮ�ำหมัดจึงเริ่มต้นไปเรียนอัลกุรอานในระดับที่สูงขึ้นที่สถาบันอบรม กอรี ส.แสงธรรมศาสนวิทยา โดยมูฮ�ำหมัดเริ่มต้นเรียนในชั้นที่ 1 กับ อาจารย์มุฮัมมัด วงค์สมัน ก่อนจะไปเรียนต่อในระดับที่สูงขึ้นกับอาจารย์ อาดัม บัลบาห์ โดยการเรียนจะเริ่มต้นตั้งแต่หลังละหมาดอีชาอ์แล้วไป เสร็จสิ้นเวลาสี่ทุ่ม ส�ำหรับเด็กวัยสิบขวบการเดินทางตอนค�่ำมืดจากบ้าน ดอนไปหลอแหล ย่อมเป็นเรื่องที่ล�ำบากเอาการ การพาลูกไปเรียนจึงตก เป็นหน้าที่ของคุณรอกียะห์ผู้เป็นแม่ “อัลลอฮฺกเ็ มตตานะให้ทางชุมชนทางมัสญิดให้ทนุ ในการเดินทางเอา ลูกไปเรียนครอบครัวอืน่ เขาเอาลูกไปเรียนศาสนาเขาอาจขับรถไป แต่ฉนั นี่ขายของขายอาหารตามสั่งบางทียังไม่ได้ทุนเลย เครียด แต่พอห้าโมง เย็นนี่ต้องปิดร้านแล้ว บางทีกลางวันมันเงียบนะ จะขายได้ก็ช่วงเย็น บาง วันลงทุนไปแล้วยังไม่ได้ทนุ เลย แต่เราก็ตอ้ งเอาลูกไป เพราะต้องรีบไปเรา จะต้องเดินไปลงเรือทีท่ า่ เรือหน้าโรงเรียนมิฟตาห์ เพราะถ้าเราไปรถหน้าราม นี่จะติดมากกว่าจะไปถึงหลอแหล ลงเรือไปขึ้นวัดศรีบุญเรืองแล้วไปต่อ รถเมล์ไปอีก เรียนเสร็จกว่าจะกลับถึงบ้านห้าทุม่ นะฝนฟ้าตกก็ตอ้ งไป ฉัน ก็ลำ� บากนะ ต้องเอาลูกไปตลอดเลย แต่ถา้ อยากให้ลกู ได้ศาสนา อยากให้ ลูกได้อลั กุรอานก็ตอ้ งอดทนนะ เราต้องพยายามเต็มที่ เพราะหนทางทีจ่ ะ ป้องกันลูกได้ดที สี่ ดุ ก็คอื ให้เขาได้รศู้ าสนา” คุณรอกียะห์บอกเล่าประสบการณ์ ในช่วงนั้น ความทุม่ เททัง้ แรงกายและแรงใจทีค่ ณ ุ รอกียะฮ์มใี ห้ลกู นี้ แม้จะดูหนัก และเหนือ่ ย แต่กำ� ลังใจและก�ำลังสนับสนุนจากคูช่ วี ติ ก็ทำ� ให้ความเหนือ่ ย นี้ไม่หนักหนาเกินกว่าจะแบกรับไหว “อย่างกับพ่อมูฮำ� หมัดนี่ เขาคือมีหน้าทีห่ าเงินอย่างเดียว แล้วอีกอย่าง นึงเราก็เป็นคนสอนพ่อเขาว่า เธอต้องอ่านอย่างนีน้ ะ ละหมาดเธอต้องท�ำ แบบนี้ ๆ แต่พ่อเขานะ อัลฮัมดุลิลลาฮ์ คือเขามาเป็นมุสลิมแล้ว เรื่องการ ละหมาดเรื่องอะไรเขาสะอาดทุกอย่างแล้ว แต่ไม่ได้รู้มาก อ่านได้ไม่กี่ต้น อ่านได้แค่ที่ว่าละหมาดเท่านั้น แต่ว่าไม่ไปออกสังคมที่ไหน แม้กระทั่ง ครูบาอาจารย์นี่ไม่เคยเห็นหน้าป๋ามุฮัมมัดเลย เพราะว่าป๋ามุฮัมมัดจะไม่ เคยไปโรงเรียน ลูกจะเรียนกีป่ ี ลูกจะไปงานไหน ป๋าไม่เคยไป แล้วเขาเป็น คนไม่ใช่คนพูด เขาเป็นคนเฉยเงียบ แต่จะส่งลูกเรียนนะ คือเขาก็สนับสนุน นะ เขาพร้อมจะมาตรงนี้อยู่แล้วมาเป็นมุสลิมแล้วก็ อัลฮัมดุลิลลาฮ์นะ” นอกจากการไปรับ-ส่งลูกที่โรงเรียนสอนอัลกุรอานแล้ว คุณรอกียะฮ์ ยังได้เรียนรู้ร่วมกับลูกอีกด้วย แม้ว่าเธอจะไม่ใช่แม่ที่ร�่ำเรียนมามากมาย แต่สิ่งที่เธอได้รับจากความใฝ่รู้ก็มากพอที่จะชี้แนะการเรียนของลูกได้ “ถ้ามุฮำ� หมัดฝึกฉันก็ตอ้ งนัง่ ฟังลูก คือเหมือนไปนะไปเรียนด้วยกันนะ แหละ แต่การอ่านหนังสือนี่ ตัวฉันจะอ่านไม่ชัดเหมือนลูกหรอก แต่หูฉัน นะฟังรู้ เพราะไปเรียนกับลูกมาตั้งแต่ลูกอยู่ ป.2 ก็ไปตลอด แล้วต้องไป เฝ้าลูกจนกลับ บางทีเวลาลูกอ่านให้ฟังอย่างนี้ เราก็จะบอกมูฮ�ำหมัดตรง นีม้ ะว่าไม่ใช่ เราจะติงได้เลย บางทีพอเราติมา เขาก็จะว่ามุฮำ� หมัดอ่านถูก แล้ว หมัดไม่ได้อ่านผิด เราก็จะบอกมุฮ�ำหมัดลองโทรไปถามครูไหม พอ โทรไปหาครูอาดัม บัลบาห์ ครูช่วยฟังหน่อยนะว่ามุฮ�ำหมัดนะอ่านตรงนี้ ผิดหรือถูก ครูกจ็ ะบอกตรงนีม้ ฮุ ำ� หมัดอ่านท�ำนองไม่ใช่อย่างนีน้ ะ ผิดแล้วนะ สารศรัทธาชน 43
44
สารศรัทธาชน
ครูอาดัมจะพูดเสมอว่าคนทีจ่ ะเอาลูกมาเรียนนะต้องท�ำให้ได้อย่างแม่ของ มุฮ�ำหมัดนะ ต้องท้วงลูกได้นะ ฉันจะแนะได้ แต่ว่าฉันอ่านไม่ได้หรอกแต่ ฉันมันชินหูแล้วนะ” นอกจากแรงสนั บ สนุ น จากพ่ อ แม่ แ ละการไปร�่ ำ เรี ย นกั บ บรรดา อาจารย์ต่าง ๆ แล้ว การใส่ใจฝึกฝนการอ่านอัลกุรอานด้วยตัวเองก็เป็น ปัจจัยส�ำคัญในการเพิม่ พูนความสามารถในการอ่านอัลกุรอานของมูฮำ� หมัด “อย่างซูโบ๊ะฮ์นี่ครับก็ซ้อม ก่อนนอนก็อีกเที่ยวนึงอย่างตอนนี้ก็จะไป เรียนบ้านครูเลยเพราะว่าครูเขาเปิดสอนที่บ้านด้วยครับในช่วงโรงเรียน ไทยปิดเทอมก็ไปนอนบ้านครู ครูเขาก็จะฝึกให้” ถึงแม้จะอยู่ในวัยเด็ก ที่เด็กหลายคนรักที่จะเล่น แต่มูฮ�ำหมัดกลับไม่ เป็นเช่นนั้น “เราต้องแบ่งเวลาให้เป็นครับ เพราะว่าถ้ารักจะอ่านกุรอาน ถ้าเล่น เยอะเกินไป ก็ไม่ซ้อมไม่อะไรเราก็ไม่เก่ง เราเด็กเราต้องเล่น แต่เราต้อง เล่นให้เป็นเวลา อย่างเพื่อน ๆ เขารู้ว่าผมอ่านกุรอานเขาก็จะไม่ชวนเล่น อะไรเยอะ ผมก็เล่นกับเพื่อนก็มีไปเล่นแถวสุเหร่ากับเพื่อน ๆ บ้าง” ด้วยวิถีชีวิตของเด็กชายที่ให้เวลาส่วนใหญ่ไปกับการศึกษาการอ่าน อัลกุรอานนีเ่ อง จึงท�ำให้มฮู ำ� หมัดได้รบั รางวัลจากการทดสอบหลากหลาย เวที รวมไปถึงกุรอานไทยแลนด์ที่จัดโดยยาตีมทีวีด้วย จากนักเรียนกอรีสู่แชมป์ กุรอานไทยแลนด์ ในการทดสอบกุรอานไทยแลนด์ที่ด�ำเนินการจัดโดยสถานีโทรทัศน์ ผ่านดาวเทียมยาตีมทีวคี รัง้ ที่ 1 จัดขึน้ ในช่วงเดือนรอมฎอนปี 2556 มูฮำ� หมัด ก็เข้าร่วมทดสอบดังกล่าวด้วย แต่ในปีนั้นเขาได้ต�ำแหน่งรองชนะเลิศ จนเมือ่ ช่วงต้นปี 2557 ได้มกี ารจัดทดสอบกุรอานไทยแลนด์อคาเดมี่ ซีซนั่ 2 ขึ้น มูฮ�ำหมัดจึงเข้าทดสอบอีกครั้ง “ตอนซีซั่นแรกผมได้ยิน อ.อับดุลนะซีร ก้อพิทักษ์ เขาก็พูดเกริ่นไว้ อะไรอย่างนี้ครับว่าเดี๋ยวจะมีกุรอานไทยแลนด์ซีซั่น 2 พอได้ยิน อ.อับดุล นะซีร พูดกลับมาผมก็ซ้อมอ่านกุรอานตลอด” กุรอานไทยแลนด์อเคดามี่ ซีซั่น 2 มีความแตกต่างจากซีซั่นแรกตรง ที่มีการเปิดบ้านอคาเดมี่กุรอานไทยแลนด์ด้วย เพื่อให้ผู้เข้าทดสอบที่มา จากทัง้ ส่วนกลางและสวนภูมภิ าคได้มโี อกาสศึกษาเพิม่ เติมจากนักวิชาการ ที่ทางยาตีมทีวีได้จัดเตรียมไว้ “อาจารย์แต่ละคนเก่งมาก อย่าง อ.กุรซีย์ วงศ์สหาก อ.มูซา อัชฌาสัย แล้วก็ อ.อับดุลนะซีร ก้อพิทกั ษ์ อ.ชุกรี่ บัลบาห์ แล้วก็อาจารย์สอนตัฟสีร กุรอาน อาจารย์สอนตัจญวีดก็อ.ดนัย ดาราฉาย” นอกเหนือจากความรูเ้ กีย่ วกับอัลกุรอานทีม่ ฮู ำ� หมัดและเพือ่ น ๆ ทีเ่ ข้า ร่วมบ้านอคาเดมี่กุรอานไทยแลนด์ซีซั่นสองได้รับแล้ว สิ่งที่นอกเหนือไป จากนัน้ ทีพ่ วกเขาได้รบั ก็คอื มิตรภาพและความเป็นพีน่ อ้ งร่วมสายเชือกแห่ง อัลอิสลาม “มากันวันแรกก็สลามกอดกันเลยครับอยูก่ นั เหมือนพีเ่ หมือนน้องจริง ๆ เลยก็เตือนกันซ้อมครับ อย่างผมจะไปซ้อมก็ตอ้ งชวนเพือ่ น ๆ ซ้อมกันด้วย ครับเพราะว่าเคยรู้จักกันมาก่อนแล้วด้วยในวงการการอ่านกุรอาน และ ที่มาก็เก่งกันทุกคนเลยประทับใจที่สุดก็ตรงที่มีการเรียนรู้อัลกุรอานเพิ่ม เติมด้วย และมีการน�ำเด็กที่เก่ง ๆ จากต่างจังหวัดมาทดสอบที่กรุงเทพ ด้วยครับ”
สารศรัทธาชน 45
“ ผมอยากเป็นครู ครับ อยาก ถ่ายทอดวิชาความรู ท้ ่ีได้เรียนมา ให้เด็กรุ น่ หลังๆ ได้เรียนรู ก้ นั ต่อไป ครับ มีในหะดีษบอกว่าผู ใ้ ดที่อา่ น อัลกุรอานและสอนอัลกุรอานเป็น ผู ท้ ่ปี ระเสริฐที่สดุ ผมเลยอยากจะ เป็นทัง้ สองอย่าง ผมเรียนกุรอาน มาแล้ว แล้วก็อา่ นกุรอานมาแล้ว เราก็อยากที่ จะสอนกุรอานต่อ ด้วยครับ ”
จากการเข้าร่วมบ้านอคาเดมีกุรอานไทยแลนด์ 5 วันในช่วงกลาง เดือนเมษายน และทดสอบในช่วงงานบางกอกฮาลาลครั้งที่ 2 ในช่วง วันที่ 18 – 20 เมษายน 2557 มูฮ�ำหมัดก็ได้รับรางวัลชนะเลิศ นี่เป็น อีกรางวัลที่เขาได้รับจากการเข้าทดสอบการอ่านกุรอานในช่วง 6 ปี ที่ผ่านมา ส�ำหรับมูฮ�ำหมัดแล้วรางวัลที่ได้รับอาจจะคือภาคภูมิใจใน ฐานะเด็กชายวัยสิบสี่ที่มานะฝ่าฟันจนได้รับ แต่ส�ำหรับคุณรอกียะฮฺผู้ เป็นแม่แล้ว การลึกซึง้ ในการศึกษาอัลกุรอานของมูฮำ� หมัดคือหลักประกัน และความมัน่ ใจว่าลูกของเธอจะไม่หนั เหออกไปจากหนทางของอัลอิสลาม “คนเราถ้าอยู่ในกุรอาน รักกุรอาน ลูกเราก็จะอยู่ในหนทาง จะท�ำ อะไรก็จะเกรงกลัว ลูกจะไม่ออกไปนอกลูน่ อกทางเพราะว่าสังคมปัจจุบนั เรามองแล้วนี่หากไม่ให้ลูกเรียนศาสนาก็จะอันตราย” อาจเป็นเพราะชีวิตที่อยู่กับการศึกษาการอ่านอัลกุรอานตั้งแต่เช้า ตรูจ่ นดึกดืน่ มาตัง้ แต่วยั เด็กเล็กก็เป็นได้จงึ ท�ำให้มฮู ำ� หมัดในวัยรุน่ ตอนต้น ซึ่งเป็นช่วงวัยที่ผู้ใหญ่มักจะห่วงลูกห่วงหลานของตนเป็นอย่างมากแต่ มูฮ�ำหมัดกลับเป็นเด็กดีที่เชื่อฟังพ่อแม่อย่างน่าชื่นใจ “ลูกฉันมุฮำ� หมัดไม่เคยนะว่ากลางคืนจะออกไปนอกบ้านหรืออะไร ลูกนี่จะอยู่บ้านทุกวัน ถ้าโรงเรียนหยุดแล้วฉันอยู่บ้านลูกก็อยู่ด้วย นอกจากเพือ่ นทีส่ นิทจะเข้ามาเล่นด้วยทีบ่ า้ น ลูกจะพูดแค่วา่ มะห์ หมัด ก็มาคิดดูแล้วหมัดก็ชนิ แล้วนะมะห์ อยูแ่ ต่ในบ้านกับโรงเรียน ถ้าลูกกลับ มาไม่เจอฉัน เวลาฉันไปรับจ็อบท�ำงาน ท�ำความสะอาดตึก ลูกก็จะโทรมา มะห์อยูไ่ หน มะห์รบี กลับมาไว ๆ นะเขาชินทีจ่ ะอยูก่ บั เรา ก็อลั ฮัมดุลลิ ลาฮฺ ฉันโล่งใจไปเยอะเลย” 46
สารศรัทธาชน
อนาคตของมู ฮ�ำหมัดและความหวังของแม่ ปัจจุบนั มูฮำ� หมัดเรียนอยูช่ นั้ มัธยมศึกษาปีที่ 2 ทีโ่ รงเรียนสุเหร่าบ้านดอน หลังจบชั้น ม.3 มูฮ�ำหมัดก็ตั้งใจจะเข้าศึกษาต่อที่โรงเรียนมิฟตาฮุ้ลอุลูมิด ดินียะฮ์ “พอจบ ม.3 แล้วก็จะเรียนต่อเอียอ์ดาดีย์กับษะนาวีย์ที่มิฟตาห์ ส่วน เรียนสามัญก็จะต่อ กศน. พอจบ ม.6 ก็เข้าลงเรียนรามเลย” ถึงแม้จะวางแผนชีวิตว่าจะเรียนต่อในระดับมหาวิทยาลัยไปด้วย แต่ ท้ายที่สุดความฝันของมูฮ�ำหมัดก็คืออยากเป็นครูสอนศาสนา “ผมอยากเป็นครูครับอยากถ่ายทอดวิชาความรูท้ ไี่ ด้เรียนมาให้เด็กรุน่ หลัง ๆ ได้เรียนรู้กันต่อไปครับ มีในหะดีษบอกว่า ผู้ใดที่อ่านอัลกุรอาน และสอนอัลกุรอานเป็นผูท้ ปี่ ระเสริฐทีส่ ดุ ผมเลยอยากจะเป็นทัง้ สองอย่าง ผมเรียนกุรอานมาแล้ว แล้วก็อ่านกุรอานมาแล้ว เราก็อยากที่จะสอน กุรอานต่อด้วยครับ” อัลฮัมดุลิลลาฮฺ ที่ความฝันของมูฮ�ำหมัดกับความฝันของแม่ของเขา เป็นความฝันเดียวกัน “จริง ๆ แล้วเรื่องอาชีพนะ มอบหมายต่ออัลลอฮฺ จะพูดกับลูกเสมอ เลยว่า มุฮัมมัด เรียนกุรอานนะลูก พยายามเอามาทวน มุฮ�ำหมัดจะต้อง ทวนให้สม�่ำเสมอ เพราะต่อไปมุฮ�ำหมัดจะต้องเป็นครูนะ แต่ไม่ต้องเลี้ยง มะห์หรอกลูกเพราะเดี๋ยวมะห์ก็ตายแล้ว มะห์ก็หวังดุอาอ์ของลูกแค่นั้น แหละ เพราะว่าดุนยานีม้ ะห์กล็ ำ� บากมาเยอะแล้ว มะไม่ใช่เป็นคนรวยคน มีมะห์กเ็ หนือ่ ยกับลูกมาเยอะแล้ว แต่สงิ่ ทีม่ ะห์อยากได้กค็ อื ว่าวันข้างหน้า เมื่อลูกเป็นคนดี ดุอาอ์ของลูกที่ศอและห์แค่นั้นแหละ แล้วถ้าเกิดว่า มุฮ�ำหมัดเรียนศาสนาวิชาความรู้ลูกเอาไปเผยแพร่ผลบุญก็ตกถึงมะห์ เอาน่า อัลลอฮฺไม่ให้เราล�ำบากหรอกถ้าเราอยู่กับอัลลอฮฺ หนทางริซกีมา เองลูก ไม่ต้องห่วงนะว่าเดี๋ยวจะต้องมาเลี้ยงมะห์ มะห์ท�ำขนมเป็น ถ้า อัลลอฮฺให้มอื เท้าดีแบบไม่เจ็บไม่ไข้นี่ มะห์เลีย้ งตัวมะห์เองได้ เลีย้ งลูกได้” ถึงแม้มุ่งหวังจะให้ลูกเป็นครูสอนศาสนา แต่คุณรอกียะฮ์ก็สอนลูกให้ รู้จักท�ำมาค้าขายด้วย “มุฮำ� หมัดนีถ่ า้ กลับมาจากโรงเรียนไทยต้องช่วยขายขนมด้วยนะ เวลา นึ่งขนมถ้วยก็จะแกะขนมใส่กล่องรอลูกไว้เลย พอลูกกลับมานี่ลูกต้องไป เดินขายก่อนในซอย ก่อนไปมิฟตาห์ลกู ต้องไปเดินขายให้ ก็บอกเขามุฮำ� หมัด ก็มาหัดท�ำกับมะห์ แล้วต่อไปถ้ามุฮำ� หมัดมีเมีย มุฮำ� หมัดก็สอนเขาท�ำ แล้ว หมัดก็เอาไปขาย เราเป็นครูบาอาจารย์นะริซกีดีจะตายไป ไม่ต้องอาย หรอกเรามีสนิ ค้าไปแลกเขา เราไปเดินขายท่านเราะสูลศ็อลลัลลอฮุอะลัย ฮิวะสัลลัม ยังค้าขายเลย ไม่ใช่เป็นครูแล้วต้องอาย ไม่กล้าขายของ เราก็ ห่วงว่าเขาจะมีปัญหาในการต่อไปถ้าเขามีคู่ครอง เขาจะมาต�ำหนิลูกเรา ว่าท�ำมาหากินไปเลี้ยงเขาตรงนั้นไม่ได้” .เมื่อต้นปีพ่อของมุฮ�ำมัดก็เพิ่งจะเสียชีวิตลง หลังจากล้มเจ็บมาเกือบ ปี ซึง่ ในช่วงดังกล่าวเด็กชายวัยแค่สบิ สีป่ อี ย่างมุฮำ� มัดก็ได้มโี อกาสใช้ความ สามารถของตนเองเลี้ยงดูพ่อในยามที่ป่วยไข้ด้วย “ป๋าเขาล้มเจ็บมาปีกว่า ฉันก็ต้องเลี้ยงป๋าเขาด้วย เลี้ยงลูกด้วย ทุก อย่างฉันก็ต้องท�ำคนเดียว นี่มะห์อยู่ได้เพราะอะไรละ ก็อัลลอฮฺให้ริซกี มะห์ก็มีกินมีใช้ มุฮ�ำหมัดอยากได้อะไรมะห์ก็มีให้ แต่ก็ภูมิใจในตัวลูกว่า มุฮำ� หมัดนะได้เลีย้ งพ่อเลีย้ งแม่แล้วทุกวันนีเ้ พราะตอนทีไ่ ปทดสอบซีซนั่ ทีแ่ ล้ว
สารศรัทธาชน 47
48
สารศรัทธาชน
สารศรัทธาชน 49
หลังจากนัน้ มุฮมั มัดก็ไปออกรายการอีก ก็มคี นบริจาคให้ทนุ การศึกษามา เขาก็จะส่งให้ทางยาตีมเดือนละ 5,000 บาท ก็เหมือนอัลลอฮฺเมตตา เพราะตอนนั้นพ่อเขาล้มเจ็บพอดี ท�ำอะไรไม่ได้ สะโพกหัก ก็มีเงินของลูก ที่ได้เอาให้เขาไปโรงเรียน แล้วเอามากินใช้อยู่ในครอบครัวเหมือนกับว่า ก่อนทีพ่ อ่ จะเสียชีวติ ไปมูฮำ� หมัดก็ได้นำ� เงินตรงนีเ้ อามาให้พอ่ ได้กนิ ใช้แล้ว ก็ ใช้ จ ่ า ยในครอบครั ว ด้ ว ยก็ อั ล ฮั ม ดุ ลิ ล ลาฮ์ ” คุ ณ รอกี ย ะฮ์ บ อกกล่ า ว สถานการณ์ของครอบครัวที่ต้องประสบเมื่อปีที่แล้วและความเมตตา ของอัลลอฮฺที่ครอบครัวของเธอได้รับ มูฮำ� หมัดในวัยสิบสีป่ ยี งั คงมุง่ มัน่ กับการศึกษาการอ่านอัลกุรอานต่อไป รวมทั้งเขายังใช้เวลาส่วนหนึ่งไปกับการศึกษาความหมายอัลกุรอานด้วย “ความหมายอัลกุรอานก็ศึกษาเองครับ อย่างกุรอานแปลไทยก็หยิบ มานั่งดู เพราะการจะอ่านกุรอานให้ได้ดีต้องรู้ความหมาย เพราะพอเรา อ่าน จะได้รู้ว่าตรงไหนเศร้า ตรงไหนต้องอ่านให้กระชับ ๆ ครับ” ในช่วงนี้มูฮ�ำหมัดก็ยังใช้เวลาบางส่วนมาช่วยสอนการอ่านอัลกุรอาน ให้กับรอซีดีย์ น้องชายคนเล็กของเขาด้วย แล้วยังพารอซีดีย์ติดสอยห้อย ตามไปเรียนกับอาจารย์อาดัม บัลบาห์ ที่หลอแหลทุกครั้งที่มูฮ�ำหมัดไป เรียนด้วย ตัวรอซีดีย์เองก็เต็มใจไปเรียนกับพี่ชายโดยไม่อิดออด รวมทั้งมี ความฝันอยากเป็นครูสอนอัลกุรอานเหมือนกับพีช่ ายด้วย ส่วนหนึง่ คงเป็น เพราะรอซีดีย์เติบโตมาในสภาพครอบครัวที่ประดับประดาไปด้วยเสียง อัลกุรอานที่พี่ชายของรอซีดีย์อ่านสม�่ำเสมอทุกเมื่อเชื่อวัน ส�ำหรับครอบครัวที่ไม่ได้เพียบพร้อมไปด้วยฐานะทางการเงิน ไม่ได้มี ความพร้อมทางปัจจัยยังชีพ ไม่ได้มีผู้รู้ศาสนาอยู่ในครอบครัว ความมุ่ง มัน่ ตัง้ ใจและความเอาใจใส่ของผูป้ กครองคือสิง่ ส�ำคัญทีจ่ ะท�ำให้ลกู หลาน ได้ความรู้ศาสนาและใช้ชีวิตอยู่บนหนทางอัลอิสลาม เฉกเช่นเดียวกับ มูฮำ� หมัด สัจจเทพ เด็กชายวัยสิบสีท่ มี่ พี อ่ เป็นมุอลั ลัฟ แม่เป็นแม่คา้ ขายของ แต่วันนี้เขาคือผู้ชนะเลิศรางวัลอเคดามี่กุรอานไทยแลนด์ซีซั่น2 “การที่จะส่งให้ลูกเรียนกุรอาน ถ้าเราแบบอยากจะได้กันจริง ๆ นะ มันคือตัวเราเองก็ต้องเสียสละเวลาด้วย คือเราก็ต้องคิดถึงวันข้างหน้านะ ถามว่าลูกนะ ถ้าเราเอาใจใส่เขา อยากให้เขาเป็นอย่างนี้ ไม่ใช่ว่าเพียงแต่ เราผลักเขาไป ๆ คือเราต้องลงมือไปร่วมด้วยนะ ร่วมด้วยช่วยกันแล้วความ ส�ำเร็จก็จะมาเอง” คุณรอกียะฮฺกล่าวทิ้งท้าย ส�ำหรับพ่อผู ้ล่วงลับและแม่ของมู ฮ�ำหมัดแล้วรางวัลชนะเลิศ ที่ยงิ่ ใหญ่ท่สี ดุ ที่พอ่ แม่คาดหวังนัน้ ไม่ใช่ ถว้ ยแชมป์ ทดสอบการอ่าน อัลกุรอานเวทีเล็กใหญ่ท่ไี หน แต่คือการที่ในอนาคตมุ ฮ�ำมัดจะเป็น ผู ถ้ า่ ยทอดด�ำรัสจากพระเจ้า และได้อยู ใ่ นกลุม่ ชนที่ทา่ นนบีบอกว่า เป็นผู ้ท่ดี ีท่ีสุด ‘ เพราะเขาจะเป็นผู ้รำ�่ เรียนและสอนอัลกุรอาน ’ ซึ่ง สถานะและรางวัลที่จะได้รับจากอัลลอฮฺ นัน้ ยิ่งใหญ่และสูงค่ากว่า รางวัลใดๆทีเ่ ขาจะได้รบั ในโลกดุนยานี้
50
สารศรัทธาชน
ท่านนบีมูฮมั มัด กับการสังคมสงเคราะห์ อ.อามีน เหมเสริม
อิสลาม คือ ศาสนาที่ครอบคลุมวิถีชีวิตมุสลิม โดยประมวลด้วยหลัก ธรรมค� ำ สอนทุ ก แง่ มุ ม ของชีวิต ไม่ว ่าจะด้านการเมืองการปกครอง เศรษฐกิจ สังคม หรือ วัฒนธรรมความเป็นอยู่ของมนุษย์ อิสลามให้ความ ส�ำคัญในทุกๆด้านของการด�ำเนินชีวิต โดยเฉพาะอย่างยิ่งด้านสังคม อิสลามส่งเสริมให้มุสลิมใช้ชีวิตอยู่ในสังคมอย่างมีคุณค่า มีคุณประโยชน์ ไม่เป็นผูท้ เี่ ห็นแก่ตวั เอารัดเอาเปรียบ อธรรม หรือเบียดเบียนผูอ้ นื่ ไม่เพียง เท่านัน้ อิสลามยังได้กำ� หนดภารกิจของการอยูร่ ว่ มในสังคมของมุสลิม คือ การช่วยเหลือเกือ้ กูลซึง่ กันและกัน การเอือ้ อาทร และการเป็นห่วงเป็นใย กัน อิสลามไม่ต้องการให้เกิดช่องว่างระหว่างคนรวยกับคนจน ดังนั้นจึง ก�ำหนดให้เป็นหน้าที่ของผู้ที่รำ�่ รวย ให้การช่วยเหลือต่อผู้ยากไร้ดังด�ำรัส ของอัลลอฮฺที่ว่า “ แท้จริงซอดาเกาะฮฺ ” (ทรัพย์สนิ ซะกาต) ทัง้ หลายนัน้ ส�ำหรับบรรดา ผู้ยากจนและบรรดาผู้ขัดสน ” และค�ำสอนของท่านนบีที่ว่า “ พวกท่านจงสอนพวกเขาว่า อัลลอฮฺได้ทรงก�ำหนดแก่ทรัพย์สนิ ของ พวกเขา โดยให้ท�ำซอดาเกาะฮฺ (ออกซะกาต) ซึ่งถูกเอามาจากผู้ที่มีความ ร�่ำรวยของพวกเขา ”(อัลหะดีษ) และท่านนบียังได้ส่งเสริมในเรื่องการ ช่วยเหลืออีกว่า ท่านรอซูลกล่าวดังค�ำด�ำรัสของอัลลอฮฺ โอ้ลูกหลานอาดัมเอ๋ยเจ้าจง จ่ายทรัพย์สิน (ในหนทางของอัลลอฮฺ) เถิด เจ้าก็จะได้รับความเพิ่มพูน (กลับคืนมา) ท่านนบีมูฮัมหมัดเป็นผู้ที่ท�ำงานด้านสังคมสงเคราะห์ตลอดชีวิตของ ท่าน เพราะชีวติ ของท่านเต็มเปีย่ มไปด้วยการช่วยเหลือและเป็นห่วงเป็นใย มนุษย์ท่านไม่เคยปฏิเสธผู้ที่มาขอทั้งๆที่ท่านมิใช่คนร�่ำรวย สังคมทีเ่ ป็นตัวอย่างของงานด้านสังคมสงเคราะห์คอื สังคมในยุคของ ท่านนบีในครั้งที่ชาวมักกะฮฺอพยพมายังมาดีนะฮฺ ท่านนบีได้วางรากฐาน ในด้านสังคมสงเคราะห์ โดยให้ชาวอันศอร(ชาวมาดีนะฮฺ) ช่วยเหลือ ชาวมุฮาญีรนี (ผูอ้ พยพ) เหมือนดังเป็นพีน่ อ้ งกันและนัน้ คือจุดเริม่ ต้นของ งานด้านสังคมสงเคราะห์ในระดับชุมชน เพราะค�ำว่าสังคมสงเคราะห์ หมายถึง การด�ำเนินงานเพือ่ ช่วยเหลือบุคคลให้สามารถช่วยตนเองได้ ดัง นัน้ การทีท่ า่ นนบีให้ชาวอันศอรช่วยเหลือต่อชาวมุฮาญีรนี และให้เขาเป็น พี่น้องกันก็เพื่อที่จะให้พวก (ผู้อพยพ) สามารถช่วยเหลือตนเองได้ในการ ด�ำรงชีวิตต่อไป และท่านนบียังได้ให้คำ� สอนในลักษณะส่งเสริมการช่วย เหลือกันอีกว่า
“ และมือบนนั้นย่อมดีกว่ามือล่าง ” บันทึกโดยมุสลิม เป็นค�ำสอนที่ แหลมคมและชี้ปรัชญาการด�ำเนินชีวิตในสังคม คือต้องเป็นผู้ให้มากกว่า ผู้รับ หรือผู้คนในสังคมนั้นจะต้องพยายามท�ำตนให้เป็นผู้ให้ เมื่อทุกคน พยายามที่จะเป็นผู้ให้ ก็จะเกิดความพยายามในการประกอบอาชีพ เมื่อ ประกอบอาชีพสังคมนั้นมีฐานะหรืออาจร�่ำรวยจากการประกอบอาชีพ ขณะเดียวกันก็ไม่ลืมตนลืมตัว การให้ซึ่งก็ไม่จ�ำเป็นจะต้องให้เฉพาะ ทรัพย์สินเงินทอง แต่ให้ในสิ่งที่จะเป็นประโยชน์ต่อผู้คนในสังคมนั้นก็จะ เปี่ยมล้นไปด้วยความผาสุขอบอุ่นละมั่นคง และนบียังได้สอนอีกว่า ดัง ค�ำสอนที่ว่า
โอ้ลกู หลานอาดัมเอ๋ยเจ้าจงจ่าย ทรัพย์สนิ (ในหนทางของอัลลอฮฺ ) เถิด เจ้าก็จะได้รับความเพิ่มพู น (กลับคืนมา)
“ มุสลิมเป็นพี่น้องของมุสลิม เขาจะไม่บิดพลิ้ว ไม่โกหก ไม่ละทิ้งเขา มุสลิมทุกคนเป็นทีต่ อ้ งห้ามต่อมุสลิมด้วยกัน ในการทีจ่ ะละเมิดเกียรติยศ ทรัพย์สินและชีวิตของเขา ” (บันทึกโดยติรมีซีย์) ทั้งหมดนี้คือบางส่วนของค�ำสอนด้านสังคมของท่านนบีซึ่งยังมีอีก มากมายเพียงบางส่วนดังกล่าว พวกเราสามารถน�ำมาสู่การปฏิบัติอย่าง จริงจัง เราก็จะเห็นความเข้มแข็งของสังคมมุสลิม และเห็นภาพของการ เกื้อกูลซึ่งกันและกัน และการจะน�ำมาซึง่ ความสุขและความสงบของผูค้ นในสังคม ขออย่า ให้หลักการเหล่านี้เป็นเพียงทฤษฎีที่อยู่ในตัวเราเพียงอย่างเดียว สารศรัทธาชน 51
รัตติกาลนัน้ ที่รอคอย พู ่กันริมคลอง
52
สารศรัทธาชน
“ รัตติกาลอันทรงเกียรติ ” เมื่อกล่าวถึงค�ำๆนี้แล้วท่านอาจนึกถึง ค�ำ่ คืนหลายค�ำ่ คืนทีม่ เี กียรติ มีความส�ำคัญต่อมุสลิมและอิสลาม อาจเป็น คืนอัลอิสรออฺวัลเมี๊ยะอฺรอจ ที่ท่านรอซูล ซอลลัลลอฮุอะลัยฮิวะซัลลัม ได้ เดินทาง 2 ช่วงด้วยกันคือ อัลอิสรออฺ การเดินทางกลางคืนจากมักกะฮฺสู่ อัลกุดส์ หรือกรุงเยรูซาเล็ม ณ มัสญิดอัลอักศอ และจากที่นั้นท่านได้ เมี๊ยะอฺรอจขึ้นสู่ฟากฟ้า เพื่อรับบัญญัติการละหมาดโดยตรงจากอัลลอฮฺ ซุบฮานะฮูวะตะอาลา ซึ่งถือได้ว่าเป็นรัตติกาลหนึ่งที่ทรงเกียรติ แต่เวลา นีเ้ มือ่ ใกล้เข้าสูเ่ ดือนรอมฎอนเดือนแห่งการถือศีลอดของมุสลิมทัว่ โลก เมือ่ เรากล่าวถึง “ รัตติกาลอันทรงเกียรติ ” นัน้ คงจะเป็นคืนใดไปไม่ได้นอกจาก คืน “อัลกอดรฺ ” หรือที่เราชาวบ้านเรียกว่า ลัยละตุลกอดรฺ นั่นเอง ... เราคงทราบดี ว ่ า คื น อั ล กอดรฺ นั้ น มี ค วามส� ำ คั ญ มาก ทั้ ง ทางด้ า น ประวัติศาสตร์และส�ำคัญทั้งทางด้านการท�ำคุณงามความดีด้วย ความ ส�ำคัญทางด้านประวัตศิ าสตร์นนั้ ก็คอื คืนอัลกอดรฺนนั้ เป็นคืนทีอ่ ลั ลอฮฺทรง ประทานอัลกุรอานมาเป็นทางน�ำแก่มวลมนุษย์ อัลลอฮฺได้ทรงบรรยาย ลักษณะคืนดังกล่าวว่าเป็น “ คืนที่มีความจ�ำเริญ ” โดยพระองค์ตรัสใน ซูเราะฮฺอัดดุคอน อายะฮฺที่ 3 ว่า “ เราได้ประทานสิ่งนั้น (อัลกุรอาน) มา ในคืนนั้นที่มีความจ�ำเริญ แท้จริงเราเป็นผู้ตักเตือน ” ท่านอิบนิ อับบาส รอฏิยลั ลอฮุอนั ฮุมา ได้กล่าวว่า อัลกุรอานทัง้ หมดนัน้ ได้ถกู ประทานมาใน คืนอัลกอดรฺ ณ อัลเลาหุลมะหฺฟูซ และหลังจากนั้นอัลลอฮฺจะบัญชาให้ ท่านญิบรีล อะลัยฮิสสลาม น�ำบางส่วนมาประทานให้แก่ท่านรอซูลตาม แต่เหตุการณ์ บางครั้งอาจน�ำมาหลายอายะฮฺ หรือเพียงแค่อายะฮฺเดียว หรือเพียงแค่ส่วนหนึ่งของอายะฮฺเท่านั้น หรืออาจจะทั้งซูเราะฮฺเลย ทั้งนี้ ทั้งนั้นขึ้นอยู่กับความสัมพันธ์ของสถานการณ์ ตามแต่อัลลอฮฺจะทรง บัญชา ความส�ำคัญของคืนดังกล่าว มิได้จ�ำเพาะอยู่เพียงเหตุผลที่ว่าเป็น คืนที่มีการประทานอัลกุรอานเท่านั้น แต่ยังรวมไปถึงการที่คืนนั้นอยู่ใน เดือนอันประเสริฐ ทีอ่ ลั ลอฮฺทรงก�ำหนดให้มนั เป็นระยะเวลาทีม่ วลมุสลิม
ทั้งหลายไม่ว่าจะมาจากชาติพันธุ์ไหน สถานที่แห่งหนใดท�ำการถือศีลอด ร่วมกันอย่างพร้อมเพรียง นั่นคือเดือนรอมฎอนนั่นเอง “ หากเรานับเอา ว่าเดือนหนึ่ง มี 30 วัน 1000 เดือนก็เท่ากับ 30000 คืน ด้วยกัน คืนเดียว มีค่า เท่ากับ 30000 คืน ” จากความส�ำคัญทางด้านประวัติศาสตร์ และระยะเวลาของมันที่อยู่ ในช่วงรอมฎอนนีเ้ อง ท�ำให้นำ� ไปสูค่ วามส�ำคัญทีต่ ามมาในการท�ำคุณงาม ความดีหรืออิบาดะฮฺตอ่ อัลลอฮฺ อัลลอฮฺได้ถามเพือ่ จูงใจให้บา่ วของพระองค์ อยากทราบถึง ความส�ำคัญของคืนอัลกอดรฺในแง่ของการท�ำอิบาดะฮฺไว้ใน ซูเราะฮฺอัลกอดรฺ อายะฮฺที่ 2 ว่า “ และเจ้ารู้หรือไม่ว่าคืนอัลลอดรฺนั้นคือ คืนอะไร ” หลังจากทีพ่ ระองค์ทรงถามพระองค์กท็ รงตอบแต่ไม่ทรงตอบว่า มันเป็นคืนทีพ่ ระองค์ได้ประทานอัลกุรอานแต่ทรงตอบว่า “ คืนอัลกอดรฺ ดียงิ่ กว่า 1000 เดือน ” ค�ำว่าดียงิ่ กว่า 1000 เดือน มีความหมายว่าอย่างไร หากเรานับเอาว่าเดือนหนึง่ มี 30 วัน 1000 เดือนก็เท่ากับ 30000 คืน ด้วยกัน คืนเดียวมีค่าเท่ากับ 30000 คืน นักวิชาการมีทรรศนะว่า ความ หมายของอายะฮฺก็คือ การท�ำอิบาดะฮฺในคืนนั้นคืนเดียว มีค่าเท่ากับการ ท�ำอิบาดะฮฺในคืนอื่นจ�ำนวน 30000 คืน หรือ 1000 เดือน ด้วยกัน เป็น คืนที่อัลลอฮฺซุบฮายะฮูวะตะอาลา ได้ให้ความจ�ำเริญ และสิทธิพิเศษเพิ่ม ค่าตอบแทนเป็นทวีคณ ู ส�ำหรับอิบาดะฮฺเดิมๆ ทีเ่ คยท�ำอยูห่ ากมาท�ำให้คนื นีห้ ากท่านละหมาดในคืนเพียงแค่ 10 รอกอะฮฺ ผลบุญของท่านจะมากกว่า ท่านละหมาดในคืนทั่วไปในจ�ำนวนเดียวกันรวม 300000 รอกอะฮฺ และ เช่นเดียวกันกับอิบาดะฮฺอื่นๆ อย่างเช่นการอ่านอัลกุรอานที่ท่านรอซูล บอกว่า อัลลอฮฺจะทรงให้การตอบแทนของการอ่านอัลกุรอานในเดือน รอมฎอนที่อัลลอฮฺจะทรงให้ผลบุญเดิมๆเป็นเท่าทวีคูณ และจะเป็น อย่างไรหากเราได้อ่านคืนอัลกอดรฺ หากใครเป็นนักลงทุนคงไม่ปล่อยให้โอกาสทองในการลงทุนหลุดมือไป เพราะเป็นการลงทุน ที่น้อยแต่ได้ก�ำไรมหาศาลในช่วงข้ามคืนท่านลงแรง ไปไม่กี่ชั่วโมง แต่ท่านได้กลับมาเหมือนกับท่านได้ท�ำมันทั้งชีวิตที่บอกว่า เหมือนท�ำทั้งชีวิตเพราะ 1000 เดือน ที่อัลลอฮฺทรงบอกนั้นมันเท่ากับ ระยะเวลาถึง 83 ปี เทียบเท่ากับอายุไขของคนๆ หนึง่ เลยทีเดียว ทัง้ ทีส่ มัย นีใ้ ครเล่าจะมีอายุ หรือใช้ชวี ติ ไปได้ถงึ 83 ปี บางคนตายตัง้ แต่ยงั เด็ก บางคน สีห่ า้ สิบก็กลับไปหาอัลลอฮฺแล้ว หากเราคิดได้อย่างนีจ้ ริงๆ คงไม่อยากปล่อย ให้เวลาล่วงเลยไปแม้แต่วินาทีเดียว โดยไม่มีอิบาดะฮฺอย่างหนึ่งอย่างใด ท่านรอซูลเป็นแบบอย่างของเราในการให้ความส�ำคัญกับคืนอัลกอดรฺ ท่านจะเอีย๊ ะติกาฟ ณ มัสญิดตลอด 10 คืนสุดท้าย การเอีย๊ ะติกาฟเป็นการ พ�ำนัก อยู่ในมัสญิดเพื่อท�ำอิบาดะฮฺต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นการละหมาด การ อ่านอัลกุรอาน การซิกรุลลอฮฺ ฯลฯ ท่านจะแสวงหาคืนอัลกอดรฺใน 10 คืนสุดท้ายของเดือนรอมฎอน นักวิชาการมีความเห็นแตกต่างกันในการ เจาะจงคืนอัลกอดรฺ บ้างว่าอยู่ในคืนที่เป็นเลขคี่ 21 ,23 ,25 , 27 , 29 บ้างบอกคืนที่ 25 แต่หลายท่านให้ความเห็นว่ามันคือคืนที่ 27 และเป็น สิง่ ทีช่ าวบ้านทัว่ ไปเข้าใจ แต่การหมัน่ เพียรในการท�ำอิบาดะฮฺนนั้ ควรเป็น ไปอย่างขะมักเขม้นในช่วง 10 คืนสุดท้ายของเดือน อันเป็นแบบฉบับของ ท่านรอซูล และบรรดาซอฮาบะฮฺที่ติดตามท่าน ท่านหญิงอาอิชะฮ์ได้ถามท่านรอซูลถึงถ้อยค�ำทีค่ วรกล่าวในคืนอัลกอดรฺ ท่านรอซูลกล่าวตอบว่า ให้กล่าวว่า “ อัลลอฮุมมะ อินนะกะ อะฟูวุน ตุหิบบุล อัฟว่ะ ฟะอฺฟุอันนี ” ความว่า “ ข้าแต่อัลลอฮฺพระองค์ทรงเป็น
ผูท้ รงอภัย ทรงรักการอภัยโทษ ดังนัน้ โปรดทรงอภัยโทษให้กบั ข้าพระองค์ ด้วยเถิด ” ให้กล่าวค�ำนี้มากๆเท่าที่จะท�ำได้ การท�ำอิบาดะฮฺใน 10 คืนสุดท้ายนัน้ ควรเป็นไปอย่างขะมักเขม้นอาจ เป็นทีบ่ า้ น หรือในมัสญิดก็ได้ ควรอ่านอัลกุรอานให้มากๆ ละหมาดซุนนะฮฺ ขอดุอาอฺ ขออภัยโทษต่อพระองค์ในสิ่งที่เคยท�ำมา เพราะพระองค์ทรง เป็นผู้เมตตา ทรงให้อภัยต่อบ่าวของพระองค์เสมอ ควรร�ำลึกถึงพระองค์ ทั้งทางค�ำพูด จิตใจ และการกระท�ำ พยายามชักจูงคนในครอบครัวให้ ความส�ำคัญต่อคืนดังกล่าว เช่นที่รอซูลเคยท�ำกับบรรดาภรรยาของท่าน และเหล่าสาวกของท่าน แต่อย่าได้นึกเอาว่าการท�ำอิบาดะฮฺโดยไม่หลับ ไม่นอน ในคืนทีเ่ ป็นคืนอัลกอดรฺนน้ั จะท�ำให้ทา่ นได้นอนกินผลบุญไปตลอด
ผลบุ ญไม่ใช่ สิ่งที่จับต้องได้ เป็นรูปธรรม ท่านจะรูไ้ ด้อย่างไร ว่าการที่ท่านอดหลับอดนอน ท�ำอิบาดะฮฺ ในช่ วงนัน้ อัลลอฮฺ จะทรงรับหรือไม่ ? หากท่านไม่ ท�ำตัวเป็นบ่าวที่ดีอย่างเสมอ ต้นเสมอปลาย
ชีวติ เหมือกับทรัพย์สนิ เงินทอง ไม่จำ� เป็นต้องหามาเพิม่ เติมไม่จำ� เป็นต้อง ท�ำอิบาดะฮฺทำ� บุญท�ำกุศลอีก เพราะผลบุญไม่ใช่สงิ่ ทีจ่ บั ต้องได้เป็นรูปธรรม ท่านจะรู้ได้อย่างไรว่าการที่ท่านอดหลับอดนอนท�ำอิบาดะฮฺในช่วงนั้น อัลลอฮฺจะทรงรับหรือไม่ ? หากท่านไม่ท�ำตัวเป็นบ่าวที่ดีอย่างเสมอต้น เสมอปลาย บางครัง้ ในบัญชีของท่านอาจไม่มสี งิ่ เหล่านีบ้ นั ทึกอยูก่ เ็ ป็นได้ ทรัพย์สนิ ทัง้ หลายทีม่ อี ยูย่ งั ถูกผลาญไปกับการใช้สอยอย่างฟุม่ เฟือยได้ผล บุญก็เช่นกันจะถูกผลาญไปกับการทีท่ า่ นคิดว่าท�ำบุญพอแล้วในเดือน หรือ คืนที่อัลลอฮฺทรงรับรองว่าจะได้เป็นเท่าทวีคูณแล้วทิ้งละหมาด ทิ้งหน้าที่ ที่ได้รับ ทิ้งกฎเกณฑ์ข้อบังคับของศาสนา สนใจแต่โลกดุนยา และหลง ลืมอาคิเราะฮฺ นักวิชาการทั้งหลายจึงเตือนอยู่เสมอว่าก่อนที่จะเข้าเดือน รอมฎอนให้มกี ารเตาบะฮฺกลับเนือ้ กลับตัวส�ำนึกผิด เพือ่ ให้แน่ใจมากทีส่ ดุ ว่าอิบาดะฮฺที่จะลงทุนท�ำอย่างมากมายนั้นจะถูกตอบรับจากอัลลอฮฺ ซุบ ฮานะฮูวะตะอาลา และไม่สูญเปล่า สารศรัทธาชน 53
ลิน้ ....ต้นเหตุแห่งความเจ็บปวดถ้าไม่ระวัง Sr.Salma Sehar เขียน ญันนะฮ์ เหมเสริม แปล และเรียบเรียง
ในร่างกายของคนเรานัน้ ลิน้ นับเป็นอวัยวะ ส�ำคัญมาก ท่านศาสดามุฮมั หมัด ได้กำ� ชับเราให้ ระวังรักษาลิน้ ให้ดี ดังเช่นทีอ่ ะบูสะอิด๊ อัลคุดรีย์ รายงานว่าท่านร่อซูลกล่าวว่า “ เมือ่ ลูกหลานอาดัม (มนุษย์) ตื่นขึ้นมาในยามเช้าหากท่านท�ำถูกเรา ก็ท�ำในสิ่งที่ถูกต้องด้วย แต่ท่านท�ำผิดตามท่าน ด้วย ” (ติรมีซีย์) ยังมีอีกหลาย หะดิษที่กล่าว ถึง เรื่องของ “ ลิ้น ” ลิ้น...ในทางการแพทย์เป็นอวัยวะที่เป็น กล้ามเนื้อเล็กๆ ในปากของเราท�ำหน้าที่รับรู้ รสชาติอาหาร มีปุ่มเล็กๆ มากมายบนผิวนอก ของลิ้น ปุ่มเหล่านี้จะมีความส�ำคัญมากซึ่งถ้า ขาดมั น เสี ย แล้ ว เราก็ จ ะไม่ ส ามารถดื่ ม ด�่ ำ ฉ�่ ำ หวานกับอาหารหลากชนิดที่เรารับประทาน เข้าไป และจะไม่สามารถแยกแยะรสเปรี้ยว หวานมันเค็มได้เลย นอกจากหน้าทีท่ างการแพทย์และโภชนาการ แล้วลิ้นยังมีบทบาท ส�ำคัญอีกประการหนึ่งใน ชีวีตของคนเรา ลิ้นท�ำให้เราพูดได้ ลิ้นสามารถ สร้ า งและท� ำ ลายความสั ม พั น ธ์ กั บ บุ ค คลอื่ น สามารถสร้างมิตรภาพและศัตรู อิสลามนั้น ก�ำชับให้เราระวังให้มากๆ ก่อน ที่จะพูดสิ่งใดออกมาจ�ำเป็นต้องค�ำนึงถึงเวลา สถานที่และความรู้สึกของผู้ฟัง มีเรื่องเล่าจากอินเดียในยุคโบราณเกี่ยวกับ ชายตัดไม้กับสิงโต เพื่อนสนิทของเขา วันหนึ่ง ชายตัดไม้ได้เชิญสิงโตเพื่อนรัก ไปทานอาหาร
54
สารศรัทธาชน
เย็นทีบ่ า้ น ภรรยาของชายตัดไม้ ได้เตรียมขาแกะ ชิ้นโตไว้ส�ำหรับสิงโตเพื่อนของสามี ครั้นเมื่อ เวลาอาหารเริม่ ขึน้ สิงโตเมือ่ เห็นอาหารอันโอชะ วางอยูบ่ นโต๊ะก็เกิดน�ำ้ ลายไหลยืดออกมา ภรรยา ของชายตัดไม้เห็นดังนั้นก็รู้สึกสะอิดสะเอียน และกล่าวกับสามีของนางว่า “ เพื่อนของคุณ ช่างตะกละและไม่มีมารยาทเอาเสียเลย ” ชายตัดไม้ได้ยนิ ดังนัน้ ก็กลัวว่าสิงโตจะโกรธ และขย�ำ้ เขาและภรรยาดังนัน้ เพือ่ ไม่ให้สายเกินไป เขาเงื้อขวานขึ้นอย่างรวดเร็วและจ้วงฟันสิงโต เต็มแรง สิงโตได้รับบาดเจ็บและวิ่งหนีเข้าป่าไป อย่างรวดเร็ว หลังจากเหตุการณ์นนั้ ไม่นาน ขณะทีช่ ายตัด ไม้เข้าป่าเพื่อตัดไม้ตามปกติก็ไปพบสิงโตเข้า เขาตกใจมาก ในขณะที่สิงโตมีอาการสงบนิ่งใน ระหว่างการสนทนากันนั้น ชายตัดไม้ได้ถามว่า “ บาดแผลทีถ่ กู ขวานของเขาฟันเป็นอย่างไรบ้าง ” สิงโตตอบว่า “ หายแล้ว แต่บาดแผลในใจที่เกิด จากลิ้นของภรรยาของท่านยังไม่หาย ” จากเรื่องเล่าดังกล่าวจะเห็นว่าความเจ็บ ปวดทางร่างกายนัน้ สามารถรักษาให้หายได้ แต่ ถ้าหากว่าเราท�ำร้ายผูอ้ นื่ ด้วยค�ำพูดทีร่ นุ แรงและ ท�ำให้เขาเจ็บใจ บาดแผลนั้นจะลึกกว่า และเจ็บ นานกว่า... มีคำ� พูดว่า “ ลิน้ ยาวเพียง 6 นิว้ แต่สามารถ ฆ่าคนที่สูงถึง 6 ฟุต ได้ ” สิ่งนี้ไม่ใช่ค�ำพูดที่เกิน จริงเลย ในชีวิตประจ�ำวันของเรานั้นไม่ว่ากับ
คนในครอบครัวหรือสังคมภายนอก เราตระหนัก กันบ้างไหมว่าเราเคยท�ำให้ต้องเจ็บปวดเพราะ ลิ้นของเรามามากแค่ไหนแล้ว ... ? มีคนเป็นจ�ำนวนมากที่ต้องตกอยู่ในความ ระทมทุกข์ บ้างก็คิดฆ่าตัวตาย บ้างก็สูญเสีย ความเชือ่ มัน่ ในตัวเองกลายเป็นคนมีปมด้อย ใน ที่ สุ ด ก็ ลุ ก ลามไปเป็ น ความเจ็ บ ป่ ว ยทางจิ ต เพราะได้รบั ผลกระทบโดยตรงจากค�ำพูดพล่อยๆ ของคนบางคน... ปัญหาชีวิตแต่งงานล่มสลาย ครอบครัว แตกแยก ก็มกั จะเป็นผลมาจากค�ำพูดทีด่ รู นุ แรง และหยาบคาย ในขณะทะเลาะวิวาทโต้เถียงกัน หากพิจารณาดูให้ดีจะพบได้ว่าลิ้นเป็นต้นตอ ของปัญหามากมายตัง้ แต่ระดับ บุคคล ครอบครัว การเมือง และจนกระทัง่ ลามไปเป็นปัญหาระหว่าง ประเทศด้วย ประเทศส่วนมากเริ่มสร้างความ เกลียดชังและข่มขวัญศัตรูด้วยสงครามค�ำพูด เป็นเบื้องต้นก่อน พ่อแม่บางคนมีความคาดหวังในตัวลูกสูง มากเกินไป ต้องการให้ลูกมีความโดดเด่น เป็น หนึง่ ในทุกๆเรือ่ งโดยเฉพาะเรือ่ งการเรียน เมือ่ มี บางครั้ ง ลู ก ไม่ ส ามารถท� ำ ให้ พ ่ อ แม่ ส มความ ปรารถนาได้ ไม่ว่าด้วยเหตุผลใดก็ตามพ่อแม่ก็ แสดงอาการหงุดหงิด ขุน่ เคือง ดุดา่ เกรีย้ วกราด ไม่ใช่เพราะเขาไม่รักลูก แต่เพียงเพราะต้องการ ระบายอารมณ์โกรธ โดยที่พวกเขาไม่ทันได้คิด ว่าค�ำพูดและการกระท�ำของพวกเขา ส่งผลกระ ทบอย่างไรต่อลูกบ้าง
เด็กๆ นั้นเป็นผู้ที่มีความอ่อนไหว และขาด ความรอบครอบ บางทีคำ� พูดทีห่ ยาบคายรุนแรง เกรีย้ วกราดอาจไปท�ำลายความเชือ่ มัน่ ในตัวเอง ท�ำลายความรู้สึกเห็นคุณค่าในตัวเอง ท�ำให้เขา หมดความนับถือตัวเองและท�ำลายความมุ่งมั่น ตั้งใจที่จะปฏิบัติสิ่งดีๆ ในอนาคตของเขาลงได้ หรือว่าพวกท่านต้องการฝึกลูกๆของพวกท่าน กลายเป็ น คนที่ ย อมพ่ า ยแพ้ ต ่ อ ปั ญ หาและ อุปสรรคในการด�ำเนินชีวิต ? ตัวอย่างที่กล่าวมาเป็นหนึ่งในหลายปัญหา ทีเ่ กิดขึน้ ในครอบครัว ยังมีขอ้ เท็จจริงทีเ่ กีย่ วกับ กลุ่มคนหมู่มากรวมกันวิพากวิจารณ์ผู้อื่นอย่าง ไร้มารยาท เรือ่ งก็มอี ยูว่ า่ เมือ่ มีครอบครัวหนึง่ พากันมา ดูตวั หญิงสาวเพือ่ พิจารณาขอแต่งงาน พวกเขา ต่างพากันจ้องมองมาทีเ่ ธอพร้อมกับพินจิ พิจารณา เธออย่างละเอียดถี่ถ้วน ตรวจสอบเธอในทุกแง่ ทุกมุมวิพากวิจารณ์กันอย่างละเอียดยิบ โดยไม่ ค�ำนึงถึงความรู้สึกของเธอราวกับว่าเธอเป็น สินค้าชิ้นหนึ่งเท่านั้น และเมื่อเธอไม่เป็นที่ถูกใจ ของพวกเขา พวกเขาก็พากันวิจารณ์อย่างเสีย หาย เกีย่ วกับลักษณะท่าทางของเธอ บุคลิกภาพ รู ป พรรณสั ณ ฐาน หรื อ แม้ แ ต่ สี ผิ ว และอี ก หลายๆเรื่องที่อ้างว่า เธอนั้นไม่คู่ควรกับลูกชาย น้องชายหรือใครก็ตามของพวกเขา และแล้ว ความเศร้าโศกเสียใจและปัญหา ความเจ็บปวด ทางจิตใจก็ตกอยูท่ หี่ ญิงสาวผูน้ นั้ โดยทีค่ รอบครัว ของฝ่ายชายนัน้ ไม่รบั รูเ้ ลยว่าได้วางยาพิษ อะไร ไว้ในจิตใจของผู้อื่น... จ�ำไว้ว่า การพูดอะไรโดยขาดการไตร่ตรอง จะสร้างรอยแผลที่เจ็บปวดในจิตใจ ของผู้ฟัง อย่างชนิดทีไ่ ม่สามารถจะลบเลือนได้ จากหะดิษ ที่กล่าวไว้ข้างต้น ท่านศาสดามูฮัมหมัด(ศ็อลฯ) ให้ความส�ำคัญกับธรรมชาติอันละเอียดอ่อน เพราะมันเป็นปัจจัยส�ำคัญในการก�ำหนดว่า คนๆหนึง่ จะประสบความส�ำเร็จหรือล้มเหลวใน ชีวติ ทัง้ โลกนีแ้ ละโลกหน้า ดังนัน้ ไม่มมี สุ ลิมทีแ่ ท้ จริงคนไหนที่จะประมาท ในการใช้ลิ้นของเขา โดยเฉพาะอย่างยิ่งหากว่ามันมีผลต่อจิตใจของ มนุษย์เพียงแค่ลิ้นอย่างเดียว หากเราใคร่ครวญ ให้ดกี อ่ นพูด เราจะสามารถขจัดปัญหามากมาย ให้หมดไปจากสังคมของเราได้...
การรักษาลิน้
ลิ้นของคน อย่าดิ้นรน อย่าให้ลิ้น รอซูลุลลอฮฺ
นับส�ำคัญ ตามชัยฏอน น�ำเรา เตือนเอาไว้
ของทุกคน ที่หลอนล่อ เข้านะรอกอ ให้ระวัง
รักษาลิ้น อย่าพูดจา จงควบคุม ลามกยั้ง
อย่าซุบซิบ พาเศร้าหมอง อย่าโต้เถียง อย่าพูดจา
การนินทา ต้องสิ้นหวัง ส่งเสียงดัง อนาจาร
อย่าต�ำหนิ หยุดชิวหา อย่าพูดพล่อย อย่าระราน
ติเตียน อย่าเอื้อนเอ่ย คอยพร�่ำบ่น เขาเสียหาย
เวียนก่นด่า เย้ยกล่าวขาน เป็นคนพาล เกินข่มเหง
อย่าใช้ลิ้น อย่าปากเปราะ อย่าร้องร�่ำ ต้องครัดเคร่ง
วิงวอนอื่น เพราะเพ้อพก พร�่ำพะวง รักษ์วจี
จากอัลลอฮฺ โกหกเก่ง หลงเสียงเพลง ให้ดีงาม
ท่านนบีมฮู มั หมัด ซอลลัลลอฮฺฮอุ ะลัยฮิวะซัลลัม ตอบข้อซักถามของ มุอา ซอิบนิญะบัล โดยจับลิ้นของท่านแล้วกล่าวว่า “ จงควบคุมอวัยะชิ้นนี้ให้ดี ”
สารศรัทธาชน 55
สุขภาพกาย สุขภาพจิต นพ.มุ หัมมัด ยะหฺยา นครราชสีมา
56
สารศรัทธาชน
นักวิชาการด้านสาธารณสุขได้ปรับเปลี่ยนความหมายของค�ำว่า สุขภาพดี โดยให้ความหมายว่า การมีสุขภาวะทางด้านร่างกาย ทางจิตใจ ทางอารมณ์ ทางสังคมและจิตวิญญาณ คนที่มีร่างกายแข็งแรงแต่สุขภาพ จิตไม่ดี ก็ไม่เรียกว่าสุขภาพดี คนที่เรียกว่ามีสุขภาพดีได้จึงต้องมีร่างกาย แข็งแรง เมือ่ มีการเจ็บป่วยต้องได้รบั การรักษาทีเ่ หมาะสม ในขณะเดียวกัน สุขภาพจิตต้องดีด้วย สุขภาพจิตที่ดีนั้นมีความสัมพันธ์กับอารมณ์ สังคม และจิตวิญญาณ คนที่มีสุขภาพจิตไม่ดีอาจส่งผลท�ำให้มีสุขภาพกายไม่ดี ไปด้วย เช่นคนที่มีปัญหากลัดกลุ้มใจ นอนไม่หลับ คิดมาก วิตกกังวล เบื่อ อาหาร ร่างกายก็จะไม่แข็งแรง บางคนมีระบบขับถ่ายผิดปกติ บางคนเป็น แผลในกระเพาะอาหาร บางคนทีส่ ขุ ภาพจิตไม่ดมี าก ๆ ก็อาจมีอาการทาง จิตปรากฏให้เห็น เช่น เพ้อ คลัง่ บางคนเห็นภาพหลอน บางคนได้ยนิ เสียง หลอน บางคนก็หลุดโลกไปเลย จิตแพทย์ ต่างพยายามหาทางแก้ไขและรักษาด้วยการใช้ยาบ้าง ให้ ค�ำปรึกษาบ้าง บางกรณีกไ็ ด้ผล บางกรณีกไ็ ม่ได้ผลเต็มที่ แต่นกั การศาสนา เสนอว่า การใช้ศาสนามาปรับปรุงอารมณ์และจิตวิญญาณ จะช่วยให้มี สุขภาพจิตดี มีความสุขทางอารมณ์ สังคมและท�ำให้มีสุขภาพโดยรวมดี สุขภาพจิตที่ดีตามแนวคิดของอิสลามเป็นผลมาจากความสัมพันธ์ ระหว่างมนุษย์กับอัลลอฮฺ เพราะมนุษย์มักใฝ่หาความสุขโดยหลงใหลว่า ความสุข คือการได้ตอบสนองความต้องการของอารมณ์ อยากร�่ำรวย อยากมีทรัพย์มาก ๆ เฝ้าแสวงหาด้วยวิธีการต่าง ๆ เมื่อไม่ส�ำเร็จก็ไม่มี ความสุข อยากมีสามีรปู หล่อหรือภรรยาสวย ๆ รักใครชอบใครก็หลงใหล เมือ่ ผิดหวังก็เกิดความทุกข์บางคนถึงขัน้ ฆ่าตัวตาย เพราะจิตใจไม่สงบ ถ้า เราไม่ยดึ ติดกับสิง่ เหล่านี้ เราจะมีความสุขทางจิต เพราะความสงบของจิตใจ
“ บรรดาผู ศ้ รัทธาและจิตใจ ของพวกเขาสงบด้วยการร�ำลึก ถึงอัลลอฮฺ พึงทราบเถิด ด้วย การร� ำ ลึ ก ถึ ง อั ล ลอฮฺ เ ท่ า นั น้ ท�ำให้จิตใจสงบ ” อัรเราะอฺ ดุ 13 : 28
การยึดติดกับสิ่งต่าง ๆ จึงเป็นตัวการของความทุกข์ อัลลอฮฺตรัสว่า “และเราได้ส่งส่วนหนึ่งจากอัลกุรฺอานลงมา ซึ่งเป็นการบ�ำบัดและ ความเมตตาแก่บรรดาผู้ศรัทธาและมันมิได้เพิ่มอันใดแก่พวกอธรรม นอกจากการขาดทุนเท่านั้น” อัลอิสรออุ์ 17: 82 นีค่ อื ค�ำรับรองจากอัลลอฮฺวา่ บรรดาโองการหรืออายะฮฺตา่ ง ๆ ของ อัลกุรฺอานนั้นเป็นความเมตตาของพระองค์ที่ประทานลงมาเพื่อช่วยใน การเยียวยา เป็นการบาบัดรักษาทางจิตใจให้พน้ จากอวิชาและความหลง ผิด และท�ำลายล้างสนิมที่เกาะกินจิตใจให้พ้นจากความใคร่ ใฝ่ต่า ตัณหา ความสกปรก การตระหนี่และการอิจฉา บางคนตีความอายะฮฺกรุ อฺ านนีไ้ ปในทางหนึง่ คือเข้าใจว่ากุรอฺ านทีเ่ ป็น วัตถุสามารถรักษาโรคทางกายหรือทางจิตได้ จึงได้เขียนอายะฮฺกุรฺอาน แล้วแช่ไว้ในน�้ำแล้วน�ำน�้ำไปดื่มเพื่อรักษาโรค แต่ความหมายที่แท้จริงไม่ น่าจะเป็นเช่นนั้น เพราะกุรฺอานเป็นด�ำรัสของอัลลอฮฺที่จ�ำเป็นจะต้อง ศึกษา ท�ำความเข้าใจและน�ำเอาความรู้ต่าง ๆ ที่ได้จากอัลกุรฺอานมาใช้ โดยเฉพาะการรักษาความผิดปกติทางจิตใจและอารมณ์ เช่น อัลลอฮฺดำ� รัส ในกุรฺอานให้หมั่นระลึกถึงพระองค์โดยใช้วาจาและจิตใจ เมื่อระลึกถึง พระองค์จิตใจจะสงบ “บรรดาผู้ศรัทธาและจิตใจของพวกเขาสงบด้วยการร�ำลึกถึงอัลลอฮฺ พึงทราบเถิด ด้วยการร�ำลึกถึงอัลลอฮฺเท่านัน้ ท�ำให้จติ ใจสงบ” อัรเราะอฺดุ 13 : 28 บ่อเกิดของความเศร้าหมองและความกังวลต่าง ๆ ของมนุษย์นนั้ เป็น เพราะมนุษย์ออ่ นแอต่อวิกฤติการณ์ตา่ ง ๆ ทีเ่ กิดขึน้ การมีศรัทธาทีม่ นั่ คง
และร�ำลึกถึงอัลลอฮฺเสมอจะท�ำให้จติ ใจสงบ ความวิตกกังวลต่าง ๆ จะลดลง เพราะมนุษย์จะรู้ดีว่า พระองค์คือผู้ทรงอ�ำนาจเด็ดขาดในการบริหาร กิจการต่าง ๆ ในสากลจักรวาล สิ่งต่าง ๆ ที่มากระทบแก่มนุษย์นั้นล้วน เป็นผลมาจากการตอบแทนของพระองค์ทมี่ ตี อ่ พฤติกรรมของมนุษย์ เมือ่ เราร�ำลึกถึงพระองค์ดว้ ยความศรัทธา การตอบแทนของเราก็จะเป็นไปใน ทางบวก ได้รบั ความเมตตาและความรักจากพระองค์ แต่เมือ่ ใดทีเ่ ราท�ำตัว ห่างเหินพระองค์ ไม่ระลึกถึงพระองค์ การตอบแทนที่เราได้รับจาก พระองค์ก็จะเป็นไปในทางลบ จิตใจเราจึงไม่สงบ พระองค์ด�ำรัสอีกว่า “โอ้บรรดาผูศ้ รัทธาเอ๋ย จงร�ำลึกถึงอัลลอฮฺโดยการร�ำลึกอย่างมากมาย และจงแซ่ซ้องสดุดีพระองค์ทั้งในยามเช้าและยามเย็น พระองค์คือผู้ทรง ประทานความเมตตาให้แก่พวกเจ้าและมะลาอิกะฮฺของพระองค์ดว้ ย เพือ่ พระองค์จะน�ำพวกเจ้าออกจากความมืดทึบทั้งหลายสู่ความสว่าง และ พระองค์ทรงเมตตาต่อบรรดาผู้ศรัทธาเสมอ” อัลอะหฺซาบ 33 : 41-43 ในสภาพที่เศรษฐกิจฝืดเคือง การท�ำมาหาเลี้ยงชีพกระท�ำด้วยความ ยากล�ำบากมากขึน้ มนุษย์หลายคนอยูใ่ นสภาพระทมทุกข์เพราะไม่สามารถ ตอบสนองความต้องการทางด้านวัตถุของตัวเอง จิตใจเกิดความไม่สงบ กลัวสิง่ นัน้ กลัวสิง่ นี้ กลัวอดอยากขาดแคลน กลัวไม่มเี งินเลีย้ งชีพ กลัวไม่มี เงินสนับสนุนการเรียนของลูก ๆ กลัวไม่มีค่ารักษาพยาบาลเมื่อเจ็บป่วย หลายคนยอมท�ำความผิดเพือ่ ให้ได้เงินมาสนองความต้องการของตน บาง คนวุ่นวายใจ นอนไม่หลับ จิตใจไม่สงบท�ำให้ไม่มีสมาธิในการคิดแก้ไข ปัญหา มองไม่เห็นทางออกและยังเป็นผลให้เกิดอาการเจ็บป่วยทางกาย ตามมา สภาพเช่นนีแ้ ก้ไขได้ดว้ ยการร�ำลึกถึงอัลลอฮฺ กระท�ำตามทีพ่ ระองค์ ทรงใช้ ละเว้นที่พระองค์ทรงห้าม เมื่อจิตใจสงบพระองค์จะประทาน ทางออกที่ดีให้ พีน่ อ้ งทราบหรือไม่วา่ ขณะนีใ้ นประเทศสหรัฐอเมริกา นักการธนาคาร หลายคนหาทางออกจากปัญหาเศรษฐกิจด้วยการเป็นคนขับรถแท็กซี่ เหมือนกับนักการธนาคารไทยกลายเป็นคนขายขนมหรืออาหารเมื่อ 10 กว่าปีก่อน การหาทางออกเหล่านี้อาจท�ำไม่ส�ำเร็จถ้าจิตใจไม่สงบ ข้อพึงปฏิบตั สิ ำ� หรับมุสลิมก็คอื ในทุกๆ วิกฤตการณ์ ไม่เฉพาะวิกฤตการ ทางเศรษฐกิจ จะต้องร�ำลึกถึงอัลลอฮฺอย่างสม่าเสมอ จิตใจเราจึงจะสงบ และค้นพบทางออก เมือ่ ใดก็ตามทีเ่ ราลืมอัลลอฮฺ ฝ่ายตรงข้าม คือชัยฏอน จะ ฉวยโอกาสเข้าครอบง�ำจิตใจ นอกจากจิตใจจะไม่สงบแล้ว ยังอาจท�ำให้ ทางออกที่คิดได้ เป็นทางออกที่ผิด ทางออกที่น�ำความเสียหายมาสู่ชีวิต ทั้งในโลกนี้และโลกหน้า “และผู้ใดผินหลังจากการร�ำลึกถึงพระผู้ทรงกรุณาปรานี เราจะให้ ชัยฏอนตัวหนึ่งแก่เขาแล้วมันก็จะเป็นสหายของเขา และแท้จริงพวกมัน จะขัดขวางพวกเขาจนออกจากทางทีถ่ กู ต้อง แต่พวกเขาคิดว่าพวกเขาอยู่ ในทางที่ถูกต้องแล้ว” อัซซุครุฟ 43: 36-37 เมื่อมีปัญหาทางร่างกาย เราพบแพทย์เพื่อรับการรักษา มุ่งหวังจะให้ หายจากโรคต่าง ๆ โดยอนุมัติของอัลลอฮฺ เมื่อมีปัญหาทางจิตใจ อารมณ์ และสังคม ทางออกทีถ่ กู ต้องคือการร�ำลึกถึงอัลลอฮฺ เพือ่ ให้จติ ใจสงบแล้ว พระองค์จะทรงเมตตา ประทานทางออกที่ดีงามให้แก่เรา ถ้าเราไม่ร�ำลึก ถึงพระองค์ ชัยฏอนจะฉวยโอกาสเข้ามาท�ำให้เกิดความเข้าใจผิด เห็นผิด เป็นถูก แก้ปญ ั หาด้วยแนวทางทีไ่ ม่ถกู ต้อง อันจะส่งผลเสียให้แก่เราทัง้ ใน ดุนยาและอาคิเราะฮฺ ดุอาอ์ต่ออัลลอฮฺ ให้ทุกคนมีสุขภาพที่ดี ทั้งร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคมและจิตวิญญาณโดยทั่วกัน pukruka@hotmail.com
สารศรัทธาชน 57
ผู ้หญิงที่โลกก�ำลังขาดแคลน อ.บัดรียะห์ ประไพทอง
ผูห้ ญิงบนโลกในยุคดิจทิ ลั 2014 ต้องตามให้ทนั กระแสโลก ต้องสวยล�ำ้ น�ำสมัยด้วยเสื้อผ้า หน้า ผมเป๊ะเวอร์แบบอินเทรนด์ด้วยของแบรนด์เนม ทัง้ มือถือ กระเป๋า รองเท้า และอีกหลายสรรพสิง่ นัน่ คือคุณค่าอันแท้จริง ของความงามกระนั้นหรือ ? ถ้าผู้หญิงส่วนใหญ่ของโลกจะต้องเดินตาม สูตรวัตถุนยิ มพวกนีถ้ งึ จะได้ชอื่ ว่า “สวย” เราลองมาเป็นผูห้ ญิงทีโ่ ลกก�ำลัง ขาดแคลนกันดีกว่าค่ะ คุณสมบัติอันดับแรก ๆ ของผู้หญิงประเภทที่โลก ก�ำลังขาดแคลนคือต้องมีความศรัทธาก่อนว่าอัลลอฮฺ (ซ.บ) มีจริง เป็น พระเจ้าผู้ทรงสร้างทุกสรรพสิ่งบนโลกใบนี้ ทรงก�ำหนดชะตาชีวิตและรู้ดี ถึงก้นบึ้งแห่งหัวใจของมนุษย์ทุกผู้ทุกนาม เมื่อหัวใจมั่นต่อศรัทธาใน พระเจ้า สิ่งที่ตามมาคือการรู้ผิดชอบชั่วดี แยกแยะออกว่าสิ่งใดควรหรือ ไม่ควรท�ำ ความสวยงามจากรูปร่างหน้าตาภายนอกเป็นทั้งความเมตตา และบททดสอบซึง่ จะงดงามและมีคณ ุ ค่ายิง่ กว่า หากรูจ้ กั ปกปิดมิใช่โอ้อวด สักวันหนึง่ ความสวยสดงดงามนัน้ ก็ยอ่ มจะปรากฏริว้ รอยและร่วงโรย ไปตามวัย แต่คณ ุ ค่าอันเกิดจากความงามข้างใน ด้วยจิตใจทีค่ ดิ ดี มองโลก แง่ดี ไม่คิดอิจฉาริษยาใคร รู้จักรับผิดชอบต่อตนเอง ครอบครัว เอื้อเฟื้อ ไปยังเพือ่ นบ้านและเผือ่ แผ่ไปยังผูค้ นรอบข้างในสังคม ด้วยไมตรีอนั ดีงาม ตามแบบฉบับอิสลามนั่นย่อมมีคุณค่าที่ยั่งยืนและถาวรกว่า ความรับผิดชอบของผู้หญิงประการหนึ่งคือการร�ำ่ เรียนหาวิชาความ รู้ใส่ตัว เพื่อมีความสามารถในการประกอบอาชีพ ซึ่งแค่ความรู้บนดุนยา ยังไม่เพียงพอ หากต้องการความรู้ศาสนาที่จะติดตัวไปเป็นเสบียงในโลก หน้า การแต่งงานมีครอบครัวก็ไม่ได้แปลว่าจะไม่ใช้ความรูท้ มี่ ี เพราะการ จะสร้างประชาชาติที่เข้มแข็งได้นั้น จ�ำเป็นต้องหล่อหลอมทั้งการศึกษา กิรยิ ามารยาท คุณธรรม จริยธรรมเพือ่ สร้างแม่ตน้ แบบทีด่ ใี ห้สมกับทีเ่ ป็น ครูคนแรกของลูก 58
สารศรัทธาชน
ในการท�ำงานของผู้หญิงไม่ว่าจะสาขาอาชีพใด คุณสมบัติเบื้องต้นที่ ควรต้องมีคอื การมีอมานะห์ตอ่ หน้าทีข่ องตนเอง ไปท�ำงานตรงเวลา ขยัน ขันแข็ง เคารพในความอาวุโสของผู้ร่วมงาน มีน�้ำใจต่อเพื่อนร่วมงาน ไม่ นินทาหรือใส่รา้ ยผูอ้ นื่ เคารพในความเห็นต่าง คิดใคร่ครวญก่อนพูดและ ก่อนลงมือท�ำ ปรับปรุงตนเองให้มีความเชี่ยวชาญ หมั่นเปิดโลกทัศน์ ตนเองให้กว้างไกลอยูเ่ สมอ ติดตามข่าวสารบ้านเมือง รับฟังบรรยายหรือ การเสวนาตามงานต่าง ๆ เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกัน ขณะ เดียวกันต้องรู้จักวางตัวเป็นในบทบาทของผู้ตามที่ดี นัน่ คือการมีความรู้ ความเชีย่ วชาญในด้านใดด้านหนึง่ การปฏิบตั ติ าม กฎ กติกา มารยาทขององค์กรหรือหน่วยงาน การเรียนรู้นิสัยใจคอผู้น�ำ การมี ค วามคิ ด สร้ า งสรรค์ รู ้ จั ก โต้ แย้ ง อย่ า งมี เ หตุ ผ ลและด้วยความ ปรารถนาดี ที่ส�ำคัญคือ การท�ำงานเป็นทีมเวิรก์ รูจ้ กั เสียสละเพือ่ ส่วนรวม รูจ้ กั บทบาท หน้าที่ ของตนเอง ไม่ล�้ำเส้น ไม่เอาเปรียบผู้อื่น ทัง้ หลายทัง้ ปวงคือถ้าอยูภ่ ายใต้กำ� กับของหลักศาสนา เริม่ ต้นทุกการ งานด้วยการกล่าวบิสมิลลาฮิรเราะห์มานิรเราะฮ์ฮีม เพียรพยายามสุดความสามารถและมอบหมายความส�ำเร็จของทุกการ งานไว้ที่เอกองค์อัลลอฮฺ (ซ.บ.)แต่เพียงผู้เดียว มุสลิมะห์ผู้ศรัทธาทุกคน....ก็ย่อมจะเป็นสุดยอดแห่งหญิงที่โลกก�ำลัง ขาดแคลนได้ไม่ยากนัก
พู ดแบบผู ้น�ำ อัชอะรีย์ เรืองปราชญ์ การบริหารงานในปัจจุบันนี้ผู้บริหารทุกคน จ�ำเป็นต้องใช้ภาวะการเป็นผูน้ ำ� เข้ามาเกีย่ วข้อง เพราะภาวะผู ้ น� ำ จะช่ ว ยให้ ผู ้ น� ำสามารถขั บ เคลื่ อ นที ม งานหรื อ ผู ้ ใ ต้ บั ง คั บ บั ญ ชาหรื อ พนั ก งาน ให้ ส ามารถแสดงศั ก ยภาพในการ ท� ำ งานออกมาในทางการปฏิ บั ติ ง านอย่ า งมี ประสิทธิภาพมากที่สุด สิ่งหนึ่งที่มีความส�ำคัญต่อการบริหารงาน หรือการปกครองอย่างมีศิลปะคือการใช้ค�ำพูด ถ้าผู้น�ำรู้จักใช้ค�ำพูดที่เหมาะสมก็จะสามารถ ครองใจคนและได้ผลงานที่มีประสิทธิภาพเกิด คุณภาพการจูงใจด้วยค�ำพูด จึงถือเป็นศาสตร์ และศิ ล ป์ ใ นการท� ำ งานให้ ส� ำ เร็ จ ลุ ล ่ ว งตาม วัตถุประสงค์และเป้าหมายทีว่ างไว้ เพราะหมาย ถึงการดูแลความรู้สึกของผู้ใต้บังคับบัญชาซึ่ง บางครั้งไม่จ�ำเป็นต้องปรุงแต่งค�ำใดๆให้โก้หรู เพียงค�ำธรรมดาทีม่ าจากใจของผูน้ ำ� ก็มคี า่ พอต่อ ความรู้สึกของผู้ตามที่จะทุ่มเทให้กับงานแล้ว มาดูกันครับ ค�ำธรรมดาที่ว่านั้น มีอะไรบ้าง “คุณท�ำ ผมรับผิดชอบ” เป็ น ค� ำ พู ด ที่ ส ร้ า งความมั่ น ใจให้ กั บ คน ท�ำงาน โดยเฉพาะผูบ้ ริหารหรือผูน้ ำ� เพราะความ มั่นใจเป็นที่มาของความส�ำเร็จ “คุณท�ำได้เยี่ยมมาก” สิง่ ทีน่ า่ รืน่ รมย์ทส่ี ดุ ของชีวติ ก็คอื การปฏิบตั ิ ภารกิจส�ำเร็จ ความส�ำเร็จจะยัง่ ยืนและต่อเนือ่ ง ต้องอาศัยค�ำพูดนี้ เพราะช่วยส่งต่อความมั่นใจ ในการท�ำงาน
“คุณคิดยังไง” ก่อนสั่งการควรขอค�ำปรึกษา ก่อนสั่งงาน ควรขอความเห็ น และก่ อ นบอกกล่ า วควร ไต่ถาม ทั้งหมดนี้เป็นเรื่องที่ทุกคนต้องท�ำ โดย เฉพาะคนที่เป็นผู้น�ำควรมีกุศโลบายในการพูด หรือสั่ง เพราะการถามเช่นนี้เราจะได้มุมมอง เพิ่มขึ้น “ขอความกรุณา” เป็นการสั่งการที่ใส่ใจความรู้สึก ซึ่งเป็นสุด ยอดของการสั่งการโดยแท้จริง เพราะคนฟัง ย่อมรูส้ กึ ได้รบั เกียรติจากผูพ้ ดู และความกรุณา นี้ จ ะย้ อ นกลั บ มาหาคุ ณ ในที่ สุ ด เพราะการ กล่าวอย่างนี้เป็นการให้เกียรติตัวของผู้สั่งการ เองด้วย “ขอบคุณ ขอบใจ” ขอบคุณในความรู้สึกดีๆ ขอบใจในไมตรี ที่ มี ใ ห้ ขอบใจส� ำ หรั บ ความจริ ง ใจ ขอบใจ ส�ำหรับทุกอย่างทีใ่ ห้ดว้ ยจริงใจ คนทีท่ ำ� งานควร มีสองค�ำนี้ไว้ในดวงใจ และสองค�ำนี้สามารถ ลดภาวะโลกร้อนได้ “เรา” ผูน้ ำ� ทีด่ ี ไม่ควรใช้คำ� ว่า ของผมหรือของฉัน ในการท�ำงานเป็นทีม เพราะมันจะไม่ได้ความ รู้สึกเป็นเจ้าของร่วมให้กับทีมงาน และไม่ว่าจะ ท�ำงานอะไรก็ตามหากเรารู้สึกเป็นเจ้าของ เรา จะท�ำได้ดีและท�ำได้ส�ำเร็จ เพียงค�ำว่า “เรา” ก็ ไม่มอี ะไรมาขวาง เพราะเรามีเรา และเราจะก้าว
ไปด้วยกัน ดังประโยคที่ว่า “เราจะเดินไปด้วย กัน” “เราจะไม่ทิ้งกัน” “เราพร้อมที่จะรับผิด ชอบด้วยกัน” ค�ำพูดง่ายๆ ธรรมดาๆ เพียงแค่นี้ ก็ได้ใจ ทีมงานแล้ว
การบริหารงานที่ดจี ะต้อง มีผูบ้ ริหารทีม่ ภี าวะความเป็น ผู ้น�ำและเข้าใจงาน เข้าใจคน เข้าใจคิด เข้าใจการด�ำเนิน ชีวิตและเข้าใจพู ดไปพร้อมๆ กันจึงจะเอือ้ ให้บรรยากาศใน การท�ำงานเป็นไปอย่างทีค่ วร จะเป็น พึงระลึกไว้เสมอว่าพนักงานทุกคนมีความ ส�ำคัญอย่างมากในการปฏิบัติงาน พวกเขาเป็น ผู ้ ที่ ผ ลั ก ดั น ให้ ง านทุ ก อย่ า งของกิ จ การนั้ น สามารถด� ำ เนิ น การไปได้ อ ย่ า งราบรื่ น การ บริหารงานที่ดีจะต้องมีผู้บริหารที่มีภาวะความ เป็นผูน้ ำ� และเข้าใจงาน เข้าใจคน เข้าใจคิด เข้าใจ การด�ำเนินชีวิตและเข้าใจพูดไปพร้อมๆ กันจึง จะเอื้อให้บรรยากาศในการท�ำงานเป็นไปอย่าง ที่ควรจะเป็น สารศรัทธาชน 59
คุณสามารถท�ำอะไรได้บ้างใน 1 นาที ชัยคฺ ฮัมมัด ศอลิหฺ อัล มุ นัจญิด แปลโดย : อบู ยะอฺ ลา อัล ฟะฏอนียฺ
เวลาคือหัวใจส�ำคัญ มันเป็นสิง่ ทีม่ คี า่ มากเกินกว่าทีจ่ ะใช้ หมดไปอย่าง สิ้นเปลือง (สูญเสีย) หรือไม่สนใจ (เพิกเฉย) บุคคลที่ฉลาดคือ...คนผู้ซึ่งใช้ เวลาของเขาด้วยความเอาใจใส่และไม่กระท�ำ เหมือนกับภาชนะที่ถูกเติม เต็มด้วยสิง่ ไร้คา่ และค�ำพูดทีไ่ ม่มแี ก่นสาร (ไร้สาระ) แทนทีเ่ ขาจะจ�ำกัดมัน ต่อความส�ำเร็จที่น่ายกย่องและการกระท�ำที่ ถูกต้อง เพื่อท�ำให้อัลลอฮฺ พอใจและประโยชน์ต่อบุคคลอื่นๆ ทุกๆ นาทีในชีวติ ของมนุษย์เขาต้องพยายามใช้ศกั ยภาพเพือ่ ยกสถานะ ของตนและพยายามทีจ่ ะท�ำให้ผคู้ น มีความสุขทีละเล็กทีละน้อย หากว่า คุณคือคนที่ฉลาดเพื่อที่จะบรรลุเป้าหมายในต�ำแหน่งสูงสุด และน�ำพา ความสุขแก่ ผู้คน ดังนั้นคุณจะต้องมองข้ามการผ่อนคลายและห่างไกล จากสิง่ ทีท่ ำ� ให้เพลิดเพลิน (ตลกขบขัน) ทีว่ า่ งเปล่า ใน 1นาทีคณ ุ สามารถ ท�ำสิง่ ดีๆ ได้อย่างมากมายและได้รบั รางวัล (ผลตอบแทน) เป็นจ�ำนวนมาก ในเพียง 1 นาที โดยการท�ำทาน (ซอดาเกาะฮฺ) การเรียนรู้ การท่องจ�ำ หรือการมุ่งมั่นที่จะกระท�ำสิ่งดีงาม คุณสามารถสร้าง ความมั่นใจว่าใน 1 นาทีจากชีวิตของคุณจะไม่สูญเปล่า ใน 1 นาทีนั้นอาจบันทึกในสมุด (แห่งความดี) ของคุณจากการ กระท�ำสิง่ ทีด่ หี ากว่าคุณรูถ้ งึ วิธกี ารทีจ่ ะท�ำ (สร้าง) มันและเอาใจใส่จากมัน จงมุง่ มัน่ (พยายามอย่างหนัก) เพือ่ ทีจ่ ะท�ำ ในแต่ละนาทีให้ดีที่สุดหากว่าคุณลืม (ที่จะกระท�ำ) มันก็เท่ากับว่า คุณลืม สิ่งที่ดีที่สุด นั่นคือความจริง ต่อไปนี้คือสิ่งที่คุณสามารถกระท�ำได้ภายใน 1 นาที 1. ใน 1 นาที คุณสามารถ ทบทวนซูเราะฮฺ อัลฟาติฮะฮฺ 7 ครั้ง การ ทบทวนอย่างรวดเร็วและสงบนิง่ (มีสมาธิ) ผูร้ บู้ างท่านได้กล่าวว่า รางวัล ส�ำหรับการอ่านอัลฟาติฮะฮฺนนั้ มากกว่า 1,400 ความดี ดังนัน้ หากว่า คุณ อ่านมัน 7 ครั้งด้วยความตั้งใจ โดยการอนุมัติของอัลลอฮฺ คุณจะได้รับ มากกว่า 9,800 ความดีทั้งหมดจากมัน ใน 1 นาที 2. ใน 1 นาที คุณสามารถ ทบทวน ซูเราะฮฺ อัล-อิคลาศ (กุลฮุวัล ลอฮุ อะฮัด) 20 ครั้ง การทบทวน อย่างรวดเร็วและสงบนิ่ง (มีสมาธิ) การอ่าน 1 ครั้งมีค่าเท่ากับ 1 ใน 3 ของกุรอ่าน หากว่าคุณอ่านมัน 20 ครั้ง มันจะ มีค่าเท่ากับการอ่านกุรอาน 7 ครั้ง หากว่าคุณอ่าน 20 ครั้งใน 1 นาทีใน แต่ละวัน คุณสามารถที่จะอ่านได้ 600 ครั้งใน 1 เดือนและ 7,200 ครั้ง ใน 1 ปี ซึ่งมันจะมีค่าเท่ากับรางวัลในการอ่านกุรอาน (จบ) 2,400 ครั้ง 60
สารศรัทธาชน
3. คุณสามารถที่จะอ่าน 1 หน้าจากคัมภีร์ของอัลลอฮฺ (อัล-กุรอาน) ใน 1 นาที. 4. คุณสามารถที่จะท่องจ�ำอายะฮ.สั้นๆ จากคัมภีร์ของอัลลอฮฺ (อัลกุรอาน) ใน 1 นาที. 5. ใน 1 นาที คุณสามารถทีจ่ ะกล่าว “ลาอิลาฮะ อิลลัลลอฮุวะดะฮูลา ชะริกาละฮ. ละฮุลมุลกู วะละฮุลฮัมดุ.วะฮุวะอะลากุลลิชัยอินกอดิร” (ไม่มพี ระเจ้าอื่นใดนอกจากอัลลอฮฺพระองค์เดียวเท่านั้นโดยไม่มีภาคีใดๆ เทียบเคียงพระองค์ อ�ำนาจการปกครองเป็นสิทธิของพระองค์ มวลการ สรรเสริญก็เป็นสิทธิของพระองค์และพระองค์ทรงมีอำ� นาจเหนือทุกสรรพสิง่ ) 20 ครั้ง รางวัล (ผลตอบแทน) ส�ำหรับการกล่าวสิ่งนี้เหมือนกับการปล่อย ทาส 8 คนให้เป็นอิสระในหนทางของอัลลอฮฺ จากบรรดา ลูกชายของอิสมาอีล 6. ใน 1 นาที คุณสามารถกล่าว “ซุบฮานัลลอฮิวะบิฮมั ดิ” (มหาบริสทุ ธิ์ ยิ่งแด่อัลลอฮฺ และด้วยการสรรเสริญต่อพระองค์) 100 ครั้ง ผู้ใดก็ตามที่ กล่าวมันในวันหนึง่ ๆ เขาจะได้รบั การอภัยโทษส�ำหรับความผิด (บาป) ของ เขา แม้ว่ามันจะเหมือน (มากเท่ากับ) ฟองน�้ำในทะเล 7. ใน 1 นาที คุณสามารถกล่าว “ซุบฮานัลลอฮิวะบิฮมั ดิ ซุบฮานัลลอ ฮิลอะซีม” (มหาบริสุทธิ์ยิ่งแด่อัลลอฮฺ และด้วยการสรรเสริญต่อพระองค์ มหาบริสุทธิ์ยิ่งแด่อัลลอฮฺผู้ทรงยิ่งใหญ่ ) มันคือสองค�ำพูดซึ่งเบาต่อลิ้น (ที่จะกล่าว) แต่หนักยิ่งในตาชั่งและเป็นที่รักยิ่ง ณ พระผู้ทรงเมตตา ดัง ปรากฏในรายงานของอัลบุคอรีย์และมุสลิม 8. ท่านนบีมูฮัมหมัด ซอลลั้ลลอฮุอะลัยฮิวะซัลลัม ได้กล่าวว่า “เมื่อ ฉันได้กล่าว ซุบฮานัลลอฮ.วัลฮัมดุลลิ ลาฮ.วะลาอิลาฮะอิลลัลลอฮ.วัลลอฮุ อั ก บั ร ” (มหาบริ สุ ท ธิ์ ยิ่ ง แด่ อั ล ลอฮฺ แ ละมวลการสรรเสริ ญ เป็ น สิ ท ธิ ของอัลลอฮฺ และไม่มีพระเจ้าอื่นใดนอกจากอัลลอฮฺ และอัลลอฮฺผู้ทรงยิ่ง ใหญ่) สิ่งนี้เป็นที่รักแก่ฉันยิ่งกว่าทั้งหมดที่ดวงอาทิตย์ขึ้น (รายงานโดย มุสลิม) ใน1นาทีคุณสามารถกล่าวทั้งหมดจากค�ำเหล่านี้มากว่า 18 ครั้ง ค�ำพูดนีเ้ ป็นค�ำทีร่ กั ยิง่ ณ อัลลอฮฺเป็นค�ำพูดทีด่ ที สี่ ดุ และมันมีนำ�้ หนักมาก ในตาชั่งแห่งความดี รายงานในฮะดิษซอเฮี๊ยะฮฺ 9. ใน 1 นาที คุณสามารถกล่าว “ลาเฮาลาวาลากูวะตะอิลลาบิลลาฮ.” (ไม่มีอ�ำนาจและพลังใดๆนอกจากอัลลอฮฺ) ได้มากกว่า 40 ครั้งนี่คือสิ่ง หนึ่งจากสิ่งมีค่าจากสวนสวรรค์ดังรายงานโดย อัลบุคอรีย์และมุสลิม
บุ คคลทีฉ่ ลาดคือ...คนผู ซ้ ่ึงใช้เวลา ของเขาด้วยความเอาใจใส่และไม่กระท�ำ เหมือนกับภาชนะทีถ่ กู เติมเต็มด้วยสิง่ ไร้ค่าและค�ำพู ดที่ไม่มีแก่นสาร
มันคือทรัพย์สมบัตจิ ำ� นวนมากจากการเตรียมไว้ดว้ ยความยากล�ำบากและ จากความประสงค์ที่ จะได้รับสิ่งที่ใหญ่หลวง 10. ใน 1 นาที คุณสามารถกล่าว “ลาอิลาฮะอิลลัลลอฮฺ” ประมาณ 50 ครัง้ นีค่ อื ค�ำพูดทีย่ งิ่ ใหญ่เพราะมันคือค�ำพูด จากเตาฮีด ค�ำพูดทีด่ งี าม ค�ำพูดที่ยืนหยัดถึงความหนักแน่น หากว่าค�ำนี้คือค�ำพูดสุดท้ายของคนๆ หนึ่งเขาจะได้เข้า สวรรค์ และมีในสายรายงานอื่นที่บ่งบอกถึงความยิ่ง ใหญ่ของค�ำนี้ 11. ใน 1 นาที คุณสามารถกล่าว “ซุบฮานัลลอฮิวะบิฮัมดิอะอาดา ค็อลกิฮี วะริฎอนัฟซิฮี วะซินะตะอัรชิวะมิดาดากะลิมาติฮ.” (มหาบริสทุ ธิ์ ยิ่งแด่อัลลอฮฺ และด้วยการสรรเสริญต่อพระองค์ (มากเท่า) จ�ำนวนของ สรรพสิง่ ต่างๆ ทีพ่ ระองค์ทรงสร้างขึน้ มาและตามความพึงพอพระทัยของ พระองค์เองและน�้ำหนักเท่าอะรัช ของพระองค์และเท่าน�้ำหมึกแห่ง พจนารถของพระองค์) มากกว่า 15 ครั้ง ค�ำพูดนี้ก่อให้เกิดสิทธิ (โอกาส) จ�ำนวนมาก จากรางวัลเช่นเดียวกับรูปแบบอื่นๆ จากการตัซเบี๊ยะฮฺ และ ซิเกร ซึ่งรายงานในฮะดิษ ซอเฮี๊ยะฮฺ จากนบีมูฮัมหมัด ซอลลั้ลลอฮุอะลัย ฮิวะซัลลัม 12. ใน 1 นาที คุณสามารถแสวงหาการอภัยโทษจากอัลลอฮ.มากกว่า 100 ครัง้ โดยการกล่าว “ อัซตัฆฟิรลุ ลอฮฺ ” (ฉันขออภัยโทษจากอัลลอฮ.) ค�ำพูดนี้น�ำมาซึ่งสิทธิ (โอกาส) มากมายจากรางวัลความดีงามจากการ แสวงหาการอภัยโทษไม่ใช่เรื่องความลับ เนื่องจากมันคือหนทางจาก ความส�ำเร็จของการอภัยโทษและการได้เข้าสวรรค์และมันคือทางจาก การได้รบั ชีวติ ทีด่ งี าม การเพิม่ พลัง (ทางจิตใจ) ของคนๆหนึง่ ปกป้องจาก ความหายนะ ท�ำให้หลายๆ สิ่งมีความง่ายดาย น�ำมาซึ่งความหลั่งไหล และความมั่งคั่งและลูกหลานแก่คนๆ หนี่ง 13. ใน 1 นาทีคุณสามารถที่จะกล่าวข้อความสั้นๆ และค�ำที่กระทัด รัด และอัลลอฮฺอาจจะท�ำให้คณ ุ ประสบกับความดี บางอย่างผ่าน (ทาง) มัน ซึ่งคุณไม่เคยคาดคิดมาก่อน 14. ใน 1 นาที คุณสามารถที่จะประสาทพร (ซอลาวาต) แก่ท่านนบี มู ฮั ม หมั ด ซอลลั้ ล ลอฮุ อ ะลั ย ฮิ ว ะซั ล ลั ม 50 ครั้ ง โดยการกล่ า ว “ซอลลัล้ ลอฮุอะลัยฮิวะซัลลัม” (ขอพระองค์อลั ลอฮฺ สรรเสริญและประทาน
ความสันติแก่เขา) เช่นเดียวกันอัลลอฮฺ ก็จะประสาทพรแก่คุณ 500 ครั้ง เนื่องจาก 1 ค�ำประสาทพรน�ำมาซึ่ง 10 ค�ำประสาทพรเช่นกัน 15. ใน 1 นาที คุณสามารถที่จะกระตุ้นหัวใจของคุณในการขอบคุณ อัลลอฮฺ ทีจ่ ะรักพระองค์ ทีจ่ ะย�ำเกรงพระองค์ ทีจ่ ะมอบหมายในพระองค์ ที่จะปรารถนาในพระองค์ และด้วยเหตุนี้จะท�ำให้คุณเข้าสู่ระดับขั้นของ “อุบูดียะฮฺ” (การยอมสยบเป็นทาสต่ออัลลอฮฺ) คุณสามารถที่จะปฏิบัติ สิ่งนี้เมื่อคุณก�ำลังจะนอนลงบนเตียงของคุณหรือก�ำลังเดินบนถนน 16. ใน 1 นาที คุณสามารถที่จะอ่านได้มากกว่า 2 หน้าจากหนังสือ ที่เป็นประโยชน์ซึ่งง่ายต่อการเข้าใจ 17. ใน 1 นาที คุณสามารถส่งเสริมความสัมพันธ์ทางเครือญาติโดย การพูดคุยกับญาติพี่น้องผ่านทางโทรศัพท์ 18. ใน 1 นาที คุณสามารถที่จะยกมือของคุณและอ่าน (ขอ) ดุอาอฺ ที่คุณปรารถนาจากหนังสือดุอาอฺ 19. ใน 1 นาที คุณสามารถทีจ่ ะกล่าวให้สลามและจับมือกับคนจ�ำนวนมาก 20. ใน 1 นาที คุณสามารถทีจ่ ะยับยัง้ (ห้าม) จากการกระท�ำความชัว่ 21. ใน 1 นาที คุณสามารถที่จะก�ำชับบางสิ่งบางอย่างที่เป็นความดี 22. ใน 1 นาที คุณสามารถที่จะให้ค�ำแนะน�ำที่จริงใจ (บริสุทธิ์ใจ) แก่ พี่น้องคนหนึ่ง 23. ใน 1 นาที คุณสามารถที่จะปลอบโยนคนหนึ่งคนใดที่ซึมเศร้า 24. ใน 1 นาที คุณสามารถที่จะเอาบางสิ่งบางอย่างที่เป็นอันตราย ออกไปจากทางเดิน (ถนน) 25. ท�ำ 1นาที ให้ดที สี่ ดุ มันจะเป็นแรงจูงใจให้คณ ุ ท�ำในช่วงเวลาอืน่ ๆ ได้ดีที่สุดโดยไม่ปล่อยให้มันสูญเสียไป อิหม่าม ชาฟิอีได้กล่าวไว้ว่า เมื่อผู้คุณก�ำลังจะงีบหลับ ฉันได้ปล่อยน�้ำตาให้มันไหลและฉันก็ท่อง กาพย์กลอนจากบทกวีอันคารมคมคายที่สุดมันไม่เป็นการสูญเปล่าจาก ค�ำ่ คืนนัน้ ทีผ่ า่ นไปโดยฉันมิได้เพิม่ พูนในความรู้ เวลานีจ้ ะไม่ถกู เอามาคิด (นับ) ในฐานะที่เป็นส่วนหนึ่งจากชีวิตของฉันดอกหรือ? ท้ายที่สุดความจริงใจ (บริสุทธิ์ใจ) อย่างมากที่คุณมุ่งสู่อัลลอฮฺและการมีสติอย่างมากเพื่อ พระองค์คือสิ่งที่ยิ่งใหญ่กว่าอันจะเป็นรางวัล (ผลตอบแทน) ของคุณและ ก่อให้ความดีของคุณเพิ่มพูนอย่างมหาศาล ที่ต้องร�ำลึกเอาไว้ก็คือ ส่วน ใหญ่จากการกระท�ำเหล่านี้ไม่ได้ท�ำให้คุณสูญเสียสิ่ง ใดไปเลยสิ่งเหล่านี้ ไม่ตอ้ งการการช�ำระล้างตามบัญญัตศิ าสนา (ฏอฮาเราะฮฺ) และมันไม่ทำ� ให้ คุณเหน็ดเหนือ่ ย หรือต้องออกแรงมากในทางกลับกันคุณสามารถกระท�ำ มันในขณะทีค่ ณ ุ ก�ำลังเดิน หรืออยูใ่ นรถ หรือก�ำลังนอน หรือก�ำลังยืน หรือ ก�ำลังนั่ง หรือก�ำลังคอยใครบางคน เช่นเดียวกันการกระท�ำเหล่านี้เป็น วิธกี ารทีส่ ำ� คัญ ยิง่ ในการให้ได้มาซึง่ ความสุข การแผ่ขยาย (คลีอ่ อก) หัวอก (หมายถึงการน�ำมาสู่การปลดเปลื้องจากความทุกข์ และความปีติยินดี) และการปลดเปลื้องจากความเครียดและความกังวล โอ้อัลลอฮฺขอพระองค์ทรงช่วยเหลือพวกเราและข้าพระองค์ในการ ที่จะท�ำในสิ่งนั้นซึ่งพระองค์ทรงรัก และท�ำให้พระองค์พอพระทัย ขอให้ พระองค์ประสาทพรแก่นบีมูฮัมหมัด (ซ.ล.) ของพวกเราด้วยเถิด
สารศรัทธาชน 61
ความสัมพันธ์และความผู กพัน ของสมาชิกในครอบครัวอิสลาม ร.อู ่ต่อเรือ
ประโยคที่ว่าครอบครัวเป็นสถาบันแห่งแรกของสังคมเป็นประโยคที่ ถูกต้องและเป็นประโยคที่ไม่มีใครสามารถปฏิเสธได้ สาเหตุเพราะว่า ครอบครัวเป็นสถานที่แห่งแรกส�ำหรับมนุษย์ที่ลืมตาดูโลกจะอาศัยอยู่ และพึ่งพิงทางกายและทางใจ พร้อมกันนั้นเป็นสถานที่ให้การอบรมแก่ สมาชิกในสังคมมาตัง้ แต่แรกเกิดจนตาย ดังนัน้ เมือ่ สถาบันครอบครัวเป็น สถานที่ส�ำคัญส�ำหรับสมาชิกแล้วสมควรอย่างยิ่งที่เราจะท�ำความเข้าใจ แล้วอะไรล่ะคือพื้นฐานอันส�ำคัญในการที่จะให้ครอบครัวๆหนึ่งมีความ ผาสุกได้อย่างแท้จริง การทีจ่ ะท�ำให้ครอบครัวๆหนึง่ ในครอบครัวอิสลามมีความสุขได้นนั้ ต้องมาจากความสัมพันธ์และความผูกพันอย่างแน่นแฟ้นก็เพราะสิง่ ๆนัน้ เป็นภูมคิ มุ้ กันในการทีจ่ ะต้านพฤติกรรมทีไ่ ม่ดที มี่ มี ากมายในสังคมทีอ่ าจ จะเข้ามาใกล้ตัวได้ การสร้างความสัมพันธ์อันแน่นแฟ้นในครอบครัว ยุคนิวเคลียร์นี้ถือว่าจ�ำเป็นมาก หากขาดจุดนี้แล้วแน่นอนครอบครัวนั้น จะเป็นครอบครัวที่มีปัญหาในที่สุด 1. ควรปฏิบัติในสิ่งที่เป็นบวกและหลีกเลี่ยงในสิ่งที่เป็นลบ สิ่งที่เป็นบวกควรปฏิบัติดังนี้คือ ตระหนักถึงข้อเท็จจริงที่ว่า บุตรนั้น เป็นสิ่งที่อัลลอฮฺประทานให้แก่พ่อแม่ ด้วยเหตุนี้ผู้เป็นพ่อและแม่จะต้อง พยายามให้การอบรมและเลีย้ งดูบตุ รอย่างดีทสี่ ดุ จะต้องเข้าถึงความรูส้ กึ 62
สารศรัทธาชน
และจิตใจของผูเ้ ป็นบุตร สนองความต้องการของบุตรตามทีเ่ ห็นว่าเหมาะสม พยายามเอาใจบุตรบ้างในบางครั้ง และรักษาค�ำมั่นสัญญาที่ให้ไว้กับบุตร สิ่งที่เป็นลบที่ควรหลีกเลี่ยงมีดังนี้คือ นิสัยเลือกที่รักมักที่ชัง นิสัยเช่น นี้หากผู้เป็นพ่อแม่ได้กระท�ำก็จะท�ำให้ลูกเกิดนิสัยอิจฉาริษยาระหว่างกัน และกัน ท่านนบีมูฮัมหมัด (ซ.ล.) ได้กล่าวไว้มีใจความว่า “ให้ท่านปฏิบัติ กับลูกของท่านด้วยความเสมอภาค” 2 ท�ำกิจกรรมต่างๆให้เป็นกิจวัตรประจ�ำวันร่วมกับลูกๆ กิจกรรมเหล่านีก้ ค็ อื การอ่านกุรอานร่วมกัน การละหมาดร่วมกัน ทาน อาหารร่วมกัน พาลูกๆไปเทีย่ วในวันหยุดบ้าง แสดงความสนใจในการเรียน ของลูกและอยู่เป็นเพื่อนลูกในยามลูกทบทวนบทเรียนหรือท�ำการบ้าน ดูทวี รี ว่ มกับลูกพร้อมกับวิจารณ์ขอ้ ดีขอ้ เสียในเนือ้ หาทีไ่ ด้รว่ มชมเพือ่ เป็น ข้อคิดและอุทาหรณ์แก่ลูกๆ และกิจกรรมอื่นอีกมากมายที่พ่อแม่และลูก จะต้องกระท�ำร่วมกันเพื่อให้เกิดความสัมพันธ์ระหว่างกัน 3 .รับรู้พฤติกรรมและเรื่องราวของลูกๆมีวิธีปฏิบัติ ดังนี้ ใกล้ชดิ กับลูกๆ เท่าทีม่ เี วลาและโอกาส สนทนากับลูกๆ เกีย่ วกับเรือ่ ง ราวต่างๆของลูกเช่น เรื่องที่โรงเรียน การใช้จ่ายประจ�ำวัน การแต่งกาย การเข้าสังคมและพยายามท�ำความเข้าใจถึงความต้องการของลูกๆและ สนองตอบในความต้องการนั้นบ้างเมื่อจ�ำเป็นและเหมาะสม
4. ให้ความส�ำคัญต่อลูก เมือ่ ลูกส�ำเร็จในการเรียน หรือในเรือ่ งใดเรือ่ งหนึง่ ก็ตาม ถ้าลูกได้รบั รางวัล บิดามารดาควรแสดงความยินดีเราควรให้ความส�ำคัญกับลูกในจุดนี้ด้วย 5 รับรู้และมีความรู้สึกร่วมกันเมื่อลูกประสบปัญหา เมื่อลูกมีปัญหาที่โรงเรียนให้พ่อแม่มีส่วนรับรู้ด้วยเพื่อช่วยกันแก้ ปัญหายังดีกว่าการลูกแก้ปัญหาด้วยตัวเองหรือให้เพื่อนช่วยแก้ปัญหา เพราะดีไม่ดีอาจจะบานปลายก็ได้อย่างน้อยพ่อแม่คือที่ปรึกษา 6 ควรมีการติดต่อกับลูกๆเสมอ พฤติกรรมเช่นนี้ถือว่าส�ำคัญมากส�ำหรับยุคนี้ ยุคที่ลูกๆ ต้องออกไป ท�ำงานนอกบ้าน ออกไปมีครอบครัว และมีวิถีชีวิตเป็นของตัวเองเมื่อถึง วัยอันสมควร การติดต่อกันจะท�ำให้มีไมตรีต่อกัน และความรักผูกพันกัน ในทีส่ ดุ วิธกี ารทีจ่ ะติดต่อกันนัน้ มีมากมายเช่น การโทรศัพท์หากัน การนัด ทานข้าวร่วมกัน หรือการเที่ยวด้วยกัน เป็นต้น ศาสนาอิสลามได้ส่งเสริมให้บิดามารดาแสดงความรักต่อลูกๆและ ให้การอบรมเลี้ยงดูลูกอย่างดี ท่านนบีมูฮัมหมัด (ซ.ล.) เองก็เป็นบุคคลที่ แสนจะรักลูกคนหนึง่ เหมือนกันได้รบั รายงานจากอบูฮรุ อยเราะห์วา่ วันหนึง่ ท่านนบีมูฮัมหมัด (ซ.ล.) ได้จุมพิตหลานชายที่มีชื่อว่าท่านหะซันต่อหน้า ซอฮาบะห์ที่มีชื่อว่า อัลอักรออ์ บินฮาบิซ อัตตามีมี ท่านอักรออ์ได้บอก กับท่านนบีวา่ เขามีลกู ถึง 10 คนแต่เขาไม่เคยจุมพิตลูกเลย ท่านนบีกก็ ล่าว บุคคลใดก็ตามที่ไม่เคยมอบความรักให้แก่คนอื่นเขาก็ย่อมจะไม่ได้รับ ความรักจากคนอืน่ ด้วย นัน่ แสดงให้เห็นว่า การจุมพิตเป็นพืน้ ฐานหลักใน การให้ความรักและความเมตตาทีเ่ กิดขึน้ ในครอบครัวไม่เพียงแค่นนั้ ลูกสาว ของท่านนบีฯ คือท่านหญิงฟาติมะห์ ท่านก็จะปฏิบัติเช่นนั้นเมื่อพบกัน วิธกี ารอืน่ ทีท่ า่ นศาสดามักจะประพฤติปฏิบตั เิ สมอมาต่อลูกหลานของ ท่านเพื่อแสดงให้เห็นว่าท่านรักลูกแค่ไหนคือการจุมพิตหน้าผาก ให้ค�ำ ตักเตือนและแนะน�ำกับลูกๆ ในค�ำสอนของอัลลอฮฺเหมือนกับท่านลุกมานุล ฮากีมได้ปฏิบัติมา วิเคราะห์และสนทนากับลูกตามความสามารถและ ปัญญาของลูก และสนองความต้องการลูกเพื่อให้ลูกสบายใจ มีตวั อย่างหนึง่ ทีท่ า่ นนบีมฮู มั หมัด (ซ.ล.) ได้ตกั เตือนบุตรสาวเกีย่ วกับ เรือ่ งความอดทนในการท�ำงานบ้านให้แก่สามีและครอบครัว วันหนึง่ ท่าน ศาสดาได้ไปเยีย่ มลูกสาวช่วงนัน้ ลูกสาวก�ำลังยุง่ อยูก่ บั การโม่แป้งพร้อมกับ เห็นสภาพลูกสาวได้ทำ� งานพร้อมน�ำ้ ตา และใส่เสือ้ ผ้าทีเ่ ก่ามาก เมือ่ ได้เห็น สภาพเช่นนัน้ ท่านศาสดาก็พลอยร้องให้ไปด้วยพร้อมกับกล่าวแก่บตุ รสาว ว่า “โอ้ฟาติมะห์ ลูกรัก จงพอใจและรับความขมขื่นบนโลกนี้ด้วยดี เพื่อ จะไปรับความสุขสบายในโลกอาคีเราะห์” นีค่ อื ค�ำตักเตือนของท่านศาสดา แก่บุตรสาว นอกจากนั้นแล้วท่านศาสดายังเป็นที่ปรึกษาของลูกและเป็นผู้แก้ ปัญหาให้กบั ลูกด้วย ท่านศาสดาจะไม่มคี วามสุขหากครอบครัวของลูกมีปญั หา หรือเกิดความทุกข์ ในเรื่องนี้เคยเกิดขึ้นแล้ว ซึ่งซอฮาบะห์ของท่านนบี มูฮัมหมัด (ซ.ล.) ท่านหนึ่งได้รายงานว่า ท่านศาสดาได้เดินทางด้วยความ รีบร้อนและสีหน้าทีเ่ ป็นกังวลเข้าไปในบ้านบุตรสาวฟาติมะห์ แต่เมือ่ ท่าน ศาสดาเดินออกมา ท่านเดินออกมาด้วยสีหน้าที่มีรอยยิ้มและคลายความ กังวล ซอฮาบะห์ทา่ นนัน้ ได้ถามท่านศาสดา ท่านศาสดาก็ได้ตอบว่าก็ตอบ ว่าท่านได้เข้าไปช่วยคลี่คลายปัญหาให้แก่ลูกสาวและลูกเขยและขณะนี้ ปัญหาได้กลายเป็นดีไปแล้ว นัน่ คือความรักของท่านศาสดาทีม่ ตี อ่ ลูกสาว เมือ่ ใดทีล่ กู มีปญ ั หาหรือ มีทกุ ข์ทา่ นก็จะไม่หยุดนิง่ จะเข้าไปแก้ปญ ั หาให้เพือ่ ให้เรือ่ งร้ายกลายเป็นดี
ท่านศาสดาเป็นทีป่ รึกษาให้แก่ลกู ๆได้ทกุ เรือ่ งถึงแม้ลกู จะมีครอบครัวแล้ว ก็ตาม ความรักของสมาชิกในครอบครัว ไม่ใช่เพียงแต่พ่อแม่เท่านั้นที่จะมี แก่ลกู ๆ แต่ลกู ก็ตอ้ งมอบความรักและทุม่ เทให้แก่พอ่ แม่ดว้ ย ในเรือ่ งอัลกุรอาน ซูเราะห์ อัลอิสรออ์ อายะห์ ที่ 24 ได้ระบุไว้มใี จความว่า “และจงนอบน้อม แก่ทา่ นทัง้ สอง ซึง่ การถ่อมตนเนือ่ งจากความเมตตาและจงกล่าวว่า ข้าแต่ พระเจ้าของฉันทรงโปรดเมตตาแก่ทา่ นทัง้ สองดัง่ เช่นทีท่ า่ นทัง้ สองได้เลีย้ ง ดูฉนั มาเมือ่ เยาว์วยั ” ดังนัน้ ขอให้ลกู ๆแสดงความรัก เอือ้ อาทร และปรนนิบตั ิ ต่อพ่อแม่ด้วยดี และด้วยความสุภาพอ่อนโยนพร้อมกันนั้นก็ขอดุอาอฺให้ แก่ท่านทั้งสอง การให้เกียรติกนั และกันเป็นการสร้างความสัมพันธ์ทดี่ รี ะหว่างสมาชิก ในครอบครัว ในการสร้างความสัมพันธ์ทดี่ รี ะหว่างกันองค์ประกอบทีส่ อง คือการให้เกียรติกัน โดยเฉพาะผู้ที่เป็นลูกต้องให้เกียรติกับพ่อแม่ วิธีการ ปฏิบัติมีดังนี้ อบรมเลี้ยงลูกอย่างตรงไปตรงมา คือลูกๆ ต้องฝึกฝนให้เกียรติแก่พ่อแม่เช่นเมื่อจะเข้าห้องส่วนตัวของ พ่อแม่ตอ้ งเคาะประตูกอ่ นเพือ่ ขออนุญาต ฟังพ่อแม่พดู ด้วยกริยาทีส่ ำ� รวม และสงบนิ่ง ฝึกการให้สลามให้เป็นกิจจะลักษณะกับพ่อแม่ เมื่อจะออก นอกบ้านหรือเมือ่ จะเข้าบ้านหรือเมือ่ จะเข้านอน ตืน่ นอน ฯลฯ ลูกๆก็เช่น กันต้องหลีกเลี่ยงจากพฤติกรรมที่เป็นลบเช่นขึ้นเสียงกับพ่อแม่ ไม่เพียง แค่นั้นพ่อแม่ต้องลงโทษลูกเมื่อพบว่าลูกท�ำผิดเพื่อเป็นการอบรมสั่งสอน ว่าลูกว่าลูกท�ำผิด พ่อแม่ต้องเป็นแบบอย่างที่ดีให้แก่ลูก เพือ่ ทีจ่ ะให้ลกู เกิดความรูส้ กึ ทีด่ ตี อ่ พ่อแม่ พ่อแม่ตอ้ งเป็นแบบอย่างที่ ดีก่อนด้วยการเริ่มต้นมารยาทระหว่างพ่อแม่ก่อน เช่นเมื่อพ่อท�ำความดี ให้แก่แม่ แม่ตอ้ งรูจ้ กั ขอบคุณต่อหน้าลูกๆ หากพ่อแม่ตอ้ งการให้ลกู ๆพูดจา ด้วยวาจาทีไ่ พเราะและสุภาพต่อพ่อแม่กต็ อ้ งท�ำให้ลกู ฟังเป็นตัวอย่างก่อน เป็นต้น เพื่อให้สอดคล้องกับเรื่องการให้เกียรติกันนั้น อิสลามได้ส่งเสริมให้ ลูกๆ ให้เกียรติและเอาใจใส่ตอ่ พ่อแม่ของเขา จริงๆแล้วในเรือ่ งนีไ้ ด้ซมึ ซับ ในความรับผิดชอบของลูกที่มีต่อพ่อแม่แล้ว ส่วนแนวปฏิบัติอื่นนอกจาก ที่กล่าวมาแล้วมีดังนี้ เมื่อบิดามารดาแก่ตัวลงขอให้ลูกๆ ปรนนิบัติและ เอาใจใส่ต่อพ่อแม่ด้วยดีไม่ว่าอาหารการกินที่นอน เครื่องแต่งกาย พร้อม กับให้การปรนนิบตั ทิ ดี่ อี ย่างสม�ำ่ เสมอเชือ่ ฟังและปฏิบตั ติ ามค�ำสัง่ ของท่าน หากไม่ขัดกับหลักการอิสลาม พูดกับพ่อแม่ด้วยวาจาสุภาพอ่อนโยน ไม่ เรียกบิดามารดาด้วยชือ่ ของท่าน เดินกับท่านต้องเดินตามหลัง ต้องท�ำทุก อย่างให้ท่านมีความสุขและพอใจ หลีกเลี่ยงในสิ่งที่พ่อแม่ไม่ชอบ และ ขออภัยโทษจากอัลลอฮฺทุกครั้งที่เราขอดุอาอฺให้กับตัวเอง สรุปแล้วหากเราสามารถฝึกฝนให้กับครอบครัวของเราเกิดความรัก ความผู ก พั น และการให้ เ กี ย รติ ซึ่ ง กั น และกั น ในระหว่ า งสมาชิ ก ใน ครอบครัวแล้วแน่แท้ความสัมพันธ์ทแี่ น่นแฟ้นและลึกซึง้ ก็ยอ่ มเกิดขึน้ และ เมื่อนั้นครอบครัวอิสลามทุกครอบครัวก็จะพบแต่ความสุข ปราศจาก ภยันตรายทีอ่ าจจะเกิดขึน้ พร้อมกันนัน้ ครอบครัวของเราก็จะน�ำพาความ ผาสุกไปตลอดชั่วนิรันดร์ไม่ว่าบนโลกนี้และโลกอาคีเราะห์ อามีน
สารศรัทธาชน 63
รายชื่อคณะกรรมการ มู ลนิธิศรัทธาชน เพื่อการศึ กษาและเด็กก�ำพร้า ปี 2557 รายชื่อคณะกรรมการบริหาร
ต�ำแหน่ง
ร.ต.อ.พรชัย ไวยศิลป์ ประธานกรรมการ คุณปั ญญา สุวรรณดี รองประธานกรรมการ (หัวหน้าฝ่ ายสงเคราะห์) คุณเอนก เหมเสริม รองประธานกรรมการ (หัวหน้าฝ่ ายวิชาการ) คุณมนตรี สมานะวณิชย์ รองประธานกรรมการ (หัวหน้าฝ่ ายหาทุน) คุณเราะห์หมัด เรืองปราชญ์ เหรัญญิก คุณสุภาพ เรืองปราชญ์ เลขานุการ คุณธรรมชาติ สนิทนาม ฝ่ ายสงเคราะห์ คุณสมคิด ลีวนั ฝ่ ายประชาสัมพันธ์ คุณมนัส มากเลาะเลย์ ฝ่ ายหาทุน คุณเมธี มาลีพนั ธุ ์ ฝ่ ายสงเคราะห์ คุณวิรตั น์ ข�ำวิลยั ฝ่ ายสงเคราะห์ คุณอดุลย์ ปู่ ทอง หัวหน้าฝ่ ายประชาสัมพันธ์ คุณรจนา มัสเยาะ ฝ่ ายหาทุน คุณชรินทร์ ปิ่ นทอง ฝ่ ายสงเคราะห์ คุณมานิต สมบู รณ์ ฝ่ ายประชาสัมพันธ์ คุณจักรินทร์ คล้ายเจริญ ฝ่ ายวิชาการ คุณนิพนธ์ เรืองปราชญ์ ฝ่ ายสงเคราะห์ นายสิทธิศกั ดิ์ วงค์เกษร ฝ่ ายประชาสัมพันธ์ นายวิทยากร อิสมาแอล ผู ช้ ่ วยเลขานุการ นางสาววิลาสินี กันซัน ผู ช้ ่ วยเหรัญญิก 64
สารศรัทธาชน
หมายเหตุ 085-216-0515 081-930-8713 081-866-1620/081-7524717 089-689-4352 081-819-2624 081-641-3330 089-484-8127 085-502-3377 089-112-5895 086-880-2296 085-800-3108 081-812-7457 081-207-3491/02-379-5311 081-809-4633 081-452-0619 085-046-2230 083-601-5551 083-070-3512 082-571-0248 086-890-6055
รายชื่อคณะกรรมการสมทบ นายอบู บกั ร ฉิมวิเศษ นายสมชาติ มิตรอารีย์ นายบุ คคอรี เรืองปราชญ์ นายศุภชัย จิเ๊ ลาะ นายสยาม ถูกเหมาะ นายปวิธ ดาราฉาย นายนาซาอี เรืองปราชญ์ นายวิทวัส รุ ง่ แสง นายสถาพร สุทศั นศึกษา นายอนนท์ พุ ม่ อรุ ณ นางขนิษฐา พ่วงศิริ
รายชื่อผู เ้ ข้าร่วมประชุ ม นางสาวฮุ สนา สุขไสว นางสาวสิรกิ ลั ยา บินอับดุลลา นางไอนุน พานิชนก นางสาวปานวาด เลาะหมุ ด นางสาวกุลธิดา นุชนาฎ
ท�ำหน้าที่ กรรมการสมทบ (ฝ่ ายวิชาการ) กรรมการสมทบ (ฝ่ ายหาทุน) กรรมการสมทบ (ฝ่ ายหาทุน) กรรมการสมทบ (ฝ่ ายสงเคราะห์) กรรมการสมทบ (ฝ่ ายสงเคราะห์) กรรมการสมทบ (ฝ่ ายวิชาการ) กรรมการสมทบ (ฝ่ ายประชาสัมพันธ์) ผู ช้ ่ วยเหรัญญิก (ฝ่ ายประชาสัมพันธ์) กรรมการสมทบ (ฝ่ ายประชาสัมพันธ์) กรรมการสมทบ (ฝ่ ายประชาสัมพันธ์) กรรมการสมทบ (ฝ่ ายหาทุน)
ท�ำหน้าที่ ผู จ้ ดั การส�ำนักงาน เจ้าหน้าทีฝ่ ่ ายบัญชี เจ้าหน้าทีฝ่ ่ ายสงเคราะห์ เจ้าหน้าทีฝ่ ่ ายสงเคราะห์ เจ้าหน้าทีฝ่ ่ ายธุ รการ
หมายเหตุ 089-790-4289 086-536-6734 081-699-5656 080-619-1154 087-670-7078 084-002-0823 086-971-3171 081-648-5607 082-541-6264 085-112-7848 086-903-4776
หมายเหตุ 083-891-4765 083-018-7400 089-939-1677 087-561-7410 082-567-9545
สารศรัทธาชน 65
จ�ำนวนครอบครัวก�ำพร้า ของมู ลนิธิศรัทธาชน เพื่อการศึ กษาและเด็กก�ำพร้า ปี 2557 จังหวัด
จ�ำนวนครอบครัวก�ำพร้า
กรุ งเทพมหานคร นครนายก นนทบุ ร ี ปทุมธานี พระนครศรีอยุ ธยา สมุ ทรปราการ สิงห์บุร ี สุพรรณบุ ร ี อ่างทอง จันทบุ ร ี ฉะเชิงเทรา ชลบุ ร ี ตราด ระยอง ประจวบคีรขี นั ธ์ เพชรบุ ร ี ราชบุ ร ี ่ กระบี ชุ มพร นครศรีธรรมราช นราธิวาส ปั ตตานี พังงา พัทลุง ภูเก็ต ระนอง สตูล สงขลา ยะลา จ�ำนวนครอบครัวรวม 66
สารศรัทธาชน
706 28 68 48 115 28 1 1 4 2 24 24 13 2 7 28 1 28 11 28 20 25 4 1 2 26 7 4 14 1,363
สรุ ปโครงการในรอบปี 1.โครงการออกเยี่ยมเยียนครอบครัวชาวก�ำพร้า ทุกวันเสาร์ จัดเจ้าหน้าทีช่ ดุ ละ 3-4 คน จ�ำนวน 2 ชุด ออกเยีย่ มเยียน ครอบครัวเด็กก�ำพร้า ตามรายงานเอกสาร เพือ่ ตรวจสอบและให้ความ ช่วยเหลือในเบือ้ งต้น ปลอบโยนให้กำ� ลังใจ มอบปัจจัย เครือ่ งอุปโภค บริโภค ถุงยังชีพข้าวสารอาหารแห้ง ราคา 500 บาท และเงินสด 1,500 บาท (รวม 2,000 บาท) ปี 2556 เยี่ยมแล้ว 144 ครอบครัว เด็ก 144 คน
2.โครงการจัดงานวันเด็กก�ำพร้า เป็นการจัดงานสร้างกองทุนเพื่อเด็กก�ำพร้า จัดวันเสาร์แรกของเดือนรอมฎอน จัดครั้งแรกปี 2542 ที่ศูนย์กลางอิสลาม มีรายได้ประมาณ 400,000 บาท พร้อม จัดกิจกรรมต่างๆ มีการเลี้ยงละศีลอดให้ครอบครัวก�ำพร้า ปี 2556 จัดที่ลานเอนกประสงค์ ตรงข้ามซีคอนสแควร์ วันเสาร์ที่ 13 กรกฎาคม 2556 มีครอบครัวเด็กก�ำพร้าร่วมงานประมาณ 1,800 คน เลีย้ งละศีลอด และมอบทุนการศึกษาจ�ำนวน 1,200,000 บาท มีรายได้การจัดงาน 5,574,000 บาท
3.โครงการมอบทุนการศึ กษารายเดือน
4.โครงการสร้าง–ซ่ อมแซม ที่พักอาศัยให้ ครอบครัวก�ำพร้า 4.1 สร้างบ้านให้ครอบครัวเด็กก�ำพร้า ปี 2556 – 2557 หลังที่ 21- 25 รวม 5 หลัง เฉลี่ยหลังละ 150,000 บาท รวมเป็นเงิน 750,000 บาท 4.2 ซ่อมแซมบ้านพัก 6 ราย รายละประมาณ 30,000 บาท เป็นเงิน 180,000 บาท
ปี 2542 ที่จัดงานครั้งแรก มีกองทุน 400,000 บาท จึงจัดสรร มอบทุนถาวรรายเดือน ตามหลักเกณฑ์ ระยะแรกมี 60 ครอบครัว เดือนละ 600 บาท ต่อเดือน ปี 2556-2557 มอบทุนการศึกษาจ�ำนวน 418 รายต่อเดือน รายละ 1,000 บาท 351 ราย เงิน 351,000 บาท รายละ 1,200 บาท 1 ราย เงิน 1,200 บาท รายละ 1,500 บาท 47 ราย เงิน 70,500 บาท รายละ 2,500 บาท 17 ราย เงิน 42,500 บาท รายละ 3,000 บาท 2 ราย เงิน 6,000 บาท เดือนละ 471,200 บาท ปีละ 5,654,400 บาท
สารศรัทธาชน 67
5.โครงการอบรมภาคฤดูร้อน ในช่วงปิดภาคเรียนแต่ละปี ได้จัดการอบรมศาสนาและวิชาชีพ ให้เด็กก�ำพร้า และเยาวชนทั่วไป (หญิง-ชาย) อายุ 7-15 ปี วันที่ 12 – 26 เมษายน 2557 ปี 2557 มีเยาวชนเข้าค่ายอบรมจ�ำนวน 150 คนเจ้าหน้าที่ 30 คน ค่าใช้จ่ายทั้งหมด 423,500 บาท
6.โครงการช้ างเผือกศรัทธาชน เพื่อสร้างขวัญก�ำลังใจ ให้รางวัลและให้โอกาสกับเด็กก�ำพร้าที่ขยัน ประพฤติดี และเรียนเก่ง โดยวัดผลการศึกษา ระดับมัธยม มีผลคะแนนเฉลีย่ 3.5 ขึ้นไป เข้าโครงการช้างเผือกและผู้ที่สามารถเข้าเรียนระดับอุดมศึกษา จะได้มอบทุนการศึกษาเพิ่ม ทุนระดับมัธยม 47 ราย ทุนละ 1,500 บาท ต่อเดือน ทุนระดับอุดมศึกษา 17 ราย ทุนละ 2,500 บาท ต่อเดือน ทุนระดับอุดมศึกษา (ต่างประเทศ) 2 ราย ทุนละ 3,000 บาท ต่อเดือน
7.โครงการแสงศรัทธาด้วยอาทร จัดกลุม่ รวมตัวของครอบครัวก�ำพร้าในวันหยุดเวลา 09.00 – 13.00 น. การอบรม ให้ความรูด้ า้ นสังคม ศาสนา วิชาชีพ แยกอบรมกลุม่ ผูป้ กครอง กลุม่ เด็ก เสร็จการ อบรม รับประทานอาหาร ละหมาดร่วมกัน แล้วมอบทุนการศึกษา วันเสาร์แรกของเดือน จัดที่ภัตตาคารสินธร กทม. วันอาทิตย์แรกของเดือน จัดที่สนามกลางล�ำ วันอาทิตย์ที่สองของเดือน จัดที่คู้น้อยคลอง 16 (มัสยิดอัลฮุดา) วันเสาร์ที่สี่ของเดือน จัดที่มัสยิดรียาริซสุนัน นนทบุรี วันอาทิตย์ที่สี่ของเดือน จัดที่มัสยิดมุอาซบินยาบัล อยุธยา
8.โครงการของขวัญวันอีด เป็นโครงการต่อเนื่องที่มูลนิธิฯ ได้จัดทุกปีตามแนวความคิดที่ว่า เด็กก�ำพร้าไม่มีใครให้ความสนใจเพราะความยากจน เพราะขาดบิดา จึงจัดของขวัญมอบในวันอีด ได้แก่ ข้าวสาร อาหารแห้ง ขนม หนังสือ ของเล่นเด็ก ครอบครัวละ 1,000 บาท ปี 2556 มอบ 2,000 ครอบครัว 68
สารศรัทธาชน
9.โครงการกุรบ่านเพื่อเด็กก�ำพร้า จัดท�ำกุรบ่านเพื่อเด็กก�ำพร้า ตั้งแต่ปี 2543 โดยการเชิญชวน ทางสื่อวิทยุ โทรทัศน์ ให้ผู้ศรัทธาร่วมท�ำกุรบ่านวัว ในเทศกาล วั น อิ ดิ้ ล อั ฎ ฮา จั ด แจกจ่ า ยให้ ค รอบครั ว ก� ำ พร้ า ครอบครั ว ละ 5 กิโลกรัม ส่วนในภูมิภาค เหนือ อีสาน ใต้ มอบเงินให้องค์กร หรือตัวแทนชุมชน ที่มีเด็กก�ำพร้าด�ำเนินการ ปี 2556 มีผู้ร่วมท�ำ กุรบ่าน วัว 127 ตัวแพะ 7 ตัว
10.โครงการซับน�ำ้ ตาหญิงม่ายให้เหือดแห้ง เริ่มโครงการปี 2554 มีผู้บริจาคเงินตั้งกองทุน 305,000 บาท เพื่อให้ผู้ปกครองเด็กก�ำพร้ายืมไปใช้ในภารกิจที่มีปัญหาหรือ ความจ�ำเป็น ในการด�ำรงชีวิต เช่น ไปใช้หนี้ที่มีดอกเบี้ยลงทุน การค้า ฯลฯ ให้ยืมครั้งละ 5,000 – 10,000 บาท แล้วชดใช้ ส่งคืนโดยหักจากเงินทุนการศึกษารายเดือน หญิงม่ายหมุนเวียน หยิบยืมมากกว่า 90 ราย
11.โครงการสายใยแห่งความอาทร เนื่องจากมีครอบครัวเด็กก�ำพร้าจ�ำนวนมาก ยังเดือดร้อนบางรายเป็นหนี้สินค้างพอก รายได้ไม่พอ จ่าย ทัง้ เงินทุนทัง้ การด�ำรงชีวติ และการศึกษาของลูก จึงจัดโครงการช่วยเหลือน�ำครอบครัวก�ำพร้า ที่เดือดร้อน 11.1 จัดรายการออกทางยาตีมทีวี น�ำเสนอสภาพชีวิตแล้วเชิญชวนผู้ชมทางบ้านร่วมบริจาค ปี 2556– 2557 น�ำเสนอทางยาตีมทีวี 46 ราย มีผู้บริจาครวมเป็นเงิน 3,112,978 บาท 11.2 จัดครอบครัวก�ำพร้าหมุนเวียน ไปร่วมกิจกรรมที่ภัตตาคารสินธร ในคืนวันศุกร์ คราวละ 10 ครอบครัว เจ้าของร้านสินธร ได้มอบ 1. ให้รับประทานอาหารทั้งครอบครัว 2. มอบเงินครอบครัวละ 3,000 บาท 3. มอบข้าวสารอาหารปรุงแต่ง มูลค่า 1,000 บาท ครอบครัวหญิงม่ายเด็กก�ำพร้าหมุนเวียนได้กับการช่วยเหลือเดือนละประมาณ 200,000 บาท
12.โครงการเผยแพร่ศาสนา จัดนักวิชาการด�ำเนินการโดย 12.1 ให้ความรู้ด้านศาสนธรรมทางสถานีโทรทัศน์ยาตีมทีวี 24 ชั่วโมง สอนในรูปแบบ ต่างๆ เช่นโรงเรียนทางอากาศ ตอบปัญหา สนทนา สอนอัลกุรอ่าน ประมาณ 18 ชัว่ โมง โฆษณาอื่นๆ 6 ชั่วโมง 12.2 จัดรายการทางสถานีวิทยุ และท�ำวารสารแจกจ่าย 12.3 จัดธรรมะสัญจร ออกบรรยายให้ความรู้ตามบ้าน มัสยิด องค์กรต่างๆ ทั้งใน ประเทศและต่างประเทศ สารศรัทธาชน 69
13.โครงการซับน�ำ้ ตาพยาบาล หญิงม่าย เด็กก�ำพร้า ด�ำเนินการให้ความช่วยเหลือครอบครัวเด็กก�ำพร้าทีเ่ ดือดร้อน อันได้แก่ การเจ็บป่วย จากโรคภัย และอื่นๆ โดยขอรับบริจาคผ่านสื่อยาตีมทีวี 13.1 คุณมาเรียม วังสตัง หญิงม่ายลูก 5 มีโรคร้ายถูกตัดขา 340,000 บาท 13.2 คุณซัลมา เหล็งศิริ หญิงม่ายลูกมีโรคร้าย ถูกตัดขา 155,000 บาท ฯลฯ ได้รับบริจาคช่วยเหลือเป็นเงินประมาณ 495,000 บาท
14.โครงการก่อสร้างบ้านพักพิงเด็กก�ำพร้า (บ้านหทัยรัก)
15.โครงการก่อสร้างศรัทธาการ์เด้นท์เพลส (อาคารให้เช่ า)
จากการออกเยีย่ มเยียนครอบครัวก�ำพร้าเป็นเวลาประมาณ 10 ปี จึงเห็นสภาพครอบครัวก�ำพร้าหลายครอบครัว มีความเดือดร้อน ไม่สามารถช่วยเหลือตนเองได้ ทัง้ การศึกษาและวิถชี วี ติ จึงสร้าง สถานสงเคราะห์ บ้านหทัยรัก เมื่อปี 2551 เสร็จเมื่อปี 2552 เปิดด�ำเนินการเมือ่ ปี 2553 เป็นอาคาร 4 ชัน้ ขนาดกว้าง 12.50 เมตร ยาว 32.50 เมตร อยูท่ ี่ ซ.หทัยราษฎร 50 แขวงสามวา ตะวันตก เขตคลองสามวา กรุงเทพฯ รวมค่าก่อสร้าง ประมาณ 12 ล้านบาท ขณะนีม้ เี ด็กก�ำพร้าอาศัยจ�ำนวน 58 คน เจ้าหน้าที่ 6 คน ส่งให้ศกึ ษาทัง้ ศาสนาและสามัญ ใช้งบเดือนละประมาณ 250,000 บาท
ด้วยนายยาซีน ลีวนั ได้มอบทีด่ นิ ท�ำเลทองหลังสถานศึกษา มหาวิทยาลัย รามค�ำแหง จ�ำนวน 245 ตารางวา ซอยรามค�ำแหง 24 แยก10 แขวงหัวหมาก เขตบางกะปิ กรุงเทพฯ เพือ่ ให้สร้างอพาร์เมนต์ให้เช่า จึงได้จดั งานและ ขอรับบริจาค ซึง่ มีฮจั ยีสนุ ทร สุรี เป็นประธานในพิธี จัดงานการก่อสร้าง เริ่มก่อสร้างปี 2554 – 2555 เป็นอาคาร 4 ชั้น 60 ห้อง รวมราคาที่ดิน สิ่งก่อสร้าง ประมาณ 32 ล้านบาท เปิดด�ำเนินการแล้วในปี 2555 โดย น�ำรายได้ไปดูแลเด็กก�ำพร้าบ้านหทัยรัก 200,000 บาท ต่อเดือน 70
สารศรัทธาชน
16.โครงการรับบริจาคเพื่อสร้าง – พัฒนามัสยิด ได้ด�ำเนินการขอบริจาคทางสถานีโทรทัศน์ยาตีมทีวีดังนี้ 1. มัสยิดนัศรุ้ลบารีย์ จังหวัดเพชรบุรี ได้เงิน 877,500 บาท 2 มัสยิดสตูล จังหวัดสตูล ได้เงิน 850,000 บาท 3. มัสยิดมุกดาหาร จังหวัดมุกดาหาร ได้เงิน 3,000,000 บาท 4. มัสยิดญันนะตุ้ลมุมินีน จังหวัดก�ำแพงเพชร ได้เงิน 435,000 บาท 5. มัสยิดอัลตักวา ประเทศกัมพูชา ได้เงิน 600,000 บาท 6. มัสยิดดารุซซุนนะห์ ประเทศกัมพูชา ได้เงิน 600,000 บาท 7. ศูนย์มุอัลลัฟภาคอีสาน จังหวัดอุดรธานี ได้เงิน 200,000 บาท 8. มัสยิดบ่อตาโล่ จังหวัดอยุธยา ได้เงิน 135,900บาท รวมเป็นเงิน 6,608,400 บาท อนึ่ง มูลนิธิศรัทธาชนฯได้ร่วมกับองค์กรและผู้ศรัทธาก่อสร้างอาคารเสร็จสิ้นแล้วในปี 2557 คือ 1. มัสยิดดารุซซุนนะห์ ประเทศกัมพูชา เป็นเงิน 2,000,000 บาท 2. โรงเรียนมาเรียมวิทยา ประเทศกัมพูชา เป็นเงิน 1,000,000 บาท
17.โครงการช่ วยเหลือผู ้ประสบอัคคีภัย รอบปี 2556– 2557 ได้ขอรับบริจาคเงิน สิ่งของ ทางสถานีวทิ ยุ และทางยาตีมทีวี ช่วยเหลือผูป้ ระสบ อัคคีภยั กรุงเทพฯ งบประมาณช่วยเหลือ 356,000 บาท ด�ำเนินการช่วยเหลือพี่น้อง กรุงเทพฯ , นนทบุรี
สารศรัทธาชน 71
18.โครงการขอรับบริจาคเงินช่ วยเหลือชาวซีเรีย(ทางยาตีมทีวี) มีผบู้ ริจาคเป็นเงิน 11,120,000 บาท ได้นำ� ช่วยเหลือชาวซีเรียทีป่ ระเทศตุรกี และบางส่วน ที่อยู่ในประเทศไทยและที่ยังด�ำเนินช่วยเหลืออย่างต่อเนื่อง
19.โครงการรับบริจาคเงินช่ วยเหลือชาวอุ ยกูร์ มีผู้บริจาคเงินผ่านทางสถานีโทรทัศน์ยาตีมทีวีเพื่อช่วยเหลือชาวอุยกูร์ เป็นเงิน 320,000 บาท ได้ด�ำเนินการช่วยเหลือชาวอุยกูร์ ที่พ�ำนักอยู่ ในประเทศไทยจนถึงปัจจุบัน
20.โครงการค่ายตะฮ์ฟีซอัลกุรอาน ณ เขายายเที่ยง วันที่ 1-15 เมษายน 2557 มีเด็กเข้ารับการอบรม 63 คน ได้รบั เงินบริจาค 240,000 บาท
21.โครงการกองทุนซะกาต ช่ ว ยเหลื อ ผู ้ ย ากไร้ มี ก องทุ น ที่ ไ ด้ รั บ บริ จ าคเบื้ อ งต้ น และ ต่อเนื่อง 2,359,690 บาท ด�ำเนินการมอบซะกาต ให้แก่ หญิงม่าย, เด็กก�ำพร้า, ผูย้ ากจน, คนพิการ, คนที่อ่อนแอในสังคม มอบแล้วเป็นเงิน 1,400,000 บาท 72
สารศรัทธาชน
สารศรัทธาชน 73
นายพรชัย จุ ฑามาศ
( มู ฮมั มัดเบนยามิน บินฮัจยีมูฮมั มัดเคร็ด ) ผู ้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านวิชาการเกษตรทรงคุณวุ ฒิ รองผู ้อ�ำนวยการโครงการอนุรักษ์ พันธุ กรรมพืชอันเนื่องมา จากพระราชด�ำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรม ราชกุมารี
ประวัติการศึกษา วิทยาศาสตร์บัณฑิต(เกษตรศาสตร์) สาขาพืชสวน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 2516 วิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต(เกษตรศาสตร์) สาขาพืชสวน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 2523
ประวัติท่ไี ด้รับเกียรติ
วิทยาศาสตร์ดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ ชีววิทยา มหาวิทยาลัยราชภัฎจันทรเกษม 2552 ประวัติการท�ำงาน หัวหน้าหมวดสวนหลวง งานสวนพระราวังดุสิต นักเกษตรส�ำนักพระราชวัง2516 –2532 ผู้ช่วยผู้อ�ำนวยการโครงการส่วนพระองค์ฯ สวนจิตรลดา 2532–2537 รองผู้อ�ำนวยการโครงการส่วนพระองค์ฯ สวนจิตรลดา 2537–2550 เลขานุการคณะกรรมการบริหารโครงการอนุรักษ์พันธุ กรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ 2536-2544 หัวหน้าส�ำนักงานโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจาก พระราชด�ำริฯ 2536- ปัจจุบัน รองผู้อ�ำนวยการโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจาก พระราด�ำริฯ 2538- ปัจจุบัน ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านวิชาการเกษตร 9 ส�ำนักพระราชวัง 2544- 2554 ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านวิชาการเกษตรทรงคุณวุฒิ ส�ำนักพระราชวัง 2554 – ปัจจุบัน
สถานที่ท�ำงาน
โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริฯ สวนจิตรลดา กทม 10303 โทรศัพท์ท่สี ะดวกในการติดต่อกลับ โทร. 02-2820665 022821850 081 9381755 e-mail address : dongdib05@gmail.com dongdib05@rspg.org 74
สารศรัทธาชน
ประสบการณ์หรือความเชี่ ยวชาญพิเศษ งานสวน การตกแต่งสวน การจัดการเพาะช�ำ การผลิตไม้ดอกไม้ประดับ งานสวนพระราชวังดุสิต 2516-2532
การวิจัย ผู้ร่วมวิจัย โครงการการพัฒนาเทคโนโลยีการเก็บรักษาพันธุ์ พืชเอกลักษณ์ โดยการเลี้ยงเนื้อเยื่อ ทุนวิจัยจากศูนย์พันธุ์ วิศวกรรมและ เทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ (2528-2530) ขนุน Jackfruit Arthocarpus heterophyllus สมอไทย Tropical almonds Terminalia chebula ยี่หุบ Yeehup Magnolia coco มณฑา Monyha Magnolia condolii พุดสวน Pud saun Evrvatamia coronaria หั ว หน้ า โครงการ การปลู ก พื ช ปราศจากดิ น สนั บ สนุ บ งบประมาณโดย โครงการส่วนพระองค์ฯ สวนจิตรลดา (25292530) หัวหน้าโครงการ การอนุรกั ษ์และขยายพันธุห์ วายโดยการเลีย้ ง เนื้อเยื่อ สนับสนุบงบประมาณโดย ส�ำนักงานคณะกรรมการ พิเศษเพือ่ ประสานงานโครงการอันเนือ่ งมาจากพระราชด�ำริฯ ( 2529-2530) Principal Investigator: In vitro Conservation and Propagation Of Three Economics Species of Rattan PSPC program USAID (1988 - 1991) หัวหน้าโครงการ การขยายพันธุข์ นุนไพศาลทักษิณ 999,999 ต้น สนับสนุนงบประมาณโดยกองทัพบก (2534-2538)
อาจารย์พิเศษ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฎจัทรเกษม สาขายุทธศาสตร์เพื่อการพัฒนา บรรยายเรื่องคุณธรรมส�ำหรับ นักบริหารและสนธิสัญญาระหว่างประเทศ
คณะกรรมการ / คณะอนุกรรมการ รองประธานคณะกรรมการโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอัน เนื่องมาจากพระราชด�ำริฯ ( 2544- ปัจจุบัน ) คณะผูต้ รวจสอบทางวิชาการ กลุม่ เรือ่ งการอนุรกั ษ์พนั ธุกรรมพืช อันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ ด้านการบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม และพัฒนาคุณค่าความหลากหลายทางชีวภาพ คณะกรรมการ วิจัยแห่งชาติ ( 2553- ปัจจุบัน ) คณะอนุกรรมาธิการเกษตรประณีต กรรมาธิการเกษตรและ สหกรณ์ วุฒิสภา (/2555 – 2556 )
งานพิเศษ เป็นคณะท�ำงานรับรองพระราชอาคันตุกะ State visit ดูแลพระราช สัมภาระ 2530 - ปัจจุบัน
เครื่องราชอิสริยาภรณ์ มหาวิชรมงกุฎ ประถมาภรณ์ช้างเผือก เหรียญรัตนาภรณ์ ชั้น 5 เหรียญจักรพรรดิมาลา
อาจารย์พิเศษ ผู ้บรรยาย ในมหาวิทยาลัย สถาบัน การศึกษา อาจารย์พิเศษ ผู้บรรยาย และกรรมการวิทยานิพนธ์ บัณฑิต วิทยาลัย มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ในสาขาพืชสวน รหัส XA 393 (2538-ปัจจุบัน) อาจารย์ พิ เ ศษ กรรมการวิ ท ยานิ พ นธ์ บั ณ ฑิ ต วิ ท ยาลั ย มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ในสาขาจุลชีววิทยา ( 2546-ปัจจุบนั ) ผู ้ บ รรยายพิ เ ศษ คณะเภสั ช ศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย มหิ ด ล ( 2541-ปัจจุบัน ) ผู้บรรยายพิเศษ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ( 2541- ปัจจุบัน ) สารศรัทธาชน 75
ให้เบ็ด ดีกว่าให้ปลา รายการส่งเสริม ให้คนที่มีความพยายามใน การท�ำมาหากิน แต่ขาดการส่งเสริม ได้รับการ พัฒนา หรือส่งเสริม ให้มีอาชีพที่มั่นคงขึ้น และ ยั่งยืนขึ้น รายการ “ให้เบ็ด ดีกว่าให้ปลา” มีแนวคิด มาจากการมองสภาพความเป็นจริงของสังคมไทย โดยเฉพาะปัญหาความเสื่อมโทรมและทุกข์ยาก ของพี่น้องมุสลิม หรือครอบครัวเด็กก�ำพร้า แต่ ก็มีคนจ�ำนวนหนึ่งที่ลุกขึ้นสู้ จึงน�ำแนวคิดนัน้ มาผลิตเป็นรายการโทรทัศน์ ด้วยรูปแบบเชิงสร้างสรรค์สงั คมกับความบันเทิง โดยเสนอเรื่องราวชีวิตจริงของบุคคลที่ประสบ ชะตากรรมอันยากล�ำบาก หรือมีฐานะยากจน แต่มีความขยัน อดทน และความใฝ่ฝัน ที่ดีของ ตนเอง ผ่านการคัดเลือกจากจดหมายทางบ้านที่ มีความน่าสนใจเหมาะแก่การออกอากาศ
76
สารศรัทธาชน
โต-ตาล ผู้ชาย 2 คน ที่ก้าวเดินออกไปท่องโลกเพื่อ ค้นหาแรงบันดาลใจ คนหนึ่งเป็น อดีตร๊อคเกอร์ หนุ่มที่แสวงหา หนทางที่จะท�ำให้คนได้เห็นสัจธรรมของชีวิตผ่าน ดนตรี แต่เมื่อค้นพบอิสลามและได้รู้ว่าดนตรีไม่ ช่วยให้คนพบสัจธรรม จึงผันตนเอง ออกจากวงการ เพื่อก้าวสู่ความเป็นผู้ศรัทธาที่แท้จริง กับอีกหนึง่ คน อดีตนายธนาคาร ทีท่ ำ� งานอย่าง หนักจนประสบความส�ำเร็จแต่กลับไม่สามารถแสวงหา ความสุขทีแ่ ท้จริง จนได้พบหนทางทีเ่ ทีย่ งตรงของ อิสลาม จึงก้าวเดินออกจากวงการธนาคาร และ แสดงหาความพอพระทัยจากพระเจ้า ทั้งสอง จะออกเดินทางร่วมกัน ผ่านธรรมชาติ ผู้คน และชุมชน มุสลิม พร้อมน�ำเสนออิสลามใน รูปแบบที่ง่ายและบันดาลใจ
เต็มอิม่ ไปกับสาระดีๆ และความรู้แน่นๆ
จากหลากหลายรายการ หลากหลายนักวิชาการ และหลากหลายพิธีกร
เปิ ดโลกฮาลาล กับยุคสมัยของการกลับมาของค�ำว่า “ฮาลาล” กับสังคมที่ก�ำลังจับตามอง เพื่อเตรียมพร้อมรับ การมาของ AEC เรารู้จัก ฮาลาล ค�ำนี้ แค่ไหน ฮา ลาล ไม่ใช่เพียงเรื่องของ อาหาร แต่คือเรื่องของ เริ่มการวัตถุดิบ การสะอาด การปรุงแต่ง และ ศาสนา มาร่วมรูจ้ กั ค�ำว่า ฮาลาล เพือ่ เตรียมตัวต้อนรับ AEC ทีก่ ำ� ลังก้าวเข้ามา รูก้ อ่ น ย่อมวางแผนได้กอ่ น กับผู้ช�ำนาญการ และนักวิชาการ อาจารย์ไพศาล พรมยงค์ ที่พร้อมจะบอกเล่าเรื่องราว สาระ และ เกร็ดความรู้ และเดินทางไปรู้จักกับโรงงาน และ เจ้าของกิจการ บอกเล่าถึงมุมมอง และเหตุผล ที่ ฮาลาล จ�ำเป็นที่จะต้องมีในสารระบบ
ถามจัง ตอบจริง 100 ข้อข้องใจ 100 ปัญหาที่สงสัย เราจะช่วย หาค�ำตอบให้คุณ พบกับ อ.อับดุลลอฮ์ สุลัยหมัด อ.รอมฎอน คล้ายเจริญ ในรายการ ถามจัง ตอบจริง ทุกคืนวันอังคาร เวลา 20.30 – 22.00 น.
สารศรัทธาชน 77
ซอบาฮุ ้ ลกุรอาน พบกับรายการทีจ่ ะมาสร้างแรงบันดาลใจ จาก เหล่าเยาวชนผูศ้ รัทธาต้อนรับรอมฎอนอันทรงเกียรติ กับรายการ ซอบาฮุล้ กุรอานโดยครูฟารีดา วรรณะ และครูอับดุลการีม แสงทองค�ำ 4 เทปพิเศษ ทุกเช้าวันอาทิตย์ ตั้งแต่เวลา 7.00 - 8.30 น.เริ่ม อาทิตย์ที่ 29 มิถุนายนศกนี้
78
สารศรัทธาชน
มุ ซาบาเกาะห์ ตะฟี ศ้ ลุ กุรอาน ครั้งแรกในประเทศไทย กับรูปแบบรายการ ทดสอบท่องจ�ำกุรอานมุซาบะเกาะห์ ตะฮ์ฟีศุ้ล กุรอาน สุดยอดรายการแห่งปีรอมฎอนนีท้ างยาตีม ทีวี การทดสอบที่คุณผู้ชมทุกท่านไม่ควรพลาด รายการดีๆ ส่งเสริมการท่องจ�ำกุรอาน จัดพิเศษ ในเดือนรอมฎอนนี้ รายการที่จะท�ำให้หัวใจของ ผู้ชม ได้สัมผัส กับบรรยากาศ แห่งเสียงกุรอาน ที่จะดังในค�่ำคืนวันเสาร์ เวลา 22.00-23.30 น.
สารศรัทธาชน 79
80
สารศรัทธาชน
ห.จ.ก. พระรามเกาวัสดุภัณฑ 845/2 ซอยลีวัน ถนนพระราม9 แขงสวนหลวง เขตสวนหลวง กทม. 10250
จำหนายวัสดุกอสราง
อิฐ หิน ปูน ทราย เหล็กเสน เหล็กรูปพรรณ เครื่องมือ อุปกรณกอสราง
โทร. 02-319-3772 / 084-114-4143 แฟกซ. 02-319-8348 e-mail. praram9wassadu@hotmail.com จันทร-เสาร 07.30 น.-17.00 น. อาทิตย 07.30 น.-12.00 น.
สารศรัทธาชน 81
สินธร สเต็กเฮ้าส์ สินธรสเต็กส์เฮ้าส์ ภัตตาคารอาหารนานาชาติ บริการ สเต็กในสไตล์อเมริกนั -ฝรัง่ เศษ และอาหารทัง้ ไทย จีน อาหรับ โดยมีห้องละหมาดสำาหรับลูกค้า และสินธรยังมีบริการบุฟเฟต์ ย่ า งเกาหลี ซึ่ ง มี เ มนุ กว่ า 100 เมนู ให้ เ ลื อ กรั บ ประทาน ในสำาหรับท่านทีช่ นื่ ชอบอาหารทะเล เรามีโซนซีฟดู้ ไว้บริการ กุง้ หอย ปู ปลา สดๆ เป็นๆ ให้ท่านได้ลิ้มรสความอร่อยในราคา
ไม่แพง และยังมีลานจอดรถกว้างขวาง พร้อมให้บริการจอด รถมากกว่า 300 คัน มีพนักงานดูแลและให้บริการเป็นอย่างดี นอกจากนี้ สินธร รับบริการจัดเลีย้ ง งานสัมมาน งานมงคล สมรส งานลีมะห์ งานเลี้ยงปริญญา ประชุมสัมมนา ทั้งในและ นอกสถานที่ ทั้งโต๊ะจีน บุฟเฟต์ พร้อมสิ่งอำานวยความสะดวก ครบครัน ในเรื่องของการจัดเลี้ยงในราคาที่เป็นกันเอง
นุ่มทุกค ำ� ฉ่ำ�ทุกชิ้น
คุณกิตติศักดิ์ (อิสมาแอล) บินซอและฮ์
3331/2 ถนนรามคำาแหง ติดถนนไม่เข้าซอย อยู่ระหว่าง รามคำาแหง 85 กับ 87 หัวหมาก บางกะปิ กรุงเทพฯ 10240 โทร 02-377-7322 แฟกซ์ 02-377-9782
82
สารศรัทธาชน
www.sinthornsteakhouse.com
w w w. r u e n g r i t a c a d e my. c o m
สถาบันออกแบบทรงผมบุรุษ-สตรี เปิดสอนวิชาเสริมสวยด้วยเทคนิดชั้นสูง ระบบคำนวณหลักนิ้ว หลักมิลล์ หลักเรขาคณิต หลักสูตรของโรงเรียน ได้รับรองและอนุมัติ จากกระทรวงศึกษาธิการ
พบกับ เรืองฤทธิ์ แฮร์เดรสซิ่ง อะคาเดมี่ สยามสแควร์ 0-2658-3800 แฟชั่นไอแลนด์ 0-2947-5540-1 และสาขา 3 ชั้น 3 เซ็นทรัลพลาซา แจ้งวัฒนะ ได้แล้ววันนี้ โทร.0-21010-452-3 สารศรัทธาชน 83
84
สารศรัทธาชน