ธรรมจักร สัญลักษณ์แห่งการปฐมเทศนา พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร กรุงเทพมหานคร
CONTENTS LESSON 1 Art history in Thailand Before 19th century Buddhist Pre historical period Thavaravati Srivichai Lopburi Lanna ศิลปะในประเทศไทย เป็นศิลปะที่เกิดขึ้นในดินแดนไทยซึ้งมีมา ตั้งแต่ยุคก่อนประวัติศาสตร์จนกระทั้งถึงปัจจุบัน ก่อให้เกิดงาน ศิลปะอีกมากมาย อีกทั้งยังไม่รับอิ ทธิพลจากศิลปะอินเดีย ที่มี เข้ามามีบทบาทสาคัญที่ทาให้เกิดรูปแบบเฉพาะตนขึ้นสามารถแบ่ง ยุ ค ส มั ย ขอ ง ศิ ล ป ะเพ าะต น ขึ้ น สามารถแบ่ ง ยุ ค สมั ย ของศิ ล ปะใน ประเทศไทยได้ อ อกเป็ น 2 ยุ ค คื อ ศิ ล ปะในประเทศไทยก่ อ นพุ ทธ ศตวรรษที่ 19 และ ศิ ล ปะในประเทศ ไทยหลังพุทธศตวรรษที่ 19
Editor ’s
Lette r
เอกสารประกอบการเรียนการสอนในวิชาศิ ล ปศึก ษา ซึ่งมี เนื้ อหาเกี่ ยวกั บ ประวัติศาสตร์ศิลปะในประเทศไทยที่ได้เรียบเรียงขึ้นและใช้ในการวิจัยเรื่องผลการใช้ เอกสารประกอบการสอนแบบออนไลน์ในแอพพลิเคชั่น อิสสู (ISSUU) ร่วมกับการ จัดการเรียนรู้แบบห้องเรียนกลับด้าน (Flipped Classroom) เรื่อง ประวัติศาสตร์ ศิล ปะในประเทศไทย ชั้นมั ธยมศึ กษาปีที่ 5 โรงเรียนเชียงของวิทยาคม จังหวัด เชียงราย ขอขอบคุ ณ รศ.วัชริน ทร์ ศรีรัก ษา และ ผศ.ดร.ศิ ริพ งษ์ เพี ยศิ ริ อาจารย์คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ที่ได้ให้คาแนะนา คาปรึกษาตลอด การจัดทาเอกสารประกอบการสอนนี้ และหวังว่าผู้อ่านจะได้ความรู้ และสามารถ นาไปใช้ทั้งในการเรียนแล้วเป็นประโยชน์ในชีวิตประจาวันได้ ถ้ามีข้อผิดพลาดประการ ใดขออภัย มา ณ ที่นี้ด้วย เกียรติศกั ดิ์ ต้าวก๋า
แหล่งค้นพบโบรารสถานบ้านเชียง ศิลปะเครื่องปั้นดินเผา ที่มาภาพ wikimedia.org/wikipedia/commons/7/79/Ban_Chiang_excavations.jpg
Pre historical period ศิลปะในยุคก่อนประวัติศาสตร์
ก่อนที่อารยธรรมของอินเดีย จะได้เผยแพร่มีอิทธิพลขยาย เข้ าม าใน ดิ น แด น ป ร ะเท ศ ไท ย ทั้ ง ท าง ด้ าน ศ าส น าแล ะ ศิลปวัฒนธรรมสู่ดินแดนเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เดิมทีในภูมิภาค นี้นั้นได้มีอารยธรรมในยุค ก่อนประวัติศาสตร์ มาแล้วหลายพันปี ตามหลักฐานที่ได้ขุดพบโบราณวัตถุ เครื่องใช้ต่าง ๆ
แหล่งโบราณคดีบ้านเชียง เป็นแหล่งโบราณคดีสาคัญแห่ง หนึ่ง อยู่ที่อาเภอหนองหาน จังหวัดอุดรธานีที่ ทาให้รับรู้ถึงการดารงชีวิต ในสมัยก่อนประวัติศาสตร์ย้อนหลังไปกวา 5,000 ปี ร่องรอยของมนุษย์ ในประเทศไทยสมัยดังกล่าว แสดงให้เห็นถึงวัฒนธรรมที่มีพัฒนาการแล้วใน หลายๆ ด้านโดย เฉพาะด้านความรู้ความสามารถหรือภูมิปัญญา อันเป็น เครื่องมือสาหรับช่วยให้ผู้คนเหล่านั้นสามารถดารงชีวิตและสร้างสังคมและ วั ฒ นธรรมของมนุ ษ ย์ ได้ สื บ เนื่ อ งต่ อ กนมาเป็ น ระยะเวลายาวนาน วั ฒ น ธรรมบ้ า นเชี ย งได้ ค รอ บค ลุ มถึ งแหล่ งโบ ราณ คดี ใ น ภ าค ตะวันออกเฉียงเหนืออีกกว่ าร้อยแห่ง ซึ่งเป็นบริเวณที่ มีมนุษย์อยู่อาศัย หนาแน่นมาหลายพันปีแล้ว
รูปปั้นสตรีห้าคนกาลังเล่นดนตรี ศิลปะทวารวดีราว พ.ศ.1100-1400 พบจากโบราณสถานหมายเลข 10 เมืองคูบัว จ.ราชบุรี
เหรียญเงิน ศิลปะทวารวดี พบที่ จ.นครปฐม "ศรีทวารวดี ศวรปุณยะ“ แปลว่า "พระเจ้าศรีทวารวดีผู้มีบุญอันประเสริฐ"
Tha-va-ra-va-ti ศิลปะในยุคทวารวดี
ตามจดหมายเหตุของนักพรตจีนที่ชื่อว่า เหี้ยนจัง (Hiuan Tsang) ได้ ก ล่ า วว่ า ระหว่ า งประเทศ กั ม พู ช าและประเทศพม่ า มี อาณาจั ก รแห่ ง หนึ่ ง มี ชื่ อ ว่ า โทโลโปตี้ (Tolopoti) หรื อ ทวารวดี นั่นเอง โดยเข้าใจกันว่าศูนย์กลางของอาณาจักรทวารวดี อยู่ที่ นครปฐม โดยมีเมืองต่าง ๆ ร่วมสมัยอยู่หลายเมือง เช่น ราชบุรี สุพรรณบุรี กาญจนบุรีลพบุรี กาฬสินธ์ เมืองทั้งหลายดังกล่าว แล้วนี้มีการค้นพบ ศิลปวัตถุ และโบราณสถานสมัยทวารวดีเป็ น จานวนมาก
งานประติมากรรมที่พบในศิลปะทวารวดี ได้แก่พระพุทธรูป พระพิมพ์ เครื่องปูนปั้น ดินเผาและมีทั้งประทับนั่ง และยืนลักษณะ ของพระพุทธรูปสมัยทวารวดีมีลักษณะที่สาคัญ ดังนี้ มีขมวด พระเกศใหญ่พระพักตร์แบบพระขนงทาเป็นเส้นนูนโค้งติดต่อกัน ดังรูปปีกกา พระเนตรโปนพระนาสิก แบน พระโอษฐ์แบะและใหญ่ พระหั ต ถ์ และพระบาทใหญ่ ส าหรับ พระพิ ม พ์ เริ่ม มี ขึ้น ในอิ น เดี ย เพื่อเป็นที่ระลึกว่าประชาชนอินเดียที่นับถือพุทธศาสนา ได้ไปบูชา สังเวชนียสถาน ในพุทธศาสนา แต่ต่อมา ประชาชนอินเดีย ที่นับ ถื อ พุ ท ธศาสนาได้ ส ร้ า งขึ้ น ไว้ เป็ น ที่ เคารพบู ช า และเพื่ อ ให้ พระพุทธรูปและพระธรรม อันเป็นหัวใจศาสนาปรากฏอยู่ ดังนั้น คนในสมัยโบราณจึงชอบสร้างพระพิมพ์ เป็นจานวนมากเพื่ อ บรรจุไว้ในเจดียสถานเป็นการสืบอายุ พระพุทธศาสนา พระพิมพ์ สมัยทวาราวดีชอบสร้างด้วยดินเผา
พระพุทธศรีทวารวดี สิริราชภัฏ พระพุทธรูปประจามหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม ที่สร้างตามแบบศิลปะทวารวดี
ภาพสลักที่ผนังถ้า ที่ถ้าพระโพธิสัตว์ อาเภอแก่งคอย จังหวัดสระบุรี เป็นภาพเล่าเรื่องขนาดใหญ่ ซ้ายสุดเป็นภาพพระพุทธเจ้าศรีศายกมุนีประทับ นั่งห้อยพระบาทแบบยุโรป แสดงวิตรกะ 2 พระหัตถ์ พนักนั่งเป็นสิงห์ คนที่ ยืน คือ พระนารายณ์ มี 4 กร มือขวาบนถือจักร มือซ้ายบนถือสังข์ 2 มือล่างกอดอก บุคลที่ด้านบนศีรษะมีพระจันทร์เสี้ยวคือพระอิศวร ถักเส้น ผมเป็นรอนๆ มีเทวดาเหาะลงมาและมีคนก้มหน้า การที่พระนารายณ์กอดอก เรียกว่า“สวัสดิกะมุธา” คือ การแสดงความเคารพอย่างสูงสุด เทพจะไม่ ไหว้กัน เป็นภาพเล่าเรื่องที่ต้องการแสดงว่าศาสนาพุทธอยู่เหนือศาสนา พราหมณ์ ผู้ที่สร้างภาพนี้คือผู้ที่นับถือพุทธมหายาน ทาให้ทราบว่ามีพุทธ ศาสนาแบบมหายานแทรกอยู่ในพุทธศาสนาแบบหินยาน
เป็ น ฐานสี่ เหลี่ ย มซึ่ ง สั น นิ ฐ านว่ า น่ า จะเป็ น ฐานธรรมจั ก ร พบที่ นครปฐม มีพระพุทธเจ้าอยู่ตรงกลาง นั่งแบบยุโรป มีพระอินทร์และพระ พรหมขนาบข้าง ด้านข้างขวามือถักผมคล้ายเป็นนักบวช ซายเป็นกลุ่ม บุ ค คลที่ โกนศี ร ษะ ซึ่ ง เป็ น ตอนที่ พ ระพุ ท ธเจ้ าทรงปฐมเทศนาที่ ป่ าอิ สิ มฤคทายวัน โดยเทศนาโปรดปัญจวคี ทั้งห้าภาพทางขวา เมื่อฟังคาสั่ง สอนแล้วจึงโกนศีรษะเป็นภาพกลุ่มบุคคลทางซ้าย
Architecture û สถาปั ตยกรรมของทวารวดีมีอ ยู่น้ อยส่ วยใหญ่ เหลื อเพี ยงฐาน เจดีย์ ซึ่งวัฒนธรรมของชาวพื้นที่ลุ่ม ไม่มีหินขนาดใหญ่แบบเขมร เราใช้ อิฐ ซึ่งเป็นพุทธศาสนาแบบเถรวาทซึ่งยึดถึงหลักธรรมสถาปัตยกรรม ส่วนฐานมีการเรียกต่างกัน เช่น ยกเกร็ด ฐานเจดีย์มีถือว่าใหญ่ที่สุด รองจากพระปฐมเจดีย์ คือ วัดพระเมรุ มี ฐ านบั ว พบพระพุ ท ธรู ป ทวารวดี สี่ ทิ ศ องค์ ที่ เป็ น ศิ ล าเขี ย วน่ าจะคง ประดิษฐานในวิหารซึ่งใกล้เคียงกับพุกามและ แคว้นเบงกลอ เจดีย์สมัยทวารวดี มีฐาน ฉัตรทาเป็นชั้นๆ เป็นเจดีย์ทรงปราสาท ที่ ฐานมีจารึกที่คอระฆัง การพบชิ้นส่วนแบบนี้ทาให้ทราบว่าในสมัยทวารวดี นิยมทาเจดีย์ทรงปราสาท
ส่วนคอของเจดีย์สมันทวาร วดี พบอัก ษรปัล ลวะ ภาษา บาลี เป็ น คาถาเยธั ม มา จึ ง แสดงให้เห็นชัดว่า ศิลปะทว่าร วดีได้รับอิทธิผลมาจากศิลปะ อินเดีย
รูปจาลองของพระปฐม เจดีย์โดยมีการบูรณะขึ้น ครอบองค์เดิมโดยองค์ เดิมเป็นแบบศิลปะอินเดีย
ศิลปะในสมัยศรีวิชัย
Sri-vi-chai ศรีวิชัยเป็นชื่ออาณาจักรที่เจริญรุ่งเรืองมาก ในหมู่เกาะอินโดนีเซีย ได้ปกครองสุมาตรา ชวา มาลายู และดินแดนบางส่วน ทางภาคใต้ของ ไทย ดังนั้นศิลปกรรมที่เกิดขึ้นทางภาคใต้ ของไทยในขณะนั้น จึงได้ว่า ศิ ล ปะแบบศรีวิชัย แต่ ก็ มี ก ารถกเถี ยงกั น มากระหว่างนั ก โบราณคดีและ ประวัติศาสตร์ว่า อาณาจักรศรีวิชัยมีศูนย์กลางอยู่ที่ใดกันแน่ ระหว่าง เมื อ งไชยา จั ง หวั ด สุ ร าษฎร์ ธ านี ของไทยกั บ เมื อ งปาเล็ ม บั ง ในเกาะ สุมาตรา
ประติ ม ากรรมในศิ ล ปะศรี วิ ชั ย ที่ พ บใน อ าเภอไชยาจั ง หวั ด สุ ร าษฎร์ ธ านี จั ง หวั ด นครศรีธรรมราช และอาเภอสทิงพระ จังหวัด สงขลา ส่วนใหญ่สร้างเนื่องในพุทธศาสนาลัทธิ ม ห าย าน โด ย ท าด้ ว ย ส าริ ด แล ะแล ะศิ ล า ประติ ม ากรรมที่ ค้ น พบได้ รั บ อิ ท ธิ พ ลศิ ล ปะ อินเดีย แบบคุปตะ แบบปาละ – เสนะและศิลปะชวา กลาง นิ ย มท ารู ป พระโพธิ์ สั ต ว์ อ วโลกิ เตศวร พระโพธิสัตว์ปัทมปาณี พระโพธิสัตว์วัชรปาณี เป็นต้น นอกจากประติมากรรมที่กล่าวข้างต้นยัง พบพระพิ ม พ์ ที่ ท าด้วยดินดิบ เป็ น จ านวนมาก ตามถ้าต่าง ๆ ในจังหวัดยะลา ปัตตานี พัทลุง สุราษฎร์ธานีและนครศรีธรรมราช พระพิมพ์ดิน ดิ บ เหล่ านี้ ด้ านหลั ง มี จ ารึ ก คาถา เย ธมฺ ม า ฯ เป็ น ภาษาสั น สกฤตตั วอั ก ษรเป็ น แบบ อิ น เดี ย เหนือ หรือชวาโบราณ
Architecture รป
สถาปัตยกรรมแบบศรีวิชัย ทางตอนใต้ของไทยมีมากที่อาเภอไชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี โบราณสถานเหล่านี้สร้างด้วยอิฐส่วนใหญ่ พังทลาย ไป ที่เหลืออยู่คือ พระบรมธาตุไชยา ซึ่งมีลักษณะคล้ายกับจันฑิ ในศิลปะแบบ ชวาภาคกลาง
ศิลปะในสมัยลพบุรี
Lop-bu-ri ใน ศิ ล ป ะล พ บุ รี ได้ มี ก าร ค้ น พ บ ป ร ะติ ม าก ร ร ม แล ะ ส ถ า ปั ต ย ก ร ร ม ได้ แก่ เมื อ ง ล พ บุ รี แล ะ ท า ง ภ า ค ตะวันออกเฉียงเหนือ เช่น นครราชสีมา บุรีรัมย์ สุรินทร์ เป็นต้น ซึ่งมีรูปร่างลักษณะคล้ายกับประติมากรรมและสถาปัตยกรรม ของ ขอมในประเทศกัมพูชามาก ศิลปะขอมได้รับอิทธิพลจากอินเดียและ ได้ปรับปรุงเปลี่ยนแปลง จนมีลักษณะเป็นของตนเอง ศิลปะขอมมี ทั้งที่ทาขึ้นในศาสนาพุทธ และศาสนาพราหมณ์ ถ้ากษัตริย์องค์ใด นับถือพุทธศาสนาจะสร้างศิลปะ ในพุทธศาสนา ถ้ากษัตริย์องค์ใด นับถือศาสนา พราหมณ์ ก็จะสร้างศิลปะในศาสนาพราหมณ์ ศิลป ขอมได้แผ่เข้ามาทางภาคกลาง ภาคตะวันออกเฉียงเหนือของไทย โดยเฉพาะที่ลพบุรีหรือละโว้ ว่ากันว่าขอมส่งอุปราชเข้ามาปกครอง ดังนั้นลพบุรีจึงใช้เป็นชื่อศิลปะลักษณะนี้ คาว่าศิลปะลพบุรีนั้นใช้ รวมถึงโบราณสถานขอมซึ่งค้นพบในประเทศไทยด้วย
Sculpture û ลั ก ษณ ะพระพุ ท ธรู ป สมั ย ลพบุ รี มี หน้ าผากกว้ าง คางเป็ น เหลี่ ย ม ปากแบะริ ม ฝีปากหนา พระขนงนูนเป็นสัน พระนาสิกโค้ง และยาว พระหณุเป็นปมป้านไรพระศกที่ต่อกับ พระนลาฏหนาโต อุณหิศใหญ่ เป็นรูปฝาชี มี ลวดลายคล้ายมงกุฎเทวรูป มีทั้งพระพุทธรูป ป ร ะทั บ นั่ ง แล ะยื น ใน ส มั ย นี้ ชอ บ ส ร้ า ง พระพุ ท ธรู ป นั่ ง ขั ด สมาธิ นาคปรกกั น มาก พระพุ ทธรูป มีทั้งหล่ อด้วยสั มฤทธิ์ และสลั ก ด้ ว ยศิ ล า ส าหรั บ พระพุ ท ธรู ที่ ห ล่ อ ด้ ว ย สั ม ฤทธิ์ มั ก ชอบหล่ อ เป็ น พระพุ ท ธรูป องค์ เดี ย ว หรื อ หลายองค์ อยู่ เหนื อ ฐานอั น เดียวกันนอกจากนี้ก็ยังมีพระโพธิสัตว์อวโลกิ เตศวร หรือนางปัญญาบาร มีเทวรูปก็มี เช่น พระอิ ศ วร พระนารายณ์ นอกจากนี้ ก็ ยังมี พระพิมพ์ ทั้งที่สร้างด้วย ดินเผาและโลหะ พระ พิ มพ์ สมั ย นี้ มั ก มี รู ป พ ระปรางค์ เข้ า มา ประกอบเสมอ
Architecture û ปราสาทหินพิมาย อุทยานประวัติศาสตร์พิมาย อาเภอพิมาย จังหวัดนครราชสีมา สร้างโดย พระเจ้าชัยวรมันที่ 7
สถาปัตยกรรมมนศิลปะลพบุรี โบราณสถานในสมัยลพบุรี มักก่อสร้างด้วยหินทราย ศิลาแลง และอิฐสร้างขึ้นทั้งในศาสนา พราหมณ์ และศาสนาพุ ท ธ ที่ ส าคั ญ ได้ แก่ ปรางค์ ส ามยอด จังหวัดลพบุ รี ปรางค์แขก จั งหวัดลพบุ รี ปราสาทหิน พิ ม าย อาเภอพิมายจังหวัดนครราชสีมา ปราสาทหินศรีขรภูมิ จังหวัด สุรินทร์ ปราสาทหินพนมรุ้งจังหวัดบุรีรัมย์ ปราสาทเมืองต่า จังหวัดบุรีรัมย์
ปราสาทหินพนมรุ่ง อุทยานประวัติศาสตร์พนมรุ้ง อาเภอเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดบุรีรัมย์
สร้ า งขึ้ น สมั ย นครวั ด บน ภูเขาไฟที่ดับแล้ว เพื่อถวายแก่พระ ศิ ว ะ หั น หน้ า ไปทิ ศ ตะวั น ออก มี ทางด าเนิ น และสะพาน นาคราช ทอดยาวเพื่ออานวยความสะดวก แก่การขึ้นสู่ศาสนสถานมีเสานาง เรียง ตั้งอยู่ 2 ข้างทาง ปราสาท ประธานล้อมรอบด้วยระเบียงคด
พระปรางค์ ส ามยอด สร้ างสมั ย บายน โดยพระเจ้าชัยวรมันที่ ๗ เนื่องในพุทธศาสนา มหายาน เรี ย กว่ า รั ต นไตรมหายาน พระ ปรางค์องค์ประดิษฐานพระพุทธรูปปางนาค ปรก ด้านขวาประดิษฐานพระโพธิสัตว์อวโลกิ เตศวร ด้านซ้าย ประดิษฐานนางปรัชญาปาร มิตรา ซึ่งลักษณะนี้มี ความนิยมในการสร้าง พระพิ ม พ์ เช่ น พระพิ ม พ์ ที่ พ บในกรุ พ ระ ป ร า ง ค์ วั ด ร า ช บู ร ณ ะ จั ง ห วั ด พระนครศรีอยุธยา
พระปรางค์สามยอด
ภาพจากละครเรื่อง นาคี แต่งการตามศิลปะขอมประยุกค์
Lan-na ศิลปะในlสมัยล้านนา
ศิลปะล้านนา หรือ ศิลปะเชียงแสน มี ลักษณะเก่าแก่ มาก คาดว่ามีการสืบทอดต่อเนื่องของศิลปะทวาราวดี และ ลพบุรี ในดินแดนแถบนี้มาตั้งแต่สมัยหริภุญชัย ศูนย์กลาง ของศิลปะ ล้านนาเดิมอยู่ที่เชียงแสน เรียกว่าอาณาจักร โยนก ต่อมาเมื่อพญามังรายได้ย้ายมาสร้างเมืองเชียงใหม่ ศูนย์กลางของของอาณาจักรล้านนาอยู่ที่เมืองเชียงใหม่
วัดพระธาตุดอยสุเทพราชวรวิหาร จังหวัดเชียงใหม่
การแต่ งการเลียบแบบพระบรมราชานุสาวรีย์ สาม กษัตริย์เป็นพระบรมราชานุสาวรีย์ของพระมหากษัตริย์ ไทย 3 พระองค์ ผู้สร้างเวียงเชียงใหม่ คือ พญามังราย พญางาเมือง และพ่อขุนรามคาแหงมหาราช
Sculpture û พระพุทธรูปในศิลปะล้านนาเป็นพระพุทธรูป สิงห์ แบบเชียงแสน แบ่งออกเป็น 2 รูปแบบ คือ พระพุ ท ธรู ป สิ ง ห์ 1 มี ลั ก ษณะประทั บ นั่ ง ขั ด สมาธิ เพชร เห็ น ฝ่ า พระบาททั้ ง สองข้างพระพักตร์กลม อม ยิ้ ม ขมวด พ ระเกศาใหญ่ รัศมีดอกบัวตูม พระวรกาย อวบอ้ ว นชายสั ง ฆาฏิ สั้ น เหนือพระถัน พระพุ ท ธรู ป สิ ง ห์ 2 มี ลักษณะประทับขัดสมาธิราบ พระพั ก ตร์ รู ป ไข่ ขมวดพระ เกศาเล็ก รัศมีเป็นเปลว พระ วรกายบอบบาง พระอั งสา ใหญ่ เอวเล็ ก ชายสั ง ฆาฏิ เส้นเล็กยาวมาจนถึงพระนาภี ได้รับอิทธิพลสุโขทัย
พระพุทธสิหิงค์ รูปแบบเชียงแสงสิงค์ 1 วิหารลายคา วัดพระสิงห์วรมหาวิหาร จังหวัดเชียงใหม่
พระพุทธสิหิงค์ ที่อยู่ในประเทศไทยที่ถือเป็นองค์จริงมี 3 องค์ คือ พระพุทธสิหิงค์ ที่วิหารลายคา ที่วัดพระสิงห์ เชี ย งใหม่ , พระพุ ท ธสิ หิ ง ค์ ที่ พ ระที่ นั่ ง พุ ท ไธสวรรค์ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร กรุงเทพมหานคร และ พระพุ ท ธสิ หิ ง ค์ ที่ น ครศรี ธ รรมราช พระพุ ท ธสิหิ งค์ คื อ พระพุทธรูปที่สร้างขึ้นตามตานาน ตานานไปที่ไหนก็จะสร้าง พระพุทธรูปตามสกุลช่างนั้น ตานานพระพุทธสิหิงค์ เกิดขึ้น ที่ ลั ง ก า แล้ วม าที่ น ค ร ศ รี ธร ร ม ร าช ขึ้ น ม าที่ ล ะโว้ กาแพงเพชร แล้วไปล้านนาตานานในภาคเหนือผู้ที่ค้นพบพระ สิงห์คือท้าวมหาพรหม อยู่ในช่วงต้นพุทธศตวรรษที่ 20 พระพุทธสิหิงค์ที่วัดพระสิงห์เศียรถูกตัดหายไปมีการสร้าง ขึ้ น ใหม่ มี พ ระพุ ท ธสิ หิ ง ค์ ที่ พิ พิ ธ ภั ณ ฑสถานแห่ ง ชาติ เชียงใหม่ เป็นพระพุทธรูปที่อยู่ในวิหารลายคาคู่กับพระพุทธ สิหิงค์ที่ถูกตัดเศียรไป มีขนาดและสัดส่วนเท่ากัน จึงมีข้อสัน นิ ฐ านว่ าน่ า ตาของพระพุ ท ธสิ หิ ง ค์ ที่ ถู ก ตั ด เศี ย รไปคงมี หน้ า ตาเหมื อ นองค์ ที่ อ ยู่ ในพิ พิ ธ ภั ณ ฑสถานแห่ ง ชาติ เชียงใหม่
Painting ปู่ ม่ า นย่ า ม่ า น หรื อ หนุ่ ม กระซิ บ เป็ น ภาพจิ ต รกรรมฝา ผนั ง ภายในวั ด ภู มิ น ทร์ จั ง หวั ด น่าน อันเป็นผลงานของหนานบัว ผัน จิตรกรพื้นถิ่นเชื้อสายไทลื้อ ซึ่ ง ได้ รั บ ก าร ย อ ม รั บ ว่ าเป็ น ผลงานที่ปราณี ต และเป็นภาพที่ โดดเด่นประจาวัดภูมินทร์ โดยเป็น ภาพชายหญิงคู่หนึ่งกาลังกระซิบ สนทนา และมีชื่อเสียงว่าเป็นภาพ "กระซิบรักบันลือโลก"
Architecture û วัดมหาโพธาราม หรือ วัดเจ็ดยอด จังหวัดเชียงใหม่ สร้ างในสมั ย พระเจ้ าติ โลกราช สาเหตุ ที่ เรี ย กวั ด เจ็ ด ยอด เนื่องจากมีเจดีย์เจ็ดองค์เรียงอยู่ ด้านบน พระเจ้าติโลกราช โปรดให้สร้างวัดนี้โดยให้ช่างไปถอดแบบมาจากเจดีย์พุทธคยา ที่ตรัสรู้ของพระพุทธเจ้า รูปแบบจึงต่างไปจากเจดีย์อื่น ๆ ในล้านนา และ วัดนี้ยังมีต้นพระศรีมหาโพธิ์ปลูกอยู่ด้านหลัง ด้วยนอกจากนี้ พระเจ้าติโลกราชยังโปรดให้สร้าง สัตมหา สถาน ภายในวัดเป็นการจาลองสถานที่ทั้ง 7 แห่งที่เกี่ยว พันธ์กับพระพุทธเจ้าภายหลังจากตรัสรู้ การสร้างวัดเจ็ด ยอดเป็ น การฉลองพุ ท ธศาสนาครบ 2,000ปี และ ในปี 2020 มี ก ารสั ง ฆยนาพระไตรปิ ฎ กที่ วั ด นี้ ด้ ว ย ถื อ เป็ น การสังฆยนาครั้งแรกในไทยและครั้งที่ 8 ในโลก ลวดลายปูน ปั้นที่องค์เจดีย์เป็นเทวดาในท่านั่งและยืน เป็นศิลปะลังกา ซึ่งดู ได้จากการนุ่งผ้า เครื่องทรง การพนมมือ การแบ่งเสาที่ คล้ายตัวอาคารวิหาร ส่วนลายดอกไม้เป็นดอกโบตั๋นของ จีน
เจดีย์ทรงระฆังแบบล้านนา เจดี ย์ พ ระธาตุ ห ริ ภุ ญ ชัย เป็ น เจดี ย์ ทรงสูงเพรียว และเหตุที่เรียกกันว่า เจดีย์ ทรงระฆั ง แบบล้ า นนา เพราะมี รู ป แบบที่ เด่นชัดมากตามแบบศิลปะล้านนา ลักษณะ ส าคั ญ คื อ ฐานสี่ เหลี่ ย มเพิ่ ม มุ ม (หรื อ เรียกว่า ฐานยกเก็จ) ต่อขึ้นไปเป็นฐานใน ผังกลมซ้อนลดหลั่นกันจานวน ๓ ฐาน ชุดฐานดังกล่าวรองรับทรงระฆัง ซึ่งมี ทรงกรวยเป็นส่วนยอด ในบางตานานระบุ สมัยที่สร้างพระธาตุเจดีย์องค์นี้ว่ามีความ เก่ า แก่ ม า ก โด ย ผ่ า น ก า ร บู ร ณ ะ เปลี่ยนแปลงมาเป็นลาดับ
บทสรุป
conclusion ผื น แผนดิ น ประเทศไทยในอดี ต มี ม นุ ษ ย์ อาศัยอยู่ รวมกันเป็นกลุ่มชนมาตั้งแต่ยุคก่อ น ประวั ติ ศ าสตร์ และมี วิ วั ฒ นาการล่ ว งเลยเข้ าสู่ ส มั ย ป ร ะวั ติ ศ าส ต ร์ เมื่ อ ได้ รั บ นั ก ถื อ พระพุทธศาสนาตามแบบอย่างอินเดียจนมีการ พัฒ นาการทางความคิด ความเชื่อศรัทธาและ แสดงออกมาในรูปแบบของงานศิลปกรรม ก่อ เกิดเป็นความหลายหลายทางวัฒ นธรรมและมี ลั ก ษณ ะประจ าในแต่ ล ะท้ อ งถิ่ น บ้ า งมี ก าร ผสมผสานระหว่างกลุ่มชนหรือสังคมแต่ละกลุ่ม เป็ น เครื่ อ งสะท้ อ นถึ ง การมี ป ฏิ สั ม พั น ธ์ ต่ อ กั น ของผู้คน
BY KIATTISAK T.