ภูมิสารสนเทศสถิติ (GIS)

Page 1

http://www.adultpdf.com Created by Image To PDF trial version, to remove this mark, please register this software.


ภูมิสารสนเทศสถิติ(GIS) สํามะโนประชากรและเคหะ พ.ศ.2553 (ผลเบื้องต้นด้านประชากร)

สํานักงานสถิติแหงชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร


หน่วยงานที่เผยแพร่

ปีที่จัดพิมพ์ ISBN จัดพิมพ์โดย

สํานักสถิติพยากรณ์ สํานักงานสถิติแห่งชาติ ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา อาคาร B ชั้น 2 ถนนแจ้งวัฒนะ เขตหลักสี่ กรุงเทพฯ 10210 โทรศัพท์ 0 2143 1323 โทรสาร 0 2143 8132 ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ : services@nso.go.th 2554 978–974–11–3060-3 ห้างหุ้นส่วนจํากัด เฟรม-อัพ ดีไซน์ 1/4 หมู่ 12 ซ.ร่วมสามัคคี ถ.สุขุมวิท 103 แขวงดอกไม้ เขตประเวศ กรุงเทพฯ 10250

หน่วยงานเจ้าของเรื่อง กลุ่มภูมิสารสนเทศสถิติ ศูนย์สารสนเทศยุทธศาสตร์ภาครัฐ สํานักงานสถิติแห่งชาติ โทรศัพท์ 0 2143 1298 โทรสาร 0 2143 8118 ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ : ruam@nso.go.th


คํานํา สํานักงานสถิติแห่งชาติ ได้จัดทําสํามะโนประชากรและเคหะทุก 10 ปี เพื่อเก็บรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับ จํา นวนและลัก ษณะของประชากรทุก คนในทุกพื้นที่ข องประเทศไทย ตลอดจนลัก ษณะของที่อยู่อ าศัย โดยครั้ง ล่า สุด ได้จัด ทํา ในเดือ นกัน ยายน พ.ศ. 2553 และเผยแพร่ร ายงานผลเบื้อ งต้น ในระดับ จัง หวัด สําหรับผู้ต้องการใช้ข้อมูลพื้นฐานทางประชากรล่วงหน้าก่อน ในช่วงต้นปี 2554 รายงานภู มิ ส ารสนแทศสถิ ติ (GIS) ฉบับ นี้ เป็น รายงานที่พั ฒ นาขึ้น ในการนํา เสนอข้ อ มูล สถิติ ในลักษณะของสารสนเทศเชิงภูมิศาสตร์ หรือเรียกง่าย ๆ ว่า ภูมิสารสนเทศสถิติ โดยใช้เทคโนโลยีระบบ สารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS : Geographic Information System) เพื่อประโยชน์และสะดวกต่อผู้ใช้ในการ ศึกษาวิเคราะห์ลักษณะการเปลี่ยนแปลงของประชากรในเชิงพื้นที่ โดยการแปลความหมายในเบื้องต้นจากแผนที่ ด้วยสายตา จึงช่วยให้เข้าใจได้ง่ายและสะดวก ก่อนจะศึกษาวิเคราะห์ลงไปในรายละเอียดในแต่ละพื้นที่ เนื้อหาของรายงาน ประกอบด้วย 2 ส่วน คือ ส่วนแรกเป็นแผนที่สถิติต่าง ๆ ของจังหวัดทั่วประเทศ และแผนที่สถิติของภาคต่าง ๆ ปีสํามะโน 2553 พร้อมทั้งเปรียบเทียบกับแผนที่สถิติต่าง ๆ ปีสํามะโน 2523 2533 และ 2543 ตลอดจนบทวิเคราะห์อธิบายแผนที่ ส่วนที่ 2 เป็นตารางสถิติข้อมูลของปีสํามะโนดังกล่าว รวมทั้งคํานิยาม สํานักงานสถิติแห่งชาติ หวังเป็นอย่างยิ่งว่า รายงานฉบับนี้จะเป็นประโยชน์ต่อผู้ใช้ข้อมูลทุกระดับ ทั้งภาครัฐ เอกชน และประชาชน

สํานักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร


สารบัญ หน้า คํานํา สารบัญ 1. ลักษณะภูมิประเทศ เขตการปกครองและพื้นที่

1

1.1 ลักษณะภูมิประเทศ

1

1.2 การแบ่งเขตการปกครอง

1

1.3 พื้นที่ของประเทศ

2

2. ลักษณะของประชากร

3

2.1 จํานวนประชากรตามภาค

3

2.2 เปรียบเทียบประชากรตามภาค ( ปี 2523 - 2553)

6

2.3 ข้อมูลพื้นฐานด้านประชากรรายจังหวัด

13

3. ข้อมูลพื้นฐานด้านประชากร ภาคเหนือ

35

4. ข้อมูลพื้นฐานด้านประชากร ภาคกลาง

55

5. ข้อมูลพื้นฐานด้านประชากร ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

75

6. ข้อมูลพื้นฐานด้านประชากร ภาคใต้

95

ภาคผนวก ตารางสถิติ คํานิยาม

115 – 145 146


สารบัญแผนที่ หน้า แผนที่ 1 แผนที่ประเทศไทย

1

แผนที่ 2 พื้นที่ประเทศไทยรายจังหวัด

2

แผนที่ 3 จํานวนประชากรและสัดส่วนเพศ รายภาค ปี 2553

4

แผนที่ 4 จํานวนและขนาดของครัวเรือน รายภาค ปี 2553

5

แผนที่ 5 จํานวนประชากร รายภาค ปี 2523 – 2553

7

แผนที่ 6 อัตราการเพิ่มของประชากรเฉลี่ยต่อปี รายภาค ปี 2513 - 2553

8

แผนที่ 7 ความหนาแน่นของประชากร รายภาค ปี 2523 - 2553

9

แผนที่ 8 ประชากรในเขตเทศบาล รายภาค ปี 2523 - 2553

10

แผนที่ 9 จํานวนครัวเรือน รายภาค ปี 2523 - 2553

11

แผนที่ 10 ขนาดของครัวเรือน รายภาค ปี 2523 – 2553

12

แผนที่ 11 จํานวนประชากร ปี 2553

14

แผนที่ 12 จํานวนประชากร ปี 2523 – 2553

15

แผนที่ 13 จังหวัดที่มีประชากร 1,000,000 คนขึ้นไป

16

แผนที่ 14 จังหวัดที่มีประชากรน้อยกว่า 300,000 คน

17

แผนที่ 15 อัตราการเพิ่มของประชากรเฉลี่ยต่อปี ปี 2543 - 2553

18

แผนที่ 16 อัตราการเพิ่มของประชากรเฉลี่ยต่อปี ปี 2513 - 2553

19

แผนที่ 17 อัตราส่วนเพศ (ชายต่อหญิง 100 คน) ปี 2553

20

แผนที่ 18 จังหวัดที่มีเพศชายมากกว่าหญิง ปี 2523 – 2553

21

แผนที่ 19 ความหนาแน่นของประชากร ปี 2553

22

แผนที่ 20 ความหนาแน่นของประชากร ปี 2523 – 2553

23

แผนที่ 21 ประชากรในเขตเทศบาล ปี 2553

24

แผนที่ 22 ประชากรในเขตเทศบาล ปี 2523 - 2553

25

แผนที่ 23 ประชากรนอกเขตเทศบาล ปี 2553

26

แผนที่ 24 ประชากรนอกเขตเทศบาล ปี 2523 - 2553

27


สารบัญแผนที่ (ต่อ) หน้า แผนที่ 25 จํานวนครัวเรือน ปี 2553

28

แผนที่ 26 จํานวนครัวเรือน ปี 2523 - 2553

29

แผนที่ 27 ขนาดครัวเรือน ปี 2553

30

แผนที่ 28 ขนาดครัวเรือน ปี 2523 - 2553

31

แผนที่ 29 จํานวนประชากร ภาคเหนือ ปี 2553

36

แผนที่ 30 จํานวนประชากร ภาคเหนือ ปี 2523 – 2553

37

แผนที่ 31 อัตราการเพิ่มของประชากรเฉลี่ยต่อปี ภาคเหนือ ปี 2543 - 2553

38

แผนที่ 32 อัตราการเพิ่มของประชากรเฉลี่ยต่อปี ภาคเหนือ ปี 2513 - 2553

39

แผนที่ 33 อัตราส่วนเพศ(ชายต่อหญิง 100 คน) ภาคเหนือ ปี 2553

40

แผนที่ 34 อัตราส่วนเพศ(ชายต่อหญิง 100 คน) ภาคเหนือ ปี 2523 - 2553

41

แผนที่ 35 ความหนาแน่นของประชากร ภาคเหนือ ปี 2553

42

แผนที่ 36 ความหนาแน่นของประชากร ภาคเหนือ ปี 2523 - 2553

43

แผนที่ 37 ประชากรในเขตเทศบาล ภาคเหนือ ปี 2553

44

แผนที่ 38 ประชากรในเขตเทศบาล ภาคเหนือ ปี 2523 - 2553

45

แผนที่ 39 ประชากรนอกเขตเทศบาล ภาคเหนือ ปี 2553

46

แผนที่ 40 ประชากรนอกเขตเทศบาล ภาคเหนือ ปี 2523 - 2553

47

แผนที่ 41 จํานวนครัวเรือน ภาคเหนือ ปี 2553

48

แผนที่ 42 จํานวนครัวเรือน ภาคเหนือ ปี 2523 – 2553

49

แผนที่ 43 ขนาดของครัวเรือน ภาคเหนือ ปี 2553

50

แผนที่ 44 ขนาดของครัวเรือน ภาคเหนือ ปี 2523 – 2553

51

แผนที่ 45 จํานวนประชากร ภาคกลาง ปี 2553

56

แผนที่ 46 จํานวนประชากร ภาคกลาง ปี 2523 – 2553

57

แผนที่ 47 อัตราการเพิ่มของประชากรเฉลี่ยต่อปี ภาคกลาง ปี 2543 - 2553

58

แผนที่ 48 อัตราการเพิ่มของประชากรเฉลี่ยต่อปี ภาคกลาง ปี 2513 - 2553

59


สารบัญแผนที่ (ต่อ) หน้า แผนที่ 49 อัตราส่วนเพศ(ชายต่อหญิง 100 คน) ภาคกลาง ปี 2553

60

แผนที่ 50 อัตราส่วนเพศ(ชายต่อหญิง 100 คน) ภาคกลาง ปี 2523 - 2553

61

แผนที่ 51 ความหนาแน่นของประชากร ภาคกลาง ปี 2553

62

แผนที่ 52 ความหนาแน่นของประชากร ภาคกลาง ปี 2523 - 2553

63

แผนที่ 53 ประชากรในเขตเทศบาล ภาคกลาง ปี 2553

64

แผนที่ 54 ประชากรในเขตเทศบาล ภาคกลาง ปี 2523 - 2553

65

แผนที่ 55 ประชากรนอกเขตเทศบาล ภาคกลาง ปี 2553

66

แผนที่ 56 ประชากรนอกเขตเทศบาล ภาคกลาง ปี 2523 - 2553

67

แผนที่ 57 จํานวนครัวเรือน ภาคเกลาง ปี 2553

68

แผนที่ 58 จํานวนครัวเรือน ภาคกลาง ปี 2523 – 2553

69

แผนที่ 59 ขนาดของครัวเรือน ภาคกลาง ปี 2553

70

แผนที่ 60 ขนาดของครัวเรือน ภาคกลาง ปี 2523 – 2553

71

แผนที่ 61 จํานวนประชากร ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ปี 2553

76

แผนที่ 62 จํานวนประชากร ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ปี 2523 - 2553

77

แผนที่ 63 อัตราการเพิ่มของประชากรเฉลี่ยต่อปี ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ปี 2543 - 2553

78

แผนที่ 64 อัตราการเพิ่มของประชากรเฉลี่ยต่อปี ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ปี 2513 - 2553

79

แผนที่ 65 อัตราส่วนเพศ(ชายต่อหญิง 100 คน) ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ปี 2553

80

แผนที่ 66 อัตราส่วนเพศ(ชายต่อหญิง 100 คน) ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ปี 2523 - 2553

81

แผนที่ 67 ความหนาแน่นของประชากร ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ปี 2553

82

แผนที่ 68 ความหนาแน่นของประชากร ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ปี 2523 - 2553

83

แผนที่ 69 ประชากรในเขตเทศบาล ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ปี 2553

84

แผนที่ 70 ประชากรในเขตเทศบาล ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ปี 2523 - 2553

85

แผนที่ 71 ประชากรนอกเขตเทศบาล ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ปี 2553

86

แผนที่ 72 ประชากรนอกเขตเทศบาล ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ปี 2523 - 2553

87


สารบัญแผนที่ (ต่อ) หน้า แผนที่ 73 จํานวนครัวเรือน ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ปี 2553

88

แผนที่ 74 จํานวนครัวเรือน ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ปี 2523 - 2553

89

แผนที่ 75 ขนาดของครัวเรือน ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ปี 2553

90

แผนที่ 76 ขนาดของครัวเรือน ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ปี 2523 - 2553

91

แผนที่ 77 จํานวนประชากร ภาคใต้ ปี 2553

96

แผนที่ 78 จํานวนประชากร ภาคใต้ ปี 2523 – 2553

97

แผนที่ 79 อัตราการเพิ่มของประชากรเฉลี่ยต่อปี ภาคใต้ ปี 2543 – 2553

98

แผนที่ 80 อัตราการเพิ่มของประชากรเฉลี่ยต่อปี ภาคใต้ ปี 2513 – 2553

99

แผนที่ 81 อัตราส่วนเพศ(ชายต่อหญิง 100 คน) ภาคใต้ ปี 2553

100

แผนที่ 82 อัตราส่วนเพศ(ชายต่อหญิง 100 คน) ภาคใต้ ปี 2523 – 2553

101

แผนที่ 83 ความหนาแน่นของประชากร ภาคใต้ ปี 2553

102

แผนที่ 84 ความหนาแน่นของประชากร ภาคใต้ ปี 2523 - 2553

103

แผนที่ 85 ประชากรในเขตเทศบาล ภาคใต้ ปี 2553

104

แผนที่ 86 ประชากรในเขตเทศบาล ภาคใต้ ปี 2523 - 2553

105

แผนที่ 87 ประชากรนอกเขตเทศบาล ภาคใต้ ปี 2553

106

แผนที่ 88 ประชากรนอกเขตเทศบาล ภาคใต้ ปี 2523 - 2553

107

แผนที่ 89 จํานวนครัวเรือน ภาคใต้ ปี 2553

108

แผนที่ 90 จํานวนครัวเรือน ภาคใต้ ปี 2523 – 2553

109

แผนที่ 91 ขนาดของครัวเรือน ภาคใต้ ปี 2553

110

แผนที่ 92 ขนาดของครัวเรือน ภาคใต้ ปี 2523 – 2553

111


1. ลักษณะภูมิประเทศ เขตการปกครองและพื้นที่ 1.1 ลักษณะภูมิประเทศ แผนที่ 1 แผนทีป่ ระเทศไทย ประเทศไทยมีเนื้อที่ทั้งหมดประมาณ 513,119 ตารางกิโลเมตร นับเป็นประเทศที่มีพื้นที่ขนาดใหญ่เป็นอันดับ ที่ 50 ของโลก และเป็นอันดับ 3 จาก 11 ประเทศในภูมิภาค เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยเป็นรองประเทศสหภาพเมียนมาร์ และประเทศอินโดนีเซียและมีพื้นที่ตั้งอยู่บนคาบสมุทรอินโดจีน ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ของทวีปเอเชีย ระหว่างเส้นรุ้งที่ 5 องศา 37 ลิปดาถึง 20 องศา 27 ลิปดาเหนือ และระหว่างเส้นแวงที่ 97 องศา 22 ลิปดา ถึง 105 องศา 7 ลิปดาตะวันออก โดยทิศเหนือ มีอาณาเขตติดต่อกับประเทศสหภาพเมียนมาร์และสาธารณรัฐ ประชาธิปไตยประชาชนลาว ทิศตะวันออกอาณาเขตติดต่อกับ ประเทศกัมพูชาและประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ส่วนทิศใต้ติดต่อกับประเทศมาเลเซีย และทิศตะวันตกติดต่อกับประเทศสหภาพเมียนมาร์และ มหาสมุทรอินเดีย (แผนที่ 1) โดยมีความยาวของแนวพรมแดนทางบกเท่ากับ 5,326 กิโลเมตร ส่วน อาณาเขตทางทะเล มีฝั่งทะเลด้านอ่าวไทยยาว 1,878 กิโลเมตรและฝั่งทะเลอันดามันยาว 937 กิโลเมตร รวมความยาวของชายฝั่งทะเลทั้งสองด้าน 2,815 กิโลเมตร มีส่วนแคบที่สุด ณ คอคอดกระ ซึ่งอยู่ในเขตบ้าน ทับหลี ตําบลมะมุ อํ าเภอกระบุรี จังหวัดระนอง กับอําเภอสวี จังหวัดชุมพร มีความกว้ างเพียง 50 กิโลเมตร 1.2 การแบ่งเขตการปกครอง ประเทศไทยแบ่ ง เขตการปกครองออกเป็ น 4 ภาค คื อ ภาคกลาง ภาคเหนื อ ภาค ตะวันออกเฉีนงเหนือ และภาคใต้ โดยแต่ละภาคประกอบด้วย จังหวัดต่าง ๆ รวมทั้งสิ้น 77 จังหวัด (ปีสํามะโน 2553) โดยในแต่ละจังหวัดแบ่งเป็น อําเภอ ตําบล และหมู่บ้าน และในอําเภอ และตําบล ในแต่ละจังหวัดยังมีการแบ่งออกเป็นเขตเทศบาล ได้แก่ เทศบาลนคร เทศบาลเมือง และเทศบาล ตําบล ในการจัดทําสํามะโนประชากร ได้รวมเขตเทศบาลทุกประเภทเข้าด้วยกันเรียกว่าเขตเทศบาล (ปัจจุบันเขตสุขาภิบาลได้รับการยกฐานะเป็นเทศบาล ตามพระราชบัญญัติเปลี่ยนแปลงฐานะของ สุขาภิบาลเป็นเทศบาล พ.ศ. 2542) ภาคและจังหวัดของประเทศไทย มีรายละเอียด ดังนี้ 1. ภาคกลางมี 26 จังหวัด ประกอบด้วย กรุงเทพมหานคร จังหวัดกาญจนบุรี ชัยนาท นครนายก นครปฐม นนทบุรี ปทุมธานี ประจวบคีรีขันธ์ พระนครศรีอยุธยา เพชรบุรี ราชบุรี ลพบุรี สมุทรปราการ สมุทรสงคราม สมุทรสาคร สระบุรี สิงห์บุรี สุพรรณบุรี อ่างทอง จันทบุรี ฉะเชิงเทรา ชลบุรี ตราด ปราจีนบุรี ระยอง และสระแก้ว (แยกมาจากจังหวัดปราจีนบุรี ในปี พ.ศ. 2536) 2. ภาคเหนือมี 17 จังหวัด ประกอบด้วย จังหวัดกําแพงเพชร เชียงใหม่ เชียงราย ตาก นครสวรรค์ น่าน พะเยา (แยกมาจากจังหวัดเชียงราย ในปี พ.ศ. 2520) พิจิตร พิษณุโลก เพชรบูรณ์ แพร่ แม่ฮ่องสอน ลําปาง ลําพูน สุโขทัย อุตรดิตถ์ และจังหวัดอุทัยธานี


2 3. ภาคตะวันออกเฉียงเหนือมี 19 จังหวัด ประกอบด้วย จังหวัดกาฬสินธุ์ ขอนแก่น ชัยภูมิ

นครพนม นครราชสีมา บุรีรัมย์ มหาสารคาม มุกดาหาร ยโสธร (แยกมาจากจังหวัดอุบลราชธานี ในปี พ.ศ. 2515) ร้อยเอ็ด เลย ศรีสะเกษ สกลนคร สุรินทร์ หนองคาย หนองบัวลําภู (แยกมาจากจังหวัด อุดรธานี ในปี พ.ศ. 2536) อํานาจเจริญ (แยกมาจากจังหวัดอุบลราชธานี ในปี พ.ศ. 2536) อุดรธานี จังหวัด อุบลราชธานี และล่าสุดในวันที่ 23 มีนาคม พ.ศ.2554 มีจังหวัดบึงกาฬ เพิ่มขึ้นมาอีก 1 จังหวัด โดย แยกมาจากจังหวัดหนองคายเป็นผลให้ปัจจุบันภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีด้วยกัน 20 จังหวัด 4. ภาคใต้มี 14 จังหวัด ประกอบด้วย จังหวัดกระบี่ ชุมพร ตรัง นครศรีธรรมราช นราธิวาส ปัตตานี พังงา พัทลุง ภูเก็ต ยะลา ระนอง สงขลา สตูล และจังหวัดสุราษฏร์ธานี

1.3 พื้นที่ของประเทศ ในจํานวนพื้นที่ทั้งประเทศ 513,119 ตารางกิโลเมตร ภาคเหนือมีพื้นที่มากที่สุด 169,644 ตารางกิโลเมตร คิดเป็นร้อยละ 33.1 ของพื้นที่ทั้งประเทศ รองลงมาเป็นภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มี พื้นที่ 168,854 ตารางกิโลเมตร (ร้อยละ 32.9) ภาคกลางมีพื้นที่ 103,902 ตารางกิโลเมตร (ร้อยละ 20.2) และ ภาคใต้มีพื้นที่ 70,715 ตารางกิโลเมตร (ร้อยละ 13.8) แผนที่ 2 พื้นที่ประเทศไทยรายจังหวัด สําหรับกรุงเทพมหานครมีพื้นที่ 1,568.7 ตารางกิ โ ลเมตร และจั ง หวั ด ที่ มี พื้ น ที่ มากสุดและน้อยสุ ด 5 อั นดั บ พิ จารณาได้จาก แผนที่ด้านล่ างนี้

4 3 5 1 2

5 จังหวัดที่มีพื้นทีม่ ากที่สุด 1. นครราชสีมา (20,493.9 ตร.กม.) 2. เชี ย งใหม่ ( 20,107 ตร.กม.) 3. กาญจนบุรี (19,483.1 ตร.กม.) 4. ตาก ( 16,406.6 ตร.กม.) 5. อุบลราชธานี (15,744.8 ตร.กม.)

5 จังหวัดที่มีพื้นที่น้อยสุด 1. สมุทรสงคราม (416.7 ตร.กม.) 2. ภู เ ก็ ต ( 543.0 ตร.กม.). 3. นนทบุ รี (622.3 ตร.กม.) 4. สิ ง ห์ บุ รี (822.4 ตร.กม.) 5. สมุทรสาคร (872.3 ตร.กม.)


3

2. ลักษณะของประชากร 2.1 จํานวนประชากรตามภาค ณ. วันที่ 1 กันยายน พ.ศ. 2553 ประเทศไทย มีประชากรทั้งสิ้น 65,479,453 คน โดยภาค กลาง มีประชากรมากที่สุด 26,397,590 คน คิดเป็นร้อยละ 40.3 ของประชากรทั่วประเทศ และภาคใต้ มีประชากรน้อยที่สุด 8,841,364 คน คิดเป็นร้อยละ 13.5 เมื่ อพิจารณาอัตราการเพิ่ม ขึ้นเฉลี่ยของ ประชากรปี 2553 เปรียบเทียบกับปี 2543 พบว่า ทั้งประเทศมีอัตราการเพิ่มของประชากรเฉลี่ย 0.7 คน ต่ อ ปี โดยภาคกลางมี อั ต ราการเพิ่ ม ของประชากรสู ง สุ ด เฉลี่ ย 2.5 คนต่ อ ปี ขณะที่ ภ าค ตะวันออกเฉียงเหนือไม่มีการเพิ่มขึ้นของประชากรเลย แต่กลับลดลงเฉลี่ย 1.0 คนต่อปี ส่วนภาคเหนือ เกือบไม่มีอัตราการเพิ่มของประชากรเลย เมื่อพิจารณาเพศของประชากรตามภาคแล้วจะพบว่าเพศ หญิงมีมากกว่าชายในทุกภาค (แผนที่ 3) นอกจากนี้ประชากรไทยส่วนใหญ่มากกว่าครึ่งหนึ่งของ ประเทศ(ร้อยละ 55.9) อาศัยอยู่นอกเขตเทศบาล และจะอาศัยค่อนข้างหนาแน่นในเขตเทศบาล โดย ภาคกลางมีประชากรหนาแน่นมากที่สุดเฉลี่ย 254.1 คน ต่อพื้นที่ 1 ตารางกิโลเมตร และภาคเหนือมี ความหนาแน่นน้อยที่สุดเฉลี่ย 67.4 คน ต่อพื้นที่ 1 ตารางกิโลเมตร เมื่อคํานึงถึงครัวเรือน พบว่า ทั่วประเทศมีจํานวนครัวเรือนทั้งสิ้น 20,329,171 ครัวเรือน ซึ่งมี ขนาดของครัวเรือนโดยเฉลี่ย 3.2 คน โดยภาคใต้และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีขนาดของครัวเรือน ใหญ่ที่สุดเฉลี่ย 3.5 คน (ตาราง ก และแผนที่ 4) ตาราง ก ข้อมูลพื้นฐานด้านประชากร จําแนกตามภาค ปี 2553 ข้อมูลพื้นฐานด้านประชากร ทั่วราชอาณาจักร ภาคเหนือ ภาคกลาง ภาคตะวันออก ภาคใต้ เฉียง เหนือ 1. จํา นวนประชากร (คน)

65,479,453 11,432,488 26,397,590 18,808,011 8,841,364 ( 100.0) (17.5) (40.3) (28.7) (13.5)

(ร้อยละของทั้งประเทศ) 2. อัตราการเพิ่มในช่วง 10 ปี 0.7 - 0.01/ 2.5 (ร้อยละ) 3. อัตราส่วนเพศ 96.2 96.2 95.9 (ชาย : หญิง 100 คน) 4. ความหนาแน่ น ของ 127.6 67.4 254.1 ประชากร (คนต่อ ตร.กม.) 5. ประชากรในเขตเทศบาล 44.1 34.4 62.6 (ร้อยละ) 6. จํานวนครัวเรือน 20,329,171 3,687,240 8,817,980 (ครัวเรือน) (100.0) (18.1) (43.4) (ร้อยละของทั้งประเทศ) 7. ขนาดของครัวเรือนเฉลี่ย 3.2 3.1 3.0 (คน) 1/ หมายเหตุ : อัตราเพิ่มเฉลี่ยต่อปีเท่ากับ – 0.000535 %

ภาคกลาง กรุงเทพฯ (ไม่รวม กรุงเทพฯ) 8,249,117 18,148,473 (12.6) (27.7)

-1.0

0.9

2.6

2.5

95.9

98.0

94.6

96.6

111.4

125.0

5,258.6

177.3

29.0

33.5

100.0

45.5

5,324,725 2,499,226

5,973,457 (29.4) 3.0

(26.2)

(12.3)

2,844,523 (14.0)

3.5

3.5

2.9


4

แผนที่ 3 จํานวนประชากรและสัดส่วนเพศ รายภาค ปี 2553

ภาคเหนือ 11.4 ล้านคน

ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 18.8 ล้านคน

ชาย หญิง 49.0 % 51.0 %

ภาคกลาง 26.4 ล้านคน ชาย 49.0 %

ชาย 48.9 %

หญิง 51.1 %

หญิง 51.0 %

กรุงเทพฯ 8.2 ล้านคน

ภาคใต้ 8.8 ล้านคน

ชาย 49.5 %

หญิง 50.5 %

ทั่วประเทศ 65.5 ล้านคน สัดส่วนเพศ ชาย 49.0 % หญิง 51.0 %


5

แผนที่ 4 จํานวนและขนาดของครัวเรือน รายภาค ปี 2553

ภาคเหนือ 3.7 ล้านครัวเรือน ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 5.3 ล้านครัวเรือน

ครัวเรือนเฉลี่ย 3.1 คน

ครัวเรือนเฉลี่ย 3.5 คน

ภาคกลาง 8.8 ล้านครัวเรือน ครัวเรือนเฉลี่ย 3.0 คน กรุงเทพฯ 2.8 ล้านครัวเรือน (ครัวเรือนเฉลีย่ 2.9 คน)

ทั่วประเทศ 20.3 ล้านครัวเรือน ภาคใต้ 2.5 ล้านครัวเรือน

ครัวเรือนเฉลี่ย 3.5 คน

ขนาดครัวเรือนเฉลี่ย 3.2 คน


6 2.2

เปรียบเทียบประชากรตามภาค (ปี 2523-2553)

ในช่วง 40 ปีที่ผ่านมาที่มีการจัดทําสํามะโนประชากรและเคหะโดยสํานักงานสถิติแห่งชาติ จํา นวน 4 ครั้ง เพื่อ นับ จํา นวนประชากรทั่ว ประเทศ พบว่า มีก ารเปลี่ย นแปลงอย่า งเห็น ได้ชัด กล่า วคือ ประชากรมีจํา นวนเพิ่ม ขึ้น ในอัต ราที่ล ดลงอย่า งต่อ เนื่อ ง จากเฉลี่ย ร้อ ยละ 2.7 ต่อ ปี (ช่ว ง 10 ปี ระหว่า งสํา มะโนประชากร ปี 2513 และ 2523 ) ลดลงเหลือ เฉลี่ย ร้อ ยละ 2.0 ต่อ ปี (ช่ว งปีสํา มะโนประชากร ปี 2523 และ 2533 ) ร้อยละ 1.1 ต่อปี (ช่วงปีสํามะโนประชากร ปี 2533 และ 2543) และเหลือเพียงร้อยละ 0.7 ต่อปี ในช่วงปีสํามะโนประชากร ปี 2543 และ 2553 (ตาราง ข) เมื่อคํานึงถึงภาคเป็นที่น่าสังเกตว่า ในช่วง 10 ปี ที่ผ่านมา มีจํานวนประชากรใน 2 ภาค ที่ล ดลงคือ ภาคตะวั น ออกเฉีย งเหนือ ลดลงมากที่สุ ด เฉลี่ย ร้อ ยละ 1 ต่ อ ปี ส่ว นภาคเหนื อ ลดลงเฉลี่ย ร้อยละ 0.000535 ต่อปี (ตาราง ก) เป็นผลทําให้ความหนาแน่นของประชากรภาคตะวัน ออกเฉีย งเหนือ ลดลง จาก 123.3 คน ในปี 2543 เหลือ 111.4 คนต่อ ตารางกิโ ลเมตร ในปี 2553 ในขณะที่ ภาคเหนือความหนาแน่นของประชากรเฉลี่ยเท่าเดิม 67.4 คนต่อตารางกิโลเมตร ส่ว นภาคกลางมี อัตราเพิ่มสูงสุดเฉลี่ ย ร้อยละ 2.5 ต่อปี ส่วนภาคใต้เพียงร้อยละ 0.9 ต่อปี เมื่อ พิจ ารณาโครงสร้า งทางเพศของประชากร พบว่า มีก ารเปลี่ย นแปลงที่น่า สนใจ คือ ในช่วง 30 ปีที่ผ่า นมาทั่ว ประเทศ อัต ราส่ว นเพศชายต่อ หญิง 100 คน มีแนวโน้มลดลงอย่าง ต่อเนื่องจากปี 2523 ที่มีอัต ราส่ว นเพศ 99.3 (ชาย 99 คน หญิง 100 คน) ลดลงเหลือ อัต ราส่ว น เพศ 96.2 (ชาย 96 คน หญิง 100 คน) ในปี 2553 เป็นผลให้ทุกภาคมีจํานวนเพศหญิงมากกว่าชาย ในสัดส่วนที่เพิ่มขึ้น (ตาราง ข) นอกจากนี้ ประชากรที่อาศัยในเขตเทศบาล ในปี 2553 มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น โดยภาคกลางมี ประชากรอาศัยในเขตเทศบาลเพิ่มมากขึ้นเป็น ร้อยละ 62.6 ในปี 2553 ส่วนภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีประชากรในเขตเทศบาลเพิ่มขึ้นแต่คิดเป็นสัดส่วนเพียงร้อยละ 29 ของประชากรทั้งภาค (ตาราง ก) เมื่อเปรียบเทียบจํานวนครัวเรือน พบว่า ทุกภาค มีจํานวนครัวเรือนเพิ่มขึ้นในขณะที่ขนาดของ ครัว เรื อ น มีแ นวโน้ม เล็ก ลง โดยปี 2523 ทั่ ว ประเทศ มี ข นาดของครัว เรือ นโดยเฉลี่ย 5.2 คน และลดลงเป็นเฉลี่ยครัวเรือนละ 3.2 คน ในปี 2553 โดยทุกภาคมีขนาดของครัวเรือนเฉลี่ยไม่เกิน 3.2 คน (ตาราง ข) ตาราง ข ข้อมูลพื้นฐานด้านประชากร ทั่วประเทศ ปี 2523 - 2553 ข้อมูลพื้นฐานด้านประชากร 1. จํานวนประชากร (คน) 2. อัตราการเพิ่มในช่วง 10 ปี (ร้อยละ)

ปี 2523

สํามะโนประชากรและเคหะ ปี 2533

ปี 2543

ปี 2553

44,824,500 54,548,500 60,916,400 65,479,453 2.7

2.0

1.1

0.7

3. อัตราส่วนเพศ (ชาย : หญิง 100 คน)

99.3

98.5

97.1

96.2

4. ความหนาแน่นของประชากร (คนต่อ ตร.กม.)

87.4

106.3

119.0

127.6

5. ประชากรในเขตเทศบาล (ร้อยละ)

26.4

29.4

31.1

44.1

6. จํานวนครัวเรือน (ครัวเรือน) 7. ขนาดของครัวเรือนเฉลี่ย (คน)

8,414,600 12,317,800 15,877,200 20,329,171 5.2

4.4

3.8

3.2


7

แผนที่ 5 จํานวนประชากร รายภาค ปี 2523 - 2553

ภาค ทั่วราชอาณาจักร ภาคเหนือ ภาคกลาง ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคใต้

ปี 2523 44,824,500 9,074,100 14,423,400 15,698,900 5,628,200

ปี 2533 54,548,500 10,584,400 17,899,100 19,038,500 6,966,500

ปี 2543 60,916,400 11,433,100 20,570,644 20,825,300 8,087,500

หน่วย : คน ปี 2553 65,479,453 11,432,488 26,397,590 18,808,011 8,841,364

กรุงเทพมหานคร ภาคกลาง (ไม่รวม กทม.)

4,697,100 9,726,300

5,822,400 12,076,700

6,355,144 14,215,500

8,249,117 18,148,473


8

แผนที่ 6 อัตราการเพิ่มของประชากรเฉลี่ยต่อปี รายภาค ปี 2513 - 2553

ภาค ทั่วราชอาณาจักร ภาคเหนือ ภาคกลาง ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคใต้

ปี 2513 - 2523 2.7 1.9 1.2 2.7 2.8

ปี 2523 - 2533 2.0 1.5 2.2 1.9 2.1

ปี 2533 - 2543 1.1 0.8 1.4 0.9 1.5

กรุงเทพมหานคร ภาคกลาง (ไม่รวม กทม.)

4.2 2.6

2.3 2.2

0.8 1.6

หน่วย : ร้อยละ ปี 2543 - 2553 0.7 -0.000535 2.5 -1.0 0.9 2.6 2.5


9

แผนที่ 7 ความหนาแน่นของประชากร รายภาค ปี 2523 - 2553

หน่วย : คน ต่อ ตร.กม. ภาค

ปี 2523

ปี 2533

ปี 2543

ปี 2553

ทั่วราชอาณาจักร ภาคเหนือ

87.4 53.5

106.3 62.4

119.0 67.4

127.6 67.4

ภาคกลาง

138.8

172.8

198.0

254.1

ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

93.0

112.8

123.3

111.4

ภาคใต้

79.6

98.5

114.4

125.0

กรุงเทพมหานคร

3,001.3

3,758.7

4,051.2

5,258.6

ภาคกลาง (ไม่รวม กทม.)

95.0

118.0

138.9

177.3


10

แผนที่ 8 ประชากรในเขตเทศบาล รายภาค ปี 2523 - 2553

หน่วย : ร้อยละ ภาค

ปี 2523

ปี 2533

ปี 2543

ปี 2553

ทั่วราชอาณาจักร

26.4

29.4

31.1

44.1

ภาคเหนือ

18.3

20.7

20.6

34.4

ภาคกลาง

50.6

53.7

54.7

62.6

ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

11.5

14.6

16.8

29.0

ภาคใต้

19.0

20.2

23.0

33.5

กรุงเทพมหานคร

100.0

100.0

100.0

100.0

ภาคกลาง (ไม่รวม กทม.)

26.7

31.3

34.5

45.5


11

แผนที่ 9 จํานวนครัวเรือน รายภาค ปี 2523 - 2553

หน่วย : ครัวเรือน ภาค

ปี 2523

ปี 2533

ปี 2543

ปี 2553

ทั่วราชอาณาจักร

8,414,600

12,317,800

15,877,200

20,329,171

ภาคเหนือ

1,863,300

2,622,200

3,181,100

3,687,240

ภาคกลาง

2,779,900

4,143,100

5,646,500

8,847,980

ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

2,708,700

4,029,400

5,051,100

5,324,725

ภาคใต้

1,062,800

1,523,100

1,998,400

2,499,226

กรุงเทพมหานคร

902,900

1,333,700

1,740,000

2,844,523

ภาคกลาง (ไม่รวม กทม.)

1,877,000

2,809,400

3,906,500

5,973,457


12

แผนที่ 10 ขนาดของครัวเรือน รายภาค ปี 2523 – 2553

หน่วย : คน ภาค

ปี 2523

ปี 2533

ปี 2543

ปี 2553

ทั่วราชอาณาจักร

5.2

4.4

3.8

3.2

ภาคเหนือ

4.8

4.0

3.5

3.1

ภาคกลาง

5.2

4.3

3.6

3.0

ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

5.7

4.7

4.1

3.5

ภาคใต้

5.2

4.5

4.0

3.5

กรุงเทพมหานคร

5.1

4.3

3.6

2.9

ภาคกลาง (ไม่รวม กทม.)

5.1

4.2

3.6

3.0


13

2.3 ข้อมูลพื้นฐานด้านประชากรรายจังหวัด จากผลเบื้องต้นของสํามะโนประชากรและเคหะ ปี 2553 พบว่า ประเทศไทย มีป ระชากร 65,479,453 คน ซึ่งกระจายตัวอยู่ตามจังหวัดต่าง ๆ 76 จังหวัด โดยพบว่า จังหวัดที่มี จํานวนประชากรอยู่ระหว่าง 500,000 – 999,999 คน มีสูงถึง 31 จังหวัด ในขณะที่จังหวัดที่มีประชากร 300,000 – 499,999 คน มี 16 จังหวัด ส่วนจังหวัดที่มีประชากรตั้งแต่ 1,000,000 คนขึ้นไป มี 18 จังหวัดและ จังหวัดที่มีประชากรน้อยกว่า 300,000 คนมีเพียง 11 จังหวัดเท่านั้น (ตาราง ค) โดยกรุงเทพมหานคร ยัง คงมีจํา นวนประชากรมากที ่สุด ในประเทศ จํ า นวน 8,249,117 คน รองลงมาเป็น จัง หวัด นครราชสีม า สมุทรปราการ อุบลราชธานี และจังหวัดขอนแก่น จํานวน 2,522,251 1,828,044 1,735,803 และ 1,735,096 คน ตามลํา ดับ ส่ว นจัง หวัด สมุท รสงคราม มีป ระชากรน้อ ยที่สุด 184,256 คน รองลงมาเป็ น จั ง หวั ด แม่ ฮ่ อ งสอน สิ ง ห์ บุ ร ี นครนายก และจั ง หวั ด ตราด เป็ น 193,005 198,607 244,873 และ 246,175 คน ตามลําดั บ (แผนที่ 11) ตาราง ค การจัดกลุ่มจังหวัดจําแนกตามช่วงชั้นของประชากร ปี 2553 ภาค

< 300,000 คน

กลาง อ่างทอง สิงห์บุรี ตราด นครนายก สมุทรสงคราม

300,000 – 499,999 คน

500,000 – 999,999 คน

ชัยนาท จันทบุรี เพชรบุรี พระนครศรีอยุธยา ประจวบคีรีขันธ์ ลพบุรี สระบุรี ระยอง ฉะเชิงเทรา ปราจีนบุรี สระแก้ว ราชบุรี กาญจนบุรี สุพรรณบุรี นครปฐม สมุทรสาคร เหนือ แม่ฮ่องสอน ลําพูน อุตรดิตถ์ แพร่ นครสวรรค์ ลําปาง อุทัยธานี น่าน พะเยา ตาก กําแพงเพชร สุโขทัย พิจิตร พิษณุโลก เพชรบูรณ์ ตอน. อํานาจเจริญ หนองบั ว ลํ า ภู มุ ก ดาหาร ชัยภูมิ เลย หนองคาย ยโสธร มหาสารคาม กาฬสินธุ์ สกลนคร นครพนม ใต้ พังงา ระนอง สตูล กระบี่ ชุมพร พัทลุง ยะลา ภูเก็ต ตรัง ปัตตานี นราธิวาส รวม 11 จังหวัด 16 จังหวัด 31 จังหวัด

1,000,000 คนขึ้นไป

กรุงเทพมหานคร สมุทรปราการ นนทบุรี ปทุมธานี ชลบุรี

เชียงใหม่ เชียงราย

นครราชสีมา บุรีรัมย์ สุรินทร์ ศรีสะเกษ อุบลราชธานี ขอนแก่น อุดรธานี ร้อยเอ็ด นครศรีธรรมราช สุราษฎร์ธานี สงขลา 18 จังหวัด


4 - "#%$"#

'

&3&

'

&' &' ) * + ,

!" #$" % " " "! !"(## "% "!( "% "($-

2&

&' & ' ', .,& &/ 0 1 2

!#" $ "(( $!"-(% ##"!% #-" %


5

; 2 6,"3 % ,<" ! ; "1&4< ,"3 % ,<" ! #7 ; %!# ,"3 % ,<" 3' % ; & =,"3 % ,<" !1 7 (

4 ##"! #" ((

4 #" #!" ((

4 -("$ -"#((

4 - "#%$"#

!" " # " $% & '( %)* +, % . / 0% 1, 1 , 2 3 1, " " # !4 3) $% 56 %1#1 !" ,7 2(8! " , 3 2% !" %,82!( 8$2 9 3,2 1 3 3' % 3$7 % '"1! :-6


'

"((("(((

+6 78

; 2 6,"3 % ,<" ! ; "1&4< ,"3 % ,<" ! #7 ; %!# ,"3 % ,<" 3' % ; & =,"3 % ,<" !1 7 (

"

"" #% 16 3 )* +> -% 1, 1 , 2 3 "" #% 16 3 )* +> '( %)* + %7 1 ! ! )@ "" #>#61! # ,> ,4< " %(1 2 1 3

$% 56 % 1, %. 0 >#6 " " #2!9?8 7 >#6 " " # 32 38


#

'

91 , (("(((

" $% 1, " " # A 3 1#1 - 1"% 1, 1 6 , # " # %. 1 3% " " #% % A 3 1"1#1 6, >#6 & = 1 !" ( ,7 +" " #4<- : " " ##, #( %% & A 3 '( %)* +: A B 3

6, 0 A

3 >% (


2

'+ /

:)12,

# 5

4 :)12, (<% @

'2

'&3& /

'2

>3? 2 '* &' & &'

91) %<% %<( -<<$ <(

'2 & /

4& ; = / 1 &/ 0 '

91) 5 <$ 5< 5< 5 <! 5 <%


- 2

'+ /

:)12,

/

5 /

; 2 6,"3 % ,<" ! ; "1&4< ,"3 % ,<" ! #7 ; %!# ,"3 % ,<" 3' % ; & =,"3 % ,<" !1 7 ( ; ,527,"3 % ,<" !1 7 G; ' ,,"3 % ,<" , ,

4:)1 / ' ) <% @

/

4:)1 / ') < @

4:)1 / ' ) <( @

/

4:)1 / ' ) (<% @

% " $% " '( %) 1#1 5#,C' %. 0% " " # %" '( %) 1#1 -( #1 "" # >#6 " " # 2(8! " , 2' ! @ ! 2%! 23 % 1&'<1& ! -#( -D8 ' ' , %E 2 32 38!" ,7 '(( - ' <@8 3 2% !" %,82!( 8$2 9 ,527 " ,4< %(& = ( "1&4<! #7 1, 3,% 2 3% 6, # F2(7! 82 1 3 3' % 3$7 % 1 '"1!


% 2 &, 4A 12, =/ ((

B

4 2 &, 4 $-<

" '$ =(

$% " - 2 '$ ,- =( 3 1 '$ , HG 3

3

" HGI

%,3 %

:


!

' 4 1'

, =/

5

; 2 6,"3 % ,<" ! ; "1&4< ,"3 % ,<" ! #7 ; & =,"3 % ,<" !1 7 (

4 2 &, 4$$<

4 2 &, 4$!<

4 2 &, 4$%<

4 2 &, 4$-<

" 2 '$ " $% 56 %1#1 , " $% " - 2 '$HHI 1#1 1 HGI J*%,3 % =( 3 1#1 1 %'$ ,HG 3 =( 3 &6 % =(1#1 1 "" #>#6 %E 2 1' ! , - # '" 1 2-< 1

% %'$ ,HH 3 %" " # %'$ , 3)"78 %' !


$

'

,+

4 %<-

'

,&3&

C 2 < '<

'

&' &' & >3? 2

C2 < '< " !<"#< "! (<"( < $--<$

,2 &

', .,& 2 , = 1*

C2 < '< < < !<% # <( #<


(

'

,+

5

; 2 6,"3 % ,<" ! ; "1&4< ,"3 % ,<" ! #7 ; %!# ,"3 % ,<" 3' % ; & =,"3 % ,<" !1 7 (

'+ #% & - ( 51%- 2<)* +#6, ) "" #) $ %3 %

4!%<#

C2 < '<

4 (-<

C2 < '<

4 $<(

C2 < '<

4 %<-

C2 < '<

'( %)* + '( %)* + )

:1 % 63 % 1" " 1#1

)

C1,- '+ !" " #) $%3 % ' % 1,


D +2 4 )

4 ##< @

'

D +2 4 )&3&

'

) >3? 2 1 ) 3

91) ((<( %#< -!< -%<# - <$

D +2 4 )2 &

1 ', .,& &/ 0

91) < <! < #< #<-


D +2 4 )

5

; 2 6,"3 % ,<" ! ; "1&4< ,"3 % ,<" ! #7 ; %!# ,"3 % ,<" 3' % ; & =,"3 % ,<" !1 7 (

'( %)* +, -

4 -<# @

4 $<# @

4 < @

4 ##< @

%. #( % 6,1 GI

0 " $%2" #2 ) '% ()* + : 6,1 I

$" , )- $ 1


+2 4 )

4 <$ @

'

+2 4 )&3&

'

1 ', .,& &/ 0

91) !!<% !!< !-< ! <$ ! <#

+2 4 )2 &

) >3? 2 1 ) 3

91) < <$ <-< #(<


#

+2 4 )

5

; 2 6,"3 % ,<" ! ; "1&4< ,"3 % ,<" ! #7 ; %!# ,"3 % ,<" 3' % ; & =,"3 % ,<" !1 7 (

4% <- @

4-!<$ @

6,1 K IG

% " $% 1 1, 11#1 , -

4%(<- @

4 <$ @

$" , ,< . )- $ 102<D* 1 ', 6,1 IH


E

4 (" $" %

'

E

'

E &3&

&' &' ) 1D',

E "!##" % -"! -# "% $%"! $-"(%

E 2&

&' & ' ', .,& &/ 0 2 &23 )

E #$"#!% -"%"( $"%%# % "%


-

E

5

; 2 6,"3 % ,<" ! ; "1&4< ,"3 % ,<" ! #7 ; %!# ,"3 % ,<" 3' % ; & =,"3 % ,<" !1 7 (

4 !"# #"-((

4 "!%%" ((

G' $% 56 %'( %)* +, -

E

E

% . BI 16 3"

/

4 " %"!((

E

4 (" $" %

E

0 & 3" !" " #" '( %)* + : I 16 3"


%+ +

E

4 <

'+

E D=,A#

+6 78B

'+

*/& 22 F 1

-

' 2 1)

#< #< #< #< #< #<(

E )?A2 ,

'* ) &' & &' % ! $ (

4 1*1 ) 3 ' 1D', , 1

B

< <<% <! <! <! <! <$ <$ <$ <$


!+ +

E

5

; 2 6,"3 % ,<" ! ; "1&4< ,"3 % ,<" ! #7 ; %!# ,"3 % ,<" 3' % ; & =,"3 % ,<" !1 7 (

4 #<#

4 <

4 <

4 <!

B 1, 1 , % 1 3 ) #) 3 " I 3 1#1 1 I 3

%.

/ 053 26) #) 3 " !" " # " $1#1 , -

% C1,


ภาคเหนือ

ภูมิสารสนเทศสถิติ


35

3. ข้อมูลพืน้ ฐานด้านประชากร ภาคเหนือ จากผลเบื้องต้นสํามะโนประชากรและเคหะ พ.ศ. 2553 พบว่า ภาคเหนือมีประชากรทั้งสิ้น 11,432,488 คน คิดเป็นร้อยละ 17.5 ของประชากรทั้งประเทศ โดยอัตราส่วนเพศชายต่อเพศหญิง 100 คน ของประชากรภาคนี้ เป็น 96.2 (เพศชาย 96 คน และเพศหญิ ง 100 คน) ทั้ ง ภาคเหนื อ มี ประชากรอาศัยอยู่หนาแน่นเฉลี่ย 67.4 คน ต่อพื้นที่ 1 ตารางกิโลเมตร โดยประชากรส่วนใหญ่อาศัย อยู่น อกเขตเทศบาล คิ ดเป็ นร้อ ยละ 65.6 เมื่อคํานึง ถึงครั ว เรื อน จะเห็นว่ า ภาคเหนื อ มีจํา นวน ครั ว เรื อ นทั้ ง สิ้ น 3,687,240 ครั ว เรื อ น คิ ด เป็ น ร้ อ ยละ 18.2 ของครั ว เรื อ นทั้ ง ประเทศ และขนาด ครัวเรือนเฉลี่ย 3.1 คน (ตาราง ก) หากเปรียบเทียบประชากรภาคเหนือ ปี 2513-2553 ที่มีการจัดทําสํามะโนประชากรและเคหะ โดยสํานักงานสถิติแห่งชาติ จํานวน 4 ครั้ง จากตาราง ง พบว่าช่วง 40 ปีที่ผ่านมาจํานวนและลักษณะ ของประชากรมีการเปลี่ยนแปลงอย่างเห็นได้ชัด กล่าวคือ มีจํานวนเพิ่มขึ้นในอัตราที่ ลดลงอย่าง ต่อเนื่อง จากที่มีอัตราเพิ่มของประชากรเฉลี่ยต่อปีร้อยละ 1.9 (ระหว่างสํามะโนประชากร ปี 2513 และ 2523 ) และลดลงในทุกช่วง 10 ปีสํามะโน เป็นร้อยละ 1.5 0.8 ในช่วงปี 2523-2533 และ 25332543 และอัตราการเพิ่มขึ้นติดลบ เป็นร้อยละ 0.000535 (ช่วงสํามะโนประชากรและเคหะปี 2543 และ 2553) เมื่อพิจารณาอัตราส่วนเพศของประชากร พบว่า มีการเปลี่ยนแปลงที่น่าสนใจ คือ อัตราส่วนเพศ ชายต่อหญิง 100 คน มีแ นวโน้ม ลดลงอย่า งต่อ เนื่อ งตั้งแต่ช่วงปี 2533-2553 จากอัตราส่วนเพศ 101.0 (ชาย 101 คน หญิง 100 คน) ในปี 2533 เป็น 98.2 และ 96.2 ในปี 2543 และ 2553 ตามลําดับ ในขณะเดี ยวกั น ประชากรที่ อาศั ยอยู่ในภาคนี้ มีความหนาแน่นของประชากรเฉลี่ยค่ อนข้างคงที่ ในช่วงปี 2543-2553 คือเฉลี่ย 67.4 คนต่อพื้นที่ 1 ตารางกิโลเมตร โดยประชากรที่อาศัยในเขตเทศบาล มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง จากปี 2523 มีร้อยละ 18.3 เพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 20.7 20.6 และ 34.4ใน ปี 2533 2543 และ 2553 ในทางกลับกันขนาดของครัวเรือนกลับมีแนวโน้มเล็กลง โดยปี 2523 มี ขนาดครัวเรือนเฉลี่ย 4.8 คน ลดลงเป็นขนาดครัวเรือนเฉลี่ย 3.1 คน ในปี 2553 (ตาราง ง) ตาราง ง ข้อมูลพื้นฐานด้านประชากร ภาคเหนือ ปี 2523 - 2553 ข้อมูลพื้นฐานด้านประชากร 1. จํานวนประชากร (คน) (ร้อยละของทั้งประเทศ) 2. อัตราการเพิ่มในช่วง 10 ปี (ร้อยละ)

สํามะโนประชากรและเคหะ

ปี 2523 ปี2533 ปี 2543 ปี 2553 9,074,100 10,584,400 11,433,100 11,432,488 (20.2) (19.4) (18.8) (17.5) 1.9

1.5

0.8

- 0.01/

100.9

101.0

98.2

96.2

4. ความหนาแน่นของประชากร (คนต่อ ตร.กม.)

53.5

62.4

67.4

67.4

5. ประชากรในเขตเทศบาล (ร้อยละ)

18.3

20.7

20.6

34.4

1,863,300 (22.1) 4.8

2,622,200 (21.3) 4.0

3,181,130 (20.0) 3.5

3,687,240 (18.1) 3.1

3. อัตราส่วนเพศ (ชาย : หญิง 100 คน)

6. จํานวนครัวเรือน (ครัวเรือน)

(ร้อยละของทั้งประเทศ) 7. ขนาดครัวเรือนเฉลี่ย (คน) หมายเหตุ :

1/

อัตราเพิม่ เฉลี่ยต่อปี ปี 2553 เท่ากับ – 0.000535


" ! ! # $

%& "%' #

" ! ! # $

" ! ! #

" ! ! #

! " !#

$%&'

& (')#

&*

&+ ,)-$.

&

( %' #


)

* /0

+ /0

*) **

*

/0

**

/0

**

"/0 1 2% " / * .3 4 ! 5 .2 "6 "-7&+ 839 : ;.< 6/= 8 .>" /0 2% " 2 "6."! 9 8 9 83 4 ! 5? 2 "6@ / * .$6$2./0 ;67.$%&'$%/ >6+ >A#& &* ! " !# &+ 2+ > $*& (')#


( !

,$. "

/01(2

( ,! $

" ! ! # ! ( ,$ " ! ! # .%& &

%& "%' #

3

410 3*5***

(2

" ! ! # ! ( ,$

410

( %' #

" ! ! #

410

B

&*

CB

B

&

CB

&+ ,)-$.

B

>.

B

-3

B

! " !#

CB CB

>6+ >A#

CB


( ! /0

,$. "

/01(2

C

/0

E&*

+ C

!" ' .(

! ( ,$ 410 5 (2

/0

C

! ( ,$ 410 5 (2

/0

( ,! $ 410 *5 (2

C

( ,! $ 410 3*5***

(2

5!% 9A9> &+ 8 83 / * . 4 ! 5&(" " /08 D ?/0 C @ > . &+ 83 / * . "-7$6$> 5 8 <;676 % 7> &+ 83 / * . " /0 8 D ? C @ $6$ .2 >+ 6$( 2 "62. : 6 2 "6;67.$%&'$%/ > 6+ >A# & &* ! " !# &+ 2+ > $* & (')#" 2 "6 8$5 8 > . &+ 83 / * . '39 : 2 "6!5 .%& & >. -3 $*&+ ,)-$.


*

( %2 ,67 1(2 8! " **

( %2 ,6 5 7 ,6 1 !

" ! ! # ! ( %2 ,6$ %' # " ! ! #

1(2 8" ** B

9

,6 8" **

" ! ! # ! ( %2 ,6 41%' # " ! ! # -3

B >. $%/

9

1(2 8" ** B B

B

>6+ >A#

B

B

! " !#

B

B

&+ 2+ >

B


( %2 ,67 1(2 8! " ** /0

9

+ /0

**5

/0

* 5*

/0

5

5

" /08 D ? C @ > " &F? > G+ ! @ 3 .5( .2 "6 4 ! 5 "-7$6$ > 5 8 ."7&+ 2+ > 8 > " &F > G+.$7! . /=D$ 7 & 2 "66 "3 4 ! 5!5 8 > " &F .." G+ 5 2% " / * . &F .." &F G+


$

2. "

/01 )5 " ! ! # " ! ! #

$

2

(2( 5 $5

$ %' #

" ! ! #

:( 5 $5

" ! ! #

&+ 2+ >

B

! " !#

B

$

2

41%' # :( 5 $5 B

>.

B

B

B

-3

B

B

.%& &

B

>6+ >A#

B


$

2. "

/0

+ /0

B

/01 5

(2( 5 $5

/0

/01 5

(2( 5 $5

/01 )5

(2( 5 $5

/0

B

/01 )5

(2( 5 $5

82. "-72% " / * .3 4 ! 5 8 5 $6$ $ 2 "6 <;676 " /0 8 D ? C @ /=D$ 7 !" 3 / * .$6$ 2 "63 4 ! 5;67.$%&' $%/ >6+ >A#& &* ! " !# &+ 2+ > $*& (')#


)

; .( 6< 0

410 " ! ! # $

; .( 6< 0$ %' #

" ! ! #

410

$%&'

B B

&*

B

$%/

B B

5 " ! ! # $ " ! ! #

; .( 6< 0 41%' # 410 B

& (')#

B B

&+ ,)-$.

B B


; .( 6< 0 /0

+ /0

410

5

/0

410 *5)

/0

410 *5

410

5

" /08 D /0 ? C @ 3 / * . 8F 3> F( $3 .2 "6 4 ! 5 "-7&+ 839 : > 5 8 -6 H& * /0 2* <;676 6" 2 "6 8 / * . 3> F( $&+ 839 : . /=D$ 7 ."! 9 8 9 83 / * . 2 "6 F ' 3> F( $;67. $%&'$%/ $*&*


.( 6< 0

410

" #! $ ! " ! ! #

.( 6< 0$ %' # 410 B

& (')# &+ ,)-$.

5

" #! $ ! " ! ! # $%&'

B

.( 6< 0 41%' # 410 B B

B

&*

B

B

$%/

B

B

B


)

*

.( 6< 0

/0

+ /0

410

5)

/0

410 ) 5

/0

410 ) 5

410

5

2. D 8 2* <" " /08 D . /$8 /$. >:A+ 8I 3 / * . . !5/ * . 8 F ' .3> F( $ 2% " $6$ . : : 2 >D$ 5 8 2.. .I * 34+ ($ 8 "/ * F/= F( $>%($J9 8A5" '&5 : 83> F( $ " 2 "6 8 / * . " G." 7 $* ! F ' 3> ( ? .3> F( $@ ;67. $*& (')#


!

) * " ! ! # $ " ! ! #

!

$ %' # !

! " ! ! # $ " ! ! #

! " !# &+ ,)-$.

&*

& (')#

>6+ >A#

!

41%' # !


! /0

+ /0

** !

/0

** !

/0

** !

5/ ( (2% " !" 5 ?/0 C 8 "-7&+ 839 : > 5 8 > " /08 D "-7$6$ ;67. & &* $*&+ 2+ >

) * !

@ &(" 2% " ! " 5 .2 "63 4 ! 5 ?/0 C @ 2 "6 8 2% " ! " 5 + 8


*

. #. " !

/01 5 " ! ! # $. # !

;82 %' #

" ! ! # $. # !

" ! ! # &+ 2+ >

0=%' #

" ! ! # B

$%&'

B

& (')#

B

>.

B

&

B

B

&*

B

.%& &

B

B

>6+ >A#

! " !#$*&+ ,)-$.

B


. #. " ! /0

+ /0

/01 5

/01 5*

/0

/0

/01 5

5/ ( (3 63 ! " 5 " (!!$ "/0 8 2 "6 3 63 !" 5 $< .$ > 5 8

/01 5

1

3 4 ! 5&(" .5( .


ภาคกลาง

ภูมิสารสนเทศสถิติ


55

4. ข้อมูลพื้นฐานด้านประชากร ภาคกลาง จากผลเบื้องต้นสํามะโนประชากรและเคหะ พ.ศ. 2553 พบว่า ณ วันที่ 1 กันยายน 2553 ภาคกลางมีประชากรทั้งสิ้น 26,397,590 คน คิดเป็นร้อยละ 40.3 ของประชากรทั้งประเทศ ในจํานวนนี้ เป็นประชากรของกรุงเทพมหานคร 8,249,117 คน หรือร้อยละ 31.2 ของประชากรภาคกลาง โดย อัตราส่วนเพศชายต่อเพศหญิง 100 คน ของประชากรภาคนี้ เป็น 95.9 ( ชาย 96 คน และหญิง 100 คน ) ในขณะที่กรุงเทพมหานครมีอัตราส่วนเพศ 94.6 ( ชาย 95 คน และหญิง 100 คน ) นอกจากนี้ ภาคกลาง มีประชากรอาศัยอยู่หนาแน่นเฉลี่ย 254.1 คน ต่อพื้นที่ 1 ตารางกิโลเมตร โดยเฉพาะกรุงเทพมหานคร มีประชากรอาศัยอยู่หนาแน่นมากสูงถึง 5,258.6 คน ต่อพื้นที่ 1 ตารางกิโลเมตร ซึ่งประชากรส่วนใหญ่ ของภาค อาศัยอยู่นอกเขตเทศบาล คิดเป็นร้อยละ 62.6 เมื่อคํานึงถึงครัวเรือน จะเห็นว่า ภาคนี้มีจํานวน ครัวเรือนทั้งสิ้น 8,817,980 ครัวเรือน คิดเป็นร้อยละ 43.4 ของครัวเรือนทั้งประเทศ และขนาดครัวเรือน เฉลี่ย 3.0 คน ส่วนกรุงเทพมหานครมีครัวเรือนทั้งสิ้น 2,844,523 ครัวเรือน ( ร้อยละ 32.3 ของครัวเรือน ภาคกลาง ) และขนาดครัวเรือนเฉลี่ย 2.9 คน (ตาราง ก) หากเปรียบเทียบประชากรภาคกลาง ปี 2513–2553 ที่มีการจัดทําสํามะโนประชากรและ เคหะโดยสํานักงานสถิติแห่งชาติ จํานวน 4 ครั้ง จากตาราง จ พบว่า ช่วง 40 ปีที่ผ่านมา ภาคกลางมี อัตราขยายตัวของประชากรเพิ่มขึ้นเฉลี่ยต่อปี ร้อยละ 1.2 (ระหว่างสํามะโนประชากร ปี 2513 และ 2523 ) และเพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 2.2 (ระหว่างสํามะโนประชากร ปี 2523 และ 2533) แต่กลับลดลงเป็น ร้อยละ 1.4 (ระหว่างสํามะโนประชากร ปี 2533 และ 2543) และกลับมีอัตราเพิ่มขึ้นอีกเป็นร้อยละ 2.5 (ระหว่างสํามะโนประชากร ปี 2543 และ 2553) เมื่อพิจารณาอัตราส่วนเพศของประชากร พบว่าประชากรเพศชายของภาคกลางมีจํานวน น้อยกว่าประชากรเพศหญิงตลอดมานับตั้งแต่ปีช่วง 2523 - 2553 กล่าวคือ มีอัตราส่วนเพศชายต่อหญิง 100 คน ต่ํากว่า 100 คน ในขณะเดียวกัน ประชากรที่อาศัยอยู่ในภาคนี้มีความหนาแน่นของประชากร เฉลี่ยเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องในช่วงปี 2523 -2553 จากปี 2523 ความหนาแน่นของประชากรเฉลี่ย จาก 138.8 คนต่อพื้นที่ 1 ตารางกิโลเมตร เพิ่มเป็น 254.1 คนต่อพื้นที่ 1 ตารางกิโลเมตร ในปี 2553 ใน ขณะเดียวกันประชากรที่อาศัยในเขตเทศบาลมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องจากปี 2523 ร้อยละ 50.6 เพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 62.6 ในปี 2553 ในทางกลับกันขนาดของครัวเรือนกลับมีแนวโน้มเล็กลง โดยปี 2523 มี ขนาดครัวเรือนเฉลี่ย 5.2 คน ลดลงเหลือ 3.0 คน ตาราง จ ข้อมูลพื้นฐานด้านประชากร ภาคกลาง ปี 2523 - 2553

ข้อมูลพื้นฐานด้านประชากร 1. จํานวนประชากร (คน)

(ร้อยละของทั้งประเทศ) 2. อัตราการเพิ่มในช่วง 10 ปี (ร้อยละ) 3. อัตราส่วนเพศ (ชาย : หญิง 100 คน) 4. ความหนาแน่นของประชากร (คนต่อ ตร.กม.) 5. ประชากรในเขตเทศบาล (ร้อยละ) 6. จํานวนครัวเรือน (ครัวเรือน)

(ร้อยละของทั้งประเทศ) 7. ขนาดครัวเรือนเฉลี่ย (คน)

สํามะโนประชากรและเคหะ

ปี 2523 ปี 2533 ปี 2543 ปี 2553 14,423,400 17,899,100 20,570,644 26,397,590 (32.8) (33.8) (40.3) (32.2) 2.2 1.4 2.5 1.2 97.2

95.1

94.1

95.9

138.8

172.8

198.0

254.1

50.6

53.7

54.7

62.6

2,779,900 (33.0)

4,143,100 (33.6)

5,646,500 (35.6)

8,847,980 (43.4)

5.2

4.3

3.6

3.0


56


56

แผนที่ 45 จํานวนประชากร ภาคกลาง ปี 2553

ภาคกลาง 26,397,590 คน 5 จังหวัดที่มีประชากรสูงสุด

5 จังหวัดที่มีประชากรน้อยสุด

จังหวัด

คน

จังหวัด

คน

กรุงเทพมหานคร

8,249,117

สมุทรสงคราม

184,256

สมุทรปราการ

1,828,044

สิงห์บุรี

198,607

ชลบุรี

1,554,365

นครนายก

244,873

นนทบุรี

1,333,623

ตราด

246,175

ปทุมธานี

1,326,589

อ่างทอง

252,828


57

แผนที่ 46 จํานวนประชากร ภาคกลาง ปี 2523 – 2553 ปี 2523

ปี 2533

1/ สระแก้วยังคงรวมอยู่กับปราจีนบุรี

ภาคกลาง 14,423,400 คน

ปี 2543

ภาคกลาง 20,570,644 คน

ภาคกลาง 17,899,100 คน

ปี 2553

ภาคกลาง 26,397,590 คน

เนื่องจากจังหวัดสระแก้วแยกตัวมาจากจังหวัดปราจีนบุรีในปี 2536 ทําให้แผนที่ปี 2523 และ 2533 ไม่มีจังหวัดสระแก้ว ปรากฏอยู่ในแผนที่ปี 2523 และ ปี 2533 ในช่วง ปี 2523 – 2543 ทุกจังหวัดในภาคกลางมีแนวโน้มจํานวนประชากรเพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยเพิ่มขึ้นมากที่จังหวัด กรุงเทพมหานคร และปริมณฑล ได้แก่ สมุทรปราการ นนทบุรี และปทุมธานี ส่วน จังหวัดที่มีจํานวนประชากรลดลง ในช่วงปี 2543 – 2553 มี 5 จังหวัด ประกอบด้วย อ่างทอง สิงห์บุรี ชัยนาท สุพรรณบุรี และสมุทรสงคราม


58

แผนที่ 47 อัตราการเพิ่มของประชากรเฉลี่ยต่อปี ภาคกลาง ปี 2543 - 2553

ภาคกลางเฉลี่ยเพิ่ม ร้อยละ 2.5 ต่อปี 5 จังหวัดที่อัตราเพิ่มประชากรสูงสุด

5 จังหวัดที่อัตราเพิ่มประชากรต่ําสุด

จังหวัด

ร้อยละ

จังหวัด

ร้อยละ

ปทุมธานี

7.0

ชัยนาท

-1.7

สมุทรสาคร

6.6

สิงห์บุรี

-1.6

สมุทรปราการ

5.9

สมุทรสงคราม

-1.0

นนทบุรี

5.0

อ่างทอง

-0.6

ระยอง

4.6

สุพรรณบุรี

-0.1


59

แผนที่ 48 อัตราการเพิ่มของประชากรเฉลี่ยต่อปี ภาคกลาง ปี 2513 – 2553 ปี 2513 - 2523

ปี 2523 - 2533

1/ สระแก้วยังคงรวมอยู่กับปราจีนบุรี

ภาคกลาง ร้อยละ 1.2

ปี 2533 - 2543

ภาคกลาง ร้อยละ 1.4

ภาคกลาง ร้อยละ 2.2

ปี 2543 - 2553

ภาคกลาง ร้อยละ 2.5

จากแผนที่จะเห็นได้ว่า ในช่วง ปี 2513 – 2533 อัตราการเพิ่มของประชากรโดยเฉลี่ยทั้งภาคกลางมี แนวโน้มเพิ่มขึน้ แต่กลับลดลงในปี 2533 – 2543 และกลับเพิ่มขึ้นในช่วงปี 2543 – 2553 อย่างไรก็ตาม เมื่อ พิจารณาเป็นรายจังหวัด พบว่า จํานวนประชากรเพิ่มขึ้นมากในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล โดยเพิ่มขึ้นใน อัตราที่ค่อนข้างสูง คือ กรุงเทพมหานคร เพิ่มขึ้นในอัตราเฉลี่ยร้อยละ 2.6 ต่อปี ส่วนปริมณฑล ได้แก่ ปทุมธานี สมุทรปราการและนนทบุรี เพิ่มขึ้นในอัตราร้อยละ 7.0, 5.9 และ 5.0 ต่อปี ตามลําดับ ส่วนสมุทรสาคร เพิ่มขึ้น ในอัตราเฉลี่ย ร้อยละ 6.6 นอกจากนี้ พบว่า มี 5 จังหวัด คือ อ่างทอง สิงห์บุรี ชัยนาท สุพรรณบุรี และสมุทรสงคราม มีอัตรา การเพิ่มของประชากรติดลบ หรือจํานวนประชากรลดลงในอัตราเฉลี่ยต่อปี ร้อยละ -0.6, -1.6, -1.7, -0.1 และ -1.0 ตามลําดับ


60

แผนที่ 49 อัตราส่วนเพศ (ชายต่อหญิง 100 คน) ภาคกลาง ปี 2553

ภาคกลาง อัตราส่วนเพศ 95.9 (เพศชาย 96 คน เพศหญิง 100 คน) 5 จังหวัดที่อัตราส่วนเพศมากสุด

5 จังหวัดที่อัตราส่วนเพศน้อยสุด

จังหวัด

ต่อหญิง 100 คน

จังหวัด

ต่อหญิง 100 คน

ตราด

104.1

อ่างทอง

91.6

ระยอง

103.4

ชัยนาท

92.0

ประจวบคีรีขันธ์

101.4

นนทบุรี

92.4

ลพบุรี

100.4

สิงห์บุรี

92.4

สมุทรสาคร

99.2

สุพรรณบุรี

92.9


61

แผนที่ 50 อัตราส่วนเพศ (ชายต่อหญิง 100 คน) ภาคกลาง ปี 2523 – 2553 ปี 2523

ปี 2533

1/ สระแก้วยังคงรวมอยู่กับปราจีนบุรี

ภาคกลาง 97.2

ปี 2543

ภาคกลาง 94.1

ภาคกลาง 95.1

ปี 2553

ภาคกลาง 95.9

ในช่วง 30 ปีที่ผ่านมา ปี 2523 – 2543 จะเห็นว่าโครงสร้างทางเพศโดยเฉลี่ยทั้งภาคกลาง เป็นประชากรเพศหญิงมากกว่าเพศชาย มาโดยตลอด กล่าวคือ มีอัตราส่วนเพศ ต่ํากว่า 100 โดยมีแนวโน้ม อัตราส่วนเพศชายต่อหญิง 100 คน ลดลงอย่างต่อเนื่อง ในช่วงปี 2523 – 2543 จาก 97.2 ในปี 2523 เป็น 94.1 ในปี 2543 และกลับเพิ่มขึ้นเป็น 95.9 ในปี 2553 เมื่อพิจารณาเป็นรายจังหวัด พบว่า ในปี 2553 มี 4 จังหวัดของภาคกลางที่มีอัตราส่วนเพศชายต่อหญิง 100 คน เพิ่มขึ้นเกิน 100 นั่นคือ มี จํานวนประชากร เพศชายมากกว่าเพศหญิง ได้แก่ ลพบุรี ระยอง ตราด และประจวบคีรีขันธ์


62

แผนที่ 51 ความหนาแน่นของประชากร ภาคกลาง ปี 2553

ภาคกลางฉลี่ย 254.1 คน ต่อ ตร.กม. 5 จังหวัดที่ความหนาแน่นประชากรมากสุด

5 จังหวัดที่ความหนาแน่นประชากรน้อยสุด

จังหวัด

คน/ตร.กม.

จังหวัด

คน/ตร.กม.

กรุงเทพมหานคร

5,258.6

กาญจนบุรี

41.0

นนทบุรี

2,143.1

ประจวบคีรีขันธ์

73.0

สมุทรปราการ

1,820.6

เพชรบุรี

75.6

สมุทรสาคร

1,015.2

จันทบุรี

76.1

ปทุมธานี

869.4

สระแก้ว

77.2


63

แผนที่ 52 ความหนาแน่นของประชากร ภาคกลาง ปี 2523 – 2553 ปี 2523

ปี 2533

1/ สระแก้วยังคงรวมอยู่กับปราจีนบุรี

ภาคกลางเฉลี่ย 138.8 คน ต่อ ตร.กม.

ปี 2543

ภาคกลางเฉลี่ย 198.0 คน ต่อ ตร.กม.

ภาคกลางเฉลี่ย 172.8 คน ต่อ ตร.กม.

ปี 2553

ภาคกลางเฉลี่ย 254.1 คน ต่อ ตร.กม.

ในช่วง ปี 2523 – 2553 ความหนาแน่นของประชากร โดยเฉลี่ยทั้งภาคกลางมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่าง ต่อเนื่อง แต่เมื่อพิจารณาเป็นรายจังหวัด จะเห็นว่า 6 จังหวัด ที่จํานวนประชากรลดลงจะมีความหนาแน่นของ ประชากรลดลงด้วย ส่วนจังหวัดที่มีความหนาแน่นของประชากรเพิ่มขึ้นมาก ในปี 2553 โดยเพิ่มขึ้นจาก ปี 2543 มากกว่าครึ่งหนึ่ง ได้แก่ สมุทรปราการ นนทบุรี ปทุมธานี ชลบุรี ระยอง และสมุทรสาคร สําหรับ กรุงเทพมหานคร ซึ่งเป็นเมืองหลวง มีประชากรอาศัยอยู่หนาแน่นมากแต่เดิมอยู่แล้ว ซึ่งในปี 2553 ความ หนาแน่นของประชากร เป็น 5,258.6 คน ต่อ ตารางกิโลเมตร เพิ่มขึ้นจาก 4,051.2 คน ต่อ ตารางกิโลเมตร ใน ปี 2543 หรือเพิ่มขึ้น ร้อยละ 26.1 (ดูหน้า 9)


64

แผนที่ 53 ประชากรในเขตเทศบาล ภาคกลาง ปี 2553

ภาคกลาง ร้อยละ 62.6 5 จังหวัดที่มีประชากรในเขตเทศบาลมากสุด

5 จังหวัดที่มีประชากรในเขตเทศบาลน้อยสุด

จังหวัด

ร้อยละ

จังหวัด

ร้อยละ

กรุงเทพมหานคร

100.0

นครนายก

11.3

ชลบุรี

74.5

ปราจีนบุรี

14.1

ชัยนาท

67.4

สมุทรสงคราม

22.7

นนทบุรี

59.7

สระแก้ว

24.3

สมุทรปราการ

59.2

สุพรรณบุรี

27.0


65

แผนที่ 54 ประชากรในเขตเทศบาล ภาคกลาง ปี 2523 – 2553 ปี 2523

ปี 2533

1/ สระแก้วยังคงรวมอยู่กับปราจีนบุรี

ภาคกลาง ร้อยละ 50.6

ปี 2543

ภาคกลาง ร้อยละ 54.7

ภาคกลาง ร้อยละ 53.7

ปี 2553

ภาคกลาง ร้อยละ 62.6

ในช่วง 30 ปีที่ผ่านมา ปี 2523 – 2553 พบว่า ประชากรที่อาศัยในเขตเทศบาลของภาคกลาง มี จํานวนเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยเฉลี่ยมีประชากรทั้งภาคอาศัยในเขตเทศบาล ร้อยละ 50.6 ในปี 2523 เพิ่มขึ้น เป็นร้อยละ 62.6 ในปี 2553 เมื่อพิจารณาเป็นรายจังหวัด จะเห็นว่า มี 7 จังหวัด มีประชากรอาศัยในเขต เทศบาลลดลงในช่วงปี 2543 – 2553 ได้แก่ สมุทรปราการ นนทบุรี สิงห์บุรี สระบุรี ปราจีนบุรี นครนายก และสมุทรสงคราม


66

แผนที่ 55 ประชากรนอกเขตเทศบาล ภาคกลาง ปี 2553

ภาคกลาง ร้อยละ 37.4 5 จังหวัดที่มีประชากรนอกเขตเทศบาลมากสุด

5 จังหวัดที่มีประชากรนอกเขตเทศบาลน้อยสุด

จังหวัด

ร้อยละ

จังหวัด

ร้อยละ

นครนายก

88.7

ชลบุรี

25.5

ปราจีนบุรี

85.9

ชัยนาท

32.6

สมุทรสงคราม

77.3

นนทบุรี

40.3

สระแก้ว

75.7

สมุทรปราการ

40.8

สุพรรณบุรี

73.0

ปทุมธานี

42.9


67

แผนที่ 56 ประชากรนอกเขตเทศบาล ภาคกลาง ปี 2523 – 2553 ปี 2523

ปี 2533

1/ สระแก้วยังคงรวมอยู่กับปราจีนบุรี

ภาคกลาง ร้อยละ 49.4

ปี 2543

ภาคกลาง ร้อยละ 45.3

ภาคกลาง ร้อยละ 46.3

ปี 2553

ภาคกลาง ร้อยละ 37.4

ในช่วง 30 ปีที่ผ่านมา ปี 2523 – 2553 พบว่า ประชากรที่อาศัยนอกเขตเทศบาลของภาคกลาง มีจํานวนลดลงอย่างต่อเนื่อง จากโดยเฉลี่ยทั้งภาคมีประชากรอาศัยนอกเขตเทศบาล ร้อยละ 49.4 ในปี 2523 ลดลงเหลือ ร้อยละ 37.4 ในปี 2553 เมื่อพิจารณาเป็นรายจังหวัด จะเห็นว่า มี 7 จังหวัด ที่มีประชากรอาศัย นอกเขตเทศบาลเพิ่มขึ้นได้แก่ สมุทรปราการ นนทบุรี สิงห์บุรี สระบุรี ปราจีนบุรี นครนายกและสมุทรสงคราม


68

แผนที่ 57 จํานวนครัวเรือน ภาคกลาง ปี 2553

ภาคกลาง 8,847,980 ครัวเรือน 5 จังหวัดที่มีจํานวนครัวเรือนมากสุด

5 จังหวัดที่มีจํานวนครัวเรือนน้อยสุด

จังหวัด

ครัวเรือน

จังหวัด

ครัวเรือน

กรุงเทพมหานคร

2,844,523

สมุทรสงคราม

49,487

สมุทรปราการ

645,723

สิงห์บุรี

57,026

ชลบุรี

597,832

ตราด

59,774

ปทุมธานี

526,065

นครนายก

74,204

นนทบุรี

470,675

อ่างทอง

75,730


69

แผนที่ 58 จํานวนครัวเรือน ภาคกลาง ปี 2523 – 2553 ปี 2523

ปี 2533

1/ สระแก้วยังคงรวมอยู่กับปราจีนบุรี

ภาคกลาง 2,779,900 ครัวเรือน

ภาคกลาง 4,143,100 ครัวเรือน

ปี 2543

ปี 2553

ภาคกลาง 5,646,500 ครัวเรือน

ภาคกลาง 8,847,980 ครัวเรือน

เมื่อพิจารณาจํานวนครัวเรือนในภาคกลาง จะเห็นว่า ในช่วง 30 ปี ที่ผ่านมา ( ปี 2523 – 2553 ) จํานวนครัวเรือนมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ยกเว้น 3 จังหวัด ที่ในช่วง 10 ปี ทีผ่ ่านมา (ปี 2543 – 2553) จํานวนครัวเรือนมีแนวโน้มลดลง ได้แก่ สิงห์บุรี ชัยนาท และสมุทรสงคราม ส่วนจังหวัดตราดมีจํานวนครัวเรือน ใกล้เคียงกัน


70

แผนที่ 59 ขนาดของครัวเรือน ภาคกลาง ปี 2553

ภาคกลางเฉลี่ย 3.0 คน จังหวัดที่มีขนาดครัวเรือนใหญ่สุด

จังหวัดที่มีขนาดครัวเรือนเล็กสุด

จังหวัด

คน

จังหวัด

คน

ตราด

4.1

ปทุมธานี

2.5

สมุทรสงคราม

3.7

ชลบุรี

2.6

ฉะเชิงเทรา

3.6

2.7

สระบุรี สิงห์บุรี

3.5

สมุทรสาคร สมุทรปราการ นนทบุรี พระนครศรีอยุธยา

สุพรรณบุรี กาญจนบุรี ราชบุรี

3.4

กรุงเทพมหานคร

2.9

2.8


71

แผนที่ 60 ขนาดของครัวเรือน ภาคกลาง ปี 2523 – 2553 ปี 2533

ปี 2523

1/ สระแก้วยังคงรวมอยู่กับปราจีนบุรี

ภาคกลางเฉลี่ย 5.2 คน

ปี 2543

ภาคกลางเฉลี่ย 3.6 คน

ภาคกลางเฉลี่ย 4.3 คน

ปี 2553

ภาคกลางเฉลี่ย 3.0 คน

เมื่อคํานึงถึงขนาดครัวเรือนของภาคกลาง พบว่า มีแนวโน้มลดลงอย่างต่อเนื่องจากโดยเฉลี่ยทั้งภาคมี ขนาดครัวเรือนเฉลี่ย 5.2 คน ในช่วงปี 2523 ลดลงเหลือ 3.0 คน ในปี 2553 เมือ่ พิจารณาเป็นรายจังหวัด จะเห็นว่า ทุกจังหวัดมีขนาดครัวเรือนเล็กลง ยกเว้น ตราดจังหวัดเดียวที่มีขนาดครัวเรือนเพิ่มขึ้น จาก 3.6 คน ในปี 2543 เป็น 4.1 คน ในปี 2553


ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

ภูมิสารสนเทศสถิติ


75

5. ข้อมูลพืน้ ฐานด้านประชากร ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จากผลเบื้องต้นสํามะโนประชากรและเคหะ พ.ศ. 2553 พบว่า ภาคตะวัน ออกเฉี ย งเหนือ มีประชากรทั้งสิ้น 18,808,011 คน คิดเป็นร้อยละ 28.7 ของประชากรทั้งประเทศ โดยอัตราส่วนเพศ ชายต่อเพศหญิง 100 คน ของประชากรภาคนี้เป็น 95.9 ( เพศชาย 96 คน และเพศหญิง 100 คน ) ทั้งภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีประชากรอาศัยอยู่หนาแน่นเฉลี่ย 111.4 คน ต่อพื้นที่ 1 ตารางกิโลเมตร โดยประชากรส่วนใหญ่ อาศัยอยู่นอกเขตเทศบาล คิดเป็นร้อยละ 71.0 เมื่อคํานึงถึงครัวเรือน จะเห็นว่า ภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีจํานวนครัวเรือนส่วนบุคคล ทั้งสิ้น 5,324,725 ครัวเรือน คิด เป็น ร้อ ยละ 26.2 ของครัว เรือ นทั้ง ประเทศ และขนาดครัว เรือ น เฉลี่ย 3.5 คน (ตาราง ก) หากเปรียบเทียบประชากรภาคตะวัน ออกเฉีย งเหนือ ปี 2513-2553 ที่มีการจัดทําสํามะ โนประชากรและเคหะโดยสํา นัก งานสถิติแ ห่ง ชาติ จํา นวน 4 ครั้ง พบว่า ช่ว ง 40 ปีที่ผ่า นมา จํา นวนและลัก ษณะของประชากรมีก ารเปลี่ย นแปลงอย่างเห็น ได้ชัด กล่า วคือ มีจํา นวนเพิ่ม ขึ้น ในอัตราที่ลดลงอย่างต่อ เนื่อง จากที่มีอัต ราเพิ่ม ของประชากรเฉลี่ย ต่อปีร้อ ยละ 2.7 (ระหว่า ง สํามะโนประชากร ปี 2513 และ 2523 ) ลดลงในทุกช่วง 10 ปี สํามะโน เป็นร้อยละ 1.9 0.9 และอัต รา การเพิ่มขึ้นติดลบ เป็นร้อยละ -1.0 (ช่วงปีสํามะโนประชากรและเคหะ ปี 2543 และปี 2553) เมื่ อ พิ จ ารณาอั ต ราส่ ว นเพศของประชากร พบว่ า มี ก ารเปลี่ ย นแปลงที่ น่ า สนใจ คือ อัต ราส่ว นเพศชายต่อ หญิง 100 คน มีแ นวโน้ม ลดลงอย่า งต่อ เนื่อ งในช่ว งปี 2523-2553 จาก อัตราส่วนเพศ 100.2 ( ชาย 100 คน หญิง 100 คน ) ในปี 2523 ลดลงเหลือ 95.9 ( ชาย 96 คน หญิง 100 คน ) ในปี 2553 ในขณะเดียวกัน ประชากรที่อาศัยอยู่ในภาคนี้มีประชากรอาศัยอยู่หนาแน่นโดยเฉลี่ยเพิ่มขึ้น อย่างต่อเนื่องในช่วงปี 2523-2543 จาก 93.0 คนต่อพื้นที่ 1 ตารางกิโลเมตร ในปี 2523 เพิ่มขึ้นเป็น 123.3 คนต่อพื้นที่ 1 ตารางกิโลเมตร ในปี 2543 แต่กลับลดลงในช่วงปี 2543–2553 คือ มีความหนาแน่น ของประชากรเฉลี่ยลดลงเป็น 111.4 คนต่อพื้นที่ 1 ตารางกิโลเมตร ในปี 2553 ในขณะเดียวกันประชากรที่ อาศัยในเขตเทศบาลมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องจากปี 2523 มีประชากรอาศัยในเขตเทศบาล ร้อ ยละ 11.5 เพิ่ม ขึ้น เป็น ร้อ ยละ 14.6 16.8 และ 29.0 ในปี 2533 2543 และ 2553 ตามลํา ดับ ในทางกลับกันขนาดของครัวเรือนกลับมีแนวโน้มเล็กลง โดยปี 2523 มีขนาดครัวเรือนเฉลี่ย 5.7 คน ลดลงเป็นขนาดครัวเรือนเฉลี่ย 3.5 คน ในปี 2553 (ตาราง ฉ) ตาราง ฉ ข้อมูลพื้นฐานด้านประชากร ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ปี 2523 - 2553 ข้อมูลพื้นฐานด้านประชากร 1. จํานวนประชากร (คน)

(ร้อยละของทั้งประเทศ) 2. อัตราการเพิ่มในช่วง 10 ปี (ร้อยละ)

สํามะโนประชากรและเคหะ

ปี 2523 ปี 2533 ปี 2543 ปี 2553 15,698,900 19,038,500 20,825,300 18,808,011 (34.9) (34.2) (28.7) (35.0) 2.7

1.9

0.9

-1.0

100.2

99.9

99.1

95.9

4. ความหนาแน่นของประชากร (คนต่อ ตร.กม.)

93.0

112.8

123.3

111.4

5. ประชากรในเขตเทศบาล (ร้อยละ)

11.5

14.6

16.8

29.0

2,708,700 (32.2)

4,029,400 (32.7)

5,051,100 (31.8)

5,324,725 (26.2)

5.7

4.7

4.1

3.5

3. อัตราส่วนเพศ (ชาย : หญิง 100 คน)

6. จํานวนครัวเรือน (ครัวเรือน)

(ร้อยละของทั้งประเทศ) 7. ขนาดครัวเรือนเฉลี่ย (คน)


!

"#"$"#$

%&

'(') %

%&

%

! "#

%

$% '( ) *+

($,

') %

$

& & &


!* ./

!

./

B B B

'( ) *+ $( '') $+ #( $( '') $+ #( 6 $( '') $+ #(

# +"#+$$

./ &

+#$!"# $$

./

$#" #!$$

"#"$"#$

- # )'./ 0 .1 $ ". '!2 . '%$ (2( 3 '( ' )(!4 3- # ) ( ' )( 5-./ (2( 3 '( ' )( 61!4 3 ( ' )(" 7-./ (2( 3 '( ' )( " 7 '( ) *+61 ( ' )( # ) ( ' )( 4 ' 89:(2( 3 '-./ & ;4 1 '9# $+ # -"< =1 ./ 56 > "< =17 ?)#- # 1 )'./ 0 & 5 = ( ' )( ) . 7 61!4 3 $#' 2# 5 1'"2# ( '- # )' ./ =1 <# @./ & 0 A%$ ( ' )(9: "# ! " #" 7 =1 ) . 7 61!4 3


!

,&.

/ 0 1! 2 !

/%/ / 3 / 2 4$ 0 %& %

,&

'(') % 3/ C&

%& % D 7E

C ! "# '( ) *+

C

,&

') % 3/ 0C 0C

=,

0C

0C

6

0C

0C

($,

0C


1 ./

,&.

/ 0 !* !

0

./

0

B '( ) *+ $( '') $+ #( B $( '') $+ #( 6 B $( '') $+ #( &B $% $( '') $+ #(

,& 3 / 45

./

0 &

,& 3 / 4+

./ & 0

,& 3 / $4+

,& 3 / 2 4$

56 > ( 1 2 61. 7 7 ?)#* 27)( F$' 5- # )'& ./ =1 <# @./ G A ( 2 61! '. 7 '$#'2# 5 1'= ( ' )( 5 16 > .H $ ( ' )(-* 36 )# -# )'./ & 0 ( ' )( I4 ' ( ' )(- ) =( 3 ' ( ' )(! '* 27)( F$' 5 ( 2 61! '. 7 2 =1 5 ( ' )(=1 ( 2 61 '"2# $( '9# 2 9: "# ! " #" 7


'0 ,67

0 8- $$

9

!

'0 ,6+ 4+ 7 ,6

%& % $ $%

'0 ,6& ') % 0 8- $$

+

,6 8- $$

%&

'0 ,6 3 ') %

%

C&

9

0 8- $$ C

C

=,

&C&

C

! "#

&C

C

($,

&C

C

'( ) *+

C


'0 ,67 ./

0 8- $$ 9 !* ! ./

B B B

'( ) *+ $( '') $+ #( $( '') $+ #( 6 $( '') $+ #(

$$4

++4+

./ &

./

++4

+ 4+

"< =1 ./ G 7 ?)#( 2 # ) 6D! '* 27)( F$' 5 " )%: ' $#'2# 5 1' ./ =1 ( ')(! '* 9: "# $*+ ! " # ( '$ $ " 7 8 ,=1 ( 2 # ) 6D + ')# ;4 ' $ ) )# ) . 7 1 6D $ )# ' "2# -./ 6 )#( 2 # ) 6D= ( ')( '21)# 1 5= ( ( ')(-* 27)( F$' 5 . 7 6D ' )#6D $


5

&

0.

!

41

%& & % ! "#

0

& ') % : 4 &4 C& &C

=, :$ ? '( ) *+

0 4 &4

%& & %

0

3 ') % : 4 &4

$

&C

$*+ (

&C

C

C

C&

C

&C&

C


"

&

0.

!*

./

!

./

B B B

+!4$

'( ) *+ $( '') $+ #( $( '') $+ #( 6 $( '') $+ #(

0 4&

./ &

4"

0 4&

41

0 4 &4

./

!4!

0 4 &4

5 4 1 'I4 ') " #! '. 7 * 27)( F$' 56 )# .1 $ ". '$#' ( -# )'./ G & %$ " )%: ) " #! '. 7 -= ( ' )(! '* 61!4 3 $#' 2# 5 1'"2# ( '- # )'./ & 0 5= ( ' )( 6$' ( ' )(=1 ) " #! ' . 7 61!4 35 ! " #" 7


+

; . 6< /

!

3 / +4$

%&

; . 6< /& ') %

%&

; . 6< / 3 ') %

%

3/

%

3/

8 ,

C

=,

C

C

D 7E

&C

'( ) *+ ! "#

&C &C C&

C 6

C

$*+ (

C


5$

; . 6< / !* !

./

./

B B B

3/

'( ) *+ $( '') $+ #( $( '') $+ #( 6 $( '') $+ #(

4

./ &

3 / 14

./

3/

4"

3 / +4$

- # )' ./ =1 <# @./ 0 A* 27)( F$' 5 " )%:. 7 D( $!2=D 61!4 3 $#'2# 5 1' .H< = -: -./ I4 '& ( ' )(=1. 7 D( $- !2=D )#:$ 7& 5! " # 8 ," 7


5

. 6< /

!

3 / 5 4$

%&

. 6< /& ') %

%&

%

3/

%

=,

C

8 ,

D 7E

C C

6

C

$*+ (

C

. 6< / 3 ') % 7

9 &C &C

'( ) *+ ! "#

C C C


5

. 6< / !* !

./

B B B

./

'( ) *+ $( '') $+ #( $( '') $+ #( 6 $( '') $+ #(

3 / ""4

./ &

3 / " 41

./

3 / "!4

3 / 5 4$

-# ) ! '. 7 =1 D( $ !2=D 6 )# 5 = ( ' )(-* 27)( F$' 5 " )%: '$#'2# 5 1'- # )' ./ =1 <# @./ 0 A $#'9 ? 2 ( ' )(=1 .7 )# - & ! '. 7 =( 3 ' - ( ' )( D( $- !2 =@ !2=D A9: " # = ,D 7 E $*+ ( "7 6


5!

!

#! 1#5

%&

& ') %

%&

% ! "#

% & &

'( ) *+ $%

($,

3 ') %

$

& &


51

!*

./

./

B B B

'( ) *+ $( '') $+ #( $( '') $+ #( 6 $( '') $+ #(

#5$"#5$$

./ &

1#$ +#1$$

./

#$ # $$

27)( & 0 6

!

#! 1#5

56 > "< =1 1 - # )'./ 0 & 7 ?)# ) ( )5- ( ' )(! '* F$' 5 " )%:61!4 3 $#'2# 5 1'"2# ( ' )( ( ) ( ) 5 '- # )'./ 9: " # ($, = ,D 7 E $ '$ :$ ?" 7


5 . %.

!

!4

% &. %

;80 ') %

% &. %

% '$

% &C &C

D 7E '( ) *+

/=') %

! "# $%

C C

C

$*+ (

C&

C

8 ,

C&

C

C&


5 . %.

!*

./

!

./

B B B

'( ) *+ $( '') $+ #( $( '') $+ #( 6 $( '') $+ #(

45

./ &

145

./

14

!4

4 '! ! ' ( ) 5 -* 27)( F$' 5 7 ?)#- # )'./ 0 .1 $ ". '$#' %$= ( ' )( ! ! ' ( ) 5 '$#'2# 5 1' =1 ( )5! - # )# -./ ' 5F 1 $! ) 5 0& -./ (


ภาคใต้

ภูมิสารสนเทศสถิติ


95

6. ข้อมูลพืน้ ฐานด้านประชากร ภาคใต้ จากผลเบื้องต้นสํามะโนประชากรและเคหะ พ.ศ. 2553 พบว่า ภาคใต้มีประชากรทั้งสิ้น 8,841,364 คน คิดเป็นร้อยละ 13.5 ของประชากรทั้งประเทศ โดยอัตราส่วนเพศชายต่อเพศหญิง 100 คน ของประชากรภาคนี้ เป็น 98.0 (เพศชาย 98 คน และเพศหญิง 100 คน) ทั้ง ภาคใต้มีป ระชากร อาศัยอยู่หนาแน่น เฉลี่ย 125.0 คนต่อพื้นที่ 1 ตารางกิโลเมตร โดยประชากรส่วนใหญ่อาศัย อยู่ นอกเขตเทศบาล คิด เป็น ร้อ ยละ 66.5 เมื่อ คํ า นึง ถึง ครัว เรือ น จะเห็น ว่า ภาคใต้ มีจํ า นวน ครัวเรือนส่ว นบุค คลทั้ ง สิ้น 2,499,226 ครัว เรือ น คิด เป็น ร้อ ยละ 12.3 ของครั ว เรือ นทั้ง ประเทศ และขนาดครัวเรือนเฉลี่ย 3.5 คน (ตาราง ก) หากเปรียบเทียบประชากรภาคใต้ ปี 2513-2553 ที่มีการจัดทําสํามะโนประชากรและเคหะโดย สํานักงานสถิติแห่งชาติ จํานวน 4 ครั้ง พบว่า ช่วง 40 ปี ที่ผ่านมา จํานวนและลักษณะของประชากรมี การเปลี่ยนแปลงอย่างเห็นได้ชัด กล่าวคือ มีจํานวนเพิ่มขึ้นในอัตราที่ลดลงอย่างต่อเนื่อง จากที่มีอัตรา เพิ่มของประชากรเฉลี่ยต่อปีร้อยละ 2.8 (ระหว่างสํามะโนประชากร ปี 2513 และ 2523 ) ลดลงใน ทุกๆช่วง 10 ปี สํามะโน เป็นร้อยละ 2.1 1.5 และ 0.9 ในปีสํามะโน 2533 2543 และ 2553 ตามลําดับ เมื่อพิจารณาอัตราส่วนเพศของประชากร พบว่าในช่วงปี 2523 – 2553 อัตราส่วนเพศชายต่อ หญิง 100 คน มีการเปลี่ยนแปลงไม่มากนัก จากอัตราส่วนเพศ 99.5 ( จํานวนชายและหญิงใกล้เคียงกัน ) ในปี 2523 เป็น 99.6 98.5 และ 98.0 ในปี 2533 2543 และ 2553 ตามลําดับ ในขณะเดียวกัน ประชากร ที่อาศัยอยู่ในภาคนี้มีความหนาแน่นของประชากรเฉลี่ยเพิ่มขึ้นอย่างเห็นได้ชัดในช่วงปี 2523 -2553 จากปี 2523 ความหนาแน่นของประชากรเฉลี่ย 79.6 คนต่อพื้นที่ 1 ตารางกิโลเมตร เพิ่มเป็น 98.5 114.4 และ 125 คนต่อพื้นที่ 1 ตารางกิโลเมตร ในปี 2533 2543 และ 2553 ตามลําดับ โดยประชากรที่อาศัย ในเขตเทศบาลมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องจากปี 2523 มีร้อยละ 19.0 เพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 20.2 23.0 และ 33.5 ในปี 2533 2543 และ 2553 ตามลําดับ ในทางกลับกันขนาดของครัวเรือนกลับมี แนวโน้มเล็กลง โดยปี 2523 มีขนาดครัวเรือนเฉลี่ย 5.2 คน ลดลงเป็นขนาดครัวเรือนเฉลี่ย 4.5 4.0 และ 3.5 คน ในปี 2533 2543 และ 2553 ตามลําดับ (ตาราง ช) ตาราง ช ข้อมูลพื้นฐานด้านประชากร ภาคใต้ ปี 2523 - 2553 ข้อมูลพื้นฐานด้านประชากร

สํามะโนประชากรและเคหะ ปี2533 6,966,500 (12.8)

ปี 2543 8,087,500 (13.3)

ปี 2553 8,841,364 (13.5)

2.8

2.1

1.5

0.9

3. อัตราส่วนเพศ (ชาย : หญิง 100 คน)

99.5

99.6

98.5

98.0

4. ความหนาแน่นของประชากร (คนต่อ ตร.กม.)

79.6

98.5

114.4

125.0

5. ประชากรในเขตเทศบาล (ร้อยละ)

19.0

20.2

23.0

33.5

1,062,800 (12.6) 5.2

1,523,100 (12.4) 4.5

1,998,400 (12.6) 4.0

2,499,226 (12.3) 3.5

1. จํานวนประชากร (คน)

(ร้อยละของทั้งประเทศ) 2. อัตราการเพิ่มในช่วง 10 ปี (ร้อยละ)

6. จํานวนครัวเรือน (ครัวเรือน)

(ร้อยละของทั้งประเทศ) 7. ขนาดครัวเรือนเฉลี่ย (คน)

ปี 2523 5,628,200 (12.6)


!# ! " $% "# ! ! $

! % $ )* ""

&' "&( $

!# ! " $% "# ! ! $

"# & '( +

)*&$ (


+ ).

,,

).

).

,,

).

,

,% ). /( 0- 1). 2 3 45 % ) & 6 ,"7 /&48%9 : %;7<$ (= > +-"-<? ( +&<%7 : / 45 % ) & ,). 9 4&). & -% ? 45 % ) & 9 / 9 <)@/(- <&"%-48%9/( 45 % ) &<$ (= > +- &A97 :&-6# <&B "<$ (= > 14&45 % ) & ,). <$ (<)@ ,). 3 <)@ <$ (= > 4&45 % ) & ,). <$ (<)@ ,). 1" 3


)!

-./ %0)"

)! -./ % "# ! ! $ )!

-./ %

&' "&( $

"# ! ! $

)*2

6# <&B "

C

! "#

-12* 3 )

)*2 ,4 "# ! ! $ )! "# ! ! $

) 3 -./ %

)*&( $ )*2 DC

C

/

DC

C

"

C

C C

% $ )* ""

C C


, )!

-./ %0)" ).

)! -./ %

).

)! -./ %

D

)*2 4

D

-12* 3 )

+ ).

D

)! -./ %

)*2 4

).

)*2 4

D

)! -./ %

<? ($ 4 E " & <$ ( ) &6 ,"7'%-, % ). /( 0- 1). 2 /&48%9,6 ,"7: %;7 " <$ ( ) & 9 +-"-<? ( ;9+<F , %). 48%9A97 :&: / /( 45 % ) & 9 ;9+ $ 9<)@ " & <$ ( "$ 9 '<F ( +7+ 2 C : D C "-)." 59' % 6# <&B "/(45 % ) & ,). 4&). ><$ (= >97 %+ " 7+ C "-). <)@ <$ (= >, " 7+

)*2 ,4

3 <&?' 2 ) & <$ (= > & C "-).


,,

)! &3 -.56 * 3 )#7/ " ,,

)! &3 -.5 4, 6-.5 *

-.5#7/ " ,,

"# ! ! $ )! &3 -.5% &( $ "# ! ! $

*3 )#7/ " ,, C

8

8

"# ! ! $ )! &3 -.5 )*&( $ "# ! ! $ /

*3 )#7/ " ,, C

C

C

C

)* ""

C

"#

C

"

C

& '(

C

!

C


,

)! &3 -.56 * 3 )#7/ " ,,

8

+ ).

).

4

4

).

4

).

4,

<? ($ 4E " %/ < ) & 6 ,"74 <8B%- " % < +"-8G$ : %;7 9 <B & 7+, %). D 4& C ,). 9 <)@ C +-A &B " 48%9/(" % < <&$ >8 + % %- 45 % ) & < + &&%-< 8G$ : ,45 % 48%9 > 48%9/(" % < <$ (= >A97 :&: "#;9+ " % < ,). <)@ C C C C " 59'<$ (= >,). <)@ C C C : C " 59'


,

%#

30)"

-12* "# ! ! $

%#

3

% &( $

4,

) 4 %4 3 "# ! ! $

3

)*&( $

"# ! ! $

9 4 %4

6# <&B "

C

C

)* ""

C

C

C % $

"# ! ! $

%#

& '(

C C

9 4 %4

C C

!

C


,

%#

30)"

+

).

-12* 4

).

) 4 %4 3

-12* 4

) 4 %4 3

).

-12*

4

).

) 4 %4 3

-12*

4,

) 4 %4 3

8& $ 4 E % 8 : - ) &,48%9 6 ,"74 <8B%- : %;7<$ (= >/&48%9 1+&<%748%9 : / 3 9 7 A),/ <9+%& &'45 % ) & 48%9/( <$ (= >8 ? 9 , % 48%9/( 45 % ) & <$ (= > &A97 :&-6# <&B "<)@0 ,87 ) &8 : <$ (= > &4&,). % 8 : - ) & C "-" &$ ;<" <$ (= ><)@ C "-" &$ ;<" ,/5 <9+%& : % 8 : - ) & <$ (= > &4& C : C "-" &$ ;<" ,). <$ (= ><)@ C : "-" &$ ;<" ,). " 59'1" 3


,

-0 -5: 2

)*2 "# ! ! $%

-0 -5: 2% &( $

4 "# ! ! $%

-0 -5: 2 )*&( $

"# ! ! $

)*2

"# ! ! $

)*2

6# <&B "

C

& '(

C

C /

C

C )* ""

C !

C

C C

"

C


,

-0 -5: 2 ).

)*2

)*2

+ ).

4,

)*2 ,4

).

).

4,

)*2

4

58 ') &/( +,<"</ ' 48%9,6 ,"7 '%-: %;7) & + +# ,<"</ ' <$ ( &= >4&/>8 9 7+ C ,). <$ (= ><)@ 7+ C C : C ,). : " 59';9+ <+ 48%9 6 /() & +,<"</ ' 9 ,%). D A97 :&-" : % $


,

) -0 -5: 2

)*2 "# ! ! $%

) -0 -5: 2% &( $

4 "# ! ! $%

) -0 -5: 2 )*&( $

"# ! ! $

)*2

"# ! ! $

)*2

& '(

C

6# <&B "

C

C )* ""

C

C /

C

C "

C

C !

C


,

) -0 -5: 2 ).

)*2

).

4,

).

)*2

+

)*2

4

).

4,

)*2

4

,% ) & />8 9/( + &<"</ ' 48%9,6 ,"7: %;7 9 +"-<? ( '">:"). 4&/>8 9 7+ C 9 <)@ 7+ C ,). +-A&B " ,%). D 48%9 ?" : $ % /() & +,<" '/1 &<"</ ' 3 <$ (= > 4&7+ C : C ,). <$ (= ><)@ 7+ C : C ,). " 59'1" 3 % 48%9/( <8 ? 6 ) & + &<"</ ' 9


,

!-; )

!-; )

!# ! " $% "# ! ! $

!-; ) % &( $ !-; )

!# ! " $% "# ! ! $ "#

! "

& '(

6# <&B "

+

!-; ) )*&( $ !-; )


,

,

!-; )

+

).

,

).

,, !-; )

).

,, !-; )

<? (<) +'</+'45 % %<? 6 ,"7 8%-). D : %;745 % %<? <$ (= > +-"-<? ( 4& %<? ,). %<? ,).

,, !-; )

).

!-; )

4 <8B%-/&48%9 <$ (= ><)@


,

0 $0)" !-; )

-12* 4

"# ! ! $ %0 $ !-; ) #73 &( $ "# ! ! $ % $

"# ! ! $ C

)* ""

C

+

C

"#

"# ! ! $ %0 $ !-; ) -2<&( $

C C

6# <&B "

C C C

!

/


0 $0)" !-; ) ).

-12* 4

).

-12* 4,

+ ).

-12* 4

).

-12* 4

8 & 5 =H= 9 %<? 6 ,"7 ,%). D 4 <8B%-/&48%9 6 9 %<? 9 +- &4&<9$/( %<? 9,8G-<)@ %<? /( 9<B & ;9+<F ( +/>6 ,"7 9 %<? C ,). 9 <8 ? C ,).


ภาคผนวก


!" $%& '

#

$( ) * '

+

$%& '

!"

, $%-. * /& ++" 0

1

, $%-. * /& ++" 0

!" 1 "

3

"

1

4*

2

!"

5$ $6-7

!" 4*

$ $6-7

3 $ $6-7

4*

!" " $8

" $8

!"

3

" $8

9

#

1 2

3 " $8

# %86) ' 4*

+

3 5$ $6-7

4*

2

9

2

%86) ' $6-:6*

# 1+

!"

1 1

%86) ' $6-:6*

1


117

ตาราง 1 จํานวนประชากร จําแนกตามจังหวัด ปี 2523 - 2553 หน่วย : คน

จังหวัด ทั่วราชอาณาจักร ภาคเหนือ ภาคกลาง (รวม กทม.) ภาคกลาง (ไม่รวม กทม.) ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคใต้ กรุงเทพมหานคร สมุทรปราการ นนทบุรี ปทุมธานี พระนครศรีอยุธยา อ่างทอง ลพบุรี สิงห์บุรี ชัยนาท สระบุรี ชลบุรี ระยอง จันทบุรี ตราด ฉะเชิงเทรา ปราจีนบุรี นครนายก สระแก้ว1/ ราชบุรี กาญจนบุรี สุพรรณบุรี นครปฐม สมุทรสาคร สมุทรสงคราม เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ เชียงใหม่ ลําพูน ลําปาง อุตรดิตถ์

2523 44,824,500 9,074,100 14,423,400 9,726,300 15,698,900 5,628,200 4,697,100 484,800 369,800 319,700 602,000 256,700 571,700 198,600 318,100 432,900 693,500 339,200 297,600 148,000 445,400 567,000 206,100 635,300 481,800 709,400 525,900 247,200 168,400 364,900 342,400 1,154,900 335,000 649,000 401,200

2533 54,548,500 10,584,400 17,899,100 12,076,700 19,038,500 6,966,500 5,822,400 769,800 574,700 412,400 700,600 261,000 721,000 230,200 357,100 507,800 851,200 450,600 390,600 162,200 552,100 785,600 221,700 735,000 641,000 797,500 629,600 321,000 191,100 401,300 411,400 1,367,200 409,900 728,800 440,300

2543 60,916,400 11,433,100 20,570,644 14,215,500 20,825,300 8,087,500 6,355,144 1,028,401 816,614 677,649 727,277 269,419 745,506 232,766 359,829 575,053 1,040,865 522,133 480,064 219,345 635,153 406,732 241,081 485,632 791,217 734,394 855,949 815,122 466,281 204,177 435,377 449,467 1,500,127 413,299 782,152 464,474

2553 65,479,453 11,432,488 26,397,590 18,148,473 18,808,011 8,841,364 8,249,117 1,828,044 1,333,623 1,326,589 869,539 252,828 769,213 198,607 303,940 715,404 1,554,365 819,604 482,370 246,175 715,180 546,065 244,873 555,236 794,593 799,655 844,962 942,610 885,564 184,256 470,467 464,711 1,708,564 406,178 731,710 427,917


118

ตาราง 1 จํานวนประชากร จําแนกตามจังหวัด ปี 2523 - 2553 (ต่อ) หน่วย : คน

จังหวัด แพร่ น่าน พะเยา เชียงราย แม่ฮ่องสอน นครสวรรค์ อุทัยธานี กําแพงเพชร ตาก สุโขทัย พิษณุโลก พิจิตร เพชรบูรณ์ นครราชสีมา บุรีรัมย์ สุรินทร์ ศรีสะเกษ อุบลราชธานี ยโสธร ชัยภูมิ อํานาจเจริญ2/ หนองบัวลําภู3/ ขอนแก่น อุดรธานี เลย หนองคาย มหาสารคาม ร้อยเอ็ด กาฬสินธุ์ สกลนคร นครพนม มุกดาหาร4/ นครศรีธรรมราช กระบี่ พังงา

2523 420,500 361,600 418,200 903,000 132,500 942,100 225,600 507,500 272,500 500,100 632,200 537,800 680,300 1,948,300 1,098,300 999,800 1,063,300 1,618,000 400,000 817,600 1,253,600 1,462,200 441,300 618,300 733,100 948,200 722,600 805,700 768,600 1,214,500 216,200 170,300

2533 483,300 416,700 474,500 1,052,200 158,400 1,040,100 295,100 643,800 335,200 560,400 757,200 550,600 870,800 2,375,500 1,357,100 1,220,500 1,286,100 1,869,600 529,100 997,900 1,621,400 1,770,700 535,800 797,300 878,700 1,122,000 845,500 943,400 623,200 264,600 1,400,600 276,200 209,400

2543 492,561 458,041 502,780 1,129,701 210,537 1,090,379 304,122 674,027 486,146 593,264 792,678 572,989 965,784 2,556,260 1,493,359 1,327,901 1,405,500 1,691,441 561,430 1,095,360 359,360 482,207 1,733,434 1,467,158 607,083 883,704 947,313 1,256,458 921,366 1,040,766 684,444 310,718 1,519,811 336,210 234,188

2553 417,689 443,484 407,822 1,157,302 193,005 975,632 290,204 783,379 514,259 617,157 896,095 530,754 931,337 2,522,251 1,265,020 1,112,330 1,044,965 1,735,803 479,453 953,124 278,893 479,905 1,735,096 1,280,696 537,226 809,431 817,778 1,074,283 814,768 932,315 578,363 356,312 1,449,387 359,368 255,188


119

ตาราง 1 จํานวนประชากร จําแนกตามจังหวัด ปี 2523 - 2553 (ต่อ) หน่วย : คน

จังหวัด ภูเก็ต สุราษฎร์ธานี ระนอง ชุมพร สงขลา สตูล ตรัง พัทลุง ปัตตานี ยะลา นราธิวาส หมายเหตุ :

1/ 2/

2523 131,000 588,400 83,500 310,500 818,300 156,500 446,700 410,300 418,900 265,300 397,800

2533 166,300 747,000 116,900 373,900 1,094,300 208,900 528,600 441,100 515,400 341,000 546,800

จังหวัดสระแก้ว แยกมาจากจังหวัดปราจีนบุรี ปี พ.ศ.2536

2543 249,446 869,410 161,210 446,206 1,255,662 247,875 595,110 498,471 595,985 415,537 662,350 3/

2553 525,018 1,005,475 247,192 466,030 1,480,468 272,886 596,183 477,853 605,208 432,245 668,863

จังหวัดหนองบัวลําภู แยกมาจากจังหวัดอุดรธานี ปี พ.ศ.2536

4/

จังหวัดอํานาจเจริญ แยกมาจากจังหวัดอุบลราชธานี ปี พ.ศ.2536 จังหวัดมุกดาหาร แยกมาจากจังหวัดนครพนม ปี พ.ศ.2525

ตาราง 1.1 การจัดกลุ่มจังหวัด จําแนกตามช่วงชั้นของประชากรและภาค ปี 2553 ภาค กลาง

เหนือ

ตะวันออกเฉียงเหนือ

ใต้ รวม

< 300,000 คน อ่างทอง สิงห์บุรี ตราด นครนายก สมุทรสงคราม

300,000 – 499,999 คน

500,000 – 999,999 คน

ชัยนาท จันทบุรี เพชรบุรี พระนครศรีอยุธยา ลพบุรี ประจวบคีรีขันธ์ สระบุรี ระยอง ฉะเชิงเทรา ปราจีนบุรี สระแก้ว ราชบุรี กาญจนบุรี สุพรรณบุรี นครปฐม สมุทรสาคร แม่ฮ่องสอน อุทัยธานี ลําพูน อุตรดิตถ์ นครสวรรค์ ลําปาง ตาก แพร่ น่าน พะเยา กําแพงเพชร สุโขทัย พิจิตร พิษณุโลก เพชรบูรณ์ อํานาจเจริญ หนองบัวลําภู มุกดาหาร ชัยภูมิ เลย หนองคาย มหาสารคาม กาฬสินธุ์ ยโสธร สกลนคร นครพนม พังงา ระนอง สตูล 11 จังหวัด

1,000,000 คนขึ้นไป

กรุงเทพมหานคร สมุทรปราการ นนทบุรี ปทุมธานี ชลบุรี เชียงใหม่ เชียงราย

นครราชสีมา บุรีรัมย์ สุรินทร์ ศรีสะเกษ อุบลราชธานี ขอนแก่น อุดรธานี ร้อยเอ็ด กระบี่ ชุมพร พัทลุง ยะลา ภูเก็ต ตรัง ปัตตานี นราธิวาส นครศรีธรรมราช สุราษฎร์ธานี สงขลา 16 จังหวัด 31 จังหวัด 18 จังหวัด





120

ตาราง 2 อัตราการเพิ่มของประชากรเฉลี่ยต่อปี จําแนกตามจังหวัด ปี 2513 - 2553 หน่วย : ร้อยละ

จังหวัด ทั่วราชอาณาจักร ภาคเหนือ ภาคกลาง (รวม กทม.) ภาคกลาง (ไม่รวม กทม.) ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคใต้ กรุงเทพมหานคร สมุทรปราการ นนทบุรี ปทุมธานี พระนครศรีอยุธยา อ่างทอง ลพบุรี สิงห์บุรี ชัยนาท สระบุรี ชลบุรี ระยอง จันทบุรี ตราด ฉะเชิงเทรา ปราจีนบุรี นครนายก สระแก้ว1/ ราชบุรี กาญจนบุรี สุพรรณบุรี นครปฐม สมุทรสาคร สมุทรสงคราม เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ เชียงใหม่ ลําพูน ลําปาง อุตรดิตถ์

2513 - 2523 2.7 1.9 1.2 2.6 2.7 2.8 4.2 3.9 3.2 3.1 1.8 1.7 2.1 1.8 2.0 2.0 2.5 3.0 3.2 4.5 2.3 2.9 2.3 2.8 3.8 2.3 2.3 2.1 0.4 2.3 3.2 1.2 0.8 1.1 2.2

2523 - 2533 2.0 1.5 2.2 2.2 1.9 2.1 2.3 4.6 4.4 2.6 1.5 0.2 2.3 1.5 1.2 1.6 2.1 2.8 2.7 0.9 2.2 3.3 0.7 1.5 2.9 1.2 1.8 2.6 1.3 1.0 1.8 1.7 2.0 1.2 0.9

2533 - 2543 1.1 0.8 1.4 1.6 0.9 1.5 0.8 2.9 3.5 5.0 0.4 0.3 0.3 0.1 0.1 1.2 2.0 1.5 2.1 3.0 1.4 1.3 0.8 1.3 0.7 1.4 0.7 2.6 3.7 0.7 0.8 0.9 0.9 0.1 0.7 0.5

2543 - 2553 0.7 -0.0 7/ 2.5 2.5 -1.0 0.9 2.6 5.9 5.0 7.0 1.8 -0.6 0.3 -1.6 -1.7 2.2 4.1 4.6 0.1 1.2 1.2 3.0 0.2 1.4 0.4 0.9 -0.1 1.5 6.6 -1.0 0.8 0.3 1.3 -0.2 -0.7 -0.8


121

ตาราง 2 อัตราการเพิ่มของประชากรเฉลี่ยต่อปี จําแนกตามจังหวัด ปี 2513 - 2553 (ต่อ) หน่วย : ร้อยละ

จังหวัด แพร่ น่าน พะเยา2/ เชียงราย แม่ฮ่องสอน นครสวรรค์ อุทัยธานี กําแพงเพชร ตาก สุโขทัย พิษณุโลก พิจิตร เพชรบูรณ์ นครราชสีมา บุรีรัมย์ สุรินทร์ ศรีสะเกษ อุบลราชธานี ยโสธร3/ ชัยภูมิ อํานาจเจริญ4/ หนองบัวลําภู5/ ขอนแก่น อุดรธานี เลย หนองคาย มหาสารคาม ร้อยเอ็ด กาฬสินธุ์ สกลนคร นครพนม มุกดาหาร6/ นครศรีธรรมราช กระบี่ พังงา

2513 - 2523 1.4 1.5 1.7 2.4 2.2 2.4 4.0 2.3 2.2 2.5 2.0 2.6 2.7 3.2 2.8 2.9 3.1 2.6 1.8 2.7 3.1 3.3 1.8 1.9 2.4 3.0 3.1 2.7 3.7 2.3

2523 - 2533 1.4 1.4 1.3 1.5 1.8 1.0 2.7 2.4 2.1 1.1 1.8 0.2 2.5 2.0 2.1 2.0 1.9 1.5 2.8 2.0 2.6 1.9 1.9 2.5 1.8 1.7 1.6 1.6 1.4 1.4 2.5 2.1

2533 - 2543 0.2 0.9 0.6 0.7 2.9 0.5 0.3 0.5 3.7 0.6 0.5 0.4 1.0 0.7 1.0 0.8 0.9 0.9 0.6 0.9 0.9 1.0 0.7 1.0 1.3 1.0 0.8 1.1 0.9 1.0 0.9 1.6 0.8 2.0 1.1

2543 - 2553 -1.6 -0.3 -2.1 0.2 -0.9 -1.1 -0.5 1.5 0.6 0.4 1.2 -0.8 -0.4 -0.1 -1.7 -1.8 -2.9 0.3 -1.6 -1.4 -2.5 -0.1 0.0 8/ -1.4 -1.2 -0.9 -1.5 -1.6 -1.2 -1.1 -1.7 1.4 -0.5 0.7 0.9


122

ตาราง 2 อัตราการเพิ่มของประชากรเฉลี่ยต่อปี จําแนกตามจังหวัด ปี 2513 - 2553 (ต่อ) หน่วย : ร้อยละ

จังหวัด ภูเก็ต

2513 - 2523 2.7

2523 - 2533 2.4

2533 - 2543 4.1

2543 - 2553 7.7

3.0 3.4 2.8 2.8 2.9 3.1 3.0 2.4 2.9 2.0

2.4 3.4 1.9 2.9 2.9 1.7 0.7 2.1 2.5 3.2

1.5 3.2 1.8 1.4 1.7 1.2 1.5 1.5 2.0 1.9

1.5 4.4 0.4 1.7 1.0

สุราษฎร์ธานี ระนอง ชุมพร สงขลา สตูล ตรัง พัทลุง ปัตตานี ยะลา นราธิวาส หมายเหตุ : 1. เปลี่ยนแปลงเขตการปกครอง 1/

จังหวัดสระแก้ว แยกมาจากจังหวัดปราจีนบุรี ปี พ.ศ.2536

2/

จังหวัดพะเยา แยกมาจากจังหวัดเชียงราย ปี พ.ศ.2520

3/

จังหวัดยโสธร แยกมาจากจังหวัดอุบลราชธานี ปี พ.ศ.2515

4/

จังหวัดอํานาจเจริญ แยกมาจากจังหวัดอุบลราชธานี ปี พ.ศ.2536

5/

จังหวัดหนองบัวลําภู แยกมาจากจังหวัดอุดรธานี ปี พ.ศ.2536

6/

จังหวัดมุกดาหาร แยกมาจากจังหวัดนครพนม ปี พ.ศ.2525 2. อัตราการเพิ่มของประชากรเฉลี่ยต่อปี ปี 2543 - 2553

7/

ภาคเหนือ - 0.000535 %

8/

ขอนแก่น 0.04 %

9/

ตรัง 0.04 %

0.0 9/ -0.4 0.2 0.4 0.1





123

ตาราง 2.1 การจัดกลุ่มจังหวัด จําแนกตามช่วงชั้นของอัตราการเพิ่มของประชากรเฉลี่ยต่อปีและภาค ปี 2553 ภาค กลาง

< 0.00 % (ลดลง) อ่างทอง สิงห์บุรี ชัยนาท สุพรรณบุรี สมุทรสงคราม

เหนือ

ลําพูน ลําปาง อุตรดิตถ์ แพร่ น่าน พะเยา แม่ฮ่องสอน

0.00 - 1.20 % ลพบุรี จันทบุรี เพชรบุรี นครนายก กาญจนบุรี ราชบุรี ประจวบคิรีขันธ์ เชียงราย สุโขทัย ตาก

1.21 - 2.00 % พระนครศรีอยุธยา ตราด สระแก้ว ฉะเชิงเทรา นครปฐม เชียงใหม่ กําแพงเพชร พิษณุโลก

> 2.00 % กรุงเทพมหานคร สระบุรี สมุทรปราการ ระยอง นนทบุรี ปทุมธานี ชลบุรี ปราจีนบุรี สมุทรสาคร

นครสวรรค์ อุทัยธานี ตะวันออกเฉียงเหนือ

ใต้

รวม

พิจิตร เพชรบูรณ์ นครราชสีมา บุรีรัมย์ อุบลราชธานี ขอนแก่น ชัยภูมิ ศรีสะเกษ นครพนม สุรินทร์ ยโสธร อํานาจเจริญ อุดรธานี หนองคาย มหาสารคาม ร้อยเอ็ด กาฬสินธุ์ สกลนคร เลย หนองบัวลําภู นครศรีธรรมราช พัทลุง กระบี่ พังงา ชุมพร ตรัง สตูล ยะลา ปัตตานี นราธิวาส 34 จังหวัด 20 จังหวัด

มุกดาหาร

สุราษฎร์ธานี สงขลา

ภูเก็ต ระนอง

11 จังหวัด

11 จังหวัด



ตาราง 1.1 การจัดกลุ่มจังหวัด จําแนกตามช่วงชั้นของประชากรและภาค ปี 2553



124

ตาราง 3 อัตราส่วนเพศ(ชายต่อหญิง 100 คน) จําแนกตามจังหวัด ปี 2523 - 2553 หน่วย : ร้อยละ

จังหวัด ทั่วราชอาณาจักร ภาคเหนือ ภาคกลาง (รวม กทม.) ภาคกลาง (ไม่รวม กทม.) ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคใต้ กรุงเทพมหานคร สมุทรปราการ นนทบุรี ปทุมธานี พระนครศรีอยุธยา อ่างทอง ลพบุรี สิงห์บุรี ชัยนาท สระบุรี ชลบุรี ระยอง จันทบุรี ตราด ฉะเชิงเทรา ปราจีนบุรี นครนายก สระแก้ว1/ ราชบุรี กาญจนบุรี สุพรรณบุรี นครปฐม สมุทรสาคร สมุทรสงคราม เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ เชียงใหม่ ลําพูน ลําปาง อุตรดิตถ์

2523 99.3 100.9 97.2 98.1 100.2 99.5 95.3 97.8 98.3 97.8 95.2 92.9 101.9 92.7 93.3 98.0 101.9 100.9 100.3 103.7 97.4 101.4 94.9 97.0 102.1 94.4 96.2 97.4 93.8 96.1 104.4 103.4 102.0 101.8 100.7

2533 98.5 101.0 95.1 96.2 99.9 99.6 92.8 95.0 93.5 96.4 93.0 90.9 99.2 89.6 92.4 97.9 99.1 99.2 99.8 102.6 96.1 101.3 94.6 94.6 99.5 93.2 94.6 93.5 91.5 94.8 99.9 103.1 102.5 103.4 98.3

2543 97.1 98.2 94.1 95.9 99.1 98.5 90.1 94.4 91.9 94.7 93.3 90.7 98.5 90.9 92.6 99.1 99.4 101.1 97.4 99.3 96.6 98.1 97.3 101.0 94.6 98.4 94.0 94.1 94.0 91.2 93.7 99.4 97.8 97.1 99.6 97.1

2553 96.2 96.2 95.9 96.6 95.9 98.0 94.6 95.9 92.4 94.1 94.3 91.6 100.4 92.4 92.0 97.3 98.9 103.4 97.2 104.1 98.2 96.4 97.0 98.6 93.6 98.8 92.9 95.1 99.2 95.4 95.7 101.4 96.3 95.2 97.8 94.3


125

ตาราง 3 อัตราส่วนเพศ(ชายต่อหญิง 100 คน) จําแนกตามจังหวัด ปี 2523 - 2553 (ต่อ) หน่วย : ร้อยละ

จังหวัด แพร่ น่าน พะเยา เชียงราย แม่ฮ่องสอน นครสวรรค์ อุทัยธานี กําแพงเพชร ตาก สุโขทัย พิษณุโลก พิจิตร เพชรบูรณ์ นครราชสีมา บุรีรัมย์ สุรินทร์ ศรีสะเกษ อุบลราชธานี ยโสธร ชัยภูมิ อํานาจเจริญ2/ หนองบัวลําภู3/ ขอนแก่น อุดรธานี เลย หนองคาย มหาสารคาม ร้อยเอ็ด กาฬสินธุ์ สกลนคร นครพนม มุกดาหาร4/ นครศรีธรรมราช กระบี่ พังงา

2523 100.9 101.6 104.2 104.4 104.5 98.0 96.4 100.2 101.7 96.2 100.0 96.8 101.5 100.0 100.0 98.5 98.5 100.3 99.9 100.7 100.7 101.7 104.2 102.1 98.9 99.8 101.1 99.4 98.8 99.1 101.9 103.8

2533 101.3 103.3 105.7 105.0 107.9 97.3 97.0 99.8 103.3 96.1 99.7 94.9 101.3 99.5 100.1 99.3 98.1 101.0 98.8 99.8 99.2 101.0 104.0 101.5 97.7 99.5 100.8 99.6 98.8 102.4 99.6 102.4 101.8

2543 97.3 101.7 99.7 100.7 106.4 96.1 96.2 98.9 101.5 94.7 97.1 94.2 98.7 97.0 99.5 98.9 98.2 100.3 99.2 98.4 100.4 100.2 99.2 100.8 101.9 101.7 97.1 98.5 99.0 99.3 99.0 100.6 98.3 101.5 102.2

2553 94.9 99.5 96.5 97.1 103.2 94.6 94.0 96.8 98.1 93.1 95.2 94.7 96.8 97.2 94.7 94.4 95.2 97.0 97.6 95.3 97.3 95.0 94.5 95.8 99.4 96.1 93.1 95.6 95.9 96.0 95.8 98.6 97.9 100.1 104.6


126

ตาราง 3 อัตราส่วนเพศ(ชายต่อหญิง 100 คน) จําแนกตามจังหวัด ปี 2523 - 2553 (ต่อ) หน่วย : ร้อยละ

จังหวัด ภูเก็ต สุราษฎร์ธานี ระนอง ชุมพร สงขลา สตูล ตรัง พัทลุง ปัตตานี ยะลา นราธิวาส หมายเหตุ :

1/ 2/

2523 99.6 98.5 106.1 101.9 98.6 106.1 98.8 96.9 100.0 101.3 100.1

2533 98.5 99.0 106.5 100.9 98.2 100.3 97.6 97.1 99.3 101.3 101.7

2543 96.3 99.3 103.5 100.2 96.1 101.5 97.2 96.4 97.8 99.9 99.8

2553 99.6 97.5 103.7 103.6 95.3 103.1 95.9 94.8 95.7 98.2 98.3

จังหวัดสระแก้ว แยกมาจากจังหวัดปราจีนบุรี ปี พ.ศ.2536

3/

จังหวัดหนองบัวลําภู แยกมาจากจังหวัดอุดรธานี ปี พ.ศ.2536

จังหวัดอํานาจเจริญ แยกมาจากจังหวัดอุบลราชธานี ปี พ.ศ.2536

4/

จังหวัดมุกดาหาร แยกมาจากจังหวัดนครพนม ปี พ.ศ.2525

ตาราง 3.1 การจัดกลุ่มจังหวัด จําแนกตามช่วงชั้นของอัตราส่วนเพศ(ชายต่อหญิง 100 คน) และภาค ปี 2553 ภาค กลาง

เหนือ

ตะวันออกเฉียงเหนือ

ใต้ รวม

< 100.0 % กรุงเทพมหานคร สมุทรปราการ นนทบุรี สมุทรสาคร จันทบุรี สระแก้ว กาญจนบุรี เพชรบุรี ชัยนาท สระบุรี ฉะเชิงเทรา ปราจีนบุรี นครนายก สุพรรณบุรี ราชบุรี อ่างทอง ปทุมธานี นครปฐม พระนครศรีอยุธยา สิงห์บุรี ชลบุรี สมุทรสงคราม

100.0%

> 100.0 %

-

ลพบุรี ระยอง ตราด

ประจวบคีรีขันธ์

เชียงใหม่ ลําพูน ลําปาง อุตรดิตถ์ แพร่ น่าน พะเยา เชียงราย อุทัยธานี กําแพงเพชร สุโขทัย ตาก พิษณุโลก เพชรบูรณ์ พิจิตร นครสวรรค์

-

นครราชสีมา บุรีรัมย์ สุรินทร์ ศรีสะเกษ อุบลราชธานี ยโสธร หนองบัวลําภู เลย ขอนแก่น อุดรธานี หนองคาย ร้อยเอ็ด มหาสารคาม กาฬสินธุ์ นครพนม ชัยภูมิ อํานาจเจริญ สกลนคร มุกดาหาร

-

สุราษฎร์ธานี ภูเก็ต ตรัง สงขลา นครศรีธรรมราช พัทลุง ยะลา ปัตตานี นราธิวาส

-

กระบี่ ชุมพร พังงา ระนอง สตูล

-

10 จังหวัด

66 จังหวัด

แม่ฮ่องสอน





127

ตาราง 4 ความหนาแน่นของประชากร จําแนกตามจังหวัด ปี 2523 - 2553 หน่วย :คน ต่อ ตร.กม.

จังหวัด ทั่วราชอาณาจักร ภาคเหนือ ภาคกลาง (รวม กทม.) ภาคกลาง (ไม่รวม กทม.) ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคใต้ กรุงเทพมหานคร สมุทรปราการ นนทบุรี ปทุมธานี พระนครศรีอยุธยา อ่างทอง ลพบุรี สิงห์บุรี ชัยนาท สระบุรี ชลบุรี ระยอง จันทบุรี ตราด ฉะเชิงเทรา ปราจีนบุรี นครนายก สระแก้ว1/ ราชบุรี กาญจนบุรี สุพรรณบุรี นครปฐม สมุทรสาคร สมุทรสงคราม เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ เชียงใหม่ ลําพูน ลําปาง อุตรดิตถ์

2523 87.4 53.5 138.8 95.0 93.0 79.6 3,001.3 482.9 594.5 209.5 235.4 265.2 92.2 241.3 128.8 121.0 159.0 95.5 47.0 52.5 83.2 47.4 97.1 122.2 24.7 132.4 242.6 283.5 403.9 58.5 53.8 57.4 74.4 51.8 51.2

2533 106.3 62.4 172.8 118.0 112.8 98.5 3,758.7 766.8 924.0 270.3 274.0 269.6 116.3 279.8 144.6 142.0 195.1 126.9 61.6 57.6 103.2 65.7 104.5 141.4 32.9 148.9 290.4 368.1 458.3 64.5 64.6 68.0 91.0 58.2 56.2

2543 119.0 67.4 198.0 138.9 123.3 114.4 4,051.2 1,024.2 1,312.3 444.1 284.5 278.2 120.3 283.0 145.7 160.8 238.6 147.0 75.0 77.8 118.7 85.4 113.6 67.5 152.3 37.7 159.8 375.9 534.5 490.0 69.9 70.6 74.6 91.7 62.4 59.3

2553 127.6 67.4 254.1 177.3 111.4 125.0 5,258.6 1,820.6 2,143.1 869.4 340.1 261.1 124.1 241.5 123.1 200.0 356.3 230.7 76.1 87.3 133.7 114.7 115.4 77.2 152.9 41.0 157.7 434.7 1,015.2 442.2 75.6 73.0 85.0 90.1 58.4 54.6


128

ตาราง 4 ความหนาแน่นของประชากร จําแนกตามจังหวัด ปี 2523 - 2553 (ต่อ) หน่วย :คน ต่อ ตร.กม.

จังหวัด แพร่ น่าน พะเยา เชียงราย แม่ฮ่องสอน นครสวรรค์ อุทัยธานี กําแพงเพชร ตาก สุโขทัย พิษณุโลก พิจิตร เพชรบูรณ์ นครราชสีมา บุรีรัมย์ สุรินทร์ ศรีสะเกษ อุบลราชธานี ยโสธร ชัยภูมิ อํานาจเจริญ2/ หนองบัวลําภู3/ ขอนแก่น อุดรธานี เลย หนองคาย มหาสารคาม ร้อยเอ็ด กาฬสินธุ์ สกลนคร นครพนม มุกดาหาร4/ นครศรีธรรมราช กระบี่ พังงา

2523 64.3 31.5 66.0 77.3 10.5 98.2 33.5 59.0 16.6 75.8 58.5 118.7 53.7 95.1 106.4 123.1 120.3 85.6 96.1 64.0 115.2 93.8 38.6 84.3 138.5 114.3 104.0 83.9 78.0 122.2 45.9 40.8

2533 73.9 36.3 74.9 90.1 12.5 108.4 43.8 74.8 20.4 85.0 70.0 121.5 68.7 115.9 131.5 150.2 145.5 98.9 127.1 78.1 148.9 113.6 46.9 108.8 166.0 135.2 121.7 98.2 113.0 61.0 140.9 58.7 50.2

2543 75.3 39.9 79.4 96.7 16.6 113.6 45.2 78.3 29.6 89.9 73.3 126.5 76.2 124.7 144.7 163.4 159.0 107.4 134.9 85.7 113.7 125.0 159.2 125.1 53.1 120.5 179.0 151.4 132.6 108.3 124.2 71.6 152.9 71.4 52.6

2553 63.9 38.7 64.4 99.1 15.2 101.7 43.1 91.0 31.3 93.6 82.9 117.1 73.5 123.1 122.5 136.9 118.2 110.2 115.2 74.6 88.2 124.4 159.4 109.2 47.0 110.4 154.5 129.4 117.3 97.1 104.9 82.1 145.8 76.3 61.2


129

ตาราง 4 ความหนาแน่นของประชากร จําแนกตามจังหวัด ปี 2523 - 2553 (ต่อ) หน่วย :คน ต่อ ตร.กม.

จังหวัด ภูเก็ต สุราษฎร์ธานี ระนอง ชุมพร สงขลา สตูล ตรัง พัทลุง

2523 241.2 45.6 25.3 51.7 110.7 63.1 90.8 119.8

2533 306.3 58.0 35.5 62.2 148.0 84.3 107.5 128.8

2543 459.4 67.4 48.9 72.1 169.8 100.0 120.4 145.6

2553 966.9 78.0 75.0 77.6 200.2 110.1 121.2 139.5

ปัตตานี

215.9

265.7

307.2

311.9

ยะลา

58.7

75.4

91.9

95.6

นราธิวาส

88.9

122.2

148.0

149.5

หมายเหตุ :

1/ 2/

จังหวัดสระแก้ว แยกมาจากจังหวัดปราจีนบุรี ปี พ.ศ.2536

3/

จังหวัดหนองบัวลําภู แยกมาจากจังหวัดอุดรธานี ปี พ.ศ.2536

จังหวัดอํานาจเจริญ แยกมาจากจังหวัดอุบลราชธานี ปี พ.ศ.2536

4/

จังหวัดมุกดาหาร แยกมาจากจังหวัดนครพนม ปี พ.ศ.2525





130

ตาราง 4.1 การจัดกลุ่มจังหวัด จําแนกตามช่วงชั้นของความหนาแน่นของประชากรและภาค ปี 2553 ภาค กลาง

เหนือ

< 100 คนต่อ ตร.กม.

100–200 คนต่อ ตร.กม.

201-900 คนต่อ ตร.กม. >900 คนต่อ ตร.กม.

จันทบุรี ตราด สระแก้ว

ลพบุรี ชัยนาท สระบุรี

อ่างทอง ปทุมธานี

กรุงเทพมหานคร

กาญจนบุรี เพชรบุรี

ลพบุรี ชัยนาท สระบุรี

พระนครศรีอยุธยา

สมุทรปราการ

ประจวบคีรีขันธ์

นครนายก ราชบุรี

สิงห์บุรี ระยอง ชลบุรี

นนทบุรี

สุพรรณบุรี

นครปฐม สมุทรสงคราม

สมุทรสาคร

เชียงใหม่ ลําพูน ลําปาง

พิจิตร นครสวรรค์

อุตรดิตถ์ แพร่ น่าน พะเยา เชียงราย แม่ฮ่องสอน อุทัยธานี กําแพงเพชร ตาก สุโขทัย พิษณุโลก เพชรบูรณ์

ตะวันออกเฉียงเหนือ ชัยภูมิ อํานาจเจริญ เลย สกลนคร มุกดาหาร

นครราชสีมา บุรีรัมย์ สุรินทร์ ศรีสะเกษ อุบลราชธานี ยโสธร หนองบัวลําภู ขอนแก่น อุดรธานี หนองคาย มหาสารคาม ร้อยเอ็ด กาฬสินธุ์ นครพนม

ใต้ รวม

กระบี่ พังงา สุราษฎร์ธานี

นครศรีธรรมราช สงขลา

ระนอง ชุมพร ยะลา

สตูล ตรัง พัทลุง นราธิวาส

32 จังหวัด

30 จังหวัด

ปัตตานี

9 จังหวัด

ภูเก็ต

5 จังหวัด



ตาราง 1.1 การจัดกลุ่มจังหวัด จําแนกตามช่วงชั้นของประชากรและภาค ปี 2553


131

ตาราง 5 ร้อยละของประชากรในเขตเทศบาล จําแนกตามจังหวัด ปี 2523 - 2553 หน่วย : ร้อยละ

จังหวัด ทั่วราชอาณาจักร ภาคเหนือ ภาคกลาง (รวม กทม.) ภาคกลาง (ไม่รวม กทม.) ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคใต้ กรุงเทพมหานคร สมุทรปราการ นนทบุรี ปทุมธานี พระนครศรีอยุธยา อ่างทอง ลพบุรี สิงห์บุรี ชัยนาท สระบุรี ชลบุรี ระยอง จันทบุรี ตราด ฉะเชิงเทรา ปราจีนบุรี นครนายก สระแก้ว1/ ราชบุรี กาญจนบุรี สุพรรณบุรี นครปฐม สมุทรสาคร สมุทรสงคราม เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ เชียงใหม่ ลําพูน ลําปาง อุตรดิตถ์

2523 26.4 18.3 50.6 26.7 11.5 19.0 100.0 47.5 30.6 38.2 29.7 22.9 18.2 30.9 10.4 33.6 45.9 17.6 24.6 14.7 20.9 13.2 11.5 28.9 20.9 16.3 19.9 37.7 24.2 37.6 32.4 23.4 14.8 25.2 11.4

2533 29.4 20.7 53.7 31.3 14.6 20.2 100.0 49.0 68.8 51.8 29.9 25.5 16.0 29.6 5.4 35.2 50.1 31.5 33.2 23.6 18.6 13.2 8.2 31.4 24.5 18.2 21.3 45.1 25.3 36.3 34.2 27.8 17.7 27.5 21.3

2543 31.1 20.6 54.7 34.5 16.8 23.0 100.0 63.1 66.1 46.8 33.0 26.9 16.1 29.4 13.0 39.1 54.5 39.5 32.8 22.9 21.0 16.8 12.6 14.7 30.6 23.5 17.3 27.0 42.0 23.5 36.6 36.4 26.5 24.0 28.8 21.4

2553 44.1 34.4 62.6 45.5 29.0 33.5 100.0 59.2 59.7 57.1 42.0 42.9 30.6 28.0 67.4 33.3 74.5 54.3 50.1 33.3 28.8 14.1 11.3 24.3 39.9 36.4 27.0 36.0 54.0 22.7 37.1 37.8 55.5 63.9 50.1 34.4


132

ตาราง 5 ร้อยละของประชากรในเขตเทศบาล จําแนกตามจังหวัด ปี 2523 - 2553 (ต่อ) หน่วย : ร้อยละ

จังหวัด แพร่ น่าน พะเยา เชียงราย แม่ฮ่องสอน นครสวรรค์ อุทัยธานี กําแพงเพชร ตาก สุโขทัย พิษณุโลก พิจิตร เพชรบูรณ์ นครราชสีมา บุรีรัมย์ สุรินทร์ ศรีสะเกษ อุบลราชธานี ยโสธร ชัยภูมิ อํานาจเจริญ2/ หนองบัวลําภู3/ ขอนแก่น อุดรธานี เลย หนองคาย มหาสารคาม ร้อยเอ็ด กาฬสินธุ์ สกลนคร นครพนม มุกดาหาร4/ นครศรีธรรมราช กระบี่ พังงา

2523 16.2 14.1 15.9 13.9 13.1 23.8 17.5 12.5 20.0 19.4 20.8 17.3 14.2 14.1 9.9 6.6 4.4 12.0 11.4 10.7 17.3 15.8 11.6 13.0 9.0 8.6 9.2 10.4 13.0 13.3 11.7 16.6

2533 20.3 14.1 19.4 15.7 15.8 22.9 17.4 15.1 26.4 21.2 18.9 19.4 18.0 20.9 14.7 7.3 8.4 14.4 11.6 13.3 18.9 22.6 13.1 13.8 9.8 9.3 15.5 10.4 13.2 14.4 12.8 14.2 15.2

2543 21.8 13.6 22.0 17.7 10.1 21.1 17.9 12.9 24.3 19.6 19.6 20.5 16.5 21.0 13.8 7.9 10.6 15.9 11.1 16.2 17.9 22.9 21.7 27.2 17.0 20.8 12.2 12.2 20.4 14.0 13.8 15.1 17.1 16.5 14.6

2553 36.2 21.3 53.0 38.7 11.8 22.3 22.1 26.6 27.4 26.0 21.5 23.1 18.3 25.8 29.3 13.2 14.8 23.5 25.6 20.9 34.3 41.8 40.3 37.4 29.7 28.0 18.2 33.5 52.0 33.4 20.9 50.5 18.3 14.6 15.5


133

ตาราง 5 ร้อยละของประชากรในเขตเทศบาล จําแนกตามจังหวัด ปี 2523 - 2553 (ต่อ) หน่วย : ร้อยละ

จังหวัด ภูเก็ต สุราษฎร์ธานี ระนอง ชุมพร สงขลา สตูล ตรัง พัทลุง ปัตตานี ยะลา นราธิวาส หมายเหตุ :

2523 48.7 23.9 26.5 13.5 27.2 15.0 18.2 9.8 15.0 27.7 21.0

2533 47.4 23.6 24.8 15.0 28.8 13.7 19.7 13.6 15.5 30.4 23.6

1/

จังหวัดสระแก้ว แยกมาจากจังหวัดปราจีนบุรี ปี พ.ศ.2536 2/ จังหวัดอํานาจเจริญ แยกมาจากจังหวัดอุบลราชธานี ปี พ.ศ.2536

2543 36.7 30.9 19.1 18.7 32.5 16.1 20.0 14.6 19.5 27.6 24.6

2553 68.1 40.6 49.6 31.6 54.1 20.1 18.4 50.9 17.1 27.6 19.9

3/

จังหวัดหนองบัวลําภู แยกมาจากจังหวัดอุดรธานี ปี พ.ศ.2536 4/ จังหวัดมุกดาหาร แยกมาจากจังหวัดนครพนม ปี พ.ศ.2525

ตาราง 5.1 การจัดกลุ่มจังหวัด จําแนกตามช่วงชั้นของร้อยละของประชากรในเขตเทศบาลและภาค ปี 2553 ภาค กลาง

เหนือ

< 20.0 % ปราจีนบุรี นครนายก

แม่ฮ่องสอน เพชรบูรณ์

ตะวันออกเฉียงเหนือ

สุรินทร์ ศรีสะเกษ มหาสารคาม

ใต้

นครศรีธรรมราช พังงา ตรัง ปัตตานี กระบี่ นราธิวาส 13 จังหวัด

รวม

20.0 – 30.0 % ลพบุรี สิงห์บุรี ตราด ฉะเชิงเทรา สระแก้ว สุพรรณบุรี สมุทรสงคราม

30.1 – 40.0 % สระบุรี ราชบุรี นครปฐม กาญจนบุรี เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์

น่าน นครสวรรค์ ตาก อุทัยธานี สุโขทัย พิษณุโลก กําแพงเพชร พิจิตร นครราชสีมา บุรีรัมย์ อุบลราชธานี ยโสธร ชัยภูมิ เลย หนองคาย นครพนม สตูล ยะลา

อุตรดิตถ์ แพร่ เชียงราย

25 จังหวัด

> 40.1 % กรุงเทพมหานคร สมุทรปราการ นนทบุรี ปทุมธานี พระนครศรีอยุธยา อ่างทอง ระยอง ชัยนาท จันทบุรี สมุทรสาคร ชลบุรี เชียงใหม่ ลําพูน ลําปาง พะเยา

อํานาจเจริญ อุดรธานี ร้อยเอ็ด สกลนคร

ขอนแก่น หนองบัวลําภู กาฬสินธุ์ มุกดาหาร

ชุมพร

ภูเก็ต สุราษฎร์ธานี สงขลา ระนอง พัทลุง 24 จังหวัด

14 จังหวัด





134

ตาราง 6 ร้อยละของประชากรนอกเขตเทศบาล จําแนกตามจังหวัด ปี 2523 - 2553 หน่วย : ร้อยละ

จังหวัด ทั่วราชอาณาจักร ภาคเหนือ ภาคกลาง (รวม กทม.) ภาคกลาง (ไม่รวม กทม.) ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคใต้ กรุงเทพมหานคร สมุทรปราการ นนทบุรี ปทุมธานี พระนครศรีอยุธยา อ่างทอง ลพบุรี สิงห์บุรี ชัยนาท สระบุรี ชลบุรี ระยอง จันทบุรี ตราด ฉะเชิงเทรา ปราจีนบุรี นครนายก สระแก้ว1/ ราชบุรี กาญจนบุรี สุพรรณบุรี นครปฐม สมุทรสาคร สมุทรสงคราม เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ เชียงใหม่ ลําพูน ลําปาง อุตรดิตถ์

2523 73.6 81.7 49.4 73.3 88.5 81.0 0.0 52.5 69.4 61.8 70.3 77.1 81.8 69.1 89.6 66.4 54.1 82.4 75.4 85.3 79.1 86.8 88.5 71.1 79.1 83.7 80.1 62.3 75.8 62.4 67.6 76.6 85.2 74.8 88.6

2533 70.6 79.3 46.3 68.7 85.4 79.8 0.0 51.0 31.2 48.2 70.1 74.5 84.0 70.4 94.6 64.8 49.9 68.5 66.8 76.4 81.4 86.8 91.8 68.6 75.5 81.8 78.7 54.9 74.7 63.7 65.8 72.2 82.3 72.5 78.7

2543 68.9 79.4 45.3 65.5 83.2 77.0 0.0 37.0 33.9 53.2 67.0 73.1 83.9 70.6 87.0 60.9 45.5 60.5 67.2 77.1 79.0 83.2 87.4 85.3 69.4 76.5 82.7 73.0 58.0 76.5 63.4 63.6 73.5 76.0 71.2 78.6

2553 55.9 65.6 37.4 54.5 71.0 66.5 0.0 40.8 40.3 42.9 58.0 57.1 69.4 72.0 32.6 66.7 25.5 45.7 49.9 66.7 71.2 85.9 88.7 75.7 60.1 63.6 73.0 64.0 46.0 77.3 62.9 62.2 44.5 36.1 49.9 65.6


135

ตาราง 6 ร้อยละของประชากรนอกเขตเทศบาล จําแนกตามจังหวัด ปี 2523 - 2553 (ต่อ) หน่วย : ร้อยละ

จังหวัด

2523

2533

2543

2553

แพร่ น่าน พะเยา เชียงราย แม่ฮ่องสอน นครสวรรค์ อุทัยธานี กําแพงเพชร ตาก สุโขทัย พิษณุโลก พิจิตร เพชรบูรณ์ นครราชสีมา บุรีรัมย์ สุรินทร์ ศรีสะเกษ อุบลราชธานี ยโสธร ชัยภูมิ อํานาจเจริญ2/

83.8 85.9 84.1 86.1 86.9 76.2 82.5 87.5 80.0 80.6 79.2 82.7 85.8 85.9 90.1 93.4 95.6 88.0 88.6 89.3 -

79.7 85.9 80.6 84.3 84.2 77.1 82.6 84.9 73.6 78.8 81.1 80.6 82.0 79.1 85.3 92.7 91.6 85.6 88.4 86.7 -

78.2 86.4 78.0 82.3 89.9 78.9 82.1 87.1 75.8 80.4 80.4 79.5 83.5 79.0 86.2 92.1 89.4 84.1 88.9 83.8 82.1

63.8 78.7 47.0 61.3 88.2 77.7 77.9 73.4 72.6 74.0 78.5 76.9 81.7 74.2 70.7 86.8 85.2 76.5 74.4 79.1 65.7

หนองบัวลําภู3/ ขอนแก่น อุดรธานี เลย หนองคาย มหาสารคาม ร้อยเอ็ด กาฬสินธุ์ สกลนคร นครพนม มุกดาหาร4/ นครศรีธรรมราช กระบี่ พังงา

82.7 84.2 88.4 87.0 91.0 91.4 90.8 89.6 87.0 86.7 88.3 83.6

81.1 77.4 86.9 86.2 90.2 90.7 84.5 89.6 86.8 85.6 87.2 85.8 84.8

77.1 78.3 72.8 83.0 79.2 87.8 87.8 79.6 86.0 86.2 84.9 82.9 83.6 85.5

58.2 59.7 62.6 70.3 72.0 81.8 66.5 48.0 66.6 79.1 49.5 81.7 85.4 84.5


136

ตาราง 6 ร้อยละของประชากรนอกเขตเทศบาล จําแนกตามจังหวัด ปี 2523 - 2553 (ต่อ) หน่วย : ร้อยละ

จังหวัด

2523

2533

2543

2553

ภูเก็ต สุราษฎร์ธานี ระนอง ชุมพร สงขลา สตูล ตรัง พัทลุง ปัตตานี ยะลา นราธิวาส

51.3 76.1 73.5 86.5 72.8 85.0 81.8 90.2 85.0 72.3 79.0

52.6 76.4 75.2 85.0 71.2 86.3 80.3 86.4 84.5 69.6 76.4

63.3 69.1 80.9 81.3 67.6 83.9 80.0 85.4 80.5 72.4 75.5

31.9 59.4 50.4 68.4 45.9 79.9 81.6 49.1 82.9 72.4 80.1

หมายเหตุ :

1/ 2/

จังหวัดสระแก้ว แยกมาจากจังหวัดปราจีนบุรี ปี พ.ศ.2536

3/

จังหวัดหนองบัวลําภู แยกมาจากจังหวัดอุดรธานี ปี พ.ศ.2536

จังหวัดอํานาจเจริญ แยกมาจากจังหวัดอุบลราชธานี ปี พ.ศ.2536

4/

จังหวัดมุกดาหาร แยกมาจากจังหวัดนครพนม ปี พ.ศ.2525

ตาราง 6.1 การจัดกลุ่มจังหวัด จําแนกตามช่วงชั้นของร้อยละของประชากรนอกเขตเทศบาลและภาค ปี 2553 ภาค กลาง

< 50.0 % กรุงเทพมหานคร สมุทรปราการ นนทบุรี ปทุมธานี ชัยนาท ชลบุรี ระยอง จันทบุรี สมุทรสาคร

เหนือ

เชียงใหม่ ลําพูน ลําปาง พะเยา

ตะวันออกเฉียงเหนือ

มุกดาหาร กาฬสินธุ์

ใต้

ภูเก็ต สงขลา พัทลุง

รวม

18 จังหวัด

50.0 – 70.0 % พระนครศรีอยุธยา อ่างทอง ลพบุรี สระบุรี ราชบุรี กาญจนบุรี นครปฐม เพชรบุรี ตราด ประจวบคีรีขันธ์ อุตรดิตถ์ แพร่ เชียงราย

70.1 – 80.0 % > 80.1 % ขึ้นไป สิงห์บุรี ฉะเชิงเทรา ปราจีนบุรี นครนายก สระแก้ว สุพรรณบุรี สมุทรสงคราม

น่าน นครสวรรค์ อุทัยธานี กําแพงเพชร ตาก สุโขทัย พิษณุโลก พิจิตร อํานาจเจริญ นครราชสีมา บุรีรัมย์ หนองบัวลําภู อุบลราชธานี ยโสธร อุดรธานี ร้อยเอ็ด ชัยภูมิ เลย หนองคาย ขอนแก่น สกลนคร นครพนม สุราษฎร์ธานี ระนอง สตูล ยะลา ชุมพร 22 จังหวัด

23 จังหวัด

แม่ฮ่องสอน เพชรบูรณ์

สุรินทร์ ศรีสะเกษ มหาสารคาม

นครศรีธรรมราช กระบี่ พังงา ตรัง ปัตตานี นราธิวาส 13 จังหวัด





137

ตาราง 7 จํานวนครัวเรือน จําแนกตามจังหวัด ปี 2523 - 2553 หน่วย : ครัวเรือน

จังหวัด ทั่วราชอาณาจักร ภาคเหนือ ภาคกลาง (รวม กทม.) ภาคกลาง (ไม่รวม กทม.) ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคใต้ กรุงเทพมหานคร สมุทรปราการ นนทบุรี ปทุมธานี พระนครศรีอยุธยา อ่างทอง ลพบุรี สิงห์บุรี ชัยนาท สระบุรี ชลบุรี ระยอง จันทบุรี ตราด ฉะเชิงเทรา ปราจีนบุรี นครนายก สระแก้ว1/ ราชบุรี กาญจนบุรี สุพรรณบุรี นครปฐม สมุทรสาคร สมุทรสงคราม เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ เชียงใหม่ ลําพูน ลําปาง อุตรดิตถ์

2523

2533

2543

2553

8,414,600 1,863,300 2,779,900 1,877,000 2,708,700 1,062,800 902,900 94,700 67,200 59,700 120,000 54,000 117,100 43,000 66,500 85,000 129,900 66,100 58,400 28,400 84,300 105,200 41,000 122,200 91,700 139,700 93,800 43,400 32,300 69,200 64,200 264,100 75,300 136,900 78,600

12,317,800 2,622,200 4,143,100 2,809,400 4,029,400 1,523,100 1,333,700 174,600 126,500 93,100 161,800 65,900 176,300 58,700 90,900 121,000 202,300 106,200 93,200 37,700 122,200 185,200 56,600 167,400 145,500 185,100 135,300 71,800 43,700 91,600 96,600 362,900 109,800 185,600 109,200

15,877,200 3,181,100 5,646,500 3,906,500 5,051,100 1,998,400 1,740,000 318,700 234,400 196,200 191,700 72,400 206,500 63,400 104,500 159,100 290,700 151,300 131,700 59,800 164,900 111,800 70,700 132,700 201,700 188,600 225,900 209,300 136,200 53,000 113,000 118,600 430,200 118,000 222,400 134,500

20,329,171 3,687,240 8,847,980 5,973,457 5,324,725 2,499,226 2,844,523 645,723 470,675 526,065 305,909 75,730 234,488 57,026 96,473 206,535 597,832 264,388 146,172 59,774 199,795 179,476 74,204 170,896 233,077 235,168 247,552 285,638 327,987 49,487 142,566 140,821 596,071 145,449 237,279 141,639


138

ตาราง 7 จํานวนครัวเรือน จําแนกตามจังหวัด ปี 2523 - 2553 (ต่อ) หน่วย : ครัวเรือน

จังหวัด แพร่ น่าน พะเยา เชียงราย แม่ฮ่องสอน นครสวรรค์ อุทัยธานี กําแพงเพชร ตาก สุโขทัย พิษณุโลก พิจิตร เพชรบูรณ์ นครราชสีมา บุรีรัมย์ สุรินทร์ ศรีสะเกษ อุบลราชธานี ยโสธร ชัยภูมิ อํานาจเจริญ2/ หนองบัวลําภู3/ ขอนแก่น อุดรธานี เลย หนองคาย มหาสารคาม ร้อยเอ็ด กาฬสินธุ์ สกลนคร นครพนม มุกดาหาร4/ นครศรีธรรมราช กระบี่ พังงา

2523

2533

2543

2553

90,000 68,500 86,100 188,800 27,100 189,000 46,900 98,900 53,400 102,300 125,900 107,500 124,000 345,500 186,000 176,200 181,200 270,800 69,600 152,700 -

123,800 98,500 121,000 261,900 35,900 256,300 73,700 150,400 78,700 138,000 187,200 136,600 192,300 529,600 280,900 263,200 269,900 380,000 115,400 226,100 -

144,000 118,900 144,800 314,700 52,600 303,200 85,700 183,400 126,200 167,600 224,800 162,000 248,200 644,100 351,500 320,000 331,600 396,200 138,600 276,500 85,900

143,757 137,245 138,421 384,101 56,655 321,085 93,614 239,806 146,931 196,340 302,772 145,404 260,671 726,851 350,223 317,568 283,601 472,779 143,955 283,219 79,830

220,400 244,100 80,600 104,400 125,500 166,500 122,500 136,600 126,100 215,000 38,200 31,500

355,700 352,100 114,200 160,500 192,000 238,200 180,300 193,900 124,900 52,200 297,100 58,900 46,800

111,500 431,000 355,000 152,500 209,200 230,600 304,600 222,400 247,900 164,700 77,200 374,300 81,800 61,800

131,362 542,259 357,198 149,693 190,759 229,849 301,016 236,196 277,251 164,427 86,689 429,435 102,676 75,055


139

ตาราง 7 จํานวนครัวเรือน จําแนกตามจังหวัด ปี 2523 - 2553 (ต่อ) หน่วย : ครัวเรือน

จังหวัด ภูเก็ต สุราษฎร์ธานี ระนอง ชุมพร สงขลา สตูล ตรัง พัทลุง ปัตตานี ยะลา นราธิวาส หมายเหตุ :

2523 24,700 108,300 15,700 61,800 159,000 28,800 80,400 76,300 84,700 56,700 81,700

2533 36,800 167,800 27,200 90,200 243,800 42,600 133,900 98,700 106,200 75,600 117,600

2543 70,500 225,500 43,400 123,200 315,700 58,100 592,200 129,200 124,900 95,800 144,100

2553 164,051 297,755 74,906 141,221 416,305 73,752 171,626 141,571 145,470 109,367 156,036

1/

จังหวัดสระแก้ว แยกมาจากจังหวัดปราจีนบุรี ปี พ.ศ.2536

3/

จังหวัดหนองบัวลําภู แยกมาจากจังหวัดอุดรธานี ปี พ.ศ.2536

2/

จังหวัดอํานาจเจริญ แยกมาจากจังหวัดอุบลราชธานี ปี พ.ศ.2536

4/

จังหวัดมุกดาหาร แยกมาจากจังหวัดนครพนม ปี พ.ศ.2525

ตาราง 7.1 การจัดกลุ่มจังหวัด จําแนกตามช่วงชั้นของจํานวนครัวเรือนและภาค ปี 2553 ภาค กลาง

เหนือ

ตะวันออกเฉียงเหนือ

ใต้

รวม

< 100,000 ครัวเรือน อ่างทอง สิงห์บุรี ชัยนาท ตราด นครนายก สมุทรสงคราม

100,000–300,000 ครัวเรือน ลพบุรี สระบุรี ระยอง จันทบุรีฉะเชิงเทรา ปราจีนบุรี สระแก้ว ราชบุรี กาญจนบุรี สุพรรณบุรี นครปฐม เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ แม่ฮ่องสอน อุทัยธานี ลําพูน ลําปาง อุตรดิตถ์ แพร่ น่าน พะเยา ตาก กําแพงเพชร สุโขทัย พิจิตร เพชรบูรณ์ อํานาจเจริญ ศรีสะเกษ ยโสธร หนองบัวลําภู มุกดาหาร ชัยภูมิ เลย หนองคาย มหาสารคาม กาฬสินธุ์ สกลนคร นครพนม กระบี่ ภูเก็ต ชุมพร พังงา ระนอง สตูล ตรัง พัทลุง สุราษฎร์ธานี ปัตตานี ยะลา นราธิวาส 14 จังหวัด 42 จังหวัด

300,001–500,000 ครัวเรือน นนทบุรี สมุทรสาคร พระนครศรีอยุธยา

500,001 ครัวเรือนขึ้นไป กรุงเทพมหานคร สมุทรปราการ ชลบุรี ปทุมธานี

เชียงราย นครสวรรค์ พิษณุโลก

เชียงใหม่

บุรีรัมย์ สุรินทร์ อุบลราชธานี อุดรธานี ร้อยเอ็ด

นครราชสีมา ขอนแก่น

นครศรีธรรมราช สงขลา 13 จังหวัด

7 จังหวัด





140

ตาราง 8 ขนาดของครัวเรือน จําแนกตามจังหวัด ปี 2523 - 2553 หน่วย : คน

จังหวัด ทั่วราชอาณาจักร ภาคเหนือ ภาคกลาง (รวม กทม.) ภาคกลาง (ไม่รวม กทม.) ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคใต้ กรุงเทพมหานคร สมุทรปราการ นนทบุรี ปทุมธานี พระนครศรีอยุธยา อ่างทอง ลพบุรี สิงห์บุรี ชัยนาท สระบุรี ชลบุรี ระยอง จันทบุรี ตราด ฉะเชิงเทรา ปราจีนบุรี นครนายก สระแก้ว1/ ราชบุรี กาญจนบุรี สุพรรณบุรี นครปฐม สมุทรสาคร สมุทรสงคราม เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ เชียงใหม่ ลําพูน ลําปาง อุตรดิตถ์

2523 5.2 4.8 5.2 5.1 5.7 5.2 5.1 4.9 5.3 5.1 4.9 4.7 4.7 4.6 4.7 4.9 5.1 5.1 5.0 5.2 5.2 5.3 5.0 5.1 5.2 5.0 5.5 5.5 5.1 5.2 5.1 4.3 4.4 4.7 5.0

2533 4.4 4.0 4.3 4.2 4.7 4.5 4.3 4.3 4.4 4.2 4.3 3.9 4.0 3.9 3.9 4.1 4.1 4.2 4.1 4.3 4.4 4.2 3.9 4.3 4.4 4.3 4.5 4.3 4.3 4.3 4.2 3.7 3.7 3.9 4.0

2543 3.8 3.5 3.6 3.6 4.1 4.0 3.6 3.2 3.4 3.4 3.7 3.7 3.5 3.6 3.4 3.5 3.5 3.4 3.6 3.6 3.8 3.6 3.4 3.6 3.9 3.8 3.7 3.8 3.4 3.8 3.8 3.7 3.4 3.4 3.5 3.4

2553 3.2 3.1 3.0 3.0 3.5 3.5 2.9 2.8 2.8 2.5 2.8 3.3 3.3 3.5 3.2 3.5 2.6 3.1 3.3 4.1 3.6 3.0 3.3 3.2 3.4 3.4 3.4 3.3 2.7 3.7 3.3 3.3 2.9 2.8 3.1 3.0


141

ตาราง 8 ขนาดของครัวเรือน จําแนกตามจังหวัด ปี 2523 - 2553 (ต่อ) หน่วย : คน

จังหวัด

2523

2533

2543

2553

4.6 5.2 4.8 4.7 4.8 4.9 4.8 5.1 5.0 4.9 4.9 5.0 5.4 5.5 5.9 5.6 5.8 5.9 5.7 5.3

3.9 4.2 3.9 4.0 4.4 4.0 4.0 4.2 4.2 4.0 4.0 4.0 4.5 4.4 4.8 4.6 4.7 4.9 4.6 4.4

3.4 3.8 3.4 3.5 3.9 3.5 3.5 3.6 3.8 3.5 3.5 3.5 3.9 3.9 4.2 4.1 4.2 4.2 4.0 3.9

2.9 3.2 2.9 3.0 3.4 3.0 3.1 3.3 3.5 3.1 3.0 3.7 3.6 3.5 3.6 3.5 3.7 3.7 3.3 3.4

อํานาจเจริญ2/

-

-

4.2

3.5

3/

5.6 5.9 5.4 5.9 5.8 5.7 5.9 5.8 6.0 5.6 5.6 5.3

4.5 5.0 4.6 4.9 4.5 4.7 4.7 4.8 4.9 5.0 4.7 4.7 4.4

4.3 4.0 4.1 3.9 4.2 4.1 4.1 4.1 4.2 4.1 4.0 4.0 4.1 3.7

3.7 3.2 3.6 3.6 4.2 3.6 3.6 3.4 3.4 3.5 4.1 3.4 3.5 3.4

แพร่ น่าน พะเยา เชียงราย แม่ฮ่องสอน นครสวรรค์ อุทัยธานี กําแพงเพชร ตาก สุโขทัย พิษณุโลก พิจิตร เพชรบูรณ์ นครราชสีมา บุรีรัมย์ สุรินทร์ ศรีสะเกษ อุบลราชธานี ยโสธร ชัยภูมิ หนองบัวลําภู ขอนแก่น อุดรธานี เลย หนองคาย มหาสารคาม ร้อยเอ็ด กาฬสินธุ์ สกลนคร นครพนม

มุกดาหาร4/ นครศรีธรรมราช กระบี่ พังงา


142

ตาราง 8 ขนาดของครัวเรือน จําแนกตามจังหวัด ปี 2523 - 2553 (ต่อ) หน่วย : คน

จังหวัด ภูเก็ต สุราษฎร์ธานี ระนอง ชุมพร สงขลา สตูล ตรัง พัทลุง ปัตตานี ยะลา นราธิวาส หมายเหตุ :

2523 5.2 5.4 5.2 5.0 5.1 5.4 5.5 5.4 4.9 4.6 4.8 1/ 2/

2533 4.4 4.4 4.2 4.1 4.4 4.9 4.1 4.4 4.8 4.5 4.6

2543 3.5 3.8 3.7 3.6 3.9 4.2 3.9 3.8 4.7 4.3 4.6

2553 3.2 3.4 3.3 3.3 3.6 3.7 3.5 3.4 4.2 4.0 4.3

จังหวัดสระแก้ว แยกมาจากจังหวัดปราจีนบุรี ปี พ.ศ.2536

3/

จังหวัดหนองบัวลําภู แยกมาจากจังหวัดอุดรธานี ปี พ.ศ.2536

จังหวัดอํานาจเจริญ แยกมาจากจังหวัดอุบลราชธานี ปี พ.ศ.2536

4/

จังหวัดมุกดาหาร แยกมาจากจังหวัดนครพนม ปี พ.ศ.2525

ตาราง 8.1 การจัดกลุ่มจังหวัด จําแนกตามช่วงชั้นของขนาดของครัวเรือนและภาค ปี 2553 ภาค กลาง

< 3.0 คน

3.0 – 3.5 คน

อ่างทอง ลพบุรี สิงห์บุรี กรุงเทพมหานคร ชัยนาท สระบุรี ระยอง นนทบุรี ปทุมธานี นครนายก สระแก้ว ปราจีนบุรี สมุทรปราการ พระนครศรีอยุธยา ราชบุรี กาญจนบุรี จันทบุรี สุพรรณบุรี นครปฐม ชลบุรี สมุทรสาคร

3.6 – 3.9 คน ฉะเชิงเทรา

4.0 คนขึ้นไป ตราด

สมุทรสงคราม เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ เหนือ

เชียงใหม่ ลําพูน แพร่ พะเยา

ลําปาง อุตรดิตถ์ น่าน เชียงราย

แม่ฮ่องสอน นครสวรรค์ อุทัยธานี กําแพงเพชร สุโขทัย พิษณุโลก ตาก นครราชสีมา สุรินทร์ ยโสธร ชัยภูมิ ขอนแก่น กาฬสินธุ์ สกลนคร อํานาจเจริญ นครพนม

ตะวันออกเฉียงเหนือ

-

ใต้

-

นครศรีธรรมราช พังงา กระบี่ สุราษฎรธานี ภูเก็ต ตรัง ระนอง ชุมพร พัทลุง

รวม

11 จังหวัด

46 จังหวัด

เพชรบูรณ์ พิจิตร

-

บุรีรัมย์ ศรีสะเกษ อุบลราชธานี อุดรธานี หนองบัวลําภู เลย มหาสารคาม ร้อยเอ็ด สตูล สงชลา

หนองคาย มุกดาหาร

ยะลา ปัตตานี นราธิวาส

13 จังหวัด

6 จังหวัด





143

ตาราง 9 พื้นที่และร้อยละของพื้นที่ประเทศไทย จําแนกตามจังหวัด จังหวัด ทั่วราชอาณาจักร ภาคเหนือ ภาคกลาง (รวม กทม.) ภาคกลาง (ไม่รวม กทม.) ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

ภาคใต้ กรุงเทพมหานคร สมุทรปราการ นนทบุรี ปทุมธานี พระนครศรีอยุธยา อ่างทอง ลพบุรี สิงห์บุรี ชัยนาท สระบุรี ชลบุรี ระยอง จันทบุรี ตราด ฉะเชิงเทรา ปราจีนบุรี นครนายก สระแก้ว1/ ราชบุรี กาญจนบุรี สุพรรณบุรี นครปฐม สมุทรสาคร สมุทรสงคราม เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ เชียงใหม่ ลําพูน ลําปาง อุตรดิตถ์

พื้นที่ (ตร.กม.)

ร้อยละ

513,119.5 169,644.3 103,904.7 102,336.0 168,855.3 70,715.2 1,568.7 1,004.1 622.3 1,525.9 2,556.6 968.4 6,199.8 822.4 2,469.7 3,576.5 4,363.0 3,552.0 6,338.0 2,819.0 5,351.0 4,762.4 2,122.0 7,195.1 5,196.5 19,483.1 5,358.0 2,168.3 872.3 416.7 6,225.1 6,367.6 20,107.0 4,505.9 12,534.0 7,838.6

100.0 33.1 20.2 19.9 32.9 13.8 0.3 0.2 0.1 0.3 0.5 0.2 1.2 0.2 0.5 0.7 0.9 0.7 1.2 0.5 1.0 0.9 0.4 1.4 1.0 3.8 1.0 0.4 0.2 0.1 1.2 1.2 3.9 0.9 2.4 1.5


144

ตาราง 9 พื้นที่และร้อยละของพื้นที่ประเทศไทย จําแนกตามจังหวัด (ต่อ) จังหวัด แพร่ น่าน พะเยา เชียงราย แม่ฮ่องสอน นครสวรรค์ อุทัยธานี กําแพงเพชร ตาก สุโขทัย พิษณุโลก พิจิตร เพชรบูรณ์ นครราชสีมา บุรีรัมย์ สุรินทร์ ศรีสะเกษ อุบลราชธานี ยโสธร ชัยภูมิ อํานาจเจริญ2/ หนองบัวลําภู3/ ขอนแก่น อุดรธานี เลย หนองคาย มหาสารคาม ร้อยเอ็ด กาฬสินธุ์ สกลนคร นครพนม มุกดาหาร4/ นครศรีธรรมราช กระบี่ พังงา ภูเก็ต

พื้นที่ (ตร.กม.)

ร้อยละ

6,538.6 11,472.1 6,335.1 11,678.4 12,681.3 9,597.7 6,730.2 8,607.5 16,406.6 6,596.1 10,815.8 4,531.0 12,668.4 20,493.9 10,322.9 8,124.1 8,840.0 15,744.8 4,161.7 12,778.3 3,161.2 3,859.0 10,886.0 11,730.3 11,424.6 7,332.3 5,291.7 8,299.4 6,946.7 9,605.8 5,512.7 4,339.8 9,942.5 4,708.5 4,170.9 543.0

1.3 2.2 1.2 2.3 2.5 1.9 1.3 1.7 3.2 1.3 2.1 0.9 2.5 4.0 2.0 1.6 1.7 3.1 0.8 2.5 0.6 0.8 2.1 2.3 2.2 1.4 1.0 1.6 1.4 1.9 1.1 0.8 1.9 0.9 0.8 0.1


145

ตาราง 9 พื้นที่และร้อยละของพื้นที่ประเทศไทย จําแนกตามจังหวัด (ต่อ) จังหวัด สุราษฎร์ธานี ระนอง ชุมพร สงขลา สตูล ตรัง พัทลุง ปัตตานี ยะลา นราธิวาส

พื้นที่ (ตร.กม.)

ร้อยละ

12,891.5 3,298.0 6,009.0 7,393.9 2,479.0 4,917.5 3,424.5 1,940.4 4,521.1 4,475.4

2.5 0.6 1.2 1.4 0.5 1.0 0.7 0.4 0.9 0.9

ที่มา : กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย

ตาราง 9.1 การจัดกลุ่มจังหวัด จําแนกตามช่วงชั้นของพื้นที่ประเทศไทย ภาค กลาง

< 1,000 ตร.กม. 1,000 – 4,000 ตร.กม. 4,001 – 7,000 ตร.กม.

นนทบุรี อ่างทอง สิงห์บุรี สมุทรสาคร สมุทรสงคราม

กรุงเทพมหานคร สมุทรปราการ ชัยนาท ปทุมธานี สระบุรี พระนครศรีอยุธยา ระยอง ตราด นครปฐม นครนายก

ใต้ รวม

ภูเก็ต 6 จังหวัด

ลพบุรี ชลบุรี จันทบุรี ฉะเชิงเทรา ปราจีนบุรี สระแก้ว ราชบุรี สุพรรณบุรี เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์

> 10,000 ตร.กม.

กาญจนบุรี

แพร่ พะเยา ลําพูน พิจิตร สุโขทัย อุทัยธานี

กําแพงเพชร นครสวรรค์ อุตรดิตถ์

หนองบัวลําภู อํานาจเจริญ

กาฬสินธุ์ นครพนม มหาสารคราม ยโสธร มุกดาหาร

ศรีสะเกษ ร้อยเอ็ด สุรินทร์ หนองคาย สกลนคร

ปัตตานี พัทลุง ระนอง สตูล 16 จังหวัด

กระบี่ ชุมพร ตรัง นราธิวาส พังงา ยะลา 27 จังหวัด

นครศรีธรรมราช สงขลา 10 จังหวัด

เหนือ

ตะวันออก เฉียงเหนือ

7,001–10,000 ตร.กม.

เชียงใหม่ เชียงราย ลําปาง ตาก น่าน เพชรบูรณ์ พิษณุโลก แม่ฮ่องสอน ขอนแก่น ชัยภูมิ นครราชสีมา เลย บุรีรัมย์ อุดรธานี อุบลราชธานี สุราษฎร์ธานี 17 จังหวัด



#



คํานิยาม 1. ประชากร หมายถึง จํานวนประชากร ที่นับได้ ณ วันสํามะโน ประกอบด้วย 1) คนไทยทุกคนที่อาศัยอยู่ในประเทศไทยในวันสํามะโน 2) คนที่มีสถานทีอ่ ยู่ปกติในประเทศไทย แต่ในวันสํามะโนได้ไปต่างประเทศชั่วคราว (ไม่ได้ตั้งใจ

จะตั้งหลักแหล่ง) 3) เจ้ าหน้ าที่ ฝ่ ายพลเรื อน และทหาร รวมทั้ งคณะทู ตของประเทศไทย พร้ อมทั้ งครอบครั ว ซึ่งมีสํานักงานอยู่ในต่างประเทศ 4) คนต่างชาติ/ต่างด้าวที่เข้ามาอยู่ในประเทศไทย เป็นระยะเวลาตั้งแต่ 3 เดือนขึ้นไปนับถึงวันสํามะโน

ไม่รวม 1) เจ้าหน้าที่ฝ่ายพลเรือน และทหาร รวมทั้งคณะทูตต่างประเทศพร้อมทั้งครอบครัว ซึ่งมี

สํานักงานอยู่ในประเทศไทย 2) คนต่างชาติ/ต่างด้าวที่เข้ามาอยู่ในประเทศไทยเป็นระยะเวลาไม่ถึง 3 เดือนนับถึงวันสํามะโน 3) ผู้อพยพหรือผู้หลบหนีเข้าเมืองซึ่งอยู่ในค่ายอพยพที่รัฐบาลกําหนดให้อยู่

2. วันสํามะโน หมายถึง วันใดวันหนึ่งที่กําหนดขึ้น เพื่อใช้อ้างอิงข้อมูล เช่น จํานวนบ้าน/ครัวเรือน/ประชากร

ลักษณะต่างๆ ของประชากร และประเภททีอ่ ยู่อาศัย เป็นต้น สําหรับการจัดทําสํามะโนประชากรและเคหะ พ.ศ. 2553 กําหนดให้ วันที่ 1 กันยายน พ.ศ. 2553 เป็นวันสํามะโน 3. อัตราส่วนเพศ (ชายต่อหญิง 100 คน) หมายถึง จํานวนประชากรเพศชาย เทียบกับจํานวนประชากรเพศหญิง 100 คน สูตรการคํานวณ

อัตราส่วนเพศ (ชายต่อหญิง 100 คน) = (จํานวนประชากรเพศชาย / จํานวนประชากรเพศหญิง) × 100 4. สัดส่วนเพศ หมายถึง จํานวนประชากรเพศชายหรือหญิง เทียบกับประชากรทั้งสิ้น 100 คน สูตรการคํานวณ

สัดส่วนเพศ

= (จํานวนประชากรเพศชายหรือหญิง / จํานวนประชากรทั้งสิ้น) × 100

5. อัตราการเพิ่มของประชากร หมายถึง อัตราที่ประชากรเพิ่มขึ้น (หรือลดลง) ในปีหนึ่งอันเป็นผลจากการเพิ่ม

ตามธรรมชาติและการย้ายถิ่นสุทธิ แสดงในรูปร้อยละของประชากรที่ใช้เป็นฐาน สูตรการคํานวณ

อัตราการเพิ่มของประชากร โดย

⎡⎛ จํานวนประชากรปีปัจจุบัน ⎞1 n ⎤ ⎟ − 1⎥ × 100 = ⎢⎜ จํ า นวนประชา กรปี ก อ ่ นหน า ้ นั น ้ ⎠ ⎥⎦ ⎣⎢⎝

n = ปีปัจจุบัน – ปีก่อนหน้านั้น เช่น 2553 – 2543 = 10


147

6. จํานวนครัวเรือน

หมายถึง จํานวนครัวเรือนส่วนบุคคล ซึ่งอาจประกอบด้วยบุคคลคนเดียว หรือหลายคน อาศัยอยู่ในบ้านหรือสถานทีอ่ ยู่เดียวกัน หรือในบริเวณเดียวกัน ซึ่งจัดหาหรือใช้สิ่งอุปโภค บริโภคอันจําเป็นแก่ การครองชีพร่วมกัน โดยบุคคลเหล่านี้อาจเป็นญาติหรือไม่เป็นญาติกันก็ได้ เช่น ครัวเรือนที่อาศัยอยู่คนเดียว หรือครัวเรือนที่มีพ่อ แม่ ลูก อาศัยอยู่รวมกัน หรืออาจมีญาติ คนรับใช้ คนงาน เพื่อน ๆ มาอยู่ด้วย เป็นต้น

7. เขตเทศบาล หมายถึง ท้องถิ่นซึ่งได้มีพระราชกฤษฎีกาออกตามความในพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. 2496 จัดตั้งขึ้นเป็นเทศบาล และพระราชบัญญัติการเปลี่ยนแปลงฐานะสุขาภิบาลเป็นเทศบาลตําบล พ.ศ. 2542

ขึ้นเป็นเทศบาลตําบล โดยกําหนดเขตพื้นที่ของเทศบาลนั้นไว้ด้วย รวมพื้นที่ กรุงเทพมหานคร และเมืองพัทยา


http://www.adultpdf.com Created by Image To PDF trial version, to remove this mark, please register this software.


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.