บทนำ�
เนื้อหาเกี่ยวกับทัศนศิลป์ท้ง ั 4 ภาค ประกอบไปด้วย งานจิตรกรร สถาปัตยกรรม และประติมากรรม ทั้งสี่ภาคทั้งภาคเหนือ ภาคอีสาน ภาคใต้ และภาคกลาง
งานทัศนศิลป์แต่ละภาคมีกลิ่นอายของ
เพื่ อให้คนรุ่นหลังได้ศึกษา รูปแบบงาน
ความเป็นท้องถิ่นผสมอยู่ด้วย
จิตรกรรมในสมัยก่อน หรือ รูปแบบ
เพื่ ออนุรักษ์ และให้ความสำ�คัญกับงาน
สถาปัตยกรรมที่ยังคงมีเห็นน้อย เพราะ
ทัศนศิลป์ภาคกลาง ภาคเหนือ ภาค
ชำ�รุดเสียหาย งานสถาปัตยกรรมยังเห็น
อีสาน และภาคใต้ คนในท้องถิ่นบ้างทำ�
ได้มาก มีการบูรณะซ่อมแซม เพื่ อไม่ให้
เพื่ อเป็นอาชีพ และความจรรโลงใจ บาง
สิ่งเหล่านี้จางหายไปจากท้องถิ่น
สิ่งทรุดโทรมและชำ�รุดเสียหาย เช่น งาน จิตรกรรมฝาผนังมีการบูรณะ
สารบัญ ภาคกลาง ประติมากรรม
01 ภาคเหนือ
12
จิตรกรรม
ประเภทของงานประติมากรรม
จิตกรรมฝาผนังวัดบวกครกหลวง
จิตรกรรม
จิตรกรรมวัดภูมินทร์
จิตรกรรมไทยแบบประเพณี
ประติมากรรม
สถาปัตยกรรมไทย
ประติมากรรมวัดมอญหริภุญชัย
เรือนไทยภาคกลาง
ประติมากรรมเจดีย์กู่กุ่ด
เรือนเดี่ยว
สถาปัตยกรรม
เรือนหมู่
วัดโพธาราม
เรือนหมู่คหบดี
หอไตรวัดสิงห์
เรือนแพ
ภาคอีสาน จิตรกรรม
17
ภาคใต้
จงานประติมากรรม
ฮูปแต้ม วัดบ้านยาง
ประติมากรรมเจาพระนารายณ์
สถาปัตยกรรมภาคอีสาน
จิตรกรรม
ปราสาทพนมรุ้ง
จิตรกรรมฝาผนังวัดพระเบิก
เมืองโบราณนครจำ�ปาศรี
งานสถาปัตยกรรม
พระธาตุพนม
ลักษณะเด่นของบ้านเรือน
ประติมากรรมอีสาน
ลักษณะงานสุาปัตยกรรม
ธาตุอีสาน พระไม้อีสาน ความเป็นมาของพระไม้ ความเชื่อเกี่ยวกับการทำ�พระไม้
27
01
ภาคกลาง
■ ประติมากรรม ■ จิตรกรรม ■ สถาปัตยกรรม
ประติมากรรม
เป็นงานศิลปะแสดงออกด้วยการปั้น แกะสลัก หล่อ และการจัดองค์ประกอบความงามอื่น ลงบนสื่อต่าง ๆ เช่น ไม้ หิน โลหะ สัมฤทธิ์ ฯลฯ เพื่ อให้เกิดรูปทรง 3 มิติ มีความลึกหรือนูนหนา สามารถสื่อถึงสิ่งต่าง ๆ สภาพสังคม วัฒนธรรม รวมถึงจิตใจของมนุษย์โดยชิ้นงาน ผ่านการสร้างของ ประติมากร ประติมากรรมเป็นแขนงหนึ่งของทัศนศิลป์
ผู้ทำ�งานประติมากรรม เรียกว่า ประติมากร งานประติมากรรมที่เกี่ยวกับศาสนามักสะกดให้แตก ต่างออกไปว่า ปฏิมากรรม ผู้ที่สร้างงานปฏิมากรรม เรียกว่า ปฏิมากร ความงามของงานประติมากรรม เกิดจากการแสงและเงา ที่เกิดขึ้นในผลงานการสร้าง งานประติมากรรมทำ�ได้ 4 วิธี
02 1. การปั้น (Casting) เป็นการสร้างรูปทรง 3 มิติ จากวัสดุ ทีเหนียว อ่อนตัว และยึดจับตัวกัน ได้ดี วัสดุที่นิยมนำ�มาใช้ป้ ัน ได้แก่ ดินเหนียว ดินน้ำ�มัน ปูน แป้ง ขี้ ผึ้ง กระดาษ หรือ ขี้เลื่อยผสมกาว เป็นต้น 2. การแกะสลัก (Carving) เป็นการสร้างรูปทรง 3 มิติ จากวัสดุที่แข็ง เปราะ โดยอาศัย เครื่องมือ วัสดุที่นิยมนำ�มา แกะ ได้แก่ ไม้ หิน กระจก แก้ว ปูนปลาสเตอร์ เป็นต้น 3. การหล่อ (Molding) เป็นการสร้างรูปทราง 3 มิติ จากวัสดุที่หลอมตัวและกลับแข็ง ตัว ได้ โดยอาศัยแม่พิมพ์ ซึ่งทำ�ให้เกิด ผลงานที่เหมือนกันทุกประการตั้งแต่ 2 ชิ้น ขึ้นไป วัสดุที่นิยมนำ�มาใช้หล่อ ได้แก่ โลหะ ปูน แป้ง แก้ว ขี้ผึ้ง ดิน เรซิ่น พลาสติก ฯลฯ รำ�มะนา (ชิต เหรียญประชา)
4. การประกอบขึ้นรูป (Construction) เป็นการสร้างรูปทรง 3 มิติ โดยนำ� วัสดุต่าง ๆ มา ประกอบเข้าด้วยกัน และยึดติดกันด้วยวัสดุต่าง ๆ วิธี การสร้างสรรค์งานขึ้นอยู่กับวัสดุท่ใี ช้ ประติมากรรม มีอยู่ 3 ลักษณะ คือ แบบนูนต่ำ� แบบ นูนสูง และแบบลอยตัว
03 ประเภทของงานประติมากรรม
ประเภทของงานประติมากรรม แบ่งเป็น 3 ประเภท ตามมิติของความลึก 1. ประติมากรรมนูนต่ำ� งานประติมากรรมที่มีลักษณะคล้ายคลึงกับประติมากรรมประเภทนูนสูง แต่จะ แบนหรือบางกว่าประติมากรรมประเภทนี้ ไม่ปรากฏมากนักในอดีต ได้แก่ ประติมากรรมที่เป็นลวดลายประดับตกแต่ง เช่น แกะสลักด้วยไม้ หิน ปูน ปั้น เป็นต้น 2. ประติมากรรมนูนสูง ประติมากรรมที่ไม่ลอยตัว มีพื้นหลัง ตัวประติมากรรมจะยื่นออกมาจาก พื้ นหลังค่อนข้างสูง ประติมากรรมที่เป็นลวดลายประดับตกแต่งด้วย เช่น ประติมากรรมปูนปั้นประดับกระจกหน้าบ้าน พระอุโบสถและวิหารต่าง ๆ ตลอด จนถึงการประดับตกแต่งสถาปัตยกรรมในปัจจุบัน เช่น ประติมากรรมที่ป้ นเป็ ั น เรื่องราวหรือเป็นลวดลายประดับตกแต่งอาคาร ตกแต่งฐานอนุสาวรีย์ ตกแต่ง สะพาน และสิ่งก่อสร้างต่าง ๆ เป็นต้น 3. ประติมากรรมลอยตัว ประติมากรรมที่ป้ น ั หล่อ หรือแกะสลักขึ้นเป็นรูปร่างลอยตัวมองได้รอบด้าน ไม่มีพื้นหลัง เช่น รูปประติมากรรมที่เป็นอนุสาวรีย์ประติมากรรมรูปเหมือน พระพุ ทธรูปลอยตัวสมัยต่าง ๆ และประติมากรรมประดับตกแต่ง เป็นต้น
“
ประติมากรรมประเภทลอยตัวของไทยที่รู้จักกันดี คือ พระพุ ทธ รูปสมัยต่าง ๆ โดยเฉพาะพระพุ ทธรูปสมัยสุโขทัย นับเป็น ประติมากรรมลอยตัวที่สมบูรณ์แบบ
04 มูรติหรือประติมากรรมเทพฮินดู
ประติมากรรมแบบลอยตัว ของท้าวจตุโลกบาลที่ศาลท้าวจตุโลกบาล เกษรวิลเลจ
ประตูนรก
ประติมากรรมนูนสูง แบบกลุ่มขนาดใหญ่ ของรอแด็ง ประติมากรชาวฝรั่งเศส
05
สำ�หรับงานประติมากรรมแบบลอยตัว มักทำ�เป็นพระพุ ทธรูป เทวรูป รูปเคารพต่างๆ (ศิลปะประเภทนี้จะเรียกว่า ปฏิมากรรม) ตุ๊กตาภาชนะดินเผา ตลอดจนถึงเครื่องใช้ ต่างๆ ซึ่งมีลักษณะที่แตกต่างกันออกไปตามสกุลช่างของแต่ละท้องถิ่น หรือแตกต่าง กันไปตามคตินิยมในแต่ละยุคสมัย โดยทั่วไปแล้วเรามักศึกษาลักษณะของสกุลช่างที่ เป็นรูปแบบของศิลปะสมัยต่างๆ ในประเทศไทยจากลักษณะของพระพุ ทธรูป เนื่องจาก เป็นงานที่มีวิวัฒนาการมาอย่างต่อเนื่องยาวนาน จัดสร้างอย่างประณีตบรรจง ผู้สร้าง มักเป็นช่างฝีมือที่เชี่ยวชาญที่สุดในท้องถิ่นหรือยุคสมัยนั้น และเป็นประติมากรรมที่มีวิธี การจัดสร้างอย่าง ศักดิ์สิทธิ์เปี่ ยมศรัทธา ลักษณะของประติมากรรมของไทยในสมัย ต่างๆ สามารถลำ�ดับได้ดังนี้
ศิลปะทวารวด
ศิลปะศรีวิชัย
ศิลปะลพบุรี
ศิลปะล้านนา
06 จิตรกรรม
วิหารลายคำ� วัดพระสิงห์
จิตรกรรมฝาผนังวิหารลายคำ�ที่วัดพระสิงห์วรมหาวิหาร สีที่ใช้เป็นวรรณสีเย็นที่มีสีน้ำ�เงิน ครามและสีเขียวเป็นส่วนใหญ่ นอกจากนี้ก็มีสีแดง สีเขียว สีน้ำ�ตาล สีดำ�และสีทองซึ่ง ใช้เขียนส่วนที่เป็นโลหะปิดด้วยทองคำ�เปลวตัดด้วยสีแดง,ดำ� เช่น เชิงหลังคาและยอด ปราสาท หรือ อาวุธ เครื่องประดับ จิตรกรรมฝาผนังที่งดงามประดับตลอดทั้งอาคาร
จิตรกรรมฝาผนังที่งดงาม แบ่งเป็น 2 ส่วน 1. ภาพลายทองล่องชาด เทคนิคฉลุกระดาษบนเสาและผนังด้านหลัง พระประธาน เป็นงานแบบลวดลายเกือบ ทั้งหมด ลายทองบนผนังด้านหลังพระประธาน จุดเด่น คือ มีการใช้ทองมากเป็นพิ เศษ ทำ�ให้พระพุ ทธรูปดูเด่นเป็นสง่า
2. จิตรกรรมภาพเขียนสี เป็นภาพเล่าเรื่อง ทิศเหนือ เขียนเรื่อง สังข์ทอง ทิศใต้ เขียนเรื่องสุวรรณหงส์ ตอนบนของผนังทั้ง 2 ด้าน เขียนภาพเทพ ชุมนุม เทวดาและนิทานชาดก ผนังด้านซ้าย เขียนเรื่องสังข์ทอง ด้านขวา เขียนเรื่องสุวรรณหงส์ เทคนิคในการเขียนใช้สีเขียวและครามมาก
07
ภาพจิตกรรม วิหารลายคำ� วัดพระสิงห์
จิตรกรรมไทยแบบประเพณี (Thai Traditional Painting)
08
เป็นศิลปะที่มีความประณีตสวยงาม แสดงความรู้สึกชีวิตจิตใจและความเป็น ไทย ที่มีความอ่อนโยน ละมุนละไม สร้างสรรค์สืบต่อกันมาตั้งแต่อดีตจนได้ ลักษณะประจำ�ชาติ มีลักษณะและรูปแบบพิ เศษ นิยมเขียนบนฝาผนังภายใน อาคารที่เกี่ยวกับพุ ทธศาสนา และอาคารที่เกี่ยวกับบุคคลชั้นสูง เช่น โบสถ์ วิหาร พระที่นั่ง วัง บนผืนผ้า บนกระดาษ และบนสิ่งของเครื่องใช้ต่างๆ โดยเขียน ด้วยสีฝุ่น ตามกรรมวิธีของช่างเขียนไทยแต่โบราณ เนื้อหาที่เขียนมักเป็นเรื่อง ราวเกี่ยวกับอดีตพุ ทธ พุ ทธประวัติ ทศชาติชาดก ไตรภูมิ วรรณคดีและชีวิต ไทย พงศาวดารต่าง ๆ ส่วนใหญ่นิยมเขียนประดับผนังพระอุโบสถ วิหารอันเป็น สถานที่ศักดิ์สิทธิ์ประกอบพิ ธีทางศาสนา ลักษณะจิตรกรรมไทยเป็นศิลปะแบบ อุดมคติ (Idealistic) ผนวกเข้ากับเรื่องราวที่กึ่งลึกลับมหัศจรรย์ ซึ่งคล้ายกับ งานจิตรกรรมในประเทศแถบตะวันออกหลาย ๆ ประเทศ เช่น อินเดีย ศรีลังกา จีนและญี่ปุ่น เป็นต้น เป็นภาพที่ระบายสีแบนเรียบ ด้วยสีค่อนข้างสดใส และมี การตัดเส้นเป็นภาพ 2 มิติ ให้ความรู้สึกเพี ยงด้านกว้างและยาว ไม่มีความลึก ไม่มีการใช้แสงและเงามาประกอบ จิตรกรรมไทยแบบประเพณีมีลักษณะพิ เศษใน การจัดวางภาพแบบเล่าเรื่องเป็นตอน ๆ ตามผนังช่องหน้าต่าง รอบโบสถ์ วิหาร และผนังด้าน หน้าและหลังพระประธาน ภาพจิตรกรรมไทยมีการใช้สีแตกต่างกัน ออกไปตามยุคสมัย ทั้งเอกรงค์ และพหุรงค์ โดยเฉพาะการใช้สีหลายๆ สีแบบ พหุรงค์นิยมมากในสมัยรัตนโกสินทร์ เพราะได้สีจากต่างประเทศที่เข้ามาติดต่อ ค้าขายด้วย ทำ�ให้ภาพจิตรกรรมไทยมีความสวยงามและสีสันที่หลากหลายขึ้น
รูปแบบลักษณะภาพในจิตรกรรมไทย ซึ่งจิตรกรไทย้สร้างสรรค์ออกแบบ ไว้เป็นรูปแบบอุดมคติท่แ ี สดงออก ทางความคิดให้สัมพั นธ์กับเนื้อเรื่อง และความสำ�คัญของภาพ เช่น รูป เทวดา นางฟ้า กษัตริย์ นางพญา นางรำ� จะมีลักษณะเด่นงามสง่าด้วย ลีลาอันชดช้อย แสดงอารมณ์ความ รู้สึกปีติยินดี หรือเศร้าโศกเสียใจ ด้วยอากัปกิริยาท่าทาง ยักษ์ มาร จะ แสดงออกด้วยท่าทางที่บึกบึน แข็ง ขัน ส่วนวานรแสดงความลิงโลด คล่องแคล่วว่องไวด้วยลีลาท่วงท่า และหน้าตา
สำ�หรับพวกชาวบ้านธรรมดาสามัญ ก็จะเน้นความตลกขบขัน สนุกสนาน ร่าเริงหรือเศร้าเสียใจออกทางใบหน้า ส่วนช้างม้าเหล่าสัตว์ทั้งหลาย ก็มีรูป แบบแสดงชีวิตเป็นธรรมชาติ ซึ่งจิตรกรไทยได้พยายามศึกษา ถ่ายทอดอารมณ์ สอดแทรกความรู้สึก ในรูปแบบได้อย่างลึกซึ้ง เหมาะสม และ สวยงาม
09
รูปแบบลักษณะภาพในจิตรกรรมไทย
10 สถาปัตยกรรมกรรม เรือนไทยภาคกลาง เป็นเรือนไทยประเภท ที่นิยมที่สุด มีลักษณะเป็นเรือน ยกพื้ น ใต้ถุนสูง สูงจากพื้ นดิน เสมอศีรษะคนยืน รูปทรงล้มสอบ หลังคา ทรงสูงชายคายื่นยาว เพื่ อ กันฝนสาด แดดส่อง นิยมวางเรือน ไปตามสภาพแวดล้อมทิศทางลม ตามความเหมาะสม ถือเป็นแบบฉบับ ของเรือนไทยเดิมที่เราคุ้นเคยกันดี ่ าทำ�จากไม้สัก มีไม้ ในรูปแบบ เรือนฝาปะกนถือเป็น เรือนไทยแท้ เรือนไทยฝาปะกน คือเรือนทีฝ ลูกตั้งและลูกนอน และมีแผ่นไม้บางเข้าลิน ้ ประกบกัน สนิท หน้าจั่วก็ทำ�ด้วยวิธีเดียวกัน เราจะ พบเห็นเรือนไทยภาคกลาง เช่น เรือนเดี่ยว เรือนหมู่ เรือนหมู่คหบดี และ เรือนแพ
เรือนเดี่ยว
สำ�หรับครอบครัวเดี่ยว สร้างขึ้นโดยมีประโยชน์ ใช้สอยที่เพี ยงพอกับครอบครัวเล็ก ๆอาจ เป็น เรือนเครื่องผูกเรือนเครื่องสับ หรือผสมผสานกัน ก็เป็นได้แล้วแต่ฐานะ ประกอบด้วย เรือนนอน 1 หลัง เรือนครัว 1 หลัง ระเบียงยาว ตลอดเป็นตัว เชื่อมระหว่างห้องนอนกับชาน
11 เรือนหมู่
คือ เรือนหลายหลังซึ่งปลูกอยู่ในที่เดียวกัน สมัยก่อนลูกชายแต่งงานส่วนใหญ่จะไปอยู่ บ้านผู้หญิง ส่วนลูกผู้หญิงจะนำ�เขยเข้าบ้าน จะอยู่เรือนหลังย่อมกว่า เรือนหลังเดิมเรียก ว่า “หอกลาง” ส่วนเรือนนอกเรียกว่า “หอรี” เพราะปลูกไปตามยาว ถ้ามีเรือนปลูกอีกหลัง หนึ่งเป็นด้านสกัดก็เรียกว่า “หอขวาง” อาจมี“หอนั่ง”ไว้สำ�หรับนั่งเล่น บางแห่ง มี“หอนก” ไว้สำ�หรับเลี้ยงนก
เรือนหมู่คหบดี
เรือนหมู่คหบดีโบราณสำ�หรับผู้มีฐานะดี ลักษณะการจัดเรือนหมู่คหบดีของโบราณ เป็นเรือนขนาดใหญ่มีเรือนคู่และเรือน หลัง เล็กหลังน้อยรวมเข้าด้วยกัน แต่ละหลังใช้ ประโยชน์ต่างหน้าที่กันออกไป ประกอบด้วย เรือนนอน เรือนลูก เรือนขวาง เรือนครัว หอนก และชาน
เรือนแพ
การสร้างบ้านบริเวณชายฝั่งต้องยกพื้ นชั้น บนสูงมาก ไม่สะดวกในหน้าแล้งทำ�ให้เกิดการ สร้างเรือนในลักษณะ " เรือนแพ " ที่สามารถ ปรับระดับของตนเองขึ้นลงได้ตามระดับน้ำ�ใน แม่น้ำ�ลำ�คลอง
12
ภาคเหนือ
■ ประติมากรรม ■ จิตรกรรม ■ สถาปัตยกรรม
ประติมากรรม - วัดมอญหริภุญชัย จังหวัดเชียงใหม่
ตามเขตหุบเขาตอนบนแล้วส่งผ่านลงสู่
เมืองหริภุญชัยเป็นศูนย์กลางของอารยธรรม
เมืองตอนล่างโดยอาศัยลำ�น้ำ�ปิงเป็นเส้น
มอญในที่ราบลุ่มแม่น้ำ�ปิง ในราวพุ ทธ
ทางการขยายตัว เมืองหริภุญชัยจึงเป็น
ศตวรรษที่ 13 นับเป็นการขยายตัวของ
ศูนย์กลางการค้าที่สำ�คัญ เป็นเมืองที่
วัฒนธรรมจากเมืองละโว้ข้น ึ มาทางภาคเหนือ
มั่งคั่งจากการค้า
เมืองหริภุญชัยจึงเป็นเมืองเหนือสุดที่รับ วัฒนธรรมละโว้ เมืองหริภุญชัย เแต่เดิมเป็น ศูนย์กลางการค้าของป่า ทำ�หน้าที่รับสินค้า จากแหล่งต่างๆ
- เจดีย์กู่กุด วัดจามเทวี จังหวัดลำ�พู น เป็นโบราณสถานเก่าแก่และมีความสำ�คัญใน ประวัติศาสตร์มากที่สุดวัดหนึ่งในจังหวัดลำ�พู น วัดจามเทวี ประวัติความเป็นมาค่อนข้างสับสน เพี ยง 2 แห่ง คือกู่จามเทวี หรือกู่กุด หรือสุวรรณ จังโกฏเจดีย์ กับรัตนเจดีย์ เรียกกันทั่วไปว่า เจดีย์ แปดเหลี่ยม มีเอกสารและตำ�นานกล่าวถึงโบราณ สถานทั้งสองแห่งขัดแย้งกันมาก บางแห่งกล่าวว่า พระนางจามเทวีปฐมกษัตริย์แห่งเมืองหริภุญชัย โปรดให้สร้างพระบรมธาตุสุวรรณจังโกฏ พร้อมทั้งได้สถาปนาวัดจามเทวี ส่วนเอกสารบาง แห่งกล่าวว่า พระราชโอรสของพระนางจามเทวี คือ เจ้ามหันตยศและเจ้าอนันตยศ โปรดให้สร้างขึ้น เพื่ อถวายพระเพลิงพระศพของพระนางจามเทวี
และภายหลังจากถวายพระเพลิงพระศพ ของพระนางจามเทวีแล้ว จึงโปรดให้สร้าง เจดีย์เหลี่ยมมียอดหุ้มด้วยทอง เรียกชื่อ ว่า “สุวรรณจังโกฏ”
13 จิตรกรรม จิตกรรมภาคเหนือ เกิดจากการผสมผสานทางศิลปวัฒนธรรมของแต่ละเมืองในโบราณ หลายแห่งเข้าไว้ด้วยกัน ตั้งแต่เมืองเชียงแสน เชียงใหม่ พุ กามของพม่า ละโว้ จากทางใต้ และศิลปะจีน จนกลายเป็นศิลปะที่มีเอกลักษณ์เฉพาะตัวอ่อนช้อยงดงาม แต่ศิลปะที่เป็นรากฐานสำ�คัญในท้องถิ่นภาคเหนือ คือ ศิลปะหริภุญชัย และ ศิลปะล้านนา โดยมีงานทัศนศิลป์ที่สำ�คัญมากมาย เช่น จิตรกรรมฝาผนังวัดพระสิงห์ จิตรกรรมวิหาร วัดภูมินทร์ จังหวัดน่าน 1. จิตรกรรม เป็นงานตกแต่ง สถาปัตยกรรมที่มีจุดประสงค์นอกจาก ความงามแล้ว ยังเป็นงานเขียนเพื่ อให้ สอดคล้องกับคติความเชื่อทางศาสนา วัดบวกครกหลวง เป็นวัดที่มีความเก่าแก่วัดหนึ่งของเมือง เชียงใหม่ สร้างขึ้นในยุคสมัยใดไม่มีหลัก ฐานปรากฏแน่ชัด ความโดดเด่นของวัด บวกครกหลวงอยู่ท่ว ี ิหารทรงล้านนา ซึ่ง เป็นอาคารก่ออิฐถือปูนหลังคาเครื่องไม้ ภาพเขียนจิตรกรรมฝาผนังในวิหาร เขียนเรื่องราวพุ ทธประวัติและชาดกใน นิบาต จำ�นวน 14 ห้องภาพ โดยฝีมือช่างไตชาวล้านนา จิตรกรรมฝา ผนังของวัดในล้านนา โดยเฉพาะที่วัด บวกครกหลวงอย่างละเอียดพบข้อมูล ที่น่าสนใจคือ จิตรกรรมฝาผนังในล้าน นาไม่พบการเขียนทศชาติครบทั้งสิบพระ ชาติ แต่จะมีการเลือกมาเฉพาะตอนที่ นิยมเพี ยงบางเรื่องเท่านั้น
จิตรกรรมฝาผนังที่วัดบวกครกหลวง จังหวัดเชียงใหม่
ทว่าที่วิหารวัดบวกครกหลวงมีการเขียนเรื่อง ทศชาติชาดกมากที่สุด คือมี 6 พระชาติคือ เตมิยชาดก สุวรรณสามชาดก เนมิราชชาดก มโหสถชาดก วิฑูรชาดกและเวสสันดรชาดก ซึ่ง สน สีมาตรังสันนิษฐานอายุว่าประมาณ ต้นพุ ทธศตวรรษที่ 24
14 ภาพจิตรกรรมหรือ “ฮูบแต้ม” ในวัดภูมินทร์เป็นชาดกในพุ ทธศาสนา แต่ถ้าพิ จารณารายละเอียดของวิถี ชีวิตของคนเมืองในสมัยนั้น มีภาพที่ น่าสนใจอยู่หลายภาพ ภาพเด่น คือ ภาพปู่ม่านย่าม่าน ซึ่งเป็นคำ�เรียก ผู้ชายผู้หญิงชาวไทลื้อในสมัยโบราณ กระซิบสนทนากัน ผู้ชายสักหมึก ผู้ หญิงแต่งกายไทลื้ออย่างเต็มยศ
จิตรกรรมวิหารวัดภูมินทร์ จังหวัดน่าน
้ ภาพธรรมเนียมการอยู่ข่วง ของชาวไทลือ พ่ อแม่จะอนุญาตให้หนุ่มสาวพบปะกันที่ชาน บ้านในเวลาค่ำ� ขณะหญิงสาวกำ�ลังปั่นฝ้าย หรือ “อยู่ข่วง” หากสาวเจ้า ตกลงปลงใจ ด้วยก็จะจัดพิ ธีแต่งงาน หรือที่เรียกว่า “ เอาคำ�ไป ป่องกั๋น” หรือเป็นทองแผ่น เดียวกัน การค้าขาย แลกเปลี่ยนใน ชุมชน ภาพชาวพื้ นเมือง ซึ่งอาจเป็นชาว เขา “เป๊อะ” ของป่าบนศรีษะเพื่ อนำ�มาแลก เปลี่ยนกับคน ชีวิตความเป็นอยู่ของคน เมืองน่าน หญิงสาวกำ�ลังทอผ้าด้วยกี่พื้น เมือง นอกชานมีเรือนเล็กๆ ตั้งหม้อน้ำ�ดิน เผาที่เรียกว่า “ร้านน้ำ�” ส่วนชายหนุ่มไว้ผมทรงหลักแจว หรือ ทรง มหาดไทย แสดงให้เห็นอิทธิพลตะวันตกที่ เข้ามา ผสมผสานในวิถีพื้นเมืองน่าน ภาพ ชาวต่างประเทศ ที่เข้ามาเมืองน่าน
่ งแต่งกาย ช่วงรัชกาลที่ 5 ทรงผม และเครือ ของผู้หญิงเป็นรูปแบบดียวกับที่กำ�ลัง เป็น ที่นิยมในยุโรปขณะนั้น นอกจากนี้เป็นภาพ จิตรกรรม ฝาผนังเรื่องราวของพุ ทธประวัติ คันธกุมารและเนมีราชชาดก
15
สถาปัตยกรรมกรรม วัดเจ็ดยอด
(พระอารามหลวง) เป็นวัดโบราณและ มีความสำ�คัญทางด้านประวัติศาสตร์ วัดหนึ่งของอาณาจักรล้านนาไทย กล่าวคือ เป็นวัดที่สมเด็จพระเจ้าติโลก ราช รัชกาลที่ 10 แห่งราชวงศ์มังราย ทรงโปรดเกล้าให้สร้างขึ้น เมื่อ พ.ศ. 1998 โปรดให้หมื่นด้ามพร้าคต หรือ สีหโคตรเสนาบดี เป็นนายช่างทำ�การ ่ พระอุต ก่อสร้าง ศาสนสถานและเสนาสนะขึ้นเป็นพระอาราม โปรดฯ ให้นิมนต์พระมหาเถระชือ ตมปัญญา มาสถิตเป็นอธิบดีสงฆ์องค์แรกในพระอารามนี้ ที่ได้เทศนาแก่พระเจ้าสมเด็จติโลก ราชจนเกิดให้ศรัทธา และเชื่อในเรื่องอานิสงส์ปลูกต้นโพธิ์ วัดเจ็ดยอด โบราณสถานทีเ่ ก่าแก่และมีความสำ�คัญทางพระพุ ทธศาสนาของประเทศไทย สถานที่เคยมีการประชุมสังคายนาพระไตรปิฎกครั้งที่ ๘ ของโลก ซึ่งเป็นวัดพระอารามหลวง ชั้นตรี ชนิดสามัญ เป็นวัดประจำ�ปีคนเกิดปีมะเส็ง หรือ ปีงูเล็ก ซึ่งตามความเชื่อของชาวล้านนา พระธาตุประจำ�ปีเกิดปีมะเส็งก็คือ “โพธิบัลลังก์ วิหารมหา โพธิเจดีย์” รัฐพิ หาร ประเทศอินเดีย แต่เนื่องจากสถานที่ประดิษฐานโพธิบัลลังก์อยู่ไกล จึง อนุโลมให้เป็นพระเจดีย์ที่มีลักษณะใกล้เคียงกัน ซึ่งก็คือ “พระเจดีย์เจ็ดยอด” หรือ “มหาเจ ดีย์พุทธคยา”
16
หอไตร
วัดสิงห์วรมหาวิหาร จังหวัดเชียงใหม่ ตั้งอยู่ที่ถนนสามล้าน ตำ�บลพระสิงห์ อำ�เภอเมืองเชียงใหม่ เดิมชื่อ วัดสีเชียง เป็นพระอารามของนครเชียงใหม่ มาประมาณ 700 ปีเศษ พญาผายูกษัตริย์องค์ที่ 5 ในราชวงศ์มังรายโปรดเกล้าฯ ให้สร้างวัดนี้ขึ้น ใน พ.ศ. 1888 พร้อมทั้งสร้างพระเจดีย์สูง 24 ศอก เพื่ อใช้เป็นที่บรรจุอัฐิของพญาคำ�ฟู พระราชบิดา หอไตร วัดพระสิงห์วรมหาวิหาร (หน้าวัด) หอไตร หมายถึงอาคารหรือสิ่งปลูกสร้างที่ มีลักษณะเป็นหอสูงสำ�หรับเก็บคัมภีร์พระไตรปิฎกหรือหนังสือธรรมทางพุ ทธศาสนา เรียกว่า หอพระไตร ก็มี หอพระธรรม ก็มี วัดที่มีหอไตรมักจะเป็นวัดเก่าแก่ และ วัดใหญ่
17
ภาคอีสาน
■ ประติมากรรม ■ จิตรกรรม ■ สถาปัตยกรรม
ประติมากรรม
ธาตุอีสาน Taad I-San (Northeast Buddhist Holy Stupa) ธาตุและพระธาตุเป็นภาษาถิ่นของอีสาน ใช่เรียก อนุสาวรีย์หรือสิ่งก่อสร้างที่บรรจุอัฐิธาตุของผู้ตาย มี ความหมายเช่นเดียวกับสถูปหรือเจดีย์ในภาษาภาค กลาง ธาตุ หมายถึงที่บรรจุกระดูกของบุคคลสำ�คัญ ธรรมดาสามัญ นับแต่ชาวบ้านไปจนถึงเจ้าเมืองและ พระสงฆ์องค์เจ้าโดยทั่วไป พระธาตุถูกสร้างขึ้นเพื่ อ ประดิษฐานเฉพาะพระบรมสารีริกธาตุขององค์สมเด็จ พระสัมมาสันพุ ทธเจ้า หรือพระอรหันต์เท่านั้น ความ โดดเด่นของรูปแบบมักแสดงออกตรงส่วน”ยอดธาตุ” มากกว่าส่วนอื่น
18 “ธาตุ” ในครัง ้ แรกนิยมใช้ไม้จึงเรียกว่า “ธาตุไม้” โดยใช้ไม้ถากให้เป็นท่อน 4 เหลี่ยมจตุรัส กว้างยาวไม่เกินด้านละ ๓๐ ซม. แล้วตกแต่งบัวหัวเสาให้วิจิตรพิ สดาร ต่อมาได้พัฒนามาใช้การ ก่ออิฐถือปูน ซึ่งสามารถทำ�ได้ใหญ่โตและแข็งแรงยิ่งขึ้น เรียกว่า “ชะ ทาย” ซึ่งทำ�ขึ้นจากปูนขาวผสมทราย ยางบงและน้ำ�หนังเป็นตัวประสาน ธาตุปูน จำ�แนกออกได้ตามความสำ�คัญของผู้ตายดังนี้ 1. ธาตุปูนบุคคลสามัญ ธาตุใส่กระดูกของชาวบ้านธรรมดาทัว ่ ๆไป มักทำ�ขนาดไม่สูงใหญ่มีทัง ้ แบบเรียบ และปั้นปูนประดับเป็นลวดลายบริเวณเรือนธาตุ 2. ธาตุปูนบุคคลสำ�คัญ ธาตุของนายบ้าน กำ�นัน ครูใหญ่ หรือ บุคคลที่เป็นที่เคารพนับถือ ในหมู่บ้าน ตลอดจน ธาตุของเจ้าเมืองหรือลูกหลานผู้สืบทอดในวงศ์ ตระกูล การก่อสร้างธาตุให้บุคคลเหล่านี้จะประณีตแตกต่างกว่าธาตุของ บุคคลสามัญ 3. ธาตุปูนพระสงฆ์ ได้แก่ ธาตุของพระเถระผู้ใหญ่ เจ้าอาวาส ญา คูหรือญาท่าน เป็นต้น มักก่อสร้างสูงใหญ่มีความซับซ้อนมากขึ้น ตั้ง อยู่ในตำ�แหน่งที่ดูเด่นเป็นสง่าในวัด รองมาจาก “พระธาตุ” นอกจากรูปแบบของ “ธาตุ” และ “พระธาตุ”
19
แล้วยังมีรูปแบบของ “บือบ้าน” หรือ “หลัก บ้าน” (ส่วนมากทำ�ด้วยไม้) ของอีสานที่มี ลักษณะใกล้เคียงกับ “ธาตุไม้” ของสามัญ ชน ต่างกันแต่ว่าไม่มีช่องบรรจุอัฐิเท่านั้น นับเป็นศิลปกรรมพื้ นบ้านอีกอย่างหนึ่งที่น่า สนใจอย่างยิ่ง
ธาตุไม้และธาตุปูน
Taad Mai (Wooden Taad) and Taad Poon (Masonry Taad) ธาตุไม้ คือการนำ�แท่งไม้ ๔ เหลี่ยมจัตุรัส
ขนาดประมาณ ๑๕-๒๕ ซม. ความสูง ไม่จำ�กัดมาประดิษฐ์เป็นที่บรรจุอัฐิของ สามัญชนนับเป็นงานพื้ นฐานในเชิงช่าง เป็นมูลเหตุแห่การสร้างงานสถาปัตยกรรม ประเภทอนุสาวรีย์ในโอกาสต่อมา ธาตุ ปูน เป็นธาตุที่ทำ�ด้วยปูน ไม่ใช้โครงเหล็ก เป็นงานฝีมือช่างที่พัฒนารูปแบบมาจาก ธาตุไม้ โดยมีองค์ประกอบของฐานธาตุ เรือนธาตุ และยอดธาตุ การบรรจุอัฐินั้น นิยมบรรจุในเรือนธาตุเป็นส่วนใหญ่ ธาตุ ปูนนิยมสร้างสำ�หรับบุคคลสามัญ บุคคล สำ�คัญ ตลอดจนเจ้านายและพระสงห์ ข้อมูลจากห้องอีสานนิทรรศน์ หอศิลป วัฒนธรรม ม.ขอนแก่น
20 ความเป็นมาของพระไม้ในภาคอีสาน การสร้างพระไม้ในอีสานไม่สามารถระบุได้ชัดเจนว่ามีประวัติความเป็นมา และการสร้างอย่างไร ใครเป็นผู้สร้างขึ้นครั้งแรก เนื่องจากไม่มีหลักฐานที่เป็นเอกสาร อ้างอิงชัดเจน จากการศึกษารูปแบบพระไม้อีสานเมื่อเปรียบเทียบกับพระไม้ในประเทศ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว มีลักษณะใกล้เคียงกันมากจนแทบจะแยกขาด จากกันโดยสิ้นเชิงไม่ได้หรืออาจกล่าวได้ว่าเป็นสกุลช่างเดียวกันที่ได้รับ และแลกเปลี่ยนอิทธิพลซึ่งกันและกัน นักวิชาการบางท่านได้ให้ความเห็นว่าพระไม้ ในอีสานได้รับอิทธิพลมาจากฝั่งซ้ายแม่น้ำ�โขง โดยศิลปะแบบล้านช้าง แล้วแผ่ขยาย อิทธิพลข้ามมายังฝั่งไทย จากการอพยพโยกย้ายก็ดีหรือจากการถ่ายโอนโดยทาง เครือญาติก็ดี จากหลักฐานทางประวัติศาสตร์ได้กล่าวอ้างสนับสนุนแนวความคิดข้างต้นดังกล่าว คือ ชนชาติลาวได้นับถือพุ ทธศาสนามาตั้งแต่สมัยอยู่ในจีนในสมัยแผ่นดินขุนหลวงลี เมา (พ.ศ. ๖๑๒) อยู่ในนครงายลาว อาณาจักรหนองแสงแล้ว เป็นพุ ทธศาสนาแบบ มหายาน ภายหลังได้จางหายไปเพราะแพร่หลายอยู่ในชนชั้นสูงเท่านั้นในขณะที่ผู้คน ส่วนใหญ่ยังนับถือผีฟา้ ผีแถน จนกระทั่งพระเจ้าฟ้างุ้มขึ้นครองราชย์จึงได้นำ�พุ ทธ ศาสนาเข้ามาสู่อาณาจักรล้านช้างใหม่ เมื่อ พ.ศ. ๑๙๐๒ นับจากนั้นพุ ทธศาสนาจึงได้ เจริญรุ่งเรืองสืบมา นักวิชาการเชื่อว่าพระไม้ในอีสานแรกเริ่มเดิม ที่น่าจะเกิดขึ้นภายหลังสมัยการปกครองของ พระเจ้าฟ้างุ้มและน่าจะเริ่มจากการทำ�พระพุ ทธ รูปประทับเป็นยืนเลียนแบบพระบาง ซึ่ง พระเจ้าฟ้างุ้ม ได้อัญเชิญมาจากเมืองอินทปัต นคร (กัมพู ชา) ต่อมาจึงได้แพร่กระจายความ เชื่อสู่สามัญชน เนื่องจากพระไม้ประทับยืนค่อนข้างทำ�ได้ยาก และไม่เหมาะสำ�หรับช่างพื้ นบ้าน จึงเปลี่ยน มาสร้างพระไม้ประทับนั่งปางต่าง ๆ ดังนั้นจึง พบเห็นพระไม้ประทับนั่งมากกว่าประทับยืน
21 ความเชื่อเกี่ยวกับการทำ�พระไม้ของคนอีสาน คนอีสานอันหมายรวมทั้งชาวบ้าน ช่างแกะสลักและพระสงฆ์มีความเชื่อในการทำ� พระไม้หลายประการดังนี้ - เพื่ อผลานิสงส์ผลบุญแก่คนสร้างและช่างในอานิสงส์ ภายภาคหน้าและการเกิดในดินแดนของพระศรีอาริยเมตไตย - เพื่ อเป็นพระพุ ทธบูชา เมื่อช่างแกะแล้วคนอีสานมักนำ�พระไม้ของตนเองรวมทั้งพระอื่นๆ เข้าพิ ธีพุทธาภิเษกเพื่ อให้พระพุ ทธปฏิมากรที่สร้างมีความศักดิ์สิทธิ์และนำ�ไปกราบ ไหว้บูชาแทนองค์สัมมาสัมพุ ทธเจ้า - เพื่ อสืบทอดพระพุ ทธศาสนาสร้างแทนองค์สัมมาสัมพุ ทธเจ้า - เพื่ อต่ออายุและสืบชะตาให้กับผู้ป่วยหรือเพื่ อสะเดาะเคราะห์ต่างๆ - เพื่ ออุทิศส่วนกุศลให้กับบุพการีและญาติมิตรผู้ล่วงลับ - เพื่ อสร้างพระพุ ทธแทนตนของพระผู้บวชใหม่ (เพื่ อยืนยันและเป็นสักขีพยานในการเข้าสู่เพศบรรพชิตของตน)
22
จิตรกรรม
ฮูปแต้ม วัดยางทวงวราราม (วัดบ้านยาง) จังหวัดมหาสารคาม ฮูปแต้ม คือ ภาพจิตรกรรมฝาผนังในภาคอีสาน ซึ่งปรากฏบนผนังทั้งภายนอกและภายใน ของสิม (โบสถ์) วิหาร หอไตร และหอแจก (ศาลาการเปรียญ) แสดงเรื่องราวพุ ทธประวัติ หรือวรรณกรรมพื้ นบ้าน เป็นความงามแบบพื้ นบ้านที่ซื่อตรง เรียบง่าย ลักษณะเด่น คือ เนื้อเรื่องแบ่งเป็นตอนๆ เชื่อมต่อกัน ช่างแต้มจะใช้เส้นแถบ หรือใช้ช่องว่างรอบองค์ ประกอบภาพแทนการคั่นเนื้อเรื่องแต่ละตอน เพื่ อมิให้เกิดความสับสนในเนื้อหาแต่ละตอน ยังมีคำ�บรรยายภาพกำ�กับไว้ด้วย ช่างแต้มเป็นทั้งฆราวาสและพระภิกษุในสังคมชนบท ซึ่ง เชื่อว่าการได้เขียนฮูปแต้มถือเป็นบุญกุศล
ฮูปแต้มในจังหวัดขอนแก่น มหาสารคาม
23
ที่โด่งดังจนนำ�ไปทำ�เป็นสัญลักษณ์ในการจัดกิจกรรมหลาย ๆ ครั้ง เป็นเนื้อเรื่องของสินไซ นั่นคือสังข์ศิลป์ชัยเป็นวรรณกรรมท้องถิ่นของประเทศลาวและ ถิ่นอีสาน ที่มีคุณค่าทางศาสนา เนื้อเรื่องของสังข์ศิลป์ชัยจึงถูกถ่ายทอดลงบนฝาผนัง ของโบสถ์ในแถบภาคอีสาน โดยจังหวัดที่พบ สิมอีสานเนื้อเรื่องสังข์ศิลป์ชัยส่วนใหญ่อยู่ ที่ จังหวัด ขอนแก่น มหาสารคาม แต่ในจังหวัด ร้อยเอ็ด กาฬสินธุ์ ยโสธรอุบลราชธานีและ นครราชสีมา ยังคงเป็นเรื่องราวตามความเชื่อ คำ�สอน คติธรรมตามหลักพระพุ ทธศาสนา
24
25 สถาปัตยกรรมกรรม ปราสาทพนมรุ้ง
เมืองนครจำ�ปาศรี
จังหวัดมหาสารคาม เมืองโบราณนครจำ�ปาศรี” มีสัณฐานเป็นรูป สี่เหลี่ยมผืนผ้ามุมมน กว้างประมาณ 1,500 เมตร ยาวประมาณ 2,700 เมตร ประกอบ ด้วยเชิงเทิน หรือคันดิน 2 ชั้น มีคูนํ้าขั้น กลาง กว้างประมาณ 20 เมตร เนินดิน สูงประมาณ 3 เมตร และกว้างประมาณ 6 เมตร เมืองโบราณแห่งนี้มีการพั ฒนาการ ของเมืองที่สืบต่อมาหลายสมัยตั้งแต่พุทธ ศตวรรษที่ 12-16 นครจำ�ปาศรี เริ่มมีการ พั ฒนาการของเมืองที่ชัดเจนขึ้นโดยมีการ ขุดคูเมือง-กำ�แพงเมืองล้อมรอบ เพื่ อไว้ใช้ เป็นพื้ นที่เก็บนํ้าเพื่ อการเกษตรกรรม
จังหวัดบุรีรัมย์ รูปแบบของศิลปะเขมรโบราณที่มี ความงดงามมากที่สุดแห่งหนึ่ง ความ งดงามและความยิ่งใหญ่ ของปราสาท แห่งนี้ปรากฏให้เห็นได้ในรูปของงาน สถาปัตยกรรม การจำ�หลักลวดลาย การเลือกทำ�เลที่ตั้งบนยอดเขามีแผนผัง ตามแนวแกนที่มีองค์ประกอบของสิ่ง ก่อสร้าง ต่าง ๆ เรียงตัวกันเป็นแนว เส้นตรงพุ่ งเข้าหาจุดศูนย์กลาง คือ ปราสาทประธาน
เมืองโบราณนครจำ�ปาศรี
26
พระธาตุพนม จังหวัดนครพนม
พระธาตุพนม ศาสนสถานอันศักดิ์สิทธิ์แห่งอีสาน
พระบรมธาตุที่แสดงถึงความเจริญรุ่งเรืองทางพุ ทธศาสนาของนครพนมมาแต่ โบราณกาล สร้างขึ้นเมื่อต้นพุ ทธกาลประมาณ พ.ศ.8 ในสมัยอาณาจักรศรีโคตรบูรเจริญ รุ่งเรือง ประดิษฐานอยู่บนภูกำ�พร้าตั้งตระหง่าน อยู่ริมฝั่งโขง เป็นสถานที่ครั้งหนึ่งพุ ทธ องค์เคยเสด็จมาโปรดสัตว์น้อยโหญ่ ตามตํานานอุรังคธาตุกล่าวถึง พระมหากัสสปะและ พระอรหันต์ 500 องค์ ได้นําพระอุรังคธาตุ (กระดูกส่วนหน้าอก) ของพระสัมมาสัมพุ ทธ เจ้ามาจากชมพู ทวีปและท้าวพญาผู้ครองนครทั้ง 5 เป็นประธาน ในการสร้างที่ประดิษฐาน พระอุรังคธาตุ
27
ภาคใต้
■ ประติมากรรม ■ จิตรกรรม ■ สถาปัตยกรรม
ประติมากรรม
ภาคใต้จะเป็นผลงานเกี่ยวกับพระพุ ทธศาสนา ศาสนา พราหมณ์ฮินดู ศาสนาอิสลาม ผลงานศิลปะส่วนใหญ่ จะเป็นไปในรูปแบบอาณาจักรลังกาสุกะ อาณาจักรตาม พรลิงและอาณาจักรศรีวิชัย เป็นต้น
วัดคูเต่า สงขลา
ตัง ้ อยู่ที่ตำ�บลแม่ทอม อำ�เภอบางกล่ำ� จังหวัด สงขลา สร้าง เมื่อปี พ.ศ. ๒๔๔๓ มีงานศิลปกรรมที่ แสดงฝีมือของช่างท้อง ถิน ้ ทาง ่ ภาคใต้แท้ ๆ ทัง ด้านสถาปัตยกรรม และ ประติมากรรม โดยเฉพาะ ประติมากรรมปูนปั้นที่ มีอยู่มากมาย เช่น พระ อุโบสถ กำ�แพงแก้ว เจดีย์
28
เขาพระนารายณ์ พั งงา แหล่งโบราณเขาเวียง (เขาพระนารายณ์) เป็นภูเขา มีเทวรูปศิลา ๓ องค์ ล้วนเป็น ประติมากรรมอยู่ในกลุ่มเดียวกัน และยังพบเศษภาชนะดินเผาเคลือบ เนื้อแกร่ง ประติมากรรมในพุ ทธ ศาสนา หรือศาสนาฮินดู เช่น รูป เคารพ พระพิ มพ์ และ ซากสถาปัตยกรรม
29 จิตรกรรม
รูปแบบงานจิตรกรรมของพั กใต้อาจจะสืบเนื่องจากสมัยอยุธยาตอนปลายถึงสมัยกรุง รัตนโกสินทร์ตอนต้นรูปแบบจะสะท้อนวิถีชีวิตวัฒนธรรมในภูมิภาคอย่างเห็นได้ชัด และ แบ่งได้หลายแบบ เช่น แบบเลียนแบบครูช่างเดิม แบบศิลปะแบบจีน แบบศิลปะตะวันตก แบบประเพณีรัชดาลที่4 แบบพื้ นบ้าน
30
จิตรกรรมฝาผนังวัดวัง จังหวัดพั ทลุง ภาพจิตรกรรมภายในพระอุโบสถของวัดวัง กล่าวกันว่าเป็นฝีมือช่างคณะเดียวกับ ที่เขียนภาพจิตรกรรมฝาผนังในพระอุโบสถวัดพระศรีรัตนศาสดารามจิตรกรรมสมัย รัตนโกสินทร์ ช่วงรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 (พ.ศ. 2403) ลักษณะงานเขียนขึ้นโดยช่างในท้องถิ่น แต่จำ�ลองรูปแบบงานให้ เหมือนกับจิตรกรรมในแถบพระนคร ภาพส่วนใหญ่นิยมใช้สีแดงและสีน้ำ�เงิน
จิตรกรรมฝาผผนังวัด วิหารเบิก จังหวัดพั ทลุง จิตรกรรมฝาผนังภายในพระ อุโบสถวัดวิหารเบิกนั้น เชื่อ กันว่าเขียนขึ้นเมื่อประมาณ พ.ศ.๒๔๐๓ โดยช่างชาวพั ทลุง ที่ชื่อสุ่นซึ่งขณะนั้นดำ�รง ตำ�แหน่งหลวงเทพบัณฑิต ประจำ�เมืองพั ทลุง
ตามประวัติ ช่างสุ่นผู้นี้เคยไปหัดเขียนภาพจิตรกรรมฝาผนังที่กรุงเทพฯ และยังเคย เขียนภาพในวัดพระศรีรัตนศาสดารามด้วย
31 สถาปัตยกรรมกรรม ลักษณะเด่น ของบ้านเรือนในภาคใต้ จากอากาศร้อนและมีลมทะเลตลอดเวลา ด้วยเหตุนี้การสร้างบ้านของผู้คนในภาค ใต้จึงเน้นในเรื่องของการระบายความร้อน เป็นพิ เศษ มีอากาศร้อนฝนตกชุกมีลมและ ลมแรงตลอดปีบ้านเดือนจึงมักมีหลังคา เตี้ยลาดชันเป็นการลดการประทะของแรง ลมเมื่อฝนตกจะทำ�ให้น้ำ�ไหลได้เร็วขึ้นจะ ทำ�ให้หลังคาแห้งไวด้วย
ลักษณะงานสถาปัตยกรรม
เจดีย์วัดหลง จังหวัดสุราษฎร์ธานี
.มัดยิดกรือเซะ จังหวัดปัตตานี
สรุป ทัศนศิลป์ 4 ภาค
32
■ ประติมากรรม ■ จิตรกรรม ■ สถาปัตยกรรม ทัศนศิลป์ใน ประเทศไทยมีทั้งหมด 4 ภาคได้แก่ ภาคเหนือ ภาค อีสาน ภาคกลาง ภาคใต้ โดยผลงานทัศนศิลป์ในแต่ละภาค จะ สะท้อนถึงขนบธรรมเนียม ประเพณี และ วัฒนธรรม การใช้ ชีวิตประจำ�วัน เหมือนเหมือนกัน แต่จะแตกต่างกันตรงที่ สภาพ ความเป็นอยู่ ภูมิอากาศ และ การใช้ชีวิต ทำ�ให้มีประเพณี วัฒนธรรม และ ความเชื่อที่แตกต่างกัน จึงทำ�ให้ผลงานทาง ทัศนศิลป์ต่างๆ จิตรกรรม ประติมากรรม และสถาปัตยกรรม มีความแตกต่าง และ มีความเป็นเอกลักษณ์ของแต่ละภูมิภาค อย่างชัดเจน
33
สรุปทัศนศิลป์ 4 ภาค ■ ประติมากรรม ■ จิตรกรรม ■ สถาปัตยกรรม
ภาคเหนือ
ภาคใต้
ทัศนศิลป์ต่างๆ ได้รับอิทธิพลมาจากสมัย
ทัศนศิลป์ของภาคใต้ จะเป็นผลงานที่
เชียงแสน ประติมากรรมที่พบส่วนมากจะ
เกี่ยวกับพุ ทธศาสนา ศาสนาพราหมณ์-
เป็นพระพุ ทธรูป ซึ่งมีความร่วมสมัยกับ
ฮินดู และศาสนาอิสลาม เป็นส่วนใหญ่
สุโขทัยและทั้ง ได้รับอิทธิพลจากประเทศ
ซึ่งผลงานศิลปะจะเป็นไปในรูปแบบของ
พม่านำ�มาผสมผสานกัน
อาณาจักรลังกาซุกะ และ อาณาจักรตาม พรลิง หรือ อาณาจักรศรีวิชัย
ภาคอีสาน
ภาคกลาง
ทัศนศิลป์ของภาคอีสาน นั้นเกิดจาก
ทัศนศิลป์ของภาคกลาง แหล่งผลิต
บรรพบุรุษในสมัยก่อน ซึ่งผลงานศิลปะ
งานศิลปะนั้นส่วนใหญ่อยู่ ในจังหวัด
นั้นจะสามารถดูได้ตาม ศาสนสถานวัดวา
รอบๆ กรุงเทพมหานคร ผลงานศิลปะ
อารามต่างๆ แสดงให้ถึงการใช้ชีวิตประจำ�
ภาพการจึงมีความสวยงามและโดดเด่น
วันของคนภาคอีสานในเทศกาลต่างๆ ซึ่ง
โดยมีเอกลักษณ์เฉพาะตัวซึ่งเป็นไปตาม
ถือเป็นศูนย์รวมในการทำ�กิจกรรมต่างๆ
สภาพความเป็นอยู่วิถีชีวิตและวัฒนธรรม
ของผู้คนในชุมชนมาตั้งแต่ครั้งโบราณ
ประเพณีของคนในภาคกลาง
วัดวาอารามนั้น ล้วนได้รับการดูแลรักษา จากพระสงฆ์และคนในชุมชนเป็นอย่างดี ทำ�ให้เป็นแหล่งสืบสานศิลปะอีสานที่มีมา ตั้งแต่โบราณ จนถึงปัจจุบัน
34
ศิลปะท้องถิ่นในภูมิปัญญาต่างๆ มักมีลักษณะที่แตกต่างกันไปตาม ภูมิประเทศ วิถีชีวิต ประเพณี และวัฒนธรรมของผู้คนในท้องถิ่น และ มีเอกลักษณ์เฉพาะ ตัว ถูกสร้างขึ้นโดยศิลปินหรือผู้คนในท้องถิ่นของตนเอง ศิลปะที่ถูกสร้างขึ้น เช่น จิตรกรรม ประติมากรรม และ สถาปัตยกรรม ล้วนมีความแตกต่างกัน ตามลักษณะ ของท้องถิ่นนั้นๆ อย่างที่ทุกคนทราบ แต่ผลงานศิลปะนั้นล้วนเกิดจาก ฝีมือ ความรู้ ของบรรพบุรุษในภาคต่างๆ ที่เขารักและห่วงแหนศิลปะนั้น จึงสร้างผลงานขึ้นมาเพื่ อ ให้ เด็กรุ่นหลังได้รู้ถึงความเป็นมาของ ประเพณีวัฒนธรรมในสมัยก่อนนั้นเอง