BEHIND THE SYNTH

Page 1



สาธิดา มาศจิราภา


Behind the synth สาธิดา มาศจิราภา

พิมพ์ครัง้ แรก มีนาคม 2558 จ�ำนวน 112 หน้า ทีป่ รึกษา คณะทีป่ รึกษา ภาพปก ภาพประกอบ ภาพถ่าย กราฟิก

อาจารย์อริน เจียจันทร์พงษ์ อาจารย์บรรยงค์ สุวรรณผ่อง อาจารย์ ดร.กันยิกา ชอว์ อาจารย์วรี ะศักดิ ์ จันทร์สง่ แสง อาจารย์ภมรศรี แดงชัย เมนิสา นิภาวรรณ สาธิดา มาศจิราภา จริยา รุง่ กิตโิ ยธิน สาธิดา มาศจิราภา สถาปตั ย์ ธีรนิตยภาพ Vector Open Stock www.vectoropenstock.com

คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร สาขานิเทศศาสตร์ เอกวารสารและหนังสือพิมพ์ มหาวิทยาลัยศิลปากร


Before the synth หากใครทีไ่ ม่ได้เป็ นศิลปิ นหรือว่า คอเพลงก็คงแปลกใจว่า ซินธิไซเซอร์ นัน้ คืออะไรกันนะ ตกลงว่าจะเป็ น เสียงหรือว่าคลืน่ ไฟฟ้ากันแน่? หนังสือเล่มนี้เกิดจากความสนใจ ของเราที่ม คี วามอยากรู้อ ยากเห็น เหมือนกับคนอืน่ ๆ เช่นกัน พอเราได้ศกึ ษาอย่างจริงจัง ได้ไป พูดคุยกับศิลปิน ผูเ้ ชีย่ วชาญทางด้าน ดนตรีแล้ว เรายิง่ สนุ กกับมันเข้าไป ใหญ่เลย เราจึงอยากถ่ายทอดความรูท้ เ่ี รา ได้มาจากความสนใจของเราให้กบั คนอื่ น ได้ รู้ จะเรี ย กว่ า เป็ นการ สังเคราะห์ขอ้ มูลก็ได้นะ จะได้เหมือน กับการสังเคราะห์เสียงไงล่ะ! ขอบคุณนะที่ตดั สินใจให้หนังสือ เล่มนี้มาอยูใ่ นมือคุณ :) สาธิดา มาศจิราภา



CONTENTS รู้จักซินธ์

10

เปิดฉากซินธ์

12

กว่าจะเป็นเพลงป๊อป

24

ซินธ์กับเพลงไทย

29

คุยเฟื่องเรื่องซินธ์

38

รักแรกพบ

41

กลิ่นอายเสียงซินธ ์

45

ธรรมชาติ หรือ ไม่ธรรมชาติ

48

คอซอง คอซินธ์

52

ซินธ์สะเทือน!!

54

ตอบโจทย์ที่ใช่ กับเสียงที่ชอบ

57

จ�ำหน่ายจ่ายซินธ์

56

กระแสซินธ์

66

สังคมอุดมซินธ์

70

เรื่องเล่าคนรอบซินธ์

88

ซินธ์ในเพลง

100





รู ้ จั ก ซิ น ธ์ WELCOMING


รู ้ จั ก ซิ น ธ์ WELCOMING เปิดฉากซินธ์ (Intro to the synth)

หากพูดถึงการก�ำเนิดซินธิไซเซอร์ (Synthesizer) แล้ว นัน้ เมือ่ ศึกษาจากข้อมูลในหนังสือก่อนทีจ่ ะลงไปพูดคุยกับ คนทีเ่ กีย่ วข้องนัน้ ก็ได้พบว่าซินธิไซเซอร์มมี าตัง้ แต่ปลาย ทศวรรษที่ 1960 แต่ใครจะรู้ว่าจุดเริม่ ของการน� ำไฟฟ้ามาเป็ นส่วนหนึ่ง ของการผลิตเครื่องดนตรีตงั ้ แต่ปลายทศวรรษที่ 1920 กัน เลยทีเดียว... 12 Behind the synth


“เมื่อมีความพยายามทีจ่ ะใช้ไฟฟ้าเข้ามาผลิตเป็ นเสียง ก็เป็ นจุดเริม่ ต้นของการก�ำเนิดเครือ่ งดนตรีไฟฟ้า” ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์คมธรรม ด�ำรงเจริญ อาจารย์ประจ�ำ สาขาดนตรีเชิงพาณิชย์ คณะดุรยิ างคศาสตร์ มหาวิทยาลัย ศิลปากร เข้ามาช่วยไขความกระจ่างในเรื่องทีม่ าของซินธิไซเซอร์ แต่เท่านัน้ ยังไม่พอ!! อาจารย์หนุ่มดีกรีผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ยังท้าวความไปถึงการก�ำเนิดเครื่องดนตรีไฟฟ้า และซินธ์ พระเอกของเรือ่ งทีเ่ ราก�ำลังจะบอกเล่านัน้ ก็เป็นส่วนหนึ่งของ เครือ่ งดนตรีไฟฟ้าทีก่ ำ� เนิดขึน้ เช่นกัน ก่อนหน้าทีจ่ ะมีซนิ ธ์ ขึน้ มานัน้ มีเครือ่ งดนตรีไฟฟ้าทีผ่ ลิต ขึน้ ตัง้ แต่ปี ค.ศ. 1928 ซึง่ เรียกได้วา่ เป็นต้นแบบของการผลิต ซินธิไซเซอร์เลยก็วา่ ได้ “ต้ น แบบของเครื่อ งดนตรีไ ฟฟ้ าตัว แรกคือ ออนเด มาร์เ ดอโน (Ondes Martenot) เป็ น เครื่อ งดนตรีข อง ประเทศฝรังเศส ่ เกิดขึน้ จากความบังเอิญ โดยผูค้ ดิ ค้น โมริส มาร์เดอโน (Maurice Martenot) ได้รบั แรงบันดาลใจมาจาก เครือ่ งส่งสัญญาณโทรเลข เพราะเครือ่ งส่งสัญญาณโทรเลข มีการท�ำงานด้วยของเสียง เขาจึงทดลองด้วยการน�ำเครือ่ ง ส่งสัญญาณโทรเลขมาบรรจุลงในคียบ์ อร์ด ท�ำให้เกิดเครือ่ ง ดนตรีทส่ี ามารถให้เสียงและคลืน่ หลาย ๆ ระดับ” Welcoming

13


ออนเด มาร์เดอโน (Ondes Martenot) และเธรามิน (Theremin) ต้นแบบเครื่องดนตรีไฟฟ้าตั้งแต่ยุศทศวรรษที่ 1920

นอกจาก ออนเด มาร์เดอโน ตัวพ่อของเครือ่ งดนตรีอเิ ล็กทรอนิกส์แล้ว อาจารย์กพ็ ยายามนึกชื่อเครื่องดนตรีชน้ิ ต่อ ไปอยูน่ านสองนาน แต่จนแล้วจนเล่าก็ยงั นึกไม่ออก คล้าย จะติดอยูท่ ป่ี ลายลิน้ ... คงเป็ นเพราะจุดเริม่ ต้นของเครื่องดนตรีไฟฟ้านัน้ มีมา ยาวนานเหลือเกิน แต่พอเวลาผ่านไปสักพัก เขาก็นกึ ค�ำตอบ ออกมาได้โดยฉับพลัน “เครื่อ งดนตรีไ ฟฟ้ าอีก หนึ่ ง ชิ้น หนึ่ ง มีช่ือ ว่ า เธรามิน (Theremin) เครื่องดนตรีไฟฟ้าชิน้ นี้ ก็เป็ นต้นแบบในการ สังเคราะห์เสียงเช่นกัน” 14 Behind the synth


งัน้ เธรามิน ก็เป็ นเหมือนกับตัวแม่ของการก�ำเนิดซินธิไซเซอร์ส.ิ .. จากนัน้ อาจารย์กไ็ ด้เล่าถึงการใช้งานของ เธรามินทีม่ ี ลักษณะไม่เหมือนเครื่องดนตรีชนิดอื่น โดยทีต่ วั เครื่องจะ ปล่อยคลืน่ สัญญาณออกมา ถ้าน�ำมือไปวางไว้ใกล้ ๆ เครือ่ ง ก็จะผลิตความดังและระดับความถีข่ องคลืน่ ออกมาเป็ นเสียง ซึง่ เครือ่ งดนตรีสองชนิดนี้ จึงเรียกได้วา่ เป็ นตัวต้นแบบ ของเครือ่ งดนตรีไฟฟ้าทุกชนิดบนโลกใบนี้ ล อ ง ย้ อ น ก ลั บ ไ ป ใ น ยุ ค ที่ ด น ต รี อิ เ ล็ ก ท ร อ นิ ก ส์ (Electronics) เริม่ ก่อตัวขึน้ ในปลายทศวรรษที่ 1960 ใน ตอนนัน้ เครื่องดนตรีไฟฟ้าและเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เข้า มาเป็ นส่วนส�ำคัญให้กบั แนวเพลงอิเล็กทรอนิกส์ และซินธิไซเซอร์กเ็ ช่นเดียวกัน งัน้ มาท�ำความรูจ้ กั กับต้นตระกูลของซินธิไซเซอร์หรือที่ ภาษาไทยเรียกว่า 'เครือ่ งสังเคราะห์เสียง' กันเลยดีกว่า ว่า มันมีประวัตคิ วามเป็ นมาอย่างไร ตามข้อมูทไ่ี ด้ศกึ ษาจากหนังสือ Understanding popular music culture ของ รอย ชูเกอร์ (Roy Shuker) สรุปได้วา่ เป็ นเครื่องดนตรีท่นี � ำวงจรไฟฟ้ามาผลิตขึน้ เป็ นเสียง ถูก ผลิตขึน้ มาไล่เลีย่ กับการเกิดขึน้ ของดนตรีอเิ ล็กทรอนิกส์ ใน ปลายทศวรรษที่ 1960 โดยผูใ้ ห้กำ� เนิดซินธิไซเซอร์นนั ้ ไม่ได้ Welcoming

15


เกีย่ วข้องกับวงการดนตรีแต่อย่างใด กลับเป็ นวิศวกรไฟฟ้า ชาวอเมริกนั ทีม่ ชี ่อื เสียงเรียงนามว่าโรเบิรต์ อาเธอร์ มูก้ (Robert Arthur Moog) นันเอง ่ ก่ อ นหน้ า ที่ ซิ น ธิ ไ ซเซอร์ จ ะมาอยู่ ใ นรู ป แบบคล้ า ย เปี ยโนอย่างทุกวันนี้ ซินธิไซเซอร์เคยมีรูปร่างคล้ายกล่อง สีเ่ หลีย่ ม มีวงจรและสายไฟฟ้าจ�ำนวนมากระโยงระยางสลับ กันไปมาชวนตะลึง บนกล่องทีว่ า่ มีสารพัดปุม่ เกลียวเพือ่ บิด หมุนคลืน่ เสียงให้ได้ตามทีผ่ เู้ ล่นต้องการ ซึง่ ซินธิไซเซอร์ใน รูปร่างหน้าตาตามทีเ่ ล่ามานัน้ มีช่อื เรียกว่า โมดูลาร์ ซินธิไซเซอร์ (Modular Synthesizer)

โมดูลาร์ ซินธิไซเซอร์ (Modular Synthesizer) ซินธิไซเซอร์ต้นต�ำรับ ก่อนที่จะมาอยู่ในรูปแบบคีย์บอร์ด 16 Behind the synth


หลัง จากนัน้ วิศ วกรไฟฟ้ าผู้ค ิด ค้น คนเดิม ก็ไ ด้ท�ำ การ พัฒนาซินธ์ โดยเริม่ จากรูปร่างหน้าตา คือการน� ำซินธิไซเซอร์ในรูปแบบของโมดูลาร์ย่อขนาดให้เล็กลงไปอยู่ในรูป แบบของคีย์บอร์ด ท�ำให้มนั ที่มรี ูปร่างเป็ นกล่องสีเ่ หลี่ยม ใหญ่นนั ้ ลดรูปร่างให้เป็ นขนาดเล็กกะทัดรัด โดยมาอยูใ่ นรูป แบบของคียบ์ อร์ด และด้วยขนาดทีเ่ ล็กลงท�ำให้ผเู้ ล่นซินธ์น้ี สามารถพกพาไปทีไ่ หนก็ได้อย่างสะดวกสบายขึน้ แต่ในปจั จุบนั นี้พฒ ั นาการของซินธิไซเซอร์กเ็ ข้าไปอยูใ่ น แทบทุกเครือ่ งดนตรีแล้ว ไม่วา่ จะเป็ น ดรัมแมชชีน (Drum Machine) เอฟเฟ็ กต์ต่าง ๆ ทีอ่ ยู่ในกีตาร์ และโวโคเดอร์ (Vocoder) ทีเ่ ป็นเครือ่ งแปลงสัญญาณให้กลายเป็นเสียง อาจ จะงง ๆ กันใช่มยั ้ งันลองคิ ้ ดถึงเสียงหุน่ ยนต์ทอ่ี ยูใ่ นการ์ตนู ดูส ิ เสียงนัน้ แหละคือเสียงจากโวโคเดอร์ ส่วนพัฒนาการทางด้านเสียงก็ดขี ้นึ ตามล�ำดับเช่นกัน เวลาพูดถึงเสียงทีไ่ ด้จากซินธิไซเซอร์แล้วนัน้ โดยชื่อของ ตัวมันเองก็บอกว่าท�ำหน้ าที่สงั เคราะห์เสียงอยู่แล้ว แล้ว สังเคราะห์เสียงในแบบไหนบ้างล่ะ? ข้อแรกเลยก็คอื ซินธิไซเซอร์กส็ ามารถสร้างเสียงเลียน แบบเครือ่ งดนตรีชนิดต่าง ๆ ทีเ่ ป็ นเสียงอะคูสติกได้ แม้วา่ มันจะสามารถเลียนเสียงได้แค่เพียงคล้าย ๆ ไม่ได้เหมือนจน กระทังแยกเสี ่ ยงไม่ออก แต่ตรงนี้น่ีแหละนับเป็ นจุดเด่นของ ซินธิไซเซอร์ในเรือ่ งของความเป็ นเอกลักษณ์เฉพาะตัวเลย Welcoming

17


หน้าทีต่ อ่ ไปนัน้ ชือ่ ก็คอ่ นข้างจะตรงตัวกับชือ่ เครือ่ งดนตรี สักหน่อย ตรงทีม่ นั สามารถสังเคราะห์ให้ออกมาเป็นเสียงใหม่ ได้ เป็นเสียงทีซ่ นิ ธ์สามารถท�ำได้เพียงเครือ่ งเดียวโดยเฉพาะ เครือ่ งดนตรีชนิดอืน่ ไม่สามารถท�ำเสียงแบบนี้ได้ และจุดเด่น ของซินธิไซเซอร์ทเ่ี ครือ่ งดนตรีอน่ื ๆ ท�ำไม่ได้ ก็ทำ� ให้ซนิ ธ์เริม่ ก้าวเข้าสูว่ งการเพลงต่างประเทศ เพือ่ ช่วยในเรื่องของการ ท�ำงานทีเ่ ฟี้ยวฟ้าวและแหวกแนวไปจากเดิมโดยสิน้ เชิง พอได้อา่ นมาถึงตรงนี้แล้วคงจะงงและสงสัยไม่ใช่น้อยใช่ ไหมว่าเสียงสังเคราะห์จะช่วยเรื่องของการท�ำเพลงอย่างไร บ้าง งัน้ จะลองยกตัวอย่างศิลปินต่างประเทศยุค 60 - 70 ให้ ท่านผูอ้ า่ นได้รอ้ งอ๋อกันสักหน่อย ในยุคนัน้ หากมีการตัง้ วงดนตรีขน้ึ มา คงจะหนีไม่พน้ การ ตัง้ วงดนตรีทม่ี กี ตี าร์ เบส กลองและนักร้องน�ำอย่างวงเดอะ บีทเทิลส์ (The Beatles) หรือ เดอะโรลลิง่ สโตนส์ (The Rolling Stones) และขณะเดียวกันช่วงเวลานัน้ ดนตรีเต้นร�ำหรือทีเ่ รารูจ้ กั กันเป็ นอย่างดีในชือ่ ว่าเพลงดิสโก้ (Disco) ก็เป็ นทีน่ ิยมของ กลุ่มผูฟ้ งั ในช่วงยุคปลายทศวรรษที่ 60 คาบเกีย่ วไปจนถึง ยุค 70 ซึง่ ดนตรีเต้นร�ำเหล่านี้กม็ กั จะใช้เสียงสังเคราะห์คอ่ น ข้างเยอะอยูแ่ ล้ว เพือ่ แต่งเติมสีสนั ให้กบั เพลง สร้างจังหวะ ให้เพลงมีความสนุ กยิง่ ขึ้น และสามารถสร้างเสียงแปลก ประหลาด สือ่ ได้ถงึ ความล�้ำสมัยในช่วงเวลานัน้ 18 Behind the synth


วงดนตรีท่ีม ีก ลิ่น อายของเสีย งสัง เคราะห์อ ย่ า งวงบีจีส์ (Bee Gees) วงดนตรีแนวเพลงป๊อปทีป่ ระกอบไปด้วย สามพีน่ ้องชาวผูด้ อี งั กฤษ และเพลงฮิตของ บีจสี ์ ทีม่ กี ลิน่ อายเสียงสังเคราะห์อย่างชัดเจนเลยก็คอื เพลง แมสซาชูเซสต์ (Massachusetts) ในอัลบัม้ ฮอริซอนทัล (Horizontal) ทีอ่ อก จ�ำหน่ายเมือ่ ปี ค.ศ 1968 พอขยับมาในช่วงกลาง ๆ ของยุค 70 ก็จะมีวงดนตรีจาก ประเทศสวีเดนอย่างแอ็บบ้า (Abba) ทีม่ เี พลงฮิตดังระเบิด ระเบ้อในยุคคุณพ่อคุณแม่นามว่า แด๊นซิง่ ควีน (Dancing Queen) เพลงนี้ฮอตขนาดทีว่ า่ ติดชาร์ตเพลงอันดับ 1 ถึง 6 สัปดาห์ตดิ ต่อกันเลยทีเดียว และวงสุดท้ายที่อยากจะแนะน� ำ คือศิลปิ นที่มกี ารท�ำ เพลงชนิดทีว่ ่ามีเสียงสังเคราะห์แบบโดดเด่นออกมาอย่าง คราฟต์เวิรก์ (Kraftwerk) วงดนตรีอเิ ล็กทรอนิกส์ของยุค 70 ทีป่ ระกอบด้วยสมาชิกหนุ่มสัญชาติเยอรมันทัง้ หมด 4 ท่าน ซึง่ มีการท�ำวงดนตรีทแ่ี ตกต่างจากวงทัว่ ๆ ไปคือสุภาพ บุรษุ ทัง้ หลายล้วนอยูใ่ นต�ำแหน่งของผูเ้ ล่นซินธิไซเซอร์ทงั ้ สิน้ และด้วยการแต่งตัวของพวกเขาที่มเี อกลักษณ์ เฉพาะ ตัวอย่างการใส่สทู ผูกไทด์ทเ่ี หมือนกันหมดทัง้ วง ออกมากด ลิม่ คีย์บอร์ดทีฟ่ งั ดูเสียงแปลกประหลาดราวกับเสียงเชื่อม ต่ออินเทอร์เน็ตในยุคทีต่ อ้ งน�ำสายโทรศัพท์โดยตรงพ่วงเข้า Welcoming

19


กับโมเด็ม บวกกับเสียงร้องที่คล้ายเสียงหุ่นยนต์ผ่านโวโคเดอร์ ซึง่ เป็ นเครื่องสังเคราะห์เสียงอีกประเภทหนึ่งเช่น กัน ตัว อย่า งเพลงที่ม เี สีย งสัง เคราะห์ท่ีช ดั เจนเลยก็คือ เดอะ โรบอทส์ (The Robots) อยากจะน�ำเสนอให้ทา่ นผูอ้ า่ นลองไปหาฟงั กันดู แล้วคุณ จะรูว้ า่ นี่แหละคือเสียงซินธ์... พอพ้นช่วงปลายยุค 60 ในฐานะทีซ่ นิ ธิไซเซอร์เพิง่ ก้าว ขึน้ มาเป็ นน้องใหม่ในวงการเครือ่ งดนตรีแล้ว ความนิยมใน การใช้เสียงสังเคราะห์ทำ� เพลงของศิลปิ น นักดนตรี ก็เรียก ได้วา่ ประสบความส�ำเร็จ จนเวลาต่อมาตัง้ แต่ยคุ 80 เป็ นต้น ไป เสียงสังเคราะห์เหล่านี้กไ็ ด้น�ำมาใช้เพือ่ ช่วยแต่งเติมสีสนั อย่างเต็มรูปแบบให้กบั แนวเพลงต่าง ๆ ไม่วา่ จะเป็ น เพลง ทีอ่ ยูใ่ นกระแสอย่างป๊อป ร็อก แด๊นซ์ หรือ ฮิพฮอพ อีกทัง้ ยังเป็ นเสียงหลักในการท�ำดนตรีอเิ ล็กทรอนิกส์ดว้ ยเช่นกัน ส่วนยุครุง่ เรืองทีส่ ดุ ของการใช้เสียงสังเคราะห์มาบรรเลง ประกอบเพลง เห็นจะเป็ นยุคทศวรรษที่ 1980 ซึง่ อาจารย์ สินนภา สารสาส อาจารย์ประจ�ำสาขาดนตรีเชิงพาณิชย์ คณะดุรยิ างคศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร อดีตนักประพันธ์ เพลงและโปรดิวเซอร์ประจ�ำบัตเตอร์ฟลายสตูดโิ อ มิวสิก โปรดักชันเจ้ ่ าแรกในประเทศไทย ได้อธิบายให้เข้าใจถึง ความสัมพันธ์ระหว่างยุคสมัยของวงการเพลงสากลกับซินธิไซเซอร์ไว้วา่ 20 Behind the synth


“คาบเกีย่ วยุคปลายทศวรรษที่ 1970 - 1980 ช่วงนัน้ จะ เป็ นยุคพังก์รอ็ ก (Punk Rock) จุดเริม่ ต้นของแนวดนตรีน้ีคอื เขาเริม่ ใช้ซนิ ธิไซเซอร์" ตัวอย่างของวงดนตรีในยุคพังก์รอ็ ก เช่นวงบูมทาวน์ แร็ทส์ (Boomtown Rats) โพลิส (Police) และสตริงส์(Strings) ซึง่ เป็ น ยูนิป๊อป (Uni-pop) ซึง่ เป็ นแนวเพลงย่อย ๆ ของ เพลงป๊อป และในช่วงนัน้ แนวเพลงจ�ำพวกนิวเวฟ (Newwave) ซินธ์ป๊อป (Synth Pop) ดรีมป๊อป (Dream Pop) ก�ำลังมา ซึง่ นิวเวฟนี้จะเป็ นส่วนหนึ่งของแนวเพลงพังก์รอ็ กมาก่อน หลัง จากนัน้ ก็น�ำเอามารวมกับพวกซินธ์ป๊อป และดรีมป๊อป โดย จุดร่วมของแนวเพลงทัง้ 3 แนวนี้กค็ อื การน�ำซินธิไซเซอร์มา ใช้ในการท�ำเพลง ซึง่ แนวเพลงของยุค 80 ทีฮ่ ติ ๆ ในตอนนัน้ ก็คอื แนวเพลงอิเล็กทรอนิกส์ และพวกดนตรีเต้นร�ำประเภท นี้กจ็ ะเป็ นทีน่ ิยมในหมูค่ นฟงั ศิ ล ปิ นที่ เ ป็ นต้ น แบบให้ ก ั บ แนวเพลงนิ ว เวฟและ ซิน ธ์ป๊ อป ก็จ ะมีว งดนตรีจ ากประเทศอัง กฤษที่ม ีช่ือ ว่ า ดีเพชเชโหมด (Depeche Mode) ซึง่ ประกอบไปด้วยสมาชิก หนุ่ มตาน�้ ำข้าวทัง้ หมด 4 คน แล้วมีต�ำแหน่ งผูเ้ ล่นซินธ์ใน วงถึง 3 คนเลยทีเดียว และบวกรวมนักร้องน�ำไปอีก 1 คน ส�ำหรับเพลงทีอ่ ยากแนะน� ำให้ลองฟงั กันก็คอื เพลง อีส โน กูด้ (It's No Good) ด้วยเสียงจังหวะของเพลงทีม่ ลี กั ษณะ เด่นชัดเจนและ เสียงทีใ่ ช้ประกอบเพลงเป็ นเสียงสังเคราะห์ ซึง่ เข้ากับเสียงร้องได้อย่างดี Welcoming

21


1970's artist

1980's - Now

artist

ศิลปินต่างประเทศตั้งแต่ยุคทศวรรษที่ 1970 จนกระทั่งปัจจุบัน ที่น�ำซินธิไซเซอร์มาใช้ประกอบการท�ำเพลง ที่มา : www.wikipedia.org 22 Behind the synth


ั ่ นออกบ้างสักหน่ อย ลองข้ามฟากมาฟงั เพลงทางฝงตะวั แล้วกัน วงดนตรีสญ ั ชาติญ่ีปุ่นที่ท�ำเพลงในแนวนี้เช่นกันอย่าง เยลโล่ว แมจิก ออเคสตร้า (Yellow Magic Orchestra หรือ YMO) เป็ นวงดนตรีอเิ ล็กทรอนิกส์เช่นกัน มีสมาชิกด้วยกันทัง้ หมด 3 คน ทีท่ ำ� หน้าทีใ่ นต�ำแหน่งผูเ้ ล่นคียบ์ อร์ด กีตาร์เบส และ มือกลองตามล�ำดับ ซึง่ มือกลองของวงนี้กไ็ ด้ควบต�ำแหน่ ง ร้องน�ำไปด้วยเช่นกัน ตัวอย่างเพลงของวงดนตรีวายเอ็มโอ ทีอ่ ยากแนะน�ำให้ฟงั ก็คอื เพลง บีไฮนด์ เดอะ มาร์กส (Behind the Mask) ซึง่ มีจุดเด่นทัง้ ในเรื่องของเสียงร้องทีเ่ ป็ นเสียง หุน่ ยนต์คล้ายกับเพลงเดอะ โรบอท ของวงคราฟต์เวิรก์ และ ท่วงท�ำนองของเพลงนี้ทม่ี จี งั หวะชัดเจน และกลิน่ ของเสียง สังเคราะห์มคี วามชัดเจนพอ ๆ กับจังหวะเช่นกัน พอมาถึงปี 2000 หรือยุค Y2K ทีโ่ ด่งดังมากในตอนนัน้ นับว่าเป็ นยุคแห่งความเจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยี ซินธิไซเซอร์เปลีย่ นโฉมหน้าจากอนาล็อกกลายเป็ นดิจทิ ลั อย่าง เต็มตัว หากแต่ความเป็ นจริง ดิจทิ ลั ซินธ์ นัน้ มีมาตัง้ แต่ปี 1980 แล้วก็ตาม โดยการท�ำงานของซินธิไซเซอร์แบบดิจทิ ลั นัน้ มีขอ้ ดีตรง ทีท่ �ำงานเชื่อมต่อกับคอมพิวเตอร์ได้ ผูเ้ ล่นจึงสามารถเห็น คลืน่ เสียงจากจอแสดงผลของคอมพิวเตอร์ได้โดยตรง อีกทัง้ ซินธิไซเซอร์แบบดิจทิ ลั นัน้ ก็มคี ุณสมบัตใิ นการสังเคราะห์ เสียงทีไ่ ด้ใกล้เคียงคุณภาพซินธิไซเซอร์แบบอนาล็อก Welcoming 23


นอกจากนัน้ แล้วยังมีขอ้ ได้เปรียบในเรื่องของราคาทีถ่ ูก กว่าอนาล็อกซินธ์อย่างเห็นได้ชดั ท�ำให้ศลิ ปินหรือผูท้ ส่ี นใจ ในเรือ่ งของเสียงสังเคราะห์สามารถซือ้ ไปทดลองเล่นได้อย่าง ง่ายดาย สะดวกกระเป๋าสตางค์ และดิจทิ ลั ซินธ์ไซเซอร์ท่ี กล่าวนี้ยงั รวมไปถึง ซอฟต์ซนิ ธ์ (Softsynth) ก็คอื ซินธิไซเซอร์ประเภทซอฟต์แวร์ทเ่ี ป็ นโปรแกรมอยู่ในคอมพิวเตอร์ ท� ำ ให้ ก ารเล่ น ซิน ธิไ ซเซอร์ ใ นยุ ค นี้ ย ิ่ง สะดวกสบายกัน เข้าไปใหญ่ ตัง้ แต่ยคุ 2000 เป็ นต้นมา การใช้ซนิ ธิไซเซอร์ของวงการ เพลงในต่างประเทศนัน้ สามารถใช้ได้ในทุก ๆ แนวเพลงเลย ตัวอย่างเช่นศิลปิ นเมนสตรีมสุดฮิตทางอย่าง ดาฟท์ พังก์ (Daft Punk) วงดนตรีอเิ ล็กทรอนิกส์ จากเกาะอังกฤษตัง้ แต่ ยุค 80 ทีย่ งั มีผลงานจนถึงปจั จุบนั นี้ กว่าจะเป็นเพลงป๊อป (Established Thai Popular music)

ทีน้ีกพ็ อจะเห็นการใช้ซนิ ธิไซเซอร์ในต่างประเทศว่าเป็ น ทีน่ ิยมใช้กนั มากแค่ไหน และแล้วก็ถงึ เวลาทีจ่ ะหันกลับมา มองวงการเพลงไทยกันบ้าง ซึ่งแน่ นอนว่าการใช้ซนิ ธิไซั ่ นตกก็เข้ามามีอทิ ธิพลกับวงการ เซอร์ของวงดนตรีทางฝงตะวั เพลงไทยเช่นกัน แต่จะเข้ามาทางไหนอย่างไรบ้าง ลองอ่าน ในหน้าต่อไปกันได้เลย... 24 Behind the synth


ก่อนอื่นต้องขอปูเรือ่ งภาพรวมวงการเพลงไทยตัง้ แต่ยคุ การเริม่ ต้นของวงสตริงคอมโบไทยจนมาถึงในยุคปจั จุบนั ซึง่ มีวงดนตรีหลากหลายแนวเพลงชนิดทีผ่ ุดขึน้ มายังกับดอก เห็ดเลยทีเดียว ซึง่ ในเรือ่ งนี้ มาโนช พุฒตาล ผูค้ ร�่ำหวอดวงการเพลงไทย มากว่า 30 ปี ได้เล่าเรือ่ งวงการเพลงไทยให้ฟงั ได้ความมาว่า “ไม่วา่ จะเป็ นเพลงไทยสากลหรือเพลงลูกทุง่ ก็ลว้ นได้รบั อิทธิพลมาจากชาวตะวันตกทัง้ สิน้ ” มาโนชเปิ ดประเด็นไว้อย่างน่าสนใจว่าเพลงป๊อปไทยได้ รับวัฒนธรรมต่าง ๆ มาจากตะวันตก ในเรื่องของการแต่ง ตัว ชีวติ ความเป็ นอยู่ รวมทัง้ ดนตรีดว้ ยเช่นกัน เริม่ เข้ามา จนแทรกซึมมาก ๆ เข้า จึงเกิดเป็ นกระแสเลียนแบบเพลง ฝรัง่ และเริม่ เห็นภาพชัดเจนขึน้ ั่ ในยุ ค นั น้ ฟากฝ งของสหรั ฐ อเมริก ามีร็อ กแอนด์ โ รล (Rock & roll) เกิดขึน้ ศิลปิ นทีโ่ ด่งดังในยุคนัน้ คือ เอลวิส เพรสลีย่ ์ (Elvis Presley) และอังกฤษก็ได้รบั อิทธิพลจาก สหรัฐฯ มาเช่นกัน จนกระทังเกิ ่ ดวงดนตรีชอ่ื ก้องโลกอย่าง วง “สีเ่ ต่าทอง” เดอะบีทเทิลส์ วง “หินกลิ้ง” เดอะโรลลิง่ สโตน ท�ำให้รอ็ คแอนด์โรลกลายเป็ นเพลงกระแสหลัก ต่อมา ก็พฒ ั นากลายเป็ นเพลงป๊อปไปด้วย Welcoming 25


“ไม่ว่าจะเป็นเพลงไทยสากล หรือจะเป็นเพลงไทยลูกทุ่ง ก็ล้วนได้รับอิทธิพลมา จากชาวตะวันตก ทั้งสิ้น”

มาโนช พุฒตาล


และวงการเพลงไทยจึงได้รบั อิทธิพลมาทัง้ หมด ท�ำให้เกิด การตัง้ วงดนตรีมากมายเพือ่ เล่นตามเพลงสากลสมัยใหม่ของ ศิลปิ นต่างประเทศ ซึง่ วงดนตรีเหล่านี้กไ็ ด้พฒ ั นาจนกระทัง่ เหมือนศิลปินชาวตะวันตกอย่างวง “สีเ่ ต่าทอง” เช่นกัน “...ถ้าฉันมี สิบหน้าอย่างทศกัณฐ์ สิบหน้านัน้ ฉันจะหัน มายิม้ ให้เธอ สิบลิน้ สิบปาก จะฝากค�ำพร�่ำเพ้อ ว่ารักเธอรัก เธอ เป็ นเสียงเดียว...” เพลงฮิตตลอดกาล “เป็ นไปไม่ได้” ทีย่ งั โด่งดังมาจนถึง ั ปจจุบนั นี้ ของต�ำนานวงดนตรีในวงการเพลงไทยอย่าง ดิ อิม พอสสิเบิล (The impossible) นอกจากนัน้ ยังมีวงดนตรีทเ่ี กิดขึน้ ในยุคเดียวกันอย่าง ซิลเวอร์ แซนด์ (Silver sand) รอยัลสไปรทส์ (Royal sprites) และแกรนด์เอ็กซ์ (Grand EX) และในบางเพลงก็เอาท�ำนองจากดนตรีตะวันตกมาใส่ เนื้อร้องไทยเช่น เพลงวัวหาย เศรษฐา ศิระฉายา ทีด่ ดั แปลง เพลงมายเฟิรส์ ไทม์ (My first time) จากปลายปากกาของ โลโบ (Lobo) นักร้องนักแต่งเพลงชือ่ ดังในยุคทศวรรษที่ 70 หรือจะเป็ นเพลงเก้าล้านหยดน�้ ำตา โดยดอน สอนระเบียบ ทีม่ ตี น้ ฉบับมาจากเพลง 9,999,999 Tears ของ Dickey Lee นักร้องนักแต่งเพลงสัญชาติอเมริกนั ในยุค 60 Welcoming

27


เมื่อมีวงดนตรีกย็ ่อมเกิดการเผยแพร่ผลงานของศิลปิ น เป็นธรรมดา อุตสาหกรรมเพลงจึงก่อตัวขึน้ อย่างเต็มรูปแบบ แต่ทำ� เอาจริงเอาจังเลยก็ พ.ศ. 2524 ค่ายเพลงอโซน่า ออกอัลบัม้ ของวงแกรนด์เอ็กซ์ ทีม่ ชี อ่ื ว่าชุด แกรนด์ เอ็กซ์ โอ (Grand XO) ซึง่ สามารถท�ำยอดขายได้ถงึ 1 ล้านตลับ!! หลังจากนัน้ ก็มวี งดนตรีเพือ่ ชีวติ นามว่า 'คาราบาว' ได้ ส่งอัลบัม้ เมดอินไทยแลนด์ (Made in Thailand) ออกมา เช่นกัน และก็สามารถท�ำยอดขายได้เป็ นล้านตลับเหมือน กับวงแกรนด์เอ็กซ์ นับตัง้ แต่นนั ้ เป็ นต้นมาในปี พ.ศ. 2525 อุตสาหกรรมเพลงจึงเกิดขึน้ ค่ายเทปแกรมมี่ คีตา อาร์เอส ก็เกิดขึน้ มาจนกระทังมี ่ ค่ายเพลงใหญ่เล็กปน ๆ กันไปใน วงการเพลงไทยในปจั จุบนั นี้ ั บนั เมือ่ เทียบการท�ำเพลงระหว่างในยุคก่อน ๆ กับยุคปจจุ จะเห็น ได้ว่ า ตอนนี้ ม ีศิล ปิ น มากหน้ า หลายตาต่ า งก็ผ ลิต ผลงานออกมากกันอย่างไม่ขาดสาย ไม่ ว่ า จะเป็ น ศิล ปิ น ค่ า ยยัก ษ์ ใ หญ่ อ ย่ า ง บอดี้แ สลม (Bodyslam) ศิ ล ปิ น จากค่ า ยเพลงขนาดกลางอย่ า ง โมเดิร์น ด๊ อ ก (Moderndog) เจ้า พ่อ เพลงเด็ก แนวอย่า ง สครับบ์ (Scrubb) หรือวงดนตรีแมวเหมียวน้องใหม่อย่าง โพลีแคท (Polycat) ในขณะทีศ่ ลิ ปินหน้าใหม่ไร้สงั กัดอืน่ ๆ อีกมากมาย ให้ทา่ นผูฟ้ งั ทัง้ หลายได้เลือกรับชมตามรสนิยม 28 Behind the synth


ต่างกับตอนแรกเริม่ ที่มเี พียงแค่วงดนตรีท่อี อกมาเล่น ตามเพลงของวงดนตรีต่างประเทศ พัฒนามาจนถึงการแต่ง เนื้อร้องในภาษาไทยเพื่อความสะดวกในการฟงั และเข้าถึง อารมณ์ของเพลงแล้วใส่ทว่ งท�ำนองทีเ่ ป็ นสากล จนมาถึงใน ทุกวันนี้กไ็ ด้มกี ารน�ำตัวตนเข้ามาใส่ในตัวผลงานเพลง รวมทัง้ ความสะดวกสบายทัง้ ในการท�ำเพลงทีท่ กุ วันนี้ใคร ก็เป็ นศิลปินก็ได้ เพียงแต่ขอให้คณ ุ สนใจทางด้านดนตรี อีก ทัง้ การเผยแพร่ทม่ี ชี อ่ งทางมากขึน้ ไม่ตอ้ งพึง่ ดีเจสถานีวทิ ยุ เพียงอย่างเดียว แต่ยงั มีอนิ เทอร์เน็ต สังคมออนไลน์ อย่างเฟซบุ๊ก (Facebook) ยูทปู้ (Youtube) อินสตาแกรม (Instagram) ั อ่ ยูส่ ว่ นใดของโลก ทีค่ นท�ำเพลงสามารถโชว์เพลงให้กบั ผูฟ้ งที สามารถเข้าถึงได้ แม้จะต่างถิน่ ต่างภาษากันก็ตาม ซินธ์กับเพลงไทย (Between of synth and song)

ในขณะทีซ่ นิ ธิไซเซอร์กบั วงการเพลงไทยก็คล้าย ๆ กับ การเข้ามาของอิทธิพลของดนตรีตะวันตกเช่นกัน จากที่กล่าวในข้างต้นคือการก�ำเนิดมัน ต่อจากนัน้ คือ การน� ำเสียงสังเคราะห์มาท�ำเพลง ซึ่งเรื่องเหล่านี้มคี วาม สัมพันธ์กนั ในตัวของมันเองอยู่แล้วระหว่างซินธิไซเซอร์ และเพลง Welcoming 29


เพียงแต่วา่ การใช้ซนิ ธิไซเซอร์ในวงการเพลงไทยยังไม่ม ี จุดประสงค์ทช่ี ดั เจนเท่ากับวงดนตรีต่างประเทศ ท�ำให้ซนิ ธิ ไซเซอร์จงึ ไม่เป็ นทีร่ ูจ้ กั ในวงกว้างเท่าทีค่ วร โดยอาจารย์ สินนภา ได้พดู ถึงประเด็นนี้อย่างน่าสนใจไว้วา่ “ในวงการเพลงไทย การใช้ซิน ธิไ ซเซอร์ย ัง ไม่ ม ีจุ ด ประสงค์อะไรทีแ่ น่นอน” อาจารย์สนิ นภาได้ยกตัวอย่างเปรียบเทียบระหว่างศิลปิน ต่างประเทศอย่าง นิค เคอร์ชอว์ (Nik Kershaw) ทีม่ ภี าพ ลักษณ์เป็ นอิเล็กทรอนิกส์ทงั ้ หมดแม้แต่เสียงกีตาร์ เขาก็ยงั น�ำซินธิไซเซอร์มาใช้แทนกีตาร์จริง และวงเจแปน (Japan) จากแดนปลาดิบ ซึง่ มีผนู้ �ำวงอย่าง ริวอิจิ ซากาโมโตะ (Ryuichi Sakamoto) เขาได้ประพันธ์ เพลงโดยที่ใช้เสียงสังเคราะห์ในการบรรเลงเพลงทัง้ หมด อย่างเช่นเพลงโกสท์ (Ghost) ก็ใช้ซนิ ธ์ในการเล่นทัง้ หมด เช่นกัน ส่วนวงการเพลงไทยเสียงซินธ์ทงั ้ หลายมักจะจัดอยู่ใน ลักษณะของดนตรีอเิ ล็กทรอนิกส์ และศิลปิ นทีใ่ ช้แล้วมีจุด ประสงค์ชดั เจนว่าใช้เพือ่ อะไร ก็มเี พชร โอสถานุเคราะห์ ซึง่ ใช้ในการท�ำเพลงทัง้ หมด และติดเป็นภาพลักษณ์ของเขาเช่น กัน แต่นอกจากนัน้ ก็มใี ช้เพียงเล็กน้อย ใช้เป็ นส่วนประกอบ ของเพลงเท่านัน้ ไม่มคี วามโดดเด่นทีช่ ดั เจนมากนัก 30 Behind the synth


“ในวงการเพลงไทย

การใช้ซินธิไซเซอร์นั้น ยังไม่มีจุดประสงค์ อะไรที่แน่นอน”

อ.สินนภา สารสาส


ด้วยบุคลิกของแนวเพลงอิเล็กทรอนิกส์ทม่ี กี ารใช้เสียง สังเคราะห์กนั เยอะ พอฟงั ดูแล้วไม่คอ่ ยจะรืม่ รมย์ในอารมณ์ สักเท่าไร ความเป็ นทีน่ ยิ มจึงไม่มากเท่าทีค่ วร จึงท�ำให้กลาย เป็ นแนวเพลงทางเลือกทีไ่ ม่เป็ นทีน่ ิยมส�ำหรับผูฟ้ งั ของเมือง ไทยมากนัก เมือ่ เทียบกับแนวเพลงประเภทป๊อปหรือร็อก ลองมาย้อนดูกนั ดีกว่า ว่าตัง้ แต่เริม่ ยุคเพลงไทยสมัยนิยม จนมาถึงปจั จุบนั มีศลิ ปินคนไหนทีใ่ ช้ซนิ ธิไซเซอร์กนั บ้าง... ยุคแรกในปลายทศวรรษที่ 1960 ต่อไปยังต้นทศวรรษที่ 1970 ก็จะต้องกล่าวถึงวง ดิ อิมพอสสิเบิล ซึง่ ในเวลานัน้ ก็ ถือเป็นวงสตริงคอมโบทีเ่ ป็นทีน่ ยิ ม และเริม่ มีการใช้ซนิ ธ์แล้ว ในรูปแบบของเครือ่ งดนตรีคยี บ์ อร์ด ซึง่ จะใช้ในการประกอบ เพลงเท่านัน้ เสียงจะไม่เด่นชัดเท่าเครือ่ งดนตรีอน่ื นอกจาก นัน้ ซินธิไซเซอร์ยงั ใช้กบั แนวเพลงอื่น ๆ อย่างวงฮาร์ดร็อก (Hard Rock) ทีม่ ชี อ่ื ว่า Kaleidoscope (คาไลโดสโคป) ต่อมากระแสของร็อกก�ำลังเฟื่องฟู ซึง่ ยุคนัน้ ก็จะมีศลิ ปิน โซโล่เดีย่ วอย่าง ช.อ้น ณ บางช้าง แหลม มอริสนั กิตติ กีตาร์-ปืน ก็จะใช้มนั ในการบรรเลงเพลงเช่นกัน แต่ไม่หนัก หน่ วงเท่าการลีดกีตาร์เสียงแหลม หรือมีจงั หวะหนักแน่ น แบบกลองชุด นอกจากนัน้ จะเป็ นวงดนตรีอย่างอัสนี - วสันต์ ทีม่ เี สียง ซินธ์เด่นๆ ในเพลงบ้าหอบฟาง 32 Behind the synth


“หอบฟางหอบฟางไปไหน ท�ำไมถึงต้องหอบฟาง หอบ กันจริงๆ จังๆ หอบกันรุงรังหอบฟาง” เสียงตุบ...ตุบ...ตุบ.. ทีไ่ ด้ยนิ ก่อนเริม่ เนื้อร้องท่อนแรกนัน้ คือเสียงดรัม แมชชีน ดื๊อ ดือ ดือ ดื่อ และเสียงวาร์ปโทนต�่ำก่อนเข้าเนื้อร้อง ท่ อ นที่ 2 ก็เ ป็ น เสีย งสัง เคราะห์ท่ีเ ราก� ำ ลัง เอ่ ย ถึง อยู่ใ น ขณะนี้ อีกเช่นกัน (ทดลองฟงั ได้ท่ี www.youtube.com/ watch?v=NQuL5gUCQ4E) ถัดมาในยุคเริม่ ต้นอุตสาหกรรมเพลงไทย ค่ายเพลงก่อ ตัวกันมากขึน้ จึงท�ำให้มจี ำ� นวนค่ายเพลงเพิม่ ขึน้ ไม่ว่าจะ เป็ น อาร์เอส แกรมมี่ คีตา นิธทิ ศั น์ และรถไฟดนตรี ท�ำให้ ในช่วงนัน้ มีการแข่งขันธุรกิจระหว่างค่ายเพลงเกิดขึน้ อีกทัง้ แนวเพลงก็มเี กิดขึน้ ใหม่หลากหลายยิง่ ขึน้ ไม่วา่ จะเป็ นแนว เพลง บริทป๊อป (Britpop) เมทัลร็อก (Metal Rock) ดิสโก้ ฟงั ก์ (Disco Funk) ซินธิไซเซอร์กเ็ ข้ามามีบทบาทในแนว ดนตรีโปรเกสซีฟ ร็อก (Progreesive Rock) ในช่วงปลาย ทศวรรษที่ 1980 ค่อนข้างมาก เสียงซินธ์จะเข้ามาช่วยเล่าเรื่องในเพลง และสร้างสีสนั ให้กบั เพลงได้อย่างดี ด้วยความทีแ่ นวเพลงโปรเกสซีฟ ร็อก จะให้ความรูส้ กึ ทีล่ ้ำ� ยุคตามชือ่ แนวเพลงแล้ว ซินธิไซเซอร์ก็ จะเข้ามาช่วยให้เสียงแห่งอนาคตกับเพลงแนวนี้ได้อกี ด้วย Welcoming 33


ผู้น�ำเพลงอิเล็กทรอนิกส์ คือ ธเนศ วรากุลนุ เคราะห์ ศิลปินทีม่ สี ไตล์แตกต่างจากศิลปินเพลงป๊อปทัวไป ่ ซึง่ เพลง ทีอ่ ยากจะแนะน�ำให้ฟงั คือ เบือ่ คนบ่น (ทดลองฟงั ได้ท่ี www. youtube.com/watch?v=RKz1WLRisWI) มีลกั ษณะการท�ำ เพลงทีไ่ ด้น�ำจินตนาการผสานกับหลากอารมณ์ ประกอบกับ เนื้อเพลงทีม่ คี วามหมายเสียดสีสงั คม แต่กแ็ ฝงไปด้วยความ คมคายเช่นกัน ปลายยุค 80 ด้วยความทีเ่ พลงเริม่ หันเหไปในทิศทาง เดียวกัน จึงเกิดเพลงนอกกระแสเกิดขึ้นมากมาย ซินธิไซเซอร์ไ ด้เ ข้า มามีบ ทบาทต่ อ วงการเพลงไทยในฐานะ เครือ่ งดนตรีหลักของเพลงอิเล็กทรอนิกส์ ศิลปิ นแนวเพลงอิเล็กทรอนิกส์ในยุคแรกเริม่ ของเมือง ไทยทีโ่ ด่งดังเลยคือ เพชร โอสถานุเคราะห์ เจ้าของเพลงฮิต อย่าง เพียงชายคนนี้ (ไม่ใช่ผวู้ เิ ศษ) และนักรีมกิ ซ์เพลงอย่าง สมเกียรติ อริยะชัยพาณิชย์ หรือ ซีมกิ ซ์ (Z-Myx) ผูพ้ ลิกโฉม วงการเพลงเต้นร�ำทีน่ �ำเพลงไทยเดิมอย่าง ตาอินกับตานา มา ประยุกต์เข้ากับดนตรีเต้นร�ำ นอกจากนัน้ สมเกียรติ ยังเป็ น หนึ่งในผูก้ ่อตัง้ ค่ายเพลงเล็ก ๆ อย่าง เบเกอรี่ มิวสิค อีกด้วย ซึง่ ในยุคนัน้ ก็ยงั เป็ นยุคทีม่ คี า่ ยเพลงนอกกระแสเกิดขึน้ ตัวอย่างทีเ่ ป็ นทีโ่ ด่งดังและเป็ นทีพ่ ดู ถึงกันจนมาถึงทุกวันนี้ เลยก็คอื เบเกอรี่ มิวสิค ทีท่ ำ� หน้าทีผ่ ลิตศิลปินเพือ่ ท�ำผลงาน เพลงนอกกระแสออกมาจนเพิม่ ขึน้ เรือ่ ย ๆ ไม่วา่ จะเป็ นคณะ 34 Behind the synth


ดนตรีหมาทันสมัยอย่างโมเดิร์นด๊อก หรือนักร้องฮิพฮอพ ขวัญใจวัยโจ๋นามว่า โจอี้ บอย (Joey Boy) นอกจากนั น้ ยัง มีศิล ปิ น ต่ า งค่ า ยอย่ า งคิด แนปเปอร์ (Kidnappers) วงดนตรีอเิ ล็กทรอนิกส์ทป่ี ระกอบไปด้วยผูเ้ ล่น ซินธิไซเซอร์ 2 หนุ่มและนักร้องสาว 1 คน ซึง่ พวกเขาเลือกที่ จะท�ำเพลงแนวอิเล็กทรอนิกส์ น�ำมาใส่เนื้อร้องเป็นภาษาไทย ซึง่ ในสมัยนัน้ แนวเพลงนอกกระแสแบบนี้ยงั ไม่เป็ นทีน่ ยิ มใน กลุม่ คนฟงั ชาวไทยสักเท่าไร ปี 2000 วงการเพลงไทยมีศิล ปิ น มากหน้ า หลายตา เกิดขึน้ ไม่วา่ จะเป็ นเมนสตรีมอย่างเพลงป๊อป - ร๊อก หรือ เพลงนอกกระแสทีใ่ นขณะนัน้ รูจ้ กั กันนาม เพลงอินดี้ (IndyIndependence)

สมเกียรติ อริยะชัยพาณิชย์ (Z-Myx) และ เพชร โอสถานุเคราะห์ ศิลปินแนวเพลงอิเล็กทรอนิกส์ในยุคแรกของเมืองไทย ที่มา : www.facebook.com/zkatch www.facebook.com/pages/เพชร-โอสถานุเคราะห์ Welcoming 35


ส�ำหรับการใช้ซนิ ธิไซเซอร์ของศิลปิ นไทยในยุคนี้มรี ูป แบบหลากหลายทีแ่ ตกต่างกันไป ทัง้ เพลงป๊อปร็อกก็น�ำมา ประกอบเพลงในท่อนก่อนเข้าเนื้อร้อง ตัวอย่างทีเ่ ห็นได้ชดั เลยคือ วงอีทซี ี (ETC.) กับเพลง แจ้งเกิดของพวกเขาอย่าง เจ้าชายนิทรา ทีม่ เี สียงซินธิไซเซอร์คลอไปกับเสียงกีตาร์ทเ่ี ด่นกว่าในท่อนเปิ ดเพลงก่อน เข้าเนื้อร้อง แล้วก็มกี รู๊ฟไรเดอร์ส (Groove riders) ศิลปิ น แนวดิสโก้ฟงั ก์ ซึง่ แน่นอนว่าก็ตอ้ งใช้ซนิ ธิไซเซอร์ในการให้ เสียงในจังหวะในรูปแบบดนตรีเต้นร�ำ เพลงดังของกรู๊ฟไร เดอร์มหี ลายเพลงด้วยกัน อย่างฮอร์โมน (Hormone) หยุด และรักทีเ่ พิง่ ผ่านพ้นไป ปจั จุบนั ถ้าหากเปรียบวงการเพลงไทยเป็ นกราฟชีวติ แล้ว ก็ค งเป็ น เส้น คลื่น ก�ำ ลัง เริ่ม เป็ น ไปในทิศ ทางที่ดีข้นึ หากเทียบกับเมือ่ 2 - 3 ปี ทแ่ี ล้วทีว่ งการเพลงไทยซบเซา ลงมาก เนื่องจากมีศลิ ปิ นหน้าใหม่เกิดขึน้ ทัง้ ค่ายเล็กใหญ่ หรือศิลปินอิสระไร้สงั กัด เมือ่ มีศลิ ปินจ�ำนวนมาก ท�ำให้ชอ่ ง ทางในการน�ำเสนอผลงานอย่างเช่นงานโชว์ คอนเสิรต์ การ แสดงตามทีต่ ่าง ๆ ก็มจี ำ� กัด ศิลปินต่างก็ยงิ่ ย่อท้อกับทางที่ เลือกเดิน จนทิง้ ความฝนั กลับไปสูห่ นทางแห่งการอยูร่ อดใน ความเป็ นจริงแทน พอเวลาผ่านไป การปรับตัวเข้ากับเหตุการณ์ดขี น้ึ ช่อง ทางการแสดงผลงานของพวกเขาขยายตัวใหญ่ขน้ึ อีกทัง้ 36 Behind the synth


งานอีเวนท์ต่าง ๆ และเทศกาลดนตรีทม่ี ตี ลอดทัง้ ปี จ�ำนวน การจ้างงานก็มเี พิม่ ขึน้ ศิลปิ นก็สามารถอยูร่ อดได้ไปพร้อม กับได้ทำ� ในสิง่ ทีต่ วั เองรัก สวนทางกับความเป็ นไปของซินธิไซเซอร์ เปรียบเป็ น เส้นกราฟคงทีใ่ นวงการเพลงไทยราวกับคลืน่ หัวใจไร้จงั หวะ การเต้น ซึง่ ไม่เป็ นทีร่ จู้ กั ในวงกว้างมากนักตัง้ แต่เข้ามาใน ยุคแรก ๆ ตลอดจนมาถึงปจั จุบนั คนทีร่ จู้ กั จะมีเพียงแค่นกั ดนตรี ศิลปิ นทีอ่ ยูใ่ นวงการเพลงเท่านัน้ หรือถ้าเป็ นผูฟ้ งั ก็ อาจจะเรียกซินธิไซเซอร์ในค�ำทีแ่ ตกต่างกันไป ด้วยลักษณะ ของซินธิไซเซอร์จะคล้ายกับเครือ่ งดนตรีคยี บ์ อร์ด คนทัวไป ่ ก็จะเรียกว่า คียบ์ อร์ด และบางกลุ่มอาจจะมีคำ� เรียกอย่าง อิเล็กโทน ซึง่ ในความเป็นจริงแล้วซินธิไซเซอร์ คียบ์ อร์ด และ อิเล็กโทน นัน้ เป็ นเครือ่ งดนตรีคนละชนิดกันเลย แล้วคุณล่ะ? รูจ้ กั ซินธิไซเซอร์ในแบบใดกัน...

Welcoming

37



02

คุ ย เฟื ่ อ งเรื่ อ งซิ น ธ์

Let's talk about synth


คุ ย เฟื ่ อ งเรื่ อ งซิ น ธ์ Let's talk about synth

“ดนตรีเป็ นงานศิลปะที่มนุ ษย์สร้างขึ้นโดยอาศัยเสียง เป็ นสื่อถ่ายทอดความรูส้ กึ ของศิลปิ น เสียงดนตรีเป็ นเสียง ทีม่ คี วามงามน� ำมาเรียบเรียงอย่างมีศลิ ปะ จนเกิดขึน้ เป็ น บทเพลง” รศ.ดร.สุ ก รี เจริญ สุ ข คณบดีว ิท ยาลัย ดุ ร ิย างคศิล ป์ มหาวิทยาลัยมหิดล กล่าวไว้ในหนังสือดนตรีกบั ชีวติ นับว่าดนตรีนัน้ เป็ นเรื่องของศิลปะเกี่ยวข้องกับเสียง โดยมีมนุ ษย์เป็ นผูส้ ร้างขึน้ ซึง่ อาจจะลอกเลียนเสียงมาจาก ธรรมชาติหรือเสียงอะไรก็ตาม แล้วจากนัน้ จึงน� ำเสียงเหล่า นัน้ มาเรียบเรียง 40 Behind the synth


แต่สงิ่ ส�ำคัญทีส่ ุดของเสียงดนตรีกค็ อื ดนตรีจะต้องสื่อ อารมณ์และความหมาย เพื่อสื่อสารถ่ายทอดความรูส้ กึ ไป ยังผูฟ้ งั ให้ได้มากทีส่ ดุ รักแรกพบ (Love at first synth)

เสน่ หเ์ กิดขึน้ ได้เมื่อมีคนประสบพบกับตัวเอง เป็ นเรื่อง โน้มน้าวกันปากต่อปากไม่ได้ และถ้าหากพูดถึงความประทับ ใจแรกพบทีม่ ตี ่อซินธิไซเซอร์แล้ว คนทีไ่ ด้สมั ผัสซินธ์อย่าง ศิลปิน นักดนตรีจะเห็นเป็ นยังไงกันบ้าง วรรณฤต พงศ์ประยูร หรือ ป๊อก ซินธิไซเซอร์แห่งวง สไตลิสต์ นอนเซนส์ (Stylish nonsense) ได้เล่าถึงเหตุการณ์ แรกพบกับซินธ์จากร้านขายของมือสองเมือ่ สมัยทีเ่ ขายังเป็น นักศึกษามหาวิทยาลัย “พอซื้อมาก็ไม่มเี สียง เป็ นเพราะว่าเราเล่นไม่เป็ น ถ้า ปรับไม่เป็ นก็จะไม่มเี สียง แล้วถ้าปรับมัว่ ๆ มันจะให้เสียงที่ ควบคุมไม่ได้ แต่พอเริม่ ใช้เป็นด้วยการเดาเอาเอง ก็เริม่ สนุก” “ซินธ์ทเ่ี ราเล่นเป็นอนาล็อกซินธ์ แต่ละครัง้ ทีเ่ ราปรับเสียง มันจะให้เสียงไม่เหมือนกัน ท�ำให้เราค้นหาเสียงได้ไม่มที ส่ี น้ิ สุด แล้วก็ทำ� ให้เราไม่ยดึ ติดด้วยนะ เพราะเราต้องเริม่ ใหม่ทกุ Let's talk about synth

41


ครัง้ ทีใ่ ช้ อีกอย่างคือฝึกความอดทนได้ดว้ ย ถ้าเราอยากได้ เสียงเดิม เราก็ตอ้ งฝึกท�ำเสียงแบบเดิมซ�้ำกันหลาย ๆ รอบ” ในขณะทีป่ ๊ อกเล่าถึงเสน่ หข์ องซินธ์ เขาได้เผยนัยน์ ตา แห่งความสุขออกมาอย่างชัดเจน ถึงแม้วา่ เขาจะต้องฝึกฝน เป็ นเวลานานแค่ไหน แต่ป๊อกก็มคี วามสุขในทุก ๆ ครัง้ ทีจ่ ะ ค้นหาเสียงทีใ่ ช่ของเขาต่อไป ซีซาร์ บี เดอ กัซแมน (Cesar B. de Guzman) เมือ่ เอ่ย ถึงชื่อนี้คนอาจจะงงหนักว่าเขาคือใคร? คนไทยหรือเปล่า? แต่ถา้ บอกชือ่ ว่า ต้า - ซินดี้ ซุย (Cyndi Seui) คอเพลงอิเล็กทรอนิกส์ตอ้ งร้องอ๋อกันในทันที เพราะเขาคือศิลปินหนุ่มลูก ครึง่ ไทย - ฟิลปิ ปินส์ทเ่ี พิง่ ออกผลงานไปเมือ่ ไม่นานมานี้ หนุ่ มลูกครึง่ คนนี้ได้เจอกับซินธิไซเซอร์ครัง้ แรกในห้อง บันทึกเสียง เขาได้พบกับเครือ่ งดนตรีคล้ายคียบ์ อร์ดหน้าตา สะสวย นอกจากนัน้ ยังมีสสี นั หลอกล่อชวนให้เขาเข้าไป ท�ำความรูจ้ กั กับมัน และเมือ่ เขาได้ลองทักทาย เริม่ ไปสูก่ าร เรียนรูว้ ธิ เี ล่นของมันแล้วบอกได้เลยว่าตกหลุมรักอย่างหา ทางขึน้ ไม่ได้ “ด้วยความทีเ่ ราเป็ นเด็กผูช้ าย ก็ชอบเล่นเกมได้ยนิ เสียง พวก 8 บิต แล้วก็ชอบสะสมหุน่ ยนต์ในยุค 80 - 90 ซึง่ ก็จะมี สีสนั เยอะ ซินธ์กม็ รี ปู ร่างหน้าตาทีค่ อ่ นข้างใกล้เคียงกับเกม ของที่เราชอบอยู่แล้ว บวกกับเสียงที่มรี ูปแบบไม่ตายตัว 42 Behind the synth



ออกจะประหลาด ๆ หน่อย เราก็ชอบ มันก็เลยกลายเป็ นยิง่ ชอบเข้าไปใหญ่” รักแรกพบของซินธิไซเซอร์ กับ อุกฤษฏ์ ศิรชิ นะ หรือ อุซ แห่งวงดนตรีชลิ เอาท์ (Chill out) อย่างสโลว์ รีเวิรส์ (Slow reverse) และแอโรลิปส์ (Aerolips) นัน้ เกิดขึน้ ด้วยความ ธรรมดาจากการทีเ่ ขาได้ฟงั เพลงจากวงดนตรีต่างประเทศ แต่ความไม่ธรรมดาทีเ่ ขาได้รบั จากมัน ส่งผลให้เขาน�ำซินธิไซเซอร์มาใช้ตงั ้ แต่เริม่ ต้นท�ำเพลงมาตลอดจนตอนนี้ ั่ มาทางฝ งของศิ ล ปิ น ในบางเวลา ผู้ม ีอ าชีพ หลัก ใน ด้านภาพยนตร์กนั บ้างอย่าง ไตรเทพ วงศ์ไพบูลย์ หรือ อู่ ซาวน์ เอนจิเนียร์ (Sound Engineer) แห่งกันตนา และซินธิไซเซอร์ แห่งวงคิดแนปเปอร์ (Kidnappers) เข้าไปด้วย โดยเขาได้มโี อกาสไปเรียนต่อเกีย่ วกับซาวน์ เอนจิเนียร์ท่ี สหรัฐอเมริกา ประกอบกับยุคนัน้ ดนตรีอเิ ล็กทรอนิกส์ก�ำลัง เฟื่องฟู จึงเข้าทางอู่ คิดแนปเปอร์ “ผมว่าซินธ์ให้ความรูส้ กึ ว่าทันสมัย เพราะมันเป็ นเสียง สังเคราะห์ แต่มนั ก็มบี างเสียงทีใ่ ช้กนั เกร่อ จนรูส้ กึ ว่าเชย แต่ ในท้ายทีส่ ดุ มันก็ให้ความรูส้ กึ ว่าทันสมัยอยูด่ ”ี แล้วมุมมองของคนนอกอย่างนักวิจารณ์เพลงล่ะจะเห็น ว่าเสน่หข์ องซินธิไซเซอร์มนั อยูต่ รงไหนกัน... วิภ ว์ บูร พาเดชะ บรรณาธิก ารนิ ต ยสารแฮพเพนนิ่ ง 44 Behind the synth


(Happening) มองว่าเสน่ ห์ของเสียงซินธ์จะให้กลิน่ อายที่ เป็ นดนตรีอเิ ล็กทรอนิกส์ อย่างในตอนนี้ทก่ี �ำลังมาแรงเลย คือพวกอีดเี อ็ม (EDM – Electronics Dance Music) ไม่เน้น ทีค่ วามเพราะ แต่จะเน้นในเรื่องของความแปลกประหลาด และล�้ำยุคมากกว่า เสียงแปลก ๆ ทีซ่ นิ ธิไซเซอร์ทำ� ได้ เขา มองว่านี่แหละคือเสน่ห์ ไม่ว่าจะเป็ นผู้สมั ผัสซินธิไซเซอร์โดยตรงอย่างศิลปิ น นักดนตรีหรือทางอ้อมจากการฟงั อย่างนักวิจารณ์เพลง ก็ ย่อมเห็นถึงเสน่ หท์ แ่ี ท้จริงของซินธ์ จนพูดออกมาเป็ นเสียง เดียวกันว่า เพราะความทีม่ นั ไม่แน่ นอน และมันให้เสียงที่ ฟงั แล้วดูแสนประหลาด ใครอาจจะมองว่าเสียงอะไรกันน่ า ร�ำคาญจังเลย แต่ขอบอกไว้เลย นี่แหละรักแรกพบของซินธ์!... กลิ่นอายเสียงซินธ์ (Mood & Tone of synthesizer)

โดยทัวไป ่ เสียงทีไ่ ด้จากเครือ่ งดนตรีต่าง ๆ เมือ่ น� ำมา บรรเลงเป็ นบทเพลงแล้วก็ยอ่ มจะมีความหมายในตัวเองอยู่ แล้ว การร่ายมนต์ของซินธิไซเซอร์กเ็ ช่นกัน เมือ่ เข้าสูว่ งั วน ของบทเพลง นักดนตรีมหี น้าทีข่ บั เคลื่อนเสียงดนตรีให้ไป ในทิศทางตามทีว่ างไว้ ราวกับจิตรกรเริม่ จรดปลายพูก่ นั ลง Let's talk about synth 45


บนพืน้ ทีส่ ขี าวอันว่างเปล่า ซึง่ ก็หมายความว่าการถ่ายทอด อารมณ์และความรูส้ กึ ผ่านเสียงจากนักดนตรีสคู่ นฟงั ได้เริม่ ต้นขึน้ แล้ว ณ บัดนี้ เริม่ ทีศ่ ลิ ปินผูช้ ่ำ� ชองในการเล่นซินธิไซเซอร์มากว่า 20 ปี อย่างป๊อก สไตลิสต์ นอนเซนส์ ได้เล่าถึงความรูส้ กึ จากการ ฟงั เสียงซินธ์วา่ “มันให้ความรูส้ กึ ทีเ่ ท่และซับซ้อน ท�ำให้เกิดจินตนาการ ต่าง ๆ ทีค่ าดไม่ถงึ แต่ไม่สามารถจ�ำกัดความหมายได้นะ เพราะขึน้ อยูก่ บั คนเล่นว่าจะสือ่ ไปในอารมณ์ไหน เรามองว่า เสียงสังเคราะห์เป็ นวัสดุอย่างหนึ่ง เหมือนกับเหล็ก หิน อิฐ ปูน หรือว่าไม้ทใ่ี ช้ในการสร้างบ้าน เสียงสังเคราะห์กเ็ ป็ น วัสดุหนึ่งเช่นกันทีศ่ ลิ ปิ นจะน�ำไปปรุงแต่ง เพือ่ ประกอบร่าง ขึน้ เป็ นเพลง” เหมือนกับต้า - ซินดี้ ซุยทีเ่ ห็นไปในทิศทางเดียวกับเพือ่ น ในวงการอย่างป๊อก สไตลิสต์ นอนเซนส์ “เสีย งสัง เคราะห์เ ป็ น เสีย งที่ไ ม่จ�ำ กัด เลยนะ มัน ไม่ม ี ขอบเขต มีรปู แบบทีไ่ ม่ตายตัว ท�ำให้เราได้เจออะไรทีใ่ หม่ ๆ ตลอดเวลา แล้วแต่ละเสียงจะให้อารมณ์ทแ่ี ตกต่างกัน เพราะ ซินธ์ในแต่ละชิน้ ก็มเี อกลักษณ์ทต่ี ่างกันไป” ในขณะที่ กิจจาศักดิ ์ ตริยานนท์ หรือ กิจแจ๊ซ โมโนโทน 46 Behind the synth


(Kijjaz Monotone) โปรดิวเซอร์คใู่ จของศิลปินชือ่ ดัง สิงโต น� ำ โชค มองว่ า เสีย งสัง เคราะห์ เ ป็ น สื่อ ที่แ สดงออกถึง จินตนาการและเทคโนโลยีไปพร้อม ๆ กัน “ถ้าให้เปรียบเทียบ ก็คอื เครื่องดนตรีอะคูสติกเหมือน กับจินตนาการทีถ่ ่ายทอดออกมา แต่พอมีเทคโนโลยีเข้ามา ก็ท�ำให้การสื่อสารทางด้านดนตรีมนั ท�ำอะไรได้มากกว่าที่ มนุษย์สร้างขึน้ ” ทางด้านมุมมองของ อ.สินนภา สารสาส ผูท้ ผ่ี า่ นวงการ ดนตรีสายคลาสสิกมาก่อน ก็มคี วามเห็นว่า เสียงสังเคราะห์ เป็นเสียงทีเ่ บาบาง ไร้น้�ำหนัก เป็นจังหวะการทีไ่ ม่มชี วี ติ เมือ่ เปรียบกับเสียงของเครือ่ งดนตรีคลาสสิกทีม่ คี วามหนักแน่น และเป็ นธรรมชาติมากกว่า แต่ทว่ารุ่นใหญ่อย่าง ดีเจซีด้ - นรเศรษฐ หมัดคง ผูท้ ่ี เป็ นทัง้ ศิลปิ นและนักวิจารณ์ดนตรี ซึ่งเขาให้ความเห็นใน การสื่อความหมายของเสียงซินธ์ว่า มันสามารถสื่อความ หมายได้ทกุ อย่าง ไม่วา่ จะเป็นอารมณ์หรือจินตนาการต่าง ๆ สุนทรียะทีไ่ ด้รบั จากเสียงสังเคราะห์เป็ นสิง่ ทีเ่ กินจะบรรยาย ให้ได้ทุกอารมณ์ เสียงเหล่านี้สามารถท�ำให้กระทบความ รูส้ กึ ของมนุษย์ได้ “ถึงแม้ว่าเสียงสังเคราะห์จะไร้มติ ิ แต่บยอร์ค (Björk) ศิลปินชาวไอซ์แลนด์แห่งวงแอ็บบ้า (Abba) เคยกล่าวไว้วา่ Let's talk about synth

47


ดนตรีสงั เคราะห์คอื เสียงอิเล็กทรอนิกส์ ใครทีบ่ อกว่าดนตรี พวกนัน้ ไม่มจี ติ วิญญาณ ผูท้ ส่ี ร้างและคิดค้นเสียงพวกนี้เป็ น คนทีม่ วี ญ ิ ญาณ เพียงแต่มนั จะทับซ้อนกันอยู่ ซึง่ เมือ่ มีผเู้ ล่น ท�ำให้เกิดเสียงต่าง ๆ ก็สามารถทีจ่ ะสือ่ ความหมายได้เช่นกัน” ธรรมชาติ หรือ ไม่ธรรมชาติ (Acoustic VS Electronics)

ภายในห้องซ้อมดนตรี ย่านเกษตรนวมินทร์ เสียงกลอง ทุม้ หนักทีท่ ำ� เอาใจสันระรั ่ ว เสียงกีตาร์สงู - ต�่ำ สลับกันไปมา จนเกิดเป็ นท่วงท�ำนอง ผสานกับค�ำร้องของผูน้ �ำเพลงซึง่ ท�ำ หน้าทีเ่ ล่นกีตาร์ไปในขณะเดียวกัน และอีกมุมหนึ่งของห้อง เสียงทีค่ นุ้ หูราวกับเคยได้ยนิ ในเพลงยุค 80 สิง่ ทีก่ ระทบหู อยู่ ณ ขณะนัน้ ก็คอื เสียงซินธิไซเซอร์นนเอง ั่ เสียงการซ้อมของวงดนตรีเดอะแลมบ์ (The Lamb) ภายใต้การน� ำทีมของมาโนช พุฒตาล และมีสมาชิกเป็ นพี่ น้องผองเพือ่ นในวงการเพลงบ้านเรา ไม่วา่ จะเป็ น กฤตยา จารุกลัส ชัยวัฒน์ มนูรงั ษี ด�ำรงสิทธิ ์ ศรีนาค และ อรรถพร ชูโต ซึง่ ฝีไม้ฝีมอื การร้องเล่นบรรเพลงไม่เป็ นรองใคร ได้ก่อ ก�ำเนิดเป็นวงดนตรีเฉพาะกิจขึน้ มาเพือ่ เล่นดนตรีในยามว่าง หรือออกงานต่าง ๆ ตามหอศิลป์ และการซ้อมครัง้ นี้กเ็ ช่นกัน พวกเขาเตรียมการแสดงในงานเสวนาดนตรีทจ่ี ะจัดขึน้ อีกไม่ กีอ่ าทิตย์ทจ่ี ะถึงนี้ 48 Behind the synth


สิ้นสุดเสียงดนตรี มาโนชจึงขอพักการซ้อม เพื่อเปิ ด โอกาสให้เราได้พดู คุยกันสักช่วงหนึ่ง เขาเริม่ เล่าถึงประวัติ ของวงการเพลงไทยมาพอเป็ นน�้ำจิม้ และต่อด้วยความรูส้ กึ เมือ่ เขาได้ยนิ เสียงซินธิไซเซอร์วา่ “ตอนรูจ้ กั ใหม่ ๆ รูส้ กึ ตืน่ เต้น หวือหวามาก มันสร้างเสียง ทีไ่ ม่เคยได้ยนิ มาก่อน เสียงมันมหัศจรรย์ พออายุเยอะขึน้ แล้วเราอยูก่ บั ดนตรีมานาน คล้ายว่าอยากย้อนกลับไปได้อยู่ กับอะไรทีม่ นั เป็ นธรรมชาติ มาจากจิตวิญญาณของมนุษย์” จากนัน้ มาโนชก็เปรียบเทียบเสียงดนตรีอะคูสติกกับเสียง สังเคราะห์ให้เราเห็นภาพทีช่ ดั เจนขึน้ จากชีวติ ความเป็ นอยู่ ทัวไปในชี ่ วติ ประจ�ำวัน “ผมคิดว่าซินธิไซเซอร์ให้อารมณ์เหมือนเราอยู่คอนโด ในขณะทีเ่ ราอยู่บา้ นมีแม่น้�ำไหลผ่าน ซึง่ จะให้อารมณ์แบบ เล่นดนตรีอะคูสติก” แต่อรรถพร ชูโต หรือ อ้วน มือคียบ์ อร์ดเพื่อนร่วมวง ของมาโนชซึ่ง ก็เ ล่ น ซิน ธิไ ซเซอร์ ได้ฟ งั ในทรรศนะของ มาโนชแล้วนัน้ เขากลับมองว่า ความไม่มชี วี ติ ชีวาของซินธ์ ก็มขี อ้ ดีเช่นกัน “ความไม่ธรรมชาติของซินธิไซเซอร์น่ีแหละ บางครัง้ ก็ เหมาะกับบางสถานการณ์" Let's talk about synth 49


จากนัน้ อ้วนก็ได้ยกตัวอย่างให้เราเห็นภาพทีช่ ดั เจนมาก ยิง่ ขึน้ โดยบอกว่าบางคนเขาน� ำซินธิไซเซอร์มาเล่นกับวง ออเคสตร้าเพือ่ ความขัดแย้งของเสียงทีอ่ อกมา ซึง่ ก็สามารถ ไปด้วยกันได้ และส�ำหรับนักดนตรีทไ่ี ด้สมั ผัสซินธิไซเซอร์โดยตรงอย่าง อ้วนแล้ว จึงมองว่า ซินธ์สามารถเลียนเสียงเครือ่ งดนตรีอ่นื ได้ แต่ผมจะพยายามท�ำให้ซนิ ธิไซเซอร์ไม่เหมือนกับเสียง แบบนัน้ ท�ำให้มนั เป็ นเสียงอีกแบบ ซึง่ อาจจะดูน่าสนใจกว่า” ความคิดต่างของคนดนตรีทงั ้ สองคนในครัง้ นี้ท�ำให้การ โต้วาทีขนาดย่อมเกิดขึน้ มาด้วยความบังเอิญ แต่ในทรรศนะ ของทัง้ คูน่ นั ้ ท�ำให้เราได้เห็นถึงมุมมองคนละด้านระหว่างคน ทีไ่ ม่ได้สมั ผัสกับคนทีส่ มั ผัสซินธ์จริง ๆ อย่างชัดเจน “มันเหมือนเป็ นการต่อสูร้ ะหว่างคนสองกลุ่ม กลุ่มหนึ่ง ที่เ ชื่อ ในเสีย งธรรมชาติ เล่น ด้ว ยคน ต้อ งการเสีย งแบบ ธรรมชาติ เพื่อสะท้อนความเป็ นมนุ ษย์ กับอีกกลุ่มทีน่ ิยม ซินธิไซเซอร์ ทุกอย่างคือวิทยาศาสตร์ เสียงทีไ่ ด้จะแม่นย�ำ เหมือนคอมพิวเตอร์ ไม่มคี วามเป็ นธรรมชาติ แต่ทา้ ยทีส่ ดุ แล้ว ก็ข้นึ อยู่กบั ว่า แต่ ล ะบุคคลสะดวกกับสิง่ ใด บางคนก็ สะดวกทีจ่ ะใช้ ซินธิไซเซอร์ แต่กม็ บี างอารมณ์อยากจะเล่น กีตาร์โปร่งตัวเดียว” มาโนช เห็นทีไม่รอช้า จึงสรุปให้เราฟงั อย่างกระชับได้ 50 Behind the synth


ใจความ ในขณะทีช่ ายอีกคนในวงสนทนาก็พยักหน้าตอบรับ ความคิดของมาโนชเช่นกัน ในทีส่ ดุ จุดเริม่ ต้นจากการเห็นต่าง ก็สามารถจบลงทีก่ าร เห็นด้วยได้เช่นกัน.

Let's talk about synth

51



03

คอซอง คอซิ น ธ์

Core song core synth


คอซอง คอซิ น ธ์ Core song core synth

วันเวลาผ่านไปต่างท�ำให้ทกุ อย่างเปลีย่ นแปลง ซินธิไซเซอร์กเ็ ช่นเดียวกัน เวลาผ่านไป ไม่วา่ ซินธ์จะถูกผลิตขึน้ มา เพื่อตอบโจทย์ในด้านใดก็ตาม แต่ตลอดเวลาทีผ่ ่านมานัน้ เครือ่ งผลิตเสียงอิเล็กทรอนิกส์มกั ถูกหยิบเอามาใช้ในวงการ เพลง จนเกิดเป็ นอิทธิพลและสามารถตอบโจทย์ให้ศลิ ปิน มี ความสะดวกในการท�ำเพลงมากยิง่ ขึน้ ซินธ์สะเทือน!! (Synthesizer Effect)

เครื่องดนตรีไฟฟ้าทีส่ ร้างเสียงจากการสังเคราะห์อย่าง ซิน ธิไ ซเซอร์นัน้ เข้า มาสู่อุ ต สาหกรรมเพลงไทยอย่า งที่ 54 Behind the synth


เรียกได้ว่าน�้ ำซึมบ่อทราย ซึง่ ไม่ว่าจะด้วยวิธไี ด้รบั การเผย แพร่จากโลกตะวันตก จนค่อย ๆ กลายมาเป็ นส่วนหนึ่งใน กระบวนการผลิตเพลงในเมืองไทย และส่งผลให้เกิดอิทธิพล ต่ออุตสาหกรรมเพลงบ้านเราชนิดทีเ่ รียกว่าขาดไม่ได้เลย ทีเดียว ซีซาร์ บี เดอ กัซแมน (Cesar B. de Guzman) หรือ ต้า - ซินดี้ ซุย (Cyndi Seui) นักดนตรีแนวอิเล็กทรอนิกส์ชนั ้ น�ำของเมืองไทย ได้เล่าให้ฟงั ถึงอิทธิพลของซินธิไซเซอร์วา่ ตอนนี้ซนิ ธ์กเ็ ปรียบเสมือนสิง่ วิเศษสิง่ หนึ่งทีจ่ ำ� เป็ นต้องมีใน วงดนตรี ทีถ่ กู เลือกขึน้ มาเป็ นเครือ่ งดนตรีหลักด้วย รวมไปถึง สุเมธ กิจธนโสภา หรือ โน้ต ยักแลบ (Yaak Lab) ก็ได้พดู ถึงอิทธิพลของซินธ์ เพิม่ เติมว่าได้เข้ามาเปลีย่ น วงการเพลงไปเยอะมาก ๆ จากเดิมทีเ่ วลาท�ำเพลง เราต้องท�ำ ร่วมกันเป็นวง ซึง่ เราจะได้เจอเพือ่ นด้วย ท�ำให้รสู้ กึ สนุกสนาน แต่พอมีซนิ ธิไซเซอร์เข้ามา ก็ทำ� ให้เกิดวิธที ำ� เพลงแนวใหม่ คือเราสามารถท�ำเพลงคนเดียวทีบ่ า้ นได้ “ซิน ธ์เ ข้า มาเปลี่ย นวงการเพลงเยอะมาก อย่ า งผม ต้า - ซินดี้ ซุย หรือว่าพีเ่ มย์ คิดแนปเปอร์ (Kidnappers) ก็ เคยอยูว่ งร็อกมาก่อนนะ อย่าง ต้า ก็เป็ นมือกีตา้ ร์ให้กบั วง สยาม ซีเคร็ท เซอร์วสิ (Siam secret service) แต่วา่ พอมันมี ซินธ์หรือมีซอฟต์แวร์ทม่ี นั เชือ่ มโยงกัน มันท�ำให้เราสามารถ ท�ำเพลงคนเดียวทีบ่ า้ นได้” Core song core synth 55


ในความสะดวกสบายที่ส ามารถท� ำ เพลงคนเดีย วได้ เจ้าของเพลงสะกดใจอย่าง โน้ต ยักแลบ ยังเผยให้เห็นถึง อีกด้านหนึ่งของการมีซนิ ธิไซเซอร์เข้ามาเป็ นส่วนหนึ่งของ การท�ำงาน “คือมันก็วา้ เหว่นะ จากเดิมทีไ่ ปเล่นกับวงก็สนุกอีกแบบ ได้เจอเพือ่ น ๆ แต่กลับต้องมานังท� ่ ำเพลงคนเดียวเหงา ๆ แบบนี้” แต่เมือ่ ไตร่ตรองลองชังน� ่ ้ ำหนักระหว่างข้อดีขอ้ เสียอย่าง ถีถ่ ว้ นแล้ว โน้ต ก็เห็นว่าข้อดีในการท�ำงานด้วยเจ้าเครือ่ งผลิต เสียงประหลาดนัน้ ท�ำให้เป็ นเหตุผลหักล้างข้อเสียในความ เหงาทีเ่ กิดขึน้ ในระหว่างทีต่ อ้ งท�ำงานคนเดียว ซึ่งเขาก็เชื่อว่าซินธิไซเซอร์จะให้ประโยชน์ มากกว่าที่ คาดคิดไว้... เท่านัน้ ยังไม่พอซินธิไซเซอร์ยงั ท�ำให้เกิดศิลปิ นอิเล็กทรอนิกส์ไปทัวโลก ่ ไม่ใช่แค่ในเมืองไทย ดาฟท์ พังก์ (Daft punk) ซึ่งเคยเป็ นวงดนตรีแนวพังก์ (Punk) มาก่อน แต่ ท�ำแล้วล้มเหลว สมาชิกส่วนหนึ่งจึงหันหลังให้วงการดนตรี ส่วนสมาชิกอีกกลุ่มหนึ่งจึงเลือกทีจ่ ะเล่นดนตรีต่อด้วยการ พลิกโฉมจากวงดนตรีแนวพังก์ กลายมาเป็ นวงดนตรีแนว เฮ้าส์ มิวสิก (House music) ซึง่ เป็ นส่วนหนึ่งของแนวเพลง 56 Behind the synth


อิเล็กทรอนิกส์ (Electronics) ตัง้ แต่นนั ้ มา ดาฟท์ พังก์ ก็ เป็นกลุม่ คนท�ำดนตรีทป่ี ระสบความส�ำเร็จจนโด่งดังไปทัวโลก ่ “ไปสืบเบือ้ งหลังของหลายๆ วงดาฟท์ พังก์ ก็เคยเป็ นวง พังก์มาก่อน แต่ทำ� แล้วเจ๊ง คนในวงเลิกไป แต่ม ี 2 สมาชิกผู้ รอดชีวติ เขาก็ไปซือ้ กลองไฟฟ้ามาแล้วท�ำเพลงทีฉ่ กี จากแนว พังก์ไปเลย ในตรงนี้ซนิ ธ์กส็ ร้าให้เกิดศิลปินในแนวเพลงใหม่ ๆ ทีห่ ลากหลายมากขึน้ ” โน้ตกล่าวปิดท้าย. ตอบโจทย์ที่ใช่ กับเสียงที่ชอบ (Answer the Synth)

นับตัง้ แต่การเริม่ ต้นของยุคดนตรีคลาสสิก ทีน่ �ำมาสูก่ าร ก�ำเนิดเครือ่ งดนตรีอะคูสติก ทีส่ ามารถสร้างเสียงอันไพเราะ จนกลายเป็ นท�ำนองเพราะพริง้ และเมือ่ มีคำ� ร้องทีม่ ถี อ้ ยค�ำ สละสลวย ก็ท�ำให้เกิดเป็ นบทเพลงทีท่ ุกคนฟงั กันมาจนถึง ทุกวันนี้ ไตรเทพ วงศ์ไพบูลย์ หรือ อู่ คิดแนปเปอร์ (Kidnappers) คิดว่าเพลงนัน้ เริม่ ตัง้ แต่ยุคคนป่าตีกลอง จนมาถึงดนตรี คลาสสิก และตามด้วยร็อกแอนด์โรล (Rock & roll) อัน ประกอบไปด้วยกีตาร์ เบส และกลอง ซึง่ ถือว่าเป็ นเครื่อง Core song core synth

57


ดนตรีทค่ี นทัวไปรู ่ จ้ กั ทัง้ หมด และส�ำหรับคนทีจ่ ะคิดเครื่อง ดนตรีขน้ึ มาใหม่กจ็ ะค่อนข้างยากและจ�ำกัดมาก “เพราะเครือ่ งดนตรีทม่ี อี ยูแ่ ล้ว ดีด สี ตี เปา่ ก็มคี ณ ุ ค่า ของมันอยู่ แต่ไม่ได้แตกต่างกันมากนัก เพราะมันเกิดจาก ธรรมชาติ” การเริม่ ต้นของยุคอิเล็กทรอกนิกส์เช่นกัน ทีท่ �ำให้เกิด ซินธิไซเซอร์ขน้ึ มา เสียงทีไ่ ด้จากการสังเคราะห์ผา่ นเครือ่ ง ดนตรีอเิ ล็กทรอนิกส์น้ีกส็ ามารถร้อยเรียงเกิดเป็ นบทเพลง ได้เช่นเดียวกับเครื่องดนตรีอ่นื ๆ และปฏิเสธไม่ได้ว่า ใน ปจั จุบนั นี้กม็ ซี นิ ธ์เข้ามาเป็นส่วนหนึ่งในกระบวนการท�ำเพลง ซึง่ สามารถตอบสนองและช่วยเหลือศิลปินได้อย่างตรงจุด ศิล ปิ น แนวดนตรีอิเ ล็ก ทรอนิ ก ส์ ใ นยุ ค แรก ๆ ของ เมืองไทย เล่าว่าพอมีซินธิไซเซอร์เข้ามาในวงการดนตรี ขีดจ�ำกัดต่าง ๆ ก็ถูกหยิบยกออกไป เพราะเสียงซินธ์เป็ น เสียงทีแ่ ปลกใหม่ ท�ำให้เกิดการพัฒนาแนวดนตรีและท�ำใน สิง่ ทีม่ นุษย์เกินจะคาดเดา “แต่พอมีซนิ ธ์ ขีดจ�ำกัดมันหายไปทันที เพราะให้เสียงที่ แปลกใหม่ทเ่ี ราไม่เคยพบเจอทีไ่ หนมาก่อน การพัฒนาแนว ดนตรีกเ็ ลยแตกแขนงได้อกี เยอะขึน้ แล้วก็สามารถท�ำในสิง่ ทีม่ นุษย์ทำ� ไม่ได้” 58 Behind the synth


อย่างเช่นคนทีเ่ รียนดนตรีคลาสสิก ความคิดของพวกเขา ก็เปิดกว้างมากขึน้ เกิดมุมมองในการเล่นเพลงคลาสสิกใหม่ ๆ ซึ่งก็มนี ักดนตรีคลาสสิกใช้เครื่องดนตรีคลาสสิกเล่นเลียน แบบเสียงซินธ์ สามารถเล่นไวโอลินให้เหมือนเสียงซินธ์ สมัย นี้มนั สามารถเลียนเสียงกันไปมาระหว่างดนตรีคลาสสิกกับ อิเล็กทรอนิกส์ได้แล้ว เพราะมันเชื่อมโยงกันได้ในขอบเขต ของค�ำว่าดนตรี ส่วนโน้ต ยักแลบ มีมมุ มองต่อซินธ์วา่ ในยุค 60 - 70 มัน สามารถตอบโจทย์ได้ตรงทีส่ ดุ เพราะเป็ นยุคทีเ่ พิง่ ค้นพบ จึง ท�ำให้เสียงซินธ์ จึงเปรียบเสมือนเสียงแห่งอนาคต ไม่วา่ จะ ท�ำเพลงแนวไหน เพียงใส่เสียงสังเคราะห์ทป่ี ระหลาดหูไป ทุกอย่างจะดูลงตัว แต่ปจั จุบนั ตนมองการมีซนิ ธ์หรือไม่ม ี มันก็ไร้ความต่าง เพราะปจั จุบนั ซินธิไซเซอร์ถกู น�ำไปผนวก เข้ากับกิจกรรมอืน่ ๆ ด้วย ใช่เพียงแต่ในวงการเพลงเท่านัน้ โน้ ตคิดว่าคนท�ำเพลงมักมีเกณฑ์ในการเลือกซินธิไซเซอร์มาใช้ในการผลิต อยู่ 2 เกณฑ์คอื การเลือกใช้ซนิ ธ์เพือ่ ลดต้นทุนในการผลิต ซึง่ ส่วนมากค่ายเพลงยักษ์ใหญ่จะเลือก เกณฑ์น้ีมาใช้ เพราะจะช่วยประหยัดงบประมาณขององค์กร “อย่างค่ายเพลงใหญ่ ๆ ซินธ์จะเข้ามาตอบโจทย์ตรงที่ ว่าเขาจะประหยัดงบประมาณลงได้ จากเดิมเขาต้องอัดทุก อย่างสดหมด ซึง่ ต้องใช้ทุนในการท�ำแพงมาก เขาสามารถ Core song core synth 59


ทีจ่ ะเปลี่ยนวิธกี ารท�ำงาน เขาใช้เป็ นกลองโปรแกรมแทน ก็ได้ ท�ำมาเป็ นเพลงเต้นร�ำ มันก็ประหยัดค่าห้องอัด ค่านัก ดนตรีสว่ นนัน้ ไป” อีกเกณฑ์หนึ่งมาจากความต้องการของศิลปิ นล้วน ๆ ตนมองว่ า การซื้อ ซิน ธิไ ซเซอร์ ม าใช้ เ พราะต้ อ งการจะ ท� ำ เสีย งใหม่ ๆ ที่ ค นอื่ น ไม่ ส ามารถท� ำ กัน ได้ แต่ ใ น อุตสาหกรรมเพลงไทยจริง ๆ ณ ปจั จุบนั ซินธ์เป็ นสิง่ ที่ ฟุม่ เฟือย เพราะว่าเราหาเงินจากการท�ำเพลงไม่ได้ ซินธิไซเซอร์เข้ามาช่วยในเรื่องของการท�ำงานในห้องบันทึกเสียง


“ซินธ์คือความชอบ... ผมมีความพอใจที่จะ ซื้อมาโดยไม่สนใจว่า มันจะท�ำให้ยอดขาย เพิ่มขึ้นหรือไม่"

โน้ต Yaak Lab


“ผมท�ำเพลงสะกดใจ เครือ่ งมือซือ้ ไปเป็ นแสน ๆ บาท แต่ ขายเพลงมาได้แค่ 200 ดาวน์โหลด ได้เงิน 3,000 บาท ซึง่ มันไม่ได้ชว่ ยอะไรในแง่อุตสาหกรรมเลย” โน้ตเปรียบเทียบให้ฟงั ว่าซินธ์คอื ความชอบ เขามีความ พอใจทีจ่ ะซือ้ มา โดยไม่ได้คำ� นึงถึงว่าจะซือ้ ซินธ์มาเพือ่ ทีจ่ ะ ท�ำให้ยอดขายเพลงเพิม่ ขึน้ ความเห็น ของศิล ปิ น หนุ่ ม ใหญ่ ว ยั สี่ส บิ ท�ำ ให้เ ห็น อีก ด้านหนึ่งทีน่ ่ าใจหายและอดคิดไปถึงการดาวน์ โหลดเอ็มพี สาม (MP3) ทีเ่ กลือ่ นเมือง ซึง่ เป็ นปญั หาอันดับต้น ๆ ของ อุตสาหกรรมเพลงไม่วา่ ประเทศไหนก็ตอ้ งเผชิญ และยังไม่ เห็นทีท่าว่าจะแก้ไขได้ หากไม่ปลูกฝงั จากจิตส�ำนึกให้เห็น คุณค่าของงานศิลปะไม่วา่ จะเป็ นรูปแบบใดก็ตามแต่ จ�ำหน่ายจ่ายซินธ์ (Distributor & Synthesizer)

ในอุตสาหกรรมเพลงไทย นอกจากจะมีศลิ ปิ นทีเ่ ป็ นผู้ ผลิตผลงานแล้ว การจัดจ�ำหน่ ายก็นับเป็ นส่วนส�ำคัญเช่น กัน เพราะขัน้ ตอนการจัดจ�ำหน่าย เป็ นการเผยแพร่ผลงาน ของศิลปินให้เป็ นทีร่ จู้ กั ของหมูม่ วลชนคนฟงั เพลง ซึง่ ก็มผี ล เป็ นอย่างมากกับศิลปิน ถ้าเพลงโดนใจ เป็นทีน่ ยิ มก็สง่ ผลให้ 62 Behind the synth


ศิลปิ นมีความโด่งดังมากขึน้ ซึง่ การจ�ำหน่ ายผลงานได้มาก หรือน้อยนัน้ ก็เป็ นตัวชี้วดั อนาคตของศิลปิ นได้เช่นกันว่า จะตัดสินใจยืนหยัดท�ำเพลงต่อหรือหันเหไปสูอ่ าชีพอืน่ แทน ส�ำหรับดนตรีอเิ ล็กทรอนิกส์บา้ นเรา นับเป็ นสิง่ ใหม่ใน วงการเพลงไทย ด้ว ยจัง หวะและท�ำนองที่ส่ว นใหญ่ เ ป็ น เสียงสังเคราะห์ท่ใี ช้ในการสร้างสรรค์ท�ำนองสไตล์ดนตรี เต้นร�ำ แล้วเร่งจังหวะทีห่ นักหน่วงด้วยเสียงกลองไฟฟ้า ก่อ ให้เกิดความตื่นเต้น สนุ กสนาน และเร้าใจ ซึง่ ก็น่าจะถูกใจ คอเพลงชาวไทยผูร้ กั การสังสรรค์ทุกรูปแบบไม่มากก็น้อย ตามแต่ละบุคคล อนุ ชา นาคน้อย หรือพีน่ ้อง ท่าพระจันทร์ เล่าว่าตลาด เพลงดนตรีอเิ ล็กทรอนิกส์ในประเทศไทยถือว่าได้รบั ความ สนใจอยู่พอสมควร แต่กระแสดนตรีประเภทนี้จะขึน้ อยู่กบั ช่วงเวลา เช่น เทศกาลปาร์ต้ี ช่วงปลายปี หรืองานรื่นเริง เป็ นต้น โดยมีกลุ่มเป้าหมายหลัก เป็ นคนทีน่ ิยมเรื่องของ การจัดปาร์ต้ี “อย่างสไตลิสต์ นอนเซ้นส์ จีน กษิดศิ หรือว่าซินดี้ ซุย เขาเป็ นศิลปินแนวอิเล็กทรอนิกส์ ถ้าคุณไปจัดงานป๊อป แล้ว เปิดเพลงจีน มันก็ไม่ได้ มันเป็ นช่วงเวลาของการเฉลิมฉลอง ก็ตอ้ งเปิ ดเพลงดิสโก้ (Disco) มันเหมือนเป็ นแฟชันเฉพาะ ่ กลุม่ ลงไปอีกอันนึง” Core song core synth 63


จึง ท�ำ ให้ค วามกว้า งของตลาดเพลงอิเ ล็ก ทรอนิ ก ส์ใ น ประเทศไทย มีลกั ษณะคล้ายแฟชัน่ เพราะมีความเฉพาะตัว มาก ถ้าน�ำเพลงอิเล็กทรอนิกส์มาเปิ ดในช่วงเวลาทีผ่ ดิ มัน อาจจะดูลา้ สมัยได้ คอเพลงอิเล็กทรอนิกส์ อาจจะสงสัยว่าท�ำไมแผ่นซีดเี พลง เหล่านี้ จึงมีราคาสูงกว่าแผ่นเสียงเพลงป๊อปธรรมดาอยูค่ อ่ น ข้างมาก วิทวัส ตัง้ ประสิทธิโชค ผูจ้ �ำหน่ ายซีดหี น้าตีร๋ า้ น ดีเจ สยาม ตอบว่าด้วยความทีต่ อ้ งท�ำคนเดียวในทุกขัน้ ตอน บวกกับการผลิตกับผลงานทีม่ คี วามยากกว่าแนวเพลงอืน่ ๆ เพราะว่ามันต้องใช้เครือ่ งดนตรีอเิ ล็กทรอนิกส์ ซึง่ มีราคาแพง กว่าเครือ่ งดนตรีอน่ื ๆ จึงท�ำให้ราคาผลงานสูงกว่าซีดเี พลง ป๊อปทัวไป ่ แต่ราคาซีดกี ไ็ ม่ได้เป็ นปญั หาต่อคนฟงั สักเท่าไร เพราะ พ่อค้าซีดีแห่งสยามสแควร์บอกว่ายอดจ�ำหน่ ายซีดีเพลง อิเล็กทรอนิกส์ ก็ถอื ว่ามีคนเข้ามาจับจอง ซื้อไปฟงั อยู่พอ สมควร เพราะช่วงนี้กระแสเพลงดับเสต็ ๊ ป (Dubstep) ซึง่ เป็ น แนวดนตรียอ่ ย ๆ ของอิเล็กทรอนิกส์กก็ ำ� ลังมาแรง รวมไปถึงปจั จุบนั งานเทศกาลดนตรีอเิ ล็กทรอนิกส์ ซึง่ จะมีดเี จคอยสร้างความสนุ กให้กบั ผูช้ มก็ก�ำลังได้รบั ความ นิยมเป็ นอย่างมาก สอดคล้องกับเจ้าของร้านซีดยี า่ นทองหล่ออย่าง ประพันธ์ 64 Behind the synth


อมรพิทกั ษ์สขุ หรือ ป๋อง แห่งเอ็ท มิวสิค (8 Musique) ทีม่ อง ว่าการทีด่ นตรีอเิ ล็กทรอนิกส์กำ� ลังเป็นทีน่ ยิ มในตอนนี้ เพราะ เพลงแนวนี้เป็นเพลงทีเ่ ข้าถึงง่าย ผูจ้ ดั เทศกาลดนตรีจงึ กล้าที่ จะสร้างสรรค์งานดนตรีประเภทนี้ขน้ึ มาอย่างง่ายดาย “ผมว่าดนตรีอเิ ล็กทรอนิกส์มนั ง่าย แล้วผูจ้ ดั งานดนตรี เหล่านี้เขาก็มองว่าถ้าเขาจ้างดีเจ มาเปิ ดแผ่นมิกซ์เพลง ดีเจพวกนี้สามารถเอาคนทัง้ งานอยูไ่ ด้ เพราะเขามีทกั ษะการ สร้างความสนุ กสานให้กบั คนหมูม่ ากอยูใ่ นตัวของศิลปิ นอยู่ แล้ว ผูจ้ ดั งานจึงคิดว่ามันคุม้ ค่าต่อการจัดงาน และผูช้ มก็คดิ ว่าคุม้ ค่าเช่นกันในแง่ของความสนุกทีจ่ ะได้รบั ”

โปสเตอร์งานเทศกาลดนตรีอิเล็กทรอนิกส์ในปีที่ผ่านมา ที่มา : www.facebook.com/tempobkk www.facebook.com/ArcadiaSpectacular Core song core synth 65


กระแสซินธ์ (Target of the Market)

ผูฟ้ งั เองก็นับเป็ นหนึ่งในกระบวนการของอุตสาหกรรม เพลงทีเ่ ห็นว่าจะเป็ นตัวตัดสินผลงานของศิลปิ นว่าไปต่อใน เส้นทางดนตรีได้หรือไม่ จากการสนับสนุ นศิลปิ นโดยการ อุดหนุนผลงานเพลง แต่ทว่าก็มเี จ้าเอ็มพีสาม มาคอยหลอก ล่อให้คนฟงั ได้ดาวน์ โหลดโดยมีขอ้ เสนอที่หวานปากก็คอื สามารถเป็ นเจ้าของผลงานเพลงทีศ่ ลิ ปิ นผลิตขึน้ มาได้โดย ไม่เสียสตางค์สกั บาทเลย หรือเรียกง่าย ๆ ว่า มันเป็ นของ ฟรีทม่ี ใี นโลกนันเอง!!! ่ วิภว์ บูรพาเดชะ นักวิจารณ์เพลงไทยบอกว่าข้อเสียของ การดาวน์ โหลดของฟรีน่ีแหละทีท่ �ำให้วงการเพลงบ้านเรา นัน้ ซบเซาลงเมือ่ ไม่นานมานี้ จนค่ายเพลงยักษ์ใหญ่ตอ้ งไป พึง่ รายได้จากทีวดี าวเทียมกันเสียก่อน เพราะศิลปินขายงาน ไม่ออก อีกทัง้ ช่องทางการท�ำมาหากินจากการแสดงสดก็หา ได้แสนยากเย็น “แต่พอมาถึงตอนนี้กค็ อ่ นข้างดีนะ ดีสำ� หรับคนฟงั ในแง่ ทีม่ เี พลงให้ฟงั ทีห่ ลากหลายยิง่ ขึน้ และตัวศิลปิ นก็ดขี น้ึ ด้วย เพราะรูปแบบในการหารายได้จากการท�ำเพลงมันเปลีย่ นไป ไม่ค่อยมีใครซื้อแผ่นซีดแี ล้ว มีการดาวน์โหลดจากไอทูนส์ (iTunes โปรแกรมดาวน์ โหลดเพลงของบริษทั แอปเปิ้ ล) 66 Behind the synth


บ้างนิดหน่ อย แต่ทไ่ี ด้จริงๆ ก็คอื ประเภทโชว์ ทีม่ มี ากขึน้ มากกว่าแต่กอ่ น อย่างในช่วงปลายปีกย็ งิ่ มีคนจ้าง งานปีใหม่ ทุกทีก่ ต็ อ้ งมีศลิ ปินไปเล่น” วิภว์ พูดด้วยน�้ำเสียงทีเ่ ต็มเปี่ยมไปด้วยความหวัง... นอกจากนัน้ วิภว์ ยังบอกอีกว่าเดีย๋ วนี้การจะเป็ นศิลปิน ง่ายนิดเดียว ใม่วา่ คุณจะเป็ นใคร จะเล่นดนตรีเป็ นหรือไม่ ก็ สามารถท�ำงานเพลงได้ทงั ้ นัน้ “ตอนนี้มกี ลุม่ คนทีเ่ ริม่ ท�ำงานเพลงด้วยตัวเองเยอะ ไม่ม ี ค่าย ไร้สงั กัด แล้วก็สามารถประคองตัวเองไปได้ เพราะส่วน ใหญ่มอี าชีพอื่นเป็ นอาชีพหลัก แล้วการเป็ นนักดนตรีเป็ น อาชีพเสริม ยังมีวงตัง้ ชือ่ ว่า Part Time Musician เลยคือถ้า เป็ นอย่างนี้กจ็ ะไม่มอี ะไรกดดันเรื่องรายได้อยู่แล้ว เขาท�ำ เพลงเพือ่ ความสนใจอย่างเดียว การท�ำเพลงก็ของคนพวก นี้กจ็ ะออกมาในแนวทีเ่ อาใจตัวเองอยูห่ น่อยหนึ่ง” วิภว์ เห็นว่าการทีศ่ ลิ ปิ นได้ท�ำอะไรตามใจตัวเองก็มที งั ้ ข้อดีและข้อเสียในขณะเดียวกัน คือในฐานะคนฟงั ก็จะได้ฟงั งานเพลงทีน่ ่าสนใจเยอะขึน้ แต่ขอ้ เสียคือ ไม่มอี ะไรรับประกัน ได้เลยว่าศิลปินเหล่านี้ จะเป็ นตัวจริงของวงการเพลง ซึง่ เขา ต้องเก็บประสบการณ์ในการเล่นสดไว้เยอะ ๆ เพือ่ ทีจ่ ะเป็ น แนวทางการยืนระยะในอนาคตต่อไป Core song core synth

67


“เดี๋ยวนี้ไม่ว่าคุณจะเป็นใคร เล่นดนตรีเป็นหรือไม่ก็ สามารถเป็นศิลปิน ได้ทั้งนั้น"

วิภว์ บูรพาเดชะ


พอกลับมาพูดถึงการใช้ซนิ ธิไซเซอร์ในวงการเพลงไทย วิภว์กม็ องว่านอกจากซินธ์จะช่วยในการท�ำงานเพลงด้วย ตัวคนเดียวได้แล้ว ซินธ์ยงั เป็ นตัวช่วยในการท�ำดนตรีแบบ วงได้เช่นกัน “ซินธ์เป็นเครือ่ งดนตรีชนิดหนีง่ ทีใ่ ช้กบั ดนตรีหลาย ๆ แนว ได้ อิเล็กทรอนิกส์ใช้อยูแ่ ล้ว ร็อกก็ใช้ซนิ ธ์เข้ามาช่วย เพลงป๊อป ก็มเี ยอะ เพราะแค่กดปุม่ ก็เปลีย่ นเป็นเสียงเครือ่ งดนตรีอน่ื ได้ แล้ว อยากให้เป็ นซินธ์กแ็ ต่งเสียงเอา แต่มนั ก็ไม่สำ� คัญชนิด ทีข่ าดไม่ได้ แต่กจ็ ะช่วยในเรือ่ งของการแสดงสด สมมุตมิ ี 4 คน เล่นกีตาร์ เบส กลอง แต่วา่ ตอนท�ำอัลบัม้ ใส่เสียงเครือ่ ง สายเครือ่ งเปา่ ไปเต็มเลย ตอนไปโชว์เอาเครือ่ งเปา่ ไปไม่ได้ ซินธ์กจ็ ะเข้ามาช่วยในการให้เสียงตรงนี้” เมื่อซินธิไซเซอร์มคี ุโณปการต่อวงการเพลงไทยขนาด นี้ จะนับเป็ นสิง่ มหัศจรรย์ของโลกล�ำดับที่ 8 ได้หรือยังนะ?

Core song core synth 69



04

สั ง คมอุ ด มซิ น ธ์

synth is all around.


สั ง คมอุ ด มซิ น ธ์ synth is all around.

ดังทีก่ ล่าวไว้ในตอนทีแ่ ล้วว่า ซินธิไซเซอร์เป็ นเครื่องดนตรี ท่ี ส ามารถใช้ ท� ำ เพลง ส่ ง ผลให้ เ กิ ด อิ ท ธิ พ ลต่ อ อุตสาหกรรมเพลงไทยในเรื่องของการน� ำเทคโนโลยีเข้ามา ผสมผสานกับการท�ำงานเพลง ท�ำให้มคี วามสะดวกสบายใน การท�ำงานมากยิง่ ขึน้ อีกทัง้ ยังช่วยในเรือ่ งของการลดต้นทุน การผลิตอีกด้วย และอีกด้านหนึ่งก็เห็นว่าการใช้ซนิ ธิไซเซอร์นนั ้ ยังมีความ สามารถนอกเหนือจากการท�ำงานเพลงด้วยเช่นกัน... ตัง้ แต่ลมื ตาขึน้ มา นาฬิกาปลุกทีค่ อยส่งเสียงให้ผคู้ นต่าง ตื่นตัวในวันใหม่ เสียงนาฬิกาปลุกทีไ่ ด้ยนิ เสียงอยูท่ กุ วันนัน้ 72 Behind the synth


รูห้ รือไม่วา่ เสียงนัน้ คือเสียงสังเคราะห์ กริง๊ ...กริง๊ ... เสียงเรียกเข้าหรือเสียงเตือนของโทรศัพท์ มือถือทีค่ ุน้ ชินได้ยนิ กันอยู่ทุกวัน หารูไ้ ม่ว่าเสียงนัน้ ก็เป็ น เสียงทีส่ ร้างจากซินธิไซเซอร์เช่นกัน เวลาดู ภ าพยนตร์ แ อ็ ค ชัน่ บู๊ ร ะห�่ ำ เคยได้ ย ิน เสีย ง เอฟเฟ็กต์สร้างบรรยากาศทีด่ ดุ นั ด้วยเสียงกลองทุม้ หนัก สอด ประสานด้วยเสียงลีดกีตาร์และเบสด้วยอารมณ์ทร่ี นุ แรง สร้าง อารมณ์ให้ตน่ื เต้น ลุน้ จนนังไม่ ่ ตดิ เก้าอี้ ไปมากกว่าการรับชม ภาพเพียงอย่างเดียวบ้างหรือไม่ เมือ่ เปิ ดโทรทัศน์สกั ไม่กน่ี าที ก็จะได้พบกับโฆษณาคัน่ ระหว่างรายการ มีโฆษณาจ�ำนวนไม่น้อย เลือกทีจ่ ะใช้เสียง เพลงประกอบเพื่อสร้างภาพลักษณ์ของสินค้า แล้วติดเป็ น ภาพจ�ำของสินค้านัน้ บ้างหรือเปล่า คนชอบเทีย่ วกลางคืนตามผับบาร์ คงรูจ้ กั กันดีกบั ดีเจ ที่ คอยเปิ ดเพลงเต้นร�ำชวนให้โยกย้ายร่างกายไปตามจังหวะ สร้างความครึกครืน้ ให้กบั บรรดานักท่องราตรีทงั ้ หลาย สิง่ เหล่านี้แสดงให้เห็นว่าเสียงสังเคราะห์ปรากฏและวน เวียนในชีวติ ประจ�ำวันของมนุษย์ยคุ ทศวรรษที่ 20 อยูต่ ลอด เวลา ไม่วา่ จะเป็ นตอนตื่น ระหว่างวัน จนกระทังล้ ่ มลงหมอน นอนตาหลับ Synth is all around

73


Interstellar Red Cliff ต�ำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช และกวนมึนโฮ ภาพยนตร์ทั้งในและต่างประเทศที่ใช้เสียงประกอบที่ผลิตด้วยซินธิไซเซอร์

ที่มา : www.facebook.com/InterstellarMovieThailand www.facebook.com/redclifffilm www.th.wikipedia.org/wiki/ต�ำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช www.th.wikipedia.org/wiki/กวนมึนโฮ 74 Behind the synth


ซินธิไซเซอร์มสี ว่ นช่วยในกิจกรรมต่าง ๆ ทีก่ ระจัดกระจาย อยู่ตามชีวติ มนุ ษย์ชนคนเดินดินกันตัง้ แต่เมื่อไร ดีเจซี้ด นรเศรษฐ หมัดคง เล่าให้ฟงั ว่าการทีม่ ซี นิ ธ์เข้ามาเป็ นส่วน หนึ่งของชีวติ ประจ�ำวันนัน้ จะช่วยเสริมสร้างความเข้าใจของ มนุษย์ให้มมี ากยิง่ ขึน้ อย่างเช่นเวลาดูภาพยนตร์แนววิทยาศาสตร์ทอ่ งอวกาศ อินเตอร์สเตลลาร์ ทะยานดาวกูโ้ ลก (Interstellar - 2014) ทีม่ กี ารสร้างเสียงทีเ่ วิง้ ว้าง ล่องลอย และว่างเปล่าผ่านการ ใช้ซิน ธิไ ซเซอร์จ ะท�ำให้จินตนาการที่อยู่ใ นห้วงความคิด ของแต่ละคนนัน้ ได้ถูกปลดปล่อยพันธนาการออกมาให้อยู่ ในรูปแบบเสียง ซึง่ เป็ นทีเ่ ข้าใจตรงกันของทุกคนว่าเสียงที่ เวิง้ ว้างนัน้ คือเสียงไร้แรงโน้มถ่วง (สามารถหาฟงั ได้ท่ี www. youtube.com/watch?v=UDVtMYqUAyw) หรือจะเป็ นภาพยนตร์ฟอร์มยักษ์จากดินแดนมังกรอย่าง เรด คลิฟท์ สามก๊ก ตอนโจโฉแตกทัพเรือ (Red Cliff - 2008) ซึง่ เป็ นภาพยนตร์องิ ประวัตศิ าสตร์จนี ทีม่ กี ารใช้เอฟเฟ็ กต์ เสียงเช่นเดียวกับภาพยนตร์ประเภทอื่น โดยจะใช้เสียงใน รูปแบบของวงเคสตร้าทีแ่ สดงถึงความยิง่ ใหญ่ของกองทัพ อีกทัง้ ในฉากต่อสูจ้ ะมีการเชือดเฉือนกันระหว่างทัง้ สอง ฝ่าย ซินธ์จะเข้ามาช่วยในการให้อารมณ์ ท่ดี ุดนั ด้วยเสียง กลองทีท่ ุม้ และหนักแน่ นจนสันไปถึ ่ งขัว้ หัวใจ (ทดลองฟงั อย่างจุใจได้ทเ่ี พลย์ลสิ ต์ Red Cliff Soundtrack ได้ตามลิง้ ก์ Synth is all around

75


www.youtube.com/watch?v=nvGnZye9Fvs&list=PLC73 C36A0BF31C17E) จะว่าไปวงการภาพยนตร์ของไทยก็น�ำเสียงประกอบที่ ผลิตขึน้ จากซินธิไซเซอร์ออกมาไม่น้อยเลยทีเดียว อย่างเช่น ภาพยนตร์อิง ประวัติศ าสตร์ต�ำ นานสมเด็จ พระนเรศวรมหาราช (2007 - 2014) ทีม่ กี ารใช้เสียงเอฟเฟ็กต์ทค่ี ล้ายคลึง กับสามก๊ก โจโฉแตกทัพเรือ หรือจะเป็ นภาพยนตร์เอาใจวัย รุน่ อย่าง กวน มึน โฮ (2010) ทีม่ กี ารใช้เสียงเอฟเฟ็ กต์เวลา นักแสดงต่อมุขตลกกัน และในฉากซึง้ ๆ ก็จะมีเสียงเปียโน คลอไปกับ ภาพที่ก�ำ ลัง เคลื่อ นไหว เพื่อ เพิ่ม ความซึ้ง ใน อารมณ์ให้กบั ท่านผูช้ ม เสียงประกอบต่าง ๆ ทีส่ ร้างมาล้วนเป็นสิง่ สมมติกจ็ ริง แต่ ทว่ามันสามารถสือ่ ความคิดออกมาเป็ นเสียง ๆ หนึ่งได้ นับ เป็ นสิง่ มหัศจรรย์สงิ่ หนึ่งทีม่ สี ว่ นช่วยในการสร้างบรรยากาศ และเพิม่ อรรถรสการรับชมทีใ่ ห้มากกว่าภาพเพียงอย่างเดียว ได้อย่างน่าเหลือเชือ่ แล้วถ้าเป็ นงานโฆษณา ซินธ์จะเข้ามามีสว่ นช่วยในการ ท�ำงานอย่างไรบ้าง ข้อแรกเลยก็คงคล้าย ๆ กับการท�ำเพลงตรงทีซ่ นิ ธิไซเซอร์จะเข้ามาช่วยในการจัดการงบประมาณของผูว้ ่าจ้างที่ มีอยูจ่ ำ� กัด ซึง่ ปกติแล้วงบประมาณของการท�ำเพลงโฆษณา 76 Behind the synth



จะอยูท่ ป่ี ระมาณ 40,000 - 50,000 บาท การบันทึกเสียง จากเครือ่ งดนตรีสด จะต้องจ้างทัง้ นักดนตรีเพือ่ มาเล่นดนตรี นอกจากนัน้ ยังมีคา่ เช่าห้องบันทึกเสียง เมือ่ มีซนิ ธ์เข้ามา การ ท�ำเพลงประกอบโฆษณาก็สามารถจบได้ในขัน้ ตอนเดียว อย่างง่ายดาย ศิลปินแนวเพลงอิเล็กทรอนิกส์อย่าง อุซ - อุกฤษฏ์ ศิรชิ นะ บอกว่าซินธิไซเซอร์จะเข้ามาช่วยงานโฆษณาในส่วนงานที่ ต้องการเอกลักษณ์เฉพาะตัว การสร้างสรรค์เสียงก็จะมีความ ซับซ้อนขึน้ ในระดับหนึ่ง แต่ถ้าหากต้องแลกกับผูบ้ ริโภคสามารถทีจ่ ะจดจ�ำของ สินค้าได้จากโฆษณาเพิม่ ขึน้ เขามองว่าก็คมุ้ ทีจ่ ะแลกเพือ่ ให้ สินค้าจะเป็ นทีร่ จู้ กั ในวงกว้างขึน้ ดื๊อ...ดือ่ ...ดือ...ดื๊อ...ดือ่ ... ดือ่ ...ดื๊อ...ดือ...ดือ...ดือ... ดื๊อ...ดือ่ ...ดือ...ดื๊อ...ดือ่ ... เมื่อลองฮัมเสียงเป็ นเมโลดีแ้ ล้วอาจจะยังนึกไม่ออกกัน แต่ถ้าบอกว่าเป็ นเมโลดี้ของเพลงประกอบโฆษณาเครื่อง ดืม่ น�้ำอัดลมยีห่ อ้ หนึ่งอย่างโค้ก (Coke) ก็คงจะร้องอ๋อ!! แล้ว ลองฮัมดูไปพลาง ๆ ขณะทีก่ ำ� ลังอ่านบรรทัดนี้อยู่ ก็จะเห็น ได้ว่าเพลงประกอบโฆษณาของสินค้าน�้ ำอัดลมชื่อดังเป็ น เสียงทีต่ ดิ หูคนทัวไปเป็ ่ นทีเ่ รียบร้อยแล้ว ถ้าคิดถึงเมโลดีน้ ้ี 78 Behind the synth


ทุกคนก็จะนึกถึงโค้กกันไปตาม ๆ กัน (ลองฟงั เพลงเต็ม ๆ กันได้ท่ี www.youtube.com/watch?v=TO2kiIahW7o) ซึ่ง ซิน ธิไ ซเซอร์ก็เ ข้า มาช่ว ยในการท�ำ เพลงประกอบ โฆษณาเหล่านี้เพื่อให้สนิ ค้าเป็ นทีจ่ ดจ�ำของผูบ้ ริโภค ยิง่ ผู้ บริโภคจ�ำได้ดี จ�ำได้เร็วเท่าใด ก็ยงิ่ เป็ นผลดีต่อสินค้านัน้ ได้ เท่านัน้ นอกจากซินธ์จะมีส่วนช่วยให้โฆษณาเป็ นที่จดจ�ำของ คนทัวไปแล้ ่ ว ด้วยเอกลักษณ์ของเสียงซินธิไซเซอร์ทเ่ี ป็ น ั วให้ความรูส้ กึ ทันสมัย ฟุ้ง ๆ ลอย ๆ ด้วย อิเล็กทรอนิกส์ ฟงแล้ ลักษณะของเสียงซินธ์แบบนี้กท็ ำ� ให้ไปเข้าตาบางสินค้าอย่าง พวกเครือ่ งดืม่ ชูกำ� ลังหรือเครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์แบรนด์ตา่ ง ๆ Sensation ปรากฏการณ์ดนตรีระดับโลกที่เสิร์ฟพร้อมดื่ม โดยแบรนด์เครื่องดื่มยอดข้าวชื่อดัง Heineken


เครื่องดื่มชูก�ำลังแบรนด์คนไทยอย่างกระทิงแดง ทีท่ วั ่ โลกรูจ้ กั กันในนามเรดบูล (Red Bull) ก็เลือกทีจ่ ะใช้เพลง แนวอิเล็กทรอนิกส์เพือ่ เป็นตัวแทนในการน�ำเสนอสินค้าทีท่ นั สมัย กระฉับกระเฉง เพือ่ เจาะตลาดกลุม่ คนรุน่ ใหม่ เครือ่ งดืม่ ชูกำ� ลังอย่างกระทิงแดงจึงเลือกใช้เพลงอิเล็กทรอนิคส์ในการ ปรับโฉมภาพลักษณ์ให้มคี วามทันสมัยมากยิง่ ขึน้ ไฮเนเก้น (Heineken) แบรนด์เครื่องดื่มยอดข้าวชื่อ ดังก็เช่นกันทีป่ รับกลยุทธ์ในการน� ำเสนอสินค้า โดยการน� ำ โปรดักชันดนตรี ่ ขนาดใหญ่จากประเทศเนเธอร์แลนด์ควบ รวมกับผลิตภัณฑ์ฟองเบียร์ภายใต้ชอ่ื เซนเซชัน่ (Sensation) ซึง่ เป็ นโปรเจ็คการแสดงดนตรีแนวอิเล็กทรอนิกส์ เพือ่ ทีจ่ ะ ขยายตลาดไปยังกลุม่ เป้าหมายรุน่ ใหม่ จากเมือ่ ก่อนทีม่ ฐี าน ลูกค้าเป็ นผูใ้ หญ่อายุ 35 ปีขน้ึ ไป ซึ่งทางผลิตภัณฑ์กเ็ ห็นว่าการใช้ดนตรีเข้ามาช่วยก็จะ เสริมให้สนิ ค้านัน้ ขยายกลุ่มเป้าหมายในช่วงอายุทก่ี ว้างขึน้ ซึง่ จะส่งผลต่อยอดขายทีจ่ ะพุง่ ทะยานสูงขึน้ เรือ่ ย ๆ จะเห็นได้ว่าเครื่องดื่มชูก�ำลังและเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ต่างก็ใช้เสียงสังเคราะห์ ซึง่ เป็ นแนวเพลงอิเล็กทรอนิกส์เพือ่ ปรับโฉมภาพลักษณ์สนิ ค้าให้มคี วามทันสมัย และขยายกลุม่ เป้าหมายในตลาดให้กว้างขึน้ การใช้ซนิ ธิไซเซอร์จงึ เป็นหนึ่ง ในส่วนช่วยในการท�ำเพลงประกอบโฆษณาทีเ่ พิม่ ความทัน สมัยเพือ่ ให้เข้ากับคนรุน่ ใหม่ 80 Behind the synth


ส่ ว นซิน ธ์ก ับ งานดีเ จ ที่ดู เ ผิน ๆ แล้ว นั น้ จะไม่ ค่ อ ย เกีย่ วข้องกันสักเท่าไร แต่นบั เป็นของคูก่ นั เลยก็วา่ ได้ จากค�ำ ยืนยันของ ตัม้ - สถาปตั ย์ ธีรนิตยภาพ หรือตัม้ โมโนโทน (Monotone) ถ้าใครวนเวียนอยูแ่ ถววงการดีเจ ก็คงจะคุน้ ชือ่ ตัม้ ในนาม “โฟรซเซ่น (Frozen)” ทีบ่ อกว่าการท�ำงานดีเจใน ฐานะศิลปินผูส้ ร้างสรรค์งานเพลง ก็คล้ายกับการท�ำเพลงใน อุตสาหกรรมเพลงไทย แต่ดเี จทีเ่ ป็ นศิลปินนัน้ กรอบของการ เผยแพร่งานนัน้ มีจำ� กัดแค่ผบั บาร์เพียงเท่านัน้ ไม่คอ่ ยเป็ นที่ นิยมในวงกว้าง อาจจะงง ๆ กันว่าดีเจในฐานะศิลปิ นกับดีเจทีเ่ ปิ ดแผ่น กันตามผับบาร์นนั ้ มีความแตกต่างกันตรงไหน ถ้าจะอธิบาย ให้เข้าใจได้งา่ ย ๆ เลยคือดีเจทีเ่ ป็ นศิลปินคือผูผ้ ลิตงานเพลง เช่นเดียวกับศิลปิ นแนวเพลงอื่น แต่ดเี จนัน้ จะคอยผลิตงาน เพลงทีค่ อยซัพพอร์ตงานปาร์ตอ้ี ย่างพวกเพลงเต้นร�ำ เพลง อิเล็กทรอนิกส์ตามผับบาร์เท่านัน้ ส่วนดีเจในคลับคือคนทีท่ ำ� หน้าทีน่ �ำเสนอความสนุกสนานให้กบั นักท่องราตรีทงั ้ หลาย ซึง่ ดีเจทัง้ สองแบบนี้มคี วามสัมพันธ์กนั ตรงทีต่ อ้ งมีความ รูใ้ นเรื่องของการสร้างสรรค์เพลงเพื่อสร้างความสนุ กให้กบั บรรดาผูท้ ม่ี าเทีย่ ว ทัง้ สองหน้าทีท่ แ่ี ตกต่างกันอาจจะเป็ น คนเดียวกันก็ได้ และทีไ่ ม่น่าเชือ่ เลยคือ ดีเจในต่างประเทศ นัน้ เป็ นคนท�ำเงินให้กบั เจ้าของกิจการได้มากมายในแต่ละ คืนเลยทีเดียว Synth is all around

81


Tiesto

David Guetta

Inter national

DJs

Daft Punk

Thai land

Freestyle Seed

DJs

Suharit

ที่มา : www.facebook.com/tiesto www.facebook.com/DavidGuetta www.th.wikipedia.org/wiki/ดาฟต์พังก์ www.facebook.com/freestyleseed www.facebook.com/suharit.surprise www.facebook.com/djnakadia 82 Behind the synth

Nakadia


ดีเจต่างประเทศทีม่ ชี ่อื เสียงโด่งดังในบ้านเราคือ ดาฟท์ พังก์ (Daft Punk) ในรายนี้เขาก็ผนั ตัวกลายมาเป็ นศิลปิ น ท�ำเพลงเอาใจตลาดจนกลายเป็ นเพลงฮิตในบิลบอร์ดชาร์ต อีกด้วย ดีเจชาวดัตช์ เทียสโต (Tiesto) เป็นดีเจทีโ่ ด่งดังมากใน แนวเพลงทรานซ์ (Trance music) และคนสุดท้าย เดวิด เกต ตา (David Guetta) ดีเจเมืองน�้ำหอม ผูท้ เ่ี ป็ นทัง้ โปรดิวเซอร์ ให้ก ับ ศิล ปิ น ดัง อย่ า ง มาดอนน่ า (Madonna) เอค่ อ น (Akon) และวิ ล .ไอ.แอม (Will.I.Am) จากวงแบล็ ก อายด์ พีส์ (Black eyed peas) อีกด้วย ส�ำหรับดีเจไทยก็จะมีรนุ่ ใหญ่อย่างดีเจซีด้ ทีม่ ชี อ่ื ในวงการ อย่างเท่ ๆ ว่า ฟรีสไตล์ ซีด้ (Freestyle Seed) และดีเจอีกท่าน หนึ่งคือสุหฤท สยามวาลา เจ้าของฉายาพ่อมดอิเล็กทรอนิกส์ ด้วยประสบการณ์การเป็ นดีเจยาวนานถึง 15 ปีทเี ดียว!! ส่วนดีเจไทยทีเ่ ป็ นสุภาพสตรีกม็ เี ช่นกันอย่าง ดีเจนาคาเดีย (Nakadia) สาวผิวน�้ำผึง้ จากดินแดนทีร่ าบสูงสูก่ ารเป็ น ดีเจระดับโลกด้วยลีลาการเปิ ดเพลงผ่านเทิรน์ เทเบิล ทีเ่ อา ดนตรีไร้ขอบเขตแบบแผนมาสอดประสานเข้าด้วยกันจน คนทัง้ โลกติดใจมาแล้ว ถ้าใครอยากฟงั ลีลาการเป็ นดีเจ ขอ แนะน� ำให้คน้ หาจากยูทูปโดยการเสิรช์ ค�ำว่า Dj Nakadia ได้เลย รับรองว่าคุณจะติดใจเหมือนได้เต้นอยู่บนฟลอร์ทไ่ี นท์ คลับสักแห่งหนึ่ง... Synth is all around 83


นอกจากงานดีเจทีท่ ำ� หน้าทีส่ ร้างความสนุ กสนานให้กบั บรรดานักเทีย่ วกลางคืนตามผับบาร์แล้วนัน้ ดีเจยังสามารถ ปฏิบตั งิ านร่วมกับงานเดินแบบแฟชันได้ ่ อกี ด้วย!! เริม่ ต้นที่ ซีซาร์ บี เดอ กัซแมน (Cesar B. De Guzman) หรือต้า ซินดี้ ซุย (Cyndi Seui) บอกว่างานแรกทีท่ �ำหลัง จากก้าวมาเป็ นศิลปิ นอิเล็กทรอนิกส์เต็มตัวนัน้ คือการเพลง ประกอบงานเดินแบบแฟชัน่ ทีท่ กุ คนคุน้ เคยกันในชือ่ แฟชัน่ แคทวอล์ค มิวสิค (Fashion Catwalk Music) นันเอง ่ ซึง่ ต้าเองก็เล่าว่า การท�ำงานร่วมกับงานเดินแบบเป็นงาน ทีด่ นตรีตอ้ งท�ำหน้าทีส่ ร้างความสนุ กให้กบั ผูเ้ ข้ามาชมงาน

Cyndi Seui และ Gramaphone Children ก�ำลังบรรเลงบทเพลง โดยมีซินธิไซเซอร์เป็นเครื่องดนตรีหลักในการแสดง


เขาจึงต้องเลือกสรรเพลงทีเ่ หมาะสมกับงานเพื่อน� ำไป มิกซ์เสียงทีส่ ถานทีจ่ ริง แต่กฎทีส่ ำ� คัญอีกข้อหนึ่งนอกจาก การสร้างความสนุ กให้ผู้ชมก็คอื การจัดเพลงที่เข้ากันกับ คอน-เซปต์ของงานเดินแบบด้วย เพราะหน้าทีห่ ลักคือการ เสริมคอนเซปต์งานเดินแบบให้โดดเด่นเมือ่ มาประกอบรวม กันกับชุดทีบ่ รรดานางแบบต่างย่างกรายอยูบ่ นเวที เช่นเดียวกับ สุเมธ กิจธนโสภา หรือ โน้ต ยักแลบ (Yaak Lab) ก็เป็ นศิลปินอีกคนหนึ่งทีท่ ำ� งานดีเจควบคูไ่ ปด้วย โน้ต เปิ ดเผยรูถ้ งึ รายได้ของการเป็ นดีเจในงานเดินแบบทีจ่ ดั ขึน้ เพียงไม่กช่ี วโมงว่ ั่ า เป็ นรายได้ทค่ี ุม้ ค่ามากเพราะเพียงแค่ 2 - 3 ชัวโมงในการท� ่ ำงาน เขาก็ได้รบั ค่าจ้างไปแล้วในมูลค่า ของเงินถึง 5 หลักเลยทีเดียว!! นอกจากนัน้ ซินธิไซเซอร์ยงั สามารถท�ำอะไรได้อกี หลาย อย่างทีอ่ ยูใ่ นชีวติ ประจ�ำวันของคนเราอย่างคาดไม่ถงึ ในยุคสงครามโลกครัง้ ที่ 2 ก่อนทีซ่ นิ ธิไซเซอร์จะน� ำมา ใช้ในวงการดนตรีนนั ้ ซินธ์ประเภทโวโคเดอร์ (Vocoder) ที่ มีเสียงลักษณะคล้ายหุน่ ยนต์ ก็เคยถูกน�ำไปใช้ในการรับ - ส่ง สารลับระหว่างฐานทัพเพือ่ ป้องกันศัตรู นอกจากนัน้ ซินธ์ยงั น�ำมาสร้างเป็นเสียงในเกมได้อกี ด้วย จะเห็นได้ชดั จากเครื่องเล่นเกมพกพาที่เรียกว่า เกมบอย (Game boy) ซึง่ ผลิตขึน้ ตัง้ แต่ปี 1989 ส�ำหรับเกมทีโ่ ด่งดัง Synth is all around 85


นอกจากซินธิไซเซอร์จะท�ำงานเพลงได้แล้ว ยังสามารถท�ำคุณประโยชน์อื่น ๆ ได้อีกด้วย

ของเครือ่ งเล่นเกมนี้ถา้ เอ่ยชือ่ ทุกคนก็คงรูจ้ กั เป็ นอย่างดี คือ มาริโอ้ (Mario) ลุงหนวดใส่หมวกสีแดงทีค่ อยตะลุยเก็บเห็ด ลายจุดแดงขาวในแต่ละด่านให้ผ่านไปโดยมีอุปสรรคคอย ขัดขวางอยู่ พอถึงวาระโอกาสส�ำคัญอย่างวันเกิดหรือวันปี ใหม่ การ ส่งการ์ดก็เป็ นทางเลือกหนึ่งในค�ำอวยพร ซึง่ ปจั จุบนั การ์ด อวยพรก็จะมีเสียงเพลงติดไปกับการ์ด เชื่อหรือไม่ว่าเสียง เพลงนัน้ ท�ำมาจากเสียงซินธิไซเซอร์บนั ทึกเสียงใส่ชปิ ชิน้ เล็ก ทีแ่ นบติดอยู่กบั การ์ดอวยพร เช่นเดียวกับเสียงทีต่ ดิ มากับ ของเล่นต่าง ๆ อย่างพวกหุน่ ยนต์หรือรถบังคับ 86 Behind the synth


แต่ถา้ ไม่ใช่โอกาสส�ำคัญ ในชีวติ ประจ�ำวันของทุกคนก็ ถูกล้อมรอบไปด้วยเสียงซินธ์ในรูปแบบต่าง ๆ กันอยูแ่ ล้วดัง ทีก่ ล่าวไว้ในข้างต้น ก็คอื เสียงโทรศัพท์ หรือริงโทนนันเอง ่ ไม่วา่ จะเป็ นโทรศัพท์มอื ถือทีท่ ำ� ได้แค่โทรเข้า - ออกหรือจะ เป็ นสมาร์ทโฟน เสียงต่าง ๆ ก็ลว้ นถูกดัดแปลงมาจากซินธิไซเซอร์น�ำมาประกอบร่างกับอุปกรณ์อเิ ล็กทรอนิกส์ จนกลาย เป็ นโทรศัพท์มอื ถือ และกระบวนการผลิตแบบนี้กร็ วมไปถึง เสียงนาฬิกาปลุกด้วยเช่นกัน จะเห็นได้ว่าซินธิไซเซอร์นัน้ อยู่รอบ ๆ ตัวทุกคนอยู่ แล้วด้วยยุคสมัยทีแ่ ปรเปลีย่ นเป็ นยุคดิจทิ ลั ท�ำให้ซนิ ธ์นนั ้ มีบทบาทมากทีส่ ุดในตอนนี้เลยก็ว่าได้ เพราะคุณสมบัตทิ ่ี สามารถสร้างเสียงได้ไม่จำ� กัด และไม่เฉพาะแค่ในวงการดนตรีเท่านัน้ แต่ยงั รวมไปถึง วงการโปรดักชันทั ่ ง้ โฆษณา ภาพยนตร์ และเสียงอื่น ๆ ที่ ได้ยนิ กันอยูท่ ุกวันนี้ นับว่าเป็ นสิง่ ส�ำคัญในการก�ำเนิดเสียง อับดับต้น ๆ ของยุคปจั จุบนั เลยก็วา่ ได้ ลองส�ำรวจดูส ิ ซินธ์ในรอบ ๆ ตัวเรามีมากมายขนาด ไหนกันนะ...

Synth is all around

87



05

เรื่ อ งเล่ า คนรอบซิ น ธ์

synth Society


เรื่ อ งเล่ า คนรอบซิ น ธ์ synth Society

ในขณะทีอ่ ่านมาถึงหน้านี้แล้ว อยากจะลองเล่นซินธ์ดู บ้างมัย้ ?... ต้องขอบอกว่าการเริม่ เล่นซินธ์นนั ้ ไม่ยากเลย เนื่องจาก ไม่ตอ้ งใช้ทกั ษะมากมายเหมือนกับเครือ่ งดนตรีอน่ื ๆ อย่าง พวกเปียโนหรือกีตาร์ทต่ี อ้ งอ่านโน้ตเป็ น จ�ำคอร์ดได้ การเล่นซินธ์นนั ้ เป็นเรือ่ งของความคิดสร้างสรรค์ในแต่ละ ตัวบุคคลทีม่ คี วามสามารถในการสร้างเสียงมากน้อยเพียงใด เรียกได้วา่ เป็นกระบวนการทีเ่ รียนรูไ้ ด้ดว้ ยการปฏิบตั ลิ ว้ น ๆ หากต้องการทีจ่ ะสร้างเสียงให้เป็นแบบเดิม ก็จะต้องหมัน่ 90 Behind the synth


ฝึกฝนเล่นเป็ นประจ�ำ ก็สามารถขึน้ ชือ่ ได้วา่ เป็ นนักดนตรีได้ เช่นกัน คราวนี้กจ็ ะมาแนะน�ำสถานทีซ่ อ้ื - ขายกันบ้างแล้วกันว่า ถ้าต้องการหาซินธิไซเซอร์มาเล่นสักตัวจะต้องเตรียมตัว เตรียมใจเตรียมกระเป๋าตังค์อะไรยังไงกันบ้าง... “แหล่งขายเครื่องดนตรีใหญ่ ๆ อย่างทีเ่ วิง้ นาครเขษม แล้วก็มตี วั แทนจ�ำหน่ ายในเมืองไทยสัก 3 - 4 ราย แต่ว่า ตัวทีเ่ สียงแปลก ๆ ไม่ได้ขายตามท้องตลาด จะหาได้ตาม สะพานเหล็ก คลองถม ส่วนใหญ่กจ็ ะเป็ นพวกเครือ่ งดนตรี มือสอง ราคาก็จะถูก เพราะมันเหมือนเป็ นของตกรุน่ ก็ยงั ใช้ได้อยูบ่ า้ ง ใช้ไม่ได้แล้วบ้างเราก็เอามาซ่อม” “ส่วนใหญ่มกั จะซือ้ ผ่านอินเทอร์เน็ตเยอะ บางครัง้ ก็ซอ้ื มือ สอง จะมีตามทีต่ ่างๆ หรือถ้าอยากหาของดีจริงคนไปญีป่ นุ่ กันเยอะ เหมือนของมือสองคุณภาพดีเยอะ เขารักษาของดี” “มีพวกโกดังขายซินธ์ทน่ี � ำเข้าจากประเทศญีป่ ุ่น บางที ก็เจ๊งบ้าง ซ่อมได้กม็ ี ซ่อมไม่ได้กม็ ี แต่ตอนนี้จะใช้เป็ นพวก ซอฟต์แวร์เสียมากกว่า เพราะมันสะดวก” “ตามต่างจังหวัดพวกสตูดโิ อเพลงลูกทุ่งเป็ นแหล่งชัน้ เยีย่ มเลยทีไ่ ด้ซนิ ธิไซเซอร์มาเยอะ แต่ตอนหลังคนรูเ้ ยอะขึน้ แล้วมันก็หายากขึน้ บางทีกไ็ ด้ฟรีมาบ้างจากคุณลุงใจดีหรือ Synth society

91


ศิลปิ นรุน่ พี่ เขาเหมือนมอบดาบให้ เพราะมันไม่ใช่แค่ซนิ ธ์ อย่างเดียว แต่เหมือนกับมอบของสะสมของเขามาให้เราเพือ่ ทีจ่ ะน�ำมาต่อยอด เพราะเขารูว้ า่ เรามีใจรักมากๆ ก็คงจะเห็น ว่าเราดูแลสิง่ ทีเ่ ขาเห็นว่ามันคุณค่าของเขาได้” เมื่อ พูด ถึง แหล่ง ซื้อ - ขายซิน ธ์จ ากผู้ท่ีค ร�่ำ หวอดอยู่ ในวงการเพลงบ้านเราก็ได้รบั ค�ำตอบเป็ นเสียงเดียวกันว่า ในปจั จุบนั นี้ซนิ ธ์เป็ นเครื่องดนตรีท่สี ามารถหาซื้อได้ตาม ท้องตลาดทัวไปแล้ ่ ว ทัง้ ร้านค้าตัวแทนจ�ำหน่ ายหรือทาง อินเทอร์เน็ตก็ตาม และส�ำหรับผูท้ ต่ี อ้ งการครอบครองซินธ์มาไว้ให้อนุ่ ใจ เรา ก็จะจัดหมวดหมูใ่ นการหาซือ้ ง่าย ๆ ได้เลยดังนี้!! เริม่ ทีซ่ นิ ธิไซเซอร์แบบมือหนึ่งกันก่อน ถ้าจะให้ขยาย ความค�ำว่ามือหนึ่งก็คงจะเป็ นเครือ่ งดนตรีใหม่แกะกล่องส่ง ตรงจากโรงงานสด ๆ ร้อน ๆ เลยทีเดียวซินธ์มอื หนึ่งสามารถ หาซือ้ ได้ตามแหล่งขายเครือ่ งดนตรีทเ่ี วิง้ นาครเขษม ซึง่ ก็ม ี ตัวแทนจ�ำหน่ายซินธิไซเซอร์ประมาณ 2 - 3 แห่งน�ำเข้ามา จากต่างประเทศอย่างบริษทั ธีระมิวสิค ผูแ้ ทนจ�ำหน่ายซินธ์ แบรนด์ดงั จากญีป่ นุ่ โรแลนด์ (Roland) และ (Yamaha) มาถึงตัวแทนจ�ำหน่ายล�ำดับทีส่ องทีอ่ ยูก่ ลางใจเมืองกรุงที่ เซ็นทรัลเวิลด์ อย่างร้านมิวสิค คอนเซปต์ (Music Concept) ซึง่ ตัวแทนจ�ำหน่ ายในรายนี้ ศิลปิ นนักดนตรีทอ่ี ยู่ในวงการ 92 Behind the synth


เพลงไทยต่างบอกเป็นเสียงเดียวกันว่าเป็นเจ้าแรก ๆ เมือ่ พูด สถานทีซ่ อ้ื - ขายซินธิไซเซอร์ เพราะว่าร้านมิวสิค คอนเซปต์ นัน้ เป็นตัวแทนจ�ำหน่ายซินธ์มอื หนึ่งแบรนด์ดงั จากญีป่ นุ่ เช่น กัน และมีจดุ เด่นในเรือ่ งของราคาย่อมเยาว์อย่างคอร์ก (Korg) ใครทีเ่ ป็ นแฟนพันธุแ์ ท้ซนิ ธิไซเซอร์ในรูปแบบอนาล็อก คงจะรูจ้ กั มูก้ (Moog) แบรนด์ตน้ ต�ำรับซินธ์จากอเมริกา หรือ นอร์ด (Nord) จากประเทศสวีเดนกันเป็ นอย่างดี ซึง่ ซินธ์ท่ี ผลิตในแถบยุโรปและอเมริกานัน้ ขึ้นชื่อในเรื่องของความ พิถพี ถิ นั ในการผลิตทีเ่ ป็ นแบบแฮนด์เมดเครือ่ งต่อเครือ่ งเลย ทีเดียว และทีบ่ า้ นเราก็มตี วั แทนจ�ำหน่ ายเช่นกันอย่างร้าน ออดิทอล โปร (Audital Pro) และมีอกี ทางเลือกหนึ่งที่เหมาะกับผู้ท่เี ดินทางไปต่าง ประเทศบ่อย ๆ คือการเดินทางไปซื้อซินธิไซเซอร์ดว้ ยตัว เองทีต่ ่างประเทศ ซึง่ ในส่วนนี้จะมีขอ้ ดีตรงทีส่ ามารถซือ้ ได้ ในราคาจริงไม่ตอ้ งบวกก�ำไรจากทางตัวแทนจ�ำหน่ าย แต่ เวลาหิว้ กลับประเทศไทยคงต้องเตรียมตัวตอบค�ำถามจาก ด่านศุลกากรทีส่ นามบินสักหน่อยแล้วกัน ถ้าใครเป็ นมือใหม่อยากลองเล่นซินธ์มอื สองกันก่อน เริม่ ต้นจากสมัยก่อนก็จะหาได้ตามตลาดนัดมือสองคลองถม สะพานเหล็ก หรือจะเป็นโรงรับจ�ำน�ำ ร้านขายของมือสองทีไ่ ม่ ได้มเี ฉพาะเครือ่ งดนตรี บางทีสตูดโิ อเก่า ๆ ตามต่างจังหวัด ก็น่าจะมีซนิ ธ์รนุ่ เก่า ๆ หลงเหลืออยูก่ เ็ ป็ นได้ Synth society 93


ตัวแทนจ�ำหน่ายซินธิไซเซอร์มือหนึ่งในประเทศไทย ที่มา : www.facebook.com/TheeraMusic www.facebook.com/MusicConceptThailand www.facebook.com/auditalpro

แต่ตอนนี้ความสะดวกมีเพิม่ ขึน้ ก็สามารถหาได้ตามร้าน ขายเครื่องดนตรีต่าง ๆ อย่างหลังกระทรวงกลาโหม ซึง่ ที่ นี่กเ็ รียกได้ว่า เป็ นแหล่งขายเครื่องดนตรีเช่นเดียวกับเวิง้ นาครเขษม และอีกร้านหนึ่งทีเ่ ป็ นทีโ่ ด่งดังในหมู่นักดนตรี ก็คอื ร้านโตไก มิวสิค เป็ นร้านขายซินธิไซเซอร์และเครื่อง ดนตรีอน่ื ๆ ทีเ่ ป็ นมือสองน�ำเข้าจากประเทศญีป่ นุ่ ถ้าอยาก ลองเล่นก็สามารถค้นหาลายแทงแผนทีร่ า้ นจากอินเทอร์เน็ต ได้เลย จะว่าไปการซือ้ ขายซินธิไซเซอร์มอื สองในอินเทอร์เน็ตก็ เป็นอีกทางเลือกหนึ่งเช่นกัน ตามเว็บไซต์เครือ่ งดนตรีตา่ ง ๆ อย่า งป๋ าติ๊ด ดอทคอม (Patid.com) กีต าร์ไ ทยดอทคอม (Guitarthai.com) สยามเบสดอทคอม (Siambass.com) ถึง แม้ช่อื จะเป็ นกีตาร์หรือเบสแต่กม็ ขี ายซินธ์ดว้ ย หรือจะเป็ น เว็บไซต์ขายของมือสองทัวไปอย่ ่ าง อีเบย์ดอทคอม (Ebay. com) อเมซอนดอทคอม (Amazon.com) และ ไทยเซ็กเกิล้ 94 Behind the synth


แฮนด์ดอทคอม (Thaisecondhand.com) แม้ว่าราคาของ ซินธ์มอื สองจะถูกกว่าซินธ์มอื หนึ่งถึงครึง่ ๆ เลย แต่กค็ วร ระมัดระวังการถูกหลอก ควรตรวจสอบประวัตผิ ขู้ ายให้ดกี อ่ น ทีจ่ ะตัดสินใจซือ้ สักหน่อยแล้วกัน

เว็บไซต์ต่างประเทศที่ขายซินธิไซเซอร์มือสอง ที่มา : www.ebay.com www.amazon.com

หากพูดถึงเรื่องซื้อขายซินธิไซเซอร์แล้ว ราคาเครื่อง ดนตรีกเ็ ป็ นส่วนหนึ่งในการตัดสินใจทีจ่ ะซื้อ ซึ่งวัฒนวิทย์ ศรีประไพ เทคนิคเชีย่ น (Technician) ประจ�ำร้านออดิทอล โปร บอกว่าในปจั จุบนั มีคนสนใจจ�ำนวนมาก ไม่ว่าจะเป็ น นักดนตรีมอื อาชีพหรือนักศึกษาทางด้านดนตรีเข้ามาลอง เล่น แต่จะไม่คอ่ ยซือ้ ติดมือออกไปเพราะราคาค่อนข้างแพง ซึง่ จะเริม่ ต้นทีป่ ระมาณ 10,000 บาทไปจนถึง 160,000 บาท เลยทีเดียว ซึง่ ซินธ์ในแต่ละแบบก็จะใช้ในแนวดนตรีทแ่ี ตกต่างกันไป ถ้าเป็ นรุน่ ทีร่ าคาสูง ก็สามารถใช้ครอบคลุมได้ทกุ แนวเพลง Synth society 95


ไม่วา่ จะเป็ นร็อก ฮิพฮอพ หรือแม้กระทังดี ่ เจ แต่ถา้ รุน่ เล็ก ๆ ราคาจะลดหลันลงมาหน่ ่ อย แต่ประสิทธิภาพในการใช้งานก็ จะค่อนข้างจ�ำกัดไม่เหมือนกับรุน่ ทีแ่ พง ๆ เรียกได้วา่ คุณภาพ ของเครือ่ งก็ผนั แปรตามราคาทีส่ งู ขึน้ นันเอง ่ ส�ำหรับจุดเด่นของซินธ์แต่ละแบรนด์นนั ้ ก็จะมีความแตก ต่างกัน ซึ่งแต่ละตัวก็จะมีเสียงทีเ่ ป็ นเอกลักษณ์เฉพาะตัว อย่างมูก้ จะให้เสียงทีห่ นักแน่น แต่สามารถเล่นได้ทลี ะโน้ต เท่านัน้ ถ้าเป็น โรแลนด์ นอร์ด หรือคอร์ก จะให้เสียงทีบ่ างลง ให้ความละเอียดของเสียงได้มากกว่า และสามารถเล่นได้ที ละหลาย ๆ โน้ตได้ ในขณะเดียวกันลักษณะการท�ำงานของ ซินธ์ทุกเครื่องนัน้ จะมีความเหมือนกันอยู่แล้วคือมีหน้ าที่ สังเคราะห์เสียง ปรุงแต่งเสียง แต่ทา้ ยทีส่ ดุ เมือ่ ประมวลผล ออกมา เครื่องสังเคราะห์เสียงแต่ละรุ่นก็จะมีจุดเด่นคนละ แบบ ให้เสียงทีแ่ ตกต่างกันไป เมื่อพูดถึงข้อดีของซินธิไซเซอร์แล้วนัน้ ความจ�ำเป็ น ต่ อ วงการเพลงไทยก็น่ า จะมีอ ยู่พ อสมควรจากค�ำ ยืน ยัน ของชัชวาล วิเศษศิลป์ เทคนิคเชีย่ นประจ�ำร้านมิวสิค คอนเซปต์ ซึง่ เขาก็ได้บอกว่า เสียงซินธ์ทไ่ี ด้นนั ้ สามารถตอบสนอง นักดนตรีได้ทกุ แนวเพลงตามมาตรฐานทีเ่ ครือ่ งดนตรีควรจะ เป็น ในช่วง 4 – 5 เดือนทีแ่ ล้ว กระแสเพลง ดับเสต็ ๊ ป (Dubstep) ก� ำ ลัง มา ซิน ธ์ ก็จ� ำ เป็ น ที่จ ะต้อ งท� ำ เสีย งแบบแนวเพลง ดับ๊ เสต็ป ให้ไ ด้ แต่ ต อนนี้ เ พลงร็อ กก็เ ริ่ม กลับ มา ซิน ธ์ก็ สามารถตอบสนองแนวเพลงร็อกให้ได้เช่นกัน 96 Behind the synth


โดยปกติแล้วซินธ์จะมีการพัฒนาคุณภาพให้ตรงกับความ ต้องการของผูใ้ ช้เสมอ ๆ ด้วยการทีผ่ ูผ้ ลิตจะให้นักดนตรี หรือโปรดิวเซอร์เข้าไปมีสว่ นร่วมในการสร้างรูปแบบใหม่ ๆ ของซินธิไซเซอร์ เพราะในปจั จุบนั นี้ซนิ ธ์สามารถเชื่อมต่อ กับคอมพิวเตอร์ได้ ก็ตอ้ งผลิตออกมาเพือ่ รองรับเทคโนโลยี ตรงนี้ดว้ ยเช่นกัน ซึ่งในบางครัง้ ซินธ์กก็ ลายเป็ นส่วนหนึ่ง กับคอมพิวเตอร์ไปแล้วด้วยพัฒนาการของยุคดิจทิ ลั ทีเ่ ป็ น ไปอย่างรวดเร็ว ส�ำหรับการเปลีย่ นแปลงของการซือ้ ขายซินธ์จากอดีตถึง ั ปจจุบนั ไม่คอ่ ยมีการเปลีย่ นแปลงมาก จะมีเพียงแต่ในเรือ่ ง ส่วนแบ่งของการตลาดทีม่ เี พิม่ ขึน้ เพราะซินธิไซเซอร์ของ ทุกแบรนด์ต่างผลิตเครือ่ งออกมาหลากหลายรุน่ ให้ลกู ค้าได้ เลือกกันมากมาย ท�ำให้ซนิ ธ์ในแต่ละแบรนด์ตอ้ งปรับราคาลด ลงเพือ่ ทีจ่ ะเพิม่ ยอดขาย แข่งขันกับแบรนด์อน่ื ให้ได้ กลุ่มลูกค้าและผูท้ ส่ี นใจส่วนใหญ่เป็ นนักดนตรีมอื อาชีพ ไม่ว่าจะเป็ นคนไทยหรือต่างชาติ อย่างศิลปิ นชื่อดังในบ้าน เราอย่างโมเดิรน์ ด็อก บอดีแ้ สลม ก็เข้าออกวนเวียนกันมาซือ้ เรือ่ ย ๆ เมือ่ ซินธ์รนุ่ ใหม่ออกมา นักดนตรีเหล่านัน้ ก็ขายซินธ์ รุน่ เก่า เพือ่ ไปซือ้ รุน่ ใหม่แทน ซึง่ ซินธ์รนุ่ เก่าทีเ่ หล่านักดนตรี ขายออกไปนัน้ ก็จะกลายเป็นสินค้ามือสองในทันที เหมือนกับ เป็ นสมบัตผิ ลัดกันชมก็วา่ ได้ นอกจากนั ้น ลู ก ค้ า ที่ เ ป็ น นั ก ศึ ก ษามีเ ข้ า มาซื้ อ บ้ า ง Synth society

97


ประปราย โดยปกตินกั ศึกษาทางด้านดนตรีกม็ กั จะมีพน้ื ฐาน การเงินทีส่ งู อยูแ่ ล้ว และฝีมอื ของเด็กสมัยนี้ทพ่ี ฒ ั นาอย่างก้าว กระโดดประกอบสือ่ ตามอินเทอร์เน็ตทีม่ เี พิม่ ขึน้ ท�ำให้ฝีมอื การเล่นนัน้ ก็เทียบเท่ากับนักดนตรีมอื อาชีพแล้ว ส่วนคนทัวไปยั ่ งไม่รจู้ กั กันมากนัก เพราะยังไม่มคี วาม เข้าใจในตัวของซินธิไซเซอร์อย่างแท้จริง บางทีกเ็ รียกเป็ น คียบ์ อร์ดบ้าง เปี ยโนไฟฟ้าบ้าง หรือกลายเป็ นอิเล็กโทนไป เลยก็ม ี ในอนาคตคนทัวไปจะรู ่ จ้ กั ซินธิไซเซอร์เพิม่ ขึน้ หรือไม่ จากการไถ่ถามศิลปิ นถึงความส�ำคัญของซินธิไซเซอร์บน โลกใบนี้ ก็มคี วามเห็นตรงกันว่า ซินธ์นนั ้ มีมานานมากแล้ว เพียงแต่คนไทยเพิง่ หันมาใส่ใจมากขึน้ เพราะวงการเพลง ไทยได้รบั อิทธิพลมาจากศิลปิ นต่างประเทศ แนวโน้มก็น่า จะไปในทางทีด่ ขี น้ึ คนทีจ่ ะมาสนใจสิง่ เหล่านี้เพราะได้แรง บันดาลใจมาจากศิลปิ น ซึง่ ก็เป็ นส่วนหนึ่งทีท่ �ำให้ซนิ ธ์เป็ น ทีร่ จู้ กั มากยิง่ ขึน้

98 Behind the synth




ซิ น ธ์ ใ นเพลง

synth a song


ซิ น ธ์ ใ นเพลง synth a song

เสีย งแห่ ง ความแปลกประหลาด ล�้ ำ ยุ ค และสื่อ ถึง จินตนาการอย่างซินธิไซเซอร์นัน้ ถือว่าเป็ นส่วนหนึ่งของ เสียงเพลงไปแล้ว ดังนัน้ เราจึงอยากขอแนะน�ำเพลย์ลสิ ต์ให้กบั ผูอ้ ่านได้ไป ลองค้นหาเพลงฟงั กันดู โดยเราจะแบ่งระดับของผูฟ้ งั เป็ น 3 ระดับด้วยกัน ส�ำหรับผูท้ อ่ี ยากจะหัดฟงั เพลงตื๊ด ๆ ไปจนถึง ผูฟ้ งั ทีโ่ ปรดปรานเสียงสังเคราะห์เป็ นอย่างมาก!! เอาล่ะ...พร้อมจะพบกับรายชื่อเพลงทีเ่ ราเตรียมไว้แล้ว ใช่มยั ้ ? งัน้ เราไปพบกันเลย! มีเพลงทีอ่ ยูใ่ นใจคุณสักกีเ่ พลงนะ... 102 Behind the synth


(Beginner playlist) international song list 1.Anyday - Limousine 2.High Fever - Aerolips 3.Moving - Slow Reverse 4.This is Easy So Listen - Cyndi seui 5.How long - jelly rocket 6.Show Me - Kid Ink 7.Don't - Ed Sheeran 8.Happen Ending - Epik high 9.Not a Bad Thing - Justin Timberlake 10.Na Na - Trey Songz thai song list 1.เพียงชายคนนี้ (ไม่ใช่ผู้วิเศษ) - เพชร โอสถานุเคราะห์ 2.เผลอ - MR.Z 3.Just a Little Bit - Jeremiah 4.I miss you 2 - 60c 5.บีบมือ - Niece 6.ตาอินกับตานา - Z Myx 7.อิง - Seal Pillow 8.ความน่าจะเป็น - Cyndi seui 9.ร (W8) - Gene Kasidit 10.ปล่อย - Kidnappers


(Intermediate playlist) international song list 1.Get Lucky - Daft Punk 2.Fireflies - Owl city 3.Hey you - Cyndi seui 4.So Right - Aerolips 5.Dancing Queen - Abba 6.GANGNAM STYLE - PSY 7.Animals - Maroon 5 8.Blue Monday - New Order 9.It's No Good - Depeche Mode 10.All About That Bass- Meghan Trainor thai song list 1.พบกันใหม่ - Polycat 2.นักเลงคีย์บอร์ด - Stamp 3.ขอเมารักให้หัวปักหัวป�ำ - Seal Pillow 4.ทฤษฎีสีชมพู - 7thScene 5.คู่กัน - Triumphs kingdom 6.เหม่อ - Death of a salesman 7.อยากมองเธอในแง่ร้าย - Yokee playboy 8.เรือ - จระเข้บัว 9.สกาล่า - Moderndog 10.โคลัมบัส - Summer dress


(Advanced playlist) international song list 1.The robots - Kraftwerk 2.My Name Is Dos - Cyndi Seui 3.Zeropolis - Cyndi seui 4.Born Hater - Epik High 5.HONDALADY - YMCK 6.Summer rain - DCNXTR 7.Behind the Mask - Yellow Magic Orchestra 8.Wiggle - Jason Derulo 9.Turn Down for What - DJ Snake & Lil Jon 10.Beg For It - Iggy Azalea thai song list 1.สะกดใจ - Yaak Lab 2.บุ๋ง (Boong) - Maria Lynn Ehren 3.ฮอร์โมน - Groove Riders 4.ถอด - Triumphs kingdom 5.ได้โปรดบอก - บุรินทร์ บุญวิสุทธิ์ 6.ขอโทษที - Thaitanium 7.Slow Motion - Joey Boy 8.Ninja - Stylish nonsense 9.เพราะอะไรนะ - MR.Z 10.Let's Talk about love - เพชร โอสถานุเคราะห์





Thank you! พี่ปอนด์ Summer dress

พี่โน้ต Yaak lab

พี่ซัน มาโนช พุฒตาล

พี่ป๋อง 8 musique

พี่อ้วน อรรถพร ชูโต

พี่วิภว์ บูรพาเดชะ

อ.ป๊อก วรรณฤต พงษ์ประยูร

พี่อู่ Kidnappers

พี่ตั้ม Monotone

ดร.สินนภา สารสาส

พี่ต้า Cyndi seui

ผศ.คมธรรม ด�ำรงเจริญ

พี่อุซ Aerolips

อ.อริน เจียจันทร์พงษ์

พี่กิจแจ๊ซ Monotone

อ.บรรยงค์ สุวรรณผ่อง

Music concept พี่ปั้น Cut the crab

อ.วีระศักดิ์ จันทร์ส่งแสง

DJ siam น้อง ท่าพระจันทร์

ดร.กันยิกา ชอว์ อ.ภมรศรี แดงชัย

รวีร์ ฟี่ นู อีฟล้าน 10 คนนั้น

พี่ซี้ด นรเศรษฐ หมัดคง พี่บอล Audital Pro

ตอง แก้ม พี่บิ๋ม อนุส มิ้น และครอบครัว :)


จุลนิพนธ์นี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญานิเทคศศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานิเทศศาสตร์ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มหาวิทยาลัยศิลปากร ปีการศึกษา 2557 ลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยศิลปากร




Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.