Northern of Thai dance

Page 1

ฟ้ อนเจิง ฟ้ อนดาบไทลื้อ

บ้านศรี ดอนชัย อ�ำเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย

ศุภมาส ประวัติชอบ



ฟ้ อนเจิง ฟ้ อนดาบไทลื้อ บ้านศรี ดอนชัย อ�ำเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย


ประวัตคิ วามเป็ นมา

เป็ นกลุ่มที่อพยพมาจากเมืองอู

แคว้นสิ บสองพันนา

มณฑลยูนนานประเทศจีน ซึ่งปั จจุบนั อยูใ่ นแขวงพงสาลีของ สปป.ลาว ราว พ.ศ. ๒๔๑๖ เนื่องจากศึกสงครามภายในและเนื่องจากการขาดแคลนพื้นที่ ท�ำกินและอาหารรวมถึงการรุ กรานของจีน การอพยพครั้งนั้นโดยการน�ำ ของ “พญาแก้ว” ในระหว่างการเดินทางได้พกั แวะที่ดอยหลักค�ำ แนว พรมแดนระหว่างประเทศจีน และ สปป.ลาวเป็ นเวลา ๑ ปี จากนั้นได้ ข้ามแม่น้ ำ� โขงเข้ามาอาศัยอยูร่ ิ มฝั่งโขงที่บา้ นหาดบ้าย

อ�ำเภอเชียงของ

ต่อมาได้เข้ามาอพยพมาอาศัยบริ เวณทุ่งหมดหรื อทุ่งสามหมอนซึ่ งเป็ นทุ่ง รกร้างในเขตเชียงของ ต่อมา พ.ศ. ๒๔๓๐ เกิดปั ญหาความแห้งแล้ง และพื้นที่ไม่อุดมสมบูรณ์ จึงอพยพแยกย้ายกันออกไป ในปี พ.ศ. ๒๕๐๐ กระทรวงมหาดไทยได้ประกาศให้แยกบ้านจัดตั้งให้เป็ น หมู่บา้ นศรี ดอนชัย หมู่ที่ ๗ ต.ศรี ดอนชัย อ.เชียงของ จ.เชียงราย คนแรกนายทองดี วงศ์ชยั

2

ฟ้ อนเจิง ฟ้ อนดาบไทลื้อ

ผูใ้ หญ่บา้ น


ความหมายของค�ำว่า “ศรี ดอนชัย” “ศรี ” เป็ นค�ำที่มาจากต้น ศรี มหาโพธิ์ ที่มีอยูใ่ นวัดเพื่อความเป็ นสิ ริมงคลจึงน�ำมา ตั้งเป็ นชื่อหมู่บา้ น “ดอน” จากลักษณะทางภูมิศาสตร์ของหมู่บา้ นที่เป็ นพื้นที่ลุ่มๆ ดอนๆ “ชัย” น�ำมาจากนามสกุลของคนในหมู่บา้ นที่มีนามสกุล “วงศ์ชยั ” ทั้งหมู่บา้ น และค�ำว่า “ชัย” ยังหมายถึง ชัยชนะ ทั้งสามค�ำรวมกันจึงเป็ นค�ำว่า “ศรี ดอนชัย”

รู ปภาพแผนที่บา้ นศรี ดอนชัย อ�ำเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย อ้างอิงภาพ จาก google map

ฟ้ อนเจิง ฟ้ อนดาบไทลื้อ

3


อัตลักษณ์ ของฟ้อนเจิง ฟ้อนดาบ หมู่บ้านศรีดอนชัย ฟ้อนเจิง เป็ นการฟ้ อนร�ำที่มีอตั ลักษณ์ประจ�ำถิ่น กล่าวคือ บ้านศรี ดอนชัย มีการ ฟ้ อนเจิงที่โดดเด่นและไม่เหมือนใคร ซึ่งถ้าพูดถึงฟ้ อนเจิงของทางล้านนาก็จะ เป็ นการฟ้ อนเพื่อการต่อสู ้ และป้ องกันตัวจากศัตรู ที่ถกู สร้างสรรค์ข้ ึนเป็ นแบบ อย่าง และรวบรวมประสบการณ์ แตกแขนงกลยุทธพิศดารออกไป แล้วถ่ายทอด ศิลปะดังกล่าวสื บต่อกันมาจนกลายเป็ นเอกลักษณ์ของชุมชนนั้นๆ ส่ วนทางไท ลื้อนั้นเป็ นฟ้ อนเจิงโดยใช้ลีลาท่าทางมาปรับเปลี่ยนให้เข้ากับวิถีการด�ำเนิ นชีวิต ในแต่ละวัน โดยฟ้ อนเจิงของชาวไทลื้อนั้นเมื่อแสดงให้ชมแล้วจะมีความงามในตัวตน ของตัวเอง ซึ่งสามารถบ่งบอกความเป็ นอัตลักษณ์เฉพาะถิ่นก็วา่ ได้

4

ฟ้ อนเจิง ฟ้ อนดาบไทลื้อ


ฟ้อนดาบ เป็ นการฟ้ อนที่คล้ายคลึงกับทางล้านนา แต่มีการตัดท่าบางส่ วนออก แล้วปรับเปลี่ยนให้เป็ นรู ปแบบใหม่ โดยมีการเข้าคู่ เพื่อแสดงให้เห็นว่าเมื่อศัตรู มาอยูข่ า้ งหน้าจะท�ำอย่างไร โดยการฟ้ อนดาบของชาวไทลื้อนี้ มีอตั ลักษณ์ เพราะ ท่าฟ้ อนร�ำแต่ละท่าเป็ นที่โดดเด่นจนเป็ นที่น่าสนใจและต้องการจะศึกษา จึงไม่ เหมือนที่อื่น เพราะการสอบทอดจากครู ผสู ้ อนนั้นคนละครู พื้นที่เปลี่ยนลักษณะ การฟ้ อนก็เปลี่ยนไปตามด้วย

ฟ้ อนเจิง ฟ้ อนดาบไทลื้อ

5


พ่อครู กอน ภาพถ่ายขณะยังมีชีวติ อ้างอิงโดยหลานชาย คือครู สุริยา วงค์ชยั

6

ฟ้ อนเจิง ฟ้ อนดาบไทลื้อ


ฟ้ อนเจิง ฟ้ อนดาบ ของชาวไทลื้อ บ้านศรี ดอนชัย อ�ำเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย เป็ นการแสดงที่นำ� เอาวิถีชีวติ ในแต่ละวัน

มาปรับใช้ให้เข้าจังหวะในการ

ฟ้ อนร�ำ เพื่อให้คนรุ่ นหลังไม่ลืมที่มาของตน และเพื่อถ่ายทอดให้คนต่างถิ่นได้ ทราบถึงวิถีชีวติ ของชาวไทลื้อ บ้านศรี ดอนชัย ซึ่งเป็ นแนวคิดที่ดี ที่นำ� มาปรับ ใช้ให้เข้าแก่ยคุ สมัยในการแสดงตอนรับแขกบ้านแขกเรื อน (เสี ยชีวติ )

ซึ่งเป็ นปู่

เป็ นผูถ้ ่ายทอดให้กบั บุตร

หลาน

โดยมีพอ่ ครู กอน ที่มีความสนใจ

เพราะพ่อครู กอนเป็ นบุคคลส�ำคัญของบ้านศรี ดอนชัยในการเล่าขานมา โดยท่า ฟ้ อนของพ่อครู กอนนั้น มีความสง่า ความขลัง และมีพลัง จนชาวบ้านให้ความ นับถือ จนมาถึงปั จจุบนั คนที่ถ่ายทอด คือ ครู สุริยา วงค์ชยั ซึ่งเป็ นหลานของพ่อครู กอน ที่รับการ ถ่ายทอดศิลปะการต่อสูแ้ ต่เพียงผูเ้ ดียว อันได้แก่ ฟ้ อนเจิง ฟ้ อนดาบ

ฟ้ อนเจิง ฟ้ อนดาบไทลื้อ

7


ฟ้อนเจิง คือ ชั้นเชิง แต่ในที่น้ ีจะเป็ นการฟ้ อนที่ใช้ท่าทางของการด�ำเนินชีวติ ในแต่ละวัน เช่น การออกหาปลา การยิงนก เป็ นต้น เจิงของล้านนานั้นจะมีผงั การเดินของเท้า ที่เรี ยกว่า ขุม ส่ วนทางไทลื้อ ชุมชนบ้านศรี ดอนชัย ไม่มี ขุม ซึ่งมีความแตกต่างกันโดยสิ้ นเชิง เพราะทางล้านนาฟ้ อนเจิง เพื่อการต่อสู ้ และ ป้ องกันตัวจากศัตรู ที่ถกู สร้างสรรค์ข้ ึนเป็ นแบบอย่าง และรวบรวมประสบการณ์ แตกแขนงกลยุทธพิสดารออกไป

แล้วถ่ายทอดศิลปะดังกล่าวสื บต่อกันมาจน

กลายเป็ นเอกลักษณ์ของชุมชนนั้นๆ

ภาพจากหนังสื อนาฏดุริยการล้านนา

8

ฟ้ อนเจิง ฟ้ อนดาบไทลื้อ


แต่ส่วนชาวไทลื้อ บ้านศรี ดอนชัย อ�ำเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย เป็ นฟ้ อนเจิงที่จำ� ลองภาพการด�ำเนินชีวติ ประจ�ำวัน ซึ่งปั จจุบนั ผูท้ ี่จะสื บทอดมี ไม่มาก ส่ วนใหญ่มกั จะหลงความสะดวกสบายจนลืมวัฒนธรรมและวิถีชีวติ อดีต ของตน

การฟ้ อนเจิงนี้จึงเกิดขึ้นเพื่อเป็ นการสื บทอดและใช้ในโอกาสต้อนรับ

แขกบ้านแขกเมือง

และถือว่าการฟ้ อนเจิงของที่นี่เป็ นเอกลักษณ์ของหมู่บา้ น

จริ งๆ นอกจากนี้ ยังมีการ “ตบมะผาบ” เหมือนทางล้านนาด้วย แต่ต่างกันที่การ ย่างเท้าหรื อ ขุม ที่เป็ นแบบฉบับของตัวเอง คืออิริยาบทในการย่างเท้าในการ ฟ้ อนแต่ละครั้งไม่เหมือนกัน

ฟ้ อนเจิง ฟ้ อนดาบไทลื้อ

9


รู ปภาพ ท่าฟ้ อนเจิง ๑๗ ท่า อ้างอิงจาก ครู สุริยา วงค์ชยั

10

๑. ไหว้ครู

๒.ตบมะผาบ

๓.สับหมึกขา

๔.ปั่นฝ้ าย

๕.ผ๊กผ่อในเหล่า (ป่ าไม้)

๖.หน้าไม้ยงิ นก

ฟ้ อนเจิง ฟ้ อนดาบไทลื้อ


๗. ซ้อนปลา

๑๐. เอาปลาใส่ โม่ง(ข้องปลา)

๘. งมปลา

๙. หักคอปลา

๑๑. สาวแห

๑๒. ตอดแห

ฟ้ อนเจิง ฟ้ อนดาบไทลื้อ

11


๑๓. ยับ๊ ปลา

๑๖. บิดบัวบาน ย่อลง

12

ฟ้ อนเจิง ฟ้ อนดาบไทลื้อ

๑๔. ก�ำขี้ทรายพูก (คู่ต่อสู)้ ๑๕. เสื อกาบลอกหยอกเล่น

๑๗. กราบก้ม ไหว้ครู


ฟ้อนดาบ

ซึ่งมีการใช้ท่าพื้นฐานใน

คือเป็ นการฟ้ อนร�ำเฉพาะผูช้ าย

การฟ้ อนร�ำล้านนา

มีท่าบิดบัวบานเพื่อเริ่ มต้นการฟ้ อนร�ำเช่นเดียวกับ

ไทลื้อโดยล้านนากับไทลื้อในอดีตมีความสัมพันธ์กนั

แต่การรับเอาท่าฟ้ อน

ร�ำจากพ่อครู แต่ละคนมีลีลาท่าทางที่แตกต่างกันออกไป

รวมไปถึงการด�ำเนิน

ชี วิตของแต่ ล ะวัน มี ผลต่ อการเปลี่ ยนแปลงการฟ้ อนร� ำ ที่ แ ตกต่ า งกันออกไป มีการน�ำเอาท่าฟ้ อนดาบล้านนามาผสมผสานให้เข้ากับ

ความเป็ น

เอกลักษณ์ของไทลื้อ เพื่อสื่ อถึงเอกลักษณ์เฉพาะถิ่น สื บทอดจากพ่อครู ที่ตนได้ เรี ยนมาและน�ำมาเผยแพร่ ฟ้ อนดาบไทลื้อ มีความแตกต่างกับล้านนาตรงที่วา่ กระบวนท่าฟ้ อนดาบของล้านนามีกระบวนท่าที่เป็ นมาตรฐาน แต่กระบวนท่า ฟ้ อนดาบของชาวไทลื้อมีการน�ำเอากระบวนท่าฟ้ อนดาบของล้านนามาใช้เป็ น บางส่ วน และได้มีการลดกระบวนท่าออกแล้วได้นำ� เอากระบวนท่าใหม่ โดยมี การเข้าคู่ฟ้อนร�ำ ซึ่งเสมือนว่าคู่ต่อสูข้ องตนอยูข่ า้ งหน้า จึงมีท่าฟ้ อนดาบของไทลื้อ

บ้านศรี ดอนชัย

อ�ำเภอเชียงของ

จังหวัดเชียงราย ออกมาเพื่อให้สืบทอด และมีท่าฟ้ อน ดังนี้

ฟ้ อนเจิง ฟ้ อนดาบไทลื้อ

13


รู ปภาพ ท่าฟ้ อนดาบ ๑๔ ท่า อ้างอิงจาก ครู สุริยา วงค์ชยั

๑. ไหว้ครู

๔. สางลายเดิน

14

ฟ้ อนเจิง ฟ้ อนดาบไทลื้อ

๒. บิดบัวบาน

๓. เกี้ยวเกล้า

๕. ควง โค้งสองแขน


๖. กอดแยง

๗. ฟันโข่

๘. หย่างแวดผ่อซ้าย-ขวา

ฟ้ อนเจิง ฟ้ อนดาบไทลื้อ

15


๙. หันหลังฟันดาบ (ยืน)

๑๑. บัวบานโล่

16

ฟ้ อนเจิง ฟ้ อนดาบไทลื้อ

๑๐. หันหลังฟันดาบ (นัง่ )


๑๒. บัวบานโล่ (ย่อลง)

๑๓. ไหว้ครู

๑๔. ก้มกราบ

ฟ้ อนเจิง ฟ้ อนดาบไทลื้อ

17


ฟ้ อนเจิง

ฟ้ อนดาบ 18

ฟ้ อนเจิง ฟ้ อนดาบไทลื้อ


การฟ้ อนเจิง ฟ้ อนดาบไทลื้อ บ้านศรี ดอนชัย อ�ำเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย นั้น เป็ นการน�ำ เอาศิ ล ปะการแสดงเข้า มาผสมผสานกับ วิ ถี ชี วิ ต ของชุ ม ชน เพื่อสะท้อนให้เห็น บ้านศรี ดอนชัยมีความช่วยเหลือซึ่งกันและกัน และส่ วนใหญ่ มีอาชีพท�ำนา หาปูหาปลา เพื่อเลี้ยงชีพและครอบครัว เอกลักษณ์ไทลื้อสื่ อสารกัน ด้วยภาษาลื้อ เพื่อไม่ให้วถิ ีชีวติ เดิมสูญหายไป จึงให้เด็กรุ่ นหลังได้มีโอกาสที่จะ ศึกษาการฟ้ อนเจิง ฟ้ อนดาบไทลื้อไว้ให้คนต่างถิ่นได้รับรู ้ถึงวิถีชีวติ ของไทลื้อ บ้านศรี ดอนชัย อ�ำเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย จึงน�ำการฟ้ อนเจิงและฟ้ อนดาบ ให้อยู่ในรู ปแบบของการแสดงเพื่อเป็ นสื่ อและเอกลักษณ์ให้คนที่มาเยี่ยมเยียน ได้รับชมของบ้านศรี ดอนชัย

ฟ้ อนเจิง ฟ้ อนดาบไทลื้อ

19


ในด้ านความงาม ฟ้ อนเจิง ฟ้ อนดาบไทลื้อ มีเอกลักษณ์ที่บ่งบอกถึงการจ�ำลอง เหตุการณ์การด�ำเนินชีวิตในแต่ละวันที่สื่อสารออกมาเป็ นรู ปแบบของการแสดง ที่มีความโด่ดเด่น และมีความสวยงามที่แตกต่างกันออกไปในส่ วนของท่าฟ้ อน ร�ำในแต่ละท่า ในเรื่ องของลีลาการฟ้ อนร�ำขึ้นอยูก่ บั ประสบการณ์และการฝึ กฝน ความสวยงามจะมีการพัฒนาและต่อยอดให้กบั คนหลังรุ่ นหลังสื บไป

20

ฟ้ อนเจิง ฟ้ อนดาบไทลื้อ


ฟ้ อนเจิง ฟ้ อนดาบไทลื้อ ©2015 (พ.ศ. 2558) โดย ศุภมาส ประวัติชอบ สงวนลิขสิ ทธิ์ พิมพ์ครั้งแรกเมื่อ ตุลาคม พ.ศ. 2558 จัดพิมพ์โดย ภาควิชาศิลปะไทย คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เรี ยบเรี ยงและออกแบบโดย ศุภมาส ประวัติชอบ ออกแบบโดยใช้ฟอนท์ Angsana New 16 pt หนังสื อเล่มนี้เป็ นส่ วนหนึ่งของการเรี ยนการสอน เพื่อส่ งเสริ มและต่อยอดศักยภาพการศึกษา ภายในภาควิชาศิลปะไทย คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.