CONTENTS 1
2 5 6 7 9 10 12 14 17 17 62
สารจากผู้อํานวยการ ข้อมู ลการประชุ ม หน่วยงานจัดการประชุ ม บริษัทผู ้สนับสนุนการจัดประชุ ม แผนทีแ่ ละแผนผัง กําหนดการ กิจกรรม Geo-informatics Media Contest (GMC 2014) Geo-informatics Applications Contest (G-CON 2014) การนําเสนอบทความ กําหนดการนําเสนอบทความ นิทรรศการ
การประชุมวิชาการ เทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ ประจําปี 2557
สารจากผู้ อํานวยการ สํ า นั ก งานพั ฒ นาเทคโนโลยี อ วกาศและภู มิ ส ารสนเทศ (องค์ก ารมหาชน) หรื อ สทอภ. (GISTDA) ร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องซึ่งประกอบด้วย กรมแผนที่ทหาร สมาคมสํ า รวจข้อ มู ล ระยะไกลและสารสนเทศภู มิ ศ าสตร์แ ห่ง ประเทศไทย สมาคม ภูมศ ิ าสตร์แห่งประเทศไทย สมาคมระบบขนส่งและจราจรอัจฉริยะไทย สมาคมการแผนที่ แห่งประเทศไทย สมาคมธรณีวท ิ ยาแห่งประเทศไทย และสมาคมการสํารวจและการแผนที่ จัดการประชุมวิชาการเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศแห่งชาติประจําปี 2557: GEOINFOTECH 2014 ระหว่างวันที่ 12-14 พฤศจิกายน 2557 ณ ศูนย์ประชุม วายุภักษ์ โรงแรมเซ็นทรา ศูนย์ราชการและคอนเวนชันเซ็นเตอร์ และลานอเนกประสงค์ อาคารรัฐประศาสนภักดี ศูนย์ราชการฯ แจ้งวัฒนะ กทม. โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ หน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชนได้เผยแพร่และนําเสนอผลงานวิจัยของ นักวิชาการ นักวิจย ั นักเรียน นิสต ิ นักศึกษา จากหน่วยงานของรัฐและเอกชน การแสดงความก้าวหน้า ของเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ การแลกเปลี่ยนความรู้และความคิดเห็นที่เป็น ประโยชน์ต่อการวิจัยและพัฒนา รวมทั้งสะสมประสบการณ์และความเชี่ยวชาญในการ ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ อันจะนําไปสู่การเพิ่มคุณภาพชีวิตสร้าง รายได้และสร้างงานแก่ประชาชนทุกระดับ เพื่อให้เกิดการพัฒนาประเทศอย่างยั่งยืน การประชุมวิชาการฯ ประกอบด้วย การบรรยายพิเศษ การเสวนาจากผู้ทรงคุณวุฒิและ ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้าน การนําเสนอผลงานวิจัยและบทความกว่า 50 เรื่อง การแข่งขัน การประกวดสื่ อ ภู มิ ส ารสนเทศ และการแข่ง ขั น โปรแกรมประยุ ก ต์ด ้า นเทคโนโลยี ภูมิสารสนเทศ นอกจากนี้ยังมีนิทรรศการแสดงผลงานวิจัยและความก้าวหน้าทางด้าน เทคโนโลยี อ วกาศและภู มิ ส ารสนเทศ และการประยุ ก ต์ใ ช้ข ้อ มู ล ภู มิ ส ารสนเทศจาก หน่วยงานภาครัฐและเอกชนในหลากหลายสาขา คาดว่ามีผู้เข้าร่วมประชุมวิชาการฯ ครั้งนี้ ประมาณ 700 คน และชมนิทรรศการประมาณ 10,000 คน สทอภ. ขอต้อนรับและขอบพระคุณทุกท่านทีใ่ ห้การสนับสนุนและเข้าร่วมการประชุมและ เสนอผลงานวิจัยในการประชุมวิชาการฯ ครั้งนี้ และหวังเป็นอย่างยิ่งว่าการประชุม ครั้งนี้จะบรรลุวัตถุประสงค์ที่หวังไว้ทุกประการ
(ดร.อานนท์ สนิทวงศ์ ณ อยุธยา) ผู้อํานวยการ สทอภ.
12-14 พฤศจิกายน 2557 ศูนย์ราชการฯ แจ้งวัฒนะ
1
ข้อมู ลการประชุ ม ความเป็นมา การประชุมวิชาการเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ แห่งชาติ: GEOINFOTECH เปน ็ เวทีสาํ หรับการนําเสนอ และเผยแพร่ผ ลงานวิ จั ย ของนั ก วิ ช าการ นั ก วิ จั ย นิ สิ ต และนักศึกษา จากหน่วยงานของรัฐและเอกชน การแสดง ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ การแลกเปลีย ่ นความรู้และความคิดเห็นทีเ่ ปน ็ ประโยชน์ต่อ การวิจย ั และพัฒนา รวมทัง้ สะสมประสบการณ์และความ เชี่ ย วชาญในการประยุ ก ต์ใ ช้เ ทคโนโลยี อ วกาศและ ภูมิสารสนเทศ อันจะนําไปสู่การเพิ่มคุณภาพชีวิตสร้าง รายได้และสร้างงานแก่ประชาชนทุกระดับเพื่อให้เกิดการ พัฒนาประเทศอย่างยัง่ ยืน
กิจกรรมของงาน GEOINFOTECH 2014 นอกเหนือ จากการนํ า เสนอบทความวิ ช าการและผลงานวิ จั ย แล้ว ยังมีกิจกรรมอืน ่ ๆ อาทิ การบรรยายพิเศษ เสวนาจาก ผู้ทรงคุณวุฒิและผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้าน การแข่งขันการ ประกวดสือ ่ ภูมส ิ ารสนเทศ ระดับเยาวชน และการแข่งขัน โปรแกรมประยุกต์ด้านเทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ รวมถึง การแสดงนิทรรศการทั้งภาครัฐและเอกชน และการจับ ของรางวัลต่างๆมากมาย เปน ็ ต้น
ในโอกาสนี้ สทอภ. ขอเชิญท่านและผู้สนใจที่เกี่ยวข้อง ส่งบทความวิชาการและผลงานวิจัยแสดงนิทรรศการและ เข้าประชุมวิชาการฯ โดยในส่วนของการประชุมวิชาการฯ สํ า นั ก งานพั ฒ นาเทคโนโลยี อ วกาศและภู มิ ส ารสนเทศ ผู ้เ ข้า ร่ว มประชุ ม สามารถเบิ ก จ่า ยค่า ใช้จ ่า ยต่า งๆ (องค์การมหาชน) : สทอภ. (GISTDA) ซึง่ เป็นหน่วยงานของ จากต้นสังกัดเท่าทีจ่ ่ายจริง ได้แก่ ค่าลงทะเบียน ค่าทีพ ่ ก ั รัฐ ภายใต้ก ารกํ า กั บ ดู แ ลของรั ฐ มนตรี ว ่า การกระทรวง และค่า ใช้จ ่า ยในการเดิ น ทางเพื่ อ ร่ว มประชุ ม วิ ช าการฯ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (วท.) โดยมีภารกิจหลัก ในการ ได้ตามระเบียบกระทรวงการคลัง พัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมส ิ ารสนเทศของประเทศไทย สทอภ. ร่วมกับ กรมแผนทีท ่ หาร และสมาคมวิชาชีพ จํานวน 6 สมาคม จั ด ประชุ ม วิ ช าการเทคโนโลยี อ วกาศและ ภูมส ิ ารสนเทศ เป็นประจําทุกปี และปี 2557 กําหนดจัดการ ประชุ ม วิ ช าการเทคโนโลยี อ วกาศและภู มิ ส ารสนเทศ แห่งชาติประจําปี 2557 : GEOINFOTECH 2014 ในระหว่างวันที่ 12-14 พฤศจิกายน 2557 ณ ศูนย์ประชุม วายุภักษ์ โรงแรมเซ็นทราศูนย์ราชการและคอนเวนชัน เซ็นเตอร์ และลานอเนกประสงค์ อาคารรัฐประศาสนภักดี ศูนย์ราชการฯ แจ้งวัฒนะ กทม.
2
การประชุมวิชาการ เทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ ประจําปี 2557
วัตถุประสงค์
เป้าหมาย
1. เพื่ อ ให้ผู ้เ ข้า ร่ว มประชุ ม วิ ช าการฯได้รั บ ทราบความ ก้าวหน้าของเทคโนโลยีอวกาศและภูมส ิ ารสนเทศ
ผลักดัน ส่งเสริมและสนับสนุนให้มก ี ารนําเทคโนโลยีอวกาศ และภูมส ิ ารสนเทศ ผลงานวิจย ั ด้านๆ ไปประยุกต์ใช้อย่าง ็ รูปธรรมและนําไปสู่การเพิม ่ คุณภาพชีวต ิ สร้างรายได้ 2. เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้นักวิชาการนักวิจัยนิสิต เปน ่ ให้เกิดการพัฒนา และนักศึกษาจากหน่วยงานภาครัฐและเอกชนนําเสนอ และสร้างงานแก่ประชาชน ทุกระดับ เพือ ประเทศอย่างยัง่ ยืน และเผยแพร่ผลงานวิจย ั 3. เพือ ่ ให้ผ้เู ข้าร่วมประชุมวิชาการฯได้แลกเปลีย ่ นความรู้ ผู เ้ ข้าร่วมประชุ ม และความคิดเห็นทีเ่ ป็นประโยชน์ต่อการวิจย ั และพัฒนา ผู้บริหารผู้ปฏิบัติงานและผู้สนใจทั้งจากภาครัฐและภาค รวมทั้งสะสมประสบการณ์เกี่ยวกับการประยุกต์ใช้ เอกชนประมาณ 700 คน และร่วมชมนิทรรศการ ประมาณ เทคโนโลยี อ วกาศและภู มิ ส ารสนเทศในสาขาต่า งๆ 10,000 คน ในระดับชาติและนานาชาติ 4. เพือ ่ ส่งเสริม พัฒนาและสร้างแรงบันดาลใจให้มก ี ารนํา สถานที่จด ั ประชุม เทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศไปประยุกต์ใช้ใน ศู น ย์ป ระชุ ม วายุ ภั ก ษ์ โรงแรมเซ็ น ทราศู น ย์ร าชการ หน่วยงานต่างๆ ทีเ่ กีย ่ วข้องทุกระดับ มากยิง่ ขึน ้ และคอนเวนชันเซ็นเตอร์ และลานอเนกประสงค์ อาคาร รัฐประศาสนภักดี ศูนย์ราชการฯ แจ้งวัฒนะ กทม.
เนือ้ หาการประชุม
แสดงปาฐกถา : การใช้เทคโนโลยีภม ู ส ิ ารสนเทศ เพือ ่ การบริหารจัดการภาครัฐ การบรรยายพิเศษและเสวนา โดยผู้เชีย ่ วชาญและ ผู้ทรงคุณวุฒิ การบรรยายพิเศษ : Google : GIS Portal เสวนา : เทคโนโลยีอวกาศและภูมส ิ ารสนเทศเพือ ่ ความยิง่ ใหญ่ในอาเซียน
ระยะเวลา ระหว่างวันพุธที่ 12 ถึง วันศุกร์ที่ 14 พฤศจิกายน 2557
เสวนา : การใช้เทคโนโลยีภม ู ส ิ ารสนเทศกับ การจัดการด้านธรณีวท ิ ยาและแผ่นดินไหว เสวนา : เอกชนกับการพัฒนา GIS Application การแข่งขันการประกวดสือ ่ ภูมส ิ ารสนเทศ ระดับเยาวชน การแข่งขันโปรแกรมประยุกต์ด้านเทคโนโลยี ภูมส ิ ารสนเทศ การนําเสนอผลงานวิจย ั หรือบทความวิชาการ เทคโนโลยีอวกาศและภูมส ิ ารสนเทศโดยนักวิชาการ นักวิจย ั นิสต ิ และนักศึกษา การแสดงนิทรรศการโดยหน่วยงานภาครัฐ สถาบัน การศึกษา ภาคเอกชนรวมทัง้ การประกวดคูหา นิทรรศการหน่วยงานภาครัฐ
12-14 พฤศจิกายน 2557 ศูนย์ราชการฯ แจ้งวัฒนะ
3
ค่าลงทะเบียน ติดต่อฝ่ ายลงทะเบียน วจีภรณ์ แจ่มไว / วัชรี นพศรี โทรศัพท์ 08 1404 3658 / 08 4751 8253 / 0 25614504 ต่อ 421-422 โทรสาร 0 2561 4503
ผู้ลงทะเบียนจะได้รบ ั เอกสาร กระเป๋า อาหารว่างและอาหารกลางวัน ลงทะเบียนออนไลน์ด้วยบัตรเครดิต ผ่าน http://geoinfotech.gistda.or.th หรือโอนเงินเข้าบัญชีออมทรัพย์ ธนาคารกรุงไทย จํากัด สาขาศูนย์ราชการฯ แจ้งวัฒนะ (อาคาร B) ชือ ่ บัญชี สํานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมส ิ ารสนเทศ (องค์การมหาชน) เลขทีบ ่ ญ ั ชี 955-0-01944-6 พร้อมส่งหลักฐานการโอนเงินลงชือ ่ ผู้โอนและหน่วยงานต้นสังกัดให้ชด ั เจน มายังโทรสาร 0 2561 4503 ผู้เข้าร่วมประชุมวิชาการฯ สามารถเบิกจ่ายค่าใช้จ่ายต่างๆ จากต้นสังกัด ได้เท่าทีจ่ ่ายจริงตามระเบียบกระทรวงการคลัง
การบริการอาหารและเครื่องดื่ม อาหารกลางวัน (บุฟเฟ่ต์) ห้องวายุภก ั ษ์ 2 และ ห้อง BB 401-402 ชัน ้ 4 โรงแรมเซ็นทราศูนย์ราชการฯ 12-14 พฤศจิกายน 2557 อาหารว่าง-เครือ ่ งดืม ่ 12 พฤศจิกายน 2557
13-14 พฤศจิกายน 2557
12:00-13:30
10:45-11:15 ลานอเนกประสงค์ 14:30-14:45 หน้าห้องวายุภักษ์ 3-4 ชั้น 4 โรงแรมเซ็นทราศูนย์ราชการฯ 10:30-10:45 และ 14:30-14:45 หน้าห้องวายุภักษ์ 3-4 ชั้น 4 โรงแรมเซ็นทราศูนย์ราชการฯ
ติดต่อฝ่ ายจัดประชุมวิชาการ ปราณปริยา วงค์ษา / ธัญลักษณ์ เอีย ่ มณรงค์ฤทธิ์ โทรศัพท์ 08 4751 8253 / 0 2561 4504-5 ต่อ 421-422 โทรสาร 0 2561 4503 อีเมล geoinfotech@gistda.or.th
4
การบริการอินเทอร์เน็ต SSID: geoinfotech2014 Encription: geoinfotech2014
การประชุมวิชาการ เทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ ประจําปี 2557
หน่วยงานจัดการประชุ ม
สํานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมส ิ ารสนเทศ (องค์การมหาชน) : สทอภ. กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี : วท.
หน่วยงานร่วมจัดและสนับสนุนการจัดประชุม กรมแผนทีท ่ หาร
สมาคมสํารวจข้อมูลระยะไกลและสารสนเทศภูมศ ิ าสตร์แห่งประเทศไทย
สมาคมภูมศ ิ าสตร์แห่งประเทศไทย
สมาคมระบบขนส่งและจราจรอัจฉริยะไทย
สมาคมการแผนทีแ ่ ห่งประเทศไทย
สมาคมธรณีวท ิ ยาแห่งประเทศไทย
สมาคมการสํารวจและการแผนที่
12-14 พฤศจิกายน 2557 ศูนย์ราชการฯ แจ้งวัฒนะ
5
บริษัทผู ้สนับสนุนการจัดประชุ ม
6
การประชุมวิชาการ เทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ ประจําปี 2557
แผนทีแ่ ละแผนผัง
12-14 พฤศจิกายน 2557 ศูนย์ราชการฯ แจ้งวัฒนะ
7
8
การประชุมวิชาการ เทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ ประจําปี 2557
กําหนดการ üĆî đéČĂî ðŘ
đüúć 08:30-09:30 09:30-10:00
10:00-10:45
øć÷Öćø úÜìąđïĊ÷îđךćøŠüöÜćî (è úćîĂđîÖðøąÿÜÙŤ) óĉíĊđðŗé ēé÷ îćÜÿćüđÿćüèĊ öčÿĉĒéÜ / ñϚߊü÷øĆåöîêøĊÖøąìøüÜüĉì÷ćýćÿêøŤĒúąđìÙēîēú÷Ċ (è úćîĂđîÖðøąÿÜÙŤ) ĒÿéÜðćåÖëć : ÖćøĔßšđìÙēîēú÷ĊõĎöĉÿćøÿîđìýđóČęĂÖćøïøĉĀćøÝĆéÖćøõćÙøĆå ēé÷ øý.éø.ÿöđÝêîŤ ìĉèóÜþŤ / ðøąíćîÖøøöÖćøïøĉĀćø ÿìĂõ. ðøąíćîÖøøöÖćø ĔîÙèąîüĆêÖøøöĒĀŠÜßćêĉ (è úćîĂđîÖðøąÿÜÙŤ) óĆÖøĆïðøąìćîÖćĒôĒúąĂćĀćøüŠćÜ Ēúą ßöîĉìøøýÖćø (è úćîĂđîÖðøąÿÜÙŤ) ïøø÷ć÷óĉđýþ : Google : GIS Portal ēé÷ Mr. Carlos Mann Marales / Head of Sales for Google’s Maps, APAC (è úćîĂđîÖðøąÿÜÙŤ)
10:45-11:15
12 óùýÝĉÖć÷î 2557
11:15-12:10
øĆïðøąìćîĂćĀćøÖúćÜüĆî (è ēøÜĒøö) îĞćđÿîĂñúĉêõĆèæŤ ×ĂÜ ïøĉþĆì DigitalGlobe đüúć 15 îćìĊ (è úćîĂđîÖðøąÿÜÙŤ) îĞćđÿîĂñúĉêõĆèæŤ ×ĂÜ ïøĉþĆì ASIAN Aerospace Serviced Ltd. đüúć 15 îćìĊ (è úćîĂđîÖðøąÿÜÙŤ) 12:15-12:30 îĞćđÿîĂñúĉêõĆèæŤ ×ĂÜ ïøĉþĆì AirBus đüúć 15 îćìĊ (è úćîĂđîÖðøąÿÜÙŤ) 12:30-12:45 đÿüîć 1 : đìÙēîēú÷ĊĂüÖćýĒúąõĎöĉÿćøÿîđìýđóČęĂÙüćö÷ĉęÜĔĀâŠĔîĂćđàĊ÷î ñĎšéĞćđîĉîøć÷Öćø : îć÷ßĉï Ýĉêîĉ÷ö GMC 2014 ñĎšøŠüöđÿüîć : 1. óúđĂÖ éø. üĉßĉê ÿćìøćîîìŤ ÖøøöÖćøïøĉĀćø ÿìĂõ. ÖćøðøąÖüéÿČęĂõĎöĉÿćøÿîđìý ÙøĆĚÜìĊę 3 13:00-14:30 2. îć÷ÿößć÷ đìĊ÷öïčâðøąđÿøĉå øĂÜðúĆéÖøąìøüÜüĉì÷ćýćÿêøŤĒúąđìÙēîēú÷Ċ (è úćîĂđîÖðøąÿÜÙŤ) 3. éø.ÿöđÖĊ÷øêĉ ĂŠĂîüĉöú ðøąíćîÖøøöÖćøïøĉĀćø ïøĉþĆì ĕì÷üĉìĆýîŤ ÝĞćÖĆé
12:10-13:00
(è ĀšĂÜüć÷čõĆÖþŤ 3 - 4 ßĆĚî 4 ēøÜĒøöđàĘîìøćýĎî÷ŤøćßÖćøĒúąÙĂîđüîßĆîđàĘîđêĂøŤ) óĆÖøĆïðøąìćîÖćĒôĒúąĂćĀćøüŠćÜ Ēúą ßöîĉìøøýÖćø (è úćîĂđîÖðøąÿÜÙŤ) ÖćøîĞćđÿîĂïìÙüćö
14:30-14:45 14:45-16:30
ĀšĂÜüć÷čõĆÖþŤ 3 - 4 Session A-1
ĀšĂÜ BB-405 Session A-2
ĀšĂÜ BB-406 Session A-3
GMC 2014 (è úćîĂđîÖðøąÿÜÙŤ) (ēøÜĒøö)
13 óùýÝĉÖć÷î 2557
đÿüîć 2 :ÖćøĔßšđìÙēîēú÷ĊõĎöĉÿćøÿîđìýÖĆïÖćøÝĆéÖćøéšćîíøèĊüĉì÷ćĒúąĒñŠîéĉîĕĀü ñĎšéĞćđîĉîøć÷Öćø : îćÜÿćüÝĂö×üĆâ ĀúćüđóĘßøŤ ñĎšøŠüöđÿüîć : 1. î.Ă.ÿöýĆÖéĉĝ ×ćüÿčüøøèŤ ñĎšĂĞćîü÷ÖćøýĎî÷ŤđêČĂîõĆ÷óĉïĆêĉĒĀŠÜßćêĉ 2. îć÷ïčøĉîìøŤ đüßïøøđìĉÜ ñĎšĂĞćîü÷ÖćøÿĞćîĆÖđòŜćøąüĆÜĒñŠîéĉîĕĀü 09:00-10:30 ñĎšĂĞćîü÷ÖćøÿĞćîĆÖíøèĊüĉì÷ćÿĉęÜĒüéúšĂö 3. éø.ÿöïčâ ēÛþĉêćîîìŤ 4. îćÜüĉĕú îćĕóüøøèŤ ñĎšĕéšøĆïñúÖøąìïÝĆÜĀüĆéđßĊ÷Üøć÷ (è ĀšĂÜüć÷čõĆÖþŤ 3 - 4 ßĆĚî 4 ēøÜĒøöđàĘîìøćýĎî÷ŤøćßÖćøĒúąÙĂîđüîßĆîđàĘîđêĂøŤ) 10:30-10:45
óĆÖøĆïðøąìćîÖćĒôĒúąĂćĀćøüŠćÜ Ēúą ßöîĉìøøýÖćø
G-CON ÖćøĒ׊Ü×ĆîēðøĒÖøöðøą÷čÖêŤìćÜéšćî đìÙēîēú÷ĊõĎöĉÿćøÿîđìý “Geo-informatics Applications Contest : G-CON” (è úćîĂđîÖðøąÿÜÙŤ)
ÖćøîĞćđÿîĂïìÙüćö 10:45-12:00 12:00-13:00 13:00-14:30 14:30-14:45 14:45-16:30
ĀšĂÜ BB-405 Session B-2 øĆïðøąìćîĂćĀćøÖúćÜüĆî (è ēøÜĒøö) ĀšĂÜ BB-405 ĀšĂÜüć÷čõĆÖþŤ 3 - 4 Session C-2 Session C-1 óĆÖøĆïðøąìćîÖćĒôĒúąĂćĀćøüŠćÜ Ēúą ßöîĉìøøýÖćø ĀšĂÜ BB-405 ĀšĂÜüć÷čõĆÖþŤ 3 - 4 Session D-2 Session D-1 ĀšĂÜüć÷čõĆÖþŤ 3 - 4 Session B-1
G-CON 2014 (è úćîĂđîÖðøąÿÜÙŤ)
14 óùýÝĉÖć÷î 2557
(ēøÜĒøö)
đÿüîć 3 : đĂÖßîÖĆïÖćøóĆçîć GIS Application ñĎšéĞćđîĉîøć÷Öćø : éø.îøčêöŤ ÿčîìøćîîìŤ ÿìĂõ. Deputy Director, Change Fusion 09:00-10:30 ñĎšøŠüöđÿüîć : 1. îć÷ĕÖúÖšĂÜ ĕüì÷Öćø 2. îć÷üĉì÷ć ĂĆýüđÿëĊ÷ø CEO, Apppi Co., Ltd. 3. îć÷õĆìøćüčí àČęĂÿĆê÷ćýĉúðş CTO, Wongnai 10:30-10:45 10:45-12:00 12:00-13:00
G-CON 2014 (è úćîĂđîÖðøąÿÜÙŤ)
(è ĀšĂÜüć÷čõĆÖþŤ 3 - 4 ßĆĚî 4 ēøÜĒøöđàĘîìøćýĎî÷ŤøćßÖćøĒúąÙĂîđüîßĆîđàĘîđêĂøŤ) óĆÖøĆïðøąìćîÖćĒôĒúąĂćĀćøüŠćÜ Ēúą ßöîĉìøøýÖćø óĉíĊöĂïøćÜüĆú ÿøčðÖćøðøąßčöüĉßćÖćøĄ ĒúąóĉíĊðŗé (è ĀšĂÜüć÷čõĆÖþŤ 3 - 4 ßĆĚî 4 ēøÜĒøöđàĘîìøćýĎî÷ŤøćßÖćøĒúąÙĂîđüîßĆîđàĘîđêĂøŤ) øĆïðøąìćîĂćĀćøÖúćÜüĆî (è ēøÜĒøö)
12-14 พฤศจิกายน 2557 ศูนย์ราชการฯ แจ้งวัฒนะ
9
กิจกรรม 12 พฤศจิกายน 2557 10:00-10:45 ลานอเนกประสงค์
ปาฐกถา : การใช้เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศเพือ่ การบริหารจัดการภาครัฐ รศ. ดร.สมเจตน์ ทิณพงษ์ ประธานกรรมการบริหาร สทอภ. ประธานกรรมการ ในคณะนวัตกรรมแห่งชาติ
12 พฤศจิกายน 2557 11:15-12:10 ลานอเนกประสงค์
Google : GIS Portal Mr. Carlos Mann Morales Head of Sales for Google’s Maps, APAC
12 พฤศจิกายน 2557 13:00-14:30 ห้องวายุภก ั ษ์ 3-4 ชัน ้ 4 โรงแรมเซ็นทราศูนย์ราชการ
เสวนา : เทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศของไทยกับการก้าวสู่อาเซี ยน
10
นายชิบ จิตนิยม ผู้ดําเนินรายการ
พลเอก ดร. วิชต ิ สาทรานนท์ กรรมการบริหาร สทอภ.
นายสมชาย เทียมบุญประเสริฐ รองปลัดกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ดร.สมเกียรติ อ่อนวิมล ประธานกรรมการบริหาร บริษัท ไทยวิทัศน์ จํากัด
การประชุมวิชาการ เทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ ประจําปี 2557
13 พฤศจิกายน 2557 09:00-10:30 ห้องวายุภก ั ษ์ 3-4 ชัน ้ 4 โรงแรมเซ็นทราศูนย์ราชการ
เสวนา : การใช้เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศกับการจัดการด้านธรณีวิทยาและแผ่นดินไหว นางสาวจอมขวัญ หลาวเพ็ชร์ ผู้ดําเนินการเสวนา
น.อ.สมศักดิ์ ขาวสุวรรณ์ ผู้อํานวยการศูนย์เตือนภัยพิบัติแห่งชาติ
นายบุรน ิ ทร์ เวชบรรเทิง ผู้อํานวยการสํานักเฝ้าระวังแผ่นดินไหว
ดร.สมบุญ โฆษิตานนท์ ผู้อํานวยการสํานักธรณีวิทยาสิ่งแวดล้อม
นางวิไล นาไพวรรณ์
ผู้ได้รับผลกระทบจังหวัดเชียงราย
14 พฤศจิกายน 2557 09:00-10:30 ห้องวายุภก ั ษ์ 3-4 ชัน ้ 4 โรงแรมเซ็นทราศูนย์ราชการ
เสวนา : เอกชนกับการพัฒนา GIS Application ดร.นรุตม์ สุนทรานนท์ นักวิจย ั สทอภ. ผู้ดําเนินการเสวนา
นายไกลก้อง ไวทยการ Deputy Director, Change Fusion
นายวิทยา อัศวเสถียร CEO, Apppi Co., Ltd.
นายภัทราวุธ ซือ ่ สัตยาศิลป์ CTO, Wongnai
12-14 พฤศจิกายน 2557 ศูนย์ราชการฯ แจ้งวัฒนะ
11
Geo-informatics Media Contest (GMC 2014) การแข่งขันโครงการประกวดสือ่ ภูมิสารสนเทศ ครัง้ ที่ 3 ประจําปี 2557 12 พฤศจิกายน 2557 13:00-16:30 ลานอเนกประสงค์
หลักการและเหตุผล สํานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมส ิ ารสนเทศ (องค์การมหาชน) : สทอภ. ในฐานะหน่วยงานกลางด้านเทคโนโลยี อวกาศและภูมส ิ ารสนเทศได้เล็งเห็นความสําคัญและต้องการส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ผ่านการสร้างสือ ่ ภูมส ิ ารสนเทศ สทอภ. ได้กาํ หนดจัดการแข่งขันโครงการประกวดสือ ่ ภูมส ิ ารสนเทศ ครัง้ ที่ 3 ประจําปี 2557 ระหว่างงาน GEOINFOTECH 2014 ขึน ้ เพือ ่ ให้กลุ่มเยาวชนในระดับมัธยมศึกษาได้เรียนรู้และพัฒนาการจัดทําสือ ่ โดยใช้ข้อมูลภูมส ิ ารสนเทศเพือ ่ ให้ เกิดประโยชน์ในการศึกษา และเผยแพร่สอ ื่ ต้นแบบไปยังกลุ่มเยาวชนต่างๆทัว่ ประเทศ เพือ ่ สร้างความตระหนักและความ เข้าใจถึงประโยชน์ของเทคโนโลยีภม ู ส ิ ารสนเทศซึง่ จะเป็นการเพิม ่ พูนความรู้ สร้างเสริมประสบการณ์และการประยุกต์ใช้ เทคโนโลยีอวกาศและภูมส ิ ารสนเทศ
วัตถุประสงค์ 1. เพือ ่ พัฒนาทักษะความคิดริเริม ่ ในการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีอวกาศและ ภูมส ิ ารสนเทศเพือ ่ การศึกษาอันจะเปน ็ รากฐานทีส ่ าํ คัญยิง่ ต่อการพัฒนา อุตสาหกรรมอวกาศในอนาคต 2. เพือ ่ สนับสนุนและส่งเสริมการพัฒนาการสร้างสือ ่ ภูมส ิ ารสนเทศในระดับ มัธยมศึกษา 3. เพือ ่ สร้างและพัฒนาบุคลากรให้มค ี วามรู้ความสามารถทางด้านการสร้าง สื่อภูมิสารสนเทศให้สามารถเกิดประโยชน์ในการนําไปใช้ในด้านอื่นๆ ต่อไป 4. เพื่อสร้างเวทีการแข่งขันและสร้างความสนใจสําหรับเยาวชนที่มีความ สามารถด้านคอมพิวเตอร์และการสร้างสรรค์สื่อเพื่อการเรียนการสอน ทางด้านภูมศ ิ าสตร์ 5. เพือ ่ ให้ได้สอ ื่ ภูมส ิ ารสนเทศต้นแบบทีห ่ ลากหลายซึง่ สามารถนําไปเผยแพร่ เปน ็ สือ ่ ทีท ่ ก ุ โรงเรียนสามารถดาวน์โหลดนําไปใช้ในห้องเรียนได้
เป้าหมาย 1. สนับสนุนโครงการพัฒนาสื่อภูมิสารสนเทศจากทั่วประเทศ ปีละ 18 โครงการ มีนักเรียนระดับมัธยมศึกษาเข้าร่วมในโครงการรวมทั้งสิ้น ไม่น้อยกว่า 200 คน 2. สร้างเวทีการแข่งขันด้านสื่อภูมิสารสนเทศระดับเยาวชนและระดับชาติ ตลอดจนนําผลงานไปสู่เชิงสังคมต่อไป 3. สนับสนุนและส่งเสริมการพัฒนาการสร้างสือ ่ ภูมส ิ ารสนเทศให้แพร่หลาย อั น จะนํ า ไปสู ่ก ารเข้า ใจถึ ง ประโยชน์ข องเทคโนโลยี อ วกาศและ ภูมส ิ ารสนเทศอย่างแท้จริง
12
การประชุมวิชาการ เทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ ประจําปี 2557
รู ปแบบการแข่งขัน การประกวดสือ ่ ภูมส ิ ารสนเทศแบ่งออกเปน ็ 2 ระดับ ได้แก่ 1. ระดับภูมภ ิ าค การแข่งขันในระดับภูมภ ิ าคนีจ้ ะเปิดโอกาสให้นก ั เรียนระดับมัธยมศึกษาจากทัว่ ประเทศได้สร้างสือ ่ การสอน ทางด้านภูมศ ิ าสตร์ไม่จาํ รูปแบบ ไม่จาํ กัดเนือ ้ หา การคัดเลือกรอบแรก คณะกรรมการในแต่ละศูนย์จะต้องคัดเลือก 3 ทีม จากแต่ละภูมภ ิ าค เพือ ่ เปน ็ ตัวแทน ในการเข้ารับการฝึกอบรมการสร้างสือ ่ ภูมส ิ ารสนเทศ ด้วยโปรแกรม Google Earth และเทคโนโลยี ภูมส ิ ารสนเทศที่ สทอภ. กรุงเทพมหานคร เปน ็ เวลา 1 สัปดาห์ โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย และได้รบ ั เงินสนับสนุน การสร้างสือ ่ ทีมละ 3,000 บาท 2. ระดับประเทศ การคัดเลือกรอบที่ 2 กรรมการคัดเลือก ตัดสิน โดยจะตัดสินเลือกเพียง 10 ทีม ทีจ่ ะได้เข้าสู่รอบการแข่งขัน ระดับประเทศต่อไป การแข่งขันรอบชิงชนะเลิศ ทีมทีผ ่ ่านเข้ารอบจํานวน 10 ทีม จะต้องนําเสนอสือ ่ ภูมส ิ ารสนเทศบนเวที ต่อหน้ากรรมการจาก สทอภ.และศูนย์ภม ู ภ ิ าค ในงาน GEOINFOTECH 2014
รางวัลการแข่งขันรอบชิ งชนะเลิศ
รางวัลชนะเลิศ เงินรางวัล 50,000 บาท พร้อมโล่รางวัลและประกาศนียบัตร รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 เงินรางวัล 30,000 บาท พร้อมโล่รางวัลและประกาศนียบัตร รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 2 เงินรางวัล 20,000 บาท พร้อมโล่รางวัลและประกาศนียบัตร รางวัลสือ ่ ยอดนิยม (Top Vote) เงินรางวัล 10,000 บาท พร้อมโล่รางวัลและประกาศนียบัตร
12-14 พฤศจิกายน 2557 ศูนย์ราชการฯ แจ้งวัฒนะ
13
Geo-informatics Applications Contest (G-CON 2014)
โครงการแข่งขันโปรแกรมประยุ กต์ทางด้านเทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ 13-14 พฤศจิกายน 2557 ลานอเนกประสงค์
ความเป็นมา การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ทางด้านเทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ จะช่วยเพิ่มความสะดวกให้ผู้ใช้งานสามารถเข้าถึง เทคโนโลยีภม ู ส ิ ารสนเทศได้ดย ี งิ่ ขึน ้ และสามารถถ่ายทอดเรือ ่ งราวหรือปรากฏการณ์ต่างๆ บนพืน ้ ผิวโลกผ่านข้อมูลจาก ดาวเทียมหรือเทคโนโลยีการรับรู้จากระยะไกล รวมถึงสามารถระบุตาํ แหน่งเหตุการณ์ต่างๆ บนพืน ้ โลกได้อย่างแม่นยํา ด้วยระบบกําหนดตําแหน่งบนพืน ้ โลก และจัดเก็บเป็นฐานข้อมูล ภายใต้กระบวนการทีช ่ ด ั เจน ตัง้ แต่การนําเข้าข้อมูล เก็บ ข้อมูล จัดการ วิเคราะห์ และแสดงผลข้อมูล ได้ด้วยระบบสารสนเทศภูมศ ิ าสตร์ ทําให้เห็นภาพรวมของสิง่ ทีส ่ นใจ อันจะ นําไปสู่การตัดสินใจและการวางแผนในชีวต ิ ประจําวันได้อย่างรวดเร็ว ถูกต้อง แม่นยํา และมีประสิทธิภาพมากยิง่ ขึน ้ การแข่งขันโปรแกรมประยุกต์ทางด้านเทคโนโลยีภม ู ส ิ ารสนเทศ เปน ็ โครงการทีส ่ อดคล้องกับยุทธศาสตร์ด้านการพัฒนา และส่งเสริมการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดังกล่าวให้สามารถต่อยอดในเชิงพาณิชย์ได้ทันที ทั้งนี้ในการจัดแข่งขันมีจุดมุ่ง หมายเพือ ่ ทีจ่ ะช่วยส่งเสริมและสนับสนุนให้นส ิ ต ิ นักศึกษา นักพัฒนา และประชาชนทัว่ ไป เกิดความตืน ่ ตัวและสร้างสรรค์ ผลงานด้านเทคโนโลยีภม ู ส ิ ารสนเทศเพิม ่ มากขึน ้ อีกทัง้ ยังสนับสนุนให้ผ้ป ู ระกอบการสามารถนําไปพัฒนาต่อยอดและใช้ ในเชิงพาณิชย์ได้ต่อไป
วัตถุประสงค์ 1. เพือ ่ เปน ็ การส่งเสริมให้ นิสต ิ นักศึกษา นักพัฒนา และประชาชนทัว่ ไปเกิดแรงจูงใจในการพัฒนาขีดความสามารถ และการเรียนรู้เทคโนโลยีด้านภูมส ิ ารสนเทศให้เพิม ่ ขึน ้ 2. เพือ ่ พัฒนาศักยภาพการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ทางด้านเทคโนโลยีภม ู ส ิ ารสนเทศให้ทด ั เทียมนานาประเทศ ประกอบ กับเกิดการสร้างสรรค์นวัตกรรมใหม่ และจะเปน ็ ประโยชน์ต่อการพัฒนาประเทศต่อไป
14
การประชุมวิชาการ เทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ ประจําปี 2557
กลุม่ เป้าหมาย
กําหนดการ
นิสต ิ นักศึกษา นักพัฒนา และประชาชนทัว่ ไป
13 พฤศจิกายน 2557 08:00-08:30 ลงทะเบียน รู ปแบบของการแข่งขัน 08:30-08:45 กล่าวเปิด รอบคัดเลือก อธิการสถาบันวิทยาการอวกาศ และภูมิสารสนเทศ เปิด โอกาสให้แ ต่ล ะที ม ออกแบบและเขี ย นโปรแกรม ประยุกต์ (Application) แสดงผลข้อมูลการประยุกต์ใช้ 08:45-09:00 ทีม Intro Team ข้อมูลทางด้านเทคโนโลยีภม ู ส ิ ารสนเทศ บนระบบปฏิบต ั ก ิ าร ผลงาน Staff Parking 09:00-09:15 ทีม CITU Emergency eService ของโทรศัพท์มอ ื ถือ (Smart Phone Application) อาทิ ผลงาน Emergency eService Android, iOS, Windows Phone โดยเนือ ้ หาเกีย ่ วข้อง ทีม Is Coming กับการประยุกต์ทางด้านเทคโนโลยีภม ู ส ิ ารสนเทศ เพือ ่ ส่ง 09:15-09:30 ผลงาน Is Coming เข้าร่วมคัดเลือก พิจารณาให้คะแนนตามเกณฑ์การตัดสิน โดยคณะกรรมการจาก สทอภ: ผู้ทผ ี่ ่านเข้ารอบจะได้เข้า 09:30-09:45 ทีม 3 D ร่วมกิ จกรรม work shop จากผู้ทรงคุณวุฒิทางด้าน ผลงาน “Drunk Don’t โปรแกรมประยุกต์ (Application) ก่อนการแข่งขันในรอบ Drive” 3 D’s Project ชิงชนะเลิศ 09:45-10:00 ทีม T5 Generate ผลงาน PIGEON รอบชิงชนะเลิศ ทีม EUMI จัดแข่งขันในงาน GEOINFOTECH 2014 โดยจะเป็นการ 10:00-10:15 นําเสนอ Application ทีพ ่ ร้อมใช้งานได้จริง บนอุปกรณ์ Smart Device ต่อหน้าคณะกรรมการ
รางวัลการแข่งขัน รางวัลชนะเลิศ เงินรางวัล 100,000 บาท พร้อมโล่รางวัลและประกาศนียบัตร รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 เงินรางวัล 30,000 บาท พร้อมโล่รางวัลและประกาศนียบัตร รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 2 เงินรางวัล 20,000 บาท พร้อมโล่รางวัลและประกาศนียบัตร รางวัลชมเชย 2 รางวัล รางวัลละ 10,000 บาท พร้อมโล่รางวัลและประกาศนียบัตร
10:15-10:30 10:30-10:45
10:45-11:00
11:00-11:15 11:15-11:30
ผลงาน Application : S:O:S Thailand (S:O:S: for TH) รับประทานอาหารว่าง ทีม SchwarzArthur ผลงาน การพัฒนา Mobile Application แสดงแนวเขต พื้นที่และฐานข้อมูลป่าสงวนแห่งชาติ บนระบบปฏิบัติการ iOS ทีม CITU GIS BLOOD ผลงาน โครงการพัฒนา แอพพลิเคชั่นการบริจาคเลือด (GIS BLOOD) ทีม CITU-Emergency ผลงาน Emergency Help ทีม Bangkok Museum ผลงาน Bangkok Museum Guide On Android
12-14 พฤศจิกายน 2557 ศูนย์ราชการฯ แจ้งวัฒนะ
15
11:30-11:45
ทีม Mecha Tamago (เมคา ทามาโกะ) ผลงาน Rapid Hospital Link App 11:45-12:00 ทีม ลูกอินทร์ (Look-in) ผลงาน GIS Radio Thailand (GISRA) 12:00 – 13:00 พักรับประทานอาหารกลางวัน 13:00 – 13:15 ทีม 9TEC ผลงาน Mentor Teacher 13:15-13:30 ทีม เทคโนโลยีสารสนเทศ การเกษตร ม.ราชภัฎมหาสารคาม ผลงาน แอพพลิเคชั่นสนับสนุน การจัดเก็บข้อมูลเชิงพื้นที่ ทางการเกษตร บนระบบปฏิบัติการ แอนดรอยด์ 13:30-13:45 ทีม แอปไกด์ ผลงาน Aeap Guide 13:45-14:00 ทีม BitError ผลงาน แอพพลิเคชั่นเครือข่าย ความช่วยเหลือ AppFaknoi 14:00-14:15 ทีม Uniquer ผลงาน Flowpoint 14:15-14:30 ทีม วัยละอ่อน ผลงาน แอพพลิเคชั่นสําหรับ แจ้งและแสดงช่วงเวลาที่ เหมาะสมเพื่อการซื้อ-ขาย ผลิตผลทางการเกษตร ของเกษตรกร (แอพพร้อมขาย Promkhai) 14:30-14:45 ทีม Lokiju ผลงาน Land-Sell / Event–Map / Backpack route guider 14:45-15:00 รับประทานอาหารว่าง 15:00-15:15 ทีม InKrear ผลงาน BikeRoutes 15:15-15:30 ทีม Dev-ver ผลงาน WeatherTalk
16
15:30-15:45 15:45-16:00
ทีม The X Project ผลงาน SafeMe ทีม CETSITE ผลงาน ระบบบันทึกข้อมูลโลมา และวาฬบริเวณแหล่งท่องเที่ยว ชายฝั่งอ่าวไทย
วันศุกร์ที่ 14 พฤศจิกายน 2557 08:30-08:45 ทีม ปลาอานนท์แอพพลิเคชั่น ผลงาน ปลาอานนท์แอพพลิเคชั่น 08:45-09:00 ทีม ไปไหนดี ผลงาน Pai Nai Dee 09:00-09:15 ทีม Mosquito Zero ผลงาน Mosquito Zero 09:15-09:30 ทีม CIS Lampang ผลงาน แอพพลิเคชั่นแผนที่ ท่องเที่ยวภาคเหนือตอนบน 09:30-09:45 ทีม กะ GIS ริด ผลงาน GISaster 09:45-10:00 ทีม AgriSK ผลงาน การประยุกต์ใช้ แอพพลิเคชั่นเพื่อการสํารวจ พื้นที่ทางการเกษตร กรณีศึกษา อ:ศรีเมืองใหม่ จ: อุบลราชธานี 10:00-10:45 รับประทานอาหารว่าง 10:45-12:00 พิธีมอบรางวัล สรุปการประชุมวิชาการ
และพิธีปิด 12:00 – 13:00 พักรับประทานอาหารกลางวัน
การประชุมวิชาการ เทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ ประจําปี 2557
การนําเสนอบทความ เกณฑ์การตัดสิน
การลงทะเบียน 1. ผู้นําเสนอบทความ ลงทะเบียน 2. ส่งไฟล์ Presentation เช่น Microsoft Power Point หรือไฟล์ Presentation อื่นๆ บริเวณจุดรับ ลงทะเบียนบทความ (บริเวณห้องวายุภก ั ษ์ 3-4 ชัน ้ 4 โรงแรมเซ็นทราศูนย์ราชการ) ก่อน Session ที่ท่าน นําเสนอ 1 ชั่วโมง มีรายละเอียด ดังต่อไปนี้ • Session A-D 12 พฤศจิกายน 2557 13:00-16:00 • Session B-D 13 พฤศจิกายน 2557 09:00-15:00
• • • • •
คุณภาพ/เนื้อหาบทความ 40 การนําเสนอบทความ 35 ถาม-ตอบ 15 เวลาในการนําเสนอ 10 รวม 100
คะแนน คะแนน คะแนน คะแนน คะแนน
รางวัลผู ้นําเสนอบทความดีเด่น (อายุ ไม่เกิน 35 ปี ) การประชุมวิชาการครั้งนี้จัดให้มีการพิจารณารางวัลนํา เสนอผลงานวิจัยดีเด่นจํานวน 5 รางวัล ทั้ง 5 รางวัล
3. ผู้นําเสนอบทความ มาแสดงตัวกับเลขานุการประจํา จะได้รับโล่รางวัล ใบประกาศเกียรติคุณและของที่ระลึก Session ณ ห้องนําเสนอบทความ ก่อนเริม ่ Session การตัดสินของคณะกรรมการตัดสินผลรางวัลผู้นํา เสนอบทความดีเด่นถือเป็นสิ้นสุด ไม่น้อยกว่า 15 นาที
กติกาการนําเสนอ • นําเสนอบทความ บทความละ 20 นาที แบ่งเป็น - นําเสนอ 15 นาที
ติดต่อฝ่ ายวิชาการ กาญจน์ กมลบริสุทธิ์ / ชลธิชา จิตรไพบูลย์ โทร. 08 4751 8253 / 02 561 4504 ต่อ 431 อีเมล paper@gistda.or.th
- ถาม-ตอบ 5 นาที • สัญญาณกริง่ - ครัง้ ที่ 1 เมือ ่ เวลานําเสนอผ่านไป 12 นาที - ครั้งที่ 2 หมดเวลานําเสนอ (15 นาที)
กําหนดการนําเสนอบทความ session
|
t|¡
A1
12 ¥Â{ Å ¤ 2557
14:45-16:30
A2
12 ¥Â{ Å ¤ 2557
14:45-16:30
A3
12 ¥Â{ Å ¤ 2557
14:45-16:30
Geo-Informatics for Natural Resources and Management
B1
13 ¥Â{ Å ¤ 2557
10:45-12:00
GNSS and Location Based Service
B2
13 ¥Â{ Å ¤ 2557
10:45-12:00
Geo-Informatics for Natural Resources and Management
C1
Geo-Informatics for Envionment
C2
13 ¥Â{ Å ¤ 2557 13 ¥Â{ Å ¤ 2557
13:00-14:30 13:00-14:30
Geo-Informatics for Natural Resources and Management
D1
13 ¥Â{ Å ¤ 2557
14:45-16:30
Innovative Applications
D2
13 ¥Â{ Å ¤ 2557
14:45-16:30
tÇ w| Geo-Informatics for Disaster and Risk Management Innovative Applications/New Generation Sensors and Applications (Hyperspectral Sensing, UAV, LiDAR) Data Processing (DEM, 3D Generation, Change Detection, Automatic Feature
12-14 พฤศจิกายน 2557 ศูนย์ราชการฯ แจ้งวัฒนะ
17
A1
12 พฤศจิกายน 2557 14:45-16:30 ห้องวายุภักษ์ 3-4
A2
12 พฤศจิกายน 2557 14:45-16:30 ห้อง BB-405
ประธานการนําเสนอ : รศ. ดร.สุระ พัฒนเกียรติ เลขานุการ : นายยุทธภูมิ โพธิราชา
ประธานการนําเสนอ : ผศ. ดร.สัญญา สราภิรมย์ เลขานุการ : ดร.ภาณุ เศรษฐเสถียร
GEO-INFORMATICS FOR DISASTER AND RISK MANAGEMENT
INNOVATIVE APPLICATIONS
A1-1
การศึกษาความสัมพันธ์ของปัจจัยทีส ่ ่งผลต่อการเกิดภัย ดินถล่มเพือ ่ จัดทําแผนทีพ ่ น ื้ ทีเ่ สีย ่ งภัยดินถล่ม
การประยุกต์ใช้เทคนิคการวิเคราะห์ข้อมูลภาพถ่ายทางอากาศ รายละเอียดสูงเพือ ่ การศึกษาความมัน ่ คงการใช้ทด ี่ น ิ จาก ผลิตภัณฑ์ของป่าทีไ่ ม่ใช่เนือ ้ ไม้
STUDY OF LANDSLIDE AND SPATIAL FACTORS
APPLICATION OF GEOINFORMSTICS TECHNIQUES FOR
RELATIONSHIP FOR LANDSLIDE RISK MAPPING
EVALUATION THE STABILITY OF LAND USE FROM NON-
คมสัน คีรีวงศ์วัฒนา
TIMBER FOREST PRODUCTS (NTFP)
A2-1
D E L CE
CAN
อรพรรณ เพ็ชรใหม่ A1-2 (PEER REVIEW)
การประเมินผลกระทบในพืน ้ ทีเ่ สีย ่ งต่อการเกิดภัยพิบต ั ิ ทางธรรมชาติล่ม ุ นํา้ แควใหญ่ตอนล่าง จังหวัดกาญจนบุรี ประเทศไทย IMPACTS ASSESSMENT ON NATURAL DISASTER RISK AREA IN LOWER KWAI YAI WATERSHED, KANCHANABURI, THAILAND
A2-2
การประยุกต์เทคนิคทางด้านภูมส ิ ารสนเทศประเมินศักยภาพ เชิงพืน ้ ทีข่ องหน่วยทีด ่ น ิ ในชุมชนเกษตรและชุมชนเมือง
D E L CE
CAN
APPLICATION OF GIS TECHNIQUES TO EVALUATE THE POTENTIAL OF LAND UNIT IN THE AGRICULTURAL COMMUNITY AND CITY
วิวัตน์ สุขกาย
ทิพวัลย์ ชุ่มชื่น
A1-3
A2-3
การบริหารจัดการภัยธรรมชาติประเภทวาตภัยเขตร้อนใน ประเทศไทย
การใช้ข้อมูลเชิงพืน ้ ทีแ ่ ละแบบจําลองพลวัตสําหรับระบบ สนับสนุนการตัดสินใจในงานบินถ่ายภาพทางอากาศ
TROPICAL STORM DISASTER MANAGEMENT IN
AN APPROACH OF SPATIAL DATA AND SYSTEM DYNAMICS
THAILAND
MODEL FOR AERIAL PHOTOGRAPHY DECISION SUPPORT
อาทิตย์ บูรณสิงห์ A1-4
การประเมินจุดอ่อนของการเชื่อมต่อโครงข่ายเส้นทาง THE ASSESSMENT OF ROAD NETWORK CONNECTIVITY
กิตติ เชี่ยวชาญ
SYSTEM
วราการ สุปินะเจริญ NEW GENERATION SENSORS AND APPLICATIONS (HYPERSPECTRAL SENSING, UAV, LIDAR) A2-4
ผลการดําเนินกระบวนการสอบเทียบดาวเทียมไทยโชตในระยะ 6 ปีแรก CALIBRATIONAND VALIDATION ON THAICHOTEIMAGE: 20082014
ธีรยุทธ สว่างศรี
18
การประชุมวิชาการ เทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ ประจําปี 2557
A3
12 พฤศจิกายน 2557 14:45-16:30 ห้อง BB-406
B1
13 พฤศจิกายน 2557 10:45-12:00 ห้องวายุภักษ์ 3-4
ประธานการนําเสนอ : รศ. ดร.สุวิทย์ อ๋องสมหวัง เลขานุการ : ดร.ทิพวรรณ วันวิเวก
ประธานการนําเสนอ : รศ. ดร.ชาลี นาวานุเคราะห์ เลขานุการ : ดร.สยาม ลววิโรจน์วงศ์
DATA PROCESSING (DEM, 3D GENERATION, CHANGE DETECTION, AUTOMATIC FEATURE)
GEO-INFORMATICS FOR NATURAL RESOURCES AND MANAGEMENT
A3-1
B1-1 (PEER REVIEW)
การเปรียบเทียบขอบเขตลุ่มนํา้ ทีส ่ ร้างจากชุดข้อมูล ความสูง SRTM และ ASTER-GDEM กับขอบเขต ลุ่มนํา้ ของกรมทรัพยากรนํา้ ประเทศไทย
การประยุกต์ภม ู ส ิ ารสนเทศเพือ ่ คาดการณ์แหล่งนํา้ สําหรับ การสืบพันธุ์ของกบในเขตรักษาพันธุ์สต ั ว์ป่าภูหลวง จ.เลย
COMPARISON OF WATERSHED BOUNDARIES DERIVED FROM SRTM AND ASTER-GDEM DIGITAL ELEVATION DATASETS WITH WATERSHED BOUNDARIES OF
APPLICATION OF GEO-INFORMATICS TO PREDICT POTENTIAL BREEDING PONDS FOR AMPHIBIANS IN PHULUANG WILDLIFE SANCTUARY, LOIE PROVINCE
อิงอร ไชยเยศ
DEPARTMENT OF WATER RESOURCE, THAILAND
คมสัน คีรีวงศ์วัฒนา A3-2 (PEER REVIEW)
การกําหนดค่าเริม ่ ต้นของเทคนิคการจัดกลุ่มข้อมูลแบบ เคมีในการจําแนกข้อมูลภาพถ่ายหลายช่วงคลืน ่
B1-2 (PEER REVIEW)
การประมาณค่ามวลชีวภาพเหนือพืน ้ ดินของป่าชายเลน โดยใช้การสํารวจระยะไกล กรณีศก ึ ษา อ่าวป่าคลอก จังหวัดภูเก็ต ESTIMATION OF TROPICAL MANGROVE ABOVE GROUND
INITIALIZATION FOR K-MEANS CLUSTERING FOR
BIOMASS USING REMOTE SENSING: A CASE STUDY OF
MULTISPECTRAL IMAGE CLASSIFICATION
PAKLOK BAY, PHUKET PROVINCE
นารีนาถ รักสุนทร
สุรเชษฐ์ ปิ่นแก้ว
A3-3 (PEER REVIEW)
B1-3 (PEER REVIEW)
การเพิม ่ ประสิทธิภาพของวิธก ี ารวิเคราะห์รงั สีผสม เชิงเส้นในการจําแนกข้อมูลภาพถ่ายหลายช่วงคลืน ่
การประยุกต์การสํารวจระยะไกลเพือ ่ หาค่าการสะท้อน พลังงานเชิงคลืน ่ และมวลชีวภาพของธูปฤาษี
IMPROVEMENT OF LINEAR SPECTRAL MIXTURE
REMOTE SENSING APPLICATION FOR DETERMINATION
ANALYSIS FOR MULTISPECTRAL IMAGE CLASSIFICATION
OF SPECTRAL CHARACTERISTIC AND BIOMASS OF
นารีนาถ รักสุนทร
TYPHAANGUTIFOLIA LINN.
พัณณิตา แก่นจันทร์ A3-4
การเปรียบเทียบการเปลีย ่ นแปลงค่าพารามิเตอร์ของ กระบวนการแยกส่วนภาพด้วยวิธก ี ารจําแนกข้อมูลเชิงวัตถุ COMPARISON OF PARAMETER CHANGES IN IMAGE SEGMENTATION PROCESS OF OBJECT-BASED IMAGE CLASSIFICATION METHODS
สรรทราย สุทธินนท์
B1-4
การใช้ข้อมูลภาพจากดาวเทียมเพือ ่ ศึกษาสภาพ ธรณีวท ิ ยายุคปัจจุบน ั เพือ ่ ความเข้าใจและแก้ไขปัญหาสิง่ แวดล้อมในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย USE OF SATELLITE DATA FOR STUDYING PRESENT GEOLOGICAL PERIOD TO HELP IN UNDERSTANDING AND SOLVING ENVIRONMENTAL PROBLEMS OF THE
A3-5 (PEER REVIEW)
การสร้างแบบจําลอง 3 มิตจิ ากภาพหลายภาพสําหรับ มรดกทางวัฒนธรรม
NORTH EASTERN THAILAND
สุพรรณ สายแก้วลาด
3D MODEL RECONSTRUCTION FROM MULTIPLE IMAGES FOR CULTURAL HERITAGE
นรุตม์ สุนทรานนท์
12-14 พฤศจิกายน 2557 ศูนย์ราชการฯ แจ้งวัฒนะ
19
B2
13 พฤศจิกายน 2557 10:45-12:00 ห้อง BB-405
C1
13 พฤศจิกายน 2557 13:00-14:30 ห้องวายุภักษ์ 3-4
ประธานการนําเสนอ : ศ. ดร.เฉลิมชนม์ สถิระพจน์ เลขานุการ : ดร.กุลสวัสดิ์ จิตขจรวานิช
ประธานการนําเสนอ : รศ. ดร.สมพร สง่าวงศ์ เลขานุการ : ดร.ฐนิตา เสือป่า
GNSS AND LOCATION BASED SERVICE
GEO-INFORMATICS FOR NATURAL RESOURCES AND MANAGEMENT
B2-1
การวิเคราะห์ค่าปริมาณอิเล็กตรอนสุทธิจากสัญญาณ จีพเี อสทีส ่ ถานีกรุงเทพมหานคร TOTAL ELECTRON CONTENT (TEC) ANALYSIS FROM THE GPS SIGNALS AT BANGKOK STATION
อธิวัฒน์ เฉียบแหลม B2-2
ผลกระทบของความผิดปกติในชัน ้ บรรยากาศไอโอ โนสเฟียร์ต่อความแม่นยําในการระบุตาํ แหน่งจีพเี อส THE EFFECTS OF IONOSPHERIC DISTURBANCE ON GPS LOCATION ACCURACY
สุทัศน์ จงสินทวี
C1-1 (PEER REVIEW)
การประเมินความผันแปรระยะพัฒนาการของข้าว จากภาพถ่ายในระบบ Field server RICE PHONOLOGICAL DEVELOPMENT STAGES ESTIMATION FROM FIELD SERVER IMAGES
พันวดี ตั้งพัฒนากูล C1-2 (PEER REVIEW)
การวิเคราะห์อณ ุ หภูมผ ิ วิ ทะเลระยะยาวทีเ่ กาะราชาใหญ่ จากข้อมูลรีโมทเซนซิงและเครือข่ายเซนเซอร์ปะการัง LONG TERM SEA SURFACE TEMPERATURE ANALYSIS AT KOH RACHA YAI FROM REMOTE SENSING DATA AND CORAL SENSOR NETWORK
B2-3
พีรวิชญ์ เควด
Monitoring of the Sagaing fault in Myanmar using GPS observations Pyae Sone Aung
C1-3
B2-4
วิเคราะห์และเปรียบเทียบมาตรฐานการระบุตาํ แหน่งด้วย การอ้างอิงทีต ่ งั้ ANALYSIS AND COMPARISON OF LOCATION REFERENCING STANDARDS
การวิเคราะห์หาพืน ้ ทีศ ่ ก ั ยภาพสําหรับติดตัง้ พลังงานแสง อาทิตย์ ในจังหวัดเลยด้วยระบบภูมส ิ ารสนเทศ POTENTIAL AREA FOR SOLAR INSTALLATIONS IN LOEI PROVINCE USING GEO-INFORMATICS
ปฏิวัติ ฤทธิเดช C1-4
มนต์ศักดิ์ โซ่เจริญธรรม
การคัดเลือกพืชสําหรับการปลูกพืชแบบวนเกษตรในพืน ้ ที่ ต้นแบบจังหวัดแพร่ด้วยเทคโนโลยีภม ู ส ิ ารสนเทศ
B2-5
PLANT SELECTION FOR AGRO-FORESTRY SYSTEM
การรังวัดตรวจสอบการเคลือ ่ นตัวของแผ่นดินบริเวณรอย เลือ ่ นพะเยากรณีแผ่นดินไหวอําเภอพาน จังหวัดเชียงราย THE OBSERVATION EXAMINED THE LAND MOVEMENT IN VICINITY OF PHAYAO FAULT LINE, THE EARTHQUAKE IN PHAN DISTRICT, CHIANG RAI PROVINCE.
สรวิศ สุภเวชย์
20
IN PILOT AREA OF PHARE PROVINCE USING GEOINFORMATICS
พัชร ประเสริฐกุล
การประชุมวิชาการ เทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ ประจําปี 2557
C2
13 พฤศจิกายน 2557 13:00-14:30 ห้อง BB-405
D1
13 พฤศจิกายน 2557 14:40-16:30 ห้องวายุภักษ์ 3-4
ประธานการนําเสนอ : ผศ. ดร.รัศมี สุวรรณวีระกําธร เลขานุการ : นางสาวสุรัสวดี ภูมิพานิช
ประธานการนําเสนอ : ผศ. ดร.พรรณี ชีวน ิ ศิรว ิ ฒ ั น์ เลขานุการ : ดร.นรุตม์ สุนทรานนท์
GEO-INFORMATICS FOR ENVIONMENT
GEO-INFORMATICS FOR NATURAL RESOURCES AND MANAGEMENT
C2-1 (PEER REVIEW)
การสอบเทียบข้อมูลอุณหภูมผ ิ วิ นํา้ ทะเลจากดาวเทียม และเครือข่ายเซนเซอร์ปะการังในภาคสนาม ณ เกาะราชาใหญ่ VALIDATION OF SEA SURFACE TEMPERATUREDATA FROM REMOTE SENSING AND FIELD CORAL SENSOR NETWORK AT KOH RACHA YAI
ศิริลักษณ์ ชุมเขียว C2-2
การศึกษาการขยายตัวของชุมชนเมืองสิง่ ปลูกสร้างพืน ้ ที่ จังหวัดเชียงราย โดยแบบจําลองห่วงโซ่มาร์คอฟ THE STUDY OF BUILDUP AREAIN CHIANG RAI
D1-1
แบบจําลองภูมป ิ ระเทศกูเกิล ้ เอริธ์ เพือ ่ ชุมชน THE GOOGLE EARTH TOPOGRAPHIC FOR COMMUNITIES
ศราวุธ พงษ์ลี้รัตน์ D1-2
การประยุกต์ภาพถ่ายดาวเทียม Landsat 8 OLI เพือ ่ สร้างแผนทีก ่ ารกักเก็บคาร์บอนในสวนป่าของ ภาคตะวันออก ประเทศไทย CARBON STOCK MAPPINGOF PLANTATIONS USING LANDSAT 8 OLI DATA IN EASTERN THAILAND
กฤษนัยน์ เจริญจิตร
PROVINCE, THAILAND USING MARKOV CHAIN MODELS.
ชาคริส พิทักษ์รัตนสกุล
D1-3
C2-3
การวิเคราะห์หาพืน ้ ทีท ่ ม ี่ ศ ี ก ั ยภาพสําหรับติดตัง้ พลังงาน แสงอาทิตย์ในจังหวัดเลยโดยการใช้ระบบภูมส ิ ารสนเทศ
การประยุกต์ใช้โครงข่ายประสาทเทียมและระบบภูมสิ ารสนเทศ เพือ ่ พยากรณ์แนวโน้นการเปลีย ่ นแปลงของอุณหภูมิ บริเวณภาคตะวันออกเฉียงเหนือ APPLICATION OF ARTIFICIAL NEURAL NETWORK AND GEOGRAPHIC INFORMATION SYSTEM FOR PREDICTING TEMPERATURE TREND IN NORTHEASTERN THAILAND
ศรัณย์ อภิชนตระกูล C2-4
ประเมินความเหมาะสมด้านค่าใช้จ่ายการขนส่งอ้อยและ ทีต ่ งั้ โรงงานนํา้ ตาลในจังหวัดมุกดาหาร กรณีศก ึ ษา จังหวัดมุกดาหาร
POTENTIAL SITE FOR SOLAR INSTALLATIONS IN LOEI PROVINCE USING GEO-INFORMATICS
อัจฉรา จันทร์แย้ D1-4
การวิเคราะห์หาทีต ่ งั้ ฝายต้นนํา้ ทีเ่ หมาะสมด้วยระบบ ภูมส ิ ารสนเทศ ANALYSIS FOR SELECTING SUITABLE LOCATION OF CHECKDAMS USING GIS
กรุณา พิมพ์ประสานต์
A COST ASSESSMENT OF SUGARCANE TRANSPORTATION USING SPATIAL GRAVITY MODEL AND LINEAR PROGRAMMING
กิ่งแก้ว แก้วบุรี C2-5
ความท้าทายในการพัฒนาโครงข่ายสีเขียวในเมืองเชียงใหม่ THE CHALLENGE FOR INCREASING GREEN SPACE NETWORKS IN CHIANG MAI CITY
ดารณี ด่านวันดี
12-14 พฤศจิกายน 2557 ศูนย์ราชการฯ แจ้งวัฒนะ
21
D2
13 พฤศจิกายน 2557 14:40-16:30 ห้อง BB-405
ประธานการนําเสนอ : ดร.สุรชัย รัตนเสริมพงศ์ เลขานุการ : ดร.พันธ์วดี ตั้งพัฒนากุล INNOVATIVE APPLICATIONS D2-1 (PEER REVIEW)
แสงไฟยามคํา่ คืนกับความเท่าเทียมกันเชิงพืน ้ ทีข ่ อง การเติบโตทางเศรษฐกิจของไทย NIGHTLIGHTS, ECONOMIC GROWTH, AND SPATIAL INEQUALITY OF THAILAND
ธานี ชัยวัฒน์ D2-2 (PEER REVIEW)
การสอบเทียบกล้องแบบทัว่ ไปโดยใช้ค่าความผิดพลาด ในปริภม ู ข ิ องวัตถุ A GENERIC CAMERA CALIBRATION METHOD USING OBJECT SPACE ERROR
ภานุ เศรษฐเสถียร D2-3 (PEER REVIEW)
การศึกษาการปรับแก้ข้อมูลความสูงไลดาร์บน WGS84 ลงสู่ระดับนํา้ ทะเลปานกลาง A STUDY OF THE ACCURACY IMPROVEMENT OF ELEVATION DATA ON MEAN SEA LEVEL FROM WGS84 DATUM
วรพจน์ มาศิริ D2-4
การประมาณค่าความหนาแน่นของประชากรด้วยวิธก ี าร วิเคราะห์ความเปน ็ สมาชิกคลุมเครือ กรณีศก ึ ษา: ตําบลตลาด อําเภอเมือง จังหวัดมหาสารคาม POPULATION DENSITY ESTIMATION USING FUZZY SET MEMBERSHIP A CASE STUDY: OF TAMBONTALAT, MUANG DISTRICT, MAHASARAKHAM PROVINCE
สุชาดา เวียงสิมา
22
การประชุมวิชาการ เทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ ประจําปี 2557
A1-1
การศึกษาความสัมพันธ์ของปั จจัยทีส่ ่งผลต่อการเกิดภัย ่ นื ้ ทีเ่ สีย่ งภัยดินถล่ม ดินถล่มเพือ่ จัดทําแผนทีพ STUDY OF LANDSLIDE AND SPATIAL FACTORS RELATIONSHIP FOR LANDSLIDE RISK MAPPING
วรเมธ เมธารัตนารักษ์1 คมสัน คีรีวงศ์วัฒนา2 1
ภาควิชาภูมิศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร นครปฐม 2
หน่วยวิจัยเชิงพื้นที่ ภาควิชาภูมิศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัย ศิลปากร นครปฐม
บทคัดย่อ ดินถล่มหรือโคลนถล่มเกิดจากการเคลือ ่ นทีข่ องดินจากทีส ่ งู ลงสู่ทต ี่ าํ่ เปน ็ ผลจากปัจจัย เช่น ปริมาณนํา้ ฝน การใช้ประโยชน์ ทีด ่ น ิ ความลาดชันของพืน ้ ที่ และลักษณะทางธรณี เปน ็ ต้น การเกิดดินถล่มไม่สามารถทํานายช่วงระยะเวลาของการเกิด ได้ แต่สามารถคาดการณ์โอกาสเกิดดินถล่มได้ การศึกษาความสัมพันธ์ของปัจจัยต่างๆที่ส่งผลให้เกิดดินถล่มและพื้นที่ ที่เกิดดินถล่มนั้น เพื่อประเมินความเป็นไปได้ที่มีโอกาสเกิดดินถล่มให้ถูกต้องที่สุด โดยแต่ละปัจจัยจะส่งผลต่อการเกิด ดินถล่มไม่เท่ากัน ดังนั้นการคํานวณหาความสําคัญของแต่ละปัจจัยจึงมีความสําคัญอย่างยิ่งในการจัดทําพื้นที่เสี่ยงภัย ดินถล่มเพื่อใช้ในการวางแผนป้องกันต่อไป การศึกษาครั้งนี้ใช้ข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียม Landsat 5 และ7 ครอบคลุมจังหวัดนครศรีธรรมราช และข้อมูลตําแหน่ง หมู่บ้านที่เกิดภัยดินถล่มในจังหวัดนครศรีธรรมราช ในการหาพื้นที่เกิดภัยดินถล่ม และใช้ข้อมูลความลาดชัน ข้อมูลชุด หินจากกรมทรัพยากรธรณี ข้อมูลชุดดินและข้อมูลการใช้ประโยชน์ทด ี่ น ิ และสิง่ ปกคลุมดินจากกรมพัฒนาทีด ่ น ิ และข้อมูล ปริมาณนํ้าฝนรายวัน ระหว่างวันที่ 24-31 มีนาคม ปี 2554 จากกรมอุตุนิยมวิทยา เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ของปัจจัย เชิงพื้นที่ด้วยการวิเคราะห์การถดถอย และนําไปคํานวณหาค่าถ่วงนํ้าหนักด้วยวิธี Analytical Hierarchy Process (AHP) เพื่อจัดทําแผนที่พื้นที่เสี่ยงภัยดินถล่ม ผลการศึกษาความสัมพันธ์ของปัจจัยที่ทําให้เกิดดินถล่มกับพื้นที่ที่เกิดดินถล่มพบว่า ปัจจัยที่ส่งผลต่อการเกิดดินถล่ม มากที่สุดคือ ข้อมูลนํ้าฝนเฉลี่ยรายวัน ข้อมูลชุดหิน และข้อมูลความลาดชัน ข้อมูลการใช้ประโยชน์ที่ดิน ตามลําดับ ผลการคํานวณค่านํา้ หนักด้วยวิธี AHP ข้อมูลนํา้ ฝนเฉลีย ่ รายวันมีค่านํา้ หนัก 0.59 ข้อมูลชุดหินมีค่านํา้ หนัก 0.26 ข้อมูล ความลาดชันมีค่านํ้าหนัก 0.11 ข้อมูลการใช้ประโยชน์ที่ดินมีค่านํ้าหนัก 0.05 ผลการจัดทําแผนที่พื้นที่เสี่ยงภัยดินถล่ม พบว่า มีพื้นที่เสี่ยงภัยปานกลาง 1,383.16 ตร.กม. พื้นที่เสี่ยงภัยรุนแรง 549.20 ตร.กม. และพื้นที่เสี่ยงภัยรุนแรงมาก 219.78 ตร.กม. คําสําคัญ : ดินถล่ม แผนที่เสี่ยงภัย AHP
12-14 พฤศจิกายน 2557 ศูนย์ราชการฯ แจ้งวัฒนะ
23
A1-2 (PEER REVIEW)
การประเมินผลกระทบในพืน้ ทีเ่ สีย่ งต่อการเกิดภัยพิบัติ ทางธรรมชาติ ลุ่มนํา้ แควใหญ่ตอนล่าง จังหวัดกาญจนบุ รี ประเทศไทย
วิวัฒน์ สุขกาย สุระ พัฒนเกียรติ
IMPACTS ASSESSMENT ON NATURAL DISASTER RISK AREA IN LOWER KWAI YAI WATERSHED, KANCHANABURI, THAILAND
sukhkai.bb@gmail.com sura.pat@mahidol.ac.th
ศูนย์วิจัยและฝึกอบรมถูมิสารสนเทศ สิ่งแวดล้อมและทรัพยากร คณะสิ่งแวดล้อม และทรัพยากรศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
บทคัดย่อ ปัจจุบันมีเหตุการณ์ภัยพิบัติทางธรรมชาติเกิดขึ้นบ่อยครั้งและสร้างความเสียหายต่อชีวิตและทรัพย์สินเป็นจํานวนมาก กิจกรรมของมนุษย์หรือรูปแบบการใช้ที่ดินมีส่วนสําคัญที่เป็นตัวเร่งให้ความรุนแรงของภัยพิบัติทางธรรมชาติมีมากขึ้น การประเมินผลกระทบในพื้นที่เสี่ยงต่อการเกิดภัยพิบัติทางธรรมชาติ เพื่อให้ทราบถึงระดับความเสี่ยงต่อการเกิดภัย พิบัติและผลกระทบ จะสามารถใช้เป็นข้อมูลสนับสนุนในการบริหารจัดการพื้นที่ให้เกิดความเหมาะสมได้ การศึกษานี้ เปน ็ การจําแนกระดับพืน ้ ทีเ่ สีย ่ งต่อการเกิดดินถล่ม (Landslide) นํา้ ท่วม (Flood) และภัยแล้ง (Drought) ระดับความ รุนแรงของการชะล้างพังทลายของดิน (Soil Erosion) และพืน ้ ทีเ่ สีย ่ งต่อการเกิดภัยพิบต ั ซ ิ าํ้ ซ้อนในพืน ้ ทีล ่ ่ม ุ นํา้ แควใหญ่ ตอนล่าง จังหวัดกาญจนบุรี โดยการประยุกต์ใช้การสํารวจระยะไกล (RS) เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ (GIS) ร่วมกับ สมการการสูญเสียดินสากล (USLE) และหลักการวิเคราะห์ศก ั ยภาพของพืน ้ ที่ (Potential Surface Analysis: PSA) โดยการกําหนดปัจจัยต่างๆ ที่เกี่ยวข้องต่อการเกิดภัยพิบัติแต่ละประเภทมาทําการวิเคราะห์ ผลการศึกษาพบว่าพื้นที่ศึกษามีการใช้ที่ดินแบ่งเป็น 11 ประเภท ได้แก่ นาข้าว พืชไร่ ไม้ยืนต้น ป่าไม่ผลัดใบ ป่าผลัด ใบ ทุ่งหญ้าและไม้ละเมาะ พื้นที่ลุ่ม เหมืองแร่และบ่อขุด แหล่งนํ้าธรรมชาติ แหล่งนํ้าที่สร้างขึ้น ชุมชนและสิ่งปลูก สร้าง โดยส่วนใหญ่เป็นพื้นที่ป่าไม่ผลัดใบ 2,354.43 ตร.กม. คิดเป็น 68.9 % ของพื้นที่ศึกษา มีพื้นที่เกิดการชะล้าง พังทลายของดินในระดับรุนแรงมากและรุนแรง 22.21 ตร.กม. และ 52.31 ตร.กม. คิดเป็นร้อยละ 0.64 และ 1.53 ของพื้นที่ศึกษา พื้นที่เสี่ยงต่อการเกิดดินถล่มในระดับสูง 58.23 ตร.กม. คิดเป็นร้อยละ 1.70 ของพื้นที่ศึกษา พื้นที่เสี่ยงต่อการเกิดอุทกภัยในระดับสูง 528.03 ตร.กม. คิดเป็นร้อยละ 15.45 ของพื้นที่ศึกษา พื้นที่เสี่ยงต่อการเกิด ภัยแล้งในระดับสูง 59.72 ตร.กม. คิดเป็นร้อยละ 1.74 ของพื้นที่ศึกษา และมีพื้นที่เสี่ยงต่อการเกิดภัยพิบัติซํ้าซ้อนใน ระดับสูง 79.67 ตร.กม. คิดเปน ็ ร้อยละ 2.33 ของพืน ้ ทีศ ่ ก ึ ษา โดยส่วนใหญ่ถก ู จัดเปน ็ พืน ้ ทีเ่ สีย ่ งภัยพิบต ั ซ ิ าํ้ ซ้อนในระดับ ปานกลาง 2,297.71 ตร.กม. คิดเป็นร้อยละ 67.24 ของพื้นที่ศึกษา พื้นที่ที่ได้รับผลกระทบจากภัยพิบัติซํ้าซ้อนระดับ สูงอยู่ในพื้นที่ พืชไร่ ไม้ยืนต้น และป่าผลัดใบ เป็นพื้นที่ 68.85 8.36 และ 0.92 ตร.กม.ตามลําดับ คําสําคัญ : ภัยพิบัติทางธรรมชาติ แบบจําลองเชิงพื้นที่ การรับรู้ระยะไกล การวิเคราะห์ศักยภาพของพื้นที่
24
การประชุมวิชาการ เทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ ประจําปี 2557
A1-3
การบริหารจัดการภัยธรรมชาติประเภทวาตภัยเขตร้อน ในประเทศไทย TROPICAL STORM DISASTER MANAGEMENT IN THAILAND
อาทิตย์ บูรณสิงห์1 อัครา ประโยชน์2 ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์และ สารสนเทศ คณะวิทยาศาสตร์ประยุกต์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้า พระนครเหนือ arthit.bur@hotmail.com1 akarap@kmutnb.ac.th2
บทคัดย่อ ปัจจุบันสภาพแวดล้อมของโลกเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ส่งผลให้เกิดปัญหาภัยพิบัติประเภทต่างๆ เช่น แผ่น ดินไหว คลืน ่ ใต้นาํ้ อุทกภัย เปน ็ ต้น โดยเฉพาะภัยจากวาตภัยทีเ่ กิดขึน ้ ในประเทศไทยอย่างต่อเนือ ่ ง โดยทีร่ ะบบการเตือน ภัยยังมีความล่าช้าและไม่ทน ั ต่อการอพยพประชาชนออกจากพืน ้ ทีเ่ สีย ่ งภัย บทความนีไ้ ด้นาํ เสนอข้อมูลเกีย ่ วกับภัยพิบต ั ิ ธรรมชาติประเภทวาตภัยในเขตเอเชียแปซิฟค ิ และประเทศไทย และการบริหารจัดการภัยพิบต ั ใิ นประเทศไทย การบริหาร จัดการพายุหมุนเขตร้อน รวมถึงวิธีการพยากรณ์พายุเขตร้อนในประเทศไทย และนําเสนอแนวทางการจัดการปัญหา เกี่ยวกับปัญหาข้อมูลจํานวนมากเพื่อใช้ในการพยากรณ์โดยการนําเทคโนโลยีภาพถ่ายดาวเทียมและระบบสารสนเทศ ภูมศ ิ าสตร์มาประยุกต์งานร่วมกัน เพือ ่ วิเคราะห์และออกแบบระบบการจัดการภัยพิบต ั ิทเี่ กิดจากวาตภัย ซึง่ กระบวนการ ดังกล่าว จะสามารถประเมินพืน ้ ทีเ่ สีย ่ งภัยและแนวทางการช่วยเหลือผู้ประสบภัยในพืน ้ ทีเ่ สีย ่ งภัยได้อย่างมีประสิทธิภาพ และลดการสูญเสียของชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน และเศรษฐกิจโดยรวมของประเทศ คําสําคัญ : การบริหารจัดการภัยพิบัติ ภัยธรรมชาติ อุตุนิยมวิทยาเขตร้อน พายุหมุนเขตร้อน เทคโนโลยีภาพถ่ายทาง อากาศ
12-14 พฤศจิกายน 2557 ศูนย์ราชการฯ แจ้งวัฒนะ
25
A1-4
การประเมินจุ ดอ่อนของการเชื่ อมต่อโครงข่ายเส้นทาง THE ASSESSMENT OF ROAD NETWORK CONNECTIVITY
กิตติ เชี่ยวชาญ1 กฤษณะ ชินสาร1 ณกร อินทร์พยุง2 เกษม ปิ่นทอง2 1
คณะวิทยาการสารสนเทศ ศูนย์วิจัยเมืองอัจฉริยะ คณะโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยบูรพา
2
kitti.chiewchan@gmail.com ckrisana@gmail.com nakorn.ii@gmail.com nantakasem@gmail.com
บทคัดย่อ ปัญหาที่ก่อให้เกิดผลกระทบต่อโครงข่ายสาธารณูปโภคพื้นฐานขนาดใหญ่ เช่น โครงข่ายถนน โครงข่ายไฟฟ้าและโครง ข่ายสือ ่ สาร เกิดได้จากหลายปัจจัย อาทิ อุทกภัย วาตภัย ก่อให้เกิดความเสียหายหลากหลายด้านแต่กลับมิได้มแ ี นวทาง การวิเคราะห์และประเมินจุดอ่อนของโครงข่ายเหล่านี้ เพือ ่ ป้องกันและลดผลกระทบทีจ่ ะเกิดขึน ้ จากภัยพิบต ั ิ ในงานวิจย ั นีเ้ สนอรูปแบบการประเมินจุดอ่อนโครงข่าย โดยอาศัยขัน ้ ตอนวิธท ี างคอมพิวเตอร์ในการหาระยะการเดินทางทีส ่ น ั้ ทีส ่ ด ุ และนําโครงข่ายถนนจริง 10 จังหวัดในประเทศไทย เป็นข้อมูลทดสอบการวิเคราะห์และประเมินจุดอ่อนของการเชื่อม ต่อโครงข่ายเส้นทาง คําสําคัญ : จุดอ่อนโครงข่ายเส้นทาง การเชื่อมต่อโครงข่าย ปัญหาการหาเส้นทางที่สั้นที่สุด
26
การประชุมวิชาการ เทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ ประจําปี 2557
A2-1
การประยุ กต์ใช้เทคนิคภูมิสารสนเทศเพือ่ ประเมิน ความมัน่ คงการใช้ประโยชน์ทดี่ ินจากผลิ ตภัณฑ์จากป่ า D E L ทีไ่ ม่ใช่ เนือ้ ไม้ E C
N A C
อรพรรณ เพ็ชรใหม่1 รัตนะ บุลประเสริฐ1 ปิยะรัตน์ วิจักขณ์สังสิทธิ์2 1
APPLICATION OF GEOINFORMSTICS TECHNIQUES FOR VALUATION THE STABILITY OF LAND USE FROM NON-TIMBER FOREST PRODUCTS (NTFP)
คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล beauty_689@hotmail.com rattan.boo@mahidol.ac.th 2
ฝ่ายปฏิบัติการวิจัยและเรือนปลูก พืชทดลอง คณะเกษตร กําแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ rdiprv@ku.ac.th
บทคัดย่อ การศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาความมั่นคงการใช้ประโยชน์ที่ดินจากผลิตภัณฑ์ของป่าที่ไม่ใช่เนื้อไม้มีความซับซ้อนเพื่อ ทําความเข้าใจแบบองค์รวมของกลไกความหลากหลายทางชีวภาพทีซ ่ บ ั ซ้อนวัตถุประสงค์ของการศึกษาคือการประยุกต์ เทคนิคและวิธก ี ารวิเคราะห์ข้อมูลภาพถ่ายทางอากาศรายละเอียดสูงร่วมกับวิธก ี ารประเมินความหลากหลายทางชีวภาพ ในแปลงศึกษา ด้วยเทคนิคทางด้านภูมิสารสนเทศที่ประกอบด้วย ปัจจัยการปกคลุมเรือนยอดตามความหนาแน่นของ แต่ละภูมิประเทศชนิดของดินสภาพคุณสมบัติการสะท้อนแสงของพื้นผิวลักษณะของแต่ชนิดพันธุ์และสังคมพืชและ ลักษณะการกระจายตัวของผลิตภัณฑ์ที่ไม่ใช่เนื้อไม้ในแปลงศึกษาผลการศึกษาบ่งชี้ว่าการทําแผนที่การประเมินความ หลากหลายค่าที่ได้จากการวิเคราะห์จะขึ้นอยู่กับคุณสมบัติการสะท้อนแสงของพื้นผิวและลักษณะการกระจายตัวของ ผลิตภัณฑ์ที่ไม่ใช่เนื้อไม้โดยพบว่าดัชนีชี้วัดความมั่นคงของการใช้ประโยชน์ที่ดินของป่าชุมชนจากผลิตภัณฑ์ที่ไม่ใช่เนื้อ ไม้จ ากป่า กั บ แนวทางการจั ด การเมื อ งน่า อยู ่ส ่ว นใหญ่จ ะมี ค ่า ความสั ม พั น ธ์เ ชิ ง พื้ น ที่ โ ดยตรงกั บ พื้ น ที่ บ ริ เ วณ ตลาดท้องถิ่น หรือตลาดตามเส้นทางการคมนาคมที่ใกล้กับป่าชุมชน จากการสํารวจตลาดท้องถิ่น หรือตลาดตาม เส้นทางการคมนาคมทีใ่ กล้กบ ั ป่าชุมชนส่วนใหญ่ มีผลโดยตรงต่อระดับค่าความมัน ่ คงการใช้ประโยชน์ทด ี่ น ิ จากผลิตภัณฑ์ จากป่าทีไ่ ม่ใช่เนือ ้ ไม้จากปัจจัยของมูลค่าทางด้านเศรษฐศาสตร์ของผลผลิตทีไ่ ม่ใช่เนือ ้ ไม้จากป่ากับบริเวณตลาดท้องถิน ่ หรือตลาดตามเส้นทางการคมนาคมที่ใกล้กับป่าชุมชนอย่างมีนัยสําคัญ คําสําคัญ : ความมั่นคงการใช้ที่ดิน ดัชนีชี้วัดของการใช้ประโยชน์ที่ดิน ผลิตภัณฑ์ของป่าที่ไม่ใช่เนื้อไม้
12-14 พฤศจิกายน 2557 ศูนย์ราชการฯ แจ้งวัฒนะ
27
A2-2
การประยุ กต์เทคนิคทางด้านภูมิสารสนเทศประเมิน ศักยภาพเชิ งพืน้ ทีข่ องหน่วยทีด่ ินในชุD มชนเกษตรและ ชุมชนเมือง ELE
C N CA
APPLICATION OF GIS TECHNIQUES TO EVALUATE THE POTENTIAL OF LAND UNIT IN THE AGRICULTURAL COMMUNITY AND CITY
ทิพวัลย์ ชุ่มชื่น1 รัตนะ บุลประเสริฐ1 ปิยะรัตน์ วิจักขณ์สังสิทธิ์2 1
คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล katon_kt@hotmail.com and rattan.boo@mahidol.ac.th 2
ฝ่ายปฏิบัติการวิจัยและเรือนปลูก พืชทดลอง คณะเกษตร กําแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ rdiprv@ku.ac.th
บทคัดย่อ การพัฒนาเชิงพืน ้ ทีใ่ นระดับท้องถิน ่ เพือ ่ ประเมินความสําเร็จของรูปแบบการใช้ประโยชน์ทด ี่ น ิ สามารถประเมินจากความ มัน ่ คงของทีด ่ น ิ และการอนุรก ั ษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสภาพแวดล้อมทีม ่ ค ี วามสําคัญต่อการพัฒนาในพืน ้ ที่ วัตถุประสงค์ ของการศึกษาครัง้ นีเ้ ปน ็ การประเมินดัชนีชวี้ ด ั การพัฒนาอย่างยัง่ ยืนจากความมัน ่ คงของการใช้ประโยชน์ทด ี่ น ิ และปัจจัย การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมโดยการประยุกต์เทคนิคและวิธีการวิเคราะห์เชิงพื้นที่ด้วยระบบ ภูมิสารสนเทศประเมินศักยภาพเชิงพื้นของหน่วยที่ดินในชุมชนเกษตรและชุมชนเมืองจากดัชนีชี้วัดความมั่นคงของการ ใช้ประโยชน์ที่ดินด้านการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจากภูมิปัญญาท้องถิ่นของชุมชนสู่เมืองน่าอยู่ด้วย วิธีการประเมินเชิงเปรียบเทียบความมั่นคงของการใช้ประโยชน์ที่ดินกับปัจจัยการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม ผลจากการสร้างดัชนีศักยภาพของหน่วยที่ดินจากปัจจัยความเหมาะสมของที่ดินจากค่าดัชนีศักยภาพ หน่วยที่ดินของชุมชนเกษตร พบว่า ปัจจัยทางภาพของหน่วยที่ดินมีความสําคัญและมีอิทธิพลต่อรูปแบบการใช้ที่ดิน ชุมชนเกษตรและชุมชนเมือง บ่งชี้ว่า ศักยภาพหน่วยที่ดินของชุมชนเกษตรส่วนใหญ่จะกระจายตัวในบริเวณรอบๆ และรูปแบบการใช้ที่ดินชุมชนเมืองจะกระจุกตัวในศูนย์กลางของเมืองโดยเปรียบเทียบค่าคะแนนความเหมาะสมของ คุณภาพทีด ่ น ิ ไปเปรียบเทียบกับคุณภาพทีด ่ น ิ แต่ละชนิดของหน่วยทีด ่ น ิ พบว่าอยู่ในระดับความเหมาะสมหรือค่าพิสย ั สูง จะอยู่รอบนอกและระดับความเหมาะสมหรือค่าพิสย ั ตํา่ จะอยู่บริเวณตอนกลางส่วนค่าดัชนีศก ั ยภาพหน่วยทีด ่ น ิ ของชุมชน เมืองจะอยู่กระจุกตัวบริเวณตอนกลางและระดับความเหมาะสมหรือค่าพิสย ั ตํา่ จะอยู่รอบนอกพืน ้ ทีอ ่ าํ เภอทีเ่ ปน ็ ศูนย์กลาง ของตัวเมือง คําสําคัญ : หน่วยที่ดิน การพัฒนาเชิงพื้นที่ความมั่นคง การใช้ที่ดิน ดัชนีชี้วัดการพัฒนาอย่างยั่งยืน
28
การประชุมวิชาการ เทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ ประจําปี 2557
A2-3
การใช้ข้อมูลเชิ งพืน้ ทีแ่ ละแบบจําลองพลวัต สําหรับระบบสนับสนุนการตัดสินใจในการบินถ่ายภาพ ทางอากาศ AN APPROACH OF SPATIAL DATA AND SYSTEM DYNAMICS MODEL FOR AERIAL PHOTOGRAPHY DECISION SUPPORT SYSTEM
วราการ สุปินะเจริญ1 ณัฐวุฒิ พรหมดํารงค์1 ปรัช ตุษฐิพงษ์สวัสดิ์1 เสมา กระต่ายทอง2 1
กองบินถ่ายภาพทางอากาศ โรงเรียนแผนที่ กรมแผนที่ทหาร
2
warakans@rtsd.mi.th
บทคัดย่อ บทความนีเ้ สนอแนวทางการพัฒนาระบบสนับสนุนการวางแผนและตัดสินใจในการบินถ่ายภาพทางอากาศของกรมแผนที่ ทหาร ซึ่งเป็นภารกิจมีความซับซ้อน เกี่ยวเนื่องกับปัจจัยต่างๆ ทั้งเชิงพื้นที่และเวลา โดยวิธีการศึกษาได้ใช้แนวคิดการ จําลองพลวัตร่วมกับเทคนิคทางภูมส ิ ารสนเทศ เพือ ่ สร้างเครือ ่ งมือสนับสนุนการวางแผนและตัดสินในทีต ่ อบสนองในการ ประมวลและแสดงผล ทั้งนี้กรณีศึกษาได้ใช้พื้นที่งานบินถ่ายภาพตามโครงการของกรมแผนที่ทหารโดยมุ่งที่จําลองการ ตั้งฐานบินถ่ายภาพแบบต่างๆ อันเป็นข้อพิจารณาที่สําคัญในการวางแผนการบินถ่ายภาพ ซึ่งส่งผลต่อระยะเวลาในการ ทํางาน ผลการจําลองทําให้เห็นแนวทางการตั้งฐานบินสําหรับพื้นที่ศึกษาอันสามารถนําไปประกอบการวางแผนและ ตัดสินใจต่อไป อย่างไรก็ตามแนวคิดนี้ยังอยู่ในขั้นตอนของการพัฒนาเบื้องต้น ยังจําเป็นต้องมีการศึกษาเพิ่มเติมทั้งใน ส่วนของแบบจําลองและเทคเนคทางภูมิสารสนเทศซึ่งต้องมีการศึกษาเพิ่มเติมต่อไป คําสําคัญ : ข้อมูลเชิงพื้นที่ แบบจําลองพลวัต การบินถ่ายภาพทางอากาศ ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ
12-14 พฤศจิกายน 2557 ศูนย์ราชการฯ แจ้งวัฒนะ
29
A2-4
การดําเนินงานการสอบเทียบข้อมูลภาพถ่ายจาก ดาวเทียมไทยโชตในช่ วงระยะเวลา 6 ปี แรก CALIBRATION AND VALIDATION ON THAICHOTE IMAGE: 2008 - 2014
ชายฉัตร มุษะนะ ธีรยุทธ สว่างศรี ปนัดดา เกียรติเลิศเสรี ยสวินท์ สมบัติพานิช สํานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและ ภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน) calval@eoc.gistda.or.th
บทคัดย่อ กระบวนการสอบเทียบเป็นหนึ่งในงานที่มีความสําคัญเพื่อให้ได้ข้อมูลภาพถ่ายจากดาวเทียมที่มีความถูกต้องและ เที่ยงตรงอยู่เสมอ กระบวนการดังกล่าวประกอบไปด้วยการสอบเทียบข้อมูลทั้งเชิงคลื่นและการสอบเทียบข้อมูลเชิง เรขาคณิต โดยการสอบเทียบเชิงคลื่นเป็นการสอบเทียบความผิดปกติหรือความเสื่อมของอุปกรณ์รับรู้ (CCD) ที่ปกติ จะเปลี่ยนแปลงไปตามอายุของดาวเทียม ได้แก่ การสอบเทียบค่ากระแสมืด (Dark signal) ค่าสัดส่วนการตอบสนอง ของอุปกรณ์รับรู้ที่ไม่สมํ่าเสมอ (Photo response non-uniformity) ค่าสัมประสิทธิ์การแปลง(Absolute gain coefficients) ในส่วนของการสอบเทียบเชิงเรขาคณิตเป็นการสอบเทียบความถูกต้องที่เกี่ยวข้องในเชิงพิกัดและ ตําแหน่งของภาพ ได้แก่ค่าความถูกต้องเชิงตําแหน่งในการถ่ายภาพ (Pointing accuracy) การสอบเทียบค่าความ ถูกต้องเชิงตําแหน่งบนภาพ (Geolocation accuracy) และค่าความละเอียดจุดภาพต่อพื้นที่ (Ground sampling distance) โดยผลการสอบเทียบค่าต่างๆ เหล่านี้ถูกนําไปใช้ปรับปรุงและประเมินสถานะของข้อมูลดาวเทียมไทยโชต ให้เป็นไปตามมาตรฐาน โดยบทความนี้เป็นการนําเสนอภาพรวมของกระบวนการสอบเทียบจากการทํางานตลอดระยะ เวลา 6 ปีที่ผ่านมาของดาวเทียมไทยโชต เพื่อเพิ่มความเชื่อมั่นให้กับผู้ใช้ข้อมูลตามมาตรฐานข้อมูลที่กําหนดไว้ คําสําคัญ : การสอบเทียบข้อมูล การสอบเทียบเชิงคลื่น การสอบเทียบเชิงเรขาคณิต ดาวเทียมไทยโชต
30
การประชุมวิชาการ เทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ ประจําปี 2557
A3-1
ประภาวดี ศรีสุนทร1 คมสัน คีรีวงศ์วัฒนา2
การเปรียบเทียบขอบเขตลุ่มนํา้ ทีส่ ร้างจากชุดข้อมูล ความสูง SRTM และ ASTER-GDEM กับขอบเขตลุ่มนํา้ ของกรมทรัพยากรนํา้ ประเทศไทย
1
COMPARISON OF WATERSHED BOUNDARIES DERIVED FROM SRTM AND ASTER-GDEM DIGITAL ELEVATION DATASETS WITH WATERSHED BOUNDARIES OF DEPARTMENT OF WATER RESOURCE, THAILAND
ภาควิชาภูมิศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร นครปฐม 2 หน่วยวิจัยเชิงพื้นที่ ภาควิชาภูมิศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัย ศิลปากร นครปฐม
บทคัดย่อ ลุ่มนํ้าเป็นพื้นที่ที่มีความซับซ้อน เพราะเป็นแหล่งรวบรวมความหลากหลายเชิงนิเวศ พื้นที่ลุ่มนํ้าหนึ่งๆ อาจมีขนาดเล็ก เท่ากับหมู่บ้านหรือมีขนาดใหญ่ครอบคลุมทั้งภูมิภาคก็ได้ ดังนั้นการศึกษาเกี่ยวกับพื้นที่ลุ่มนํ้าจึงต้องมีการกําหนด ขอบเขตให้ชด ั เจน ซึง่ แต่เดิมผู้ศก ึ ษานิยมใช้วธิ ก ี ารกําหนดขอบเขตลุ่มนํา้ จากแผนทีภ ่ ม ู ป ิ ระเทศหรือการสํารวจภาคสนาม ต่อมาจึงเปลี่ยนมาใช้ข้อมูลแบบจําลองความสูงเชิงเลข (DEM) ที่ได้จากการสํารวจด้วยเทคโนโลยีอวกาศ การศึกษา วิจย ั ครัง้ นีจ้ งึ มีวต ั ถุประสงค์เพือ ่ เปรียบเทียบความถูกต้องของขอบเขตลุ่มนํา้ ทีส ่ ร้างจากแบบจําลองความสูงเชิงเลข SRTM และ ASTER-GDEM กับขอบเขตลุ่มนํ้าของกรมทรัพยากรนํ้า ประเทศไทย เพื่อเป็นแนวทางในการเลือกใช้ข้อมูลแบบ จําลองความสูงเชิงเลขในการสร้างขอบเขตลุ่มนํ้า การศึกษาวิจัยครั้งนี้ดําเนินการโดยสร้างขอบเขตลุ่มนํ้าจากแบบจําลองความสูงเชิงเลข SRTM และ ASTER-GDEM จากนั้นนําขอบเขตลุ่มนํ้าที่ได้มาเปรียบเทียบความแตกต่างกับขอบเขตลุ่มนํ้าของกรมทรัพยากรนํ้าด้วยสายตา และ ประเมินความแตกต่างของขอบเขตลุ่มนํา้ ด้วยวิธก ี ารทางสถิติ จากการประเมินความแตกต่างด้วยสายตา พบว่า ขอบเขต ลุ่มนํ้าที่สร้างจากแบบจําลองความสูงเชิงเลข SRTM และ ASTER-GDEM มีขนาดเล็กกว่าคิดเป็นร้อยละ 3.41 และ 3.57 ตามลําดับ โดยในด้านทิศเหนือและทิศตะวันออกของพืน ้ ทีล ่ ่ม ุ นํา้ มีความแตกต่างกันอย่างชัดเจน จากการประเมิน ความแตกต่างของขอบเขตลุ่มนํา้ ด้วยวิธก ี ารทางสถิติ พบว่า มีความแตกต่างกันอย่างมีนย ั ทางสถิติทรี่ ะดับความเชือ ่ มัน ่ ร้อยละ 99 และเมื่อเปรียบเทียบขอบเขตลุ่มนํ้าที่สร้างจากแบบจําลองความสูงเชิงเลข SRTM กับ ASTER-GDEM พบว่า ไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยทางสถิติจากการทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างความแตกต่างของขอบเขตลุ่มนํ้า กับค่าความสูงจากแบบจําลองความสูงเชิงเลขพบว่า ความแตกต่างของขอบลุ่มนํ้ามีความสัมพันธ์กับค่าของความสูง โดยเฉพาะในบริเวณทิศเหนือของพืน ้ ทีล ่ ่ม ุ นํา้ ซึง่ พืน ้ ทีม ่ ค ี วามแตกต่างกันของค่าความสูง ในขณะทีบ ่ ริเวณทิศตะวันออก ซึ่งเป็นที่ราบไม่พบความสัมพันธ์ระหว่างความแตกต่างของขอบลุ่มนํ้ากับค่าความสูง จากผลการศึกษาสรุปได้ว่า แบบจําลองความสูงทั้งสองชนิดให้ขอบเขตลุ่มนํ้าที่แตกต่างกันกับขอบเขตลุ่มนํ้าของกรม ทรัพยากรนํ้า แต่เมื่อเปรียบเทียบขอบเขตลุ่มนํ้าที่สร้างจากแบบจําลอง SRTM กับASTER-GDEM แล้ว พบว่าไม่มี ความแตกต่างกันอย่างมีนัยทางสถิติ คําสําคัญ : ขอบเขตลุ่มนํ้า แบบจําลองความสูงเชิงเลข SRTM ASTER-GDEM T-Test
12-14 พฤศจิกายน 2557 ศูนย์ราชการฯ แจ้งวัฒนะ
31
A3-2 (PEER REVIEW)
การกําหนดค่าเริม่ ต้นของเทคนิคการจัดกลุ่มข้อมูลแบบ k-meansในการจําแนกข้อมูลภาพถ่ายหลายช่ วงคลืน่ INITIALIZATION FOR K-MEANS CLUSTERING FOR MULTISPECTRAL IMAGE CLASSIFICATION
นารีนาถ รักสุนทร* รัชศักดิ์ สารนอก วีระโชติ ธรรมาภรณ์ ปรุงศักดิ์ อัตพุฒ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา *nareenart@ssru.ac.th
บทคัดย่อ งานวิจย ั นีม ้ วี ต ั ถุประสงค์เพือ ่ เร่งอัตราการประมวลผลของเทคนิคการจัดกลุ่มข้อมูลแบบ k-means ในการจําแนกข้อมูล ภาพถ่ายหลายช่วงคลื่น โดยที่ความถูกต้องของผลการจําแนกยังคงเดิม การเร่งอัตราการประมวลผลสามารถทําได้ใน กระบวนการเริม ่ ต้นของเทคนิคการจัดกลุ่มข้อมูลแบบ k-means โดยกําหนดค่าเริม ่ ต้นจุดศูนย์กลางของกลุ่มข้อมูลแทน การเลือกด้วยกระบวนการสุ่มในกระบวนการนีจ้ ด ุ ภาพทีป ่ ระกอบด้วยวัตถุเพียงชนิดเดียวทีส ่ กัดได้จากกระบวนการสกัด จุดภาพที่แทนค่าการสะท้อนรังสีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของวัตถุเพียงชนิดเดียวด้วยวิธี ATGP (Automatic Target Generation Process) และวิธี N-FINDR ถูกเลือกใช้เปน ็ ค่าเริม ่ ต้นจุดศูนย์กลางของกลุ่มข้อมูลการทดลองได้ดาํ เนิน การเปน ็ 2 ชุดและนําผลมาเปรียบเทียบกัน ข้อมูลทีใ่ ช้ในการทดลองนีเ้ ปน ็ ภาพถ่ายหลายช่วงคลืน ่ จากดาวเทียม Quick Bird ครอบคลุมพื้นที่แม่นํ้าเจ้าพระยาเขตดุสิต ขนาด 7459 x 5289 x 4 จุดภาพ การทดลองชุดแรกเป็นการทดลอง เมื่อค่าเริ่มต้นจุดศูนย์กลางของกลุ่มข้อมูลกําหนดจากกระบวนการสุ่มและการทดลองที่สองเมื่อค่าเริ่มต้นจุดศูนย์กลาง ของกลุ่มข้อมูลกําหนดจากจุดภาพทีส ่ กัดได้ในการทดลองทัง้ สองครัง้ จะทําการวัดจํานวนครัง้ ในการประมวลผลเพือ ่ ทําการ เปรียบเทียบกัน จํานวนครัง้ ในการประมวลผลทีม ่ ค ี ่าน้อยกว่าแสดงให้เห็นว่ามีอต ั ราการประมวลผลทีร่ วดเร็วกว่าผลการ ทดลองแสดงให้เห็นว่าจํานวนการทําซํา้ ของการทดลองทีก ่ าํ หนดค่าเริม ่ ต้นจุดศูนย์กลางของกลุ่มข้อมูลจากจุดภาพทีส ่ กัด ได้มีค่าน้อยกว่าและเมื่อเปรียบเทียบความถูกต้องของผลการจําแนกของทั้งสองกรณี พบว่ามีค่าใกล้เคียงกันความ ถูกต้องโดยรวมมีค่าประมาณ 98% และค่าสัมประสิทธิ์แค็ปปามีค่า 0.97 ดังนั้นวิธีการกําหนดค่าเริ่มต้นจุดศูนย์กลาง ของกลุ่มข้อมูลด้วยจุดภาพที่สกัดได้จากกระบวนการสกัดจุดภาพที่แทนค่าการสะท้อนรังสีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของวัตถุ เพียงชนิดเดียวลดเวลาในการประมวลผลของเทคนิคการจัดกลุ่มข้อมูลแบบ k-means สําหรับการจําแนกข้อมูลภาพถ่าย หลายช่วงคลื่นโดยที่ยังให้ความถูกต้องในการจําแนกใกล้เคียงเดิม คําสําคัญ : เทคนิคการจัดกลุ่มข้อมูลk-means การจําแนกภาพถ่ายหลายช่วงคลื่น ภาพถ่ายหลายช่วงคลื่น
32
การประชุมวิชาการ เทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ ประจําปี 2557
A3-3 (PEER REVIEW)
การเพิม่ ประสิทธิภาพของวิธีการวิเคราะห์รังสีผสมเชิ งเส้น ในการจําแนกข้อมูลภาพถ่ายหลายช่ วงคลืน่
นารีนาถ รักสุนทร คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา nareenart@ssru.ac.th
IMPROVEMENT OF LINEAR SPECTRAL MIXTURE ANALYSIS FOR MULTISPECTRAL IMAGE CLASSIFICATION
บทคัดย่อ ในการจําแนกข้อมูลภาพถ่ายจากระยะไกลด้วยวิธก ี ารวิเคราะห์รงั สีผสมเชิงเส้น (Linear Spectral Mixture Analysis: LSMA)นั้น จุดภาพจะถูกจําลองในรูปแบบสมการคณิตศาสตร์ กล่าวคือค่าการสะท้อนรังสีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของ จุดภาพเป็นผลคูณของค่าการสะท้อนรังสีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของวัตถุชนิดเดียว (Endmember Signature) และปริมาณสัดส่วนของวัตถุ (Abundance) ทีอ ่ ยู่ในจุดภาพนัน ้ ดังนัน ้ สําหรับจุดภาพใดๆ หากทราบค่าการสะท้อนรังสี คลืน ่ แม่เหล็กไฟฟ้าและค่าการสะท้อนรังสีคลืน ่ แม่เหล็กไฟฟ้าของวัตถุเพียงชนิดเดียวของจุดภาพแล้วก็จะสามารถคํานวณ หาปริมาณสัดส่วนของวัตถุที่อยู่ในจุดภาพนั้นได้ และจุดภาพนั้นจะถูกจําแนกเป็นวัตถุที่มีปริมาณสัดส่วนมากที่สุด ความคลาดเคลื่อนของปริมาณสัดส่วนที่คํานวณได้อาจเกิดขึ้นหากค่าปริมาณสัดส่วนของวัตถุที่คํานวณได้มีค่าเป็นลบ ซึ่งจะส่งผลต่อประสิทธิภาพในการจําแนกจุดภาพ ดังนั้นงานวิจัยนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อเพิ่มความถูกต้องในการจําแนก ข้อมูลถ่ายหลายช่วงคลื่น (Multispectral Image) ของวิธีการวิเคราะห์รังสีผสมเชิงเส้นการเพิ่มความถูกต้องในการ จําแนกนี้สามารถทําได้โดยง่ายในทางปฏิบัติด้วยการนําจุดภาพข้างเคียงมาใช้ร่วมในแบบจําลองด้วย เนื่องจากเหตุผล ทีว่ ่าจุดภาพทีอ ่ ยู่ข้างเคียงกันมีโอกาสสูงทีจ่ ะประกอบด้วยวัตถุชนิดเดียวกัน ในการทดลองได้ดาํ เนินการ 3 ชุดเพือ ่ ทําการ เปรียบเทียบความถูกต้องของผลการจําแนก ข้อมูลทีใ่ ช้ในการทดลองเปน ็ ข้อมูลภาพถ่ายหลายช่วงคลืน ่ ทีถ ่ ่ายจากดาวเทียม World View2 บริเวณสี่แยกในเขตดุสิต ขนาด 250 x 250 x 8 จุดภาพการทดลองทั้งสามชุดนี้เป็นการทดลองเพื่อ หาผลการจําแนกของวิธีการวิเคราะห์รังสีผสมเชิงเส้นใน 3 กรณีคือ กรณีแรกเมื่อไม่ใช้จุดภาพข้างเคียง กรณีที่ 2 เมือ ่ ใช้จด ุ ภาพข้างเคียงเข้าร่วมพิจารณาด้วยจํานวน 4 จุดภาพ และกรณีสด ุ ท้ายเมือ ่ ใช้จด ุ ภาพข้างเคียงเข้าร่วมพิจารณา ด้วยจํานวน 8 จุดภาพจากผลการทดลองพบว่า ความถูกต้องของผลการจําแนกโดยรวมของการทดลองชุดที่ 1-3 มีค่า 83.5%, 89.5% และ 88.5% ตามลําดับ และสัมประสิทธ์แค็ปปาของแต่ละการทดลองมีค่า 0.75, 0.84 และ 0.83 ตามลําดับ จากผลการทดลองจะเห็นได้ว่าเมื่อนําจุดภาพข้างเคียงเข้าร่วมพิจารณาด้วยความถูกต้องของ ผลการจําแนกมีค่าสูงขึ้นและค่าสัมประสิทธิ์แค็ปปาของการทดลอง เมื่อนําจุดภาพข้างเคียงเข้าร่วมพิจารณาด้วยก็มี ค่าสูงขึ้นเช่นเดียวกันดังนั้นการนําจุดภาพข้างเคียงเข้ามาใช้ในแบบจําลองการวิเคราะห์รังสีผสมเชิงเส้นสามารถเพิ่ม ประสิทธิภาพในการจําแนกข้อมูลได้ คําสําคัญ : ภาพถ่ายหลายช่วงคลื่น การจําแนก การวิเคราะห์รังสีผสมเชิงเส้น
12-14 พฤศจิกายน 2557 ศูนย์ราชการฯ แจ้งวัฒนะ
33
A3-4
การเปรียบเทียบการเปลีย่ นแปลงค่าพารามิเตอร์ของ กระบวนการแยกส่วนภาพด้วยวิธีการจําแนกข้อมูล เชิ งวัตถุ COMPARISON OF PARAMETER CHANGES IN IMAGE SEGMENTATION PROCESS OF OBJECT-BASED IMAGE CLASSIFICATION METHODS
สรรทราย สุทธินนท์1 กัมปนาท ปิยะธํารงชัย1 จันทร์จิรา พยัคฆ์เพศ2 1
ภาควิชาทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อมคณะเกษตรศาสตร์ฯ มหาวิทยาลัยนเรศวร sunsaisuttinon@gmail.com, p.kampanart@gmail.com 2
ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์และ เทคโนโลยีสารสนเทศ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร janjirap@nu.ac.th
บทคัดย่อ ปัจจุบันข้อมูลทางด้านการใช้ประโยชน์ที่ดินและสิ่งปกคลุมดิน (Land Use/Land Cover) เป็นข้อมูลที่สําคัญต่อการ วางแผนทรัพยากรในด้านต่างๆ จึงมีความจําเปน ็ ทีต ่ ้องปรับปรุงให้ถก ู ต้องและทันสมัย การนําเทคนิคทางด้านกระบวนการ ข้อมูลเชิงเลขขั้นสูงมาใช้เพื่อวิเคราะห์และจําแนกการใช้ประโยชน์ที่ดินและสิ่งปกคลุมดินทําให้ได้ผลการวิเคราะห์ที่มี ประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น เทคนิคการจําแนกข้อมูลที่เป็นที่นิยมในปัจจุบันได้แก่ วิธีการจําแนกข้อมูลเชิงวัตถุ (ObjectBased Classification) วิธีการดังกล่าวนั้น ใช้เทคนิคการสร้างวัตถุโดยกระบวนการแยกส่วนภาพ (Image Segmentation) ซึ่งจะพิจารณาจากการกําหนดค่าพารามิเตอร์ต่างๆ ได้แก่ มาตราส่วน, สี, รูปร่าง, การเกาะกลุ่ม และความเรียบ การศึกษาครัง้ นีม ้ วี ต ั ถุประสงค์ เพือ ่ ศึกษาเปรียบเทียบการเปลีย ่ นแปลงค่าพารามิเตอร์ในการจําแนกการ ใช้ประโยชน์ที่ดินและสิ่งปกคลุมดิน ด้วยวิธีการจําแนกข้อมูลเชิงวัตถุโดยใช้ข้อมูลภาพปรับความคมชัดจากดาวเทียม ไทยโชตเปน ็ ตัวอย่างในการศึกษา ผลการศึกษาพบว่าค่าพารามิเตอร์สม ี อ ี ท ิ ธิพลต่อการจําแนกการใช้ประโยชน์ทด ี่ น ิ และ สิ่งปกคลุมดินมากกว่าค่าพารามิเตอร์รูปร่าง โดยพบว่ายิ่งกําหนดค่าพารามิเตอร์สีในระดับที่สูงขึ้น ค่าความถูกต้อง โดยรวม (Overall Accuracy) ของผลการจําแนกยิ่งสูงขึ้นและพบว่าค่าพารามิเตอร์การเกาะกลุ่มมีอิทธิพล ต่อการจําแนกการใช้ประโยชน์ทด ี่ น ิ และสิง่ ปกคลุมดินน้อยกว่าค่าพารามิเตอร์ความเรียบ กล่าวคือยิง่ กําหนดค่าพารามิเตอร์ ความเรียบในระดับทีส ่ งู ขึน ้ ค่าความถูกต้องโดยรวมของผลลัพธ์การจําแนกยิง่ สูงขึน ้ แต่เมือ ่ ทดลองกําหนดค่าพารามิเตอร์ การเกาะกลุ่มและความเรียบในระดับค่ากลางที่ 0.5 พบว่าค่าความถูกต้องโดยรวมของผลลัพธ์การจําแนกสูงกว่า การกําหนดค่าพารามิเตอร์การเกาะกลุ่มและความเรียบในระดับทีส ่ งู ขึน ้ หรือตํา่ ลงประโยชน์ของการศึกษาครัง้ นีเ้ พือ ่ เปน ็ กรณีศึกษาถึงขั้นตอนกระบวนการแยกส่วนภาพด้วยวิธีการจําแนกข้อมูลเชิงวัตถุให้มีประสิทธิภาพสําหรับดาวเทียม ไทยโชต คําสําคัญ : การจําแนกข้อมูล การใช้ประโยชน์ที่ดินและสิ่งปกคลุมดิน การจําแนกเชิงวัตถุ กระบวนการแยกส่วนภาพ
34
การประชุมวิชาการ เทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ ประจําปี 2557
A3-5 (PEER REVIEW)
การสร้างแบบจําลอง 3 มิติจากภาพหลายภาพ สําหรับมรดกทางวัฒนธรรม 3D MODEL RECONSTRUCTION FROM MULTIPLE IMAGES FOR CULTURAL HERITAGE
นรุตม์ สุนทรานนท์ ภานุ เศรษฐเสถียร ปรีสาร รักวาทิน สํานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและ ภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน) narut@gistda.or.th
บทคัดย่อ บทความนี้เสนอวิธีการเก็บข้อมูลสําหรับมรดกทางวัฒนธรรมในประเทศไทยที่สามารถจับต้องได้ในรูปแบบของแบบ จําลองสามมิติ ข้อมูลขาเข้าจะใช้รูปภาพจากหลายมุมมองรอบๆ วัตถุที่สนใจ ซอฟต์แวร์ระบบเปิด MICMAC ถูกมาใช้ ประโยชน์ในการสร้างแบบจําลองสามมิติแบบอัตโนมัติ แผนภาพการทํางานสามารถแบ่งเป็น 3 ขั้นตอน คือ การลง ทะเบียนรูปภาพ (Image registration) การปรับแก้ความผิดเพีย ้ นและการหาตําแหน่งรูปภาพ (Image calibration & orientation) และ การสร้างแบบจําลอง 3 มิติโดยการจับคู่จุดบนภาพสเตอริโอ (Stereo image matching) ซึง่ ในการศึกษาเบือ ้ งต้นจะมุ่งไปทีม ่ รดกทางวัฒนธรรมขนาดเล็กซึง่ มีความสูงไม่เกิน 3 เมตรการเก็บข้อมูลรูปภาพจะใช้ กล้องดิจิทัลประเภท DSLR ระดับผู้ใช้งานเริ่มต้นซึ่งมีต้นทุนตํ่า ข้อมูลสามมิติเหล่านี้ สามารถใช้ในการนําเสนอผ่านสื่อ กลางต่างๆ เช่น เว็บไซต์ ดีวีดี เอกสารจัดพิมพ์ ฯลฯ หรือข้อมูลที่มีความถูกต้องสูง สามารถนําไปใช้เป็นฐานข้อมูล อ้างอิงกรณีที่มรดกทางวัฒนธรรมนั้นต้องทําการบูรณะซ่อมแซม เนื่องจากความเสื่อมสภาพจากอายุการใช้งาน หรือภัยธรรมชาติ เช่น นํ้าท่วม ไฟไหม้ ในบทความฉบับนี้ นําเสนอผลการดําเนินงานของแบบจําลอง 3 มิติ จํานวน 2 ชิ้น ได้แก่ รอยพระพุทธบาทจําลอง และ พระราหูอมจันทร์ คําสําคัญ : แบบจําลอง 3 มิติ มรดกทางวัฒนธรรม ซอฟต์แวร์ระบบเปิด (MICMAC) การสร้างแบบจําลอง 3 มิติ
12-14 พฤศจิกายน 2557 ศูนย์ราชการฯ แจ้งวัฒนะ
35
B1-1 (PEER REVIEW)
การประยุ กต์ภูมิสารสนเทศเพือ่ คาดการณ์แหล่งนํา้ สําหรับการสืบพันธุ์ของสัตว์สะเทินนํา้ สะเทินบก ในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าภูหลวง จ.เลย APPLICATION OF GEO-INFORMATICS TO PREDICT POTENTIAL BREEDING PONDS FOR AMPHIBIANS IN PHULUANG WILDLIFE SANCTUARY, LOIE PROVINCE
อิงอร ไชยเยศ1 ฤทัยรัตน์ สงจันทร์2 ประทีป ด้วงแค3 ยอดชาย ช่วยเงิน4 นันทชัย พงศ์พัฒนานุรักษ์3 สมหญิง ทัฬหิกรณ์2 1
สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช 2
สํานักอนุรักษ์สัตว์ป่า กรมอุทยานแห่งชาติสัตว์ป่า และพันธุ์พืช 3
ภาควิชาชีววิทยาป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 4
ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น chaiyes.stou@gmail.com
บทคัดย่อ การประยุกต์ภม ู ส ิ ารสนเทศเพือ ่ คาดการณ์แหล่งนํา้ สําหรับการสืบพันธุ์ของสัตว์สะเทินนํา้ สะเทินบกครัง้ นีม ้ วี ต ั ถุประสงค์ เพื่อหาถิ่นที่อยู่อาศัยที่เหมาะสมสําหรับลูกอ๊อดบริเวณเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าภูหลวง ด้วยการใช้ข้อมูลพิกัดการปรากฏ ของแหล่งนํ้าที่พบลูกอ๊อดจากการสํารวจในภาคสนามจํานวน 83 จุด เพื่อวิเคราะห์ร่วมกับปัจจัยสิ่งแวดล้อมทั้งหมด 6 ปัจจัย อันได้แก่ทิศด้านลาด ความสูงจากระดับนํ้าทะเลปานกลาง ค่าดัชนีพืชพรรณ ค่าดัชนีความแตกต่างของความชื้น ความลาดชัน และระยะห่างจากแหล่งนํ้า โดยใช้วิธี maximum entropy algorithm (MaxEnt) จากการศึกษาพบ ว่าความสูงจากระดับนํา้ ทะเล และค่าดัชนีพช ื พรรณ มีอท ิ ธิพลต่อการปรากฏของแหล่งนํา้ สําหรับการสืบพันธุ์ของกบมาก ที่สุดตามลําดับซึ่งมีค่าความถูกต้องของแบบจําลองด้วยการคํานวณค่าพื้นที่โค้ง (Area under curve, AUC) เท่ากับ 0.97 สําหรับเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าภูหลวง พบว่ามีพื้นที่เหมาะสมสําหรับการปรากฏของแหล่งนํ้าสําหรับการสืบพันธุ์ ของกบมากที่สุดมีพื้นที่เท่ากับ 2.83 ตร.กม. (0.25%) พื้นที่เหมาะสมมาก ปานกลาง น้อย และไม่เหมาะสม มีพื้นที่ เท่ากับ 12.90 (1.15%) 29.13 ( 2.59%) 72.56 (6.45) และ 1,007.87 (89.57%) ตร.กม. ตามลําดับ จากผลการ ศึกษาแสดงให้เห็นว่าพื้นที่ที่เหมาะสมมากที่สุด และเหมาะสมมากมีพื้นที่น้อยมาก เมื่อเทียบกับพื้นที่ทั้งหมดของเขตฯ ดังนัน ้ ถ้าในอนาคตยังคงมีการเปลีย ่ นแปลงของถิน ่ อาศัยโดยเฉพาะอย่างยิง่ การปกคลุมของพืชพรรณจะทําให้โอกาสของ การสืบต่อพันธุ์ตามธรรมชาติของสัตว์สะเทินนํา้ สะเทินบกในพืน ้ ทีน ่ ล ี้ ดลงจนนําไปสู่การสูญพันธุ์ในระดับพืน ้ ที่ (locally extinction) ได้ด้วยเช่นเดียวกัน คําสําคัญ : ภูมิสารสนเทศ แบบจําลอง MaxEnt ถิ่นที่อยู่อาศัยที่เหมาะสม สัตว์สะเทินนํ้าสะเทินบก เขตรักษาพันธุ์สัตว์ ป่าภูหลวง
36
การประชุมวิชาการ เทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ ประจําปี 2557
B1-2 (PEER REVIEW)
การประมาณค่ามวลชี วภาพเหนือพืน้ ดินของป่ าชายเลน โดยใช้การสํารวจระยะไกล กรณีศึกษา อ่าวป่ าคลอก จังหวัดภูเก็ต ESTIMATION OF TROPICAL MANGROVE ABOVE GROUND BIOMASS USING REMOTE SENSING: A CASE STUDY OF PAKLOK BAY, PHUKET PROVINCE
สุรเชษฐ์ ปิ่นแก้ว วีระพงค์ เกิดสิน คณะเทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตภูเก็ต surachet.77.42@gmail.com goedsin@gmail.com
บทคัดย่อ ป่าชายเลนมีบทบาทสําคัญต่อระบบนิเวศชายฝั่งมวลชีวภาพเปน ็ ตัวแปรทีส ่ าํ คัญในการอธิบายระบบภูมอ ิ ากาศและวัฏจักร คาร์บอน การหาค่ามวลชีวภาพแบบดั้งเดิมนั้น จําเป็นต้องมีการตัดฟันต้นไม้ซึ่งเป็นการทําลายตัวอย่าง และการสํารวจ ภาคสนามมีค่าใช้จ่ายสูง อีกทั้งใช้ระยะเวลานานเป็นโชคดีที่การสํารวจระยะไกลสามารถแก้ปัญหาดังกล่าวได้อย่างมี ประสิทธิภาพดังนัน ้ งานวิจย ั นีจ้ งึ ศึกษาการใช้ข้อมูลภาพจากดาวเทียม WorldView-2 ร่วมกับการสํารวจภาคสนาม มา ประมาณค่ามวลชีวภาพเหนือพื้นดินของป่าชายเลนจํานวน 8 สายพันธุ์บริเวณอ่าวป่าคลอกอําเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต โดยค่าการสะท้อนแต่ละช่วงคลืน ่ ถูกนํามาใช้เปน ็ ตัวแปรอิสระของการวิเคราะห์การถดถอยเชิงเส้นแบบพหุและโครงข่าย ประสาทเทียมผลการทดลองแสดงให้เห็นว่า วิธีการโครงข่ายประสาทเทียมมีความถูกต้องมาก (RMSE =7.37) เมื่อเทียบกับการวิเคราะห์การถดถอยเชิงเส้นแบบพหุ ทั้งกรณีที่ใช้ค่าการสะท้อนทั้ง 8 ช่วงคลื่น (RMSE = 8.24) และองค์ประกอบหลักเป็นตัวแปรต้น (RMSE = 9.03) ผู้วิจัยหวังว่าวิธีการที่ใช้ในงานวิจัยนี้จะสามารถนํามาใช้เป็น แนวทางในการหาค่ามวลชีวภาพของป่าชายเลนในพืน ้ ทีอ ่ น ื่ ๆ หรือนํามาใช้ในการวิจย ั ต่อยอดเพือ ่ ใช้ในการบริหารจัดการ ทรัพยากรป่าชายเลนอย่างมีประสิทธิภาพต่อไป คําสําคัญ : ป่าชายเลน มวลชีวภาพ สํารวจระยะไกล ถดถอยเชิงเส้นแบบพหุ โครงข่ายประสาทเทียม อ่าวป่าคลอก
12-14 พฤศจิกายน 2557 ศูนย์ราชการฯ แจ้งวัฒนะ
37
B1-3 (PEER REVIEW)
การประยุ กต์การสํารวจระยะไกลเพือ่ หาค่าการสะท้อน พลังงานเชิ งคลืน่ และมวลชี วภาพของธูปฤาษี REMOTE SENSING APPLICATION FOR DETERMINATION OF SPECTRAL CHARACTERISTIC AND BIOMASS OF TYPHAANGUTIFOLIA LINN
พัณณิตา แก่นจันทร์ กาญจนา นาคะภากร คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล sugarbunnies-nuiz@hotmail.com enknk@mahidol.ac.th
บทคัดย่อ การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อหาค่าการสะท้อนพลังงานเชิงคลื่นของธูปฤาษี โดยประยุกต์การสํารวจระยะไกลโดยใช้ ข้อมูลภาพจากดาวเทียม LANDSAT 8 OLI และใช้วิธีการจําแนกแบบผสมผสาน (Hybrid Interpretation) ด้วยทฤษฎีการจําแนก Decision Tree ร่วมกับการวิเคราะห์ดัชนีพืชพรรณและดัชนีทางกายภาพเพื่อจําแนกพื้นที่ ปกคลุมของธูปฤาษีอีกทั้งทําการเก็บธูปฤาษีเพื่อประเมินผลผลิตมวลชีวภาพเหนือพื้นดินของธูปฤาษี ผลการศึกษาพบว่าธูปฤาษีมีพื้นที่ 100.12 ตารางกิโลเมตร ค่าความถูกต้องโดยรวมร้อยละ 83.73 และดัชนีแคปปา 0.76 ครอบคลุมในเขตทวีวัฒนา จังหวัดกรุงเทพมหานคร อําเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม และอําเภอบางบัวทอง จังหวัดนนทบุรซ ี งึ่ นํา้ หนักเฉลีย ่ มวลชีวภาพเหนือพืน ้ ดินของธูปฤาษีทไี่ ม่มด ี อกส่วนลําต้น/ใบเท่ากับ 1.82 กิโลกรัม/ตาราง เมตร และนํา้ หนักเฉลีย ่ มวลชีวภาพเหนือพืน ้ ดินของธูปฤาษีทม ี่ ด ี อกส่วนลําต้น/ใบ และส่วนดอกเท่ากับ 1.57 และ 0.33 กิโลกรัม/ตารางเมตรตามลําดับ คําสําคัญ : ค่าสะท้อนพลังงานเชิงคลื่น ธูปฤาษี มวลชีวภาพ LANDSAT 8 OLI วิธีการจําแนกแบบผสมผสาน
38
การประชุมวิชาการ เทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ ประจําปี 2557
B1-4
การใช้ข้อมูลภาพจากดาวเทียมเพือ่ ศึกษาสภาพ ธรณีวิทยายุ คปั จจุ บันเพือ่ ความเข้าใจและแก้ไขปั ญหา สิง่ แวดล้อมในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย
สุพรรณ สายแก้วลาด สุวรรณา ยุวนานนท์ สว่าง จอมวุฒิ โยคิน รวยพงศ์ จิตสุดา อินทุมาร
USE OF SATELLITE DATA FOR STUDYING PRESENT GEOLOGICAL PERIOD TO HELP IN UNDERSTANDING AND SOLVING ENVIRONMENTAL PROBLEMS OF THE NORTH EASTERN THAILAND
Office of Topographical and Geotechnical Surveys, Royal Irrigation Department, Bangkok ssaykawlard@gmail.com
บทคัดย่อ ภาพข้อมูลจากดาวเทียม เช่น กูเกิ้ลแมพ สามารถนํามาศึกษาร่วมกับข้อมูลภาคพื้นดินโดยไม่จํากัดขอบเขตของพื้นที่ ประเทศ โครงสร้างทางธรณีวท ิ ยา ความสูงของพืน ้ ดินตามสภาพภูมป ิ ระเทศย่อย หรือ microtopography และความ แตกต่างของพืชพรรณจากข้อมูลดาวเทียม เมือ ่ นํามาศึกษาประกอบกับรูปจําลองแบบสามมิติ ทําให้เข้าใจขบวนการทาง ธรณีวิทยายุคใหม่ที่มีอายุตํ่ากว่าสองล้านปี คือยุคควอเตอร์นารีถึงปัจจุบัน ของพื้นที่ภาคตะวันออก เฉียงเหนือของ ประเทศไทย เกิดเปน ็ ภาพรวมและแบบจําลองของพืน ้ ทีท ่ ส ี่ อดคล้องเปน ็ จริงตามธรรมชาติ ทําให้มขี ้อมูลเพิม ่ เติมสําหรับ การแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อม และแม้แต่ปัญหาทางโบราณคดียุคก่อนประวัติศาสตร์ได้ คําสําคัญ : ธรณีวิทยา ยุคควอเตอร์นารี สิ่งแวดล้อม ยุคก่อนประวัติศาสตร์
12-14 พฤศจิกายน 2557 ศูนย์ราชการฯ แจ้งวัฒนะ
39
B2-1
การวิเคราะห์ค่าปริมาณอิเล็กตรอนสุทธิจากสัญญาณ จีพีเอสทีส่ ถานีกรุงเทพมหานคร TOTAL ELECTRON CONTENT (TEC) ANALYSIS FROM THE GPS SIGNALS AT BANGKOK STATION
อธิวัฒน์ เฉียบแหลม1 ประเสริฐ เคนพันค้อ2 พรชัย ทรัพย์นิธ1ิ 1
คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบัน เทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหาร ลาดกระบัง 2
คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบัน เทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหาร ลาดกระบัง plunkinz@gmail.com kkpraser@kmitl.ac.th ksupornc@kmitl.ac.th
บทคัดย่อ ค่าปริมาณอิเล็กตรอนสุทธิในชั้นบรรยากาศไอโอโนสเฟียร์มีความสัมพันธ์ต่อค่าหน่วงเวลาในสัญญาณดาวเทียมและ มีการประยุกต์ใช้งานในหลายด้านได้แก่ การสื่อสารดาวเทียม การนาร่องการบินและฟิสิกส์ธรณีเป็นต้น บทความนี้ นําเสนอผลการวิเคราะห์ค่าปริมาณอิเล็กตรอนสุทธิทส ี่ ถานีกรุงเทพมหานคร โดยทาการคานวณและปริมาณค่าอิเล็กตรอน สุทธิจากสัญญาณจีพีเอส โดยอาศัยไฟล์แบบ RINEX ที่ได้ ในไฟล์นี้มีพารามิเตอร์ที่สนใจได้แก่ โค้ด C1, P2 เฟส L1, L2 และตําแหน่งดาวเทียม ในการเก็บข้อมูลจะทําครั้งละ 1 นาที ค่าปริมาณสุทธิอิเล็กตรอนแนวเฉียงที่คํานวณได้ จะถูกแปลงให้เป็นค่าปริมาณสุทธิอิเล็กตรอนแนวตั้ง จากนั้นทําการปรับแก้ค่าไบอัสดาวเทียมและไบอัสเครื่องรับ จากการวิเคราะห์ข้อมูลในปี 2552 วันที่ 20 มีนาคมและวันที่ 8 ตุลาคม จากการวิเคราะห์พบว่าค่าเฉลีย ่ ทีใ่ นเวลากลาง วันช่วงเวลาประมาณ 03.00 น. ถึง 12.00 น. (UTC) มีค่าสูงสุดเท่ากับ 20.6052 TECU และ 19.0912 TECU ตามลําดับ และตํ่าสุดในเวลากลางคืนช่วงเวลาประมาณ 21.00 ถึง 23.00 น. (UTC) เท่ากับ 0.1189 TECU และ 0.7930 TECU ตามลําดับ คําคัญ : ค่าปริมาณอิเล็กตรอนสุทธิ ชั้นบรรยากาศไอโอโนสเฟียร์ เครื่องรับสัญญาณจีพีเอส
40
การประชุมวิชาการ เทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ ประจําปี 2557
B2-2
ผลกระทบของความผิดปกติในชั ้นบรรยากาศ ไอโอโนสเฟี ยร์ต่อความแม่นยําในการระบุ ตําแหน่งจีพีเอส THE EFFECTS OF IONOSPHERIC DISTURBANCE ON GPS LOCATION ACCURACY
สุทัศน์ จงสินทวี1 ประเสริฐ เคนพันค้อ2 พรชัย ทรัพย์นิธ1ิ 1
คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบัน เทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหาร ลาดกระบัง 2
คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบัน เทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหาร ลาดกระบัง sutat_jong@outlook.com kkpraser@kmitl.ac.th ksupornc@kmitl.ac.th
บทคัดย่อ การหน่วงเวลาอันเนือ ่ งมาจากชัน ้ บรรยากาศไอโอโนสเฟียร์มผ ี ลกระทบต่อความผิดพลาดในการระบุตาํ แหน่งของระบบ จีพีเอสในเขตละติจูดตํ่าและเส้นศูนย์สูตรแม่เหล็กเช่นในประเทศไทย ความผิดพลาดในชั้นบรรยากาศไอโอโนสเฟียร์ สามารถวิเคราะห์ได้จากอัตราการเปลีย ่ นแปลงของค่าปริมาณอิเล็กตรอนสุทธิ ในบทความนีจ้ งึ ได้ทาํ การวิเคราะห์ข้อมูล จีพีเอสจากสถานีที่สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบังเพื่อคํานวณตําแหน่งและค่า Dilution of precision ในช่วงเวลาที่มีผิดปกติของค่าปริมาณสุทธิอิเล็กตรอนสุทธิโดยใช้ค่า ROTI ในการตรวจสอบความผิดปกติ ในชั้นบรรยากาศไอโอโนสเฟียร์ซึ่งเกิดขึ้นในวันที่ 1 กันยายน ค.ศ. 2012 และวันที่ไม่เกิดความผิดปกติ คือ วันที่ 4 กันยายน ค.ศ. 2012 โดยที่เครื่องรับสัญญาณจีพีเอสกําหนดค่ามุมของดาวเทียมไม่น้อยกว่า 15°ค่าความแม่นยํา ในการระบุตําแหน่งของทั้งสองวันที่ได้นั้นมีค่าไม่ต่างกันมากนัก ซึ่งอาจต้องศึกษาเพิ่มเติมเพื่อดูผลกระทบอื่นๆ เช่น ผลกระทบที่ทําให้เกิด loss of lock และ cycle slip แต่เมื่อใช้ค่า DOP ในการดูค่าความผิดพลาดในการระบุ ตําแหน่งของเครื่องรับสัญญาณีพีเอส จะพบว่าเมื่อเปลี่ยนค่า elevation mask มากกว่าหรือเท่ากับ 5°ค่า DOP ที่ได้นั้นจะลดลง ทําให้ค่าความผิดพลาดในการระบุตําแหน่งลดลงด้วย คําสําคัญ : ค่าปริมาณอิเล็กตรอนสุทธิ ชั้นบรรยากาศไอโอโนสเฟียร์ เครื่องรับสัญญาณจีพีเอส
12-14 พฤศจิกายน 2557 ศูนย์ราชการฯ แจ้งวัฒนะ
41
B2-3
MONITORING OF THE SAGAING FAULT IN MYANMAR USING GPS OBSERVATIONS
Pyae Sone Aung Chalermchon Satirapod Department of Survey Engineering, Chulalongkorn University, Bangkok, Thailand pyaesoneaung.mce@gmail.com chalermchon.s@chula.ac.th
ABSTRACT This research aims to demonstrate the use of GPS observations to study the tectonic activity of the Sagaing fault, which is major active fault in Myanmar. Myanmar has established two continuous GPS transects across the Sagaing fault. The northern transect has been operating for over two year and the southern transect has been operating for over three years. This GPS network includes 8 continuously operating reference stations (CORS). For monitoring the plate tectonics, it is very important to obtain high precision positioning results from GPS observations. In this study, we processed the GPS observations with the GAMIT and GLOBK analysis software package to obtain GPS station velocities and relative motion across the Sagaing fault. Three years of continuous GPS data between 2011 and 2014 were processed. Results showed that the east side of the Sagaing fault segment is moving southward at about 20 mm/yr while the west side of the Sagaing fault segment is moving northward at about 20 mm/yr. KEY WORDS : Sagaing Fault, GPS, GAMIT/GLOBK
42
การประชุมวิชาการ เทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ ประจําปี 2557
B2-4
วิเคราะห์และเปรียบเทียบมาตรฐานการระบุ ตําแหน่ง ด้วยการอ้างอิงทีต่ งั ้ ANALYSIS AND COMPARISON OF LOCATION REFERENCING STANDARDS
มนต์ศักดิ์ โซ่เจริญธรรม ห้องปฎิบัติการระบบขนส่งและจราจร อัจฉริยะ ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์ และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (เนคเทค) สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) monsak.soc@nectec.or.th
บทคัดย่อ ข้อมูลการจราจรทางถนน (เช่น จุดซ่อมแซม อุบัติเหตุ หรือสภาพการจราจร) โดยปกติจะมีการเชื่อมโยงกับข้อมูลเชิง ตําแหน่ง (แผนที่เวกเตอร์ถนน)และข้อมูลแต่ละกลุ่มมักรับผิดชอบโดยต่างหน่วยงานกัน การแลกเปลี่ยนหรือเผยแพร่ ข้อมูลทางด้านการจราจรระหว่างหน่วยงานเปน ็ กิจกรรมทีส ่ าํ คัญเนือ ่ งจากก่อให้เกิดการใช้ข้อมูลซํา้ และลดต้นทุนการจัด ทําข้อมูลตลอดจนทําให้การพัฒนาข้อมูลต่อยอดอืน ่ ๆ สามารถทําได้ อย่างไรก็ตามบ่อยครัง้ ทีร่ ะบบสารสนเทศของหน่วย งานซึ่งรับผิดชอบข้อมูลจราจรในด้านต่างๆ ไม่สามารถแลกเปลี่ยนข้อมูลการจราจรระหว่างกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ หรือโดยอัตโนมัติเนื่องจากข้อมูลดังกล่าวเชื่อมโยงอยู่กับแผนที่คนละชุดซึ่งตําแหน่งต่างๆ มีค่าพิกัดไม่ตรงกัน การระบุตาํ แหน่งด้วยการอ้างอิงทีต ่ งั้ เปน ็ เทคนิคทีไ่ ด้รบ ั การยอมรับมายาวนานและถูกคิดค้นขึน ้ เพือ ่ ให้การอ้างอิงตําแหน่ง ระหว่างแผนที่เวกเตอร์ถนนซึ่งต่างรุ่นหรือผู้ผลิตสามารถทําได้ บทความนี้มุ่งอธิบายเทคนิคการระบุตําแหน่งด้วยการ อ้างอิงที่ตั้งชนิดพลวัต (เน้นที่มาตรฐาน Open LR) และชนิดสถิตย์ (เน้นที่ มอก.2604) บทความนี้ยังนําเสนอ บทวิเคราะห์และเปรียบเทียบ Open LR กับมาตรฐาน มอก. 2604 ทัง้ นีเ้ พือ ่ เปน ็ ข้อมูลเบือ ้ งต้นให้กบ ั ผู้สนใจนําเทคนิค การระบุตําแหน่งด้วยการอ้างอิงที่ตั้งไปใช้แก้ปัญหาดังกล่าว คําสําคัญ : การระบุตําแหน่งด้วยการอ้างอิงที่ตั้ง การระบุตําแหน่งด้วยการอ้างอิงที่ตั้งแบบพลวัต การระบุตําแหน่ง ด้วยการอ้างอิงที่ตั้งแบบสถิตย์ มอก. 2604
12-14 พฤศจิกายน 2557 ศูนย์ราชการฯ แจ้งวัฒนะ
43
B2-5
การรังวัดตรวจสอบการเคลือ่ นตัวของแผ่นดินบริเวณ รอยเลือ่ นพะเยา กรณีแผ่นดินไหวอําเภอพาน จังหวัดเชี ยงราย THE OBSERVATION EXAMINED THE LAND MOVEMENT IN VICINITY OF PHAYAO FAULT LINE, THE EARTHQUAKE IN PHAN DISTRICT, CHIANG RAI PROVINCE.
สรวิศ สุภเวชย์1 ปริญญา ทวีวัฒน์2 ภิญโญ วรเกษตร3 1,2
กองยีออเดซี่และยีออฟิสิกส์ กรม แผนที่ทหาร 3 โรงเรียนแผนที่ กรมแผนที่ทหาร 1
psoravis@gmail.com
บทคัดย่อ แผ่นดินไหวที่อําเภอพาน จังหวัดเชียงรายเมื่อวันที่ 5 พฤษภาคม พ.ศ.2557 เวลา 18:08:43 น. ตามเวลาท้องถิ่นของ ประเทศไทยที่จุดศูนย์กลางแผ่นดินไหวอยู่ลึกลงไปใต้ดิน 7 กิโลเมตร นั้น เกิดขึ้นจากการปลดปล่อยพลังงานของรอย เลื่อนพะเยา และเนื่องเป็นจากจุดศูนย์กลางแผ่นดินไหวที่ตื้นทําให้ อาคารและสิ่งปลูกสร้างได้รับผลกระทบจํานวนมาก จากเหตุการณ์นี้ กรมแผนทีท ่ หารจึงได้จด ั ชุดปฏิบต ั ก ิ ารสนามรังวัดสัญญาณดาวเทียมจีพเี อส ตรวจสอบค่าพิกด ั บนหมุด หลักฐานที่มีเส้นฐานคร่อมแนวรอยเลื่อนพะเยา เพื่อตรวจสอบการขยับตัวของหมุดหลักฐาน โดยมีสมมติฐานว่า การเคลื่อนที่ของแผ่นดินที่ส่งผลให้เกิดแผ่นดินไหว 3 ลักษณะ คือ เคลื่อนที่ขนานกับแนวรอยเลื่อน (Strike-slip) เคลือ ่ นทีแ ่ นวดิง่ ตัง้ ฉากกับแนวรอยเลือ ่ น (Dip-slip) และเคลือ ่ นทีผ ่ สมทัง้ แนวขนานและแนวดิง่ ตัง้ ฉากกับแนวรอยเลือ ่ น (Oblique-slip) ทัง้ 3 ลักษณะควรทีจ่ ะทําให้หมุดหลักฐานทีอ ่ ยู่ระหว่างแนวรอยเลือ ่ นมีระยะขจัดก่อนเกิดแผ่นดินไหว กับหลังเกิดแผ่นดินไหวมีขนาดไม่เท่ากัน และมีผลกระทบต่อการนําค่าพิกัดโครงข่ายหมุดหลักฐานไปใช้อ้างอิงในงาน สํารวจหรือไม่ทงั้ นี้ แนวคิด และหลักการ ตลอดจนผลลัพธ์จากการเปรียบเทียบระยะเส้นฐาน รวมถึงข้อสรุปและข้อเสนอ แนะสําหรับการดําเนินการติดตามการเคลื่อนตัวต่อๆ ไป ได้แสดงไว้ในเอกสารการวิจัยนี้ คําสําคัญ : Phayao Fault Line, Measuring Plate Motion, Plate Tectonic, Earthquake, GPS
44
การประชุมวิชาการ เทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ ประจําปี 2557
C1-1 (PEER REVIEW)
การประเมินความผันแปรระยะพัฒนาการของข้าว จากภาพถ่ายในระบบ Field server RICE PHONOLOGICAL DEVELOPMENT STAGES ESTIMATION FROM FIELD SERVER IMAGES
พันธ์วดี ตั้งพัฒนากูล1 นรุตม์ สุนทรานนท์1 ภานุ เศรษฐเสถียร1 ปรีสาร รักวาทิน1 เกริก ปั้นเหน่งเพ็ชร2 1
สํานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและ ภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน) 2
ภาควิชาพืชศาสตร์และทรัพยากร การเกษตร คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น panwadee@gistda.or.th narut@gistda.or.th panu@gistda.or.th preesan@gistda.or.th krirk@kku.ac.th
บทคัดย่อ ในการคาดคะเนผลผลิตของข้าว การพิจารณาระยะพัฒนาการของข้าวที่แม่นยําเป็นสิ่งสําคัญ เนื่องจากในแต่ละระยะ พัฒนาการนั้นอัตราการเพิ่มของนํ้าหนักและพื้นที่ใบที่จะแตกต่างกัน บทความนี้เสนอการประเมินระยะหลักๆ ของ พัฒนาการข้าวซึ่งประกอบด้วย ช่วงต้นกล้า ช่วงเจริญเติบโต ช่วงออกรวง และวันเก็บเกี่ยว โดยวิเคราะห์พื้นที่ใต้กราฟ ของค่าดัชนีพืชพรรณ Excess Green (ExG) เทียบกับวันที่ทําการถ่ายภาพ ซึ่งค่าดัชนีพืชพรรณ ExG นี้สามารถ คํานวณได้จากค่าความเข้มแสงทีช ่ ่วงคลืน ่ ต่างๆ ทีไ่ ด้จากภาพถ่ายจาก field server นอกจากนีแ ้ ล้ว งานวิจย ั นีไ้ ด้ทาํ การ ทดสอบและเปรียบเทียบช่วงระยะพัฒนาการที่ได้จากการพิจารณาค่าดัชนีพืชพรรณ ExG และค่าระยะพัฒนาการที่ได้ จากแบบจําลองการคาดคะเนผลผลิตของข้าว KKU rice model โดยใช้ข้อมูลปี พ.ศ. 2556 ซึ่งประกอบด้วยข้าวนาปี ในพืน ้ ที่ จ.ร้อยเอ็ด และ ข้าวนาปรังในพืน ้ ที่ จ.สุพรรณบุรี จากผลทีไ่ ด้พบว่า ช่วงการพัฒนาการทีไ่ ด้จากค่าดัชนีพช ื พรรณ ExG และจากแบบจําลองการคาดคะเนผลผลิตข้าว KKU rice model ให้ผลช่วงการพัฒนาการทีใ่ กล้เคียงกันและใกล้ เคียงกับค่าที่ได้จากแปลงนา คําสําคัญ : ระยะพัฒนาการของข้าว ค่าดัชนีพืชพรรณ Field server แบบจําลองข้าว
12-14 พฤศจิกายน 2557 ศูนย์ราชการฯ แจ้งวัฒนะ
45
C1-2 (PEER REVIEW)
การวิเคราะห์อุณหภูมิผิวทะเลระยะยาว ณ เกาะราชาใหญ่ จากข้อมูลรีโมทเซนซิ งและเครือข่ายเซนเซอร์ปะการัง LONG TERM SEA SURFACE TEMPERATURE ANALYSIS AT KOH RACHA YAI FROM REMOTE SENSING DATA AND CORAL SENSOR NETWORK
พีรวิชญ์ เควด1 ศิริลักษณ์ ชุมเขียว1 อุทัย คูหาพงศ์1 เปรมฤดี นุ่นสังข์1 ศรเทพ วรรณรัตน์2 เสกสรรค์ ศาสตร์สถิต2 มัลลิกา เจริญสุธาสินี1 กฤษณะเดช เจริญสุธาสินี1 1
Center of Excellence for Ecoinformatics and School of Science, Walailak University 2 National Electronics and Computer Technology Center (NECTEC) krisanadej@gmail.com
บทคัดย่อ เครือข่ายเซนเซอร์ปะการัง (Coral Sensor Network: CSN) ที่เกาะราชาใหญ่ จังหวัดภูเก็ต มีการติดตั้งและดําเนิน การเก็บข้อมูลตั้งแต่เดือนตุลาคม พ.ศ. 2553 เป็นต้นมา ในปัจจุบันเครือข่ายเซนเซอร์ปะการังประกอบด้วยเซนเซอร์ ที่ทําการตรวจวัด ความเค็ม อุณหภูมิ และความลึก (Conductivity/Temperature/Depth: CTD) ซึ่งติดตั้งที่ระดับ ความลึกแตกต่างกัน เพื่อการตรวจวัดความผิดปกติหรือสภาวะของทะเลที่มีคลื่นลมแรงและใช้เก็บข้อมูลระยะยาว ในการศึกษาการเปลีย ่ นแปลงภูมอ ิ ากาศและการเกิดปะการังฟอกขาว การเกิดปะการังฟอกขาวครัง้ ใหญ่สามารถเกิดขึน ้ ได้ทงั้ จากการเพิม ่ ขึน ้ ของอุณหภูมผ ิ วิ ทะเลอย่างรวดเร็วในเวลาอันสัน ้ และการเพิม ่ ขึน ้ อย่างค่อยเปน ็ ค่อยไปในระยะเวลา ทีย ่ าวนาน สําหรับการศึกษาในวงกว้างนัน ้ มีการใช้ข้อมูลอุณหภูมผ ิ วิ ทะเลโดยวิธรี โี มทเซนซิงเพือ ่ ประเมินความเสีย ่ งของ การเกิดปะการังฟอกขาวโดยเฉพาะบริเวณนํ้าตื้นแต่ไม่ได้รวมถึงปะการังบริเวณนํ้าลึก การศึกษานี้จึงใช้ข้อมูลอุณหภูมิ ผิวทะเลจากเครือข่ายเซนเซอร์ปะการังที่ความลึกต่างๆ ในการสร้างแบบจําลองของความสัมพันธ์กับข้อมูลอุณหภูมิผิว ทะเลโดยวิธีรีโมทเซนซิงเพื่อทําความเข้าใจและสร้างองค์ความรู้ใหม่เกี่ยวกับอุณหภูมินํ้าทะเลที่ความลึกต่างๆ ในวงกว้างมากยิง่ ขึน ้ และข้อมูลเหล่านีย ้ งั ถูกนํามาศึกษาการเปลีย ่ นแปลงการกระจายทีช ่ ่วงเวลาต่างๆ ด้วยการวิเคราะห์ ฮิสโทแกรมเคลื่อนที่และการกระจายทวิฐานนิยมเคลื่อนที่ ผลจากการศึกษานี้สามารถใช้ในการพัฒนาระบบเตือนภัย การเกิดปะการังฟอกขาวและการศึกษาการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศได้ในอนาคต คําสําคัญ : เครือข่ายเซนเซอร์ปะการัง อุณหภูมิผิวทะเล แบบจําลองข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูลระยะยาว
46
การประชุมวิชาการ เทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ ประจําปี 2557
C1-3
การวิเคราะห์หาพืน้ ทีศ่ ักยภาพสําหรับติดตัง้ พลังงานแสง อาทิตย์ในจังหวัดเลยด้วยระบบภูมิสารสนเทศ POTENTIAL AREA FOR SOLAR INSTALLATIONS IN LOEI PROVINCE USING GEO-INFORMATICS
ปฏิวัติ ฤทธิเดช อัจฉรา จันทร์แย้ วรรณนิภา ด่านซ้าย สาขาภูมิสารสนเทศ คณะวิทยาการ สารสนเทศ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม patiwat_noof@hotmail.com
บทคัดย่อ พลังงานแสงอาทิตย์ เป็นพลังงานทดแทนที่มีศักยภาพสูง ปราศจากมลพิษ ไม่ก่อให้เกิดผลเสียต่อธรรมชาติ สัตว์ สิ่ง แวดล้อมรวมถึงตัวมนุษย์ด้วย สามารถเกิดขึน ้ ใหม่ได้และใช้ไม่มวี น ั สิน ้ สุด โดยนําพลังงานแสงอาทิตย์มาใช้ในการผลิต กระแสไฟฟ้าและผลิตความร้อน การศึกษานีเ้ ปน ็ การประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศภูมศ ิ าสตร์เพือ ่ การเลือกพืน ้ ทีท ่ เี่ หมาะ สมสําหรับโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ วิธก ี ารศึกษาประกอบด้วย 3 ขัน ้ ตอน ขัน ้ ตอนแรกเก็บรวบรวมข้อมูล ใช้ดาวเทียม Landsat 7TM+ปี 2006 , 2009 และ 2011 ขั้นตอนสองปัจจัยที่ใช้ได้แก่ อุณหภูมิพื้นผิว การใช้ประโยชน์ที่ดิน ความเข้มรังสีดวงอาทิตย์ ความโค้งพื้นผิว โดยนํามาให้ค่านํ้าหนักด้วยกระบวนการการวิเคราะห์แบบลําดับขั้น จากผู้ เชี่ยวชาญ ขั้นตอนสุดท้ายทําการซ้อนทับข้อมูล (Overlay) โดยใช้เครื่องมือในโปรแกรม Arcmap 10.x.x โดยผล การศึกษา แบ่งพื้นที่เหมาะสมออกเป็น 5 ระดับคือ ความเหมาะสมมากที่สุด 2,047.21 ตร.กม ความเหมาะสมมาก 5,752.40 ตร.กม ความเหมาะสมปานกลาง 2,118.69 ตร.กม ความเหมาะสมน้อย 351.53 ตร.กม ไม่มีความ เหมาะสม 32.79 ตร.กม ตามลําดับ ผลที่ได้สามารถนําไปใช้ในการตัดสินใจเลือกพื้นที่ที่มีศักยภาพสําหรับการตั้งโรง ไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ได้อย่างเหมาะสม คําสําคัญ : อุณหภูมิพื้นผิว ความเข้มรังสีดวงอาทิตย์ กระบวนการการวิเคราะห์แบบลําดับขั้น ความโค้งพื้นผิว
12-14 พฤศจิกายน 2557 ศูนย์ราชการฯ แจ้งวัฒนะ
47
C1-4
การคัดเลือกพืชสําหรับการปลูกพืชแบบวนเกษตร ในพืน้ ทีต่ ้นแบบจังหวัดแพร่ด้วยเทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ PLANT SELECTION FOR AGRO-FORESTRY SYSTEM IN PILOT AREA OF PHARE PROVINCE USING GEOINFORMATICS
พัชร ประเสริฐกุล1 ปิยนันท์ พิพัฒศิถี1 นววิทย์ พงศ์อนันต์1 กัญญารัตน์ ท้าวทา1 กําพล สกุลลีรุ่งโรจน์1 สุเมธ คงภักดี1 เกรียงไกร โมสาลียานนท์2 ประเดิม วณิชชนานันท์2 สุริยันตร์ ฉะอุ่ม2 กนกวรรณ รมยานนท์2 เฉลิมพล เกิดมณี2 อภิสิทธ์ เอี่ยมหน่อ1 1
ห้องปฏิบัติการภูมิสารสนเทศ ห้องปฏิบัติการสรีรวิทยาและชีวเคมีด้านพืช ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ (ไบโอเทค) สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) 2
patchara.pra@biotec.or.th
บทคัดย่อ การปลูกพืชไร่เชิงเดีย ่ วอย่างต่อเนือ ่ งในพืน ้ ทีป ่ ่าไม้และพืน ้ ทีก ่ ารเกษตร ส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจ สังคม และสิง่ แวดล้อม ในพื้นที่ภาคเหนือ ได้แก่ ความยากจน การชะล้างพังทลายของหน้าดินและการเกิดอุทกภัยในฤดูฝน การเกิดไฟป่าและ ภัยแล้งในฤดูแล้ง ซึง่ จังหวัดแพร่เปน ็ จังหวัดทีต ่ งั้ อยู่บนพืน ้ ทีล ่ ่ม ุ นํา้ ยมตอนบนดังนัน ้ แพร่จงึ ถูกเลือกให้เปน ็ จังหวัดต้นแบบ ในการนํายุทธศาสตร์สร้างป่าเศรษฐกิจผสมผสาน โดยกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีและหน่วยงานภาครัฐและ เอกชนในจังหวัดแพร่ ได้จัดทําโครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีวนเกษตรโดยการมีส่วนร่วมของชุมชนอย่างครบวงจร เพือ ่ การสร้างต้นแบบป่าเศรษฐกิจผสมผสานด้วยเทคโนโลยีภม ู ส ิ ารสนเทศการเกษตรและนํา้ และมุ่งถ่ายทอดเทคโนโลยี ด้านการคัดพันธุ์และขยายพันธุ์และเทคโนโลยีการออกแบบแปลงปลูก โดยพืน ้ ทีศ ่ ก ึ ษาครอบคลุมพืน ้ ทีท ่ งั้ หมด 4 อําเภอ คืออําเภอร้องกวาง อําเภอเด่นชัย อําเภอลอง และอําเภอวังชิ้น จากนั้นกําหนดชนิดของพันธุ์ไม้เศรษฐกิจและไม้ผลที่มี ศักยภาพในพื้นที่โครงการนําร่อง เพื่อลดการบุกรุกทําลายป่าสร้างความชุ่มชื้นและเพิ่มความสามารถในการเก็บกักนํ้า ของดินมีศก ั ยภาพทางการตลาดและทางภูมศ ิ าสตร์โดยแบ่งเปน ็ พืชทีใ่ ห้ผลผลิตและรายได้ในระยะสัน ้ พืชทีใ่ ห้ผลผลิตและ รายได้ในระยะกลางและพืชที่ให้ผลผลิตและรายได้ในระยะยาว โดยจากเงื่อนไขที่กล่าวมาในขั้นต้น สามารถเลือกพืช สําหรับวิเคราะห์ความเหมาะสมของพื้นที่ ได้ดังนี้ พืชที่ให้รายได้ระยะสั้น ได้แก่ กล้วยหอม พืชที่ให้รายได้ระยะกลาง ได้แก่ ทุเรียน มะนาว ส้มเขียวหวาน มะยงชิด และพืชที่ให้รายได้ระยะยาว ได้แก่ มะขามเปรี้ยวยักษ์ วิเคราะห์ความ เหมาะสมของพื้นที่สําหรับปลูกพืชที่ได้คัดเลือกสําหรับปลูกป่าเศรษฐกิจในพื้นที่ต้นแบบ โดยได้นําหลักการของ FAO Framework และระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS) เป็นเครื่องมือในการจัดการข้อมูลเชิงพื้นที่สําหรับจัดชั้นความ เหมาะสมของพืน ้ ทีส ่ าํ หรับกําหนดชนิดของพันธุ์ไม้เศรษฐกิจทีม ่ ศ ี ก ั ยภาพในพืน ้ ทีต ่ ้นแบบ โดยผลการวิเคราะห์ข้อมูลเชิง พื้นที่โดยใช้ปัจจัยด้านสภาพแวดล้อม ได้แก่ ข้อมูลภูมิอากาศ ภูมิประเทศ ดิน นํ้า พบว่าในพื้นที่ 4 อําเภอ มีศักยภาพ เหมาะสมสําหรับปลูกพืชแต่ละชนิดที่แตกต่างกัน โดย กล้วย เป็นพืชที่สามารถปลูกได้ดีในพื้นที่ทั้งสี่อําเภอของ จ.แพร่ และทุเรียน มะยงชิด ส้ม/มะนาว เป็นพืชที่มีศักยภาพเหมาะสําหรับปลูกในพื้นที่ อําเภอเด่นชัย อําเภอลอง อําเภอวังชิ้น ตามลําดับ ในขณะที่พื้นที่อําเภอร้องกวาง สามารถปลูกได้ดีทั้ง มะยงชิด และมะขามเปรี้ยวยักษ์ คําสําคัญ : ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ ความเหมาะสมของพื้นที่ ข้อมูลเชิงพื้นที่ ป่าเศรษฐกิจ
48
การประชุมวิชาการ เทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ ประจําปี 2557
C2-1 (PEER REVIEW)
การสอบเทียบข้อมูลอุ ณหภูมิผิวนํา้ ทะเลจากดาวเทียมและ เครือข่ายเซนเซอร์ปะการังในภาคสนาม ณ เกาะราชาใหญ่ VALIDATION OF SEA SURFACE TEMPERATUREDATA FROM REMOTE SENSING AND FIELD CORAL SENSOR NETWORK AT KOH RACHA YAI
ศิริลักษณ์ ชุมเขียว1 พีรวิชญ์ เควด1 อุทัย คูหาพงศ์1 เปรมฤดี นุ่นสังข์1 ศรเทพ วรรณรัตน์2 เสกสรรค์ ศาสตร์สถิต2 มัลลิกา เจริญสุธาสินี1 กฤษณะเดช เจริญสุธาสินี1 1
Center of Excellence for Ecoinformatics and School of Science, Walailak University 2 National Electronics and Computer Technology Center (NECTEC) krisanadej@gmail.com
บทคัดย่อ อุณหภูมินํ้าทะเลเป็นปัจจัยสําคัญที่ทําให้เราเข้าใจความเชื่อมโยงระหว่างมหาสมุทรกับสภาพภูมิอากาศ เราได้ศึกษา ข้อมูลอุณหภูมท ิ ผ ี่ วิ นํา้ ทะเลซึง่ ได้จากข้อมูลดาวเทียม และปริมาณนํา้ ฝนทีไ่ ด้มาจากระบบฐานข้อมูลสารสนเทศภูมอ ิ ากาศ ระหว่างปี พ.ศ. 2553-2557 บริเวณเกาะราชาใหญ่ จังหวัดภูเก็ต ประเทศไทย ปะการังที่เกาะราชาใหญ่ได้เกิด ปรากฎการณ์ปะการังฟอกขาวในปี พ.ศ. 2553 และ มีรายงานการฟอกขาวระยะสั้นๆ ในปี พ.ศ. 2557 สาเหตุหลัก ของการเกิดปรากฎการณ์ปะการังฟอกขาวคือ (1) การเพิ่มขึ้นของอุณหภูมิที่ผิวนํ้าทะเลอย่างรวดเร็วในระยะเวลาสั้น และ (2) ฝนตกเลื่อนออกไป 2 เดือน เครือข่ายเซนเซอร์ในแนวปะการัง และสถานีตรวจวัดอากาศอัตโนมัติได้ถูกติดตั้ง ที่เกาะราชาตั้งแต่เดือนตุลาคม ปี พ.ศ. 2553 สถานีตรวจวัดอากาศอัตโนมัติตรวจวัดข้อมูลสภาพอากาศประกอบด้วย ปริมาณนํ้าฝน อุณหภูมิสูงสุด/ตํ่าสุด ความชื้นสัมพัทธ์ ปริมาณแสง ความเร็วลม และทิศทางลมเครือข่ายเซนเซอร์ ในแนวปะการังประกอบด้วยเซนเซอร์วัดค่าการนําไฟฟ้า อุณหภูมิและความลึก ติดตั้งที่หลายระดับความลึกเพื่อตรวจ จับความผิดปกติและพายุ เก็บข้อมูลระยะยาวเพื่อติดตามการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศและติดตามการเกิด ปรากฎการณ์ปะการังฟอกขาว ในการศึกษาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ เปรียบเทียบและสอบเทียบอุณหภูมิผิวนํ้าทะเล จากดาวเทียมและเซนเซอร์ที่ติดตั้งใต้ทะเล และใช้ข้อมูลอุณหภูมิผิวนํ้าทะเลจากดาวเทียมหาความสัมพันธ์กับปริมาณ นํ้าฝนจากดาวเทียมเพื่อทดสอบการนําไปใช้ข้อมูลดาวเทียม โดยได้ใช้แบบจําลองแบบถดถอยและการวิเคราะห์สถิติ ขั้นสูงเพื่ออธิบายความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณนํ้าฝน และอุณหภูมิที่ผิวนํ้าทะเล คําสําคัญ : เครือข่ายเซนเซอร์ในแนวปะการัง อุณหภูมผ ิ วิ นํา้ ทะเล ปริมาณนํา้ ฝน ไอนํา้ ปรากฎการณ์ปะการังฟอกขาว
12-14 พฤศจิกายน 2557 ศูนย์ราชการฯ แจ้งวัฒนะ
49
C2-2
การศึกษาการขยายตัวของชุมชนเมืองสิง่ ปลูกสร้างพืน้ ที่ จังหวัดเชี ยงราย โดยแบบจําลองห่วงโซ่ มาร์คอฟ THE STUDY OF BUILDUP AREAIN CHIANG RAI PROVINCE, THAILAND USING MARKOV CHAIN MODELS.
ชาคริส พิทักษ์รัตนสกุล กีรติพงศ์ เพชรดาพงศ์ สํานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและ ภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน) chakris1988@gmail.com
บทคัดย่อ การศึกษาการขยายตัวของชุมชนเมืองและสิ่งปลูกสร้าง (Buildup Area) ในพื้นที่จังหวัดเชียงรายซึ่งเป็นจังหวัดที่มี แนวโน้มการขยายตัวอย่างต่อเนือ ่ งในพืน ้ ทีภ ่ าคเหนือ เนือ ่ งจากมีแนวเขตติดต่อกับประเทศเพือ ่ นบ้านได้แก่ ลาวและพม่า ตลอดจนมีท่าเรือ ่ และเส้นทางการขนส่งสินค้าไปสู่ประเทศจีนอีกเส้นทางหนึง่ การประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศทางภูมศ ิ าสตร์ (Geographic Information System) โดยใช้ข้อมูลแนวเขตชุมชนและสิ่งปลูกสร้างใน 3 ช่วงเวลาได้แก่ปี พ.ศ. 2545 พ.ศ. 2550 และ พ.ศ. 2555 และอาศัยแบบจําลองห่วงโซ่มาร์คอฟ (Markov’s Chain Model) เพื่อศึกษารูปแบบการขยายตัวของเมืองในอนาคตโดยใช้การประมวลผลเชิงพื้นที่ด้วยการซ้อนทับข้อมูลแนวเขตชุมชน เมืองในช่วงปี พ.ศ. 2545-2555 จากการศึกษาพบว่าความเปลีย ่ นแปลงของพืน ้ ทีช ่ ม ุ ชนและสิง่ ปลูกสร้างมีสด ั ส่วนการ เปลี่ยนแปลงพื้นที่เพิ่มขึ้นและลดลงตามช่วงเวลา คําสําคัญ : ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ แบบจําลองห่วงโซ่มาร์คอฟ การขยายตัวของชุมชนเมืองและสิ่งปลูกสร้าง
50
การประชุมวิชาการ เทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ ประจําปี 2557
C2-3
การประยุ กต์ใช้โครงข่ายประสาทเทียมและ ระบบภูมิสารสนเทศเพือ่ พยากรณ์แนวโน้มการเปลีย่ นแปลง ของอุ ณหภูมิบริเวณภาคตะวันออกเฉียงเหนือ APPLICATION OF ARTIFICIAL NEURAL NETWORK AND GEOGRAPHIC INFORMATION SYSTEM FOR PREDICTING TEMPERATURE TREND IN NORTHEASTERN THAILAND
ศรัณย์ อภิชนตระกูล1,2 รัศมี สุวรรณวีระกําธร1,2 ภูริภัทร์ ธูปกระโทก1,2 1
ศูนย์ภูมิภาคเทคโนโลยีอวกาศและ ภูมิสารสนเทศภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 2 ศูนย์ภูมิสารสนเทศเพื่อการพัฒนาภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น sarunap@kku.ac.th rasamee@kku.ac.th puripat@kku.ac.th
บทคัดย่อ การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประยุกต์ใช้โครงข่ายประสาทเทียม (Artificial Neural Network) พยากรณ์แนวโน้ม การเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิบริเวณภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทยในสิบปีข้างหน้า (พ.ศ. 2556-2565) โดยใช้ข้อมูลอุณหภูมเิ ฉลีย ่ รายเดือนย้อนหลัง 60 ปี รวบรวมจากสถานีตรวจวัดสภาพภูมอ ิ ากาศหลักของกรมอุตน ุ ย ิ มวิทยา ในพืน ้ ทีภ ่ าคตะวันออกเฉียงเหนือเพือ ่ สอนและตรวจสอบความแม่นยําของระบบโครงข่ายประสาทเทียม ในกระบวนการ เรียนรู้ของโครงข่ายประสาทเทียมให้พยากรณ์อุณหภูมินั้น ข้อมูลอุณหภูมิในอดีตจะถูกป้อนเข้าไปในโครงข่ายที่มีการ เรียนรู้แบบมีการตรวจสอบผลลัพธ์ (Supervised Learning) เพื่อให้โครงข่ายปรับค่านํ้าหนัก (weight) ที่เชื่อมต่อ กับต่อมประสาทเทียมหรือโหนด (node) ลักษณะของโครงข่ายประสาทเทียมทีใ่ ช้จะอยู่ในรูปแบบของการแพร่เดินหน้า (feed forward network) ซึ่งจะใช้ควบคู่กับอัลกอริธึมวิธีการเรียนรู้แบบแพร่ย้อนกลับ (Back-Propagation) ซึ่งเป็นวิธีการเรียนรู้ของโครงข่ายโดยการเปรียบเทียบค่าที่ถูกต้องกับผลการพยากรณ์และปรับค่านํ้าหนักย้อนหลังไป ตามแต่ละโหนดจนกว่าจะได้ผลข้อมูลที่ผิดพลาดน้อยที่สุดหลังจากที่โครงข่ายประสาทเทียมเรียนรู้ค่าอุณหภูมิ ในอดีตแล้ว โครงข่ายต้องเปลี่ยนรูปแบบจาก แพร่เดินหน้าไปเป็นโครงข่ายแบบวนกลับ (Recurrent Network) เพื่อที่โครงข่ายจะสามารถนําผลข้อมูลที่พยากรณ์ออกมาป้อนกลับเข้าไปในโครงข่ายอีกครั้งเพื่อพยากรณ์ค่าถัดไปอีก เรื่อยๆ จนกระทั่งครบ 10 ปี ผลจากการทดสอบให้โครงข่ายประสาทเทียมพยากรณ์อุณหภูมิของสถานีตรวจวัดสภาพภูมิอากาศในภาคตะวันออก เฉียงเหนือในระยะเวลา 10 ปีที่ผ่านมา (พ.ศ. 2546-2555) เมื่อเปรียบเทียบผลการพยากรณ์กับค่าที่วัดได้จริง ปรากฏว่าค่าความคลาดเคลื่อนสัมบูรณ์เฉลี่ย (mean absolute error) คือ 0.76。C ซึ่งคิดเป็นร้อยละ 2.9 และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ (correlation coefficient) คือ 0.89 ส่วนอุณหภูมิที่พยากรณ์สําหรับ 10 ปีข้างหน้า โครงข่ายประสาทเทียมพยากรณ์ว่าค่าเฉลีย ่ ของอุณหภูมใิ นภาคตะวันออกเฉียงเหนือจะลดลงเล็กน้อยประมาณ 0.05。C โดยที่ห้าปีแรกของทศวรรษหน้าค่าเฉลี่ยอุณหภูมิจะเพิ่มขึ้นประมาณ 0.01。C และจะลดลงประมาณ 0.14。C ในห้าปีหลัง เปรียบเทียบกับค่าที่วัดได้จากสองทศวรรษที่ผ่านมาซึ่งมีผลต่างค่าเฉลี่ยของอุณหภูมิสูงขึ้น 0.19。C ผลการพยากรณ์ของโครงข่ายประสาทเทียมบ่งชีว้ ่า ในทศวรรษหน้าอุณหภูมเิ ฉลีย ่ ทีว่ ด ั ได้จากสถานีตรวจวัดอากาศของ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือจะค่อนข้างคงทีใ่ นครึง่ ทศวรรษแรก และลดลงในครึง่ ทศวรรษหลังแผนทีแ ่ สดงผลการวิเคราะห์ และพยากรณ์ถูกจัดทําขึ้นโดยใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ คําสําคัญ : โครงข่ายประสาทเทียม Artificial Neural Network พยากรณ์อุณหภูมิ แนวโน้มอุณหภูมิภาคตะวัน ออกเฉียงเหนือ ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์
12-14 พฤศจิกายน 2557 ศูนย์ราชการฯ แจ้งวัฒนะ
51
C2-4
ประเมินความเหมาะสมด้านค่าใช้จ่ายการขนส่งอ้อยและ ทีต่ งั ้ โรงงานนํา้ ตาลในจังหวัดมุกดาหาร กรณีศึกษา จังหวัดมุกดาหาร A COST ASSESSMENT OF SUGARCANE TRANSPORTATION USING SPATIAL GRAVITY MODEL AND LINEAR PROGRAMMING
กิ่งแก้ว แก้วบุรี จิรประภา แสนหว้า ปฏิวัติ ฤทธิเดช สาขาภูมิสารสนเทศ คณะวิทยาการสารสนเทศ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม k.kingkaewpop@gmail.com m.j.jirapapha@gmail.com patiwat_noof@hotmail.com
บทคัดย่อ อ้อยเป็นพืชเศรษฐกิจหลักที่สําคัญของประเทศ เป็นแหล่งรายได้ที่สําคัญของเกษตรกรการประเมินความเหมาะสมด้าน ค่าใช้จ่ายการขนส่งอ้อย และที่ตั้งโรงงานนํ้าตาลเป็นสิ่งจําเป็นที่จะต้องทําการวิเคราะห์หาค่าขนส่งตํ่าที่สุด และจุดที่ตั้ง โรงงานที่เหมาะสมที่สุด 1) วิเคราะห์เพื่อนํามาจัดการ ข้อมูลเชิงพื้นที่ด้วยวิธีการ Central Feature ของแต่ละตําบล โดยใช้ข้อมูล Land Use มาเป็นตัวช่วย ในการหาจุด Central Feature ของแต่ละตําบล เพื่อไม่ให้จุด Central Feature ของแต่ละตําบลไป ตกในพื้นที่ที่เป็นเขตหวงห้าม 2) การหาระยะทางที่สั้นที่สุดในการขนส่งอ้อยจากแปลง อ้อยของแต่ละ ตําบลไปยังโรงงานน้ าตาลด้วยวิธี OD Cost Matrix 3) การโปรแกรมเชิงเส้น (Linear Programming) เพือ ่ จัดสรรปริมาณการขนส่งอ้อยให้ได้เหมาะสมทีส ่ ด ุ โดยผลการศึกษาพบว่า พืน ้ ทีท ่ ใี่ ช้ค่าจ่ายน้อย ทีส ่ ด ุ ในการตัง้ โรงงาน นํ้าตาลมากที่สุด คือ พื้นที่เบ็ดเตล็ด และมีค่าใช้จ่ายรวม ผลทีไ่ ด้จากการวิเคราะห์การประเมินความเหมาะสมด้านค่าใช้จ่ายการขนส่งอ้อย และทีต ่ งั้ โรงงานนํา้ ตาลโดยการพัฒนา ระบบด้านการขนส่ง เพือ ่ นําเสนอข้อมูลเชิงพืน ้ ทีแ่ ละข้อมูลเส้นทางที่ เหมาะสมทีส ่ ด ุ ในการขนส่งอ้อยไปยังโรงงานนํา้ ตาล ในจังหวัดมุกดาหาร เพื่อความสะดวกให้กับผู้ที่ สนใจศึกษาด้านการขนส่งในพื้นที่ได้อย่างเหมาะสม คําสําคัญ : อ้อย โรงงานนํ้าตาล ถนน Central Feature Linear Programming
52
การประชุมวิชาการ เทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ ประจําปี 2557
C2-5
ความท้าทายในการเพิม่ โครงข่ายสีเขียว เมืองเชี ยงใหม่
ดารณี ด่านวันดี พันธุ์ระวี กองบุญเทียม
THE CHALLENGE FOR INCREASING GREEN SPACE NETWORKS IN CHIANG MAI CITY
คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการ ออกแบบสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยแม่โจ้ adaranee@gmail.com
บทคัดย่อ งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินศักยภาพพื้นที่ ในการพัฒนาโครงข่ายสีเขียว เส้นทางสีเขียว ปรับปรุงภูมิทัศน์และ สภาพแวดล้อม รวมถึงการเพิ่มพื้นที่สีเขียวในรูปแบบที่เหมาะสมกับพื้นที่ ซึ่งเน้นพื้นที่สีเขียวที่สามารถเชื่อมโยง สวนสาธารณะ พื้นที่พักผ่อนหย่อนใจ เชื่อมโยงเป็นโครงข่ายตามแนวยาวอย่างเป็นระบบ (Kiat W.Tan, 2004) การประเมินศักยภาพใช้แบบประเมินภายใต้กระบวนการวางผังบริเวณตามปัจจัยทางกายภาพ ชีวภาพ สังคม และ สุนทรียภาพ โดยพบว่าประชาชนส่วนใหญ่ ร้อยละ 90.10เห็นว่าควรมีการพัฒนาโครงข่ายสีเขียวในเมืองเชียงใหม่ เพือ ่ ลดปริมาณผู้ใช้รถยนต์ในเมือง และเขตคูเมืองโดยการใช้จก ั รยานจากการศึกษาพบว่าส่วนใหญ่เปน ็ ผู้ทเี่ คยใช้จก ั รยาน เพื่อออกกําลังกาย ถึงร้อยละ 59.20 และเดินทางในระยะสั้นด้วยจักรยาน ประมาณ 7.0 กิโลเมตร ถึงร้อยละ 17.00 โดยเฉพาะการเดินทางในละแวกบ้าน ซึง่ มีสภาวะแวดล้อมทีเ่ อือ ้ อํานวยโดยมีลก ั ษณะภูมป ิ ระเทศทีค ่ ่อนข้างราบ อากาศดี ร่มรืน ่ ดังนัน ้ การออกแบบโครงข่ายสีเขียว จึงเลือกเส้นทางคูเมืองรอบนอก ถนนห้วยแก้ว ถนนท่าแพเชือ ่ มถนนเจริญเมือง ถึงสวนรถไฟเป็นพื้นที่ต้นแบบ การกําหนดเส้นทางจักรยานแบบทางร่วมในเส้นทางจราจร 1 ช่องขนาด 1.50 เมตร (สรศักดิ์, 2553) สําหรับการเพิ่มพื้นที่สีเขียวพบว่า ประชาชนเสนอแนะให้ปลูกพรรณไม้ยืนต้น และรณรงค์การใช้ไม้ กระถางแขวนในพืน ้ ทีเ่ มืองเพือ ่ ลดปัญหาความร้อนของอาคารสูงในเมือง ทัง้ นีเ้ พือ ่ รักษาทัศนียภาพ และภูมิทศ ั น์เมืองที่ มีเอกลักษณ์เฉพาะตัวเอาไว้ การออกแบบเส้นทางจักรยานทีป ่ ลอดภัยสําหรับชุมชนควรใช้ความเร็วตํา่ มีการจราจรน้อย และควรแยกทางจักรยานจากถนนหลัก ส่วนแนวทางการปรับปรุงสิง่ อํานวยความสะดวกในเส้นทางจักรยานต้องคํานึงถึง ความคล่องตัว ชัดเจน สวยงาม และความปลอดภัยของผู้ใช้เป็นสําคัญ คําสําคัญ : โครงข่ายสีเขียว พื้นที่สีเขียว เมืองเชียงใหม่
12-14 พฤศจิกายน 2557 ศูนย์ราชการฯ แจ้งวัฒนะ
53
D1-1
แบบจําลองภูมิประเทศกูเกิล้ เอิร์ธเพือ่ ชุมชน THE GOOGLE EARTH TOPOGRAPHIC FOR COMMUNITIES
ศราวุธ พงษ์ลี้รัตน์ ภาควิชาเทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยฟาร์อีสเทอร์น nuinui2000@hotmail.com
บทคัดย่อ แบบจําลองภูมิประเทศกูเกิ้ลเอิร์ธ สามารถสร้างการมีส่วนร่วมในชุมชนที่ก่อให้เกิดกระบวนการแลกเปลี่ยนการเรียนรู้ ร่วมกัน โดยแบบจําลองภูมป ิ ระเทศเปน ็ กลไกสําคัญในการบริหารงานเชิงพืน ้ ทีใ่ นชุมชน อาทิ แผนทีภ ่ ม ู ป ิ ระเทศ ตําแหน่ง ครัวเรือน ตําแหน่งผู้ป่วย เส้นทางคมนาคม เส้นทางศึกษาธรรมชาติ ขอบเขตพื้นที่ทํากิน ขอบเขตพื้นที่อนุรักษ์ เป็นต้น โดยชุมชนเป็นผู้สร้างฐานข้อมูลบนแบบจําลองภูมิประเทศได้ด้วยตนเอง นักเรียน นักศึกษาที่เกิดและเติบโตในหมู่บ้าน (Generation-Y) จะเป็นผู้เชื่อมโยงเทคโนโลยีทางด้านภูมิสารสนเทศแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกับผู้สูงอายุในหมู่บ้าน (Generation-X) เพื่อการบริหารจัดการท้องถิ่นผ่านแบบจําลองภูมิประเทศกูเกิ้ลเอิร์ธ ผลการศึกษาพบว่าแบบจําลองภูมป ิ ระเทศกูเกิล ้ เอิร์ธ ก่อให้เกิดกระบวนการการเรียนรู้ การประยุกต์ใช้ และการแลกเปลีย ่ น ประสบการณ์ทางด้านเทคโนโลยีภม ู ส ิ ารสนเทศร่วมกันอย่างเปน ็ รูปธรรม ชุมชนมีเครือ ่ งมือในการบริหารจัดการทําให้เข้าใจ ถึงสภาพของปัญหาทีแ่ ท้จริงอันจะนําไปสู่การดําเนินการแก้ไขได้อย่างมีประสิทธิภาพ คําสําคัญ : แบบจําลองภูมิประเทศ ภูมิสารสนเทศเพื่อชุมชน
54
การประชุมวิชาการ เทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ ประจําปี 2557
D1-2
คฑาวุธ ภาชนะ1 กฤษนัยน์ เจริญจิตร2* จักรพันธ์ นาน่วม3 เลิศพงศ์ สุวรรณเลิศ1
การประยุ กต์ภาพถ่ายดาวเทียม Landsat 8 OLI เพือ่ สร้างแผนทีก่ ารกักเก็บคาร์บอนของสวนป่ า ในภาคตะวันออก ประเทศไทย
1
CARBON STOCK MAPPINGOF PLANTATIONS USING LANDSAT 8 OLI DATA IN EASTERN THAILAND
ศูนย์ความเป็นเลิศด้านอนามัย สิ่งแวดล้อม และพิษวิทยา (คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา) สํานักพัฒนาบัณฑิตศึกษาและวิจัย ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 2 คณะภูมิสารสนเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา 3 คณะวิทยาศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา kitsanai@buu.ac.th
บทคัดย่อ การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประมาณการกักเก็บคาร์บอนในสวนป่ายางพาราและยูคาลิปตัส โดยประยุกต์ข้อมูล ดาวเทียม Landsat 8 OLI (Operational Land Imager) ในพื้นที่ภาคตะวันออก ประเทศไทย (36,622 ตาราง กิโลเมตร) และจัดทําฐานข้อมูลดิจิตอลในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อสนับสนุนโครงการคาร์บอนเครดิต (Carbon credit) ในภาคป่าไม้ซึ่งวิธีการศึกษาได้แบ่งออกเป็นสองส่วนคือ การสํารวจป่าไม้ในภาคสนามและการวิเคราะห์ข้อมูล ดาวเทียมการสํารวจป่าไม้ในภาคสนามได้ดําเนินการสุ่มวางแปลงตัวอย่างชั่วคราวของสวนป่า ได้แก่ ยางพาราช่วงชั้น อายุอ่อน (เฉลี่ย 12 -25 ปี) และยูคาลิปตัส (เฉลี่ย 5 ปี) การวิเคราะห์ข้อมูลดาวเทียม ได้คัดเลือกภาพ Landsat 8 OLI คุณภาพ Level 1T และดําเนินการขยายรายละเอียดเชิงพื้นที่ให้มีรายละเอียด 15 เมตร (Pan-sharpened image) จากนั้นจําแนกพื้นที่ปลูกยางพาราและยูคาลิปตัสด้วยวิธีการจําแนกด้วยคอมพิวเตอร์แบบระบบผู้เชี่ยวชาญ จากนั้นคํานวณปริมาณการกักเก็บมวลชีวภาพโดยสมการอโลเมตริกและใช้ค่าคงที่ร้อยละ 50 ของมวลชีวภาพ ในการ ประเมินปริมาณการกักเก็บคาร์บอน จากผลการจําแนกพืน ้ ทีส ่ วนป่าด้วยข้อมูลการสํารวจระยะไกลพบว่า ปี 2557 พืน ้ ที่ สวนป่าภาคตะวันออกมีทั้งหมด 7,038 ตารางกิโลเมตรโดยแบ่งเป็นสวนป่ายูคาลิปตัสจํานวน 1,900 ตารางกิโลเมตร (27%ของพื้นที่สวนป่า) และยางพาราจํานวน 5,135 ตารางกิโลเมตร (73%ของพื้นที่สวนป่า) ดังนั้นสามารถคํานวณ เป็นปริมาณการกักเก็บคาร์บอนในภาคสวนป่าได้เป็นจํานวนทั้งหมด 54 ล้านตัน คําสําคัญ : การกักเก็บคาร์บอน Landsat 8 OLI ยางพารา ยูคาลิปตัส
12-14 พฤศจิกายน 2557 ศูนย์ราชการฯ แจ้งวัฒนะ
55
D1-3
การวิเคราะห์หาพืน้ ทีท่ มี่ ีศักยภาพสาหรับติดตัง้ พลังงาน แสงอาทิตย์ในจังหวัดเลยโดยการใช้ระบบภูมิสารสนเทศ POTENTIAL SITE FOR SOLAR INSTALLATIONS IN LOEI PROVINCE USING GEO-INFORMATICS
อัจฉรา จันทร์แย้ วรรณนิภา ด่านซ้าย ปฎิวัติ ฤทธิเดช สาขาภูมิสารสนเทศ คณะวิทยาการ สารสนเทศ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม atchara_yok@hotmail.com Tomai_01@hotmail.com
บทคัดย่อ พลังงานแสงอาทิตย์ เป็นพลังงานทดแทนที่มีศักยภาพสูง ปราศจากมลพิษ ไม่ก่อให้เกิดผลเสียต่อธรรมชาติ สัตว์ สิง่ แวดล้อมรวมถึงตัวมนุษย์ด้วย สามารถเกิดขึน ้ ใหม่ได้และใช้ไม่มวี น ั สิน ้ สุด โดยนาพลังงานแสงอาทิตย์มาใช้ในการผลิต กระแสไฟฟ้าและผลิตความร้อน การศึกษานี้เป็นการประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อการเลือกพื้นที่ ที่เหมาะสมสําหรับโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ วิธีการศึกษาประกอบด้วย 3 ขั้นตอน ขั้นตอนแรกเก็บรวบรวมข้อมูล ใช้ดาวเทียม Landsat 5 TM ปี 2006 , 2009 และ 2011 ขั้นตอนสองปัจจัยที่ใช้ได้แก่ อุณหภูมิพื้นผิว การใช้ ประโยชน์ที่ดิน ความเข้มรังสีดวงอาทิตย์ ความโค้งพื้นผิว โดยนํามาให้ค่านํ้าหนักด้วยกระบวนการการวิเคราะห์แบบ ลําดับขัน ้ จากผู้เชีย ่ วชาญ ขัน ้ ตอนสุดท้ายทาการซ้อนทับข้อมูล (Overlay) โดยใช้เครือ ่ งมือในโปรแกรม Arcmap9.3.1 โดยผลการศึกษา แบ่งพื้นที่เหมาะสมออกเป็น 5 ระดับคือ ความเหมาะสมมากที่สุด 2,047.21 ตร.กม ความเหมาะสม มาก 5,752.40 ตร.กม ความเหมาะสมปานกลาง 2,118.69 ตร.กม ความเหมาะสมน้อย 351.53 ตร.กม ไม่มีความ เหมาะสม 32.79 ตร.กม ตามลําดับ ผลที่ได้สามารถนําไปใช้ในการตัดสินใจเลือกพื้นที่ที่มีศักยภาพสาหรับการตั้ง โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ได้อย่างเหมาะสม คําสําคัญ : อุณหภูมิพื้นผิว ความเข้มรังสีดวงอาทิตย์ กระบวนการการวิเคราะห์แบบลาดับขั้น ความโค้งพื้นผิว
56
การประชุมวิชาการ เทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ ประจําปี 2557
D1-4
กรุณา พิมพ์ประสานต์1 อิทธิ ตริสิริสัตยวงศ์
การวิเคราะห์หาทีต่ งั ้ ฝายต้นนํา้ ทีเ่ หมาะสม ด้วยระบบภูมิสารสนเทศ
ภาควิศวกรรมสํารวจ คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ANALYSIS FOR SELECTING SUITABLE LOCATION OF CHECKDAMS USING GIS
1
pongneng19@hotmail.com
บทคัดย่อ งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างแบบจําลองทางระบบภูมิสารสนเทศในการหาที่ตั้งที่เหมาะสมของฝายต้นนํ้าสําหรับ พื้นที่ป่าต้นนํ้าพื้นที่ศึกษาคืออ่างเก็บนํ้าห้วยสําโหรงมีขนาดพื้นที่ 10.08 ตร.กม. อยู่ในพื้นที่อุทยานแห่งชาติกุยบุรี อําเภอกุยบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ประโยชน์ของงานวิจัยนี้ช่วยในการคํานวณหาตําแหน่งและจํานวนที่เหมาะสม เพื่อนําไปใช้ในการวางแผนคํานวณงบประมาณและปริมาณนํ้าเก็บกักหน้าฝายต้นนํ้า การหาตําแหน่งฝายต้นนํ้าเริ่มต้นจากการสร้างเส้นชั้นความสูงเท่ากับความสูงฝายต้นนํ้าและสร้างเส้นทางนํ้าจากข้อมูล แบบจําลองความสูงของกรมพัฒนาทีด ่ น ิ มาตราส่วน 1: 4,000 จากนัน ้ นําเส้นทางนํา้ และเส้นชัน ้ ความสูงมาซ้อนทับเพือ ่ หาตําแหน่งจุดตัดและกําหนดเป็นตําแหน่งที่ตั้งฝายต้นนํ้าทําการลดจํานวนฝายต้นนํ้าด้วยวิธีการเลือกเฉพาะฝายต้นนํ้า ที่สามารถนําไปใช้งานได้จริงหรือเลือกจากฝายที่ตั้งอยู่บนเส้นทางนํ้าที่มีอยู่จริงในธรรมชาติและเส้นทางนํ้าที่มีนํ้าไหล เฉพาะในฤดูนํ้าหลากนําผลของตําแหน่งและจํานวนฝายต้นนํ้าที่ได้มาคํานวณหาปริมาณนํ้าเก็บกักหน้าฝายต้นนํ้า ด้วยการกําหนดรูปแบบให้กับเส้นทางนํ้าเพื่อใช้เลือกวิธีการคํานวณเช่นแบบ U-shape และแบบ V-shape สุดท้าย คํานวณหางบประมาณที่ใช้ในการสร้างฝายต้นนํ้าทั้งหมดในพื้นที่ศึกษา ผลการศึกษาพบว่าควรมีการสร้างฝายต้นนํ้าในพื้นที่ป่าต้นนํ้าอ่างเก็บนํ้าห้วยสําโหรงจํานวน 679 ฝาย ใช้งบประมาณ ในการสร้างฝายต้นนํ้าในพื้นที่ศึกษานี้ทั้งหมด 4,385,000 บาท มีปริมาณนํ้าเก็บกักหน้าฝายต้นนํ้ารวมทั้งหมด 9,442.98 ลบ.ม. เปน ็ ฝายต้นนํ้าแบบผสมผสานจํานวน 637 ฝาย เปน ็ ฝายต้นนํ้าแบบกึ่งถาวรจํานวน 36 ฝายและเปน ็ ฝายต้นนํา้ แบบถาวรจํานวน 6 ฝายผลของจํานวนฝายต้นนํา้ ทีไ่ ด้จากงานวิจย ั นีเ้ มือ ่ นํามาหาค่าเฉลีย ่ ของระยะห่างระหว่าง ฝายต้นนํ้าผลที่ได้คือ 11.13 เมตร สรุปได้ว่าการหาที่ตั้งด้วยวิธีการนี้มีความถี่ในการสร้างฝายต้นนํ้าเป็นจํานวนมาก จึงต้องมีการหาวิธก ี ารเพือ ่ เพิม ่ ระยะห่างโดยเฉลีย ่ ของฝายต้นนํา้ ต่อไป ในงานวิจย ั นีไ้ ด้เสนอวิธก ี ารลดจํานวนฝายต้นนํา้ เพือ ่ เพิม ่ ระยะห่างโดยเฉลีย ่ ของฝายต้นนํา้ ไว้ 2 วิธค ี อ ื การเพิม ่ ความสูงฝายต้นนํา้ และการเพิม ่ ระยะห่างระหว่างฝายต้นนํา้ จากระดับความสูงของที่ตั้งฝายต้นนํ้าผลที่ได้คือมีจํานวนฝายลดลงและระยะห่างโดยเฉลี่ยของฝายต้นนํ้าเพิ่มขึ้นด้วย คําสําคัญ : ฝายต้นนํ้า ฝายชะลอความชุ่มชื้น ฝายแม้ว ระบบภูมส ิ ารสนเทศ
12-14 พฤศจิกายน 2557 ศูนย์ราชการฯ แจ้งวัฒนะ
57
D2-1 (PEER REVIEW)
่ น การเติบโตทางเศรษฐกิจ แสงไฟยามคําคื และความเหลือ่ มลํา้ เชิ งพืน้ ทีข่ องไทย
ธานี ชัยวัฒน์ คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย thanee.c@chula.ac.th
NIGHTLIGHTS, ECONOMIC GROWTH, AND SPATIAL INEQUALITY OF THAILAND
บทคัดย่อ บทความนีน ้ าํ เสนอวิธก ี ารประมาณค่าอัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจรายจังหวัด โดยใช้ภาพถ่ายดาวเทียมทีแ ่ สดงแสงไฟ ยามคํ่าคืนในช่วง พ.ศ. 2535-2552 ขององค์การบริหารการบินและอวกาศแห่งชาติ (NASA) เนื่องจากความสว่าง ของแสงไฟยามคํา่ คืนมีพน ื้ ฐานจากจํานวนกิจกรรมทางเศรษฐกิจของพืน ้ ทีน ่ น ั้ ๆ ผลการศึกษาแสดงให้เห็นว่า ความสว่าง ของแสงไฟมีความสัมพันธ์ทางบวกกับอัตราการเติบโตของเศรษฐกิจอย่างมีนัยสําคัญ แม้ว่าจะควบคุมปัจจัยที่อาจจะ มีผลต่อความสัมพันธ์ เช่น จํานวนประชากร เวลา สัดส่วนมูลค่าภาคเกษตรหรืออุตสาหกรรมต่อ GPP ความสัมพันธ์ ดังกล่าวก็ยังคงไม่เปลี่ยนแปลง ผลจากงานวิจัยนี้ยืนยันความสัมพันธ์ของความสว่างของแสงไฟและอัตราการเติบโต ของเศรษฐกิจในรายจังหวัด นอกจากนี้ บทความยังประยุกต์ผลที่ได้เพื่อแสดงให้เห็นถึงความสัมพันธ์ระหว่างระดับของ เศรษฐกิจกับความไม่เท่าเทียมกันเชิงพื้นที่ในรายจังหวัด ซึ่งนําไปสู่ความเข้าใจในรูปแบบการพัฒนาของประเทศไทย ในอีกมิติหนึ่ง คําสําคัญ : แสงไฟยามคํ่าคืน การเติบโตทางเศรษฐกิจ กิจกรรมทางเศรษฐกิจ ผลผลิตมวลรวมรายจังหวัด
58
การประชุมวิชาการ เทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ ประจําปี 2557
D2-2 (PEER REVIEW)
การสอบเทียบกล้องแบบทัว่ ไปโดยใช้ค่าความผิดพลาด ในปริภูมิของวัตถุ A GENERIC CAMERA CALIBRATION METHOD USING OBJECT SPACE ERROR
ภานุ เศรษฐเสถียร นรุตม์ สุนทรานนท์ สํานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและ ภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน) panu@gistda.or.th
บทคัดย่อ บทความนี้นําเสนอวิธีการในการสอบเทียบ (calibration) กล้องแบบทั่วไปซึ่งไม่จํากัดต่อชนิดของกล้องที่เป็นแบบ single view point โดยข้อมูลที่ใช้ในการสอบเทียบคือภาพถ่ายของระนาบสอบเทียบ (calibration plane) ที่ถ่าย จากหลายมุมมอง โดยค่าความผิดพลาดจากการประมาณ (estimation error) เป็นแบบความผิดพลาดในปริภูมิ ของวัตถุ (object space error) ข้อดีของการใช้ความผิดพลาดในปริภูมิของวัตถุคือมีความหมายในเชิงกายภาพ มากกว่าการใช้ความผิดพลาดที่นิยามบนระนาบของภาพ โดยเฉพาะอย่างยิ่งภาพที่ได้จากเลนส์ที่มีความโค้งมาก เช่น เลนส์ตาปลา ประสิทธิภาพของวิธีการที่นําเสนอถูกประเมินโดยใช้ข้อมูลได้จากการจําลอง (simulated data) และข้อมูลจากกล้องจริง โดยข้อมูลทีไ่ ด้จากการจําลองจะนํามาทดสอบประสิทธิภาพเทียบกับระดับของสัญญาณรบกวน บนภาพซึ่งจากผลการทดลองพบว่าค่าความผิดพลาดจากการประเมินมีความสัมพันธ์เชิงเส้นเทียบกับระดับสัญญาณ รบกวน จากการทดลองโดยใช้ข้อมูลจริงพบว่าผลที่ได้จากการสอบเทียบโดยใช้วิธีการหาค่าที่เหมาะสมแบบไม่เชิงเส้น (non-linear optimization) สามารถลดค่าความผิดพลาดของการสอบเทียบได้เมื่อเทียบกับการใช้เริ่มต้น หรือค่าที่ ได้จากผู้ผลิต คําสําคัญ : การสอบเทียบกล้อง เลนส์แบบมุมกว้าง ความผิดพลาดในปริภูมิของวัตถุ แบบจําลองแบบทั่วไป
12-14 พฤศจิกายน 2557 ศูนย์ราชการฯ แจ้งวัฒนะ
59
D2-3 (PEER REVIEW)
การศึกษาการปรับแก้ข้อมูลความสูงไลดาร์บน WGS84 ลงสู่ระดับนํา้ ทะเลปานกลาง A STUDY OF THE ACCURACY IMPROVEMENT OF ELEVATION DATA ON MEAN SEA LEVEL FROM WGS84 DATUM
วรพจน์ มาศิริ ภาควิชาวิศวกรรมสํารวจ คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Worapod.M@student.chula.ac.th
ดร.ธงทิศ ฉายากุล ภาควิชาวิศวกรรสํารวจ คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย thongthit.c@chula.ac.th
บทคัดย่อ การสํารวจด้วยระบบไลดาร์เป็นการสํารวจที่ให้ข้อมูลความถูกต้องทางดิ่งสูง ในการสํารวจด้วยระบบไลดาร์นั้นข้อมูล ทีไ่ ด้จะมีความสูงอ้างอิงพืน ้ หลักฐานทรงรี WGS84 ในการประยุกต์ใช้ในงานด้านต่างๆ จะใช้ความสูงทีอ ่ ้างอิงกับระดับ นํ้าทะเลปานกลาง ทําให้ต้องมีกระบวนการแปลงพื้นหลักฐานจากพื้นหลักฐานทรงรี WGS84 ไปเป็นระดับนํ้าทะเล ปานกลาง ดังนัน ้ พืน ้ ผิวทีใ่ ช้แปลงความสูงจึงมีผลต่อความถูกต้องทางดิง่ ของข้อมูลไลดาร์ทจี่ ะนําไปใช้งาน ในการศึกษานี้ จะได้เปรียบเทียบวิธีการแปลงพื้นหลักฐานข้อมูลไลดาร์ในพื้นที่กรุงเทพฯ ด้วยการหาค่าความสูงยีออยด์ (Geoid Undulation) ที่ได้จากการประมาณค่าภายใน (interpolation) แบบ IDW, Spline, Kriging และ Triangulated Irregular Network (TIN) เปรียบเทียบกับการแปลงด้วยพื้นผิวยีออยด์สากล EGM96 และ EGM2008 ว่าแบบใด ให้ความถูกต้องทางดิ่งของข้อมูลไลดาร์เมื่อตรวจสอบกับจุดควบคุมได้ดีที่สุด เพื่อนําไปใช้ในการแปลงความสูงข้อมูล ไลดาร์ต่อไป คําสําคัญ : ไลดาร์ การแปลงความสูง การปรับปรุงความถูกต้อง
60
การประชุมวิชาการ เทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ ประจําปี 2557
D2-4
การประมาณค่าความหนาแน่นของประชากรด้วยวิธีการ วิเคราะห์ความเป็นสมาชิ กคลุมเครือ กรณีศึกษา: ตําบลตลาด อําเภอเมืองจังหวัดมหาสารคาม APPLICATION OF GEOINFORMATICS FOR LAND USE CHANGES EVALUATION AND SOIL CARBON STOCK : CASE STUDY MAE CHAEM WATERSHED
สุชาดา เวียงสิมา ยศธพล ไชยเบ้า ปฎิวัติ ฤทธิเดช หลักสูตรภูมิสารสนเทศ สํานักเทคโนโลยี สารสนเทศ คณะวิทยาการสารสนเทศ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม suchada.gis@gmail.com
บทคัดย่อ โดยปกติการแสดงจํานวนประชากรจะบอกเป็นคนต่อตารางเมตร ซึ่งเมื่อนําข้อมูลดังกล่าวไปใช้งานอาจจะไม่สามารถ สะท้อนความหนาแน่นมากน้อยแท้จริงได้ ในการศึกษานีจ้ งึ นําวิธก ี ารถ่วงนํา้ หนักแบบฟัซซีแ่ ละระบบสารสนเทศภูมศ ิ าสตร์ มาสร้างแผนที่ความหนาแน่น และแผนที่จํานวนประชากรในเขตตําบลตลาด โดยรวบรวมข้อมูลจุดของประชากรที่อยู่ หนาแน่น เช่น โรงเรียน มหาวิทยาลัย โรงพยาบาล ตลาดสด บขส. และศูนย์ราชการ นําข้อมูลตัวเลขมาแบ่งคลาส เริม ่ จากน้อย ปานกลาง และมาก เริม ่ จากการแปลงภาษาพูดเปน ็ ภาษาตัวเลขของฟัซซีแ่ ละใช้เทคนิค Inverse Distance Weighted (IDW), Kriging, Spline ผลการศึกษาอ้างอิงตามข้อมูลจากรมการปกครองพบว่าจํานวนประชากรในตําบลตลาดทั้งหมดเท่ากับ 46,117 คน และผลจากการคํานวณหาความหนาแน่นของประชากรในพืน ้ ทีต ่ าํ บลตลาดคิดเป็นคนต่อตารางเมตร จะกําหนด Cell Size เป็น 1 Cell size = 50x50 เมตร เท่ากับ 2,500 ตารางเมตร มีประชากร อยู่ 4.96 คน จากข้อมูลการศึกษา ความหนาแน่นของประชากรสามารถนําไปปรับประยุกต์ใช้ในการจัดการพืน ้ ทีอ ่ ยู่อาศัยของประชากรและพืน ้ ทีเ่ ศรษฐกิจ เพื่อไม่ให้เกิดความแออัดของชุมชน คําสําคัญ : ความหนาแน่นของประชากร Fuzzy IDW Kriging Splin
12-14 พฤศจิกายน 2557 ศูนย์ราชการฯ แจ้งวัฒนะ
61
นิทรรศการ นิทรรศการในจัดประชุมวิชาการ เทคโนโลยีอวกาศและภูมส ิ ารสนเทศ แห่งชาติ ประจําปี 2557 : GEOINFOTECH 2014 ระหว่างวันที่ 12-14 พฤศจิกายน 2557 ณ ศูนย์ประชุมวายุภักษ์ โรงแรมเซ็นทรา ศู น ย์ร าชการและคอนเวนชั น เซ็ น เตอร์ และลานอเนกประสงค์ อาคารรัฐประศาสน-ภักดี ศูนย์ราชการฯ แจ้งวัฒนะ กรุงเทพมหานคร ประกอบด้วยนิทรรศการความก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยีอวกาศและ ภูมิสารสนเทศ การประยุกต์ใช้ข้อมูลดาวเทียมไทยโชต ผลงานวิจัย และข้อ มู ล ภู มิ ส ารสนเทศในหลากหลายสาขา อาทิ การเพิ่ ม ประสิทธิภาพและประสิทธิผลทาง การเกษตร ด้านภัยพิบัติ ด้านการ จัดการป่าไม้ การใช้ประโยชน์ทด ี่ น ิ การจัดการผังเมือง และทรัพยากร สิ่งแวดล้อม นิทรรศการจากหน่วยงานภาครัฐและเอกชน นิทรรศการ ภารกิ จ สทอภ. หน่วยงานเจ้าภาพร่วมและศูนย์ภูมิภาคเทคโนโลยี อวกาศและภูมิสารสนเทศ สทอภ. รวมถึงนิทรรศการจากหน่วยงาน จากท้องถิ่นในการใช้งานภูมิสารสนเทศในการบริหารจัดการท้องถิ่น ดังรายละเอียดและแผนผังต่อไปนี้
EXHIBITION 62
การประชุมวิชาการ เทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ ประจําปี 2557
แผนผังนิทรรศการ ลานอเนกประสงค์ อาคารรัฐประศาสนภักดี ศูนย์ราชการฯ แจ้งวัฒนะ กรุ งเทพมหานคร
12-14 พฤศจิกายน 2557 ศูนย์ราชการฯ แจ้งวัฒนะ
63
ผู ส้ นับสนุนและร่วมจัดนิทรรศการ £ ¤t¡«w £ A1 A2 A3 A4 A5 A6 A7 A8, A10 A9 B1, B3 B2 B4 B5 B6 B7 B8 B9 B10 C1-C2 C3-C4 D1 D2 D3 D4 E1-E2 E3 E4 F1-F4 G1-G2 G3 G4
64
¤¯ }§ ¢ ¢ u¡ | y {Å Geo-informatics Media Contest 2014 International Society for Photogrammetry and Remote Sensing - STUDENT CONSORTIUM (ISPRS-SC) APRSAF Poster Contest The ASIAN Association on Remote Sensing – STUDENT GROUP (ASG) ¢ Å~ ¥ t{ Å Å ¯ |Ç ¥ (}~w Å £ ¯ ) : BEDO SkyMap Global { ¤ Ç Ç wt w± ±¡¤ }|Å {u¡ Ç ¢ ¢ t { Ç w²z £ | ¤ ¡ ¤¢~«¡ w ASIA AERO SURVEY CO,LTD { ¤ Ç Ç wt w± ±¡¤ }|Å {u¡ Ç ¢ ¢ t { Ç wt£ } £ | ¤ ¡ ¤t¯ ¤~²£ DigitalGlobe International Inc. Å y Å}~ ~£¡|~¥ t{ £| ~t }~ Å ~£¡|~ ¢Æ ¢ y |t ¤ © Ç £ | ¤ ¡ ¤tÅ z { ¢z CHULABHORN SATELLITE RECEIVING STATION Å } Å{ ¢z Å}~ ¥t } { ¤ tz } Ç ¤¥ z u£ ~¯ z Å ¥¤ Å ~ t¡u¡ ¯ ¤¨ ~ Å u§ £ ¢ Å~ ¢Æ z u£ ~¯ z ¥ v°¢ ¢z ¡ u} y w} ¢z w¯ Å y Geo-informatics Applications Contest : G-CON REPCO SI Imaging Services (SIIS) ¢Æ Ç Ç wt w± ±¡¤ }|Å {u¡ Ç ¢ ¢ t { Ç wt£ }z} ¡ ~ £ | ¤ ¡ ¤ t {| ¢Æ z¥ £ { ¢z CANON { ¤ Ç Ç wt w± ±¡¤ }|Å {u¡ Ç ¢ ¢ t { Ç wz | }}Åtª ¤~t£ } £ | ¤ ¡ ¤«} uÅ ¢ w | ¤ u£ ~ t {v ¤ ³} w} } ¢ t (v ¤u¡ y ) Å y TOPCON INSTRUMENT THAILAND CO.,Ltd. }¡¡ | y} tz} t ¯ u ¡ Å y HOLLYWOOD INTERNATIONAL GROUP Airbus Defence and Space-Geo Intelligence ASIAN Aerospace Services Ltd.
การประชุมวิชาการ เทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ ประจําปี 2557
นิทรรศการภาคเอกชน ลานอเนกประสงค์ อาคารรัฐประศาสนภักดี ศูนย์ราชการฯ แจ้งวัฒนะ กรุ งเทพมหานคร บริษท ั ทัง้ ในและต่างประเทศให้การสนับสนุนอย่างเป็นทางการ และร่วมจัดแสดงความก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยีอวกาศ และภูมส ิ ารสนเทศ และการประยุกต์ใช้ข้อมูลภูมส ิ ารสนเทศในด้านต่างๆ รวมทัง้ เปน ็ ศูนย์รวมแสดงอุปกรณ์เครือ ่ งมือ ทีใ่ ช้ในงานต่างๆ ไม่ว่าจะเปน ็ งานด้านระบบสารสนเทศทางภูมศ ิ าสตร์ (GIS) การสํารวจข้อมูลระยะไกล (RS) ระบบ กําหนดตําแหน่งบนโลก (GPS) การทําแผนที่ การสํารวจ การประมวลผลข้อมูล และการพิมพ์ เปน ็ ต้น
Skymap Global Pte Ltd. Booth Number : A6
Address : 10, Jalan Besar#07-10, Sim Lim Tower ,Singapore 208787SI Imaging Services, Satrec Initiative Group, 441 expo-ro, Yuseong-gu, Daejeon, 305-714, KoreaTel : +65-62860018 E- mail : salesglobal@skymapglobal.com Website :http://www.skymapglobal.com/contact#sthash.yOiI2RTQ.dpuf
Skymap Global develops geospatial based applications for National Security & Intelligence (Land, Naval, Air), Coastal & Inland Waters, Engineering, Financial Services, Environment, Agriculture and Plantation sectors. SkyMap Global solutions include Defense/Police Command Control, Intelligence Analysis, Ship Detection and Classification, Water Quality Monitoring, Bathymetry, Dredging Monitoring, Engineering & Construction Planning, Plantation Planning & Monitoring, Agriculture Zoning and Classification and Catastrophe Analysis & Risk Assessment. SkyMap Global also provides products for country wide aerial and satellite imagery processing, feature extraction (including 3D), analysis and basemap generation for large scale planning and monitoring.
ASIA AERO SURVEY CO,LTD Booth Number : A8 & A10
Address : (Baekseok-dong, Donmoongoodmorning Tower2) 401, 358-25, Hosu-ro, Ilsandong-gu Goyang-si, Gyeonggi-do 410-704, Korea Seoul Office : 710-ho A-dong Woolim Blue 9, 582 Yangcheon-ro, Gangseo-gu, Seoul 157-779, Korea Tel : 02 147 0205 / 081 148 0773 Fax : 02 147 0205 E- mail : kss0730@gmail.com Website : http://www.asiahyper.co.kr
The ASIA Aero Survey is a leading provider of Mapping and GIS services to the domestic and neighboring offshore market in the last 20 years, and during this time, we have progressively increased our capabilities and expertise. Our Company is mainly active in Geo-Spatial data capture(Terrestrial, Airborne, Underground and Hydrographic), Topographic Mapping, Remote Sensing, Digital data production for engineering design, Survey and GIS Development market. Our Company’s traditional role has been surveying for the National Base Map and the National Control Points which are managed by NGII(National Geographic Information Institute). Our skilled personnel and innovative technologies allow us to provide a responsive, flexible and high quality services on all types of mapping and GIS development projects. Over the past 20 years, Asia Aero Survey has been very successful in providing domestic and global mapping services in various GIS related business sectors.
12-14 พฤศจิกายน 2557 ศูนย์ราชการฯ แจ้งวัฒนะ
65
DigitalGlobe International Inc. Booth Number : B1 & B3
Address : 1 Kim Seng Promenade, #09-01 , Great World City East Tower ,Singapore 237994 Tel : +65.6389.4851 Fax : +65.6732.9010 E- mail : yuu@digitalglobe.com Website: http://www.digitalglobe.com
DigitalGlobe is a leading global provider of commercial high-resolution earth imagery products and services. Sourced from our own advanced satellite constellation, our imagery solutions support a wide variety of uses within defense and intelligence, civil agencies, mapping and analysis, environmental monitoring, oil and gas exploration, infrastructure management, Internet portals and navigation technology. With our collection sources and comprehensive image library (containing over 4 billion square kilometers of earth imagery and imagery products) we offer a range of on- and offline products and services designed to enable customers to easily access and integrate our imagery into their business operations and applications.
บริษัท เรพโก้ คอร์ปอเรชั่ น จํากัด (Repco Corporation Co., Ltd.) หมายเลขบู ธ : D1
ที่อยู่ : 100/1114 Srinakarin Rd. , Bang-Muang, Muang Samutprakarn Thailand 10270 โทรศัพท์ : 086-701-1125 โทรสาร : 02-619-9177 E- mail : nikorn@repco.co.th Website : http://www.repco.co.th
“Thailand-based system integrator for GNSS equipments and inertial navigation system (INS)” Repco Corporation Co., Ltd. is a Thailand-based dealer for GPS equipments and applications
SI Imaging Services (SIIS) Booth Number : D2
Address : SI Imaging Services, Satrec Initiative Group, 441 expo-ro, Yuseong-gu, Daejeon, 305-714, Korea Tel : (+82) 70-7835-8758 Fax : (+82) 70-7882-6105 E- mail : (+82) 10-4184-8649 Website : www.si-imaging.com
Satrec Initiative, a leading solution provider for Earth observation missions, announced an agreement with Korea Aerospace Research Institute (KARI) for “Worldwide Marketing and Sales Representative of KOMPSAT-2, 3 and 5 Image data”. KARI assigned Satrec Initiative as the ‘worldwide exclusive representative’ for KOMPSAT imagery sales. “Satrec Initiative is pleased that KARI has selected us as the representative for KOMPSAT imagery sales. The KOMPSAT imagery will serve worldwide customers as an alternate source of earth observation data,” said Sungdong Park, President and CEO of Satrec Initiative. “Also, we expect the growth of Korean remote sensing industry through commercialization of KOMPSAT imagery by domestic company.”
บริษัท แคนนอน มาร์เก็ตติง้ (ไทยแลนด์) จํากัด หมายเลขบู ธ : E1-E2
ที่อยู่ : เลขที่ 98 อาคาร สาทร สแควร์ ออฟฟิศ ทาวเวอร์ ชั้น 21-24 ถนนสาทรเหนือ แขวงสีลม เขตบางรัก จังหวัดกรุงเทพมหานคร 10500 โทรศัพท์ : 0-2344-9999 , 0-2344-9988 โทรสาร : 0-2344-9861 Website : http://www.cannon.co.th
แคนนอนเริม ่ ต้นจากการเปน ็ บริษท ั เล็กๆ ทีม ่ พ ี นักงานเพียงไม่กค ี่ นแต่มค ี วามปรารถนาอันแรงกล้าในการสร้างผลงานอันยอดเยีย ่ ม ซึ่งในเวลาต่อมาแคนนอนก็ได้กลายเป็นบริษัทที่มีชื่อเสียงไปทั่วโลกในด้านกล้องและอุปกรณ์การถ่ายภาพ ปัจจุบันนี้แคนนอนเป็น บริษัทที่มีความเชี่ยวชาญในการผลิตอุปกรณ์มัลติมีเดียระดับโลก เป็นระยะเวลายาวนานกว่า 7 ทศวรรษแล้วที่แคนนอนได้สั่งสม ประสบการณ์และความเชีย ่ วชาญในด้านเทคโนโลยี แคนนอนจะยังคงมุ่งมัน ่ พัฒนาเทคโนโลยีเพือ ่ สร้างคุณประโยชน์ให้กบ ั ผู้คนทัว่ โลกต่อไปอย่างไม่หยุดยั้งไปพร้อมกับการพยายามบรรลุซึ่งเป้าหมายในการเป็นองค์กรธุรกิจที่มีคนรักทั่วโลก
66
การประชุมวิชาการ เทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ ประจําปี 2557
บริษัท ท็อปคอน อินสทรู เม้นท์ (ไทยแลนด์) จํากัด TOPCON INSTRUMENT (THAILAND) CO.,Ltd. หมายเลขบู ธ : F1-F4
ที่อยู่ : 77/162 อาคารสินสาธรทาวเวอร์ ชั้น 37 ถ.กรุงธนบุรี แขวงคลองต้นไทร เขตคลองสาน กรุงเทพ 10600 โทรศัพท์ : 0-2440-1156 (5 สายอัตโนมัติ) โทรสาร : 0-2440-1158 E- mail : survey@topcon.co.th Website : http://www.topcon.co.th
บริษท ั ท็อปคอน อินสทรูเม้นท์ (ไทยแลนด์) จํากัด เปน ็ หนึง่ ในสาขาของบริษท ั ท็อปคอน คอร์ปอเรชัน ่ ประเทศญีป ่ ่น ุ ด้วยประสบการณ์ อันยาวนานกว่า 70 ปี ในการผลิตสินค้า ภายใต้ตราสินค้า “TOPCON” บริษท ั ท็อปคอน คอร์ปอเรชัน ่ (TOPCON CORPORATION) ได้มก ี ารพัฒนาเทคโนโลยีในการผลิตอย่างต่อเนือ ่ ง เพือ ่ ให้สินค้ามีคณ ุ ภาพดี และตรงตามความต้องการของลูกค้า จนเปน ็ ผู้นาํ ของ โลกในการผลิตเครื่องมือ ทางด้านสายตา, เครื่องมืออิเลคทรอนิกส์ ทางด้านสํารวจ และก่อสร้าง รวมถึง เครื่องหาค่าพิกัด โดยรับ สัญญาณดาวเทียม (GPS) โดยมีสาขาทั่วโลก ทั้งในภูมิภาคอเมริกาเหนือ, ยุโรป, แอฟริกา และเอเชียแปซิฟิค บริษัท ท็อปคอน อินสทรูเม้นท์ (ไทยแลนด์) จํากัด ก่อตั้งเมื่อวันที่ 9 พฤศจิกายน 2533 โดยดําเนินธุรกิจในการจัดจําหน่ายเครื่อง มือจักษุแพทย์, เครื่องมือสํารวจ และ เครื่องมือวัดทางอุตสาหกรรม รวมทั้งเป็นศูนย์บริการด้านอะไหล่ และการซ่อมบํารุงโดยช่าง ผู้เชี่ยวชาญ ซึ่งผ่านการฝึกอบรมโดยตรงจากบริษัท ท็อปคอน คอร์ปอเรชั่น ประเทศญี่ปุ่น ผลิตภัณฑ์ TOPCON สินค้าคุณภาพ ได้รับการรับรองมาตรฐาน ISO 9001 และ ISO 14000 ทําให้ท่านไว้วางใจในสินค้า และบริการที่เชื่อถือได้ของบริษัทฯ
บริษัท ฮอลลีวู้ดอินเตอร์เนชั่ นแนล จํากัด HOLLYWOOD INTERNATIONAL GROUP หมายเลขบู ธ : G1-G2
ที่อยู่ : 501/4-8 ถนนเพชรบุรี แขวงถนนพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท์ : 0-26538556 (30 Line) ต่อ 831 , 832 Website: sv@hollywood.co.th
บริษัท ฮอลลีวู้ดอินเตอร์เนชั่นแนล จํากัด ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ.2510 ด้วยเจตนารมย์สรรหาสินค้าและบริการคุณภาพชั้นนําจากทั่ว โลก เพื่อเป็นพื้นฐานและยกระดับคุณภาพมาตรฐานการผลิตและการบริโภคทั้งภาคอุตสาหกรรม ภาคธุรกิจ และครัวเรือนใน ประเทศไทย นิยาม “เชือ ่ ถือได้ [Reliable] , มืออาชีพ [Professional] , ใส่ใจบริการ [Service minded]” ถือเปน ็ หลักปรัชญาในการดําเนิน งานและเป็นรากฐานอันมั่นคงที่ทําให้บริษัทฯ ได้รับความเชื่อถือวางใจจากลูกค้าหลากหลายวงการอย่างมั่นคงจวบจนทุกวันนี้ บริษัทฯ เติบโตอย่างมั่นคงต่อเนื่องมากว่า 46 ปี โดยความร่วมมือ ร่วมใจเป็นหนึ่งเดียวของพนักงานทั้งสิ้นกว่า 280 ท่าน ประกอบด้วย เจ้าหน้าที่ฝ่ายขาย 110 ท่าน ผู้เชีย ่ วชาญด้านผลิตภัณฑ์ 51 ท่าน และวิศวกรผู้ชํานาญงาน 55 ท่าน
Airbus Defence and Space-Geo Intelligence Booth Number : G3
Address : 110 Seletar Aerospace view , Singapore 797562 Tel : +65 6227 5582 Fax : +65 9664 3520 E- mail : thomas.pfister@astrium.eads.net Website : www-geo-airbusds.com
Based on an exclusive access to Pleiades, SPOT, TerraSAR-X and TanDEM-X (radar and optical satellites), our extensive portfolio spans the entire geo-information value chain. Airbus Defence and Space provides decision makers with sustainable solutions to increase security, optimize mission planning and operations, boost performance, improve management of natural resources and, last but not least, protect our environment. From data acquisition and processing, to data management and hosting, we provide sophisticated geo-information services and turnkey integrated solutions that deliver exactly what you need, when and where you need it – across a comprehensive range of markets.
12-14 พฤศจิกายน 2557 ศูนย์ราชการฯ แจ้งวัฒนะ
67
Asian Aerospace Services Ltd. Booth Number : G4
Address : 65/198 Chamnan Phenjati Business Center, 23rd floor, Rama 9 Road,Huaykwang, Bangkok 10320 Tel : 0 2634 0741-3 Fax : 0 2634 0740 E- mail : purchase@asianaerospaceservices.com Website : http://www.asianaerospaceservices.com/
การบรรยายและนําเสนอผลิตภัณฑ์
12 พฤศจิกายน 2557 ลานอเนกประสงค์ อาคารรัฐประศาสนภักดี ศูนย์ราชการฯ แจ้งวัฒนะ กรุ งเทพมหานคร DigitalGlobe International Inc. ASIAN Aerospace Services Ltd. Airbus Defence and Space-Geo Intelligence
68
การประชุมวิชาการ เทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ ประจําปี 2557
นิทรรศการหน่วยงานภาครัฐ ลานอเนกประสงค์ อาคารรัฐประศาสนภักดี ศูนย์ราชการฯ แจ้งวัฒนะ กรุ งเทพมหานคร จัดแสดงเพือ ่ เผยแพร่ภารกิจหน่วยงานและแสดงผลงานวิจย ั ความก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยีอวกาศและภูมส ิ ารสนเทศ และการประยุกต์ใช้ข้อมูลภูมส ิ ารสนเทศในหลากหลายสาขา เช่น การเกษตร ป่าไม้ การใช้ประโยชน์ทด ี่ น ิ ผังเมือง สิง่ แวดล้อม และภัยพิบต ั ิ สิทธิประโยชน์ หน่วยงานภาครัฐไม่เสียค่าใช้จ่ายในการแสดงนิทรรศการ คูหานิทรรศการ 1 คูหา ได้รบ ั สิทธิลงทะเบียนในฐานะผู้เข้าร่วมประชุมวิชาการฯ ฟรีจาํ นวน 1 ท่าน
สํานักงานพัฒนาเศรษฐกิจจากฐานชี วภาพ (องค์การมหาชน) : BEDO หมายเลขบู ธ : A5
ที่อยู่ : ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติ (อาคาร B) ชั้น 9 เลขที่ 120 หมู่ที่ 3 ถนนแจ้งวัฒนะ กรุงเทพมหานคร 10210 โทรศัพท์ : 0 2141 7800 โทรสาร : 0 2143 9202 E-mail : ketphisith@bedo.or.th Website : http://www.bedo.or.th
ศูนย์ภูมิภาคเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ ภาคใต้ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ หมายเลขบู ธ : A7
ที่อยู่ : ถนนกาญจนวณิชย์ อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา 90110 โทรศัพท์ : 074 28 6872-6877 โทรสาร : 074 429955 Website : http://www.rs.psu.ac.th/
ศูนย์ภูมิภาคเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ ภาคเหนือ มหาวิทยาลัยเชี ยงใหม่ หมายเลขบู ธ : A9
ที่อยู่ : มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 239 ถนนห้วยแก้ว ต.สุเทพ อ.เมือง จ.เชียงใหม่ 50200 โทรศัพท์ : 053 941000 โทรสาร : 053 217143, 943002 Website : http://gist.soc.cmu.ac.th/gistnorth/index.php
กรมทีด่ ิน
หมายเลขบู ธ : B2 ที่อยู่ : สํานักเทคโนโลยีทําแผนที่ อาคารรังวัดและทําแผนที่ ตําบลบางพูด อําเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี 11120 โทรศัพท์ : 0 2984 0915 / 081 828 1249 โทรสาร : 0 29840 424 Website : http://www.dol.go.th/
กองทางหลวงพิเศษระหว่างเมือง กรมทางหลวง หมายเลขบู ธ : B4
ที่อยู่ : 2/486 อาคาร 19 ถนนศรีอยุธยา แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพ 10400 โทรศัพท์ : 083 305 3741 โทรสาร : 0 2354 6743 Website : http://www.motorway.go.th/
12-14 พฤศจิกายน 2557 ศูนย์ราชการฯ แจ้งวัฒนะ
69
สถานีรับสัญญาณดาวเทียมจุ ฬาภรณ์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ CHULABHORN SATELLITE RECEIVING STATION หมายเลขบู ธ : B5
ที่อยู่ : คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 50 ถนนงามวงศ์วาน เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท์ : 0-2579-2775 / 083 061 6646 โทรสาร 02 9407052 ต่อ 103 E-Mail: pera_pp@hotmail.com Website : http://smms.eng.ku.ac.th
กรมอุ ทกศาสตร์ กองทัพเรือ หมายเลขบู ธ : B6
ที่อยู่ : 222 กรมอุทกศาสตร์ กองทัพเรือ ถนนริมทางรถไฟเก่า แขวงบางนา เขตบางนา กรุงเทพฯ 10260 โทรศัพท์ : 089 694 2285 โทรสาร : 0 2475 7036 Website : http://www.hydro.navy.mi.th/
ศูนย์เตือนภัยพิบัติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร หมายเลขบู ธ : B7
ที่อยู่ : 120 หมู่ 3 อาคาร รวมหน่วยราชการ (อาคาร B) ชั้น 6 ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติ ทุ่งสองห้อง หลักสี่ กรุงเทพมหานคร 10210 โทรศัพท์ : 0-2399-4114 , 0-2399-1128 Website : http://www.ndwc.go.th
กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ ง หมายเลขบู ธ : B8
ที่อยู่ : 120 หมู่ที่ 3 ชั้นที่ 5-9 อาคารรัฐประศาสนภักดี ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียติ ถนนแจ้งวัฒนะ แขวงทุ่งสองห้อง เขตหลักสี่ กรุงเทพมหานคร 10210 โทรศัพท์ : 02 141 1297 02 141 1368 โทรสาร : 02 143 9242 E-Mail : it@dmcr.mail.go.th Website : http://www.dmcr.go.th
กรมแผนทีท่ หาร หมายเลขบู ธ : B9
ที่อยู่ : ถนนกัลยาณไมตรี เขตพระนคร กรุงเทพฯ 10200 โทรศัพท์ : 0-2222-8844 0-2222-0187 0-2223-8213 Website : http://www.rtsd.mi.th
สํานักงานสถิติแห่งชาติ หมายเลขบู ธ : B10
ที่อยู่ : 120 หมู่ 3 อาคาร รวมหน่วยราชการ (อาคาร B) ชั้น 6 ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติ ทุ่งสองห้อง หลักสี่ กรุงเทพมหานคร 10210 โทรศัพท์ : 0-2399-4114 , 0-2399-1128 Website : http://www.ndwc.go.th
สถานภูมิภาคเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ ภาคเหนือตอนล่าง มหาวิทยาลัยนเรศวร หมายเลขบู ธ : D3
ที่อยู่ : มหาวิทยาลัยนเรศวร อาคารมหาธรรมราชา จังหวัดพิษณุโลก 65000 โทรศัพท์ : 055 968 707 โทรสาร : 055 968 807 E-Mail : supanneesa@gmail.com Website : www.cgistln.nu.ac.th
70
การประชุมวิชาการ เทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ ประจําปี 2557
สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ หมายเลขบู ธ : D4
ที่อยู่ : 118 หมู่ที่ 3 ถนนเสรีไทย แขวงคลองจั่น เขตบางกะปิ กรุงเทพฯ 10240 โทรศัพท์ : 0-2727-3000 โทรสาร : -2375-8798 E-mail: pr@nida.ac.th Website : http://www.nida.ac.th/th/
ศูนย์ภูมิภาคเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ หมายเลขบู ธ : E3
ที่อยู่ : 123 อาคารศูนย์คอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ถนนมิตรภาพ อําเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น 40002 โทรศัพท์ : 089-5775718 043202742 โทรสาร : 043202743 E-mail: anantaya.kku@kku@gmail.com Website : http://www.negistda.kku.ac.th
นิทรรศการภารกิจ สํานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมสิ ารสนเทศ (องค์การมหาชน) : สทอภ. (GISTDA) ลานอเนกประสงค์ อาคารรัฐประศาสนภักดี ศูนย์ราชการฯ แจ้งวัฒนะ กรุงเทพมหานคร ได้จด ั นิทรรศการศักยภาพของผลงานเด่น ของสํานักงานพัฒนา เทคโนโลยีอวกาศและภูมส ิ ารสนเทศ (องค์การมหาชน) และยังมี การจั ด แสดงนิ ท รรศการการประยุ ก ต์ใ ช้ข ้อ มู ล จากดาวเที ย ม ในด้านต่างๆ รวมทัง้ มีการจัดแสดงความรู้ด้านเทคโนโลยีอวกาศ ผ่านสือ ่ อิเล็กทรอนิกส์ทน ี่ ่าสนใจเปน ็ อย่างยิง่ รวมถึง ให้บริการ ข ้อ มู ล ภ า พ ถ ่า ย จ า ก ด า ว เ ที ย ม ด ว ง ต ่า ง ๆ ข อ ง ส ท อ ภ . โดยเจ้าหน้าที่คอยให้คําปรึกษา และบริการข้อมูล ตรวจสอบ ข้อมูลด้วยระบบสืบค้นข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียม สือ ่ การเรียนรู้ ด้า นเทคโนโลยี อ วกาศและภู มิ ส ารสนเทศ พร้อ มทั้ ง เอกสาร เผยแพร่ และของทีร่ ะลึก ณ บูธนิทรรศการของ สทอภ.
สํานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน) กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ที่อยู่ : ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติ อาคารรัฐประศาสนภักดี (อาคาร B) ชั้น 6 และชั้น 7 ถนนแจ้งวัฒนะ แขวงทุ่งสองห้อง เขตหลักสี่ กรุงเทพฯ 10210 โทรศัพท์ : 0-2141-4470 โทรสาร : 0-2143-9586 Website : http://www.gistda.or.th/
ติดต่อฝ่ ายนิทรรศการและประชาสัมพันธ์ เอกราช ปรีชาชน / จันทิมา อัศวโชคชัย สํานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน) โทรศัพท์ 08 4751 8253 / 0 2561 4504-5 ต่อ 441-442 โทรสาร 0 2561 4503 E-mail: exhibit@gistda.or.th
12-14 พฤศจิกายน 2557 ศูนย์ราชการฯ แจ้งวัฒนะ
71
72