วิเคราะห์การออกแบบศิลปะภาคเหนือ
ประวัติวดั สะพานหิ น วัดตะพานหิน หรื อ วัดสะพานหิน ตั้งอยูน่ อกเขต กําแพงเมืองเก่าสุ โขทัยทางทิศตะวันตก โดยอยูใ่ นเขตอรัญวาสี หรื อ วัดป่ า พระประธานเป็ นพระพุทธรู ปยืนขนาดใหญ่ เป็ นที่ ประดิษฐานพระปางประทานอภัย เรี ยกว่า พระอัฏฐารส โดยที่ อาณาจักรสุโขทัยนั้น ได้รับแรงบันดาลใจในการสร้างสรรค์งาน พุทธศิลป์ จากความศรัทธาในพระพุทธศาสนาที่ได้รับมาจาก ประเทศศรี ลงั กา ซึ่ งมีความนิ ยมในการสร้างวิหารเพื่อประดิษฐาน พระพุทธรู ปยืนที่มีความสูงเช่นนี้ดว้ ย
PLAN
เจดียว์ ดั สะพานหิ นเจดียท์ รงพุ่มข้าวบิณฑ์ ส่วนยอดเป็ น ทรงดอกบัวตูมพัฒนา มาจากทรงระฆัง ถัดขึ้นไปเป็ นฐานบัว ลูกแก้วอกไก่ มีการ เจาะช่องซุม้ จระนํา รองรับเรื อนธาตุยอ่ มุม ไม้สิบสอง
ส่ วนล่างเป็ นฐานเขียงลดหลัน่ เป็ นชั้นขึ้นไป เกิดความรู ้สึกเบาและลอยตัว
พระพุทธรู ปปางพระอัฏฐารศ พระพุทธรู ปยืนขนาดใหญ่ ปางประทาน อภัย ยกพระหัตถ์ขวา สร้างตามคติแบบลังกา ความสูง 12.5 เมตร
เป็ นพระวิหาร ขนาด 5 ห้อง ผนังก่ออิฐถือปูน เสาก่อด้วยศิลาแลงภายใน ขนาดความสูงของปฏิมากรรม “พระอัฏฐารส” ของวัดสะพานหิ นนั้น ไม่สามารถวัดบริ เวณเนินพระเศียรได้ จึงคํานวณหาช่วงขนาดความยาว ๑ ศอกประมาณ 51-57 เซนติเมตร จากระยะความสูงที่วดั จากฝ่ าพระบาทจนกระทัง่ ถึงกึ่งกลางพระนลาฏ ได้ขนาดความสูงเท่ากับ 9.16 เมตร และขนาดความสูงโดยวัดจากฝ่ าพระบาทจนกระทัง่ ถึงบริ เวณหลังพระเมาฬี ได้ขนาดความสูงเท่ากับ 10.2 เมตร ตามลําดับ
เสาศิลาแลง วางซ้อนกัน โดยข้อต่อใช้วิธีสอปูนเพื่อ เชื่อมรอยต่อ ฐานเจดียร์ าย ด้านข้างพระ วิหาร สามองค์เรี ยงกัน
บันไดปูดว้ ยแผ่นหิ นเป็ นขั้นๆ ระยะทางถึงลานวัด ประมาณ 300 เมตร
การจําลองหัวเสาในอดีต ภายในวัดสะพานหิ น
PLAN
ประวัติวดั มังกร โบราณสถานนอกเมืองโบราณสุโขทัย ด้ านทิศตะวันตก ตั้งอยูภ่ ายนอกอุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัย ใกล้วดั ถํ้าหี บล่างและวัดป่ ามะม่วง เป็ นวัดที่มีกาํ แพงแก้ว ประดับด้วยลูกกรงเครื่ อง เคลือบดินเผาสี ขาว ที่ไม่เหมือนวัดอื่นๆ ภายในยังพบเครื่ องเคลือบดิน เผาต่างๆ เช่น รู ปพญาครุ ฑจับนาค และชิ้นส่วนเกล็ด มกร ที่เคยประดับอยูร่ อบฐานพระอุโบสถ ซึ่งเป็ นที่มาของชื่อวัด
ด้านข้างเป็ นเจดียป์ ระธานทรงระฆัง ขนาดใหญ่ ตั้งอยูบ่ นฐานเขียงรู ปสี่ เหลี่ยมลดหลัน่ สามชั้น ส่ วนบนเป็ นองค์ระฆัง โดยส่ วนของปล้อง ไฉนเหนือบัลลังก์ได้หกั ลงไป ใกล้เจดียป์ ระธาน ยังคงปรากฏ ฐานเจดียร์ ายที่ชาํ รุ ด
มีเสาพาไลยืน่ มารับชายคา และมีเสมาอยูภ่ ายนอก ภายในเมื่อนัง่ มองผ่านช่องออกมาภายนอกจะอยูใ่ น ระดับสายตา เท่าตัวคนแต่ภายนอก แต่คนภายนอกจะมองเข้ามา ไม่เห็น เป็ นการทําฮิปเชื่อม in&out
พื้นปูดว้ ยหินชนวน
เสาภายในก่อด้วยศิลาแลง ฉาบเป็ นรู ปแปดเหลี่ยม มีร่องโครงสร้าง เพื่อรับโครงสร้างเสาและคานแบบ ชายคาปี กนก
เป็ นการย่อมุมชนเสา ตัด ทอนฐานกําแพง เพื่อเป็ น การนําเหลี่ยมกลายเป็ นกลม มีกาํ แพงแก้ว ประดับ ด้วยลูกกรงเครื่ องเคลือบดิน เผาสี ขาว
พระอุโบสถ ก่ออิฐถือปูน มีมุขเด็จ ทั้งด้านหน้าและด้านหลัง โดยมีบนั ได อยูข่ า้ งมุขเด็จ
ประวัติวดั ตึก
ตั้งอยูภ่ ายนอกอุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัย ใกล้กบั วัดศรี โทล และเทวาลัยมหาเกษตร อายุโบราณสถาน ราวพุทธศตวรรษที่ 20 ไม่ปรากฏหลักฐานการสร้างที่ชดั เจน
พระวิหาร ตั้งอยูส่ ่ วนหน้ามณฑป พระ วิหารก่อด้วยอิฐ มีมุขลดหน้าพระวิหาร เสาก่อด้วยศิลาแลง ภายในมีแท่นอาสนะ สําหรับพระสงฆ์แสดงธรรม
FRONT
SIDE
มณฑปประดิษฐานพระพุทธรูป ตั้งอยูด่ า้ นหลังต่อเนื่องกับพระวิหาร เป็ นมณฑปรู ปสี่ เหลี่ยม ย่อ มุมมไม้ยสี่ ิ บ ด้านหน้ามีซุม้ ยอดแหลม เป็ นซุม้ ทางเข้าสู่มณฑป ส่วนอีกสาม ด้านที่เหลือ ทําซุม้ ประดับปูนปั้นเรื่ องราวพุทธประวัติ ปัจจุบนั ได้ชาํ รุ ดทั้งหมด
ตัวมณฑปก่ออิฐถือปูน มณฑปเป็ นทรงสี่ เหลี่ยม ย่อมุมไม้ยสี่ ิ บทั้งสี่ดา้ น
PLAN
ประวัติวดั พระพายหลวง เป็ นโบราณสถานขนาดใหญ่ ก่อสร้างก่อนการตั้งเมืองสุ โขทัย มีความสําคัญเป็ นอันดับสองรองจากวัดมหาธาตุ เพราะมี รู ปแบบศิลปกรรมตั้งแต่ยคุ เริ่ มแรกของสุ โขทัย และมีการสร้างเพิม่ เติมในสมัยสุ โขทัยตอนปลาย วัดพระพายหลวงจึงเป็ นแหล่งรวมงาน ศิลปกรรมหลายยุคหลายสมัย ผังบริ เวณวัดเป็ นรู ปสี่ เหลี่ยมผืนผ้า มีคูน้ าํ ล้อมรอบ 3 ชั้น คูช้ นั นอกเรี ยก คูแม่โจน มีปรางค์ศิลาแลง 3 องค์เป็ น ประธานของวัด สันนิษฐานว่าสร้างในราวพุทธศตวรรษที่ 18 เป็ นศิลปะ ขอมสมัยบายน (รัชสมัยพระเจ้าชัยวรมันที่ 7) บริ เวณหน้าปรางค์มีวหิ าร ที่เหลือเพียงเสาใหญ่ศิลาแลง ถาวรวัตถุที่สร้างเสริ มต่อขยายออกไปทาง ด้านหน้าของพระปรางค์สามองค์ เช่น เจดียเ์ หลี่ยมที่เหลือเพียงยอด ปรักหักพัง และมณฑปประดิษฐานพระพุทธรู ปสี่ อิริยาบถ
มุมมองการจัดเรี ยงทั้งสามองค์มองส่วนนี้ คือทางเข้า มองเห็นเจดียท์ รงพระปรางค์มีองค์พระพุทธรู ปประดับอยูเ่ หนือประตู เป็ นการสลัก ด้วยหิ น เจดียเ์ หลี่ยมพระสี่ อิริยาบถ
เจดีย์ทรงเหลีย่ ม ตั้งอยูด่ า้ นหน้าพระวิหาร เป็ นเจดียก์ ่ออิฐ มี ฐานเป็ นสี่ เหลี่ยม ลดหลัน่ ขึ้นจนถึงส่วนยอด มีซุม้ ประดิษฐานองค์พระอยูร่ อบเจดียท์ ้ งั สี่ ดา้ น
มณฑปพระสี่อริ ิยาบถ ตั้งอยูด่ า้ นหลังเจดียท์ รงเหลี่ยม เป็ นมณฑปที่ ประดิษฐานองค์พระทั้งสี่ อิริยาบถ คือ ยืน เดิน นัง่ นอน เหมือน มณฑปมีสภาพชํารุ ด คงเหลืออยูเ่ ฉพาะอิริยาบถเดิน (ปางลีลา) ที่มี ลักษะค่อนข้างเด่นชัดจากการสํารวจเพื่อบูรณะ ได้คน้ พบวัตถุ โบราณต่าง เช่น พระพุทธรู ป สถูปจําลอง เครื่ องถ้วย ประติมากรรม รู ปจําลอง ปูนปั้นรู ปเทวดา สัตว์ และกรอบซุม้ ต่างๆ
DETAIL
พระอุโบสถ ตั้งอยู่ ด้านหลังปรางค์ 3 องค์ เป็ นพระ อุโบสถก่ออิฐ มีบนั ไดทางขึ้น ด้านหน้าทั้งสองด้าน เสาก่อ ด้วยศิลาแลง ด้านหลัง มีฐาน ชุกชี ภายนอกพระอุโบสถมี เสมาปักอยูโ่ ดยรอบ
พระวิหาร ตั้งอยูด่ า้ นหน้าปรางค์ เป็ นพระวิหาร 5 ห้อง เหลือฐานและเสาที่ก่อด้วย ศิลาแลง ภายในปรากฏฐานอาสนะ ฐานชุกชี และ มีการประยุกต์ใช้เสาแบบเสาเรื อนหมู่
ซุ้มประตูเรือนธาตุ ประตูเรื อนธาตุเป็ นแบบประตู หลอก ที่ใช้ประดับเท่านั้น หน้าบันเหนือประตู ประดับด้วยปูนปั้นเรื่ องราวในพุทธประวัติ
ภาพสันนิษฐานปราสาทขอมสามหลังวัดพระพายหลวง
ปรางค์ 3 องค์ นับเป็ นโบราณสถานเก่าแก่ที่สุดของวัดที่ สร้างขึ้นสมัยสุ โขทัยตอนต้น ก่อด้วยศิลาแลง เพื่อเป็ นประธานของวัด ปัจจุบนั เหลือเพียงหนึ่งองค์ที่สมบูรณ์ ปรางค์ประดับด้วยลวดลายปูนปั้น เรื่ องราวตามพุทธประวัติ
ฐานไพที
กรอบหน้าบันด้านทิศเหนื อและทิศตะวันตก แสดงรู ปแบบที่รับมาจากหน้าบันศิลปะเขมร คือกรอบโค้งเข้า สลับโค้งออกต่อเนื่ องกันเป็ นรู ปสามเหลี่ยม ประกอบด้วยวง โค้งห้าส่ วนเหมือนกับหน้าบันในศิลปะเขมร
พระพุทธรู ปปูนปั้นหน้าบัน ปราสาทหลังทางทิศเหนือ
PLAN
PLAN
เป็ นวัดขนาดกลาง โดยบริ เวณรอบวัดมีอุทกสีมา ที่เป็ นคูน้ าํ ล้อมรอบ ไม่ปรากฏหลักฐานว่าสร้างขึ้นในสมัยใด แต่จากศิลปะและโบราณสถานที่ปรากฏ เป็ นรู ปแบบศิลปะใน ช่วงพุทธศตวรรษที่ 20 ซึ่งเป็ นช่วงสูงสุ ดของงานศิลปกรรม ของอาณาจักรสุโขทัย
พระวิหารโถงด้านหน้ามณฑป ซึ่งเป็ นพระวิหารที่ เชื่อมติดเป็ นหลังเดียวกันกับมณฑป เสาพระวิหารทํา จากศิลาแลง
วัดนี้ มีมณฑปขนาดกลางที่มีสดั ส่ วนงดงามที่สุด ด้านหน้ามณฑปมี ฐานวิหารเสาศิลาแลง สิ่ งที่น่าชมของวัดตระพังทองหลางคือ ศิลปกรรมปูนปั้น บนผนังทั้งสามด้านของมณฑปรู ปสี่ เหลี่ยม มณฑปด้านทิศตะวันออกเป็ นซุม้ ประตู อีกสามด้านเป็ นผนังที่ประดับด้วยรู ปปูนปั้นที่ชาํ รุ ดเกือบหมดแล้ว เป็ น เรื่ องตามพุทธประวัติ ดังนี้ ภาพปูนปั้นเหล่านี้ แสดงถึงลักษณะศิลปกรรมสมัยสุโขทัยที่เจริ ญสูงสุด หรื อที่เรี ยกว่า ยุคทองของศิลปะสมัยสุโขทัย ซึ่งมีอายุอยูใ่ นราวกลางพุทธ ศตวรรษที่ 20
SIDE FRONT
มณฑป ที่อยูด่ า้ นหลังพระวิหารโถง ซึ่ ง เป็ นส่วนที่ต่อเนื่องกัน เป็ นที่ประดิษฐานพระประธาน ภายในวัด มณฑปนี้ ทาํ หน้าที่แทนเจดียป์ ระธาน สร้างใน ผังรู ปสี่ เหลี่ยม ก่ออิฐถือปูน
SIDE
ผนังทั้งสามด้านนั้นมีรูปปูนปั้นนูนสูงอยูภ่ ายในซุม้ ของ ผนังของแต่ละด้าน ซึ่งเป็ น เรื่ องเกี่ยวกับพุทธประวัติ ประกอบไปด้วย ตอนพระพุทธเจ้าปราบช้างธนปาลหัตถีนาฬาคีรี ตอนเสด็จจากสวรรค์ ชั้นดาวดึงส์ ตอนประทานเทศนาโปรดพระญาติศากยวงศ์
ซุ้มกรอบหน้ านาง ด้ านทิศเหนือ เป็ นภาพพุทธประวัติ ตอน ปราบช้ างธน ปาลหัตถีนาฬาคีรี ที่เมืองราชคฤห์ โดย ปั้นเป็ นรู ปพระพุทธองค์ประทับยืนเคียง ข้าง พระอานนท์ ที่ปลายพระบาทมีรูป หัวเข่าช้างธนปาลหัตถีนาฬาคีรี คุกเข่า ถวายบังคม
เป็ นภาพพุทธประวัติ ตอน เสด็จลงจาก สวรรค์ ช้ันดาวดึงส์ หลังจากทรงโปรดพุทธ มารดาบนสวรรค์ แวดล้อมด้วยพระอินทร์ พระพรหม และหมู่เทวดาตามเสด็จมาส่ ง ซึ่ง เป็ นรู ปปางลีลา
ภาพปูนปั้น พระพุทธเจ้าเสด็จลงจาก สวรรคชั้นดาวดึงสา ณ ผนังมณฑปด้าน ทิศใต้
เมื่อเดินผ่านซุม้ ประตูเข้ามาภายใน จะมีถูกจํากัดมุมมอง ไว้ดว้ ยซุม้ ประตู เมื่อเข้าไปภายในจะเจอฐานชุกชีสาํ หรับประดิษฐาน พระประธานภายในมนฑปที่ปัจจุบนั เหลือให้เห็นแค่พียงฐาน
PLAN
PLAN
เป็ นวัดขนาดใหญ่ ตั้งอยูภ่ ายนอกอุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัย ภายในวัดได้พบศิลาจารึ กวัดช้างล้อม ที่บนั ทึกถึงพนม ไสดํา ขุนนางสมัยพระมหาธรรมราชาลิไท ได้ออกบวช อุทิศที่ดิน เพื่อสร้างศาสนสถานและศาสนวัตถุ เพื่ออุทิศถวายเป็ นพระราชกุศล แด่พระองค์และพระมเหสี ซึ่งเสด็จสวรรคตแล้ว โดยอุทิศถวายเมื่อปี พ.ศ. 1933 รอบโบราณสถานมีคูน้ าํ ล้อมรอบเป็ นอุทกสี มา และมี กําแพงแก้วก่อด้วยอิฐ ล้อมรอบอีกชั้นหนึ่ง
พระวิหาร ตั้งอยูด่ า้ นหน้าเจดียป์ ระธาน ปรากฏเฉพาะส่ วนฐาน ที่ก่อด้วยอิฐ
เจดียป์ ระธานทรงระฆัง ส่ วน ยอดขึ้นไปเป็ นบัวฝาละมี และปล้องฉไน ภายนอกเจดีย ์ มีระเบียงคด ซึ่งมีเสาก่อด้วยศิลา แลง ล้อมรอบเจดียป์ ระธาน
ถัดขึ้นไปเป็ นชั้นมาลัยเถา องค์ ระฆัง บัลลังก์ แกนปล้องฉไน
เจดียป์ ระธานทรงระฆัง ขนาด ใหญ่ ตั้งอยูบ่ นฐานเขียงรู ปสี่ เหลี่ยม รองรับช้าง ปูนปั้น จํานวน 32 เชือก ตามคติความเชื่อแบบ ลังกาที่วา่ ช้างเป็ นสัตว์ที่ค้ าํ ชูพระพุทธศาสนา
ภายนอกเจดีย ์ มีระเบียงคด ซึ่งมีเสาก่อด้วยศิลาแลง ล้อมรอบเจดียป์ ระธาน
บริ เวณฐาน ของเจดียเ์ ป็ นรู ปสี่ เหลี่ยม จัตุรัส มีชา้ งปูนปั้น ยืน เต็มตัว ประดับโดยรอบฐาน ทั้ง 4 ด้าน รวม 32 เชือก กําแพงแก้ว ก่อด้วยอิฐ ล้อมรอบวัด และมีคูน้ าํ ล้อมรอบด้านนอกสุ ด
เจดียร์ าย ข้างพระวิหาร
ช้างเฉพาะที่ประดับตาม มุมเจดียท์ ้ งั 4 ทิศ จะมีขนาดใหญ่เป็ น พิเศษ ตกแต่งเป็ นช้างทรงเครื่ อง
PLAN
แ
1.มณฑป 2.วิหาร 3.มณฑปขนาดเล็ก 4.วิหารขนาดเล็ก
ประวัตติิววดดัั ศรี ศรี ชชุุมม ประวั วัดศรี ชุมตั้งอยูใ่ น อ.เมือง จ.สุ โขทัย มีพิกดั อยูท่ างทิศตะวันตกเฉียงเหนือของเขตกําแพงเมืองใกล้ๆกับประตูศาลหลวงทางทิศ เหนือ วัดศรี ชุมเป็ นวัดที่สันนิษฐานว่าสร้างในสมัยพ่อขุนรามคําแหง ชื่อของวัดศรี ชุมข้อมูลส่ วนใหญ่ระบุวา่ มาจากคําว่า “สะ หลีชุม” คําว่า“สะหลี” เป็ นคําโบราณหมายถึง“ต้นโพธิ์” ต่อมาภายหลัง คําว่าสะหลีได้เรี ยกขานเป็ น “ศรี ” ดังนั้นคําว่าศรี ชุมจึง หมายถึง ดงของต้นโพธิ์
SIDE ELEVATION
BACK
FRONT
TIMING AND SPACE
ลายบัวด้านนอกผนัง
ผนังทางด้านใต้มีช่องให้คนเข้าไป ภายใน และเดินขึ้นไปตามทางบันได แคบ ๆ ถึงผนังด้านข้างขององค์ พระอจนะ หรื อสามารถขึ้นไปถึงสัน ผนังด้านบนได้ ภายในช่องกําแพง ตามฝาผนังมีภาพเขียนเก่าแก่แต่เลอะ เลือนเกือบหมด ภาพเขียนนี้ มีอายุ เกือบ 700 ปี นอกจากนี้แล้วบน เพดานช่องบันไดยังมีแผ่นหิ นชนวน ขนาดใหญ่แกะสลักลวดลายเรื่ อง ชาดกต่าง ๆ มีจาํ นวนทั้งหมด 50 ภาพ
พระอจนะ เป็ น พระพุทธรู ปปางมารวิชยั ขนาดใหญ่ หน้าตักกว้าง 11.30 เมตร และมีความ สู งถึง 15 เมตร มีพุทธลักษณะงดงาม มาก พระวรกายอวบอิ่ม พระพักตร์ อมยิม้ พระอจนะองค์น้ ี ในอดีตมีความ เชื่อว่าเป็ น“พระพุทธรู ปพูดได้ ”
มีการเจาะช่องภายในคล้าย ช่องหน้าต่างหลอก
วิหารสร้างเป็ นรู ปสี่ เหลี่ยม ลักษณะคล้ายมณฑป แต่หลังคา พังทลายลงมาหมดแล้ว เหลือเพียง ผนังทั้งสี่ ดา้ น ผนังแต่ละด้าน ก่อ อิฐถือปูนอย่างแน่นหนา
TIMING AND SPACE
BACK
SIDE
PLAN
วัดมหาธาตุ จ.สุ โขทัย เป็ นวัดหลวงโบราณขนาด ใหญ่ที่สาํ คัญของกรุ งสุ โขทัย มาแต่อดีต ตั้งอยูใ่ นใจกลาง เมือง ในเขตอุทยาน ประวัติศาสตร์สุโขทัย ใกล้ กับวัดตระพังเงิน และเนิน ปราสาท สร้างในสมัยพ่ อขุน ศรีอนิ ทราทิตย์ นับเป็ น โบราณสถานที่สาํ คัญและมี สิ่ งปลูกสร้างมากที่สุดของ สุ โขทัย โดยมีเจดียร์ ายนับได้ ถึง 200 องค์
เส้นทางเดินในวัดมหาธาตุ 4
5
6
3
2
8
1
7
1. ประตูทางเข้าวัดมหาธาตุ 2. กลุ่มเจดียท์ างทิศใต้ 3. เจดียห์ า้ ยอด 4. มณฑปพระอัฏฐารศ 5. พระวิหารสู ง 6. พระมหาธาตุเจดีย ์ 7. พระอุโบสถ 8. พระวิหารหลวง
พระมหาธาตุ
พระมหาธาตุเจดีย์ เป็ นพระธาตุเจดีย ์ ที่เป็ นศุนย์กลางของเมืองสุโขทัยสมัยโบราณ ยอดเจดีย ์ ประธานเป็ นทรงพุ่มข้าวบิณฑ์ หรื อที่เรี ยกกันว่า ทรงดอกบัวตูม ตั้งอยูบ่ นชั้นแว่นฟ้ า ทั้งสาม ฐานเจดียร์ ายล้อมด้วยเจดียท์ ิศทั้งแปด บริ เวณมุมทั้งสี่ เป็ นเจดียท์ รงปราสาทห้า ยอดแบบล้านนา ส่ วนระหว่างกลางนั้นเป็ นเป็ นเจดียท์ รงปราสาทแบบสุโขทัย ซึ่ งคาด ว่าสร้างกันมาตั้งแต่ด้ งั เดิม
บริเวณกรอบหน้ านางเหนือซุ้ม พระของเจดียท์ รงปราสาท ส่ วนบนของกรอบประดับด้วยหน้า กาล ซึ่งถือว่าเป็ นผูป้ กป้ องสถานที่ ส่ วนปลายกรอบประดับด้วยมกร บริ เวณหน้าบันประดับด้วยปูนปั้น เรื่ องราวในพุทธประวัติ โดยส่ วนที่ ปรากฏคือ ตอนปริ นิพพาน
วิหารหลวง
พระวิหารหลวง ตั้งอยูด่ า้ นหน้าพระ มหาธาตุเจดีย ์ เป็ นพระวิหารใหญ่ ขนาด 11 ห้อง เสาก่อด้วยศิลาแลงทรง กลม ภายในปรากฏฐานชุกชี ซึ่งแต่เดิม เคยเป็ นที่ประดิษฐาน พระศรี ศากยมุนี พระพุทธรู ปสําริ ดขนาดใหญ่ ภายหลัง ได้อญั เชิญไปยังวัดสุทศั น์เทพวราราม กรุ งเทพมหานคร ในสมัยรัชกาลที่ 1
เจดียท์ ิศใต้
เจดีย์ห้ายอด เป็ นเจดียท์ ี่คาดว่าเป็ นที่บรรจุพระอัฐิของพระมหาธรรมราชาลิ ไท ซึ่งมีเนื้ อความในจารึ กลานทอง ที่พบภายในพระอุโบสถ องค์เจดียก์ ่อด้วยอิฐและศิลาแลง ตั้งบนฐานสี่ เหลี่ยม ประดิษฐาน ด้วยองค์พระทั้งสามด้าน ส่ วนของฐานประดับด้วยปูนปั้นรู ป มารแบกของ ช้าง สิ งห์ และรู ปเทวดา ส่วนยอดของเจดียไ์ ด้ชาํ รุ ด ลง
มณฑปพระอัฏฐารศ ตั้งอยูด่ า้ นข้างพระมหาธาตุเจดีย ์ ภายในประดิษฐานพระอัฏฐารศ ความสูง 18 ศอก เป็ นพระพุทธรู ปที่นิยมสร้างตามแบบลังกาวงศ์
พระอุโบสถ
ตั้งอยูด่ า้ นข้างมณฑป เป็ นพระอุโบสถที่ต้งั อยู่ บนฐานบัวลูกแก้วอกไก่ ด้านหน้ามีมุขยืน่ และบันไดทั้งสอง ข้าง เสาก่อด้วยศิลาแลง ภายในประดิษฐานพระพุทธรู ปปาง มารวิชยั เป็ นประธาน
PLAN
1.วิหาร 2.ระเบียงคต 3.เจดียท์ รง ปราสาทแบบขอม
PLAN
HISTORY ตั้งอยูภ่ ายในอุทยานประวัติศาสตร์ สุโขทัย เป็ นวัดที่มีศิลปะแบบขอม สร้างในสมัยพุทธศตวรรษที่ 18 เดิมเป็ นเทวสถานในศาสนาพราหมณ์ ด้านหน้าพระ ปรางค์เป็ นที่ต้ งั ของพระวิหาร ซึ่ งมีระเบียงคดล้อมองค์พระปรางค์และพระวิหาร ด้านหลังโบราณสถานมีสระนํ้า เรี ยกว่า สระลอยบาป ใช้เป็ นที่ทาํ พิธีลอย บาปหรื อล้างบาปตามความเชื่อลัทธิ พราหมณ์ ภายนอกสุ ดของวัดศรี สวายล้อมรอบด้วยกําแพงศิลาแลง ครั้งเมื่อสํารวจวัดได้มีการพบ รู ปพระอิศวร และหิ นจําหลัก ทับหลังพระนารายณ์บรรทมสิ นธุ์ รู ปพระนารายณ์สี่กรและชิ้นส่ วนของเทวรู ปและลึงค์ทาํ ด้วย สําริ ด ปั จจุบนั ได้เก็บรักษาไว้ที่ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ รามคําแหง
ซุ้ มบันแถลง ทางเข้ าพระวิหาร บริ เวณหน้าทางเข้าพระวิหาร มีซุม้ บันแถลงทั้งสาม ล้อกันไปกับ จํานวนของพระปรางค์ ก่อไว้เหนือประตูทางเข้า โดยด้านข้างทั้ง สองเป็ นผนังทึบ
พระปรางค์สามยอดเป็ นประธาน ลักษณะเป็ นรู ปกลีบขนุน ประดับด้วยปูนปั้นรู ปครุ ฑยุดนาค นางอัปสรและลายดอกไม้จีนด้านหน้า พระปรางค์เป็ นที่ต้ งั ของพระวิหาร ซึ่งมีระเบียงคดล้อมองค์พระปรางค์และ พระวิหาร ด้านหลังโบราณสถานมีสระนํ้า เรี ยกว่า สระลอยบาป ใช้เป็ นที่ ทําพิธีลอยบาปหรื อล้างบาปตามความเชื่อลัทธิพราหมณ์ ภายนอกสุดของ วัดศรี สวายล้อมรอบด้วยกําแพงศิลาแลง
บริ เวณหน้าทางเข้าพระวิหาร มีซุม้ บันแถลงทั้งสาม ล้อกันไปกับจํานวนของ พระปรางค์ ก่อไว้เหนือประตูทางเข้า โดย ด้านข้างทั้งสองเป็ นผนังทึบ
แปลงเป็ นพุทธสถานโดยต่อเติมวิหารขึ้นที่ ด้านหน้า แล้วจึงเป็ นวัดในพุทธศาสนาภายหลัง
พระปรางค์ ภายในพระปรางค์มีงานจิตรกรรมฝาผนัง เป็ น ภาพลายเส้น แสดงรู ปคนยืนพนมมือ ซึ่งค่อนข้าง เลือนลาง
ได้พบทับหลังสลักเป็ นรู ป นารายณ์บรรทมสิ นธุ์ ชิ้นส่ วนของเทวรู ป และศิว ลึงค์ อัน เป็ นเครื่ องแสดงให้เห็นว่าวัดศรี สวายเคย เป็ นเทวสถานในศาสนาฮินดูมาก่อน แล้วแปลง เป็ นพุทธสถานโดยต่อเติมวิหารขึ้นที่ดา้ นหน้า
ผนังด้ านข้ างพระวิหาร เป็ นผนังก่ออิฐถือปูน มีช่องลมก่อด้วยอิฐ ช่อง เว้นช่องเพื่อระบายอากาศ
ภายในพระวิหาร มีฐานชุกชี เป็ นที่ประดิษฐานพระประธาน
ปูนปั้ นรูปครุฑยุดนาค และนางอัปสร ครุ ฑยุดนาค ประดับอยูร่ ะหว่างนางอัปสรทั้งสอง บริ เวณกลางพระปรางค์ของแต่ละ ด้านประดับด้วยกรอบหน้านาง ซึ่ งเป็ นรู ปนาคซ้อนกันเป็ นชั้นอย่างสวยงาม
กําแพงรอบนอกเป็ น ศิลาแลง มีช่องระบายอากาศ ให้ กําแพงดูเบา
PLAN
PLAN
1.เจดียท์ รงระฆัง มีแถวรู ปสิ งห์ประดับฐาน 2.วิหาร 3.อุโบสถ 4.เจดียบ์ ริ วาร
HISTORY
วัดนางพญาสร้างขึ้นในสมัยอยุธยาตอนต้น หรื อในราวต้นพุทธศตวรรษที่ ๒๑ โบราณสถานแห่ งนี้ เป็ นวัด ขนาดใหญ่อีกแห่งหนึ่งที่ต้ งั อยูใ่ นแนวแกนหลักของเมืองศรี สชั นาลัย จึงน่าจะเป็ นวัดที่มีความสําคัญ แต่กลับ ไม่ปรากฏหลักฐานการสร้างในพงศาวดารหรื อเอกสารใด ๆ
วัดนางพญา มีบริ เวณกว้างขวางพอสมควร ภายในวัดมีเจดียท์ รงลังกาประกอบซุม้ เรื อนธาตุเป็ นประธาน ก่อด้วยศิลาแลงสูงใหญ่ และมีสภาพสมบูรณ์รอบฐานเจดีย ์ มี เสาโคมไฟโดยตลอด มีบนั ไดขึ้นไปบนเจดีย ์ และมีวิหารซึ่ง ขนาดเจ็ดห้อง ซึ่งเป็ นผังที่นิยมสร้างกันในแบบสุโขทัยและ สถาปัตยกรรมเมืองเหนือ ภายในวิหารตามเสาทุกด้านมีเทพ พนมและลวดลายต่างๆ ทําด้วยสังคโลกไม่เคลือบ
วิหารประธานวัดนางพญาเป็ นอาคารทึบ ขนาด 7 ห้อง ก่อด้วยศิลาแลง หลังคาเป็ นเครื่ องไม้มุง กระเบื้องดินเผา ผนังทึบเจาะช่องแสงเป็ นลูกกรง สี่ เหลี่ยม
ประติมากรรมปูน ปั้นประดับพุทธ สถานเป็ นภาพแบบ อุดมคติ เพิ่งพัฒนา รู ปแบบตนเอง ให้หลุดพ้นไปจาก ธรรมชาติ
ผิวปูนฉาบด้าน นอกของวิหารประดับลายปูน ปั้น มีความงดงามอันวิจิตรที่ แสดงให้เห็นถึงการรับอิทธิพล ทางศิลปกรรมจากศิลปะ ล้านนาและศิลปะจีน
ลวดลายปูนปั้นบนผนังวิหารวัดนางพญานี้ ถือว่าเป็ นประติมากรรมสุโขทัยยุคที่ ๓ จากทั้งสิ้ น ๔ ยุค ซึ่งรู ปแบบการปั้นในสมัยสุโขทัยยุคที่ ๓ นี้ เป็ นการปั้นที่พฒั นาไปจากศิลปะสุ โขทัยแบบบริ สุทธิ์ มี ความประณี ต
ลายรักร้อยแข้งสิ งห์
ลายเครื อเถาบนผนังวิหาร
ลายประจํายาม
ภายในเจดียม์ ีแกนเจดีย ์ ประดับด้วยลายปูนปั้น ด้านหน้าเป็ น วิหารก่อผนังเจาะช่องแสง ตกแต่งด้วย ลายปูนปั้นที่สวยงามเป็ นฝี มือชั้นครู
เจดียป์ ระธานทรงลังกา ตั้งอยู่ บนฐานทักษิณ องค์เจดียต์ กแต่งเป็ นซุม้ พระก่อยืน่ ออกมาทั้ง ๔ ด้าน
ซุม้ ทางด้านหน้ามีบนั ได ทางขึ้นไปสู่ภายในองค์ เจดีย ์
ลวดลายที่ปรากฏเป็ น ลวดลาย พรรณพฤกษา ลายเทพนม คือ ลายปูนปั้น แต่ชาํ รุ ดเป็ น บางส่ วน รู ปแบบลวดลายทั้งหมดที่ ปรากฏเป็ นศิลปะสมัยอยุธยาตอนต้น
PLAN
วัดไหล่หินหลวงเป็ นวัดที่เก่าแก่และมีความสําคัญทางประวัติศาสตร์แห่งหนึ่งในจังหวัดลําปาง บางที่เรี ยกกันว่าวัดไหล่หิน แก้วช้างยืน ซึ่งมีชื่อเต็มว่า วัดเสลารัตนปัพพตาราม มีวตั ถุโบราณและสิ่ งประดิษฐ์ที่สาํ คัญมากมาย อันประกอบด้วยประตูทางเข้าเป็ นรู ปโค้ง ที่เรี ยกว่า ประตูโขง เจดีย ์ วิหาร ซึ่งวิหารนั้นเป็ นสถานที่ปฏิบตั ิกิจทางศาสนา และมีกฏุ ิซ่ ึงพระสงฆ์ใช้เป็ นสถานที่พกั อาศัย นอกจากนี้ยงั มี พิพิธภัณฑ์ และ โรงธรรมซึ่งเป็ นสถานที่เก็บคัมภีร์วดั ไหล่หินหลวงตั้งอยูท่ ี่หมู่บา้ นไหล่หินตําบลไหล่หิน อําเภอเกาะคา จังหวัดลําปาง ห่าง จากอําเภอเกาะคา ประมาณ 5 กิโลเมตร และจังหวัดลําปาง ประมาณ 25 กิโลเมตรบนถนนสาย เกาะคา-นาโป่ งหารเป็ นที่นิยมแก่ นักท่องเที่ยวเป็ นจํานวนมาก และอยากจะแนะนําให้นกั ท่องเที่ยวมาเที่ยวชมวัดไหล่หินหลวง
ประตูรูปโค้ง ที่ได้รับการตกแต่งประดับประดาอย่างวิจิตร สวยงาม นัน่ คือประตูโขง ซึ่งเป็ นศิลปะแบบล้านนา และสถาปัตยกรรม ทางศาสนาแบบเชียงแสน ลวดลายรอบๆ ประตูโขงประกอบไปด้วยสัตว์ ป่ าหิมพานต์ รู ปเทพต่างๆ ตามตํานานในสมัยนั้น ประตูโขง มีความสําคัญ ทางประวัติศาสตร์ในยุคแรกเริ่ มของเมืองลําปาง และเป็ นสัญลักษณ์ของ วัดไหล่หินหลวง
วิหารเป็ นสถานที่ปลูกสร้างแห่งหนึ่งที่อยูใ่ นบริ เวณวัด ไม่ใหญ่โตมากนัก มีขนาดกว้าง 5 เมตร ยาว 9 เมตร ในสมัยก่อนใช้วิหารเป็ น ที่ปฏิบตั ิกิจทางศาสนา ด้านหน้าของวิหาร เป็ นศิลปะแบบล้านนาที่เก่าแก่มาก เป็ นไม้ แกะสลักเป็ นรู ปดอกบัว ต้นโพธิ์ กินนร กิน นรี และ สัตว์ป่าหิ มพานต์อีกจํานวนมาก เช่น กวาง นกยูง และสิงโต ภายในวิหารจะมี พระพุทธรู ปประดิษฐานอยูบ่ นแท่น
นอกจากนี้วหิ ารแห่งนี้ยงั เป็ นแบบฉบับของวิหารอื่นๆ ในยุคต้นๆ ภายในวิหาร ยังคงใช้เป็ นสถานที่ในการจุด ธูป เทียน บูชาพระพุทธเจ้า ประดับประดาด้วย สถาปั ตยกรรมที่สวยงาม จึงเป็ นที่สนใจแก่ นักท่องเที่ยว ที่มาเที่ยวจังหวัด ลําปาง
เจดียร์ ายรู ปแบบต่างภายในวัด
ระเบียงคต
บริ เวณโดยรอบวิหาร
เจดียเ์ ป็ นสิ่ งก่อสร้างอย่างหนึ่ง ที่สาํ คัญทางศาสนาเป็ นสถานที่ ที่ประชาชนทําการสักการบูชาสื บเนื่องกันมาช้านาน เชื่อกันว่าภายในเจดีย ์ นั้นได้บรรจุพระอัฐิของพระพุทธเจ้า ประชาชนจะทําการสรงนํ้าเจดีย ์ โดยการเดินสาดนํ้าไปรอบๆ องค์เจดีย ์ และอธิ ษฐาน เป็ นการสักการะ บูชาพระพุทธเจ้า ตรงฐานของเจดีย ์ จะมีรูปปั้นของสัตว์ในสมัยก่อน 12 ราศี และเจดียแ์ ห่งนี้ยงั เป็ นแบบอย่างของสถาปั ตยกรรมที่สาํ คัญทางประวัติศาสตร์ ของวัดแท่นบูชาจะ ถูกสร้างตามแบบสถาปั ตยกรรมในสมัยก่อน มีเพียงจํานวนน้อยที่อยูร่ อดมาจนถึงปั จจุบนั และเหลือไว้ซ่ ึงความทรงจําทางประวัติศาสตร์ อนั ยาวนานแห่ง พระพุทธศาสนา
โรงธรรม คือ สถานที่เก็บคัมภีร์ของวัด ซึ่งเก่าแก่มาก คัมภีร์ถูกเขียนด้วยอักษร ล้านนาบนใบลาน โดยพระมหาป่ าเกษรปัญโญ พระภิกษุซ่ ึงจําพรรษา อยูใ่ นวัด ในคัมภีร์น้ นั ได้จารึ กคําสอนของพระพุทธเจ้า มีจาํ นวน 900 ฉบับ ถูกเก็บใส่ ถุง ผ้าไว้ในตู ้ คัมภีร์เหล่านี้มีความสําคัญทางประวัติศาสตร์ และเป็ นหลักฐาน ของ ผูค้ นในสมัยก่อน ที่พึงประพฤติ ปฏิบตั ิตามหลักธรรม ตลอดจนการแสดงความ เคารพบูชาอันยิง่ ใหญ่ ต่อพระพุทธเจ้า และให้เป็ นแนวทางประพฤติปฏิบตั ิ แก่ ผูค้ นรุ่ นหลังสื บต่อมา
TIMING AND SPACE
พิพิธภัณฑ์ คือ สถานที่ที่เก็บสิ่ งของเครื่ องใช้ที่สาํ คัญใน สมัยโบราณ ภายในพิพิธภัณฑ์มีเครื่ องตกแต่งในบ้าน หลายชนิด เช่น เตียงนอน ที่นงั่ และที่ใส่ สิ่งของ เครื่ องใช้ของคนในสมัยก่อน เครื่ องใช้ในบ้าน เช่น ถ้วย ติ ชาม ผ้ายัณห์ที่มีการเขียนด้ประวั วยลวดลายต่ างๆ หลักฐาน ทางศาสนา อาวุธต่างๆ และตัวอย่างเครื่ องแต่งกายของ ทหารในสมัยก่อนที่ได้รับการปลุกเสกโดยพระผูป้ ฏิบตั ิ ซึ่งเชื่อว่าป้ องกันอันตรายจากศัตรู และไม่ให้ได้รับ บาดเจ็บ จากการต่อสู ้ ตรงฐานของพระพุทธรู ปเหล่านั้น ล้วนทําด้วยแก้ว
ซึ่งเป็ นวัสดุที่หาได้ยากในปัจจุบนั ภายในพิพิธภัณฑ์ มีส่ิงที่น่าสนใจให้ ชมมากมาย ทําให้เข้าใจถึงวิถีชีวิตของชาวล้านนาในสมัยก่อน ท่านจะ ได้รับสิ่ งที่มีคุณค่า และความประทับใจอย่างยิง่ เมื่อได้มาเที่ยวชมวัด ไหล่หินหลวง
HISTORY วัดปงยางคกนี้ มีความสําคัญทางประวัติศาสตร์ อนั ยาวนาน เพราะเป็ นถิ่นกําเนิดของเจ้าหนานติ๊บจ๊าง (เจ้าพระยาสุ รวฤาชัยสงคราม) วีรบุรุษแห่งเขลางค์นคร ผูก้ อู้ ิสระภาพจาก พม่าข้าศึก อันเป็ นต้นตระกูลของเจ้าผูค้ รองนครในภาคเหนือมาตั้งแต่อดีต อีกประการหนึ่งก่อนที่เจ้าหนานติ๊บจ๊างจะได้ปราบดาภิเษกเป็ น เจ้าพระยาสุ รวฤาชัยสงคราม ขึ้นปกครอง เขลางค์นครลําปางพระองค์ก็ได้เคยศึกษาเล่าเรี ยนพระธรรมวินยั และบวชเป็ นพระภิกษุ ณ วัดปงยางคกนี้มา ก่อนจึงถือว่าเป็ นวัดประวัติศาสตร์ ของลานนาไทยเราที่มีความสําคัญยิง่ ที่เดียว
PLAN
FRONT & SIDE
SIDE สิ่ งก่อสร้างที่สาํ คัญคือวิหารพระแม่เจ้าจาม เทวี มีขนาดกว้าง 8 เมตร ยาว 15 เมตร มุง ด้วยแป้ นไม้เกล็ด แต่ในปั จจุบนั นี้มุงด้วย ดินขอเกล็ด เนื่องจากแป้ นไม้เกล็ดได้ผุ กร่ อนไปตาม การเวลา (เพราะเป็ นเวลาพัน กว่าปี มาแล้ว) วิหารนี้ เป็ นวิหารขนาดเล็ก ลักษณะทัว่ ไปของวิหารไม่เหมือนกับวิหาร ในสมัยปั จจุบนั เป็ นวิหารโถงทําด้วยไม้ ตอนล่างเปิ ดโล่งตลอดไม่มี ประตูและ หน้าต่าง ตอนสุ ดท้ายของวิหารมีผนังก่ออิฐ ฉาบปูนทึบสามด้าน ล้อมกู่พระเจ้าหรื อโขง พระเจ้า (คือซุ ม้ ปราสาทเรื อนยอดก่อน อิฐก๋ วมพระประธานเอาไว้) ลักษณะของ การ ก่อสร้างเป็ นศิลปะสถาปัตยกรรมแบบ ลานนา ยุคหริ ภุญไชยสกุลช่างเขลางค์ (ซึ่ง ต่างกับสถาปัตยกรรมภาคกลาง) หลังคา สามชั้น
FRONT & BACK เป็ นวิหารไม้ที่มีความสวยงามมาก เป็ น แบบฉบับของลักษณะสถาปั ตยกรรม ภาคเหนือ มีฐานพระวิหารสู งจาก พื้นดินหนึ่งฟุต เดิมคงสู งประมาณสาม ศอกเศษ แต่เนื่องจากมีน้ าํ หลากพาดิน จากที่อื่นมาท่วมทับถมทุกปี เป็ นเวลา พันกว่าปี มา แ ล้ว อีกประการหนึ่งจาก การขนทรายเข้าวัดตามประเพณี ก่อพระ เจดียท์ ราย จึงทําให้ฐานพระวิหารสู ง เหลือเพียงหนึ่งฟุตโครงสร้างภายใน ทั้งหมดทุกชิ้นที่เห็น แต่งลายรู ปต่าง ๆ ตามรู ปพื้นที่ไม้ที่รองรับด้วยลายเขียน นํ้ารักปิ ดทองบนพื้นสี แดงเช่นรู ปลาย กระถางดอกไม้บูชาพระ ลายกระหนก เครื อเถาว์ เทพยดา ลายดาว ลายเลขา คณิ ต และรู ปอื่น ๆ อีก มาก เสาพระวิหารประดับ ด้วยลายเขียนศิลปะแบบพื้นเมืองที่มี ความสําคัญยิง่ เพราะเขียนด้วยรักปิ ด ทอง(ซึ่ งต่างจากวิหารทัว่ ๆ ไป ซึ่ งเป็ น ภาพเขียนสี ที่เรี ยกว่าลายนํ้าแต้ม) ถือ ว่า เป็ นจิตรกรรมเสาวิหารที่สวยงาม ลวดลายละเอียดประณี ตวิจิตรบรรจง
ต่อมาทางราชบัณฑิตยสถาน กองโบราณคดี กรมศิลปากร ก็ได้สาํ รวจ ขึ้นทะเบียนเป็ นโบราณสถานและสถาปั ตยกรรมอันเก่าแก่และลํ้าค่าที่สาํ คัญทาง ประวัติศาสตร์ ของชาติไทย ซึ่ งมีความสําคัญในฐานที่เกี่ยวข้องกับบุคคลผูก้ ่อให้เกิดการ เปลี่ยนแปลงที่สาํ คัญขึ้นในประวัติศาสตร์ ไทยอันเนื่องจากเจ้าหนานติ๊บจ๊างคือบรรพ บุรุษเจ้าครองนครในแคว้นลานนาไทยสมัยก่อนเป็ นผูท้ ่ีร่วมมือกับทางกรุ งธนบุรีและ กรุ งรัตนโกสิ นทร์ รวบรวมดินแดนที่เคยเป็ นแคว้นลานนาในอดีต ผนวกเข้ากับดินแดน ของเมืองหลวงไทยสมัยนั้นอย่างถาวร ดังนั้นจึง อาจกล่าวได้วา่ การที่ประเทศไทยมี ขอบเขตการปกครองกว้างขวางเช่นในปั จจุบนั ก็เนื่องจากเป็ นผลส่ วนหนึ่งมาจาก บทบาทของเจ้าหนานติ๊บจ๊างผูน้ ้ ีดว้ ย
ฐานตกแต่งแบบชาวพื้นเมือง ตัวธรรมมาสน์ทาํ ด้วยไม้ลงรักปิ ดทอง ลายรู ปดอกไม้ ลักษณะของดอกและลายก้านต่างๆ เป็ นลายเดียวกัน ภาพเขียน มีภาพเขียนที่สวยงาม มีคุณค่าหลายแห่ง เช่น ลายดาว เพดาน หลังคาไม่มีเพดาน แต่ใช้ตวั โครงสร้างประกอบ เช่น ไม้กลอน หัวเสา และแปลาน เป็ นตัวแต่งลายประดับต่างๆ โดยที่ช่างจําลอง ความคิดมาจากดวงดาวบนท้องฟ้ า ลวดลายที่คอสอง เป็ นรู ปวงกลม ใหญ่ มีรัศมีแผ่กระจายออกจาก ศูนย์กลางอันหมายถึงดวงอาทิตย์ แวดล้อมด้วยดวงจันทร์ และดวงดาวเป็ นรู ปกลม ลายดอกไม้หรื อ ปูรณะฆฏะ ที่กระถางบูชา (หม้อดอก) ของวิหารวัดปง ยางคก ถือว่า เป็ นผลงานทางศิลปะที่งดงามอ่อนช้อยอย่างยิง่
ผนังภายนอกฉาบปูนและตกแต่งด้วยรู ปเทวดาปูนปั้นซึ่งพบทั้ง ในลักษณะนัง่ ขัดสมาธิ เพชรและยืนถือดอกบัวแบ่งคัน่ เทวดาแต่ละองค์โดย การใช้เสาพรางแปดเหลี่ยมกั้นในแนวตั้งและใช้ลูกแก้วแบ่งช่องในแนวนอน ทําให้ผนังแต่ละด้านถูกแบ่งเป็ นช่องประดับเทวดาช่องละ 1 องค์ และคาดว่า มีเทวดาทั้ง หมด 70 องค์ ท่านัง่ 26 องค์ และท่ายืน 44 องค์
-มีทางขึ้น 3 ทางตรงกลาง เป็ นทางขึ้นประ ฐานและทางขึ้น รองอยูด่ า้ นซ้าย และด้านขวาของ ทางขึ้นประธาน -ทางเข้าด้านหน้า ที่กว้างขวางโดด เด่น พื้นด้านในมี การเล่นระดับ สวยงาม
-เมื่อมาถึงทางเข้าก็จะพบกับ บันไดนาคที่มีรูปแบบทางศิลปะ เป็ นเอกลักษณ์โดดเด่นเฉพาะตัว ทอดยาวลงมาจากซุม้ โขงประตูที่ อยูส่ ู งขึ้นไป เหมือนเป็ น สัญลักษณ์บ่งบอกการขึ้นสู่ แดน ศักดิ์สิทธิ์ที่แยกตัวออกจากโลก มนุษย์
มกรคายนาค
ขึ้นบันไดนาคลอดซุม้ โขงประตูกพ็ บ วิหารหลวงข้างหน้า คราครํ่าไปด้วย ผูค้ นที่มาทําบุญประกอบพิธีกรรม บางอย่าง และเนื่องจากไม่ตอ้ งการ รบกวนพิธีกรรม เราจึงเลือกที่จะเดิน เลี่ยงไปด้านข้าง ก็มาพบกับวิหารลาย คํา อยูด่ า้ นข้างองค์พระธาตุ
นาคทัณฑ์รูปพญาลวงประกอบพันธุ์ พฤกษาของวิหารหลวง วัดพระธาตุลาํ ปาง หลวง
*พื้น ส่ วนฐานยกจากพื้น 70 เซนติเมตร *ผนังวิหาร เป็ นผนังไม้เข้าลิ้นขนาดใหญ่ที่ปิดลงเพียงครึ่ งเสาด้านบน ส่วน ด้านล่างเปิ ดโล่งสูงจากพื้นวิหารราว 2 เมตร ฝาผนังเพียงครึ่ งเดียวนี้เรี ยกว่า ฝา ย้อยหรื อ ฝาหยาบ *การประดับตกแต่ง ที่บริ เวณฝาผนังด้านในนี้ มีการตกแต่งด้วยภาพจิตรกรรม ฝาผนังฝี มือช่างท้องถิ่น เรื่ องราวที่เขียนคือ ทศชาติชาดกพุทธประวัติ และ พรหมจักรหรื อรามเกียรติ์สาํ นวนล้านนนา
ตัวฝ้ าเป็ นลายเดียวกันวิง่ เข้า ไปด้านในเป็ นจุดนําสายตา เข้าไปเช่นกัน -
พระเจ้าล้านทอง เรี ยกอีกชื่อหนึ่งว่า "พระเจ้ าหลวง " เป็ น พระพุทธรู ปเก่าแก่สร้าง มานานสมัยเวียงพราว-วังหิ น เป็ น พระพุทธรู ป ปางมารวิชยั เนื้อทองสําริ ด ขนาดหน้าตัก 180 เซนติเมตร สู งรวมทั้งฐาน 274เซนติเมตร ขึ้นทะเบียนเป็ น โบราณ วัตถุ ตามประกาศกรมศิลปากรในราชกิจจานุเบกขา
เมื่อเข้าไปข้างในวิหาร เห็นมณฑปสวยงามอยูข่ า้ งใน ค้นข้อมูลได้ความว่าเป็ น พระเจ้ า ล้านทองในซุ้มปราสาททอง ลักษณะการสร้างมณฑปครอบพระพุทธรู ปแบบนี้ บางแห่ง เรี ยกว่า โขงพระเจ้า
เมื่อเดินขึ้นบันไดนาคขึ้นไปถึงซุม้ ประตูใหญ่ ที่เรี ยกว่า “ซุ้ มประตูโขง” หรื อ “มณฑป” แล้วผ่านกําแพง แก้วเข้าไป สิ่ งแรกที่เราจะเห็นก็คือ “วิหารหลวง” เป็ นวิหารโถงเครื่ องไม้สกั ขนาดใหญ่ ภายในประดิษฐ์ ฐาน “พระเจ้ าล้ านทอง” องค์พระประธานประจําวิหารหลวงซึ่งอยูภ่ ายใน “กู่ปราสาท” รอบวิหารจะมี “ไม้ คอสอง” ไม้ที่อยูด่ า้ นบนของแต่ละช่วงเสาที่มีภาพเขียนพุทธประวัติอนั เก่าแก่ ทั้ง 24 แผ่น ซึ่งยังคง ความสวยงามและสมบูรณ์อยูม่ าก
ถัดจากวิหารหลวงก็จะเป็ น “องค์พระธาตุลาํ ปางหลวง” ลักษณะเป็ นเจดียท์ รงระฆังควํา่ ทรงกลมแบบล้านนา ภายนอกบุดว้ ยทองจังโก ที่บริ เวณยอดฉัตรทําด้วยทองคํา ภายใน องค์พระเจดียบ์ รรจุพระเกศาและพระบรมสารี ริกธาตุของพระพุทธเจ้า ตามความเชื่อของ การไหว้พระธาตุประจําปี เกิด พระธาตุลาํ ปางหลวงถือเป็ นพระธาตุประจําปี เกิดของคน เกิดปี ฉลู ด้วยเพราะเริ่ มสร้างในปี ฉลูและแล้วเสร็จในปี ฉลูเช่นกัน วิหารนํ้าแต้ม หรื อวิหาร ภาพเขียนสี (แต้ม แปลว่า ภาพเขียน) เป็ นวิหารเปิ ด โล่งที่เก่าแก่ที่สุดอีกหลัง หนึ่งทางภาคเหนือ มีภาพ จิตรกรรมศิลปะล้านนาบน แผงไม้คอสองที่กล่าวกันว่า เก่าแก่ที่สุด และหลงเหลือ เพียงแห่งเดียวในเมืองไทย อายุราวพุทธศตวรรษที่ ๒๑ ลงมา แต่ปัจจุบนั ภาพเขียน ลบเลือนไปมาก บนแผ่นไม้ แผงคอสองของวิหาร เป็ น เรื่ องประวัติพระอินทร์เป็ น นิทานธรรมบท ซึ่งพบอยู่ เพียงแห่งเดียวในล้านนา
ป้ านลม เป็ นไม้แผ่นตรง ทํา หน้าที่ปิดหัวแป บริ เวณ ปลายป้ านลมชํารุ ดไปมาก แล้ว แต่จากตัวที่เหลืออยูจ่ ะ พบว่าปลายของป้ านลม
มีเสาทั้งสิ้ น 42ต้น เสาสี่ เหลี่ยมจัตุรัส 26 ต้น
ลายทอง อยูใ่ นตําแหน่งด้านหลังพระ ประธาน เป็ นภาพโพธิ์พฤกษ์ 3 ต้น ที่แตกกิ่งก้านอย่างงดงาม มีรูปพระ อาทิตย์ พระจันทร์ อันเป็ น สัญลักษณ์ของจักรวาล และภาพ สัตว์ คือนกและหงส์ร่อน รวมถึง ภาพเทวดาอัญชลีพร้อมช่อดอกไม้ เลื้อยตั้งเรี ยงไปตามแนวนอน
วัดศรี ชุม จัดเป็ นวัดพม่าที่มีความสมบูรณ์พร้อม กล่าวคือมีท้ งั พระ วิหาร พระอุโบสถ พระธาตุเจดีย ์ กุฏิและซุม้ ประตูเป็ นแบบอย่า พม่าทั้งสิ้น
สําหรับพระวิหารที่ต้ งั อยู่ กึ่งกลางวัด เป็ นอาคารตึก ครึ่ งไม่แบบพม่า กล่าวคือมี หลังคาซ้อนกันหลายชั้น แต่ละชั้นลดหลัน่ กันถึง 7 ชั้น ขึ้นไปหาเรื อนยอด ชั้น บนสุ ดประดับด้วยฉัตร ทองคําตัวพระวิหารมีมุข บันไดทางขึ้นทั้งสองด้าน ซึ่งทั้งสองมุขมีลวดลาย แกะสลักลงรักปิ ดทอง มี ภาพตุ๊กตาพม่าสลับบนลาย เครื อเถา หน้าบันเป็ นลาย ดอกไม้ประดับ กระจกสี
สําหรับพระวิหารที่ต้งั อยูก่ ่ ึงกลางวัด เป็ นอาคารตึก ครึ่ งไม่แบบพม่า กล่าวคือมีหลังคาซ้อนกันหลายชั้น แต่ละชั้นลดหลัน่ กันถึง 7 ชั้น ขึ้นไปหาเรื อนยอด ชั้น บนสุดประดับด้วยฉัตรทองคําตัวพระวิหารมีมุข บันไดทางขึ้นทั้งสองด้าน ซึ่งทั้งสองมุขมีลวดลาย แกะสลักลงรักปิ ดทอง มีภาพตุ๊กตาพม่าสลับบนลาย เครื อเถา หน้าบันเป็ นลายดอกไม้ประดับ กระจกสี
ส่ วนบนเพดานวิหารแต่ ละช่องประดับด้วยตุ๊กตา แกะสลักเป็ นรู ปต่าง ๆ ไม่ซ้ าํ กัน มีท้ งั สิ งโต ปลา วัว ลิง นก ช้าง ม้า เด็ก และเทวดา พระประธานที่ประดิษฐ์ฐานไว้ตรง ตําแหน่งที่ตรงกับส่ วนที่เป็ นหลังคาซ้อน กัน 7 ชั้น บนวิหารนี้ ก็เป็ นพระพุทธรู ป แบบพม่าปางมารวิชยั ขัดสมาธิราบ พระ นลาฏตํ่า พระพักตร์แบน พระขนงโก่ง พระนาสิ กเป็ นสัน พระโอษฐ์อมยิม้ พระ หนุมน พระกรรณยาวและโค้งเล็กน้อย จรดพระอังสา พระเกศามีเม็ดพระศก ละเอียด ไรพระศกเป็ นแถบกว้าง ห่มจีวร ลดไหล่แต่มีผา้ หลุมไหล่ท้ งั ซ้ายและขวา
เชิงชายของหลังคาแต่ละชั้นตกแต่งด้วยลวดลาย ฉลุโลหะ ในส่วนของมุขทั้งสี่ กท็ าํ หลังคาซ้อน กัน 5 ชั้น ลดหลัน่ กันขึ้นไป ภายในพระอุโบสถ ประดิษฐานพระพุทธรู ปแบบพม่าหันพระพักตร์ ไปทางทิศตะวันออก
ทางเข้าพระอุโบสถทําเป็ นซุม้ ประตู ก่อ อิฐถือปูน หลังคาซ้อนกัน 3 ชั้น ลักษณะ ของพระอุโบสถมีผงั เป็ นรู ปสี่ เหลี่ยม จัตุรัสย่อมมุมและมีจตั ุรมุขหลังคาซ้อนกัน 7 ชั้น
วัดศาสนโชติการาม เรี ยกอีก ชื่อหนึ่งว่าวัดป่ าฝาง สังกัด คณะสงฆ์มหานิกายจังหวัด ลําปาง มีเนื้อที่ 7 ไร่ 1 งาน 60 ตารางวา สร้างขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2435 สมัยรัชกาลที่5 แห่งราชวงศ์จกั รี โดยพ่อเฒ่า อูส่วยอัตถ์และแม่เฒ่าคํา หวาน สุ วรรณอัตถ์ สองสามี ภรรยาที่มีจิตศรัทธาอย่างแรง กล้า ปรารถนาความ เจริ ญรุ่ งเรื องแห่ง พระพุทธศาสนาครั้งที่ได้มา ประกอบอาชีพป่ าไม้ในนคร ลําปาง
วิหารเป็ นเรื อนไม้ท้งั หลังขนาดใหญ่ หลังคา ซ้อนกันเป็ นชั้นๆ แบบพม่า และพระอุโบสถ ขนาดเล็กหลังคาเครื่ องไม้แบบพม่า มี ลวดลายเครื อเถาปูนปั้ นเหนือประตูสวยงาม ภายในประดิษฐานพระทับทิมพม่า ซึ่งองค์ พระห่มจีวรประดับด้วยทับทิมสวยงามและ หาดูได้ยากมาก วัดนี้มีพระสงฆ์พม่าจากเมือง มัณฑะเลยมาเป็ นเจ้าอาวาสอยูเ่ สมอ เปรี ยญ เป็ นเรื อน ไม้ท้งั หลังขนาด ใหญ่ หลังคาซ้อน กันเป็ นชั้นๆ แบบพม่า
วิหารไม้สกั ลักษณะครึ่ งตึกครึ่ งไม้2ชั้น ภายในวิหารชั้น บนเป็ นที่ประดิษฐานพระพุทธรู ปที่เก่าแก่แบบพม่าซึ่งมี พุทธลักษณะงดงาม ฐานชุกชี ซุม้ ด้านหลังของ พระพุทธรู ป ฝ้ าเพดาน บัวหัวเสา ตลอดถึงรอบเสา ประดับด้วยกระจกหลายสี ที่บรรจงวิจิตรอย่างสวยงาม ลวดลายของไม้แกะสลัก ได้ลงรักปิ ดทองเป็ นอย่างดี หลังคามีการสร้างตามสถาปัตยกรรมลดหลัน่ เป็ นชิ้นๆ
เจดีย ์ เป็ นที่ประดิษฐานพระบรม สารี ริกธาตุ ซึ่ งได้อญั เชิญมาจากพม่า เมื่อ พ.ศ. 2449 ได้ลงรักปิ ดทอง ซึ่ ง มองเห็นแต่ไกล ส่ วนฐานของเจดีย ์ จัด ไว้เป็ นแปดเหลี่ยมในแปดเหลี่ยม จะทํา เป็ นซุม้ สําหรับประดิษฐานพระพุทธรู ป หินอ่อน ซึ่ งมีความหมายถึงทิศทั้ง8 หรื อมรรค8ผล 8 เมื่อวัดโดยรอบกับ ส่ วนสูงของเจดีย ์ จะมีความกว้างและ ยาวเท่ากันคือ 45 เมตร
อุโบสถ สร้างขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2449 ก่อด้วยอิฐถือปูน เป็ นที่ประดิษฐาน พระพุทธรู ปประธาน ทรงผ้าลายพัฒนา ฐานชุกชีประดับด้วยลวดลายปูน ปั้นเป็ นเรื่ องราวชาดก ฝ้ าเพดาน ลงรักทาสีแดงชาดทําเป็ นช่องจํานวน 12 ช่อง แต่ละช่องประดับลวดลายปูนปั้นและกระจกสี มีรูปปูนปั้นนกยูงและ รู ปเทพคอยรักษาทุกช่อง ส่ วนหลังคาเป็ นเครื่ องไม้ลดหลัน่ เป็ นชั้นๆ บริ เวณรอบนอกซุม้ ประตู หน้าต่างประดับตกแต่งลวดลายปูนปั้นเป็ นรู ป เถาวัลย์ และเทวดารักษาประตู หน้าบันเสาด้านหน้าและเพดาน ประดับ ด้วยกระจกสี หลากสี ลวดลายของปูนปั้น เป็ นรู ปดอกไม้เถาวัลย์ อย่าง ประณี ตบรรจงทุกสัดส่วน
เสาหงส์ เป็ นสัญลักษณ์ของวัดมอญ ซึ่ งเป็ นของ ชาวมอญที่มาจากเมืองหงสาวดี วัดมอญทุก วัด จะต้องมีเสาหงส์เป็ นสัญลักาณ์วดั ป่ าฝางหรื อ วัดศาสนโชติการาม เป็ นวัดที่เก่าแก่มีอายุกว่า100 ปี ถือเป็ นโบราณสถานที่ศกั ดิ์สิทธิ์และทรงคุณค่า ทางสถาปัตยกรรม เป็ นวัดที่สวยงามวัดหนึ่งของ จังหวัดลําปาง
โบสถ์ เป็ นอาคารรู ปสี่ เหลี่ยมผืนผ้า มีมุขโถงทั้งด้านหน้าด้านหลัง ลักษณะอาคารและการตกแต่งเป็ นแบบศิลปะล้านนาโดยแท้ ด้านข้างแล เห็นหน้าต่างขนาดใหญ่ตีเป็ นช่องแบบไม้ระแนง แต่ภายในเป็ นหน้าต่าง จริ ง มีลายปูนปั้นบริ เวณซุม้ ประตูทางเข้า หน้าบันมีลกั ษณะวงโค้งสองอัน เหนือทางเข้าประกบกันเรี ยกว่า คิ้วโก่ง เหนือคิ้วโก่งเป็ น วงกลม สองวง คล้ายดวงตา ที่เสาและส่ วนอื่นๆ มีปูนปั้นนูน มีรักปั้นปิ ดทอง วิจิตร พิศดารมาก
วิหารลายคํานี้มีลวดลายปูนปั้นที่สวยงามปราณี ตบรรจงมาก แสดงให้เห็นฝี มือของช่างในยุคนั้นว่าเจริ ญถึงที่สุด ตัววิหาร ลายคําสร้างตามแบบศิลปกรรมของภาคเหนือ มีรูปปั้น พญานาค 2 ตัวอยูบ่ นั ไดหน้า และใกล้ ๆ พญานาค มีรูปปั้น สิ งห์ 2 ตัว บริ เวณ ภายในเป็ นที่ประดิษฐาน “พระพุทธ สิ หิงค์” บนผนังด้านหลังพระประธาน เสาหลวง (เสากลม) เสาระเบียง (เสาสี่ เหลี่ยม)
มีภาพลายทองพื้นแดงเป็ นลวดลายต่างๆ เต็มไปหมด ด้านหลังพระประธาน ยังมีรูปปราสาทแวดล้อมด้วยมังกรและหงส์ มีความงดงามน่าชมยิง่ ผนัง วิหารด้านเหนือมีภาพจิตรกรรม เขียน เรื่ องสังข์ทอง ด้านใต้เรื่ องสุวรรณ หงส์ นับเป็ นภาพที่น่าสนใจอย่างมาก โดยเฉพาะเรื่ องสังข์ทอง พบเพียงแห่ง เดียวที่นี่
สร้างเป็ นอาคารครึ่ งตึกครึ่ งไม้ ผนังด้านนอกประดับด้วยทวยเทพปูนปั้น ทําเป็ นรู ปเทพพนมยืน บ้างก็เหาะประดับ อยู่ โดยรอบ เป็ นฝี มือช่างสมัยพระเมืองแก้ว ประมาณ พ.ศ. 2476 เจ้าแก้วนวรัฐได้ซ่อมแซมขึ้นใหม่ที่ฐานหอไตรปั้นเป็ นลายลูก ฟักลดบัว ภายในประดับด้วยรู ปสัตว์หิมพานต์ เช่น นางเงือกมีปีก คชสี ห์มีปีก กิเลน เป็ นต้น และมีลายประจํายามลักษณะ คล้ายลายสมัยราชวงศ์เหม็งของจีน
พระธาตุหริภุญชัย เป็ นพระ ธาตุคู่บา้ นคู่เมืองลําพูนมานาน นับพันปี จัดเป็ นพระธาตุที่ เก่าแก่ที่สุดของภาคเหนือ เพราะสร้างขึ้นมาตั้งแต่สมัย พระเจ้าอาทิตยราช หรื อ ประมาณพุทธศตวรรษที่ 17 ซึ่ง ช่วงนั้นนครหริ ภุญชัยมีความ รุ่ งเรื องทางศาสนาและ ศิลปวัฒนธรรมเป็ นอย่างมาก องค์พระธาตุมีลกั ษณะศิลปะ แบบล้านนา ปิ ดด้วยทองจังโกสี เหลืองอร่ ามทั้งองค์ ภายใน ประดิษฐานพระเกศบรมธาตุซ่ ึง บรรจุอยูใ่ นโกศทองคําอีก ชั้นหนึ่ง บริ เวณโดยรอบองค์ พระธาตุจะมีซุม้ กุมภัณฑ์และ ฉัตรประจําทั้งสี่ มุม
ซุม้ ประตู ก่อนที่จะเข้าไปในบริ เวณวัด ต้องผ่านซุม้ ประตูก่ออิฐถือปูนประดับลวดลายวิจิตร พิสดาร เป็ นฝี มือโบราณสมัยศรี วิชยั ประกอบด้วยซุม้ ยอดเป็ นชั้น ๆ เบื้องหน้าซุม้ ประตูมี สิ งห์ใหญ่ค่หู นึ่งยืนเป็ นสง่า บนแท่น สูงประมาณ 1 เมตร สิงห์คู่น้ ีป้ ันขึ้นใน สมัยพระเจ้าอา ทิตยราช เมื่อทรงถวายวังให้เป็ นสังฆาราม
หอระฆังตั้งอยูท่ างทิศตะวันออกเฉียงเหนือขององค์พระธาตุหริ ภุญชัย เป็ นหอ สําหรับแขวนระฆังและกังสดาลขนาดใหญ่ สร้างขึ้นโดย พระครู พิทกั ษ์เจติยานุกิจ (ครู บาคําฟู) เมื่อ พ.ศ. ๒๔๘๑ ด้านบนแขวนระฆังขนาดใหญ่ซ่ ึงหล่อขึ้นในสมัยเจ้า หลวงดาราดิเรกรัตนไพโรจน์ เจ้าผูค้ รองนครลําพูน องค์ที่ ๗ และชั้นล่างห้อย กังสดาลขนาดใหญ่ซ่ ึงหล่อขึ้นเมื่อ พ.ศ. ๒๔๐๓ ฝี มือครู บาสู งเม่นโดยกัญจนมหา เถระ เจ้าอาวาส วัดป่ าเมืองแพร่ และเจ้าหลวงเมือง เชียงใหม่ เป็ นศรัทธาสร้างหล่อ กังสดาลนี้ ในวัดพระสิ งห์เมืองเชียงใหม่เพื่อไว้เป็ นเครื่ องบูชาพระธาตุหริ ภุญชัย
วิหารหลวง เมื่อผ่านซุม้ ประตูเข้า ไปแล้วจะเห็นวิหารหลังใหญ่ เรี ยกว่า "วิหารหลวง" เป็ นวิหาร หลัง ใหญ่มีพระระเบียงรอบด้าน และมีมุขออกทั้งด้านหน้าและ ด้านหลัง เป็ นวิหารที่สร้างขึ้น ใหม่แทนวิหารหลังเก่า ซึ่งถูกพายุ พัดพังทลายไปเมื่อ พ.ศ. 2466 วิหารหลวงใช้เป็ นที่บาํ เพ็ญกุศล และประกอบศาสนากิจทุกวัน พระ ภายในวิหารประดิษฐานพระ ปฏิมาใหญ่ ก่ออิฐถือปูน ลงรักปิ ด ทอง บนแท่นแก้วรวม 3 องค์ และ พระพุทธ ปฏิมาหล่อโลหะขนาด กลางสมัยเชียงแสนชั้นต้น และ ชั้นกลางอีกหลายองค์
วิหารกับวัดเป็ นสิ่ งที่อยูค่ ่กู นั มาแต่ครั้งโบราณ เนื่ องจากวิหารเป็ นสถานที่ใช้ สําหรับประกอบ พิธีกรรมทางศาสนาของทั้งพระสงฆ์และฆราวาส นอกจากนั้นตาม หมู่บา้ นต่าง ๆ จะนิยมใช้ วิหารของวัดเป็ นสถานที่ประชุมและจัดกิจกรรมต่าง ๆ ของ หมู่บา้ นด้วยเช่นกัน วิหารของวัด อื่น ๆ ส่วนใหญ่จะมีความกว้างขวางใหญ่โตเพื่อสามารถ รองรับผูค้ นที่มาทําบุญได้จาํ นวน มาก แต่ยงั มีวิหารอีกแห่ งหนึ่งที่มีขนาดเล็กแต่ทรงคุณค่า ด้านศิลปะและมีอายุเก่าแก่หลายร้อย ปี นัน่ คือพระวิหารวัดพระทุ่งอ้อ
ในสมัยก่อนที่จะมีการบูรณะซ่อมแซมพระวิหารวัดทุ่งอ้อนั้น ชาวบ้าน โดยทัว่ ไป ไม่ค่อยให้ความสําคัญต่อความเก่าแก่และทรงคุณค่าของพระวิหาร เท่าใดนัก แต่หลังจากที่ กรมศิลปากรได้เข้ามาบูรณะซ่อมแซมพระวิหารแล้ว ชาวบ้านส่ วนใหญ่ตื่นตัวต่อการ อนุรักษ์มากขึ้น ส่วนหนึ่ งรู ้สึกพอใจ แต่อีก ส่วนหนึ่ งไม่พอใจ ที่กรมศิลปากรซ่อมแซม โดยการนําศิลปะแบบใหม่เข้ามา เสริ มแทน เช่น อิฐบริ เวณด้านข้างพระวิหารได้ทุบอันเก่า ออกไป และใช้อิฐ แบบใหม่เข้ามาแทน รวมถึงการใช้สีแดงทาทัว่ พระวิหารซึ่ งดูแล้ว เหมือน ของใหม่ ทําให้หมดความขลัง แม้โครงสร้างเดิมทั้งหมดยังคงอยู่ แต่บางส่ วน ของ
TIMING & SPACE INTERIOR
ความโดดเด่นและสวยงามของพระวิหารอยูท่ ี่การประกอบไม้ โดยไม่ใช้ตะปูท้งั หลัง เป็ นวิหารก่ออิฐถือปูน และใช้ไม้สกั เกือบทั้งหลังสําหรับการก่อสร้าง ซึ่งจะหาดูได้ ยากตามวัด โดยทัว่ ไป ดังนั้นตัวพระวิหารของวัดทุ่งอ้อจึงมีขนาดเล็กกว่า วิหารทัว่ ไป คือ จุคนได้ประมาณ 50-60 คน ส่วนองค์พระ ประธานของวิหารนั้น เป็ นศิลปะผสมระหว่าง พม่าและล้านนา สันนิษฐานว่าในสมัยโบราณบริ เวณแถบนี้ ได้มีการสูร้ บ ระหว่างล้านนา กับพม่าบริ เวณ และพม่าได้ยดึ วัดนี้ ไว้ จึงทําให้ วัดมีศิลปะของพม่าผสมอยู่
วิหารของวัดทุ่งอ้อได้คงคู่กบั กาลเวลามา ยาวนานหลายร้อยปี เก่าแก่และทรุ ด โทรมไปตามกาลเวลา ดังนั้นตัวอาตมา ภาพเอง ได้ทาํ เรื่ องถึงกรมศิลปากร ให้ เข้ามา บูรณปฏิสังขรณ์รพระวิหารในปี พ.ศ. 2539 โดยกรมศิลปากรที่ 4 ได้ อนุมตั ิเงินจํานวนหนึ่ง ล้านห้าแสนบาท ในการบูรณะพระวิหาร เพื่อให้คงคู่อยู่ กับวัฒนธรรมของเชียงใหม่ต่อไป และ เป็ นตัวอย่างให้กบั วัดอีกหลายแห่งที่ทาํ การบูรณะซ่อมแซมรื้ อถอนวิหารออกไป ทั้ง หลัง โดยรู ้เท่าไม่ถึงการณ์ ทําให้ ศิลปะโบราณสู ญหาย
เป็ นวัดเก่าแก่ที่สาํ คัญของเมืองเชียงใหม่มาแต่โบราณ สร้างขึ้นสมัย พระเจ้ าติโลกราช แห่งราชวงศ์มงั ราย โดยโปรดฯ ให้หมื่น ด้ามพร้าคด (สี หโคตรเสนาบดี) ดําเนินการสร้างขึ้น เมื่อปี พ.ศ. 1998 เพื่อเป็ นพุทธสถานอันเป็ นที่อยูข่ องต้นศรี มหาโพธิ์ ด้วยพระราชศรัทธา ต่ออานิสงฆ์ของการปลูกต้นศรี มหาโพธิ์ อันเป็ นที่มาของนามวัด รวมทั้งได้สร้าง สัตตมหาสถาน อันเป็ นสถานที่จาํ ลอง 7 แห่ง เมื่อครั้ง พระพุทธเจ้าเสวยวิมุตติสุข ก่อนเผยแผ่พระพุทธศาสนา เมื่อครั้งสร้างเสร็จได้นิมนต์พระธรรมทินเจ้าอาวาสวัดป่ าตาลเป็ นประธาน และพระเถระผูแ้ ตกฉานในพระทําวินยั ทําการสังคายนาพระ ไตรปิ ฏก เมื่อปี พ.ศ. 2020 ซึ่งเป็ นครั้งที่แปดของโลก และเป็ นครั้งแรกของไทย
ชั้นบนขององค์พระเจดียเ์ จ็ดยอดประกอบด้วยเจดียเ์ จ็ดองค์ องค์ใหญ่ ที่สุดอยูต่ รงกลางเป็ นทรงสี่ เหลี่ยมมีซุม้ เข้าทางทิศตะวันออก ด้านในประดิษฐาน พระพุทธรู ปปูนปั้นประทับนัง่ ขัดสมาธิเพชรปางมารวิชยั และมีเจดียท์ รงสี่ เหลี่ยม ลักษณะเดียวกันแต่ขนาดเล็กอีกสี่ องค์เป็ นเจดียป์ ระจํามุมองค์ลอ้ มรอบเจดีย ์ ประธาน และด้านหน้ามีลานกว้างที่มุมทั้งสองข้างมีเจดียท์ ้ งั กลมขนาดเล็กอีกสอง องค์ท้งั หมดรวมเป็ น ๗ องค์
เครื่ องภูษิดาภรณ์ และ ลวดลายประดับบนเทวดา เหล่านี้ แตกต่างกัน ลักษณะของภูษาหรื อผ้านุ่งของเทวดาในท่านัง่ ยืนเอียงสะโพก จะเป็ นแบบชักชายพกออกมาห้อยคลุมด้านหน้าบัง ทับเข็มขัดและรัดสะเอวบางส่ วนจึงไม่เห็นส่วนประดับหัวเข็มขัด ส่ วนเทวดาในท่ายืนตรงจะไม่ชกั ชายออกมาทําให้เห็นส่วนประดับ หัวเข็มขัดและรัดสะเอวทุกส่ วน ท่อนพระองค์ส่วนบนอยูใ่ น ลักษณะเปลือยเปล่ามีเครื่ องประดับพระเศียรเป็ นทรงกรวยสูง
พระประธาน ภายในพระเจดีย์เจ็ดยอด
ประตูทางเข้าก่อเป็ นซุม้ โค้ง ภายในประดิษฐานพระพุทธรู ปปูนปั้น ปางมารวิชยั ประทับนัง่ ขัดสมาธิเพชรบนฐานเขียงหันพระพักตร์ไปทางทิศ ตะวันออก ตรงกลางของช่องอุโมงค์เจาะด้านข้างทั้งสองข้างทะลุข้ ึนไปชั้นบน ด้านหลังมีอุโมงค์ เช่นเดียวกันแต่ขนาดเล็กด้านในประดิษฐาน
พระสถูปเจดีย์พระเจ้ าติโลกราชสร้างในสมัย พญายอด เชียงราย พระราชนัดดาของพระเจ้าติโลกราช เมื่อปี พ.ศ. 2030 เพื่อเป็ นที่ ประดิษฐานพระบรมอัฐิของพระเจ้าติโลกราช หลังจากถวายเพลิงพระศพ ภายในวัดเดยอด เป็ นพระสถูปเจดียก์ ่ออิฐถือปูน ทรงมณฑปสี่ เหลี่ยมย่อเก็จ มี ซุม้ จระนําทั้งสี่ ดา้ น ส่ วนยอดเป็ นเจดียท์ รงระฆัง ซุม้ จระนําด้านนอกทิศ ตะวันออก ประดิษฐานพระพุทธรู ปปางมารวิชยั
อนิมิสเจดีย์ สถานที่พระพุทธองค์เสด็จประทับ ยืนทอดพระเนตรปฐมโพธิบลั ลังก์ที่พระองค์ได้ตรัสรู้
วัดต้นเกว๋ น เป็ นชื่อที่ชาวบ้านแถบบ้านต้นเกว๋ น ตําบลหนองควาย อําเภอหางดง เป็ นผูต้ ้ งั “เกว๋ น” หรื อชื่อที่ ชาวเหนือเรี ยกว่า “มะเกว๋ น” หรื อต้นตะขบป่ า เนื่องจากสมัยก่อนรอบวัดมีป่าต้นมะเกว๋ น วัดและหมู่บา้ นจึงมีชื่อตามนั้น สันนิษฐานว่าสร้างตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๓๙๙ สมัยพระเจ้ากาวิโรรส สุริยวงศ์ เจ้าเมืองเชียงใหม่ แต่วา่ เมื่อมีการบูรณะครั้งสุดท้าย ปี ๒๕๔๗ ๕ ปี ที่ผา่ นมา ได้คน้ พบว่าประวัติวดั นี้ มีอายุที่ยาวนานมากกว่า ๒๕๐ ปี แต่คน้ พบในอดีตในสมัยผูว้ า่ ชัยยา อายุ ๑๕๐ ปี อันนี้หลักฐานยังไม่ชดั เจน วัดนี้ มีความสําคัญในอดีต คือเป็ นที่พกั ขบวนพระบรมธาตุศรี จอมทอง จากอําเภอ จอมทอง มาที่เชียงใหม่ ในอดีตเป็ นประเพณี ที่เจ้าหลวงเมืองเชียงใหม่ มีการสรงนํ้าพระธาตุ คือจากวัดพระธาตุจอมทองมาก็ เดินทางมาด้วยขบวนช้าง ขบวนม้า แล้วแวะมาที่วดั ต้นเกว๋ น ให้ประชาชนแถวนี้ สรงนํ้าพระธาตุศรี จอมทอง
รู ปปั้นสิ งผายหน้า ออกเป็ นการออกแบบนําทางเดิน เข้าสู่ ตวั วัด
จุดเด่นของศิลปกรรมในวัดนี้โดยรวมจะเป็ นพระวิหารและศาลา มณฑป เป็ นศิลปะของล้านนาโดยเฉพาะ
วิหารวัดต้นเกว๋ น เป็ นวิหารแบบล้านนาโบราณ หน้า บันประดับกระจกแก้วสี แบบฝาตาผ้าหรื อฝาปะกน โก่ง คิ้วจําหลัก ไม้ลายเครื อเถาสอดสลับรู ปเศียรนาค
มีลายปูนปั้นรู ปเทพพนมและดอกไม้อยูห่ วั เสา ด้านหน้าบันปี กนกจะแกะสลักเป็ นเศียรนาคในลาย เครื อเถาผสมกนก ตีช่องตารางเพื่อระบายอากาศ ปั้นลมและหางหงส์แกะรู ปมกรคายนาคอย่าง งดงาม คันทวยหูชา้ งจําหลักไม้เป็ นรู ปกินนรฟ้ อนรํา
อีกอย่างหนึ่งก็คือ ลายปูนปั้นหางหงส์ แกะรู ปมกรคายนาค ตัวปูนที่อยูบ่ นเสาหน้าวิหารหน้าบันคือปูนติด ไม้ ระยะเวลาร้อย ๆ ปี ตัวไม้มนั กร่ อนไป ปูนจะบังไว้อยู่ พอปูนมันกะเทาะออก ลายไม้จะออกเป็ นลายตาม รอยปูนเป็ นลายอ่อนแก่ไปเลย ถือเป็ นศิลปะล้านนาโดยเฉพาะ แตกต่างจากสุ โขทัย แตกต่างจากพม่า
ศาลาจัตุรมุขก็เหมือนกัน สร้างแบบไม่มีตะปู คือการเข้าสลักไม้ จะไม่ใช้ตะปูเลย ส่ วนที่ใช้ตะปูกจ็ ะตีข้ ึนเอง เป็ น ลักษณะตะปู แต่ไม่ใช่เหล็กหล่อเป็ นส่ วน แต่ส่วนใหญ่เข้าสลักไม้ จากหัวเสาเป็ นแพ เข้าสลักไม้ นี่คือ จุดเด่น ลักษณะเป็ นศาลาที่มีมุขยืน่ ออกมาทั้งสี่ ดา้ น ส่ วนกลางของศาลามีจวั่ ซ้อนอยูส่ องชั้นมุงด้วยกระเบื้องดิน เผาที่เรี ยกว่ากระเบื้องดินขอ
มณฑปจตุรมุข
ลักษณะเป็ นศาลาที่มีมุขยืน่ ออกมาทั้งสี่ดา้ น ส่ วนกลางของศาลามีจวั่ ซ้อนอยูส่ องชั้นมุงด้วย กระเบื้องดินเผาที่เรี ยกว่ากระเบื้องดินขอ ที่พิเศษ กว่านั้นคือช่อฟ้ าของหลังคาหลังนี้ ช่างโบราณได้ ออกแบบให้เป็ นนกที่มาเกาะได้อย่างลงตัว ต้องขอ ชื่นชมในความเด็ดขาดความเรี ยบง่ายและลงตัวใน งานออกแบบ ที่กลางสันหลังคามีซุม้ มณฑปเล็กๆ ซึ่ งทางภาคเหนือเรี ยกว่า ปราสาทเฟื้ อง ลักษณะ เดียวกับที่พบในภาคอีสานและลาว
เป็ นมณฑปจตุรมุขแบบพื้นเมืองล้านนาซึ่งพบเพียงหลังเดียวเท่านั้นในภาคเหนือ กลางสันหลังคามีซุม้ มณฑปเล็ก ๆ ซึ่งทางภาคเหนือเรี ยกว่า "ปราสาทเฟื้ อง" ลักษณะเดียวกับที่พบในภาคอีสานและลาว
ช่
ช่อฟ้ าของหลังคาหลังนี้ ช่างโบราณได้ตวั ออกแบบให้เป็ น นกที่มาเกาะได้อย่างลง
ศาลาจัตุรมุขก็เหมือนกัน สร้างแบบไม่มีตะปู คือการเข้า สลักไม้ จะไม่ใช้ตะปูเลย ส่ วนที่ใช้ตะปูกจ็ ะตีข้ ึนเอง เป็ น ลักษณะตะปู แต่ไม่ใช่เหล็กหล่อเป็ นส่ วน แต่ส่วนใหญ่เข้า สลักไม้ จากหัวเสาเป็ นแพ เข้าสลักไม้ นี่คือจุดเด่น ช่วงแรกของการอนุรักษ์ชาวบ้านก็ไม่เข้าใจ คิดว่ากรม ศิลปากรจะยึดไปแล้ว เป็ นวัดของกรมศิลป์ ทําอะไรไม่ได้ สักอย่าง กว่าจะมาทําความเข้าใจ ก็ร่วมหลายปี เหมือนกัน ชาวบ้านจึงเข้าใจว่าทุกคนก็ตอ้ งอนุรักษ์ไว้ การทํางานสิ่ งก่อสร้างต่าง ๆ ภายในบริ เวณพื้นที่กาํ แพง ถ้า จะมีการก่อสร้างขึ้นมาใหม่ เช่น จะสร้างกุฏิ หอระฆัง ก็จะ กันออกมานอกกําแพงหมดเลย ดูแล้วก็จะกลายเป็ นวัดที่มี การแบ่งสัดส่ วนออกมา คือ สังฆาวาสที่หนึ่ง พุทธาวาสที่ หนึ่ง แยกเป็ นสัดส่ วนออกมา ความเข้าใจของชาวบ้านมี มากพอสมควร
มีลายปูนปั้ นรู ป เทพพนมและ ดอกไม้อยูห่ วั เสา ด้านหน้าบันปี กนก จะแกะสลักเป็ น เศียรนาคในลาย เครื อเถาผสมกนก ตีช่องตารางเพื่อ ระบายอากาศ ปั้ นลมและหาง หงส์แกะรู ปมกร คายนาคอย่าง งดงาม คันทวยหู ช้างจําหลักไม้เป็ น รู ปกินนรฟ้ อนรํา
วัดต้นเกว๋ นถือว่าเป็ นวัดที่สมบูรณ์ที่สุด และเป็ นวัดที่งามที่สุดในประเทศไทย ซึ่งได้รับรางวัลสถาปัตยกรรมดีเด่น ของสมาคม สถาปนิ กสยามในพระบรมราชูปถัมภ์ของสมเด็จพระเทพฯ เมื่อปี 2532 ซึ่งวัดต้นเกว๋ นมีลกั ษณะสถาปัตยกรรมที่แสดงออกถึงแบบ แผนทางศิลปกรรมและสถาปัตยกรรมล้านนาที่งดงามและทรงคุณค่าเป็ นอย่างยิง่ โครงสร้างและองค์ประกอบทางสถาปัตยกรรม ของวัดจะใช้ไม้แกะสลัก โดยนายช่างที่มีความสามารถและชํานาญการแกะสลักในสมัยนั้น
วัดพระแก้วดอนเต้า่ สุ ชาดาราม มีพระเจดีย ์ ใหญ่ทรงล้านนา มี มณฑปยอดปราสาทแบบ พม่าที่ประณี ตงดงาม มี พระวิหารทรงล้านนาที่มี รู ปทรงงดงาม มีลวดลาย แกะสลักไม้ที่บาน หน้าต่าง ข้างในมี จิตรกรรมฝาผนังที่มี คุณค่าทางศิลปะ และ ประวัติศาสตร์ มีพระ อุโบสถทรงล้านนาขนาด กะทัดลัด มีสัดส่ วน สวยงาม วัดพระแก้ว ดอนเต้าสุ ชาดารามได้รับ การยกฐานะขึ้นเป็ นพระ อารามหลวง เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๓๐
ลักษณะทัว่ ไปของวัดพระแก้ว ฯ เป็ นวัดขนาดใหญ่มีผงั วัดเป็ นรู ป สี่ เหลี่ยม พระวิหารหันหน้าไป ทางทิศตะวันออก มีพระเจดีย ์ ใหญ่อยูห่ ลังวิหาร สถาปัตยกรรมหลักของวัด ล้านนาโดยทัว่ ไป ประตูโขงและ พระวิหารหลวงถูกรื้ อทิ้งแล้ว เหลือเพียงพระเจดียล์ า้ นนาขนาด ใหญ่หนึ่งองค์ วิหารพระนอน และมณฑปยอดปราสาทศิลป แบบพม่าสร้างขึ้นในสมัยหลัง ส่ วนวัดสุ ชาดารามนั้นมีพ้นื ที่ น้อย วิหารหันหน้าไปทางทิศ ตะวันออก เจดียอ์ ยูห่ ลังวิหาร
เจดีย์ เป็ นเจดียท์ รงลังกาสุ โขทัยผสมล้านนา ฐานสู งต่อมุมลดชั้นสู งกว่าปกติ ต่อตัวบัว มาลัยปล้องไฉนบนยอดระฆังมีขนาดใหญ่ ทําให้สัดส่ วนของเจดียม์ ีลกั ษณะมัน่ คง แข็งแรง องค์ระฆังและปล้องไฉนหุม้ แผ่นทองจังโก
มณฑปปราสาทพม่ า อยูท่ างทิศใต้ขององค์เจดีย ์ เป็ นมณฑปหลังคายอดศิลปะพม่า ประดับลวดลาย ไม้ และแผ่นแกะสลักฝี มือละเอียดมาก ภายใน มณฑปเป็ นที่ประดิษฐานพระพุทธรู ปปูนปั้ นปิ ด ทอง ประดับกระจกสี วจิ ิตรพิสดารมาก
โบสถ์ วดั สุ ชาดาราม เป็ นโบสถ์ขนาดเล็กออกแบบเป็ นลายยกพื้นสู ง เป็ นโบสถ์แบบปิ ดมีผนังล้อมรอบ มีโถงอยูส่ ่ วนหน้าของโบสถ์ สัดส่ วนสวยงาม ภาพจิตรกรรมฝาผนังกล่าวถึงโทษที่ได้รับจากการทํา บาปตามคติความเชื่อของชาวบ้าน
วัดพันเตาเดิมเป็ นพื้นที่ในเขตวัด เจดียห์ ลวง โดยเป็ นเขตสังฆาวาส รวมทั้งเป็ นพื้นที่ต้งั เตาหลอม ใน การหล่อพระพุทธรู ปที่ประดิษฐาน ในวัดเจดียห์ ลวงแต่โบราณ ต่อมา ภายหลังได้สร้างเป็ นวัดพันเตา โดย อยูใ่ นยุคใกล้เคียงกับวัดเจดียห์ ลวง ในรัชสมัย พระเจ้ าอินทวิชยานนท์ (องค์ที่ 7) ปี พ.ศ. 2418 ได้มีพระราช ศรัทธาในการสร้างพระวิหารโดย การรื้ อหอคํา (ที่ประทับ) ของพระ เจ้ามโหตรประเทศ (องค์ที่ 5) ซึ่ง เป็ นเรื อนไม้สกั ทั้งหลัง ถวายให้แก่ วัดพันเตา เพื่อเป็ นพระวิหารหอคํา หลวง
ศาสนสถานและปูชนียวัตถุภายในวัดพัน เตา ประกอบด้ วย พระวิหารหอคําหลวง เดิมเป็ นหอคํา โบราณ สร้างจากไม้สกั ทั้งหลัง ที่มีสภาพ สมบูรณ์และสวยงามที่สุดของเชียงใหม่ รายละเอียดวิจิตรงดงาม ด้วยงานจําหลักไม้ ตามแบบฝี มือช่างหลวง ภายในประดิษฐาน พระเจ้ าปันเต้ า พระพุทธรู ปศิลปะล้านนา ซึ่งเป็ นพระประธานในพระวิหาร พระ พักตร์อิ่มเอิบเมตตา
ตัวอาคาร เนื่องจาก สถาปั ตยกรรมแบบเชียง แสนส่ วนใหญ่ ใช้ไม้ เป็ นวัสดุหลักมี โครงสร้างแบบกรอบยึด มุมมาก เสาและฝาทุก ส่ วนเป็ นไม้โดยเฉพาะ ฝามีแบบวิธีการสร้าง พิเศษคล้ายกับฝาปะกน ของฝาไม้สมัยอยุธยา แต่มีขนาดตัวไม้ที่แน่น หนามัน่ คงกว่า
วัดเจดีย์หลวงวรวิหาร เป็ นวัดเก่าแก่ในจังหวัด เชียงใหม่ สร้างขึ้นในรัชสมัยของพระเจ้าแสนเมืองมา กษัตริ ย ์ ลําดับ ที่ 7 แห่งราชวงศ์มงั ราย ไม่ปรากฏปี ที่ สร้างแน่ชดั สันนิษฐานว่าวัดแห่งนี้น่าจะสร้างในปี พ.ศ. 1928-พ.ศ. 1945 วัดเจดียห์ ลวงเป็ นพระอาราม หลวงแบบโบราณ มีการบูรณะมาหลายสมัย โดยเฉพาะพระเจดีย ์ ที่ปัจจุบนั มี ขนาด ความกว้าง ด้านละ 60 เมตร เป็ นองค์พระเจดียท์ ี่มีความสําคัญ ที่สุดองค์หนึ่งในเชียงใหม่ วัดเจดียห์ ลวงสร้าง อยู่ กลางใจ เมืองเชียงใหม่ ซึ่ งแต่เดิมถือว่าเป็ นศูนย์กลาง ทางการปกครองของอาณาจักรล้านนา ปั จจุบนั บริ เวณ วัดเจดียห์ ลวงกลางเมืองเชียงใหม่ มีสิ่งสักกา ละหลากหลายได้แก่ เจดียห์ ลวง อินทขีล ต้นยาง กุมภัณฑ์ พระฤๅษี ซึ่ งสะท้อนพัฒนาการคติจกั รวาล ได้ปรับเปลี่ยนไปตามสถานการณ์ที่แวดล้อมของ เมืองชีวติ
.พระเจดีย์หลวง เริ่ มสร้างขึ้น เมื่อ พ.ศ. 1934 สมัยพญาแสนเมืองมา สมัยพญาติโลกราช โปรดให้ สร้างเสริ มให้มีส่วนสู ง 80 เมตร ฐานสี่ เหลี่ยมกว้าง ด้านละ 56 เมตรปรับรู ปทรง เป็ น แบบโลหะปราสาทของลังการู ปลักษณ์ทรงเจดียแ์ บบพุกาม ดัดแปลงซุ ม้ ตรงสี่ มุมของมหาเจดีย ์ มีรูปปั้ นช้างคํ้ารายล้อมรอบองค์เจดียห์ ลวงนั้นมี 28 เชือก การสร้างรู ปปั้ น ช้างนั้น เป็ นการส่ งเสริ มกําลังเมืองในทางด้านไสยศาสตร์เพื่อให้ เมืองมีความแข็งแรงยิง่ ขึ้น นอกจากนี้ยงั มีพิธีการ สักการบูชาพญาช้างทั้ง 8 เชือก เพราะเชื่อว่า จะทําให้เกิดสวัสดิมงคล นําความสงบสุ ขมาสู่ บา้ นเมือง ศัตรู ไม่กล้า มารุ กรานยํ่ายีเมืองได้ เพราะชื่อพญาช้างที่ต้งั ขึ้นนั้น เป็ นพลังอํานาจก่อเกิดเดชานุ ภาพ อิทธิ ฤทธิ์ ข่มขู่บดบัง ขวางกั้น กําจัด ปราบปรามอริ ราชศัตรู ที่จะมารุ กราน ให้แพ้ภยั แตกพ่ายหนีไปเอง ซึ่ งแต่ละชื่อมีความหมายดังนี้
วิหารหลวง วิหารหลวงของวัดนี้ เจ้าคุณอุบาลีคุณ ปรมาจารย์ (สิ ริจนั ทะเถระ) และเจ้าแก้ วนวรัฐเป็ นผูส้ ร้างขึ้นใน พ.ศ. ๒๔๗๑ หน้าประตูทางเข้าวิหาร มีบนั ไดนาค เลื้อยงดงามยิง่ ใช้หางเกี่ยวกระหวัด ขึ้นไปเป็ นซุม้ ประตูวิหาร นาคคู่น้ ีเป็ น ฝี มือ เก่าแก่ที่มีมาตั้งแต่เดิมได้ชื่อว่า เป็ นนาคที่สวยที่สุดของ มี พระอัฎฐา รสเป็ นพระประธานในพระวิหาร หลวง หล่อด้วย ทองสําริ ด ปางห้าม ญาติสูง 18 ศอก พระนางติโลกะจุดา ราชมารดาของพญาติโลกราช โปรดฯ ให้หล่อขึ้น เมื่อ พ.ศ. 1954 สมัย รัชกาลที่ 5 ใช้วิหารวัดเจดียห์ ลวงเป็ น ที่ทาํ พิธีถือนํ้าพิพฒั น์สจั จา แทนการ ใช้ที่วิหารวัดเชียงมัน่ ก
จุลศักราช 289 (พ.ศ. 1874) พระเจ้าแสนภู โปรดให้สร้างเมืองเชียงแสน และต่อมาอีก 4 ปี ทรงสร้างมหาวิหารขึ้น ใน ท่ามกลางเมืองเชียงแสน คือวัดเจดียห์ ลวงองค์ที่ 1 ซึ่งอยูใ่ นวัดพระเจ้าตนหลวง เมืองเชียงแสน สมัยพระเจ้า แสนเมืองมา ซึ่งเป็ นโอรสของพระเจ้ากือนา ขณะที่มีพระชนมมายุ 39 ปี พระองค์โปรดให้สร้างพระเจดียห์ ลวง กลางเมืองเชียงใหม่ แต่ ยังไม่ทนั แล้วเสร็จดีกท็ รงสวรรคต พระราชินีผเู ้ ป็ นอัครมเหสี ของพระองค์ ได้โปรดให้ ทํายอดพระธาตุเจดียห์ ลวงจน แล้วเสร็จ 3 ใช้งบประมาณในการบูรณะถึง 35 ล้านบาทแล้วเสร็จเมื่อวันที่ 30 ธันวาคม พ.ศ. 2535
จุลศักราช 289 (พ.ศ. 1874) พระเจ้าแสนภู โปรดให้สร้างเมือง เชียงแสน และต่อมาอีก 4 ปี ทรงสร้างมหาวิหารขึ้น ในท่ามกลาง เมืองเชียงแสน คือวัดเจดียห์ ลวงองค์ที่ 1 ซึ่งอยูใ่ นวัดพระเจ้าตน หลวง เมืองเชียงแสน สมัยพระเจ้า แสนเมืองมาซึ่งเป็ นโอรสของ พระเจ้ากือนา ขณะที่มีพระชนมมายุ 39 ปี พระองค์โปรดให้สร้าง พระเจดียห์ ลวง กลางเมืองเชียงใหม่ แต่ยงั ไม่ทนั แล้วเสร็จดีกท็ รง สวรรคต พระราชินีผเู ้ ป็ นอัครมเหสี ของพระองค์ ได้โปรดให้ ทํา ยอดพระธาตุเจดียห์ ลวงจนแล้วเสร็จ 3 ใช้งบประมาณในการ บูรณะถึง 35 ล้านบาทแล้วเสร็จเมื่อวันที่ 30 ธันวาคม พ.ศ. 2535
พระวิหารหลวง ทรงล้านนา ภายในประดิษฐาน พระอัฎฐารส พระประธานปางประธาน อภัย หล่อด้วยทองสําริ ด สู ง 18 ศอก พระนางติโลกะจุดาราชมารดาของพระเจ้าติโลกราช โปรดฯให้สร้างขึ้น เมื่อปี พ.ศ. 1954
รายชื่อสมาชิกกลุ่ม
1.นส.ทิพวรรณ เพ็งพุต 2.นส.ชวลี เตศิริ 3.นส.เบญจมาศ สิ นแก้ว 4.นส.ปัทมพร นาวาผล 5.นส.วาทินี สุ ริยะยานนท์
รหัส 540301 รหัส 54030 รหัส 54030203 รหัส 54030206 รหัส 54030225