ขั้นตอนงานตรวจเช็ค

Page 1

INSPECTION TRANSFORMER

www.arsit.co.th


คำนำ คู่มือการตรวจเช็คหม้อแปลงไฟฟ้า เล่มนี้ จัดทำเพื่อส่งเสริมความรู้ความเข้าใจ ในขั้นตอนปฎิบัติงาน ตรวจเช็คหม้อแปลงไฟฟ้า เพื่อให้การตรวจเซ็คหม้อแปลงไฟฟ้า เป็นไปในมาตราฐานเดียวกัน ทั้งนี้ทางคณะผู้จัดทำหวังเป็นอย่างยิ่งว่าคู่มือเล่มนี้ จะเป็นประโยชน์ต่อผู้ที่ได้มาศึกษาเป็นอย่างดี และทางคณะผู้จัดทำ ขอขอบคุณผู้ที่มีส่วนช่วยให้คู่มือเส่มนี้สำเร็จมา ณ โอกาสนี้ด้วย


INSPECTION TRANSFORMER

ขั้นตอนการตรวจเช็ค หม้อแปลงไฟฟ้า ตามจุดต่างๆ


ขั้นตอนการตรวจเช็ค หม้อแปลงไฟฟ้า ตามจุดต่างๆ 1.ค่าความเป็นฉนวนที่จุดต่างๆ (Insulation Resistance) 1.1 ตรวจสอบค่าความเป็นฉนวนที่จุดต่อกราวด์ ลงดิน (ค่ามาตราฐาน ต้องไม่เกิน 5 โอห์ม)

1.2 ตรวจสอบค่าความเป็นฉนวนของขดลวด (ค่ามาตราฐาน ต้องมากกว่า 1000 เมกกะโอห์ม)

1.3 ตรวจสอบค่าอุณหภูมิของขั้วต่อสาย

ค่าความเป็นฉนวนต่างๆ ที่ได้มาตราฐาน

ค่าความเป็นฉนวนต่างๆ ที่ไม่ได้มาตราฐาน ควรแก้ไข

website: www.arsit.co.th


ขั้นตอนการตรวจเช็ค หม้อแปลงไฟฟ้า ตามจุดต่างๆ

2. ขั้วต่อสายดิน (Ground) 2.1 ตรวจดูสภาพของสายดิน จะต้องอยู่ในสภาพที่ดี และรัดแน่น

2.2 ตรวจดูการสึกกร่อนของจุดต่อลงดินต่างๆ

2.3 ตรวจดูความสะอาดของขั้วต่อสาย

ขั้วต่อสายดิน สภาพดี ต้องรัดแน่น ไม่ขาด

ขั้วต่อสายดิน เสื่อมสภาพ ควรแก้ใข

website: www.arsit.co.th


ขั้นตอนการตรวจเช็ค หม้อแปลงไฟฟ้า ตามจุดต่างๆ

3.น้ำมันหม้อแปลงไฟฟ้า 3.1 ตรวจสอบสีของน้ำมัน

3.2 ทดสอบค่า BreakdownVoltage ของน้ำมันหม้อ แปลงไฟฟ้า(ค่ามาตรฐานจะต้อง ไม่ต่ำกว่า 30 kv )

3.3 ทดสอบค่าความเป็นกรดของน้ำมันหม้อแปลงไฟฟ้า ( ค่ามาตรฐานจะต้องน้อยกว่า 0.2mg.KOH/gm.)

น้ำมันหม้อแปลงไฟฟ้า สภาพดี จะต้องผ่านการทดสอบค่าต่างๆ ตามมาตราฐาน

น้ำมันหม้อแปลงไฟฟ้า เสื่อมสภาพ ควรแก้ใข

website: www.arsit.co.th


ขั้นตอนการตรวจเช็ค หม้อแปลงไฟฟ้า ตามจุดต่างๆ

4. ที่วัดระดับน้ำมัน (Oil Level) 4.1 ตรวจสอบว่ามีการรั่วซึมของน้ำมันหรือไม่

4.2 ระดับน้ำมันจะต้องอยู่ในรับที่มาตรฐาน

4.3 หน้าปัดของที่วัดระดับน้ำมันจะต้องอยุ่ในสภาพ ปกติ ไม่แตก หรือร้าว และสามารถมองเห็นระดับ น้ำมันได้ชัดเจน

ที่วัดระดับน้ำมัน สภาพดี จะต้องไม่รั่วซึม และมองเห็นระดับน้ำมันได้ชัดเจน

ที่วัดระดับน้ำมัน เสื่อมสภาพ ควรแก้ใข

website: www.arsit.co.th


ขั้นตอนการตรวจเช็ค หม้อแปลงไฟฟ้า ตามจุดต่างๆ

5. ขั้วต่อสาย (Terminal Connectors) 5.1 ตรวจ ดูรอยอาคท์ (Arc) หรือ Overheat

5.2 ตรวจดูการยึดน๊อตของขั้วต่อสาย และตรวจเช็ค ความสะอาดบริเวณนั้นๆให้อยู่ในสภาพที่เป็นปกติ​ิ

ขั้วต่อสาย สภาพดี จะต้องสะอาด ไม่มีรอยอาคท์

ขั้วต่อสาย เสื่อมสภาพ ควรแก้ใข

website: www.arsit.co.th


ขั้นตอนการตรวจเช็ค หม้อแปลงไฟฟ้า ตามจุดต่างๆ

6. บุชชิ่งแรงสูง - แรงต่ำ (Bushing) 6.1 ตรวจสอบสภาพบริเวณผิวของบุชชิง่ (คราบน้ำมัน , การเกิด Flash Over , รอยแตกร้าว ,รอยบิ่น )

6.2 ตรวจดูรอยรัว่ ซึมของคราบน้ำมันและสภาพประเก็น บริเวณบุชชิง่

บุชชิ่งแรงสูง - แรงต่ำ สภาพดี จะต้องไม่มีรอยน้ำมันรั่วซึม

บุชชิ่งแรงสูง - บุชชิ่งแรงต่ำ เสื่อมสภาพ ควรแก้ใข

website: www.arsit.co.th


ขั้นตอนการตรวจเช็ค หม้อแปลงไฟฟ้า ตามจุดต่างๆ

7. ตรวจเช็คประเก็นตามจุดต่างๆ 7.1 ตรวจดูปะเก็น / ซีลยางต่าง

7.2 ตรวจดูวาวล์ถ่ายน้ำมัน (Drain Valve)

7.3 ตรวจดูวาวล์ทิ้งน้ำมัน(Drain Plug)

ประเก็นตามจุดต่างๆ สภาพดี จะต้องไม่มีรอยน้ำมันรั่วซึม

ประเก็นตามจุดต่างๆ เสื่อมสภาพ ควรแก้ใข

website: www.arsit.co.th


ขั้นตอนการตรวจเช็ค หม้อแปลงไฟฟ้า ตามจุดต่างๆ

8. ชุดปรับแรงดันไฟฟ้า (Tap Changer) 8.1 ตรวจสภาพของ Handle และ Tap Changer ตรงล็อกหรือไม่

8.2 ตรวจสอบรอยรั ่ ว ซึ ม ของน้ ำ มั น และซี ล ยาง (Seal)

ชุดTAPปรับแรงดันไฟฟ้า สภาพดี จะต้องไม่มีรอยรั่วซึม

ชุดTAPปรับแรงดันไฟฟ้า เสื่อมสภาพควรแก้ใข

website: www.arsit.co.th


ขั้นตอนการตรวจเช็ค หม้อแปลงไฟฟ้า ตามจุดต่างๆ

9.สภาพตัวถังและฝาครอบหม้อแปลง (Body&Cover) 9.1 ตรวจสอบรอยรั่วซึมของคราบน้ำมัน

9.2 ตรวจสอบคราบสกปรกต่างๆที่เกาะติดบริเวณ หม้อแปลง

9.3 ตรวจสภาพของสนิมทีเ่ กาะบริเวณหม้อแปลง

ตัวถังและฝาครอบหม้อแปลง สภาพดี จะต้องสะอาดไม่เป็นสนิม

ตัวถังและฝาครอบหม้อแปลง เสื่อมสภาพ ควรแก้ใข

website: www.arsit.co.th


ขั้นตอนการตรวจเช็ค หม้อแปลงไฟฟ้า ตามจุดต่างๆ 10.ชุดสารกรองความชื้น (Dehydrating breather & Silica gel) 10.1 ตรวจสอบการเปลี่ยนสีของสารกรองความชื้น (Silica Gel) จากสีน้ำเงินเข้มป็นสีชมพูซีดควรได้ รับการแก้ไข

10.2 ตรวจสอบระดับน้ำมันในถ้วยใต้กระบอกของ สารกรองความชื้น ให้อยู่ในระดับมาตรฐาน

10.3 ตรวจสอบซี ล ยางและน๊อตจะต้องไม่มีค ราบ น้ำมันซึมออกมา บริเวณซีลยางผิวจะต้องเรียบไม่ แตกระแหง

สารกรองความชื้น (Silica Gel) สภาพดีควรมีสีน้ำเงินเข้ม

สารกรองความชื้น (Silica Gel) เสื่อมสภาพควรแก้ไข

website: www.arsit.co.th


ขั้นตอนการตรวจเช็ค หม้อแปลงไฟฟ้า ตามจุดต่างๆ

11. เทอร์โมมิเตอร์ (Thermometer) 11.1 ตรวจสอบสภาพหน้าปัดของเทอร์โมมิเตอร์

11.2 ตรวจสอบรอยรั่วซึมของคราบน้ำมัน

11.3 ค่าของอุณภูมิที่วัดได้ เกินค่ามาตรฐานหรือไม่ (ไม่เกิน60C) 11.4 ตรวจสอบการทำงานของเทอร์โมมิเตอร์มกี าร อ่านค่าที่ถูกต้องหรือไม่

เทอร์โมมิเตอร์ สภาพดี จะต้องอ่านค่าอุณภูมิได้ถูกต้อง

เทอร์โมมิเตอร์ เสื่อมสภาพ ควรแก้ใข

website: www.arsit.co.th


ขั้นตอนการตรวจเช็ค หม้อแปลงไฟฟ้า ตามจุดต่างๆ

12. บุชโฮรีเลย์ (Buchholz Relay) 12.1 ตรวจสอบกระจก/หน้าปัดแตกช่ารุดหรือไม่

12.2 ตรวจสอบมี Gas สะสมมากผิดปกติหรือไม่

12.3 ทดสอบการทำงาน

บุชโฮรีเลย์ สภาพดี จะต้องไม่มีน้ำมันรั่วซึม

บุชโฮรีเลย์ เสื่อมสภาพ ควรแก้ใข

website: www.arsit.co.th


ขั้นตอนการตรวจเช็ค หม้อแปลงไฟฟ้า ตามจุดต่างๆ

12. ตรวจสอบแกนล่อฟ้า (Arcing Horn)

12.1 ตรวจดูความสะอาดของแกนล่อฟ้า และจะต้อง ไม่เป็นสนิม

12.2 ตรวจดูระยะห่างของ Arcing horn ตามมาตรฐาน ของการไฟฟ้าส่วนภูมิภาคกำหนด ระบบ 22 KV. ระยะห่าง 15.5 เซนติเมตร

แกนล่อฟ้า สภาพดี จะต้องสะอาดไม่และไม่เป็นสนิม

ระยะห่าง 15.5 เซนติเมตร

แกนล่อฟ้า เสื่อมสภาพ ควรแก้ใข

website: www.arsit.co.th


ขั้นตอนการตรวจเช็ค หม้อแปลงไฟฟ้า ตามจุดต่างๆ

13. ดรอปเอาท์ ฟิวส์ (Drop Out Fuse ) 13.1 ตรวจดูรอยอาคท์และรอยไหม้

13.2 ตรวจดูรอยแตกร้าวโดยรอบ

13.3 ตรวจดูความสะอาดของดรอปเอาท์ ฟิวส์

ดรอปเอาท์ ฟิวส์ สภาพดี ต้องไม่มีรอยอาคท์และบิ่นแตก

ดรอปเอาท์ ฟิวส์ เสื่อมสภาพ ควรแก้ใข

website: www.arsit.co.th


ขั้นตอนการตรวจเช็ค หม้อแปลงไฟฟ้า ตามจุดต่างๆ

14. อุปกรณ์กันนก (Bird Guard) 14.1 ตรวจดูชุดอุปกรณ์กันนกว่ามีการติดตั้งหรือไม่

14.2 ตรวจดูสภาพการใช้งานของชุดอุปกรณ์กันนก

14.3 ตรวจดูความสะอาดของชุดอุปกรณ์กันนก

อุปกรณ์กันนก สภาพดี ต้องไม่ละลายหรือแตกหัก

อุปกรณ์กันนก เสื่อมสภาพ ควรแก้ใข

website: www.arsit.co.th


ขั้นตอนการตรวจเช็ค หม้อแปลงไฟฟ้า ตามจุดต่างๆ

15. LT สวิทต์แรงต่ำ

15.1 ตรวจสอบรอยไหม้บริเวณตัว LTสวิทต์แรงต่ำ และขั้วต่อสาย

15.2 ตรวจสอบของสนิมที่เกาะบริเวณLTสวิทต์ แรงต่ำ

LT สวิทต์แรงต่ำ สภาพดี จะต้องไม่มีรอยใหม้และคราบสนิม

LT สวิทต์แรงต่ำ เสื่อมสภาพ ควรทำการแก้ใข

website: www.arsit.co.th


ขั้นตอนการตรวจเช็ค หม้อแปลงไฟฟ้า ตามจุดต่างๆ

16. อุปกรณ์ป้องกัน ดรอปเอาท์ ฟิวส์ (G Cover)

16.1 ตรวจดูชุดอุปกรณ์ป้องกัน ดรอปเอาท์ฟิวส์ ว่ามีการติดตั้งหรือไม่

16.2 ตรวจดูสภาพการใช้งานของชุดอุปกรณ์ป้องกัน ดรอปเอาท์ฟิวส์ ว่าเสื่อมภาพหรือชำรุดแตกหัก

อุปกรณ์ป้องกัน ดรอปเอาท์ฟิวส์ สภาพดี ต้องไม่ชำรุดแตกหัก

อุปกรณ์ป้องกัน ดรอปเอาท์ฟิวส์ เสื่อมสภาพ ควรแก้ใข

website: www.arsit.co.th


ขั้นตอนการตรวจเช็ค หม้อแปลงไฟฟ้า ตามจุดต่างๆ

17. ล่อฟ้าแรงสูง (Lightning Arrester)

17.1 ตรวจสอบรอยไหม้บริเวณขัว้ ต่อสายล่อฟ้า แรงสูง

17.2 ตรวจสอบสภาพการใช้งานล่อฟ้าแรงสูง

ล่อฟ้าแรงสูง สภาพดี ขั้วต่อสายจะต้องไม่หลุดออก

ล่อฟ้าแรงสูง เสื่อมสภาพ ขั้วต่อระเบิด ควรทำการแก้ใข

website: www.arsit.co.th


ขั้นตอนการตรวจเช็ค หม้อแปลงไฟฟ้า ตามจุดต่างๆ

18. ลูกถ้วยสายไฟฟ้าแรงสูง

18.1 ตรวจสอบลูกถ้วยสายไฟฟ้าแรงสูงว่ามีรอยไหม้ หรือเสือ่ มสภาพแตกร้าว

18.2 ตรวจดูสภาพการใช้งานของสายไฟฟ้าแรงสูงว่า มีคราบสนิมหรือไม่

ลูกถ้วยสายไฟฟ้าแรงสูง สภาพดี ต้องไม่มีรอยไหม้และคราบสนิม

ลูกถ้วยไฟฟ้าแรงสูง เสื่อมสภาพ ควรแก้ใข

website: www.arsit.co.th


ขั้นตอนการตรวจเช็ค หม้อแปลงไฟฟ้า ตามจุดต่างๆ

19. คอน

19 ตรวจสอบสภาพของ คอน

คอน สภาพดี ต้องไม่เป็นไม้ เพราะคอนเหล็กมีความทนทานกว่า

คอนไม้ เสื่อมสภาพ ควรทำการแก้ใข

website: www.arsit.co.th


ขั้นตอนการตรวจเช็ค หม้อแปลงไฟฟ้า ตามจุดต่างๆ

20. ป้ายแจ้งเตือนไฟฟ้าแรงสูง

2 0 . 1 ต ร ว จ ส อ บ ป้ า ย แ จ้ ง เ ตื อ น ไ ฟ ฟ้ า แ ร ง สู ง ว่ามีตดิ ตัง้ อยูห่ รือไม่

2 0 . 2 ต ร ว จ ส อ บ ป้ า ย แ จ้ ง เ ตื อ น ไ ฟ ฟ้ า แ ร ง สู ง ว่าชำรุดแตกหัก

ป้ายแจ้งเตือนไฟฟ้าแรงสูง สภาพดี จะต้องไม่ชำรุดและติดตั้งมองเห็นชัดเจน

ป้ายแจ้งเตือนไฟฟ้าแรงสูง ไม่มีติดตั้ง ควรแก้ใข

website: www.arsit.co.th


MEMO

................................................................................ ................................................................................................ ................................................................................................ ................................................................................................ ................................................................................................ ................................................................................................ ................................................................................................ ................................................................................................ ................................................................................................ ................................................................................................ ................................................................................................ ................................................................................................ ................................................................................................ ................................................................................................ ................................................................................................ ................................................................................................ ................................................................................................ ................................................................................................ ................................................................................................ ........................................................................


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.