Bateersea Power Station Marsh land ขนาดใหญ่ จนกระทัง่ มีเทคโนโลยีการระบายนํ ้า จึงใช้ พื ้นที่เพื่อเกษตรกรรม หล่อเลี ้ยง ลอนดอน จนได้ ชื่อว่า "Battersea Bundles"
Anglo saxon
1900
1930 มีการออกแบบและก่อสร้ าง Battersea power staion หลัง จากมีการถกเถียงเรื่ องมลภาวะใน รัฐสภา
1900 มีการออกแบบและก่อสร้ าง Battersea power staion หลัง จากมีการถกเถียงเรื่ องมลภาวะใน รัฐสภา
1910
1920
1930
1940
1970
London, United Kingdom 743,224 sqm. http://www.youtube.com/watch?v=SCM5ETcY0RU
1975 โรงงานปิ ดตัวลงหลังใช้ งานมา 42 ปี 1980 สถาปั ตยกรรมที่มีคณ ุ ค่าทางประวัตศิ าสตร์ 1989 มีการบําบัดสารพิษและนําเอาboiler ออก 1980
1990
2000
2006 สถาปนิก Rafael Vinoly ออกแบบผังแม่แบบ 2013 เริ่ มการทํางานในพื ้นที่ 2016 พื ้นที่ Phase ที่หนึง่ เสร็ จสมบูรณ์
2010
2020
การทํางานของโรงไฟฟ้าถ่ านหิน จาก โรงไฟฟ้าถ่ านหิน PLBC - ถ่านหินจะถูกขนส่งทางเรื อและขนถ่ายที่ทา่ เรื อของของโรงไฟฟ้า - จากลานกองถ่านหิน ถ่านหินจะถูกลําเลียงเข้ าสูโ่ รงไฟฟ้าด้ วยระบบสายพานลําเลียงไป ยัง Coal Bunker และส่งต่อไปยัง Coal Pulverizer เพื่อบดถ่านจนเป็ นผงละเอียดก่อนที่ จะถูกส่งเข้ าไปยังหม้ อไอนํ ้า (Boiler Furnace) โดยการใช้ ลมพาผงถ่านเข้ าไป เมื่อถ่านหิน เกิดการเผาไหม้ ก็จะคายพลังงานความร้ อนออกมา - เมื่อนํ ้าได้ รับความร้ อนจากการเผาไหม้ ก็จะมีอณ ุ หภูมิสงู จนเดือดและนํ ้าบางส่วน จะ เปลีย่ นสถานะกลายเป็ นไอนํ ้า อุปกรณ์ที่เรี ยกว่า Boiler Drum ซึง่ ติดตังอยู ้ ส่ ว่ นบนของ เตาเผาจะทําหน้ าที่แยกไอนํ ้าและนํ ้าออกจากกัน ส่วนที่เป็ นนํ ้าก็จะกลับไปสูเ่ ตาเผาอีก ครัง้ หนึง่ ส่วนที่เป็ นไอนํ ้าจะผ่านไปเข้ า Superheat Coil เพื่อเพิ่มอุณหภูมิและความดันให้ เหมาะสมกับการที่จะนําไปใช้ ในการขับเคลือ่ น กังหันไอนํ ้า (Steam Turbine) ต่อไป - ไอนํ ้าเมื่อผ่านกังหันจะคายพลังงานเพื่อทําให้ ตวั กังหันหมุน แกนของกังหันจะต่อไปยัง เครื่ องกําเนิดไฟฟ้า (Generator) - เมื่อเครื่ องกําเนิดไฟฟ้าหมุน สนามแม่เหล็กจะหมุนไปตัดกับขดลวดที่อยูภ่ ายในเครื่ อง กําเนิดไฟฟ้าทําให้ เกิด กระแสไฟฟ้าขึ ้น - ไอนํ ้าที่ไปหมุนกังหันแล้ วจะมีอณ ุ หภูมิและความดันลดลง จะถูกควบแน่นให้ กลายเป็ น นํ ้าภายในเครื่ องควบแน่น (Condenser) เพื่อส่งกลับไปต้ มในห้ องเผาไหม้ ตอ่ ไป
- กระบวนการเผาไหม้ ของถ่านหินจะเกิดเถ้ าขึ ้นหลังจากการเผาไหม้ ภายในห้ องเผา ไหม้ ส่วนที่มีนํ ้าหนักมากจะตกลงสูด่ ้ านล่างของเตาเผาซึง่ เรี ยกว่าเถ้ าหนัก (Bottom Ash) เถ้ าส่วนที่มีนํ ้าหนักน้ อยจะลอยขึ ้นไปกับอากาศที่ถกู เผาไหม้ แล้ ว (Flue gas) สูส่ ว่ นบน ของเตาเผาไหม้ ส่วนนี ้จะถูกดักจับด้ วยเครื่ องดักจับฝุ่ นระบบไฟฟ้าสถิตย์ (ESP) และ เนื่องจากในถ่านหินจะมีกํามะถันปนอยูด่ ้ วย เมื่อเกิดการเผาไหม้ กํามะถันนี ้จะถูกเปลีย่ น รูปเป็ นก๊ าซซัลเฟอร์ ไดออกไซด์และจะถูกดักจับด้ วย เครื่ องดักจับก๊ าซซัลเฟอร์ ไดออกไซด์ (FGD) ก่อนที่จะปล่อยสูช่ นบรรยากาศต่ ั้ อไป การจัดการกากของเสีย กากของเสียที่เกิดขึ ้นจากโครงการโรงไฟฟ้านี ้ แบ่งได้ เป็ น - ของเสียจากสํานักงาน จะถูกรวบรวมไว้ ในถังขยะขนาดใหญ่ และมีบริ ษัทภายในท้ องถิ่น ที่รับเก็บรวมรวมขยะมาเก็บไปทุกสัปดาห์ รวมทังกากตะกอนจากระบบผลิ ้ ตนํ ้าดีซงึ่ เป็ น ของเสียที่ไม่เป็ นอันตรายด้ วย - ของเสียที่เป็ นสารเคมีหรื อมีการปนเปื อ้ นนํ ้ามัน ของเสียเหล่านี ้จะมีปริ มาณน้ อย เช่น ภาชนะที่บรรจุนํ ้ามันหรื อสารเคมีที่ใช้ แล้ ว หรื อสารเคมีที่หมดอายุการใช้ งาน จะถูกเก็บไว้ ในถังเก็บสารเคมีเพื่อรอส่งไปยังบริ ษัทฯที่ได้ รับใบอนุญาต - เถ้ าถ่านหินจากการเผาไหม้ การเผาไหม้ เชื ้อเพลิงของโรงไฟฟ้าจะทําให้ เกิดขี ้เถ้ า ประมาณ 360,000 ตันต่อปี โดยประมาณ
open space
Vauxhall Gardens
open space
Churchill Gardens
743,224 SQM
New Covent garden market
commercial
Patmore Estate
residencial
Queenstown RD. Battersea Arena
recreation
Battersea Park
open space
แม่นํ ้า Thames
vision Connection - สถานที่ตงของโรงงานถ่ ั้ านหินเป็ นจุดที่เหมาะแก่การเป็ นที่พกั อาศัย เป็ นจุดเด่นของพื ้นที่ ริ มนํ ้า เข้ าถึงง่ายและสวยงาม - พื ้นที่โดยรอบรายล้ อมด้ วยห้ างร้ านและถนนสายต่างๆที่มีสถานที่พกั ผ่อน กําลังจะถูก เชื่อมต่อด้ วยทางรถไฟใต้ ดนิ - การเดินทางสะดวกทังทางรถ ้ และรถไฟใต้ ดนิ อีกทังยั ้ งมีเรื อล่องแม่นํ ้าเทมส์ให้ พกั ผ่อน หย่อนใจอีกด้ วย - เชื่อมต่อเข้ ากับการสัญจรรูปแบบต่างๆ ทังทางเดิ ้ นเท้ า จักรยาน ทางรถยนต์ ทางรถไฟ ใต้ ดนิ และเรื อทางแม่นํ ้าเทมส์ - เกิดคุณค่าทางเศรษฐกิจ พร้ อมรองรับที่อยูอ่ าศัยที่จะทําการสร้ างขึ ้นอีกด้ วย
Works&jobs
recreation
- เมื่อเสร็ จสิ ้น battersea station tower จะสร้ างงานกว่า 10,000 อัตรา และสร้ างงาน ทางอ้ อมถึง 7,000อัตรา - เป็ นพื ้นที่ Learning Academy สร้ างทักษะให้ กบั คนท้ องถิ่น
- พื ้นที่20acres ถูกพัฒนามาเป็ น openspace ใหม่ คิดสัดส่วน openspace เป็ น 50 เปอร์ เซ็นของพื ้นที่ โดยได้ ใช้ เงินจํานวนกว่าแปดพันล้ านยูโรเพื่อพัฒนาปรับปรุงพื ้นที่นี ้
NEW Connection - มีการเชื่อมต่อพื ้นที่สเี ขียวจากในโครงการไปสูพ่ ื ้นที่สเี ขียวอื่นๆในเมือง และเป็ นการ เชื่อมต่อทางเดินเท้ าด้ วย เกิดเป็ น linear park ขนาดใหญ่ - การช่วยเพิ่มที่อยูอ่ าศัยของสัตว์ แต่เดิมในพื ้นที่เป็ นที่ทํารังของเหยี่ยวเพเรกริ น มีการส่ง เสริ มการอยูอ่ าศัยของสัตว์ในพื ้นที่ - เน้ นใช้ พืชพรรณที่มีสสี นั สดใส
take care the iconic การอนุรักษ์ รูปแบบอาคารโรงถ่านหินที่มีรูปแบบสถาปั ตยกรรมแบบอาร์ ตเดโค ซึง่ เป็ น สัญลักษณ์ของเมืองลอนดอน โดยมีการซ่อมบํารุงและนําเอาสารส่วนประกอบที่มีสารพิษออกจากพื ้นที่ เช่น กระเบื ้อง ใยหิน องค์ประกอบสําคัญ - Cranes - The chimneys
Connectivity
Design&function
Masterplan
Circus West, Phase 1– construction overview Spring to summer 2014: Bulk excavation and ground works being carried out Summer 2014 to spring 2015: Construction of the concrete frames Winter 2014 to winter 2015: Installation of the cladding
Spring 2015 to autumn 2016: Internal fit out to the apartments and communal areas Spring 2016 to autumn 2016: Handover and occupation of apartments Autumn 2016: Works complete on Circus West
Power Station, Phase 2 – construction overview Spring 2014: External survey and enabling works for chimneys, wash towers and elevations Spring 2014: Internal surveys to the south west chimney Summer 2014: First chimney will be dismantled and rebuilt
Phase 1
Phase 2
Phase 3
Electric boulevard เป็ นทางเข้ า หลักสูโ่ ครงการ ซึง่ เชื่อมต่อกับระบบ ขนส่งมวลชน บนถนนเส้ นนี ้ จะเป็ นร้ านค้ าด้ านล่าง ด้ านบนเป็ น ที่พกั อาศัย เชื่อมต่อ Prospect park ด้ วย plazaและสนามเด็กเล่น
Phase 7
ตัว Central station เป็ นอาคาร ผสมผสานวัฒนธรรม การศึกษา และCreative office space
อาคารด้ านล่างเป็ น office และด้ าน บนเป็ นที่พกั อาศัย
Phase 6 อาคารด้ านล่างเป็ นspaceสําหรับ กิจกรรมและด้ านบนเป็ นที่พกั อาศัย
Phase 5
อาคารพักอาศัย ช่วยเชื่อมต่อกับ พื ้นที่โดยรอบ
phase 2
Town Square หน้ าอาคารผลิต
phase 4
Phase 4
เชื่อมต่อกับ Prospect park มี คาเฟและร้ านอาหาร มีสว่ นพักผ่อน หย่อนใจและส่วนพบปะ อาคารด้ าน บนเป็ นอพาร์ ทเมนต์รอบcourt
phase 3
(บนซ้ าย) อาคารที่พกั อาศัยและโรงแรม (บนขวา) พื ้นที่เชื่อมต่อระบบคมนาคมต่างๆ (ล่าง) ถาพมุมมองจากจุดต่างๆของโครงการ
summary - ไซต์มีการปนเปื อ้ นประเภทฝุ่ นละอองแ ลพสารตกค้ างในส่วนเตาเผา ทําให้ มีการบําบัดได้ ไม่ยาก ซึง่ ได้ ทําการนําเอา ส่วนประกอบที่ปนเปื อ้ นออกจากไซต์เป็ นเวลานานก่อนจะมีการพัฒนาใหม่ - มีการเก็บรักษาเอกลักษณ์คือปล่องไฟและลักษณะผิวอาคารไว้ โดยมีการทําปล่องระบายใหม่ให้ คล้ ายเดิม และนํามา ใช้ ในการผลิตพลังงานสะอาดนําร่อง ซึง่ ยังไม่มีการระบุถงึ ประเภทที่แน่นอน แต่จะอาคารโรงผลิตจะเป็ นอาคารนําร่อง ลดการผลิตCO2สูบ่ รรยากาศ - เนื่องจากมีที่ตงที ั ้ ่ดี มีระบบกาคมนาคมที่สะดวก จึงพัฒนาพื ้นที่ในเชิงเศรษฐกิจ เพื่อดึงดูดคนให้ เข้ ามาใช้ งานในพื ้นที่ - มีการเชื่อมต่อพื ้นที่สเี ขียวของโครงการเข้ ากับตัวเมือง ช่วยขยายบริ เวณพื ้นที่สเี ขียวให้ มีขนาดใหญ่ขึ ้น พยายามนําเอา ความหลากหลายทางธรรมชาติเข้ ามาสูพ่ ื ้นที่ เน้ นการเดินและการใช้ จกั รยาน โดยมีจดุ จอดจักรยานหลายจุดในโครงการ - สร้ างงานให้ แก่ชมุ ชนบริ เวณใกล้ เคียง มีการรับฟั งความเห็นของชุมชน ทําให้ ชมุ ชนให้ การยอมรับ - ทําให้ พื ้นที่รกร้ างเกิดมูลค่าขึ ้น โดยเป็ นแหล่งท่องเที่ยวและพักผ่อนหย่อนใจของเมือง - พื ้นที่โครงการอยูบ่ ริ เวณริ มแม่นํ ้า คล้ ายกับโรงกลัน่ นํ ้ามันบางจาก แต่แตกต่างกันในบริ บทที่โรงกลัน่ นํ ้ามันบางจากนัน้ ตังอยู ้ ต่ รงข้ ามบางกระเจ้ าซึง่ เป็ นพื ้นที่สเี ขียวขนาดใหญ่ แต่โครงการbattersea ตังอยู ้ ต่ รงข้ ามสวนสาธารณะซึง่ มีชมุ ชน รายรอบ - มีการแบ่งPhaseการพัฒนาจากด้ านตะวันตกมายังทางทิศตะวันออก ตามความยากง่ายในการก่อสร้ าง https://www.batterseapowerstation.co.uk http://inhabitat.com/the-battle-begins-for-developer-of-londons-landmark-battersea-power-station/ http://inhabitat.com/frank-gehry-and-foster-partners-unveil-designs-for-battersea-power-station/ http://inhabitat.com/carbon-free-battersea-power-plant-renovation-gets-the-green-light/
อรกมล นิละนนท์ ภส 437