ประกาศมิสซา สารวัดพระนามเยซู ชลบุรี
สมโภชพระตรีเอกภาพ 15 - 21 มิถุนายน 2014 วัน เดือน ปี จุดประสงค์มิสซา จันทร์ท่ี 16 มิถนุ ายน 2014 มิสซาอุทศิ ให้ ยากอบ นภดล อยู่สมบูรณ์ และยอแซฟ สิทธิชยั ประภากมล อังคารที่ 17 มิถนุ ายน 2014 มิสซาอุทศิ ให้ เทเรซา ฉวี เจ็งศิริ เปโตร วิเชษฐ์ วิเศษเธียรกุล และเปาโล สุรชัย สิรชิ ยั เจริญกล พุธที่ 18 มิถนุ ายน 2014 มิสซาอุทศิ ให้ นายจวน อันนา บาหยัน วงศ์ศิรโิ รจน์ พฤหัสบดีท่ี 19 มิถนุ ายน 2014 มิสซาสุขสาราญคุณสันติ และคุณสัตยา ชนวัฒน์ อุทศิ ให้ เทเรซา สุธิอร อัมโบรซีโอ สิงห์โต ชนวัฒน์ และวิญญาณในไฟชาระ ศุกร์ท่ี 20 มิถนุ ายน 2014 มิสซาสุขสาราญครอบครัวปัญจกะบุตร อุทศิ ให้ อากาทา กานดา เจียรวนนท์ และมีคาแอล ภูมชิ าย สืบพิลา เสาร์ท่ี 21 มิถนุ ายน 2014 ระลึกถึงนักบุญหลุยส์ คอนซากา นักบวช นพวารแม่พระนิ จจานุ เคราะห์ มิสซาสุขสาราญครอบครัว อักแนส ฉลาด วิเศษเธียรกุล และครอบครัว ยอแซฟ หิรญั ผลอุดม อาทิตย์ท่ี 22 มิถนุ ายน 2014 สมโภชพระวรกายและพระโลหิตพระคริสตเจ้า
ประจาวันอาทิตย์ที่ 15 มิถนุ ายน ค.ศ. 2014 วัดพระนามเยซู ชลบุรี
342/3 ถนนเจตน์จานง ตาบลบางปลาสร้อย อาเภอเมือง จังหวัดชลบุรี 20000 โทร 038 – 283253 โทรสาร 038 – 276902
“พระเจ้าทรงรักโลกอย่างมาก”
สมโภชพระตรีเอกภาพ 15 - 21 มิถุนายน 2014
ข้อคิดจากพระวรสาร สมโภชพระตรีเอกภาพ
โดย...คณะกรรมการคาทอลิกเพือ่ พระคัมภีร์
ข่าวดี ยอห์น 3:16-18 (16)พระเจ้าทรงรักโลกอย่างมากจึงประทานพระบุตรเพียงพระองค์เดียว ของพระองค์เ พื่อ ทุก คนที่มีค วามเชื่ อ ในพระบุต รจะไม่ พิน าศแต่ จ ะมีชีวิต นิ ร นั ดร (17)เพราะพระเจ้าทรงส่งพระบุตรมาในโลกนี้ มิใช่เพือ่ ตัดสินลงโทษโลก แต่เพือ่ โลกจะ ได้รบั ความรอดพ้นเดชะพระบุตรนัน้ (18)ผูท้ ่มี คี วามเชื่อในพระบุตรจะไม่ถูกตัดสิน ลงโทษ แต่ผูท้ ไ่ี ม่มคี วามเชื่อก็ถูกตัดสินลงโทษอยู่แลว้ เพราะเขามิได้มคี วามเชื่อในพระ นามของพระบุตรเพียงพระองค์เดียวของพระเจ้า
ข้อคิดจากพระวรสาร 1. กาเนิ ดพระตรีเอกภาพ ในบท “ข้าพเจ้าเชื่อ” ของสภา สังคายนานีเชอาได้กล่าวถึงกาเนิดของพระบุตรไว้ ว่า “ทรงบังเกิดจากพระบิดา” ในขณะทีพ่ ระจิต “ทรงเนือ่ งมาจากพระบิดาและพระบุตร” นักบุญโธมัส อะไควนัส อธิบายความแตกต่างระหว่าง “บังเกิด” และ “เนือ่ ง” ไว้ดงั นี้ 1. พระเจ้าทรงมีสติปญั ญาสาหรับคิด และนา้ ใจสาหรับรัก 2. สิง่ ทีพ่ ระเจ้าทรงคิดตัง้ แต่นิรนั ดรคือ “ตัวพระองค์เอง” 3. 3. เมือ่ ทรงคิด “ย่อมก่อให้เกิดตัวแทน” ของสิง่ ทีท่ รงคิด (เช่น เวลาเรา คิดถึงมนุษย์ต่างดาว เรากาลังก่อให้เกิดตัว-2แทนหรือ “มโนภาพ” ของมนุษย์ต่างดาวขึ้น
ประกาศทั่วไป 1. ขอเชิญพี่นอ้ งทุกท่านร่ วมพิธีมิสซาฯ สมโภชพระวรกายและพระโลหิตพระ คริสตเจ้า ในวันอาทิตย์ท่ี 22 มิถนุ ายน ศกนี้ เวลา 08.30 น. หลังมิสซาจะมี พิธีแห่เทิดเกียรติศีลมหาสนิท และเฝ้ าศีลมหาสนิท พร้อมกัน งดมิสซาเช้า 2. ทางวัดจะดาเนินการสารวจสามะโนครัวของวัด เพือ่ เตรียมการเลือกตัง้ สมาชิก สภาอภิบาลวัดชุดใหม่ แทนชุดเก่ าที่หมดวาระ ขอความร่ วมมือจากพี่นอ้ ง ทุกครอบครัว ให้ความร่วมมือกับสภาอภิบาลในการดาเนินงานครัง้ นี้ดว้ ย
ประกาศฉลองวัด วันอาทิตย์ท่ี 22 มิ.ย.2014 วันเสาร์ท่ี 28 มิ.ย.2014
ฉลองวัดพระหฤทัยแห่งพระเยซูเจ้า ศรีราชา ฉลองวัดเซนต์ปอล แปดริ้ว พิธีมสิ ซาฯ เวลา 10.30 น.
ผู้จัดของถวายในพิธีมิสซาฯ วันอาทิตย์ท่ี 15 มิ.ย.2014 วันอาทิตย์ท่ี 22 มิ.ย.2014 วันอาทิตย์ท่ี 29 มิ.ย.2014
ครอบครัวคุณนิภา สุภาษิต ครอบครัวม่วงศรี ครอบครัวมารีพทิ กั ษ์และครอบครัวจันทร์เกตุ -11-
รายชื่อผูร้ บั ศีลกาลัง โดยพระสังฆราช ซิลวีโอ สิรพิ งษ์ จรัสศรี 15 มิถนุ ายน 2014 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11. 12. 13.
อันนา ธฤตา ยงชัยหิรัญ ยอแซฟ ภรภัทร พัชรพิมพ์พสิ ุทธิ์ ยอห์น คริษฐ์ อานามนารถ เทเรซา ณัฐนันท์ ศรีบุญเรือง ดอมินิก ชนินทร์ นันทะโย เทเรซา ฐิตาภรณ์ กุลมินทร์ เปาโล ภูมินทร์ ผังรักษ์ เมแกน อเทนน่า ดิอีต้า เปโตร พงศ์พล โชคสวัสดิ์นุกูล เทเรซา ชนิกานต์ พุ่มสม โทมัส กฤติน สีสาวัน ฟรังซิสเซเวียร์ อาชวิน ดรุณเนตร ยอแซฟ ธาริท สุรวรรณ
3. เมือ่ ทรงคิด “ย่อมก่อให้เกิดตัวแทน” ของสิ่งที่ทรงคิด (เช่น เวลาเราคิดถึงมนุ ษย์ต่างดาว เรากาลังก่อให้เกิดตัวแทนหรือ “มโนภาพ” ของมนุ ษย์ ต่างดาวขึ้นในความคิดของเรา) 4. เนื่องจากพระเจ้าทรงไม่มีขอบเขต ความคิดของพระองค์ย่อมไม่มขี อบเขตนัน่ คือทรงคิด “ครัง้ เดียว” ก็ครบครันและครอบคลุมทุกสิง่ อีกทัง้ “ตัวแทน” ของสิง่ ที่ “เกิด” จาก ความคิดของพระองค์ก็ย่อมไม่มขี อบเขตไปด้วย พระคัมภีรเ์ รียก “ตัวแทน” ทีเ่ กิดจาก ความคิดนี้วา่ “ภาพทีแ่ ลเห็นได้ของพระเจ้าทีแ่ ลเห็นไม่ได้” “พระวจนาตถ์” “พระปรีชา ญาณ” ฯลฯ 5. เพราะความคิด ของพระเจ้าก่ อให้เกิด พระวจนาตถ์ ความสัมพัน ธ์ ระหว่างพระเจ้ากับพระวจนาตถ์จงึ ได้แก่ “พ่อ-ลูก” หรือ “พระบิดาและพระบุตร” จากภาษาเชิงเปรียบเทียบเหล่านี้ จึงนามาสู่การยืนยันว่า “ข้าพเจ้าเชือ่ ว่า พระเยซูคริสตเจ้าทรงเป็ นพระบุตรองค์เดียวของพระเป็ นเจ้า ทรงบังเกิดจากพระบิดา ก่อนกัปก่อนกัลป์ เป็ นพระเป็ นเจ้าจากพระเป็ นเจ้า เป็ นองค์ความสว่างจากองค์ความ สว่าง เป็ นพระเป็ นเจ้าแท้จากพระเป็ นเจ้าแท้ มิได้ถูกสร้าง แต่ทรงบังเกิดร่ วมพระ ธรรมชาติเดียวกับพระบิดา….” ดังได้กล่าวแล้วว่า พระเจ้าทรงมีสติปญั ญาสาหรับคิด และนา้ ใจสาหรับรัก 1. ตัง้ แต่นิรนั ดร พระบิดาทรงรักพระบุตรอย่างไม่มขี อบเขต 2. แต่ความรักของพระบิดาไม่ได้ก่อให้เกิดมโนภาพของพระบุตรผูเ้ ป็ นที่ รัก เพียงแต่โน้มน้าวให้ทงั้ พระบิดาและพระบุตรมีความสัมพันธ์เป็ นหนึ่งเดียวกัน 3. ความรักซึ่งไม่มีขอบเขตของพระบิดาจึงไม่ได้เกิดจากพระบิดา แต่ “เนือ่ ง” มาจากพระบิดาและพระบุตรทรงรักกันและกัน
-10-
-3-
4.
ความรักอันเนื่องมาจากพระบิดาและพระบุตรนี้ เป็ นผลงานของ
4. ความรัก อัน เนื่ อ งมาจากพระบิด าและพระบุต รนี้ เป็ น ผลงานของ “นา้ ใจ” หรือ “จิตใจ” ของพระเจ้า จึงได้รบั พระนามว่า “พระจิต” เราจึงยืนยันว่า “ข้าพเจ้าเชือ่ ว่า พระจิตทรง เป็ นพระเป็ นเจ้าผูบ้ นั ดาลชีวติ ทรงเนือ่ งมาจากพระบิดา และพระบุ ต ร ทรงรับ สัก การะและพระสิ ริ รุ่ ง โรจน์ ร่ ว มกับ พระบิ ด าและพระบุ ต ร พระองค์ด ารัส ทาง ประกาศก” นักเทววิทยามักยกคุณสมบัตใิ ห้แต่ละพระ บุคคลแตกต่ างกันไปทัง้ ๆ ที่ในความเป็ นจริง ทัง้ สาม พระบุคคลต่างมีคุณสมบัตทิ งั้ หมดร่วมกัน สิ่งที่นกั เทววิทยายกให้เป็ นคุณสมบัติของพระบิดาคือทรงสรรพานุ ภาพ และผลงานทีเ่ ด่นชัดคือการเนรมิตสร้างโลก ปรีชาญาณและผลงานทัง้ หมดของปรีชาญาณคือคุณสมบัติของพระบุตร เพราะว่าพระองค์ทรงบังเกิดจากสติปญั ญาของพระบิดา ส่ ว น คุ ณ ส ม บั ติ ข อง พ ระ จิ ต ผู ้ท ร ง เนื่องมาจากความรักของพระบิดาและพระบุตร คือความ รักและความดี และเพื่อให้บรรลุวตั ถุประสงค์ดงั กล่าว พระจิตเจ้าทรงประทานพระพรสองประเภทใหญ่ ๆ คือ 1. พระคุณเจ็ดประการเพื่อทาให้แต่ละคนศักดิ์สิทธิ์ ประกอบด้วยปรีชา ญาณ ความเข้าใจ คาแนะนา ความกลา้ หาญ ความรู ้ ความศรัทธา และความยาเกรง พระเจ้า 2. พระคุณพิเศษ (Charismata) ที่ทรงประทานแก่บางคนเพือ่ ความดี ของส่วนรวม -4-
เรารูไ้ ด้จากพระวรสาร หรือข่าวดีขององค์พระเยซูคริสตเจ้า ผูท้ รงลง มาเป็ นมนุษย์ ผูใ้ ห้คาสังสอน ่ เป็ นผูช้ ่วยให้รอด และปลดปล่อยเราจากการเป็ นทาส ของบาป และความตาย ของเรามนุษย์ตลอดไป เราพบสัญลักษณ์ หรือความหมายของพระองค์ได้โดย “ความรักแห่ง ไม้กางเขน” เป็ นอนุสรณ์แห่งความรักของพระองค์ พระบิดา องค์พระผูส้ ร้างสรรพสิ่ง ปรากฏสัญลักษณ์ในรู ปแบบของ ผู ใ้ ห้กาเนิ ด ผู ป้ กครอง ผู ส้ ร้าง องค์ความรัก พ่อผู ใ้ จดีมีเมตตา ให้อภัย ผู ท้ รง ความยุตธิ รรม และการตัด สินด้วยความชอบธรรม พระจิตเจ้า การประทับอยู่ของพระจิตเจ้าที่เราพบในพระคัมภีรจ์ าก ภาพ และสัญลักษณ์ต่างๆ พระจิตเจ้า มีมาตัง้ แต่ในปฐมกาล และคงความเป็ นปัจจุบนั เสมอ แต่ สิง่ ทีแ่ สดงถึงการมี อยู่ของพระจิตเจ้าปรากฎอยู่ในหลายๆ เหตุการณ์ในพระคัมภีร์ ( พันธสัญญาใหม่ ) พระจิตเจ้า เป็ นผูบ้ นั ดาลความศักดิ์สทิ ธิ์ ประทานพละกาลัง และเป็ นผูช้ ่วยนาทางชีวติ เราไปสู่หนทางใหม่ แห่งความรอด
-9-
คาสอนคริสตชน
พระตรีเอกภาพ เป็ นสภาวะทางเทวภาพที่แยกจากกันไม่ได้ เป็ นพระธรรมลา้ ลึก ที่ไม่ใช่สภาวะทางวิทยาศาสตร์ ที่ถูกจากัดด้วยตัวตน สถานที่ และเวลา พระตรีเอกภาพ แสดงสภาวะการเป็ นหนึ่ งเดียวกันในความรัก ใน สภาวะของจิต วิญญาณอันบริสุทธิ์ของ 3 พระบุคคล คือ พระบิดา พระบุตร และ พระจิต เป็ นเรื่องยากเกิน ความสามารถของมนุ ษย์ท่จี ะเข้าใจได้ เราคริสตชนเชื่อ ว่า ที่ใดมีสนั ติ และความรัก เราจะพบการประทับอยู่ของพระเจ้า เราจะทราบถึง พระบิดา และพระจิต ในองค์พระบุตรเจ้า และโดยผ่านทางพระคัมภีร ์ พระบุตร พระเยซูคริสตเจ้า องค์พระผู ช้ ่ วยให้รอด เป็ นองค์พระวจ นาตถ์ ผู ม้ าประทับ อยู่ท่ามกลางเรา เป็ นมนุ ษย์เหมือนอย่างเรา เว้นแต่ บาป ผู ้ ได้รบั ทรมานสิ้นพระชนม์บนกางเขน และกลับคืนชีพ เพือ่ เป็ นค่าไถ่บาปเราทุกคน ให้พน้ จากอานาจของบาปตลอดนิรนั ดร -8-
2. พระเจ้าทรงรักโลก ส าหรับ ผู ท้ ่ีมีพ ระเจ้า อยู่ ใ นหัว ใจ นี่ คื อ สาระสาคัญของข่าวดี ที่ว่าเป็ นสาระสาคัญ เพราะพระพระเยซู เจ้าทรงเผยความจริงว่า “พระเจ้าทรงรักโลกอย่างมาก จึงประทานพระบุตรเพีย งพระองค์เดี ย วของพระองค์ เพือ่ ทุกคนทีม่ คี วามเชือ่ ในพระบุตรจะไม่พินาศ แต่จะมี ชีวติ นิรนั ดร” (ยน 3:16) ความจริงข้อนี้ทาให้เราทราบเรื่องราวเกี่ยวกับพระบิดา และบทบาทของ พระองค์ใน “พระตรีเอกภาพ” ชนิดทีไ่ ม่มใี ครเคยคาดคิดมาก่อน นัน่ คือ 1. พระบิดาคือผูร้ ิเริ่มแผนการแห่งความรอด หลายครัง้ ศาสนาของเราได้รบั การนาเสนอราวกับว่า อับราฮัม โมเสส หรือ บรรดาประกาศกต้องคอยทาให้พระบิดาทรงสงบสติอารมณ์ หรือต้องคอยชักนาพระองค์ ให้ทรงยกโทษชาวอิสราเอลบ่อยครัง้ บางคนพูดถึงพระบิดาว่าทรงเป็ นพระเจ้าทีน่ ่าเกรงขาม โกรธง่าย และชอบ จดจาความผิด ส่วนความอ่อนโยน ความรัก และการให้อภัยนัน้ เป็ นลักษณะพิเศษ เฉพาะของพระบุตร ยิ่งไปกว่านัน้ บางคนถึงกับพูดว่าเป็ นพระบุตรนัน่ เองทีท่ รงเปลีย่ น ทัศนคติของพระบิดาจากชอบลงโทษมาเป็ นให้อภัยมนุษย์ แต่วนั นี้ พระเยซูเจ้าทรงฟันธงว่า พระบิดาคือผูเ้ ริ่มต้นแผนการแห่งความ รอด พระองค์คือผูท้ ่ี “ประทานพระบุตรเพียงพระองค์เดียวของพระองค์” ลงมาบังเกิด เป็ นมนุษย์ พระองค์ทรงกระทาเช่นนี้เพราะ “ทรงรักโลกอย่างมาก” “ความรัก” คือสิง่ ทีอ่ ยู่เบื้องหลังแผนการแห่งความรอด “ความรัก” คือสิง่ ทีท่ าให้พระบิดา พระบุตร และพระจิตเป็ น “พระตรี เอกภาพ” นัน่ คือ มีสามพระบุคคล แต่เป็ นพระเจ้าหนึ่งเดียว -5
2. ธาตุแท้ของพระเจ้าคือความรัก เป็ นการง่ายมากที่เราจะคิดและเชื่อว่า พระเจ้า ทรงเฝ้ าคอยจับ ผิด มนุ ษ ย์ท่ีเ ลิน เล่อ ไม่ เ ชื่อ ฟัง หรือ ทรยศ พระองค์ แลว้ ทรงลงโทษเฆี่ย นตีเ พื่อ ให้เ ขาหัน กลับ มาหา พระองค์ และเป็ นการง่ายอีกเช่ นกันที่จะคิดว่า พระเจ้า ทรงเรียกร้องให้มนุษย์สามิภกั ดิ์และจงรักภักดีต่อพระองค์ และให้ทวพิ ั ่ ภพยอมจานนต่อ พระองค์ เพียงเพราะต้องการอวดศักดาบารมีของพระองค์เอง แต่ พ ระเยซู เจ้าทรงตรัสชัด ถ้อยชัด คาว่า พระเจ้าทรงกระทาทุกสิ่งเพื่อ มนุษย์จะ “ไม่พินาศ แต่มชี ีวิตนิรนั ดร” (ยน 3:16) นัน่ คือพระองค์ทรงกระทาทุกสิง่ มิใช่เพือ่ อวดศักดาหรือทาให้โลกสยบอยู่ แทบพระบาทของพระองค์ แต่เพือ่ ให้เรามนุษย์มชี ีวติ นิรนั ดรเหมือนพระองค์ พระองค์จะไม่มวี นั มีความสุขจนกว่าบรรดาลูก ๆ อย่างเราจะกลับถึงบ้าน อย่างปลอดภัย ทัง้ นี้เพราะธาตุแท้ของพระเจ้าคือ “ความรัก” ! 3. สิ่งที่พระเจ้าทรงรักคือโลก พระวาจานี้บ่งบอกถึงความกว้าง ความยาว และความลึกแห่งความรักของ พระตรีเอกภาพว่ายิง่ ใหญ่เพียงใด พระเจ้าไม่ได้ทรงรักเฉพาะชาวยิว เฉพาะคนดี หรือเฉพาะผูท้ ร่ี กั พระองค์ พระองค์ทรงรักคนทัง้ โลก ! แม้แต่ผูท้ ่นี ่ ารังเกียจ หรือโดดเดี่ยวไร้คน เหลียวแล ลว้ นรวมอยู่ในความรักอันกว้างใหญ่ไพศาล ของพระเจ้าโดยไม่เว้นใครเลย ดังที่นกั บุญเอากุสตินก ล่าวไว้วา่ “พระเจ้าทรงรักเราแต่ละคนราวกับว่ามีเราเพียง คนเดียวให้พระองค์รกั ” -6-
3. ผูท้ ่ไี ม่มีความเชื่อจะถูกตัดสินลงโทษ เราพึ่งได้ยินว่า “พระเจ้าทรงรัก โลกมากจน ประทานพระบุตรเพียงพระองค์เดียวของพระองค์แก่มนุษย์” แล้วอีกสองบรรทัดต่อมายอห์นกลับพูดว่า “ผูท้ มี่ คี วามเชือ่ ในพระบุตรจะไม่ ถูกตัดสินลงโทษแต่ผูท้ ีไ่ ม่มคี วามเชือ่ ก็ถูกตัดสินลงโทษ” (ยน 3:18) ยิ่งไป กว่านัน้ พระเยซูเจ้าเองยังตรัสว่า “เรามาในโลกนี้เพือ่ พิพากษา” (ยน 9:39) ปัญหาคือ พระเจ้าทรงรักและตัดสินลงโทษมนุ ษย์ในเวลาเดียวกันได้ อย่างไร ? เราสามารถอธิบายได้ดงั นี้ สมมุตวิ า่ เรารักและคลังไคล ่ ด้ นตรีคลาสสิกมาก เมือ่ มีวงออแคสตราจาก ต่างประเทศเดินทางมาเปิ ดการแสดงในเมืองไทย เราอุตสาห์เก็บเงินนับหมืน่ บาทเพือ่ ซื้อ บัตรเข้าชมการแสดงสาหรับตนเองหนึ่งใบและสาหรับคนรักของเราอีกหนึ่งใบ โดยคิดว่า คนรักของเราต้องชอบและมีความสุขอย่างแน่ นอน แต่เมื่อการแสดงเริ่มไปได้สกั 10 นาที คนรักของเราเริ่มออกอาการหงุดหงิดและเบือ่ หน่ายอย่างเห็นได้ชดั จะเห็นว่าความรักของเรากลายเป็ นการตัดสินคนรักของเราไปแลว้ และคน ตัดสินย่อมไม่ใช่ตวั เราทีร่ กั เขามากแน่ ๆ แต่เป็ นคนรักของเรานัน่ เองทีต่ ดั สินตัวเองว่า เป็ นผูไ้ ม่มดี นตรีอยู่ในหัวใจ ! ปฏิกิริยาของคนรักทีม่ ตี ่อดนตรีคือการตัดสินตนเอง พระเยซูเจ้าทรงเปรียบได้กบั วงดนตรี พระบิดาทรงส่งพระองค์มาด้วย ความรักเพือ่ ช่วยมนุษย์ให้รอดและมีชวี ติ นิรนั ดร เมื่อเผชิญหน้ากับพระองค์แล้วเราเชื่อ วางใจ และรักพระองค์ เรากาลังตัดสินตัวเองให้อยู่ในหนทางแห่งความรอด ตรงกันข้ามเมื่อเผชิญหน้ากับพระองค์แลว้ เรารูส้ กึ เฉย ๆ เย็นชา ซา้ ร้าย บางคนยังรูส้ กึ ว่าพระองค์เข้ามายุ่งเกี่ยวกับชีวติ ของตนมากเกินไป หากพระองค์ถอยไป ห่าง ๆ หน่อยก็จะดี ถ้าปฏิกิรยิ าของเราเป็ นดังนี้ เรานัน่ แหละกาลังตัดสินลงโทษตัวเอง พระตรีเอกภาพทรงมี “ความรัก” เป็ นธาตุแท้ เป็ นเรานั่นเองที่ตดั สินลงโทษตัวเอง ! -7-