อุทยานการเรียนรู้ ๕๐ ปี โครงการพระธรรมจาริก เฉลิมพระเกียรติ

Page 1

ขอเชิญรวมเปนสวนหนึ่งของการจัดตั้งโครงการ

อุทยานการเรียนรู ๕๐ ป โครงการพระธรรมจาริก เฉลิมพระเกียรติ 50th PhraDhammajarik Project Knowledge Park

สํานักงานบริหารโครงการพระธรรมจาริกสวนภูมิภาค

วัดศรีโสดา พระอารามหลวง ตําบลสุเทพ อําเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม


“เทศกาลคนดอย... ตามรอยพระธรรมจาริก” ปฏิทินการปฏิบัติงานพระธรรมจาริก ตลอดป ๒๕๕๗-๒๕๖๑ รวมงานฉลอง ๕๐ ป โครงการพระธรรมจาริก

สมเด็จพระพุทธชินวงศ

สมเด็จพระมหา รัชมังคลาจารย

พระพุทธวรญาณ

พระเทพโกศล

พระครูมงคลคุณาทร

รัฐบาลไดมอบหมายใหกรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ (กรมประชาสงเคราะหเดิม) กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย ดําเนินการพัฒนาและสงเคราะหชาวเขาซึ่งเปน ประชาชนสวนหนึง่ ของประเทศทีอ่ าศัยอยูต ามภูเขาในถิน่ ทุรกันดาร ๒๐ จังหวัด ประมาณ ๙๐๐,๐๐๐ คน เพื่อพัฒนาใหเปนพลเมืองไทยที่มีคุณภาพสามารถชวยเหลือตนเองได โดยไดเขาไปดําเนินการพัฒนา ในดานตางๆ อาทิ การพัฒนาอาชีพ พัฒนาสังคม และพัฒนาจิตใจ เขารวมกับมูลนิธเิ ผยแพรพระพุทธ ศาสนาแกชนถิน่ กันดารในพระราชูปถัมภสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี และคณะสงฆ คณะหนึ่งเรียกวา “คณะพระธรรมจาริก” โดยมี “สมเด็จพระพุทธชินวงศ” อดีตเจาอาวาส วัดเบญจมบพิตรดุสติ วนาราม เปนองคสถาปนาโครงการพระธรรมจาริก และเปนประธานคณะพระธรรม จาริกรูปแรกไดจัดสงพระธรรมจาริกขึ้นไปปฏิบัติศาสนกิจตามหมูบานชาวเขา ตั้งแตป พ.ศ. ๒๕๐๘ เปนตนมา ปจจุบนั “สมเด็จพระมหารัชมังคลาจารย” เจาอาวาสวัดปากนํา้ ภาษีเจริญ ประธานคณะ พระธรรมจาริกไดสืบสานงานอยางตอเนื่อง โดยมี “พระพุทธวรญาณ” เจาอาวาสวัดเบญจมบพิตรฯ เปนประธานกรรมการทีป่ รึกษามูลนิธฯิ พระเทพโกศล เปนผูอ าํ นวยการสํานักงานบริหารงานโครงการ พระธรรมจาริกสวนภูมภิ าค อดีตขาราชการผูก อ ตัง้ โครงการพระธรรมจาริก เปนผูช ว ยฯ รวมทัง้ พระเถระ ผูใ หญทงั้ ในสวนกลางและภูมภิ าคใหความอุปถัมภการดําเนินงานพระธรรมจาริกและมุง หวังใหพระธรรม จาริกเปนผูน าํ ทางศาสนา ทางจิตวิญญาณ และเปนผูป ระสานงานสวัสดิการของรัฐสูช มุ ชน เปนทีป่ รึกษา องคกรทางสังคมในชุมชน สรรคสรางความสุขรวมกัน กิจกรรมที่พระธรรมจาริกไดดําเนินการในปที่ผานมาไดแก การสอนพระพุทธศาสนา วันอาทิตยแกเยาวชนชาวเขา (ยุวพุทธธรรมจาริก) สอนจริยธรรมในโรงเรียน จัดพิธีบรรพชาอุปสมบท หมูช าวเขา จัดพิธบี รรพชาสามเณรภาคฤดูรอ น จัดบวชเนกขัมมะศิลจาริณี จัดปฏิญาณตนเปนพุทธมามกะ จัดอบรมธรรมเคลือ่ นที่ (ธรรมจาริกสัญจร) จัดปลูกปา บวชปาเฉลิมพระเกียรติ สงเสริมและพัฒนาอาชีพ จัดบําบัดและฟนฟูสมรรถภาพผูติดยาเสพติด จัดพิธีธรรมะเสียงตามสาย และจัดพิธีสืบสานวัฒนธรรม ไทย วันสําคัญของชาติ วันสําคัญทางศาสนา วันสําคัญของพระมหากษัตริย ประเพณีวัฒนธรรมนิยม แตละชนเผาตามทองถิ่นตางๆ ทุกอาศรมฯ จนทําใหชุมชนบนพื้นที่สูงมีความมั่นคง มั่งคั่ง นับไดวา โครงการพระธรรมจาริกมีคณ ุ ปู การตอประเทศชาติอยางอเนกอนันต สมควรไดรบั การประกาศคุณปู การ ยกยองใหเปนเกียรติยศแผนดินสืบไป


พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มหิตลาธิเบศรรามาธิบดี จักรีนฤบดินทร สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร เสด็จเยี่ยมพระธรรมจาริกบ้านวัดจันทร์ ตำ�บลบ้านจันทร์ อำ�เภอแม่แจ่ม (กัลยาณิวัฒนา) จังหวัดเชียงใหม่


สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ เสด็จเยี่ยมพระธรรมจาริกบ้านวัดจันทร์ ตำ�บลบ้านจันทร์ อำ�เภอแม่แจ่ม (กัลยาณิวัฒนา) จังหวัดเชียงใหม่


สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี เสด็จเยี่ยมพระธรรมจาริก ณ อาศรมพระธรรมจาริก บ้านเย้าหนองแว่น อำ�เภอแม่จัน จังหวัดเชียงราย


สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา เจ้าฟ้ามหาจักรีสิรินธร รัฐสีมาคุณากรปิยชาติ สยามบรมราชกุมารี เสด็จเยี่ยมพระธรรมจาริกบ้านวัดจันทร์ ตำ�บลบ้านจันทร์ อำ�เภอแม่แจ่ม (กัลยาณิวัฒนา) จังหวัดเชียงใหม่


สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (ปุ่น ปุณฺณสิริ) เสด็จเยี่ยมพระธรรมจาริก ณ อาศรมพระธรรมจาริก บ้านเย้าหนองแว่น อำ�เภอแม่จัน จังหวัดเชียงราย


สมเด็จพระพุทธชินวงศ์ (สุวรรณ สุวณฺณโชตมหาเถระ) เสด็จเยี่ยมพระธรรมจาริก ณ อาศรมพระธรรมจาริก บ้านเย้าหนองแว่น อำ�เภอแม่จัน จังหวัดเชียงราย


สมเด็จพระมหารัชมังคลาจารย์ (ช่วง วรปุญฺโญ) ประธานคณะพระธรรมจาริก องค์ปัจจุบัน เสด็จเยี่ยมพระธรรมจาริก ณ อาศรมพระธรรมจาริก บ้านเย้าหนองแว่น อำ�เภอแม่จัน จังหวัดเชียงราย


อุทยานการเรียนรู้ ๕๐ ปี โครงการพระธรรมจาริก เฉลิมพระเกียรติ

8

แบบจำาลองภูมิสถาปัตย์อุทยานการเรียนรู้ ๕๐ ป โครงการพระธรรมจาริก


แบบเจดีย์ฉลอง ๕๐ ป โครงการพระธรรมจาริก (ด้านหน้า)

แบบเจดีย์ฉลอง ๕๐ ป โครงการพระธรรมจาริก (ด้านหลัง)

อุทยานการเรียนรู้ ๕๐ ปี โครงการพระธรรมจาริก เฉลิมพระเกียรติ

9


อุทยานการเรียนรู้ ๕๐ ปี โครงการพระธรรมจาริก เฉลิมพระเกียรติ

10

แบบเจดีย์ฉลอง ๕๐ ป โครงการพระธรรมจาริก (มุมบน)

แบบเจดีย์ฉลอง ๕๐ ป โครงการพระธรรมจาริก (มุมล่าง)


อุทยานการเรียนรู้ ๕๐ ปี โครงการพระธรรมจาริก เฉลิมพระเกียรติ

11

แบบเจดีย์ฉลอง ๕๐ ป โครงการพระธรรมจาริก (ด้านขวา)

แบบเจดีย์ฉลอง ๕๐ ป โครงการพระธรรมจาริก (ด้านซ้าย)


อุทยานการเรียนรู้ ๕๐ ปี โครงการพระธรรมจาริก เฉลิมพระเกียรติ

1๒

โครงการ

“อุทยานการเรียนรู ๕๐ ป โครงการพระธรรมจาริก เฉลิมพระเกียรติ (50th PhraDhammajarik Project Knowledge Park For King)

ในความอุปถัมภสมเด็จพระมหารัชมังคลาจารย” สำานักงานบริหารงานโครงการพระธรรมจาริกส่วนภูมิภาค วัดศรีโสดา พระอารามหลวง ตำาบลสุเทพ อำาเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่

แนวคิดและความเปนมาในการดำาเนินงาน เนื่องจากชาวเขาเผ่าต่างๆ ในประเทศไทยเรา ซึ่งประกอบไปด้วย ม้ง เมี่ยน ลีซอ มูเซอ อาข่า กะเหรีย่ ง ลัวะ ถิน่ และขมุ ล้วนแต่มภี าษา ความเชือ่ ขนบธรรมเนียมประเพณีของตนเอง ซึ่งผิดแผกแตกต่างจากคนไทยพื้นราบทั่วไป การที่จะแนะนำาชักจูงจิตใจชาวเขาเผ่านั้นๆ ให้เปลีย่ นทัศนคติหนั มาเลือ่ มใสในทางพระพุทธศาสนา ให้เกิดทัศนคติอนั ดีงามต่อเจ้าหน้าที่ ของรัฐและต่อประเทศไทย ให้เกิดสามัญสำานึกด้วยตนเองว่าเขาเป็นประชาชนชาวไทย เป็น สิ่งที่ทำาได้ไม่ง่ายนัก ประการแรกจำาเป็นที่จะต้องแสดงให้ชาวเขาเผ่านั้นๆ มีความรู้สึกว่า ชาวเราเป็นผู้ที่ไม่รังเกียจชาวเขา มีความหวังดีต่อชาวเขาอย่างแท้จริง มิได้ทำาความเดือดร้อน แก่ชาวเขา ชาวเรามาช่วยชาวเขาอย่างสนิทมิตรสหายผู้หวังดีต่อกัน


13

อุทยานการเรียนรู้ ๕๐ ปี โครงการพระธรรมจาริก เฉลิมพระเกียรติ

การดำ า เนิ น งานพั ฒ นาและสงเคราะห์ ช าวเขา เพื่ อ ให้ ช าวไทยภู เขาอยู ่ อ าศั ย และ ประกอบอาชีพเป็นหลักแหล่งแน่นอนตามบริเวณที่เหมาะสมบนภูเขา เลิกค้าสิ่งเสพติด เลิก การปลูกฝิน (บางพื้นที่) หยุดยั้งการทำาไร่เลื่อนลอย เลิกการทำาลายทรัพยากรธรรมชาติ อาทิ การล่าสัตว์ปา่ การหาของป่ามาจำาหน่ายและประกอบอาชีพทางเกษตรกรรมเป็นการถาวร เป็น พลเมืองที่ทำาประโยชน์ให้แก่ประเทศในการช่วยเหลือรักษาความสงบตามชายแดนอันเป็น นโยบายของรัฐบาล การดำาเนินการเช่นนีย้ อ่ มต้องอาศัยความผูกพันทางจิตใจให้ชาวเขามีความ รูส้ กึ เป็นพวกเดียวกับคนไทย มีความรักความหวงแหนและมีความภักดีตอ่ ชาติไทยเป็นประการ สำาคัญ ชาวไทยภูเขาย่อมจะทำาตามด้วยความเต็มใจ ตามคำาแนะนำาของผูซ้ งึ่ ได้พสิ จู น์แล้วว่าเป็น บุคคลที่ควรแก่การเคารพนับถือ การกราบอาราธนาพระภิกษุสงฆ์ไปตามหมู่บ้านชาวเขาได้ เป็นอย่างดี และจะเป็นผลพลอยได้ในการเผยแผ่พระพุทธศาสนาในหมู่ชนชาวเขา ที่ยังมิได้ นับถือศาสนาใดศาสนาหนึ่งเป็นการแน่นอนอีกด้วย ถึงแม้ว่าปัจจุบันชุมชนชาวไทยภูเขา บางพื้ น ที่ จ ะได้ รั บ การพั ฒ นามาอย่ า งดี แ ล้ ว ทั้ ง การศึ ก ษา การสาธารณสุ ข และระบบ สาธารณูปโภค แต่ก็ยังมีชุมชนชาวเขาอีกมากที่ยังไม่ได้รับการเอาใจใส่จากภาครัฐเท่าที่ควร เนื่องจากอยู่ห่างไกลในถิ่นทุรกันดาร การขาดแคลนงบประมาณ หรือบุคลากรเชี่ยวชาญ ในปีพทุ ธศักราช ๒๕๐๘ จึงได้เกิดโครงการพระธรรมจาริกขึน้ โดยพระธรรมกิตติโสภณ (สมเด็จพระพุทธชินวงศ์) อดีตเจ้าอาวาสวัดเบญจมบพิตร อดีตเจ้าคณะใหญ่หนเหนือ เป็นองค์ สถาปนาโครงการเพือ่ กระชับความสัมพันธ์ทางจิตใจของชาวเขากับชาวเราให้มคี วามแน่นแฟ้น ยิ่งขึ้นโดยอาศัยหลักธรรมทางพระพุทธศาสนาเป็นตัวเชื่อมให้เกิดความสันติสุขและมีปัญญา ใคร่ครวญไตร่ตรองหาเหตุหาผลในการดำาเนินชีวิตอย่างมีความสุข ตราบจนถึงปัจจุบันมี สมเด็จพระมหารัชมังคลาจารย์ เจ้าอาวาสวัดปากนำ้า เจ้าคณะใหญ่หนเหนือ เป็นประธาน คณะพระธรรมจาริกสืบต่อมา โครงการพระธรรมจาริกประสบความสำาเร็จในการปฏิบตั ศิ าสนกิจ อย่างมาก โดยเฉพาะการสร้างศรัทธาในหมู่ประชาชนชาวเขาให้มีต่อพระพุทธศาสนา จะเห็นได้จากการที่ชาวเขาหันมาแสดงตนเป็นพุทธมามกะและนำาบุตรหลานมาเข้ารับการ บรรพชาอุปสมบทในพระพุทธศาสนามากขึน้ นอกจากนีช้ าวไทยภูเขายังรูจ้ กั การทำาบุญตักบาตร ไหว้พระสวดมนต์เป็น กราบพระเป็น ทำาให้ชุมชนชาวเขามีความสงบ สันติ จากการนำาเอา หลักธรรมทางพระพุทธศาสนามาปรับประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมกับสถานการณ์ ทำาให้ชาวไทย ภูเขาคิดเป็น ทำาเป็นและแก้ปัญหาเป็น นำาไปสู่การพัฒนาศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ที่พึง ประสงค์ของชาติได้ระดับหนึ่ง ผลโดยรวมเป็นที่น่าพอใจ และในปพุทธศักราช ๒๕๕๘ จะ เปนปที่ ๕๐ ของโครงการพระธรรมจาริกทีไ่ ดเผยแผพระพุทธศาสนาแกชาวไทยภูเขา จรรโลงสังคมดวยพุทธธรรม เปนแบบฉบับแหงการสรางสรรคสงั คมคุณธรรม สังคม


อุทยานการเรียนรู้ ๕๐ ปี โครงการพระธรรมจาริก เฉลิมพระเกียรติ

14

เขมแข็ง สังคมไมทอดทิง้ กัน และสังคมประชาธิปไตย อันเปนการตามรอยพระบาท พระบรมศาสดาอยางแทจริง ซึง่ การเผยแผพระพุทธศาสนาของคณะพระธรรมจาริก ไดเวียนมาบรรจบครบวาระกึง่ ศตวรรษ นับเปนปมหามงคลของคณะพระธรรมจาริก ที่ประกาศพระสัจธรรมในชนถิ่นกันดารมาอยางยาวนาน ในโอกาสที่โครงการพระธรรมจาริกประสบความสำาเร็จในการเผยแผ่พระพุทธศาสนา บนพื้นที่สูงได้ครบกึ่งศตวรรษ ๕๐ ปี ในปีพุทธศักราช ๒๕๕๘ ทางสำานักงานบริหารงาน โครงการพระธรรมจาริกส่วนภูมภิ าค วัดศรีโสดา เห็นควรให้มกี ารก่อสร้าง “อุทยานการเรียนรู้ อาศรมพระธรรมจาริกต้นแบบเฉลิมพระเกียรติ ๕๐ ปี โครงการพระธรรมจาริก” เพื่อเป็น อนุสรณ์ความสำาเร็จในการเผยแผ่พระพุทธศาสนา ของคณะพระธรรมจาริก และเป็นการรำาลึก นึกถึงพระเกียรติคณ ุ แห่งองค์สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี องค์อปุ ถัมภ์มลู นิธเิ ผยแพร่ พระพุทธศาสนาแก่ชนถิน่ กันดารฯ สมเด็จพระสังฆราช (ปุน่ ปุณณสิร)ิ สมเด็จพระพุทธชินวงศ์ องค์สถาปนาโครงการพระธรรมจาริก และสมเด็จพระมหารัชมังคลาจารย์ พระมหาเถระ ผู้สืบสานปณิธานโครงการพระธรรมจาริกสืบต่อมา อันเป็นการประกาศเกียรติคุณของ คณะพระธรรมจาริกให้กว้างขวางขจรขจายออกไป และเพือ่ เป็นการสืบสานเจตนารมณ์ดาำ เนิน รอยตามปฏิปทาพระบรมศาสดาและองค์บูรพาจารย์คณะพระธรรมจาริกสืบไป อุทยานการเรียนรู้ ๕๐ ปี โครงการพระธรรมจาริก (50th PhraDhammajarik Project Knowledge Park for king) ในความอุปถัมภ์สมเด็จพระมหารัชมังคลาจารย์ มีบทบาทใน การร่วมสร้างสรรค์สังคมการเรียนรู้ด้านการเผยแผ่ศาสนธรรมของคณะพระธรรมจาริกตลอด ระยะเวลา ๕๐ ปี ที่ผ่านมา โดยบูรณาการหลักธรรมกับการพัฒนาสังคมบนพื้นที่สูงด้านต่างๆ อาทิ การศึกษา การสาธารณสุข การอาชีพ การเป็นผู้นำาชุมชน ฯลฯ โดยมีการจัดตั้งอุทยาน การเรียนรู้ต้นแบบและการบริการ ให้เป็นแหล่งการเรียนรู้ ที่เน้นการปลูกฝังและส่งเสริมนิสัย รักการอ่าน การเรียนรู้อาชีพ การปฏิบัติธรรม และแสวงหาความรู้ เป็นอีกทางเลือกหนึ่ง ของคณะพระธรรมจาริ ก พระนิ สิ ต เด็ ก เยาวชน และประชาชนบนพื้ น ที่ สู ง รวมถึ ง คณะพระธรรมจาริก ที่จะได้เรียนรู้จากการผสมผสานเชื่อมโยงกัน ระหว่างศาสนสถาน ศาสนธรรม หนังสือ กิจกรรมและสือ่ ทีห่ ลากหลายรูปแบบ เพือ่ จูงใจให้เด็ก เยาวชน ประชาชน บนพื้นที่สูง และพระธรรมจาริกมีความเพลิดเพลินในการแสวงหาความรู้ตามอัธยาศัยเพื่อ พัฒนาตนเอง มีพื้นที่ให้ได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้จากประสบการณ์การเผยแผ่พระพุทธศาสนา บนพื้นที่สูง ทั้งในการฝกปฏิบัติจริง และค้นหาตัวตนตามความถนัดภายใต้บรรยากาศ ที่ทันสมัยและเป็นรมณียสถาน อนึ่ง เพื่อให้คณะพระธรรมจาริก พระนิสิต นักศึกษา เด็ก นักเรียน เยาวชน ประชาชน ทั่วไป เกิดการตื่นตัวในการพัฒนาตนเอง โดยมุ่งหวังว่าจะสามารถกระตุ้นและส่งเสริมจูงใจ


วัตถุประสงค์ ๑) เพื่อร่วมฉลอง ๕๐ ปี โครงการพระธรรมจาริก (๒๕๐๘-๒๕๕๘) ๒) เพือ่ เป็นอนุสรณ์สถาน เป็นศูนย์การเรียนรูต้ น้ แบบด้านการเผยแผ่พระพุทธศาสนา บนพื้นที่สูง ด้านสัมมาชีพ(เศรษฐกิจพอเพียงตามรอยพระราชา) ด้านการรวมกลุ่มชาวบ้าน ด้ า นการปฏิ บั ติ ธ รรม อั น เป็ น เครื่ อ งหมายแห่ ง ความกตั ญ ญู ก ตเวที ข องคณะสงฆ์ แ ละ พุทธศาสนิกชน ในการเผยแผ่พระพุทธศาสนาของพระธรรมจาริกบนพื้นที่สูง

15

อุทยานการเรียนรู้ ๕๐ ปี โครงการพระธรรมจาริก เฉลิมพระเกียรติ

ให้เด็กและเยาวชนได้เรียนรู้ธรรมะ และโครงการพระธรรมจาริกศึกษา เรียนรู้หลักสูตร อย่างสร้างสรรค์ ให้เป็นทางเลือกใหม่ของการเรียนรู้พุทธธรรมและงานพระธรรมจาริกที่เน้น ความทันสมัย และมีความเป็นสากล สำานักงานบริหารงานโครงการพระธรรมจาริกส่วนภูมภิ าค เป็นองค์กรหลักซึง่ รับผิดชอบ ในการบริหารจัดการ เพื่อให้กิจการของอุทยานการเรียนรู้ ๕๐ ปี โครงการพระธรรมจาริกได้ ดำาเนินไปอย่างต่อเนื่อง และมีประสิทธิภาพ ภายใต้กรอบแห่งอำานาจหน้าที่ และภารกิจของ สำานักงานฯ ส่วนภูมิภาค ในฐานะเป็นองค์กรหลัก ดังนั้นจากภารกิจที่สำาคัญดังกล่าว ประกอบกับหลักการ และเหตุผลข้างต้น ในการนี้เพื่อให้การขับเคลื่อนการดำาเนินงานของ “อุทยานการเรียนรู ๕๐ ป โครงการพระธรรมจาริก ในความอุปถัมภของสมเด็จ พระมหารัชมังคลาจารย” ได้บรรลุผลตามเป้าหมายของการก่อตั้งอุทยานการเรียนรู้ฯ จึง ได้จัดทำาโครงการกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้นี้ขึ้น เพื่อเป็นแรงกระตุ้นและผลักดันการเสริม สร้างและพัฒนาแหล่งเรียนรู้ทางพระพุทธศาสนาอย่างยั่งยืน และอย่างแพร่หลาย อันจะยัง ประโยชน์ให้แก่คณะพระธรรมจาริก เด็ก นักศึกษา เยาวชน และประชาชนทั่วไปเพิ่มมากขึ้น “อุทยานการเรียนรู ๕๐ ป โครงการพระธรรมจาริก เฉลิมพระเกียรติ ในความ อุปถัมภสมเด็จพระมหารัชมังคลาจารย” เป็นโครงการที่จัดขึ้นเพื่อเฉลิมฉลองโครงการ พระธรรมจาริ ก กึ่ ง ศตวรรษ ๕๐ ปี เป็ น การสร้ า งอนุ ส รณ์ ส ถานรำ า ลึ ก ถึ ง คุ ณู ป การของ คณะพระธรรมจาริกในอดีต ตลอดจนถึงพระบรมวงศานุวงศ์ พระมหาเถระ หน่วยงานของ รัฐบาล และเอกชนทีเ่ ข้ามามีสว่ นร่วมในการอุปถัมภ์บาำ รุงโครงการพระธรรมจาริกอย่างต่อเนือ่ ง และยาวนาน ถือเป็นการประกาศเกียรติคุณและขยายผลงานของคณะพระธรรมจาริกที่ได้ เผยแผ่พระพุทธศาสนาแก่ชาวไทยภูเขาบนพื้นที่สูงในภาคเหนือ เป็นการเผยแพร่ผลงาน คณะพระธรรมจาริกให้กว้างขวางเป็นที่รู้จักของพุทธศาสนิกชนทั่วไป ทั้งพระสงฆ์ นักวิชาการ นอกจากนี้ยังเป็นการบำารุงขวัญกำาลังใจแก่พระธรรมจาริกผู้ปฏิบัติการ


อุทยานการเรียนรู้ ๕๐ ปี โครงการพระธรรมจาริก เฉลิมพระเกียรติ

16

๓) เพื่อถวายสักการะอาจาริยบูชา แสดงออกถึงกตัญญูกตเวทิตาธรรม ต่อบูรพาจารย์ ที่เป็นองค์ปฐมและองค์ประธานตลอดจนถึงพระธรรมจาริกอาวุโส ที่มีจิตอาสาเป็นแบบฉบับ แห่งความดีงามในอดีตที่ผ่านมาในโครงการพระธรรมจาริก ๔) เพือ่ สนองและขยายงานธรรมะในพระบวรพุทธศาสนา ผ่านงานพระธรรมจาริก ด้วย การริเริม่ และพัฒนารูปแบบงานธรรมะใหม่ ๆ สูส่ งั คม ตลอดจนกลุม่ เป้าหมายใหม่ๆ ในทางธรรม ๕) เพื่อส่งเสริมการปฏิบัติบูชา “จารถ ภิกฺขเว จาริกำ พหุชนหิตาย พหุชนสุขาย : ท่องเที่ยวไปเพื่อประโยชน์สุขของชนหมู่มาก” เฉลิมฉลองตามแบบอย่างพระธรรมจาริก

กิจกรรมใน “อุทยานการเรียนรู้ ๕๐ ป โครงการพระธรรมจาริก เฉลิมพระเกียรติ ในความอุปถัมภ์สมเด็จพระมหารัชมังคลาจารย์” ๑) กิจกรรมออกแบบภูมิสถาปตย์ (Landscape Design) จัดทำา “อุทยาน การเรียนรู้ ๕๐ ปี โครงการพระธรรมจาริกเฉลิมพระเกียรติ” ๒) กิจกรรมระดมทุนในการจัดทำากิจกรรม จัดทําขอมูลสารสนเทศพระธรรมจาริก เป็นการรวบรวมประวัติศาสตร์ความเป็นมาของอาศรมพระธรรมจาริก ประกอบด้วยเนื้อหา ประวัติศาสตร์โครงการ ประวัติศาสตร์อาศรม ศาสนธรรม ศาสนสถาน ศาสนบุคคล บันทึก เหตุการณ์ความสำาคัญ ยุทธศาสตร์ การบริหาร จัดกิจกรรมระดมทุน “สร้างวิหาร ๕๐ ปี พระธรรมจาริก” จัดกิจกรรมระดมทุน “สร้างกุฏิสงฆ์ ห้องนำ้า” จัดกิจกรรมระดมทุน “สร้าง ศูนย์สารสนเทศพระธรรมจาริก ๕๐ ปี” จัดกิจกรรมระดมทุน “สร้างสวนหย่อมในอาศรมให้ ร่มรื่น ประกอบด้วย ปลูกไม้ผล ไม้ดอก ไม้ในวรรณคดี ไม้ในพระพุทธศาสนา พืชผักสวนครัว สวนสมุนไพร และการจัดทำาเว็บไซต์ ฉลองโครงการพระธรรมจาริก “อุทยานการเรียนรูอ้ าศรม พระธรรมจาริกต้นแบบเฉลิมพระเกียรติ ๕๐ ปี โครงการพระธรรมจาริก” ๓) กิจกรรมในอุทยานการเรียนรู้ ๕๐ ปี โครงการพระธรรมจาริก ๑. กิจกรรมส่งเสริมการอ่านและส่งเสริมความรู้พุทธศาสนาวันอาทิตย์ เป็นกิจกรรมที่จัดขึ้นเพื่อให้คณะพระธรรมจาริก นิสิต นักศึกษา เด็ก เยาวชน และประชาชน ทั่วไป มีนิสัยรักการเรียนรู้ รักการอ่านหนังสือธรรมะและรู้จักประโยชน์ของการอ่าน รู้จักเลือก วัสดุการอ่าน รู้จักใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ในวันหยุด เกิดทักษะการอ่าน อ่านอย่างมี วิจารณญาณ เกิดความเพลิดเพลิน และพัฒนาการอ่านจนถึงเป็นการส่งเสริมให้รักการอ่าน เพือ่ เกิดประโยชน์ในการพัฒนาคุณภาพชีวติ เสนอความรูข้ อ้ มูลข่าวสารทีท่ นั สมัยทันเหตุการณ์ แก่พระธรรมจาริก นิสิต ประชาชน ปลูกฝังการใฝ่หาความรู้ ให้รู้จักวิเคราะห์ และเลือกรับฟัง ความรู้ข่าวสารและป้องกันปัญหาสังคม


17

อุทยานการเรียนรู้ ๕๐ ปี โครงการพระธรรมจาริก เฉลิมพระเกียรติ

๒. กิจกรรมส่งเสริมการปฏิบัติธรรม เพื่อชี้แนะหลักธรรมที่เป็นหัวใจ พระพุทธศาสนา ที่สามารถนำาไปใช้แก้ปัญหาในชีวิตประจำาวันได้จริง และเพื่อฝกปฏิบัติ อานาปานสติภาวนา จนสามารถสัมผัสความสงบเย็นภายใน และความอิสระของจิตใจ อันเกิด จากความประจักษ์ในสัจธรรม ๓. การจัดกิจกรรมการส่งเสริมเศรษฐกิจพอเพียง และเรียนรูพ้ ฤกษศาสตร์ พื้นถิ่น เป็นการปลูกฝังความรู้ในเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง การทำามาหากินตามวิถีชนเผ่า ตลอดจนถึงการรวบรวมเอาพฤกษศาสตร์พื้นถิ่นมาไว้ในอุทยานการเรียนรู้ฯ อาทิ ปลูกไม้ผล ไม้ดอก ไม้ในวรรณคดี ไม้ในพระพุทธศาสนา พืชผักสวนครัว สวนสมุนไพร ๔. การจั ด อาราธนาพระมหาเถระและเชิ ญ วิ ท ยากรผู ้ ท รงคุ ณ วุ ฒิ ใ ห้ ความรู้ในเรื่องต่าง ๆ กำาหนดเรื่องที่น่าสนใจ เรื่องที่ประชาชนให้ความสนใจ และเรื่องที่ ทันสมัย ทำาให้เกิดประโยชน์แก่ผู้ใช้บริการ โดยดำาเนินการอย่างต่อเนื่อง ๕. กิจกรรมประชาสัมพันธ์ เป็นการเผยแพร่ข่าวสาร และนโยบายกิจกรรม ของอุทยานการเรียนรู้ ๕๐ ปี โครงการพระธรรมจาริก เฉลิมพระเกียรติ ไปยังประชาชน เพื่อ สร้างทัศนคติที่ดี ให้ทราบและสนับสนุน และ เห็นประโยชน์ของการจัดกิจกรรมที่ทางอุทยาน การเรียนรู้ ฯ จัดขึ้น ผ่านเสียงตามสายของอาศรมพระธรรมจาริกและหมู่บ้าน ๖. การศึกษาวิจัยเกี่ยวกับโครงการพระธรรมจาริกกับชนเผ่าบนพื้นที่สูง เป็นการส่งเสริมการวิจัยและการจัดการความรู้ด้านการเผยแผ่พระพุทธศาสนาของคณะ พระธรรมจาริก ๗. การศึกษาดูงาน เพื่อเพิ่มศักยภาพบุคลากรในองค์กร ในด้านการบริหาร จัดการทรัพยากร เพื่อส่งเสริมให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้การให้บริการ เพื่อนำามาปรับใช้ใน อุทยานการเรียนรู้ ๕๐ ปี โครงการพระธรรมจาริก ๔) ศูนย์บริการสารสนเทศพระธรรมจาริกและงานวิชาการเฉลิมพระเกียรติ จะจัดให้เป็นหอเฉลิมพระเกียรติฯ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ภายในจัดให้มี การแสดงจิตรกรรมฝาผนังแบบล้านนาบอกเล่า เรื่องราวของพระองค์ท่าน อันเป็นพระราช กรณียกิจ ที่เกี่ยวเนื่องกับการพัฒนาด้านต่าง ๆ และประวัติโครงการพระธรรมจาริก ประวัติ พระมหาเถระในโครงการพระธรรมจาริก พร้อมทั้งผลงานและเกียรติคุณ ประกอบด้วย ประวัติศาสตร์ กิจกรรม พื้นที่ ผลงานที่โดดเด่น และข้อมูลพื้นฐานสำาหรับเด็ก เยาวชน และ ประชาชนทัว่ ไป ตลอดจนถึงข่าวสารบ้านเมืองซึง่ เป็นเรือ่ งทีป่ ระชาชนกำาลังให้ความสนใจ หรือ เรือ่ งทีน่ า่ สนใจ ทันสมัย รวมถึงการจัดทำาบอร์ดนิทรรศการวันสำาคัญเสนอข้อมูลเนือ้ หาทีส่ าำ คัญ เพื่อเป็นประโยชน์สำาหรับผู้ที่ต้องการศึกษาค้นคว้า


อุทยานการเรียนรู้ ๕๐ ปี โครงการพระธรรมจาริก เฉลิมพระเกียรติ

18

วิธีดำาเนินการ ขั้นที่ ๑ ขั้นเตรียมการ ๑) เขียนโครงการ นำาเสนอขอความเห็นชอบอนุมัติโครงการและค่าใช้จ่าย ต่อมูลนิธิ เผยแพร่พระพุทธศาสนาแก่ชนถิ่นกันดารในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระศรีนครินทราบรม ราชชนนี และขอโครงการไว้ในความอุปถัมภ์ของสมเด็จพระมหารัชมังคลาจารย์ ๒) แต่งตั้งคณะกรรมการดำาเนินงาน ประกอบด้วย พระสังฆาธิการ พระธรรมจาริก ผู้ทรงคุณวุฒิ พระภิกษุสามเณร ผู้ที่เกี่ยวข้องเป็นกรรมการรับผิดชอบ ๓) กำาหนดรูปแบบ ของโครงการ“อุทยานการเรียนรู้ ๕๐ ปี โครงการพระธรรมจาริก เฉลิมพระเกียรติ ในความอุปถัมภ์สมเด็จพระมหารัชมังคลาจารย์” ประกอบด้วย รูปแบบการ จัดอุทยานการเรียนรู้ให้เป็นรมณียสถาน สร้างบรรยากาศทางวิชาการ การจัดสำานักงาน นิทรรศการเผยแผ่แก่สาธารณชน รูปแบบกิจกรรม รูปแบบการระดมทุนสนับสนุนงาน ฯลฯ ๔) ออกแบบภูมิสถาปัตย์ (Landscape Design) “อุทยานการเรียนรู้ ๕๐ ปี โครงการ พระธรรมจาริก เฉลิมพระเกียรติ ในความอุปถัมภ์สมเด็จพระมหารัชมังคลาจารย์” ๕) กำาหนดแนวทางการระดมทุน ขั้นที่ ๒ ขั้นดำาเนินงาน / กิจกรรมที่จะดำาเนินงาน ๑) ออกแบบภูมิสถาปัตย์ (Landscape Design) จัดทำา “อุทยานการเรียนรู้ ๕๐ ปี โครงการพระธรรมจาริกเฉลิมพระเกียรติ ในอุปถัมภ์สมเด็จพระมหารัชมังคลาจารย์” ทัง้ ๕ แห่ง ๒) ระดมทุนในการจัดทำากิจกรรม ๒.๑.๑ จัดทำาข้อมูลสารสนเทศพระธรรมจาริก เป็นการรวบรวมประวัตศิ าสตร์ความ เป็นมาของอาศรมพระธรรมจาริก ประกอบด้วยเนือ้ หา ประวัตศิ าสตร์โครงการ ประวัตศิ าสตร์ อาศรม ศาสนธรรม ศาสนสถาน ศาสนบุคคล บันทึกเหตุการณ์ความสำาคัญ ยุทธศาสตร์ การบริหาร ๒.๑.๒ จัดกิจกรรมระดมทุน “สร้างวิหาร ๕๐ ปี พระธรรมจาริก” ๒.๑.๓ จัดกิจกรรมระดมทุน “สร้างกุฏิสงฆ์” ๒.๑.๔ จัดกิจกรรมระดมทุน “สร้างห้องนำ้า” ๒.๑.๕ จัดกิจกรรมระดมทุน “สร้างศูนย์สารสนเทศพระธรรมจาริก ๕๐ ปี” ๒.๑.๖ จัดกิจกรรมระดมทุน “สร้างสวนหย่อมในอาศรมให้ร่มรื่น ประกอบด้วย ปลูกไม้ผล ไม้ดอก ไม้ในวรรณคดี ไม้ในพระพุทธศาสนา พืชผักสวนครัว สวนสมุนไพร


ขั้นที่ ๓ ขั้นสรุปผล ๑) รวบรวมสถิตขิ อ้ มูล สรุปผลการดำาเนินงาน จากผูม้ าร่วมงาน การสัมภาษณ์และสังเกต

งบประมาณ

๑) ค่าจ้างออกแบบภูมิสถาปัตย์ (Landscape Design) จัดทำา “อุทยานการเรียนรู้ ๕๐ ปี โครงการพระธรรมจาริก เฉลิมพระเกียรติ” จำานวน ๕ แห่ง งบประมาณ ๓๐,๐๐๐ บาท/แห่ง ๒) จัดทำาข้อมูลและศูนย์สารสนเทศพระธรรมจาริก เป็นการรวบรวมประวัติศาสตร์ ความเป็ น มาของอาศรมพระธรรมจาริ ก ประกอบด้ ว ยเนื้ อ หา ประวั ติ ศ าสตร์ โ ครงการ ประวัติศาสตร์อาศรม ศาสนธรรม ศาสนสถาน ศาสนบุคคล บันทึกเหตุการณ์ความสำาคัญ ยุทธศาสตร์ การบริหาร จำานวน ๕ แห่ง งบประมาณ ๓๐,๐๐๐ บาท/แห่ง

๓) จัดกิจกรรมระดมทุน “สร้างวิหาร ๕๐ ปี พระธรรมจาริก” จำานวน ๕ แห่ง งบประมาณ ๙๐๐,๐๐๐ บาท/แห่ง

๔) จัดกิจกรรมระดมทุน “สร้างกุฏิสงฆ์” จำานวน ๕ หลังๆ ละ ๔๐๐,๐๐๐ บาท/แห่ง

๕) จัดกิจกรรมระดมทุน “สร้างห้องนำา้ ” ๑ หลัง ๔ ห้อง งบประมาณ

๖) จัดกิจกรรมระดมทุน “สร้างศูนย์สารสนเทศพระธรรมจาริก ๕๐ ปี” จำานวน ๕ แห่ง งบประมาณ ๒๐๐,๐๐๐ บาท/แห่ง

๒๐๐,๐๐๐ บาท/แห่ง

๗) จัดกิจกรรมระดมทุนสร้างองค์เจดีย์ทรงสถาปัตย์ล้านนาประยุกต์ ขนาดกว้าง ๘ เมตร ยาว ๘ เมตร สูง ๑๑ เมตร จำานวน ๕ องค์ งบประมาณ ๑,๐๐๐,๐๐๐ บาท/องค์

19

อุทยานการเรียนรู้ ๕๐ ปี โครงการพระธรรมจาริก เฉลิมพระเกียรติ

๒.๑.๗. จัดกิจกรรมระดมทุนสร้างองค์เจดีย์ทรงสถาปัตย์ล้านนาประยุกต์ ๓) จัดทำาเว็บไซต์ ฉลองโครงการพระธรรมจาริก “อุทยานการเรียนรู้ ๕๐ ปี โครงการ พระธรรมจาริก เฉลิมพระเกียรติ”


อุทยานการเรียนรู้ ๕๐ ปี โครงการพระธรรมจาริก เฉลิมพระเกียรติ

๒0

๘) จัดกิจกรรมระดมทุน “สร้างสวนหย่อม ปลูกไม้ผล ไม้ดอก ไม้ในวรรณคดี ไม้ใน พระพุทธศาสนา พืชผักสวนครัว สวนสมุนไพร จำานวน ๕ แห่ง งบประมาณ ๒๐๐,๐๐๐ บาท/แห่ง ๙) จัดทำาเว็บไซต์ ฉลองโครงการพระธรรมจาริก “อุทยานการเรียนรู้ ๕๐ ปี โครงการ พระธรรมจาริก เฉลิมพระเกียรติ” งบประมาณ ๓๐,๐๐๐ บาท รวมงบประมาณทั้งสิ้นแห่งละ ๒,๙๙๐,๐๐๐ บาท/แห่ง (สองล้านเก้าแสนเก้าหมื่นบาทถ้วน) รวมงบประมาณทั้ง ๕ แห่ง เป็นเงินทั้งสิ้น ๑๔,๙๕๐,๐๐๐ บาท

ศูนย์สารสนเทศพระธรรมจาริก


คณะที่ปรึกษา

อุทยานการเรียนรู้ ๕๐ ปี โครงการพระธรรมจาริก เฉลิมพระเกียรติ

๑. สมเด็จพระมหารัชมังคลาจารย์ ประธานที่ปรึกษา ฝ่ายบรรพชิต ๒. พระพุทธวรญาณ รองประธาน ๓. พระพรหมโมลี รองประธาน ๔. พระธรรมราชานุวัตร กรรมการ ๕. พระเทพกิตติเวที กรรมการ ๖. พระเทพโกศล กรรมการ ๗. เจ้าคณะจังหวัดเชียงใหม่ กรรมการ ๘. เจ้าคณะจังหวัดเพชรบูรณ์ กรรมการ ๙. เจ้าคณะจังหวัดเชียงราย กรรมการ ๑๐. เจ้าคณะจังหวัดตาก กรรมการ ๑๑. พระราชมังคลาจารย์ กรรมการ ๑๒. พระวิมลมุนี กรรมการ ๑๓. พระครูสุตตกิจจานุกูล กรรมการ ๑๔. พระครูมงคลคุณาทร กรรมการ ๑๕. ปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ กรรมการ ๑๖. ประธานกรรมการบริหารมูลนิธิเผยแพร่พระพุทธศาสนา กรรมการ แก่ชนถิ่นกันดารในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ๑๗. อธิบดีกรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ กรรมการ

๒1


อุทยานการเรียนรู้ ๕๐ ปี โครงการพระธรรมจาริก เฉลิมพระเกียรติ

๒๒

คณะกรรมการดำาเนินการ ๑. พระครูมนูญกิจจานุกิจ ๒. พระมหาสมศักดิ์ สุทฺธิญาณเมธี ๓. พระครูใบฎีกาสุวรรณ เตชวโร ๔. พระครูใบฎีกาบุญยกร ปิยสีโล ๕. พระภราดร ภทฺทโก ๖. พระสมัย กนฺตธมฺโม ๗. พระสุพงษ์ กนฺตวีโร ๘. พระครูวินัยธรพิชัยนาท สิริจนฺโท ๙. พระพีระพงษ์ วีรวำโส ๑๐. ศ.เกียรติคุณ พญ. คุณหญิงสุดสาคร ตู้จินดา ๑๑. นางสายพิณ พหลโยธิน ๑๒. นายวัลลภ พลอยทับทิม ๑๓. นางศุลีมาศ สุทธิสัมพัทน์ ๑๔. นางลดา รุธิรกนก ๑๕. นางกัลยารัตน์ บุณย์เพิ่ม ๑๖. นายสุธี ปิยะดำารง ๑๗. นายสังวาลย์ อ่อนเผ่า ๑๘. นางศรีสอาด ชั้นสามารถ ๑๙. นางจันทรา ปิตรชาติ ๒๐. นางนิตยา ปัดทุม ๒๑. นายประชุม อ่อนพึ่ง ๒๒. นางสาวสุพรรณี เกิดทับทิม ๒๓. นางสาววรรณกานต์ ไสรัตน์ ๒๔. นางมาลินี ลีนุตพงษ์ ๒๕. นายเฉลิมศักดิ์ มากมูลผล ๒๖. ดร.นนทวัชร์ อภินันพรจินดา ๒๗. นายณัฐพล อรุณเลิศพิทักษ์

ประธานกรรมการฝ่ายบรรพชิต รองประธาน รองประธาน กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ เลขานุการคณะทำางาน ผู้ช่วยเลขานุการ ประธานกรรมการฝ่ายคฤหัสถ์ รองประธาน รองประธาน กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ


พื้นที่ดำาเนินการ

อาศรมฯ บ้านธรรมจาริก ตำาบลแม่จัน อำาเภอแม่จัน จังหวัดเชียงราย อาศรมพระธรรมจาริกในเขตจังหวัดเชียงราย พะเยา มีจำานวนทั้งสิ้น ๒๔ แห่ง ปฏิบัติศาสนกิจกับชาวเขาเผ่า อาข่า เมี่ยน จีนฮ่อ ม้ง พื้นราบ ไทยใหญ่ จังหวัดเชียงราย มีจำานวนประชากรทั้งสิ้น ๑๓๔,๔๗๗ คน ๒๓,๒๗๙ หลังคาเรือน ๒๘,๒๔๕ ครอบครัว ๖๗๑ หมู่บ้าน จังหวัดพะเยามีจำานวนประชากรทั้งสิ้น ๒๔,๗๔๖ คน ๓,๐๙๘ หลังคาเรือน ๔,๕๘๑ ครอบครัว ๕๔ หมู่บ้าน

อาศรมพระธรรมจาริกแห่งนี้มีความสำาคัญทางประวัติศาสตร์หลายประการคือ ๑. อาศรมบ้านธรรมจาริก เป็นอาศรมประวัตศิ าสตร์ทมี่ คี วามสำาคัญอย่างยิง่ อาศรมหนึง่ กล่าวคือ

อุทยานการเรียนรู้ ๕๐ ปี โครงการพระธรรมจาริก เฉลิมพระเกียรติ

แห่งที่ ๑ อุทยานการเรียนรู้ ๕๐ ป โครงการพระธรรมจาริก จังหวัดเชียงราย พะเยา

๒3


อุทยานการเรียนรู้ ๕๐ ปี โครงการพระธรรมจาริก เฉลิมพระเกียรติ

๒4

๑.๑ เป็นอาศรมยุคแรก (๒๕๐๘) ที่เกิดขึ้นพร้อมปีสถาปนาโครงการพระธรรมจาริก ๑.๒ เป็นอาศรมที ่ สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ทรงสนพระทัยและให้ความ อุปถัมภ์อาศรม ๑.๓ เป็นอาศรมทีส่ มเด็จพระสังฆราช (ปุน่ ปุณณสิร)ิ ทรงสนพระทัย ในกระบวนการ และวิธีการเผยแผ่ของคณะพระธรรมจาริก และทรงเสด็จเยี่ยมพระธรรมจาริกภายในอาศรม นั้นด้วย ๑.๔ เป็นอาศรมที่เจ้าประคุณสมเด็จพระพุทธชินวงศ์ให้ความสำาคัญมาก ๑.๕ เป็ น อาศรมที่ เจ้ า ประคุ ณ สมเด็ จ พระมหารั ช มั ง คลาจารย์ ประธานคณะ พระธรรมจาริก ประธานคณะผู้ปฏิบัติหน้าที่สมเด็จพระสังฆราช เห็นความสำาคัญเดินทาง ไปเยี่ยม และประทานเงินสำาหรับสร้างอาศรมจำานวนหนึ่ง ๒. เป็นอาศรมทีข่ บั เคลือ่ นกิจกรรมอย่างต่อเนือ่ งชัดเจนเป็นรูปธรรม จนเกิดเป็นหมูบ่ า้ น ธรรมจาริก โรงเรียนธรรมจาริกอุปถัมภ์ ๑ ๓. เป็นพื้นที่ที่มีความหลากหลายทางชาติพันธุ์ ประกอบด้วย อาข่า เมี่ยน จีนฮ่อ เย้า พื้นราบ ไทยใหญ่ ๔. เป็นจุดศูนย์กลางในการเผยแผ่ของพระธรรมจาริกในจังหวัดเชียงราย ๕. สถานที่ร่มรื่น เป็นรมณียสถาน เหมาะแก่การสร้างเป็นอุทยานการเรียนรู้ ๕๐ ปี โครงการพระธรรมจาริก ประมวลภาพประวัติศาสตร์ สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีทรงเสด็จเยี่ยม


อุทยานการเรียนรู้ ๕๐ ปี โครงการพระธรรมจาริก เฉลิมพระเกียรติ

๒5


อุทยานการเรียนรู้ ๕๐ ปี โครงการพระธรรมจาริก เฉลิมพระเกียรติ

๒6


อุทยานการเรียนรู้ ๕๐ ปี โครงการพระธรรมจาริก เฉลิมพระเกียรติ

๒7


อุทยานการเรียนรู้ ๕๐ ปี โครงการพระธรรมจาริก เฉลิมพระเกียรติ

๒8


อุทยานการเรียนรู้ ๕๐ ปี โครงการพระธรรมจาริก เฉลิมพระเกียรติ

๒9


อุทยานการเรียนรู้ ๕๐ ปี โครงการพระธรรมจาริก เฉลิมพระเกียรติ

30

รายการสร้าง ๑. สร้างพระเจดีย์ ๒. สร้างวิหาร ๓. สร้างห้องน้ำา ๔. สร้างศาลาทรงไทยศูนย์สารสนเทศพระธรรมจาริก ๕๐ ปี เฉลิมพระเกียรติ ๕. ปรับปรุงภูมิสถาปัตย์


อาศรมพระธรรมจาริกบ้านดอยมูเซอ ตำาบลแม่ทอ้ อำาเภอเมือง จังหวัดตาก อาศรมพระธรรมจาริ ก ในเขตจั ง หวั ด ตาก กำาแพงเพชร มีจำานวนทั้งสิ้น ๖๗ แห่ง ปฏิบัติศาสนกิจ กับชาวเขาเผ่า ลาหู ่ ม้ง ลีซ ู พืน้ ราบ กะเหรีย่ ง และอาข่า จังหวัดตากมีจำานวนประชากรทั้งสิ้น ๑๓๕,๙๙๕ คน ๔๐,๐๒๑ หลังคาเรือน ๔๓,๑๑๗ ครอบครัว ๓๗๘ หมู่บ้าน จังหวัดกำาแพงเพชรมีจำานวนประชากรทั้งสิ้น ๑๐,๒๖๘ คน ๑,๘๐๑ หลังคาเรือน ๒,๓๗๐ ครอบครัว ๓๕ หมู่บ้าน

อาศรมพระธรรมจาริกแห่งนี้มีความสำาคัญทางประวัติศาสตร์หลายประการคือ  อาศรมพระธรรมจาริกดอยมูเซอ ถือว่าเป็นอาศรมประวัตศ ิ าสตร์ทสี่ าำ คัญแห่งหนึง่ เนือ่ งจาก เป็นอาศรมที่จัดตั้งขึ้นในยุคแรก (๒๕๐๘) โดยมีพระราชกิตติเมธี เป็นหัวหน้าพระธรรมจาริก รุ่นแรกที่มาปฏิบัติศาสนกิจที่อาศรมแห่งนี้ ปัจจุบันทรงโปรดสถาปนาเป็น พระพุทธวรญาณ เจ้าอาวาสวัดเบญจมบพิตร ประธานที่ปรึกษามูลนิธิเผยแพร่พระพุทธศาสนาแก่ชนถิ่นกันดาร ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี

31

อุทยานการเรียนรู้ ๕๐ ปี โครงการพระธรรมจาริก เฉลิมพระเกียรติ

แห่งที่ ๒ อุทยานการเรียนรู้ ๕๐ ป โครงการพระธรรมจาริก จังหวัดตาก กำาแพงเพชร


อุทยานการเรียนรู้ ๕๐ ปี โครงการพระธรรมจาริก เฉลิมพระเกียรติ

3๒

เป็นอาศรมพระธรรมจาริกแห่งแรกที่เจ้าประคุณสมเด็จพระมหารัชมังคลาจารย์ ประธาน คณะพระธรรมจาริ ก เดิ น ทางเยี่ ย ม หลั ง จากที่ ไ ด้ รั บ พระมหากรุ ณ าโปรดสถาปนาเป็ น สมเด็จพระราชาคณะแล้ว ในปี ๒๕๔๐  อาศรมพระธรรมจาริกแห่งนี้ตั้งอยู่บนภูเขาสูงสลับซับซ้อน อากาศหนาวเย็นตลอดทั้งปี เหมาะแก่การส่งเสริมด้านการท่องเที่ยว  อาศรมพระธรรมจาริกแห่งนี้ตั้งอยู่ท่ามกลางความหลากหลายของชาติพันธุ์ ประกอบด้วย ชาติพันธุ์ ลาหู่ ม้ง ลีซู และพื้นราบ  อาศรมพระธรรมจาริกแห่งนีต ้ งั้ อยูใ่ นพืน้ ทีท่ มี่ คี วามสัปปายะเหมาะแก่การปฏิบตั ศิ าสนกิจ อาทิ บรรยากาศ การสร้างสรรค์กิจกรรมเนื่องจากสถานที่ตั้งอาศรมติดกับหน่วยงานราชการ จำานวนมาก ประกอบด้วย ศูนย์พฒ ั นาสังคมหน่วยที ่ ๑๖ สถานีทดลองเกษตรพืชสวนดอยมูเซอ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำาบล โรงเรียนบ้านดอยมูเซอ อุทยานแห่งชาติตากสินมหาราช สถานีทวนสัญญาณเขา ๑๐๑๐ (สถานีโทรทัศน์ ช่อง ๕, ๗, ๙, ๑๑) รายการสร้าง ๑. สร้างพระเจดีย์ ๒. สร้างวิหาร ๓. สร้างห้องน้ำา ๔. สร้างศาลาทรงไทยศูนย์สารสนเทศพระธรรมจาริก ๕๐ ปี เฉลิมพระเกียรติ ๕. ปรับปรุงภูมิสถาปัตย์


อาศรมพระธรรมจาริกบ้านเข็กน้อย ตำาบลเข็กน้อย อำาเภอหล่มเก่า จังหวัดเพชรบูรณ์ อาศรมพระธรรมจาริกในเขตจังหวัดเพชรบูรณ์ พิษณุโลก สุโขทัย มีจำานวนทั้งสิ้น ๘ แห่ ง ปฏิ บั ติ ศ าสนกิ จ กั บ ชาวเขาเผ่ า ม้ ง จั ง หวั ด เพชรบู ร ณ์ มี จำ า นวนประชากรทั้ ง สิ้ น ๒๐,๒๖๙ คน ๓,๕๗๔ หลังคาเรือน ๓,๗๖๘ ครอบครัว ๒๘ หมู่บ้าน

33

อุทยานการเรียนรู้ ๕๐ ปี โครงการพระธรรมจาริก เฉลิมพระเกียรติ

แห่งที่ ๓ อุทยานการเรียนรู้ ๕๐ ป โครงการพระธรรมจาริก จังหวัดเพชรบูรณ์ พิษณุโลก สุโขทัย เลย


อุทยานการเรียนรู้ ๕๐ ปี โครงการพระธรรมจาริก เฉลิมพระเกียรติ

34


รายการสร้าง ๑. สร้างพระเจดีย์

35

อุทยานการเรียนรู้ ๕๐ ปี โครงการพระธรรมจาริก เฉลิมพระเกียรติ

อาศรมพระธรรมจาริกแห่งนี้มีความสำาคัญทางประวัติศาสตร์หลายประการคือ  เป็ น อาศรมที่ ตั้ ง อยู่ ใ นพื้ น ที่ จั ง หวั ด ที่ พ ระเดชพระคุ ณ เจ้ า ประคุ ณ สมเด็ จ พระมหา รัชมังคลาจารย์ ประธานคณะผู้ปฏิบัติหน้าที่สมเด็จพระสังฆราช ประธานคณะพระธรรมจาริก เจ้าคณะใหญ่หนเหนือ ขึ้นปฏิบัติหน้าที่พระธรรมจาริกรุ่นแรก (๒๕๐๘)  เป็นอาศรมพระธรรมจาริกที่ตั้งอยู่ในชุมชนม้งกลุ่มใหญ่ และเจ้าประคุณสมเด็จพระมหา รัชมังคลาจารย์ พร้อมด้วยพระมหาเถรานุเถระ เดินทางมาเป็นประธานงานแสดงตนเป็น พุทธมามกะ พร้อมด้วยข้าราชการผู้ใหญ่ฝ่ายกรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ  เป็นอาศรมพระธรรมจาริกเฉพาะกิจทีส ่ ร้างขึน้ โดย กองอำานวยการรักษาความมัน่ คงภายใน ภาค ๓ เพื่อช่วยเหลือหน่วยงานภาครัฐ ด้านการสร้างความมั่นคงทางด้านจิตใจ


อุทยานการเรียนรู้ ๕๐ ปี โครงการพระธรรมจาริก เฉลิมพระเกียรติ

36

แห่งที่ ๔ อุทยานการเรียนรู้ ๕๐ ป โครงการพระธรรมจาริก จังหวัดเชียงใหม่ แม่ฮ่องสอน อาศรมพระธรรมจาริกบ้านแม่แฮเหนือ ตำาบลแม่นาจร อำาเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่

อาศรมพระธรรมจาริกในเขตจังหวัดเชียงใหม่ มีจำานวนทั้งสิ้น ๑๔๓ แห่ง ปฏิบัติ ศาสนกิจกับชาวเขาเผ่ากะเหรีย่ ง ม้ง จังหวัดเชียงใหม่ มีจาำ นวนประชากรทัง้ สิน้ ๓๕๔,๒๑๙ คน ๗๕,๙๐๐ หลังคาเรือน ๙๐,๗๔๒ ครอบครัว ๑,๑๒๔ หมู่บ้าน อาศรมพระธรรมจาริกแห่งนี้มีความสำาคัญทางประวัติศาสตร์หลายประการคือ  อาศรมพระธรรมจาริกบ้านแม่แฮเหนือ เป็นอาศรมที่ตั้งอยู่ในพื้นที่อำาเภอแม่วางอันเป็น พื้นที่สุดท้ายของการปฏิบัติศาสนกิจของพระเดชพระคุณเจ้าประคุณสมเด็จพระพุทธชินวงศ์ องค์ปฐมประธานคณะพระธรรมจาริก และองค์สถาปนาโครงการพระธรรมจาริก  เป็นอาศรมพระธรรมจาริกที่โครงการหลวงได้ให้การสนับสนุนและสร้างเสนาสนะถวาย  เป็นพื้นที่ของชาวไทยภูเขาเผ่ากะเหรี่ยง ม้ง ที่มีศรัทธาปสาทะแรงกล้าในพระพุทธศาสนา  เป็นพืน ้ ทีท่ พี่ ระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ทรงสนพระทัยทีจ่ ะแก้ไขปัญหาชาวเขา โดยเฉพาะ เรื่องปากท้อง อาชีพ การทำามาหากิน การปลูกพืชทดแทน รายการสร้าง ๑. สร้างพระเจดีย์ ๒. สร้างห้องน้ำา ๓. สร้างศาลาทรงไทยศูนย์สารสนเทศพระธรรมจาริก ๕๐ ปี เฉลิมพระเกียรติ ๔. ปรับปรุงภูมิสถาปัตย์


อาศรมพระธรรมจาริกบ้านวัดจันทร์ ตำาบลบ้านจันทร์ อำาเภอกัลยาณิวัฒนา จังหวัดเชียงใหม่

อาศรมพระธรรมจาริกแห่งนี้มีความสำาคัญทางประวัติศาสตร์หลายประการคือ  เป็นอาศรมที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถ และสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี ทรงเสด็จเยี่ยมอาศรมพระธรรมจาริก แห่งนี้ ถึง ๒ ครั้ง  เป็นอาศรมพระธรรมจาริกที่มีประวัติศาสตร์อันยาวนานกว่า ๓๐๐ ปี ซึ่งมากกว่าโครงการ พระธรรมจาริก  เป็นศูนย์กลางของอาศรมพระธรรมจาริกในเขตอำาเภอกัลยาณิวัฒนา

37

อุทยานการเรียนรู้ ๕๐ ปี โครงการพระธรรมจาริก เฉลิมพระเกียรติ

อุทยานการเรียนรู้ ๕๐ ป โครงการพระธรรมจาริก(พิเศษ)


อุทยานการเรียนรู้ ๕๐ ปี โครงการพระธรรมจาริก เฉลิมพระเกียรติ

38

รายการสร้าง ๑. สร้างศาลาทรงไทยศูนย์สารสนเทศพระธรรมจาริก ๕๐ ปี เฉลิมพระเกียรติ ๒. ปรับปรุงภูมิสถาปัตย์ ประมวลภาพประวัติศาสตร์


อุทยานการเรียนรู้ ๕๐ ป โครงการพระธรรมจาริก(พิเศษ)

อาศรมพระธรรมจาริกแห่งนี้มีความสำาคัญทางประวัติศาสตร์หลายประการคือ  พระเดชพระคุณ เจ้าประคุณสมเด็จพระพุทธชินวงศ์ องค์สถาปนาโครงการพระธรรมจาริก เป็นประธานในการเปิดป้ายสวนสมุนไพรสมเด็จพระพุทธชินวงศ์ และเมตตาให้ใช้ราชทินนาม ในการตั้งชื่อสวน  พระเดชพระคุณ เจ้าประคุณสมเด็จพระมหารัชมังคลาจารย์ ประธานคณะพระธรรมจาริก รูปปัจจุบัน เป็นประธานในการบรรพชาปอยส่างลอง และเมตตามอบเงินสร้างวิหารใน สวนสมุนไพรสมเด็จพระพุทธชินวงศ์ รายการสร้าง ๑. สร้างพระเจดีย์ ๒. สร้างห้องน้ำา ๓. สร้างศาลาทรงไทยศูนย์สารสนเทศพระธรรมจาริก ๕๐ ปี เฉลิมพระเกียรติ ๔. ปรับปรุงภูมิสถาปัตย์

39

อุทยานการเรียนรู้ ๕๐ ปี โครงการพระธรรมจาริก เฉลิมพระเกียรติ

อาศรมพระธรรมจาริกบ้านต้นลุง ตำาบลบ้านช้าง อำาเภอแม่แตง จังหวัดเชียงใหม่


อุทยานการเรียนรู้ ๕๐ ปี โครงการพระธรรมจาริก เฉลิมพระเกียรติ

40

แห่งที่ ๕ อุทยานการเรียนรู้ ๕๐ ป โครงการพระธรรมจาริก จังหวัดน่าน แพร่ ลำาปาง

อาศรมพระธรรมจาริกบ้านป่ากลาง ตำาบลป่ากลาง อำาเภอปัว จังหวัดน่าน อาศรมพระธรรมจาริกในเขตจังหวัดน่าน แพร่ ลำาปาง มีจำานวนทั้งสิ้น ๔๓ แห่ง ปฏิบัติศาสนกิจกับชาวเขาเผ่า ม้ง เย้า ถิ่น ลั๊วะ จังหวัดน่านมีจำานวนประชากรทั้งสิ้น ๙๒,๘๐๘ คน ๑๗,๐๓๒ หลังคาเรือน ๒๑,๓๕๙ ครอบครัว ๒๖๓ หมู่บ้าน


รายการสร้าง ๑. สร้างวิหาร ๒. สร้างห้องน้ำ� ๓. สร้างศาลาทรงไทยศูนย์สารสนเทศพระธรรมจาริก ๕๐ ปี เฉลิมพระเกียรติ ๔. ปรับปรุงภูมิสถาปัตย์

41

อุทยานการเรียนรู้ ๕๐ ปี โครงการพระธรรมจาริก เฉลิมพระเกียรติ

อาศรมพระธรรมจาริกแห่งนี้มีความสำ�คัญทางประวัติศาสตร์หลายประการคือ  เป็นอาศรมพระธรรมจาริกเฉพาะกิจทีส ่ ร้างขึน้ โดย กองอำ�นวยการรักษาความมัน่ คงภายใน ภาค ๓ เพื่อช่วยเหลือหน่วยงานภาครัฐ ด้านการสร้างความมั่นคงทางด้านจิตใจ และส่งเสริม ทางด้ า นการประกอบอาชีพ เพื่อการตัดปัญ หาไม่ให้ชาวบ้ า นขึ้ น ไปบนดอยแล้ วตกเป็ น เครื่องมือของ ผกค. อีก  เป็นอาศรมที่มีความหลากหลายทางชาติพันธุ์ ประกอบด้วยชาติพันธุ์ ม้ง เย้า ถิ่น ลั๊วะ  เป็นอาศรมที่เป็นจุดศูนย์กลางในการประสานงานของอาศรมบริวาร และเป็นอาศรมที่มี หมู่บ้านหมู่ใหญ่ล้อมรอบ  เป็นอาศรมที่มีการวางแผนการบริหารจัดการงานได้ดีและทำ�งานอย่างเป็นทีม มีรูปแบบ โดยมุ่งเน้นไปที่กลุ่มเด็กและเยาวชน แสดงถึงความเป็นอาศรมที่เข้มแข็ง เป็นการวางรากฐาน ของพระธรรมจาริกระดับจังหวัดอย่างยั่งยืน  หั วหน้าศูนย์มีภาวะในความเป็นผู้นำ � ค่อนข้า งสูง เป็นคนในพื้นที่มีวัยวุฒิและคุณวุฒิ ทีเ่ หมาะสม มีอดุ มการณ์ในการทำ�งานและคอยกระตุน้ ลูกศูนย์หรืออาศรมบริวารอย่างต่อเนือ่ ง เพื่อให้งานที่ทำ�ขับเคลื่อนไปได้ด้วยดี


อุทยานการเรียนรู้ ๕๐ ปี โครงการพระธรรมจาริก เฉลิมพระเกียรติ

4๒

ผลที่คาดว่าจะได้รับ ๑) ได้ร่วมเฉลิมฉลอง ๕๐ ปี โครงการพระธรรมจาริก (๒๕๐๘-๒๕๕๘) ๒) ได้ศาสนสถานอันเป็นอนุสรณ์สถาน เป็นศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบด้านการเผยแผ่ พระพุทธศาสนาบนพืน้ ทีส่ งู ด้านสัมมาชีพ (เศรษฐกิจพอเพียงตามรอยพระราชา) ด้านการรวม กลุ่มชาวบ้าน ด้านการปฏิบัติธรรม อันเป็นเครื่องหมายแห่งความกตัญญูกตเวทีของคณะสงฆ์ และพุทธศาสนิกชน ในการเผยแผ่พระพุทธศาสนาของพระธรรมจาริกบนพื้นที่สูง ๓) ได้ถวายสักการะอาจาริยบูชา แสดงออกถึงความกตัญญูกตเวทิตาธรรม ต่อ บูรพาจารย์ทเี่ ป็นองค์ปฐมและองค์ประธานตลอดจนถึงพระธรรมจาริกอาวุโส ทีม่ จี ติ อาสาเป็น แบบฉบับแห่งความดีงามในอดีตที่ผ่านมาของโครงการพระธรรมจาริก ๔) ได้สนองและขยายงานธรรมะในพระบวรพระพุทธศาสนา ผ่านงานพระธรรมจาริก ด้วยการริเริ่มและพัฒนารูปแบบงานธรรมะใหม่ ๆ สู่สังคม ตลอดจนกลุ่มเป้าหมายใหม่ ๆ ใน ทางธรรม ๕) ได้ส่งเสริมการปฏิบัติบูชา “จารถ ภิกฺขเว จาริกำ พหุชนหิตาย พหุชนสุ: ท่องเที่ยว ไปเพื่อประโยชน์สุขของชนหมู่มาก” เฉลิมฉลองตามแบบอย่างพระธรรมจาริก ๖) เกิดเป็นศูนย์กลางการเผยแผ่พระพุทธศาสนาบนพื้นที่สูง

แบบจำาลองภูมิสถาปัตย์อุทยานการเรียนรู้ ๕๐ ป โครงการพระธรรมจาริก


ป ฏิ ทิ น

กิจกรรมโครงการพระธรรมจาริก


อุทยานการเรียนรู้ ๕๐ ปี โครงการพระธรรมจาริก เฉลิมพระเกียรติ

44

“ กิจกรรม โครงการ พระธรรมจาริก ” ในปีพุทธศักราช ๒๕๕๘ จะเป็นปีที่ ๕๐ ของโครงการพระธรรมจาริกทีไ่ ด้เผยแผ่พระพุทธ ศาสนาแก่ ช าวไทยภู เขา จรรโลงสั ง คมด้ ว ย พุทธธรรม เป็นแบบฉบับแห่งการสร้างสรรค์ สังคมคุณธรรม สังคมเข้มแข็ง สังคมไม่ทอดทิง้ กัน และสังคมประชาธิปไตย อันเป็นการตามรอย พระบาทพระบรมศาสดาอย่างแท้จริง ซึ่งการ เผยแผ่พระพุทธศาสนาของคณะพระธรรมจาริก ได้เวียนมาบรรจบครบวาระ ๕๐ ปี ซึ่งเท่ากับ พระสาวกจำานวน ๕๐ รูป ที่พระพุทธเจ้าทรงส่ง ออกไปประกาศพระสัจธรรมตามแว่นแคว้นต่างๆ เป็นชุดแรกเพื่อมวลมนุษยชาติจนกลายเป็น ศาสนาเอกของโลก นับเป็นปีมหามงคลของ คณะพระธรรมจาริกที่ประกาศพระสัจธรรมใน ชนถิ่นกันดารมาอย่างยาวนาน

ในโอกาสที่โครงการพระธรรมจาริก ประสบความสำาเร็จในการเผยแผ่พระพุทธ ศาสนาบนพื้ น ที่ สู ง ได้ ค รบ ๕๐ ปี ทาง สำานักงานบริหารงานโครงการพระธรรม จาริกส่วนภูมภิ าค วัดศรีโสดา เห็นว่าควรให้ มีการฉลองสมโภช เพื่อเป็นการประกาศ เกียรติคุณการทำางานของคณะพระธรรม จาริกให้กว้างขวางขจรขจายออกไป และเพือ่ เป็นการสืบสานเจตนารมณ์ดาำ เนินรอยตาม ปฏิปทาพระบรมศาสดาและองค์บรู พาจารย์ คณะพระธรรมจาริกสืบไป ทางคณะทำางาน จึ ง ได้ จั ด ทำ า อุ ท ยานการเรี ย นรู ้ ๕๐ ปี โครงการพระธรรมจาริ ก เฉลิ ม ฯ ปฏิ ทิ น เทศกาลคนดอย ตามรอยพระธรรมจาริก ปี ๒๕๕๗-๒๕๖๑ ขึ้น ดังนี้


เดือน

กิจกรรม

เป้าหมาย/พื้นที่

หมายเหตุ

๑. โครงการประชุมปฐมนิเทศ วัดศรีโสดา อำาเภอเมือง พระธรรมจาริก ๓๐๐ รูป จังหวัดเชียงใหม่ ๒. งานสรงน้ำาพระธาตุ

มีนาคม

๕๐๐,๐๐๐ บาท

อาศรมพระธรรมจาริกบ้านวัดจันทร์ ๓๐,๐๐๐ อำาเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่ บาท

๓. งานแสดงตนเป็นพุทธมามกะ อาศรมพระธรรมจาริก ๔๐๐ ครอบครัว

๑๐๐,๐๐๐ บาท

๔. โครงการสัมมนาทางวิชาการ ๑. วัดศรีโสดา อำาเภอเมือง พระธรรมจาริก จังหวัดเชียงใหม่ ๒. ศูนย์ประสานงานพระธรรมจาริก จังหวัดแม่ฮ่องสอน จังหวัดตาก จังหวัดเชียงราย และจังหวัดเชียงใหม่

๑๐๐,๐๐๐ บาท

๕. เทศกาลออกร้านจำาหน่าย วัดศรีโสดา อำาเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ ๑๕๐,๐๐๐ สินค้าชาวเขา (วันเฉลิมฉลองสมโภชโครงการ) บาท ๖. โครงการจัดทำาหนังสือ ชุด “พระธรรมจาริกผู้ปิดทอง หลังพระ”

๑,๕๐๐,๐๐๐ บาท

45

อุทยานการเรียนรู้ ๕๐ ปี โครงการพระธรรมจาริก เฉลิมพระเกียรติ

โครงการพระธรรมจาริกสัญจร เขตอำาเภออมก๋อย จังหวัดเชียงใหม่ ๓,๐๐๐,๐๐๐ มกราคม- (ตามยุทธศาสตร์ผ้าเหลืองห่ม (พื้นที่ที่ไม่มีวัดและอาศรมพระธรรม บาท กุมภาพันธ์ ดอย) ๑๕๐ หมูบ่ า้ น จาริกตัง้ อยู่)


อุทยานการเรียนรู้ ๕๐ ปี โครงการพระธรรมจาริก เฉลิมพระเกียรติ

46

เดือน

กิจกรรม

เป้าหมาย/พื้นที่

๑. โครงการบรรพชาสามเณร ๑. วัดศรีโสดา อำาเภอเมือง ภาคฤดูรอ้ น ๕๐ แห่ง (เยาวชน จังหวัดเชียงใหม่ ชายจำานวน ๕,๐๐๐ คน) ๒. อาศรมพระธรรมจาริกภาคสนาม ๒. โครงการชุมนุมแกนนำาชาว อาศรมพระธรรมจาริกภาคสนาม พุ ท ธและยุ ว พุ ท ธธรรมจาริ ก เมษายน ๑,๐๐๐ คน ๑,๐๐๐ หมู่บ้าน

หมายเหตุ ๕๐๐,๐๐๐ บาท ๕๐๐,๐๐๐ บาท

๓. โครงการปอยส่างลองและ อาศรมพระธรรมจาริกบ้านต้นลุง ๑๐๐,๐๐๐ เทศกาลสมุนไพร ตำาบลบ้านช้าง อำาเภอแม่แตง บาท จังหวัดเชียงใหม่ โครงการค่ า ยคุ ณ ธรรม ๕๐ ๑. วัดศรีโสดา จังหวัดเชียงใหม่ พฤษภาคม แห่ง เยาวชนชายหญิงจำานวน ๒. อาศรมพระธรรมจาริกภาคสนาม ๕,๐๐๐ คน

๕๐๐,๐๐๐ บาท

โครงการบรรพชาอุปสมบทหมู่ ๑. วัดศรีโสดา จังหวัดเชียงใหม่ มิถุนายน- ชาวเขาประจำาปี (๒๘๓ คน) ๒. อาศรมพระธรรมจาริก ๓. วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนาราม กรกฎาคม กรุงเทพฯ

๓,๐๐๐,๐๐๐ บาท

โครงการบวชศี ล จาริ ณีเ ฉลิ ม วั ด ศรี โ สดา อำ า เภอเมื อ ง จั ง หวั ด สิงหาคม พระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าฯ เชียงใหม่ พระบรมราชินนี าถ

๑๐๐,๐๐๐ บาท


เดือน

กิจกรรม

เป้าหมาย/พื้นที่

๕๐,๐๐๐ บาท

๑. โครงการประกวดผลงานทาง วั ด ศรี โ สดา อำ � เภอเมื อ ง จั ง หวั ด ๕๐,๐๐๐ บาท วิชาการพระธรรมจาริก ๕๐ ปี เชียงใหม่ ตุลาคม- พระธรรมจาริก ธันวาคม ๒. งานสรงน้ำ � พระธาตุ แ ละ อาศรมพระธรรมจาริก ๓๐,๐๐๐ บาท เทศกาลปีใหม่กะเหรี่ยง บ้านแม่สลิดหลวง ตำ�บลแม่สอง อำ�เภอท่าสองยาง จังหวัดตาก ๓ . ง า น บ ว ช ศี ล จ า ริ ณี วัดวิเวกวนาราม อำ�เภอสันทราย เฉลิ ม พระเกี ย รติ พ ระบาท จังหวัดเชียงใหม่ สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

๑๐๐,๐๐๐ บาท

ตลอดปี

งานประชุ ม สั ม มนานำ � เสนอ โครงการพระธรรมจาริกวัดศรีโสดา ผลงานพระธรรมจาริ ก ระดั บ อำ�เภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ หัวหน้าศูนย์อบรมประจำ�เดือน

๑๒๐,๐๐๐ บาท

ตลอดปี

งานทำ � วารสาร เผยแพร่ โครงการพระธรรมจาริกวัดศรีโสดา ๑,๐๐๐,๐๐๐ ประชาสัมพันธ์งานพระธรรม อำ�เภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ บาท จาริก งานจัดทำ�เว็บไซต์

ตลอดปี

งานอบรมพระพุทธศาสนาแก่ ๑.วัดศรีโสดา อำ�เภอเมือง จังหวัด ๓,๐๐๐,๐๐๐ บาท พระภิกษุสามเณรชาวเขาและ เชียงใหม่ กิจการสตรีวัดวิเวกวนาราม ๒.วัดวิเวกวนาราม อำ�เภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่

ตลอดปี

โครงการขับเคลือ่ นยุทธศาสตร์ เขตพื้นที่พัฒนาของงานพระธรรม ๑,๒๐๐,๐๐๐ พระธรรมจาริก (Road Map) จาริกภาคเหนือ ๑๒๐ พื้นที่ บาท

ตลอดปี

โครงการส่งเสริมการเรียนรู้วิถี สวนสมุ น ไพรสมเด็ จ พระพุ ท ธ พุทธและวัฒนธรรมพื้นถิ่นของ ชินวงศ์ บ้านต้นลุง อำ�เภอแม่แตง ชุมชนบนพื้นที่สูง จังหวัดเชียงใหม่

๙๐๐,๐๐๐ บาท

47

อุทยานการเรียนรู้ ๕๐ ปี โครงการพระธรรมจาริก เฉลิมพระเกียรติ

งานวั น กตั ญ ญู บู ร พาจารย์ วั ด ศรี โ สดา อำ � เภอเมื อ ง จั ง หวั ด กันยายน สมเด็จพระพุทธชินวงศ์ เชียงใหม่

หมายเหตุ


เทศกาลพระธรรมจาริก ตลอดปี ๒๕๕๗-๒๕๕๘


(ตามยุทธศาสตร์ผ้าเหลืองห่มดอย) ในปัจจุบันหมู่บ้านชาวเขาที่คณะ พระธรรมจาริกยังเข้าไม่ถงึ มีจาำ นวนมาก เพื่ อ ให้ ก ารปฏิ บั ติ ศ าสนกิ จ เผยแผ่ พระพุทธศาสนาเข้าถึงทุกหมู่บ้านคณะ พระธรรมจาริกจึงกำาหนดนโยบายขยาย ฐานการเผยแผ่พระพุทธศาสนาโดยงาน พระธรรมจาริกสัญจร ในปีงบประมาณ ๒๕๕๗-๒๕๖๑ นี้ คณะพระธรรมจาริก ๒. งานปฐมนิเทศพระธรรมจาริกประจําป กำ า หนดแผนปฏิ บั ติ ก ารต้ น แบบ ก่อนขึ้นปฏิบัติศาสนกิจ มารับนโยบายประจำาปีและยัง ปีงบประมาณละ ๕๐ หมู่บ้าน ภาคสนามของคณะพระ- มี ก ารถอดบทเรี ย นจากการ ธรรมจาริ ก จะต้ อ งมี ก าร ทำางานทีผ่ า่ นมาของพระธรรม ประชุมปฐมนิเทศ เพือ่ ซักซ้อม จาริกแต่ละพืน้ ที ่ ตลอดถึงการ ความเข้ า ใจในการปฏิ บั ติ แลกเปลีย่ นเรียนรูห้ ลักทฤษฎี ศาสนกิจ ข้อห้าม กฎระเบียบ การทำางานเผยแผ่พ ระพุท ธ และหน้ า ที่ ที่ พึ ง ดำ า เนิ น การ ศาสนาจากผู ้ เชี่ ย วชาญไป และเพื่อให้พระธรรมจาริกที่ พร้อมๆ กัน โดยกำาหนดจัด ได้ ป ฏิ บั ติ ศ าสนกิ จ อยู ่ ต าม ขึ้นประมาณเดือนมกราคมพื้นที่ต่างๆ บนพืน้ ทีส่ งู ได้ลง เดือนมีนาคม ของทุกปี

๓. งานสรงนํ้าพระธาตุ ในวันเพ็ญขึน้ ๑๕ คำา่ เดือน ๓ (ตรง กับวันมาฆบูชา) ชาวปกาเกอญอ แห่ง บ้านวัดจันทร์ กำาหนดให้มีการสรงนำ้า พระธาตุเป็นประจำาทุกปีสืบเนื่องมาจน เป็นประเพณีอันดีงาม อันเป็นกิจกรรม ที่ เชื่ อ มโยงคนทั้ ง ตำ า บลให้ เ กิ ด ความ สมานฉันท์เป็นสังคมคุณธรรม สังคม สันติสุข

49

อุทยานการเรียนรู้ ๕๐ ปี โครงการพระธรรมจาริก เฉลิมพระเกียรติ

๑. โครงการพระธรรมจาริกสัญจร


อุทยานการเรียนรู้ ๕๐ ปี โครงการพระธรรมจาริก เฉลิมพระเกียรติ

50

๕ งานออกร้านจําหน่ายสินค้าชาวเขา

๔. โครงการบรรพชาสามเณร ภาคฤดูร้อน ๕๐ แห่ง (เยาวชนชายจํานวน ๕,๐๐๐ คน) ภาคฤดู ร ้ อ นของทุ ก ๆ ปี จะมี เ ด็ ก เยาวชนชาวเขาที่ เ ลื่ อ มใสในพระพุ ท ธ ศาสนามาสมัครเข้าร่วมโครงการบรรพชา สามเณรภาคฤดูรอ้ นในโครงการพระธรรม จาริกเป็นจำานวนมาก ตามพื้นที่ต่างๆ ทั่ว ภาคเหนือ เพื่อเพิ่มพูนความรู้ทางธรรม และฝ ก นิ สั ย เรื่ อ งความอดทน เสี ย สละ ตรงต่อเวลา และการอยู่ร่วมกัน ในปีนี้ กำ า หนดจั ด งานบรรพชาสามเณรภาค ฤดูร้อน จำานวน ๕๐ แห่ง เยาวชนชาย ประมาณ ๕,๐๐๐ คน

ชาวเขาเป็นกลุ่มที่มีอัตลักษณ์เฉพาะ โดดเด่น ทัง้ ในเรือ่ งของภาษา การแต่งกาย วัฒนธรรมอันเป็น ทุนทางสังคมทีก่ อ่ ให้เกิดความดีงาม การจัดกิจกรรม ส่งเสริมการออกร้านจำาหน่ายสินค้า เป็นการเผยแพร่ อัตลักษณ์ของชนเผ่าสู่สาธารณชน ซึ่งในปี ๒๕๕๘ นี้ ทางคณะพระธรรมจาริกมีแผนงานสำาหรับจัดเทศกาล ออกร้านชาวเขา จำาหน่ายสินค้า ในเดือนมีนาคมนี้

๖. โครงการจัดทําตําราทางวิชาการ และหนังสือ ๕๐ ป โครงการพระธรรมจาริก ผู้ปดทองหลังพระ บทเรียนและองค์ความรู ้ ของพระธรรมจาริกทีถ่ กู สั่ง สมมาอย่างยาวนานจากการปฏิบัติการจริงใน ภาคสนาม ได้ตกผลึกเป็นความรู้ที่มีคุณค่า สมควรที่ จะเผยแพร่สู่สาธารณชนให้รับทราบ ผ่านหนังสือ “๕๐ ปี โครงการพระธรรมจาริก ผู้ปดทอง หลังพระ” จึงขอเชิญร่วมสนับสนุนการถ่ายทอด เรือ่ งราวของพระธรรมจาริกนักเผยแผ่ พระธรรมจาริก นั ก พั ฒ นา สู ่ ส าธารณชน ประกาศคุ ณู ป การให้ ขจรขจายไปทั่วทุกทิศานุทิศ


ในช่ ว งที่ บุ ค ลากร(พระสงฆ์ ) ใน โครงการพระธรรมจาริกมีจำานวนลดลง การสร้างแกนนำาชาวพุทธ ให้เป็นกลไก ในการทำางานของโครงการพระธรรม จาริ ก จึ ง เป็ น สิ่ ง ที่ สำ า คั ญ โดยการฝ ก อบรมให้ เ ป็ น แกนนำ า ชาวพุ ท ธและ เด็กเยาวชนอาสาสมัครในการช่วยงาน พระธรรมจาริกเป็นการลดปัญหาเรื่อง บุคลากรลงระดับหนึง่ ปัจจุบนั มีแกนนำา ชาวพุทธและยุวพุทธธรรมจาริกที่ผ่าน การอบรม และเข้าร่วมกิจกรรมมากกว่า ๕,๐๐๐ คนแล้ว จากนั้นจะจัดกิจกรรม ชุ ม นุ ม เพื่ อ พบปะแลกเปลี่ ย นเรี ย นรู ้ ประสบการณ์ แ กนนำ า ชาวพุ ท ธ และ ยุวพุทธธรรมจาริกระหว่างชุมชนปีนึ้ กำาหนดจัดมหกรรมชุมนุมทัง้ สิน้ ๑,๐๐๐ หมู่บ้าน ๑,๐๐๐ คน

๗. งานแสดงตนเปนพุทธมามกะ หลังจากทีค่ ณะพระธรรมจาริกขึน้ ปฏิบตั ศิ าสนกิจตาม หมู่บ้านชาวเขาแล้ว ยังความศรัทธาปสาทะให้เกิดขึ้นใน จิตใจ มีความเลือ่ มใสในพระรัตนตรัย และประสงค์ประกาศ ตนเป็นพุทธมามกะ ซึ่งในปีหนึ่งๆ มีไม่ตำ่ากว่า ๑,๐๐๐ ครอบครัว สำาหรับปีงบประมาณ ๒๕๕๗-๒๕๕๘ นี้ ทาง คณะพระธรรมจาริกกำาหนดจัดพิธแี สดงตนเป็นพุทธมามกะ จำานวน ๔๕๐ ครอบครัว/ปี

51

อุทยานการเรียนรู้ ๕๐ ปี โครงการพระธรรมจาริก เฉลิมพระเกียรติ

๘. โครงการชุมนุมแกนนํา ชาวพุทธและยุวพุทธธรรมจาริก


อุทยานการเรียนรู้ ๕๐ ปี โครงการพระธรรมจาริก เฉลิมพระเกียรติ

5๒

๙. โครงการค่ายคุณธรรม ๕๐ แห่ง เยาวชนชาย - หญิง จํานวน ๕,๐๐๐ คน ปัจจุบันเด็กและเยาวชนห่างไกลจาก หลักธรรมคำาสอนทางพระพุทธศาสนา ก่อ ให้เกิดปัญหาต่างๆ ตามมา การอบรมเด็ก เยาวชนผ่านกระบวนการค่ายคุณธรรม เป็นกิจกรรมหนึ่งที่โครงการพระธรรม จาริกได้จัดขึ้นเพื่อปลูกจิตสำานึกที่ดีให้กับ เด็กและเยาวชนชาวเขาให้เป็นบุคลากร ที่ดีของสังคมต่อไป ในปีนี้กำาหนดจัดค่าย คุณธรรมในพื้นที่ต่างๆ จำานวน ๕๐ แห่ง เยาวชนชายหญิงประมาณ ๕,๐๐๐ คน

๑๐. โครงการบรรพชาอุปสมบทหมู่ ชาวเขาประจําป ทุกๆ ปี จะมีเด็กเยาวชนชายชาวไทยภูเขามาเข้าร่วม โครงการบรรพชาอุปสมบทหมู่ชาวเขาประจำาปี เพื่อ ศึกษาพระธรรมวินัยและพัฒนาศักยภาพตนเอง ตาม หลักสูตรพระปริยตั ธิ รรมทัง้ แผนกธรรม บาลี และสามัญ รวมไปถึง ระดับอุดมศึกษา ซึ่งปัจ จุบันมีจำานวนกว่า ๑,๐๐๐ รูป โดยพำานัก จำาพรรษา ณ วัดศรีโสดา วัดวิเวก วนาราม และอาศรมพระธรรมจาริกตามดอยต่างๆ เทศกาลงานบรรพชาอุปสมบทหมู่ชาวเขาเป็นประเพณี ของโครงการพระธรรมจาริก ในการสร้างศาสนทายาท ให้แก่สถาบันพระพุทธศาสนา สำาหรับออกเผยแผ่ศาสน ธรรม ในปีนกี้ าำ หนดจัดงานบรรพชาอุปสมบทหมูช่ าวเขา จำานวน ๒๘๘ รูป ณ พระอุโบสถวัดเบญจมบพิตร กรุงเทพฯ และพระอุโบสถ วัดศรีโสดา จ.เชียงใหม่ ใน เดือนกรกฎาคม


๑๑. งานวันกตัญูบูรพาจารย์ สมเด็จพระพุทธชินวงศ์ ในวันที่ ๒๒ กันยายน ของทุกปี ทางสำานักงานบริหารงานโครงการ พระธรรมจาริก ร่วมกับวัดศรีโสดา จะ มีการจัดงาน “วันกตัญูบรู พาจารย์” ขึน้ โดยการรำาลึกนึกถึงเกียรติคณ ุ ของ เจ้ า ประคุ ณ สมเด็ จ พระพุ ท ธชิ น วงศ์ องค์สถาปนาและปฐมประธานคณะ พระธรรมจาริก โดยกิจกรรมจัดให้มี การประกวดทักษะทางวิชาการ การจัด แสดงผลงานและเกี ย รติ คุ ณ ของ เจ้าประคุณสมเด็จฯ การจัดบำาเพ็ญ กุศลทักษิณาทาน การมอบทุนการ ศึกษาแก่เด็กที่เรียนดีแต่ยากจน ปีนี้ กำาหนดขึ้นที่ พระอุโบสถวัดศรีโสดา จ.เชียงใหม่

๑๒. โครงการบวชศีลจาริณีเฉลิมพระเกียรติ โครงการพระธรรมจาริกเป็นหน่วยงานที่ปลูกฝังเรื่อง คุณธรรม ศีลธรรม หน้าทีพ่ ลเมืองและส่งเสริมให้ประชาชน รู้จักการรักชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ จึงได้จัดให้มี การปฏิบัติธรรม บวชศีลจาริณี เฉลิมพระเกียรติขึ้น เพื่อ ถวายเป็นพระราชกุศลแด่พระบรมวงศานุวงศ์ตามวาระ ต่างๆ ในปีนี้กำาหนดจัดขึ้น ๒ ครั้ง ณ วัดศรีโสดา อำาเภอ เมือง และวัดวิเวกวนาราม อำาเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่

อุทยานการเรียนรู้ ๕๐ ปี โครงการพระธรรมจาริก เฉลิมพระเกียรติ

53


อุทยานการเรียนรู้ ๕๐ ปี โครงการพระธรรมจาริก เฉลิมพระเกียรติ

54

๑๓. งานสรงนํ้าพระธาตุ และเทศกาลปใหม่กะเหรี่ยง ประมาณเดือนธันวาคมของทุกปี อาศรม พระธรรมจาริ ก บ้ า นแม่ ส ลิ ด หลวง อำ า เภอ ท่าสองยาง จังหวัดตากโดย “พระพิศาลประชา นุกูล” เจ้าคุณรูปแรกของปกาเกอญอ จะจัด มหกรรมชาวปกาเกอญอหรื อ เทศกาลปี ใ หม่ ปกาเกอญอและสรงนำ้าพระธาตุขึ้นเป็นประจำา ทุกปี โดยจัดให้มีการสโมสรชุมนุมแลกเปลี่ยน วัฒนธรรมดั้งเดิมอันดีงามของชาวปกาเกอญอ ทั้งสองแผ่นดิน (ไทย พม่า) กว่าหมื่นคน ใน แต่ละปี แสดงถึงความสามัคคี สมานฉันท์ และ ความเหนียวแน่นทางวัฒนธรรม อันก่อให้เกิด ความรักและหวงแหนในวัฒนธรรมอันนำาไปสู่ การอนุรักษ์และฟนฟูสืบไป

๑๔. งานประชุมสัมมนานําเสนอ ผลงานพระธรรมจาริกระดับหัวหน้า ศูนย์อบรมประจําเดือน ทุกๆ เดือน พระธรรมจาริกระดับหัวหน้า ศูนย์ฯ แต่ละศูนย์ฯ ที่ปฏิบัติงานตามพื้นที่ ต่างๆ ในแต่ละจังหวัด จำานวน ๑๔ ศูนย์ จะ เดินทางมาประชุมสรุปและทบทวนบทเรียน ผลการปฏิบตั งิ านร่วมกัน นอกจากนีย้ งั มีการ รายงานความเคลื่อนไหวของศูนย์อบรมฯ แต่ละแห่ง และอาศรมพระธรรมจาริกที่ตน รับผิดชอบ โดยจัดประชุมทุกๆ ปลายเดือน ณ วัดศรีโสดา อำาเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่


โครงการพระธรรมจาริ ก ได้ จั ด ทำ า วารสารขึ้ น เพื่ อ ประชาสั ม พั น ธ์ เ ผยแพร่ ผลงานที่เกิดขึ้นในภาคสนาม ตลอดถึง ความเคลื่ อ นไหวกิ จ กรรมต่ า งๆ ใน โครงการพระธรรมจาริ ก แต่ ล ะไตรมาส เพื่ อ ให้ ห น่ ว ยงานต่ า งๆ ได้ รั บ ทราบ การทำางานของโครงการพระธรรมจาริก โดยในปีหนึ่งจะจัดพิมพ์จำานวน ๔ ฉบับ (ราย ๓ เดือน)

๑๖. งานอบรมพระพุทธศาสนาแก่ พระภิกษุสามเณรชาวเขา และกิจการสตรี วัดวิเวกวนาราม ในแต่ละปีศนู ย์อบรมพระพุทธศาสนาแก่พระภิกษุ สามเณรชาวเขา จะมีทั้งกุลบุตรและกุลธิดาชาวเขาเข้า มาศึกษาตามโครงการต่างๆ จำานวนมากโดยลักษณะ โรงเรียนกินนอน (อยู่ประจำา) มีสถานที่สำาหรับจัด กิจกรรม คือ ณ โรงเรียนสมเด็จพระพุทธชินวงศ์ วัดศรีโสดา โรงเรียนวัดวิเวกวนาราม และศูนย์พัฒนา ศักยภาพเยาวสตรีแกนนำา วัดวิเวกวนาราม โครงการ จั ด การศึ ก ษาเพื่ อ พระธรรมจาริ ก มหาวิ ท ยาลั ย มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย โครงการจัดการศึกษา เยาวสตรีแกนนำา มหาวิทยาลัยแม่โจ้ และการจัดการ ศึกษาศูนย์พัฒนาศักยภาพเยาวสตรีแกนนำา วิทยาลัย เทคโนโลยีและเกษตรลำาพูน เพื่อพัฒนาศักยภาพ ให้ กุลบุตร กุลธิดาชาวเขา มีความรู ้ ความสามารถทัง้ ทาง โลกและทางธรรม ปัจจุบันมีจำานวนเยาวชนชาวเขา ทัง้ สิน้ ประมาณ ๑,๐๐๐ รูป/คน การดำาเนินงานอบรม ตามหลักสูตรดำาเนินการตลอดทั้งปี

อุทยานการเรียนรู้ ๕๐ ปี โครงการพระธรรมจาริก เฉลิมพระเกียรติ

55

๑๕. งานทําวารสาร เผยแพร่ ประชาสัมพันธ์งานพระธรรมจาริก, งานจัดทําเว็บไซต์


๑๘. โครงการส่งเสริมการเรียนรูว้ ถิ พ ี ทุ ธและ วัฒนธรรมพืน้ ถิน่ ของชุมชนบนพืน้ ทีส่ งู (เทศกาลปอยส่างลอง และเทศกาลสมุนไพร)

อุทยานการเรียนรู้ ๕๐ ปี โครงการพระธรรมจาริก เฉลิมพระเกียรติ

56

การส่งเสริมการเรียนรูว้ ถิ พี ทุ ธและวัฒนธรรม พื้ น ถิ่ น ฯ เป็ น กิ จ กรรมที่ เ กิ ด มาจากความ ต้องการของชุมชนโดยมีศนู ย์กลางการเรียนรูอ้ ยู่ ทีส่ วนสมุนไพรสมเด็จพระพุทธชินวงศ์ อาศรมฯ บ้านต้นลุง ต�ำบลบ้านช้าง อ�ำเภอแม่แตง และ ชุมชนทีต่ งั้ ในรัศมี ๑๐ กิโลเมตร มีชมุ ชนชาวเขา ๑๐ ชุมชน ชุมชนคนเมืองอีก ๕ ชุมชน ที่ ต้องการอนุรกั ษ์ภมู ปิ ญ ั ญาและวัฒนธรรมพืน้ ถิน่ ของตน โดยก�ำหนดให้สวนสมุนไพรสมเด็จ พระพุทธชินวงศ์ เป็นศูนย์กลางการเรียนรู้งาน ของโครงการพระธรรมจาริกอีกด้วย เพื่อความ เข้มแข็ง ต่อเนื่อง และยั่งยืนขององค์กรและ ชุมชนภาคีสืบไป ในปี ๒๕๕๗-๒๕๕๘ นี้ ก�ำหนดจัดกิจกรรมขึ้นตลอดทั้งปี และก�ำหนด จั ด กิ จ กรรมเทศกาลงานปอยส่ า งลอง และ เทศกาลสมุนไพรในเดือนเมษายน

๑๗. โครงการขับเคลือ่ นยุทธศาสตร์ พระธรรมจาริก (Road Map) เป็ น การขยายฐานการปฏิ บั ติ ง านของ

โครงการพระธรรมจาริกให้กว้างขวางออกไปใน ชุ ม ชนที่ ยั ง ขาดพระธรรมจาริ ก และพระสงฆ์ ภายใต้วสิ ยั ทัศน์ “สังคมคุณธรรม ในวัฒนธรรม ที่หลากหลาย” ปัจจุบันมียุทธศาสตร์ทั้งสิ้น ๓ ยุทธศาสตร์ ๙ กลยุทธ์ โดยก�ำหนดด�ำเนินการ ทั่ ว ทุ ก พื้ น ที่ ใ นภาคเหนื อ ที่ พ ระธรรมจาริ ก ปฏิบัติงาน


ป ฏิ ทิ น

ชาวเขา

เทศกาลวัฒนธรรม

http://www.geocities.com/thaihill/ecotourism.htm


อุทยานการเรียนรู้ ๕๐ ปี โครงการพระธรรมจาริก เฉลิมพระเกียรติ

58

ชวงเวลาที่หมูบ้านชาวเขาเผาตางๆ มี ง านประเพณี ห รื อ งานพิ ธี ที่ สํ า คั ญ มักจะเปนชวงเวลาที่มีสีสันและมีชีวิต ชีวาที่สุด ชาวเขาจะหันกลับมาแตงกาย ในชุดดั้งเดิมซึ่งสวยงาม ตื่นตาตื่นใจ แม้บางทีอาจจะมีกลิ่นอายการแตงกาย แบบคนเมืองปรับแตงเข้ามาบ้างก็ตาม ดังนั้น การเดินทางไปเยือนพวกเขา ในชวงเวลาดังกลาวก็คือโอกาสอันดี ของนักเดินทาง

ธันวาคม - มกราคม พิ ธี ป ี ใ หม่ ของชาวม้ ง กำาหนดที่

แน่นอนจะรู้ล่วงหน้าประมาณ ๑ เดือน จะมี การบนบานสำาหรับปีใหม่ และแก้บนสำาหรับ ปี เ ก่ า ที่ ผ ่ า นมา ในช่ ว งเวลานี้ ช าวม้ ง จะมี พิธีกรรมเซ่นไหว้บรรพบุรุษ มีการดื่มเหล้า ข้าวโพดจากเขาวัว ซึง่ การดืม่ เหล้าในลักษณะนี้ จะมีไม่บ่อยนัก และพวกเขาจะแต่งกายด้วย เสื้อผ้าชุดใหม่ สีสันสดใส มีเครื่องประดับเงิน สวยงาม มีการเล่นลูกข่างที่ทำาจากไม้ และมี การแข่งขันกันตามกติกาที่กำาหนด

พิธีปีใหม่ ของชาวลาหู่ ปกติจะจัดในช่วง

ธันวาคม-มกราคม แต่จะมีบางแห่งที่จะจัดเลยมาถึง เดือนกุมภาพันธ์ เป็นพิธีที่จัดขึ้นเพื่อบูชาเทพเจ้ากื่อซา เป็นการขอบคุณที่ดลบันดาลให้สมาชิกในหมู่บ้านอยู่ดี กินดีตลอดปีที่ผ่านมา และขอให้ได้ผลผลิตที่สมบูรณ์ใน ปีต่อไป ถือเป็นการเฉลิมฉลองที่ยิ่งใหญ่ เป็นช่วงของ ความสนุกสนาน รืน่ เริง มีพธิ เี ซ่นไหว้ผบี า้ น ผีเรือน ผีฟา้ สวมเสื้อผ้าชุดใหม่ มีพิธีเต้นจะคึ ซึ่งเป็นกิจกรรมที่ทุกคนในหมู่บ้านต้องมากระทำา ร่วมกันที่ลานจะคึบริเวณบ้านของปู่จารย์ ซึ่งถือว่าเป็น บริเวณทีศ่ กั ดิส์ ทิ ธิ ์ จะเต้นกันทัง้ วันทัง้ คืนไม่หยุดจนกว่า จะเสร็จพิธ ี ลาหูใ่ ช้การเต้นจะคึนเี้ ป็นการแสดงให้เกียรติ ให้ความนับถือ เวลาจะไปดำาหัวผูใ้ ด ก็จะไปตัง้ วงจะคึที่ บ้านนัน้ ๆ สำาหรับวันเริม่ ต้นปีใหม่ จะมีการจุดประทัด ยิงปนเสียงดังสนั่นหวั่นไหว กล่าวกันว่าเป็นการขับไล่ ภูตผีปศี าจและสิง่ ชัว่ ร้ายทัง้ หลายให้ออกไปจากหมูบ่ า้ น นอกจากนี้ ยังมีการทำาขนมชนิดหนึ่งเรียนว่า “ข้าวปุ๊ก” ทำาจากข้าวเหนียวนึ่งสุกแล้วเอามาตำาในครกกระเดื่อง จนเหนียวเข้ากันดี ผสมเกลือนิดหน่อย บางครั้งอาจมี งาดำาด้วย ปัน เป็นก้อนกลมๆ แบนๆ ขนมชนิดนีส้ ามารถ จะเก็บไว้กินได้หลายๆ วัน เวลาจะกินก็นำามาปิงไฟให้ ร้อนนุ่มอีกครั้ง เพราะเก็บไว้นานๆ ผิวของก้อนข้าวปุ๊ก จะแข็งมาก


พิธสี ร้างประตูหมูบ่ า้ น ของ ชาวอาข่า ซึง่ ถือเป็นประตูศกั ดิส์ ทิ ธิ์

ของหมูบ่ า้ น พวกเขาจะสร้างประตูใหม่ ทุกปี ปีละ ๑ บาน ชาวบ้านจะจับต้อง ประตูได้ในวันนีว้ นั เดียว หลังจากสร้าง เสร็จแล้วห้ามจับเด็ดขาด

มกราคม - กุมภาพันธ พิธปี ใี หม่ ของชาวลีซู ตามปรกติจะตรงกับตรุษจีน แต่

จะจัดไม่พร้อมกันทุกหมู่บ้าน ถือเป็นมหกรรมทางสังคมของ ชาวลีซู ใช้เวลาประมาณ ๓-๕ วัน มีการเต้นรำาของหนุ่มสาวที่ แต่งกายอย่างสวยงาม มีการทำาขนมข้าวปุ๊ก ต้มเหล้าข้าวโพด ฯลฯ หมู่บ้านจะมีบรรยากาศของความสนุกสนาน

พิธีปีใหม่ ของชาวเมี่ยน จะตรงกับวันตรุษจีน แต่พิธี

มีตั้งแต่ ๑ สัปดาห์ก่อนวันขึ้นปีใหม่ มีการเซ่นไหว้ผีบรรพบุรุษ การเลี้ยงฉลอง

พิธีแต่งงาน ของชาวเมี่ยน มี ๒ แบบ แบบใหญ่

แต่งตัวสวยงาม ใช้เวลา ๓ วัน อีกแบบหนึ่งจะลดขั้นตอน ลงมาเหลือพิธีแค่ ๒ วัน

กุมภาพันธ - มีนาคม พิธีปีใหม่น้อย ของชาวลีซู จัดหลังวันปีใหม่ ๑ เดือน

๗ วัน มีพิธีวันเดียว มีการเซ่นไหว้และมีการเต้นรำา

พิธปี ใี หม่ หรือกินข้าวใหม่ ของชาวกะเหรีย่ ง กำาหนด

หลังจากเก็บเกี่ยวข้าวเสร็จเรียบร้อยแล้ว เป็นพิธีกรรมเพื่อ ความเป็นสิริมงคล

กรกฎาคม - สิงหาคม พิธกี นิ ข้าวโพดใหม่ ของชาว

ลีซ ู มีพิธี ๔ วัน แต่ละบ้านจะตกแต่ง

หิ้ ง บู ช าวิ ญ ญาณบรรพชนอย่ า ง สวยงามด้วยผลผลิตต่างๆ

59

อุทยานการเรียนรู้ ๕๐ ปี โครงการพระธรรมจาริก เฉลิมพระเกียรติ

เมษายน - พฤษภาคม


อุทยานการเรียนรู้ ๕๐ ปี โครงการพระธรรมจาริก เฉลิมพระเกียรติ

60

สิงหาคม - กันยายน พิธีโล้ชิงช้า ของชาวอาข่า เป็นพิธีบูชา

พระแม่โพสพ โดยมากจะจัดปลายเดือนสิงหาคม ๓ วัน ถือเป็นพิธีศักดิ์สิทธิ์ มีการชุมนุมกันเพื่อ ขอพรจากสิ่ ง ศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ มี บ างคนกล่ า วว่ า มี ข ้ อ กำ า หนดให้ ทุ ก คนต้ อ งโล้ ชิ ง ช้ า เพื่ อ ให้ ร ่ า งกาย แข็งแรง ไม่เจ็บป่วยจากการกระทำาของผีร้าย

กันยายน พิ ธี กิ น ข้ า วใหม่ ของชาวลาหู ่ เป็ น

พิธีกรรมที่สำาคัญ เป็นการขอบวงสรวงต่อเทพเจ้า เพื่อขออนุญาตเก็บเกี่ยวข้าวมาบริโภค

พฤศจิกายน - ธันวาคม พิธีปีใหม่ ของชาวอาข่า มีพิธี ๓-๔ วัน

มีการเซ่นผีบรรพบุรษุ เลีย้ งฉลอง สนุกสนานรืน่ เริง เป็นพิธีที่จัดขึ้นเพื่อฉลองการสิ้นสุดงานในไร่ และ ขอบคุณสิ่งศักดิ์สิทธิ์

ตลอดทั้งป ทุกวันขึ้น และแรม ๑๕ คำ่า ชาวลาหู่จะไป เต้นจะคึในโบสถ์ ซึ่งเรียกว่า หอเหย่ เป็นการ บูชาเทพเจ้าหรือเป็นการไหว้พระ การแสดงศิลปะพื้นบ้านของชาวกะเหรี่ยง ซึ่งเรียกว่าการรำาตง


การทองเที่ยวเชิงอนุรักษ บนพื้นที่สูงและที่ตั้ง

อาศรมพระธรรมจาริ ก ใน ๑๕ กลุมชาติพันธุ

ภาคเหนือของประเทศไทยเป็นถิ่นอาศัย ของผู้คนที่มีเสน่ห์น่าพิศวงกลุ่มหนึ่งของโลก เราเรียกพวกเขาว่า “ชาวเขา” ซึ่งจริงๆ แล้ว ชาวเขาเป็นชนกลุ่มน้อยพวกหนึ่งในประเทศ ส่วนมากจะอาศัยอยูก่ ระจัดกระจายบริเวณภูเขา สูงในประเทศทางภาคเหนือ และบางจังหวัดใน ภาคกลางของประเทศรวมแล้ว ๒๐ จังหวัด ชาวเขาแต่ละชนเผ่ามีเอกลักษณ์ของ ตนเองในหลายๆ ด้าน ไม่วา่ จะเป็นขนบธรรมเนียม ประเพณี เครื่ อ งแต่ ง กาย เครื่ อ งประดั บ เครื่องดนตรี เครื่องจักสาน อาวุธ ทำาเลที่ตั้ง บ้านเรือน แต่สงิ่ ทีง่ า่ ยทีส่ ดุ ในการจำาแนกพวก เขาว่าเป็นชนเผ่าใดก็คือการแต่งกาย ปัจจุบัน แม้ชาวเขาจะรับวัฒนธรรมการแต่งกายแบบ ชาวเมืองมากขึน้ การนุง่ กางเกงยีนต์สวมเสือ้ ยืด

แต่ในยามประเพณียังคงหวนกลับมาแต่งกาย ตามเดิม โดยอาจมีการปรับแต่งผสมผสานบ้าง ชาวเขายังคงเป็นชาวเขานิยมใช้เครื่องประดับ เงิ น และลู ก ปั ด เพราะเป็ น ส่ ว นสำ า คั ญ ของ เครื่องแต่งกาย แต่ปัจุบันมีการใช้ทองเหลือง และทองแดงแทนบ้าง จากทำ า เลที่ ตั้ ง บนดอยสู ง มี ทิ ว ทั ศ น์ ที่ สวยงาม และอากาศสดชืน่ เย็นสบาย กอปรกับ ขนบธรรมเนียม ประเพณี และวัฒนธรรมที่ แตกต่าง แต่ทว่าเต็มไปด้วยสีสนั ทำาให้หมูบ่ า้ น ของชาวไทยภู เ ขากลายเป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ใน ความสนใจของนักท่องเที่ยวมากมายเดินทาง ไปยังหมู่บ้านชาวเขา ตามดอยสูงเพื่อศึกษา เรื่องราว ทำาความรู้จัก เยี่ยมชม หรือแม้แต่จะ จับจ่ายงานฝีมือเอกลักษณ์ประจำาเผ่า

อุทยานการเรียนรู้ ๕๐ ปี โครงการพระธรรมจาริก เฉลิมพระเกียรติ

กิ จ ก ร ร ม

61


อุทยานการเรียนรู้ ๕๐ ปี โครงการพระธรรมจาริก เฉลิมพระเกียรติ

6๒

อาศรมปาเมี่ยง

ปัจจุบัน กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ (กรม ประชาสงเคราะห์ โดยกองสงเคราะห์ชาวเขา) ร่วมกับ องค์กรชุมชน ได้ดำาเนินการส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิง อนุรักษ์ ภายใต้โครงการส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิง อนุรักษ์บนพื้นที่สูงขึ้นในหมู่บ้านชาวเขา ๑๓ จังหวัด ได้แก่ เชียงใหม่ เชียงราย ตาก แม่ฮ่องสอน แพร่ น่าน พะเยา อุ ทั ย ธานี กาญจนบุ รี พิ ษ ณุ โ ลก ลำ า พู น เพชรบูรณ์ และกำาแพงเพชร โดยได้คัดเลือกพื้นที่ ที่มี ความพร้อม จัดสร้างศูนย์วัฒนธรรมชาวเขาหมู่บ้าน ๓๓ แห่ง ตลาดนัดชาวเขา ๒ แห่ง และจัดสร้างที่พัก แบบพื้นบ้าน ๑๖ แห่ง เพื่อให้นักท่องเที่ยวได้สัมผัส ความงามของศิลปวัฒนธรรมประจำาท้องถิ่น ประเพณี ความเชื่อ พิธีกรรมต่างๆ ที่น่าสนใจ ตลอดจนความ งามตามธรรมชาติของบริเวณโดยรอบหมู่บ้านชาวเขา นั้นๆ ได้อย่างถูกต้องและสะดวก ซึ่งในแต่ละพื้นที่มี อาศรมพระธรรมจาริกตั้งอยู่ทำาหน้าที่ในการพัฒนา ศักยภาพชุมชนด้านจิตใจร่วมกับหน่วยงานภาครัฐ และจากนี้เป็นการทำาความรู้จักชาวเขาทั้ง ๖ เผ่า และ ทีต่ งั้ อาศรมพระธรรมจาริกประจำาเผ่าต่างๆ จำานวนกว่า ๒๑๐ แห่ง ดังแสดงฐานข้อมูลต่อไปนี้

อาศรมห้วยฮ่อม


มง หรือแมว

“ม้ ง ” มี ภู มิ ลำ า เนาอยู ่ ใ นภาค

เหนือของประเทศ กระจายออกไปถึง ๑๓ จังหวัด ถิ่นที่พบมากคือจังหวัด เชียงราย เชียงใหม่ ตาก น่าน และ เพชรบูรณ์ ม้งในประเทศไทยแบ่งออก เป็น ๒ กลุ่มคือ ม้งจั๊ว ถูกเรียกเป็น ภาษาไทยว่า “แม้วนำ้าเงิน” หรือ “แม้วลาย” อีกกลุ่มหนึ่งคือม้งเด๊อ หรือ เรียกเป็น ภาษาไทยว่า “แม้ว

ขาว”

การแต่งกาย ม้ ง

เป็ น นั ก ปั ก ลื อ ชื่ อ ภาพชาวม้งที่เราคุ้น ตามักจะเป็นม้งลายที่ ผูห้ ญิงนุง่ กระโปรงอัด จีบรอบตัว ยาวแค่เข่า ผ้าใยกัญชงหรือฝ้าย ทอมือ เขียนลวดลายบาติกอันเป็นเอกลักษณ์ของม้ง ส่วนเสือ้ ผ้า จะเป็นสีดาำ สวยพิสดารด้วยฝีเข็ม ปักและลวดลายละเอียดยิบ และ มีรดั น่อง นอกจากนีเ้ วลาแต่งตัวครบเครือ่ งแบบจะมีผา้ กันเปอ น ปักประดับอันวิจติ รงดงามคาดทับกระโปรงอีกที ส่วนผูช้ ายม้งจะ เป็นกางเกงยาวสีดำาหลวมๆ เป้าหย่อนลงมาเกือบถึงปลายขา สวมเสื้อแขนยาวผ่าอก สีดำา เสื้อตัวสั้นลอยอยู่เหนือเอว มีการ ปักประดับลวดลายที่สาบ ชาวม้งนิยมใช้เครื่องประดับเงิน ทั้งชายและหญิงจะมีเครื่องประดับเงินรอบคอกัน

อุทยานการเรียนรู้ ๕๐ ปี โครงการพระธรรมจาริก เฉลิมพระเกียรติ

“ม้ง หรือ แม้ว มีความขยันขันแข็ง รักอิสระ เปดเผย ฉลาดเรียนรู้เร็ว”

63


ฐานข้อมูลอาศรมพระธรรมจาริกที่ตั้งอยู่ในกลุ่มชาติพันธุ์ม้ง

อุทยานการเรียนรู้ ๕๐ ปี โครงการพระธรรมจาริก เฉลิมพระเกียรติ

64

ที่

บ้าน

ตำาบล

อำาเภอ

จังหวัด

ขุนช่างเคี่ยน

สุเทพ

เมือง

เชียงใหม่

แม่สาใหม่

โป่งแยง

แม่ริม

เชียงใหม่

บวกจั่น

โป่งแยง

แม่ริม

เชียงใหม่

ม่อนเงาะ

เมืองก๋าย

แม่แตง

เชียงใหม่

เข็กน้อย

เข็กน้อย

เขาค้อ

เพชรบูรณ์

แม่ตะละม้ง

ยั้งเมิน

สะเมิง

เชียงใหม่

ปางอุ๋ง

แม่ศึก

แม่แจ่ม

เชียงใหม่

ป่ากล้วย

แม่สอย

จอมทอง

เชียงใหม่

คอดยาว

ทุ่งกล้วย

ภูซาง

พะเยา

๑๐

ประชาภักดี

ร่มเย็น

เชียงคำา

พะเยา

๑๑

รักแผ่นดิน

ตับเต่า

เทิง

เชียงราย

๑๒

ห้วยน้ำาเย็น

รวมไทยพัฒนา

พบพระ

ตาก

๑๓

ร่วมเกล้าสหมิตร

พบพระ

พบพระ

ตาก

๑๔

สิบสองพัฒนา

ผาช้างน้อย

ปง

พะเยา

รวม ๑๔ พื้นที่


“ลาหู”่ หรือ “มูเซอ” ในประเทศไทยมีกลุม่ ย่อย

ทีน่ า่ สนใจ ๓ กลุม่ ได้แก่มเู ซอดำา มูเซอแดง มูเซอเฌเล อาศัยอยูใ่ นจังหวัดเชียงราย เชียงใหม่ แม่ฮอ่ งสอน ตาก กำาแพงเพชร และลำาปาง และมีส่วนน้อยในจังหวัด เพชรบูรณ์ และพะเยา

การแต่งกายชาวลาหู่ แต่ละกลุ่มจะแต่งกาย

แตกต่างกัน แต่ทุกกลุ่มจะใช้ผ้าแถบเป็นตัวชูโรงให้ สีสัน ลาหู่ ที่อยู่ในไทยมากที่สุดคือ “ลาหูญ ่ ”ิ หรือ “ลาหูแ่ ดง” ซึ่งผู้หญิงจะสวมเสื้อผ่าอก แขนยาว ตัว สั้น ตัวเสื้อแต่งด้วยแถบแดงตลอดสาบ และชายเสื้อ รวมทั้งที่ต้นแขนด้วย และมีกระดุมเงินทรงกลม หรือ สี่เหลี่ยมยึดปิดตัวเสื้อไว้ โดยจะสวมกับผ้าซิ่นพื้นแดง ทอสลับริ้วหลายสี ส่วนผู้ชายจะสวมเสื้อสีดำาแขนยาว บางที่มีปักประดับตามริมสาบเสื้อ กับกางเกงขาก๊วย สวมรัดน่องและเวลามีงานทัง้ หญิงและชาย ก็จะใส่เสือ้ ประดับแพรวพราวด้วยกระดุมเงินหรือเหรียญเงิน สำ า หรั บ เครื่ องประดั บ นั้นนิย มสวมกำา ไลคอ กำา ไล แผ่นกว้าง

หรือ มูเซอ “ลาหู่ หรือ มูเซอ ฝกใฝในพระเจ้า และสิ่งศักดิ์สิทธิ์ทั้งปวง เปนผู้ชำานาญ การล่าสัตว์ และเปนนักรบ ที่มีความสามารถ”

อุทยานการเรียนรู้ ๕๐ ปี โครงการพระธรรมจาริก เฉลิมพระเกียรติ

ลาหู

65


ฐานข้อมูลอาศรมพระธรรมจาริกที่ตั้งอยู่ในกลุ่มชาติพันธุ์มูเซอ

อุทยานการเรียนรู้ ๕๐ ปี โครงการพระธรรมจาริก เฉลิมพระเกียรติ

66

ที่

บ้าน

ตำาบล

อำาเภอ

จังหวัด

มูเซอปากทาง

อมก๋อย

อมก๋อย

เชียงใหม่

โป่งจ๊อก

แม่ทะลบ

ไชยปราการ

เชียงใหม่

ห้วยป่ากล้วย

แม่นาวาง

แม่อาย

เชียงใหม่

ห้วยโป่งพัฒนา

แม่ทะลบ

ไชยปราการ

เชียงใหม่

ใหม่ห้วยใคร้

เปียงหลวง

เวียงแหง

เชียงใหม่

กิ่วหลวง

กึ๊ดช้าง

แม่แตง

เชียงใหม่

รวม ๖ พืน้ ที่


หรือลีซอ

“ลีซู” ส่วนมากจะอาศัยอยู่ใน

จังหวัดเชียงใหม่ เชียงราย แม่ฮอ่ งสอน และตาก นอกจากนี้ยังกระจัดกระจาย อยูใ่ นเขตจังหวัด เพชรบูรณ์ กำาแพงเพชร พะเยา ลำาปาง สุโขทัย และแพร่

การแต่งกาย เป็นชาวเขาอีกเผ่าทีใ่ นยามเทศกาลจะแต่ง

ตัวสวยงามตัง้ แต่ศรี ษะจรดปลายเท้า เครือ่ งแต่งกายผูห้ ญิงเป็น เสือ้ ตัวยาวตัง้ แต่สว่ นบ่า และต้นแขนของเสือ้ จะใช้ผา้ แถบเล็กๆ ซ้อนทับสลับสีไล่กันไปถึงรอบคอ มีผ้าพันเอวที่ตกแต่งด้วยพู่ หางม้ามีไส้ไก่เป็นพวงนับร้อยเส้น ห้อยสยายลงมาจากรัดเอว ทางด้านหลังรวมทั้งประดับเครื่องเงินประดาที่มีแต่งทับสลับ ซับซ้อนเป็นแผงเต็มอกโดยจะนุง่ กับกางเกงขาก๊วยสีดาำ รัดน่อง และเวลาแต่งเต็มยศก็จะมีเสือ้ กัก๊ กำามะหยีด่ าำ ปักดุมเงินทัง้ ด้าน หน้าและด้านหลัง มีผา้ โพกศีรษะตกแต่งด้วยเส้นไหมพรมและ ลูกปัดด้วย ส่วนชุดของชายหนุ่ม ประกอบด้วยกางเกงเป้าตำ่า สีฟ้าอมเขียว สวมกับเสื้อแขนยาวตัวสั้นสาบเฉียง มักตกแต่ง ด้วยดุมเงิน ในยามที่มีงานใหญ่ก็มักจะคาดเอวห้อยพู่หางม้า คล้ายผู้หญิงแต่จะห้อยไว้ด้านหน้า เดิมทีผู้ชายจะสวมผ้าโพก ศีรษะทำาด้วยผ้าไหมสีแดง ฟ้า เหลือง และดำา แต่ปัจจุบัน หายากแล้ว เห็นใช้กันแต่ผ้าขนหนูขาวสอดกระดาษแข็งให้ ตั้งขึ้นแล้วพันรอบศีรษะง่ายๆ สำาหรับเครื่องประดับจะเป็น สร้อยเงินแผ่อยู่เต็มอกและสวมกำาไรทั้งสองมือ

อุทยานการเรียนรู้ ๕๐ ปี โครงการพระธรรมจาริก เฉลิมพระเกียรติ

“ลีซู หรือ ลีซอ ให้ความสำาคัญกับ สถานภาพที่เสมอภาค ถือว่าทุกคน หัวเข่าเท่ากัน คือทุกคนมี ความเท่าเทียมกัน”

ลีซู

67


อุทยานการเรียนรู้ ๕๐ ปี โครงการพระธรรมจาริก เฉลิมพระเกียรติ

68

ฐานข้อมูลอาศรมพระธรรมจาริกที่ตั้งอยู่ในกลุ่มชาติพันธุ์ลีซอ ที่

บ้าน

ตำาบล

อำาเภอ

จังหวัด

แปกแซม

เปียงหลวง

เวียงแหง

เชียงใหม่

เลาวู

เมืองแหง

เวียงแหง

เชียงใหม่

ดอยมูเซอ

แม่ท้อ

เมือง

ตาก

ต้นลุง

บ้านช้าง

แม่แตง

เชียงใหม่

รวม ๔ พืน้ ที่


เดิมที “อาข่า” ตั้งรกรากอยู่เหนือแม่นำ้ากกใน จังหวัดเชียงรายเท่านั้น แต่ปัจจุบันอาข่าอาศัยอยู่ใน หลายจังหวัด เช่น เชียงราย เชียงใหม่ ตาก ลำาปาง และ แพร่

การแต่งกาย เมือ่ สาวอาข่าแต่งกายครบ เครื่องจะสวยน่าตะลึงตะลานตั้งแต่ศีรษะจรด เท้า เครือ่ งแต่งกายของหญิงอาข่าประกอบด้วย หมวกที่ ป ระดั บ ตกแต่ ง เต็ ม ที่ ด ้ ว ยเหรี ย ญและ เครื่องเงิน เสื้อตัวสั้นที่ปะด้วยผ้าเศษชิ้นเล็กชิ้น น้อยหลากสีที่ด้านหลัง ซึ่งสวมคลุมทับกระโปรง สั้นเหนือเข่า มีผ้าคาดเอวซึ่งแต่งกายชายงดงาม และรั ด น่ อ งที่ ป ะและตั ด แต่ ง ลวดลายสวยงาม คล้ายด้านหลังเสื้อ

“อาข่าหรืออีก้อ รักความสนุกสนาน เชื่อมั่น ในบรรพบุรุษ ยึดมั่น ในจารีตประเพณี”

อุทยานการเรียนรู้ ๕๐ ปี โครงการพระธรรมจาริก เฉลิมพระเกียรติ

อาขา หรือ อีกอ

69


อุทยานการเรียนรู้ ๕๐ ปี โครงการพระธรรมจาริก เฉลิมพระเกียรติ

70

ส่วนผู้ชายอาข่าจะสวมเสื้อคอกลมแขนยาว ผ่าหน้า ซึง่ มีรายละเอียดของแบบและการประดับ ประดาหลากหลาย ใช้ลวดลายสีสันเช่นเดียวกับ เสื้อสตรี ส่วนกางเกงขาก๊วยไม่มีการตกแต่ง ใน บางโอกาสจะใช้ ผ ้ า โพกศี ร ษะสี ดำ า พั น อย่ า ง เรี ย บร้ อ ยหนาแน่ น จนถอดและสวมได้ ค ล้ า ย หมวก เครื่ อ งประดั บ นั้ น ส่ ว นใหญ่ จ ะถู ก เย็ บ ติดกับเสื้อผ้า แต่ก็ยังนิยมเครื่องเงินเป็นกำาไล เครื่องเงินเป็นกำาไลคอและข้อมือ รวมทั้งนิยม ประดับหมวกด้วยเครื่องเงิน

ฐานข้อมูลอาศรมพระธรรมจาริกที่ตั้งอยู่ในกลุ่มชาติพันธุ์อาข่า ที่

บ้าน

ตำาบล

อำาเภอ

จังหวัด

๑ ๒ ๓ ๔

แสนเจริญเก่า อาเข่อ (แม่น้ำาขุ่น) ห้วยขี้เหล็กเก่า ผาแดงหลวง

วาวี ท่าก๊อ วาวี วาวี

แม่สรวย แม่สรวย แม่สรวย แม่สรวย

เชียงราย เชียงราย เชียงราย เชียงราย

รวม ๔ พืน้ ที่


(http://www.baanjomyut.com/library/hill_tribes/yao.html)

“เย้ า ” เป็ น ชาวเขาเผ่ า หนึ่ ง ที่ มี จำ า นวนมาก และ

กระจัดกระจายกันทั่วไป เย้าเป็นพวกรักสะอาด ชอบ อาบนำา้ นิยมเลีย้ งหมู ม้า และปลูกข้าว มีประเพณีงาน ไหว้ผีนานๆ ครั้ง โดยจะมีงาน ๕ วัน ๕ คืน เย้า ไม่ชอบสร้างบ้านใหม่ ถ้าลูกหลานมีครอบครัวก็ จะต่อบ้านให้ยาวออกไป อยู่รวมกันกับพ่อแม่ปู่ย่า ตายาย บางบ้านอยูก่ นั ถึง ๑๒ ครอบครัว มีลกู หลาน เต็มบ้าน บ้านใหญ่ๆ เวลามีงานไหว้บรรพบุรษุ ทีหนึง่ จะฆ่าหมูและไก่คราวละมากๆ และการฆ่าสัตว์เหล่า นีต้ อ้ งทำาต่อหน้าหมอผี ในบริเวณพิธ ี แล้วก็จะมีการ ลุยไฟ คือโปรยถ่านแดงๆ ตามร่างกาย เย้าเรียก พิธีนี้ว่า อาบนำ้า (แท้จริงอาบไฟ) ซึ่งจะกระทำากัน ในวันสุดท้ายของงาน จากนั้นจะเป็นพิธีเสือกินไก่

อุทยานการเรียนรู้ ๕๐ ปี โครงการพระธรรมจาริก เฉลิมพระเกียรติ

“เมี่ยน หรือเย้า เปนชนชาติ ที่รักหน้าที่และ ศักดิ์ศรีเหนือชีวิต แต่ถ้า มีเรื่องขัดแย้งเกิดขึ้น ก็หาทางเจรจา เพื่อตกลงกัน อย่างสันติ”

เยา หรือเมี่ยน

71


อุทยานการเรียนรู้ ๕๐ ปี โครงการพระธรรมจาริก เฉลิมพระเกียรติ

7๒

คือพวกที่ลุยไฟจะคลานไปเลียกิน เนื้อสดคลุก ข้าวสารในกระด้ง ดื่มนำ้าในอ่าง แล้วกัดคอไก่ เป็นๆ ๔ ตัว จนไก่ตายหมด ในการกินเลีย้ งผูช้ าย จะนั่งในวงอาหาร ผู้หญิงเย้าไม่ได้รับอนุญาตให้ มาร่วมด้วยแต่จะคอยรินเหล้าให้ ชายหญิงชาวเย้ามีรูปร่างหน้าตาเหมือน ชาวจี น มากกว่ า ชาวเขาเผ่า อื่น ผู้หญิง เย้า นุ่ง กางเกงทรงกว้างๆ คล้ายกระโปรง ชาวเขาเผ่านี้ มีรกรากอยู่ที่ไกวเจา แล้วอพยพมาอยู่ในกวางสี ในจีนใต้ แล้วเรื่อยมาที่ยูนนานตอนใต้ ตังเกี๋ย ลาว และมาสู่ดินแดนไทยตามลำาดับ เย้าตั้งถิ่นฐานอยู่ที่ใดแล้ว มักจะอยู่นาน นับสิบปี โดยมากจะไม่คิดย้ายไปที่อื่น เย้ามี ความสามารถพอตัว คือ พูดไทยได้ พูดคำาเมือง ได้ และรวมถึงภาษาแม้ว อีก้อ ลีซอ มูเซอ ก็พูด ได้ หัวหน้าหมู่บ้านเรียกว่า แก่บ้าน ก่อนนี้อาชีพของเย้าคือ การปลูกฝิน เดี๋ยวนี้ เลิกแล้ว จึงปลูกข้าว ข้าวโพดแทน และเลี้ยงสัตว์ เช่น หมู ไก่ ม้า วัว ควาย เย้ายังค้าขายเก่งอีกด้วย นอกจากนีแ้ ล้วยังมีฝมี อื ในการทำาจอบ ขวาน มีด ปนแก็ป และสามารถทำาเครื่องเงินได้สวยงาม อีกด้วย เย้าไม่มีการร้องรำาทำาเพลง ดีดสีตีเป่า ในงานรื่นเริง เช่น งานปีใหม่ จึงมีแต่กินเลี้ยง แต่งตัวสวยๆ และจุดประทัดเท่านั้น

การแต่ ง กาย หญิ ง เย้ า ชอบสวมเสื้ อ คอแหลม มีปุยแดงสดเป็นแถบแคบๆ รอบคอ และยาวถึงเอว บางคนมีแถบแค่คอเสื้อ หรือแค่ อก โพกศีรษะด้วยผ้าดำาหรือสีนำ้าเงิน มีลวดลาย สลับสวยงาม ผู้ชายชาวเย้าสวมกางเกงดำา เสื้อ ผ่าอกสีนำ้าเงินแก่ ป้ายข้างๆ เหมือนเสื้อจีน ตาม

แนวผ่าลงมามีลวดลายเป็นแถบแคบๆ บางคน ติดกระดุมเงินก็มี ผู้หญิงเย้าเหมือนผู้หญิงเผ่า อื่นๆ คือแต่งกายด้วยเสื้อผ้าประจำาเผ่าของตน ส่วนผู้ชายแต่งอย่างชาวเมืองแล้ว

การเกีย้ วหญิงสาวของชายชาวเย้า คือ จะนัดไปคุยนอกบ้าน ถ้าพอใจก็จะชวนเข้าไป หลับนอนในบ้าน ไม่นยิ มพากันเข้าไปในป่าอย่าง เผ่าอื่นๆ และก็เป็นธรรมเนียมที่สาวเย้าจะมี ที่นอนสองที่ สำาหรับตัวเองกับสำาหรับหนุ่ม ถ้า เกิดมีท้องขึ้นจะถือว่าดีได้เด็กมาอีกคน ดังนั้น ถ้าผู้ชายจะไม่มาสู่ขอก็ไม่ถือว่าเป็นเรื่องน่าอาย แต่จะต้องเสียค่าปรับเล็กๆ น้อยๆ ให้ฝ่ายหญิง


ฐานข้อมูลอาศรมพระธรรมจาริกที่ตั้งอยู่ในกลุ่มชาติพันธุ์เย้า บ้าน

ตำาบล

อำาเภอ

จังหวัด

๑ ๒ ๓ ๔ ๕

บ่อสี่เหลี่ยม กิ่วต่ำา (สามเหลี่ยม) ห้วยหก น้ำาต้ม ร่วมจิต ปางค่าใต้ (ภูลงกานุสรณ์) ป่าไร่หลวง ขุนแม่บง ธรรมจาริก(หนองแว่น) ผาลั้ง คลองมะนาว ห้วยชมพู วังใหม่

ปงเตา ปงเตา บ้านอ้อน ผาช้างน้อย หนองหล่ม

งาว งาว งาว ปง ดอกคำาใต้

ลำาปาง ลำาปาง ลำาปาง พะเยา พะเยา

ผาช้างน้อย

ปง

พะเยา

บ้านแซว โชคชัย แม่จัน ห้วยชมพู คลองมะนาว ห้วยชมพู ร่องเคาะ

เชียงแสน ดอยหลวง แม่จัน เมือง คลองลาน เมือง วังเหนือ

เชียงราย เชียงราย เชียงราย เชียงราย กำาแพงเพชร เชียงราย ลำาปาง

๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ๑๑ ๑๒ ๑๓

รวม ๑๓ พืน้ ที่

อุทยานการเรียนรู้ ๕๐ ปี โครงการพระธรรมจาริก เฉลิมพระเกียรติ

ที่

73


อุทยานการเรียนรู้ ๕๐ ปี โครงการพระธรรมจาริก เฉลิมพระเกียรติ

74

“ชาวลัวะจะอยู่อาศัย ทั้งในที่สูงมากๆ และ บริเวณหุบเขาที่ราบลุ่ม นอกจากนี้ชาวลัวะยัง ทำาการเพาะปลูกข้าว นาดำาและทำาไร่ แบบหมุนเวียน”

ลัวะ

หรือละวา

ลัวะหรือละว้า เป็นชนชาติดั้งเดิมที่อยู่ อาศัยตามบริเวณลุ่มแม่นำ้าสาละวินและแม่นำ้าโขง มี อยู่กระจัดกระจายในตอนใต้ของจีน พม่า ลาว และ ตอนเหนือของไทย เชื่อว่าเป็นชนชาติที่เป็นเจ้าของ ดินแดนลุ่มแม่นำ้าปิง ก่อนที่ชนชาติไทยจะเข้ามา ครอบครองในเวลาต่อมา นักมานุษยวิทยาได้จัด ชาวลั ว ะอยู ่ ก ลุ ่ ม ภาษามอญ-เขมร อย่ า งไรก็ ต าม ชาวลั ว ะส่ ว นใหญ่ ใ นปั จ จุ บั น ได้ ผ สมกลมกลื น กั บ ชาวไทยจนยากที่จะสามารถแบ่งได้ชัดเจน ที่ยังเหลือ อยู่ที่พอสังเกตได้ เฉพาะในเขตจังหวัดเชียงใหม่และ แม่ฮอ่ งสอน ชาวลัวะจะอยูอ่ าศัยทัง้ ในทีส่ งู มากๆ และ บริเวณหุบเขาที่ราบลุ่ม นอกจากนี้ชาวลัวะยังทำาการ เพาะปลูกข้าวนาดำาและทำาไร่แบบหมุนเวียนเหมือน กับชาวกะเหรี่ยง


ระบบครอบครัวของชาวลัวะเป็นแบบครอบครัวเดี่ยวถือระบบผัว-เมียเดียวและยึดถือ การสืบสายเลือดทางฝ่ายชายแบบไม่เคร่งครัดนัก มีลัทธิความเชื่อบูชาผีและบรรพบุรุษผสมผสาน ไปกับศาสนาพุทธ จากการรวบรวมข้อมูลในปี ๒๕๕๔ พบว่ามีกลุม่ ชาติพนั ธุเ์ ผ่าลัวะอาศัยอยูใ่ นพืน้ ที ่ ๘ จังหวัด จำานวน ๖๙ หมู่บ้าน/กลุ่มบ้าน ๔,๓๖๑ หลังคาเรือน ๕,๐๙๘ ครอบครัว ประชากรรวม ๒๒,๒๖๐ คน แยกเป็นชายจำานวน ๗,๔๕๔ คน หญิงจำานวน ๗,๕๕๓ คน เด็กชายจำานวน ๓,๕๓๖ คน และเด็กหญิง จำานวน ๓,๗๑๗ คน โดยพบมากที่สุดที่จังหวัดเชียงใหม่ รองลงมาเป็นเชียงราย และแม่ฮ่องสอน

ฐานข้อมูลอาศรมพระธรรมจาริกที่ตั้งอยู่ในกลุ่มชาติพันธุ์ลัวะ ที่

บ้าน

ตำาบล

อำาเภอ

จังหวัด

๑ ๒ ๓ ๔ ๕

วาวี วังใหม่ หมันขาว ละอูบ วังใหม่

วาวี ร่องเคาะ กกสะทอน ห้วยห้อม ร่องเคาะ

แม่สรวย วังเหนือ ด่านซ้าย แม่ลาน้อย วังเหนือ

เชียงราย ลำาปาง ลำาปาง แม่ฮ่องสอน ลำาปาง

รวม ๕ พืน้ ที่

อุทยานการเรียนรู้ ๕๐ ปี โครงการพระธรรมจาริก เฉลิมพระเกียรติ

75


ถิ่น

อุทยานการเรียนรู้ ๕๐ ปี โครงการพระธรรมจาริก เฉลิมพระเกียรติ

76

ถิ่นจะพบอยู่เพียงในพื้นที่จังหวัดน่าน ซึ่ง ตามข้อเท็จจริงแล้วชาวถิ่นก็คือชาวลัวะหรือละว้า และชาวไทยในจังหวัดน่านเรียกชนกลุ่มนี้ว่า ถิ่น หรือเจ้าของถิ่นเดิมนั้นเอง ชาวถิ่นจะอาศัยอยู่ใน เขตป่ า เขาตามบริ เวณชายแดนไทย-ลาว ใน จังหวัดน่าน ชาวถิ่ น หรื อ ลั ว ะเมื อ งน่ า น ก็ มี วิ ถี ชี วิ ต คล้ายคลึงกับชาวลัวะในจังหวัดเชียงใหม่ และ แม่ฮอ่ งสอนเช่นเดียวกัน ในปัจจุบนั ได้มกี ารผสม กลมกลืนกับชาวไทยหรือรับเอาระเบียบวิถชี วี ติ ของชาวไทยไปรวมกัน จนยากที่จะสามารถ แยกแยะความแตกต่างของชนชาวไทยโดย ทั่วไปได้นอกจากการสังเกตดูลักษณะ บ้านเรือนรูปแบบการทำาไร่และภาษาพูด ในหมู่บ้านเท่านั้น จ า ก ก า ร ร ว บ ร ว ม ข ้ อ มู ล ใ น ปี ๒๕๕๔ พบว่ากลุ่มชาติพันธุ์ (เผ่า)

ชาวถิ่นหรือลัวะ เมืองน่าน มีวิถีชีวิต คล้ายคลึงกับชาวลัวะ ในจังหวัดเชียงใหม่ และแม่ฮ่องสอน เช่นเดียวกัน


ฐานข้อมูลอาศรมพระธรรมจาริกที่ตั้งอยู่ในกลุ่มชาติพันธุ์ถิ่น ที่

บ้าน

ตำาบล

อำาเภอ

จังหวัด

น้ำารีพัฒนา

ขุนน่าน

เฉลิมพระเกียรติ

น่าน

เปียงก่อ

ขุนน่าน

เฉลิมพระเกียรติ

น่าน

สะจุก

ขุนน่าน

เฉลิมพระเกียรติ

น่าน

ห้วยฟอง

ขุนน่าน

เฉลิมพระเกียรติ

น่าน

สบปน

ห้วยโก๋น

เฉลิมพระเกียรติ

น่าน

ห้วยพ่าน

เปอ

เชียงกลาง

น่าน

ผาน้ำาย้อย

พญาแก้ว

เชียงกลาง

น่าน

หนองปลา

พระธาตุ

เชียงกลาง

น่าน

ปางก้อ (ปางแฮ่ม)

เชียงกลาง

เชียงกลาง

น่าน

77

อุทยานการเรียนรู้ ๕๐ ปี โครงการพระธรรมจาริก เฉลิมพระเกียรติ

ถิ่น อาศัยอยู่ในพื้นที่ ๔ จังหวัด จำานวน ๑๕๙ หมู่บ้าน/กลุ่มบ้าน ๘,๔๙๖ หลังคาเรือน ๑๐,๔๗๔ ครอบครัว ประชากรรวม ๔๒,๖๕๗ คน แยกเป็นชายจำานวน ๑๕,๕๑๒ คน หญิงจำานวน ๑๔,๙๔๑ คน เด็กชายจำานวน ๖,๐๘๔ และเด็กหญิงจำานวน ๖,๑๒๐ คน โดยพบมากที่สุดที่จังหวัดน่าน รองลงมา เป็นเลย และพะเยาตามลำาดับ


อุทยานการเรียนรู้ ๕๐ ปี โครงการพระธรรมจาริก เฉลิมพระเกียรติ

78

ที่

บ้าน

ตำาบล

อำาเภอ

จังหวัด

๑๐

น้ำาพิ

ทุ่งช้าง

ทุ่งช้าง

น่าน

๑๑

น้ำาหมาว

บ่อเกลือใต้

บ่อเกลือ

น่าน

๑๒

ห้วยลึก

บ่อเกลือเหนือ

บ่อเกลือ

น่าน

๑๓

นากึ๋น

บ่อเกลือเหนือ

บ่อเกลือ

น่าน

๑๔

ห้วยขาบ

บ่อเกลือเหนือ

บ่อเกลือ

น่าน

๑๕

ห่างทางหลวง

ภูฟ้า

บ่อเกลือ

น่าน

๑๖

ผาสุก

ภูฟ้า

บ่อเกลือ

น่าน

๑๗

สบมาง

ภูฟ้า

บ่อเกลือ

น่าน

๑๘

ห้วยหมี

ดงพญา

บ่อเกลือ

น่าน

๑๙

จูน

ป่ากลาง

ปัว

น่าน

๒๐

ป่าไร่

ภูคา

ปัว

น่าน

๒๑

สะกาดใต้

สะกาด

ปัว

น่าน

๒๒

ห้วยมอญ

เรือง

เมือง

น่าน

๒๓

น้ำาว้า

น้ำาพาง

แม่จริม

น่าน

๒๔

ห้วยเลียบ

แม่ขนิง

เวียงสา

น่าน

๒๕

ใหม่ในฝัน

สะเนียน

เวียงสา

น่าน

๒๖

หมันขาว

กกสะทอน

ด่านซ้าย

น่าน

รวม ๒๖ พืน้ ที่


ชาวขมุมีการย้ายถิ่นฐาน และนิยมรับจ้างทำางาน คนเผ่าอื่นๆ อยู่เสมอมา เปนเวลานานทำาให้เกิดการ ผสมกลมกลืนกับชนเผ่าอื่น ขมุ ก็เป็นชนชาติหนึ่งที่อยู่ในกลุ่มภาษา มอญ-เขมร มีถนิ่ ฐานอยูต่ ามบริเวณลุม่ แม่นาำ้ โขง ตลอดชายแดนไทย-ลาว ในภาคเหนื อ ของ ประเทศไทยจะพบชาวขมุได้ในเขตจังหวัดน่าน และเชียงราย เนื่องจากชาวขมุมีการย้ายถิ่นฐานและนิยม การไปรับจ้างคนเผ่าอืน่ ๆ ทำางานอยูเ่ สมอมาเป็น เวลานานทำาให้เกิดการผสมกลมกลืนกับชนเผ่า อืน่ โดยเฉพาะชาวไทยจนในปัจจุบนั จะพบหมูบ่ า้ น ชาวขมุได้นอ้ ยมาก ซึง่ มีวถิ ชี วี ติ ความเป็นอยูค่ ล้าย ชาวไทยมาก นอกจากภาษาและประเพณีพธิ กี รรม บางอย่างที่แตกต่างออกไป

79

อุทยานการเรียนรู้ ๕๐ ปี โครงการพระธรรมจาริก เฉลิมพระเกียรติ

ขมุ


อุทยานการเรียนรู้ ๕๐ ปี โครงการพระธรรมจาริก เฉลิมพระเกียรติ

80

จากการรวบรวมข้อมูลในปี ๒๕๕๔ พบว่ามีกลุ่มชาติพันธุ์ (เผ่า) ขมุ อาศัยอยู่ในพื้นที่ ๕ จังหวัด จำานวน ๓๘ หมู่บ้าน/กลุ่มบ้าน ๒,๒๕๖ หลังคาเรือน ๒,๕๒๓ ครอบครัว ประชากรรวม ๑๐,๕๗๓ คน แยกเป็นชายจำานวน ๓,๙๙๑ คน หญิง จำานวน ๓,๘๗๓ คน เด็กชาย จำานวน ๑,๓๖๖ คน และ เด็กหญิงจำานวน ๑,๓๔๓ คน โดยพบมากที่สุดที่จังหวัดน่าน รองลงมาเป็นเชียงราย และอุทัยธานี ตามลำาดับ

ฐานข้อมูลอาศรมพระธรรมจาริกที่ตั้งอยู่ในกลุ่มชาติพันธุ์ขมุ ที่

บ้าน

ตำาบล

อำาเภอ

จังหวัด

ไทยลื้อ

ห้วยโก๋น

เฉลิมพระเกียรติ

น่าน

ห้วยสะแตง

งอบ

ทุ่งช้าง

น่าน

น้ำาสอดใต้

และ

ทุ่งช้าง

น่าน

ห้วยเลา

ชนแดน

สองแคว

น่าน

เย้า/ม้ง

บ้านแก่ง

ศรีสัชนาลัย

สุโขทัย

รวม ๕ พืน้ ที่


เป็ น พลเมื อ งกลุ่ ม หนึ่ ง ภายใต้ ก ารปกครองของ นครรัฐ แสนหวี หนึ่งในเก้านครรัฐของอาณาจักร ไตมาว ซึง่ เป็นอาณาจักรยิง่ ใหญ่ของชนชาติไต โดย มีศูนย์กลางของอาณาจั กรในขณะนั้นอยู่บริ เวณ เมืองแสนหวีในรัฐฉาน ประเทศพม่า ราวปี ๒๕๒๗ ปรากฏว่าชาวปะหล่องจำานวนประมาณ ๒,๐๐๐ คน อพยพมารวมกั น ที่ ช ายแดนไทย-พม่ า บริ เวณ ดอยอ่างขาง อ.ฝาง จ.เชียงใหม่ ที่หมู่บ้านนอแลซึ่ง เป็นหมู่บ้านใกล้กับพื้นที่รับผิดชอบของโครงการ หลวงดอยอ่างขาง สถานการณ์ครั้งนั้นนำาความ ลำาบากใจมาสู่ เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานในพื้นที่อย่าง ยิง่ เนือ่ งจากกลุม่ ผูอ้ พยพครัง้ นีเ้ ป็นชาวปะหล่องจาก

อุทยานการเรียนรู้ ๕๐ ปี โครงการพระธรรมจาริก เฉลิมพระเกียรติ

ปะหล่อง เป็นชนเผ่าที่อพยพ มาจากพม่าเข้าสู่ไทย เมื่อประมาณปี ๒๕๒๗ เรียกตัวเองว่า “ดาละอั้ง” (Da-ang, ra-ang, ta-ang) คำาว่า ปะหล่องเป็นภาษาไทยใหญ่ ซึ่งใช้ เรี ย กชนกลุ่ ม นี้ นอกจากนั้ น ยั ง มี คำาเรียกที่แตกต่างกันออกไปอีก เช่น ชาวพม่าเรียกปะหล่องว่า “ปะลวง” (Palaung) ไทยใหญ่บางกลุ่มก็ใช้ คำ า ว่ า “คุ ณ ลอย” (Kunloi) ซึ่ ง มี ความหมายว่า คนดอย หรือคนภูเขา แทนคำาว่า “ปะหล่อง” เอกสารทางประวั ติ ศ าสตร์ หลายฉบับกล่าวถึงชนชาวปะหล่องว่า

ปะหลอง

81


อุทยานการเรียนรู้ ๕๐ ปี โครงการพระธรรมจาริก เฉลิมพระเกียรติ

8๒

ดอยลาย อยู่ระหว่างเมืองเชียงตองกับเมืองปันเขตเชียงตุง ฉะนั้นบุคคลเหล่านี้จึงถือเป็นบุคคล ที่อพยพเข้าเมืองโดยผิดกฎหมาย จากการรวบรวมข้อมูลในปี ๒๕๕๔ พบว่าปะหล่อง อาศัยอยู่ในพื้นที่จังหวัดเชียงใหม่ จำานวน ๗ หมู่บ้าน/กลุ่มบ้านจำานวน ๔๕๙ หลังคาเรือน ๕๐๐ ครอบครัว ประชากรรวม ๒,๒๓๔ คน แยกเป็นชายจำานวน ๖๖๓ คน หญิงจำานวน ๗๖๙ คน เด็กชายจำานวน ๔๗๒ คน และเด็กหญิงจำานวน ๔๒๐ คน

ฐานข้อมูลอาศรมพระธรรมจาริกที่ตั้งอยู่ในกลุ่มชาติพันธุ์ปะหล่อง ที่

บ้าน

ตำาบล

อำาเภอ

จังหวัด

ห้วยปง

แม่นะ

เชียงดาว

เชียงใหม่

รวม ๑ พืน้ ที่


“มลาบรี” มีความหมายว่า คนป่า ชาวบ้านทางภาคเหนือเรียก ชื่ อ ชนกลุ ่ ม นี้ ว ่ า ผี ต องเหลื อ ง เพราะชนกลุ ่ ม นี้ มี พ ฤติ ก รรมเร่ ร ่ อ น หรือเสาะหาแหล่งอาหารโดยการล่าสัตว์และเก็บพืชผลตามที่ต่างๆ การสร้างที่พักอาศัยสำาหรับเป็นที่อยู่อาศัยในระหว่างหาอาหาร เมื่อ แหล่งที่อยู่อาศัยนั้นมีอาหารไม่เพียงพอก็จะย้ายไปอยู่ที่อื่น และ ความบังเอิญที่ชาวบ้านในแถบนั้นเคยพบพวกนี้ตั้งแต่เริ่มสร้างที่อยู่ และสังเกตว่าเมื่อใบตองเหลือแห้ง ชนกลุ่มนี้ก็จะย้ายหนีไป ชนกลุ่มนี้ หากเจอกับคนกลุ่มอื่นไม่น่าไว้ใจก็จะหลบหนีทันที ชาวบ้านจึงตั้งชื่อ เขาว่า “ผีตองเหลือง”

มลาบรีหรือผีตองเหลืองจัดอยู่ในกลุ่มชาวมอญเขมร ตามตำานานเรื่องเล่าทำาให้เชื่อว่า มลาบรีหรือ ผีตองเหลือง มีตน้ กำาเนิดอยูบ่ ริเวณต้นแม่นาำ้ โขง จังหวัด ไชยะบุรี (ประเทศลาว) มลาบรีหรือผีตองเหลืองที่พบ ในประเทศไทยนั้น มักจะพบเห็นในสองจังหวัด คือ จังหวัดแพร่ในเขตอำาเภอร้องกวาง และจังหวัดน่าน ใน อำาเภอเวียงสา และอำาเภอสันติสุข จากการรวบรวมข้อมูลในปี ๒๕๕๔ พบว่ามลาบรี หรือตองเหลือง อาศัยอยูใ่ นพืน้ ที ่ ๒ จังหวัด คือ จังหวัด น่าน และแพร่ จำานวน ๒ หมู่บ้าน/กลุ่มบ้าน ๖๓ หลังคาเรือน ๖๓ ครอบครัว ประชากรรวม ๒๘๒ คน แยกเป็นชาย จำานวน ๗๖ คน หญิง จำานวน ๖๘ คน เด็กชายจำานวน ๗๑ คน และเด็กหญิงจำานวน ๖๗ คน

อุทยานการเรียนรู้ ๕๐ ปี โครงการพระธรรมจาริก เฉลิมพระเกียรติ

มลาบรี

83


อุทยานการเรียนรู้ ๕๐ ปี โครงการพระธรรมจาริก เฉลิมพระเกียรติ

84

ตองสู หรือตองซู

ชนเผ่าต่องสู่ นักภาษาศาสตร์ จัดไว้ในกลุ่มเดียวกับชนเผ่า กะเหรี่ยง จัดเป็นสาขาย่อยของเผ่ากะเหรี่ยงกลุ่มหนึ่ง ชนเผ่า ต่องสู่เรียกตนเองว่า ตองสู้ ตองตู หรือปาโอ มีวัฒนธรรมการ แต่งกาย สำาเนียงภาษา ที่มีลักษณะเฉพาะของชนเผ่า จากการรวบรวมข้อมูลในปี ๒๕๕๔ พบว่าตองสู้ อาศัยอยู่ใน พื้นที่จังหวัดแม่ฮ่องสอนและเชียงรายจำานวน ๔ หมู่บ้าน/กลุ่ม บ้าน จำานวน ๔๒ หลังคาเรือน ๔๓ ครอบครัว ประชากรรวม ๒๒๖ คน แยกเป็นชายจำานวน ๙๙ คน หญิงจำานวน ๗๙ คน เด็กชาย จำานวน ๒๔ คน เด็กหญิงจำานวน ๒๔ คน


จีนฮอ ชนกลุ่มจีนฮ่อ เป็นกลุ่มชนเผ่าในจีนผืนแผ่นดิน ใหญ่ในอดีต ภายหลังเกิดการสู้รบในการปฏิวัติปรับ เปลีย่ นระบบการปกครองจากระบบจักรพรรดิ ราชวงศ์ มาเป็นคอมมิวนิสต์ ชนกลุ่มนี้อพยพโดยการนำาของ กลุม่ นายทหารระดับนายพล เข้ามาอาศัยอยูบ่ ริเวณเขต ติ ด ต่ อ ระหว่ า งประเทศไทย-พม่ า บริ เวณจั ง หวั ด เชียงราย เชียงใหม่ และมีบางส่วนอาศัยอยู่ในหมู่บ้าน ชาวเขาเผ่าต่างๆในการอพยพเข้ามาตั้งบ้านเรือนช่วง แรกๆ การขยายระบบการปกครองในระบบคอมมิวนิสต์ ยังมุ่งสู่เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ชนกลุ่มจีนฮ่อ ถือเป็น แนวกันชนในการสกัดลัทธิคอมมิวนิสต์ที่สำาคัญส่วน หนึง่ รัฐบาลไทยได้กาำ หนดเขตทีอ่ ยูอ่ าศัยและกำาหนดวิธี การควบคุมชนกลุม่ นีแ้ ละถือเป็นชนกลุม่ น้อยอพยพเข้า ประเทศลักษณะการลี้ภัยทางการเมือง

อุทยานการเรียนรู้ ๕๐ ปี โครงการพระธรรมจาริก เฉลิมพระเกียรติ

85


อุทยานการเรียนรู้ ๕๐ ปี โครงการพระธรรมจาริก เฉลิมพระเกียรติ

86

จากการรวบรวมข้อมูลในปี ๒๕๕๔ พบว่าชาวจีนฮ่อ อาศัยอยู่ในพื้นที่ ๒ จังหวัด คือ จังหวัด เชียงใหม่ และเชียงรายจ�ำนวน ๕๕ หมูบ่ า้ น/กลุม่ บ้านจ�ำนวน ๓,๗๗๓ หลังคาเรือน ๔,๑๐๙ ครอบครัว ประชากรรวม ๒๖,๓๒๕ คน แยกเป็นชายจ�ำนวน ๙,๐๒๘ คน หญิงจ�ำนวน ๘,๕๕๖ คน เด็กชาย จ�ำนวน ๔,๑๕๓ คนและเด็กหญิงจ�ำนวน ๔,๕๘๘ คน

ฐานข้อมูลอาศรมพระธรรมจาริกที่ตั้งอยู่ในกลุ่มชาติพันธุ์จีนฮ่อ ที่

บ้าน

ตำ�บล

อำ�เภอ

จังหวัด

ป่าไร่หลวง (ห้วยเดื่อ)

บ้านแซว

เชียงแสน

เชียงราย

ธารทอง

ตำ�บลแม่เงิน

เชียงแสน

เชียงราย

ธรรมจาริก

แม่จัน

แม่จัน

เชียงราย

วาวี

แม่สรวย

เชียงราย

โป่งกลางน้ำ� (แม่โมงหลวง) วาวี

วาวี

แม่สรวย

เชียงราย

ห้วยน้ำ�เย็น

วาวี

แม่สรวย

เชียงราย

วังใหม่

ร่องเคาะ

วังเหนือ

ลำ�ปาง

รวม ๗ พืน้ ที่


ชนเผ่าไทยใหญ่ พบได้ทั้งในตอนใต้ของจีน พม่า ลาวและไทย ชนชาติไทยใหญ่เรียกตนเองว่า “ไต” มีการสืบทอดวัฒนธรรม ประเพณีต่อเนื่อง กันมานานในจังหวัดแม่ฮ่องสอน นับได้ว่าชนเผ่า ดั้งเดิมของบริเวณนี้ คือชนเผ่า “ไต” หรือไทยใหญ่ ทีม่ กี ารสืบทอดเชือ้ สายผูป้ กครองต่อเนือ่ งกันมาช่วง หนึ่ง และมีการก่อสร้างเมืองแม่ฮ่องสอนขึ้นมา มี การสืบทอดศิลปวัฒนธรรมของชนเผ่า “ไต”ไว้เป็น เอกลักษณ์ โดยทัว่ ไปในตัวเมืองในปัจจุบนั มีการใช้ ภาษาพูด การแต่งกาย สืบทอดวัฒนธรรมประเพณี ของชนเผ่า “ไต” อยู่อย่างเด่นชัด

อุทยานการเรียนรู้ ๕๐ ปี โครงการพระธรรมจาริก เฉลิมพระเกียรติ

ไทยใหญ

87


อุทยานการเรียนรู้ ๕๐ ปี โครงการพระธรรมจาริก เฉลิมพระเกียรติ

88

จากการรวบรวมข้อมูลในปี ๒๕๕๔ พบว่าไทยใหญ่ อาศัยอยู่ในพื้นที่ ๕ จังหวัด จ�ำนวน ๗๑ หมู่บ้าน/กลุ่มจ�ำนวน ๔,๐๕๙ คน หลังคาเรือน ๔,๖๕๘ ครอบครัว ประชากร ๒๑,๔๑๑ คน แยกเป็น ชายจ�ำนวน ๘,๐๕๗ คน หญิงจ�ำนวน ๘,๕๐๐ คน เด็กชายจ�ำนวน ๒,๔๐๒ คน และเด็กหญิงจ�ำนวน ๒,๔๕๒ คน โดยพบมากที่สุดที่จังหวัดเชียงราย รองลงมาเป็นเชียงใหม่ และแม่ฮ่องสอนตามล�ำดับ รายละเอียดดังแสดงในตารางที่ ๑๗

ฐานข้อมูลอาศรมพระธรรมจาริกที่ตั้งอยู่ในกลุ่มชาติพันธุ์ไทยใหญ่ ที่

บ้าน

ตำ�บล

อำ�เภอ

จังหวัด

๑ ๒ ๓ ๔ ๕

วาวี วาวี วาวี บ้านช้าง แม่งอน

แม่สรวย แม่สรวย แม่สรวย แม่แตง ฝาง

เชียงราย เชียงราย เชียงราย เชียงใหม่ เชียงใหม่

เล่าลี วาวี บ้านห้วยน้ำ�เย็น บ้านต้นลุง บ้านหลวง บ้านแสนคำ�ลือ

ถ้ำ�ลอด

ปางมะผ้า

แม่ฮ่องสอน

๗ ๘

ม้งเก้าหลัง แม่หม้อ

เทิดไทย เทิดไทย

แม่ฟ้าหลวง แม่ฟ้าหลวง

เชียงราย เชียงราย

รวม ๘ พืน้ ที่


ชนเผ่ า ไทยลื้ อ ส่ ว นใหญ่ อ าศั ย อยู ่ แ ถบ สิบสองปันนา มีบางส่วนอาศัยกระจายอยู่ใน บริเวณรัฐฉานของพม่า และทางตอนเหนือโดย เฉพาะในจังหวัดแม่ฮ่องสอน ซึ่งอาจจะถือได้ว่า เป็ น ชนเผ่ า ดั้ ง เดิ ม ของจั ง หวั ด แม่ ฮ ่ อ งสอน เผ่าหนึ่ง มีวัฒนธรรม จารีตประเพณีคล้ายคลึง กับไทยยวนในอาณาจักรล้านนาหลายประการ ชาวไทยลื้อมีภาษาพูด ภาษาเขียนของตนเอง ต้นตอภาษามาจากอักษรมอญโบราณ สังคม ไทยลื้อเป็นสังคมเกษตรกรรม นิยมปลูกบ้าน ใต้ถุนสูง มีประเพณีเล่นนำ้าสงกรานต์ เรียกชื่อ วั น ต่ า งๆ ในเทศกาลสงกรานต์ เ หมื อ นกั บ ชาวล้านนา

อุทยานการเรียนรู้ ๕๐ ปี โครงการพระธรรมจาริก เฉลิมพระเกียรติ

ไทยลื้อ

89


อุทยานการเรียนรู้ ๕๐ ปี โครงการพระธรรมจาริก เฉลิมพระเกียรติ

90

จากการรวบรวมข้อมูลในปี ๒๕๕๔ พบว่า ไทยลือ้ อาศัยอยูใ่ นพืน้ ที ่ ๔ จังหวัดจำานวน ๑๖ หมู่บ้าน/กลุ่มบ้านจำานวน ๕๘๗ หลังคาเรือน ๙๙๘ ครอบครัว ประชากรรวม ๓,๗๘๐ คน แยกเป็นชายจำานวน ๑,๕๒๑ คน หญิงจำานวน ๑,๕๙๙ คน เด็กชายจำานวน ๓๒๘ คน และ เด็กหญิงจำานวน ๓๓๒ คน โดยพบมากที่สุดที่ จังหวัดเชียงราย รองลงมาเป็นน่าน และพะเยา ตามลำาดับ

ฐานข้อมูลอาศรมพระธรรมจาริกที่ตั้งอยู่ในกลุ่มชาติพันธุ์ไทยลื้อ ที่

บ้าน

ตำาบล

อำาเภอ

จังหวัด

๑ ๒ ๓

วาวี ใหม่ไชยธงรัตน์ ห้วยโก๋น

วาวี ห้วยโก๋น ห้วยโก๋น

แม่สรวย เฉลิมพระเกียรติ เฉลิมพระเกียรติ

เชียงราย น่าน น่าน

รวม ๓ พืน้ ที่


หรือปกาเกอญอ “กะเหรี่ ย ง” เป็ น ชาวเขาเผ่ า ที่ ใ หญ่ ที่ สุ ด ใน ประเทศไทย คือมีประชากรมากกว่าร้อยละ ๕๐ ของ ประชากรชาวเขาทั้งหมด กะเหรี่ยงในไทยแบ่งออกได้ ๔ กลุ่ม แต่ที่โดดเด่นมี ๒ กลุ่มคือกะเหรี่ยงสะกอและ กะเหรี่ยงโปว์ ทั้งสองพวกตั้งหมู่บ้านอยู่กระจัดกระจาย อยู ่ ใ นภาคเหนื อ ตั้ ง แต่ จั ง หวั ด เชี ย งราย เชี ย งใหม่ แม่ฮ่องสอน และเรื่อยมาตามชายแดนตะวันตก ร่วม ๑๕ จังหวัด ลงไปจนถึงคอคอดกระ แต่ชาวกะเหรีย่ งโปว์ จะพบมากในจังหวัดแม่ฮ่องสอน ตาก กาญจนบุรี และ อุทัยธานี การแต่งกาย พวกชาวกะเหรีย่ งเป็นนักทอ เพราะ ทอผ้ากันเป็นวัฒนธรรมประจำาเผ่า เสื้อสาวโสดตั้งแต่ เยาว์จนได้เวลาออกเรือนจะเป็นเสือ้ ทรงกระสอบ ผ้าฝ้าย พื้นขาว ทอหรือปักประดับลวดลายให้งดงาม ส่วนหญิง ทีม่ คี รอบครัวแล้วจะสวมเสือ้ และนุง่ ผ้าคนละท่อน ผ้านุง่ และเสื้อมีความสั้นยาว ลวดลาย และสีสันแตกต่างกัน นานารู ป แบบ เช่ น นำาลูกเดือยมาประดับ หรื อ ใช้ ก รรมวิ ธี ท อ ยกดอกหรือยกลาย เป็นต้น กะเหรี่ยง โปว์จะประดับ

“ปกาเกอญอ ชาวเขาที่มีจำานวน ประชากรมากที่สุด เปนคนรักสงบ มีชีวิตเรียบง่าย ยึดมั่นในจารีตประเพณี”

อุทยานการเรียนรู้ ๕๐ ปี โครงการพระธรรมจาริก เฉลิมพระเกียรติ

กะเหรี่ยง

91


อุทยานการเรียนรู้ ๕๐ ปี โครงการพระธรรมจาริก เฉลิมพระเกียรติ

9๒

ประดาตกแต่งมากกว่ากะเหรี่ยงสะกอ สำาหรับ ผู้ชายกะเหรี่ยงนั้นส่วนมากสวมเสื้อตัวยาวถึง สะโพก เสือ้ จะมีการตกแต่งด้วยแถบสี ไม่มกี าร ปักประดับเหมือนผูห้ ญิง นอกจากนีช้ าวกะเหรีย่ ง ทั้งชายและหญิงนิยมใช้สร้อยลูกปัดเป็นเครื่อง ประดับ ไม่นยิ มใช้เครือ่ งเงินชิน้ ใหญ่เหมือนชาว เขาเผ่าอื่น นิยมสวมกำาไลอะลูมิเนียมและทอง เหลือง โดยเฉพาะสาวกะเหรี่ยงโปว์จะสวมกำาไล เกือบทัง้ แขน


ฐานข้อมูลอาศรมพระธรรมจาริกที่ตั้งอยู่ในกลุ่มชาติพันธุ์กะเหรี่ยง บ้าน

ตำ�บล

อำ�เภอ

จังหวัด

๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ๑๑ ๑๒ ๑๓ ๑๔ ๑๕ ๑๖ ๑๗ ๑๘ ๑๙ ๒๐ ๒๑ ๒๒ ๒๓ ๒๔

บ้องตี้ล่าง ล�ำขาแข้ง คลิตี้ล่าง โละโคะ ยางค�ำนุ แม่โมงกะเหรี่ยง โป่งกลางน�้ำ (แม่โมงหลวง) วาวี ห้วยน�้ำเย็น แม่ยางมิ้น ทุ่งโค้ง ห้วยโต้ง ห้วยไร่ ป่าละอู บางกลอย โป่งลึก แม่ตึ้ด ขวัญคีรี แม่ลึงใน ห้วยคัด โป่งน�้ำร้อน แม่เหล็กใน ป่าเลาใต้ ขุนก๋อง

บ้องตี้ เขาโจด ชะแล โกสัมพีนคร ดอยฮาง ท่าก๊อ ท่าก๊อ ท่าก๊อ ท่าก๊อ ท่าก๊อ ดอนศิลา ป่างิ้ว สันสลี ห้วยสัตว์ใหญ่ ห้วยแม่เพรียง ห้วยแม่เพรียง แม่พุง บ้านร้อง บ้านร้อง บ้านอ้อน เสริมกลาง ทาขุมเงิน ทากาศ ทาแม่ลอบ

ไทรโยค ศรีสวัสดิ์ ทองผาภูมิ โกสัมพี โกสัมพี แม่สรวย แม่สรวย แม่สรวย แม่สรวย แม่สรวย เวียงชัย เวียงป่าเป้า เวียงป่าเป้า หัวหิน แก่งกระจาน แก่งกระจาน แก่งกระจาน งาว งาว งาว เสริมงาม แม่ทา แม่ทา แม่ทา

กาญจนบุรี กาญจนบุรี กาญจนบุรี กำ�แพงเพชร กำ�แพงเพชร เชียงราย เชียงราย เชียงราย เชียงราย เชียงราย เชียงราย เชียงราย เชียงราย ประจวบฯ เพชรบุรี เพชรบุรี เพชรบุรี ลำ�ปาง ลำ�ปาง ลำ�ปาง ลำ�ปาง ล�ำพูน ล�ำพูน ล�ำพูน

อุทยานการเรียนรู้ ๕๐ ปี โครงการพระธรรมจาริก เฉลิมพระเกียรติ

ที่

93


อุทยานการเรียนรู้ ๕๐ ปี โครงการพระธรรมจาริก เฉลิมพระเกียรติ

94

ที่

บ้าน

ตำ�บล

อำ�เภอ

จังหวัด

๒๕ ๒๖ ๒๗ ๒๘ ๒๙ ๓๐ ๓๑ ๓๒ ๓๓ ๓๔ ๓๕ ๓๖ ๓๗ ๓๘ ๓๙ ๔๐ ๔๑ ๔๒ ๔๓ ๔๔ ๔๕ ๔๖ ๔๗ ๔๘ ๔๙ ๕๐

ห้วยปิง ห้วยหยวก แม่สาน ป่าผาก ใหม่คลองอังวะ๑ ใหม่คลองอังวะ ๒ ขุนแม่รวม ห้วยเขียดแห้ง ห้วยบะบ้า ห้วยยา แอเอาะ แจ่มน้อย เด่น ห้วยบง ห้วยฮ่อม โป๊กกะโหล้ง แม่แดดน้อย แม่ตะละกลาง แม่ตะละใต้ แม่ตะละเหนือ แม่ผาปู สบแม่แดด ห้วยปู ขุนแม่หยอด ป่ากล้วย แม่ต๊อบเหนือ

ทุ่งหัวช้าง บ้านแก่ง แม่ส�ำ วังยาว แก่นมะกรูด แก่นมะกรูด แจ่มหลวง แจ่มหลวง แจ่มหลวง แจ่มหลวง แจ่มหลวง บ้านจันทร์ บ้านจันทร์ บ้านจันทร์ บ้านจันทร์ แม่แดด แม่แดด แม่แดด แม่แดด แม่แดด แม่แดด แม่แดด แม่แดด แม่ศึก แม่ศึก แม่ศึก

ทุ่งหัวช้าง ศรีสัชนาลัย ศรีสัชนาลัย ด่านช้าง บ้านไร่ บ้านไร่ กัลยาณิวัฒนา กัลยาณิวัฒนา กัลยาณิวัฒนา กัลยาณิวัฒนา กัลยาณิวัฒนา กัลยาณิวัฒนา กัลยาณิวัฒนา กัลยาณิวัฒนา กัลยาณิวัฒนา กัลยาณิวัฒนา กัลยาณิวัฒนา กัลยาณิวัฒนา กัลยาณิวัฒนา กัลยาณิวัฒนา กัลยาณิวัฒนา กัลยาณิวัฒนา กัลยาณิวัฒนา กัลยาณิวัฒนา กัลยาณิวัฒนา กัลยาณิวัฒนา

ล�ำพูน สุโขทัย สุโขทัย สุพรรณบุรี อุทัยธานี อุทัยธานี เชียงใหม่ เชียงใหม่ เชียงใหม่ เชียงใหม่ เชียงใหม่ เชียงใหม่ เชียงใหม่ เชียงใหม่ เชียงใหม่ เชียงใหม่ เชียงใหม่ เชียงใหม่ เชียงใหม่ เชียงใหม่ เชียงใหม่ เชียงใหม่ เชียงใหม่ เชียงใหม่ เชียงใหม่ เชียงใหม่


บ้าน

ตำ�บล

อำ�เภอ

จังหวัด

๕๑ ๕๒ ๕๓ ๕๔ ๕๕ ๕๖ ๕๗ ๕๘ ๕๙ ๖๐ ๖๑ ๖๒ ๖๓ ๖๔ ๖๕ ๖๖ ๖๗ ๖๘ ๖๙ ๗๐ ๗๑ ๗๒ ๗๓ ๗๔ ๗๕ ๗๖

ยอดไผ่ ห้วยขี้เปอะ ขุนแตะ ห้วยส้มป่อย ขุนยะ ห้วยสะแพท หนองบัว แม่สูน แม่สายนาเลา นายางดิน ผาผึ้ง แม่ลอง แม่หลุ โม่งหลวง อมลานใน แม่ยางส้าน แม่แรก โป่งสะแยง แม่มุ แม่แฮเหนือ ห้วยขมิ้นนอก ห้วยขมิ้นใน ผาแตก ทุ่งหลวง แม่เตียน หนองเต่า

แม่ศึก แม่ศึก ดอยแก้ว ดอยแก้ว บ้านหลวง แม่สอย เมืองคอง แม่ปั๋ง โหล่งขอด กองแขก กองแขก กองแขก กองแขก กองแขก กองแขก ท่าผา ท่าผา แม่นาจร แม่นาจร แม่นาจร แม่นาจร แม่นาจร สบเปิง แม่วิน แม่วิน แม่วิน

กัลยาณิวัฒนา กัลยาณิวัฒนา จอมทอง จอมทอง จอมทอง จอมทอง เชียงดาว พร้าว พร้าว แม่แจ่ม แม่แจ่ม แม่แจ่ม แม่แจ่ม แม่แจ่ม แม่แจ่ม แม่แจ่ม แม่แจ่ม แม่แจ่ม แม่แจ่ม แม่แจ่ม แม่แจ่ม แม่แจ่ม แม่แตง แม่วาง แม่วาง แม่วาง

เชียงใหม่ เชียงใหม่ เชียงใหม่ เชียงใหม่ เชียงใหม่ เชียงใหม่ เชียงใหม่ เชียงใหม่ เชียงใหม่ เชียงใหม่ เชียงใหม่ เชียงใหม่ เชียงใหม่ เชียงใหม่ เชียงใหม่ เชียงใหม่ เชียงใหม่ เชียงใหม่ เชียงใหม่ เชียงใหม่ เชียงใหม่ เชียงใหม่ เชียงใหม่ เชียงใหม่ เชียงใหม่ เชียงใหม่

95

อุทยานการเรียนรู้ ๕๐ ปี โครงการพระธรรมจาริก เฉลิมพระเกียรติ

ที่


อุทยานการเรียนรู้ ๕๐ ปี โครงการพระธรรมจาริก เฉลิมพระเกียรติ

96

ที่

บ้าน

ตำ�บล

อำ�เภอ

จังหวัด

๗๗ ๗๘ ๗๙ ๘๐ ๘๑ ๘๒ ๘๓ ๘๔ ๘๕ ๘๖ ๘๗ ๘๘ ๘๙ ๙๐ ๙๑ ๙๒ ๙๓ ๙๔ ๙๕ ๙๖ ๙๗ ๙๘ ๙๙ ๑๐๐ ๑๐๑ ๑๐๒

หนองมณฑา ห้วยข้าวลีบ ห้วยเย็น ห้วยอีค่าง ห้วยบง ห้วยวังหลวง แม่เมืองน้อย นามน แม่แพม แม่หาด แม่ขะปูหลวง แม่โต๋ ขุนสาบ ปางขุม นาเกียน ห้วยปูลิง ขุนอมแฮดใน แม่หลองน้อย ขุนอมแฮดนอก ตุงติง ตุงลอย ผาปูน แม่ต๋อม แม่อ่างขาง สวนป่าภาวนาดอยปุย หนองกระทิง

แม่วิน แม่วิน แม่วิน แม่วิน ทาเหนือ ทาเหนือ แม่นาวาง เมืองแหง เมืองแหง เมืองแหง บ่อแก้ว บ่อแก้ว แม่สาบ ยั้งเมิง นาเกียน ม่อนจอง สบโขง สบโขง สบโขง อมก๋อย อมก๋อย อมก๋อย อมก๋อย อมก๋อย อมก๋อย อมก๋อย

แม่วาง แม่วาง แม่วาง แม่วาง แม่ออน แม่ออน แม่อาย เวียงแหง เวียงแหง เวียงแหง สะเมิง สะเมิง สะเมิง สะเมิง อมก๋อย อมก๋อย อมก๋อย อมก๋อย อมก๋อย อมก๋อย อมก๋อย อมก๋อย อมก๋อย อมก๋อย อมก๋อย อมก๋อย

เชียงใหม่ เชียงใหม่ เชียงใหม่ เชียงใหม่ เชียงใหม่ เชียงใหม่ เชียงใหม่ เชียงใหม่ เชียงใหม่ เชียงใหม่ เชียงใหม่ เชียงใหม่ เชียงใหม่ เชียงใหม่ เชียงใหม่ เชียงใหม่ เชียงใหม่ เชียงใหม่ เชียงใหม่ เชียงใหม่ เชียงใหม่ เชียงใหม่ เชียงใหม่ เชียงใหม่ เชียงใหม่ เชียงใหม่


บ้าน

ตำ�บล

อำ�เภอ

จังหวัด

๑๐๓ ๑๐๔ ๑๐๕ ๑๐๖ ๑๐๗ ๑๐๘ ๑๐๙ ๑๑๐ ๑๑๑ ๑๑๒ ๑๑๓ ๑๑๔ ๑๑๕ ๑๑๖ ๑๑๗ ๑๑๘ ๑๑๙ ๑๒๐ ๑๒๑ ๑๒๒ ๑๒๓ ๑๒๔ ๑๒๕ ๑๒๖ ๑๒๗ ๑๒๘

ดอกแดง แม่อมลอง แปลูโคะ แกลมื้อโจ๊ะ ขุนห้วยแม่ต้าน แดพาทอทะ ตะเพโจ ทุ่งถ�้ำ แม่ต้อคี แม่โพ แม่อู่หู่ ห้วยปูแกง ขุนแม่เหว่ย ปางทอง แม่ลาคี แม่โหล่เด แม่อมกิ แม่ระเมิง เกร๊ะคี เคลอะเดคี เชียงแก้ว เซกลา เซคะปู ต่อปล้าคี ทีมูเกาะทะ ปะหย่อแดทะ

บ่อสลี บ่อสลี ท่าสองยาง แม่ต้าน แม่ต้าน แม่ต้าน แม่ต้าน แม่ต้าน แม่ต้าน แม่ต้าน แม่ต้าน แม่ต้าน แม่วะหลวง แม่วะหลวง แม่วะหลวง แม่วะหลวง แม่วะหลวง แม่สอง แม่สอง แม่สอง แม่สอง แม่สอง แม่สอง แม่สอง แม่สอง แม่สอง

ฮอด ฮอด ท่าสองยาง ท่าสองยาง ท่าสองยาง ท่าสองยาง ท่าสองยาง ท่าสองยาง ท่าสองยาง ท่าสองยาง ท่าสองยาง ท่าสองยาง ท่าสองยาง ท่าสองยาง ท่าสองยาง ท่าสองยาง ท่าสองยาง ท่าสองยาง ท่าสองยาง ท่าสองยาง ท่าสองยาง ท่าสองยาง ท่าสองยาง ท่าสองยาง ท่าสองยาง ท่าสองยาง

เชียงใหม่ เชียงใหม่ ตาก ตาก ตาก ตาก ตาก ตาก ตาก ตาก ตาก ตาก ตาก ตาก ตาก ตาก ตาก ตาก ตาก ตาก ตาก ตาก ตาก ตาก ตาก ตาก

97

อุทยานการเรียนรู้ ๕๐ ปี โครงการพระธรรมจาริก เฉลิมพระเกียรติ

ที่


อุทยานการเรียนรู้ ๕๐ ปี โครงการพระธรรมจาริก เฉลิมพระเกียรติ

98

ที่

บ้าน

ตำ�บล

อำ�เภอ

จังหวัด

๑๒๙ ๑๓๐ ๑๓๑ ๑๓๒ ๑๓๓ ๑๓๔ ๑๓๕ ๑๓๖ ๑๓๗ ๑๓๘ ๑๓๙ ๑๔๐ ๑๔๑ ๑๔๒ ๑๔๓ ๑๔๔ ๑๔๕ ๑๔๖ ๑๔๗ ๑๔๘ ๑๔๙ ๑๕๐ ๑๕๑ ๑๕๒ ๑๕๓ ๑๕๔

ป่าโหย่วีโจ (วะบลอลู่) พอบือละคี แม่โขะ แม่สลิดคี แม่สลิดหลวง วะโด้โกล ห้วยมะโหนก กามาผาโด้ ทีจื้อลอคี ป่าสัก แม่หละยาง ห้วยนกกก ทีบาทะ กะแนคอทะ กะแนจื้อทะ โค๊ะลู่ ดูบลอคี ทีโน๊ะโค๊ะ (ถ�้ำแม่อุสุ) ป่าน้อยปู มอทีทะ แม่อุสุ เรกะติ หนองบัว ห้วยน�้ำเย็น ห้วยปลากอง ห้วยแห้ง

แม่สอง แม่สอง แม่สอง แม่สอง แม่สอง แม่สอง แม่สอง แม่แหละ แม่แหละ แม่แหละ แม่แหละ แม่แหละ แม่อุสุ แม่อุสุ แม่อุสุ แม่อุสุ แม่อุสุ แม่อุสุ แม่อุสุ แม่อุสุ แม่อุสุ แม่อุสุ แม่อุสุ รวมไทยพัฒนา ขะแนจื้อ ขะแนจื้อ

ท่าสองยาง ท่าสองยาง ท่าสองยาง ท่าสองยาง ท่าสองยาง ท่าสองยาง ท่าสองยาง ท่าสองยาง ท่าสองยาง ท่าสองยาง ท่าสองยาง ท่าสองยาง ท่าสองยาง ท่าสองยาง ท่าสองยาง ท่าสองยาง ท่าสองยาง ท่าสองยาง ท่าสองยาง ท่าสองยาง ท่าสองยาง ท่าสองยาง ท่าสองยาง พบพระ แม่ระมาด แม่ระมาด

ตาก ตาก ตาก ตาก ตาก ตาก ตาก ตาก ตาก ตาก ตาก ตาก ตาก ตาก ตาก ตาก ตาก ตาก ตาก ตาก ตาก ตาก ตาก ตาก ตาก ตาก


บ้าน

ตำ�บล

อำ�เภอ

จังหวัด

๑๕๕ ๑๕๖ ๑๕๗ ๑๕๘ ๑๕๙ ๑๖๐ ๑๖๑ ๑๖๒ ๑๖๓ ๑๖๔ ๑๖๕ ๑๖๖ ๑๖๗ ๑๖๘ ๑๖๙ ๑๗๐ ๑๗๑ ๑๗๒ ๑๗๓ ๑๗๔ ๑๗๕ ๑๗๖ ๑๗๗ ๑๗๘ ๑๗๙ ๑๘๐

บ้านแพะ กลูเตอร์โกล กองคอง แสมใหญ่ ป่าหมาก ปูแป้ กล้อทอ ปะละทะ สวนอ้อย ห้วยนา หัวเงา แม่แจ๊ะ แม่หาด ห้วยมะบวบ หว่าโน หัวปอน แม่อูคอหลวง นางิ้ว หัวแม่สุรินทร์ แสนค�ำลือ กึ๊ดสามสิบ ลุกป่าก๊อ ปางตอง ศาลาเมืองน้อย แม่เฮี้ยะ ป่าหมาก

แม่ตื่น สามหมื่น สามหมื่น สามหมื่น พะวอ พะวอ แม่จัน แม่ละมุ้ง แม่เงา แม่เงา แม่เงา แม่ยวมน้อย แม่ยวมน้อย แม่ยวมน้อย แม่ยวมน้อย แม่ยวมน้อย แม่อูคอ แม่อูคอ แม่อูคอ ถ�้ำลอด สบป่อง สบป่อง ทุ่งยาว เวียงเหนือ เวียงเหนือ ห้วยปูลิง

แม่ระมาด แม่ระมาด แม่ระมาด แม่ระมาด แม่สอด แม่สอด อุ้มผาง อุ้มผาง ขุนยวม ขุนยวม ขุนยวม ขุนยวม ขุนยวม ขุนยวม ขุนยวม ขุนยวม ขุนยวม ขุนยวม ขุนยวม ปางมะผ้า ปางมะผ้า ปางมะผ้า ปาย ปาย ปาย เมือง

ตาก ตาก ตาก ตาก ตาก ตาก ตาก ตาก แม่ฮ่องสอน แม่ฮ่องสอน แม่ฮ่องสอน แม่ฮ่องสอน แม่ฮ่องสอน แม่ฮ่องสอน แม่ฮ่องสอน แม่ฮ่องสอน แม่ฮ่องสอน แม่ฮ่องสอน แม่ฮ่องสอน แม่ฮ่องสอน แม่ฮ่องสอน แม่ฮ่องสอน แม่ฮ่องสอน แม่ฮ่องสอน แม่ฮ่องสอน แม่ฮ่องสอน

99

อุทยานการเรียนรู้ ๕๐ ปี โครงการพระธรรมจาริก เฉลิมพระเกียรติ

ที่


อุทยานการเรียนรู้ ๕๐ ปี โครงการพระธรรมจาริก เฉลิมพระเกียรติ

100

ที่

บ้าน

ตำ�บล

อำ�เภอ

จังหวัด

๑๘๑ ๑๘๒ ๑๘๓ ๑๘๔ ๑๘๕ ๑๘๖ ๑๘๗ ๑๘๘ ๑๘๙ ๑๙๐ ๑๙๑ ๑๙๒ ๑๙๓ ๑๙๔ ๑๙๕ ๑๙๖ ๑๙๗ ๑๙๘ ๑๙๙ ๒๐๐ ๒๐๑ ๒๐๒ ๒๐๓

ห้วยปูลิง ข่อบือคี พะนอคี ห้วยผึ้ง แม่แลบ วัดแม่ลาน้อย สามหมอก แม่สะกั๊วะ ดง ปอมีโจ๊ะ ละอูบ ห้วยห้า แม่ต๋อมเหนือ แม่ปุ๋น ห้วยฮากไม้ใต้ แม่กองแป แม่ลิดน้อย โพซอ บุญเลอ เลโค๊ะ ห้วยน�้ำใส ปูทา ห้วยทีชะ

ห้วยปูลิง ห้วยโป่ง ห้วยโป่ง ห้วยผา แม่ลาน้อย แม่ลาน้อย ท่าผาปุ้ม ท่าผาปุ้ม ห้วยห้อม ห้วยห้อม ห้วยห้อม ห้วยห้อม บ้านกาศ ป่าแป๋ ป่าแป๋ แม่นาจาง แม่เหาะ เสาหิน แม่สามแลบ สบเมย สบเมย แม่สามแลบ แม่สามแลบ

เมือง เมือง เมือง เมือง แม่ลาน้อย แม่ลาน้อย แม่ลาน้อย แม่ลาน้อย แม่ลาน้อย แม่ลาน้อย แม่ลาน้อย แม่ลาน้อย แม่สะเรียง แม่สะเรียง แม่สะเรียง แม่สะเรียง แม่สะเรียง แม่สะเรียง สบเมย สบเมย สบเมย สบเมย สบเมย

แม่ฮ่องสอน แม่ฮ่องสอน แม่ฮ่องสอน แม่ฮ่องสอน แม่ฮ่องสอน แม่ฮ่องสอน แม่ฮ่องสอน แม่ฮ่องสอน แม่ฮ่องสอน แม่ฮ่องสอน แม่ฮ่องสอน แม่ฮ่องสอน แม่ฮ่องสอน แม่ฮ่องสอน แม่ฮ่องสอน แม่ฮ่องสอน แม่ฮ่องสอน แม่ฮ่องสอน แม่ฮ่องสอน แม่ฮ่องสอน แม่ฮ่องสอน แม่ฮ่องสอน แม่ฮ่องสอน


ฐานข้อมูลอาศรมพระธรรมจาริกที่ตั้งอยู่ในหลายกลุ่มชาติพันธุ์ บ้าน

ตำ�บล

อำ�เภอ

จังหวัด

เผ่า

ป่ากลาง

ป่ากลาง

ปัว

น่าน

ม้ง, เย้า, ถิ่น

น้ำ�สอด

และ

ทุ่งช้าง

น่าน

ถิ่น, ม้ง

ม้งเก้าหลัง

เทอดไทย

แม่ฟ้าหลวง

เชียงราย

ม้ง, อีก้อ, ไทยใหญ่

แม่หม้อ

เทอดไทย

แม่ฟ้าหลวง

เชียงราย

วาวี

วาวี

แม่สรวย

เชียงราย

ย่านำ�

วาวี

แม่สรวย

เชียงราย

ห้วยชมพู

ห้วยชมพู

เมือง

เชียงราย

ห้วยน้ำ�เย็น

วาวี

แม่สรวย

เชียงราย

ดอยมูเซอ

แม่ท้อ

เมือง

ตาก

ม้ง, ลีซอ, มูเซอ

๑๐

โละโค๊ะ

โกสัมพี

โกสัมพีนคร

กำ�แพงเพชร

กะเหรี่ยง, ม้ง

๑๑

ห้วยปง

แม่นะ

เชียงดาว

เชียงใหม่

ปะหล่อง, มูเซอ

๑๒

วังใหม่

ร่องเคาะ

วังเหนือ

ลำ�ปาง

ลั๊วะ, เย้า, ลีซอ

๑๓

ขุนอ้อนพัฒนา (ห้วยคัด)

บ้านอ้อน

งาว

ลำ�ปาง

กะเหรี่ยง, เย้า

๑๔

ต้นลุง

บ้านช้าง

แม่แตง

เชียงใหม่

๑๕

แม่ขิ

แม่แรม

แม่ริม

เชียงใหม่

รวม ๑๕ พืน้ ที่

จีนฮ่อ, มูเซอ, อีก้อ ทญ, ทล, กร, จฮ, อก, เย้า, พร อีก้อ, พื้นเมือง เย้า, มูเซอ, จีนฮ่อ, อีก้อ

ลีซอ, อีก้อ, พื้นเมือง, ทญ ม้ง, พื้นเมือง

อุทยานการเรียนรู้ ๕๐ ปี โครงการพระธรรมจาริก เฉลิมพระเกียรติ

ที่

101


อุทยานการเรียนรู้ ๕๐ ปี โครงการพระธรรมจาริก เฉลิมพระเกียรติ

10๒

ในปั จ จุ บั น โครงการพระธรรม จาริ ก ได้ จั ด ส่ ง พระธรรมจาริ ก ไป ปฏิบัติศาสนกิจเพื่อ “สร้างสังคม คุ ณ ธรรมในวั ฒ นธรรมที่ ห ลาก หลาย” ครอบคลุมพื้นที่ ๑๓ จังหวัด และระหว่างการพัฒนาให้ครอบคลุม ๒๐ จังหวัด ๑๔ ชาติพันธ์ุ แบ่งเป็น ๑๕ ศูนย์อบรมศีลธรรมฯ อาศรม พระธรรมจาริก ๓๐๔ แห่ง ดังนี้

ที่

๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ๑๑ ๑๒ ๑๓ ๑๔

ชาติพันธุ์

ร้อยละ

กะเหรี่ยง

๕๘.๒๑

ม้ง

๗.๗๘

ถิ่น

๗.๔๙

เย้า

๕.๗๖

มูเซอ

๔.๓๒

อาข่า

๔.๐๓

พื้นราบ

๓.๑๗

ลีซอ

๒.๓๐

จีนฮ่อ

๑.๗๓

ไทยใหญ่

๑.๗๓

ขมุ

๑.๔๔

ลั๊วะ

๑.๔๔

ไทยลื้อ

๐.๒๘

ปะหล่อง

๐.๒๘

ที่

๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ๑๑ ๑๒ ๑๓ ๑๔ ๑๕ ๑๖ ๑๗ ๑๘ ๑๙ ๒๐

จังหวัด

อาศรม พระธรรมจาริก

กาญจนบุรี

กำาแพงเพชร

เชียงราย

๒๔

เชียงใหม่

๑๐๐

ตาก

๖๓

น่าน

๓๓

ประจวบคีรีขันธ์

พะเยา

พิษณุโลก

เพชรบุรี

เพชรบูรณ์

แพร่

แม่ฮ่องสอน

๔๓

ราชบุรี

ลำาปาง

ลำาพูน

เลย

สุโขทัย

สุพรรณบุรี

อุทัยธานี

รวมทั้งสิ้น

๓๐๔


ขอพึงปฏิบัติและข อหาม ยามไปเที่ยวหมูบานชาวเขา ชาวเขาแต ล ะชนเผ า มี ข นบธรรมเนี ย มข อ ห า ม ข อ พึ ง ปฏิ บั ติ ต  า งๆ ที่ แ ตกต า งกั น ไป นักทองเทีย่ วจึงควรศึกษาไวบา งเพือ่ เวลาไปเยือนหมูบ า นพวกเขาจะไดปฏิบตั ติ วั ไดถกู ตองและขางลางนี้ คือขอหามสากลของทุกหมูบาน ๑. หามทิ้งขยะ ๒. หามฆาสัตว ๓. หามตัดตนไม ๔. หามเสพหรือจําหนายยาเสพติด ๕. หามกอไฟ ๖. หามใหของกินแกเด็กๆ เพราะจะทําใหเด็กเสียนิสัยและแยงของกินกันเอง ๗. หามมั่วสุมกับชาวเขา ๘. หามยิงปนในหมูบาน ๙. ห า มทํ า ผิ ด ประเพณี วั ฒ นธรรมถ า กระทํ า ผิ ด ต อ งเสี ย ผี หรื อ ต อ งส ง ดํ า เนิ น คดี ต าม กฎหมาย ๑๐. หามแตะตองหิ้งผีในบาน นอกจากนีย้ งั มีขอ หามของแตละชนเผาอีกเชนเผาอาขาหามแตะตองสิง่ ศักดิส์ ทิ ธิป์ ระจําหมูบ า น เชน ประตูหมูบาน ชิงชาใหญที่ทําพิธี

สําหรับขอปฏิบัติมีงายๆ ๒ ขอคือ

๑. ควรขออนุญาตกอนถายภาพบุคคลหรือสิ่งศักดิ์สิทธิ์และพิธีกรรมตางๆ ๒. ถาตองการใหความชวยเหลือควรใหสงิ่ ทีเ่ ปนประโยชนตอ สวนรวม เชน การบริจาคยาหรือ มอบเงินใหกองทุนหมูบาน มอบอุปกรณการเรียนการสอนใหโรงเรียน


ติดตอรวมบริจาค/และเขารวมกิจกรรม สอบถามรายละเอียดไดที่ • ฝายประชาสัมพันธ หองสารสนเทศพระธรรมจาริก สํานักงานบริหารงานโครงการพระธรรมจาริก สวนภูมภิ าค วัดศรีโสดา พระอารามหลวง ตําบลสุเทพ อําเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม โทรศัพท ๐-๕๓๒๑-๑๙๙๖ และ ๐-๕๓๒๒-๑๓๐๑ หรือโอนผานบัญชีธนาคารไดท่ี กองทุนสนับสนุนงานพระธรรมจาริก ธนาคารกรุงไทย สาขายอยมหาวิทยาลัยเชียงใหม เลขที่ ๔๕๖-๐-๐๘๑๖๓-๘ และ กองทุนสนับสนุนงานพระธรรมจาริก ธนาคารกสิกรไทย มหาวิทยาลัยเชียงใหม เลขที่ ๕๕๗-๒-๐๓๘๐๗-๘ • งานวิชาการ สถาบันชาติพันธุศึกษา สํานักงานบริหารงานโครงการพระธรรมจาริกสวนภูมิภาค วัดศรีโสดา พระอารามหลวง ตําบลสุเทพ อําเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม โทร.๐-๕๓๘๙-๒๔๓๘ โทรสาร ๐-๕๓๒-๒๑๓๑ • สํานักงานพระธรรมจาริกสวนกลางวัดเบญจมบพิตร เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร โทร. ๐-๒๒๘๐-๒๒๗๓ และ ๐-๒๖๒๘-๗๙๔๗ โทรสาร ๐-๒๖๒๘-๗๙๔๗ • สํานักงานประธานคณะพระธรรมจาริกวัดปากนํ้า ภาษีเจริญ กรุงเทพมหานคร โทร. ๐-๒๔๕๗-๙๐๔๒ และ ๐-๒๔๖๗-๐๕๕๐ โทรสาร ๐-๒๘๖๙-๐๔๘๒ • สวนการบริหารโครงการและกิจการพิเศษ กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ แขวงคลองมหานาค เขตปอมปราบศัตรูพาย กรุงเทพมหานคร โทร. ๐-๒๖๕๙-๖๑๓๙

ราม

เบ ญ

จ ม บ พิ ต ร ดุสิต ว น า

ใ ห ม

สำนกั ง

ร ด ิก า

า ส ั ง ค ม แ ล ะ ส วั ส

ต . ส ุเ ท

ิก า ร

าง นกล

ัฒ น

ส ัง ค ม แ ล ะ ส วั ส ด

อ .เ ม ือ ง จ .เช

MI SS I ON

สำนักง าน

นคร

หา

ATI

ON AL

กึ ษา

VOC

ภ า ษ ีเ จ

ก รุ ง เ ท พ ม

วี ะศ

ะกรรมการการอาช คณ

ั ปากนาํ้ วด

ิญ

พัฒ น า

วั ด

กรม

กรม

วดั ศรโี สดา

ระธรรมจารกิ สว านพ

ีย ง

พระธรรมจารกิ

EDUCATION CO

M

สนับสนุนโดย มูลนิธิเผยแพรพระพุทธศาสนาแกชนถิ่นกันดาร ในพระราชูปถัมภสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.