ท�ำวัตร-สวดมนต์ แปล นครธรรมคัมภีร์จามเทวี
จัดพิมพ์เป็ นธรรมทาน ทีร่ ะลึกงานพิธีเปิ ดศาลาเสาหลักศิลาจารึกชัยยะมงคล ณ บริเวณพระเจดีย์ชัยยะมงคล (ดอยกินบ่ เซี่ยง) ต�ำบลศรีบัวบาน อ�ำเภอเมืองล�ำพูน จังหวัดล�ำพูน วันที่ ๓๐ เมษายน พุทธศักราช ๒๕๕๙ หนังสื อ ‘ท�ำวัตรสวดมนต์แปล’ จัดท�ำโดย : นครธรรมคัมภีร์จามเทวี เลขที่ ๒๒๓ หมู่ ๑๑ ต�ำบลศรี บวั บาน อ�ำเภอเมืองล�ำพูน จังหวัดล�ำพูน รหัสไปรษณี ย ์ ๕๑๐๐๐ โทรศัพท์ ๐๘๖-๘๙๖-๙๕๔๕, ๐๘๔-๓๖๙-๗๙๗๔ พิมพ์ครั้งที่ ๑ วันที่ ๑ เมษายน ๒๕๕๙ จ�ำนวนพิมพ์ ๑,๐๐๐ เล่ม รวบรวมเรียบเรียงโดย : ปราณี หาญสุ ขจริ ยา ทีป่ รึกษา : ธัญวลัย ค�ำโมนะ ออกแบบและจัดพิมพ์ ท ี่ : โรงพิมพ์นนั ทพันธ์พริ้ นติ้ง ๓๓/๔-๕ หมู่ที่ ๖ ต�ำบลแม่เหี ยะ อ�ำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ ๕๐๑๐๐ โทรศัพท์ ๐๕๓-๘๐๔๙๐๘-๙ ภาพปกหน้ า : พระแก้วเสตังคมณี พระพุทธรู ปคู่พระบารมีพระนางจามเทวี วัดศรี บุญเรื อง จังหวัดล�ำพูน ภาพปกหลัง : พระพุทธชัยยะมงคล พระประธาน ‘นครธรรมคัมภีร์จามเทวี’
ค�ำน�ำ หนังสื อสวดมนต์ทำ� วัตรแปลเล่มนี้จดั ท�ำขึ้นส�ำหรับพุทธบริ ษทั ผูป้ ฏิบตั ิธรรม ณ นครธรรม คัมภีร์จามเทวี และผูม้ ีจิตศรัทธาทั้งหลาย ศึกษาและปฏิบตั ิตน เพื่อแสวงสุ ขตามหลักแห่งพระธรรม ค�ำสัง่ สอนขององค์พระศาสดาสัมมาสัมพุทธเจ้า การท�ำวัตรสวดมนต์เช้า-เย็นเป็ นกิจส�ำคัญยิง่ ของพุทธบริ ษทั ดังเป็ นที่ทราบกันดีถึงประโยชน์ ของการท�ำวัตรสวดมนต์มีมากมายเหลือคณานับ และจัดว่าเป็ นการปฏิบตั ิธรรม ท่านพุทธทาสภิกขุ เคยบรรยาย ที่สวนโมกข์ เมื่อวันที่ ๒๖ ตุลาคม ๒๕๒๖ ท่านให้ขอ้ คิดในการสวดมนต์ความตอนหนึ่ง ว่า จงพยายามควบคุมสติสัมปชัญญะ ตั้งจิตท�ำให้ มกี ารสวดมนต์ ทดี่ ที สี่ ุ ดเต็มร้ อยเปอร์ เซ็นต์ เลย เหมือนกับว่ าเราพบพระพุทธเจ้ าทั้งเช้ าเย็น อาบรดด้ วยพระคุณของพระพุทธเจ้ าทั้งเช้ าทั้งเย็น และได้ ทำ� สมาธิในเสี ยงของพระธรรม ของพระสงฆ์ ท้งั เช้ าเย็น และก็ได้ สาธยายท่ องจ�ำบทพระธรรม (ทีเ่ ป็ นหลักปฏิบัตติ ่ างๆ และรายละเอียดของพระพุทธคุณ พระธรรมคุณ พระสั งฆคุณ) ทีค่ วรจะ สาธยาย ความหมายแห่ งพระธรรมบทนั้นๆ เจริญขึน้ ในใจของเรา ฝังแน่ นลงไปในใจของเรายิง่ ๆ ขึน้ ไป การท�ำวัตรเช้ าเย็นถ้ าท�ำอย่ างถูกต้ องนี่ มีประโยชน์ มหาศาล ขอให้ ท�ำร้ อยเปอร์ เซ็ นต์ ดีที่สุด ร้ อยเปอร์ เซ็นต์ แล้ วมันจะเปลีย่ นจิตใจของเธอให้ เป็ นคนละคน และมันจะให้ ผลตอบแทนแก่ เธอ คือ มีความสุ ขด้ วย มีความรู้ ยงิ่ ๆ ขึน้ ไปด้ วย สามารถควบคุมจิตใจ มีสติ บังคับกิเลส บังคับอะไรได้ ตลอด ยิง่ ๆ ขึน้ ไป เพียงเท่ านีก้ เ็ ป็ นประโยชน์ มหาศาลที่เธอจะได้ รับจากพระพุทธศาสนาหรือได้ รับจาก ความเป็ นพุทธบริษทั ฉะนั้นจงตั้งจิตให้ ดี ตั้งแต่ ลงมือสวดจนกว่ าจะสวดเสร็จ จงเป็ นสมาธิในเสี ยงทีส่ วดตลอดเวลา อย่ าให้ จติ หนีไปเทีย่ วเสี ยทีอ่ นื่ ตั้งหลายสิ บแห่ งกว่ าจะท�ำวัตรจบ ขออนุ โมทนากับคณะญาติธรรมผูม้ ีจิตศรัทธาเลื่อมใสในพระพุทธศาสนา และศรัทธา ในปฏิปทาธรรมแห่ งพระแม่เจ้าจามเทวี องค์ปฐมกษัตรี ยแ์ ห่ งหริ ภุญไชยนคร ผูห้ ยัง่ รากแก้วแห่ ง พระพุทธศาสนา น�ำพระธรรมค�ำสัง่ สอนมาเผยแผ่ในแผ่นดินล้านนา ขอให้ทุกๆ ท่านที่มีส่วนร่ วม ในการจัดท�ำหนังสื อเล่มนี้ข้ ึนมา ด้วยอานิสงส์แห่งธรรมทานของท่าน จงได้ประสบความส�ำเร็ จมีชยั ชัยยะอันเป็ นมงคลทั้งทางโลกและทางธรรมตลอดไป
นครธรรมคัมภีร์จามเทวี ๓๐ เมษายน ๒๕๕๙
สารบัญ ท�ำวัตรเช้ า บทสวด ค�ำบูชาพระรัตนตรัย ค�ำไหว้พระรัตนตรัย ปุพพภาคนมการ พุทธาภิถุติง
หน้ า ๑ ๒ ๒ ๒
บทสวด ธัมมาภิถุติง สังฆาภิถุติง รตนัตตยัปปณามคาถา สังเวคะปะริ กิตตะนะปาฐะ
หน้า ๓ ๔ ๕ ๖
ท�ำวัตรเย็น ค�ำบูชาพระรัตนตรัย ค�ำไหว้พระรัตนตรัย ปุพพภาคนมการ พุทธานุสสติ พุทธาภิคีติง
๑๐ ๑๐ ๑๑ ๑๑ ๑๑
ธัมมานุสสติ ธัมมาภิคีติง สังฆานุสสติ สังฆาภิคีติ
๑๓ ๑๓ ๑๕ ๑๖
บทสวดพิเศษ เมตตสูตร ว่าด้วยการแผ่เมตตา ั ฑสูตร ว่าด้วยการฝังขุมทรัพย์ นิธิกณ จุลลไชยยปกรณ์ นโมเม ปั จจยวิภงั ควาโร สัพพปั ตติทานคาถา อุททิสสนาธิฏฐานคาถา ปั ตติทานคาถา บทแผ่เมตตา สรณคมนปาฐะ อัฏฐสิ กขาปทปาฐะ (ศีล ๘) ตังขณิ กปั จจเวกขณปาฐะ ธาตุปัจจเวกขณปาฐะ
๑๗ ๑๙ ๒๒ ๒๒ ๒๔ ๒๗ ๒๘ ๓๐ ๓๒ ๓๓ ๓๓ ๓๔ ๓๖
อตีตปั จจเวกขณปาฐะ ปั พพชิตอภิณหปัจจเวกขณปาฐะ มูลเหตุแห่งการบัญญัติพระวินยั สี ลุทเทสปาฐะ ตายนสูตร ทวัตติงสาการปาฐะ อภิณหปัจจเวกขณปาฐะ บทพิจารณาสังขาร ปั จฉิ มพุทโธวาทปาฐะ อัปปมาทธัมมคาถา สังเวคอิธชีวติ คาถา ธัมมปริ ยายะ ภัทเทกรัตตคาถา
๓๘ ๔๐ ๔๑ ๔๑ ๔๒ ๔๓ ๔๔ ๔๕ ๔๖ ๔๖ ๔๗ ๔๗ ๔๙
เขมาเขมสรณทีปิกคาถา อริ ยธนคาถา โอวาทปาฏิโมกขคาถา ติลกั ขณาทิคาถา ภารสุ ตตคาถา ปฐมพุทธภาสิ ตคาถา อสุ ภสูตร สมาธิสูตร อรัญญสูตร พุทธภาษิตส�ำคัญในอานาปานสติสูตร
๕๐ ๕๑ ๕๑ ๕๒ ๕๓ ๕๔ ๕๔ ๕๖ ๕๗ ๕๘
ธัมมปหังสนปาฐะ อิทปั ปัจจยตาในปฏิจจสมุปบาท ธัมมจักกัปปวัตตนสุ ตตปาฐะ อริ ยมรรคมีองค์ ๘ ปราภวสุ ตตปาฐะ อะนุโมทะนารัมภะคาถา กาลทานสุ ตตคาถา วิหารทานคาถา ปั ฏฐนปนคาถา บทสวดแปล สรรเสริ ญพระพุทธคุณ
๖๒ ๖๕ ๖๙ ๗๕ ๘๐ ๘๒ ๘๓ ๘๓ ๘๔ ๘๖
บทขอขมาพระรัตนตรัยและบุคคลทัว่ ไป ค�ำขอขมาพระรัตนตรัย ค�ำขอขมาบุคคลทัว่ ไป
๙๑ ๙๑
ค�ำอธิษฐานจิตก่อนท�ำสมาธิ
๙๑
บทสั กการบูชาสิ่ งศักดิ์สิทธิ์ ค�ำบูชาพระบรมสารี ริกธาตุ ค�ำบูชาพระแก้วขาวเสตังคมณี ค�ำบูชาพระพุทธชัยยะมงคลส�ำเร็ จ ค�ำบูชาหลวงปู่ ทวด วัดช้างไห้
๙๒ ๙๒ ๙๒ ๙๓
ค�ำบูชาหลวงปู่ ดู่ พรหมปัญโญ วัดสะแก ๙๓ ค�ำบูชาหลวงปู่ โต พรหมรังสี ๙๓ ค�ำบูชาพระครู บาศรี วชิ ยั ๙๓ ค�ำบูชาพระนางเจ้าจามเทวี ๙๓
บทสวดพิเศษ ค�ำไหว้บารมี ๓๐ ทัศ (แบบครู บาศรี วชิ ยั ) คาถาพระพุทธเจ้าชนะมาร (พระอาจารย์มนั่ ภูริทตั โต) คาถาพระพุทธเจ้า ๑๖ พระองค์ คาถาโพธิบาท-คาถาป้ องกันภัย ๑๐ ทิศ พระคาถามงคลจักรวาลแปดทิศ บทสวด ถวายพรพระ
๙๔ ๙๕ ๙๕ ๙๕ ๙๗ ๙๗
พุทธชัยมงคลคาถา ๙๘ มหาการุ ณิโก ๙๘ คาถาชินบัญชร ๙๙ โดยสมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พรหมรังสี ) บทสวดมหาจักรพรรดิ ๑๐๐ บทอัญเชิญพระเข้าตัว (แผ่เมตตา) ๑๐๑ อนัตตลักขณสูตร ๑๐๑ อาทิตตปริ ยายสูตร ๑๐๙
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
31
32
33
34
35
36
37
38
39
40
41
42
43
44
45
46
47
48
49
50
51
52
53
54
55
56
57
58
59
60
61
62
63
64
65
66
67
68
69
70
71
72
73
74
75
76
77
78
79
80
81
82
83
84
85
86
87
88
89
90
บทขอขมาพระรัตนตรัยและบุคคลทัว่ ไป ค�ำขอขมาพระรัตนตรัย นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ (๓ จบ) สั พพัง อะปะราธัง ขะมะถะ เม ภันเต อุกาสะ ทวารัตตะเยนะ กะตัง สั พพัง อะปะราธัง ขะมะถะ เม ภันเต อุกาสะ ขะมามิ ภันเต ฯ หากข้าพระพุทธเจ้า ได้เคยประมาทพลาดพลั้งล่วงเกินต่อพระรัตนตรัย อันมีพระพุทธเจ้า ทุก ๆ พระองค์ พระปัจเจกพุทธเจ้าทุก ๆ พระองค์ พระธรรม และพระอริ ยสงฆ์ท้ งั หลาย ในชาติก่อน ก็ดี ชาติน้ ีกด็ ี ด้วยกายก็ดี ด้วยวาจาก็ดี ด้วยใจก็ดี ด้วยเจตนาก็ดี ไม่เจตนาก็ดี ด้วยความรู ้เท่าไม่ถึงการณ์ ก็ดี ขอองค์สมเด็จ-พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทุก ๆ พระองค์ พระปัจเจกพุทธเจ้าทุก ๆ พระองค์ พระธรรม พระอริ ยสงฆ์ท้ งั หลายและผูม้ ีพระคุณทุกท่าน ได้โปรดงดเว้นโทษให้แก่ขา้ พระพุทธเจ้าตั้งแต่บดั นี้ เป็ นต้นไป ตราบเท่าเข้าสู่พระนิพพานด้วยเทอญ ฯ
ค�ำขอขมาบุคคลทัว่ ไป
อายัสสะมันเต ปะมาเทนะ ทวาระตะเย นะกะตัง หากข้าพเจ้าได้เคยประมาทพลาดพลั้งล่วงเกินต่อหน้าก็ดี ลับหลังก็ดี ด้วยเจตนาก็ดี ไม่เจตนา ก็ดี ต่อท่านทั้งหลาย ทั้งที่อยูใ่ นสถานที่แห่ งนี้ และนอกสถานที่แห่ งนี้ ขอท่านทั้งหลายได้โปรด อโหสิ กรรมให้แก่ขา้ พเจ้า และข้าพเจ้ายินดีอโหสิ กรรมให้แก่ท่านทั้งหลายที่เคยล่วงเกินข้าพเจ้าด้วย เช่นกัน ต่อเบื้องพระพักตร์พระพุทธปฏิมานี้ดว้ ยเทอญ สาธุ สาธุ สาธุ
ค�ำอธิษฐานจิตก่ อนท�ำสมาธิ
อิมาหัง ภะคะวา อัตตะภาวัง ตุมหากัง ปะริจจะชามิ ข้าแต่สมเด็จพระผูม้ ีพระภาคเจ้าผูเ้ จริ ญ ข้าพระพุทธเจ้าทั้งหลาย ขอมอบกาย ถวายชีวติ แด่ องค์สมเด็จ พระสัมมาสัมพุทธเจ้า ข้าพระพุทธเจ้าทั้งหลาย ขออาราธนาบารมี พระพุทธเจ้าทุกๆ พระองค์ พระปั จเจกพุทธเจ้า ทุกๆ พระองค์ พระธรรม และพระอริ ยสงฆ์ท้ งั หลาย ครู บาอาจารย์ ทั้งหลายสื บๆ กันมา ขอได้โปรดยกจิตของข้าพเจ้า ขึ้นสู่ภาวะ พระกรรมฐานทั้ง ๔๐ ทัศ พระปิ ติ ทั้ง ๕ และวิปัสสนาญาณทั้ง ๙ ขอพระกรรมฐานทั้ง ๔๐ ทัศ พระปิ ติท้ งั ๕ และวิปัสสนาญาณทั้ง ๙ จงมาบังเกิดปรากฏ ในกายทวาร ในวจีทวาร ในมโนทวาร ของข้าพระพุทธเจ้า ณ กาลบัดเดี๋ยวนี้เถิด 91
บทสั กการบูชาสิ่ งศักดิ์สิทธิ์ ค�ำบูชาพระบรมสารีริกธาตุ นะโมตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ (๓ จบ) อะหัง วันทามิ อิธะ ปะติฏฐิตา พุทธะธาตุโย ตัสสานุภาเวนะ สะทาโสตถี ภะวันตุ เม ข้าพเจ้าขอนมัสการกราบไหว้ พระบรมสารี ริกธาตุ แห่งองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ที่ประดิษฐานอยู่ ณ ที่น้ ี ด้วยอานุภาพแห่งกุศลผลบุญนี้ ขอให้ขา้ พเจ้าประสบแต่ความสุข สวัสดีทกุ เมือ่
ค�ำบูชาพระแก้ วขาวเสตังคมณี เสตัง คะมะณิ สิ ริหริ ภุญชะยะนามะ, พุทธปฏิมงั ภะวะปุริยา, จามเทวียานีตงั , สี เสนะ มัยหัง ปะนะมามิ, สัพพา อะยัง, เสตัง คะมะณิ , สิ ริหริ ภุญชะยะนามะ, พุทธปะฏิมายะ, ปูชานิสงั โส, มัยหัง ทีฆะรัตตัง, อัตถายะ หิ ตายะ สุ ขายะ, สังวัตตะตูติ ฯ ข้าพเจ้าขอเอาเศียรเกล้าของข้าพเจ้า นอบน้อมพระพุทธปฏิมา ทรงพระนามว่า “เสตังคมณี ศรี หริ ภุญชัย” อันพระนางจามเทวีทรง อัญเชิญจากลพบุรี ตลอดกาลทุกเมื่อ ขออานิสงส์แห่งการบูชา พระพุทธปฏิมา ทรงพระนามว่า “เสตังคมณี ศรี หริ ภุญชัย” นี้ จงเป็ นประโยชน์เกื้อกูลเพื่อความสุ ข ความเจริ ญแก่ขา้ พเจ้า สิ้ นกาลทุกเมื่อแลฯ
ค�ำบูชาพระพุทธชัยยะมงคลส� ำเร็จ
พุทธชะยะมังคะละ สิ ทธิกงั นามะ อิมสั มิง จามะเทวี พุทธนะคะระ ธัมเม ปะติฏฐิตา สี เสนะ มัยหัง ปะณะมามิพทุ ธัง อะหัง วันทามิ สัพพะทา สิ ทธิกิจจัง สิ ทธิกมั มัง สิ ทธิลาโภ สิ ทธิธมั โม ภะวะตุ เม นิจจัง ข้าพเจ้าขอน้อมเศี ยรเกล้าของข้าพเจ้า นอบน้อมพระพุทธปฏิ มา ทรงพระนามว่า “พุทธชัยยะมงคลส�ำเร็ จ” อันประดิษฐานอยู่ ณ พุทธนครธรรมพระนางเจ้าจามเทวี แห่งนี้ ข้าพเจ้า ขอวันทาในกาลทุกเมื่อ ขอความส�ำเร็ จแห่ งกิจการ ขอความส�ำเร็ จแห่ งโชคลาภ ขอความส�ำเร็ จ แห่งธรรม จงมีแก่ขา้ พเจ้าเป็ นนิจนิรันดร์ดว้ ยเทอญ 92
ค�ำบูชาหลวงปู่ ทวด วัดช้ างไห้ นะโม โพธิสตั โต อาคันติมายะ อิติภะคะวา (๓ จบ)
ค�ำบูชาหลวงปู่ ดู่ พรหมปัญโญ วัดสะแก นะโม โพธิสตั โต พรหมปั ญโญ (๓ จบ)
ค�ำบูชาหลวงปู่ โต พรหมรังสี โตเสนโต วะระธัมเมนะ โตสัฏฐาเน สิ เว วะเร โตสัง อะกาสิ ชันตูนงั โตสะจิตตัง นะมามิ หัง อิติปิโสภะคะวา ยะมะราชาโน ท้าวเวสสุ วณั โณ มรณังสุ ขงั อะระหังสุ คะโต นะโมพุทธายะ
ค�ำบูชาพระครู บาศรีวชิ ัย อะยัง วุจจะติ สิ ริวชิ ะยะ นามะ มหาเถโร อุตตะมัง สี ลงั นะระ เทเวหิ ปูชิโต โสระโห ปั จจะยาทิมหิ มหาลาภา ภะวันตุ เม อะหัง วันทามิ สัพพะทา อะหัง วันทามิ สิ ระสา อะหัง วันทามิ สัพพะโส สาธุ สาธุ สาธุ อนุโมทามิฯ พระมหาเถระรู ปใดผูม้ ีนามว่า “ศรี วชิ ยั ” ผูม้ ีศีลอันอุดม ผูอ้ นั เหล่านรชนและเหล่าทวยเทพ ทั้งหลายบูชาแล้ว เป็ นผูย้ ง่ิ ใหญ่ตลอดกาลทั้งปวง ด้วยการนอบน้อมนั้น เป็ นปัจจัยของลาภอันใหญ่ จงบังเกิดมีแก่ขา้ พเจ้า ข้าพเจ้าขออภิวาทพระมหาเถระเจ้ารู ปนั้นตลอดกาลทุกเมื่อ ข้าพเจ้าขออภิวาท พระมหาเถระรู ปนั้นด้วยเศียรเกล้า
ค�ำบูชาพระนางเจ้ าจามเทวี ยาเทวี จามะเทวีนามิกา อภิรูปา อะโหสิ ทัสสะนียา ปาสาทิกา พุทธะสาสะเน จะ อภิ ปะสันนา สา อะตีเต เมตตายะ เจวะ ธัมเมนะ จะ หริ ภุญชะยะ ธานียา รัชชังกาเรสิ หะริ ภุญชะยะ นะคะระ วาสิ นงั ปิ มะหันตัง หิ ตะสุ ขงั อุปปาเทสิ อะหัง ปะสันเนนะ เจตะสาตัง วันทามิ สิ ระสา สัพพะทาฯ พระเทวีองค์ใดพระนามว่า “จามเทวี” มีพระรู ปเลอโฉม ทรงเลื่อมใสในพระพุทธศาสนา มาก ในอดีตกาล พระนางฯ ได้ปกครองหริ ภุญไชย ด้วยพระเมตตาและเป็ นธรรม อ�ำนวยประโยชน์ แก่ชาวหริ ภุญไชยอย่างยิง่ ข้าพเจ้ามีจิตเลื่อมใสศรัทธา ขอน้อมเกล้าสักการะพระเทวีองค์น้ นั 93
บทสวดพิเศษ ค�ำไหว้ บารมี ๓๐ ทัศ (แบบครู บาศรีวชิ ัย)
ทานะ ปาระมี สัมปั นโน , ทานะ อุปะปารมี สัมปันโน , ทานะ ปะระมัตถะปารมี สัมปันโน เมตตา ไมตรี กะรุ ณา มุทิตา อุเปกขา ปาระมีสมั ปันโน , อิติปิ โส ภะคะวา สี ละ ปาระมี สัมปั นโน , สี ละ อุปะปารมี สัมปันโน , สี ละ ปะระมัตถะปารมี สัมปันโน เมตตา ไมตรี กะรุ ณา มุทิตา อุเปกขา ปาระมีสมั ปั นโน , อิติปิ โส ภะคะวา เนกขัมมะ ปาระมี สัมปันโน , เนกขัมมะ อุปะปารมี สัมปันโน , เนกขัมมะ ปะระมัตถะปารมี สัมปันโน เมตตา ไมตรี กะรุ ณา มุทิตา อุเปกขา ปาระมีสมั ปันโน , อิติปิ โส ภะคะวา ปัญญา ปาระมี สัมปั นโน , ปั ญญา อุปะปารมี สัมปั นโน , ปัญญา ปะระมัตถะปารมี สัมปันโน เมตตา ไมตรี กะรุ ณา มุทิตา อุเปกขา ปาระมีสมั ปันโน , อิติปิ โส ภะคะวา วิริยะ ปาระมี สัมปั นโน , วิริยะ อุปะปารมี สัมปันโน , วิริยะ ปะระมัตถะปารมี สัมปันโน เมตตา ไมตรี กะรุ ณา มุทิตา อุเปกขา ปาระมีสมั ปันโน , อิติปิ โส ภะคะวา ขันตี ปาระมี สัมปันโน , ขันตี อุปะปารมี สัมปันโน , ขันตี ปะระมัตถะปารมี สัมปันโน เมตตา ไมตรี กะรุ ณา มุทิตา อุเปกขา ปาระมีสมั ปั นโน , อิติปิ โส ภะคะวา สั จจะ ปาระมี สัมปั นโน , สัจจะ อุปะปารมี สัมปันโน , สัจจะ ปะระมัตถะปารมี สัมปันโน เมตตา ไมตรี กะรุ ณา มุทิตา อุเปกขา ปาระมีสมั ปันโน , อิติปิ โส ภะคะวา อะธิฏฐานะ ปาระมี สัมปันโน , อะธิฏฐานะ อุปะปารมี สัมปันโน , อะธิฏฐานะ ปะระมัตถะปารมี สัมปันโน เมตตา ไมตรี กะรุ ณา มุทิตา อุเปกขา ปาระมีสมั ปันโน , อิติปิ โส ภะคะวา เมตตา ปาระมี สัมปั นโน , เมตตา อุปะปารมี สัมปันโน , เมตตา ปะระมัตถะปารมี สัมปันโน เมตตา ไมตรี กะรุ ณา มุทิตา อุเปกขา ปาระมีสมั ปันโน , อิติปิ โส ภะคะวา อุเปกขา ปาระมี สัมปั นโน , อุเปกขา อุปะปารมี สัมปันโน , อุเปกขา ปะระมัตถะปารมี สัมปันโน เมตตา ไมตรี กะรุ ณา มุทิตา อุเปกขา ปาระมีสมั ปันโน , อิติปิ โส ภะคะวา ทะสะ ปาระมี สัมปั นโน , ทะสะ อุปะปารมี สัมปันโน , ทะสะ ปะระมัตถะปารมี สัมปั นโน เมตตา ไมตรี กะรุ ณา มุทิตา อุเปกขา ปาระมีสมั ปันโน , อิติปิ โส ภะคะวา พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ นะมามิหงั . 94
คาถาพระพุทธเจ้ าชนะมาร (พระอาจารย์มนั่ ภูริทตั โต) ปั ญจะมาเร ชิโนนาโถ ปั ตโต สัมโพธิมุตตะมัง จะตุสจั จัง ปะกาเสสิ ธัมมะจักกัง ปะวัตตะยิ เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ เม ชะยะมังคะลังฯ (เป็ นคาถาป้ องกันอันตรายทั้งปวงภาวนาเป็ นประจ�ำ มีพทุ ธานุภาพ ครอบจักรวาล ป้ องกัน มารทั้ง ๕ ที่เป็ นอุปสรรคต่อการปฏิบตั ิธรรม ศักดิ์สิทธิ์ยงิ่ นัก)
คาถาพระพุทธเจ้ า ๑๖ พระองค์
นะ มะ นะ อะ นอ กอ นะ กะ กอ ออ นอ อะ นะ อะ กะ อัง อุมิอะมิ มะหิ สุ ตัง สุ นะ พุทธัง สุ อะ นะ อะ
คาถาโพธิบาท -คาถาป้องกันภัย ๑๐ ทิศ
บูระพารัสมิง พระพุทธะคุณงั , บูระพารัสมิง พระธัมเมตัง, บูระพารัสมิง พระสังฆานัง, ทุกขะโรคะภะยัง วิวญั ชัยเย, สัพพะทุกข์ สัพพะโศก สัพพะโรค สัพพะภัย สัพพะเคราะห์ เสนียดจัญไร วิวญั ชัยเย, สัพพะธะนัง สัพพะลาภัง ภะวันตุ เม, รักขันตุ สุ รักขันตุ. อาคะเนยรัสมิง พระพุทธะคุณงั , หรดีรัสมิง พระธัมเมตัง, อาคะเนยรัสมิง พระสังฆานัง, ทุกขะโรคะภะยัง วิวญั ชัยเย, สัพพะทุกข์ สัพพะโศก สัพพะโรค สัพพะภัย สัพพะเคราะห์ เสนียดจัญไร วิวญั ชัยเย, สัพพะธะนัง สัพพะลาภัง ภะวันตุ เม, รักขันตุ สุ รักขันตุ. ทักษิณรัสมิง พระพุทธะคุณงั , หรดีรัสมิง พระธัมเมตัง, ทักษิณรัสมิง พระสังฆานัง, ทุกขะโรคะภะยัง วิวญั ชัยเย, สัพพะทุกข์ สัพพะโศก สัพพะโรค สัพพะภัย สัพพะเคราะห์ เสนียดจัญไร วิวญั ชัยเย, สัพพะธะนัง สัพพะลาภัง ภะวันตุ เม, รักขันตุ สุ รักขันตุ. หรดีรัสมิง พระพุทธะคุณงั , หรดีรัสมิง พระธัมเมตัง, หรดีรัสมิง พระสังฆานัง, ทุกขะโรคะภะยัง วิวญั ชัยเย, สัพพะทุกข์ สัพพะโศก สัพพะโรค สัพพะภัย สัพพะเคราะห์ เสนียดจัญไร วิวญั ชัยเย, สัพพะธะนัง สัพพะลาภัง ภะวันตุ เม, รักขันตุ สุ รักขันตุ. ปัจจิมรัสมิง พระพุทธะคุณงั , ปัจจิมรัสมิง พระธัมเมตัง, ปั จจิมรัสมิง พระสังฆานัง, ทุกขะโรคะภะยัง วิวญั ชัยเย, สัพพะทุกข์ 95
สัพพะโศก สัพพะโรค สัพพะภัย สัพพะเคราะห์ เสนียดจัญไร วิวญั ชัยเย, สัพพะธะนัง สัพพะลาภัง ภะวันตุ เม, รักขันตุ สุ รักขันตุ. พายัพรัสมิง พระพุทธะคุณงั , พายัพรัสมิง พระธัมเมตัง, พายัพรัสมิง พระสังฆานัง, ทุกขะโรคะภะยัง วิวญั ชัยเย, สัพพะทุกข์ สัพพะโศก สัพพะโรค สัพพะภัย สัพพะเคราะห์ เสนียดจัญไร วิวญั ชัยเย, สัพพะธะนัง สัพพะลาภัง ภะวันตุ เม, รักขันตุ สุ รักขันตุ. อุดรรัสมิง พระพุทธะคุณงั , อุดรรัสมิง พระธัมเมตัง, อุดรรัสมิง พระสังฆานัง, ทุกขะโรคะภะยัง วิวญั ชัยเย สัพพะทุกข์ สัพพะโศก สัพพะโรค สัพพะภัย สัพพะเคราะห์ เสนียดจัญไร วิวญั ชัยเย, สัพพะธะนัง สัพพะลาภัง ภะวันตุ เม, รักขันตุ สุ รักขันตุ. อิสานรัสมิง พระพุทธะคุณงั , อิสาณรัสมิง พระธัมเมตัง, อิสานรัสมิง พระสังฆานัง, ทุกขะโรคะภะยัง วิวญั ชัยเย, สัพพะทุกข์ สัพพะโศก สัพพะโรค สัพพะภัย สัพพะเคราะห์ เสนียดจัญไร วิวญั ชัยเย, สัพพะธะนัง สัพพะลาภัง ภะวันตุ เม, รักขันตุ สุ รักขันตุ. อากาศรัสมิง พระพุทธะคุณงั , อากาศรัสมิง พระธัมเมตัง, อากาศรัสมิง พระสังฆานัง, ทุกขะโรคะภะยัง วิวญั ชัยเย, สัพพะทุกข์ สัพพะโศก สัพพะโรค สัพพะภัย สัพพะเคราะห์ เสนียดจัญไร วิวญั ชัยเย, สัพพะธะนัง สัพพะลาภัง ภะวันตุ เม, รักขันตุ สุ รักขันตุ. ปฐวีรัสมิง พระพุทธะคุณงั , ปฐวีรัสมิง พระธัมเมตัง, ปฐวีรัสมิง พระสังฆานัง, ทุกขะโรคะภะยัง วิวญั ชัยเย, สัพพะทุกข์ สัพพะโศก สัพพะโรค สัพพะภัย สัพพะเคราะห์ เสนียดจัญไร วิวญั ชัยเย, สัพพะธะนัง สัพพะลาภัง ภะวันตุ เม, รักขันตุ สุ รักขันตุ.
96
พระคาถามงคลจักรวาลแปดทิศ อิมสั มิง มงคลจักรวาลทั้งแปดทิศ ประสิ ทธิจงมาเป็ นก�ำแพงแก้วทั้งเจ็ดชั้น มาป้ องกันห้อมล้อมรอบ ครอบทัว่ อะนัตตา ราชะ เสมานา เขตเต สะมันตา สะตะโยชะนะสะตะสะหัสสานิ พุทธะชาละ ปะริ กเขตเต รักขันตุ สุ รักขันตุ อิมสั มิง มงคลจักรวาลทั้งแปดทิศ ประสิ ทธิจงมาเป็ นก�ำแพงแก้วทั้งเจ็ดชั้น มาป้ องกันห้อมล้อมรอบ ครอบทัว่ อะนัตตา ราชะ เสมานา เขตเต สะมันตา สะตะโยชะนะสะตะสะหัสสานิ ธัมมะชาละ ปะริ กเขตเต รักขันตุ สุ รักขันตุ อิมสั มิง มงคลจักรวาลทั้งแปดทิศ ประสิ ทธิจงมาเป็ นก�ำแพงแก้วทั้งเจ็ดชั้น มาป้ องกันห้อมล้อมรอบ ครอบทัว่ อะนัตตา ราชะ เสมานา เขตเต สะมันตา สะตะโยชะนะสะตะสะหัสสานิ ปัจเจกะ พุทธะชาละปะริ กเขตเต รักขันตุ สุ รักขันตุ อิมสั มิง มงคลจักรวาลทั้งแปดทิศ ประสิ ทธิจงมาเป็ นก�ำแพงแก้วทั้งเจ็ดชั้น มาป้ องกันห้อมล้อมรอบ ครอบทัว่ อะนัตตา ราชะ เสมานา เขตเต สะมันตา สะตะโยชะนะสะตะสะหัสสานิ สั งฆะชาละ ปะริ กเขตเต รักขันตุ สุ รักขันตุ
บทสวด ถวายพรพระ
อิติปิโส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ วิชชาจะระณะสัมปั นโน สุ คะโตโลกะวิทู อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ สัตถาเทวะมะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวาติ สวากขาโต ภะคะวาตา ธัมโม สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิ ปัสสิ โก โอปะนะยิโก ปัจจัตตัง เวทิตพั โพ วิญญูหีติ (อ่านว่าวิญญูฮีติ) สุ ปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ยะทิทงั จัตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะปุริสะ ปุคคะลา เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อาหุเนยโย ปาหุเนยโย ทักขิเณยโย อัญชะลีกะระณี โย อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติ
97
พุทธชัยมงคลคาถา ๑. พาหุง สะหัสสะมะภินิมมิตะสาวุธนั ตัง ครี เมขะลัง อุทิตะโฆระสะเสนะมารัง ทานาทิธมั มะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต* ชะยะมังคะลานิ ๒. มาราติเรกะมะภิยชุ ฌิตะสัพพะรัตติง โฆรัมปะนาฬะวะกะมักขะมะถัทธะยักขัง ขันตีสุทนั ตะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต* ชะยะมังคะลานิ ๓. นาฬาคิริง คะชะวะรัง อะติมตั ตะภูตงั ทาวัคคิจกั กะมะสะนีวะ สุ ทารุ ณนั ตัง เมตตัมพุเสกะ วิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต* ชะยะมังคะลานิ ๔. อุกขิตตะขัคคะมะติหตั ถะสุ ทารุ ณนั ตัง ธาวันติโย ชะนะปะถังคุลิมาละวันตัง อิทธีภิสงั ขะตะมะโน ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต* ชะยะมังคะลานิ ๕. กัตตวานะ กัฏฐะมุทะรัง อิวะ คัพภินียา จิญจายะ ทุฏฐะวะจะนัง ชะนะกายะมัชเฌ สันเตนะ โสมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต* ชะยะมังคะลานิ ๖. สัจจัง วิหายะ มะติสจั จะกะวาทะเกตุง วาทาภิโรปิ ตะมะนัง อะติอนั ธะภูตงั ปั ญญาปะทีปะชะลิโต ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต* ชะยะมังคะลานิ ๗. นันโทปะนันทะภุชะคัง วิพธุ งั มะหิ ทธิง ปุตเตนะ เถระภุชะเคนะ ทะมาปะยันโต อิทธูปะเทสะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต* ชะยะมังคะลานิ ๘. ทุคคาหะ ทิฏฐิภุชะเคนะ สุ ทฏั ฐะหัตถัง พรัหมัง วิสุทธิชุติมิทธิพะกาภิธานัง ญาณาคะเทนะ วิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต* ชะยะมังคะลานิ เอตาปิ พุทธะชะยะมังคะละอัฏฐะคาถาโย วาจะโน ทินะทิเน สะระเต มะตันที หิ ตวานะ เนกะวิวธิ านิ จุปัททะวานิ โมกขัง สุ ขงั อะธิคะเมยยะ นะโร สะปั ญโญ
มหาการุณโิ ก
มหาการุ ณิโก นาโถ หิ ตายะ สัพพะปาณิ นงั ปูเรตวา ปาระมี สัพพา ปั ตโต สัมโพธิมุตตะมัง เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ เต ชะยะมังคะลังฯ ชะยันโต โพธิยา มูเล สักยานัง นันทิวฑั ฒะโน เอวัง ตะวัง วิชะโย โหหิ ชะยัสสุ ชะยะมังคะเล อะปะ ราชิตะปั ลลังเก สี เส ปะฐะวิโปกขะเร อะภิเสเก สัพพะ พุทธานัง อัคคัปปั ตโต ปะโมทะติฯ สุ นกั ขัตตัง สุ มงั คะลัง สุ ปะภาตัง สุ หุฏฐิตงั สุ ขะโณ สุ มุหุตโต จะ สุ ยฏิ ฐัง พรัหมะจารี สุ ปะทักขิณงั กายะกัมมัง วาจากัมมัง ปะทักขิณงั ปะทักขิณงั มโนกัมมัง ปะณิ ธี เต ปะทักขิณา ปะทักขิณานิ กัตวานะ ละภันตัดเถ ปะทักขิเณฯ 98
ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุ สัพพะเทวะตา สัพพะพุทธา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต* ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุ สัพพะเทวะตา สัพพะธัมมา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต* ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุ สัพพะเทวะตา สัพพะสังฆา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต* * ถ้าสวดให้คนอื่นใช้คำ� ว่า เต สวดให้ตวั เองใช้คำ� ว่า เม (เต แปลว่าท่าน - เม แปลว่าข้าพเจ้า)
คาถาชินบัญชร โดยสมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต) พรหมรังสี นะโมตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ (๓ จบ) ปุตตะกาโมละเภปุตตัง ธะนะกาโมละเภธะนัง, อัตถิกาเยกายะญายะ, เทวานังปิ ยะตังสุ ตตะวา อิติปิโสภะคะวา ยะมะราชาโน ท้าวเวสสุ วณั โณ มรณังสุ ขงั อะระหังสุ คะโต นะโมพุทธายะ ชะยาสะนากะตา พุทธา เชตวา มารัง สะวาหะนัง จะตุสจั จาสะภัง ระสัง เย ปิ วิงสุ นะราสะภา. ตัณหังกะราทะโย พุทธา สัพเพ ปะติฏฐิตา มัยหัง
อัฏฐะวีสะติ นายะกา มัตถะเกเต มุนิสสะรา.
สี เส ปะติฏฐิโต มัยหัง สังโฆ ปะติฏฐิโต มัยหัง
พุทโธ ธัมโม ทะวิโลจะเน อุเร สัพพะคุณากะโร.
หะทะเย เม อะนุรุทโธ โกณฑัญโญ ปิ ฏฐิภาคัสมิง
สารี ปุตโต จะทักขิเณ โมคคัลลาโน จะ วามะเก.
ทักขิเณ สะวะเน มัยหัง กัสสะโป จะ มะหานาโม
อาสุ ง อานันทะ ราหุโล อุภาสุ ง วามะโสตะเก.
เกสะโต ปิ ฏฐิภาคัสมิง นิสินโน สิ ริสมั ปันโน
สุ ริโย วะ ปะภังกะโร โสภิโต มุนิปุงคะโว
กุมาระกัสสโป เถโร โส มัยหัง วะทะเน นิจจัง
มะเหสี จิตตะ วาทะโก ปะติฏฐาสิ คุณากะโร.
ปุณโณ อังคุลิมาโล จะ เถรา ปัญจะ อิเม ชาตา
อุปาลี นันทะ สี วะลี นะลาเต ติละกา มะมะ. 99
เสสาสี ติ มะหาเถรา เอเตสี ติ มะหาเถรา ชะลันตา สี ละเตเชนะ
วิชิตา ชินะสาวะกา ชิตะวันโต ชิโนระสา อังคะมังเคสุ สัณฐิตา.
ระตะนัง ปุระโต อาสิ ธะชัคคัง ปั จฉะโต อาสิ
ทักขิเณ เมตตะ สุ ตตะกัง วาเม อังคุลิมาละกัง
ขันธะโมระปะริ ตตัญจะ อากาเส ฉะทะนัง อาสิ
อาฏานาฏิยะ สุ ตตะกัง เสสา ปาการะสัณฐิตา
ชินา นานาวะระสังยุตตา วาตะปิ ตตาทะสัญชาตา
สัตตัปปาการะ ลังกะตา พาหิ รัช ฌัตตุปัททะวา.
อะเสสา วินะยัง ยันตุ วะสะโต เม สะกิจเจนะ
อะนันตะชินะ เตชะสา สะทา สัมพุทธะปัญชะเร.
ชินะปัญชะระมัชฌัมหิ สะทา ปาเลนตุ มัง สัพเพ
วิหะรันตัง มะฮี ตะเล เต มะหาปุริสาสะภา.
อิจเจวะมันโต ชินานุภาเวนะ ธัมมานุภาเวนะ สังฆานุภาเวนะ สัทธัมมานุภาวะปาลิโต
สุ คุตโต สุ รักโข ชิตุปัททะโว ชิตาริ สงั โฆ ชิตนั ตะราโย จะรามิ ชินะ ปัญชะเรติ.
บทสวดมหาจักรพรรดิ นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมา สัมพุทธัสสะ (๓ จบ) นะโมพุทธายะ พระพุทธไตรรัตนญาณ มณี นพรัตน์ สี สะหัสสะ สุ ธรรมา พุทโธ ธัมโม สังโฆ ยะธาพุทโมนะ พุทธะบูชา ธัมมะบูชา สังฆะบูชา อัคคีธานัง วะรังคันธัง สี วลี จะ มหาเถรัง อะหังวันทามิ ทูระโต อะหังวันทามิ ธาตุโย อะหังวันทามิ สัพพะโส พุทธะ ธัมมะ สังฆะ ปูเชมิ * สวดตามก�ำลังวัน อาทิตย์ ๖, จันทร์ ๑๕, อังคาร ๘, พุธ ๑๗, พฤหัส ๑๙, ศุกร์ ๒๑, เสาร์ ๑๐ *
100
บทอัญเชิญพระเข้ าตัว (แผ่ เมตตา)
สัพเพพุทธา สัพเพธัมมา สัพเพสังฆา พะลัปปัตตา ปัจเจกานัญ จะยังพลัง อรหันตานัญ จะ เตเชนะ รักขัง พันธามิ สัพพะโส (สวด ๕ จบ) พุทธัง อธิษฐามิ ธัมมัง อธิษฐามิ สังฆัง อธิษฐามิ (ให้อธิษฐานเอา)
อนัตตลักขณสู ตร
(หันทะมะยัง อนัตตะลักขณะสุ ตตะปาฐัง ภะณามะเส) เอวัมเม สุ ตงั อันข้าพเจ้า(คือพระอานนทเถระ) ได้สดับมาแล้วอย่างนี้ เอกัง สะมะยัง ภะคะวา สมัยหนึ่งพระผูม้ ีพระภาคเจ้า พาราณะสิ ยงั วิหะระติ, อิสิปะตะเน มิคะทะเย เสด็จประทับอยูท่ ี่ป่าอิสิปตนมฤคทายวัน ใกล้เมืองพาราณสี ตัตระ โข ภะคะวา ปัญจะวัคคียเย ภิกขู อามันเตสิ ในกาลนั้นแล พระผูม้ ีพระภาคเจ้าตรัสเตือน พระภิกษุปัญจวัคคีย ์ รู ปัง ภิกขะเว อนัตตา ดูก่อนภิกษุท้ งั หลาย รู ป(คือร่ างกายนี้) เป็ นอนัตตา(มิใช่ตวั ตนของเรา) รู ปัญจะ หิทงั ภิกขะเว อัตตา อะภะวิสสะ ดูก่อนภิกษุท้ งั หลาย ก็รูปนี้จกั ได้เป็ นอัตตา(ตัวตนของเรา)แล้ว นะยิทงั รู ปัง อาพาธายะ สั งวัตเตยยะ รู ปนี้กไ็ ม่พึงเป็ นไปเพื่ออาพาธ(ความล�ำบาก) ลัพเภถะ จะ รู เป อนึ่ง บุคคลพึงได้ในรู ปตามใจหวัง เอวัง เม รู ปัง โหตุ เอวัง เม รู ปัง มา อโหสี ติ ว่ารู ปของเราจงเป็ นอย่างนี้เถิด รู ปของเราอย่าได้เป็ นอย่างนั้นเลย ยัสมา จะ โข ภิกขะเว รู ปัง อนัตตา ภิกษุท้ งั หลาย ก็เพราะเหตุที่รูปนั้นเป็ นอนัตตา(มิใช่ตวั ตนของเรา) 101
ตัสมา รู ปัง อาพาธายะ สั งวัตตะติ เพราะเหตุน้ นั รู ปจึงเป็ นไปเพื่ออาพาธ นะจะ ลัพภะติ รู เป อนึ่ง บุคคลย่อมไม่ได้ในรู ปตามใจหวัง เอวัง เม รู ปัง โหตุ เอวัง เม รู ปัง มาอโหสี ติ ว่ารู ปของเรา จงเป็ นอย่างนี้เถิด รู ปของเรา อย่าได้เป็ นอย่างนั้นเลย เวทนา อนัตตา เวทนา(คือความรู ้สึกอารมณ์) เป็ นอนัตตา(มิใช่ตวั ตนของเรา) เวทนา จะ หิทงั ภิกขะเว อัตตา อะภะวิสสะ ดูก่อนภิกษุท้ งั หลาย ก็เวทนานี้จกั ได้เป็ นอัตตา(ตัวตนของเรา)แล้ว นะยิทงั เวทะนา อาพาธายะ สั งวัตเตยยะ เวทนานี้กไ็ ม่พึงเป็ นไปเพื่ออาพาธ(ความล�ำบาก) ลัพเภถะ จะ เวทะนายะ อนึ่ง บุคคลพึงได้ในเวทนาตามใจหวัง เอวัง เม เวทะนา โหตุ เอวัง เม เวทะนา มา อโหสี ติ ว่าเวทนาของเรา จงเป็ นอย่างนี้เถิด เวทนาของเรา อย่าได้เป็ นอย่างนั้นเลย ยัสมา จะ โข ภิกขะเว เวทะนา อนัตตา ภิกษุท้ งั หลาย ก็เพราะเหตุที่เวทนานั้นมิใช่ตวั ตนของเรา ตัสมา เวทนา อาพาธายะ สั งวัตตะติ เพราะเหตุน้ นั เวทนาจึงเป็ นไปเพื่ออาพาธ นะจะ ลัพภะติ เวทะนายะ อนึ่ง บุคคลย่อมไม่ได้ในเวทนาตามใจหวัง เอวัง เม เวทนา โหตุ เอวัง เม เวทะนา มา อโหสี ติ ว่าเวทนาของเรา จงเป็ นอย่างนี้เถิด เวทนาของเรา อย่าได้เป็ นอย่างนั้นเลย สั ญญา อนัตตา สัญญา(คือความจ�ำ) เป็ นอนัตตา(มิใช่ตวั ตนของเรา) สั ญญา จะ หิทงั ภิกขะเว อัตตา อะภะวิสสะ ดูก่อนภิกษุท้ งั หลาย ก็สญ ั ญานี้จกั ได้เป็ นอัตตา(ตัวตนของเรา)แล้ว 102
นะยิทงั สั ญญา อาพาธายะ สั งวัตเตยยะ สัญญานี้กไ็ ม่พึงเป็ นไปเพื่ออาพาธ(ความล�ำบาก) ลัพเภถะ จะ สั ญญายะ อนึ่ง บุคคลพึงได้ในสัญญาตามใจหวัง เอวัง เม สั ญญา โหตุ เอวัง เม สั ญญา มา อโหสี ติ ว่าสัญญาของเรา จงเป็ นอย่างนี้เถิด สัญญาของเรา อย่าได้เป็ นอย่างนั้นเลย ยัสมา จ โข ภิกขะเว สั ญญา อนัตตา ภิกษุท้ งั หลาย ก็เพราะเหตุที่สญ ั ญานั้นมิใช่ตวั ตนของเรา ตัสมา สั ญญา อาพาธายะ สั งวัตตะติ เพราะเหตุน้ นั สัญญาจึงเป็ นไปเพื่ออาพาธ นะจะ ลัพภะติ สั ญญายะ อนึ่ง บุคคลย่อมไม่ได้ในสัญญาตามใจหวัง เอวัง เม สั ญญา โหตุ เอวัง เม สั ญญา มา อโหสี ติ ว่าสัญญาของเรา จงเป็ นอย่างนี้เถิด สัญญาของเรา อย่าได้เป็ นอย่างนั้นเลย สั งขารา อนัตตา สังขารทั้งหลายเป็ นอนัตตา(มิใช่ตวั ตนของเรา) สั งขารา จะ หิทงั ภิกขะเว อัตตา อะภะวิสสั งสุ ดูก่อนภิกษุท้ งั หลาย ก็สงั ขารทั้งหลายนี้จกั ได้เป็ นอัตตา(ตัวตนของเรา)แล้ว นะ ยิทงั สั งขารา อาพาธายะ สั งวัตเตยยุง สังขารทั้งหลายนี้กไ็ ม่พึงเป็ นไปเพื่ออาพาธ ลัพเภถะ จะ สั งขาเรสุ อนึ่ง บุคคลพึงได้ในสังขารทั้งหลายตามใจหวัง เอวัง เม สั งขารา โหนตุ เอวัง เม สั งขาร มา อเหสุ นติ ว่าสังขารทั้งหลายของเรา จงเป็ นอย่างนี้เถิด สังขารทั้งหลายของเราอย่าได้เป็ นอย่างนั้นเลย ยัสมา จะ โข ภิกขะเว สั งขารา อนัตตา ภิกษุท้ งั หลาย ก็เพราะเหตุที่สงั ขารทั้งหลายนั้นมิใช่ตวั ตนของเรา ตัสมา สั งขารา อาพาธายะ สั งวัตตันติ เพราะเหตุน้ นั สังขารทั้งหลายจึงเป็ นไปเพื่ออาพาธ 103
นะ จะ ลัพภะติ สั งขาเรสุ อนึ่ง บุคคลย่อมไม่ได้ในสังขารทั้งหลายตามใจหวัง เอวัง เม สั งขารา โหนตุ เอวัง เม สั งขารา มา อเหสุ นติ ว่าสังขารทั้งหลายของเรา จงเป็ นอย่างนี้เถิด สังขารทั้งหลายของเรา อย่าได้เป็ นอย่างนั้นเลย วิญญาณัง อนัตตา วิญญาณ(คือใจ) เป็ นอนัตตา(มิใช่ตวั ตนของเรา) วิญญานัญ จะ หิทงั ภิกขะเว อัตตา อะภะวิสสะ ดูก่อนภิกษุท้ งั หลาย ก็วญ ิ ญาณนี้จกั ได้เป็ นอัตตา(ตัวตนของเรา)แล้ว นะยิทงั วิญญาณัง อาพาธายะ สั งวัตเตยยะ วิญญาณนี้กไ็ ม่พึงเป็ นไปเพื่ออาพาธ ลัพเภถะ จะ วิญญาเน อนึ่ง บุคคลพึงได้ในวิญญาณตามใจหวัง เอวัง เม วิญญานัง โหตุ เอวัง เม วิญญานัง มา อโหสี ติ ว่าวิญญาณของเรา จงเป็ นอย่างนี้เถิด วิญญาณของเรา อย่าได้เป็ นอย่างนั้นเลย ยัสมา จะ โข ภิกขะเว วิญญานัง อนัตตา ภิกษุท้ งั หลาย ก็เพราะเหตุที่วญ ิ ญาณนั้นมิใช่ตวั ตนของเรา ตัสมา วิญญาณัง อาพาธายะ สั งวัตตะติ เพราะเหตุน้ นั วิญญาณจึงเป็ นไปเพื่ออาพาธ นะ จะ ลัพภะติ วิญญาเน อนึ่ง บุคคลย่อมไม่ได้ในวิญญาณตามใจหวัง เอวัง เม วิญญาณัง โหตุ เอวัง เม วิญญาณัง มา อโหสี ติ ว่าวิญญาณของเรา จงเป็ นอย่างนี้เถิด วิญญาณของเรา อย่าได้เป็ นอย่างนั้นเลย ตังกิง มัญญะถะ ภิกขะเว ท่านทั้งหลาย ย่อมส�ำคัญความนั้นเป็ นไฉน ภิกษุท้ งั หลาย รู ปัง นิจจัง วา อนิจจัง วา ติ อนิจจัง ภันเต
รู ปเที่ยง หรื อ ไม่เที่ยง ไม่เที่ยง พระเจ้าข้า
ยัมปะนา นิจจัง ทุกขัง วา ตัง สุ ขงั วาติ สิ่ งใดไม่เที่ยง สิ่ งนั้นเป็ นทุกข์หรื อเป็ นสุ ขเล่า 104
ทุกขัง ภันเต ยัมปะนา นิจจัง ทุกขัง วิปะริณา มะธัมมัง กัลลัง นุ ตัง สะมะนุปัสสิ ตุง
เป็ นทุกข์ พระเจ้าข้า สิ่ งใดไม่เที่ยง เป็ นทุกข์ มีความแปรปรวนไปเป็ นธรรมดา ควรหรื อ เพื่อจะตามเห็นสิ่ งนั้น
เอตัง มะมะ เอโสหะมัสมิ เอโส เม อัตตาติ ว่านั้นของเรา เราเป็ นนัน่ เป็ นนี่ นัน่ เป็ นตนของเรา โน เหตัง ภันเต หาอย่างนั้นไม่ พระเจ้าข้า ตังกิง มัญญะถะ ภิกขะเว ท่านทั้งหลาย ย่อมส�ำคัญความนั้นเป็ นไฉน ภิกษุท้ งั หลาย เวทะนา นิจจา วา อนิจจา วาติ เวทนาเที่ยง หรื อ ไม่เที่ยง อนิจจา ภันเต ไม่เที่ยง พระเจ้าข้า ยัมปะนา นิจจัง ทุกขัง วา ตัง สุ ขงั วาติ สิ่ งใดไม่เที่ยง สิ่ งนั้นเป็ นทุกข์หรื อเป็ นสุ ขเล่า ทุกขัง ภันเต เป็ นทุกข์ พระเจ้าข้า ยัมปะนานิจจัง ทุกขัง สิ่ งใดไม่เที่ยง เป็ นทุกข์ วิปะริณามะธัมมัง มีความแปรปรวนไปเป็ นธรรมดา กัลลัง นุ ตัง สะมะนุปัสสิ ตุง ควรหรื อ เพื่อจะตามเห็นสิ่ งนั้น เอตัง มะมะ เอโส หะมัสมิ เอโส เม อัตตา ติ ว่านั้นของเรา เราเป็ นนัน่ เป็ นนี่ นัน่ เป็ นตนของเรา โน เหตัง ภันเต หาอย่างนั้นไม่ พระเจ้าข้า ตังกิง มัญญะถะ ภิกขะเว ท่านทั้งหลาย ย่อมส�ำคัญความนั้นเป็ นไฉน ภิกษุท้ งั หลาย สั ญญา นิจจา วา อนิจจา วาติ สัญญาเที่ยง หรื อ ไม่เที่ยง อนิจจา ภันเต ไม่เที่ยง พระเจ้าข้า ยัมปะนานิจจัง ทุกขัง วา ตัง สุ ขงั วาติ สิ่ งใดไม่เที่ยง สิ่ งนั้นเป็ นทุกข์หรื อเป็ นสุ ขเล่า ทุกขัง ภัน เต เป็ นทุกข์ พระเจ้าข้า ยัมปะนานิจจัง ทุกขัง สิ่ งใดไม่เที่ยง เป็ นทุกข์ วิปะริณามะธัมมัง มีความแปรปรวนไปเป็ นธรรมดา กัลลัง นุ ตัง สะมะนุปัสสิ ตุง ควรหรื อ เพื่อจะตามเห็นสิ่ งนั้น เอตัง มะมะ เอโส หะมัสมิ เอโส เม อัตตาติ ว่านั้นของเรา เราเป็ นนัน่ เป็ นนี่ นัน่ เป็ นตนของเรา โน เหตัง ภันเต ตังกิง มัญญะถะ ภิกขะเว
หาอย่างนั้นไม่ พระเจ้าข้า ท่านทั้งหลาย ย่อมส�ำคัญความนั้นเป็ นไฉน ภิกษุท้ งั หลาย 105
สั งขารา นิจจา วา อนิจจา วาติ อนิจจา ภันเต ยัมปะนานิจจัง ทุกขัง วา ตัง สุ ขงั วาติ ทุกขัง ภันเต ยัมปะนานิจจัง ทุกขัง วิปะริณามะธัมมัง กัลลังนุตงั สะมะนุปัสสิ ตุง
สังขารทั้งหลายเที่ยง หรื อ ไม่เที่ยง ไม่เที่ยง พระเจ้าข้า สิ่ งใดไม่เที่ยง สิ่ งนั้นเป็ นทุกข์หรื อเป็ นสุ ขเล่า เป็ นทุกข์ พระเจ้าข้า สิ่ งใดไม่เที่ยง เป็ นทุกข์ มีความแปรปรวนไปเป็ นธรรมดา ควรหรื อ เพื่อจะตามเห็นสิ่ งนั้น
เอตัง มะมะ เอโสหะมัสมิ เอโส เม อัตตาติ ว่านั้นของเรา เราเป็ นนัน่ เป็ นนี่ นัน่ เป็ นตนของเรา โน เหตัง ภันเต ตังกิง มัญญะถะ ภิกขะเว วิญญาณัง นิจจังวา อนิจจัง วาติ อนิจจัง ภันเต ยัมปะนานิจจัง ทุกขัง วา ตัง สุ ขงั วาติ ทุกขัง ภันเต ยัมปะนานิจจัง ทุกขัง วิปะริณามะธัมมัง กัลลังนุตงั สะมะนุปัสสิ ตุง
หาอย่างนั้นไม่ พระเจ้าข้า ท่านทั้งหลาย ย่อมส�ำคัญความนั้นเป็ นไฉน ภิกษุท้ งั หลาย วิญญาณเที่ยง หรื อ ไม่เที่ยง ไม่เที่ยง พระเจ้าข้า สิ่ งใดไม่เที่ยง สิ่ งนั้นเป็ นทุกข์หรื อเป็ นสุ ขเล่า เป็ นทุกข์ พระเจ้าข้า สิ่ งใดไม่เที่ยง เป็ นทุกข์ มีความแปรปรวนไปเป็ นธรรมดา ควรหรื อ เพื่อจะตามเห็นสิ่ งนั้น
เอตัง มะมะ เอโสหะมัสมิ เอโส เม อัตตาติ ว่านั้นของเรา เราเป็ นนัน่ เป็ นนี่ นัน่ เป็ นตนของเรา โน เหตัง ภันเต ตัสมาติหะ ภิกขะเว ยังกิญจิ รู ปัง อตีตานาคะตะปัจจุปันนัง อัชฌัตตัง วาพหิทธา วา โอฬาริกงั วา สุ ขุมงั วา หีนัง วา ปณีตงั วา ยันทูเร สั นติเก วา สั พพัง รู ปัง เนตัง มะมะ
หาอย่างนั้นไม่ พระเจ้าข้า เพราะเหตุน้ นั แล ภิกษุท้ งั หลาย รู ปอย่างใดอย่างหนึ่ง ที่เป็ นอดีตก็ดี อนาคตก็ดี ปัจจุบนั ก็ดี ภายในก็ดี ภายนอกก็ดี หยาบก็ดี ละเอียดก็ดี เลวก็ดี ประณี ตก็ดี อันใด มีในที่ไกลก็ดี ในที่ใกล้กด็ ี รู ปทั้งหมด ก็เป็ นสักว่ารู ป นัน่ ไม่ใช่ของเรา 106
เนโสหะมัสมิ นะ เมโส อัตตาติ
เราไม่เป็ นนัน่ เป็ นนี่ นัน่ ไม่ใช่ตนของเรา ดังนี้
เอวะ เมตัง ยะถาภูตงั สั มมัปปัญญายะ ทัฏฐัพพัง ข้อนี้อนั ท่านทั้งหลาย พึงเห็นด้วยปั ญญาอันชอบตามเป็ นจริ งแล้วอย่างนี้ ยากาจิ เวทะนา อตีตานาคะตะปัจจุปันนัง อัชฌัตตัง วาพหิทธา วา โอฬาริกงั วา สุ ขุมงั วา หีนัง วา ปณีตงั วา ยันทูเร สั นติเก วา สั พพา เวทะนา เนตัง มะมะ เนโสหะมัสมิ นะ เมโส อัตตาติ
เวทนาอย่างใดอย่างหนึ่ง ที่เป็ นอดีตก็ดี อนาคตก็ดี ปัจจุบนั ก็ดี ภายในก็ดี ภายนอกก็ดี หยาบก็ดี ละเอียดก็ดี เลวก็ดี ประณี ตก็ดี อันใด มีในที่ไกลก็ดี ในที่ใกล้กด็ ี เวทนาทั้งหมด ก็เป็ นสักว่าเวทนา นัน่ ไม่ใช่ของเรา เราไม่เป็ นนัน่ เป็ นนี่ นัน่ ไม่ใช่ตนของเรา ดังนี้
เอวะ เมตัง ยะถาภูตงั สั มมัปปัญญายะ ทัฏฐัพพัง ข้อนี้อนั ท่านทั้งหลาย พึงเห็นด้วยปั ญญาอันชอบตามเป็ นจริ งแล้วอย่างนี้ ยากาจิ สั ญญา สัญญาอย่างใดอย่างหนึ่ง อตีตานาคะตะปัจจุปปันนา ที่เป็ นอดีตก็ดี อนาคตก็ดี ปัจจุบนั ก็ดี อัชฌัตตา วา พหิทธา วา ภายในก็ดี ภายนอกก็ดี โอฬาริกา วา สุ ขุมา วา หยาบก็ดี ละเอียดก็ดี หีนา วา ปณีตา วา เลวก็ดี ประณี ตก็ดี ยันทูเร สั นติเก วา อันใด มีในที่ไกลก็ดี ในที่ใกล้กด็ ี สั พพา สั ญญา สัญญาทั้งหมด ก็เป็ นสักว่าสัญญา เนตัง มะมะ นัน่ ไม่ใช่ของเรา เนโสหะมัสมิ เราไม่เป็ นนัน่ เป็ นนี่ นะ เมโส อัตตา ติ นัน่ ไม่ใช่ตนของเรา ดังนี้ เอวะ เมตัง ยะถา ภูตงั สั มมัปปัญญายะ ทัฏฐัพพัง ข้อนี้อนั ท่านทั้งหลาย พึงเห็นด้วยปั ญญาอันชอบตามเป็ นจริ งแล้วอย่างนั้น เยเกจิ สั งขารา อตีตานาคะตะปัจจุปปันนา
สังขารทั้งหลายอย่างใดอย่างหนึ่ง ที่เป็ นอดีตก็ดี อนาคตก็ดี ปัจจุบนั ก็ดี 107
อัชฌัตตา วา พหิทธา วา โอฬาริกา วา สุ ขุมา วา หีนา วา ปณีตา วา เยทูเร สั นติเก วา สั พเพ สั งขารา เนตัง มะมะ เนโสหะมัสมิ นะ เมโส อัตตา ติ
ภายในก็ดี ภายนอกก็ดี หยาบก็ดี ละเอียดก็ดี เลวก็ดี ประณี ตก็ดี อันใด มีในที่ไกลก็ดี ในที่ใกล้กด็ ี สังขารทั้งหลายทั้งหมด ก็เป็ นสักว่าสังขาร นัน่ ไม่ใช่ของเรา เราไม่เป็ นนัน่ เป็ นนี่ นัน่ ไม่ใช่ตนของเรา ดังนี้
เอวะ เมตัง ยะถาภูตงั สั มมัปปัญญายะ ทัฏฐัพพัง ข้อนี้อนั ท่านทั้งหลาย พึงเห็นด้วยปั ญญาอันชอบตามเป็ นจริ งแล้วอย่างนั้น ยังกิญจิ วิญญาณัง อตีตานาคะตะปัจจุปปันนัง อัชฌัตตัง วา พะหิทธา วา โอฬาริกงั วา สุ ขุมงั วา หีนัง วา ปณีตงั วา ยันทูเร สั นติเก วา สั พพัง วิญญาณัง เนตัง มะมะ เนโสหะมัสมิ นะ เมโส อัตตา ติ
วิญญาณอย่างใดอย่างหนึ่ง ที่เป็ นอดีตก็ดี อนาคตก็ดี ปัจจุบนั ก็ดี ภายในก็ดี ภายนอกก็ดี หยาบก็ดี ละเอียดก็ดี เลวก็ดี ประณี ตก็ดี อันใด มีในที่ไกลก็ดี ในที่ใกล้กด็ ี วิญญาณทั้งหมด ก็เป็ นสักว่าวิญญาณ นัน่ ไม่ใช่ของเรา เราไม่เป็ นนัน่ เป็ นนี่ นัน่ ไม่ใช่ตนของเรา ดังนี้
เอวะเมตัง ยะถาภูตงั สั มมัปปัญญายะ ทัฏฐัพพัง ข้อนี้อนั ท่านทั้งหลาย พึงเห็นด้วยปั ญญาอันชอบตามเป็ นจริ งแล้วอย่างนั้นดังนี้ เอวัง ปัสสั ง ภิกขะเว สุ ตตะวา อะริยะสาวะโก ดูก่อนภิกษุท้ งั หลาย อริ ยสาวกผูไ้ ด้สดับแล้วเห็นอยูอ่ ย่างนี้ รู ปัสสะมิงปิ นิพพินทะติ เวทะนายะปิ นิพพินนะติ สั ญญายะปิ นิพพินทะติ สั งขาเรสุ ปิ นิพพินทะติ วิญญานัสมิงปิ นิพพินทะติ นิพพินทัง วิรัชชะติ
ย่อมเบื่อหน่าย ทั้งในรู ป ย่อมเบื่อหน่าย ทั้งในเวทนา ย่อมเบื่อหน่าย ทั้งในสัญญา ย่อมเบื่อหน่าย ทั้งในสังขารทั้งหลาย ย่อมเบื่อหน่าย ทั้งในวิญญาณ เมื่อเบื่อหน่าย ย่อมคลายความติด 108
วิราคา วิมุจจะติ วิมุตตัสมิง วิมุตตะมีติ ญาณัง โหติ
เพราะคลายความติด จิตก็พน้ เมื่อจิตพ้นแล้ว ก็เกิดญาณรู ้วา่ พ้นแล้ว ดัง่ นี้
ขีณา ชาติ. วุสิตงั พรัหมจริยงั กะตัง กะระณียงั นาปะรัง อิตถัตตายาติ ปะชานาตีติ อริ ยสาวกนั้น ย่อมทราบชัดว่า ชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์ เราได้อยูจ่ บแล้ว กิจที่ควรท�ำเราได้ทำ� เสร็ จแล้ว กิจอื่นอีกเพื่อความเป็ นอย่างนี้มิได้มี อิทะมะโวจะ ภะคะวา พระผูม้ ีพระภาคเจ้า ได้ตรัสพระสูตรนี้จบลง อัตตะมะนา ปัญจะวัคคิยา ภิกขู พระภิกษุปัญจวัคคีกม็ ีใจยินดี ภะคะวะโต ภาสิ ตงั อะภินันทุง เพลิดเพลินภาษิตของพระผูม้ ีพระภาคเจ้า อิมสั สมิญจะ ปะนะ เวยยากะระณัสมิง ภัญญะมาเน ก็แลเมื่อเวยยากรณ์น้ ี อันพระผูม้ ีพระภาคเจ้าตรัสอยู่ ปัญจะวัคคิยานัง ภิกขูนัง อะนุปาทายะ อาสะเวหิ จิตตานิ วิมุตจิงสู ติ จิตของพระภิกษุปัญจวัคคียพ์ น้ แล้วจากอาสวะทั้งหลาย ไม่ถือมัน่ ด้วยอุปาทานแล
อาทิตตปริยายสู ตร (หันทะ มะยัง อาทิตตะปริ ยายะสุ ตตะปาฐัง ภะณามะเส) เอวัมเม สุ ตงั เอกัง สะมะยัง ภะคะวา คะยายัง วิหะระติ คะยาสี เส, สั ทธิง ภิกขุ สะหัสเสนะ, ตัตตระ โข ภะคะวา ภิกขู อามันเตสิ ข้าพเจ้า(พระอานนเถระ)ได้ฟังมา ในสมัยหนึ่งพระผูม้ ีพระภาคเจ้า เสด็จประทับอยูท่ ี่ตำ� บลคยาสี สะ ใกล้แม่น้ ำ� คยา พร้อมด้วยพระภิกษุประมาณ ๑,๐๐๐ รู ป ในกาลครั้งนั้นแล พระผูม้ ีพระภาคเจ้าได้ ตรัสเตือนสติภิกษุเหล่านั้นให้ต้ งั ใจสดับพุทธภาษิตนี้วา่ สั พพัง ภิกขะเว อาทิตตัง, ดูก่อนภิกษุท้ งั หลาย สิ่ งทั้งปวงเป็ นของร้อน กิญจะ ภิกขะเว สั พพัง อาทิตตัง, ดูก่อนภิกษุท้ งั หลาย ก็อะไรเล่า ที่ชื่อว่าเป็ นของร้อน จักขุง ภิกขะเว อาทิตตัง, ภิกษุท้ งั หลาย ตา(จักษุ) เป็ นของร้อน รู ปา อาทิตตา, รู ปทั้งหลาย เป็ นของร้อน จักขุวญ ิ ญาณัง อาทิตตัง, ความรู ้อารมณ์ทางตา เป็ นของร้อน จักขุสัมผัสโส อาทิตโต, การสัมผัสอาศัยตาก็เป็ นของร้อน ยัมปิ ทัง จักขุสัมผัสสะ ปัจจะยา อุปปัชชะติ เวทะยิตงั , ความรู ้สึกเสวยอารมณ์ที่เกิดขึ้นเพราะอาศัย ตาสัมผัสรู ป เป็ นปัจจัย 109
สุ ขงั วา ทุกขัง วา, อะทุกขะมะสุ ขงั วา, ตัมปิ อาทิตตัง, เกนะ อาทิตตัง,
รู ้สึกเป็ นสุ ขก็ตาม เป็ นทุกข์กต็ าม หรื อรู ้สึกไม่ใช่ทุกข์ ไม่ใช่สุขก็ตาม แม้อนั นั้น ก็เป็ นของร้อนที่ใจ ร้อนเพราะอะไร
อาทิตตัง ราคัคคินา โทสั คคินา โมหัคคินา , ร้อนเพราะไฟคือราคะ ไฟคือโทสะ ไฟคือโมหะ อาทิตตัง ชาติยา ชะรา มะระเณนะ, โสเกหิ ปะริเทเวหิ ทุกเขหิ,
ร้อนเพราะความเกิด ความแก่ และความตาย ร้อนเพราะความเศร้าโศก ความร�่ำไรร�ำพัน
โทมะนัสเสหิ อุปายาเสหิ, ความไม่สบายกาย ความไม่สบายใจ ความคับแค้นใจทั้งหลาย อาทิตตันติ วะทามิ , โสตัง อาทิตตัง, สั ททา อาทิตตา, โสตะวิญญาณัง อาทิตตัง, โสตะสั มผัสโส อาทิตโต,
เราจึงกล่าวว่า เหล่านี้เป็ นของร้อน หู เป็ นของร้อน เสี ยง เป็ นของร้อน ความรู ้อารมณ์ทางหูเป็ นของร้อน การสัมผัสทางหูกเ็ ป็ นของร้อน
ยัมปิ ทัง โสตะสั มผัสสะปัจจะยา อุปปัชชะติ เวทะยิตงั , เวทนาความรู ้สึกเสวยอารมณ์ที่เกิดขึ้น เพราะอาศัยหูสมั ผัสเสี ยงเป็ นปั จจัย สุ ขงั วา ทุกขัง วา, อะทุกขะมะสุ ขงั วา, ตัมปิ อาทิตตัง , เกนะ อาทิตตัง,
รู ้สึกเป็ นสุ ขก็ตาม เป็ นทุกข์กต็ าม ไม่ใช่ทุกข์ไม่ใช่สุขก็ตาม แม้อนั นั้น ก็เป็ นของร้อนที่ใจ ร้อนเพราะอะไร
อาทิตตัง ราคัคคินา โทสั คคินา โมหัคคินา , ร้อนเพราะไฟคือราคะ ไฟคือโทสะ ไฟคือโมหะ อาทิตตัง ชาติยาชะรา มะระเณนะ, โสเกหิ ปะริเทเวหิ ทุกเขหิ, โทมะนัสเสหิ อุปายาเสหิ อาทิตตันติ วะทามิ , ฆานัง อาทิตตัง, คันธา อาทิตตา,
ร้อนเพราะความเกิด ความแก่ และความตาย ร้อนเพราะความเศร้าโศก ความร�่ำไรร�ำพัน ความไม่สบายกาย ความไม่สบายใจ ความคับแค้นใจทั้งหลาย เราจึงกล่าวว่า เหล่านี้เป็ นของร้อน จมูก เป็ นของร้อน กลิ่นทั้งหลายเป็ นของร้อน 110
ฆานะวิญญาณัง อาทิตตัง, ฆานะสั มผัสโส อาทิตโต,
ความรู ้อารมณ์ทางจมูก เป็ นของร้อน การสัมผัสทางจมูกก็เป็ นของร้อน
ยัมปิ ทัง ฆานะสั มผัสสะปัจจะยา อุปปัชชะติ เวทะยิตงั , เวทนาความรู ้สึกเสวยอารมณ์ที่เกิดขึ้น เพราะอาศัยจมูกสัมผัสกลิ่นเป็ นปัจจัย สุ ขงั วา ทุกขัง วา, อะทุกขะมะสุ ขงั วา, ตัมปิ อาทิตตัง , เกนะ อาทิตตัง ,
รู ้สึกเป็ นสุ ขก็ตาม เป็ นทุกข์กต็ าม หรื อไม่ใช่ทุกข์ ไม่ใช่สุขก็ตาม แม้อนั นั้น ก็เป็ นของร้อนที่ใจ ร้อนเพราะอะไร
อาทิตตัง ราคัคคินา โทสั คคินา โมหัคคินา , ร้อนเพราะไฟคือราคะ ไฟคือโทสะ ไฟคือโมหะ อาทิตตัง ชาติยา ชะรา มะระเณนะ, โสเกหิ ปะริเทเวหิ ทุกเขหิ, โทมะนัสเสหิ อุปายาเสหิ, อาทิตตันติ วะทามิ , ชิวหา อาทิตตา, ระสา อาทิตตา, ชิวหาวิญญาณัง อาทิตตัง, ชิวหาสั มผัสโส อาทิตโต,
ร้อนเพราะความเกิด ความแก่ และความตาย ร้อนเพราะความเศร้าโศก ความร�่ำไรร�ำพัน ความไม่สบายกาย ความไม่สบายใจ ความคับแค้นใจทั้งหลาย เราจึงกล่าวว่า เหล่านี้เป็ นของร้อน ลิ้นเป็ นของร้อน รสทั้งหลายเป็ นของร้อน ความรู ้อารมณ์ทางลิ้นเป็ นของร้อน การสัมผัสทางลิ้นก็เป็ นของร้อน
ยัมปิ ทัง ชิวหาสั มผัสสะปัจจะยา อุปปัชชะติ เวทะยิตงั , เวทนาความรู ้สึกเสวยอารมณ์ที่เกิดขึ้น เพราะอาศัยลิ้นสัมผัสรสเป็ นปัจจัย สุ ขงั วา ทุกขัง วา, อะทุกขะมะสุ ขงั วา, ตัมปิ อาทิตตัง , เกนะ อาทิตตัง ,
รู ้สึกเป็ นสุ ขก็ตาม เป็ นทุกข์กต็ าม หรื อไม่ใช่ทุกข์ไม่ใช่สุขก็ตาม แม้อนั นั้น ก็เป็ นของร้อนที่ใจ ร้อนเพราะอะไร
อาทิตตัง ราคัคคินา โทสั คคินา โมหัคคินา , ร้อนเพราะไฟคือราคะ ไฟคือโทสะ ไฟคือโมหะ อาทิตตัง ชาติยา ชะรา มะระเณนะ, โสเกหิ ปะริเทเวหิ ทุกเขหิ, โทมะนัสเสหิ อุปายาเสหิ,
ร้อนเพราะความเกิด ความแก่ และความตาย ร้อนเพราะความเศร้าโศก ความร�่ำไรร�ำพัน ความไม่สบายกาย ความไม่สบายใจ ความคับแค้นใจทั้งหลาย 111
อาทิตตันติ วะทามิ , กาโย อาทิตโต, โผฏฐัพพา อาทิตตา, กายะวิญญาณัง อาทิตตัง, กายะสั มผัสโส อาทิตโต,
เรากล่าวว่า นี้เป็ นของร้อน กายเป็ นของร้อน สิ่ งที่ถกู ต้องทางกายเป็ นของร้อน ความรู ้อารมณ์ทางกายเป็ นของร้อน การสัมผัสทางกายก็เป็ นของร้อน
ยัมปิ ทัง กายะสั มผัสสะปัจจะยา อุปปัชชะติ เวทะยิตงั , เวทนาความรู ้สึกเสวยอารมณ์ที่เกิดขึ้น เพราะอาศัยการสัมผัสทางกายเป็ นปัจจัย สุ ขงั วา ทุกขัง วา, อะทุกขะมะสุ ขงั วา, ตัมปิ อาทิตตัง , เกนะ อาทิตตัง ,
รู ้สึกเป็ นสุ ขก็ตาม เป็ นทุกข์กต็ าม หรื อไม่ใช่ทุกข์ไม่ใช่สุขก็ตาม แม้อนั นั้น ก็เป็ นของร้อนที่ใจ ร้อนเพราะอะไร
อาทิตตัง ราคัคคินา โทสั คคินา โมหัคคินา , ร้อนเพราะไฟคือราคะ ไฟคือโทสะ ไฟคือโมหะ อาทิตตัง ชาติยา ชะรา มะระเณนะ, โสเกหิ ปะริเทเวหิ ทุกเขหิ, โทมะนัสเสหิ อุปายาเสหิ, อาทิตตันติ วะทามิ , มะโน อาทิตโต, ธัมมา อาทิตตา, มะโนวิญญาณัง อาทิตตัง, มะโนสั มผัสโส อาทิตโต,
ร้อนเพราะความเกิด ความแก่ และความตาย ร้อนเพราะความเศร้าโศก ความร�่ำไรร�ำพัน ความไม่สบายกาย ความไม่สบายใจ ความคับแค้นใจทั้งหลาย เราจึงกล่าวว่า เหล่านี้เป็ นของร้อน ใจเป็ นของร้อน อารมณ์ที่เกิดกับใจเป็ นของร้อน ความรู ้อารมณ์ทางใจเป็ นของร้อน การสัมผัสทางใจ ก็เป็ นของร้อน
ยัมปิ ทัง มะโนสั มผัสสะปัจจะยา อุปปัชชะติ เวทะยิตงั , เวทนาความรู ้สึกเสวยอารมณ์ที่เกิดขึ้น เพราะอาศัยการสัมผัสทางใจ เป็ นปัจจัย สุ ขงั วา ทุกขัง วา, อะทุกขะมะสุ ขงั วา, ตัมปิ อาทิตตัง, เกนะ อาทิตตัง,
รู ้สึกเป็ นสุ ขก็ตาม เป็ นทุกข์กต็ าม หรื อไม่ใช่ทุกข์ไม่ใช่สุขก็ตาม แม้อนั นั้น ก็เป็ นของร้อนที่ใจ ร้อนเพราะอะไร
อาทิตตัง ราคัคคินา โทสั คคินา โมหัคคินา , ร้อนเพราะไฟคือราคะ ไฟคือโทสะ ไฟคือโมหะ 112
อาทิตตัง ชาติยา ชะรา มะระเณนะ, โสเกหิ ปะริเทเวหิ ทุกเขหิ, โทมะนัสเสหิ อุปายาเสหิ, อาทิตตันติ วะทามิ ,
ร้อนเพราะความเกิด ความแก่ และความตาย ร้อนเพราะความเศร้าโศก ความร�่ำไรร�ำพัน ความไม่สบายกาย ความไม่สบายใจ ความคับแค้นใจทั้งหลาย เราจึงกล่าวว่า เหล่านี้เป็ นของร้อน
เอวัง ปัสสั ง ภิกขะเว สุ ตฺวา อะริยะสาวะโก , ดูก่อนภิกษุท้ งั หลาย อริ ยสาวกผูไ้ ด้สดับฟังแล้ว เห็นอยูอ่ ย่างนี้ จักขุสสะมิงปิ นิพพินทะติ, รู เปสุ ปิ นิพพินทะติ, จักขุวญ ิ ญาเณปิ นิพพินทะติ, จักขุสัมผัสเสปิ นิพพินทะติ,
อริ ยสาวกเหล่านั้น ย่อมเบื่อหน่าย ตา ย่อมเบื่อหน่าย ในรู ปทั้งหลาย ย่อมเบื่อหน่ายในการเสวยอารมณ์ทางตา ย่อมเบื่อหน่ายในการสัมผัสที่อาศัยตา
ยัมปิ ทัง จักขุสัมผัสสะปัจจะยา อุปปัชชะติ เวทะยิตงั , เวทนาความรู ้สึกเสวยอารมณ์ที่เกิดขึ้น เพราะอาศัยการสัมผัสทางตา เป็ นปัจจัย สุ ขงั วา ทุกขัง วา, อะทุกขะมะสุ ขงั วา,
รู ้สึกเป็ นสุ ขก็ตาม เป็ นทุกข์กต็ าม หรื อไม่ใช่ทุกข์ ไม่ใช่สุขก็ตาม
ตัสมิงปิ นิพพินทะติ , ย่อมเบื่อหน่ายในเวทนา คือความรู ้สึกนั้นๆ เพราะเป็ นเหตุทำ� ให้ใจเร่ าร้อน โสตัสสะมิงปิ นิพพินทะติ, สั ทเทสุ ปิ นิพพินทะติ, โสตะวิญญาเณปิ นิพพินทะติ, โสตะสั มผัสเสปิ นิพพินทะติ,
อริ ยสาวกเหล่านั้น ย่อมเบื่อหน่าย หู ย่อมเบื่อหน่ายใน เสี ยงทั้งหลาย ย่อมเบื่อหน่าย อารมณ์ที่เกิดขึ้น ทางหู ย่อมเบื่อหน่ายแม้ในการสัมผัส ทางหู
ยัมปิ ทัง โสตะสั มผัสสะปัจจะยา อุปปัชชะติ เวทะยิตงั , เวทนาความรู ้สึกเสวยอารมณ์ที่เกิดขึ้น เพราะอาศัยการสัมผัสทางหู เป็ นปัจจัย สุ ขงั วา ทุกขัง วา, อะทุกขะมะสุ ขงั วา,
รู ้สึกเป็ นสุ ขก็ตาม เป็ นทุกข์กต็ าม หรื อไม่ใช่ทุกข์ ไม่ใช่สุขก็ตาม
ตัสมิงปิ นิพพินทะติ , ย่อมเบื่อหน่ายในเวทนา คือความรู ้สึกนั้นๆ เพราะเป็ นเหตุทำ� ให้ใจเร่ าร้อน ฆานัสสะมิงปิ นิพพินทะติ, คันเธสุ ปิ นิพพินทะติ,
อริ ยสาวกเหล่านั้น ย่อมเบื่อหน่าย จมูก ย่อมเบื่อหน่าย แม้ในกลิ่น 113
ฆานะวิญญาเณปิ นิพพินทะติ, ฆานะสั มผัสเสปิ นิพพินทะติ,
ย่อมเบื่อหน่ายในการเสวยอารมณ์ทางจมูก ย่อมเบื่อหน่าย ในการสัมผัสที่อาศัยจมูก
ยัมปิ ทัง ฆานะสั มผัสสะปัจจะยา อุปปัชชะติ เวทะยิตงั , เวทนาความรู ้สึกเสวยอารมณ์ที่เกิดขึ้น เพราะอาศัยการสัมผัสทางจมูกเป็ นปัจจัย สุ ขงั วา ทุกขัง วา, อะทุกขะมะสุ ขงั วา,
รู ้สึกเป็ นสุ ขก็ตาม เป็ นทุกข์กต็ าม หรื อไม่ใช่ทุกข์ ไม่ใช่สุขก็ตาม
ตัสมิงปิ นิพพินทะติ , ย่อมเบื่อหน่ายในเวทนา คือความรู ้สึกนั้นๆ เพราะเป็ นเหตุทำ� ให้ใจเร่ าร้อน ชิวหายะปิ นิพพินทะติ, ระเสสุ ปิ นิพพินทะติ, ชิวหาวิญญาเณปิ นิพพินทะติ, ชิวหาสั มผัสเสปิ นิพพินทะติ,
อริ ยสาวกเหล่านั้น ย่อมเบื่อหน่าย ลิ้น ย่อมเบื่อหน่าย แม้ใน รส ย่อมเบื่อหน่าย ในการเสวยอารมณ์ ทางลิ้น ย่อมเบื่อหน่าย ในการสัมผัสที่อาศัยลิ้น
ยัมปิ ทัง ชิวหาสั มผัสสะปัจจะยา อุปปัชชะติ เวทะยิตงั , เวทนาความรู ้สึกเสวยอารมณ์ที่เกิดขึ้น เพราะอาศัยการสัมผัสทางลิ้น เป็ นปัจจัย สุ ขงั วา ทุกขัง วา, อะทุกขะมะสุ ขงั วา,
รู ้สึกเป็ นสุ ขก็ตาม เป็ นทุกข์กต็ าม หรื อไม่ใช่ทุกข์ ไม่ใช่สุขก็ตาม
ตัสมิงปิ นิพพินทะติ , ย่อมเบื่อหน่ายในเวทนา คือความรู ้สึกนั้นๆ เพราะเป็ นเหตุทำ� ให้ใจเร่ าร้อน กายัสสะมิงปิ นิพพินทะติ, โผฏฐัพเพสุ ปิ นิพพินทะติ, กายะวิญญาเณปิ นิพพินทะติ, กายะสั มผัสเสปิ นิพพินทะติ,
อริ ยสาวกเหล่านั้น ย่อมเบื่อหน่ายในกาย ย่อมเบื่อหน่าย ในสิ่ งที่ถกู ต้องทางกาย ย่อมเบื่อหน่าย ในการเสวยอารมณ์ ทางกาย ย่อมเบื่อหน่าย แม้ในการสัมผัส ทางกาย
ยัมปิ ทัง กายะสั มผัสสะปัจจะยา อุปปัชชะติ เวทะยิตงั , เวทนาความรู ้สึกเสวยอารมณ์ที่เกิดขึ้น เพราะอาศัยการสัมผัสทางกายเป็ นปัจจัย สุ ขงั วา ทุกขัง วา, อะทุกขะมะสุ ขงั วา,
รู ้สึกเป็ นสุ ขก็ตาม เป็ นทุกข์กต็ าม หรื อไม่ใช่ทุกข์ ไม่ใช่สุขก็ตาม
ตัสมิงปิ นิพพินทะติ , ย่อมเบื่อหน่ายในเวทนา คือความรู ้สึกนั้นๆ เพราะเป็ นเหตุทำ� ให้ใจเร่ าร้อน 114
มะนัสสะมิงปิ นิพพินทะติ, ธัมเมสุ ปิ นิพพินทะติ, มะโนวิญญาเณปิ นิพพินทะติ, มะโนสั มผัสเสปิ นิพพินทะติ,
อริ ยสาวกเหล่านั้น ย่อมเบื่อหน่าย ใจ ย่อมเบื่อหน่าย ในธรรมารมณ์ที่เกิดกับใจ ย่อมเบื่อหน่ายในการเสวยอารมณ์ทางใจ ย่อมเบื่อหน่าย แม้ในการสัมผัส ทางใจ
ยัมปิ ทัง มะโนสั มผัสสะปัจจะยา อุปปัชชะติ เวทะยิตงั , เวทนาความรู ้สึกเสวยอารมณ์ที่เกิดขึ้น เพราะอาศัยการสัมผัสทางใจ เป็ นปัจจัย สุ ขงั วา ทุกขัง วา, รู ้สึกเป็ นสุ ขก็ตาม เป็ นทุกข์กต็ าม อะทุกขะมะสุ ขงั วา, หรื อไม่ใช่ทุกข์ ไม่ใช่สุขก็ตาม ตัสมิงปิ นิพพินทะติ , ย่อมเบื่อหน่ายในเวทนา คือความรู ้สึกนั้นๆ เพราะเป็ นเหตุทำ� ให้ใจเร่ าร้อน นิพพินทัง วิรัชชะติ , วิราคา วิมุจจะติ , วิมุตตัสสะมิง วิมุตตะมีติ ญาณัง โหติ , ขีณา ชาติ, วุสิตงั พรัหมะจะริยงั , กะตัง กะระณียงั , นาปะรัง อิตถัตตายาติ ปะชานาตีติ ,
เมื่อเบื่อหน่าย ย่อมคลายก�ำหนัด ไม่ยนิ ดี เพราะสิ้ นก�ำหนัดไม่ยนิ ดี จิตก็หลุดพ้น เมื่อจิตหลุดพ้น ญาณก็หยัง่ รู ้วา่ จิตพ้นแล้ว อริ ยสาวกนั้นย่อมทราบชัดว่า ชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์บริ สุทธิ์หมดจด อยูจ่ บแล้ว กิจที่ควรกระท�ำ ได้กระท�ำส�ำเร็ จแล้ว กิจอื่นเพื่อความเป็ นอย่างนี้ ก็ไม่มีอีกแล้ว
อิทะมะโวจะ ภะคะวา , พระผูม้ ีพระภาคเจ้า ได้ตรัสธรรมอันเป็ นเหตุให้ใจเร่ าร้อน โดยปริ ยายอันนี้แล้ว อัตตะมะนา เต ภิกขู ภะคะวะโต ภาสิ ตงั อะภินันทุง ,
ภิกษุเหล่านั้น ต่างก็มีใจยินดี ชื่นชมใน พระภาษิตของพระผูม้ ีพระภาคเจ้า
อิมสั ฺ มญ ิ จะ ปะนะ , เวยยากะระณัสฺมงิ ภัญญะมาเน, ก็เมื่อตรัสเวยยากรณ์ภาษิต ละเอียดพิสดารในธรรมอันเป็ นเหตุให้ใจเร่ าร้อน ขณะนั้นแล ตัสสะ ภิกขุสะหัสสั สสะ อะนุปาทายะ, ภิกษุหนึ่งพันรู ปนั้นก็พน้ จากอุปาทานทั้งหลาย อาสะเวหิ จิตตานิ วิมุจจิงสู ติ , จิตหลุดพ้นจากอาสวะกิเลสทั้งปวง เพราะไม่ยดึ มัน่ ถือมัน่ ดังนี้แล
115
อนุโมทนากถา
หลวงปู่ มัน่ ภูริทตั โต ได้กล่าวถึงอานุภาพการสวดมนต์ไว้ดงั นี้
“การสาธยายมนต์หรื อพุทธมนต์ จะเป็ นผูใ้ ดสวดก็ตาม คือจะเป็ นพระสงฆ์สวดตามกิจวัตรของพระสงฆ์ เช้า - เย็น หรื อชาวพุทธสวดเพื่อระลึกถึงพุทธคุณ ย่อมจะมีอานิสงส์ แตกต่างกันดังต่อไปนี้ ระลึกในใจ มีอานุภาพแผ่ไปได้หมื่นจักรวาล สวดออกเสี ยงพอตนเองได้ยนิ มีอานุภาพแผ่ไปได้แสนจักรวาล สวดออกเสี ยงธรรมดา มีอานุภาพแผ่ไปได้แสนโกฏิจกั รวาล สวดออกเสี ยงเต็มที่ มีอานุภาพแผ่ไปได้อนันตจักรวาล แม้แต่สตั ว์ที่เสวยกรรมอยูใ่ นภพที่สุดแห่งอเวจีมหานรกก็ยงั ได้รับความสุ ข เมื่อแว่วเสี ยงแห่งพระพุทธมนต์ ผ่านเข้าถึงชัว่ ขณะหนึ่งครู่ หนึ่ง ยังดีกว่าหาความสุ ขไม่ได้ตลอดกาลเป็ นนิตย์”
คู่มือสวดมนต์จึงเป็ นสิ่ งที่จะขาดเสี ยมิได้เลยในทุกหนแห่งที่มีชาวพุทธอยู่ ไม่วา่ จะเป็ นวัดวา อาราม สถานธรรม บ้านเรื อน เพราะเป็ นคู่มือในการสาธยายมนต์ ท�ำวัตรสวดมนต์ ทั้งบรรพชิตและ คฤหัสถ์ไม่ตอ้ งสงสัยเลยว่าอานิสงส์หาได้ตกถึงเพียงผูส้ วดเท่านั้น แต่ยงั ส่ งผลมากมายไปถึงผูท้ ี่มีส่วน ทุกๆ ท่านในการสนับสนุนให้จดั พิมพ์หนังสื อท�ำวัตรสวดมนต์ข้ ึนมา ด้วยอานุภาพคุณพระศรี รัตนตรัย และบุญกุศลที่ได้สร้างหนังสื อเป็ นธรรมทานนี้ ขอให้ เจ้าภาพทุกๆ ท่านที่มีส่วนร่ วมครั้งนี้ จงมีกายอินทรี ยง์ ามบริ สุทธิ์ ผ่องใส ทั้งให้มีปัญญาว่องไว ดุจพระสารี บุตรเถระ เจริ ญยิง่ ด้วยมนุษย์สมบัติ สวรรค์สมบัติ และพระนิพพานสมบัติ จงทุกประการ ท้ายนี้ ขอน้อมจิตประนมกราบด้วยเศียรเกล้าต่อพระอาจารย์สมภพ โชติปัญโญ แห่ งวัด ไตรสิ กขาทลามลตาราม อ.ค�ำตากล้า จ.สกลนคร ซึ่งผูจ้ ดั ท�ำได้นอ้ มน�ำหนังสื อสวดมนต์ของทางวัด เป็ นต้นแบบ พร้อมทั้งอัญเชิญพระคาถาจุลลไชยยปกรณ์ ที่ศกั ดิ์สิทธิ์แต่ครั้งโบราณกาลซึ่งพระอาจารย์ สมภพได้เผยแพร่ ให้พทุ ธศาสนิกชนได้สวด มาตีพิมพ์ในเล่มนี้ดว้ ย พระพุทธด�ำรัส “ดูก่อนภิกษุท้ งั หลาย ทาน ๒ อย่างนี้คือ อามิสทาน ๑ ธรรมทาน ๑ ดูก่อนภิกษุท้ งั หลาย บรรดาทาน ๒ อย่างนี้ ธรรมทานเป็ นเลิศ” (พระสุ ตตันตปิ ฎก เล่มที่ ๑๗ อิติวตุ ตกะ กนิบาต วรรคที่ ๕ ทานสูตร)
116