วารสารวิทยาการจัดการ ปีที่ 6 ฉบับที่ 1

Page 1

มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย

ว า ร ส า ร ว� ท ย า ก า ร จั ด ก า ร มหาว�ทยาลัยราชภัฏเชียงราย วารสารวิ ช าการด า นบริ ห ารธุ ร กิ จ การจั ด การ เศรษฐศาสตร และนิ เ ทศศาสตร

ทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย” เปนวารสาร Journal of “วารสารวิ วิชาการที่อยูในฐานข้อมูลศูนยดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย (TCI)

MANAGEMENT SCIENCE

ปที่ 6 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2554 Vol.6 No.1 January - June 2011

CHIANGRAI RAJABHAT UNIVERSITY

Chiangrai Rajabhat University

ราคา

90 บาท


ชื่อภาพ “ทองหลาง” ขอขอบคุณ สมพล  ยารังษี ...ศิลปินล้านนา และสำานักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย ที่เอื้อเฟื้อภาพสำาหรับจัดทำาปกประจำาฉบับ


วทิ ย า

มหาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฏ เชี ย งราย

ราย

า มห

วารสารวิ ท ยาการจั ด การ ง ลยั ราชภัฏเชีย

ที่ปรึกษา

ปที่ 6 ฉบับที่ 1 (มกราคม – มิถุนายน 2554) ISSN 1906-2397 ผู้ทรงคุณวุฒิประจํากองบรรณาธิการ

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.มาณพ ภาษิตวิไลธรรม ศาสตราจารย์ ดร. อนุรักษ์ ปญญานุวัฒน์ อธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

คณบดีคณะวิทยาการจัดการ

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

รองศาสตราจารย์สมเดช มุงเมือง

บรรณาธิการ

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.คมสัน รัตนะสิมากูล

ผู้ช่วยบรรณาธิการ

อาจารย์ปวีณา ลี้ตระกูล

กองบรรณาธิการ ดร.เสริมศิริ นิลดํา

มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย

ดร.ขวัญฟ้า ศรีประพันธ์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

ดร.ซิมมี่ อุปรา

มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย

ดร.นิษฐา หรุ่นเกษม

มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กัลปพฤกษ์ ผิวทองงาม มหาวิทยาลัยขอนแก่น

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ วาลี ขันธุวาร มหาวิทยาลัยขอนแก่น

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วิรุณสิริ ใจมา มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย

สถานที่พิมพ์

ศาสตราจารย์ ดร.มนัส สุวรรณ ศาสตราจารย์ ดร.สําเนาว์ ขจรศิลป มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

ศาสตราจารย์กิตติคุณ ดร.วัลลภา เทพหัสดิน ณ อยุธยา มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์

รองศาสตราจารย์ ดร.กาญจนา แก้วเทพ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

รองศาสตราจารย์ ดร.สมสุข หินวิมาน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ดวงกมล ชาติประเสริฐ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

Professor Dr. Chandrakant Puri SNDT Women’s University, India

ฝ่ายจัดการและธุรการ

อาจารย์เบญวรรณ เบญจกรณ์ นางสุรีรัตน์ ศรีทะแก้ว

กําหนดออก

ปละ 2 ฉบับ (มกราคม-มิถุนายน และ กรกฎาคม-ธันวาคม)

อัตราค่าบอกรับสมาชิก ปละ 180 บาท เล่มละ 90 บาท

บริษัท นันทพันธ์ พริ้นติ้ง จำากัด 33/4-5 หมู่ 6 ต.แม่เหียะ อ.เมือง จ.เชียงใหม่ 50100

ติดตอสงบทความที่ตีพิมพหรือบอกรับวารสารไดที่ กองบรรณาธิการ "วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย" คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย 80 หมู่ 9 ต.บ้านดู่ อ.เมือง จ.เชียงราย โทรศัพท์ 0-5377-6016 โทรสาร 0-5377-6057 E-mail address : journal.mscru@gmail.com, jms-cru@hotmail.com “วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย” จัดพิมพ์ขึ้นเพื่อเปนสื่อกลางในการเผยแพร่ “บทความวิชาการ” และ “บทความวิจัย” ทางด้านบริหารธุรกิจ การจัดการ เศรษฐศาสตร์ และนิเทศศาสตร์ หรือสาขาอื่นๆ ที่มีความเกี่ยวข้อง บทความที่ตีพิมพ์ในวารสารนี้ได้ผ่านการพิจารณาจากผู้ทรงคุณวุฒิ (Peer Review) แล้ว ทัศนะและข้อคิดเห็นของบทความที่ปรากฏในวารสารฉบับนี้เปนของผู้เขียนแต่ละท่าน ไม่ถือว่าเปนทัศนะและความรับผิดชอบของกองบรรณาธิการ


ity

ia

rai

ers

Ch

ng

iv Rajabhat Un

Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University

Published by

Vol. 6 No.1 (January – June 2011) ISSN 1906-2397 Editorial Advisory Board

Asst.Prof. Dr. Manop Pasitwilaitham

Prof. Dr. Anurak Panyanuwat

Assoc.Prof. Somdej Mungmuang

Prof. Dr. Manat Suwan

President of Chiangrai Rajabhat University

Dean of the Faculty of Management Science

Editors-in-Chief

Chiang Mai University Chiang Mai University

Prof. Dr. Samnao Kajornsin Kasetsart University

Asst.Prof. Dr. Komsan Rattanasimakool Prof. Dr. Wallapa Dhephasdin na Ayudhaya

Editors-in

Paweena Leetrakun

Editors

Dr. Sermsiri Nindum

Chiangrai Rajabhat University

Dr. Kwanfa Sriprapan Chiang Mai University

Dr. Simmee Oupra

Chiangrai Rajabhat University

Dr. Nitta Roonkasam

Pranakorn Rajabhat University

Asst.Prof. Dr. Kullapapruk Piewthongngam Khon Kaen University

Asst.Prof. Walee Khanthuwan Khon Kaen University

Asst.Prof. Dr. Viirunsiri Jaima Chiangrai Rajabhat University

Printed by

Dhurakij Pundit University

Assoc.Prof. Dr. Kanjana Kaewthep Chulalongkorn University

Assoc.Prof. Dr. Somsuk Hinviman Thammasart University

Asst.Prof. Dr. Duang-Kamol Chartprasert Chulalongkorn University

Professor Dr. Chandrakant Puri SNDT Women’s University, India.

Management Benchawan Benchakorn Apichaya Sitthisot

Issue Date

Two issues per year (January-June, July-December)

Subscription Rate

180 Baht per year 90 Baht per issue

Nuntapun Printing Co.Ltd. 33/4-5 Moo 6, Muang District Chiangmai 50100

To submit articles for publication or subscribing to the Journal , contact the following address. “Journal of Management Science, Chiangrai Rajabhat University”, Faculty of Management Science, Chiangrai Rajabhat University, 80 Moo 9, Bandu, Maung District, Chiangrai, THAILAND 57100

Tel. 0-5377-6016 Fax. 0-5377-6057 E-mail address : journal.mscru@gmail.com

“Journal of Management Science, Chiangrai Rajabhat University” is an academic journal in the field of business administration, management, economic, and communication arts or related fields. Every published article is peer reviewed. Views and opinions expressed in the journal do not necessarily reflect those of the editors.


รายนามคณะผู ้ ท รงคุ ณ วุ ฒิ พิ จ ารณาบทความประจ� ำ “วารสารวิ ท ยาการจั ด การ มหาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฏ เชี ย งราย” (รายนามเรียงตามตัวอักษร)

สาขาบริหารธุรกิจ การจัดการ และเศรษฐศาสตร์

สาขาวิชานิเทศศาสตร์

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กฤชนนท์ บึงไกร

คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร

ดร.กาญจนา ศรีพฤทธิ์เกียรติ

รองศาสตราจารย์ ดร.กาญจนา แก้วเทพ ดร.ขวัญฟ้า ศรีประพันธ์

คณะการสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ดวงกมล ชาติประเสริฐ

คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

รองศาสตราจารย์ ดร.พีระ จิรโสภณ

คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

ดร.มานะ ตรีรยาภิวัฒน์

คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย

รองศาสตราจารย์ ดร.ยุบล เบ็ญจรงค์กิจ

วิทยาลัยการพาณิชยนาวี มหาวิทยาลัยบูรพา

รองศาสตราจารย์ รุ่งนภา พิตรปรีชา

คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ วาลี ขันธุวาร

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กัลปพฤกษ์ ผิวทองงาม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ก่อพงษ์ พลโยราช

คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชูกลิ่น อุนวิจิตร

คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย

รองศาสตราจารย์ ดร. ทวีศักดิ์ เทพพิทักษ์

คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

รองศาสตราจารย์ ดร.นิตยา เจรียงประเสริฐ

คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

รองศาสตราจารย์ ดร.บุญฑวรรณ วิงวอน

คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏลำ�ปาง

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปิยะลักษณ์ พุทธวงศ์ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ รองศาสตราจารย์ ดร.รวี ลงกานี

รองศาสตราจารย์ ดร.สมสุข หินวิมาน

คณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วัฒนา ยืนยง

คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย

ดร.สินธุ์ สโรบล

วิทยาลัยบริหารศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้

รองศาสตราจารย์ ดร.สุมาลี สันติพลวุฒิ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

รองศาสตราจารย์ ดร.อภินันท์ จันตะนี มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา

Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.6 No. 1 (January - June 2011)


บทน� ำ บทความวิชาการมีคุณค่าในหลายแง่มุม ซึ่งหนึ่งในหลายแง่มุมนั่นก็คือการ สะท้อนให้เห็นความก้าวหน้าในแวดวงวิชาการสาขาต่างๆ ขณะเดียวกันก็สะท้อนให้เห็น ปรากฏการณ์ของความเปลี่ยนแปลงทางสังคมทั้งในอดีต ปัจจุบัน หรือแม้แต่แนวโน้มใน อนาคต ดังจะเห็นในจากบทความต่างๆ ใน “วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัย ราชภัฏเชียงราย” ปีที่ 6 ฉบับที่ 1 ประจำ�เดือนมกราคม-มิถุนายน 2554 บทความวิจัยเรื่องแรกของฉบับนี้ คือ “ปัจจัยทางด้านการรณรงค์ทางการเมือง ทีม่ อี ทิ ธิพลต่อการตัดสินใจลงคะแนนเสียงเลือกตัง้ นายกเทศมนตรีนครเชียงใหม่” ปัจจุบนั ได้ มี ก ารนำ � เอาเทคนิ ค การตลาดในเรื่ อ งต่ า งๆ เข้ า มาปรั บ ใช้ ใ นการรณรงค์ ห าเสี ย ง ทางการเมืองมากขึ้น ทั้งนี้ก็เพื่อจะมีอิทธิพลหรือโน้มน้าวใจผู้มีสิทธิ์ลงคะแนนเสียง แต่ แนวคิดดังกล่าวจะมีอทิ ธิพลจริงหรือไม่ ในระดับใด ผูเ้ ขียนบทความเรือ่ งนีไ้ ด้น�ำ ไปศึกษา กับปรากฏการณ์การเลือกตั้งนายกเทศมนตรีนครเชียงใหม่ กล่าวกันว่า ภาพยนตร์เป็นสือ่ ทีบ่ นั ทึกและสะท้อนให้เห็นความเป็นไปของสังคม ในแต่ละยุคสมัย ขณะเดียวกันในอีกด้านหนึง่ ภาพยนตร์กเ็ ป็นสือ่ ทีป่ ระกอบสร้างความจริง หรือสร้างความหมายขึน้ มาตามทีผ่ สู้ ร้างกำ�หนด ดังนัน้ การจะทำ�ความเข้าใจหรือวิเคราะห์ ภาพยนตร์นั้นก็ขึ้นอยู่กับว่าผู้วิเคราะห์จะใช้ทฤษฎีหรือมุมมองใด ซึ่งบทความเรื่อง “ดูหนังด้วยแว่นทฤษฎี : แนวคิดเบื้องต้นของการวิเคราะห์ภาพยนตร์” ได้มีการรวบรวม และแนะนำ�แนวคิดหรือทฤษฎีร่วมสมัยที่ใช้ในการศึกษาสื่อภาพยนตร์ โดยมีการจัดกลุ่ม ประเภทของแนวคิดหรือทฤษฎีเอาไว้อย่างชัดเจน น้ำ�นับเป็นปัจจัยสำ�คัญต่อการประกอบอาชีพของคนไทย ซึ่งจำ�เป็นต้องอาศัย แหล่งน้ำ�ในการทำ�เกษตรกรรม แต่เมื่อวิถีชีวิตของคนในชุมชนเปลี่ยนแปลงไป แหล่งน้ำ� ในหลายชุ ม ชนก็ เริ่ ม มี ปั ญ หา อาทิ มี ก ารบุ ก รุ ก สร้ า งบ้ า นเรื อ นรุ ก ล้ำ � ลงไปในแม่ น้ำ � ปล่อยน้ำ�เสีย สิ่งปฏิกูล ทิ้งขยะมูลฝอยลงในลำ�น้ำ�ทำ�ให้แหล่งน้ำ�ตื้นเขินและน้ำ�เกิดมลพิษ เป็นต้น ชุมชนลุ่มน้ำ�แม่ห่าง จ.เชียงราย ก็ประสบปัญหาไม่แตกต่างจากชุมชนอื่นๆ จนกระทั่งเกิดการร่วมมือแก้ไขจากทุกภาคส่วนในชุมชนจนทำ�ให้คุณภาพลำ�น้ำ�แม่ห่าง เริ่มดีขึ้น บทความที่สามเรื่อง “กลยุทธ์การสื่อสารเพื่อการบริหารจัดการแหล่งน้ำ�แบบ มีส่วนร่วมของชุมชนในพื้นที่ลุ่มน้ำ�แม่ห่าง อำ�เภอเวียงชัย จังหวัดเชียงราย” ได้สะท้อน ให้ เ ห็ น ความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า งการออกแบบกลยุ ท ธ์ ก ารสื่ อ สารกั บ การจั ด การปั ญ หา สิ่งแวดล้อมในชุมชนดังกล่าว ข

วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปีท่ี 6 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถนุ ายน 2554)


ถนนธนาลัยในเขตอ.เมือง จ.เชียงราย นับว่าเป็นย่านการค้าสำ�คัญของจังหวัด เชียงรายมาตั้งแต่ช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ความสำ�คัญของย่านการค้านี้เทียบเคียงได้กับ ถนนท่าแพ จ.เชียงใหม่ และถนนสบตุ๋ย จ.ลำ�ปาง ความรุ่งเรืองของถนนธนาลัยมีอย่าง ต่อเนือ่ งจนกระทัง่ เริม่ สูจ่ ดุ อิม่ ตัว เมือ่ ความเจริญของตัวเมืองได้ขยายตัวออกไป บทความ วิจัยที่สี่ เรื่อง “การเปลี่ยนแปลงทางด้านการค้าการลงทุนในจังหวัดเชียงรายรอบ 60 ปี (พ.ศ.2489-2550) : กรณีศกึ ษาการเปลีย่ นแปลงทางด้านการค้าการลงทุนของธุรกิจย่าน ถนนธนาลัย” ได้นำ�เสนอให้เห็นถึงพัฒนาการของถนนดังกล่าวได้อย่างมีชีวิตชีวา การใช้จ่ายของภาครัฐและการลงทุนของภาคเอกชนมีส่วนในการเสริมสร้าง เศรษฐกิจไทยหรือไม่อย่างไร ผู้เขียน บทความวิจัยที่ห้า เรื่อง “ผลกระทบของรายจ่าย ภาครัฐและภาคการลงทุนต่อการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของไทย” ได้น�ำ เอาแนวคิดของ เคนส์และแบบจำ�ลองเศรษฐมิติมาวิเคราะห์เพื่อหาคำ�ตอบดังกล่าว ซึ่งทำ�ให้ทราบว่าการ เข้ามาแทรกแซงของรัฐมีผลต่อการเพิ่มขึ้นของผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ การรวมตัวของกลุ่มของชุมชนเพื่อประกอบอาชีพต่างๆ นับว่าเป็นการสร้าง รากฐานที่ดีให้กับประเทศอีกทางหนึ่ง แต่การสร้างความเข้มแข็งให้กับกลุ่มอาชีพเหล่านี้ ให้ดำ�เนินการต่อได้อย่างยั่งยืนนั้นยังประสบปัญหาต่างๆ และยังคงต้องอาศัยแนวทาง พั ฒ นาอี ก หลายประการ บทความวิ จั ย เรื่ อ ง “ปั ญ หาและแนวทางการพั ฒ นาของ กลุม่ อาชีพในเขตเทศบาลตำ�บลแม่สรวย อำ�เภอแม่สรวย จังหวัดเชียงราย” ได้ตอบคำ�ถาม ดังกล่าว สำ�หรับบทความสุดท้ายเป็นบทแนะนำ�หนังสือเรื่อง “Good to Great” ซึ่งเป็น หนังสือทีก่ ล่าวถึงหลักการว่าด้วยการก้าวจากบริษทั ทีด่ ไี ปสูบ่ ริษทั ทีย่ งิ่ ใหญ่ เป็นเรือ่ งเกีย่ ว กับการยกระดับบริษัทหรือองค์กรให้ก้าวไปสู่ความยิ่งใหญ่ (Good to Great) หนังสือ เล่มนี้ผู้เขียนใช้เวลาทำ�การวิจัยและเขียนนานราว 5 ปี จึงได้ออกมาเป็นหนังสือที่อธิบาย ในสิ่งที่ผู้เขียนเรียกว่า “กับดักแห่งความสำ�เร็จ” ซึ่งเป็นสาเหตุที่ทำ�ให้หลายบริษัทไม่ สามารถพัฒนาไปสูค่ วามยิง่ ใหญ่ได้ ขณะเดียวกันผูเ้ ขียนก็ยงั ชีใ้ ห้เห็นว่าหากบริษทั ต้องการ จะพัฒนาไปสู่ความยิ่งใหญ่นั้นจะต้องทำ�อย่างไร พบกันใหม่ฉบับหน้าครับ

คมสัน รัตนะสิมากูล บรรณาธิการ

Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.6 No. 1 (January - June 2011)


สารบั ญ รายนามคณะผู้ทรงคุณวุฒิพิจารณาบทความประจ�ำ “วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย” บทน�ำ ปัจจัยทางด้านการรณรงค์ทางการเมืองที่มีผลต่อการตัดสินใจ ลงคะแนนเสียงเลือกตั้งนายกเทศมนตรีนครเชียงใหม่ ขวัญฟ้า ศรีประพันธ์ ดูหนังด้วยแว่นทฤษฎี : แนวคิดเบื้องต้นของการวิเคราะห์ภาพยนตร์ ก�ำจร หลุยยะพงศ์ กลยุทธ์การสื่อสารเพื่อการบริหารจัดการแหล่งน�้ำแบบมีส่วนร่วม ของชุมชนในพื้นที่ลุ่มน�้ำแม่ห่าง อ�ำเภอเวียงชัย จังหวัดเชียงราย เสริมศิริ นิลด�ำ และชัยยงค์ นาสมทรง การเปลี่ยนแปลงทางด้านการค้าการลงทุนในจังหวัดเชียงราย ในรอบ 60 ปี (พ.ศ.2489-2550) : กรณีศึกษาการเปลี่ยนแปลง ทางด้านการค้าการลงทุนของธุรกิจย่านถนนธนาลัย เฉลิมชัย ค�ำแสน ผลกระทบของรายจ่ายภาครัฐและภาคการลงทุนต่อการเจริญเติบโต ของเศรษฐกิจของไทย สมภูมิ แสวงกุล ปัญหาและแนวทางการพัฒนาของกลุ่มอาชีพในเขตเทศบาล ต�ำบลแม่สรวย อ�ำเภอแม่สรวย จังหวัดเชียงราย นงนุช ศรีธิ และยงยุทธ ชัยรัตนาวรรณ บทแนะน�ำหนังสือ เรื่อง “Good to Great” แนะน�ำโดย สุภัทณี เปี่ยมสุวรรณกิจ หลักเกณฑ์และการเตรียมต้นฉบับส�ำหรับการเสนอบทความ เพื่อเผยแพร่ใน “วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย” ใบสมัครสมาชิก

วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปีท่ี 6 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถนุ ายน 2554)

ก ข 1 21 51 89 118 136 157 164 171


ปัจจัยทางด้ านการรณรงค์ ทางการเมืองทีม่ ผี ลต่ อการตัดสิ นใจ ลงคะแนนเสี ยงเลือกตั้งนายกเทศมนตรีนครเชียงใหม่ * Factors of Political Campaign Affect Decision Making on the Lord Mayor of Chiang Mai Municipality Election of Voters บทคัดย่ อ

ขวัญฟ้ า ศรี ประพันธ์ **

งานวิ จ ัย นี้ มุ่ ง ศึ ก ษาปั จ จัย ที่ มี ผ ลต่ อ การตัด สิ น ใจลงคะแนนเสี ย งเลื อ กตั้ง นายกเทศมนตรี นครเชียงใหม่ ผูว้ ิจยั ได้ใช้การวิจยั เชิงปริ มาณ โดยใช้วิธีการสุ่ มตัวอย่าง แบบหลายขั้นตอน (multi-stage random sampling) ได้กลุ่มตัวอย่างชาวเชียงใหม่ที่มีสิทธิ ลงคะแนนเสี ยงเลือกตั้งในทั้ง 4 แขวงของเขตเทศบาลนครเชียงใหม่ จ�ำนวน 440 คน ผล การทดสอบค่าสัมประสิ ทธิ์ ถดถอยในรู ปของคะแนนมาตรฐาน พบว่า การรับรู ้นโยบาย ของผูส้ มัครฯ มีความส�ำคัญเป็ นอันดับแรกในการพยากรณ์การตัดสิ นใจลงคะแนนเสี ยง เลือกตั้ง (Beta = .326) รองลงมา คือ ความเป็ นผูน้ ำ� ทางความคิดของผูล้ งคะแนนเสี ยงเลือก ตั้ง (Beta = .267) และการรับรู ้ประสบการณ์ของผูส้ มัครฯ (Beta = .154) โดยปัจจัยดังกล่าว สามารถร่ ว มกัน อธิ บ ายความแปรปรวนการตัด สิ น ใจลงคะแนนเสี ย งเลื อ กตั้ง นายก เทศมนตรี นครเชียงใหม่ได้ร้อยละ 35.5 (R² = .355) ดังนั้น ในการรณรงค์หาเสี ยงเลือกตั้ง ควรให้ความส�ำคัญกับการสื่ อสารนโยบายและประสบการณ์ของผูส้ มัครฯ ไปยังผูม้ ีสิทธิ ลงคะแนนเสี ยงเลือกตั้ง นอกจากนี้ ผสู ้ มัครรับเลือกตั้งฯ ควรให้ความส�ำคัญกับผูม้ ีสิทธิ ลงคะแนนเสี ยงที่ตดั สิ นใจเลือกผูส้ มัครฯในวันลงคะแนนเสี ยงเลือกตั้ง โดยใช้รูปแบบ การรณรงค์หาเสี ยงเลือกตั้งผ่านสื่ อมวลชน ค�ำส� ำคัญ : การรณรงค์ ท างการเมื อ ง การตัด สิ น ใจลงคะแนน นายกเทศมนตรี นครเชียงใหม่ * เป็นส่วนหนึ่งของงานวิจัยที่ได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยจากมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ประจ�ำปี พ.ศ. 2553 โดยมีรองศาสตราจารย์ ศิริพงษ์ ลดาวัลย์ ณ อยุธยา เป็นที่ปรึกษาโครงการวิจัย และอาจารย์ฐิติวุฒิ บุญวงศ์ วิวัชร เป็นผู้ร่วมโครงการวิจัย ** ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (สื่อสารมวลชน) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (2550) ปัจจุบันเป็นอาจารย์ประจ�ำคณะ การสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.6 No. 1 (January - June 2011)

1


Abstract The research studies Factors affect decision making on the Lord Mayor of Chiang Mai Municipality Election of Voters. Researcher uses quatitative methodology and questionnaire which was used in a survey research of 440 respondents were selected by multi-stage random sampling from voters. The finding reveals that three factors affect to decision making on the Lord Mayor of Chiang Mai Municipality Election of Voters : 1) policy of the lord mayor of Chiang Mai municipality candidates (Beta =.326) 2) opinion leadership of voters (Beta =.267) 3) experience of the lord mayor of Chiang Mai municipality candidates(Beta =.154). The Multiple Regression Coefficients predicts 40.20 percent (R Square = .402) for affect decision making on the Lord Mayor of Chiang Mai Municipality Election of Voters. The suggestions that three factors should attended for campaign communication : 1) policy of lord mayor of Chiang Mai municipality candidates 2) experience of lord mayor of Chiang Mai municipality candidates and 3) campaign communication in mass media for late decided voters. Keywords : political campaign, decision making of vote, the Lord Mayor of Chiang Mai Municipality

ความส� ำคัญของปัญหา

การตัดสิ นใจลงคะแนนเสี ยงเลือกตั้ง เป็ นการเกี่ ยวพันของพลเมือง (citizen involvement) ในกระบวนการทางการเมือง โดย Trent และ Friedenberg (2000) เห็นว่า การตัดสิ นใจลงคะแนนเสี ยงเลือกตั้ง เป็ นขั้นตอนสุ ดท้ายที่พลเมืองมีความเกี่ยวพันใน กระบวนการทางการเมืองแบบประชาธิปไตย โดยพลเมืองตัดสิ นใจลงคะแนนเสี ยงเลือกตั้ง ที่เป็ นการสะท้อนความคิดของตนเอง (self-reflection) อันเป็ นผลเนื่ องมาจากการรับรู ้ ประเด็นทางเศรษฐกิจและสังคม ที่ผรู ้ ับสมัครรับเลือกตั้งน�ำเสนอผ่านการรณรงค์เลือกตั้ง ในสื่ อต่างๆ เมื่อกล่าวถึงความส�ำคัญของการตัดสิ นใจลงคะแนนเสี ยงเลือกตั้งดังกล่าว Trent และ Friedenberg (2000) ได้สงั เคราะห์แบบแผนพฤติกรรมการตัดสิ นใจลงคะแนนเสี ยง เลือกตั้งประธานาธิบดีของชาวอเมริ กนั ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1940 – 2000 โดยพบว่า ในช่วงเริ่ มต้น 2

วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปีท่ี 6 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถนุ ายน 2554)


ของการรณรงค์การเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐอเมริ กา ในระยะแรกผูม้ ีสิทธิ ลงคะแนน เสี ยงเลื อกตั้งจะยังไม่ มีขอ้ มูล ความรู ้ และการชู ประเด็นทางนโยบายในการรณรงค์ หาเสี ยงเกี่ ยวกับตัวผูส้ มัครรั บเลื อกตั้งเป็ นประธานาธิ บดี แต่ผูม้ ี สิทธิ ลงคะแนนเสี ยง เลื อ กตั้ง กลับ มี ข อ้ มูลทั้ง นโยบายและข้อ มูลของผูส้ มัค รรั บ เลื อกตั้ง และน�ำ ไปสู่ ก าร ตัดสิ นใจลงคะแนนเสียงเลือกตั้งประธานาธิบดี พวกเขาได้ให้อธิบายเหตุผลที่ทำ� ให้ผมู ้ ีสิทธิ ลงคะแนนเสี ยงเลือกตั้งสนใจการรณรงค์หาเสี ยงเลือกตั้งว่าคือ การเพิ่มขึ้นของจ�ำนวน ผูส้ มัครประธานาธิบดี และความคุน้ เคยของประชาชนต่อการเลือกตั้ง โดยเฉพาะการติดต่อ เป็ นการส่ วนตัวของผูล้ งสมัครหาเสี ยงเลือกตั้ง ส�ำหรับเทศบาลนครเชียงใหม่ (Chiang Mai Municipality) แรกเริ่ มเดิมทีเป็ น สุ ขาภิบาลมาตั้งแต่ปีพ.ศ. 2458 และได้รับการยกฐานะจากสุ ขาภิบาลเมืองเชียงใหม่เป็ น เทศบาลนครเชี ยงใหม่ตาม พ.ร.บ.จัดตั้งเทศบาลนครเชี ยงใหม่ พ.ศ.2478 ถื อว่าเป็ น เทศบาลนครแห่งแรกในประเทศไทย และในปี พ.ศ.2547 เป็ นครั้งแรกที่ได้มีการเลือกตั้ง นายกเทศมนตรี นครเชี ยงใหม่โดยตรง (www.prachatai.com/journal/2009/10/26056) จะเห็ นได้ว่า ชาวเชี ยงใหม่มีความคุ น้ เคยกับการเลื อกตั้งระดับท้องถิ่ น อี กทั้งในการ เลือกตั้งครั้งนี้มีจำ� นวนผูส้ มัครมากขึ้น โดยมีท้ งั ในส่ วนของนักการเมืองในระดับท้องถิ่น และนักการเมืองท้องถิน่ ที่ได้รับการสนับสนุนจากพรรคการเมืองในระดับชาติท้งั จากพรรค ประชาธิ ปั ต ย์แ ละพรรคเพื่ อ ไทย ดัง นั้ น ผู ้วิ จ ัย จึ ง สนใจศึ ก ษาว่ า มี ปั จ จัย ใดบ้า งที่ ส่ งผลกระทบต่อการตัดสิ นใจลงคะแนนเสี ยงเลือกตั้งนายกเทศมนตรี นครเชียงใหม่ Scheufele and Shah (2000) เห็นว่า การตัดสิ นใจลงคะแนนเสี ยงเลือกตั้งเป็ นหนึ่ง ในรู ป แบบกิ จ กรรมการมี ส่ ว นร่ ว มทางการเมื อ ง โดยเขาได้แ บ่ ง ระดับ กิ จ กรรมการ มีส่วนร่ วมทางการเมืองจากน้อยไปมากตามล�ำดับ ได้แก่ การลงคะแนนเสี ยง (voting) การ มีกิจกรรมในการรณรงค์ทางการเมือง (campaign activities) การร่ วมกิ จกรรมชุ มชน (communal activities) และการติดต่อกับบุคคลในองค์การทางการเมือง (personal contact) แม้ว่าการลงคะแนนเสี ยงเลือกตั้งเป็ นการมีส่วนร่ วมทางการเมืองในระดับต�่ำที่สุดของ ประชาชน แต่ Trent และ Friedenberg (2000) กลับเห็นว่า เป็ นขั้นตอนส�ำคัญของการ มีส่วนร่ วมทางการเมือง เนื่องจากแสดงให้เห็นการสนับสนุนของผูม้ ีสิทธิลงคะแนนเสี ยง ต่ อ ตัว ผูส้ มัค รรั บ เลื อ กตั้ง และความตั้ง ใจติ ด ตามข้อ มู ล ผูส้ มัค รรั บ เลื อ กตั้ง ผ่า นสื่ อ การรณรงค์หาเสี ยงเลือกตั้ง ในการวิจยั ครั้งนี้ ผูว้ จิ ยั มีความสนใจวิเคราะห์อิทธิพลของการ รณรงค์ห าเสี ย งเลื อ กตั้ง กับ การตัด สิ น ใจลงคะแนนเสี ย งเลื อ กตั้ง นายกเทศมนตรี นครเชี ย งใหม่ ส�ำ หรั บ การศึ ก ษาพฤติ ก รรมการเลื อ กตั้ง เริ่ ม ต้น ที่ ส หรั ฐ อเมริ ก าเมื่ อ Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.6 No. 1 (January - June 2011)

3


1950s-1960s โดยอธิบายเหตุผลของการลงคะแนนเสี ยงเลือกตั้งว่า เป็ นผลมาจากปัจจัยใน ระยะยาว ได้แก่ ฐานะทางสังคม และความรู ้สึกผูกพันกับพรรคการเมือง ต่อมาในช่วง 1960s พบว่ามีการเปลี่ยนแปลงเนื่ องจากผลกระทบจากพรรคการเมืองลดน้อย และคนต้องการ ข่าวสารระหว่างการรณรงค์ทางการเมือง การใช้มืออาชี พในการรณรงค์ และพลังของ สื่ อมวลชน (Lachat and Sciarini, 2002 ) ในส่ วนของการรณรงค์หาเสี ยงเลือกตั้งเป็ นความพยายามที่จะค้นหาวิธีการ เพื่อ มีอิทธิ พลต่อกระบวนการตัดสิ นใจในกลุ่มประชาชนเฉพาะกลุ่ม โดย Gidengil, Blasis, Neevitte and Nadeau (2002) กล่าวถึงการรณรงค์ทางการเมืองว่า เป็ นการแข่งขันในการ ควบคุมการก�ำหนดวาระสาร (agenda setting) การท�ำให้เป็ นประเด็นส�ำคัญในสังคม (priming) แสดงถึงการก�ำหนดวาระสารที่อิงอยูก่ บั อ�ำนาจของสื่ อ ที่มีอิทธิ พลต่อการจัด วาระสาธารณะ ซึ่งการท�ำให้เป็ นประเด็นส�ำคัญในสังคมสามารถน�ำไปสู่การเปลี่ยนแปลง สู่ จิ ต ใจของผู ้ค นได้ โดยผู ้วิ จ ัย มี ค �ำ ถามการวิ จ ัย เกี่ ย วกับ การรณรงค์ ห าเสี ย งของ นายกเทศมนตรี นครเชียงใหม่ ดังนี้ ค�ำถามการวิจัยที่ 1 : รู ปแบบรณรงค์ หาเสี ยงของผู้สมัครฯ มีความสัมพันธ์ กบั การตัดสิ นใจ ลงคะแนนเสี ยงเลือกตั้งนายกเทศมนตรี นครเชี ยงใหม่ อย่ างไร ในการรณรงค์ห าเสี ย งเลื อ กตั้ง ตามแนวทางปั จ จุ บ นั มี ก ารน�ำ แนวคิ ด เรื่ อ ง การจัดการสมัยใหม่สำ� หรับการหาเสี ยงการเลือกตั้ง ด้วยการใช้เทคนิคการตลาดร่ วมสมัย ครอบคลุมถึงการวิจยั ตลาดมหาชน (mass market research) การจ�ำแนกกลุ่มเป้ าหมาย (segmentation and targeting) ความคาดหวังในความต้องการ (anticipating needs) อุดมการณ์ในฐานะที่เป็ นคุณลักษณะที่เป็ นตราสิ นค้าของพรรคหรื อนักการเมือง (ideology as brand character) การวางต�ำแหน่งทางการเมือง (positioning) การพัฒนายุทธศาสตร์ ในการแข่งขันการเลือกตั้ง (strategy development) การลงมือหาเสี ยง (implementation) และการแข่ ง ขัน ในพื้ น ที่ ห าเสี ย งเลื อ กตั้ง (competitive marketplaces) (สุ ร พงษ์ โสธนะเสถียร, 2545) ซึ่งแนวคิดการรณรงค์ทางการเมืองดังกล่าว ผูว้ จิ ยั จะใช้เป็ นแนวทาง ในการเข้าสู่ ปัญหาน�ำวิจยั นอกจากปัจจัยเกี่ยวกับการรณรงค์หาเสี ยงเลือกตั้งแล้ว ผูว้ จิ ยั ยังต้องการวิเคราะห์ ความสัมพันธ์ระหว่างการเปิ ดรับข่าวสารทางการเมือง กับการตัดสิ นใจลงคะแนนเสี ยง เลื อกตั้งนายกเทศมนตรี นครเชี ยงใหม่ โดยผูว้ ิจยั มี คำ� ถามการวิจยั เกี่ ยวกับการเปิ ดรั บ ข่าวสารทางการเมืองของผูม้ ีสิทธิลงคะแนนเสี ยงเลือกตั้ง ดังนี้

4

วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปีท่ี 6 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถนุ ายน 2554)


ค�ำถามการวิจัยที่ 2 : การเปิ ดรั บข่ าวสารทางการเมืองของผู้มีสิทธิ ลงคะแนนเสี ยงเลือกตั้ง มี ความสั มพันธ์ กับการตัดสิ นใจลงคะแนนเสี ยงเลื อกตั้งนายกเทศมนตรี นครเชี ยงใหม่ อย่ างไร ? ตามแนวคิดของ Klapper (อ้างจาก อัญชลี บุนนาค, 2540) กล่าวถึงขั้นตอนการ เลือกเปิ ดรับข้อมูลข่าวสาร (selective process) ว่า บุคคลจากเลือกเปิ ดรับข้อมูลข่าวสารจาก แหล่งต่างๆ ตามความสนใจและความต้องการ (selective exposure) เพือ่ น�ำมาใช้แก้ปัญหา และตอบสนองความต้องการของตน ขณะเดียวกันบุคคลจะเลือกให้ความสนใจเฉพาะ ข้อมูลข่าวสารที่สอดคล้องกับทัศนคติและความเชื่อดั้งเดิมของตน (selective attention) อีกทั้งบุคคลจะเลือกรับรู ้หรื อตีความข้อมูลตามประสบการณ์ส่ังสมของตน (selective perception) ทั้งนี้ ผวู ้ ิจยั สนใจวิเคราะห์การเปิ ดรับสื่ อมวลชนของผูม้ ีสิทธิ ลงคะแนนเสี ยง เลือกตั้ง ได้แก่ วิทยุ โทรทัศน์ หนังสื อพิมพ์ อินเตอร์เน็ต รวมทั้งสื่ อบุคคล ได้แก่ ผูน้ ำ� ใน ชุมชน บุคคลในที่ทำ� งาน บุคคลในครอบครัว และเพือ่ นบ้าน โดยมุง่ วิเคราะห์ความสัมพันธ์ ระหว่างการเปิ ดรับข่าวสารทางการเมืองผ่านสื่ อดังกล่าว กับการตัดสิ นใจลงคะแนนเสี ยง เลือกตั้งนายกเทศมนตรี นครเชียงใหม่ ผลการศึกษาของนักวิชาการที่ผา่ นมา พบว่า การได้รับการประชาสัมพันธ์จาก สื่ อมวลชนมีความสัมพันธ์กบั การไปใช้สิทธิออกเสียงเลือกตั้ง โดยเฉพาะการรับฟังข่าวสาร จากวิทยุ หนังสื อพิมพ์ จะมีความสัมพันธ์กบั การมีส่วนร่ วมทางการเมือง นอกจากนี้ ยงั บุคคลที่รับข่าวสารจากสื่ อมวลชน จะมีแนวโน้มที่จะมีส่วนร่ วมทางการเมืองสูงกว่าผูท้ ี่ใช้ ช่องทางการสื่ อสารระหว่างบุคคล และการได้รับข้อมูลข่าวสารการพัฒนาท�ำให้ประชาชน มีส่วนร่ วมของชุมชนในกิจกรรมสุ ขาภิบาลของหมู่บา้ นพึ่งตนเองทางสาธารณสุ ขมูลฐาน รวมทั้งการศึกษาอิทธิ พลของอินเตอร์ และสื่ อมวลชน ที่มีต่อการมีส่วนร่ วมทางการเมือง ของนักศึกษาในกรุ งเทพมหานคร (พรศรี ใจซื่อ, 2523 ; เสน่ห์ นนทโชติ, 2523 ; เธียรชัย บูรพชนก, 2532 ; มาลินี สมภพเจริ ญ, 2547) นอกจากนี้ Mibrath (1977) ได้กล่าวถึงปัจจัยส่วนบุคคลที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรม การมีส่วนร่ วมทางการเมืองของประชาชน ว่าประกอบด้วย 1) ทัศนคติ (attitude) เป็ นการ รับรู ้ในเชิงบวกหรื อลบที่มีตอ่ การเมือง และความรู ้สึกนี้มีทิศทางเพือ่ สนับสนุนหรื อต่อต้าน นโยบายของผูส้ มัคร 2) ความเชื่ อ (beliefs) เป็ นสิ่ งที่บุคคลคิดว่ากระท�ำบางอย่างหรื อ ปรากฏการณ์บางอย่าง รวมถึงคุณสมบัติของสิ่ งของหรื อบุคคล 3) บุคลิกภาพ (personality) เป็ นสิ่ งที่บอกว่าบุคคลจะปฏิบตั ิอย่างไรในสถานการณ์หนึ่ง ในการวิจยั ครั้งนี้ผวู ้ จิ ยั มีคำ� ถาม การวิจยั เกี่ยวกับตัวผูม้ ีสิทธิลงคะแนนเสี ยงเลือกตั้ง ดังนี้ Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.6 No. 1 (January - June 2011)

5


ค�ำถามการวิ จัยที่ 3 : ปั จจัยส่ วนบุคคลใดบ้ าง ที่ มีความสั มพันธ์ กันกับการตัดสิ นใจลง คะแนนเสี ยงเลือกตั้งนายกเทศมนตรี นครเชี ยงใหม่ ? นักวิชาการที่สนใจศึกษาปั จจัยส่ วนบุคคลของผูม้ ีสิทธิ ลงคะแนนเสี ยงเลือกตั้ง กับอิทธิพลต่อการตัดสิ นใจลงคะแนนเสี ยงเลือกตั้ง อาทิเช่นตัวแปรความเลื่อมใสในพรรค หรื อผูส้ มัคร ที่พบว่า เป็ นปัจจัยท�ำให้คนมีแนวโน้มที่จะเข้ามีส่วนร่ วมทางการเมือง หรื อ ตัวแปรความส�ำนึกในประสิ ทธิภาพทางการเมือง ที่หมายถึง ความรู ้สึกว่าการเปลี่ยนแปลง ทางสังคมและการเมืองย่อมเป็ นไปได้ รวมถึงตัวแปรความส�ำนึกในหน้าที่พลเมือง และ ความเข้าใจการเมือง โดยผลการวิจยั พบว่า บุคคลที่มีคุณลักษณะของตัวแปรดังกล่าวมี แนวโน้มที่จะเข้าไปมีส่วนร่ วมทางการเมือง (Angus Cambell, 1968; ณรงค์ สิ นสวัสดิ์, 2518; Mirbrath, 1977) ส�ำหรับการวิจยั ครั้งนี้ ผวู ้ ิจยั สนใจศึกษาปั จจัยส่ วนบุคคล ได้แก่ ความเป็ นผูน้ ำ� ทางความคิดของผูม้ ีสิทธิลงคะแนนเสี ยงเลือกตั้ง ซึ่ งยังไม่เคยมีการทดสอบ ตัวแปรนี้ ในบริ บทของสังคมไทยในการเลือกตั้งระดับท้องถิ่น นอกจากนี้ ผวู ้ ิจยั ยังสนใจ ทดสอบอิ ทธิ พลของการรั บรู ้ ของผูม้ ี สิทธิ ลงคะแนนเสี ยงเลื อกตั้งเกี่ ยวกับการรณรงค์ หาเสี ยง ที่มีต่อการตัดสิ นใจลงคะแนนเสี ยงเลือกตั้ง ทั้งนี้ ที่ผ่านมายังไม่มีการทดสอบ ความสัมพันธ์ของตัวแปรดังกล่าว กับอิทธิพลที่มีต่อการตัดสิ นใจลงคะแนนเสี ยงเลือกตั้ง นายกเทศมนตรี นครเชียงใหม่

วัตถุประสงค์ ของการวิจยั

เพื่อศึ กษาอิ ทธิ พลของรู ปแบบการรณรงค์หาเสี ยงเลื อกตั้ง การรั บรู ้ เนื้ อหา การรณรงค์หาเสี ยงของผูส้ มัครฯ การเปิ ดรับข่าวสารของผูม้ ีสิทธิ เลือกตั้ง และความเป็ น ผูน้ ำ� ทางความคิดของผูม้ ีสิทธิ เลือกตั้ง ที่มีต่อกับการตัดสิ นใจลงคะแนนเสี ยงเลือกตั้ง นายกเทศบาลนครเชียงใหม่

แนวคิดทีเ่ กีย่ วข้ อง แนวคิดเรื่องการจัดการรณรงค์ หาเสี ยงเลือกตั้ง Schmitt-beck and Farrell (2002) กล่าวถึงการรณรงค์หาเสี ยงเลือกตั้งว่า เป็ นการ ส่งเสริ มข้อผูกมัดในกระบวนการตัดสิ นใจนโยบาย โดยเฉพาะในช่วงทศวรรษหลังมีความ พยายามใช้การรณรงค์ทางการเมือง เพือ่ ระดมการสนับสนุนจากสาธารณชน (to mobilize) เพือ่ โน้มน้าวประชาชน (to persuade) เพือ่ ให้ขอ้ มูลประชาชน ( to inform) เกี่ยวกับนโยบาย สาธารณะและกิ จ กรรมทางการเมื อ ง โดยพวกเขาได้แ บ่ ง การศึ ก ษาด้า นการรณรงค์ 6

วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปีท่ี 6 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถนุ ายน 2554)


ทางการเมืองออกเป็ น 4 ประเภท คือ การลงประชามติ (referendums) การเลือกตั้ง (election) ความสนใจข้อ มู ล ข่ า วสาร (information interest-based) และภาพลัก ษณ์ (image) นอกจากนี้พวกเขาเห็นว่า การรณรงค์หาเสี ยงเลือกตั้งได้ก่อให้เกิดผลกระทบใน 2 ระดับ คือ ระดับจุลภาคที่ส่งผลกระทบต่อปัจเจกบุคคล ได้แก่ ความรู ้ การเปลี่ยนแปลงการรับรู ้ การสนับสนุน การโน้มน้าวใจ การซ�้ำเสริ มความคิด และระดับมหภาคที่ส่งผลกระทบต่อ สังคม ได้แก่ ความส�ำเร็ จในการเลือกตั้งและการลงประชามติ การจัดวาระสาร ก�ำหนด กรอบความคิดของสาธารณชน ความรู ้สาธารณชน นอกจากนี้ Schmitt-beck and Farrell ยังได้ทบทวนการศึกษาผลกระทบของการรณรงค์หาเสี ยงเลือกตั้ง โดยพวกเขาได้แบ่งกลุม่ การศึกษาไว้ 3 กลุ่ม ได้แก่ การศึกษาผลกระทบจากกิจกรรมการรณรงค์ของนักการเมือง (political actors’ campaign activities) การศึกษาผลกระทบจากองค์การรณรงค์และกิจกรรม ขององค์การ (campaign organization and its activities) การศึกษาผลกระทบของสาร ในการรณรงค์ (campaign message) ในการรณรงค์หาเสี ยงเลือกตั้งตามแนวทางปั จจุบนั มีการน�ำแนวคิดเรื่ องการ จัดการสมัยใหม่สำ� หรับการหาเสี ยงการเลือกตั้ง ที่ผวู ้ จิ ยั จะใช้เป็ นแนวทางการเข้าสู่ปัญหา น�ำการวิจยั อันประกอบด้วย การใช้เทคนิคการตลาดร่ วมสมัยครอบคลุมถึงการวิจยั ตลาด มหาชน (mass market research) การจ�ำแนกกลุ่มเป้ าหมาย (segmentation and targeting) ความคาดหวังในความต้องการ (anticipating needs) อุดมการณ์ในฐานะที่เป็ นคุณลักษณะ ที่เป็ นตราสิ นค้าของพรรคหรื อนักการเมือง (ideology as brand character) การวางต�ำแหน่ง ทางการเมือง (positioning) การพัฒนายุทธศาสตร์ ในการแข่งขันการเลือกตั้ง (strategy development) การลงมือหาเสี ยง (implementation) และการแข่งขันในพื้นที่หาเสี ยงเลือกตั้ง (competitive marketplaces) (สุ รพงษ์ โสธนะเสถียร, 2545) แนวคิดเรื่องการตัดสิ นใจลงคะแนนเสี ยงเลือกตั้ง Trent และ Friedenberg (2000) เห็นว่า การตัดสิ นใจลงคะแนนเสี ยงเลือกตั้ง เป็ น ขั้นตอนสุดท้ายที่พลเมืองมีความเกี่ยวพันในกระบวนการทางการเมือง (citizen involvement in political process) แบบประชาธิปไตย โดยผูม้ ีสิทธิเลือกตั้งจะตัดสิ นใจลงคะแนนเสี ยง ผูส้ มัครรับเลือกตั้งต้องผ่านกระบวนการ 3 ขั้นตอน ดังนี้ 1. การปฏิ สัมพันธ์ทางสังคม (social interaction) หมายถึ ง การที่ ผูม้ ี สิทธิ ลงคะแนนเสี ยงเลือกตั้งมีกิจกรรมทางการเมืองกับบุคคลอื่น โดยเป็ นการถกเถียงประเด็น ทางการเมืองต่อกัน ซึ่ งอาจเป็ นเพื่อนที่ทำ� งานหรื อบุคคลในชุมชน การปฏิสัมพันธ์ทาง สังคมลักษณะนี้ได้นำ� ผูม้ ีสิทธิลงคะแนนเสี ยงเลือกตั้งสู่กระบวนการทางการเมือง

Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.6 No. 1 (January - June 2011)

7


2. การปฏิสมั พันธ์กบั สิ่ งอื่นนอกเหนือจากสังคม (parasocial interaction) หมายถึง การปฏิสมั พันธ์กบั สิ่ งอื่นที่ไม่ใช่ตวั บุคคล แต่เป็ นการปฏิสมั พันธ์กบั ข่าวสารที่ได้รับจาก วิ ท ยุ โทรทัศ น์ หนั ง สื อ พิ ม พ์ และเวปไซต์ ข องผู ้ส มัค รรั บ เลื อ กตั้ง โดยผู ้มี สิ ท ธิ ลงคะแนนเสี ยงเลือกตั้งต้องมีขอ้ คิดเห็นต่อตัวผูส้ มัครฯ เมื่อได้รับข่าวสารการรณรงค์ หาเสี ยงเลือกตั้งผ่านรายการโทรทัศน์หรื อการอ่านบทสัมภาษณ์ผา่ นหนังสื อพิมพ์ 3. การสะท้อนความคิดของผูม้ ีสิทธิ ลงคะแนนเสี ยงเลือกตั้ง (self reflection) เป็ นการสะท้อนความคิดของตนเอง อันเป็ นผลเนื่องมาจากการรับรู ้ประเด็นทางเศรษฐกิจ และสังคม ที่ผรู ้ ับสมัครรับเลือกตั้งน�ำเสนอผ่านการรณรงค์เลือกตั้งในสื่ อต่างๆ โดยส่ งผล ให้ผมู ้ ีสิทธิลงคะแนนเสี ยงเลือกตั้งให้การสนับสนุนผูส้ มัครรับเลือกตั้ง

8

วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปีท่ี 6 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถนุ ายน 2554)


กรอบแนวคิดการวิจยั

ผูว้ จิ ยั สนใจประยุกต์แนวคิดรณรงค์หาเสี ยงเลือกตั้งของ Schmitt-beck and Farrell (2002) และการตัดสิ นใจลงคะแนนเสี ยงเลือกตั้งของ Trent และ Friedenberg (2000) เพื่อ กรอบแนวคิดการวิจัย ทดสอบปั จ จัยผูทีว้ ่ ิจมยั ี อสนใจประยุ ิ ท ธิ พ ลต่ การตั ด สิหนาเสีใจลงคะแนนเสี ย งเลืand อ กตั ้ ง นายกเทศบาล กต์แอนวคิ ดรณรงค์ ยงเลือกตั้งของ Schmitt-beck Farrell (2002) และการ นครเชียตังใหม่ ตามรายละเอี ยดในกรอบแนวคิ ดการวิจยั (2000) เพื่อทดสอบปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการ ดสิ นใจลงคะแนนเสี ยงเลือกตั ง้ ของ Trent และ Friedenberg ตัดสิ นใจลงคะแนนเสี ยงเลือกตั้งนายกเทศบาลนครเชียงใหม่ ตามรายละเอียดในกรอบแนวคิดการวิจยั Concept of political participation

ข้ อมูลลักษณะทางประชากรศาสตร์ -เพศ อายุ ระดับการศึกษา อาชีพ รายได้ ปัจจัยส่ วนบุคคลของผู้มสี ิ ทธิลงคะแนนเสี ยง เลือกตั้ง --การเปิ ดรับข่าวสาร -ความเป็ นผูน้ าํ ทางความคิด -การเป็ นสมาชิกพรรค/กลุ่มทางการเมือง การรับรู้ รูปแบบการใช้ สื่อรณรงค์ ของ ผู้สมัครฯ -การรับรู ้ผา่ นสื่ อมวลชน -การรับรู ้ผา่ นสื่ อสาธารณะ -การรับรู ้ผา่ นสื่ อบุคคล

การตัดสิ นใจลงคะแนนเสี ยงเลือกตั้ง นายกเทศมนตรีนครเชียงใหม่ -การปฏิสัมพันธ์ทางสังคม (social interaction) -การปฏิสัมพันธ์กบั สิ่ งอื่นนอกเหนือจากสังคม (parasocial interaction) -การสะท้อนความคิดของผูม้ ีสิทธิลงคะแนนเสี ยง เลือกตั้ง (self reflection)

การรับรู้ เกีย่ วกับคุณสมบัตขิ องผู้สมัครฯ โดยภาพรวม -ลักษณะทัว่ ไปของผูส้ มัครฯ -ประสบการณ์ทาํ งานของผูส้ มัครฯ การรับรู้ เนือ้ หาการรณรงค์ หาเสี ยงของ ผู้สมัครฯ โดยภาพรวม -ภาพลักษณ์ -สโลแกน -นโยบาย Concept of Political Campaign

Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.6 No. 1 (January - June 2011) 7

9


ระเบียบวิธีวจิ ยั

การวิจยั ครั้งนี้ ผูว้ จิ ยั ได้ใช้การวิจยั เชิงปริ มาณ ด้วยวิธีการส�ำรวจ (survey) โดยใช้ วิธีการสุ่ มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน (multi-stage random sampling) จากประชาชนผูม้ ี สิ ทธิ เลื อกตั้งในเขตเทศบาลนครเชี ยงใหม่ ในขั้นแรกแบ่งประชากรผูม้ ี สิทธิ เลื อกตั้ง 146,800 คนในเขตเทศบาลนครเชียงใหม่ ออกเป็ น 4 แขวง คือ แขวงศรี วชิ ยั แขวงเม็งราย แขวงกาวิละ และแขวงนครพิงค์ จากนั้นผูว้ ิจยั ใช้วิธีการคัดเลือกตัวอย่างตามสัดส่ วน (quota sampling) ก�ำหนดให้ทุกแขวงให้มีจำ� นวนตัวอย่างเท่ากัน 110 คน โดยใช้การ คัดเลือกตัวอย่างตามสะดวก (convenient sampling) รวมจ�ำนวนกลุ่มตัวอย่าง 440 คน

ผลการวิจยั

1. การทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู ้ รูปแบบการใช้สื่อรณรงค์ของ ผูส้ มัครฯ กับการตัดสิ นใจลงคะแนนเสี ยงเลือกตั้ง ตารางที่ 1 แสดงค่าสัมประสิ ทธิ์สหสัมพันธ์ระหว่างการรับรู ้รูปแบบรณรงค์ของผูส้ มัครฯ กับการตัดสิ นใจลงคะแนนเสี ยงเลือกตั้ง ส่วน การตัดสินใจ การรับรู้ จำ�นวน ค่าเฉลี่ย เบี่ยงเบน ลงคะแนน Sig. มาตรฐาน เสียงเลือกตั้ง 394 3.5047 .75755 .291*** .000 การรับรู้รูปแบบการใช้สื่อ รณรงค์ของผู้สมัครฯ 1) การรับรู้ผ่านสื่อมวลชน 398 3.0546 .92250 .275*** .000 2) การรับรู้ผ่านสื่อสาธารณะ 4.5 3.8609 .96280 .171** .001 3) การรับรู้ผ่านสื่อบุคคล 4.6 3.6640 .94128 .240*** .000 - *p < 0.05, **p < 0.01, ***p < 0.001 ผลการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ดว้ ยสถิติสหสัมพันธ์เพียร์สนั โดยภาพรวม พบว่า มีความสัมพันธ์เชิงบวกของตัวแปรทั้งสองอยูใ่ นระดับต�่ำ เท่ากับ .291 หมายความว่า ผูม้ ี สิ ทธิ ลงคะแนนเสี ยงเลือกตั้งที่มีการรับรู ้รูปแบบการใช้สื่อรณรงค์ของผูส้ มัครฯสู ง ก็จะมี การตัดสิ นใจลงคะแนนเสี ยงเลือกตั้งสู งด้วย และเป็ นความสัมพันธ์อย่างมีนยั ส�ำคัญทาง สถิติที่ระดับ 0.01 นอกจากนี้ผวู ้ จิ ยั ยังพบว่า มีความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู ้รูปแบบการใช้ 10

วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปีท่ี 6 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถนุ ายน 2554)


สื่ อรณรงค์ของผูส้ มัครฯ 3 รู ปแบบ กับการตัดสิ นใจลงคะแนนเสี ยงเลือกตั้ง โดยเรี ยงล�ำดับ ค่าสหสัมพันธ์เพียร์สนั จากมากไปน้อย คือ การรับรู ้ผา่ นสื่ อมวลชน (r = .275) การรับรู ้ผา่ น สื่ อบุคคล (r = .240) และการรับรู ้ผา่ นสื่ อสาธารณะ (r = .171) 2. การทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู ้เกี่ยวกับคุณสมบัติของผูส้ มัครฯ กับการตัดสิ นใจลงคะแนนเสี ยงเลือกตั้ง ตารางที่ 2 แสดงค่าสัมประสิ ทธิ์สหสัมพันธ์ระหว่างการรับรู ้เกี่ยวกับคุณสมบัติ ของผูส้ มัครฯ กับการตัดสิ นใจลงคะแนนเสี ยงเลือกตั้ง ส่วน การตัดสินใจ การรับรู้ จำ�นวน ค่าเฉลี่ย เบี่ยงเบน ลงคะแนน Sig. มาตรฐาน เสียงเลือกตั้ง การรั บ รู้ เ กี่ ย วกั บ คุ ณ สมบั ติ 406 3.6585 .68019 .291*** .000 ของผู้สมัครฯโดยภาพรวม 1) การรับรูด้ า้ นลักษณะทัว่ ไป 409 3.571 .78519 .256*** .000 ของผู้สมัครฯ 2) การรับรูด้ า้ นประสบการณ์ 413 3.7750 .77836 .333** .001 ทำ�งานของผู้สมัครฯ - *p < 0.05, **p < 0.01, ***p < 0.001 ผลการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ดว้ ยสถิติสหสัมพันธ์เพียร์สนั โดยภาพรวม พบว่า มีความสัมพันธ์เชิงบวกของตัวแปรทั้งสองอยูใ่ นระดับต�่ำ เท่ากับ .256 หมายความว่า ผูม้ ี สิ ท ธิ ล งคะแนนเสี ย งเลื อ กตั้ง ที่ มี ก ารรั บ รู ้ เ กี่ ย วกับ คุ ณ สมบัติ ข องผูส้ มัค รฯ สู ง ก็ จ ะ การตัดสิ นใจลงคะแนนเสียงเลือกตั้งสูงด้วยและเป็ นความสัมพันธ์อย่างมีนยั ส�ำคัญทางสถิติ ที่ระดับ 0.01 นอกจากนี้ผวู ้ จิ ยั ยังพบว่า มีความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู ้เกี่ยวกับคุณสมบัติ ของผูส้ มัครฯ 2 ลักษณะ กับการตัดสิ นใจลงคะแนนเสี ยงเลื อกตั้ง คื อ การรั บรู ้ ดา้ น ประสบการณ์ทำ� งานของผูส้ มัครฯ มีความสัมพันธ์กบั การตัดสิ นใจลงคะแนนเสี ยงเลือกตั้ง อยูใ่ นระดับปานกลาง (r = .333) ขณะที่การรับรู ้ดา้ นลักษณะทัว่ ไปของผูส้ มัครฯ มีความ สัมพันธ์กบั การตัดสิ นใจลงคะแนนเสี ยงเลือกตั้งอยูใ่ นระดับต�่ำ (r = .256) 3. การทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู ้เนื้ อหาการรณรงค์หาเสี ยงของ ผูส้ มัครฯ กับการตัดสิ นใจลงคะแนนเสี ยงเลือกตั้ง Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.6 No. 1 (January - June 2011)

11


ตารางที่ 3 แสดงค่าสัมประสิ ทธิ์สหสัมพันธ์ระหว่างการรับรู ้เนื้อหาการรณรงค์หาเสี ยง ของผูส้ มัครฯ กับการตัดสิ นใจลงคะแนนเสี ยงเลือกตั้ง ส่วน การตัดสินใจ การรับรู้ จำ�นวน ค่าเฉลี่ย เบี่ยงเบน ลงคะแนน Sig. มาตรฐาน เสียงเลือกตั้ง การรับรู้เนื้อหาการรณรงค์ 394 3.5047 .75755 .537*** .000 หาเสียงของผู้สมัครฯ โดยภาพรวม 1) การรับรู้ภาพลักษณ์ 397 3.4370 .99067 .288*** .000 2) การรับรู้สโลแกน 399 3.5489 .93631 .334*** .000 3) การรับรู้นโยบาย 382 3.0925 .89871 .534*** .000 - *p < 0.05, **p < 0.01, ***p < 0.001 ผลการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ดว้ ยสถิติสหสัมพันธ์เพียร์สนั โดยภาพรวม พบว่า มีความสัมพันธ์เชิ งบวกของตัวแปรทั้งสองอยู่ในระดับสู ง เท่ากับ .537 หมายความว่า ผูม้ ี สิทธิ ลงคะแนนเสี ยงเลื อกตั้ง ที่ มีการรั บรู ้ เนื้ อหาการรณรงค์หาเสี ยงของผูส้ มัครฯ โดยภาพรวมสู ง ก็จะมีการตัดสิ นใจลงคะแนนเสี ยงเลือกตั้งสู งด้วย และเป็ นความสัมพันธ์ อย่างมีนยั ส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 นอกจากนี้ผวู ้ ิจยั ยังพบว่า มีความสัมพันธ์ระหว่าง การรับรู ้เนื้อหาการรณรงค์หาเสี ยงของผูส้ มัครฯ 3 ประเด็น กับการตัดสิ นใจลงคะแนนเสี ยง เลื อ กตั้ง โดยมี ค่ า สหสั ม พัน ธ์ เ พี ย ร์ สั น เรี ย งจากมากไปน้อ ย คื อ การรั บ รู ้ น โยบาย มีความสัมพันธ์กบั การตัดสิ นใจลงคะแนนเสี ยงเลือกตั้งอยูใ่ นระดับสู ง (r = .534) ส�ำหรับ การรับรู ้ภาพลักษณ์มีความสัมพันธ์กบั การตัดสิ นใจลงคะแนนเสี ยงเลือกตั้งอยูใ่ นระดับ ปานกลาง (r = .334) ขณะที่การรับรู ้สโลแกนมีความสัมพันธ์กบั การตัดสิ นใจลงคะแนน เสี ยงเลือกตั้งอยูใ่ นระดับต�่ำ (r = .288)

12

วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปีท่ี 6 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถนุ ายน 2554)


4. การทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างปั จจัยภายในของผูม้ ีสิทธิ ลงคะแนนเสี ยง เลือกตั้ง กับการตัดสิ นใจลงคะแนนเสี ยงเลือกตั้ง ก. การทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างการเปิ ดรับข่าวสาร และความเป็ นผูน้ ำ� ทาง ความคิด กับการตัดสิ นใจลงคะแนนเสี ยงเลือกตั้ง ตารางที่ 4 แสดงค่าสัมประสิ ทธิ์สหสัมพันธ์ระหว่างปั จจัยภายในของผูม้ ีสิทธิ ลงคะแนนเสี ยงเลือกตั้ง กับการตัดสิ นใจลงคะแนนเสี ยงเลือกตั้ง ส่วน การตัดสินใจ ปัจจัยภายในของผู้มีสิทธิลง จำ�นวน ค่าเฉลี่ย เบี่ยงเบน ลงคะแนน Sig. คะแนนเสียงเลือกตั้ง มาตรฐาน เสียงเลือกตั้ง 1) การเปิดรับข่าวสาร 381 2.6667 .82460 .294*** .000 2) ความเป็นผูน้ �ำ ทางความคิด 389 2.8406 .83036 .479*** .000 - *p < 0.05, **p < 0.01, ***p < 0.001 ผลการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ดว้ ยสถิตสิ หสัมพันธ์เพียร์สนั พบว่า มีความสัมพันธ์ ระหว่างความเป็ นผูน้ ำ� ทางความคิดของผูม้ ีสิทธิ ลงคะแนนเสี ยงเลือกตั้ง กับการตัดสิ นใจ ลงคะแนนเสี ยงเลื อกตั้ง อยู่ใ นระดับปานกลาง เท่ ากับ .479 หมายความว่า ผูม้ ี สิท ธิ ลงคะแนนเสี ยงเลือกตั้งที่มีความเป็ นผูน้ ำ� ทางความคิดสู ง ก็จะมีการตัดสิ นใจลงคะแนน เสี ย งเลื อ กตั้ง สู ง ด้ว ย และเป็ นความสัม พัน ธ์ อ ย่า งมี นัย ส�ำ คัญ ทางสถิ ติ ที่ ร ะดับ 0.01 นอกจากนี้ ผูว้ ิ จ ัย ยัง พบว่ า การเปิ ดรั บ ข่ า วสารของผูม้ ี สิ ท ธิ ล งคะแนนเสี ย งเลื อ กตั้ง มี ความสัมพันธ์กบั การตัดสิ นใจลงคะแนนเสี ยงเลื อกตั้งอยู่ในระดับต�่ำ เท่ ากับ .294 หมายความว่า ผูม้ ี สิทธิ ลงคะแนนเสี ยงเลื อกตั้งที่ มีการเปิ ดรั บข่ าวสารสู ง ก็จะมี การ ตัดสิ นใจลงคะแนนเสี ยงเลือกตั้งสูงด้วย และเป็ นความสัมพันธ์อย่างมีนยั ส�ำคัญทางสถิติที่ ระดับ 0.01 ข. การทดสอบความแตกต่ า งของค่ า เฉลี่ ย ระหว่ า งปั จ จัย การเป็ นสมาชิ ก พรรคการเมืองระดับชาติหรื อกลุ่มการเมืองระดับท้องถิ่น กับการตัดสิ นใจลงคะแนนเสี ยง เลือกตั้ง

Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.6 No. 1 (January - June 2011)

13


ตารางที่ 5 การทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยระหว่างปั จจัยการเป็ นสมาชิก พรรคการเมืองระดับชาติ หรื อกลุ่มการเมืองระดับท้องถิ่น กับการตัดสิ นใจลงคะแนนเสี ยงเลือกตั้ง ส่วน Sig การเป็นสมาชิกพรรคการเมือง จำ�นวน ค่าเฉลี่ย เบี่ยงเบน t (2-tail) มาตรฐาน ผู้ มี สิ ท ธิ ล งคะแนนเสี ย งฯที่ เ ป็ น 32 3.3125 1.06552 .264 .792 สมาชิกพรรคการเมืองระดับชาติ หรือกลุ่มการเมืองระดับท้องถิ่น ผูม้ สี ทิ ธิลงคะแนนเสียงฯทีไ่ ม่ได้เป็น 357 3.2701 .85231 สมาชิกพรรคการเมืองระดับชาติหรือ กลุม่ การเมืองระดับท้องถิน่ - *p < 0.05, **p < 0.01, ***p < 0.001 ผูว้ จิ ยั ตั้งสมมติฐานว่า ผูม้ สี ิทธิลงคะแนนเสียงเลือกตั้งทีเ่ ป็ นสมาชิกพรรคการเมือง ระดับชาติหรื อกลุ่มการเมืองระดับท้องถิ่น มีการตัดสิ นใจลงคะแนนเสี ยงเลือกตั้งมากกว่า ผูท้ ี่ไม่ได้เป็ นสมาชิ กพรรคการเมืองระดับชาติหรื อกลุ่มการเมืองระดับท้องถิ่น ผลการ ทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยด้วยสถิติ t พบว่า ค่า t เท่ากับ .264 และมีค่า Sig (2-tail) เท่ากับ .225 ดังนั้นค่า P-Value = 1-Sig/2 = .6355 จึงยอมรับสมมติฐานว่างที่วา่ ผูม้ ีสิทธิ ลงคะแนนเสี ยงเลือกตั้งที่เป็ นสมาชิ กพรรคการเมืองระดับชาติหรื อกลุ่มการเมืองระดับ ท้องถิ่น มีการตัดสิ นใจลงคะแนนเสี ยงเลือกตั้งมากกว่าผูท้ ี่ไม่ได้เป็ นสมาชิกพรรคการเมือง ระดับชาติหรื อกลุ่มการเมือง

14

วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปีท่ี 6 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถนุ ายน 2554)


5. การวิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการตัดสิ นใจลงคะแนนเสี ยงเลือกตั้ง นายกเทศบาลนครเชียงใหม่ ตารางที่ 6 อ�ำนาจในการพยากรณ์ตามล�ำดับที่ของตัวแปรที่ใช้พยากรณ์การตัดสิ นใจ ลงคะแนนเสี ยงเลือกตั้ง R² ตัวแปรพยากรณ์ R R² F Sig Change การรับรู้นโยบายของผู้สมัครฯ .524 .274 .272 122.046*** .000 ความเป็นผู้นำ�ทางความคิดของ .579 .335 .331 81.179*** .000 ผู้ลงคะแนนเสียงเลือกตั้ง การรับรู้ประสบการณ์ของผู้สมัคร .596 .355 .349 58.943*** .000 - *p < 0.05, **p < 0.01, ***p < 0.001 ผลการวิเคราะห์ พหุ คูณแบบหลายขั้นตอน มี รายละเอี ยดการวิเคราะห์ ดงั นี้ ในขั้นที่ 1 การรั บรู ้ นโยบายของผูส้ มัครฯ สามารถอธิ บายความแปรปรวนของการ ตัดสิ นใจลงคะแนนเสี ยงเลื อกตั้งได้อย่างมี นัยส�ำคัญทางสถิ ติที่ระดับ .001 โดยมี ค่า สัมประสิ ทธิ์การพยากรณ์ (R²) เท่ากับ .274 แสดงว่า การรับรู ้นโยบายของผูส้ มัครฯ ของ กลุ่มตัวอย่างสามารถพยากรณ์การตัดสิ นใจลงคะแนนเสี ยงเลือกตั้งได้ร้อยละ 27.4 ขั้นที่ 2 เมื่อเพิ่มตัวพยากรณ์ความเป็ นผูน้ ำ� ทางความคิดของผูล้ งคะแนนเสี ยง เลือกตั้ง ค่าสัมประสิ ทธิ์พยากรณ์เพิ่มขึ้นเป็ น .335 สามารถเพิ่มประสิ ทธิภาพการพยากรณ์ ได้อย่างมีนยั ส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .001 แสดงว่า การรับรู ้นโยบายของผูส้ มัครฯ และความ เป็ นผูน้ ำ� ทางความคิดของผูล้ งคะแนนเสี ยงเลือกตั้ง สามารถร่ วมกันอธิบายความแปรปรวน การตัดสิ นใจลงคะแนนเสี ยงเลือกตั้ง ได้ร้อยละ 33.5 ขั้นที่ 3 เมื่อเพิ่มตัวพยากรณ์การรับรู ้ประสบการณ์ของผูส้ มัครฯ ค่าสัมประสิ ทธิ์ พยากรณ์เพิ่มขึ้นเป็ น .355 สามารถเพิ่มประสิ ทธิภาพการพยากรณ์ได้อย่างมีนยั ส�ำคัญทาง สถิติที่ระดับ .001 แสดงว่า การรับรู ้นโยบายของผูส้ มัครฯ ความเป็ นผูน้ ำ� ทางความคิดของ ผูล้ งคะแนนเสี ยงเลือกตั้ง และการรับรู ้ประสบการณ์ของผูส้ มัครฯ สามารถร่ วมกันอธิบาย ความแปรปรวนการตัดสิ นใจลงคะแนนเสี ยงเลือกตั้งได้ร้อยละ 35.5

Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.6 No. 1 (January - June 2011)

15


ตารางที่ 7 ค่าสัมประสิ ทธิ์ถดถอยของตัวแปรพยากรณ์ในรู ปคะแนนดิบ (b) และคะแนน มาตรฐาน(β) ทดสอบความมีนยั ส�ำคัญของ b และแสดงสมการถดถอยพหุคูณที่ใช้ พยากรณ์การตัดสิ นใจลงคะแนนเสี ยงเลือกตั้ง ตัวแปรพยากรณ์ b S.E. β t Sig การรับรู้นโยบายของผู้สมัครฯ .310 .052 .326 5.973*** .000 ความเป็นผู้นำ�ทางความคิดของ .278 .055 .267 5.021*** .000 ผู้ลงคะแนนเสียงเลือกตั้ง การรับรู้ประสบการณ์ของผู้สมัคร .166 .053 .154 3.155*** .000 *p < 0.05, **p < 0.01, ***p < 0.001 จากตารางที่ 14 แสดงว่าเมื่อพิจารณาค่าสัมประสิ ทธิ์ ถดถอยในรู ปของคะแนน มาตรฐาน (β) พบว่า ตัวพยากรณ์ที่มีค่าสูงสุ ด คือ การรับรู ้นโยบายของผูส้ มัครฯ (.326) รองลงมา คือ ความเป็ นผูน้ ำ� ทางความคิดของผูล้ งคะแนนเสี ยงเลือกตั้ง (.267) และการ รับรู ้ประสบการณ์ของผูส้ มัครฯ (.154) ตามล�ำดับ หรื อกล่าวได้วา่ การรับรู ้นโยบายของ ผูส้ มัครฯ มีความส�ำคัญเป็ นอันดับแรกในการพยากรณ์การตัดสิ นใจลงคะแนนเสี ยงเลือกตั้ง รองลงมา คือ ความเป็ นผูน้ ำ� ทางความคิดของผูล้ งคะแนนเสี ยงเลือกตั้ง และการรับรู ้ ประสบการณ์ของผูส้ มัครฯ โดยปัจจัยดังกล่าว สามารถร่ วมกันอธิบายความแปรปรวนการ ตัดสิ นใจลงคะแนนเสี ยงเลือกตั้งได้ร้อยละ 35.5 (R² = .355)

สรุปและอภิปรายผล

1. การตอบสนองของผูม้ ีสิทธิเลือกตั้งต่อเนื้อหาการรณรงค์หาเสี ยงเลือกตั้ง ผูม้ สี ิทธิลงคะแนนเสียงเลือกตั้งตัดสินใจลงคะแนนเสียง โดยตอบสนองต่อเนื้อหา การรณรงค์หาเสี ยงของผูส้ มัครฯเรี ยงตามล�ำดับจากมากไปน้อย คือ นโยบาย สโลแกน ประสบการณ์ทำ� งาน และภาพลักษณ์ของผูส้ มัครฯ อธิบายได้ดว้ ยแนวคิดของ Noris และ คณะ( 1999) ว่า เนื่ อ งจากในการรณรงค์ห าเสี ย งเลื อ กตั้ง ผูส้ มัค รฯแต่ ล ะคนต่ า งมุ่ ง เชื่อมสัมพันธ์กบั ผูม้ ีสิทธิลงคะแนนเสี ยงเลือกตั้ง โดยการใช้แหล่งข้อมูลที่หลากหลายทั้ง การเดินพบปะกับประชาชน การโฆษณาด้วยโปสเตอร์ และการเป็ นข่าวในสื่ อมวลชน รวมถึงการปราศรัยหาเสี ยงของผูส้ มัครฯ ทั้งหมดเป็ นวิธีการที่ผสู ้ มัครฯทุกคนใช้เพือ่ แสดง ให้เห็นความมุ่งมัน่ ตั้งใจของตนเอง ดังนั้นผูร้ ับสารจึงสามารถรับรู ้นโยบาย สโลแกนและ ประสบการณ์ทำ� งานผ่านสื่ อรณรงค์หาเสี ยงของผูส้ มัครรับเลือกตั้งฯ นอกจากนี้ ในส่ วน ของการตอบสนองจากผูม้ ีสิทธิ ลงคะแนนเสี ยงเลือกตั้งอธิ บายได้ว่า เนื่ องจากผูม้ ีสิทธิ 16

วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปีท่ี 6 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถนุ ายน 2554)


ลงคะแนนเสี ย งเลื อ กตั้ง ต้อ งการความรู ้ ท างการเมื อ ง (political knowledge) ซึ่ ง หมายรวมถึ ง ข้อ มู ล ข่ า วสารเกี่ ย วกับ นโยบายของผูส้ มัค รฯ และในกรณี ที่ ผูม้ ี สิ ท ธิ ลงคะแนนเสี ยงเลือกตั้งมีการเปิ ดรับสื่ ออย่างตั้งใจ จะน�ำไปสู่ การเปลี่ยนแปลงความรู ้ ทางการเมือง การเปลี่ยนแปลงความศรัทธาต่อการเมือง และการเปลี่ยนแปลงต่อการมี ส่วนร่ วมทางการเมือง (Noris และคณะ, 1999) ดังนั้น การเปิ ดรับเนื้อหาการรณรงค์หาเสี ยง ของผูม้ ีสิทธิลงคะแนนเสี ยงเลือกตั้ง จึงสร้างให้เกิดความเปลี่ยนแปลงด้านความรู ้เกี่ยวกับ นโยบายของผูส้ มัครฯ และน�ำไปสู่ การตัดสิ นใจลงคะแนนเลื อกตั้งในกระบวนการมี ส่ วนร่ วมทางการเมือง 2. ผลกระทบของรู ปแบบการรณรงค์หาเสี ยงเลือกตั้ง ผูม้ ีสิทธิ ลงคะแนนเสี ยงเลือกตั้งมีค่าเฉลี่ยการรับรู ้รูปแบบการรณรงค์หาเสี ยง เลือกตั้งมากที่สุดผ่านสื่ อสาธารณะ สื่ อบุคคล และสื่ อมวลชนตามล�ำดับ แต่อย่างไรก็ตาม เมื่อทดสอบความสัมพันธ์ของรู ปแบบสื่ อรณรงค์หาเสี ยงเลือกตั้งทั้ง 3 รู ปแบบ กลับพบว่า การรับรู ้การรณรงค์หาเสี ยงผ่านสื่ อมวลชนมีความสัมพันธ์กบั การตัดสิ นใจลงคะแนนเสี ยง เลือกตั้งมากที่สุด ทั้งนี้อธิบายได้วา่ การน�ำเสนอเนื้อหาการรณรงค์หาเสี ยงผ่านสื่ อมวลชน นั้น ผูส้ มัครฯแต่ละคนต่างก�ำหนดประเด็นและเนื้ อหาหลัก โดยสื่ อมวลชนท�ำหน้าที่ ถ่ายทอดไปยังผูม้ ีสิทธิลงคะแนนเสี ยงเลือกตั้ง ขณะเดียวกันสื่ อมวลชนยังมีอิทธิพลต่อการ ตัดสิ นใจลงคะแนนเสี ยงเลือกตั้ง ทั้งนี้อิทธิพลของรู ปแบบการรณรงค์หาเสี ยงเลือกตั้งผ่าน สื่ อมวลชน ให้คำ� อธิ บายด้วยทฤษฎี การจัดวาระสาร (Agenda Setting Theory) ของ McCombs และ Shaw (อ้างใน Noris และคณะ, 1999) ที่วา่ “สื่ อไม่เพียงบอกเราว่าควรคิด เรื่ องอะไร และพวกเขายังบอกเราอีกว่าควรคิดกับมันอย่างไร” เช่นเดียวกับกรณี การวิจยั การเลือกตั้งในสหราชอาณาจักรของ Semeko (อ้างใน Noris และคณะ, 1999) ที่พบว่า การจัดวาระสารของโทรทัศน์มีความส�ำคัญในการเลือกตั้ง ของสหราชอาณาจักร Semeko ได้ให้เหตุผลว่าเกิดจากการโฆษณาหาเสี ยงเลือกตั้งของ นักการเมือง และการก�ำหนดให้สถานีโทรทัศน์สาธารณะต้องมีเวลาออกอากาศส�ำหรับการ หาเสี ยงของผูส้ มัครฯ (อ้างใน Noris และคณะ, 1999) อย่างไรก็ตามในกรณี ของการเลือกตั้ง นายกเทศมนตรี น ครเชี ย งใหม่ แ ม้ไ ม่ มี เ วลาออกอากาศส�ำ หรั บ ผูส้ มัค รฯ แต่ ล ะคน แต่มีการถ่ายทอดการอภิปรายของผูส้ มัครฯ ผ่านทางสถานี โทรทัศน์ไทย ขณะเดียวกัน สื่ อหนังสื อพิมพ์ทอ้ งถิ่นมีการรายงานข่าวการเลือกตั้ง และการรณรงค์หาเสี ยงของผูส้ มัครฯ อย่างต่อเนื่อง รวมถึงการโฆษณาหาเสี ยงเลือกตั้งของผูส้ มัครฯ ในช่วงท้ายก่อนวันเลือกตั้ง ดังนั้น การจัดวาระสารของสื่ อมวลชนเกี่ยวกับการเลือกตั้งและการหาเสี ยงเลือกตั้งของ ผูส้ มัครฯ จึงเป็ นการบอกให้ผมู ้ ีสิทธิ ลงคะแนนเสี ยงเลือกตั้งคิดเรื่ องอะไรและควรคิดกับ เรื่ องนั้นอย่างไร ซึ่งสอดคล้องกับผลการวิจยั ครั้งนี้ที่พบว่า ผูม้ ีสิทธิลงคะแนนเสี ยงเลือกตั้ง Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.6 No. 1 (January - June 2011)

17


มากถึงร้อยละ 30 ที่ตดั สิ นใจเลือกผูส้ มัครฯในวันเลือกตั้ง แม้วา่ การรับรู ้การรณรงค์หาเสี ยง ผ่ า นสื่ อสาธารณะมี ค่ า เฉลี่ ย มากที่ สุ ด แต่ ก ลับ ไม่ ไ ด้ มี อิ ท ธิ พ ลต่ อ การตัด สิ นใจ ลงคะแนนเสี ยงเลือกตั้ง ขณะที่การรับรู ้การรณรงค์หาเสี ยงผ่านสื่ อสาธารณะมีค่าเฉลี่ย น้อยที่สุด กลับมีอิทธิพลต่อการตัดสิ นใจลงคะแนนเสี ยงเลือกตั้งมากที่สุด ทั้งนี้เหตุผลอาจ เนื่ องมาจากผูม้ ีสิทธิ ลงคะแนนเสี ยงเลือกตั้งใช้ขอ้ มูลจากสื่ อมวลชนเป็ นส่ วนประกอบ ในการตัดสิ นใจลงคะแนนเสี ยงเลือกตั้งนายกเทศมนตรี นครเชียงใหม่ 3. ความเป็ นผูน้ ำ� ทางความคิดและการเปิ ดรับสื่อของผูม้ สี ิทธิลงคะแนนเสียงเลือกตั้ง การตัดสิ นใจลงคะแนนเสี ยงเลือกตั้งมีความสัมพันธ์กบั ปั จจัยภายในผูม้ ีสิทธิ ลงคะแนนเสี ยงเลือกตั้งตามล�ำดับ คือ ความเป็ นผูน้ ำ� ทางความคิด และการเปิ ดรับสื่ อ ส�ำหรับความเป็ นผูน้ ำ� ทางความคิดของผูม้ สี ิทธิลงคะแนนเสียงเลือกตั้งเป็ นปัจจัยทีม่ อี ทิ ธิพล ต่อการตัดสิ นใจลงคะแนนเสี ยงเลือกตั้งมากที่สุด เนื่องจากความเป็ นผูน้ ำ� ทางความคิดต้อง มีคุณลักษณะคือ เป็ นผูต้ ิดตามข่าวสาร แลกเปลี่ยนความคิดเห็นต่อบุคคลอื่น การแก้ปัญหา ส่ วนรวม จนกระทัง่ ได้รับการยอมรับจากบุคคลรอบข้าง ดังนั้น การเป็ นผูต้ ิดตามข่าวสาร ของผูน้ ำ� ทางความคิดจึงท�ำให้มีการรับรู ้ต่อความทันสมัยของสังคม สอดคล้องกับความคิด ของ Robert Putnan (1993) ที่ต้งั ข้อสันนิษฐานว่า ความทันสมัยของสังคมเป็ นปัจจัยกระตุน้ ให้เกิดความสนใจทางการเมือง โดยเขาระบุวา่ มีอทิ ธิพลของความทันสมัยในสังคมทุนนิยม คือ โทรทัศน์ รู ปแบบการด�ำเนินชีวติ กลุ่มผลประโยชน์ และเครื อข่ายทางสังคม อย่างไร ก็ตามความเป็ นผูน้ ำ� ทางความคิดที่เป็ นผูเ้ ปิ ดรับข่าวสารที่หลากหลาย เช่นกรณี ของ Putnan มีขอ้ เสนอเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างความสนใจและการมีส่วนร่ วมทางการเมืองว่า เกิดจากการท�ำงานร่ วมกันจากปัจจัยที่หลากหลาย ไม่เฉพาะปั จจัยด้านการเปิ ดรับข่าวสาร ทางการเมืองเท่านั้น เช่นเดียวกับข้อค้นพบของ McAllister (2002) ที่ศึกษาการรณรงค์ ทางการเมืองของ George W. Bush and Al Gore ในปี 2000 พบว่า ผูม้ ีสิทธิ เลือกตั้งจะ ประเมินข่าวสารระหว่างการรณรงค์ที่ได้รับจากสื่ อ ครอบครัว และเครื อข่ายทางสังคม ในกรณี อิทธิ พลของการเปิ ดรับสื่ อที่มีต่อการตัดสิ นใจลงคะแนนเสี ยงเลือกตั้ง Lazarfeld (อ้างใน Noris และคณะ, 1999) ได้ให้เหตุผลของการเปิ ดรับสื่ อของผูม้ ีสิทธิ ลงคะแนนเสี ยงเลือกตั้งว่า การเปิ ดรับข่าวสารในช่วงการรณรงค์หาเสี ยงเลือกตั้ง เพราะ ผูม้ ีสิทธิ ลงคะแนนเสี ยงเลือกตั้งว่าจะต้องลงคะแนนเสี ยงอย่างไร และกลุ่มคนที่ตดั สิ นใจ ช้าต้องการข้อมูลที่ผา่ นการตรวจสอบจากสื่ อมวลชนส�ำหรับผลการลงคะแนนเสี ยงเลือกตั้ง อย่างไรก็ตามการเปิ ดรับข่าวสารนั้นมาจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย โดย Schmitt-beck and Farrell (2002) เห็ น ว่า ข้อ มู ล ข่ า วสารเป็ นสิ่ ง ส�ำ คัญ ในกระบวนการตัด สิ น ใจ ลงคะแนนเสี ยงเลือกตั้ง ซึ่งมีแหล่งที่มาของข้อมูลที่หลากหลาย และการรณรงค์การเลือกตั้ง เป็ นหนึ่ งในแหล่งข้อมูล ทั้งนี้ ผูม้ ีสิทธิ ลงคะแนนเสี ยงเลือกตั้งอาจเกิ ดความประทับใจ 18

วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปีท่ี 6 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถนุ ายน 2554)


นักการเมืองจากการมีประสบการณ์ในชีวติ ประจ�ำวัน โดยผูม้ ีสิทธิลงคะแนนเสี ยงเลือกตั้ง แสดงบทบาททางการเมืองจากสภาพแวดล้อมทางสังคม ได้แก่ การดูโทรทัศน์ การฟั ง บทสนทนาทางการเมือง รวมถึงการถกประเด็นทางการเมืองในครอบครัว ส�ำหรับข้อมูล ข่าวสารการรณรงค์จึงมีหลายขั้นตอนและมีความซับซ้อนหลากหลายมากขึ้น (multi-step of information) แต่อย่างไรก็ตามพวกเขาเห็นว่า กระบวนการตัดสิ นใจลงคะแนนเสี ยง เลือกตั้งเป็ นการท�ำงานร่ วมกันระหว่างสื่ อมวลชนและการสื่ อสารระหว่างบุคคล

ข้ อเสนอแนะ

1. ผูส้ มัครฯจึงควรให้ความส�ำคัญกับการสื่ อสารนโยบาย รวมทั้งการก�ำหนด สโลแกนที่ตอ้ งมีลกั ษณะของข้อความที่ส้ นั กระชับ และสร้างความจดจ�ำนโยบายผูส้ มัครฯ ให้เกิ ดกับผูม้ ีสิทธิ ลงคะแนนเสี ยงเลือกตั้ง ในส่ วนของเนื้ อหาการรณรงค์หาเสี ยงด้าน ประสบการณ์ทำ� งาน ผูส้ มัครฯควรสื่ อสารกับผูม้ ีสิทธิลงคะแนนเสี ยงในประเด็นเกี่ยวกับ การท�ำประโยชน์เพื่อสาธารณะและประสบการณ์การทางการบริ หาร 2. ผูส้ มัค รฯควรให้ค วามสนใจกับ รู ป แบบการรณรงค์ห าเสี ย งเลื อ กตั้ง ทั้ง สื่ อมวลชน สื่ อบุคคล และสื่ อสาธารณะ ทั้งนี้เนื่องจากแต่ละสื่ อต่างมีอิทธิ พลร่ วมกันต่อ การตัดสิ นใจลงคะแนนเสี ยงเลือกตั้ง โดยสื่ อมวลชนเป็ นสื่ อมีอทิ ธิพลต่อผูม้ ีสิทธิลงคะแนน เสียงเลือกตั้งควรจะมีความคิดเห็นอย่างไร ซึ่งผูส้ มัครฯควรใช้เป็ นสื่อการรณรงค์ในช่วงท้าย ของการรณรงค์หาเสี ยงเลือกตั้ง ขณะที่สื่อสาธารณะท�ำให้ผมู ้ ีสิทธิลงคะแนนเสี ยงเลือกตั้ง รับรู ้การรณรงค์หาเสี ยงเลือกตั้ง และตัวผูส้ มัครฯและผูน้ ำ� ชุมชนเป็ นสื่ อบุคคลที่สามารถ สื่ อสารแบบเผชิญหน้ากับผูม้ ีสิทธิลงคะแนนเสี ยงเลือกตั้ง 3. การวิจยั ครั้งต่อไปควรให้ความสนใจศึกษาเกี่ยวกับอิทธิ พลการจัดวาระสาร ของสื่ อมวลชนเกี่ยวกับการรณรงค์หาเสี ยงของผูส้ มัครฯ ที่มีต่อการก�ำหนดกรอบความคิด ของผูม้ ีสิทธิ ลงคะแนนเสี ยงเลือกตั้ง โดยเป็ นการทดสอบทฤษฎี การก�ำหนดวาระสาร (Agenda Setting Theory) ว่าวาระสารของสื่ อมวลชนจะมีอิทธิพลต่อความคิดของผูม้ ีสิทธิ ลงคะแนนเสี ยงตามที่สื่อมวลชนก�ำหนดวาระสารไว้ตามข้อเสนอทางทฤษฎีอย่างไรบ้าง

Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.6 No. 1 (January - June 2011)

19


รายการอ้ างอิง พรศักดิ์ ผ่องแผ้ว.(2533) ข่ าวสารทางการเมืองของคนไทย กรุ งเทพฯ : ส�ำนักงาน คณะกรรมการวิจยั แห่งชาติ. มลินี สมภพเจริ ญ.(2547) อินเทอร์ เน็ตและสื่ อมวลชนต่ อการมีส่วนร่ วมทางการเมืองของ นักศึ กษาในเขตกรุ งเทพมหานคร. คณะวารสารศาสตร์ และสื่ อสารมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. สุ รพงษ์ โสธนะเสถียร.(2545). แนวคิดในการหาเสี ยงเลือกตั้ง. กรุ งเทพฯ : ประสิ ทธิ์ภณั ฑ์ แอนด์พริ้ นติ้ง. ส�ำนักข่าวประชาไท. www.prachatai.com/journal/2009/10/26056. 4 ธันวาคม, 2554. David M. Farrell and Rudiger Schmitt-Beck. Studying political campaign and their effects. Do political campaigns matter? : campaign effects in elections and referendums. 2002. Ian McAllister. Calculating or Capricious ?. (2002) Do political campaigns matter? : campaign effects in elections and referendums. David M. Farrell and Rudiger Schmitt-Beck Editors. Judith S. Trent and Robert V. Friedenberg .(2000). Political Campaign Communication. Lanham : Rowman & Littlefeld. L.W.Mibrath and M.L. Goel.(1977). Political Participation. Chicago : Rand MccNally College Publishing. Lachat and Sciarini. When do election campaigns matter and to whom? Results from the 1999 Swiss election panei study.(2002). Do political campaigns matter? : campaign effects in elections and referendums. David M. Farrell and Rudiger Schmitt-Beck Editors. Pippa Noris, John Curtice, David Sanders, Margaret Scammell and Holli A. Semetko. (1999). On Message : Communicating the Campaign. London : SAGE. Sideny Verba.(1961). Small groups and political behavior : A study of leadership. New Jersey : Princeton University Press. Stephen W. Littlejohn. (1992). The Theories of Human Communication. California : Wadsworth Publishing Company.

20

วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปีท่ี 6 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถนุ ายน 2554)


ดูหนังด้ วยแว่ นทฤษฎี : แนวคิดเบือ้ งต้ นของการวิเคราะห์ ภาพยนตร์

Watching Films with Theoretical Lens: A Basic Concept of Film Analysis ก�ำจร หลุยยะพงศ์ *

บทคัดย่ อ บทความนี้ มุ่งสรุ ปให้เห็นถึงกลุ่มทฤษฎีการวิเคราะห์ภาพยนตร์ที่ใช้ในปั จจุบนั ประกอบไปด้วย 3 กลุม่ ทฤษฎี คือ การวิเคราะห์ตวั บท จะให้ความสนใจการวิเคราะห์เนื้อหา และรู ปแบบภายในภาพยนตร์ การวิเคราะห์บริ บท จะให้ความสนใจบริ บทแวดล้อม ภาพยนตร์ และการวิเคราะห์ผรู ้ ับสาร จะศึกษากลุ่มผูช้ มภาพยนตร์ การจ�ำแนกกลุ่มทฤษฎี ออกเป็ นสามกลุ่มนี้ ก็เพื่อให้เห็นความแตกต่างของการวิเคราะห์ภาพยนตร์ แต่ในโลก ความเป็ นจริ งการวิเคราะห์ภาพยนตร์ ยงั สามารถผนวกการวิเคราะห์ท้ งั สามกลุ่มทฤษฎี เข้าด้วยกันได้ ค�ำส� ำคัญ : การวิเคราะห์ตวั บท การวิเคราะห์บริ บท และการวิเคราะห์ผรู ้ ับสาร

Abstract This article explores three contemporary film analysis theories. First, a textual approach focuses on an analysis of film texts and an internal logic of the cinema. Second, a contextual analysis examines a context of how meaning are produced in films. Finally, an audience analysis investigates film viewers and their interpretation of the texts. Despite their different approaches to films, film analysts are able to adopt and articulate all these three theorical approaches. Keywords : textual criticism, contextual criticism, audience criticism * นิเทศศาสตรดุษฎีบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (2553) ปัจจุบันเป็นรองศาสตราจารย์ประจ�ำสาขาวิชา นิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.6 No. 1 (January - June 2011)

21


เกริ่นน�ำ : ภาพยนตร์ คอื อะไร

ก่อนที่จะก้าวไปสู่ การวิเคราะห์ภาพยนตร์จำ� เป็ นอย่างยิง่ ที่จะเข้าใจลักษณะหรื อ ธรรมชาติของภาพยนตร์เสี ยก่อนว่า ภาพยนตร์คืออะไร นักวิชาการด้านภาพยนตร์พยายาม อธิบายให้เห็นสรุ ปได้อย่างน้อย 4 ด้านคือ เทคโนโลยี อุตสาหกรรม ศิลปะ และปฏิบตั ิการ สังคมและวัฒนธรรม ในด้านแรก เทคโนโลยี จะมองภาพยนตร์เป็ นเสมือนกับประดิษฐกรรมชิ้นใหม่ ของโลกในช่วงปลายศตวรรษที่ 19 ที่คิดค้นขึ้นมาเพื่อบันทึกและฉายภาพที่เคลื่อนไหว จนตั้งชื่ อว่า “ภาพยนตร์ ” หรื อ ภาพที่ เคลื่ อนไหว ซึ่ งตรงกับภาษาอังกฤษที่ ใช้คำ� ว่า Cinematography ซึ่ งรากศัพ ท์ ม าจากค�ำ ว่ า kinema รวมกับ ค�ำ ว่ า graphy ซึ่ ง หมายถึงเคลื่อนไหวและการเขียนตามล�ำดับ ในยุคแรก การบันทึกภาพที่เคลื่อนไหวและ น�ำออกมาฉายนั้น มักจะเป็ นภาพยนตร์ขนาดสั้น มีเนื้อหาที่เรี ยบง่าย เน้นความสมจริ ง และ ไร้ซ่ ึ งเสี ยง เช่น ภาพรถไฟแล่นเข้ามาสู่สถานี ภาพคนก�ำลังจาม เป็ นต้น ภาพยนตร์ยคุ แรก ไม่ค่อยมีเทคโนโลยีเท่าไรนักแต่ต่อมาด้วยพัฒนาการของกล้องและเทคโนโลยีก็ทำ� ให้ ภาพยนตร์ เริ่ มใช้ภาษาหนัง/ภาษาภาพยนตร์ เริ่ มมีเรื่ องราว มีสี มีเสี ยง และกลายเป็ น ภาพยนตร์ดงั ที่ได้รับชมในปัจจุบนั ในด้านที่สอง อุตสาหกรรม เป็ นการพิจารณาภาพยนตร์ถึงมิติดา้ นก�ำไรที่ได้รับ เมื่อย้อนกลับไปในยุคแรกของการถือก�ำเนิ ดภาพยนตร์ พบว่า ภาพยนตร์ ถือก�ำเนิ ดขึ้น ในช่วงของสังคมอุตสาหกรรมที่ประชาชนเข้ามาท�ำงานในเมือง ภาพยนตร์จึงกลายเป็ นสื่ อ บันเทิงที่ช่วยผ่อนคลายความตึงเครี ยดและให้หลุดพ้นจากโลกความจริ งหรื อที่เรี ยกว่า escapism นอกจากนั้นยังได้รับอานิสงส์ คือ ผลก�ำไรจากการเข้าชมด้วย ต่อมาไม่นานนัก ในช่ ว งสงครามโลกครั้ งที่ 2 ภาพยนตร์ ข องสหรั ฐ อเมริ ก าก็ก ลายเป็ นอุ ต สาหกรรม ขนาดใหญ่ที่ทำ� รายได้อย่างสูงทั้งในประเทศและต่างประเทศจวบจนปั จจุบนั ในด้านที่สาม ศิลปะ ในขณะที่ยคุ แรกของการถือก�ำเนิดภาพยนตร์ ภาพยนตร์ถกู มองว่าเป็ นเทคโนโลยีชนิดหนึ่งที่ยงั ไม่เป็ นศิลปะเนื่องจากใช้กล้องบันทึกภาพเคลื่อนไหว เท่านั้นไม่มีศิลปะของการถ่ายท�ำแต่อย่างไร แต่เมื่อเวลาผ่านไปไม่นานนัก ผูผ้ ลิตภาพยนตร์ และนักวิชาการสาขาภาพยนตร์ ก็พยายามต่อสู ้เพื่อยกระดับให้ภาพยนตร์ เป็ นศิลปะ และ ข้อค้นพบที่สำ� คัญก็คือ การพัฒนาเทคนิคที่เรี ยกว่า Soviet montage ในทศวรรษที่ 1910 ซึ่ง ให้ความสนใจการตัดต่อภาพที่กระจัดกระจายจากพื้นที่และเวลาต่างๆ แต่กลับมารวมกัน ให้มีความหมายและกลายเป็ นเรื่ องราวได้ หลังจากนั้นผูผ้ ลิตภาพยนตร์ ก็ยงั พัฒนาภาษา หนัง เพิ่ ม เติ ม เช่ น การใช้ภ าพ มุ ม กล้อ ง การเคลื่ อ นไหวของกล้อ ง แสง สี การจัด องค์ประกอบของภาพ (mise-en-scene) จนท�ำให้ภาพยนตร์ มีศิลปะด้วยตัวของมันเอง 22

วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปีท่ี 6 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถนุ ายน 2554)


ดังงานเขียนเรื่ อง The Art of the Moving Picture ของ Vachel Lindsay (1915) (Turner 1999: 35) และต่อมาก็ยกย่องผูก้ ำ� กับในฐานะศิลปิ นผูส้ ร้างสรรค์ภาพยนตร์ในช่วงทศวรรษ ที่ 1960 ในด้านที่สี่ ภาพยนตร์ ในฐานะปฏิบตั ิการสังคมและวัฒนธรรม ความหมายนี้ ให้ความสนใจกับความสัมพันธ์ของภาพยนตร์กบั สังคมในสองด้าน ด้านแรก ภาพยนตร์ ในฐานะภาพสะท้อนสังคม (reflectionism) ซึ่งหมายถึง ภาพยนตร์จะเป็ นเสมือนกระจกที่ สะท้อนความเป็ นไปในสังคม ในทางกลับกัน ด้านที่สอง ภาพยนตร์ คือการประกอบ สร้างความเป็ นจริ ง (constructionism) จะมองในมุมต่างไปตามส�ำนักมาร์ กซิ สม์ และ วัฒ นธรรมศึ ก ษา ซึ่ ง มองว่า แม้จ ะไม่ มี ค วามจริ ง แต่ ภ าพยนตร์ ก็ส ามารถประกอบ สร้างความหมายใหม่ข้ ึนได้ตามแต่วา่ ใครจะเป็ นผูก้ ำ� หนด เช่น ภาพยนตร์จะสร้างภาพของ ประเทศเพื่อนบ้าน ผูห้ ญิง-ผูช้ าย-เพศที่สาม ให้กบั ผูช้ ม เป็ นต้น แนวทางดังกล่าวมองว่า ผูช้ มจะถูกครอบง�ำความหมายจากภาพยนตร์ โดยไม่รู้ตวั และหากเป็ นส�ำนักวัฒนธรรม ศึ ก ษาก็ จ ะขยายความต่ อ ว่ า แม้จ ะถู ก ครอบง�ำ ความหมายก็ ต ามแต่ ผูช้ มก็ ส ามารถ ตีความหมายได้ตามประสบการณ์ของตน ซึ่ งถือได้ว่า เป็ นวิธีคิดชุ ดใหม่ล่าสุ ดในการ วิเคราะห์ภาพยนตร์

การวิเคราะห์ ภาพยนตร์ ด้วยทฤษฎี

ในเบื้ อ งต้น ได้น�ำ เสนอให้เ ห็ น ว่า ภาพยนตร์ คื อ อะไรแล้ว ในล�ำ ดับ ถัด ไป จะน�ำเสนอให้เห็นเพิ่มเติมว่า ในการวิเคราะห์ภาพยนตร์ เพื่อที่จะเข้าใจภาพยนตร์ จำ� เป็ น อย่างยิง่ ที่จะต้องมีแนวทางหรื อทฤษฎี ค�ำว่า “ทฤษฎี” หรื อ theory มาจากค�ำภาษากรี กที่วา่ theoria ที่หมายถึง “การมอง” “การดู” ในด้านหนึ่ง ทฤษฎีคือไฟฉายส่ องความจริ ง นัน่ ก็หมายความว่า ทฤษฎีจะช่วย ท�ำให้เรามองเห็นแง่มุมต่างๆ ในภาพยนตร์ได้ชดั เจน แต่ในอีกด้านหนึ่ง “การมอง” ก็ผสม ด้วยการ “หลอกลวง” (Corrigan and White 2009: 459) การใช้ทฤษฎีในการวิเคราะห์ ภาพยนตร์ จึงจ�ำเป็ นต้องตระหนักว่า ทฤษฎีไม่สามารถที่จะส่ องให้เห็นความจริ งทั้งหมด บางทฤษฎีจะส่ องให้เห็นภาพยนตร์เพียงด้านหนึ่ง ในขณะที่ทฤษฎีอีกทฤษฎีหนึ่งก็จะส่ อง ให้เห็นอีกด้านหนึ่ง ปรากฏการณ์ดงั กล่าวสอดคล้องกับการชมภาพยนตร์ที่ผชู ้ มเองก็ตอ้ ง ตระหนักว่าภาพที่ปรากฏบนจอขาวมิใช่เป็ นภาพจริ งทั้งหมด รวมถึงเป็ นภาพที่คดั สรรและ ตัดทอนบางภาพออก ผูช้ มไม่สามารถมองเห็นทุกแง่มุมทั้งหมดได้ ทฤษฎีจึงอาจเป็ นเพียง ไฟฉายที่ส่องให้เห็นความจริ งบางส่ วนเสี้ ยว

Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.6 No. 1 (January - June 2011)

23


แต่ถึงแม้วา่ ทฤษฎีจะท�ำให้เห็นความเป็ นจริ งบางส่ วนเสี้ ยวก็ตาม แต่ทฤษฎีกย็ งั เป็ นเครื่ องมือที่ดียิ่งที่จะท�ำให้เข้าใจปรากฏการณ์และการวิเคราะห์ภาพยนตร์ ทฤษฎีจึง เปรี ยบได้กบั “แว่นตา” ที่จะมองเห็นภาพยนตร์ได้คมชัด การใช้ทฤษฎีวเิ คราะห์ภาพยนตร์ ย่อมต้องตระหนักถึงคุณูปการและข้อจ�ำกัดของทฤษฎีดว้ ย เนื่องจากศาสตร์ดา้ นภาพยนตร์ผา่ นร้อนผ่านหนาวมาเป็ นระยะเวลานานมากกว่า 100 ปี ท�ำให้ในโลกของวิชาการภาพยนตร์ จะใช้ทฤษฎี ที่หลากหลายในการวิเคราะห์ ภาพยนตร์ ส�ำหรั บในที่ น้ ี จะจัดกลุ่มทฤษฎี ที่เป็ นเครื่ องมื อในการวิเคราะห์ภาพยนตร์ ออกเป็ นสามกลุม่ หลักด้วยกันตามระดับของการวิเคราะห์ กลุม่ แรก กลุ่มทฤษฎีตวั บท หรื อ การวิเคราะห์ตวั บท (textual criticism) จะสนใจการศึกษาตัวบทหรื อการวิเคราะห์เฉพาะ เนื้อหาและรู ปแบบภายในภาพยนตร์เท่านั้นและมักจะมองภาพยนตร์ในฐานะศิลปะ กลุ่ม ที่สอง กลุ่มทฤษฎีบริบท หรื อการวิเคราะห์บริ บท (contextual criticism) จะให้ความสนใจ บริ บทที่แวดล้อมภาพยนตร์ โดยขยายจากการมองแต่ดา้ นตัวบทสู่ บริ บท ทั้งด้านการเมือง เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม รวมถึงการมองแบบคูข่ นานคือการศึกษาตัวบทและบริ บท คู่กนั ดังส�ำนัก genre และ auteur และกลุ่มที่สาม กลุ่มทฤษฎีผู้รับสาร หรื อการวิเคราะห์ ผูร้ ับสาร (audience criticism) จะให้ความสนใจผูร้ ับสารในการรับชมภาพยนตร์ (อนึ่ ง ยังคงมีทฤษฎีอื่นๆ อีกที่ผเู ้ ขียนมิได้นำ� มารวมในที่น้ ี ด้วยข้อจ�ำกัดของเวลา พื้นที่ และ ปริ มาณของทฤษฎีการวิเคราะห์ภาพยนตร์ที่มีจำ� นวนมาก ซึ่ งจะน�ำเสนอในโอกาสต่อไป) อนึ่ ง การจ�ำแนกออกเป็ นกลุ่มทฤษฎี ออกเป็ นสามกลุ่มนี้ เป็ นการจ�ำแนกตาม แนวทางการวิ เ คราะห์ ภ าพยนตร์ ที่ นิ ย มและการพัฒ นาการของทฤษฎี แต่ ใ นโลก ความเป็ นจริ งการวิเคราะห์ภาพยนตร์ไม่อาจแยกใช้ทฤษฎีแต่ละอันโดยเด็ดขาด ยังสามารถ ใช้การวิเคราะห์ท้ งั สามกลุ่มทฤษฎีไปในครั้งเดียวกันได้ ตัวอย่างการวิเคราะห์สตรี นิยม (feminism) สามารถดึ ง แนวทางการวิ เ คราะห์ ต ัว บท คู่ กับ บริ บ ท และผูร้ ั บ สารไป ในคราวเดียวกัน หรื อแม้กระทัง่ การวิเคราะห์รูปแบบนิยมที่อยูใ่ นกลุ่มทฤษฎีตวั บท ก็ยงั เป็ นรากฐานของการวิเคราะห์ภาพยนตร์ในกลุ่มทฤษฎีตวั บท รายละเอียดของกลุ่มทฤษฎี แต่ละทฤษฎีมีดงั ต่อไปนี้

กลุ่มทฤษฎีตวั บท (การวิเคราะห์ ตวั บท textual criticism)

กลุ่มทฤษฎีตวั บทเป็ นทฤษฎีที่ถือก�ำเนิ ดขึ้นในยุคแรกภาพยนตร์ นับตั้งแต่ตน้ ศตวรรษที่ 20 ทฤษฎีในกลุ่มนี้ ให้ความสนใจการวิเคราะห์ “ตัวบท” หรื อการวิเคราะห์ ตัวภาพยนตร์ รากฐานส�ำคัญของทฤษฎีกลุ่มนี้คือแนวคิด “ศิลปะ” โดยมองว่า ภาพยนตร์ 24

วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปีท่ี 6 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถนุ ายน 2554)


คื อ “ศิ ล ปะ” แขนงหนึ่ ง ไม่ ต่ า งไปจากศิ ล ปะที่ ผ่า นมาในอดี ต 6 แขนง คื อ เต้น ร� ำ สถาปั ตยกรรม ประติมากรรม จิตรกรรม ดนตรี และวรรณกรรม แต่กว่าที่จะก้าวมาเป็ น ศิลปะได้น้ นั ภาพยนตร์ กต็ อ้ งพิสูจน์คุณสมบัติดว้ ยการยกระดับตนเองให้ไม่เพียงแต่การ ถ่ายภาพการแสดงละครเวที แต่ตอ้ งพัฒนาเทคนิคในการเล่าเรื่ องด้วยภาพและเสี ยง เพือ่ ให้ กลายเป็ นเอกลักษณ์ของภาพยนตร์ การวิเคราะห์ภาพยนตร์ในกลุ่มนี้ในระยะแรกจะมุ่งให้ ความสนใจต่อ “รู ปแบบ” (form) หรื อโครงสร้างภายในและการเรี ยงตัวของโครงสร้าง ดังกล่าวในภาพยนตร์ หรื อที่ เรี ยกว่า Formalism เพื่อแสดงให้เห็ นถึ งแนวทางศิ ลปะ อีกแบบหนึ่ ง หรื อกล่าวอีกนัยหนึ่ งคือมักจะสนใจรู ปแบบการวิเคราะห์ตวั บทภาพยนตร์ โดยไม่ได้สนใจบริ บท การวิเคราะห์รูปแบบของภาพยนตร์ในแนวทาง Formalism ในด้านหนึ่งได้รับ อิทธิพลจากส�ำนักวรรณกรรมที่สนใจปัจจัยภายในของภาพยนตร์หรื อตรรกของโครงสร้าง ภายในตัวบท (internal logic) เช่น โครงเรื่ อง ความคิด ตัวแสดง ฉาก และองค์ประกอบ ต่างๆ โดยเชื่อว่า ความหมายเกิดมาจากการเรี ยงตัวขององค์ประกอบดังกล่าว เมื่อน�ำมา ประยุกต์เข้ากับภาพยนตร์ การวิเคราะห์ภาพยนตร์กจ็ ะก้าวไปสู่ “ภาษาหนัง” ซึ่ งประกอบ ไปด้วยองค์ประกอบต่างๆ และการเรี ยงตัวขององค์ประกอบนั้นๆ เช่น ขนาดภาพ มุมกล้อง การเคลื่อนไหวของกล้อง แสง สี และการตัดต่อ เป็ นต้น (ดังที่จะกล่าวโดยละเอียดในล�ำดับ ถัดไป) Giannetti (อ้างถึงในประวิทย์ แต่งอักษร 2548: 98) ขยายความว่า ศิลปะภาพยนตร์ ถือก�ำเนิดได้เนื่องจากภาพยนตร์ไม่สามารถถ่ายทอดภาพได้เหมือนกับความเป็ นจริ งที่เรา มองเห็นทุกวัน ผูส้ ร้างภาพยนตร์อาศัยข้อจ�ำกัดของสื่ อภาพยนตร์ เช่น ลักษณะภาพที่เป็ น สองมิติ การมีกรอบภาพ และการจัดการกับความต่อเนื่องด้านเวลาและสถานที่ ด้วยการ สร้าง “ภาษาหนัง” เพื่อสร้างโลกจ�ำเพาะที่คล้ายคลึงกับโลกความเป็ นจริ ง ส�ำหรับในที่น้ ี “ภาษาหนัง” สามารถจ�ำแนกโดยสังเขป คือ ขนาดภาพ มุมกล้อง แสงเงา สี กรอบภาพ และการเคลื่อนกล้อง (ประวิทย์ แต่งอักษร 2551 และ Mercado 2011) ดังนี้ -การก�ำหนดขนาดภาพ (film size) มีหลายระดับ ได้แก่ ภาพระยะใกล้ (close up) เป็ นภาพในระดับอกถึงใบหน้าเพื่อเน้นความรู ้สึกใกล้ชิดหรื อการเน้นจุดสนใจ หากใกล้ กว่านั้น เช่น ใบหน้าหรื อดวงตา ก็จะเรี ยกว่า ระยะใกล้มาก (extreme close up) ภาพระยะ ปานกลาง (medium shot) เป็ นภาพระยะหัวเข่าถึงใบหน้า ภาพข้ามหัวไหล่ (over the shoulder shot) เป็ นภาพที่ถ่ายบุคคลสนทนา โดยถ่ายข้ามจากหัวไหล่บุคคลคนที่หนึ่งให้ Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.6 No. 1 (January - June 2011)

25


เห็นใบหน้าของคู่สนทนา เพื่อสื่ อความหมายของการที่ผชู ้ มได้เข้าไปอยูใ่ นเหตุการณ์การ สนทนาของตัวละครสองคน ภาพเต็มตัว (full shot) เพื่อเห็นขนาดบุคคล ซึ่ งในช่วงแรก ของการผลิตภาพยนตร์ มกั จะมีภาพระยะนี้ระยะเดียว และระยะไกลหรื อไกลมาก (long shot / extreme long shot) เพือ่ เน้นความยิง่ ใหญ่หรื อการให้เห็นบรรยากาศของตัวละครกับ สถานที่ ภาพระยะดังกล่าวมักจะเป็ นภาพเปิ ดของภาพยนตร์ โดยมีชื่อเรี ยกว่า establishing shot -การใช้มุมกล้ อง (angle) จ�ำแนกเป็ น มุมสู งเพื่อท�ำให้เห็นเสมือนการมองจาก เบื้องบนหรื อพระผูเ้ ป็ นเจ้า ท�ำให้วตั ถุที่ถ่ายท�ำมีลกั ษณะอ่อนด้อย มุมระดับสายตา เป็ นการ ถ่ายท�ำด้วยการตั้งกล้องระดับสายตาของผูช้ มท�ำให้รู้สึกถึงความเท่าเทียมกันของผูด้ ูต่อ เนื้อหาที่ได้ชม ส่วนมุมต�่ำ คือทิศทางตรงกันข้ามกับมุมสูงเพือ่ ฉายให้เห็นความยิง่ ใหญ่ของ ตัวละครหรื อวัตถุ -การเพิ่ ม ความลึ ก ของวัต ถุ ใ นภาพด้ว ยการใช้แ สงและเงาเพื่ อ ลดความเป็ น สองมิติของภาพยนตร์ อนั ท�ำให้เกิดความสมจริ ง โดยเฉพาะในยุคของภาพยนตร์ ขาวด�ำ ส่ วนในด้านของการใช้แสงอาจจ�ำแนกได้ตามรู ปแบบการจัดแสงคือ high key หรื อการ จัดแสงที่ เน้นความสว่างของแสงและเงาที่ สมดุ ลย์ ในทางกลับกัน low key เป็ นการ จัดแสงให้เห็นเงาตัดกันชัดเจน ซึ่ งมักจะพบในภาพยนตร์ ที่ตอ้ งการสื่ อความหมายของ อารมณ์โศกเศร้า ตื่นเต้น หรื อภาพยนตร์ตระกูลผี สื บสวน และฟิ ล์มนัวร์ -การให้สีเพื่อสื่ อความหมายและปลุกอารมณ์ความรู ้ สึก เช่ น สี แดงคือความ ร้อนแรง สี ฟ้าคือความสดใส หรื อในบางวัฒนธรรมอาจหมายถึงความทุกข์ระทม เป็ นต้น อนึ่ง ในยุคแรกๆ ของการผลิตภาพยนตร์ การใช้สีจะสื่ อความหมายถึงความไม่จริ ง ฉากใน จินตนาการ ส่ วนฉากชีวติ ประจ�ำวันจะใช้สีขาวด�ำ เพราะในยุคแรก มีความเชื่อว่า หากเติม สี สนั ให้กบั ภาพยนตร์มากเกินไปก็จะลดทอนศิลปะของภาพยนตร์ (ไม่ต่างไปจากเสี ยงที่ ระยะแรกถูกมองในด้านลบว่าท�ำลายศิลปะของภาพยนตร์) (Turner 1999: 39) แต่หลังจาก การถือก�ำเนิดของโทรทัศน์ ภาพยนตร์สีกเ็ ติบโตขึ้นเพื่อแข่งขันกับโทรทัศน์ -การก�ำหนดกรอบภาพมีเป้ าหมายเพื่อให้ผชู ้ มจ้องมองในจุดที่ตอ้ งการ จ�ำกัดวิธี การดูและมุมมองของผูช้ ม การตัดสิ่ งที่ ไม่ตอ้ งการน�ำเสนอออกไป รวมถึงการบังคับ ไม่ให้วตั ถุอยูห่ น้ากล้องมากเกินไปเพราะจะท�ำให้วตั ถุดูใหญ่เกินจริ งหรื อในทางกลับกัน ก็อาจวางไว้หน้ากล้องเพื่อเน้นความหมาย -การเคลื่อนกล้ อง (camera movement) หรื อการเคลื่อนไหวของกล้องเพื่อสื่ อ ความหมาย อาทิ การ pan หรื อการเคลื่อนกล้องจากซ้ายไปขวาโดยกล้องอยูก่ บั ที่ เพื่อ 26

วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปีท่ี 6 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถนุ ายน 2554)


เปิ ดเผยความหมายบางประการให้กบั ผูช้ มและเสมือนสายตาของตัวละครที่กำ� ลังมองไป ซ้ายหรื อขวา ใกล้เคียงกับการ tilt หรื อการเคลื่อนกล้องแนวตั้งโดยกล้องอยูก่ บั ที่ เพียงแต่จะ ต่างกันตรงทิศทางแนวตั้งและแนวนอน นอกจากนั้นการเคลื่อนกล้องยังอาจใช้อปุ กรณ์คือ dolly เพื่อท�ำให้กล้องเคลื่อนไปพร้อมกับอุปกรณ์ดงั กล่าวอันได้ภาพของการติดตามการ เคลื่อนไหวของตัวละคร และหากต้องการความรู ้สึกตื่นเต้นก็จะใช้อุปกรณ์เสริ มคือ hand held ท�ำให้ได้ภาพสัน่ ไหวคล้ายกับการวิง่ ตามตัวละคร ดังนั้น ภาษาหนังจึงท�ำให้ภาพยนตร์มิใช่เป็ นเพียงการถ่ายท�ำสิ่ งที่เห็นเท่านั้นแต่ เป็ นการแปลงสิ่ งที่เห็นด้วยศิลปะของภาพยนตร์และกลายเป็ นภาพเพื่อดึงดูดให้ผชู ้ มรู ้สึก ตามจินตนาการของผูผ้ ลิตภาพยนตร์ จากภาษาหนังดังกล่าวกระตุน้ ให้เกิดข้อสังเกตของนักวิชาการด้านภาพยนตร์วา่ ภาษาหนังน่ าจะมีความสัมพันธ์กบั จิ ตวิทยาผูช้ ม Hugo Musterburg (1916 อ้างถึงใน จ�ำเริ ญลักษณ์ ธนะวังน้อย 2548: 50-52) เป็ นนักปรัชญาและจิตวิทยาชาวเยอรมันคนแรกๆ ที่ช้ ีให้เห็นว่าภาพยนตร์เป็ นศิลปะที่เกี่ยวโยงกับจิตวิทยาของผูช้ ม ในระยะแรกสื่อภาพยนตร์ อาจเป็ นเพียงการถ่ายภาพเคลื่อนไหวและดูเหมือนเพียงการถ่ายภาพละครเวที แต่ต่อมา ภาพยนตร์กพ็ ฒั นาเป็ นศิลปะด้วยการเล่าเรื่ องด้วยภาพและเสี ยงเพือ่ ท�ำให้ผชู ้ มมีความรู ้สึก เข้าถึงอารมณ์ความรู ้สึกที่ผสู ้ ร้างต้องการ (ดังที่กล่าวไปแล้วข้างต้น) ทั้งนี้ ในทัศนะของ Musterburg ภาพยนตร์ ท ำ� ได้ส�ำเร็ จก็เนื่ องจากการค�ำ นึ งถึ งจิ ต วิทยาของผูช้ ม กล่ าว คือ ภาพที่เห็นเคลื่อนไหวในจอภาพยนตร์ น้ นั แท้จริ งแล้วในโลกความจริ งผูช้ มเห็นภาพ ความเคลื่อนไหวเพราะการเห็นภาพติดตา (persistent of vision) หรื อการที่จิตใจของมนุษย์ ได้สร้างการมองเห็นภาพติดตาทั้งๆ ที่ภาพจริ งมิได้เคลื่อนไหว ยิ่งไปกว่านั้น ผูช้ มเองก็จะรั บรู ้ เรื่ องราวของภาพยนตร์ ด้วยจิ ตใจ สิ่ งที่ เห็ น ในภาพยนตร์ จึงมิใช่ของจริ งแต่เป็ นภาพในจิตใจของมนุษย์ที่คิดว่าจริ ง ด้วยมิติจิตวิทยา ของผูช้ มดังกล่าวผูส้ ร้างจึงได้พฒั นาเทคนิ คหรื อภาษาหนังเพื่อที่จะควบคุมและหรื อการ โน้มน้าวจิ ตใจของผูช้ มให้รู้สึกได้ว่า ภาพที่ เห็ นบนจอมี ลกั ษณะที่ สมจริ ง เช่ น การ ก�ำหนดการมองของผูช้ มให้มองเฉพาะจอขาว และก�ำหนดระยะภาพในขนาดใกล้-ไกล เพื่อท�ำให้ผชู ้ มติดตามในเนื้ อหาที่ผผู ้ ลิตมุ่งเน้นมากกว่าการปล่อยให้ผชู ้ มได้ชมเองตาม ธรรมชาติเฉกเช่นละครเวที Rudolf Arnheim นักจิตวิทยาชาวเยอรมันในช่วงทศวรรษที่ 1930 ในหนังสื อ Film as Art ได้ยกตัวอย่างให้เห็นเพิ่มเติมว่า ภาพของภาชนะที่เห็นใน กล้องจะต่างไปจากการเห็ นด้วยตาตนเอง เพราะจะมี ขนาดภาพและมุมมองที่ ผูส้ ร้ าง ก�ำหนดขึ้น Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.6 No. 1 (January - June 2011)

27


ส่ วนส�ำคัญของการวิเคราะห์ภาพยนตร์ ดา้ นรู ปแบบอีกประการหนึ่ ง ก็คือ การ ล�ำดับภาพหรื อตัดต่อภาพ (editing) เพื่อการเล่าเรื่ อง หากย้อนกลับไปในยุคแรกของการ ถือก�ำเนิดภาพยนตร์ในปลายศตวรรษที่ 19 ภาพยนตร์ของ Lumiere ฉายภาพคนงานเดิน ออกจากโรงงานในภาพยนตร์เรื่ อง Worker Leaving the Lumiere Factory (1895) เป็ นเพียง การตั้งกล้องถ่ายภาพคนงานก�ำลังเดินออกจากโรงงานของตนเท่านั้นไม่มีการเล่าเรื่ องไม่มี การใช้ภาษาหนัง แต่ต่อมาไม่นานนักผลิตภาพยนตร์ ชาวฝรั่งเศสที่ชื่อ George Melies ก็ กลายเป็ นผูเ้ ริ่ มต้นภาพยนตร์ ที่มีการเล่าเรื่ องและเริ่ มใช้เทคนิ คการตัดต่อ ดังปรากฏใน ภาพยนตร์ เรื่ อง A Trip to the Moon (1902) ด้วยการพัฒนาการย่นย่อระยะเวลาและ สถานที่ในภาพยนตร์ ซึ่งในอดีตที่ผา่ นมาการบันทึกภาพยนตร์มกั จะใช้ระยะเวลาจริ ง แต่ ส�ำหรับ Melies กลับใช้เทคนิคการตัดต่อภาพด้วยการหยุดภาพและถ่ายภาพใหม่ จนท�ำให้ สามารถผนวกภาพแรกกับภาพที่สองที่แม้ไม่ได้ถ่ายท�ำในเวลาและพื้นที่เดียวกันแต่เมื่อ น�ำมาเรี ยงต่อกันกลับยังคงท�ำให้คนดูมีจินตนาการว่าเหตุการณ์ท้ งั สองนั้นมีความสัมพันธ์ ในเชิงเวลาและพื้นที่ เช่น ฉากคนถอดหัว การหายตัวและปรากฏตัวขึ้นมาใหม่ เป็ นต้น อย่างไรก็ดีแนวทางดังกล่าวก็ยงั ถูกมองว่า นักท�ำหนังยุคนี้เป็ นเพียง “นักมายากล” เท่านั้น แต่ยงั ไม่เป็ นศิลปิ นเพราะยังมิได้ใช้ประโยชน์จากเทคนิคนี้เพื่อการเล่าเรื่ องอย่างสมบูรณ์ ในช่วงเวลาถัดมาไม่นานภาพยนตร์เรื่ อง The Great Train Robbery (1903) โดย Edwin S. Porter ก็ถือก�ำเนิดขึ้นมาและกลายเป็ นหนังเรื่ องแรกที่อาจกล่าวได้วา่ เริ่ มมีศิลปะ ของการเล่าเรื่ องที่แท้จริ ง ภาพยนตร์เรื่ องดังกล่าวเป็ นเรื่ องราวของโจรปล้นรถไฟ ผูก้ ำ� กับ ภาพยนตร์ได้ใช้ภาษาหนัง การใช้ภาพ การจัดฉาก และที่สำ� คัญก็คือ การตัดต่อภาพ ท�ำให้ สามารถย่นย่อเวลาและพื้นที่จากฉากปล้นรถไฟตัดไปสู่ ฉากอื่นๆ ได้ ต่อมาในปี ค.ศ. 1915 นักท�ำหนังในนาม D.W. Griffith ก็ผลิตภาพยนตร์เรื่ อง Birth of a Nation สร้างผลกระทบ ต่อผูช้ มอย่างสู งโดยเฉพาะมิติเชิงภาพ เช่น ขนาดภาพ เพื่อสื่ อความหมายมากกว่าการใช้ ภาพเต็มตัวอย่างเดียว (full shot) เช่น ภาพระยะใกล้ สื่ อความหมาย ความใกล้ชิด ระยะไกล เพือ่ สื่ อความหมายความสัมพันธ์กบั พื้นที่ ท�ำให้นกั วิชาการเริ่ มผลิตหนังสื อที่ยนื ยันให้เห็น ว่า ภาพยนตร์เป็ นเสมือนศิลปะแขนงที่เจ็ด อาทิ Ricciotto Canudu ในหนังสื อเรื่ อง The Birth of the Sixth Art (1911) และ Vachel Lidsay ในหนังสื อเรื่ อง The Art of the Moving Picture (1915) ทั้งสองเห็นพ้องว่า ภาพยนตร์ เป็ นเสมือนศิลปะแขนงที่เจ็ด (ในช่วงแรก Canudu ชี้วา่ ศิลปะเดิมมีแค่ 5 แขนง คือ สถาปัตยกรรม ประติมากรรม จิตรกรรม ดนตรี วรรณกรรม และภาพยนตร์ เป็ นศิลปะแขนงใหม่ ท�ำให้หนังสื อเล่มแรกของเขาใช้ชื่อว่า ก�ำเนิดของศิลปะแขนงที่หก แต่ตอ่ มาในช่วงหลังจึงเพิม่ การเต้นร�ำเข้าไป จึงท�ำให้ภาพยนตร์ 28

วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปีท่ี 6 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถนุ ายน 2554)


กลายเป็ นศิลปะแขนงที่เจ็ด) เป็ นศิลปะขั้นสู ง และส่ งผลต่อมาในการยกระดับแวดวง ภาพยนตร์ (จ�ำเริ ญลักษณ์ ธนะวังน้อย 2548: 50 และ Turner 1999) การพัฒนาเทคนิ คการเล่าเรื่ อง โดยเฉพาะการตัดต่อยังสื บต่อมาและพัฒนาใน ระดับ สู ง โดยนัก ผลิ ตภาพยนตร์ ในแถบยุโรปที่ ได้รับการสนับสนุ น จากรั ฐ นั่น ก็คื อ สหภาพโซเวียต ซึ่ งตั้งสถาบันผลิตนักท�ำหนังชื่อ State Film School ก็ได้เรี ยนรู ้การผลิต ภาพยนตร์ ของนักท�ำหนังยุคแรก เช่น D.W. Griffith และหนึ่ งในผลผลิต ก็คือ Sergei Eisenstein งานของเขาให้ความสนใจศิลปะการเล่าเรื่ องของภาพยนตร์ จะมีเอกลักษณ์ ด้วยการเรี ยงช๊อตหรื อภาพที่หนึ่งกับสอง สาม และสี่ มาเรี ยงต่อกัน (juxtaposition) ซึ่ งต่าง ไปจากศิลปะแขนงอื่นๆ เช่น นักดนตรี จะเรี ยงเสี ยงให้เกิดความหมาย นักเขียนจะเรี ยง ตัวอักษรเป็ นเรื่ องราว นักวาดภาพจะเรี ยงเส้นและสี ให้กลายเป็ นภาพ เป็ นต้น Eisenstein ชี้วา่ การเรี ยงช๊อต (shot) ท�ำให้เกิดเรื่ องราวและท�ำให้ผชู ้ มเข้าใจเนื้อหา โดยที่ภาพทั้งหมด อาจไม่ มี ค วามสอดคล้อ งหรื อเกี่ ย วโยงกัน ใดๆ แต่ ก ลับ ได้ค วามหมายใหม่ เช่ น การเรี ยงภาพสี่ ภาพนี้ ภาพของผูช้ ายคนหนึ่ง ภาพของอาหาร ภาพของคนตาย และภาพของ เด็กหญิง เมื่อน�ำมาเรี ยงต่อกันท�ำให้เกิดความหมายใหม่ที่วา่ คนเห็นอาหารแล้วรู ้สึกหิวและ คิดถึงแม่ที่เคยท�ำอาหารให้และคิดถึงลูกสาวของตน ทั้งๆ ที่ภาพทั้งหมดไม่เกี่ยวเนื่องกัน ถ่ายท�ำคนละเวลาและสถานที่แต่กลับเกิดความหมายได้ เทคนิ คดังกล่าวเรี ยกว่า Soviet montage กล่าวโดยสรุ ปการวิเคราะห์แนวทาง Formalism จะให้ความสนใจกับตัวบทโดย เน้นรู ปแบบขององค์ประกอบภาพยนตร์คือ ภาษาหนัง เพื่อพิจารณาว่า ผูผ้ ลิตภาพยนตร์ ต้องการสื่ อความหมายของภาพยนตร์อย่างไร โดยจุดเน้นก็คือ การมองว่า ผูผ้ ลิตสามารถ สร้ า งสรรค์ ค วามหมายได้ต ามที่ ต นต้อ งการซึ่ งจะสอดคล้อ งกับ สกุ ล ศิ ล ปะแนว Expressionism ที่ศิลปิ นจะแสดงออกถึงความรู ้สึกด้วยการสื่ อความหมายด้วยรู ปทรงต่างๆ ให้มีลกั ษณะเกินจริ ง และในกรณี ของศิลปิ นภาพยนตร์ ก็จะใช้ภาษาหนังดังที่กล่าวไปแล้ว แสดงความรู ้สึกของตนออกมาเพื่อการกระตุน้ อารมณ์ความรู ้สึกของผูช้ ม ศิลปิ นสกุลนี้ เติบโตอย่างเด่นชัดในช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่ 1 เช่น German Expressionism ภาพยนตร์ ก้าวหน้าของฝรั่งเศส (The French Avant-Garde) และ Soviet Formalism (จ�ำเริ ญลักษณ์ ธนะวังน้อย 2548: 65) ในทางตรงกันข้ามในช่วงหลังของทศวรรษที่ 1940 เป็ นต้นมา โดยเฉพาะหลัง สงครามโลกครั้งที่สอง กลับเกิดแนวทางการวิเคราะห์ตวั บทอีกแนวทางหนึ่งก็คือ Realism ทั้งๆ ที่ก่อนหน้านั้นภาพยนตร์แนวนี้กำ� เนิดขึ้นยุคแรกของการถือก�ำเนิดของภาพยนตร์ โดย Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.6 No. 1 (January - June 2011)

29


เฉพาะภาพยนตร์ของ Lumiere ที่มกั จะถ่ายท�ำฉากสถานที่จริ ง แนวคิดดังกล่าววางอยูบ่ น ฐานคติที่ว่า ภาพยนตร์ ควรจะบันทึกโลกจริ งที่ปรากฏ ทว่า ภาพยนตร์ แนว Formalism กลับมีอิทธิพลสูงจนยึดพื้นที่ของการผลิตภาพยนตร์แทบทั้งหมดและเมื่อกล่าวถึง Realism ก็จะถูกมองว่า เป็ นบทบาทหน้าที่ของภาพยนตร์ สารคดีเท่านั้น อย่างไรก็ดีในทศวรรษที่ 1940 ในช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่สองก็เกิดการหวนไปสู่ แนวคิดของ Realism อีกครั้ง เพราะในยุคดังกล่าวเริ่ มตั้งค�ำถามว่า ศิลปะที่ผ่านมามักจะมุ่งเน้นการน�ำเสนอเรื่ องราว ประโลมโลกของคนชั้นสู ง มีลกั ษณะไม่สมจริ ง พร้อมทั้งเสนอให้ภาพยนตร์ ควรจะเผย ให้เห็นชีวติ ของผูค้ นจริ งๆ หรื อคนธรรมดา ถ่ายท�ำในพื้นที่จริ ง ตัดต่อน้อย น�ำเสนออย่าง เรี ยบง่าย ภาพยนตร์จึงจะเป็ นศิลปะที่แท้จริ ง ดังเช่น ในทศวรรษที่ 1940 ประเทศอิตาลีก็ ผลิตภาพยนตร์แนวทางดังกล่าวโดยเรี ยกว่า Italian Neorealism หรื ออิตาเลียน สัจนิยมใหม่ ภาพยนตร์กลุม่ นี้จะมุง่ เน้นการเฝ้ าสังเกตโดยไม่มีการเสริ มแต่ง ไม่ใช้นกั แสดงอาชีพ บันทึก ภาพในสิ่ งที่ เป็ นอยู่ นอกจากในมิติเชิ งศิลปะแล้ว อีกส่ วนหนึ่ งมาจากบรรยากาศหลัง สงครามที่ขาดแคลนฟิ ล์ม และสภาพของสังคมที่เป็ นจริ ง ท�ำให้ผสู ้ ร้างภาพยนตร์ถา่ ยท�ำใน สิ่ งที่เป็ นอยู่ และมีแนวโน้มการวิจารณ์สงั คมอันเป็ นผลจากการเมืองการปกครอง (กฤษดา เกิดดี 2548b: 186-189) ภาพยนตร์ของอิตาเลียน สัจนิยมใหม่ ส่ งผลต่อการผลิตภาพยนตร์ แนวสัจนิ ยมในฝรั่งเศสและทัว่ โลกในระยะเวลาต่อมา ในกรณี ไทยเช่น ภาพยนตร์ ของ หม่อมเจ้าชาตรี เฉลิม ยุคล (เช่น ทองพูน โคกโพธิ์ ราษฎรเต็มขั้น / เทพธิ ดาโรงแรม / คนเลี้ยงช้าง / เสี ยดาย) ส�ำหรับประเทศฝรั่งเศส กลุ่มที่สนใจผลิตภาพยนตร์แนวสัจนิยม คือ กลุม่ คลื่นลูกใหม่ของฝรั่งเศส (The French New Wave) และในประเทศสหภาพโซเวียต ก็พฒั นาสู่ ภาพยนตร์แนวสัจสังคมนิยม (socialist realism) มุ่งเน้นการใช้ศิลปะภาพยนตร์ เพือ่ พัฒนาสังคมให้บุคคลมีความเท่าเทียมกันมากกว่าการใช้เพือ่ การค้าอันจะถือเป็ นศิลปะ ที่แท้ (จ�ำเริ ญลักษณ์ ธนะวังน้อย 2548: 71-75) นักวิชาการคนส�ำคัญในส�ำนักนี้กค็ ือ Andre Bazin ชาวฝรั่งเศสหนึ่งในกลุ่ม The French New Wave ซึ่งผลิตวารสารในปี ค.ศ. 1951 ชื่อ Cahier du Cinema เขาไม่พอใจกับ ภาพยนตร์ที่สร้างกันในยุคสงครามที่มีพล็อตเรื่ องมาก ตกแต่งประดับประดาอย่างหรู หรา แสดงอย่างไม่เป็ นธรรมชาติ และดูไร้ซ่ ึ งศิลปะ ในทัศนะของเขาภาพยนตร์ ควรที่จะเป็ น เครื่ อ งมื อ ส�ำ รวจและบัน ทึ ก ภาพความเป็ นจริ ง โดยไม่ มี ก ารปรุ ง แต่ ง (จ�ำ เริ ญ ลัก ษณ์ ธนะวังน้อย 2548: 73) หากภาพถ่ายได้รับการแต่งเติมดัดแปลงก็จะท�ำให้ผดิ ไปและไม่เกิด แรงกระตุน้ ทางจิตวิทยาแก่ผชู ้ ม (บรรจง โกศัลวัฒน์ 2548: 164-165) อีกทั้งเห็นต่างจาก Eisenstein ในเรื่ อง Soviet montage ว่า ภาพยนตร์ไม่ควรมีการตัดต่อในลักษณะ montage 30

วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปีท่ี 6 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถนุ ายน 2554)


เพราะเป็ นการควบคุมความคิดคนดู ภาพยนตร์ไม่ควรจะถูกแทรกแซงและควรให้ผชู ้ มได้ เฝ้ าสังเกตการณ์ในเฟรม (frame) อย่างละเอียดและตีความตามที่ตนต้องการ ด้วยเหตุน้ ี สิ่ งที่ Bazin สนใจจึงให้ความสนใจต่อการจัดการสิ่ งที่อยูใ่ นเฟรมมากกว่า (Turner 1999: 42) จากข้อสังเกตของ Bazin ที่ไม่เน้นการตัดต่อแต่ให้ความสนใจต่อเฟรม จึงท�ำให้ เกิ ดการให้ความสนใจต่อการจัดองค์ประกอบของภาพ (mise-en-scene) ซึ่ งเป็ นภาษา ฝรั่งเศส มาจากศาสตร์การละคร หมายถึง การจัดวางไว้บนเวที แต่เมื่อน�ำมาประยุกต์กบั ภาพยนตร์จะหมายถึงการจัดภาพที่เห็นต่อหน้ากล้องในหนึ่งช๊อต (shot) ของภาพยนตร์เพือ่ ที่จะสื่ อความหมาย แนวทางดังกล่าวจะให้ความสนใจว่า ภายในช๊อตของภาพยนตร์ผกู ้ ำ� กับ สามารถที่จะสื่ อความหมายได้โดยจัดองค์ประกอบของภาพ ทั้งขนาดภาพ ตัวละคร แสง สี อุปกรณ์ประกอบฉาก เครื่ องแต่งกาย ฉาก ฯลฯ (ประวิทย์ แต่งอักษร 2551: 102-104) การมุ่งเน้นการจัดองค์ประกอบของภาพท�ำให้นักวิชาการบางท่านยังมองว่า Bazin ก็ คื อ นัก วิ จ ารณ์ ภ าพยนตร์ ที่ เ ป็ น Formalism หรื อ รู ป แบบนิ ย มด้ว ย เพราะ ให้ความสนใจรู ปแบบ ลีลา ความหมายในภาพยนตร์ (อ้างถึงในบรรจง โกศัลวัฒน์ 2548: 171) แต่จุดที่ต่างกันที่ทำ� ให้ Bazin เป็ นนักวิจารณ์ในกลุ่ม Realism ที่อาจพอเห็นได้กค็ ือ แม้จะมีการจัดองค์ประกอบของภาพแต่ก็มิได้มีเป้ าหมายเพื่อการแสดงออกถึงอารมณ์ ความรู ้สึกของศิลปิ นและการสร้างภาพลวงตาแก่ผชู ้ มดังกลุ่ม Formalism ที่ระบุไว้ Bazin กลับใช้การจัดองค์ประกอบของภาพท�ำเพือ่ ศิลปะของการเน้นความจริ ง (Turner 1999: 42) (อย่างไรก็ดี ในปั จจุ บนั การจัดองค์ประกอบของภาพก็ยงั สามารถใช้ในกรณี ของการ วิเคราะห์ในส�ำนัก Formalism รวมถึงการใช้เป็ นเครื่ องมือของส�ำนักมาร์กซิสม์อีกด้วย เพียง แต่ว่า เป้ าหมายของการใช้จะต่างกันไป คื อ ส�ำนัก Formalism จะมุ่งเน้นศิ ลปะการ แสดงออกถึงการสื่ อความหมายของผูก้ ำ� กับ ส�ำนัก Realism จะมุง่ เน้นศิลปะการสร้างความ สมจริ ง และส�ำนัก Marxism จะไม่สนใจเรื่ องศิลปะแต่กลับพิจารณาถึงการถูกก�ำหนดความ หมายจากสังคมและวัฒนธรรมผ่าน form ของภาพยนตร์ที่เป็ นพื้นที่ซุกซ่อนอุดมการณ์) โดยสรุ ป ส�ำนัก Realism มีฐานคติวา่ ภาพยนตร์น่าจะเป็ นศิลปะของความจริ ง หรื อความสมจริ งมากกว่าการแสดงออกและสร้างสรรค์ของผูก้ ำ� กับดังส�ำนัก Formalism ส�ำนัก Realism มองภาพยนตร์วา่ ต้องถ่ายทอดความจริ งด้วยการบันทึกภาพบนพื้นที่จริ ง บันทึกโดยอัตโนมัติ ไม่ใช้มุมกล้อง ตัวละครก็มกั จะเป็ นตัวจริ ง ไม่คอ่ ยเน้นการตัดต่อ และ เนื้อหามักจะน�ำเสนอชีวติ ประจ�ำวัน การเมือง และปัญหาสังคม อย่างไรก็ตามในช่วงหลัง แนวคิดดังกล่าวก็ถูกนักคิดส�ำนักมาร์ กซิ สม์ต้ งั ค�ำถามว่า ภาพยนตร์ ตระกูลสัจนิ ยมจะ น�ำเสนอความเป็ นจริ งและสะท้อนภาพของสังคม (reflection) ที่เป็ นจริ งทั้งหมดได้หรื อ Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.6 No. 1 (January - June 2011)

31


พร้อมทั้งน�ำเสนอให้เห็นในมุมตรงกันข้ามว่า ภาพยนตร์ อาจเป็ นพื้นที่ของการประกอบ สร้ า งความจริ ง เสี ย มากกว่า (รายละเอี ย ดโปรดดู หัว ข้อ ถัด ไปของกลุ่ ม ที่ ส องส�ำ นัก มาร์กซิ สม์)

กลุ่มทฤษฎีบริบท (การวิเคราะห์ บริบท contextual criticism)

ในขณะที่ การวิเคราะห์ภาพยนตร์ ในกลุ่มแรก หรื อตัวบท มักจะมุ่งเน้นการ วิเคราะห์เฉพาะตัวบทและอยู่บนพื้นฐานของศิลปะ แต่ส�ำหรับในกลุ่มนี้ การวิเคราะห์ ภาพยนตร์ จะขยายไปสู่ การวิเคราะห์บริ บทภาพยนตร์ โดยอาจเปรี ยบได้ว่า เป็ นการ วิเคราะห์ป่าแทนที่จะวิเคราะห์เพียงแค่ตน้ ไม้ตน้ เดียว (Andrew Sarris อ้างถึงในอัญชลี ชัยวรพร 2548: 79) การวิเคราะห์บริ บทมักจะได้รับความนิยมในหมูข่ องนักวิชาการในด้าน อื่นๆ นับตั้งแต่ช่วงทศวรรษที่ 1970 ไม่วา่ จะเป็ นประวัติศาสตร์ เศรษฐกิจ การเมือง สังคม และวัฒนธรรม อันท�ำให้ศาสตร์ ด้านภาพยนตร์ มีลกั ษณะเป็ นสหวิทยาการหรื อการ เชื่อมร้อยกับศาสตร์ดา้ นอื่นมากขึ้นไม่ได้ผกู ขาดเฉพาะนักวิชาการด้านภาพยนตร์แต่เพียง อย่างเดี ยว อี กทั้งท�ำให้การก่ อร่ างสร้ างวิชาการด้านภาพยนตร์ ศึกษา (Film studies) เข้มข้นขึ้น และเนื่ อ งด้ว ยการวิเ คราะห์ บ ริ บ ทมี จำ� นวนมาก ส�ำ หรั บ ในที่ น้ ี จะพิ จ ารณา ในสามด้านคือ การศึกษาประวัติศาสตร์ ภาพยนตร์ และปั จจัยเศรษฐกิ จ การศึกษาการ ประกอบสร้างความหมายและอุดมการณ์ในภาพยนตร์ตามส�ำนักมาร์กซิสม์และวัฒนธรรม ศึกษา และการศึกษากลุ่มภาพยนตร์ ตามส�ำนัก genre และ auteur รายละเอียดดังนี้ กลุ่มแรก การศึกษาประวัติศาสตร์ ภาพยนตร์ และปัจจัยเศรษฐกิจ การศึกษา ทั้งสองนี้ จะพิจารณาถึงบริ บทด้านประวัติศาสตร์ และปั จจัยด้านเศรษฐกิ จที่ส่งผลต่อ ภาพยนตร์ ในขณะที่ดา้ นแรก มักจะเป็ นกลุ่มนักประวัติศาสตร์ภาพยนตร์ ซึ่ งจะสนใจการ เปลี่ ยนแปลงของประวัติศาสตร์ สังคม รวมถึ งประวัติศาสตร์ ของการพัฒนาการด้าน เทคโนโลยีภาพยนตร์ จะมีผลต่อเนื้อหาและรู ปแบบในภาพยนตร์ ตัวอย่างเช่น งานศึกษา เรื่ อง “ประวัติศาสตร์ภาพยนตร์ไทย” ของโดม สุ ขวงศ์ (2533) แสดงให้เห็นการก�ำเนิดของ ภาพยนตร์ไทยอันน�ำเข้ามาจากต่างประเทศ และแพร่ กระจายในหมู่คนชั้นสูง หลังจากนั้น จึงเข้าสู่ ประชาชนทัว่ ไป โดยภาพยนตร์ไทยเรื่ องแรกก็คือ “นางสาวสุ วรรณ” (2466) ซึ่ ง ผลิตโดยชาวต่างชาติ คือ Henry A. MacRae ต่อจากนั้น ภาพยนตร์ไทยที่ผลิตโดยคนไทย ก็กำ� เนิดขึ้น ในปี พ.ศ. 2470 โดยพี่นอ้ งสกุลวสุ วตั คือ “โชคสองชั้น” ภาพยนตร์ของไทยก็ 32

วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปีท่ี 6 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถนุ ายน 2554)


เริ่ มพัฒนาจากสื่ อไร้เสี ยงสู่สื่อมีเสี ยง และกลายเป็ นอุตสาหกรรมในยุคต่อมาในทศวรรษที่ 2500 พร้อมๆ กับการถือก�ำเนิดของยุคดาราคู่ขวัญ มิตร-เพชรา ภาพยนตร์ไทยต้องปรับตัว อีกครั้งหลังการเสี ยชีวติ ของมิตรใน พ.ศ. 2513 สู่ยคุ ของภาพยนตร์สะท้อนสังคม และเมื่อ ก้าวสู่ ช่วงทศวรรษที่ 2520 ภาพยนตร์ ไทยขยายตัวขึ้นทั้งภาพยนตร์ สะท้อนสังคมและ ภาพยนตร์แนวตลาดส่ วนหนึ่งมาจากผลของก�ำแพงภาษี จนกระทัง่ ในช่วงทศวรรษที่ 2530 ภาพยนตร์ไทยกลับเริ่ มประสบปัญหาวิกฤติ อันมาจากการเปลี่ยนแปลงของสภาพเศรษฐกิจ และการรุ กคืบของภาพยนตร์ตา่ งประเทศ ภาพยนตร์ที่อยูร่ อดได้กค็ ือภาพยนตร์ตลก ผี และ วัยรุ่ น ทว่า ในทศวรรษที่ 2540 ภาพยนตร์ไทยก็กลับมารื้ อฟื้ นได้อกี ครั้ง จนได้รับการยกย่อง จากนานาชาติ เช่น ภาพยนตร์เรื่ อง “สัตว์ประหลาด” (Tropical Malady) (ก�ำจร หลุยยะพงศ์ และสมสุ ข หิ นวิมาน 2552) ในทศวรรษที่ 2550 จักรวาล นิลธ�ำรงค์ (2553) ก็เผยให้เห็น การเติบโตของภาพยนตร์ ไทย ทั้งการได้รับการยอมรับในเวทีนานาชาติมากขึ้น ส่ วนใน เวทีไทยหนังตลาดยังคงได้รับความนิ ยมแต่ก็ยงั ต้องฟั นฝ่ ากับวิกฤติการเมืองในประเทศ การสนับสนุนและการฉุดรั้งจากภาครัฐไทย ทั้งด้านการให้รางวัล การให้ทุน และพระราช บัญญัติภาพยนตร์และวีดิทศั น์ พ.ศ. 2551 ส่ วนด้านที่สอง ปัจจัยด้านเศรษฐกิจ นักวิชาการที่ศึกษามักจะเป็ นนักวิชาการใน กลุม่ เศรษฐศาสตร์ และเศรษฐศาสตร์การเมือง (political economy) โดยจะให้ความสนใจว่า มิติเชิงเศรษฐกิจจะเป็ นตัวแปรหลักที่ส่งผลกระทบต่อกระบวนการภาพยนตร์ 4 ระดับคือ การผลิต (production) การแพร่ กระจายและการฉาย (distribution and exhibition) การ ส่ งเสริ มการขาย (promotion) และการบริ โภคภาพยนตร์ (consumption) ภาพยนตร์ที่ผลิต ในทัศนะของนักวิชาการกลุ่มนี้พิจารณาว่า สื่ อภาพยนตร์มีความเกี่ยวโยงกับผลก�ำไรและ ส่ งผลต่อกระบวนการภาพยนตร์โดยตรง หากภาพยนตร์เรื่ องใดที่คาดการณ์วา่ จะไม่ได้รับ ผลก�ำ ไรก็ จ ะไม่ ไ ด้รั บ การผลิ ต โดยปริ ย าย ยิ่ ง ไปกว่ า นั้น ภาพยนตร์ ก็ เ ริ่ ม กลายเป็ น อุตสาหกรรมขนาดใหญ่ ในบางกรณี บริ ษทั บางแห่ งก็รวบรวมกิจการ (conglomerate) โดยเฉพาะในระดับการผลิต การแพร่ กระจายและการฉายภาพยนตร์อนั ส่งผลต่อการผูกขาด ธุรกิจ ผูผ้ ลิตรายย่อยหรื อผูผ้ ลิตหน้าใหม่จึงมีโอกาสน้อยที่จะก้าวสู่การเป็ นผูผ้ ลิตภาพยนตร์ หากผลิตได้กไ็ ม่สามารถหาโรงฉายได้เช่นกัน หรื อบางคนก็ไม่มีแม้แต่งบประมาณการผลิต และหลังการผลิต จึงต้องเริ่ มหางบประมาณจากต่างประเทศ (สนธยา ทรัพย์เย็น และ ทีฑะเดช วัชรธานินทร์ 2553 และสามารถ จันทร์สูรย์ 2551) นอกจากนั้น อุ ต สาหกรรมภาพยนตร์ บ างประเทศก็พ ฒ ั นาสู่ อุ ต สาหกรรม ขนาดใหญ่ โดยเฉพาะอุตสาหกรรมภาพยนตร์สหรัฐอเมริ กาหรื อในนามของฮอลลีวดู ้ และ Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.6 No. 1 (January - June 2011)

33


ที่สำ� คัญคือแพร่ กระจายสู่ โลกที่สามหรื อเรี ยกว่า จักรวรรดินิยมสื่ อ (media imperialism) อันท�ำให้ผคู ้ นในโลกที่สามต้องบริ โภคภาพยนตร์ ฮอลลีวูด้ พร้อมทั้งส่ งผลต่อเนื่ องให้ อุตสาหกรรมในประเทศตนต้องพังทะลายลง และเนื่องจากสื่ อภาพยนตร์ของฮอลลีวดู ้ แฝงไปด้วยกลิ่นอายของอุดมการณ์ของ สหรัฐฯ จึงย่อมส่ งผลต่อการครอบง�ำวิธีคิดของคนโลกที่สามอีกด้วย เช่น ความเชื่อเรื่ อง ความฝันของคนอเมริ กนั ชาวอเมริ กนั เป็ นวีรบุรุษ และลัทธิ การบริ โภค เป็ นต้น (สนใจ โปรดดู บุญรักษ์ บุญญะเขตมาลา 2552a) กลุ่มที่สอง การศึกษาการประกอบสร้ างความหมายและอุดมการณ์ ในภาพยนตร์ การศึกษาบริ บทในกลุ่มย่อยนี้เดินตามแนวคิดของส�ำนักมาร์กซิสม์ (Marxism) โดยเฉพาะ กลุ่ม Screen Theory ของประเทศอังกฤษนับตั้งแต่ทศวรรษที่ 1970 ซึ่ งสนใจมิติเชิ ง อุดมการณ์ อันมี รากฐานจากนักวิชาการชาวฝรั่งเศสที่ ชื่อ Louis Althusser ที่ มองว่า อุดมการณ์เป็ นกรอบการรับรู ้ของมนุษย์ อุดมการณ์ดงั กล่าวแฝงอยูใ่ นภาษาและฝังลึกลง ในจิตใต้สำ� นึกของผูค้ นโดยไม่รู้ตวั (กาญจนา แก้วเทพ และสมสุ ข หิ นวิมาน 2551: 214215) ในด้านแรก อุดมการณ์ แฝงอยู่ในโครงสร้ างภาษา Althusser ได้รับอิทธิ พลจาก Claude Levi-Strauss นักวิชาการด้านมานุษยวิทยาที่สนใจโครงสร้างภาษาของการเล่าเรื่ อง ในต�ำนานตามแนวทางของสัญวิทยา (Semiology) (รายละเอียดจะกล่าวถึงในล�ำดับถัดไป) ข้อสรุ ปของเขาก็คือ เรื่ องเล่าทั้งหมดมิได้เกิดขึ้นลอยๆ ตามธรรมชาติ แต่มีโครงสร้าง บางอย่างก�ำหนดมีระบบระเบียบ โดยเรื่ องเล่าวางอยูบ่ นความสัมพันธ์แบบคู่ตรงกันข้าม (binary oppositions) เช่น ในเรื่ องเล่าต้องมี พระเอก-ผูร้ ้าย นางเอก-นางมาร ความดี-ความชัว่ และคูต่ รงกันข้ามก็จะสร้างเป็ นเรื่ องเล่า เช่น นางเอกผูแ้ สนดีกว่าจะพบรักต้องต่อสูก้ บั ยักษ์ และนางมาร ทั้งนี้ ความสัมพันธ์ในลักษณะคูแ่ ย้งนี้จะถูกท�ำให้ดูเหมือนเป็ นเรื่ องธรรมชาติ แต่ในความเป็ นจริ งมีกฎเกณฑ์บางอย่างก�ำหนดอยูแ่ ล้ว (กาญจนา แก้วเทพ และสมสุ ข หิ นวิมาน 2551: 215) Althusser ยังพัฒนาแนวคิดดังกล่าวโดยยกระดับว่า ระบบโครงสร้ างนี้ ยงั มี จุดเด่นคือการสร้ างเกณฑ์ตดั สิ นคุณค่าในคู่แย้งนั้นด้วยว่า “อะไรดี กว่าอะไร” “อะไร ควรมองและอะไรควรมองข้าม” และนี่ ถือเป็ นกลยุทธ์ของการท�ำงานของอุดมการณ์ (แยกขั้วและก�ำหนดคุณค่า) และฝังลงในตัวเราอย่างไม่รู้ตวั อันส่ งผลต่อการมองโลกหรื อ การตัดสิ นโลก เช่น การมองว่า ความดียอ่ มชนะความชัว่ พระเอกย่อมดีกว่ายักษ์หรื อผูร้ ้าย ในทัศนะของนักวิชาการกลุ่ม Screen theory ที่เดินตาม Althusser ภาพยนตร์กเ็ ป็ นหนึ่งใน 34

วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปีท่ี 6 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถนุ ายน 2554)


เรื่ องเล่าและเป็ นชุดภาษาหนึ่ง จึงย่อมเป็ นแหล่งผลิตและเผยแพร่ อดุ มการณ์ให้เรามองโลก/ ตัดสิ นโลก (รวมถึงไม่มองและมองข้ามบางสิ่ งบางอย่าง) ได้อย่างดีและแนบเนี ยน การ วิเคราะห์ภาพยนตร์ในส�ำนักนี้จึงตั้งค�ำถามว่า ภาพยนตร์จะสร้าง/ตอกย�้ำอุดมการณ์อะไร ให้กบั ผูช้ ม เช่น การสร้างอุดมการณ์ความรักชาติ รักต่างเพศ ผิวขาวเหนือกว่า เป็ นต้น ในด้านที่สอง อุดมการณ์ ฝังลึกลงในจิตใต้ ส�ำนึก Althusser ประยุกต์แนวคิดของ ส�ำนักจิตวิเคราะห์ของ Jacques Lacan ที่ให้ความสนใจระบบสัญญะในจิตใต้สำ� นึกว่า มี ระบบระเบียบเป็ นเสมือนโครงสร้างคล้ายๆ กับภาษา ไม่ได้กระจัดกระจาย เมื่อจิตใต้สำ� นึก มีระบบ มนุษย์จึงสามารถหยิบยกสัญญะที่เห็น เช่น ที่ปรากฏในภาพยนตร์เข้าสู่จิตใต้สำ� นึก ของผูช้ มได้โดยไม่รู้ตวั (Turner 1999, Thompson 2007 และ กาญจนา แก้วเทพ และสมสุ ข หิ นวิมาน 2551: 214) ยิง่ ไปกว่านั้นเมื่อย้อนกลับไปถึงแนวคิดด้านแรก ก็จะพบว่า สังคมก็ พยายามจะกรอบหรื อควบคุมจิตใต้สำ� นึ กของมนุ ษย์ดว้ ยการก�ำหนดความหมายผ่านสื่ อ ต่างๆ เช่น อุดมการณ์ความรักชาติ ความเกลียดประเทศเพือ่ นบ้าน สตรี ผอู ้ ่อนแอ และอื่นๆ อันท�ำให้ผชู ้ มได้กลายเป็ น “ตัวตน” (subject) ที่สงั คมต้องการ ดังแนวคิด interpellation ของ Althusser ส�ำนักคิดนี้ มองต่างไปจากส�ำนักศิลปะหรื อการมองรู ปแบบภาพยนตร์ เฉกเช่น ในกลุ่มแรก (การวิเคราะห์ตวั บท) ที่ผ่านมาที่ให้ความสนใจศิลปะการน�ำเสนอและสื่ อ อารมณ์ความรู ้สึกในภาพยนตร์ เนื่องจากส�ำนักนี้ วางอยูบ่ นแนวคิดของส�ำนักโครงสร้าง นิยมแนวสัญวิทยา (Semiology) ของนักภาษาศาสตร์นามเฟอร์ดินนั เดอ โซซูร์ (Ferdinand de Saussure) ในต้นศตวรรษที่ 20 และนักวิชาการด้านภาพยนตร์ Christian Metz ใน ทศวรรษที่ 1960 ก็นำ� มาประยุกต์ในการศึกษาไวยากรณ์หนัง โดยมองว่า ภาพยนตร์เป็ น ระบบภาษาหนึ่งเป็ นรหัส (code) เฉพาะที่มีกฎเกณฑ์ที่สร้างขึ้นมิได้เป็ นเรื่ องธรรมชาติแต่ เป็ นเรื่ องของสังคมและวัฒนธรรมเป็ นผูก้ ำ� หนด (Thompson 2007: 511) Saussure (อ้างถึงใน กาญจนา แก้วเทพ 2547 และกาญจนา แก้วเทพ และสมสุ ข หิ นวิมาน 2551) ให้ความสนใจศึกษา สัญญะ (sign) ซึ่งเป็ นหัวใจของแนวทาง Semiology หรื อการศึกษาศาสตร์แห่งสัญญะ (science of sign) ในทัศนะของเขามองว่า สัญญะคือ อะไร ก็ได้ ไม่วา่ จะเป็ น ค�ำ ข้อความ ภาพ เสี ยง แต่สิ่งที่สำ� คัญคือ “การเป็ นสัญญะได้กต็ ่อเมื่อมัน มีความหมายมากไปกว่าตัวมันเอง หรื อผ่านกระบวนการให้ความหมาย” (signification) เช่น ดอกกุหลาบที่เราเห็น ในเบื้องต้นจะเป็ นเพียง signifier (ตัวหมาย) หรื อแค่ดอกไม้ ธรรมดา แต่จะเป็ นสัญญะหรื อ sign ก็ต่อเมื่อมันมีความหมายมากไปกว่าดอกไม้หรื อเป็ น signified (ตัวหมายถึง หรื อแนวคิดที่ปรากฏในจิตใจ) นัน่ ก็คือ ความรัก Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.6 No. 1 (January - June 2011)

35


จุดที่สำ� คัญ คือ ตัว signifier และ signified กลับมิได้มีความเกี่ยวโยง แต่เป็ นเรื่ อง ที่สงั คมและวัฒนธรรมก�ำหนดนัน่ เอง ดังนั้น ในทัศนะของส�ำนักนี้ภาพยนตร์ที่เห็นจึงเป็ น เรื่ องของการให้ความหมายเพือ่ แทนสิ่ งที่ตอ้ งการจะสื่ อ และการแทนความหมายนั้นก็เป็ น เรื่ องที่ถกู ก�ำหนดขึ้นและเมื่อท�ำซ�้ำๆ กันเข้าจึงกลายเป็ นรหัส (code) หรื อกฎเกณฑ์ ระยะ แรกอาจรู ้วา่ มีใครก�ำหนดแต่เมื่อเวลาผ่านไปก็ถกู ท�ำให้กลายเป็ นเรื่ องของสังคมวัฒนธรรม ที่กำ� หนดโดยเราไม่ต้ งั ค�ำถาม รหัสดังกล่าวท�ำให้ผผู ้ ลิตผลิตภาพยนตร์ ไปตามรหัสนั้น (หาใช่การผลิตตามความต้องการของตนเพื่อการแสดงออกหรื อศิลปะ) รวมถึงผูช้ มก็จะ ต้องถือรหัสชุดเดียวกันเพื่อถอดความหมายให้ตรงกัน Saussure ยังให้ความสนใจถึงที่มาของความหมายของสัญญะว่า มิได้เกิดขึ้นใน ตัวมันเอง แต่กลับเกิดมาจากการเรี ยงตัวของความต่างหรื อคูต่ รงกันข้าม (ดังที่ Levi-Strauss และ Althusser น�ำไปประยุกต์ใช้) เช่น ภาพ close up จะมีความหมายถึงความใกล้ชิดได้ก็ ต้องเรี ยงคู่กบั ภาพระยะไกล หรื อจะเข้าใจสี ขาวได้ ก็ตอ้ งเปรี ยบเทียบกับสี ดำ � เป็ นต้น นอกจากนั้น Saussure ยังให้ความสนใจถึงการจัดระบบสัญญะในสองด้านคือ syntagmatic และ paradigmatic ในด้านแรก syntagmatic คือการเรี ยงความสัมพันธ์วา่ อะไร จะเกิดก่อนหรื อหลัง เช่น การเรี ยงประโยคของภาษาไทย ก็จะเรี ยง ประธาน กริ ยา และ กรรม ทั้งนี้ หากเรี ยงผิดไปก็จะเปลี่ ยนความหมายได้ เช่ น G-O-D หากสลับที่ ก็จะ แปรเปลี่ยนเป็ น D-O-G ส่ วนในด้านที่สอง การสร้างความหมายยังเกี่ยวข้องกับชุดหรื อ ตัวเลือกในหมวดหมูข่ องสัญญะ หรื อที่เรี ยกว่า paradigmatic เช่น ในชุดของสัญญะพระเอก ในภาพยนตร์กจ็ ะประกอบด้วย พระเอกสุ ภาพบุรุษ คุณชาย พระเอกคนเถื่อน เป็ นต้น การ จัดระบบทั้งสองด้านยืนยันให้เห็นถึงลักษณะของโครงสร้างภาษาที่มีหลักและกฎเกณฑ์ เฉพาะ ภาษามิได้เกิดมาจากธรรมชาติ และนักวิชาการส�ำนัก Semiology ในยุคหลังก็เผย ให้เห็นว่า การก�ำหนดนี้ จะเกี่ ยวโยงกับ “อ�ำนาจ” อันมาจากสังคมและวัฒนธรรมเป็ น ผูก้ ำ� หนดว่า ประโยคที่เห็นหรื อไวยากรณ์ภาพยนตร์ควรเรี ยงอะไรก่อนหลัง เช่น ฉากตบ ของนางเอกควรมาก่อนฉากจูบของพระเอกแต่จะไม่เรี ยงว่า พระเอกตบนางเอกและนางเอก จูบพระเอก และความหมายอะไรจะถูกเลือกให้กลายเป็ นความหมายหลักในสังคม เช่น นางเอกใสซื่ อจะถูกเลือกน�ำเสนอในภาพยนตร์ กระแสหลักมากกว่านางเอกที่มีลกั ษณะ นางร้าย เพราะทั้งสองกรณี น้ ีต่างวางอยูบ่ นอุดมการณ์ผชู ้ ายเป็ นใหญ่ ในกรณี ข องภาพยนตร์ การสร้ า งความหมายจะต่ า งไปจากภาษาพู ด และ ภาษาเขียนที่เน้นการเรี ยงล�ำดับของประโยคก่อนและหลัง Graeme Turner (1999: 58) เสนอว่า การสร้างความหมายจะมีลกั ษณะสองแบบ คือ แบบแรก การเรี ยง shot ที่ 1 กับ 36

วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปีท่ี 6 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถนุ ายน 2554)


shot ที่ 2 (หรื อในลักษณะ montage ดังส�ำนัก Formalism) หากมีเพียง shot เดียวก็จะไม่เกิด ความหมาย เพราะความหมายจะเกิดได้จากคูแ่ ย้งหรื อการเปรี ยบเทียบ shot ที่ 1 และ 2 หรื อ shot ที่ ต่ อ กัน รวมถึ ง แบบที่ ส อง ความหมายเกิ ด จากการจัด องค์ป ระกอบของภาพ (mise-en-scene) รายละเอียดได้กล่าวไปแล้วในหัวข้อ Realism เพียงแต่วา่ ส�ำนักนี้ จะสนใจ ว่า การจัดองค์ประกอบของภาพมิได้มาจากการก�ำหนดของศิลปิ นและเป็ นไปเพื่อศิลปะ แต่กลับถูกก�ำหนดจากโครงสร้างสังคมมาก่อนหน้านี้ แล้ว ในส่ วนนี้ งานของ Christian Metz ซึ่ งเป็ นนักวิชาการภาพยนตร์ รายแรกได้เข้ามาศึกษาต่อในงานเรื่ อง Semiology of Cinema ว่า ไวยากรณ์ของภาพยนตร์จะมีลกั ษณะอย่างไร มีการจัดระเบียบอย่างไร Metz (อ้างถึงในชัยพัฒน์ อัครเศรณี 2551: 73-78) ชี้วา่ ไวยากรณ์ภาพยนตร์มิได้ มีลกั ษณะตรงไปตรงมา การเรี ยงตัวของภาพยนตร์ถกู ก�ำหนดจากรหัส (code) หรื อกฎเกณฑ์ ที่เกิดจากการท�ำซ�้ำๆ ที่หลากหลาย อันประกอบด้วย รหัสเฉพาะของภาพยนตร์ (cinemaspecific code) เป็ นรหัสเฉพาะที่ถูกก�ำหนดขึ้นส�ำหรับแวดวงภาพยนตร์ เช่น การตัดภาพ A และ B เข้าคู่กนั ท�ำให้ผูช้ มเข้าใจว่าตัวละครสองตัวมีความสัมพันธ์กนั การที่กล้อง จับภาพระยะใกล้ ผูช้ มก็จะเริ่ มตระหนักถึงความส�ำคัญของภาพนั้น หรื อภาพ slow motion ในฉากการตายก็เพื่อที่จะเน้นย�้ำแต่สำ� หรับในฉากรักก็เพื่อจะเน้นความงดงาม เป็ นต้น ใน ทัศนะของ Metz ภาพยนตร์ยงั ประกอบด้วยรหัสทัว่ ไป (non-specific code) หมายถึงรหัส ที่คนในสังคมเข้าใจ เช่ น พระเอกขี่รถเปิ ดประทุนจะสื่ อถึงความร�่ำรวย และรหัสย่อย (subcodes) จะขึ้ นอยู่กับบริ บทของสังคมในแต่ ละพื้นที่ และเวลาเป็ นผูก้ ำ� หนด เช่ น ความหมายของสี ในภาพยนตร์ของตะวันออกจะต่างไปจากตะวันตก เป็ นต้น และไม่วา่ จะ เป็ นรหัสใดก็ตาม รหัสทั้งหมดก็ฝังอยูใ่ นกรอบของสังคมและวัฒนธรรมเป็ นผูก้ ำ� หนด หาใช่เป็ นสิ่ งที่ผกู ้ ำ� กับเป็ นผูส้ ร้างสรรค์ข้ ึนตามทัศนะของส�ำนัก Formalism และ Realism ผูผ้ ลิตและผูช้ มจึงต้องเข้าใจหรื อมีคู่มือรหัสที่ถูกก�ำหนดไว้เพื่อสร้างและชมภาพยนตร์ ในช่ วงหลัง ส�ำนัก Semiology ก็พฒั นาการอธิ บายเพิ่มเติมโดยมุ่งสู่ มิติดา้ น ความหมายตามแนวคิดของ Roland Barthes กล่าวคือ ความหมายที่ปรากฏอยูม่ ิได้มีแต่ ความหมายเดียว แต่ประกอบด้วยความหมายโดยตรง (denotative meaning) และความหมาย โดยนัยหรื อความหมายแฝง (connotative meaning) เมื่อวิเคราะห์ในระดับลึกลงไปก็จะ พบว่า ความหมายแฝงบางความหมายกลับ ถู ก หยิบ ขึ้ น มาเป็ นความหมายหลัก หรื อ ความหมายที่มุ่งเน้นในภาพยนตร์ หรื อเรี ยกว่า มายาคติ (myth) ซึ่ งก็เนื่ องมาจากมิติเชิ ง อ�ำนาจเป็ นตัวก�ำหนด ตลอดจนการท�ำงานภายใต้การก�ำหนดของอุดมการณ์ (ideology) บางประการ ที่แม้แต่ผผู ้ ลิตภาพยนตร์อาจมิได้ตระหนักหรื อตั้งใจก�ำหนดแต่กลับเป็ นไป ตามสังคมและวัฒนธรรมเป็ นผูก้ ำ� หนดความหมาย และที่ ส�ำคัญคือฝั งลึ กลงในระดับ Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.6 No. 1 (January - June 2011)

37


จิตใต้สำ� นึ กดังที่อธิ บายไปแล้วในข้างต้น ตัวอย่างเช่น ภาพยนตร์ ส่วนใหญ่มกั จะมีฉาก นางเอกดื่มน�้ำส้ม ซึ่งหากวิเคราะห์ลึกลงในความหมายระดับลึกในเชิงอุดมการณ์กจ็ ะพบว่า การดื่มน�้ำส้มเป็ นสัญญะที่สร้างและตอกย�้ำอุดมการณ์ของอิสตรี ผเู ้ รี ยบร้อยซึ่ งต่างไปจาก ตัวร้ ายที่ มกั จะดื่ มสุ ราหรื อเบี ยร์ (ส�ำหรั บกรณี การศึ กษาภาพยนตร์ ไทยตามแนวทาง Semiology สามารถดูได้จากประชา สุ วรี านนท์ 2540) ด้วยเหตุน้ ี ส�ำนักมาร์ กซิ สม์ในกลุ่ม Screen theory เมื่อน�ำแนวทางของส�ำนัก Semiology มาใช้ จึ ง มองภาพยนตร์ เ ป็ นเสมื อ นพื้ น ที่ ป ระกอบสร้ า งความหมาย (constructionism) และสร้างภาพตัวแทน (representation) บางประการให้กบั ผูช้ ม หาใช่ การเป็ นพื้นที่ศิลปะหรื อการสะท้อนภาพความเป็ นจริ ง (reflectionism) ของสังคม ในระยะแรก การวิเคราะห์ตามแนวทางส�ำนักมาร์ กซิ สม์พิจารณาว่าภาพยนตร์ เป็ นพื้นที่ตอกย�้ำและเผยแพร่ อุดมการณ์ทุนนิยมและชนชั้นปกครอง รวมถึงในบางกรณี ก็ ยังเผยแพร่ ความคิดหรื ออุดมการณ์ของฟากคอมมิวนิ สต์ได้ดว้ ย ต่อมาแนวคิดดังกล่าวก็ แพร่ กระจายไปสู่ การศึกษาอุดมการณ์ในมิติอื่นๆ ด้วย เช่น เชื้อชาติ วัย (วัยรุ่ น) และเพศ ทั้งนี้ การศึกษาการครอบง�ำอุดมการณ์ผา่ นภาพยนตร์ ที่โดดเด่นมากที่สุดและพัฒนาเป็ น ส�ำนักที่ ชัดเจนก็คือ ส�ำนักสตรี นิยม (Feminism) กับภาพยนตร์ ส�ำนักนี้ พิจารณาว่า ภาพสตรี ที่เห็นในภาพยนตร์หาใช่ของจริ งไม่ แต่เป็ นการประกอบสร้างความหมายมาจาก ผูผ้ ลิตและสังคมแบบชายเป็ นใหญ่ (patriarchal society) ภาพสตรี ที่เห็นจึงมีลกั ษณะ “แม่” “เมีย” และ “ผูอ้ ่อนแอและพึ่งพิง” ยิง่ ไปกว่านั้น นักวิชาการด้านภาพยนตร์และสตรี นิยม เช่น Laura Mulvey ซึ่งส่ วนหนึ่งก็ได้รับอิทธิพลจากส�ำนักจิตวิเคราะห์ของฟรอยด์ ยังเผย ให้เห็นด้วยว่า ภาพยนตร์มกั จะผลิตขึ้นจากการ “จ้องมอง” ของผูช้ าย (male gaze) ท�ำให้ ผูห้ ญิงเป็ นเพียง “วัตถุทางเพศ” ที่ให้ผชู ้ ายได้จอ้ งมอง (ซึ่ งจะกล่าวโดยละเอียดในล�ำดับ ถัดไป) อย่างไรก็ดี ในช่วงหลังเมื่อมีการประกอบสร้างความหมายก็ยอ่ มมีการ “ท�ำลาย” ความหมายเดิม และเปลี่ยนแปลงความหมายได้ ตัวอย่างเช่น กรณี ของกระแสของการ เรี ยกร้ องสิ ทธิ สตรี ส่งผลท�ำให้เกิ ดภาพยนตร์ ผูห้ ญิ ง (Women’s film) ที่ เน้นการต่อสู ้ ความหมายของสตรี โดยเน้นผูห้ ญิงเก่ง และไม่ยอมแพ้ต่ออุดมการณ์แบบชายเป็ นใหญ่ (สนใจโปรดดู กาญจนา แก้วเทพ มปป. และ Smelik 2007) อนึ่ง ประเด็นที่น่าสนใจคือ การต่อสูค้ วามหมายต่ออุดมการณ์หลักยังเป็ นไปได้ ยากในภาพยนตร์กระแสหลัก แม้กระทัง่ ภาพยนตร์ที่เน้นการต่อสูค้ วามหมายของบุคคลที่ เป็ นผูข้ ดั ขืนต่ออุดมการณ์หลักในสังคมก็ยงั มิอาจต่อสู ้ได้ท้ งั หมด ดังปรากฏในงานของ ขจิตขวัญ กิจวิสาละ (2553) เผยให้เห็นว่า ภาพยนตร์ ตระกูลต่อสู ้ขดั ขืนของบุคคลที่แม้ 38

วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปีท่ี 6 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถนุ ายน 2554)


เป้ าหมายจะน�ำเสนออุดมการณ์ต่อต้านของผูข้ ดั ขืน แต่เมื่อวิเคราะห์ในเนื้ อหาภาพยนตร์ กลับพบว่า การต่อสูก้ ลับมีหลากหลายระดับที่ทำ� ได้จนถึงท�ำไม่ได้ถึง 5 ขั้น ในขณะที่ระดับ ท�ำได้กค็ ือ ประเด็นเรื่ องเพศที่สาม ตัวละครมักจะต่อสูจ้ นได้มาซึ่ งชัยชนะ ระดับที่ควรท�ำ อย่างยิง่ ก็คอื ผูห้ ญิงเก่ง ผูห้ ญิงที่ถกู ข่มขืน และคนบ้า โดยในตอนจบตัวละครเหล่านี้ประสบ ความส�ำเร็ จในการขัดขืน แต่กย็ งั มีเงื่อนไขบางประการ เช่น หากเป็ นหญิงเก่งที่ต่อสูไ้ ด้แต่ ก็ตอ้ งแลกมาด้วยการไม่สมหวังในรัก หรื อหากเป็ นหญิงที่ถกู ข่มขืนก็ตอ้ งแลกมาด้วยการ ให้เธอต้องฆ่าคนร้ายด้วยตนเอง ระดับที่สาม หรื อ ระดับที่ควรท�ำแต่จะมีการก�ำหนด วิธีการในการต่อสู ้ เช่น ชนชั้นล่าง ชนชั้นกลางที่ต่อสูเ้ พื่อชนชั้นล่าง และผูห้ ญิงที่ละเมิด จารี ตการครองคู่ นัน่ ก็หมายถึงการต่อสู ้ทำ� ได้แต่ก็ตอ้ งอยูบ่ นวิธีการที่สังคมยอมรับ เช่น ต่อสู ้ดว้ ยสันติวิธี หรื อการต่อสู ้ของสตรี ก็ตอ้ งยอมรับสังคมแบบชายเป็ นใหญ่ หญิงที่ดี จึงต้องเป็ นแม่และเมีย ระดับที่สี่ คือ ไม่ควรท�ำ ก็คือ โสเภณี เมียน้อย เมียเก็บ และอันธพาล ตัวละครทั้งหมดมักจะเป็ นตัวละครที่สงั คมไม่ตอ้ งการและหากตัวละครไม่กลับตัวกลับใจ ก็จะจบลงด้วยการขจัดออกไปด้วยการลงโทษ และระดับสุ ดท้าย ที่ไม่ควรท�ำอย่างยิง่ คือ เสรี ภาพทางเพศของสตรี คนต่างเชื้อชาติศาสนาในไทย ยังเป็ นเรื่ องที่สงั คมไทยต้องห้าม อยูแ่ ละถูกขจัดไปโดยสิ้ นเชิง นอกเหนือจากส�ำนัก Feminism ซึ่งให้ความสนใจการครอบง�ำและการต่อสูข้ อง อุดมการณ์ในภาพยนตร์ แล้ว ยังได้ผลักดันให้เกิดการศึกษาอุดมการณ์ในภาพยนตร์ ใน ส�ำนักอื่นๆ อีก เช่น -ทฤษฎี เกย์และเลสเบี้ ยน (gay and lesbian theory) จะสนใจประเด็นเรื่ อง เพศที่สามกับการต่อสู ้ความหมายของคนกลุ่มดังกล่าว ทฤษฎีกลุ่มนี้ พฒั นาไปสู่ ทฤษฎี เควียร์ (queer theory) ซึ่งเน้นทั้งมิติของเพศที่สามและรวมถึงคนที่แตกต่าง เช่น คนพิการ ผูส้ ูงอายุ ฯลฯ โดยมองว่า คนกลุ่มดังกล่าวเป็ นกลุ่มคนที่แปลกและแตกต่างที่พยายามต่อสู ้ เพื่ออัตลักษณ์ของตน -ทฤษฎีภาพยนตร์คนด�ำ (black cinema theory) สนใจภาพยนตร์คนผิวสี โดยมอง ว่า ที่ผา่ นมาสังคมมักจะผลิตและให้คุณค่าแต่คนผิวขาวและมองข้ามคนผิวด�ำไปแม้แต่ใน ภาพยนตร์ จึงต้องหันมาต่อสูเ้ รี ยกร้องให้เกิดการผลิตและสร้างอัตลักษณ์ภาพยนตร์คนด�ำ -ทฤษฎี ภ าพยนตร์ โ ลกที่ ส าม (third film cinema) ศึ ก ษาภาพยนตร์ ข อง โลกที่สามและโลกที่เคยตกเป็ นอาณานิ คม ส่ วนทฤษฎี ภาพยนตร์ โลกที่สี่ (forth film cinema) จะสนใจภาพยนตร์ของคนกลุ่มน้อยที่อยูใ่ นประเทศที่มีคนกลุ่มใหญ่ เช่น คนจีน ที่อาศัยในอังกฤษ คนไทยในสหรัฐอเมริ กา เป็ นต้น

Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.6 No. 1 (January - June 2011)

39


-ภาพยนตร์ขา้ มชาติ (transnational film studies) จะมุ่งเน้นภาพยนตร์ที่เกี่ยวโยง กับการข้ามพื้นที่ของผูค้ น ภาพยนตร์ ท้ งั หมดนี้ ให้ค วามสนใจทั้ง รู ป แบบและเนื้ อ หาของภาพยนตร์ ที่ ถูกอุดมการณ์กระแสหลักก�ำหนดความหมาย โดยเฉพาะอุดมการณ์ภาพยนตร์กระแสหลัก ที่มกั จะมาจากโลกตะวันตก ตลอดจนการต่อสู ้กบั ความหมายที่ถูกก�ำหนดเพื่อเปิ ดพื้นที่ อัตลักษณ์และศักดิ์ศรี ของผูค้ น อันได้รับอิทธิพลมาจากการเปลี่ยนแปลงของสังคมโลกใน ยุคหลังสมัยใหม่ กลุ่มที่สาม การศึ กษากลุ่มภาพยนตร์ แนวทางดังกล่าวต่างไปจากการศึกษา ที่ผา่ นมาในประเด็นเรื่ อง “ปริ มาณ” ของการศึกษาซึ่งจะเน้น “กลุ่ม” ภาพยนตร์ มิได้ศึกษา หรื อวิ เ คราะห์ เ พี ย งภาพยนตร์ เ รื่ องเดี ย วแต่ จ ะอาศัย การศึ ก ษากลุ่ ม ของภาพยนตร์ นอกจากนั้นการศึกษาภาพยนตร์ในแนวทางนี้ยงั ขยายไปสู่การวิเคราะห์บริ บทด้วย จึงท�ำให้ เป็ นการศึกษาแบบคู่ขนานทั้งตัวบทและบริ บทควบคู่กนั ทั้งนี้ การศึกษากลุ่มภาพยนตร์ยงั สามารถจ�ำ แนกได้เป็ นการศึ กษาตระกูล ภาพยนตร์ (genre studies) และการศึ ก ษา ประพันธกร (auteur theory) หรื อผูก้ ำ� กับภาพยนตร์ ในกลุ่ ม แรก การศึ ก ษาตระกู ล ภาพยนตร์ เป็ นการพิ จ ารณาถึ ง กลุ่ ม หนัง ที่ ผลิตมาใกล้เคียงกัน ซึ่ งด้านหนึ่ งมาจากสู ตรส�ำเร็ จของอุตสาหกรรมภาพยนตร์ ที่ผลิตขึ้น เพื่อให้ภาพยนตร์ ขายได้ในเชิ งพาณิ ชย์ โดยไม่จำ� เป็ นต้องมี ผูก้ ำ� กับชื่ อดัง และในอี ก ด้านหนึ่ งสู ตรดังกล่าวก็สร้ างความคาดหวังให้กบั ผูช้ มว่า ภาพยนตร์ ที่กำ� ลังจะได้ชม มีรูปแบบและเนื้อหาเช่นไร เช่น ภาพยนตร์เพลง ภาพยนตร์บู๊ ภาพยนตร์รัก ภาพยนตร์ผี เป็ นต้น แต่ถึงแม้จะมี สูตรส�ำเร็ จหรื อ convention หรื อขนบ เพื่อที่ จะดึ งดูดผูบ้ ริ โภค ผูผ้ ลิตก็ยงั สามารถสร้างสรรค์รูปแบบหรื อเนื้ อหาใหม่ได้ หรื อที่เรี ยกว่า invention หรื อ นวัตกรรม เช่น ในภาพยนตร์ตระกูลผีไทยก็พฒั นาจากการวิง่ หนีผใี นวัดสู่การสร้างแนวทาง ใหม่คือการสื บสวนหาการตายของผี หรื อการพัฒนาของหนังรักเพศเดียวกันในตระกูล หนังรัก เป็ นต้น (สนใจรายละเอียดการศึกษาตระกูลภาพยนตร์โปรดดู ก�ำจร หลุยยะพงศ์ และสมสุ ข หิ นวิมาน 2552) แนวทางการวิเคราะห์ตระกูลภาพยนตร์ สามารถวิเคราะห์ได้จากองค์ประกอบ ภายในหรื อการเล่าเรื่ อง เช่น ตัวละคร โครงเรื่ อง เวลา สถานที่ และภาษาหนัง ตามแนวทาง Formalism นอกจากนั้นยังสามารถวิเคราะห์ถึงอุดมการณ์หรื อความหมายที่แฝงอยู่ใน ตระกูลภาพยนตร์ตามแนวทางมาร์กซิสม์ ดังเช่น ภาพยนตร์รักส่วนใหญ่จะพบการเล่าเรื่ อง ที่เน้นตัวละครชายหญิง การฝ่ าฟันอุปสรรคต่างๆ นับตั้งแต่ครอบครัว ชาติ และแม้กระทัง่

40

วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปีท่ี 6 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถนุ ายน 2554)


ความตาย และทั้งหมดนี้ ก็ผลิตซ�้ำอุดมการณ์ความรักเป็ นสิ่ งที่มีเหนื อสิ่ งอื่นใด (ก�ำจร หลุยยะพงศ์ และสมสุ ข หิ นวิมาน 2552) ส�ำหรับการศึกษาประพันธกร หรื อผูก้ ำ� กับภาพยนตร์ ก�ำเนิดขึ้นหลังสงครามโลก ครั้งที่สองเป็ นต้นมา โดยนักวิชาการชาวอเมริ กนั นาม Andrew Sarris ในทศวรรษที่ 1960 ซึ่งได้รับอิทธิพลจากนักวิชาการและนักวิจารณ์ฝรั่งเศสกลุ่มคลื่นลูกใหม่ในช่วงทศวรรษที่ 1950 ของวารสาร Cahiers du Cinema โดยเฉพาะ Andre Bazin และ Francois Truffaut แนวคิ ด ดัง กล่ า วสนใจกลุ่ ม ภาพยนตร์ ข องผูก้ �ำ กับ คนเดี ย วกัน โดยมองว่ า ผูก้ �ำ กับ เปรี ยบเสมือน “ศิลปิ น” ผูใ้ ช้กล้องสร้างสรรค์ศิลปะโดยจอภาพยนตร์กค็ ือ “ผืนผ้าใบ” ทั้งนี้ ความคิดดังกล่าวยืนยันให้เห็นว่า ภาพยนตร์ ก็ไม่ต่างไปจากศิลปะแขนงอื่นๆ จึงต้องมี ศิลปิ นผูร้ ังสรรค์งาน หาใช่ เป็ นเพียงวัฒนธรรมมวลชนเท่านั้น ทั้งนี้ ศิลปิ นที่ ส�ำนักนี้ ให้ความสนใจเป็ นผูก้ ำ� กับงานทั้งหมดก็คือ “ผูก้ ำ� กับภาพยนตร์” นัน่ เอง (บุญรักษ์ บุญญะ เขตมาลา 2552aและb) การวิเคราะห์ในส�ำนักนี้ จึงให้ความสนใจว่า ผูก้ ำ� กับภาพยนตร์ ในฐานะศิลปิ น จะสามารถสร้างสรรค์ความคิดสู่ ภาพยนตร์ ได้อย่างไรภายใต้ขอ้ จ�ำกัดของสื่ อภาพยนตร์ ตลอดจนข้อจ�ำกัดของอุตสาหกรรมภาพยนตร์ ยิ่งไปกว่านั้นการวิเคราะห์ตามทฤษฎี ประพันธกรยังสนใจการวิเคราะห์รูปแบบและเนื้อหาตามสู ตรของผูก้ ำ� กับ โดยเฉพาะการ ให้ความสนใจต่อจัดองค์ประกอบภาพ (mise-en-scene) จนเป็ นเอกลักษณ์เฉพาะตัวหรื อที่ เรี ยกว่า metteur-en-scene ภาพยนตร์ของผูก้ ำ� กับคนเดียวกัน จึงกลายเป็ น “ลายเซ็น” หรื อ เอกลักษณ์ของผูก้ ำ� กับ ด้วยเหตุน้ ี นักวิชาการบางท่านจึ งจัดให้การศึกษาตามแนวทาง ประพันธกรยังอยูใ่ นกลุม่ รู ปแบบนิยม (Formalism) อีกแบบหนึ่งด้วย (กฤษดา เกิดดี 2548a: 201) ดังนั้น หากวิเคราะห์ภาพยนตร์ของผูก้ ำ� กับคนเดียวกันก็จะท�ำให้เห็นตัวตนของผูก้ ำ� กับ ท่านนั้นในภาพยนตร์ ดังเช่น สปี ลเบิร์ก ฮิชค๊อก และหม่อมเจ้าชาตรี เฉลิม ยุคล ในอีกด้านหนึ่ง การศึกษาประพันธกรยังขยายการศึกษาสู่การพัฒนาความคิดของ ผูก้ ำ� กับ (evolution) โดยจะวิเคราะห์กลุ่มหนังของผูผ้ ลิตทั้งหมดควบคู่กบั บริ บทสังคมที่ ส่ งผลกระทบต่อภาพยนตร์ที่ผลิตด้วย ในช่วงหลังการวิเคราะห์ภาพยนตร์ ในส�ำนักนี้ เริ่ มถูกวิจารณ์วา่ อาจมองเฉพาะ ผูก้ ำ� กับภาพยนตร์บางคน และหลีกเลี่ยงการมองผูก้ ำ� กับภาพยนตร์อีกหลายคนอันท�ำให้เกิด ความล�ำเอียงหรื ออคติในการวิจารณ์ อีกทั้งเกิดข้อถกเถียงว่า ผูก้ ำ� กับภาพยนตร์จะมีอิทธิพล เป็ นศิลปิ นในการผลิตภาพยนตร์ คนเดียวหรื อไม่ตลอดจนมองข้ามผูร้ ่ วมงานท่านอื่นๆ (สนใจแนวทางการศึกษาประพันธกร โปรดดูบุญรักษ์ บุญญะเขตมาลา 2552b และกฤษดา เกิดดี 2548) Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.6 No. 1 (January - June 2011)

41


กลุ่มทฤษฎีผู้รับสาร (การวิเคราะห์ ผู้รับสาร audience criticism)

การศึกษาภาพยนตร์ กลุ่มสุ ดท้าย คือ การศึกษาผูร้ ับสาร นักวิชาการบางท่าน จัดการศึกษากลุ่มนี้ อยูใ่ นกลุ่มการศึกษาบริ บท แต่สำ� หรับในที่น้ ี จะขอจ�ำแนกเป็ นกลุ่มที่ สาม เพราะนอกจากจะเป็ นแนวทางการศึกษาที่ให้ความส�ำคัญกับผูร้ ับสารแล้ว การศึกษา ผูร้ ับสารยังเป็ นหัวใจของการศึกษาของส�ำนักวัฒนธรรมศึกษา ซึ่งเป็ นส�ำนักที่ทรงอิทธิพล ในการศึ ก ษาภาพยนตร์ ใ นยุค ปั จ จุ บ นั นับ ตั้ง แต่ ท ศวรรษที่ 1980 เป็ นต้น มา โดยให้ ความสนใจพลังอ�ำนาจของผูร้ ับสารในการต่อสู ้ต่อรองความหมายซึ่ งต่างไปจากส�ำนัก บริ บทที่มกั จะมองว่า ภาพยนตร์เป็ นสื่ อที่ผลิตและตอกย�้ำอุดมการณ์ตามแนวทางของมาร์ก ซิ สม์ แต่ก่อนที่ จะน�ำไปสู่ การศึ กษาภาพยนตร์ ตามแนวทางภาพยนตร์ ศึกษา มิ ได้ หมายความว่าไม่มีการศึกษาผูร้ ับสารก่อนหน้านั้น ที่ผา่ นมาการศึกษาผูร้ ับสารภาพยนตร์ สามารถจ�ำแนกได้เป็ นสามกลุ่มย่อยคือ การศึกษาพฤติกรรมการชม การศึกษาจิตวิเคราะห์ กับภาพยนตร์ และการศึกษาการตีความหมายในภาพยนตร์ ของส�ำนักวัฒนธรรมศึกษา รายละเอียดดังต่อไปนี้ กลุม่ แรก การศึกษาพฤติกรรมการชม เป็ นการศึกษาผูร้ ับสารตามแนวคิดจิตวิทยา และการตลาดของผูผ้ ลิตภาพยนตร์ เพือ่ ศึกษาว่า ใครคือผูช้ มภาพยนตร์ ชมด้วยเหตุผลอะไร ต้องการชมภาพยนตร์ อะไร การส�ำรวจดังกล่าวแสดงให้เห็นว่า ผูช้ มภาพยนตร์ มกั จะมี ความต้องการหลากหลาย ในเบื้องต้นผูช้ มภาพยนตร์มกั เป็ นกลุ่มคนเมือง วัยรุ่ น คนท�ำงาน (แต่เมื่อมีลูกก็จะลดการบริ โภคลงทดแทนด้วยการบริ โภคโทรทัศน์) รับชมเป็ นกิจกรรม กลุ่ ม และที่ ส�ำ คัญ คื อ มี ค วามต้อ งการที่ จ ะหลุ ด พ้น หรื อ หนี จ ากโลกที่ สับ สนวุ่น วาย (escapism) ภาพยนตร์จึงกลายเป็ นพื้นที่ตอบสนองความต้องการของเขาเหล่านั้น ในทัศนะ ของนักวิชาการกลุม่ มาร์กซิสม์มองเป้ าหมายดังกล่าวจะช่วยท�ำให้ผคู ้ นโดยเฉพาะในสังคม ทุนนิยมอุตสาหกรรมสามารถคลายปัญหาได้ชวั่ คราวและก้าวไปท�ำงานเพือ่ ตอบสนองต่อ สังคมทุนนิ ยมอุตสาหกรรมได้ต่อไป ในฟากของผูผ้ ลิตจึงผลิตภาพยนตร์ ประเภทเน้น ความบันเทิง ความสนุกสนาน บูแ๊ อ๊กชัน่ เพื่อดึงดูดผูช้ ม ทว่า ในปั จจุบนั พฤติกรรมการรับชมภาพยนตร์ เริ่ มแปรเปลี่ยนไปและเริ่ มเกิด กลุ่มผูช้ มที่ติดตามภาพยนตร์ อย่างจริ งจัง (active audience) กลุ่มดังกล่าวสนใจอ่านบท วิจารณ์ภาพยนตร์ ก่อนชม นิ ยมการวิจารณ์หลังจากชมภาพยนตร์ ท้ งั ผ่านการพูดคุย การ เขียนผ่านเว็บไซต์ บางคนถึงกับเขียนและสร้างภาพยนตร์ ตอนต่อจากภาพยนตร์ ที่ตนได้ รับชมและประทับใจ รวมถึงการรวมพลังเพือ่ ต่อสูเ้ พือ่ ภาพยนตร์ที่ตนชื่นชอบ ดังเช่น กรณี ของเครื อข่ายคนดูหนัง (www.thaiaudience.wordpress.com) ที่ตอ่ สูก้ ารเซ็นเซอร์ภาพยนตร์ เรื่ อง Insects in the Backyard และความไม่เป็ นธรรมของการขึ้นค่าชมภาพยนตร์ในช่วงปี 42

วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปีท่ี 6 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถนุ ายน 2554)


พ.ศ. 2554 (สนใจโปรดดู Bioscope ฉ. 116 กรกฎาคม 2554: 27) การรวมกลุ่มถือเป็ นการ พัฒนาผูช้ มคนธรรมดาให้กลายเป็ นผูช้ มที่มีพลังและมิใช่แต่เป็ นเพียงผูบ้ ริ โภคแต่กลายเป็ น พลเมือง (citizen) ที่ตระหนักถึงสิ ทธิของตน กลุ่มที่สอง การศึกษาจิตวิเคราะห์ กบั ภาพยนตร์ เป็ นการวิเคราะห์ภาพยนตร์ตาม ส�ำนักจิตวิเคราะห์ (psychoanalysis) ตามแนวทางของฟรอยด์ (Sigmund Freud) และลากอง (Jacques Lacan) ซึ่งสนใจจิตวิทยาที่ลึกลงไปของมนุษย์ในระดับ unconscious มากกว่าการ มองจิตวิทยาในระดับต้นแบบกลุ่มแรก ทฤษฎีจิตวิเคราะห์เริ่ มก้าวเข้ามาศึกษาภาพยนตร์ในทศวรรษที่ 1970 โดยมองว่า การวิเคราะห์ความฝันของจิตวิเคราะห์ก็ไม่ได้ต่างไปจากการวิเคราะห์ภาพที่ปรากฏใน ภาพยนตร์ เพราะภาพยนตร์เป็ นพื้นที่ที่แฝงไปด้วยความคิดหรื อความปรารถนาบางอย่าง ที่ไม่อาจพูดได้ในชี วิตจริ ง การศึกษาภาพยนตร์ ตามส�ำนักนี้ จะท�ำให้เห็นความต้องการ อุดมการณ์ และอัตลักษณ์ของคนในสังคม ทั้งนี้ หัวใจส�ำคัญของการศึกษาในส�ำนักนี้จะ สนใจการดูของผูช้ ม ทั้งในเรื่ องอ�ำนาจ และการสร้างตัวตนของมนุษย์ (Turner 1999: 131) ส�ำนัก Feminism ถื อเป็ นส�ำนักส�ำคัญที่ นำ� ทฤษฎี ของส�ำนักจิ ตวิเคราะห์ มา ประยุกต์ใช้กบั ภาพยนตร์ โดยสนใจเรื่ องอ�ำนาจการจ้องมองในภาพยนตร์ โดยเฉพาะใน งานของ Laura Mulvey นักสตรี นิยมที่ศึกษาภาพยนตร์ผมู ้ ีชื่อเสี ยงโดดเด่นในช่วงทศวรรษ ที่ 1980 จากผลงานเรื่ อง Visual Pleasure and Narrative Cinema (1988) ซึ่ งชี้วา่ ภาพยนตร์ เป็ นสื่ อของผูช้ าย ผูห้ ญิงที่ปรากฏในภาพยนตร์ ลว้ นแล้วถูกผูช้ ายจ้องมองหรื อที่เรี ยกว่า male gaze ทั้งจากผูก้ ำ� กับภาพยนตร์ ผูก้ ำ� กับภาพ และเมื่อปรากฏในจอภาพก็ยงั ถูกจ้องมอง จากผูช้ มที่มีลกั ษณะการมองแบบผูช้ ายไม่ต่างกัน ผูห้ ญิงไม่อาจหลุดพ้นจากการเป็ นเหยือ่ ของผูช้ าย ผูห้ ญิงจึงไม่อาจน�ำเสนอภาพที่ตนต้องการแต่กลายเป็ นภาพที่คนอื่นอยากมอง และเป็ นเพียงวัตถุ ส่ วนผูช้ มก็ได้กลายเป็ นผูม้ ีอำ� นาจในการจ้องมองอย่างหลงใหลหรื อสุ ข ที่ได้จอ้ งมอง (scopophilia) ในขณะที่ดา้ นแรก การชมภาพยนตร์เกี่ยวโยงกับอ�ำนาจการควบคุม แต่ในอีกด้าน หนึ่ งส�ำนักนี้ ยงั พิจารณาถึงการเลียนแบบสิ่ งที่เห็ นในภาพยนตร์ ตามทฤษฎี ของลากอง (Jacques Lacan) การชมภาพยนตร์เปรี ยบเสมือนกับการที่ผชู ้ มก�ำลังอยูใ่ นภาวะ “mirror stage/phase” ซึ่ งเป็ นขั้นตอนการสร้างตัวตนของมนุษย์จากการดูกระจกเงาและหลงใหล เรื อนร่ างที่ได้จอ้ งมอง (narcissistic) เมื่อประยุกต์แนวคิดดังกล่าวกับภาพยนตร์กจ็ ะพบว่า การจ้องมองตัวละครในภาพยนตร์ ทำ� ให้ลืมตัวตนที่มีอยูช่ วั่ คราว และย้อนกลับไปสู่ การ จ้องมองตนเองในกระจก ผูช้ มจึงได้สร้างตัวตนขึ้นมาจากตัวละครที่เห็นในภาพยนตร์ดว้ ย การเลียนแบบและหลงใหลตัวละครซึ่งต่างจากการจ้องมองด้วยมุมมองเชิงอ�ำนาจ (Turner Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.6 No. 1 (January - June 2011)

43


1999: 133-135) เมื่อผูช้ มเห็นพระเอกในละครก็จะมีแนวโน้มอยากเป็ นแบบตัวละครใน ภาพยนตร์ หรื อที่เรี ยกว่า กระบวนการอ้างอิงเพื่อสร้างตนเอง (identification) (กาญจนา แก้วเทพ และสมสุ ข หิ นวิมาน 2551: 620-621) Mulvey ขยายความว่า ผูช้ มจะมองผูห้ ญิงแบบเป็ นเหยื่อ ในทางตรงกันข้าม ไม่วา่ หญิงหรื อชายก็จะเชื่อมโยงหรื อเลียนแบบกับตัวละครพระเอกและกลายเป็ นพระเอก โดยไม่เชื่อมโยงกับการเป็ นเหยือ่ เพราะมีลกั ษณะของผูน้ ำ� และถูกก�ำหนดจากภาษาหนังที่ ผูก้ ำ� กับ(ชาย)สร้างขึ้น และทั้งหมดนี้ ก็ดำ� เนิ นไปตามสังคมแบบผูช้ ายเป็ นใหญ่ที่กำ� หนด ความหมายทั้งหมด ทั้ง นี้ การท�ำ งานของภาพยนตร์ ใ นจิ ต วิ เ คราะห์ ส ามารถท�ำ งานได้อ ย่า งมี ประสิ ทธิภาพก็เนื่องจากการฉายภาพยนตร์ในที่มืด แม้ผชู ้ มจะดูแบบรวมกลุม่ แต่กลับสร้าง บรรยากาศให้รู้สึกดูคนเดียวและมีอำ� นาจในการจ้องมองตลอดจนการสร้างตัวตนตามสิ่ ง ที่เห็นบนจอได้ ถึงแม้ทฤษฎีของส�ำนักนี้จะมีคุณูปการต่อการวิเคราะห์ภาพยนตร์โดยเฉพาะใน ส�ำนักสตรี นิยม แต่กถ็ กู วิจารณ์ในช่วงหลังโดยเฉพาะการจ้องมองแบบผูช้ ายจะครอบคลุม ภาพยนตร์ทุกเรื่ องได้หรื อไม่ มีหรื อไม่ที่ผชู ้ มบางคนสามารถหลุดจากกรอบดังกล่าว เช่น กลุ่มผูช้ มที่รักเพศเดียวกัน กลุ่มคนด�ำ กลุ่มคนเอเชีย มีภาพยนตร์ประเภทอื่นอีกหรื อไม่ที่ แสดงให้เห็นถึงความปรารถนาและความต้องการของผูห้ ญิงมากกว่าการมองว่าผูห้ ญิงเป็ น เพียงเหยือ่ มีหรื อไม่ที่เกิดการสร้างอัตลักษณ์ของความเป็ นสตรี ผ่านเสื้ อผ้า หน้าผมของ ดาราที่ได้ชม อันหมายความว่า เหล่าสตรี ไม่จำ� เป็ นต้องตกเป็ นเหยื่อของการจ้องมอง อย่างเดียวแต่มีอำ� นาจในการก�ำหนดตัวตนได้ดว้ ย นอกจากนั้นผูห้ ญิงจะกลายเป็ นคนที่ “จ้องมอง” ได้หรื อไม่ หรื อ female gaze เช่น กรณี การจ้องมองเรื อนร่ างดาราชายซึ่ งใน ชีวิตจริ งไม่อาจจ้องมองได้ รวมถึงขยายไปสู่ การจ้องมองของเพศที่สามหรื อ queer gaze (Wojcik 2007: 539) ค�ำถามเหล่านี้ นำ� ไปสู่ การพัฒนาการศึกษาผูช้ มในกลุ่มที่สามที่มองผูห้ ญิงที่มี อ�ำนาจในการอ่านและตีความหมายภาพยนตร์ กลุ่ มที่ สาม การศึ กษาการตีความหมายในภาพยนตร์ เป็ นหัวใจของส�ำนัก วัฒ นธรรมศึ ก ษา ส� ำ นั ก ดัง กล่ า วถื อ ก�ำ เนิ ด ขึ้ น ที่ ป ระเทศอัง กฤษในปี ค.ศ. 1964 ณ มหาวิทยาลัย Birmingham และเริ่ มก้าวมาวิเคราะห์ภาพยนตร์ ในทศวรรษที่ 1980 หัวใจหลักของส�ำนักนี้จะเน้นการศึกษาวัฒนธรรมในชีวิตประจ�ำวัน ภาพยนตร์ ก็ถือเป็ น หนึ่ ง ในวัฒ นธรรมในชี วิ ต ประจ�ำ วัน จึ ง กลายเป็ นวัต ถุ ดิ บ ที่ นัก วิ ช าการในกลุ่ ม นี้ ให้ ความสนใจ แนวทางการศึกษาภาพยนตร์ของส�ำนักนี้ประกอบไปด้วยสองด้าน คือ 44

วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปีท่ี 6 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถนุ ายน 2554)


ด้านแรก ภาพยนตร์ ถือเป็ นเครือข่ ายวัฒนธรรมที่ผลิตซ�้ำและสร้ างอุดมการณ์ ต่ างๆ ตามทั ศ นะของมาร์ ก ซิ ส ม์ การศึ ก ษาภาพยนตร์ จึ ง ต้ อ งศึ ก ษาบริ บทดั ง แนวทางมาร์กซิ สม์ในหัวข้อที่ผา่ นมาเพื่อเผยให้เห็นการซุกซ่อนอุดมการณ์ในภาพยนตร์ แต่ ใ นอี ก ด้า นหนึ่ ง ส�ำ นัก วัฒ นธรรมศึ ก ษาก็ ใ ห้ค วามสนใจต่ อ พลัง อ�ำ นาจ ผู้รับสารในฐานะ active โดยมองว่า แม้โครงสร้างจะมีอำ� นาจในการก�ำหนดความหมาย ก็ตามแต่ในเวลาเดียวกันมนุษย์ก็ยอ่ มมีความสามารถในการต่อสู ้ต่อรองความหมายด้วย เช่นกัน แนวทางการศึกษาจึงขยายสู่การพิจารณาผูร้ ับสารไปพร้อมกัน (Willis 1995 และ Wojcik 2007) การมองผูร้ ั บสารที่ มีอำ� นาจในการต่อรองความหมายถื อเป็ นก้าวส�ำคัญของ การศึกษาผูร้ ับสารของภาพยนตร์ ซึ่งอาจต่างไปจากการศึกษาที่ผา่ นมาที่อาจเน้นการชมใน ระดับปั จเจกหรื อระดับบุคคล แต่สำ� นักนี้จะให้ความสนใจการรับชมภาพยนตร์ ในฐานะ กลุ่มบุคคลมากกว่า และที่ส�ำคัญคือการมองว่า กลุ่มบุคคลที่ ชมภาพยนตร์ น้ ันมิได้ถูก ครอบง�ำเสมอไปแต่จะตีความหมายที่แตกต่างหลากหลายไปตามทุนหรื อประสบการณ์ที่ ตนเองมี อ ยู่ ดั ง ที่ Stuart Hall (1980) หนึ่ งในนั ก วิ ช าการส� ำ นั ก นี้ อธิ บ ายว่ า การตีความหมายของผูร้ ับสารมีได้อย่างน้อยสามแบบคือ การตีความไปตามความหมายที่ ผู้ผลิตสร้ าง (preferred meaning) การตีความหมายต่างไปจากผู้ผลิต (oppositional meaning) และการตีความหมายแบบต่ อรอง (negotiated meaning) หรื อการยอมรับความหมายใน ระดับหนึ่งและต่อรองความหมายในระดับหนึ่ง ในทัศนะดังกล่าวนอกจากมองว่า ผูร้ ับสาร มี พ ลัง แล้ว ยัง มองว่ า ความหมายมี ไ ด้ห ลากหลายขึ้ น อยู่กับ ว่ า ใครจะก�ำ หนดหรื อ ตีความหมายได้อย่างไร ดังตัวอย่างเช่นการรับชมภาพยนตร์เรื่ อง “จันดารา” ซึ่ งมีเนื้อหาที่ กล่าวถึงปัญหาทางเพศแบบชายเป็ นใหญ่ของไทย ผูเ้ ขียนโดยทดลองให้นกั ศึกษาในเอเชีย ตะวันออกเฉี ยงใต้รับชมพบว่า นักศึกษาจากเวียดนามปฏิเสธการรับชมภาพยนตร์ เรื่ อง ดังกล่ าวเพราะมองว่าเป็ นภาพยนตร์ โป๊ เปลื อย ในทางกลับกันนักศึ กษาจากประเทศ ฟิ ลิ ปปิ นส์ ที่ภาพยนตร์ โป๊ เปลื อยเป็ นเรื่ องปกติ ตลอดจนนักศึ กษาจากอิ นโดนี เซี ยที่ มี ประสบการณ์จากเพื่อนบ้านที่ตกอยูใ่ นสภาวะใกล้เคียงกับตัวละครในภาพยนตร์ ผูช้ มทั้ง สองกลุ่มต่างถอดรหัสตรงกับที่ผผู ้ ลิตภาพยนตร์ตอ้ งการน�ำเสนอว่า เป็ นภาพยนตร์ที่ตีแผ่ ปั ญหาและประณามความชัว่ ร้ายของระบบปิ ตาธิ ปไตยของสังคม ส�ำหรับนักศึกษาสตรี ชาวไทยเมื่อได้ชมภาพยนตร์ กลับต่อรองความหมาย กล่าวคือ ในด้านหนึ่ งยอมรับว่า มี เหตุการณ์ดงั กล่าวจริ ง แต่ในเวลาเดี ยวกันนักศึกษาชาวไทยก็ปฏิเสธว่า ภาพที่เห็ นใน ภาพยนตร์ ไม่ได้เกิดขึ้นแล้วในปั จจุบนั แม้แต่ดาราที่เล่นเป็ นตัวเอกยังเป็ นดาราฮ่องกง เพราะไม่ตอ้ งการให้เพื่อนนักศึกษาต่างชาติมองเธอเหมือนตัวละครในภาพยนตร์ที่ตกอยู่ ใต้อำ� นาจปิ ตาธิปไตย (สนใจโปรดดู ก�ำจร หลุยยะพงศ์ 2547) Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.6 No. 1 (January - June 2011)

45


การวิ เ คราะห์ ภ าพยนตร์ ด้ว ยส�ำ นัก นี้ มัก จะให้ค วามสนใจกลุ่ ม คนที่ รั บ ชม ภาพยนตร์และตีความหมายในภาพยนตร์วา่ มีลกั ษณะเช่นไร โดยมักจะเจาะกลุ่มเป้ าหมาย เฉพาะ และศึกษาในลักษณะ ethnographic reception studies หรื อการศึกษาเจาะลึกใน กลุ่มคนเฉพาะกลุ่มต่อการดูหนังเรื่ องหนึ่ งๆ โดยในล�ำดับแรกจะศึกษาตัวบทเพื่อเผย ให้เห็นอุดมการณ์ที่แฝงเร้นในหนัง ระดับต่อมาจะศึกษาลักษณะของกลุม่ คนดังกล่าวว่าคือ ใคร มีความเกี่ยวโยงกับเนื้ อหาในภาพยนตร์ อย่างไร และปิ ดท้ายด้วยการศึกษาการอ่าน ความหมายของภาพยนตร์ ที่เลือก เช่น กลุ่มคนพลัดถิ่นที่ได้ชมภาพยนตร์ ของประเทศ บ้านเกิด การศึกษากลุ่มเกย์หลังจากชมภาพยนตร์ กลุ่มรักเพศเดียวกัน เป็ นต้น การศึกษา แนวทางนี้ จะเผยให้เห็นการอ่านความหมายของกลุ่มคนดังกล่าวเพื่อสร้างอัตลักษณ์หรื อ ตัวตนของกลุ่มย่อยอันเป็ นพลังของบุคคลที่มีเหนือต่อการก�ำหนดความหมายของสังคม นอกเหนื อจากการวิเคราะห์การตีความหมายแล้ว ส�ำนักวัฒนธรรมศึกษายังให้ ความสนใจศึกษาผูช้ มในแบบอืน่ ๆ ซึ่งยังคงมุง่ เน้นการให้ความส�ำคัญของผูร้ ับสารในฐานะ active อยู่ ดังเช่ น การศึ กษากลุ่มแฟนภาพยนตร์ การศึ กษาดารา และการศึ กษาการ เชื่อมโยงของตัวบทหรื อสัมพันธบท กรณี แ รกการศึ ก ษากลุ่ ม แฟนภาพยนตร์ จะมองว่า ผูช้ มกลุ่ ม นี้ เป็ นกลุ่ ม ที่ กระตือรื อร้นและติดตามดารา นอกจากนั้น แนวทางดังกล่าวยังเริ่ มขยายสู่การศึกษาดารา (star studies) โดยมองว่า ดารา มิใช่แค่นกั แสดง แต่เป็ นบุคคลที่ตอ้ งมีบุคลิกโดดเด่นทั้ง ในจอและนอกจอ เพื่อดึงดูดแฟนภาพยนตร์ให้ติดตามและการจ้างงาน การศึกษาดารา ยังย้อนกลับไปสู่การศึกษาอุดมการณ์ โดยเฉพาะงานของ Richard Dyer (1986 อ้างถึงใน Turner 1999: 124-125) พบว่า ดาราเป็ นสัญญะที่สร้างและสามารถ เปลี่ยนแปลงไปได้ตามการเปลี่ยนแปลงของสังคมและวัฒนธรรม เช่น ริ ชาร์ด เกียร์ เปลี่ยน ความหมายตนเองจากนักแสดงชายเซ็กซี่สู่นกั เรี ยกร้องเสรี ภาพของทิเบต นอกจากนั้น Dyer ยังศึ กษาอดี ตดาราชื่ อดัง มาร์ ลีน มอนโร และเผยให้เห็ นว่า มอนโร คือ ผลพวงของ วาทกรรมเสรี ภาพทางเพศในยุคทศวรรษที่ 1950 ซึ่ งแสดงออกถึงเสรี ภาพ ความเป็ น ธรรมชาติ และความเป็ นผูใ้ หญ่ ซึ่งตรงกันข้ามกับอุดมการณ์กระแสหลักยุคอดีตที่ครอบง�ำ ผ่านสถาบันศาสนา มอนโร จึงสามารถเปิ ดเผยทางเพศ ยัว่ ยวน และนี่เองที่ส่งผลให้ผชู ้ ม ชื่นชอบ ประทับใจ และยกย่องให้เธอกลายเป็ นสัญลักษณ์ทางเพศ การศึกษาการเชื่อมโยงของตัวบท หรื อสัมพันธบท หรื อ สหบท (intertextuality) ก็เป็ นอีกหนึ่งในแนวทางที่ศกึ ษาผูช้ มรวมถึงตัวบทของส�ำนักวัฒนธรรมศึกษา โดยพิจารณา ว่า ไม่มีตวั บทที่ใหม่อีกต่อไปแล้ว แต่ตวั บทจะมีลกั ษณะเชื่อมโยงกับตัวบทเดิมในอดีต 46

วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปีท่ี 6 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถนุ ายน 2554)


นัน่ ก็หมายความว่า จากเดิมที่พิจารณาว่า ภาพยนตร์เป็ นศิลปะที่สร้างสรรค์ข้ ึนมา แต่ใน ยุคหลังสมัยใหม่ (postmodern) กลับมองว่า ตัวบทที่เห็นมีเงาของอดีตที่ผา่ นมา ไม่วา่ จะ เป็ นการผลิตซ�้ำจากตัวบทเดิม การผลิตจากนิยายสู่ ภาพยนตร์ การเชื่อมโยงจากภาพยนตร์ เรื่ องเก่า หรื อแม้กระทัง่ การเชื่อมโยงกับบริ บทอื่นๆ เช่น การน�ำรู ปแบบเนื้อหาจากสื่ ออื่นๆ มาตัดแปะ (pastiche) และสร้างเป็ นภาพยนตร์เรื่ องใหม่ เฉกเช่น ภาพยนตร์เรื่ อง “หมานคร” เป็ นต้น นอกจากนั้นการเชื่อมโยงของตัวบท ยังเกี่ยวข้องกับผูร้ ับสารในด้านของการที่ ผูร้ ับสารจะเป็ นผูเ้ ชื่อมโยงเรื่ องราวจากตัวบทที่หนึ่งไปสู่ตวั บทที่สองและสาม ความหมาย จึงมิได้หยุดนิ่งกับที่ (not fixed) แต่จะกระจัดกระจายไปตามบริ บทต่างๆ ทั้งในฟากของ การผลิตและฟากของการบริ โภค ซึ่งผูช้ มจะต้องเข้าใจบริ บทที่หลากหลายอันจะส่ งผลให้ ผูช้ มสามารถเข้าใจความหมายในภาพยนตร์ ดังนั้น การวิเคราะห์ภาพยนตร์ตามแนวทาง การเชื่อมโยงนี้จึงจะพิจารณาความสัมพันธ์ของภาพยนตร์เรื่ องดังกล่าวกับบริ บทต่างๆ ทั้ง ภาพยนตร์เรื่ องอื่น สื่ ออื่นๆ สังคมและวัฒนธรรม และแม้แต่ผชู ้ มเอง (สนใจโปรดดูประชา สุ วรี านนท์ 2540)

บทสรุป: เงือ่ นไขการวิเคราะห์ ภาพยนตร์ ด้วยทฤษฎี

การวิเคราะห์ภาพยนตร์ เป็ นการน�ำทฤษฎี มาใช้เพื่อท�ำความเข้าใจภาพยนตร์ สามารถจ�ำแนกได้เป็ นการวิเคราะห์ ตวั บท บริ บท และผูร้ ั บสาร แต่ อย่างไรก็ดีสิ่งที่ พึงตระหนักมีสามประการก็คือ ประการแรก การใช้ทฤษฎีที่ส่องให้เห็นความจริ งในภาพยนตร์อาจยังไม่สามารถ ส่ องให้เห็ นความจริ งได้ครบถ้วน ทฤษฎี บางอันจะเน้นบางจุ ดหรื อส่ องให้เห็ นเพียง บางแง่มุมเท่านั้น ประการที่สอง การใช้ทฤษฎีอาจมีลกั ษณะผสมผสานกันก็ได้ เช่น การใช้ทฤษฎี วิเคราะห์ตวั บทคูก่ บั บริ บท ดังเช่น ทฤษฎี genre และ auteur เป็ นต้น รวมถึงอาจผสมกับการ วิเคราะห์ผรู ้ ับสารได้ดว้ ย โดยเฉพาะการศึกษาตามแนวทางวัฒนธรรมศึกษา ที่ดา้ นหนึ่งจะ ศึกษาอุดมการณ์ที่กำ� หนดความหมายก่อน และหลังจากนั้นจึงศึกษาการตีความหมายของ กลุม่ ผูร้ บั สาร นอกจากนั้นทฤษฎีสำ� นักมาร์กซิสม์กส็ ามารถผสมผสานกับส�ำนักจิตวิเคราะห์ เพื่ออธิบายให้เห็นกลไกการครอบง�ำความหมายที่เจาะลึกลงไปในระดับจิตใต้สำ� นึก ประการสุดท้าย เนื่องจากทฤษฎีดา้ นภาพยนตร์มีลกั ษณะวิวฒั น์อยูต่ ลอดเวลา ทั้ง ในหมู่ของนักวิชาการด้านภาพยนตร์ตลอดจนนักวิชาการด้านอื่นๆ ที่สนใจใช้ภาพยนตร์ Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.6 No. 1 (January - June 2011)

47


เป็ นวัตถุดิบแห่ งการศึกษา และแม้กระทัง่ ผลกระทบจากสภาพสังคมที่แปรเปลี่ยนไป การศึกษาภาพยนตร์ จึงยังรุ ดหน้าไปอีก เช่น ภาพยนตร์ กบั การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยี การศึกษาเครื่ องแต่งกายในภาพยนตร์ การแสดง เรื อนร่ าง (body) เสี ยง ฉาก การใช้สำ� นัก Postmodernism, Postcolonialism ในการวิเคราะห์ภาพยนตร์ กฎหมายและการควบคุม เป็ นต้น (สนใจโปรดดู Cook 2007 และ Hill and Gibson 1998)

รายการอ้ างอิง กฤษดา เกิดดี. (2548a). การวิจารณ์ภาพยนตร์แนวประพันธกร และการวิจารณ์ภาพยนตร์ แนวอิงบริ บท ใน เอกสารการสอนชุดวิชา ทฤษฎีและการวิจารณ์ ภาพยนตร์ เบือ้ งต้ น เล่ ม 2 หน้า 192-263. นนทบุรี : มหาวิทยาลัยสุ โขทัยธรรมาธิราช กฤษดา เกิดดี.( 2548b). ทฤษฎีแนวสัจนิยมใหม่ ใน เอกสารการสอนชุดวิชา ทฤษฎีและ การวิจารณ์ ภาพยนตร์ เบือ้ งต้ น เล่ ม 1 หน้า 183-217. นนทบุรี : มหาวิทยาลัย สุ โขทัยธรรมาธิราช กาญจนา แก้วเทพ.(มปป). วิจารณ์ หนังทัศนะใหม่ กรุ งเทพฯ: เจนเดอร์เพรส กาญจนา แก้วเทพ.(2544). ศาสตร์ แห่ งสื่อและวัฒนธรรมศึกษา กรุ งเทพฯ : เอดิสนั เพรส กาญจนา แก้วเทพ และสมสุ ข หิ นวิมาน.(2551). สายธารแห่ งนักคิดทฤษฎีเศรษฐศาสตร์ การเมืองกับสื่ อสารศึกษา กรุ งเทพฯ : ภาพพิมพ์ ก�ำจร หลุยยะพงศ์ .(2547). หนังอุษาคเนย์ : การศึกษาภาพยนตร์ แนววัฒนธรรมศึกษา กรุ งเทพฯ : ธรรมศาสตร์ ก�ำจร หลุยยะพงศ์ และสมสุ ข หิ นวิมาน.(2552). หลอน รัก สั บสนในหนังไทย กรุ งเทพฯ : ศยาม ขจิตขวัญ กิจวิสาละ.(2553). ความหมายของการขัดขืนอ�ำนาจของสังคมผ่านการเล่าเรื่องใน ภาพยนตร์ ร ะหว่ า ง พ.ศ. 2513-2550 วิท ยานิ พ นธ์ ดุ ษ ฎี บ ณ ั ฑิ ต สาขาวิ ช า นิเทศศาสตร์ คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จักรวาล นิลธ�ำรงค์.(2553). มองอุตสาหกรรมหนังไทยจากภายในสู่ภายนอก วารสารศาสตร์ (คณะวารสารศาสตร์และสื่ อสารมวลชน ธรรมศาสตร์) Vol. 4. No.1 (สิ งหาคม) หน้า 89-102.

48

วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปีท่ี 6 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถนุ ายน 2554)


จ�ำ เริ ญลัก ษณ์ ธนะวัง น้ อ ย.(2548). ทฤษฎี ภ าพยนตร์ พ้ื น ฐาน ทฤษฎี ภ าพยนตร์ แนวรู ปแบบนิยม 1 และ 2 ใน เอกสารการสอนชุดวิชา ทฤษฎีและการวิจารณ์ ภาพยนตร์ เบื้องต้ น เล่ ม 1 หน้า 45-152. นนทบุ รี : มหาวิทยาลัยสุ โขทัย ธรรมาธิราช ชัยพัฒน์ อัครเศรณี .(2551) ทฤษฎีหนังอะไรวะ กรุ งเทพฯ: ดูมายเบส ธนา วงศ์ญาณณาเวช (นามแฝง).(2551). หนังอาร์ ตไม่ ได้ มาเพราะโชคช่ วย กรุ งเทพฯ : ออฟเซต ครี เอชัน่ โดม สุ ขวงศ์ .(2533). ประวัตภิ าพยนตร์ ไทย กรุ งเทพฯ : ครุ สภา บรรจง โกศัลวัฒน์.(2548). ทฤษฎีภาพยนตร์แนวสัจนิยม 1 ใน เอกสารการสอนชุดวิชา ทฤษฎีและการวิจารณ์ ภาพยนตร์ เบื้องต้ น เล่ ม 1 หน้า 153-179. นนทบุรี : มหาวิทยาลัยสุ โขทัยธรรมาธิราช บุญรักษ์ บุญญะเขตมาลา .(2552a). โรงงานแห่ งความฝัน กรุ งเทพฯ : พับลิค บุเคอรี บุญรักษ์ บุญญะเขตมาลา.( 2552b). ประพันธกรภาพยนตร์ ญปี่ นุ่ กรุ งเทพฯ : พับลิค บุเคอรี ประวิทย์ แต่งอักษร.(2551). มาท�ำหนังกันเถอะ กรุ งเทพฯ : ก.พล ประชา สุ วรี านนท์ .(2540). แล่ เนือ้ เถือหนัง กรุ งเทพฯ: มติชน สนธยา ทรัพย์เย็น และทีฑะเดช วัชรธานินทร์ (บรรณาธิ การ).( 2553). ปฏิบัติการหนัง ทุนข้ ามชาติ กรุ งเทพฯ : โอเพ่นบุค๊ สามารถ จันทร์ สูรย์ (บรรณาธิ การ) .(2551). การบริ หารจัดการงานอุตสาหกรรมศิลป วัฒนธรรม กรุ งเทพฯ : เซเว่นพริ้ นติ้งกรุ๊ ป อัญชลี ชัยวราพร.(2548a). ภาพยนตร์ ทางเลื อ กและทฤษฎี แนวคิ ดใหม่ ในเอกสาร การสอนชุดวิชา ทฤษฎีและการวิจารณ์ ภาพยนตร์ เบือ้ งต้ น เล่ ม 2 หน้า 257-293. นนทบุรี : มหาวิทยาลัยสุ โขทัยธรรมาธิราช อัญชลี ชัยวรพร.(2548b). การวิจารณ์ภาพยนตร์ ใน เอกสารการสอนชุดวิชา ทฤษฎีและ การวิจารณ์ ภาพยนตร์ เบือ้ งต้ น เล่ม 2 หน้า 61-92. นนทบุรี : มหาวิทยาลัยสุ โขทัย ธรรมาธิราช Cook, Pam. (editor) .(2007). The Cinema Book. Cambridge: Cambridge University Press. Corrigan, Timothy and White, Patricia. (2009). The Film Experience. Boston: Bedford/ St.Martin’s.

Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.6 No. 1 (January - June 2011)

49


Hill, John and Gibson, Pamela Church. (editors). (1998). The Oxford Guide to Film Studies. Oxford: Oxford University Press. Jancovich, Mark and Hollows, Joanne. (editors) .(1995). Approaches to Popular Film. Manchester: Manchester University Press. Mercado, Gustavo. (2011). The Filmmaker’s Eye. Amsterdam: Focal Press. Smelik, Anneke. (2007). Feminist Film Theory. In The Cinema Book. Cook, Pam (editor) pp. 491-501. Cambridge: Cambridge University Press. Thompson, John. (2007). Structuralism and Its Aftermaths. In The Cinema Book. Cook, Pam (editor) pp. 510-529. Cambridge: Cambridge University Press. Turner, Graeme. (1999). Film as Social Practice. London: Routledge. Wojcik, Pamela Robertson.( 2007). Spectatorship and Audience Research. In The Cinema Book. Cook, Pam (editor) pp. 538-545. Cambridge: Cambridge University Press.

50

วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปีท่ี 6 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถนุ ายน 2554)


กลยุทธ์ การสื่ อสารเพือ่ การบริหารจัดการแหล่ งน�ำ้ แบบมีส่วนร่ วม ของชุ มชนในพืน้ ทีล่ ่ มุ น�ำ้ แม่ ห่าง อ�ำเภอเวียงชัย จังหวัดเชียงราย Communicative Strategy for Water Resource Management of Community Participatory in Mae Hang Water Basin, Wiang Chai District, Chiang Rai Province เสริ มศิริ นิลด�ำ* ชัยยงค์ นาสมทรง**

บทคัดย่ อ งานวิจยั นี้มีวตั ถุประสงค์เพื่อศึกษากลยุทธ์การสื่ อสารเพื่อการบริ หารจัดการน�้ำ ของชุ มชนในพื้นที่ลุ่มน�้ำแม่ห่าง อ�ำเภอเวียงชัย จังหวัดเชี ยงราย รวมทั้งศึกษาปั จจัยที่ ส่ งผลต่อการสื่ อสารเพื่อสร้างการมีส่วนร่ วมในการบริ หารจัดการน�้ำของชุมชน ระเบียบ วิธีศึกษาใช้การวิจยั เชิงคุณภาพ เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยการสัมภาษณ์เชิงลึก การสนทนา กลุ่ม และการสังเกตการณ์แบบมีส่วนร่ วม ผลการศึกษาพบว่า กลยุทธ์การสื่ อสารเพื่อสร้างการมีส่วนร่ วมในการบริ หาร จัดการน�้ำแบบชุ มชนมี ส่วนร่ วมในพื้นที่ ลุ่มน�้ำแม่ห่าง ประกอบด้วย 4 กลยุทธ์ได้แก่ (1) กลยุทธ์การถ่ายทอดองค์ความรู ้และการแลกเปลี่ยนเรี ยนรู ้ (2) การสร้างมาตรการ ทางสังคมและกิจกรรมปลูกจิตส�ำนึก (3) การประยุกต์ความเชื่อทางศาสนาและพิธีกรรม และ (4) การแสวงหาความร่ วมมือจากหน่วยงานราชการ ส่ วนปัจจัยที่ส่งผลต่อการสื่ อสาร เพื่อสร้างการมีส่วนร่ วมในการบริ หารจัดการน�้ำของชุมชนในพื้นที่ลุ่มน�้ำแม่ห่าง พบว่ามี 12 ปัจจัย ได้แก่ (1) สถานภาพทางสังคมของแหล่งสาร (2) ความคล้ายกันของผูส้ ่ งสารและ ผูร้ ั บสาร (3) คุณลักษณะของแหล่งสาร (4) การไหลเวียนของข่าวสารภายในชุ มชน * นิเทศศาสตรดุษฎีบณ ั ฑิต (สาขานิเทศศาสตร์) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (2550) ปัจจุบนั เป็นอาจารย์ประจ�ำ โปรแกรมวิชานิเทศศาสตร์ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย ** วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (สาขาการสื่อสารวิทยาศาสตร์) มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย (2553) ปัจจุบัน เป็นครูวิทยฐานะช�ำนาญการพิเศษ โรงเรียนบ้านเมืองชุม สังกัดส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา เชียงราย เขต 1 Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.6 No. 1 (January - June 2011)

51


(5) จิตส�ำนึกหรื อความรู ้สึกเป็ นเจ้าของแหล่งน�้ำ (6) ผลประโยชน์ตอบแทนร่ วมกันของ กลุม่ หรื อชุมชน (7) สถานภาพทางเศรษฐกิจของชาวบ้าน (8) วัฒนธรรมและประเพณีเฉพาะ ท้องถิ่น (9) ข้อก�ำหนดหรื อมาตรการของชุมชน (10) การส่ งเสริ มจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง (11) เวลา และ (12) กฎหมายและนโยบายของรัฐ ค�ำส� ำคัญ : การสื่ อสารแบบมีส่วนร่ วม กลยุทธ์การสื่ อสาร ปัจจัยการสื่ อสาร การบริ หาร จัดการน�้ำ

Abstract The objectives of this research were to study communicative strategy for water resource management of community participatory in Mae Hang Water Basin, Wiang Chai District, Chiang Rai Province, including factors affecting the communication to build up the community participatory for water resource management. This qualitative study was conducted by in-depth-interview, focus group and participatory observation. The study revealed that the communicative strategy for water resource management of community participatory in Mae Hang Water Basin composed of 4 strategies; (1) knowledge transfer and sharing (2) social measurement construction and building up awareness activities (3) applying religious belief and rites (4) seeking for governmental sectors’ cooperation. According to the factors affecting the communication to building up the community participatory for water resource management, the study showed that there were 12 factors such as (1) social status of information (2) similarity of sender and receiver (3) information characteristics (4) flow of information in community (5) awareness or possession of water resource (6) mutual benefits of groups or community (7) economical status of community (8) particular local culture and tradition (9) community rule or measurement (10) support of related organizations (11) time and (12) law and government policy. Keywords : Participatory Communication, Communication Strategy, Communication Factor, Water Operation & Water Management

52

วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปีท่ี 6 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถนุ ายน 2554)


บทน�ำ

ทรัพยากรน�้ำเป็ นปัจจัยหลักของมนุษย์และสิ่ งมีชีวติ ต่าง ๆ เมื่อสิ่ งมีชีวติ ขาดน�้ำ ก็ไม่สามารถด�ำรงชีวติ อยูไ่ ด้ ส�ำหรับสังคมไทยทรัพยากรน�้ำเป็ นปัจจัยส�ำคัญอย่างยิง่ ในการ ผลิตภาคเกษตรกรรม ซึ่ งเป็ นอาชีพหลักของชุมชนท้องถิ่น หากชุมชนเกิดปั ญหาเรื่ องน�้ำ แล้วอาจส่ งให้ประสบปัญหาทางด้านเศรษฐกิจและสังคม กระทัง่ วิถีชีวติ ของคนในชุมชน ต้องเปลี่ยนแปลงไป ในกระบวนการแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นกับแหล่งน�้ำนั้น สังคมไทยในอดีตมอบหน้าที่ ให้หน่ วยงานภาครัฐที่เกี่ ยวข้องกับการดูแลจัดการทรัพยากรทางน�้ำเป็ นแกนน�ำในการ แก้ปัญหา อย่างไรก็ตาม แนวคิดในการแก้ปัญหาแหล่งน�้ำเริ่ มปรับเปลี่ยนไปสู่การค�ำนึงถึง การแก้ปัญหาโดยใช้กระบวนการบริ หารจัดการน�้ำอันประกอบด้วยการจัดกิ จกรรม โครงการ วิ ธี ก ารของกลุ่ ม หรื อ ชุ ม ชนที่ เ กี่ ย วข้อ งกับ การแก้ปั ญ หาแหล่ ง น�้ำ อาทิ การเฝ้ าระวังดูแล การบ�ำรุ งรักษา การพัฒนา การอนุ รักษ์ การฟื้ นฟูแหล่งน�้ำ การสร้าง ฝายชะลอน�้ำ การจัดสรรน�้ำ การสร้างจิตส�ำนึกและสร้างความตระหนักในการอนุรักษ์น้ ำ � (กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อม, 2548) อย่างไรก็ตาม กระบวนการบริ หารจัดการน�้ำจะประสบความส�ำเร็จได้หวั ใจส�ำคัญ คือ การมีส่วนร่ วมของประชาชน ด้วยการให้ประชาชนเป็ นผูค้ ิดค้นปั ญหา มีส่วนร่ วม ในการตัดสิ นใจก�ำหนดความต้องการของตนเอง (ดุสิต เวชกิจและคณะ, 2546) ซึ่ งการจะ กระตุน้ ให้ประชาชนเกิ ดความรู ้ ความเข้าใจ เห็ นความส�ำคัญ และตระหนักถึ งปั ญหา ที่ เกิ ดขึ้นกับชุ มชนของตนเองต้องอาศัยกลยุทธ์การสื่ อสารให้เห็ นถึ งความส�ำคัญของ แหล่งน�้ำที่มีต่อการด�ำรงชีวติ ของคนในชุมชน และสร้างจิตส�ำนึกให้เข้ามามีส่วนร่ วมกับ การแก้ปัญหาชุมชน การสื่ อสารเป็ นกลวิธีหนึ่งการสร้างกระบวนการมีส่วนร่ วมของสมาชิกในสังคม ในทางนิ เ ทศศาสตร์ แนวคิ ด การสื่ อ สารที่ ใ ห้ความส�ำ คัญ กับ การสนทนาโต้ต อบกัน ในลักษณะของการปรึ กษาหารื อกัน เปิ ดโอกาสให้สมาชิกในสังคมได้หนั หน้าเข้าหากัน พูดจากัน เพื่อท�ำความเข้าใจกับข้อมูลข่าวสารเบื้องต้นที่หลากหลายส�ำหรับการตัดสิ นใจ ร่ วมกันเรี ยกว่า กระบวนการสื่ อสารแบบมีส่วนร่ วม (Participatory Communication) (ปาริ ชาต สถาปิ ตานนท์, 2549) จากการประมวลเอกสารต�ำราและงานวิจยั ต่างให้ขอ้ สรุ ปที่ สอดคล้องกันว่า การสื่ อสารแบบมีส่วนร่ วมเป็ นรู ปแบบการสื่ อสารที่มุ่งพัฒนาประสิ ทธิ ภาพและศักยภาพ ของการสื่ อสารให้เอื้อต่อการพัฒนาท้องถิ่น เนื่ องจากการสื่ อสารดังกล่าวจะส่ งผลให้ Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.6 No. 1 (January - June 2011)

53


ประชาชนเกิ ดการเรี ยนรู ้ ร่ วมกันขับเคลื่อนกิจกรรมการบริ หารจัดการต่างๆ ให้บรรลุ เป้ าหมาย ดัง เช่ น ความส�ำ เร็ จ ที่ เ กิ ด ในการบริ ห ารจัด การพื้ น ที่ ลุ่ ม น�้ำ แม่ ห่ า ง ซึ่ ง เป็ น แหล่งน�้ำส�ำคัญของชุมชนในอ�ำเภอเวียงชัย จังหวัดเชียงราย แม่ห่างเป็ นล�ำน�้ำที่มีความยาว ประมาณ 8 กิ โลเมตร ไหลผ่านชุ มชน 2 ต�ำบล คือ ต�ำบลเวียงชัย และต�ำบลเมืองชุ ม ในอดีตน�้ำแม่ห่างเป็ นล�ำน�้ำที่อุดมสมบูรณ์และมีความสัมพันธ์กบั วิถีชีวติ ของคนในชุมชน เป็ นอย่างยิ่ง ทั้งในด้านการอุปโภคบริ โภค ด้านการเกษตร ด้านการปศุสัตว์ และการ ประกอบกิจกรรมทางวัฒนธรรมและประเพณี ของชุมชน ล�ำน�้ำแม่ห่างจึงมีคุณประโยชน์ และคุณค่าทางจิตใจของชุมชน เมื่อความเจริ ญเข้าสู่ ชุมชนท้องถิ่น เกิดเป็ นชุมชนเมืองที่ใช้น้ ำ� จากการประปา ส่ วนภูมิภาคในการอุปโภคบริ โภค ชุมชนจึงไม่เห็นความส�ำคัญของแหล่งน�้ำ น�้ำแม่ห่างจึง ถูกท�ำลาย มีการบุกรุ กพื้นที่ปลูกสร้างบ้านเรื อนรุ กล�้ำลงไปในแม่น้ ำ � ปล่อยน�้ำเสี ย สิ่ งปฏิกลู ทิ้งขยะมูลฝอยลงในล�ำน�้ำท�ำให้แหล่งน�้ำตื้นเขินและน�้ำเกิดมลพิษ ในฤดูน้ ำ� หลากจะเกิด ปั ญหาน�้ำท่ วม ในช่ วงฤดู แล้งก็ประสบกับปั ญหาแหล่ งน�้ำเสื่ อมโทรม ขาดแคลนน�้ำ นอกจากนี้ ยังพบปั ญหาความขัดแย้งระหว่างผูใ้ ช้น้ ำ � เพราะขาดหน่ วยงานรับผิดชอบ ขาดการบริ หารจัดการน�้ำที่ดี จึงเป็ นสาเหตุให้สภาพแวดล้อมและระบบนิเวศของแหล่งน�้ำ ถูกท�ำลาย ความหลากหลายทางชีวภาพของพืชและสัตว์ลดน้อยลง (ชัยยงค์ นาสมทรง, 2550: 45) จากปั ญหาของชุ มชนลุ่มน�้ำแม่ห่างที่ กล่าวมามี สาเหตุมาจากการขาดความรู ้ ความเข้าใจในการบริ หารจัดการน�้ำที่มีประสิ ทธิ ภาพ จึงเป็ นเหตุให้ทุกภาคส่ วนคือ วัด โรงเรี ยน ชุมชน องค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่นเกิดความตระหนักในปัญหาดังกล่าว และได้ ร่ วมมือกันวางแผนแก้ไขปัญหาดังกล่าวแบบมีส่วนร่ วมเริ่ มขึ้นในปี พ.ศ. 2538 ผลจากการ ด�ำเนินงานประสบความส�ำเร็ จและมีประสิ ทธิภาพระดับหนึ่ง ท�ำให้คุณภาพล�ำน�้ำแม่ห่าง ปรับเปลี่ยนไปในทางที่ดีข้ ึนและมีกิจกรรมเกี่ยวกับแหล่งน�้ำร่ วมกันอย่างต่อเนื่องกระทัง่ ปัจจุบนั ด้วยความส�ำเร็ จในการบริ หารจัดการล�ำน�้ำแม่ห่างของชุมชน ผูว้ จิ ยั จึงสนใจที่จะ พิจารณาในมิ ติดา้ นการสื่ อสารว่ามี กลยุทธ์ในการสื่ อสารเพื่อสร้ างการมี ส่วนร่ วมใน การบริ หารจัดการแหล่งน�้ำให้ประสบความส�ำเร็จได้อย่างไร และมีปัจจัยใดบ้างที่ส่งผลต่อ การสื่ อสารเพื่อสร้ างการมี ส่วนร่ วมในการบริ หารจัดการทรั พยากรน�้ำตามภูมิปัญญา ท้องถิ่นของชุมชนในพื้นที่ลุ่มน�้ำแม่ห่าง อ�ำเภอเวียงชัย จังหวัดเชียงราย ผลจากการศึกษา ในครั้งนี้ จะเป็ นประโยชน์ต่อการพัฒนาแนวทางการบริ หารจัดการทรัพยากรน�้ำ รวมถึง 54

วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปีท่ี 6 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถนุ ายน 2554)


ทรัพยากรธรรมชาติประเภทอื่น ๆ ให้สามารถน�ำภูมิปัญญาท้องถิ่น และกลยุทธ์การสื่ อสาร เพือ่ สร้างการมีส่วนร่ วมไปประยุกต์ใช้ในพื้นที่ลุ่มน�้ำต่าง ๆ ของประเทศได้อย่างเหมาะสม และมีประสิ ทธิภาพต่อไป

วัตถุประสงค์ ของการวิจยั

1. เพื่อศึกษากลยุทธ์การสื่ อสารเพื่อสร้างการมีส่วนร่ วมในการบริ หารจัดการน�้ำ ของชุมชนในพื้นที่ลุ่มน�้ำแม่ห่าง อ�ำเภอเวียงชัย จังหวัดเชียงราย 2. เพื่อศึกษาปั จจัยที่ส่งผลต่อการสื่ อสารเพื่อสร้างการมีส่วนร่ วมในการบริ หาร จัดการน�้ำ ของชุมชนในพื้นที่ลุ่มน�้ำแม่ห่าง อ�ำเภอเวียงชัย จังหวัดเชียงราย

แนวคิดทีเ่ กีย่ วข้ อง

การวิจยั นี้มีแนวคิด ทฤษฎี และงานวิจยั ที่เกี่ยวข้องดังนี้ 1. แนวคิดเกีย่ วกับกลยุทธ์ การสื่ อสาร Najib M. Ahd James H. (1982 : 43 – 52) นิยามความหมายของกลยุทธ์ของ การสื่ อสารว่า หมายถึ ง การผสมผสานระหว่างการใช้วิธีการสื่ อสาร (Method) สาร (Messages) และแนวทางการใช้การสื่ อสาร (Approach) เพื่อให้บรรลุวตั ถุประสงค์ที่ต้ งั ไว้ และจะต้องอาศัยความคิดริ เริ่ มสร้างสรรค์ ซึ่ งเป็ นศาสตร์ และศิลป์ มีวตั ถุประสงค์เพื่อ เปลี่ ย นแปลงวิ ถี ชี วิ ต ที่ ก ลุ่ ม เป้ าหมายได้เ คยปฏิ บ ัติ ม าแล้ว การกระท�ำ เช่ น นี้ ย่ อ ม เกิดผลกระทบต่อความรู ้สึกนึกคิด ค่านิยม และแผนปฏิบตั ิที่เกี่ยวข้องกับการตัดสิ นใจเพือ่ ก�ำหนดวิธีการที่บรรลุเป้ าหมาย กระบวนการในการก�ำหนดกลยุทธ์ของการสื่ อสารเกี่ยวข้องกับ 2 ระบบ คือ ระบบแหล่งสาร และระบบผูร้ ับสาร ส่วนกระบวนการสื่ อสารที่เกี่ยวข้องกับระบบช่องสาร และสารเป็ นกระบวนการที่ เ กิ ด ขึ้ น ระหว่า งกระบวนการตัด สิ น ใจในแหล่ ง สารและ กระบวนการตัดสิ นใจของผูร้ ับสาร โดยกระบวนการตัดสิ นใจในแหล่งสารท�ำให้แหล่งสารมีหน้าที่ในการผลิตสาร เผยแพร่ และประเมินประสิ ทธิภาพของการสื่ อสาร แหล่งสารจะเป็ นผูต้ ดั สิ นใจว่าจะส่งสาร อะไร ไปถึงใคร เพื่ออะไร การตัดสิ นใจเหล่านี้เป็ นการตัดสิ นใจที่เนื้อหา ผูร้ ับสาร และ ความตั้งใจ ด้วยเหตุผลนี้ แหล่งสารจะตัดสิ นใจว่าจะส่ งสารอย่างไร จะส่ งสารเมื่ อไร การตัดสิ นใจเหล่านี้เป็ นการตัดสิ นใจเกี่ยวกับวิธีที่จะประกอบกันขึ้นเป็ นหัวใจของกลยุทธ์ การสื่ อสาร การตัดสินใจเกี่ยวกับวิธีการก็เกี่ยวข้องกับการผลิต การเผยแพร่ การใช้สาร และ การประเมินสาร Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.6 No. 1 (January - June 2011)

55


กระบวนการสื่ อสารจะเริ่ มขึ้นเมื่อแหล่งสารพยายามน�ำกลยุทธ์ที่ตนได้ตดั สิ นใจ ไปแล้วออกไปปฏิบตั ิ กระบวนการตัดสิ นใจในผูร้ ับสารจะสะท้อนให้เห็นจากพฤติกรรม การเลือกใช้สาร และพฤติกรรมการยอมรับหรื อปฏิเสธสาร การตัดสิ นใจเกี่ยวกับพฤติกรรม การเลื อกใช้สารเป็ นเรื่ องที่ เกี่ ยวกับการเปิ ดรั บสาร (ซึ่ งรวมถึ งความตั้งใจ) การรั บรู ้ (ซึ่ งรวมถึงการแปลหรื อตีความสาร) และการจ�ำสาร หลังจากนั้นผูร้ ับสารก็ตดั สิ นใจที่จะ ยอมรับสารโดยปฏิบตั ิตามค�ำแนะน�ำในสารนั้น หรื อปฏิเสธสารนั้น และจุดนี้ เอง (จุดที่ แสดงเจตนารมณ์ ที่ จ ะยอมรั บ หรื อปฏิ เ สธของผู ้รั บ สาร) ที่ เ ป็ นสิ่ ง ตัด สิ น ความมี ประสิ ทธิภาพหรื อความล้มเหลวของความพยายามในการส่ งสารของแหล่งสาร กระบวนการตัดสิ นใจของแหล่งสาร ผูร้ ับสารต่างมีอิทธิ พลต่อกระบวนการ สื่ อสาร สิ่ งที่ผสู ้ ่ งสารคิดหรื อตัดสิ นก่อนที่จะส่ งสาร เป็ นส่ วนหนึ่งที่กำ� หนดว่าแหล่งสาร จะส่ งสารจริ งอย่างไร และความส�ำเร็ จ หรื อความล้มเหลวของการสื่ อสารก็ข้ ึนอยูก่ บั การที่ ผูร้ ับสารคิดหรื อตัดสิ นใจเกี่ยวกับสารที่ตนได้รับอย่างไรด้วย โดยกลยุทธ์การสื่ อสารจะถูก น�ำมาใช้เป็ นกรอบแนวคิ ดประกอบในการศึ กษากระบวนการสื่ อสารเพื่อสร้ างการมี ส่ วนร่ วมในการบริ หารจัดการน�้ำของชุ มชนในพื้นที่ลุ่มน�้ำแม่ห่างเกี่ ยวกับวิธีการผลิต การเผยแพร่ การใช้สาร และการประเมินสารของชุมชน ซึ่ งส่ งผลให้เกิดกระบวนการ สื่ อสารแบบมีส่วนร่ วมในชุมชนที่มีประสิ ทธิภาพ

2. แนวคิดการสื่ อสารแบบมีส่วนร่ วม กระบวนการสื่ อสารแบบมีส่วนร่ วมนับว่าเป็ นหัวใจที่สำ� คัญของการพัฒนาใน ทุ ก ระดับ ซึ่ งก่ อ ให้เ กิ ด พลัง ของทุ ก ฝ่ ายในการร่ ว มกัน คิ ด ร่ ว มกัน ท�ำ และร่ ว มกัน รับผลตอบแทนจากการที่ได้ทำ� งานร่ วมกันนั้น และผลจากการร่ วมกันคิด ร่ วมกันท�ำ น�ำไปสู่ การพัฒนาที่มีประสิ ทธิภาพ ในการสื่ อสารแบบมีส่วนร่ วม ปาริ ชาติ วลัยเสถียร และคณะ (2546 : 196) ได้อธิบายการมีส่วนร่ วมว่า เป็ นแนวคิด หลักการ กระบวนการและวิธีการปฏิบตั ิ รวมถึง นเรศ สงเคราะห์สุข (2541 : 10) และยุวฒั น์ วุฒิเมธี (2526 : 253 อ้างอิงจาก ปาริ ชาติ วลัยเสถี ยร และคณะ, 2546 : 196) ให้ความหมายของการมี ส่วนร่ วมของประชาชน ในลักษณะของกระบวนการพัฒนาตั้งแต่ ตน้ จนสิ้ นสุ ดกระบวนการ ได้แก่ การวิจยั (ศึกษาชุมชน) การวางแผน การตัดสิ นใจ การด�ำเนินงาน การบริ หารจัดการ การติดตาม และการประเมินผล ตลอดจนการจัดสรรผลประโยชน์ที่เกิดขึ้น

56

วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปีท่ี 6 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถนุ ายน 2554)


กาญจนา แก้ว เทพ (2552 : 41 – 42) กล่ า วว่า เป้ าหมายการสื่ อ สารแบบ มีส่วนร่ วมคือ เพื่อกระตุน้ ให้ชุมชนมองเห็นคุณค่าของตนเอง เพื่อสร้างความมัน่ ใจให้กบั คนที่เข้ามามีส่วนร่ วม การเข้ามาอบรมจะท�ำให้คนในชุมชนใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่ได้ เพือ่ สร้างทักษะในการสร้างสื่ อ เพื่อให้ชุมชนได้แสดงความรู ้สึก การวิเคราะห์ปัญหาร่ วมกัน เพื่อยกระดับความรับผิดชอบ และเกิดการริ เริ่ ม และเพื่อช่วยเพิ่มการสร้างสื่ อที่มีสาระ ให้แก่ชุมชน ในด้านระดับการสื่ อสารแบบมีส่วนร่ วม กาญจนา แก้วเทพ (2542 : 57 – 61) ได้อธิ บายการแบ่งระดับการมีส่วนร่ วมไว้ 3 ระดับ โดยเรี ยงล�ำดับจากระดับน้อยที่สุด ไปจนถึงมากที่สุดดังนี้ (1) การมีส่วนร่ วมในฐานะผูร้ ับสาร/ผูใ้ ช้สาร เป็ นขั้นตอนของการมีส่วนร่ วม ในระดับล่างที่สุด กล่าวคือ ในกระบวนการสื่ อสารตั้งแต่ยงั อยูใ่ นการก�ำหนดของผูส้ ่ งสาร ไม่ว่าจะเป็ นการเลือกประเด็นเนื้ อหา การเลือกวิธีการน�ำเสนอไปจนกระทัง่ การเลือก ช่องทางสื่ อที่จะใช้เผยแพร่ และผูร้ ับสารก็ยงั คงมีฐานะเป็ นเพียงผูร้ ับสารแต่เพียงอย่างเดียว (2) การมีส่วนร่ วมในฐานะผูส้ ่ ง/ผูผ้ ลิต/ผูร้ ่ วมผลิต/ผูร้ ่ วมแสดง เป็ นขั้นตอนของ การมีส่วนร่ วมในระดับที่สูงขึ้น และจ�ำเป็ นต้องสร้างเงื่อนไขใหม่ ๆ เพิ่มเติมในการเข้ามา มีส่วนร่ วมในฐานะผูผ้ ลิตหรื อผูร้ ่ วมผลิตนั้น แบ่งออกได้เป็ นหลายขั้นตอนคือ ขั้นก่อน การผลิต (Pre-production Stage) ได้แก่ ขั้นตอนการเตรี ยมการก่อนการผลิตสื่ อ ในขั้นตอน นี้ จะประกอบด้วย การเลือกประเด็นหัวข้อ การเลือกแง่มุมที่ จะน�ำเสนอการรวบรวม ข้อเท็จจริ งที่จะน�ำมาใช้เป็ นวัตถุดิบ ขั้นตอนการผลิต (Production Stage) ได้แก่ ขั้นตอน ของการลงมือผลิต และขั้นตอนหลังการผลิต (Post-production Stage) ได้แก่ ขั้นตอน หลังการท�ำเสร็ จในการเพิ่มด้านเทคนิคต่าง ๆ (3) การมี ส่วนร่ วมในแต่ละฐานะผูว้ างแผนและก�ำหนดนโยบาย ถื อว่าเป็ น รู ปแบบสูงสุ ดของการมีส่วนร่ วม และดังที่จะได้สงั เกตเห็นว่า ยิง่ ระดับของการมีส่วนร่ วม สู งขึ้นมากเท่าใด คนก็เริ่ มลดน้อยลง กล่าวคือ ในระดับของการรับสาร คนในชุ มชน ทุกคนสามารถมีส่วนร่ วมได้ แต่เมื่อมาถึงขั้นการผลิต ก็อาจจะมีคนบางกลุ่มในชุมชน เท่านั้นที่จะเข้ามามีส่วนร่ วมจนกระทัง่ ถึงขั้นตอนสุดท้ายในระดับการวางแผนและนโยบาย นี้ ก็คงมีตวั แทนบางคนเท่านั้นจากชุมชนที่จะเข้ามาด�ำเนินกิจกรรมในระดับนี้ 3. แนวคิดเกีย่ วกับการบริหารจัดการน�ำ้ น�้ำ เป็ นทรั พ ยากรส�ำ คัญ ที่ สุ ด ต่ อ การด�ำ รงชี วิ ต แต่ ค วามต้อ งการที่ เ พิ่ ม ขึ้ น ตลอดเวลา ผกผันกับปริ มาณน�้ำที่มีอยูอ่ ย่างจ�ำกัด ทั้งน�้ำบางส่ วนยังสู ญเสี ยไปเพราะมีการ Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.6 No. 1 (January - June 2011)

57


ปนเปื้ อนจากน�้ำเน่าและกากของเสี ยท�ำให้ไม่สามารถใช้น้ ำ� ที่มีอยูใ่ ห้เกิดประโยชน์อย่าง เต็มที่ สิ่ งที่ตามมา คือ ภาวะการขาดแคลนน�้ำจ�ำเป็ นยิง่ ต้องมี “การบริ หารจัดการทรัพยากร น�้ำ” (Water Operation & Water Management) เป็ นแผนงานเพื่อแก้ปัญหาการขาดแคลน น�้ำ ปั ญหาน�้ำท่วม และปัญหาน�้ำเสี ย การอนุ รั ก ษ์ ท รั พ ยากรธรรมชาติ ไ ม่ ใ ช่ เ ป็ นการสงวน และปกป้ อง ทรัพยากรธรรมชาติไว้เฉย ๆ โดยไม่มีการน�ำมาใช้ให้เป็ นประโยชน์ต่อมนุ ษย์ แต่ตาม หลัก การอนุ รั ก ษ์น้ ัน มุ่ ง ที่ จ ะใช้ท รั พ ยากรธรรมชาติ อ ย่า งชาญฉลาด เพื่ อ ที่ จ ะท�ำ ให้ ทรัพยากรธรรมชาติน้ นั อ�ำนวยประโยชน์อย่างถาวรต่อมนุษย์ตลอดไป การวางแผนในการ ใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติ จึงควรที่จะมองการณ์ไกลและมองรอบตัวให้กว้าง เพื่อจะได้ใช้ประโยชน์จากทรัพยากรให้มากที่สุด และสู ญเสี ยน้อยที่สุด ตามหลักการ อนุรักษ์อย่างแท้จริ ง วิชยั เทียนน้อย (เกษม จันทร์แก้ว. 2539 : 44) กล่าวถึง การจัดการทรัพยากรน�้ำ ว่า หมายถึง การน�ำทรัพยากรน�้ำมาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุ ด และยืดอายุการใช้งานให้ ยาวนานที่สุด โดยมีหลักส�ำคัญในการอนุรักษ์ทรัพยากรน�้ำหลายประการ คือ (1) การถนอม เป็ นการอนุรักษ์เพือ่ พยายามคงสภาพทั้งปริ มาณ และคุณภาพเอาไว้ เช่นการสร้างอ่างเก็บน�้ำ นอกจากจะใช้เพื่อผลิตพลังงานไฟฟ้ าและการชลประทาน ยังสามารถใช้ประโยชน์ดา้ น การขยายพันธุส์ ตั ว์น้ ำ� อีกด้วย (2) การบูรณะฟื้ นฟู ซึ่งได้รับความเสี ยหายเนื่องมาจากสาเหตุ ต่าง ๆ ให้คืนสู่ สภาพเดิมหรื อเกือบคงเดิม เช่น การขุดลอกแหล่งน�้ำ (3) การน�ำมาใช้ใหม่ ซึ่ งต้องมีการวางแผนที่ดี (4) การเพิ่มประสิ ทธิ ภาพในการใช้งาน เช่น น�้ำที่ไม่ไหลลงมา ตามล�ำน�้ำ หากสร้างเขื่อนขวางล�ำน�้ำเพือ่ ยกระดับของน�้ำเหนือเขื่อนให้สูงขึ้น สามารถผลิต พลังงานไฟฟ้ าได้ และ (5) การส�ำรวจแหล่งทรัพยากรน�้ำเพิม่ เติม นอกจากนั้น แนวทางอื่นๆ ในการด�ำเนินการเพือ่ การจัดการทรัพยากรน�้ำยังได้แก่ การจัดตั้งกลุ่มที่มีวตั ถุประสงค์เพือ่ การอนุรักษ์ทรัพยากรน�้ำ การออกกฎหมายควบคุมการใช้น้ ำ � การให้การศึกษาแก่ประชาชน ทั้งในระบบและนอกระบบการศึกษาในรู ปของการประชาสัมพันธ์ เป็ นเอกสาร แผ่นพับ รู ป ภาพต่ า ง ๆ นอกจากนี้ ย งั ส่ ง ผ่า นช่ อ งทางการสื่ อ สารต่ า ง ๆ เช่ น วิท ยุ โทรทัศ น์ หนังสื อพิมพ์ได้อีก ฯลฯ การจัดตั้งหน่วยงานขึ้นรับผิดชอบ และการรักษาสภาพแหล่งน�้ำ ธรรมชาติ โดยการขุดลอกแหล่งน�้ำ ปลูกพืชป้ องกันการพังทลาย ของดินรอบแหล่งน�้ำ จากการศึกษาแนวคิดเกี่ยวกับการบริ หารจัดการน�้ำและการจัดการลุ่มน�้ำโดย ชุมชนแบบมีส่วนร่ วม สรุ ปได้วา่ ในการบริ หารจัดการน�้ำ และการจัดการลุ่มน�้ำโดยชุมชน ให้ได้ประโยชน์และประสบความส�ำเร็ จนั้นจะต้องเกิดจากการด�ำเนินการของทุกภาคส่ วน 58

วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปีท่ี 6 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถนุ ายน 2554)


และการมีส่วนร่ วมเป็ นหัวใจของการพัฒนาสังคมในหลายด้าน ในมิติของภาคประชาชน ในการบริ หารจัดการและการอนุรักษ์ทรัพยากรจะท�ำให้เกิดความต่อเนื่องของการบริ หาร จัดการ เพราะมิ ใช่ การสั่งการแต่เป็ นการร่ วมแรงร่ วมใจของคนในชุ มชนซึ่ งเป็ นผูร้ ั บ ผลประโยชน์จากทรัพยากร และรับโทษหากไม่มีการจัดการที่ดี ฉะนั้นการศึกษาวิจยั เรื่ อง การสื่ อสารเพือ่ สร้างการมีส่วนร่ วมให้กบั ประชาชนในการบริ หารจัดการน�้ำแม่ห่าง อ�ำเภอ เวียงชัย จังหวัดเชี ยงราย จึ งจ�ำเป็ นต้องน�ำแนวคิดเกี่ ยวกับการจัดการน�้ำโดยชุ มชนมา เป็ นกรอบแนวคิด ในการศึกษาวิจยั เพื่อให้เกิดการเชื่อมโยงความเข้าใจที่ดีในการบริ หาร จัดการน�้ำแม่ห่างอย่างยัง่ ยืนต่อไป

ระเบียบวิธีวจิ ยั

การวิจยั นี้ เป็ นการวิจยั เชิ งคุ ณภาพ (Qualitative Research) ที่ ใช้วิธีการวิจยั เชิ งปฏิบตั ิการแบบมีส่วนร่ วม (Participatory Action Research) โดยการสังเกตการณ์ แบบมีส่วนร่ วม การสัมภาษณ์เชิงลึก และการสนทนากลุ่ม โดยมีรายละเอียดดังนี้ ผู้ให้ ข้อมูลหลัก (Key Informants) ในการสัมภาษณ์เชิงลึกประกอบด้วย 1. กลุม่ ผูน้ ำ� ชุมชน ได้แก่ พระสงฆ์ ผูน้ ำ� ชุมชน นักวิชาการ สมาชิกองค์กรปกครอง ส่ วนท้องถิ่น และผูน้ ำ� กลุ่มเครื อข่ายในชุมชน 2. กลุม่ ปราชญ์ทอ้ งถิ่น ได้แก่ ผูร้ ู ้ หรื อผูอ้ าวุโส หรื อผูน้ ำ� ทางภูมิปัญญาที่มีวถิ ีชีวติ คลุกคลีอยูก่ บั ล�ำน�้ำแม่ห่าง ในการสนทนากลุ่ม ผูใ้ ห้ขอ้ มูลซึ่งถือเป็ นผูม้ ีส่วนได้เสี ย ได้แก่ 1. ตัวแทนจากกลุ่มเครื อข่ายในชุมชน อาทิ กลุ่มอาชีพประมง กลุ่มเกษตรกร กลุ่มแม่บา้ น ฯลฯ จ�ำนวน 2 กลุ่ม ๆ ละ 8 คน รวม 16 คน 2. ประชาชนที่อยูอ่ าศัยในพื้นที่ลุ่มน�้ำแม่ห่าง คัดเลือกจากตัวแทนประชากรที่ เข้าร่ วมกิจกรรม 15 – 20 คน ส�ำ หรั บ การสั ง เกตการณ์ แ บบมี ส่ ว นร่ ว มจะสั ง เกตการณ์ ใ นกิ จ กรรมต่ า งๆ ที่เกิดขึ้นในชุมชนโดยเป็ นกิจกรรมที่มีวตั ถุประสงค์หลักเพื่อการบริ หารจัดการแหล่งน�้ำ ของชุมชน ทั้งกิจกรรมที่จดั ขึ้นอย่างเป็ นทางการและไม่เป็ นทางการ อาทิ การจัดเวทีเสวนา ของชุมชน พิธีสืบชะตาแม่น้ ำ � การเลี้ยงผีขนุ น�้ำหรื อผีฝาย ประเพณี ทอ้ งถิ่น ฯลฯ เครื่ องมือที่ใช้ ในการวิจัย ได้แก่ ค�ำถามส�ำหรับการสัมภาษณ์เชิ งลึก ประเด็น ค�ำถามและแบบบันทึ กการสนทนากลุ่ ม และแบบบันทึ กการสังเกตการณ์ สร้ างขึ้ น Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.6 No. 1 (January - June 2011)

59


ประกอบด้วยข้อความ (Items) ที่ครอบคลุมประเด็นเกี่ยวกับกลยุทธ์การสื่ อสารเพื่อสร้าง การมีส่วนร่ วม และปั จจัยที่ส่งผลต่อการสื่ อสาร เครื่ องมือดังกล่าวได้ถูกน�ำมาทดสอบ ความเที่ยงตรงเชิงเนื้ อหา (Content Validity) โดยผูเ้ ชี่ยวชาญในสาขานิ เทศศาสตร์ และ วิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อมจ�ำนวน 3 ท่าน การรวบรวมข้ อมูลและวิเคราะห์ ข้อมูล : จากการเก็บรวบรวมข้อมูลทั้งหมด ผลการศึกษาจะถูกน�ำมาเรี ยบเรี ยงจัดกลุ่มข้อมูล วิเคราะห์ และอภิปรายผล โดยน�ำเสนอ เชิงพรรณนา

สรุปและอภิปรายผลการศึกษา ตอนที่ 1 กลยุทธ์ การสื่อสารเพือ่ สร้ างการมีส่วนร่ วมในการบริหารจัดการน�ำ้ ของ ชุมชนในพืน้ ทีล่ ่ มุ น�ำ้ แม่ ห่าง อ�ำเภอเวียงชัย จังหวัดเชียงราย กลยุทธ์การสื่ อสารเพื่อสร้างการมีส่วนร่ วมในการบริ หารจัดการน�้ำแบบชุมชน มีส่วนร่ วมในพื้นที่ลุ่มน�้ำแม่ห่าง ประกอบด้วย 4 กลยุทธ์ได้แก่ (1) กลยุทธ์การถ่ายทอด องค์ความรู ้ และการแลกเปลี่ยนเรี ยนรู ้ (2) การสร้ างมาตรการทางสังคมและกิ จกรรม ปลูกจิตส�ำนึก (3) การประยุกต์ความเชื่อทางศาสนาและพิธีกรรม และ (4) การแสวงหา ความร่ วมมือจากหน่วยงานราชการ สามารถแสดงเป็ นแผนภาพได้ดงั นี้

60

วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปีท่ี 6 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถนุ ายน 2554)


8 กลยุทธ์ การสื่ อสารเพือ่ สร้ างการมีส่วนร่ วมในการบริหารจัดการนํ้าแบบชุ มชนมีส่วนร่ วม ในพืน้ ทีล่ ่ ุมนํา้ แม่ ห่าง อ.เวียงชัย จ.เชียงราย การเปิ ดเวทีสาธารณะ 1. การถ่ ายทอดองค์ ความรู้

และการแลกเปลี่ยนเรียนรู้

พ่อสอนลูก ปู่ สอนหลาน องค์ความรู ้ของปราชญ์ชาวบ้าน การแลกเปลี่ยนเรี ยนรู ้ภายในและภายนอกชุมชน การประชุม สัมมนา ศึกษาและดูงาน

2. การสร้ างมาตรการทาง

สั งคมและกิจกรรมปลูก จิตสํานึก

มาตรการทางสังคมหรื อระเบียบชุมชน การใช้สื่อกิจกรรมปลูกจิตสํานึก/ความรู ้สึกเป็ นเจ้าของ การจัดทําหลักสูตรท้องถิ่น การใช้สื่อสัญลักษณ์ การประชาสัมพันธ์

3. การประยุกต์ ใช้ ความเชื่อ

ทางศาสนา และพิธีกรรม

พิธีกรรมและความเชื่อ ประเพณี ทอ้ งถิ่น

4. การแสวงหาความร่ วมมือ

จากหน่ วยงานราชการ

ะส่ วนมี รายละเอียยดดั โดยแต่โดยแต่ ละส่ วลนมี รายละเอี ดดังนีง้ นี้

Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.6 No. 1 (January - June 2011)

61


1. กลยุทธ์ การถ่ ายทอดองค์ ความรู้ และการแลกเปลีย่ นเรียนรู้ การถ่ายทอดองค์ความรู ้และการแลกเปลี่ยนเรี ยนรู ้ในการบริ หารจัดการน�้ำของ ชุมชนในพื้นที่ลมุ่ น�้ำแม่ห่างเริ่ มจากปัญหาและสาเหตุที่ชุมชนมีประชากรหนาแน่นเพิม่ ขึ้น ทุกวัน ปั ญหาส�ำคัญที่ตามมาคือ การขาดแคลนน�้ำในฤดูแล้ง ระดับน�้ำแม่ห่างตื้นเขิน เนื่ องจากตะกอนดินที่เกิดจากการปรับพื้นที่ทำ� การเกษตร การใช้สารเคมีในการเกษตร บริ เวณต้นน�้ำ มี ปริ มาณขยะมาก เนื่ องจากไม่มีระบบการจัดการขยะที่ เหมาะสมและ มีประสิ ทธิภาพ น�้ำในแม่น้ ำ� เน่าเสี ยในช่วงฤดูร้อน การบุกรุ กพื้นที่ป่าชุ่มน�้ำขยายที่ดินท�ำกิน การตัดไม้ในป่ าชุ่ มน�้ำเพื่อน�ำไม้ไปเป็ นเชื้ อเพลิ งป้ อนโรงบ่มใบยาสู บ การลดลงของ พันธุ์ปลาและสัตว์น้ ำ� ท้องถิ่ นที่ เกิ ดมาจากการจับปลาผิดวิธี น�้ำในแม่น้ ำ� เน่ าเสี ย และ การบุกรุ กที่ดินริ มแม่น้ ำ� โดยการสร้างสิ่ งก่อสร้างรุ กล�้ำลงไปในแม่น้ ำ � ฯลฯ โดยปั ญหาดังกล่าวข้างต้นชาวบ้านมีการรวบรวมขึ้นจากการจัดเวทีเสวนาของ ชุมชนเพือ่ ระดมปัญหาและก�ำหนดแนวทางการสร้างความร่ วมมือแก้ไขปัญหา โดยชุมชน มีการวางแผนไปสู่เป้ าหมาย คือ “การบริ หารจัดการน�้ำแม่ห่างแบบมีส่วนร่ วมตามภูมิปัญญา ท้องถิ่น” การถ่ายทอดองค์ความรู ้และการแลกเปลี่ยนเรี ยนรู ้ของชุมชน 5 ลักษณะดังนี้ 1.1 การเปิ ดเวทีสาธารณะ เป็ นลักษณะของการประชุมแบบไม่เป็ นทางการของหมู่บา้ นเพื่อระดมความคิด วิเคราะห์และวางแผนการท�ำงานร่ วมกัน ซึ่ งในการเปิ ดเวทีเสวนาชุมชนของประชาชนที่ อาศัยอยู่บริ เวณลุ่มน�้ำแม่ห่างนี้ จะเกิ ดขึ้นเมื่อชุ มชนเผชิ ญกับปั ญหาที่ไม่สามารถแก้ไข ได้ด้ว ยกลุ่ ม ผูน้ �ำ ชุ ม ชน และต้อ งขอความร่ ว มมื อ จากชาวบ้า นในการช่ ว ยแก้ปั ญ หา ผูเ้ ข้าร่ วมเวทีประกอบด้วยกลุ่มผูน้ ำ� ชุมชน (ก�ำนัน ผูใ้ หญ่บา้ น อบต. สท.) กลุ่มแกนน�ำ ชุมชน (หัวหน้าหมวดและกรรมการหมู่บา้ น) กรรมการหมู่บา้ น พระภิกษุ กลุ่มเครื อข่าย ต่ า ง ๆ และชาวบ้า น การเปิ ดเวที เ สวนาชุ ม ชนเป็ นการเปิ ดโอกาสให้ช าวบ้า นและ ผูร้ ่ วมประชุ มได้เสนอแนะปั ญหาของตน แสดงความคิ ดเห็ น ซักถามข้อสงสัย ฯลฯ ซึ่ งผลจากการสื่ อสารเช่นนี้ ทำ� ให้ได้ขอ้ มูลที่แท้จริ งเนื่ องจากเป็ นข้อมูลที่มาจากชาวบ้าน อีกทั้งเป็ นการสื่ อสารโดยใช้ความสนิทสนมคุน้ เคยจากความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลในทาง ส่ วนตัว กิจกรรมนี้ เน้นการสร้างความตระหนักในบทบาทหน้าที่ของความเป็ นสมาชิก ชุมชนโดยกระตุน้ ให้ชาวบ้านแต่ละพื้นที่แสดงออกถึงปัญหาของตน อีกทั้งยังได้รับทราบ ผลกระทบของสมาชิกร่ วมชุมชนจากปัญหาแหล่งน�้ำ เป็ นการสร้างพันธะสัญญาหรื อท�ำให้ ชาวบ้านเกิดความผูกพันกับปั ญหา สร้างความรับผิดชอบร่ วมกันของหมู่คณะ ก่อให้เกิด ความสัมพันธ์ที่ใกล้ชิดกันและช่วยส่ งเสริ มให้เกิดการมีส่วนร่ วมของสมาชิกในสังคม 62

วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปีท่ี 6 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถนุ ายน 2554)


ในด้านแนวคิดการสื่ อสาร การเปิ ดเวทีสาธารณะนี้ เป็ นรู ปแบบหนึ่ งของสื่ อ กิจกรรมเพือ่ เสริ มสร้างความเข้าใจร่ วมกัน (shared understanding) โดยเฉพาะในกลุ่มของ ผูม้ ี ส่วนได้ส่วนเสี ย (stakeholders) และเป็ นการสื่ อสารที่ ช่ วยเสริ มสร้ างให้เกิ ดการ มี ส่วนร่ วมของสมาชิ กในสังคม ซึ่ งสอดคล้องกับแบบจ�ำลองการสื่ อสารเชิ งพิธีกรรม (Ritualistic) ซึ่ งเป็ นลักษณะการสื่ อสารแบบสองทาง (Two – way Communication)โดยที่ ผูส้ ่ งสารและผูร้ ับสารจะมีการสลับบทบาทกันไปมา ก่อให้เกิดการเรี ยนรู ้ขอ้ มูลข่าวสาร ของกันและกันแบบพบกันครึ่ งทาง (shared meaning) (กาญจนา แก้วเทพ, 2552) ซึ่ ง การสื่ อ สารลัก ษณะเช่ น นี้ เปิ ดโอกาสต่ อ การมี ส่ ว นร่ ว มได้ม ากกว่ า การสื่ อ สารทาง เดียว (One – way Communication) อีกทั้ง การเปิ ดเวทีสาธารณะยังก่อให้เกิดบริ บทของ การรับสารแบบร่ วมกัน เพื่อสร้างการสื่ อสารที่มีเป้ าหมายจะสร้างความตระหนักร่ วมกัน (Communication for Consensus) ท�ำให้เห็นภาพรวมของเกี่ยวกับแหล่งน�้ำชุมชนทั้งหมด ซึ่ งจะเป็ นประโยชน์ต่อการรับรู ้ปัญหาดีกว่าการเห็นข้อมูลแบบแยกเป็ นส่ วนๆ ท�ำให้เกิด ผลดีต่อการเปลี่ยนแปลงความรู ้ความเข้าใจ 1.2 พ่อสอนลูก ปู่ สอนหลาน เป็ นการสื่อสารในการด�ำรงชีวติ ประจ�ำวันของครอบครัวไทยซึ่งมักเป็ นครอบครัว ใหญ่อยู่ร่วมกันทั้งเครื อญาติ ผูท้ ี่อยู่อาศัยในพื้นที่ลุ่มน�้ำแม่ห่างมักจะประกอบอาชี พที่ สัมพันธ์กบั การพึ่งพาแหล่งน�้ำไม่วา่ ทางตรงก็ทางอ้อม แหล่งน�้ำจึงมีความผูกพันกับวิถีชีวติ สมาชิกครอบครัวที่ออกไปประกอบอาชีพหรื อด�ำเนิ นกิจกรรมต่าง ๆ ในชีวิตประจ�ำวัน จะมีการเก็บเกี่ยวความรู ้เรื่ องแหล่งน�้ำ และสั่งสมประสบการณ์เป็ นต้นทุนของชีวิต เช่น การใช้น้ ำ� ในบ้านเรื อน การใช้น้ ำ� ท�ำนาและการเลี้ยงปลา การสังเกตพืชและสัตว์น้ ำ � การใช้ น�้ำเป็ นแหล่งอาหาร ฯลฯ เหล่านี้ถูกน�ำมาถ่ายทอดให้แก่ลูกหลานและสมาชิกร่ วมชุมชน ในฐานะผูอ้ าวุโสหรื อมีประสบการณ์ ก่อให้เกิดการถ่ายทอดความรู ้และความผูกพันของ คนกับธรรมชาติ ซึ่ งส่ งผลต่อการมีส่วนร่ วมชุมชนในการบริ หารจัดการแหล่งน�้ำต่อไป ข้อสังเกตที่พบคือ กลยุทธ์ดงั กล่าวมีลกั ษณะเฉพาะของบริ บทสังคมไทยท้องถิ่น ที่เป็ นการสื่ อสารในครอบครัวหรื อระบบเครื อญาติ โดยเป็ นการถ่ายทอด โต้ตอบกัน ระหว่างบุคคลที่ดำ� เนินไปอย่างง่ายๆ อย่างต่อเนื่องตลอดเวลาโดยไม่มีกฎเกณฑ์เป็ นทางการ อีกทั้งความใกล้ชิดที่ก่อให้เกิดความไว้วางใจและค่านิยมเรื่ องความอาวุโสที่ยงั คงยึดมัน่ กัน อยูใ่ นท้องถิ่น ท�ำให้กลยุทธ์ดงั กล่าวมีส่วนส�ำคัญในการผลักดันให้การบริ หารจัดการน�้ำ ของชุมชนเริ่ มต้นได้จากสมาชิกในแต่ละครัวเรื อน

Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.6 No. 1 (January - June 2011)

63


กลยุทธ์พ่อสอนลูกปู่ สอนหลานถื อเป็ นกระบวนการหนึ่ งในการหล่อหลอม สมาชิ กชุ มชนตามแนวคิดการขัดเกลาทางสังคม (Socialization) ซึ่ งการสั่งสอนและ ฝึ กอบรมไม่วา่ จะโดยทางตรงหรื อทางอ้อมของบุคคลแวดล้อมย่อมส่ งผลต่อความคิดและ พฤติกรรมของบุคคลให้ปฏิบตั ิตามที่สงั คมคาดหวัง ซึ่งกระบวนการหล่อหลอมทางสังคม นี้มีปัจจัยส�ำคัญคือ สื่ อบุคคล (Personal Media) ตามที่ Lazarfeld and Manzel (1968 : 97) กล่ า วไว้ว่ า การสื่ อ สารระหว่ า งบุ ค คลมี บ ทบาทส� ำ คัญ เพราะเป็ นการสื่ อ สารที่ มี ความเป็ นกันเอง และเป็ นส่ วนตัว ก่ อให้เกิ ดความคุ น้ เคย ซึ่ งช่ วยให้เกิ ดการยอมรั บ ความคิดได้ง่ายขึ้น นอกจากนี้ทฤษฎีความสัมพันธ์ทางสังคมของ De Fleur (1970 : 124 – 129) ก็ได้ช้ ีให้เห็นว่า ความสัมพันธ์ภายในกลุ่มมีอิทธิพลต่อการสื่ อสาร De Fleur พบว่า ความสัมพันธ์แบบเครื อญาติมีบทบาทต่อการตัดสิ นใจว่าจะยอมรับการเปลี่ยนแปลงใหม่ ๆ ผูว้ ิจยั มี ความเห็ นว่าการขัดเกลาทางสังคมเป็ นการสื่ อสารที่ สามารถเสริ มสร้ างการมี ส่ วนร่ วมให้กบั ประชาชนเพราะเป็ นวิธีการสื่ อสารที่ ละเอี ยดอ่อนที่ จะโน้มน้าวใจให้ ผูร้ ับสารเกิดความคิด สร้างความตระหนัก ปรับเปลี่ยนทัศนคติ และเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม 1.3 องค์ความรู ้ของปราชญ์ชาวบ้าน ปราชญ์ชาวบ้านถือเป็ นผูร้ ู ้ที่ได้รับการยอมรับจากสมาชิกชุมชนว่ามีความรู ้และ ประสบการณ์ในเรื่ องเกี่ยวกับชุมชนท้องถิ่นนั้น หรื อเป็ นผูท้ ี่มีภูมิปัญญาท้องถิ่น ในการ บริ หารจัดการล�ำน�้ำแม่ห่าง ปราชญ์ชาวบ้านจะถูกเชิญมาให้เข้าร่ วมกิจกรรมและถ่ายทอด ข้อมูลที่ เกี่ ยวกับเรื่ องราววิถีชีวิต ความสัมพันธ์ของคนในชุ มชนกับแม่น้ ำ � ภูมิปัญญา ท้องถิ่นที่ชุมชนได้พ่ งึ พาอาศัยแหล่งน�้ำ อาทิ การผันน�้ำเข้านา การเก็บกักน�้ำ การตรวจสอบ คุณภาพน�้ำ การอนุรักษ์และฟื้ นฟูแหล่งน�้ำ ฯลฯ ให้แก่กลุ่มแกนน�ำ ชาวบ้านและเยาวชน ได้รั บ รู ้ เ รื่ อ งราวความเป็ นมาของน�้ำ แม่ ห่ า ง วิ ถี ชี วิ ต ความสั ม พัน ธ์ แ ละการอนุ รั ก ษ์ แบบดั้งเดิมในอดีตที่ผเู ้ ฒ่าผูแ้ ก่เคยปฏิบตั ิสืบต่อกันมา ในการสื่ อสารมีท้งั แบบที่เป็ นทางการ เช่ น การบรรยายหรื อบอกเล่ า ในการประชุ ม ของหมู่ บ ้า น และการสื่ อ สารแบบ ไม่เป็ นทางการ ซึ่งส่วนมากจะเป็ นการแลกเปลี่ยนเรี ยนรู ้ในโอกาสที่เข้าร่ วมกิจกรรมต่าง ๆ ที่ชุมชนจัดขึ้น เช่น การเลี้ยงผีขนุ น�้ำ การสื บชะตาน�้ำ การสื บชะตาป่ า ตลอดจนพบปะ พูดคุ ยกันเมื่ อพบกันในงานพิธีกรรมต่าง ๆ เช่ น งานศพ งานแต่งงาน งานทอดกฐิ น ทอดผ้าป่ า งานขึ้นบ้านใหม่หรื องานอื่นๆ ซึ่ งผลของกลยุทธ์การสื่ อสารเช่ นนี้ เป็ นการ กระตุน้ ให้ชาวบ้านเกิดจินตนาการเรื่ องความอุดมสมบูรณ์ของแหล่งน�้ำในอดีต ท�ำให้รู้สึก หวงแหนและอยากให้ค วามอุ ด มสมบู ร ณ์ ก ลับ คื น มาดัง เดิ ม จึ ง เข้า มามี ส่ ว นร่ ว มใน การจัดการ และการอนุรักษ์ฟ้ื นฟูแหล่งน�้ำ 64

วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปีท่ี 6 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถนุ ายน 2554)


กลยุทธ์การถ่ายทอดความรู ้โดยปราชญ์ชาวบ้านและกลยุทธ์พ่อสอนลูกปู่ สอน หลาน เป็ นลักษณะการสื่ อสารแบบบนลงล่าง (top-down communication) คือ ถ่ายทอด ข้อมูลและประสบการณ์จากผูใ้ หญ่ของชุมชนและครอบครัวมาสู่ ลูกหลานที่เป็ นเยาวชน รวมทั้งสมาชิกของชุมชนครัวเรื อนต่างๆ ซึ่ งเป็ นกลวิธีการสื่ อสารที่เหมาะสมกับบริ บท สังคมไทยที่ยงั มีค่านิยมเชื่อถือศรัทธาในผูอ้ าวุโส 1.4 การแลกเปลี่ยนเรี ยนรู ้ภายในและภายนอกชุมชน การแลกเปลี่ยนเรี ยนรู ้ของคนภายในชุมชนเป็ นการพูดคุยแลกเปลี่ยนเรี ยนรู ้กนั แบบไม่เป็ นทางการ ส่ วนมากจะเป็ นการแลกเปลี่ยนเรี ยนรู ้ประสบการณ์ ความคิดเห็น ในโอกาสที่เข้าร่ วมกิจกรรมต่าง ๆ ที่ชุมชนจัดขึ้น เช่น การเลี้ยงผีขนุ น�้ำ การสื บชะตาน�้ำ การสื บ ชะตาป่ า ตลอดจนพบปะพูด คุ ย กัน เมื่ อ พบกัน ในงานพิ ธี ก รรมต่ า ง ๆ ที่ มี ใ น แต่ละพื้นที่ เช่ น งานศพ งานแต่งงาน งานทอดกฐิ นทอดผ้าป่ า งานขึ้นบ้านใหม่หรื อ งานบุญอื่น ๆ ซึ่ งเป็ นช่องทางที่ช่วยแจ้งข่าวสารของกลุ่มเครื อข่ายการจัดการน�้ำแม่ห่าง ตลอดจนถึงการแจ้งข่าวสารหรื อการฝากบอกต่อ ๆ กันไป ส่ ว นการแลกเปลี่ ย นเรี ย นรู ้ ภ ายนอกชุ ม ชนจะเป็ นกรณี ที่ ก ลุ่ ม ผูน้ �ำ ชุ ม ชน กลุ่ มแกนน�ำ กรรมการกลุ่ มเครื อข่ ายที่ ได้รับเชิ ญไปร่ วมกิ จกรรมของหมู่บา้ นอื่ น ๆ เช่ น การสื บชะตาน�้ำ การสื บชะตาป่ า และการได้ไปศึ กษาดู งานกับองค์การบริ หาร ส่ วนต�ำบลเมืองชุม ซึ่ งถือเป็ นการแลกเปลี่ยนความรู ้และประสบการณ์ในการจัดการน�้ำ ระหว่างหมู่บา้ น โดยสามารถแลกเปลี่ยน ซักถามกันอย่างเปิ ดเผยซึ่ งกลยุทธ์น้ ีถือว่าเป็ น กลยุทธ์ที่แสวงหาแนวร่ วมและเรี ยนรู ้ร่วมกันในการอนุรักษ์แหล่งน�้ำ การแลกเปลี่ ยนเรี ยนรู ้ ภายในและภายนอกชุ มชนโดยการแลกเปลี่ ยนเรี ยนรู ้ ข่าวสารและประสบการณ์ระหว่างกัน โดยใช้ท้งั สื่ อบุคคลและสื่ อกิจกรรมผ่านการประชุม การพูดคุ ย บอกเล่าในงานประเพณี งานพิธีกรรมและกิ จกรรมต่าง ๆ ที่ เกี่ ยวข้องกับ แหล่งน�้ำที่ชุมชนจัดขึ้น ส่งผลให้เป้ าหมายการบริ หารจัดการแหล่งน�้ำแม่ห่างบรรลุเป้ าหมาย สอดคล้องกับแนวคิดของเสถียร เชยประทับ (2523 : 149) ที่กล่าวว่า จุดเด่นของการสื่ อสาร โดยผ่านสื่ อบุคคลอยูท่ ี่การเป็ นการสื่ อสารสองทาง เน้นการมีปฏิสมั พันธ์ของผูส้ ่ งสารและ ผูร้ ับสารที่ผลัดกันเป็ นผูส้ ่ งสารและผูร้ ับสารประเด็นที่มีผเู ้ สนอไว้จะถูกตอบสนองโดย อีกคนหนึ่ง หรื อถูกน�ำไปขบคิด อภิปรายและถกเถียงกันอย่างกว้างขวาง อันจะน�ำมาซึ่ ง ประเด็นหรื อเรื่ องราวใหม่ ๆ นอกจากนี้ การสื่ อสารด้วยสื่ อบุคคลที่มีความใกล้ชิดกัน ในท้องถิ่นยังส่ งผลต่อการโน้มน้าวใจเพราะผูส้ ่ งสารและผูร้ ับสารต่างรู ้จกั มักคุน้ และมี วิถีชีวติ ที่ใกล้เคียงกัน ท�ำให้การสื่ อสารภายในกลุ่มและระหว่างกลุ่มเกิดความราบรื่ น Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.6 No. 1 (January - June 2011)

65


1.5 การประชุม สัมมนา และศึกษาดูงาน การประชุ ม สัม มนา และการศึ กษาดู ง านเป็ นกิ จกรรมเกี่ ยวกับ การบริ ห าร จัดการน�้ำที่หน่วยงานภาครัฐและเอกชนจัดขึ้น เช่น องค์การบริ หารส่ วนต�ำบล เทศบาล ต�ำบล เกษตรอ�ำเภอ ประมงอ�ำเภอ ฯลฯ โดยชุมชนจะมีการพิจารณาคัดเลือกตัวแทนไปร่ วม เนื้อหาสาระในการประชุม สัมมนา และการศึกษาดูงานจะเป็ นการน�ำเสนอเทคนิค วิธีการ ต่าง ๆ มาใช้ในการประกอบอาชีพ เช่น การท�ำน�้ำหมักชีวภาพ การท�ำปุ๋ ยอินทรี ย ์ ซึ่งผลจาก การน�ำความรู ้มาขยายผลและมาใช้ในท้องถิ่นจะส่งผลต่อการลดมลพิษ ลดปริ มาณสารเคมี ที่จะถูกปล่อยลงสู่แหล่งน�้ำ ในการสื่ อสารจะใช้สื่อบุคคลและสื่ อเฉพาะกิจ ในรู ปแบบของ การบรรยายให้ความรู ้ การศึ กษาดู งานและการฝึ กปฏิ บตั ิ จริ ง ทั้งนี้ ตัวแทนชุ มชนที่ ได้เ ข้า ร่ ว มกิ จ กรรมดัง กล่ า วจะต้อ งน�ำ ข้อ มู ล ข่ า วสารความรู ้ เทคนิ ค วิ ธี ก าร และ ประสบการณ์ ที่ได้รับมาถ่ายทอดอี กครั้ งให้แก่ ชาวบ้านหรื อกลุ่มเครื อข่ายของตนเอง ในโอกาสต่อไป ซึ่งอาจจะเป็ นการแจ้งในที่ประชุมหมู่บา้ น ที่ประชุมกลุ่มเครื อข่าย หรื อ อาจจะผ่านหอกระจายข่าวของหมู่บา้ น การสื่ อสารลักษณะดังกล่าวเป็ นไปตามแนวคิดการไหลของการสื่ อสาร 2 จังหวะ (Two-Step Flow of Communication) คือ หน่วยงานที่จดั กิจกรรมประชุม สัมมนาและศึกษา ดูงานถือเป็ นแหล่งสารขั้นแรกที่ถ่ายทอดข่าวสารมาสู่ ตวั แทนชาวบ้านที่เข้าร่ วมกิจกรรม และเมื่อตัวแทนชาวบ้านน�ำข้อมูลไปถ่ายทอดสู่ชุมชนถือเป็ นการสื่ อสารในขั้นที่ 2 ซึ่งการ สื่ อสารเช่นนี้มีลกั ษณะเด่นที่ทำ� ให้ขอ้ มูลข่าวสารเข้าสู่ ชุมชนโดยผ่านสื่ อบุคคลที่เป็ นผูน้ ำ� ความคิดเห็น (Opinion Leader) ท�ำให้ชาวบ้านได้รับรู ้ขอ้ มูลข่าวสารอย่างกว้างขวางโดย ไม่มีขอ้ จ�ำกัดเรื่ องการเรี ยนรู ้ 2. กลยุทธ์ การสร้ างมาตรการทางสั งคม และกิจกรรมปลูกจิตส� ำนึก กลยุท ธ์ ก ารสื่ อ สารเพื่ อ การสร้ า งมาตรการทางสั ง คมและการจัด กิ จ กรรม ปลูกจิตส�ำนึกในการบริ หารจัดการน�้ำแม่ห่าง สามารถวิเคราะห์กลยุทธ์การสื่ อสารได้เป็ น 5 กลยุทธ์ดงั นี้ 2.1 มาตรการทางสังคมหรื อระเบียบชุมชน การสร้างมาตรการทางสังคมหรื อระเบียบชุมชนในการบริ หารจัดการน�้ำเป็ นการ สร้างความรู ้สึกเป็ นเจ้าของซึ่ งเป็ นผลจากการเปิ ดเวทีชุมชน เพื่อเปิ ดโอกาสให้ชาวบ้าน ได้ร่วมแสดงความคิดเห็น ถกเถียง อภิปราย เพื่อร่ วมกันก�ำหนดมาตรการและกฎระเบียบ ของชุ มชนในการจัดการน�้ำ การอนุ รักษ์แหล่งน�้ำขึ้นมาบังคับและใช้กนั เองในชุ มชน 66

วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปีท่ี 6 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถนุ ายน 2554)


โดยใช้ข อ้ กฎหมายที่ เ กี่ ย วข้อ ง และตัว อย่า งมาตรการจากชุ ม ชนอื่ น มาเป็ นแนวทาง ในการก�ำ หนดมาตรการทางสัง คม การออกมาตรการทางสัง คมมี วตั ถุ ป ระสงค์เ พื่ อ ให้การบริ หารจัดการน�้ำแม่ห่างเป็ นไปตามวิธีการที่ทางชุ มชนร่ วมกันก�ำหนด เพื่อฝึ ก กระบวนการบริ หารจัดการน�้ำโดยชุมชน และเพือ่ ให้ประชาชนได้มีส่วนร่ วมในการอนุรักษ์ และฟื้ นฟูแหล่งน�้ำ กฎระเบียบที่ชาวบ้านได้ร่วมกันก�ำหนดขึ้นจะแยกเป็ นเรื่ องการจัดการน�้ำ เช่น การท�ำฝายกักเก็บน�้ำ การซ่อมแซมฝาย การเปิ ด-ปิ ดน�้ำ การแบ่งปันน�้ำ การก�ำหนดบทบาท หน้าที่ให้คณะกรรมการเหมืองฝาย เรื่ องการอนุรักษ์และฟื้ นฟูแหล่งน�้ำ เช่น การก�ำหนด เขตอภัย ทาน การก�ำ หนดมาตรการห้ามทิ้ ง ขยะมู ล ฝอยและสิ่ ง ปฏิ กูล ลงในแหล่ ง น�้ำ การจัดกิจกรรมสร้างจิตส�ำนึกในชุมชน และการประชาสัมพันธ์เผยแพร่ ขอ้ มูลข่าวสาร การก�ำหนดมาตรการในการจัดการน�้ำจะมอบบทบาทหน้าที่ให้แก่คณะกรรมการ เหมืองฝายเป็ นผูก้ ำ� หนดวิธีการ เช่น การจะซ่ อมแซมฝายจะใช้ไม้ วัสดุ หรื อกระสอบ เท่าไหร่ จะขุดลอกล�ำเหมืองยาวเท่าไหร่ เมื่อค�ำนวณเสร็ จแล้วก็จะแบ่งไปตามหัวหมวด ที่นา แล้วหัวหมวดที่นาก็จะประชุมกลุ่มชาวนาน�ำจ�ำนวนพื้นที่นาในเขตรับผิดชอบมาเป็ น ตัวหารแบ่งสัดส่ วนไปตามผลที่ได้ ส่ วนมาตรการทางสังคมเพื่อควบคุม ดูแลแหล่งน�้ำ และเขตอนุ รักษ์สัตว์น้ ำ � ได้มีการจัดท�ำป้ ายประกาศกฎระเบียบของชุมชนโดยก�ำหนดตามลักษณะพื้นที่ของแต่ละ หมู่บา้ น กฎระเบียบที่กำ� หนดขึ้นจะมีบทลงโทษคล้ายคลึงกัน คือผูก้ ระท�ำผิดจะถูกปรับ เป็ นครั้ง ๆ ต่อรายหัว ซึ่ งจะปรับเป็ นจ�ำนวนเงินเท่าใดเป็ นสิ ทธิ ของทางชุมชนเจ้าของ เขตอนุรักษ์เป็ นผูก้ ำ� หนด ถ้าบุคคลดังกล่าวไม่ยอมเสี ยค่าปรับจะถูกด�ำเนินคดีตามกฎหมาย การสร้างมาตรการทางสังคมหรื อระเบียบชุมชนเป็ นการใช้เวทีเสวนาชุมชนเพือ่ จัดท�ำประชาคมของหมู่บา้ น ร่ วมกันปรึ กษาหารื อ ออกกฎระเบี ยบ ข้อบังคับที่ เสนอ โดยประชาชน เพื่อประโยชน์ของประชาชนหรื อชุ มชน การสื่ อสารจะเป็ นรู ปแบบ การสื่ อสารโต้ตอบกันไปมาของกลุ่มบุคคล การก�ำหนดมาตรการหรื อระเบียบของชุมชน จึงส่ งผลให้การบริ หารจัดการน�้ำแบบแก่ฝายแก่เหมืองด�ำเนิ นไปด้วยความเรี ยบร้อยและ ยุติธรรมท�ำให้เกิดการมีส่วนร่ วมในการอนุ รักษ์ฟ้ื นฟูคุณภาพน�้ำแม่ห่าง สอดคล้องกับ แนวคิดของ ปาริ ชาต สถาปิ ตานนท์ (2532 : 45) ที่กล่าวว่า การกระตุน้ ให้ประชาชนรู ้สึก เป็ นเจ้าของจะน�ำไปสู่การเพิม่ พลัง (Empowerment) ตลอดจนเป็ นการกระตุน้ ให้ประชาชน เข้ามามีส่วนร่ วมในการด�ำเนินการ และสอดคล้องกับ กาญจนา เชียงทอง และคณะ (2549 : บทคัด ย่อ ) ที่ ก ล่ า วว่า แนวทางการอนุ รั ก ษ์แ ละการใช้ป ระโยชน์ จ ากทรั พ ยากรน�้ำ Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.6 No. 1 (January - June 2011)

67


ต้องได้รับความร่ วมมือและการมีส่วนร่ วมจากทุกภาคส่ วน ร่ วมกันดูแลเข้มงวด จริ งจัง ใช้มาตรการทางสังคมกดดัน สร้างความร่ วมมือให้เกิดกับทุกภาคส่ วน และสร้างองค์กร ความร่ วมมื อให้เข้มแข็ง โดยเน้นผูม้ ี ส่วนได้ส่วนเสี ยทุ กส่ วน ผูว้ ิจยั จึ งเห็ นว่าในการ เสริ มสร้างการมีส่วนร่ วมหากประชาชนได้ร่วมก�ำหนดมาตรการของชุมชนขึ้นมาถือปฏิบตั ิ จะท�ำให้เกิดการมีส่วนร่ วมเชิงสังคมมากขึ้น เพราะทุกคนถือเป็ นส่วนหนึ่งของการก�ำหนด มาตรการ 2.2 การใช้สื่อกิจกรรมสร้างจิตส�ำนึกและความรู ้สึกเป็ นเจ้าของ ในการบริ หารจัดการแหล่งน�้ำของชุมชนมีการใช้สื่อกิจกรรม ซึ่งจัดขึ้นโดยชุมชน หน่วยงาน องค์กรในท้องถิ่นเกี่ยวกับแหล่งน�้ำ เช่น กิจกรรมการปล่อยพันธุ์ปลาในเขต อภัยทานหน้าวัด กิจกรรมการก�ำจัดขยะมูลฝอยและปรับปรุ งสภาพแวดล้อมริ มสองฝั่งล�ำน�้ำ แม่ห่าง กิจกรรมการเดินรณรงค์อนุ รักษ์น้ ำ� แม่ห่าง กิจกรรมการติดป้ ายค�ำขวัญอนุ รักษ์ น�้ำแม่ห่าง กิจกรรมค่ายเยาวชนอาสาสมัครพิทกั ษ์ส่ิ งแวดล้อม กิจกรรมการเติมจุลินทรี ย ์ ลงในน�้ำ แม่ ห่ า ง และการตรวจสอบคุ ณ ภาพน�้ำ ของชมรมรั ก ษ์น้ �ำ แม่ ห่ า งโรงเรี ย น บ้านเมืองชุม ซึ่ งมีกระบวนการสื่ อสารโดยใช้สื่อกิจกรรมดังนี้ 2.2.1 กิจกรรมการปล่อยพันธุ์ปลาในเขตอภัยทานหน้าวัด ชุมชนในพื้นที่ลุ่มน�้ำแม่ห่างมีวดั ที่อยูต่ ิดกับน�้ำแม่ห่าง 2 วัด คือ วัดเมืองชุม และวัดวังช้าง เจ้าอาวาส คณะศรัทธา กรรมการหมู่บา้ นและชาวบ้านได้ประชุมแล้วมีมติ ร่ วมกันก�ำหนดเขตอภัยทานบริ เวณหน้าวัด เพื่อการอนุ รักษ์พนั ธุ์ปลา และพันธุ์สัตว์น้ ำ � ซึ่งบริ เวณหน้าวัดเมืองชุมจะมีการสื บชะตาหมูบ่ า้ นและปล่อยพันธุป์ ลาในวันที่ 17 เมษายน ของทุกปี และหน้าวัดวังช้างจะมีพิธีสืบชะตาน�้ำแม่ห่าง และปล่อยพันธุ์ปลา ช่วงเดือน มกราคมของทุกปี 2.2.2 กิจกรรมการก�ำจัดขยะมูลฝอยและปรับปรุ งสภาพแวดล้อมริ มสองฝั่ง ล�ำน�้ำแม่ห่าง จากการสัมภาษณ์ผนู ้ ำ� ชุมชนได้ขอ้ มูลเกี่ยวกับการพัฒนาของชุมชนในพื้นที่ ลุ่มน�้ำแม่ห่าง คือ แต่ละหมู่บา้ นจะมีกิจกรรมพัฒนาหมู่บา้ นประจ�ำเดือน ๆ ละ 1 ครั้ง โดย จะร่ วมกันพัฒนาบริ เวณรอบ ๆ ชุมชน ตัดหญ้า ตกแต่งต้นไม้ ปรับภูมิทศั น์สองฝั่งน�้ำ ก�ำจัด ขยะมูลฝอย และจะมีการสนับสนุนงบประมาณ และบุคลากรจากเทศบาลต�ำบลเวียงชัย โรงเรี ยน สถานีอนามัย มาร่ วมพัฒนา เช่น โครงการปรับปรุ งภูมิทศั น์ จัดท�ำบันไดคอนกรี ต เพื่อเป็ นแนวเขื่อนป้ องกันตลิ่งพังหน้าวัดเมืองชุม โครงการประกวดชุมชนดอกไม้งาม กิ จ กรรมการก�ำ จัด ผัก ตบชวาในน�้ำแม่ ห่ า ง กิ จ กรรมการก�ำ จัด ขยะมู ล ฝอยในวัน สิ่ งแวดล้อมโลก และวันสิ่ งแวดล้อมไทย 68

วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปีท่ี 6 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถนุ ายน 2554)


กลยุทธ์การใช้สื่อกิจกรรมสร้างจิตส�ำนึกและความรู ้สึกเป็ นเจ้าของ เป็ นการใช้ สื่ อที่หลากหลายในการสื่ อสารทั้งสื่ อบุคคล ป้ ายโฆษณา ป้ ายค�ำขวัญ หอกระจายข่าว การจัดกิ จกรรมแบบมีส่วนร่ วม ซึ่ งเป็ นรู ปแบบของกระบวนการสร้ างความตระหนัก ความรู ้สึกเป็ นเจ้าของให้กบั ชาวบ้าน จึงถือได้ว่าเป็ นการน�ำสื่ อในรู ปแบบสื่ อกิจกรรม เข้ามาช่วยในการสื่ อสารเพื่อการบริ หารจัดการน�้ำแม่ห่างแบบมีส่วนร่ วม 2.3 การจัดท�ำหลักสูตรท้องถิ่น หน่วยงานในชุมชนโดยโรงเรี ยนบ้านเมืองชุม ได้จดั ท�ำหลักสู ตรท้องถิ่นเรื่ อง “แม่ห่างของเรา ชาวเมืองชุม” จัดกิจกรรมการเรี ยนการสอนให้กบั นักเรี ยน ซึ่ งหลักสู ตร ได้กำ� หนดสาระการเรี ยนรู ้ เกี่ ยวกับการจัดการขยะ ปั ญหาการเกิ ดมลพิษในแหล่งน�้ำ การตรวจสอบคุ ณภาพน�้ำ การบ�ำบัดน�้ำเสี ย การถ่ายทอดความรู ้ ผ่านการจัดกิ จกรรม ค่ายการเรี ยนรู ้ โดยใช้สื่อที่ หลากหลายทั้งสื่ อบุคคล สื่ อเฉพาะกิ จ (แผ่นพับ เอกสาร โปสเตอร์ สิ่ งพิมพ์) วิดีทศั น์ เป็ นต้น ซึ่ งกระบวนการถ่ายทอดความรู ้ผ่านกลุ่มเยาวชน มีจุดมุ่งหมายในการปลูกจิตส�ำนึก และสร้างความตระหนักในการอนุรักษ์ธรรมชาติและ สิ่ งแวดล้อม การจัดท�ำหลักสู ตรท้องถิ่นถ่ายทอดความรู ้ผ่านกลุ่มเยาวชนเป็ นการสื่ อสารที่ ปลูกฝังให้เยาวชนส�ำนึ กรักบ้านเกิด มีความรักและหวงแหนในทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่ งแวดล้อมในท้องถิ่น ความรู ้ที่ได้รับการถ่ายทอดจะถูกสกัดเป็ นองค์ความรู ้ของบุคคล นั้น ๆ แล้วจะถ่ายทอดต่อไปยังบุคคลที่อยูใ่ กล้เคียง โดยเฉพาะคนในครอบครัว เพือ่ นบ้าน ญาติ มิตร การกระจายของข่าวสารจะเป็ นการบอกเล่ า พูดคุ ยปากต่ อปาก ท�ำให้เกิ ด ความตระหนักและมีส่วนร่ วมในการบริ หารจัดการน�้ำแม่ห่าง กลยุทธ์การจัดท�ำหลักสู ตรท้องถิ่นโดยใช้การถ่ายทอดความรู ้ผา่ นกลุ่มเยาวชน ให้เยาวชนลงมือศึกษาเรี ยนรู ้ระบบนิเวศแหล่งน�้ำ วางแผนแก้ปัญหาแหล่งน�้ำเสื่ อมโทรม ด้วยตนเองท�ำให้เยาวชนเกิดจิตส�ำนึ กรักและหวงแหนในแหล่งน�้ำ มีความกระตือรื อร้น ในการอนุรักษ์แม่น้ ำ� มากขึ้นอย่างเห็นได้ชดั ซึ่งสอดคล้องกับแนวคิดของ ปรมะ สตะเวทิน (2532 : 26) ที่กล่าวว่าการท�ำให้เกิดการปฏิบตั ิเพื่อให้เกิดประสบการณ์ใหม่จะท�ำให้เกิด การยอมรับได้ง่ายขึ้น และสอดคล้องกับแนวคิดการขัดเกลาทางสังคมที่มีความมุ่งหมาย ปลูกฝังระเบียบวินยั ความมุง่ หวัง แรงบันดาลใจ บทบาท หน้าที่ ทัศนคติ และความช�ำนาญ เชิงทักษะให้แก่เยาวชน เพือ่ ที่จะเป็ นผูถ้ า่ ยทอดข้อมูลข่าวสารหรื อองค์ความรู ้ในการบริ หาร จัดการน�้ำไปสู่ ผทู ้ ี่อยูใ่ กล้ชิดต่อไป ฉะนั้นหลักสู ตรท้องถิ่นจึงเป็ นสื่ อเฉพาะกิจที่จำ� เป็ น ในการสื่ อสารเพื่อให้เกิ ดความรู ้ ความเข้าใจสภาพสิ่ งแวดล้อมในชุ มชน นอกจากนั้น Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.6 No. 1 (January - June 2011)

69


การจัดท�ำหลักสูตรท้องถิน่ ยังถือเป็ นการสร้างหรื อปลูกฝังคุณลักษณะของผูน้ ำ� ความคิดเห็น (Opinion Leader) ให้แก่เยาวชนของชุมชน เพราะเป็ นการเพิ่มความรู ้และกระตุน้ ให้เกิด การแสวงหาความรู ้เรื่ องน�้ำมากยิง่ ขึ้น บทบาทของเยาวชนในชุมชนลุ่มน�้ำแม่ห่างจึงเป็ น ผูม้ ี ส่วนร่ วมในการบริ หารจัดการแหล่งน�้ำ ถื อเป็ นการวางรากฐานและก่ อให้เกิ ดการ มีส่วนร่ วมกับการอนุรักษ์แหล่งน�้ำของชุมชนแบบยัง่ ยืน 2.4 การใช้สื่อสัญลักษณ์ ชุ มชนในพื้นที่ลุ่มน�้ำแม่ห่างก�ำหนดเขตอภัยทานจ�ำนวน 2 แห่ ง คือ บริ เวณ หน้าวัดวังช้าง และหน้าวัดเมืองชุม โดยกลุม่ แกนน�ำชุมชน และชาวบ้านได้ร่วมกันออกแบบ และน�ำสัญลักษณ์มาใช้เพือ่ เป็ นการตกลงท�ำความเข้าใจร่ วมกันว่า เขตแดนใดที่มีสญ ั ลักษณ์ นี้ปรากฏอยูถ่ ือว่าเป็ นเขตแดนแห่งการอนุรักษ์พนั ธุ์สตั ว์น้ ำ� และพันธุ์พืช ซึ่ งสื่ อสัญลักษณ์ ที่นำ� มาสร้างความเข้าใจร่ วมกันนั้นก็คือ การใช้เชือกขึงข้ามฝั่งแม่น้ ำ � การปั กธง และการ เขี ยนป้ ายบอกเขตอภัยทาน ซึ่ งจะเป็ นสื่ อสัญลักษณ์ ที่ใช้ร่ วมกันในทุ กพื้นที่ เป็ นสื่ อ สัญลักษณ์ที่ชาวบ้านรับรู ้กนั ทัว่ เขตชุมชนในพื้นที่ลุ่มน�้ำแม่ห่าง และนอกพื้นที่อีกด้วย 2.5 การประชาสัมพันธ์ ชุมชนจัดให้มีการประชาสัมพันธ์เผยแพร่ ข่าวสารต่าง ๆ อย่างสม�่ำเสมอ เช่น กิจกรรมการเดินรณรงค์อนุรักษ์น้ ำ� แม่ห่าง กิจกรรมการติดป้ ายค�ำขวัญอนุรักษ์น้ ำ� แม่ห่าง การก�ำหนดเขตอนุรักษ์ปลา (เขตอภัยทาน) มาตรการและกฎระเบียบชุมชน ในระยะแรก ๆ จะประชาสัมพันธ์ในหมูบ่ า้ นผ่านหอกระจายข่าว ในที่ประชุมประจ�ำเดือน การประชุมกลุม่ เครื อข่าย องค์กรในชุมชน ส่วนในระยะต่อมาเห็นว่า เนื่องจากลักษณะปัญหาของแหล่งน�้ำ แม่ห่างจะเกิดมาจากกลุ่มคนภายนอกพื้นที่ดว้ ย จึงได้นำ� มาตรการและกฎระเบียบชุมชน ในการอนุ รักษ์น้ ำ� แม่ห่างไปแจ้งในที่ประชุมในระดับต�ำบล และระดับอ�ำเภอ โดยผ่าน การประชุมก�ำนันผูใ้ หญ่บา้ น หน่วยงาน เช่น โรงเรี ยน อบต. เมืองชุม และเทศบาลต�ำบล เวียงชัย เพื่อให้ช่วยประชาสัมพันธ์ขอ้ มูลข่าวสารต่อไป ส่ วนการประชาสัมพันธ์โดยใช้ กิ จกรรมเกี่ ยวกับการอนุ รักษ์และฟื้ นฟูแหล่งน�้ำไปสู่ ชุมชนและคนนอกพื้นที่ อาจจะมี การประชาสัมพันธ์แบบไม่เป็ นทางการ เริ่ มจากการพูดคุยปากต่อปากกับเพือ่ นบ้านในพื้นที่ ใกล้เคียงและคนภายนอกในโอกาสต่าง ๆ เช่น งานศพ งานแต่งงาน งานทอดกฐิน ทอดผ้าป่ า เป็ นต้น ท�ำให้การจัดการน�้ำ การอนุรักษ์และฟื้ นฟูน้ ำ� แม่ห่างเป็ นที่รู้จกั มากขึ้น การประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับการอนุ รักษ์น้ ำ� แม่ห่างยังรู ปแบบอื่นๆ เช่น ชมรม รักษ์น้ ำ� แม่ห่าง โรงเรี ยนบ้านเมืองชุมเดินรณรงค์ประชาสัมพันธ์เผยแพร่ ขา่ วสารการอนุรักษ์ แหล่งน�้ำ การจัดนิทรรศการโดยนักเรี ยนในโรงเรี ยน การจัดท�ำสารสัมพันธ์เผยแพร่ ความรู ้ 70

วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปีท่ี 6 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถนุ ายน 2554)


ข่ า วสารเกี่ ย วกับ การอนุ รั ก ษ์แ หล่ ง น�้ำ ทุ ก เดื อ น การร่ ว มเดิ น ขบวนรณรงค์เ กี่ ย วกับ การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมของอ�ำเภอ โดยจัดท�ำป้ ายผ้าประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับการอนุรักษ์ น�้ำแม่ห่าง การร่ วมกันในชุมชนติดป้ ายสื่ อความหมาย ป้ ายค�ำขวัญอนุรักษ์แหล่งน�้ำบริ เวณ ต้นไม้ริมสองฝั่งน�้ำแม่ห่าง การตรวจสอบคุณภาพน�้ำและติดป้ ายรายงานผลการตรวจสอบ คุณภาพน�้ำแม่ห่างทุก 3 เดือน กลยุ ท ธ์ ก ารประชาสั ม พัน ธ์ เ ผยแพร่ ข้ อ มู ล ข่ า วสารเพื่ อ สร้ า งจิ ต ส� ำ นึ ก และความรู ้สึกเป็ นเจ้าของ เป็ นการใช้สื่อที่หลากหลายในการสื่ อสารทั้งสื่ อบุคคล จากการ ประชุม เอกสารแผ่นพับ รายงาน ป้ ายโฆษณา ป้ ายค�ำขวัญ หอกระจายข่าว ป้ ายรายงาน คุณภาพน�้ำ ซึ่ งเป็ นรู ปแบบของกระบวนการสร้างความตระหนัก ความรู ้สึกเป็ นเจ้าของ ให้กบั ชาวบ้าน จึงถือได้วา่ เป็ นการน�ำสื่ อในรู ปแบบที่หลากหลาย เข้ามาช่วยในการสื่ อสาร เพื่อการบริ หารจัดการน�้ำแม่ห่างแบบมีส่วนร่ วม  3. กลยุทธ์ การประยุกต์ ความเชื่อทางศาสนาและพิธีกรรม องค์ความรู ้ของชุมชนในการจัดการทรัพยากรน�้ำเกิดมาจากความสัมพันธ์ของคน กับธรรมชาติที่ได้พ่งึ พาและใช้ประโยชน์ร่วมกัน ซึ่งการใช้ประโยชน์น้ นั ได้ให้ความส�ำคัญ กับการใช้อย่างเหมาะสม จึ งเป็ นการแสวงหารู ปแบบที่ เป็ นการเรี ยนรู ้ ดว้ ยตัวเองจาก ประสบการณ์และได้รับการถ่ายทอดมาจากบรรพบุรุษ จนเกิดการสัง่ สมเป็ นภูมิปัญญาและ ถ่ายทอดสู่คนรุ่ นต่อไป ทั้งนี้ชุมชนในพื้นที่ลมุ่ น�้ำแม่ห่างได้มีการน�ำเอาประเพณีทางศาสนา ความเชื่ อ และพิ ธี ก รรมมาใช้ใ นการอนุ รั ก ษ์แ หล่ ง น�้ำเป็ นกุ ศ โลบายให้ ชุ ม ชนเกิ ด ความร่ วมมือ ผลการศึกษาพบกลยุทธ์การประยุกต์ความเชื่ อทางศาสนาและพิธีกรรม ในการจัดการน�้ำแม่ห่างได้เป็ น 2 กลยุทธ์ยอ่ ยดังนี้ 3.1 พิธีกรรมและความเชื่อ การประยุกต์ใช้พธิ ีกรรมและความเชื่อมาใช้ในการจัดการน�้ำของชุมชนในพื้นที่ ลุ่มน�้ำแม่ห่างได้ขอ้ สรุ ปดังนี้ 3.1.1 การเลี้ยงผีขนุ น�้ำหรื อผีฝาย จากภูมิปัญญาท้องถิ่นได้ให้ขอ้ มูลเกี่ยวกับการเลี้ยงผีขนุ น�้ำ ว่าชุมชนได้เห็น ความส�ำคัญและสนับสนุนพิธีกรรมเลี้ยงผีขนุ น�้ำ เพือ่ ให้อนุชนคนรุ่ นหลังได้สืบทอด และ ยึดถือปฏิบตั ิท่ามกลางกระแสสังคมที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ ว หากได้ศึกษาวิเคราะห์ ถึงเป้ าหมายและวัตถุประสงค์ที่บรรพชนได้กระท�ำสื บต่อกันมาเป็ นเวลายาวนานจะเห็นว่า ประเพณี เลี้ยงผีขนุ น�้ำเป็ นกุศโลบายที่ชาญฉลาด ที่มุ่งสอนให้คนในชุมชน อยูร่ ่ วมกันอย่าง Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.6 No. 1 (January - June 2011)

71


สันติสุข มีความรัก ความสามัคคี รู ้จกั แบ่งปัน และที่สำ� คัญคือให้มีความกตัญญูรู้คุณของ แม่น้ ำ � ที่หล่อเลี้ยงชีวติ ของผูค้ นในชุมชน ผีขุนน�้ำหรื อเทวดารั กษาน�้ำเป็ นลัทธิ ความเชื่ อที่ ถ่ายทอดจากบรรพชน หลายชัว่ อายุคน การเลี้ยงผีขนุ น�้ำของชาวนาในพื้นที่ลุ่มน�้ำแม่ห่างผูกติดกับความเชื่อที่วา่ ผีขนุ น�้ำหรื อเทวดารักษาน�้ำเป็ นผีที่ให้คุณ ที่สามารถจะบันดาลความผาสุ ก ความร่ มเย็น ความอุ ด มสมบู ร ณ์ ข องพื ช พัน ธุ์ ธัญ ญาหาร ตลอดจนดู แ ลป้ องกัน ให้ค นในชุ ม ชน ให้อยูร่ อดปลอดภัยจากภัยธรรมชาติและโรคภัยไข้เจ็บทั้งมวล ทุกปี จึงมีการบวงสรวง จัดหา เครื่ องเซ่นไหว้บูชา เลี้ยงผีขนุ น�้ำ ณ บริ เวณฝายวังช้าง จารี ตดังกล่าวแก่เหมืองแก่ฝายหรื อ หัวหน้าเหมืองฝายคือผูน้ ำ� ที่ตอ้ งรับผิดชอบประเพณี เลี้ยงผีขุนน�้ำ ฉะนั้นก่อนจะถึงวัน เลี้ ย งผี ขุน น�้ำ หัว หน้า เหมื อ งฝายจะเป็ นผูแ้ จ้ง ข่ า วให้ส มาชิ ก ทราบและมี ก ารประชุ ม แบ่งหน้าที่ของแต่ละฝ่ ายเพื่อร่ วมกันเตรี ยมการจัดพิธี โดยจะแบ่งหน้าที่รับผิดชอบดังนี้ - ฝ่ ายจัดการสถานที่ หัวหน้าหมวดที่ได้รับมอบหมายจะต้องน�ำสมาชิ ก ไปจัดเตรี ยมสถานที่ ที่จะประกอบพิธีก่อนวันเลี้ยงผี 1 วัน โดยท�ำการแผ้วถางจุดที่ทำ� พิธี จัดท�ำแคร่ ยกพื้นสู งด้วยไม้ไผ่ ส�ำหรับวางเครื่ องบวงสรวง - ฝ่ ายจัดเตรี ยมเครื่ องบวงสรวง จะต้องจัดหาเครื่ องบวงสรวง ประกอบด้วย เนื้อสัตว์จะเป็ นเนื้อหมู เนื้อวัว หรื อเนื้อไก่ สุ รา อาหารคาว หวาน ผลไม้ เครื่ องเซ่นส�ำหรับ ไหว้ผขี นุ น�้ำ และดอกไม้ ธูปเทียน ให้พร้อมก่อนประกอบพิธี - ฝ่ ายพิธีการ ผูร้ ับผิดชอบจะต้องน�ำกรวยดอกไม้ธูปเทียน ไปบอกกล่าวให้ ผูท้ ี่จะประกอบพิธีบวงสรวง หรื อชาวบ้านเรี ยกว่า “ปู่ จ๋ าน” หรื อ “หมอเมือง” ซึ่ งเป็ นผูน้ ำ� ในการประกอบพิธีทราบก่อนวันประกอบพิธี การประกอบพิธีเลี้ยงผีขนุ น�้ำซึ่งสื บทอดมาตั้งแต่โบราณในการประกอบพิธี บวงสรวง เซ่นไหว้ ผีขนุ น�้ำ หัวหน้าเหมืองฝาย จะเป็ นผูท้ ี่ทำ� การขอบริ จาคเงินจากสมาชิก ทุกคนเพื่อน�ำไปจัดซื้ อ จัดเตรี ยมเครื่ องเซ่ นไหว้ สมาชิ กจะยินดี และพร้ อมเพรี ยงกัน เสี ยสละเงินด้วยความเต็มใจเพราะเชื่อว่าการที่มีส่วนร่ วมในประเพณีเลี้ยงผีขนุ น�้ำจะส่งผลดี เป็ นมงคลต่อตนเองและครอบครัว 3.1.2 การสื บชะตาแม่น้ ำ� การประยุกต์ประเพณี ทางพุทธศาสนา โดยการสื บชะตาแม่น้ ำ � เป็ นพิธีกรรม ที่เปรี ยบเสมือนการต่ออายุแม่น้ ำ � และมีหลักการเดียวกันกับพิธีกรรมสื บชะตาต่ออายุคน ชาวบ้านเชื่ อว่าการสื บชะตาหมายถึ ง การต่ ออายุให้ยืนยาวออกไป ในกรณี ของทาง ภาคเหนื อนั้นการต่อชะตามีหลายอย่าง และนิ ยมท�ำในหลายกรณี ชาวบ้านบางกลุ่มที่มี 72

วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปีท่ี 6 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถนุ ายน 2554)


วิถีชีวิตผูกพันกับแม่น้ ำ � ในยามที่เห็นว่าแม่น้ ำ� ก�ำลังเปลี่ยนแปลงไป เช่น น�้ำแห้ง น�้ำแล้ง หรื อแม้แต่ปลาลดลง ชาวบ้านก็จะจัดพิธีสืบชะตาให้กบั แม่น้ ำ � แต่สำ� หรับบางชุมชน แม่น้ ำ� ก็ไม่ได้เปลี่ ยนแปลง แต่ชาวบ้านก็นิยมจัดพิธีสืบชะตาให้กบั แม่น้ ำ � เพื่อต่ออายุ และ ความเป็ นสิ ริมงคลจะได้เกิดขึ้นกับแม่น้ ำ� รวมทั้งผูค้ นในชุมชนไปด้วย การสื บชะตาให้กบั แม่น้ ำ� จึ งเป็ นการแสดงความศรั ทธา ความเคารพ และเหนื อสิ่ งอื่ นใดคื อ การร่ วมกัน แสดงออกถึงความห่วงใยต่อแม่น้ ำ � พิธีสืบชะตาแม่น้ ำ� ประยุกต์มาจากพิธีสืบชะตาคนและ สื บชะตาหมู่บา้ น มีวตั ถุประสงค์เพื่อก่อให้เกิดความร่ วมมือ ความสามัคคีและช่วยเหลือ เกื้อกูลกันภายในชุมชน ท�ำให้เกิดความเลื่อมใส เคารพต่อสิ่ งศักดิ์สิทธิ์ที่ปกป้ องรักษาแม่น้ ำ � เกิดความรักหวงแหนและส�ำนึกในการดูแลรักษาแม่น้ ำ � ตลอดจนต้นน�้ำล�ำธาร ก่อนท�ำพิธีสืบชะตาแม่น้ ำ � ชาวบ้านจะร่ วมแรงร่ วมใจกันขุดลอกล�ำคลอง และแหล่งน�้ำ โดยใช้เครื่ องไม้เครื่ องมือพื้นบ้าน ในวันกระท�ำพิธีจะมีการบวงสรวงเทวดา เพื่อเป็ นการขอขมาต่อสิ่ งศักดิ์ สิ ทธิ์ ที่ ปกปั กรั กษาแม่น้ ำ � เครื่ องสื บชะตาประกอบด้วย กระโจมไม้สามขา ท่อนแสก เรี ยกว่าสะพานเงิน สะพานทอง อีกท่อนหนึ่งจะผูกติดด้วย ไม้ค้ ำ� ท่อนเล็ก ๆ จ�ำนวนพอประมาณแต่ลงท้ายด้วยเลข 9 เครื่ องประกอบอื่น ๆ ได้แก่ กระบอกน�้ำ หน่อกล้วย อ้อย ลูกมะพร้าว หม้อเงิน หม้อทอง เทียนถุง เมี่ยง บุหรี่ หมากพลู ข้าวตอกดอกไม้รวมกันในกระด้ง บทสวดที่ใช้ในการสื บชะตาแม่น้ ำ � คือ บทสื บชะตาหลวง (อินทชาตา, ชินบัญชร อัฏฐอุณหัสสและธรรมสาลาวิจารสู ตร) การสื บชะตาแม่น้ ำ� นี้ เป็ นเหมือนการประกาศให้ชาวบ้านในพื้นที่ลุ่มน�้ำ แม่ ห่ า ง และชุ ม ชนอื่ น ๆ ได้รับรู ้ อ ย่างเป็ นทางการถึ งการก�ำ หนดเขตการจัดการน�้ำ การอนุ รั ก ษ์น้ �ำ และสั ต ว์น้ �ำ นอกจากนี้ ในพิ ธี สื บ ชะตาจะมี กิ จ กรรมอื่ น ๆ ร่ ว มด้ว ย ไม่ว่าจะเป็ นการแลกเปลี่ ยนเรี ยนรู ้ ประสบการณ์ การจัดการน�้ำระหว่างกลุ่มเครื อข่าย การปล่อยพันธุป์ ลาลงสู่แม่น้ ำ � การจัดตั้งกองผ้าป่ าพันธุป์ ลา โดยให้คนที่มาร่ วมงานได้ร่วม บริ จาคด้วยการซื้ อพันธุ์ปลาเพือ่ ปล่อยลงสู่ แม่น้ ำ � โดยน�ำเงินที่ได้มาซื้ ออาหารปลาและเงิน ที่ได้จำ� น�ำไปจัดซื้ออาหารปลาต่อไป การสื่ อสารในพิธีการสื บชะตาแม่น้ ำ � และการเลี้ยงผีขนุ น�้ำ ถือว่าเป็ นโอกาส ที่ดีในการประยุกต์ใช้พิธีกรรมและความเชื่อทางศาสนามาเสริ มสร้างให้เกิดความร่ วมมือ จากหน่วยงานองค์กรต่าง ๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน ทั้งในพื้นที่และนอกพื้นที่ชุมชนลุ่มน�้ำ แม่ห่าง เช่น องค์การบริ หารส่ วนจังหวัด สถานีประมงน�้ำจืดจังหวัดเชียงราย (หนองหลวง) เทศบาลต�ำบลเวียงชัย องค์การบริ หารส่ วนต�ำบลเมืองชุม สถาบันต่าง ๆ ในชุมชน และ ต�ำบล ไม่วา่ จะเป็ นวัด โรงเรี ยน สถานีอนามัยประจ�ำต�ำบลเมืองชุม ชมรม สมาคมในชุมชน Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.6 No. 1 (January - June 2011)

73


และกลุ่มต่าง ๆ ในหมู่บา้ น เช่น กลุ่มผูส้ ูงอายุ กลุ่มเยาวชน กลุ่มท�ำนา กลุ่มเกษตรอินทรี ย ์ กลุ่มอาสาสมัครสาธารณสุ ขประจ�ำหมู่บา้ น และกลุ่มพัฒนาสตรี เป็ นต้น ในการสื่ อสาร มี ท้ ัง ที่ เ ป็ นทางการ คื อ เป็ นหนัง สื อ ราชการเรี ย นเชิ ญ ขอความร่ ว มมื อ การประชุ ม กลุ่มเครื อข่าย การประกาศเชิญชวนผ่านหอกระจายข่าวและแบบไม่เป็ นทางการโดยการ สื่ อสารผ่านการพูดคุย บอกเล่า เชิญชวนผ่านสมาชิกกลุ่มเครื อข่าย เครื อญาติ ตลอดจนการ พูดคุย บอกเล่าในงานพิธีต่าง ๆ ในชุ มชน ถือเป็ นกุศโลบายที่ชาญฉลาดที่มุ่งสอนให้ คนในชุมชน อยูร่ ่ วมกันอย่างสันติสุข มีความรัก ความสามัคคี รู ้จกั แบ่งปั น และที่สำ� คัญ คือให้มีความกตัญญูรู้คุณของแม่น้ ำ� ที่หล่อเลี้ยงชีวติ ของผูค้ นในชุมชน 3.2 ประเพณี ทอ้ งถิ่น การจัดประเพณี ทอ้ งถิ่นซึ่ งมักจะเป็ นประเพณี ในพุทธศาสนาถูกน�ำมาเชื่อมโยง กับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ โดยให้ความส�ำคัญกับประเพณี ทอ้ งถิ่นที่จะเสริ มสร้าง จิตส�ำนึ กให้กบั คนที่มาร่ วมงาน ขนบธรรมเนี ยมประเพณี ชุมชนลุ่มน�้ำแม่ห่างก็เหมือน คนล้านนาส่ วนใหญ่ที่มีการยึดมัน่ ในขนบธรรมเนี ยมประเพณี ของตนที่สืบทอดกันมา ช้านาน ก็คือ ประเพณี ลอยกระทง ซึ่ งนอกจากจะเป็ นการท�ำเพื่อสื บทอดประเพณี แล้ว ผลพลอยได้ที่ตามมาก่ อให้เกิ ดผลดี อย่างอเนกอนันต์ต่อชุ มชนลุ่มน�้ำแม่ ห่าง ทั้งด้าน การปลูกจิตส�ำนึกในการอนุรักษ์และฟื้ นฟูแหล่งน�้ำ การเสริ มสร้างให้เกิดความสมัครสมาน สามัคคีของคนในท้องถิ่น การน�ำประเพณี ทอ้ งถิ่น เช่น ประเพณี ลอยกระทง มาเสริ มสร้างให้เกิดจิตส�ำนึก รักและหวงแหนแหล่งน�้ำสะท้อนถึงกุศโลบายของท้องถิ่นที่แสดงถึงการบูชา การขอขมา และการแสดงความขอบคุณแหล่งน�้ำที่ให้คุณประโยชน์ในการด�ำรงชีพ กระตุน้ เตือนใจ ให้ชุมชนเข้ามามีส่วนร่ วมในการบริ หารจัดการน�้ำแม่ห่าง เสริ มสร้างให้เกิดความสามัคคี ในชุ มชน กระบวนการสื่ อสารจะเป็ นการแจ้งข่าวสารในที่ ประชุ มหน่ วยงาน องค์กร ปกครองส่ วนท้องถิ่น ประชุมหมู่บา้ น ประชุมกรรมการวัด ชมรมผูส้ ู งอายุ ตลอดจนการ ประกาศผ่านหอกระจายข่าวหรื อเสียงตามสาย การพูดคุย เชิญชวน บอกเล่าของกลุม่ องค์กร ต่าง ๆ ที่มีในชุมชน ประชาสัมพันธ์เผยแพร่ ขอความร่ วมมือในการใช้วสั ดุธรรมชาติในการ จัดท�ำกระทงเพื่อร่ วมอนุรักษ์แหล่งน�้ำ การใช้พิธีกรรมการสื บชะตาแม่น้ ำ � และการเลี้ยง ผีขนุ น�้ำ การน�ำเอาความเชื่ อทางศาสนาและพิธีกรรมมาประยุกต์ใช้เป็ นสื่ อพิธีกรรม โดยเฉพาะเพื่อการปกป้ อง ดูแลเขตอนุรักษ์แม่น้ ำ � และเสริ มสร้างให้เกิดความร่ วมมือจาก หน่วยงาน องค์กรต่าง ๆ ของภาครัฐและเอกชน ทั้งในพื้นที่และนอกพื้นที่ชุมชน สอดคล้อง 74

วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปีท่ี 6 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถนุ ายน 2554)


กับสหัทยา วิเศษ และนิ คม บุญเสริ ม (2547 : 16 – 17) ที่กล่าวว่า ระบบความเชื่อและ ค�ำสัง่ สอนที่สืบทอดต่อกันมาจากบรรพบุรุษเป็ นกฎระเบียบที่ชุมชนรับรู ้ร่วมกัน ความเชื่อ แต่ละชุมชนอาจแตกต่างกันไปตามกลุ่มชาติพนั ธุ์แต่มีเป้ าหมายเดียวกัน คือ ท�ำให้เกิดการ ใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติที่เหมาะสม และสอดคล้องกับบุญชัย งามวิโรจน์ และ คณะ (2551 : บทคัดย่อ) ที่พบว่า ภูมิปัญญาท้องถิ่นเป็ นบทบาทของชุมชนที่มีส่วนร่ วมใน การบริ ห ารจัด การน�้ำ และสามารถพึ่ ง พาตนเองได้ การเผยแพร่ อ งค์ค วามรู ้ น�ำ ไปสู่ การประยุกต์ใช้และผสมผสานระหว่างเทคโนโลยีใหม่ ๆ ให้สอดคล้องกับวิถีชีวติ ชุมชน ท้องถิ่นได้อย่างมีประสิ ทธิภาพ 4. กลยุทธ์ การแสวงหาความร่ วมมือจากหน่ วยงานราชการ การแสวงหาความร่ วมมือในการบริ หารจัดการแหล่งนี้ ของชุมชนจะใช้วิธีการ ประสานงานขอความร่ วมมือจากหน่วยงานราชการ ได้แก่ เทศบาลต�ำบลเวียงชัย องค์การ บริ หารส่ วนต�ำบลเมืองชุ ม ส�ำนักงานเกษตรอ�ำเภอเวียงชัย สถานี ประมงน�้ำจืดจังหวัด เชียงราย ส�ำนักงานประมงอ�ำเภอเวียงชัย ปศุสัตว์อำ� เภอเวียงชัย พัฒนากรอ�ำเภอเวียงชัย องค์การบริ หารส่ วนจังหวัดเชียงราย ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อมจังหวัดเชียงราย และกรมชลประทาน ฯลฯ ทั้งความร่ วมมือที่เป็ นทางการและไม่เป็ นทางการ ในการสื่ อสาร ระหว่างชุมชนกับหน่วยงานราชการส่ วนมากจะเป็ นการเสนอขอสนับสนุนงบประมาณ จัดท�ำโครงการ แผนงานพัฒนาแหล่งน�้ำให้ชุมชน โดยกลยุทธ์การสื่ อสารเพื่อสร้ าง การมีส่วนร่ วมในการบริ หารจัดการน�้ำแม่ห่างของหน่วยราชการกับชุมชน แบ่งตามช่องทาง สถานที่แลกเปลี่ยนข้อมูลและกิจกรรมการมีส่วนร่ วมได้ดงั นี้ - เทศบาลต�ำบลเวียงชัย และองค์การบริ หารส่ วนต�ำบลเมืองชุม มีการสื่ อสาร สู่ ชุมชนผ่านการประชุ ม หนังสื อราชการ แผนงาน/โครงการประกาศ ข่าว แผ่นพับ โปสเตอร์ การศึกษาดูงาน การแลกเปลี่ยนความคิดเห็น การพูดคุย ปรึ กษาหารื อในโอกาส ต่ า ง ๆ และกิ จ กรรมที่ มี ส่ ว นร่ ว มกับ องค์ก รในชุ ม ชนเป็ นกิ จ กรรมที่ เ กี่ ย วข้อ งกับ การด�ำรงชี วิต เช่น จัดสรรงบประมาณสนับสนุ นและพัฒนาโครงการการใช้น้ ำ� ในการ อุปโภค บริ โภค การใช้น้ ำ� ในการเกษตร การบ�ำบัดน�้ำเสี ย การก�ำจัดขยะมูลฝอย การดูแล สภาพแวดล้อมในชุมชน และเข้าร่ วมกิจกรรมการสื บชะตาน�้ำ การเลี้ยงผีขนุ น�้ำ (ผีฝาย) ประเพณี ลอยกระทง - ส�ำนักงานประมงจังหวัด ประมงอ�ำเภอ เกษตรอ�ำเภอ ปศุสตั ว์ และพัฒนาชุมชน มีการสื่ อสารสู่ชุมชนผ่านการประชุม หนังสื อราชการ แผนงาน/โครงการการอบรมสัมมนา Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.6 No. 1 (January - June 2011)

75


การศึกษาดูงาน ประกาศ ข่าว แผ่นพับ โปสเตอร์ การแลกเปลี่ยนความคิดเห็น การพูดคุย ปรึ กษาหารื อในโอกาสต่าง ๆ และกิจกรรมที่มีส่วนร่ วมกับองค์กรในชุมชนเป็ นกิจกรรม ที่ เกี่ ยวข้องกับหน้าที่ ในส่ วนราชการ เช่ น จัดสรรงบประมาณสนับสนุ นและพัฒนา โครงการต่ าง ๆ การใช้น้ �ำในการเกษตร การประมง การปศุ สัตว์ การบ�ำบัดน�้ำเสี ย การส่ งเสริ มกลุ่มอาชีพ และการเข้าร่ วมกิจกรรมอนุรักษ์แหล่งน�้ำที่ชุมชนจัดขึ้น - องค์การบริ หารส่ วนจังหวัดเชี ยงราย มีการสื่ อสารสู่ ชุมชนผ่านการประชุ ม หนังสื อราชการ แผนงาน/โครงการ ประกาศ ข่าว แผ่นพับ โปสเตอร์ และกิ จกรรม ที่มีส่วนร่ วมกับองค์กรในชุมชนเป็ นกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับหน้าที่ในส่ วนราชการ เช่น จัดสรรงบประมาณสร้างฝายคอนกรี ต สร้างประตูระบายน�้ำ สร้างท�ำนบกั้นน�้ำ งบประมาณ ขุดลอกแหล่งน�้ำ ขุดลอกคลอง และโครงการต่าง ๆ ที่แก้ไขปั ญหาการใช้น้ ำ� ในการเกษตร และการเข้าร่ วมกิจกรรมอนุรักษ์แหล่งน�้ำที่ชุมชนจัดขึ้น - ทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละสิ่ ง แวดล้อ มจัง หวัด มี ก ารสื่ อ สารสู่ ชุ ม ชนผ่า น การประชุมหนังสื อราชการ แผนงาน/โครงการ ประกาศ ข่าว วารสาร แผ่นพับ โปสเตอร์ และกิ จ กรรมที่ มี ส่ ว นร่ ว มกับ องค์ ก รในชุ ม ชนเป็ นกิ จ กรรมที่ เ กี่ ย วข้อ งกับ หน้ า ที่ ในส่ วนราชการ เช่น ให้ความรู ้ข่าวสาร ส่ งเสริ มการบริ หารจัดการน�้ำ และการเข้าร่ วม กิจกรรมอนุรักษ์แหล่งน�้ำที่ชุมชนจัดขึ้น - กรมชลประทาน มี การสื่ อสารสู่ ชุมชนผ่าน การประชุ ม หนังสื อราชการ แผนงาน/โครงการ ประกาศ ข่าว แผ่นพับ โปสเตอร์ และกิจกรรมที่มีส่วนร่ วมกับองค์กร ในชุมชนเป็ นกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับหน้าที่ในส่ วนราชการ เช่น จัดสรรงบประมาณสร้าง คลองส่ งน�้ำ ซ่อมแซมคูคลอง การจัดสรรน�้ำ การแก้ไขปั ญหาเรื่ องน�้ำ องค์กรที่เข้ามามีส่วนร่ วมในการบริ หารจัดการน�้ำแม่ห่างมากที่สุด คือ ชุมชนซึ่ง หมายรวมถึ งกลุ่มเครื อข่ายต่าง ๆ ในชุ มชน วัด และโรงเรี ยน เนื่ องจากเป็ นกลุ่มที่ มี ความผูกพันกับแม่น้ ำ� ห่างโดยเฉพาะชุมชนที่ตอ้ งพึ่งพิงใช้ประโยชน์ รองลงมาคือ องค์การ ปกครองส่ วนท้องถิ่น อันได้แก่ องค์การบริ หารส่ วนต�ำบลเมืองชุม และเทศบาลต�ำบล เวียงชัย ซึ่ งเป็ นผูท้ ี่สนับสนุนทั้งในเรื่ องงบประมาณ ข้อมูลและความรู ้ในการด�ำเนินงาน และสุดท้าย คือ องค์กรหรื อหน่วยงานที่เคยเข้าร่ วมกิจกรรมแต่ไม่ตอ่ เนื่อง ซึ่งได้แก่ องค์การ บริ หารส่ วนจังหวัดเชียงราย ประมง ชลประทาน และองค์กรพัฒนาเอกชน (NGO)

ตอนที่ 2 ปัจจัยที่ส่งผลต่ อการสื่ อสารเพือ่ สร้ างการมีส่วนร่ วมในการบริหารจัดการ น�ำ้ ของชุ มชนในพืน้ ทีล่ ่ มุ น�ำ้ แม่ ห่าง อ�ำเภอเวียงชัย จังหวัดเชียงราย 76

วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปีท่ี 6 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถนุ ายน 2554)


จากการศึกษากลยุทธ์การสื่ อสารเพื่อเสริ มสร้างการมีส่วนร่ วมในการบริ หาร จัดการน�้ำแม่ห่าง พบว่า ปัจจัยต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องและส่ งผลให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่ วม ในการบริ หารจัดการน�้ำ มีหลายปั จจัยด้วยกันทั้งที่เป็ นปั จจัยที่เกิดขึ้นภายในชุมชน และ ปั จจัยภายนอกที่เกิดจากการส่ งเสริ มสนับสนุ น หรื อผลักดันให้บุคคลหรื อ กลุ่มบุคคล หน่วยงาน องค์กรต่าง ๆ เข้ามามีส่วนร่ วม โดยผลการศึกษาพบปั จจัยต่อไปนี้ 1. สถานภาพทางสั งคมของแหล่ งสาร โครงสร้ างทางสังคมของชุ มชนในพื้นที่ ลุ่ มน�้ำแม่ ห่างเป็ นลักษณะของการ อยูร่ ่ วมกันของครอบครัวไทยซึ่ งมีโครงสร้างแบบครอบครัวใหญ่ที่ประกอบด้วยระบบ เครื อ ญาติ มี หัว หน้า ครอบครั ว สมาชิ ก ในครอบครั ว สถานภาพ บทบาทหน้า ที่ ข อง แต่ละบุคคลจะมีผลต่อการสื่ อสาร เช่น ปู่ ย่า ตายาย ลุง ป้ า น้า อาหรื อพ่อแม่จะสามารถสร้าง ความน่ าเชื่ อถื อหรื อไว้วางใจมากกว่าสมาชิ กคนอื่ น ๆ และสภาพสังคมที่ เป็ นระบบ เครื อญาติ เป็ นวัฒนธรรมไทยที่ ให้การเคารพนับถื อผูอ้ าวุโส ให้ความไว้วางใจผูท้ ี่ มี ความใกล้ชิดสนิทสนม และมีสถานภาพทางสังคมที่มีตำ� แหน่งหน้าที่การงาน สถานภาพ ของบุคคลที่เป็ นผูส้ ่ งสารหรื อแหล่งสารภายในท้องถิ่น จะเป็ นบุคคลที่มีบุคลิกลักษณะ การเป็ นผูน้ ำ� ที่จะท�ำให้เกิดความเชื่อและความไว้วางใจมากน้อยเพียงใด เช่น พระสงฆ์ ก�ำนัน ผูใ้ หญ่บา้ น ครู สมาชิกสภาเทศบาล สมาชิกองค์การบริ หารส่ วนต�ำบล มัคนายกวัด แก่ฝาย แก่เหมือง เป็ นต้น ซึ่งเป็ นผูท้ ี่อยูใ่ กล้ชิด และเป็ นที่รู้จกั มักคุน้ ของชาวบ้านเป็ นอย่างดี และมี การด�ำเนิ นชี วิตแบบเดี ยวกับชาวบ้าน จะเป็ นผูน้ ำ� ความคิ ดเห็ นในหมู่บา้ นหรื อ ในชุ มชนที่ชาวบ้านจะเกิ ดความเชื่ อและความไว้วางใจ เพราะถือว่าเป็ นคนที่มีความรู ้ ความสามารถ มีความเสี ยสละ และเป็ นที่พ่ ึงของประชาชนเมื่อเกิดปั ญหา 2. ความคล้ ายคลึงกันของผู้ส่งสารและผู้รับสาร การสื่ อสารระหว่างบุคคลหนึ่งไปยังอีกบุคคลหนึ่งปัจจัยที่สำ� คัญอีกประการหนึ่ง คือความคล้ายคลึงกันของผูส้ ่ งสารและผูร้ ับสาร ไม่ว่าจะเป็ นระดับอายุที่ใกล้เคียงกัน เพศเดียวกัน เชื้อชาติหรื อภาษาเดียวกันซึ่ งจะมีอิทธิ พลต่อการเปลี่ยนแปลงทัศนคติและ ความคิดเห็ นของผูร้ ับสาร เพราะความคล้ายคลึงกันนี้ จะท�ำให้เกิ ดความรู ้ สึกเข้าใจกัน เห็นอกเห็นใจกัน ชอบพอและไว้วางใจกัน นอกจากนี้ความคล้ายคลึงกันดังที่กล่าวมาแล้ว ผูส้ ่ งสารและผูร้ ับสารยังมีอิทธิ พลของความคล้ายคลึงกันทางด้านอาชี พ ความเป็ นอยู่ ประสบการณ์ สภาพทางเศรษฐกิจและสังคม ซึ่งคนในพื้นที่ลุ่มน�้ำแม่ห่างมีวถิ ีชีวติ ในการ ท�ำการเกษตรกรรม ท�ำนา ท�ำสวน มีวฒั นธรรมประเพณี ที่คล้ายคลึงกัน นับถือศาสนาพุทธ Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.6 No. 1 (January - June 2011)

77


เหมื อ นกัน จึ ง ท�ำ ให้ ก ารสื่ อ สารจากผู ้ส่ ง สารไปยัง ผู ้รั บ สารมี ค วามสอดคล้อ งกับ ประสบการณ์ของผูร้ ับสาร ท�ำให้ผรู ้ ับสารโน้มเอียงที่จะยอมรับข่าวสารที่สอดคล้องกับมี วัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณี และประสบการณ์ที่ตนเองมีมาก่อน ท�ำให้ผรู ้ ับสาร เกิ ด ความรู ้ สึ ก เข้า ใจกัน เห็ น อกเห็ น ใจกัน ชอบพอและไว้ว างใจกัน จึ ง ท�ำ ให้ เ กิ ด ความโน้มเอียงที่จะยอมรับข่าวสารที่สอดคล้องกับระดับความรู ้ ประสบการณ์ที่ตนเองมี มาก่อน ซึ่ งสอดคล้องกับแนวคิดของ อรวรรณ ปิ ลันธน์โอวาท (2549 : 145) กล่าวไว้วา่ การสื่ อสารระหว่างบุคคลจะสัมฤทธิ์ ผลมากน้อยแค่ไหนขึ้นอยู่กบั ความคล้ายกันของ ความเชื่อ ค่านิยม สถานะทางสังคม สภาพทางเศรษฐกิจฯลฯ ระหว่างผูส้ ่งสารและผูร้ ับสาร ยิง่ คล้ายคลึงกันมากเท่าใดการสื่ อสารก็จะสัมฤทธิ์ผลมากขึ้นเพียงนั้น 3. คุณลักษณะของแหล่ งสาร การมีส่วนร่ วมของผูร้ ับสารมีแนวโน้มที่มาจากคุณลักษณะของแหล่งสาร ซึ่ง มีหลายประการด้วยกัน คือ 3.1 ความเชื่ อ ความคุ ้น เคย และความไว้ว างใจ เป็ นความคุ ้น เคยและ ความไว้วางใจเพราะความเชื่อถือในรู ปแบบของเครื อญาติ ที่มีความใกล้ชิดกับผูร้ ับสาร ท�ำให้การยอมรับความคิดเห็นหรื อมีระดับของความรู ้สึกว่าแหล่งสารเป็ นที่น่าไว้วางใจ และมีความสามารถ ในทัศนะที่เขารู ้ จกั คุน้ เคยและนับถือมากกว่าที่จะเชื่ อบุคคลที่เขา ไม่รู้จกั คุน้ เคย ซึ่ งเป็ นความเชื่ อถือความศรัทธาในตัวบุคคลที่เป็ นผูน้ ำ� ความคิดเห็นใน หมู่บา้ นหรื อในชุมชน 3.2 ความอาวุโส คือ ผูส้ ่งสารเป็ นผูท้ มี่ คี วามอาวุโส เป็ นผูท้ สี่ งั่ สมประสบการณ์ ในการด�ำเนิ นวิถี ชี วิต เป็ นผูร้ อบรู ้ กฎเกณฑ์การด�ำเนิ นชี วิต ประพฤติ ปฏิ บตั ิ ตนเป็ น แบบอย่างให้คนในชุมชน 3.3 ความมีประสบการณ์หรื อความรอบรู ้ เป็ นคุณลักษณะของแหล่งสารที่ เป็ นบุคคลที่มีความรอบรู ้ มีความสามารถทั้งในด้านการประกอบอาชีพ ด้านการพูด มีบคุ ลิก ในการเป็ นผูน้ ำ � มีความเสี ยสละ มีประสบการณ์ในการท�ำงานสู ง มีความซื่ อสัตย์สุจริ ต สามารถไว้วางใจได้ 3.4 ความเป็ นตัวแทนทางศาสนาและพิธีกรรม เป็ นคุณลักษณะของผูส้ ่ งสาร ที่มีบทบาทเป็ นผูน้ ำ� ในการประกอบพิธีการทางศาสนา หรื อพิธีกรรมต่าง ๆ ซึ่ งเป็ นบุคคล ที่ชาวบ้านมีความเชื่อ ความศรัทธาและไว้วางใจในฐานะที่เป็ นคนที่มีความรู ้ ความสามารถ ในเรื่ องนั้น ๆ

78

วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปีท่ี 6 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถนุ ายน 2554)


3.5 ความเป็ นตัวแทนที่ได้รับคัดเลือก เป็ นคุณลักษณะของแหล่งสารที่เป็ น ตัวกลางในการเผยแพร่ ข่าวสาร ความรู ้ ความคิด ชักจูงหรื อโน้มน้าวใจให้ชาวบ้าน เข้ามา มีส่วนร่ วมเนื่องจากความเชื่อความศรัทธาที่มีต่อแหล่งสาร เช่น การบริ หารจัดการระบบ เหมื องฝายจะมี แก่ ฝาย แก่ เหมื อง เป็ นกรรมการที่ ได้รับการคัดเลื อกมาจากชาวบ้าน ชาวบ้านมีความเชื่อ ความศรัทธาและไว้วางใจในฐานะที่เป็ นคนที่มีความรู ้ ความสามารถ มีความเสี ยสละ และเป็ นที่พ่ ึงของประชาชนเมื่อเกิดปัญหา จากการศึ กษายังพบว่า ประชาชนเข้ามามี ส่วนร่ วมในการบริ หารจัดการ อนุรักษ์น้ ำ� แม่ห่าง ในขั้นตอนของการจัดพิธีกรรมมากที่สุด ซึ่งเข้ามามีส่วนร่ วมในรู ปแบบ ที่แตกต่างกันออกไป เช่น พระสงฆ์เป็ นผูป้ ระกอบพิธี ปราชญ์ชาวบ้านมีหน้าที่เป็ นผูน้ ำ� ในการประกอบพิ ธี ชาวบ้า นส่ ว นใหญ่ เ ข้า มามี ส่ ว นร่ ว มในฐานะผู ้ร่ ว มพิ ธี ก รรม กลุ่มแกนน�ำมีส่วนร่ วมตั้งแต่การเตรี ยมการจนถึงการดูแลการประกอบพิธี เป็ นต้น พิธีที่ จัดขึ้นเป็ นพิธีกรรมทางศาสนาซึ่ งเอื้อต่อการเข้ามามีส่วนร่ วมของประชาชนซึ่ งนับถือ ศาสนาพุทธ พิธีกรรมจะมีท้งั การขู่ การให้รางวัล ด้วยความเชื่อความศรัทธาในตัวพิธีกรรม เอง และยังเป็ นเรื่ องของบาปบุญคุณโทษซึ่งล้วนเป็ นความเชื่อทางพระพุทธศาสนาที่เข้ามา เกี่ยวข้อง ซึ่งชาวบ้านเชื่อว่าถ้าไม่เข้าร่ วมพิธีกรรมจะถือว่าไม่เชื่อ ไม่ศรัทธาพระพุทธศาสนา เป็ นคนไม่ดี หากเข้าร่ วมจะถือว่าเป็ นการสร้างบุญสร้างกุศลให้กบั ตนเอง ซึ่ งล้วนเป็ นแรง ผลักดันให้ชาวบ้านเข้ามามีส่วนร่ วมมากยิง่ ขึ้น คุณลักษณะของแหล่งสารซึ่ งเป็ นคุณลักษณะของการใช้สื่อบุคคลที่จะชักจูง หรื อโน้มน้าวใจ ให้ผรู ้ ับสารเกิดความเชื่อ ความศรัทธา เกิดความไว้วางใจและยอมรับใน ตัวบุคคลที่เป็ นแหล่งสาร เป็ นผูน้ ำ� ความคิดเห็นในชุมชนที่จะเป็ นตัวกลางในการเผยแพร่ ข่าวสาร ความรู ้ความคิด ชักจูงหรื อโน้มน้าวใจ จึงเป็ นปัจจัยที่สำ� คัญประการหนึ่งที่จะท�ำให้ ประชาชนเข้ามามีส่วนร่ วมในการบริ หารจัดการน�้ำแม่ห่าง ผลการศึกษาสอดคล้องกับ แนวคิดของ Middlebrook (1974 : 161 – 164) ที่กล่าวว่า ผูส้ ่ งสารเป็ นที่น่าไว้วางใจ (Trustworthy) และมีความสามารถ (Competent) หากผูร้ ับสารมีความรู ้สึกว่าผูส้ ่ งสารมี ความน่าเชื่อถือ ผูร้ ับสารก็มีแนวโน้มที่จะยอมรับสารจากพวกเขาเหล่านั้น 4. การไหลเวียนของข่ าวสารภายในชุมชน การไหลเวียนของแหล่งสารภายในชุมชนเป็ นปั จจัยที่เป็ นสาเหตุสำ� คัญประการ หนึ่งต่อการเข้ามามีส่วนร่ วมของประชาชนในการบริ หารจัดการน�้ำแม่ห่าง จากการศึกษา พบว่าชุมชนในพื้นที่น้ ีมีความพยายามสร้างทางเลือก (Choices) ของการไหลเวียนข่าวสาร Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.6 No. 1 (January - June 2011)

79


หลายรู ปแบบเพื่อท�ำให้การจัดการสิ่ งแวดล้อมของชุมชนมีทางเลือกและประสิ ทธิ ภาพ มากยิง่ ขึ้น ซึ่ งการไหลเวียนของแหล่งสารภายในชุมชนมีหลายรู ปแบบ คือ 4.1 การไหลเวียนของข่าวสารในระดับเดียวกัน เป็ นการไหลเวียนของข่าวสาร ระหว่างผูน้ �ำชุ มชนด้วยกัน หรื อระหว่างผูน้ �ำกลุ่ มกับผูน้ �ำกลุ่ ม หรื อระหว่างสมาชิ ก ในกลุ่มเดียวกันหรื อระหว่างชาวบ้านที่มีคุณลักษณะและสถานภาพคล้ายกัน เช่น ชาวนา ช่วยกันแก้ปัญหาเรื่ องการผันน�้ำเข้านา 4.2 การไหลเวียนของข่าวสารจากผูท้ ี่มีระดับสู งกว่าไประดับต�่ำกว่า เช่ น ผูน้ ำ� ชุมชนไปสู่ ชาวบ้าน จากตัวแทนหน่ วยงานของรัฐไปสู่ ชาวบ้าน หรื อจากผูน้ ำ� กลุ่ม ไปสู่ สมาชิกในกลุ่ม 4.3 การไหลเวียนของข่าวสารจากผูท้ ี่มีระดับต�่ำกว่าไประดับสู งกว่า เช่ น จากชาวบ้านไปสู่ ผนู ้ ำ� ชุมชน หรื อจากชุมชนไปสู่ ตวั แทนภาครัฐ หรื อจากสมาชิกของกลุ่ม ไปสู่ หวั หน้ากลุ่ม ส่ วนการไหลเวียนของข่าวสารที่ใช้กนั ส่ วนใหญ่เป็ นการสื่ อสารระหว่างผูท้ ี่ มี ระดับหรื อต�ำแหน่ งเสมอกัน การสื่ อสารจะไหลเวียนจากบุคคลหรื อแหล่งที่ มาของ ข่าวสารอาจเป็ นบุคคลเพียงคนเดียว เป็ นคณะบุคคล หรื อเป็ นองค์กร เนื้อหาสารที่ส่งออก ไปจากผูส้ ่ งสารนั้นอาจเป็ นความคิดหรื อเรื่ องราวในการบริ หารจัดการน�้ำแม่ห่าง ที่มี ความยากง่ายของสื่ อเหมาะสมกับระดับ และความสามารถในการรับสารของชาวบ้าน เนื้อหาสื่ อ เป็ นเรื่ องที่เป็ นปัญหาเร่ งด่วน หรื อเป็ นปัญหาในชีวติ ประจ�ำวันและเกี่ยวพันกับ ชี วิตความเป็ นอยู่ของชาวบ้าน ส่ วนการรับสารของผูร้ ับสารจะมีประสิ ทธิ ภาพเพียงใด ขึ้นอยูก่ บั ปั จจัยต่าง ๆ เช่น ทักษะความรู ้ ประสบการณ์ ทัศนคติ ความสนใจ การยอมรับ ความรู ้สึก ความเชื่อ วัฒนธรรม และสังคมของผูร้ ับสาร รู ป แบบการสื่ อ สารส่ ว นมากจะเป็ นการสื่ อ สารแบบสองทางทั้ง แบบที่ เป็ นทางการ เช่น การประชุม การประกาศแจ้งนโยบาย หรื อค�ำสัง่ ปฏิบตั ิงาน และแบบที่ ไม่เป็ นทางการ เช่น การพูดคุยปรึ กษาหารื อในโอกาสต่าง ๆ การใช้สื่อกิจกรรม และการ ใช้สื่อสัญลักษณ์ ซึ่ งเป็ นการไหลเวียนของข่าวสารที่อยู่ในวิถีชีวิตของคนในชุ มชนซึ่ ง สามารถถ่ายทอด แลกเปลี่ยนเรี ยนรู ้ และแสดงปฏิกิริยาโต้ตอบได้สะดวกและรวดเร็ ว เหล่านี้ จึงเป็ นปั จจัยที่ส�ำคัญในการสื่ อสารเพื่อเสริ มสร้ างการมีส่วนร่ วมในการบริ หาร จัดการน�้ำแม่ห่าง

80

วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปีท่ี 6 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถนุ ายน 2554)


5. จิตส� ำนึกหรือความรู้ สึกเป็ นเจ้ าของแหล่ งน�ำ้ ผลการศึกษาพบว่า การจัดกิจกรรมต่างๆ ที่ชุมชนร่ วมกันด�ำเนินการ เพือ่ ชี้ให้เห็น คุณประโยชน์และวิธีการบริ หารจัดการแหล่งน�้ำ กลับส่ งผลในเชิงทัศนคติและหล่อหลอม ให้เกิดจิตส�ำนึกหรื อความรู ้สึกเป็ นเจ้าของแหล่งน�้ำเกิดขึ้นพร้อมกันไปด้วย ไม่วา่ จะส�ำนึก ในบุญคุณของแหล่งน�้ำ ส�ำนึกในความดีความชอบของชุมชนที่ร่วมกันจัดกิจกรรม ซึ่ งจะ ส่ งผลหรื อเอื้อต่อการชักจูงหรื อการโน้มน้าวใจให้ผรู ้ ับสารเข้ามามีส่วนร่ วมในการบริ หาร จัดการน�้ำแม่ห่าง กรณี ที่คนในชุมชนมีการท�ำผิดกฎหรื อมาตรการที่ชุมชนร่ วมกันก�ำหนด ก็จะเกิดการประณาม การต�ำหนิติเตียนของคนในชุมชน แต่ถา้ หากใครท�ำดีเสี ยสละก็จะ ได้รับการยกย่องชมเชยจากชุมชน จึงถือว่าจิตส�ำนึ กและความรู ้สึกเป็ นเจ้าของแหล่งน�้ำ เป็ นปั จจัยที่เสริ มสร้างให้เกิดความรู ้สึกรักและหวงแหนแหล่งน�้ำแก่ผรู ้ ับสาร ซึ่ งน�ำไปสู่ การมีส่วนร่ วมในการบริ หารจัดการน�้ำแม่ห่าง 6. ผลประโยชน์ ตอบแทนร่ วมกันของกลุ่มหรือชุ มชน ผลการศึกษาพบว่า การบริ หารจัดการในระบบเหมืองฝายท�ำให้การจัดสรรน�้ำให้ ชาวนาได้ทำ� นาได้ดีเป็ นทีน่ ่าพอใจและมีความยุตธิ รรม ไม่เกิดปัญหาการขัดแย้งในการใช้น้ ำ � ส่ วนการก�ำหนดมาตรการในการอนุ รักษ์และฟื้ นฟูแหล่งน�้ำท�ำให้ความหลากหลายทาง ชีวภาพของพืชและสัตว์เพิ่มจ�ำนวนมากขึ้น การใช้ประโยชน์จากแหล่งน�้ำในการอุปโภค บริ โภคมีเพียงพอ การใช้เป็ นแหล่งอาหารก็อุดมสมบูรณ์ ฯลฯ เหล่านี้ถือเป็ นปั จจัยในด้าน ผลประโยชน์ตอบแทนร่ วมกันของกลุ่มหรื อชุ มชนมี อิทธิ พลต่อการรั บรู ้ ข่าวสารของ ผูร้ ั บ สาร และมี อิ ท ธิ พ ลต่ อ การเข้า มามี ส่ ว นร่ ว มในการบริ ห ารจัด การแหล่ ง น�้ำ ของ คนในชุมชนให้เพิ่มมากขึ้น 7. สถานภาพทางเศรษฐกิจของชาวบ้ าน การสื่ อสารเพือ่ สร้างการมีส่วนร่ วมในการบริ หารจัดการน�้ำแม่ห่าง มีปัจจัยที่เป็ น อุปสรรคต่อการรับรู ้ข่าวสารของผูร้ ับสารและการเข้ามามีส่วนร่ วม นัน่ คือ สถานภาพทาง เศรษฐกิจ เพราะคนในชุมชนแม่ห่างมีหลากหลายด้านอาชีพและความแตกต่างด้านรายได้ แม้คนส่ วนใหญ่ในชุมชนจะมีอาชีพท�ำนาซึ่ งสภาพทางเศรษฐกิจจะอยูใ่ นระดับปานกลาง พออยูพ่ อกิน แต่ยงั มีประชาชนอีกกลุม่ หนึ่งที่ไม่มีที่ทำ� กิน มีอาชีพรับจ้าง ฐานะยากจน การ รับรู ้ข่าวสารจะรับรู ้ข่าวสารที่เกี่ยวกับปั ญหาปากท้อง การท�ำมาหากินเท่านั้นเพราะต้อง ดิ้นรนหาทางเอาชีวิตรอด การสื่ อสารในชุมชนจึงขึ้นอยูก่ บั วิถีชีวิตของคนในกลุ่มอาชีพ Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.6 No. 1 (January - June 2011)

81


นั้น ๆ ข้อมูลข่าวสารจะเป็ นการถ่ายทอดในกลุ่มอาชีพเดียวกัน เช่น ชาวบ้านที่มีอาชีพ ท�ำนาท�ำสวนจะมีวถิ ีชีวติ และสภาพเศรษฐกิจดีพอควร จะเสี ยสละก�ำลังกายก�ำลังทรัพย์มา เข้าร่ วมกิจกรรมได้มากกว่ากลุ่มของผูท้ ี่มีอาชีพรับจ้างหาเช้ากินค�่ำ กรรมกรก่อสร้างเพราะ ไม่สามารถละทิ้งหน้าที่การงาน สละรายได้มาร่ วมกิจกรรมของชุมชน นอกจากนั้น ท�ำให้ มีขอ้ จ�ำกัดในการรับรู ้ข่าวสาร ถ่ายทอดข่าวสารและการเสนอความคิดเห็น สถานภาพทางเศรษฐกิจจึงเป็ นปั จจัยส�ำคัญประการหนึ่งที่ส่งผลต่อการสื่ อสาร เพื่ อ สร้ า งการมี ส่ ว นร่ ว มของคนในชุ ม ชน สภาพครอบครั ว ที่ มี ฐ านะทางการเงิ น ดี การเข้ามามีส่วนร่ วม การเสี ยสละเพือ่ ส่วนรวม การอาสารับผิดชอบต่อชุมชนก็จะมีมากขึ้น เพราะเป็ นการแสดงออกถึงฐานะ ชื่ อเสี ยง ความมีหน้ามีตาทางสังคม สถานภาพทาง เศรษฐกิ จจึ งเป็ นปั จจัยที่ ส่งผลต่ อการเสริ มสร้ างการมี ส่ วนร่ วมในการบริ หารจัดการ น�้ำแม่ห่าง 8. วัฒนธรรมและประเพณีเฉพาะของท้ องถิน่ วัฒนธรรมและประเพณี ของชุมชนส่ งผลต่อการด�ำรงวิถีชีวิตของคนในชุมชน เพราะวัฒนธรรมและประเพณี เป็ นการสัง่ สมระเบียบ แบบแผน จารี ต แนวปฏิบตั ิ ความเชื่อ ความศรัทธา และประสบการณ์เดิมของคนในชุมชนซึ่ งน�ำมาถือมาปฏิบตั ิจนถึงปั จจุบนั การสื่ อสารจากแหล่งสารและข่าวสารที่มีเนื้อหาเกี่ยวข้องกับวิถีชีวติ ของผูร้ ับสาร จะท�ำให้ มีผลต่อการชักจูงหรื อโน้มน้าวใจให้ผรู ้ ับสารเข้ามามีส่วนร่ วม วิถีชีวิตของคนในพื้นที่ ลุ่มน�้ำแม่ห่างมีวฒั นธรรมและประเพณี ต่าง ๆ มากมาย เช่น วัฒนธรรมการเลี้ยงผีขนุ น�้ำ การสื บชะตาแม่น้ ำ � ประเพณี ลอยกระทง ประเพณี สงกรานต์ เป็ นต้น การจัดพิธีกรรมต่าง ๆ ชาวบ้านเชื่อว่ามีความศักดิ์สิทธิ์ เป็ นอย่างมาก และต้องปฏิบตั ิตามขั้นตอนอย่างเคร่ งครัด ไม่ ว่า จะเป็ นขั้น ตอนการเตรี ย มการจะต้อ งจัด ให้ถูก ต้อ ง อาศัย ความรู ้ ป ระสบการณ์ เฉพาะด้านในรายละเอี ยดของพิธีกรรม ชาวบ้านเชื่ อว่าหากท�ำไม่ ดีหรื อผิดหลักการ จะส่ งผลทางด้านจิตใจถือว่าเป็ นการลบหลู่ ดังนั้น จึงท�ำให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่ วม ในการท�ำพิธีกรรมที่เป็ นวัฒนธรรมและประเพณี ของชุมชน ในการประกอบพิธีสืบชะตาแม่น้ ำ � เลี้ยงผีขนุ น�้ำ มีการเชิญตัวแทนกลุ่มเครื อข่าย หน่วยงาน และกลุ่มผูส้ ูงอายุนอกพื้นที่เข้ามาร่ วมพิธีกรรมท�ำให้ชาวบ้านเกิดความรู ้สึกว่า แม้กระทัง่ บุคคลภายนอกยังมีความเชื่อและยอมรับในพิธีกรรม จึงท�ำให้ชาวบ้านรู ้สึกมัน่ ใจ และมี ความเชื่ อมัน่ อยากเข้าร่ วมพิธี นอกจากนี้ ยงั เป็ นแรงจูงใจให้ชาวบ้านแสดงพลัง ในการมี ส่วนร่ วม วัฒนธรรมและประเพณี ของชุ มชนทั้งแบบดั้งเดิ ม และวัฒนธรรม 82

วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปีท่ี 6 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถนุ ายน 2554)


ประเพณี ที่ประยุกต์เพื่อน�ำมาเป็ นกุศโลบายในการจัดการน�้ำ จึงส่ งผลต่อการโน้มน้าวใจ ให้ประชาชนเข้ามามี ส่วนร่ วม ซึ่ งสอดคล้องกับแนวคิ ดของสหัทยา วิเศษ และนิ คม บุญเสริ ม (อ้างแล้ว : 18) ที่กล่าวว่า การน�ำประเพณี ทอ้ งถิ่น ซึ่งเป็ นประเพณี ในพุทธศาสนา มาเชื่อมโยงกับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ โดยให้ความส�ำคัญกับประเพณี ทอ้ งถิ่นที่ จะเสริ มสร้างจิตส�ำนึกการอนุรักษ์ให้คนที่เข้ามาร่ วมงาน 9. ข้ อก�ำหนดหรือมาตรการของชุมชน การด�ำเนิ นการสื่ อสารเพื่อสร้ างการมี ส่วนร่ วมมี มาตรการในการก�ำหนดให้ ชาวบ้านเข้ามามีส่วนร่ วมในการบริ หารจัดการน�้ำแม่ห่างด้วยการออกกฎต่าง ๆ มาเป็ น ข้อบังคับ เช่น การก�ำหนดกฎเกณฑ์ของกลุม่ เหมืองฝายในการตัดไม้หลักฝายซ่อมแซมฝาย กฎเกณฑ์ก ารขุด ลอกล�ำ เหมื อ ง การเก็ บ ค่ า บ�ำ รุ ง ฝายประจ�ำ ปี การปรั บ เงิ น ที่ ไ ม่ ไ ป ร่ วมประชุมหรื อร่ วมท�ำงานตามก�ำหนด ฯลฯ ส่ วนมาตรการแก้ปัญหาของชุมชนที่อาศัย ริ มฝั่งน�้ำ ชุมชนก็ได้กำ� หนดมาตรการห้ามไม่ให้ก่อสร้างหรื อต่อเติมบ้านที่อาศัยอยูร่ ิ มฝั่งน�้ำ ห้ามซื้ อขาย ถ้ามีการย้ายออกชุมชนก็ขอพื้นที่ริมฝั่งน�้ำคืน นอกจากนั้นในชุ มชนยังได้ ก�ำหนดเขตอภัยทาน 2 แห่ง คือ หน้าวัดวังช้างและหน้าวัดเมืองชุมมีการก�ำหนดมาตรการ ในการห้ามจับสัตว์น้ ำ� ในเขตอนุ รักษ์หากใครฝ่ าฝื นก็จะปรับเป็ นเงิน แล้วส่ งด�ำเนิ นคดี ตามกฎหมาย ข้อก�ำหนดหรื อมาตรการของชุมชน เป็ นการสร้างความรู ้สึกเป็ นเจ้าของเป็ นการ เปิ ดโอกาสให้ชาวบ้านร่ วมกันก�ำหนดมาตรการหรื อกฎระเบี ยบของชุ มชน ก�ำหนด บทลงโทษ ก�ำหนดรางวัลหรื อผลประโยชน์ที่จะได้รับ เป็ นปัจจัยที่ส่งผลต่อการสื่ อสาร คือ ส่ งผลต่อผูร้ ับสารในลักษณะการถูกควบคุม หรื อบังคับให้ดำ� เนินการเข้ามามีส่วนร่ วมตาม ข้อก�ำหนดหรื อมาตรการของชุมชน 10. การส่ งเสริมจากหน่ วยงานทีเ่ กีย่ วข้ อง การส่ งเสริ มจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเป็ นปั จจัยที่สำ� คัญที่จะมีอิทธิ พลต่อสร้าง การมีส่วนร่ วมของชุมชน เพราะผูส้ ่ งสารเป็ นบุคคล หรื อคณะบุคคลที่มาจากหน่วยงาน ราชการ ข่าวสารที่ส่งให้ผรู ้ ับสารซึ่งเป็ นชาวบ้านจะมีผลต่อการเข้ามามีส่วนร่ วม โดยเฉพาะ ข่าวสารที่เป็ นความรู ้ในการประกอบอาชีพ ความรู ้ในการบริ หารจัดการ และแก้ปัญหา ที่เกิดขึ้นในวิถีชีวติ ของคนในชุมชน เช่น การได้รับการส่งเสริ มด้านเจ้าหน้าที่หรื อบุคลากร มาให้ความรู ้ความเข้าใจ การจัดสรรวัสดุอุปกรณ์ การจัดสรรงบประมาณโครงการต่าง ๆ Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.6 No. 1 (January - June 2011)

83


เพื่อให้ชาวบ้านได้ร่วมแสดงความคิด ร่ วมเสี ยสละเวลา แรงกายในการท�ำงานโครงการ หรื อกิจกรรมต่าง ๆ ในการบริ หารจัดการน�้ำที่ชุมชนจัดขึ้น เช่น เทศบาลต�ำบลเวียงชัย จัดสรรงบประมาณให้ชุมชนจัดท�ำฝายชะลอน�้ำ และจัดท�ำบันไดป้ องกันตลิ่งพัง เป็ นต้น การส่ งเสริ มจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ทั้งด้านการสนับสนุนบุคลากรให้ความรู ้ การจัดสรรงบประมาณพัฒนาแหล่งน�้ำจากองค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่น การคัดเลือก บุคลากรไปประชุม สัมมนา ศึกษา ดูงาน ตลอดจนถึงการให้ความร่ วมมือในการเข้าร่ วม กิจกรรมที่ชุมชนจัดขึ้นจึงเป็ นอีกปัจจัยหนึ่งที่ส่งผลต่อการสื่ อสารเพือ่ สร้างการมีส่วนร่ วม ในการบริ ห ารจัด การน�้ำ แม่ ห่ า ง ซึ่ ง สอดคล้อ งกับ Singhal (2001 : 89) ที่ ก ล่ า วว่า การมีส่วนร่ วมด้านการให้ความร่ วมมือจากสมาชิกภายในชุมชนและบุคคลหรื อหน่วยงาน ภายนอกชุมชนเป็ นการร่ วมกันแสวงหาแนวทางที่เหมาะสม โดยบุคคลภายนอกชุมชน จะมีบทบาทหน้าที่เฉพาะด้านการให้การสนับสนุ นในการด�ำเนิ นการ ในขณะที่บุคคล ในท้องถิ่นจะเป็ นผูต้ ดั สิ นใจด�ำเนินงาน และสอดคล้องกับ พระมหาสุ ทิตย์ อาภากโร (2547 : บทคัด ย่อ ) ที่ ศึ ก ษาพบว่ า การส่ ง เสริ ม จากหน่ ว ยงานที่ เ กี่ ย วข้อ ง เช่ น แหล่ ง ทุ น สถาบันวิชาการ หน่ วยงานวิจยั ส่ วนราชการ หรื อกองทุนสนับสนุ นต่าง ๆ เป็ นปั จจัย ที่มีความส�ำคัญต่อการพัฒนาของเครื อข่ายและกระบวนการมีส่วนร่ วม 11. เวลา การบริ หารจัดการน�้ำโดยชุมชนมีส่วนร่ วม ในการด�ำเนินงานจะมีปัจจัยเรื่ องเวลา ที่มีความส�ำคัญและมีอิทธิพลต่อการมีส่วนร่ วมของชุมชน เพราะการมีส่วนร่ วมของชุมชน เกิดจากการสร้างจิตส�ำนึ ก การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของคนในชุมชน การสื่ อสารที่จะ โน้มน้าวใจให้คนปรั บเปลี่ ยนพฤติ กรรมจึ งจ�ำเป็ นต้องมี การบ่มเพาะ การหล่อหลอม กล่อมเกลาอย่างต่อเนื่ องและเป็ นระยะเวลานาน จึงจะเกิดการเปลี่ยนแปลง และในการ จัดกิจกรรมทุกอย่างต้องจัดอย่างต่อเนื่อง สม�่ำเสมอจนกลายเป็ นวัฒนธรรมชุมชน และจะ สังเกตเห็นความจริ งใจในการมีส่วนร่ วม ฉะนั้นปัจจัยเรื่ องเวลาจึงเป็ นเครื่ องพิสูจน์ ในการอนุรักษ์ฟ้ื นฟูแหล่งน�้ำโดยการใช้พืชน�้ำบ�ำบัดน�้ำเสี ยต้องใช้เวลาในการ ฟื้ นฟู การสังเกตการณ์เปลี่ยนแปลงทางด้านความหลากหลายทางชี วภาพของแหล่งน�้ำ จะต้องใช้เวลาในการสังเกตการเปลี่ยนแปลง เช่น การสังเกตพืชหรื อสัตว์ที่สูญหายไป พืช หรื อ สัต ว์ที่ก ลับ เข้า มาอาศัย ในแหล่ ง น�้ำ ตลอดจนการแก้ไ ขปั ญ หาแหล่ งน�้ำ ต้องใช้ เวลาในการแก้ไข ปรับปรุ ง ในประเด็นปั ญหาต่าง ๆ เพื่อให้การบริ หารจัดการประสบ ผลส�ำเร็ จ ดังนั้น ปั จจัยด้านเวลาก็มีอิทธิพลต่อการสื่ อสารเพื่อการปรับเปลี่ยนทัศนคติและ 84

วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปีท่ี 6 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถนุ ายน 2554)


พฤติกรรมของผูร้ ับสาร และส่งผลในการชี้วดั ผลการปฏิบตั ิกิจกรรมว่าประสบความส�ำเร็ จ หรื อล้มเหลว 12. กฎหมายและนโยบายของรัฐ ชุ มชนท้องถิ่นมีส่วนร่ วมในเชิ งนโยบายและการปฏิบตั ิตามกฎหมายของรัฐ ในการบริ หารจัดการแหล่งน�้ำอยูห่ ลายประเด็น เช่น สถานี ประมงน�้ำจืดจังหวัดเชียงราย และประมงอ�ำเภอ แจ้งกฎหมายเกี่ยวกับการห้ามจับสัตว์น้ ำ� โดยวิธีการระเบิด การใช้ยาเบื่อ การใช้อวนหรื ออุปกรณ์ตาถี่ การใช้ยอขนาดใหญ่ในการจับปลา และห้ามจับปลาในฤดู วางไข่ เป็ นต้น ในชุมชนท้องถิ่นจะมีการท�ำอุตสาหกรรมครัวเรื อน เช่น โรงงานขนมจีน โรงงาน ท�ำความสะอาดพลาสติกเก่าเพือ่ น�ำไปรี ไซเคิล และการท�ำกระดาษสา การด�ำเนินการบ�ำบัด น�้ำเสี ยจากโรงงานเหล่านี้ จะอยู่ในความดูแลของสาธารณสุ ขอ�ำเภอเป็ นผูม้ าตรวจสอบ ในเรื่ องสภาพการจัดการสิ่ งแวดล้อมของโรงงาน การปนเปื้ อนของสาร การบ�ำบัดน�้ำเสี ย ก่อนปล่อยลงสู่แหล่งน�้ำอย่างสม�่ำเสมอ และชุมชนก็มีการตรวจสอบและผลักดันทางอ้อม ให้ผูป้ ระกอบการสนใจควบคุม ดูแลสภาพแวดล้อม จึ งส่ งผลให้ผูป้ ระกอบการเข้ามา มีส่วนร่ วมในการอนุรักษ์แหล่งน�้ำ ปั จจัยที่ ทำ� ให้ประชาชนเข้ามามี ส่วนร่ วมในเชิ งนโยบายและการปฏิ บตั ิ ตาม กฎหมายของรัฐในการบริ หารจัดการแหล่งน�้ำ เกิดจากการตระหนักในสิ ทธิ และหน้าที่ของ ประชาชนที่ตอ้ งปฏิบตั ิตามกฎหมายและนโยบายของรัฐบาลที่เกี่ยวข้องกับการบริ หาร จัดการน�้ำ การก�ำหนดกฎระเบียบหรื อก�ำหนดบทลงโทษตามกฎหมายจึงเป็ นปัจจัยที่ส่งผล ต่อการสื่ อสารคือ ส่ งผลต่อผูร้ ับสารในลักษณะการถูกควบคุมหรื อบังคับให้ดำ� เนิ นการ เป็ นการผลักดันทางอ้อมให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่ วมในการอนุรักษ์แหล่งน�้ำ

ข้ อเสนอแนะจากผลการศึกษา

1. กลยุทธ์การสื่ อสารเพื่อเสริ มสร้ างการมี ส่วนร่ วมในการบริ หารจัดการน�้ำ แม่ห่างเป็ นการใช้สื่อบุคคลที่เป็ นปราชญ์ทอ้ งถิ่นเป็ นผูร้ ู ้ผอู ้ าวุโส และภูมิปัญญาท้องถิ่น ในการใช้สื่อพิธีกรรมสร้างความรู ้ สร้างความตระหนัก ในการบริ หารจัดการแหล่งน�้ำที่ ประสบผลส�ำเร็ จควรได้รับการส่ งเสริ ม และพัฒนาสมรรถนะให้ดีย่งิ ขึ้นโดยเฉพาะการ เพิ่มพูนความรู ้ ความเข้าใจ ทักษะด้านการสื่ อสารและทักษะการบริ หารจัดการน�้ำ

Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.6 No. 1 (January - June 2011)

85


2. ปัจจัยที่มีผลต่อการสื่ อสารเพื่อเสริ มสร้างการมีส่วนร่ วมในการบริ หารจัดการ น�้ำแม่ห่างมีปัจจัยที่สำ� คัญหลายปั จจัย ทั้งปั จจัยที่เป็ นแหล่งสาร ปั จจัยเกี่ยวกับสาร ปั จจัย เกี่ยวกับช่องทางการสื่ อสาร และปัจจัยในตัวผูร้ ับสารเอง ตลอดจนปั จจัยหรื อสภาพการณ์ ที่แทรกซ้อนอื่น ๆ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง หรื อชุมชน ที่จะน�ำไปประยุกต์ใช้ในการบริ หาร จัดการทรั พยากรธรรมชาติ แบบมี ส่ วนร่ วมในบริ บทอื่ นให้ประสบผลส�ำเร็ จ ควรให้ ความส�ำคัญทุกปั จจัย 3. จากข้อค้นพบที่วา่ “เยาวชน” ถือเป็ นแหล่งสารที่เป็ นผูน้ ำ� ความคิดเห็น (Opinion Leader) ในการกระจายความรู ้และโน้มน้าวใจเรื่ องการบริ หารจัดการน�้ำของชุมชนได้อย่าง มีประสิ ทธิภาพ ดังนั้น แนวทางในการบริ หารจัดการน�้ำขั้นต่อไป ชุมชนต้องให้ความส�ำคัญ กับกลุม่ เยาวชนมากขึ้น โดยอาจส่งเสริ มด้านความรู ้และกระตุน้ ให้เยาวชนมีบทบาทในการ เป็ นผูน้ �ำ ด้า นการเผยแพร่ ค วามรู ้ ภ ายในครั ว เรื อ น โรงเรี ย น และชุ ม ชน เพื่ อ ให้เ กิ ด การอนุรักษ์แหล่งน�้ำของชุมชนแบบยัง่ ยืน 4. ควรกระตุน้ ให้องค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่ นและผูน้ ำ� ชุ มชนมี ความพร้ อม ในการพัฒนาระบบบริ หารจัดการน�้ำแบบพึ่งตนเอง ในรู ปแบบของการศึ กษาดู งาน การประชุมปรึ กษาหารื อ การจัดตั้งคณะกรรมการระดับชุมชน และการส่ งเสริ มผูร้ ู ้หรื อ ปราชญ์ชาวบ้านในการถ่ายทอดภูมิปัญญาท้องถิ่น 5. ควรถ่ายทอดองค์ความรู ้และภูมิปัญญาท้องถิ่นให้กบั เยาวชนและสถานศึกษา ในท้องถิ่นให้ได้มีโอกาสในการศึกษาเรี ยนรู ้ภูมิปัญญาท้องถิ่น ผ่านการด�ำเนิ นกิจกรรม ร่ วมกับชุมชนโดยมีปราชญ์ชาวบ้านหรื อผูร้ ู ้ในท้องถิ่นเป็ นครู ผถู ้ ่ายทอด 6. ผูน้ ำ� ชุมชนอยูใ่ นสถานะของผูน้ ำ� ความคิดที่มีอิทธิพลต่อการสื่ อสารเพื่อสร้าง การมีส่วนร่ วม และมีบทบาททั้งที่เป็ นทางการ และไม่เป็ นทางการ จึงควรท�ำการศึกษา บทบาทและอิทธิพลของสื่ อบุคคลที่มีผลต่อการมีส่วนร่ วมในการบริ หารจัดการทรัพยากร ในท้องถิ่น 7. การเสริ มสร้างการมีส่วนร่ วมในการบริ หารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่ งแวดล้อมในท้องถิ่น ที่ประสบผลส�ำเร็จจะเกิดจากการรวมตัวกันของกลุม่ เครื อข่ายต่าง ๆ ในชุมชน ฉะนั้นจึงสมควรให้มีการศึกษาโครงสร้างขององค์กรเครื อข่าย และบทบาท เครื อข่ายในการเสริ มสร้างการมีส่วนร่ วมในชุมชน

86

วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปีท่ี 6 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถนุ ายน 2554)


รายการอ้ างอิง ภาษาไทย กรมควบคุ ม มลพิ ษ . (2548). รายงานสถานการณ์ ม ลพิษ ของประเทศไทย ปี 2548. กรุ งเทพมหานคร : ส�ำนักงานนโยบายและแผนฯ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่ งแวดล้อม. กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อม.กรมทรัพยากรน�้ำ. (2548). เอกสารโครงการ บริหารจัดการทรัพยากรน�ำ้ ในพืน้ ทีล่ ่มุ น�ำ้ มูล. กรุ งเทพมหานคร : ส�ำนักนโยบาย และแผนทรัพยากรน�้ำ. กาญจนา แก้วเทพ. (2549). แด่ การสื่ อสาร. กรุ งเทพมหานคร : ส�ำนักงานกองทุนสนับสนุน การวิจยั . กาญจนา แก้วเทพ. (2552). สื่ อเล็กๆ ทีน่ ่ าใช้ ในงานพัฒนา. กรุ งเทพมหานคร : ส�ำนักงาน กองทุนสนับสนุนการวิจยั . กาญจนา เชียงทอง และคณะ. (2549). การอนุรักษ์ และการจัดการน�้ำของชุ มชนชาวแพ บริ เ วณรอยต่ อแม่ น�้ ำ แควใหญ่ แควน้ อยและแม่ กลอง จ.กาญจนบุ รี . กรุ งเทพมหานคร : ส�ำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา. เกศินี จุฑาวิจิตร. (2548). การสื่อสารเพือ่ การพัฒนาท้องถิน่ . นครปฐม : มหาวิทยาลัยราชภัฏ นครปฐม. ชัยพันธ์ ประภาสะวัต และคณะ. (2550). การจัดการทรัพยากรน�ำ้ และแก้ ไขปัญหาภัยแล้ ง โดยชุ มชนใต้ อ่างเก็บน�้ำแม่ มอก อ.ทุ่งเสลี่ยม จ.สุ โขทัย. กรุ งเทพมหานคร : ส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจยั . นิลบุ ล แสนอาทิตย์. (2547). กระบวนการสื่อสารในการอนุรักษ์นำ�้ ของต�ำบลไหล่น่าน อ�ำเภอ เวียงสา จังหวัดน่ าน. วิทยานิพนธ์ นศ.ม.(นิเทศศาสตร์) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กรุ งเทพมหานคร. ปรมะ สตะเวทิน. (2549). การสื่ อสารแบบมีส่วนร่ วมและการพัฒนาชุ มชน : จากแนวคิด สู่ การปฏิ บั ติก ารวิจัย ในสั งคมไทย. กรุ งเทพมหานคร : ส�ำ นัก งานกองทุ น สนับสนุนงานวิจยั . ปาริ ชาติ สถาปิ ตานนท์และคณะ. (2549). การสื่ อสารแบบมีส่วนร่ วมและการพัฒนาชุมชน : จากแนวคิดสู่ การปฏิบัตกิ ารวิจัยในสั งคมไทย. กรุ งเทพมหานคร : ส�ำนักงาน กองทุนสนับสนุนงานวิจยั . ปาริ ชาติ วลัยเสถียร และคณะ. (2546). กระบวนการและเทคนิคการท�ำงานของนักพัฒนา. กรุ งเทพมหานคร: โครงการส่ งเสริ มการเรี ยนรู ้เพื่อชุมชนเป็ นสุ ข. Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.6 No. 1 (January - June 2011)

87


สหัทยา วิเศษ และนิคม บุญเสริ ม. (2547). การจัดการลุ่มน�ำ้ โดยชุ มชน. กรุ งเทพมหานคร : โรงพิมพ์เดือนตุลา. เสถียร เชยประทับ. (2528). การสื่ อสารกับการพัฒนา. กรุ งเทพมหานคร : เจ้าพระยา การพิมพ์. อรวรรณ ปิ ลันธน์โอวาท. (2549). การสื่ อสารเพื่อการโน้ มน้ าวใจ. กรุ งเทพมหานคร : ส�ำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ภาษาอังกฤษ Middlebrook. P. N. Social Psychology and Modern Life. New York : Alfred A.Knopf, 1974.

88

วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปีท่ี 6 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถนุ ายน 2554)


การเปลีย่ นแปลงทางด้ านการค้ าการลงทุนในจังหวัดเชียงราย ในรอบ 60 ปี (พ.ศ.2489-2550) : กรณีศึกษาการเปลีย่ นแปลง ทางด้ านการค้ าการลงทุนของธุรกิจย่ านถนนธนาลัย Change in business and investment in Chiangrai Province over the past 60 years (1946-2007) : in case studies on the change of business and investment in the Thanalai Road บทคัดย่ อ

เฉลิมชัย ค�ำแสน*

ถนนธนาลัยมี บทบาทส�ำคัญทางการค้าตั้งแต่ช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 โดย กระทรวงเศรษฐการ (กระทรวงพาณิชย์ในปัจจุบนั ) ได้จดั ตั้งบริ ษทั เชียงรายจังหวัดพาณิ ชย์ จ�ำกัด ซึ่งตั้งอยูบ่ นถนนธนาลัย เพือ่ ช่วยเหลือประชาชนในช่วงเริ่ มสงครามโลกครั้งที่ 2 และ มีบทบาทอย่างมากในระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 2 เนื่ องจากเป็ นช่วงที่สินค้าขาดแคลน อย่างมาก บริ ษทั แห่ งนี้ จึงท�ำหน้าที่ในการจัดหาสิ นค้าที่มีความจ�ำเป็ นต่อการด�ำรงชี พ มาจัดจ�ำหน่ ายในราคาที่เหมาะสม ด้วยการกระจายสิ นค้าไปยังอ�ำเภอต่างๆ ในจังหวัด เชี ยงราย โดยตัวแทนการค้าทุกอ�ำเภอจะต้องมาที่ถนนธนาลัยเพื่อรับสิ นค้าจากบริ ษทั เชียงรายจังหวัดพาณิ ชย์จำ� กัดไปจ�ำหน่าย และเมื่อสงครามโลกครั้งที่ 2 สิ้นสุ ดลง ก็มีกิจการ ที่ทำ� การค้าบนถนนธนาลัยใกล้ ๆ กับที่ต้ งั ของบริ ษทั เชียงรายจังหวัดพาณิ ชย์จำ� กัดมากขึ้น เรื่ อย ๆ ท�ำให้ถนนธนาลัยกลายเป็ นแหล่งการค้าที่สำ� คัญที่สุดในจังหวัดเชี ยงรายตั้งแต่ สงครามโลกครั้งที่ 2 สิ้ นสุ ดลง ในรอบ 20 ปี แรกปี พ.ศ. 2489 - พ.ศ. 2510 จากการที่บริ ษทั จังหวัดเชียงราย พาณิ ชย์จำ� กัด ซึ่ งตั้งบนถนนธนาลัยมีบทบาทส�ำคัญอย่างมากในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 และเมื่อสงครามสิ้ นสุ ดลงก็มีกิจการที่ทำ� การค้าบนถนนธนาลัยมากขึ้นเรื่ อย ๆ จึงท�ำให้ ถนนธนาลัยกลายเป็ นแหล่งการค้าที่สำ� คัญที่สุดในจังหวัดเชียงรายในช่วงเวลานั้น โดย ปัจจัยที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงทางด้านการค้าการลงทุนของธุรกิจย่านถนนธนาลัย ได้แก่ * บริ หารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (2536) ปัจจุบนั เป็ นผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ประจ�ำโปรแกรม วิชาบริ หารธุรกิจ (การตลาด) คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.6 No. 1 (January - June 2011)

89


ไฟไหม้ครั้งใหญ่ในปี พ.ศ. 2494 การมีโรงภาพยนตร์บนถนนธนาลัย และการเสด็จฯ เยือน เชียงรายครั้งแรกของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ฯ และสมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถ ในรอบ 20 ปี ที่สอง ปี พ.ศ. 2411 - พ.ศ. 2530 กิจการที่ทำ� การค้าบนถนนธนาลัย มีจำ� นวนมากขึ้นเรื่ อย ๆ เนื่ องจากความเป็ นย่านการค้าที่สำ� คัญที่สุดของเชียงรายจึงเป็ น แรงดึงดูดให้มีผทู ้ ี่สนใจเข้ามาลงทุนจ�ำนวนมาก ถนนธนาลัยจึงมีความส�ำคัญต่อเศรษฐกิจ ของเชี ยงรายเป็ นอย่างมาก ซึ่ งนอกจากกิ จการท้องถิ่ นทั้งที่ ต้ งั อยู่เดิ มและจากที่ อื่น ๆ แล้ว ยังมีกิจการจากส่ วนกลางของประเทศเข้ามาเปิ ดกิจการในเชียงราย โดยเฉพาะอย่างยิง่ การเข้ามาของธุรกิจทางการเงิน เช่น ธนาคาร และ บริ ษทั เงินทุนหลายแห่ง ซึ่ งการเข้ามา ด�ำเนิ นงานของธุ รกิจทางการเงินบนถนนธนาลัยยิ่งท�ำให้ถนนสายนี้ เป็ นย่านเศรษฐกิ จ ที่สำ� คัญที่สุดของเชียงรายเพราะเป็ นทั้งศูนย์กลางของหน่วยงานราชการ ศูนย์กลางทางด้าน การค้า และศูนย์กลางทางด้านการเงิน ส�ำหรับปั จจัยที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงทางด้าน การค้าการลงทุนของธุรกิจย่านถนนธนาลัยในรอบ 20 ปี ที่สองนี้ได้แก่ การมีสถานีขนส่ ง แห่ งใหม่ ในปี พ.ศ. 2514 ซึ่ งเป็ นจุดเปลี่ยนที่สำ� คัญของท�ำเลการค้าในตัวเมืองเชียงรายที่ ท�ำให้เกิดท�ำเลการค้าแห่งใหม่ข้ ึนมาแข่งกับท�ำเลการค้าย่านถนนธนาลัย ในรอบ 20 ปี ที่สาม ปี พ.ศ. 2431 - พ.ศ. 2550 กิจการในช่วงนี้มีท้ งั กิจการดั้งเดิม จากยุคแรกๆ หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 และกิ จการที่เกิ ดขึ้นใหม่ในยุคหลัง ตัวอาคาร ส่ วนใหญ่เป็ นตึกเกือบทั้งหมด ส�ำหรับในช่วงต้นของรอบ 20 ปี ที่สามนี้เศรษฐกิจของไทย มีการเติบโตอย่างมาก ซึ่ งส่ งผลดีไปทัว่ ประเทศ โดยเชียงรายก็เป็ นจังหวัดหนึ่ งที่ได้รับ ผลดีจากเศรษฐกิจที่มีการเติบโต ท�ำให้เกิดการลงทุนในด้านต่างๆ มากมายในเชียงราย แต่ การลงทุนส่วนใหญ่กลับไม่ได้อยูใ่ นย่านการค้าบนถนนธนาลัย แต่กระจายไปยังท�ำเลอื่นๆ ส�ำหรับปั จจัยที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงทางด้านการค้าการลงทุนของธุ รกิ จย่านถนน ธนาลัย ในรอบ 20 ปี ที่ ส ามนี้ ได้แ ก่ การที่ เ ศรษฐกิ จ ของประเทศไทยดี ม ากในช่ ว ง ปี พ.ศ.2531-พ.ศ.2534 ปั ญหาการจราจร การเกิ ดโครงการพัฒนาดอยตุง เหตุการณ์ที่ ประเทศไทยเผชิญกับวิกฤตทางการเงินในปี พ.ศ. 2540 และการที่บิ๊กซี ซุปเปอร์เซ็นเตอร์ มาตั้งยังจังหวัดเชียงราย ค�ำส� ำคัญ : การเปลี่ยนแปลงด้านการค้าการลงทุน ถนนธนาลัย

90

วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปีท่ี 6 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถนุ ายน 2554)


Abstract Thanalai Road has a very important role in terms of business since World War II. The Ministry of Economic Affairs (or the Ministry of Commerce at the present) has established the Chiag-rai Commerce Company Limited, situated on Thanalai Road, for the purpose of helping people during the beginning of the World War II, had a very important role during the war, as there was a limited supply of goods. The company procured all necessary supplies and distributed at a very reasonable price, by distributing to all districts in Chiangrai. Agents from each district has to come to Thanalai Road to receive products from the company for sales. When the war was terminated, business on Thanalai Raod continued to increase, that makes Thanalai Road to become an important business area in Chiangrai. For the first twenty years (1946-1967), Chiangrai Commerce Company Limited situated on Tanalai Road, it had an important role during World War II. And then, when the war terminated, business in that area was increasingly used. Which in turn, made Tanalai Road to be a very important area for doing business at that time. The factors that affects changes in trade, investment, and business on Thanalai Road, was the fire in the year 2954, the movie theater, and the first visit by King Bhumibhol and Queen Sririkit. The next twenty years saw (1968-1987), the number of businesses on Thanalai Road increase, because of the important role of that area attracted investors to makes more investments in the area. Thanalai Road then became to be the very significant to Chiangrai's economy. Local business people, and from the elsewhere; and from the center of the country came to the area and opened businesses in Chiangrai; especially, financial related businesses for example: bank and funding companies. These factors make Thanalai Road the most important economic area in Chiangrai, as a center of government sector, trading sector, and financial sector. Factors that affect the change of trade, investment, and business on Thanalai Road during this period, is the new bus station in 1971, which developed the area surrounding the station to become a new competitive business area. In the latter twenty years (1988-2007), businesses at this time were encompassed from the early period, World War II and new businesses. Most of the businesses in the Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.6 No. 1 (January - June 2011)

91


area are in buildings. For the early of this third period, Thailand’s economy was expanding and has had a positive effect nationwide, including Chiangrai province, which has caused the investment. However, most of the investment was not on Thanalai road, but also spread to the other locations. Factors that affect the change of trade, investment, and business on Thanalai Road in this period are the improvement of the economy of Thailand during the years 1988-1991, traffic problems, Doi Tung Development Project, and Bic C Supercenter. Keywords : Change in business and investment, Thanalai Road

บทน�ำ

จังหวัดเชียงรายเป็ นจังหวัดที่อยูเ่ หนือสุ ดของประเทศไทย ซึ่ งมีชายแดนติดกับ ประเทศพม่าและประเทศลาว ประกอบกับมีภมู ิประเทศที่เป็ นภูเขา โดยมีชาวเขาเผ่าต่าง ๆ มากมาย มีสถานที่ท่องเที่ยวหลากหลายและมีอากาศที่เย็นสบายตลอดปี ท�ำให้จงั หวัด เชียงรายเป็ นที่สนใจในการเข้ามาท่องเที่ยวของนักท่องเที่ยวทั้งชาวไทยและชาวต่างชาติ ปั จจุบนั การท่องเที่ยวเป็ นหนึ่ งในรายได้หลักของจังหวัดเชียงราย นอกจากนี้รายได้หลัก ยังมาจากทางด้านการเกษตรและการค้าชายแดน อย่างไรก็ตาม ในอดีตหลายสิ บปี ที่ผา่ นมา จังหวัดเชียงรายเป็ นจังหวัดที่เน้นด้านการเกษตรเป็ นหลัก โดยเป็ นแหล่งปลูกข้าวที่สำ� คัญ ของประเทศ ส่ วนด้านการค้าการลงทุนยังมีนอ้ ย ซึ่งแหล่งการค้าที่สำ� คัญในอดีตอยูใ่ นย่าน ถนนธนาลัยกลางตัวเมืองเชียงราย ถนนธนาลัยนั้นมีบทบาทส�ำคัญทางการค้าอย่างมาก ตั้งแต่ช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 และเมื่อสงครามสิ้ นสุ ดก็มีกิจการที่ทำ� การค้าบนถนน ธนาลัยมากขึ้นเรื่ อย ๆ ซึ่ งถือเป็ นจุดเริ่ มต้นของย่านการค้าที่สำ� คัญของเชี ยงรายนับจาก สงครามโลกครั้งที่ 2 สิ้ นสุ ดลง จากนั้นความเจริ ญในย่านถนนธนาลัยก็มีมากขึ้นเรื่ อย ๆ จนถึงจุดหนึ่งที่ยา่ นการค้าแห่งนี้เริ่ มอิ่มตัว และจากนั้นก็เข้าสู่ช่วงถดถอย โดยลักษณะของ ย่านถนนธนาลัยที่ถือว่าเป็ นย่านการค้าที่สำ� คัญของเชียงรายซึ่งลักษณะคล้ายกับย่านการค้า บนถนนท่าแพที่เป็ นย่านการค้าที่สำ� คัญในอดีตของเชียงใหม่ และย่านการค้าสบตุ๋ยที่เป็ น ย่านการค้าที่สำ� คัญในอดีตของล�ำปาง

92

วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปีท่ี 6 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถนุ ายน 2554)


ลักษณะทัว่ ไปของถนนธนาลัย

ถนนธนาลั ย เป็ นถนนกลางตั ว เมื อ งเชี ย งราย เดิ ม ชื่ อ ถนนกองเวี ย ง (กอง=ถนน,หนทาง)สร้างโดยเจ้าหลวงอุ่นเรื อน เมื่อปี พ.ศ 2400-2410 โดยเริ่ มจาก 4 แยก ประตูเชียงใหม่ ผ่าน 4 แยกสุ ริวงค์ ผ่าน 4 แยกสรรพสามิต ผ่าน 4 แยกเศรษฐการ ผ่าน 4 แยกศาล ผ่าน 4 แยกเรื อนจ�ำ (4 แยกสวนตุง) ถึง 4 แยกหนองสี่ แจ่ง (เชื่อมต่อถนน หนองสี่ แจ่ง ออกไปที่ประตูยางเสิ้ ง) และได้เปลี่ยนชื่อเป็ นถนนธนาลัยเมื่อปี พ.ศ.2476 หลังการเปลี่ยนแปลงการปกครองระบอบประชาธิปไตย ในอดีตที่ผา่ นมานั้นถนนธนาลัย เป็ นที่ต้ งั ของหน่วยราชการหลายหน่วยงาน อาทิ จวนผูว้ า่ ราชการจังหวัด ส�ำนักงานศาล จังหวัดเชียงราย ส�ำนักงานอ�ำเภอเมืองเชียงราย เรื อนจ�ำจังหวัดเชียงราย (ปั จจุบนั ได้ยา้ ย ไปแล้ว) ส�ำนักงานเศรษฐการจังหวัด (ปัจจุบนั เปลี่ยนชื่อเป็ นส�ำนักงานพาณิ ชย์จงั หวัดและ ได้ยา้ ยไปแล้ว) ส�ำนักงานสรรพสามิตจังหวัดเชียงราย (ปั จจุบนั ได้ยา้ ยไปแล้ว) โรงเรี ยน การช่างสตรี เชียงราย(ปัจจุบนั คือวิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงราย) และส�ำนักงานยาสูบเชียงราย เป็ นต้น นอกจากนี้ สถาบันการเงินหลายแห่งที่มาเปิ ดด�ำเนินการในจังหวัดเชียงราย ก็เริ่ ม เปิ ดสาขาแรกที่ ถนนธนาลัย เช่ นธนาคารกรุ งเทพจ�ำกัด ธนาคารกรุ งเทพพาณิ ชยการ ธนาคารไทยพาณิ ชย์จำ� กัด ธนาคารออมสิ น บริ ษทั ไทยเงินทุน และธนาคารทหารไทย เป็ นต้น รวมทั้งมีตลาดสดเทศบาลและร้านค้าส�ำคัญของเชียงรายหลายกิจการด�ำเนินการ ในย่านถนนแห่ งนี้ เช่นกัน นอกจากนี้ ยงั มีโรงภาพยนตร์ ที่ช่วยสร้างความบันเทิงให้กบั คนเชียงราย 2 แห่งคือ โรงภาพยนตร์สุริวงค์ และโรงภาพยนตร์ราชา รวมทั้งยังมีโรงแรม และร้านค้าต่างๆ จ�ำนวนมาก ถึงแม้วา่ กิจการหลายแห่งได้ปิดด�ำเนินการไปแล้ว แต่กถ็ ือว่า ถนนธนาลัยนั้นเป็ นทั้งย่านของหน่วยงานราชการ ย่านธุรกิจการเงิน ย่านความบันเทิง และ ย่านการค้าที่สำ� คัญของเชียงรายในอดีตที่ผา่ นมา

สภาพทัว่ ไปทางด้ านการค้ าของเชียงรายในช่ วงสงครามโลกครั้งที่ 2

สงครามโลกครั้งที่ 2 เริ่ มขึ้นในยุโรปตั้งแต่ พ.ศ. 2482 เมื่ออังกฤษและฝรั่งเศส ประกาศสงครามกับเยอรมันแล้วขยายลุกลามเป็ นสงครามโลก ทางด้านเอเชี ย ญี่ ปุ่น ได้ประกาศสงครามสัมพันธมิตรเมื่อวันที่ 7 ธันวาคม พ.ศ. 2484 และในวันที่ 8 ธันวาคม พ.ศ. 2484 กองทหารญี่ ปุ่ นก็ เ ข้า เมื อ งไทยทางสงขลา ปั ต ตานี ประจวบคี รี ขัน ธ์ นครศรี ธรรมราช สุ ราษฎร์ และสมุทรปราการ ขณะเดียวกันญี่ปุ่นก็เข้าโจมตีเกาะ ฮาวาย ฟิ ลิปปิ นส์ และส่ งทหารขึ้นบกที่มลายู และโจมตีสิงคโปร์ทางเครื่ องบิน ในส่ วนของไทย เอกอัครราชทูตญี่ปนได้ ุ่ ขอร้องรัฐบาลไทยให้ทหารญี่ปุ่นเดินทัพผ่านไทยเพือ่ ไปโจมตีพม่า Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.6 No. 1 (January - June 2011)

93


และขอให้ ร ะงับ การต่ อ ต้า นของคนไทยเสี ย ซึ่ งคณะรั ฐ มนตรี โ ดยมี จ อมพลแปลก พิบูลสงคราม เป็ นนายกรัฐมนตรี กอ็ นุโลมตามความต้องการของญี่ปุ่น เพื่อรักษาชีวติ และ เลือดเนื้ อของคนไทย โดยไทยได้ทำ� กติกาสัมพันธไมตรี กบั ญี่ปุ่นเมื่อวันที่ 21 ธันวาคม พ.ศ. 2484 ซึ่ งสงครามที่ เ กิ ด ขึ้ น ในเอเชี ย นี้ เรี ย กว่า สงครามมหาเอเชี ย บู ร พา ญี่ ปุ่ น มีวตั ถุประสงค์จะสร้างวงศ์ไพบูลย์มหาเอเชียบูรพา (The Greater East Asia Co-prosperity Sphere) ทั้งในทางวัฒนธรรม การเมือง และเศรษฐกิจ ซึ่ งประกอบด้วยประเทศต่าง ๆ ในเอเชี ย โดยมีญี่ปุ่นเป็ นผูน้ ำ � ในระยะเริ่ มแรกของสงคราม กองทัพญี่ปุ่นมีชยั ชนะทั้ง ทางบก ทางเรื อ และทางอากาศ ท�ำให้รัฐมนตรี บางคนในขณะนั้นเห็นควรให้ไทยประกาศ สงครามกับอังกฤษ และสหรัฐอเมริ กา ด้วยคิดว่าญี่ปุ่นจะชนะสงครามไทยจึงได้ประกาศ สงครามเมื่อวันที่ 25 มกราคม พ.ศ. 2485 โดยระหว่างสงครามนั้น ญี่ปุ่นได้โอนดินแดน บางแห่ งที่ยดึ ได้จากอังกฤษคืนให้แก่ไทย คือ รัฐไทรบุรี กลันตัน ตรังกานู ปะลิส และ สองรัฐในแคว้นไทยใหญ่ คือ เชียงตุง และเมืองพาน โดยการยึดสองรัฐในแคว้นไทยใหญ่ ของพม่านั้นญี่ปุ่นต้องเดินทางผ่านหลายจังหวัดในประเทศไทย โดยเฉพาะจังหวัดเชียงราย ที่เป็ นชายแดนติดกับพม่า จึงเป็ นจุดยุทธศาสตร์สำ� คัญของญี่ปุ่นในยึดรัฐของพม่า ในช่วงสงคราม เชียงรายจึงเป็ นฐานทัพของทหารญี่ปุ่นและทหารไทยที่ไปรบ ในพม่า โรงเรี ยนหลายแห่งต้องปิ ดหรื อย้ายไปสอนตามอาคารชัว่ คราวเนื่องจากต้องใช้เป็ น ที่พกั ของทหาร เช่นโรงเรี ยนสามัคคีวิทยาคม โรงเรี ยนด�ำรงราษฎร์ สงเคราะห์ โรงเรี ยน บ้านสันโค้ง ฯลฯ โรงพยาบาลในเชียงรายทั้งโรงพยาบาลเชียงรายประชานุเคราะห์และ โรงพยาบาลโอเวอร์บรุ๊ คในภาวะสงครามก็กลายเป็ นโรงพยาบาลทหาร ในส่วนของสภาวะ เศรษฐกิจช่วงสงครามนั้น กิจการต่างๆ ที่คา้ ขายมีนอ้ ยมาก คนจีนที่ส่วนใหญ่เป็ นเจ้าของ กิจการในเชียงรายต่างถูกให้อพยพออกจากเชียงรายไปยังจังหวัดต่างๆ ในภาคกลาง และ ภาคเหนือตอนล่าง ตัวเมืองเชียงรายในช่วงสงครามจึงเงียบมาก เนื่องจากการค้าหยุดชะงัก ผูค้ นอพยพออกไปหาที่ปลอดภัยเนื่องจากตัวเมืองมีการทิ้งระเบิด แม้แต่หน่วยงานราชการ ต่างๆ ซึ่ งส่ วนใหญ่ต้ งั อยู่บนถนนธนาลัยก็หลบภัยสงครามไปด�ำเนิ นงานที่บา้ นหัวฝาย ประกอบกับมี ศพทหารที่ ลม้ ตายจากการท�ำสงครามจ�ำนวนมากที่ ถูกทิ้ งตามจุ ดต่ างๆ ในตัวเมืองเชียงราย ในสภาพเช่นนี้ผคู ้ นจึงไม่ค่อยออกจากบ้าน โดยเฉพาะช่วงกลางคืน เป็ นบรรยากาศที่น่ากลัวมาก สภาวะทางเศรษฐกิจของเชียงรายในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 นี้จึงถือว่าตกต�่ำที่สุด ในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 การค้าต่างๆ ในจังหวัดเชียงรายที่ยตุ ิไปเกือบทั้งหมด แต่ยงั มีร้านค้าขนาดเล็กบางร้านเปิ ดกิจการ รวมทั้งการค้าของชาวบ้านที่หาบผัก ผลไม้ หรื อ 94

วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปีท่ี 6 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถนุ ายน 2554)


เนื้ อสัตว์จำ� หน่ายตามตลาด หรื อหาบขายตามบ้าน เพราะถึงแม้จะอยูใ่ นสภาวะสงคราม แต่ความจ�ำเป็ นด้านอาหารก็ยงั มีอยู่ การขายสิ นค้าเล็ก ๆ น้อย ๆ ของชาวบ้านก็มีอยู่ ประปรายในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 นี้ แต่การค้าเช่นนี้ จะอยูใ่ นรัศมีใกล้ ๆ เนื่ องจาก ในยุคสมัยนั้นการเดินทางยังไม่สะดวก เพราะรถยนต์ยงั มีนอ้ ยมาก รถจักรยานยนต์ยงั ไม่มี และรถจักรยานก็ยงั ถือว่ามีนอ้ ยเพราะราคายังนับว่าสู งมากหากเปรี ยบเทียบตามค่าเงิน ในสมัยนั้น สิ นค้าที่ขายจึงเป็ นสิ นค้าที่ชาวบ้านเพาะปลูกเองและจ�ำหน่ายในรัศมีที่ตนเอง จะสามารถหาบไปไหว และมีรายได้เพียงเล็กน้อยเนื่ องจากช่ วงสงครามผูค้ นไม่นิยม ออกมาจับจ่ายใช้สอย ขณะเดียวกันในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 นี้ รัฐบาลได้มีมาตรการ ในการควบคุ มสิ นค้าเพื่อไม่ ให้เกิ ดการขาดแคลน โดยในจังหวัดเชี ยงรายหน่ วยงาน ที่รับผิดชอบในด้านนี้คือ บริ ษทั เชียงรายจังหวัดพาณิ ชย์จำ� กัด ซึ่งตั้งอยูใ่ นย่านถนนธนาลัย

บทบาทของถนนธนาลัยในด้ านการค้ าของจังหวัดเชียงราย

เมื่ อการค้าต่างๆ ในจังหวัดเชี ยงรายยุติไปเกื อบทั้งหมดในช่ วงสงครามโลก ครั้งที่ 2 แต่รัฐบาลโดยกระทรวงเศรษฐการ (กระทรวงพาณิ ชย์ในปัจจุบนั ) ได้จดั ตั้งบริ ษทั เชียงรายจังหวัดพาณิ ชย์จำ� กัด บนถนนธนาลัย บริ เวณ 4 แยกเศรษฐการ (4 แยกธนาคาร ออมสิ นในปั จจุบนั )โดยมีวตั ถุประสงค์เพื่อช่วยเหลือประชาชนในช่วงเริ่ มสงครามโลก ครั้งที่ 2 และมีบทบาทอย่างมากในระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 2 เนื่องจากเป็ นช่วงที่สินค้า ขาดแคลนอย่างมาก บริ ษทั แห่ งนี้ จึงท�ำหน้าที่ในการจัดหาสิ นค้าที่มีความจ�ำเป็ นต่อการ ด�ำรงชีพมาจัดจ�ำหน่ายในราคาที่เหมาะสม บริ ษทั จังหวัดเชียงรายพาณิ ชย์จำ� กัดเริ่ มก่อตั้ง ในปี พ.ศ. 2483 บริ ษทั แห่งนี้ได้จดั จ�ำหน่ายสิ นค้าควบคุม เช่น ข้าวสาร น�้ำตาล ไม้ขีด บุหรี่ น�้ำมันก๊าด ฯลฯ โดยเฉพาะในสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 นั้นไม่มีไฟฟ้ าใช้ น�้ำมันก๊าด และ ไม้ขีด จึงเป็ นสิ่ งจ�ำเป็ น ไม้ขีดที่จำ� หน่ายในสมัยนั้นมาจากหลายบริ ษทั เช่น บริ ษทั หมิ่นแซ จ�ำกัด ซึ่งจ�ำหน่ายตรานกแก้ว และตรารถกูบ บริ ษทั ตังอาจ�ำกัด เป็ นผูจ้ ำ� หน่ายตรามิกกี้เมาท์ และตราแมว นอกจากนี้ยงั มีบริ ษทั สยามแมตซ์แฟ็ กเตอรี่ จำ� กัด ซึ่งต่อมาภายหลังเปลี่ยนชื่อ เป็ นบริ ษทั ไม้ขดี ไฟไทยจ�ำกัด จ�ำหน่ายตราธงไตรรงค์ และตราพระยานาค โดยบริ ษทั ทีไ่ ด้ส่ง ไม้ขีดมาจ�ำหน่ายในเชียงรายส่ วนใหญ่จะเป็ นบริ ษทั หมิ่นแซจ�ำกัด และบริ ษทั ตังอาจ�ำกัด สิ นค้าที่จำ� หน่ายโดยบริ ษทั เชียงรายจังหวัดพาณิ ชย์จำ� กัดจะควบคุมไม่ให้จำ� หน่ายเกินราคา ที่กำ� หนด และบางรายการจะควบคุมปริ มาณการขาย โดยจัดจ�ำหน่ายให้กบั ตัวแทนร้านค้า ในอ�ำเภอต่าง ๆ ทัว่ จังหวัดเชียงราย จึงถือได้วา่ บริ ษทั แห่งนี้มีความส�ำคัญอย่างมากเนื่องจาก ต้องให้ประชาชนชาวเชียงรายทัว่ ทุกอ�ำเภอมีสินค้าจ�ำเป็ นเหล่านี้ใช้อย่างพอเพียง ดังนั้นจึง Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.6 No. 1 (January - June 2011)

95


ถือได้วา่ บริ ษทั เชียงรายจังหวัดพาณิ ชย์จำ� กัดเป็ นกิจการที่มีบทบาทส�ำคัญที่สุดต่อการค้า ของเชียงรายในระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 2 และท�ำให้ถนนธนาลัยซึ่งเป็ นที่ต้ งั ของบริ ษทั เชี ยงรายจังหวัดพาณิ ชย์จำ� กัดเป็ นแหล่งส�ำคัญของการกระจายสิ นค้าไปยังอ�ำเภอต่างๆ ในจังหวัดเชียงราย โดยตัวแทนการค้าทุกอ�ำเภอจะต้องมาที่ถนนธนาลัยเพื่อรับสิ นค้าจาก บริ ษทั เชียงรายจังหวัดพาณิ ชย์จำ� กัดไปจ�ำหน่าย และเมื่อสงครามโลกครั้งที่ 2 สิ้ นสุ ดลงใน ปี พ.ศ. 2488 ท�ำให้ถนนธนาลัยกลายเป็ นแหล่งการค้าที่ส�ำคัญที่สุดในจังหวัดเชี ยงราย เนื่ องจากบริ ษทั เชี ยงรายจังหวัดพาณิ ชย์จำ� กัดยังมี บทบาทส�ำคัญ ประกอบกับกิ จการ ที่ ท ำ� การค้า บนถนนธนาลัย ใกล้ ๆ กับ ที่ ต้ งั ของบริ ษ ทั เชี ย งรายจัง หวัด พาณิ ช ย์จำ� กัด เริ่ มมี มากขึ้นเรื่ อย ๆ ยิ่งเป็ นจุดดึ งดูดในทางธุ รกิ จที่ มากขึ้นเนื่ องจากถนนธนาลัยเป็ น ศูนย์กลางที่มีสินค้าหลากหลายที่สุดในเชียงรายทั้งการค้าส่ งและการค้าปลีก ประชาชน ทั้งในตัวเมืองเชียงรายและต่างอ�ำเภอต่างนิยมมาจับจ่ายสิ นค้าที่ยา่ นถนนธนาลัย ซึ่ งเมื่อมี ผูซ้ ้ื อ มากขึ้ น ร้ า นค้า ก็ มี เ พิ่ ม ขึ้ น และเมื่ อ มี ร้ า นค้า เพิ่ ม ขึ้ น ผูซ้ ้ื อ ก็ ยิ่ ง มากขึ้ น เป็ นล�ำ ดับ ประเด็น นี้ จึ ง เป็ นเหตุ ผ ลส�ำ คัญ ที่ ย่า นถนนธนาลัย กลายเป็ นย่า นการค้า ที่ ส�ำ คัญ ที่ สุ ด ในจังหวัดเชียงรายนับตั้งแต่สงครามโลกครั้งที่ 2 สิ้ นสุ ดลง

การค้ าการลงทุนบนถนนธนาลัยในช่ วงต่ าง ๆ

นับตั้งแต่สงครามโลกครั้งที่ 2 สิ้ นสุ ดในปลายปี พ.ศ. 2488 และถือว่าปี พ.ศ. 2489 เศรษฐกิจของเชียงรายเริ่ มฟื้ นตัว การค้าการลงทุนเริ่ มมีมากขึ้นโดยเฉพาะในย่านการค้าที่ ถนนธนาลัย หากนับตั้งแต่ปีพ.ศ. 2489 ถึงปี พ.ศ. 2550 ก็ถือว่าผ่านมาประมาณ 60 ปี ซึ่ ง นับ ว่า เป็ นเวลานานพอสมควรที่ ท ำ� ให้เ ห็ น ถึ ง การค้า การลงทุ น บนถนนธนาลัย ที่ เปลี่ ย นแปลงไปตามสภาวะแวดล้อ มที่ เ กิ ด ขึ้ น ในการน�ำ เสนอถึ ง การเปลี่ ย นแปลง ด้านการค้าการลงทุนบนถนนธนาลัยจะขอน�ำเสนอออกเป็ น 3 ช่วงระยะเวลา โดยก�ำหนด รอบเวลาละประมาณ 20 ปี ดังนี้ รอบ 20 ปี แรก การค้าการลงทุนบนถนนธนาลัยในปี พ.ศ. 2489 - พ.ศ. 2510 รอบ 20 ปี ที่สอง การค้าการลงทุนบนถนนธนาลัยในปี พ.ศ. 2511 - พ.ศ. 2530 รอบ 20 ปี ที่สาม การค้าการลงทุนบนถนนธนาลัยในปี พ.ศ. 2531 - พ.ศ. 2550 ส�ำหรับการน�ำเสนอผลจากการศึกษา เพือ่ ให้เข้าใจตรงกันจึงก�ำหนดช่วงของถนน ธนาลัยโดยเรี ยกชื่อของจุด 4 แยก ตามชื่อที่เรี ยกกันตั้งแต่ด้ งั เดิมโดยถนนธนาลัยเริ่ มตั้งแต่ 4 แยกประตูเชียงใหม่ไปจนถึง 4 แยกหนองสี่ แจ่งออกเป็ น 6 ช่วงถนน ดังนี้ 96

วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปีท่ี 6 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถนุ ายน 2554)


ช่วงที่ 1 ตั้งแต่ 4 แยกประตูเชียงใหม่ ถึง 4 แยกสุ ริวงค์ ช่วงที่ 2 ตั้งแต่ 4 แยกสุ ริวงค์ ถึง 4 แยกสรรพสามิตร ช่วงที่ 3 ตั้งแต่ 4 แยกสรรพสามิตร ถึง 4 แยกเศรษฐการ ช่วงที่ 4 ตั้งแต่ 4 แยกเศรษฐการถึง 4 แยกศาล ช่วงที่ 5 ตั้งแต่ 4 แยกศาลถึง 4 แยกสวนตุง ช่วงที่ 6 ตั้งแต่ 4 แยกสวนตุงถึง 4 แยกหนองสี่ แจ่ง

เรี ยกว่าบล็อก A เรี ยกว่าบล็อก B เรี ยกว่าบล็อก C เรี ยกว่าบล็อก D เรี ยกว่าบล็อก E เรี ยกว่าบล็อก F

4 แยกหนองงสีแ่ จ่ง บล็อก F

ด้านทิทิศเหนือ

ด้านทิทิศใต้

4 แยกสวนตตุง บล็อก E 4 แยกศาล บล็อก D 4 แยกเศรษฐฐการ บล็อก C 4 แยกสรรพสามิตร บล็อก B 4 แยกสุริวงค์ ว บล็อก A 4 แยกประะตูเชียงใหม่ ภาพที่ 1 แสดงผั แ งของถนนนธนาลัย

ภาพที่ 1 แสดงผังของถนนธนาลัย Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.6 No. 1 (January - June 2011)

97


ภาพทีที่ 2 แสดงภาพถถ่ายทางอากาศขของถนนธนาลัย

ภาพที่ 2 แสดงภาพถ่ายทางอากาศของถนนธนาลัย

พ 2489 - พ.ศ. 2510 การค้ค้ าการลงทุนบนนถนนธนาลัยรออบ 20 ปี แรก ปี พ.ศ.

การค้ าการลงทุนบนถนนธนาลัยรอบ 20 ปี แรก ปี พ.ศ. 2489 - พ.ศ. 2510 จากการที่บริ ษทั เชียงรายยจังหวัดพานิ ชจํจากัดซึ่ งตั้งบนถถนนธนาลัยมีบทบาทสํ าคัญออย่างมากในช่วงสงครามโลก จากการที่บริ ษทั เชี ยงรายจังหวัดพาณิ ชย์จำ� กัดบซึ่ งตั้งบนถนนธนาลั ยง มีบทบาท ครั้งที่ 2 และเมื่อสงครามสิ้ นสุ ดลงงในปี พ.ศ. 25888 ก็เริ่ มมีกิจการรที่ทาํ การค้าบนนถนนธนาลัยมากขึ้นเรื่ อย ๆ จึงทําให้ถนนธ ส�ำคัยกลายเป็ ที่ 2 และเมื นาลั ย ญอย่านงมากในช่ แหลล่งการค้าทีว่สงสงครามโลกครั ญ ่สุดในจังหวัวัดเชีย้ งงรายในช่ วงเวลานั่อ้ นสงครามสิ้ นสุ ดลงในปี พ.ศ. 2488 ก็ าํ คัญที เริ่ มมีกิลัจกการที ำ� การค้าบนถนนธนาลั ยมากขึ เรื่ อ2549 ย ๆ- พ.ศ.2510 จึ งท�ำให้นั้นถพพบว่ นนธนาลั ยในนปี้ นพ.ศ. ษณะทัทัว่​่ ทไปของการค้ า้ การลงทุนบนถนนธนาลั า บริ ษทั จัยงหวั ง กลายเป็ ดเชียงรายน ่ พานิ ช ชจํ า กั ด ซึ ่ ง เป็ น แ แหล่ ง สํ า คั ญ ขอ สิ น ค้ า ไปยั ง อํ า เภ ภอต่ า งๆ ในจั ง ห หวั ด เชี ย งรายตั ง ั แต่ ช ว งสงครา ามโลกครั งการกระจายสิ ้ ้ งที่ 2 แหล่งการค้าที่สำ� คัญที่สุดในจังหวัดเชียงรายในช่วงเวลานั้น ตั้งอยูยูใ่ นบล็อก C ทางด้ ท านทิศเหนืนื อโดยจุดที่ต้ งั คือมุม 4 แยกเศศรษฐการ ซึ่ งกิจการการค้ จ วนใหญ่ก็จะตั้งอยู ใ่ นบล็อก C ลักษณะทั ว่ ไปของการค้าการลงทุนบนถนนธนาลั ยในปีาส่พ.ศ. 2449 อ- พ.ศ.2510 เช่นกัน โดยถือได้วาบล็ า่ อก C เป็ นย่ยานการค้าหลักบนถนนธนาลั ก ยั สําหรับบล็อกB นั้นมีกิจการรค้าเพียงเล็กน้อย อ ส่ วนบล็อก า บริมีกษิจการการค้ ทั เชียงรายจั ดพาณิ นกแหล่ ส�ำคั้ งญ นค้า ่ งเหวั อืนั่น้ นๆ พบว่ แทบจะไม่ าอยูเลยมี พียงหน่ ว ชย์จำ� กัดและบ้ วยงานราชการ แซึ่ งเป็ านพั อาศัย งรวมทั ยังมีของการกระจายสิ พื้นที่วา่ งเปล่าจํจานวนมากใน ไปยั งอ�ำยเภอต่ งๆ ในจั ดเชี งรายตั ใ่ ณะของอาคาร นบล็อก C ้ งแต่ชเปนบ้ ้ งที่ ่า2 ตั อก A งมีหวั นธนาลั โดยเฉาพาะบล็ ร้านค้ าน้อยยม ากส่ วนใหญ่ ป็่วงสงครามโลกครั านพักอาศัยหรื ย อที่วา่ งเปล่ สําหรั้ งบอยู ลักษณ ถนน บ้ทางด้ านเรื อานและร้ ค้ า ในช่ ว งสงคร รามโลกครั ง ที ่ 2 สิ น สุ ด ใหม่ ๆ จะเป็ นลั ก ษณ ณะบ้ า นไม้ โดย ยส่ ว นใหญ่ จ ะเป็ ป็ นไม้​้ งชอยู า นค ้ ้ นั ่ ้ นทิศเหนือโดยจุดที่ต้ งั คือมุม 4 แยกเศรษฐการ ซึ่งกิจการการค้าส่ วนใหญ่นบ้ กจ็ าะตั อกนCกัทีน ่เป็ นโดยถื ย่านกาารค้ าหลั ส่ วนใอใหญ่ นนการค้ สองชั้นาหลั ตลลอดเส้ นถนน ด้านหน้าบ้ยานจะ เดีในบล็ ยว ส่ วนในบล็ ้ าํ แบบ อก C เช่ อได้ วาก่ บล็ ก Cจะเป็เป็นนบ้ย่าานไม้ กบนถนนธนาลั ส�ำะเป็หรันบคูนบล็ อก ลําเหหมืองเปิ ด ทุกบ้า้ นจึงต้องใช้ไม้มพาดระหว่างบบ้านกับถนนเพืพื่อให้คนเดินข้าม า ส่ วนบ้านที่เเป็ นร้านค้าก็จะทํ ะ าทางข้ามที่ ิจการค้ B งนั้น้ นเพืมี่อกความส าเพียงเล็กน้อย ส่ วนบล็อกอื่นๆ แทบจะไม่ มีกิจการการค้าอยูแ เ่ ลยมี เพียง กว้างขึ ะดวกของลูกค้า้ สําหรับที่ดินนัน้ นตลอดถนนสสายธนาลัยส่ วนใหญ่ น จะเป็ นที่ขของราชพัสดุ แต่ กม็ ีบางส่ วน านพั งปมีพ้ืนที่ว่อา่ 8งเปล่ ่านมมา หากบ้านในนเทศบาลเมืองย ทีหน่ ่เป็ นที นวยงานราชการ ่ส่วนบุคคล เรี ยกว่และบ้ าที่กรรมมสิ ทธิ์ ก ทั้งอาศั นี้ เนื่ องจากในอดี อย รวมทั้งยัตประมาณเมื 0- 90 ปีาจ� ที่ำผนวนมากในถนนธนาลั เชีโดยเฉพาะบล็ ยงรายหลังใดที่มุงหลั งอกงคาด้ บื้องซี เวมนต์ ธิ์ ของบุ แต่หากมุ ห า ส�งหลั ห้เป็ นกกรรมสิ รัฐบาลจะยกที A วมียสัร้างกะสี นค้หาน้รื ออกระเบื ยมากส่ นใหญ่ เป็ นบ้า่ในพั อาศัยทหรื อที่ควคลา่ งเปล่ ำหรังคาบ อหญ้ ญ้าคารัฐบาลจะ กที่ให้ สําาหรั หนค้ บอาคารในถ ยส่ วนใหญ่เป็้ งนที เนื่ องจากในอดี อ ๆ จะเป็ ตน ด้ลัวกยใใบตองหรื ษณะของอาคารบ้ านเรืไม่อยนและร้ าในช่วถนนธนาลั งสงครามโลกครั ที่ ่ข2องราชพั สิ้ นสุสดดุใหม่ ถนนนเส้นนี้ยงั ไม่เจริ ญจึงมีประชาชชนสร้างบ้านแบบถาวรค่อนข้างน้อย ส่ วนใหญ ญ่จะเป็ นบ้านอาศัยแบบชัว่ คราวที่มุงหลังคา ลักษณะบ้านไม้ โดยส่ วนใหญ่ จะเป็ นบ้านไม้ป็ช้ นั เดียว ่วส่ครวราวนในบล็ อก C ที่เป็ นนย่านนการค้ า ด้วยใใบตองหรื อหญ ญ้าคา แม้แต่ร้านค้ า าของคนจี นในย่านนี้ ก็เปนอาคารชั เนื่ องคนจี นที่ มาจากแผ่นดิ ใหญ่ยงั มี หลัมคิกส่ดทีว่จนใหญ่ นงถนน านหน้ านจะเป็ นคูน้ ำ�ยเป็แบบ ้ น ตลอดเส้ ความ ะกลับไปตายยั ไ จ ะเป็งบ้นบ้ านเกิกิาดนไม้ จึงไม่ส ได้องชั สร้​้างอาคารแบบถ ถาวรจึ เป็ นเหตตุด้ ผลที ่ที่ดินส่าวบ้ นนใหญ่ บนถนนนธนาลั นที่ ล�ำเหมื ของร ราชพัอสงเปิ ดุ ด ทุกบ้านจึงต้องใช้ไม้พาดระหว่างบ้านกับถนนเพื่อให้คนเดินข้าม ส่ วนบ้าน จจะท�่ดำาํทางข้ เนินการบนถนนธนา 2549 - พ.ศ. 25110 กิจการการค้ ยูบ่ บ นถนนธ หลาย หรับากิก็จการที ที่เป็ นร้สําานค้ ามที่กว้างขึาลั้ นยในปี เพื่อพ.ศ. ความสะดวกของลู กค้า ส�า้ ทีำ่อหรั ที่ดินธนาลั นั้นยมีตลอด แห่งที่ก่อตั้งก่อนสงครามโลกครั้งที่ 2 และได้ดาํ เนินินกิจการต่อในนช่วงหลังสงครรามสิ้ นสุ ด รวมทั้งมีกิจการค้าที่เข้ามาดําเนิน ถนนสายธนาลัยส่ วนใหญ่ จะเป็ นที่ ของราชพัสดุ แต่ ก็มีบางส่ วนที่ เป็ นที่ ส่ วนบุ คคล กิจกาารในถนนธนาลัยอีกหลายแห่ห่ งโดยกิจการที่ดํดาเนิ นการบนถถนนธนาลัยในนช่วงปี พ.ศ. 25449 - พ.ศ. 2510 นั้นส่ วนใหญ่ เรี ยปนกิ กว่จาการที ที่ ก่จรรมสิ นี้ เดนืในครั ่ องจากในอดี ตประมาณเมื ่อ 80-่ อ90 ที่ผ่านมา หากบ้ร้าานน จะเป็ าํ หน่ ห ายสิทนธิค้์ าทั เบ็้ ดงเตล็ วเรื อนทัว่ ไป รวมท ทั้งมีร้านอาหารรและเครื งดื่ม ปีโรงแรม โรงภภาพยนตร์ ในเทศบาลเมืองเชี ยงรายหลังใดที่มุงหลังคาด้วยสังกะสี หรื อกระเบื้ องซี เมนต์ รัฐบาล

98

วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปีท่ี 6 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถนุ ายน 2554)


จะยกที่ให้เป็ นกรรมสิ ทธิ์ของบุคคล แต่หากมุงหลังคาด้วยใบตองหรื อหญ้าคารัฐบาลจะไม่ ยกที่ให้ ส�ำหรับอาคารในถนนธนาลัยส่ วนใหญ่เป็ นที่ของราชพัสดุเนื่องจากในอดีตถนน เส้นนี้ ยงั ไม่เจริ ญจึงมีประชาชนสร้างบ้านแบบถาวรค่อนข้างน้อย ส่ วนใหญ่จะเป็ นบ้าน อาศัยแบบชัว่ คราวที่มุงหลังคาด้วยใบตองหรื อหญ้าคา แม้แต่ร้านค้าของคนจีนในย่านนี้ ก็เป็ นอาคารชัว่ คราว เนื่ องจากคนจีนที่มาจากแผ่นดินใหญ่ยงั มีความคิดที่จะกลับไปตาย ยังบ้านเกิด จึงไม่ได้สร้างอาคารแบบถาวรจึงเป็ นเหตุผลที่ที่ดินส่ วนใหญ่บนถนนธนาลัย เป็ นที่ของราชพัสดุ ส�ำหรับกิจการที่ดำ� เนินการบนถนนธนาลัยในปี พ.ศ. 2449 - พ.ศ. 2510 กิจการ การค้าที่อยูบ่ นถนนธนาลัยมีหลายแห่ งที่ก่อตั้งก่อนสงครามโลกครั้งที่ 2 และได้ดำ� เนิ น กิ จการต่อในช่วงหลังสงครามสิ้ นสุ ด รวมทั้งมีกิจการค้าที่เข้ามาด�ำเนิ นกิ จการในถนน ธนาลัยอีกหลายแห่งโดยกิจการที่ดำ� เนินการบนถนนธนาลัยในช่วงปี พ.ศ. 2449 - พ.ศ. 2510 นั้นส่วนใหญ่จะเป็ นกิจการที่จำ� หน่ายสินค้าเบ็ดเตล็ดในครัวเรื อนทัว่ ไป รวมทั้งมีร้านอาหาร และเครื่ องดื่ม โรงแรม โรงภาพยนตร์ ร้านถ่ายรู ป ร้านเสริ มสวย ร้านขายยา ร้านจ�ำหน่าย เสื้ อผ้า นาฬิกา รองเท้า หนังสื อ ฯลฯ ซึ่ งจะเห็นว่า ถนนธนาลัยมีทุกสิ่ งทุกอย่างในย่าน แห่ ง นี้ และจึ ง ถื อ ได้ว่า ถนนธนาลัย เป็ นย่า นการค้า ที่ ส�ำ คัญ ที่ สุ ด ในจัง หวัด เชี ย งราย ในช่วงเวลาขณะนั้น ส�ำหรับตัวอย่างของกิจการต่างๆ มีดงั นี้ - กิ จการจ�ำหน่ ายสิ นค้าเบ็ดเตล็ดต่างๆ เครื่ องมือก่อสร้าง และกิ จการ ร้านสรรพสิ นค้า เช่น ร้านไท้หมงเฮง ร้านศรี ปัญญา ร้านแสงรุ่ งไทย ร้ านฉื่ อฉุ ยกี่ ร้ านเอ้งกี่ ร้ านไซฮูพ้ าณิ ชย์ ร้ านอึ้ งยินเฮง ร้ านฮิ มกี่ ร้านย่งหลี่เส็ง และ ร้านย่งหลี่เส็ง เป็ นต้น - กิจการร้านเสริ มสวย เช่น ร้านนวลจันทร์ และร้านเสริ มสวยวิไล เป็ นต้น - กิจการโรงภาพยนตร์ ได้แก่ โรงภาพยนตร์สุริวงค์ และโรงภาพยนตร์ ราชา - กิจการโรงแรม ได้แก่ โรงแรมศรี เชียงราย โรงแรมศรี ธนาลัย และ โรงแรมเผ่าวัฒนา - กิ จการจ�ำหน่ ายหนังสื อ เช่ น ร้ านโพธิ์ ทอง ร้ านพลเมื องไทย และ ร้านชมพรเป็ นต้น - กิจการจ�ำหน่ายอาหารและเครื่ องดื่ม เช่น ร้านสมบูรณ์ ร้านกาแฟทิพรส ร้านเจ้เฮียง ร้านรวมมิตร ร้านศรี อ่างทอง ร้านสุ ขโอชา เป็ นต้น - กิจการร้านถ่ายรู ป ร้านฉายาสมจิตร และร้านเชียงรายโฟโต้ Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.6 No. 1 (January - June 2011)

99


- กิ จ การร้ า นรั บ ซ่ อ มและจ�ำ หน่ า ยนาฬิ ก า เช่ น ร้ า นไพบู ล ย์ภ ัณ ฑ์ ร้านศรี ประเสริ ฐ ร้านไทยนคร และร้านนาทีทอง เป็ นต้น - กิ จ การร้ า นจ�ำ หน่ า ย-ตัด เย็บ เสื้ อ ผ้า เช่ น ร้ า นอุ ท ัย ร้ า นย่ง เฮงหลี ร้านจาวลาสโตร์ รา้ นแสงรุ่ งไทย รา้ นตัดผ้าเพ็ญประภา ร้านด�ำรงอาภรณ์ ร้านยุพินศิลป์ และร้านอัมพร เป็ นต้น - กิ จการร้ านขายยา เช่ น ร้ านเชี ยงรายโอสถ และร้ านซิ น หมิ่ น แซ (ต่อมาเปลี่ยนชื่อเป็ นร้านเรื อนชัยโอสถ) เป็ นต้น - กิ จการร้ านจ�ำหน่ ายรถและอุปกรณ์ต่างๆ เช่ น ร้ านเฉี ยวกี่ และร้ าน เพื่อนไทยสหายยาน เป็ นต้น นอกจากนี้ยงั มีกิจการประเภทอื่นๆ เช่น ร้านพิศิษฐ์พานิช (เป็ นตัวแทนจ�ำหน่าย ปื นในจังหวัดเชียงราย ตั้งแต่ก่อนสงครามโลกครั้งที่ 2 ต่อมาภายหลังได้จำ� หน่ายรถจักรยาน และรถจักรยานยนต์ยหี่ อ้ ฮอนด้า) ร้านสามดาวเชียงราย (จ�ำหน่ายเครื่ องแบบข้าราชการ) ร้ านซี เปี ยว (จ�ำหน่ ายขนมที่ ทนั สมัยประเภทต่ างๆ ทั้งท�ำเองและสั่งมาจ�ำหน่ ายจาก ต่างประเทศ) ร้ านทรงสมัย (เป็ นร้ านซ่ อมและจ�ำหน่ ายรองเท้าที่มีชื่อเสี ยงในยุคนั้น) ร้ านเกาลิงกาวเสื อ (จ�ำหน่ ายยาดองยาบ�ำรุ งต่างๆ) ร้ านทองสุ วรรณพาณิ ชย์ (ร้ านทอง แห่ งแรกของเชี ยงราย) ร้ านตัดผมบุญมี ร้ านเฉี่ ยวกี่ (จ�ำหน่ ายน�้ำมัน และรถจักรยาน) ร้านเป้ งง้วน (จ�ำหน่ายสังฆภัณฑ์) ร้านง่วนจั้ว (จ�ำหน่ายและรับซื้อสลากกินแบ่งรัฐบาล) ร้ า นอรุ ณ สวัส ดิ์ (ร้ า นตัด เสื้ อ และรั บ สอนการช่ า งฝี มื อ ) และร้ า นหงส์ ท องพาณิ ช ย์ (ร้านตัดผม-ตัดเสื้ อสตรี และจ�ำหน่ายเครื่ องส�ำอาง) เป็ นต้น กิจการเหล่านี้ส่วนใหญ่ต้ งั อยูใ่ นบล็อก C รองลงมาอยูใ่ นบล็อก B โดยบางแห่ง ก็ยงั ด�ำเนิ นกิจการมาจนถึงยุคปั จจุบนั แต่บางแห่ งก็ได้เลิกกิจการไปแล้ว และบางแห่ ง เจ้าของกิจการก็ได้หนั ไปท�ำธุรกิจประเภทอื่นแทน ส�ำหรับปั จจัยที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงทางการค้าการลงทุนบนถนนธนาลัย ในปี พ.ศ. 2489 - พ.ศ. 2510 การเปลี่ยนแปลงทางการค้าการลงทุนบนถนนธนาลัยในช่วง 20 ปี แรก ซึ่ งเป็ นช่ ว งระยะเวลาประมาณ 20 ปี โดยมี ปั จ จัย ของการเปลี่ ย นแปลง หลายประการดังนี้ - การเกิดไฟไหม้ตลาดสดและร้านค้าในย่านถนนธนาลัยในปี พ.ศ. 2494 ซึ่งเป็ น เหตุการณ์ครั้งส�ำคัญที่มีผลกระทบมากที่สุดกับการค้าการลงทุนบนถนนธนาลัยในช่วง ปี พ.ศ.2489 - พ.ศ. 2510 เหตุการณ์ไฟไหม้ตลาดสดนี้เกิดขึ้นในเดือนมีนาคม พ.ศ.2494 ไฟได้เริ่ มไหม้บริ เวณทางเข้าตลาดสดทางทิศตะวันตก และไหม้ลุกลามไปทัว่ ทั้งตลาด 100

วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปีท่ี 6 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถนุ ายน 2554)


รวมทั้งไหม้ตวั อาคารร้านค้าตามถนนธนาลัยทางทิศเหนือในบล็อก C ทั้งหมด เนื่องจาก ตัวอาคารเป็ นไม้ไฟจึงไหม้อย่างรวดเร็ ว และความร้อนที่เกิดขึ้นอย่างมากท�ำให้ไฟไหม้ ข้ามถนนไปไหม้ตวั อาคารร้านค้าบนถนนธนาลัยทางด้านทิศตะวันตกในบล็อก C ไฟไหม้ ครั้งนี้ ทำ� ให้การค้าของเชียงรายหยุดชะงักไปทันที เนื่ องจากร้านค้าใหญ่ ๆ ที่สำ� คัญของ เชี ยงรายส่ วนใหญ่อยู่ในบล็อก C ของถนนธนาลัยซึ่ งถูกไฟไหม้หมด ผลของไฟไหม้ ครั้งนี้ทำ� ให้สินค้าส่ วนใหญ่ของร้านค้าในย่านถนนธนาลัยเสี ยหายจากการถูกไฟไหม้ และ ท�ำให้ไม่มีสินค้าที่จะกระจายไปต่างอ�ำเภอ ส่งผลให้เกิดความขาดแคลนสิ นค้าไปทัว่ จังหวัด เชียงรายอยูร่ ะยะเวลาหนึ่ง หลัง จากเกิ ด เหตุ ก ารณ์ ไ ฟไหม้ร้ า นค้า ในย่า นถนนธนาลัย จนเสี ย หายหมด ทั้งในส่ วนของตัวอาคารและสิ นค้า กิจการต่างๆในย่านถนนธนาลัยที่ถกู ไฟไหม้กก็ ลับมา ท�ำการค้าใหม่โดยเจ้าของกิจการส่ วนใหญ่ที่เป็ นคนจีนก็อาศัยเครื อข่ายที่จงั หวัดล�ำปาง ในการขอเครดิ ตสิ นค้ามาจ�ำหน่ าย โดยตัวร้ านค้านั้นใช้การก่ อสร้ างแบบชัว่ คราว ซึ่ ง ส่ วนใหญ่เป็ นเพิงมุงใบตองหรื อหญ้าคา และด�ำเนินการในลักษณะนี้อยูห่ ลายปี เนื่องจาก ผูป้ ระกอบการยังไม่มีเงินก่อสร้างอาคารใหม่ จนประมาณปี พ.ศ. 2498 ก็มีการสร้างเป็ นตึก คอนกรี ต 2 -4 ชั้นเกือบทั้งหมดในถนนธนาลัยตรงบล็อก C และเมื่อเปลี่ยนสภาพเป็ นตึก ที่ดูทนั สมัยก็ทำ� ให้ยา่ นถนนธนาลัยโดยเฉพาะบล็อก C มีความคึกคักกลับคืนมา ในขณะที่ ถนนธนาลัยบล็อกอื่นๆ ตัวอาคารส่วนใหญ่ยงั มีสภาพเป็ นไม้เหมือนเดิมเนื่องจากตึกอาคาร ไม่ได้ถกู ไฟไหม้จึงไม่ได้เปลี่ยนแปลงในช่วงนั้น - การมีโรงภาพยนตร์ บนถนนธนาลัย หลังจากเกิดเหตุการณ์ไฟไหม้ร้านค้าใน ย่านถนนธนาลัยได้ไม่นานก็มีโรงภาพยนตร์เกิดขึ้นในปี พ.ศ. 2495 คือโรงภาพยนตร์โรยัล ต่อเปลี่ยนเจ้าของกิจการและเปลี่ยนชื่ อเป็ นโรงภาพยนตร์ สุริวงค์ซ่ ึ งตั้งอยูด่ า้ นทิศเหนื อ ของบล็อก B มุม 4 แยกสุ ริวงค์ ซึ่ ง 4 แยกนี้ ถูกเรี ยกชื่อตามโรงภาพยนตร์ แห่ งนี้ การมี โรงภาพยนตร์ทำ� ให้ถนนธนาลัยมีความคึกคักอย่างมาก เนื่องจากในยุคสมัยนั้นความบันเทิง ยังมีไม่มากโรงภาพยนตร์ จึงเป็ นความบันเทิงที่นิยมมากที่สุด ซึ่ งโรงภาพยนตร์ แห่ งนี้ นอกจากจะดึงดูดคนให้เดินทางมายังถนนธนาลัยมากขึ้นแล้ว ยังท�ำให้ช่วงกลางคืนมีความ สว่างไสวจนท�ำให้กิจการในถนนธนาลัยสามารถท�ำการค้าในช่วงกลางคืนได้มากขึ้น และ นอกจากเป็ นที่ฉายภาพยนตร์แล้วโรงภาพยนตร์สุริวงค์ยงั เป็ นสถานที่จดั งานบันเทิงต่างๆ เช่น งานลอยกระทง การประกวดร้องเพลง รวมทั้งเป็ นสถานที่จดั การแสดงดนตรี ของนัก ร้องระดับประเทศ เช่นสมยศ ทัศนพันธ์ ก็เคยมาแสดงที่นี่ ท�ำให้ยา่ นโรงภาพยนตร์สุริวงค์ เป็ นแหล่งบันเทิงที่สำ� คัญในยุคสมัยนั้น และต่อมาภายหลังถนนธนาลัยบล็อก B ด้านทิศ Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.6 No. 1 (January - June 2011)

101


เหนื อ ห่ า งจากโรงภาพยนตร์ สุ ริ วงค์ไ ม่ กี่ คู ห าก็ มี โ รงภาพยนตร์ เ กิ ด ขึ้ น อี ก แห่ ง ชื่ อ โรงภาพยนตร์ราชาซึ่งก็เรี ยกได้วา่ ย่านนี้มีความคึกคักมากที่สุดในเชียงราย - เหตุการณ์ ที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ พร้ อมด้วยสมเด็จพระนางเจ้า พระบรมราชินีนาถ ทรงเสด็จฯ ประพาสเหนือเป็ นครั้งแรกและได้เสด็จฯ มายังเชียงราย ในวันที่ 10 มีนาคม พ.ศ.2501 โดยภายในตัวเมืองและหลายๆอ�ำเภอรอบนอกมีความคึกคัก เป็ นพิเศษหลังจากที่ได้ทราบข่าวว่าพระองค์ท่านจะเสด็จฯมายังจังหวัดเชียงราย ตามถนน หนทางสายหลักต่างๆ แน่นขนัดไปด้วยผูค้ นที่รอรับเสด็จ พร้อมทั้งยังมีการประดับประดา ด้วยซุม้ ต่างๆ เพื่อแสดงความจงรักภักดีที่มีต่อทั้ง 2 พระองค์ และภายในตัวเมืองนั้นยิง่ แน่ นขนัดไปด้วยผูค้ นที่ ต่างจับจองที่ เพื่อรั บเสด็จฯให้ใกล้ที่สุด โดยเฉพาะถนนสาย ธนาลัยที่พระองค์เสด็จฯ ผ่านด้วยรถยนต์พระที่นงั่ การเสด็จฯ มาครั้งนี้ถือได้วา่ เป็ นครั้ง แรกที่รัชกาลที่ 9 เสด็จฯ มายังเชียงราย รวมทั้งมีบุคคลส�ำคัญที่อยูใ่ นรัฐบาลในขณะนั้น ได้ตามเสด็จมาด้วย เหตุการณ์น้ ีทำ� ให้เกิดความคึกคักอย่างมากและได้ทำ� ให้เกิดโครงการ ตามพระราชด�ำ ริ ห ลายโครงการ จึ ง ส่ ง ผลให้ เ ศรษฐกิ จ ของเชี ย งรายในช่ ว งนี้ ดี ข้ ึ น ซึ่ งกิ จการที่ ได้รับผลประโยชน์มากที่ สุดก็คือกิ จการในย่านถนนธนาลัยซึ่ งเป็ นแหล่ง กระจายสิ นค้าไปทัว่ เชียงราย

การค้ าการลงทุนบนถนนธนาลัยในรอบ 20 ปี ทีส่ อง ปี พ.ศ. 2511 - พ.ศ. 2530

หลังจากผ่านสงครามโลกครั้งที่ 2 มาประมาณ 20 ปี กิจการที่ทำ� การค้าบนถนน ธนาลัยก็มีจำ� นวนมากขึ้นเรื่ อย ๆ เนื่องจากความเป็ นย่านการค้าที่สำ� คัญที่สุดของเชียงราย จึงเป็ นแรงดึงดูดให้มีผทู ้ ี่สนใจเข้ามาลงทุนจ�ำนวนมาก ถนนธนาลัยจึงมีความส�ำคัญต่อ เศรษฐกิจของเชียงรายเป็ นอย่างมาก ส�ำหรับการค้าการลงทุนบนถนนธนาลัยในรอบ 20 ปี ที่สอง มีประเด็นส�ำคัญดังนี้ ลักษณะทัว่ ไปของการค้าการลงทุนบนถนนธนาลัยในปี พ.ศ. 2511 - พ.ศ. 2530 ถนนธนาลัยในช่ วงแรกของรอบ 20 ปี ที่ สอง (พ.ศ. 2511 - พ.ศ. 2530) นี้ ในช่ วง ประมาณพ.ศ. 2511 - พ.ศ. 2515 การค้าในถนนธนาลัยยังมีความคึกคักที่สุดในบล็อก C รองลงมาคือบล็อก B โดยสภาพอาคารใน 2 บล็อกนี้ส่วนใหญ่มีลกั ษณะเป็ นตึก 2 – 4 ชั้น ที่ดูทนั สมัยมากในขณะนั้น ส่ วนบล็อกอื่น ๆ มีบางส่ วนที่ตวั อาคารเป็ นตึกและเป็ นไม้ แบบดั้งเดิมสลับกันไปในช่วงตั้งแต่ปีพ.ศ. 2511 กิจการบนถนนธนาลัยที่มีเพิ่มมากขึ้น ซึ่ งนอกจากกิจการท้องถิ่นทั้งที่ต้ งั อยูเ่ ดิมและจากที่อื่น ๆ แล้ว ยังมีกิจการจากส่ วนกลาง ของประเทศเข้ามาเปิ ดกิจการในเชียงราย โดยเฉพาะอย่างยิง่ การเข้ามาของธุรกิจทางการเงิน 102

วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปีท่ี 6 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถนุ ายน 2554)


เช่น ธนาคาร และ บริ ษทั เงินทุน ส�ำหรับธุรกิจทางการเงินที่เปิ ดด�ำเนินงานในถนนธนาลัย เช่น ธนาคารกรุ งเทพพาณิ ชย์จำ� กัด (บล็อก C) ธนาคารไทยพาณิ ชย์ (บล็อก D) ธนาคาร ออมสิ น (บล็อก D) ธนาคารกรุ งเทพจ�ำกัด (บล็อก D) ธนาคารทหารไทย (ตั้งอยูถ่ นน ระหว่าง 4 แยกสุ ริวงค์กบั 3 แยกหน้าโรงเรี ยนสามัคคีวทิ ยาคม) บริ ษทั ไทยเงินทุน (บล็อก C) ฯลฯ การเข้ามาด�ำเนินงานของธุรกิจทางการเงินบนถนนธนาลัยยิง่ ท�ำให้ถนนสายนี้เป็ น ย่านเศรษฐกิ จที่ส�ำคัญที่สุดของเชี ยงรายเพราะเป็ นทั้งศูนย์กลางของหน่ วยงานราชการ ศูนย์กลางทางด้านการค้า และศูนย์กลางทางด้านการเงิน ส�ำหรับกิจการที่ดำ� เนินการบนถนนธนาลัยในปี พ.ศ. 2511 - พ.ศ. 2530 นั้นพบว่า จากการที่กิจการบนถนนธนาลัยมีมากขึ้น ท�ำให้เป็ นย่านธุรกิจที่คึกคักที่สุดของเชียงราย ซึ่ งนอกจากกิจการท้องถิ่นที่ดำ� เนิ นการมาตั้งแต่รอบ 20 ปี แรกแล้วยังมีกิจการที่เกิดขึ้น ในช่ ว งระยะเวลานี้ อี ก หลายกิ จ การ โดยพบว่ า กิ จ การจ�ำ หน่ า ยทองรู ป พรรณนั้ น มีเพิ่มมากขึ้นจนถือว่าถนนธนาลัยเป็ นย่านของร้านทอง นอกจากนี้สำ� นักงานทนายความ ก็ได้มาเปิ ดด�ำเนิ นการมากขึ้น ส่ วนกิจการประเภทอื่นๆที่จำ� หน่ายสิ นค้าเบ็ดเตล็ดทัว่ ไป ร้านจ�ำหน่ายเครื่ องใช้ไฟฟ้ า รถยนต์ รถจักรยานยนต์ ก็ได้มาเปิ ดด�ำเนินการบนถนนสายนี้ เช่นกัน จึงเป็ นตัวที่ช่วยเสริ มให้ถนนธนาลัยเป็ นย่านการค้าที่สำ� คัญที่สุดในจังหวัดเชียงราย ในช่วงเวลาขณะนั้น ส�ำหรับตัวอย่างของกิจการที่เกิดขึ้นในช่วงระยะเวลานี้ ได้แก่ - กิ จ การจ� ำ หน่ า ยทองรู ปพรรณ เช่ น ห้ า งทองสวิ ส ส์ เ ชี ย งราย ร้านทองสุ ขสมบูรณ์ ห้างทองเยาวราช ห้างทองใบหยก ห้างทองชูสวัสดิ์ และห้างทองลิ้ม เซ่งเฮง เป็ นต้น - กิจการร้านถ่ายรู ป เช่นร้านคิงส์ และร้านนารายคัลเลอร์เป็ นต้น - กิจการร้านรับซ่อมและจ�ำหน่ายนาฬิกา เช่นร้านไทยเจริ ญนาฬิกาเป็ นต้น - กิจการร้านจ�ำหน่ายเสื้ อผ้า เช่นร้านไทยนคร และร้านเจริ ญภัณฑ์เป็ นต้น - ส�ำนักงานทนายความ เช่น อัครไตรภพทนายความ ส�ำนักงานสุ นทร เจริ ญศรวล ทนายความ และส�ำนักงานทนายความประสานสวัสดิ์และเพื่อน เป็ นต้น นอกจากนี้ ยัง มี กิ จ การประเภทอื่ น ๆ เช่ น โรงเรี ยนเสริ มสวยสร้ อ ยทิ พ ย์ ร้ านจิ ราภัณฑ์ (จ�ำหน่ ายรถจักรยาน) ร้ านสายสะลอง ครอสติ ช (จ�ำหน่ ายครอสติ ช) ร้านเจริ ญมิตร (จ�ำหน่ ายซี ดีเพลงและหนัง) หจก.จักวาลพาณิ ชย์ (จ�ำหน่ ายเครื่ องเสี ยง รถจักรยานยนต์ และรถยนต์ยหี่ อ้ ดัสสัน) กิจการเหล่านี้ส่วนใหญ่กระจายไปยังบล็อกต่างๆ แต่ส่วนใหญ่จะตั้งอยูใ่ นบล็อก C และบล็อก Bโดยกิจการค้าเหล่านี้ยงั ด�ำเนินกิจการมาจนถึงยุคปั จจุบนั Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.6 No. 1 (January - June 2011)

103


ปั จ จัย ที่ ส่ ง ผลต่ อ การเปลี่ ย นแปลงทางการค้า การลงทุ น บนถนนธนาลัย ในปี พ.ศ. 2411 - พ.ศ. 2530 คือ การมีสถานีขนส่งแห่งใหม่ ในปี พ.ศ. 2514 ซึ่งเป็ นจุดเปลี่ยน ที่ส�ำคัญของท�ำเลด้านการค้าในตัวเมืองเชี ยงราย เนื่ องจากในช่วงประมาณ พ.ศ.2511พ.ศ.2520 ปริ มาณรถยนต์และรถจักรยานยนต์ในเชี ยงรายยังมีไม่มากนัก การเดิ นทาง เข้ามายังเชี ยงรายประชาชนส่ วนใหญ่ ยงั ใช้บริ การรถโดยสารประจ�ำทาง ซึ่ งแต่ เดิ ม รถโดยสารประจ�ำทางที่นิยมจะเป็ นรถโดยสารสองแถวที่จอดรับผูโ้ ดยสารที่ทา่ รถด้านหลัง ตลาดสดเทศบาล ที่เรี ยกว่าท่ารถวัดมุงเมืองซึ่ งใกล้กบั ย่านการค้าบนถนนธนาลัย ดังนั้น เมื่ อ ประชาชนจากต่ า งอ�ำ เภอเข้า มาจับ จ่ า ยในตัว เมื อ งเชี ย งรายส่ ว นใหญ่ ก็ใ ช้บ ริ ก าร รถโดยสารสองแถวด้านหลังตลาดสดเทศบาล และจับจ่ายในรัศมีใกล้ๆ กับท่ารถเพือ่ ความ สะดวกในการขนสิ นค้า ซึ่งแหล่งจับจ่ายหลัก ๆ ก็คือในตลาดสดเทศบาลและร้านค้าต่าง ๆ บนถนนธนาลัย ด้วยเหตุน้ ี ท่ารถด้านหลังตลาดสดเทศบาลจึงเป็ นปั จจัยที่ทำ� ให้เกิดผลดี อย่างมากต่อการค้าบนถนนธนาลัย ประกอบกับก่อนการมีสถานีขนส่งแห่งใหม่ รถโดยสาร ประจ�ำทางไปยังต่างอ�ำเภอหรื อต่างจังหวัดยังใช้วิธีวิ่งรถวนในตัวเมืองเชี ยงรายเพื่อรับ ผูโ้ ดยสารโดยส่ วนใหญ่จะวนผ่านเส้นถนนธนาลัย แต่อย่างไรก็ตามเมื่อมีสถานี ขนส่ ง แห่ งใหม่ โดยเป็ นจุดเชื่ อมเส้นทางไปยังอ�ำเภอต่างๆ ในเชี ยงราย รวมทั้งเป็ นจุดเชื่ อม เส้นทางไปยังต่างจังหวัด จึงเป็ นจุดศูนย์กลางของการเดินทางของประชาชนในเชียงราย ท�ำให้บริ เวณรอบๆ สถานีขนส่ งเริ่ มมีการค้ามากขึ้นเรื่ อย ๆ และต่อมาได้มีโรงภาพยนตร์ บริ เวณใกล้กบั สถานีขนส่ งแห่งนี้ โดยเริ่ มจากโรงภาพยนตร์เชียงรายรามา 1 ในปี พ.ศ 2516 และต่อมาได้มีโรงภาพยนตร์ เพิ่มขึ้นอีกแห่ งหนึ่ งคือโรงภาพยนตร์ เชียงรายรามา 2 ซึ่ งมี ขนาดที่ใหญ่กว่าและทันสมัยกว่าโรงภาพยนตร์เชียงรายรามา 1 นอกจากนี้บริ เวณใกล้กบั สถานี ข นส่ ง ยัง มี โ รงแรมเวี ย งอิ น ทร์ ซ่ ึ งเป็ นโรงแรมที่ ท ัน สมัย ที่ สุ ด ของเชี ย งราย ในระยะเวลานั้น รวมทั้งบริ เวณใกล้กบั สถานีขนส่ งแห่งนี้ยงั เกิดห้างสรรพสิ นค้าอินเตอร์ (ที่ ต้ งั คื อสรรพสิ นค้าเอดิ สันในปั จจุ บนั )ที่ ถือว่าเป็ นห้างขนาดใหญ่ และทันสมัยที่ สุด ในยุคนั้นเช่นกัน บริ เวณใกล้กบั สถานีขนส่ งเริ่ มมีกิจการค้ามากขึ้นเรื่ อย ๆ เช่น บริ เวณ ถนนซุปเปอร์ไฮเวย์ใกล้กบั เส้นทางเข้า-ออก ของรถโดยสาร ก็มีสวนสนุกขนาดใหญ่คือ ลิลลี่ปาร์ ค (บริ เวณใกล้กบั พ.พาณิ ชย์อิเล็กทริ คสแควร์ ในปั จจุบนั ) ที่มีท้ งั สระว่ายน�้ำ ชิงช้าสวรรค์ที่เห็นทิวทัศน์ตวั เมืองเชียงราย ศาลาไอศครี ม เรื อปั่ น ฯลฯ การเกิดสิ่ งต่างๆ เหล่านี้ทำ� ให้ยา่ นการค้าบนถนนธนาลัยถูกลดบทบาทไปอย่างมาก

104

วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปีท่ี 6 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถนุ ายน 2554)


การค้ าการลงทุนบนถนนธนาลัยในรอบ 20 ปี ทีส่ าม ปี พ.ศ. 2531 - พ.ศ. 2550

ในช่วงต้นของการค้าการลงทุนบนถนนธนาลัยรอบ 20 ปี ที่สาม (พ.ศ. 2531 พ.ศ. 2550) ซึ่งอยูใ่ นช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม ฉบับที่ 6 (2530 – 2534) โดยถือว่า เป็ นยุค ทองของเศรษฐกิ จ ไทย ซึ่ งเศรษฐกิ จ ไทยช่ ว งนี้ มี ก ารขยายตัว อย่า งรวดเร็ ว อันเนื่ องจากการลงทุนจากต่างประเทศและการมีเสถียรภาพทางการเมือง โดยในช่ วง ระยะเวลานี้รัฐบาลซึ่งมี พล.อ.ชาติชาย ชุณหะวัณ เป็ นนายกรัฐมนตรี ได้มีนโยบายให้ไทย เป็ นประเทศอุตสาหกรรมใหม่ในเอเชีย เช่นเดียวกับเกาหลีใต้ สิ งคโปร์ ไต้หวัน และฮ่องกง โดยการดึงดูดการลงทุนจากต่างประเทศเพิ่มศักยภาพในการผลิตเพื่อให้สามารถแข่งขัน ในตลาดโลกได้ เศรษฐกิ จ ของไทยในช่ ว งนี้ จึ ง มี ก ารเติ บ โตอย่า งมาก โดยส่ ง ผลดี ไปทัว่ ประเทศ ซึ่งเชียงรายก็เป็ นจังหวัดหนึ่งที่ได้รับผลดีจากเศรษฐกิจที่มีการเติบโต ท�ำให้ เกิดการลงทุนในด้านต่างๆ มากมายในเชียงราย และประเด็นเหล่านี้ ได้ส่งผลต่อการค้า การลงทุนบนถนนธนาลัยในช่วงปี พ.ศ. 2531 - พ.ศ. 2550 ด้วยเช่นกันโดยมีประเด็นส�ำคัญ ดังนี้ ลักษณะทัว่ ไปของการค้าการลงทุนบนถนนธนาลัยในปี พ.ศ. 2531 - พ.ศ. 2550 ถนนธนาลัยในช่วงต้นของรอบ 20 ปี ที่สาม ถือได้ว่าอยูใ่ นช่วงที่เศรษฐกิจของประเทศ มีอตั ราการขยายตัวอย่างมากโดยในปี พ.ศ.2531 -2533 ตัวเลขการเติบโตทางเศรษฐกิจ ของประเทศไทยในช่วงนั้นสู งถึงกว่าร้อยละ 10 ท�ำให้กำ� ลังซื้ อของประชาชนมีมากขึ้น ซึ่ งส่ ง ผลดี ต่ อ การค้า ในย่า นถนนธนาลัย เช่ น กัน กิ จ การในช่ ว งนี้ มี ท้ ัง กิ จ การดั้ง เดิ ม จากยุคแรกๆ หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 และกิจการที่เกิ ดขึ้นใหม่ในยุคหลัง ตัวอาคาร ส่ วนใหญ่เป็ นตึกเกื อบทั้งหมด โดยยังมีอาคารไม้เพียงบางส่ วน ความส�ำคัญของถนน ธนาลัยในฐานะย่านการค้าเริ่ มลดลงตั้งแต่ช่วงประมาณปี พ.ศ.2535 เนื่ องจากในช่วงที่ เศรษฐกิจดีมากในปี พ.ศ.2531 -2534 กิจการต่างๆ เริ่ มขยายตัวออกไปยังท�ำเลอื่น ๆ เช่น กิจการจ�ำหน่ ายจักรยานยนต์ซ่ ึ งขายดีมากในช่วงเศรษฐกิจดี ส่ วนใหญ่ไปตั้งอยู่ในย่าน สี่ แ ยกประตู ส ลี ส่ ว นกิ จ การรถยนต์ ส่ ว นใหญ่ ไ ด้ข ยายออกไปตั้ง โชว์รู ม บนถนน ซุ ปเปอร์ ไฮเวย์ ธุ รกิ จเครื่ องใช้ไฟฟ้ าส่ วนใหญ่ต้ งั อยู่ย่านสี่ แยกประตูสลีและบนถนน ซุปเปอร์ไฮเวย์ รวมทั้งกิจการขนาดใหญ่ในเชียงรายก็ได้ขยายสาขาออกไปยังอ�ำเภอต่างๆ และจังหวัดใกล้เคียง ในขณะที่กิจการร้านทองและร้านจ�ำหน่ายแว่นตาก็ยงั คงตั้งอยูบ่ ริ เวณ ถนนธนาลัยเช่นเดิม เมื่อนับถึงในช่วงเวลานี้ศนู ย์กลางทางเศรษฐกิจของเชียงรายไม่ได้อยู่ เพียงย่านถนนธนาลัยแล้ว เนื่องจากกิจการค้าต่างๆ ได้กระจายออกไปทัว่ จังหวัดเชียงราย กิจการที่ดำ� เนิ นการบนถนนธนาลัยในปี พ.ศ. 2531 - พ.ศ. 2550 มีกิจการที่ดำ� เนิ นการ Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.6 No. 1 (January - June 2011)

105


บนถนนธนาลัยนอกจากกิ จการท้องถิ่ นที่ ดำ� เนิ นการมาตั้งแต่ช่วงระยะเวลาที่ 1 และ ช่วงระยะเวลาที่ 2 แล้วยังมีอีกหลายกิจการโดยส่ วนใหญ่ที่สังเกตได้ชดั คือการมีกิจการ จ�ำหน่ายทองรู ปพรรณและอัญมณี อีกจ�ำนวนมากซึ่ งเป็ นการเสริ มจุดเด่นของถนนธนาลัย ที่ถือว่าเป็ นย่านร้านทองมาตั้งแต่ช่วง 20 ปี รอบที่ 2 รวมทั้งมีร้านจ�ำหน่ายแว่นตามากขึ้น หลายร้านจนถือว่าเป็ นเส้นถนนที่มีร้านแว่นตามากที่สุด และที่ส�ำคัญคลินิกแพทย์กว่า 10 แห่ งก็เปิ ดด�ำเนิ นการบนถนนแห่ งนี้ แต่กิจการบางประเภทก็หายไปจากถนนธนาลัย เช่น โรงแรม โรงภาพยนตร์ ร้านสรรพสิ นค้า ร้านจ�ำหน่ายรถยนต์ รถจักรยานยนต์ ส�ำหรับ ตัวอย่างกิจการที่เกิดขึ้นในช่วงระยะเวลาที่ 3 ได้แก่ - กิจการจ�ำหน่ ายทองรู ปพรรณและอัญมณี เช่น ห้างทองเจ๊ณี ห้างทอง ฮัว่ ลักษณ์ ห้างทองสายอุทยั 2 ห้างทองศิ ริไทย ห้างทองสายอุทยั ห้างทองศรี ปัญญา ห้างเพชรทอง ศ.วิเชียร ห้างทองสกุลชัย หจก.สิ นชลนันท์ และร้านพีพี โกลด์ แอนด์ จิวเวอร์รี่ เป็ นต้น - กิ จ การจ�ำ หน่ า ยแว่ น ตา เช่ น แว่ น ท็ อ ปเจริ ญ ร้ า นแว่ น ตาบิ ว ตี้ ฟู ล ร้านเจริ ญนครการแว่น และร้านแว่นตาซิต้ ี เป็ นต้น - กิจการคลินิกแพทย์ เช่น ประจักษ์ทนั ตแพทย์ คลินิก ฟ.ฟัน คลินิกแพทย์ ปริ ญญา คลินิกโรคภูมิแพ้+หอบหืด คลินิกทันตแพทย์สมพงษ์ คลินิกโรคเด็ก เชียงรายแล็บ คลีนิคจุลพงศ์การแพทย์ และณัฐพลคลินิก เป็ นต้น - ส�ำนักงานทนายความ เช่น บริ ษทั เชียงรายนิตธิ รรมจ�ำกัด ส�ำนักงานอนันต์ ทนายความ และส�ำนักงานอุดมทรัพย์ เป็ นต้น - กิ จ การเสริ ม สวยและท�ำ ผม เช่ น ร้ า น แฮร์ ไ ดเมนชั่น ร้ า น Pink ร้านรันด์ ซาลอน และร้านแชมพู (วรานิศ) เป็ นต้น - กิจการจ�ำหน่ายรถจักรยาน เช่น ร้านแอ็ดจักรยาน เป็ นต้น - กิจการจ�ำหน่ายผ้าไหม เช่นร้านค�ำดารา และร้านกาญจนาผ้าไหม เป็ นต้น - กิจการจ�ำหน่ายอาหารและเครื่ องดื่ม เช่น ร้านเชียงรายฟู๊ ด ร้านนครปฐม 2 ร้านสุ โขทัยข้าวต้มจ่าฮี ร้านโอโซน ร้าน Bhuja และร้านโคโว่พลัส เป็ นต้น - กิจการจ�ำหน่ายเครื่ องส�ำอาง เช่น Oriental Princess และร้านอิ๊ด กุณฑล เป็ นต้น - กิจการจ�ำหน่ายสังฆภัณฑ์+ของช�ำร่ วยและของขวัญ เช่น ร้านมัตนาพร เชียงรายของช�ำร่ วย และร้านอิ๊กคิว กิ๊ฟช็อป เป็ นต้น - กิจการจ�ำหน่ายคอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ต เช่นร้าน KTC คอมพิวเตอร์ และ ร้านคาเรี ย คอมพิวเตอร์ Jump Wave Internet เป็ นต้น 106

วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปีท่ี 6 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถนุ ายน 2554)


- กิจการขายของช�ำ เช่นร้านหยงมินิมาร์ท และ ร้านแม่คำ� ใส เป็ นต้น - กิจการจ�ำหน่ายเสื้ อผ้า เช่นร้านสลิม และร้านทูเดย์ เป็ นต้น นอกจากนี้ ยงั มี กิจการประเภทอื่ นๆ เช่ น ร้ านธนาทรั พย์ (จ�ำหน่ ายหนังสื อ นิตยสาร) ร้ า นเชี ย งรายซ็ อ คเกอร์ ( จ�ำ หน่ า ยอุ ป กรณ์ กี ฬ า) ร้ า นเจริ ญ ดี เ ทเลคอมแอนด์ ค็อปฟี่ ช้อป (จ�ำหน่ ายโทรศัพท์ และกาแฟสด ) โรงเรี ยนสอนดนตรี บายฮาร์ ทมิ วสิ ค บมจ. อี ซี่ บ าย (ให้สิ น เชื่ อ และบัต รเครดิ ต ) พลมิ ว สิ ค (จ�ำ หน่ า ยเครื่ อ งดนตรี ส ากล) ร้านโอฬาร (จ�ำหน่ายอุปกรณ์ตดั เย็บ) ร้านถ่ายรู ปนิคเจนโฟโต้ ส�ำนักงานตรวจสอบบัญชี Perfect Home.co.ltd ร้านตัดสู ท เวิลด์สูทพลัส และ เชี ยงรายซิ เคียวริ ต้ ีแอนด์รีเสริ ร์ช (บริ การรักษาความปลอดภัย) เป็ นต้น กิจการเหล่านี้ส่วนใหญ่กระจายไปยังบล็อกต่าง ๆ แต่ส่วนใหญ่จะตั้งอยูใ่ นบล็อก C และบล็อก B ตามล�ำดับโดยกิจการเหล่านี้ยงั ด�ำเนินกิจการมาจนถึงปั จจุบนั ปั จ จัย ที่ ส่ ง ผลต่ อ การเปลี่ ย นแปลงทางการค้า การลงทุ น บนถนนธนาลัย ในปี พ.ศ. 2531 - พ.ศ. 2550 มีดงั นี้ - การที่ เ ศรษฐกิ จ ของประเทศไทยในช่ ว งปี พ.ศ.2531 - พ.ศ.2534 เป็ นภาวะเศรษฐกิจที่ดีมาก อัตราการขยายตัวของผลิตภัณฑ์มวลรวมของประเทศ (GDP) อยูใ่ นระดับเฉลี่ยกว่าร้อยละ10 สู งเป็ นอันดับต้นๆ ของทุกประเทศทัว่ โลก และสู งที่สุด นับตั้งแต่ใช้แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 1ใน ปี พ.ศ. 2504 เป็ นต้นมา การที่ภาวะเศรษฐกิจของประเทศดี ก็ส่งผลดีต่อการค้าการลงทุนทัว่ ประเทศ เนื่ องจาก ก�ำลังซื้ อของผูบ้ ริ โภคมีสูงขึ้น ซึ่ งในช่วงเวลานี้ กิจการค้าในย่านถนนธนาลัยก็ได้รับผลดี อย่างมาก เนื่ องจากยังเป็ นศูนย์กลางของย่านการค้าที่ ส�ำคัญของเชี ยงราย เรี ยกได้ว่า ช่วงเวลานี้เป็ นช่วงที่ดีที่สุดช่วงหนึ่งของการค้าในย่านถนนธนาลัย แต่อย่างไรก็ตามแม้วา่ ภาวะเศรษฐกิจดีจะท�ำให้การค้าในย่านนี้ ดีมากๆ แต่ผลเสี ยที่ตามมาคือการจราจรแออัด เนื่ องจากภาวะเศรษฐกิจที่ดีทำ� ให้มีการซื้ อรถมากขึ้นจึงท�ำให้ผบู ้ ริ โภคหันไปใช้บริ การ ในท�ำเลอื่นๆ ที่มีความสะดวกมากกว่า - ปั ญ หาการจราจรเกิ ด ขึ้ น ตั้ง แต่ ช่ ว งที่ มี ก ารเติ บ โตทางเศรษฐกิ จ ในปี พ.ศ.2531 - พ.ศ.2532 และหลังจากนั้นปริ มาณยอดขายรถยนต์และรถมอเตอร์ ไซค์ มีมากขึ้นเรื่ อย ๆ ท�ำให้การจราจรบนถนนธนาลัยมีปริ มาณมากขึ้น จนปี พ.ศ.2540 ได้มีการ ก�ำหนดให้ถนนธนาลัยเป็ นถนนส�ำหรับรถวิง่ ทางเดียว (One Way) เพือ่ ความสะดวกในการ จอดรถและความคล่องตัวของการเดินรถผ่านถนนเส้นนี้ แต่กิจการต่าง ๆ ในย่านถนน Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.6 No. 1 (January - June 2011)

107


ธนาลัยต่างเรี ยกร้องให้กลับไปเป็ นถนนส�ำหรับให้รถวิง่ ได้สองทางเหมือนเดิม เนื่องจาก เห็นว่าถนนส�ำหรับรถวิง่ ทางเดียวท�ำให้ลกู ค้าไม่มีความสะดวกในการไปใช้บริ การร้านค้า บนถนนสายนี้ รวมทั้ง ยัง เห็ น ว่า ท�ำ ให้เ ศรษฐกิ จ ในย่า นนี้ ตกต�่ำ ลง ภายหลัง ไม่ น าน หน่ วยงานของรัฐก็มีนโยบายให้กลับไปเป็ นถนนส�ำหรับรถวิ่งได้สองทางเหมือนเดิ ม แต่อย่างไรก็ตามความหนาแน่นของการจราจรบนถนนธนาลัยที่มีปริ มาณมากขึ้น ท�ำให้ เกิดความไม่สะดวก และท�ำให้ลกู ค้าหันไปจับจ่ายยังท�ำเลอื่นที่สะดวกกว่า - การเกิ ด โครงการพัฒ นาดอยตุ ง โดยโครงการได้เ ริ่ ม ด�ำ เนิ น งาน ในปี พ.ศ. 2531 เพื่อพัฒนาพื้นที่ดอยตุง ซึ่งมีพ้นื ที่ประมาณ 93,515 ไร่ ในเขตอ�ำเภอแม่จนั อ�ำเภอแม่ฟ้าหลวง และอ�ำเภอแม่สาย จังหวัดเชี ยงราย การด�ำเนิ นงานตามแผนพัฒนา ดังกล่าว มีมลู นิธิแม่ฟ้าหลวงเป็ นศูนย์กลางในการปฏิบตั ิงาน พร้อมกันนั้นได้มีการจัดสร้าง พระต�ำหนักดอยตุ งขึ้ นเพื่อเป็ นที่ ประทับพักผ่อนและทรงงานปลูกป่ าที่ ดอยตุ ง ของ สมเด็ จ ย่ า โดยสวนแม่ ฟ้ าหลวง ซึ่ งอยู่ ต รงเนิ น เขาด้า นหลัง พระต�ำ หนั ก ดอยตุ ง ทางการท่องเที่ยวแห่ งประเทศไทย (ททท.) ได้เผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ให้นกั ท่องเที่ยว เดินทางท่องเที่ยวในพื้นที่พฒั นาโครงการดอยตุง และตามแผนงานส่ งเสริ มคุณภาพชีวิต ในโครงการพัฒนาดอยตุงนั้นมีการจัดตั้ง ศูนย์ฝึกอาชีพผาหมี โดยเป็ นศูนย์บำ� บัดและฟื้ นฟู สมรรถภาพผูต้ ิดยาเสพติด พร้อมกับฝึ กฝนอาชีพควบคู่ไปด้วย เพื่อให้ผบู ้ ำ� บัดน�ำไปใช้ ประกอบอาชี พ เมื่ อ หายเป็ นปกติ แ ล้ว และมี ก ารจัด ตั้ง โรงเรี ย นสั ง วาลย์วิ ท ย์ และ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง เพือ่ ให้ประชาชนในท้องถิ่นได้รับการศึกษาอย่างทัว่ ถึง และเพือ่ ผลิตบุคลากรที่มีคุณภาพเพื่อออกไปท�ำงาน ตามรอยพระยุคลบาทของสมเด็จย่าต่อไป การปลูกป่ าสร้างคนในโครงการพัฒนาดอยตุง นับเป็ นพระมหากรุ ณาธิ คุณอันยิ่งใหญ่ แก่แผ่นดิน โดยเฉพาะอย่างยิง่ เป็ นพระมหากรุ ณาธิคณ ุ อันยิง่ ใหญ่ตอ่ ประชาชนชาวเชียงราย ซึ่งโครงการท�ำให้เกิดการจ้างงาน การลงทุน การเป็ นแหล่งท่องเที่ยว ท�ำให้เศรษฐกิจของ เชียงรายดีข้ ึนเป็ นล�ำดับจากโครงการพัฒนาดอยตุง ท�ำให้ส่งผลดีอย่างมากต่อเศรษฐกิจ ในจังหวัดเชี ยงราย แต่ เนื่ องจากย่านการค้าของเชี ยงรายได้กระจายไปยังท�ำเลต่ างๆ ทัว่ เชียงราย โดยไม่ได้กระจุกตัวอยูเ่ ฉพาะที่ยา่ นการค้าบนถนนธนาลัยเหมือนเช่นในอดีต ดังนั้นถึงแม้โครงการพัฒนาดอยตุงจะส่ งผลดีต่อย่านการค้าบนถนนธนาลัยแต่กไ็ ม่ส่งผล มากนัก - เหตุการณ์ที่ประเทศไทยเผชิญกับวิกฤตทางการเงินในปี พ.ศ. 2540 โดย วิกฤตเศรษฐกิจไทยเริ่ มเกิดขึ้นนับแต่ปลายปี 2538 เป็ นต้นมา ภาวะการส่งออกของไทยเริ่ ม ชะลอตัว ซึ่ งเกิดจากสาเหตุหลายประการ เช่น ภาวะเงินเฟ้ อ ภาวะเศรษฐกิจโลก และค่า 108

วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปีท่ี 6 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถนุ ายน 2554)


ของเงินบาทที่สูงเกินไป ดุลบัญชีเดินสะพัดขาดดุลสู งขึ้นจนท�ำให้เป็ นที่คาดการณ์กนั ว่า ค่าของเงินบาทจะต้องลดลง เพือ่ สร้างความมัน่ ใจให้กบั ค่าของเงินบาท รัฐบาลไทยพยายาม รักษาค่าเงินบาทจนต้องสู ญเสี ยเงินทุนส�ำรองเงินตราไปจนเกือบหมด ในขณะเดียวกัน กับการเปิ ดเสรี ทางการเงิน และการที่อตั ราดอกเบี้ ยในประเทศไทยสู งขึ้น จึงมีเงินทุน ไหลเข้ามามาก มีการกูห้ นี้ ยมื สิ นกันอย่างมากมาย และสถาบันการเงินก็ได้ปล่อยสิ นเชื่อ ค่อนข้างง่าย ขาดความระมัดระวัง รวมทั้งมีการกูเ้ งินไปใช้จ่ายในการบริ โภคและการ เก็งก�ำไรในตลาดหลักทรัพย์ และอสังหาริ มทรัพย์ ซึ่งไม่ก่อให้เกิดประสิ ทธิภาพในการผลิต รวมทั้งในช่วงนี้สถาบันการเงินถูกปิ ด ธุรกิจล้มละลาย อัตราการว่างงานสูงขึ้นอย่างไม่เคย เป็ นมาก่อน นับเป็ นวิกฤตเศรษฐกิจที่มีความรุ นแรงที่สุดอีกครั้งหนึ่ งในประวัติศาสตร์ เศรษฐกิ จไทยซึ่ งส่ งผลกระทบไปทุกภาคส่ วน ซึ่ งเชี ยงรายก็เป็ นจังหวัดหนึ่ งที่ ได้รับ ผลกระทบจากวิกฤตเศรษฐกิจครั้งนี้ ปั จจัยนี้ทำ� ให้การค้าในเชียงรายซบเซาลงซึ่ งรวมถึง การค้าในย่านถนนธนาลัยด้วยเช่นกัน - การที่บิ๊กซี ซู เปอร์ เซ็นเตอร์ (Big C Supercenter) มาตั้งยังจังหวัด เชี ย งราย โดยได้เ ริ่ ม เปิ ดด�ำ เนิ น การในวัน ที่ 24 กัน ยายน พ.ศ. 2540 บริ เ วณถนน ซุปเปอร์ ไฮเวย์ ซึ่ งบิ๊กซี เป็ นธุรกิจค้าปลีกสมัยใหม่ในรู ปแบบซูเปอร์ เซ็นเตอร์ ขนาดใหญ่ ที่จดั จ�ำหน่ายสิ นค้าอุปโภคและบริ โภคที่หลากหลายในราคาต�่ำ รวมทั้งมีร้านค้าที่ทนั สมัย อยู่ภ ายใน และยัง มี ธ นาคาร โรงภาพยนตร์ ร้ า นอาหารจานด่ ว น ฯลฯ รวมทั้ง มี ความสะดวกสบายทั้ง เครื่ อ งปรั บ อากาศ ที่ จ อดรถ การเกิ ด บิ๊ ก ซี ใ นเชี ย งรายท�ำ ให้ เป็ นจุดดึ งดูดผูซ้ ้ื อจากทัว่ ทุกแห่ งในเชี ยงรายให้มายังที่แห่ งนี้ ความที่บิ๊กซี มีสินค้าและ บริ การที่หลากหลายท�ำให้เป็ นคู่แข่งกับกิจการทัว่ เชียงราย แม้แต่กิจการในตลาดสด และ ที่แน่ นอนบิ๊กซี คือคู่แข่งที่สำ� คัญของกิจการในย่านถนนธนาลัย โดยเฉพาะสิ นค้าหลักๆ ในย่านถนนธนาลัยล้วนมีที่บ๊ิกซี แต่บิ๊กซีมีความสะดวกสบายมากกว่าทั้งอากาศที่เย็นสบาย จากเครื่ องปรับอากาศ และที่จอดรถในปริ มาณที่มาก ดังนั้นการเกิดกิจการบิ๊กซีในพ.ศ. 2540 คือส่ วนส�ำคัญที่ทำ� ให้การค้าในย่านถนนธนาลัยถูกลดบทบาทลงไปอย่างมาก จากการที่ยา่ นการค้าบนถนนธนาลัยซึ่ งเป็ นศูนย์กลางทางเศรษฐกิจและการค้า ที่ ส�ำคัญที่ สุดของเชี ยงรายตั้งแต่ หลังสงครามโลกครั้ งที่ 2 ผ่านมาจนถึ งปี พ.ศ. 2550 มีปัจจัยต่าง ๆ ที่ทำ� ให้เห็นว่า เมื่อเวลาผ่านไปบทบาททางการค้าของถนนธนาลัยมีมากขึ้น และต่อมาบทบาททางการค้าของถนนธนาลัยก็ได้ลดลงไปเรื่ อย ๆ การเปลี่ ยนแปลง เหล่านี้เกิดจากสิ่ งแวดล้อมทางธุรกิจที่เปลี่ยนแปลงไป

Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.6 No. 1 (January - June 2011)

109


บทสรุปและข้ อเสนอแนะ

การเปลีย่ นแปลงทางด้านการค้าการลงทุนของธุรกิจย่านถนนธนาลัยในรอบ 60 ปี (พ.ศ.2489-2550 ) จะเห็นว่าถนนธนาลัยมีบทบาทส�ำคัญทางการค้าตั้งแต่ช่วงสงครามโลก ครั้ งที่ 2 และเมื่ อสงครามสิ้ นสุ ดก็มีกิจการที่ ทำ� การค้าบนถนนธนาลัยมากขึ้นเรื่ อย ๆ ซึ่ งถือเป็ นจุดเริ่ มต้นของแหล่งการค้าที่สำ� คัญของเชี ยงรายนับจากสงครามโลกครั้งที่ 2 สิ้ นสุ ดลง จากนั้นความเจริ ญในย่านธนาลัยก็มีมากขึ้นเรื่ อย ๆ จนถึงจุดหนึ่งที่ยา่ นการค้า แห่งนี้เริ่ มอิ่มตัว และจากนั้นก็เข้าสู่ช่วงถดถอย โดยมีลกั ษณะคล้ายกับย่านการค้าบนถนน ท่าแพของเชียงใหม่ และย่านการค้าสบตุ๋ยของล�ำปาง การเปลี่ยนแปลงดังกล่าวถือได้วา่ เป็ น อได้วา่ เป็รกินวัจฏจัซึก่ งรของธุ รกิจ ซึย่ งบเที หากเปรี บขั้นตอนของวั นทฤษฐี ทางการตลาดทั้ง วัดังฏกล่จักาวถืรของธุ หากเปรี ยบกัยบเที บขัย้ นบกัตอนของวั ฏจัฏกจักรชีรชีวิตตผลิ ผลิตตภัณภัฑ์ณใฑ์ ในทฤษฎี 4 ขั้นตอนแล้ว สามารถเปรี ยบได้ดวงั สามารถเปรี นี้ ทางการตลาดทั ตอนแล้ ยบเทียบได้ดงั นี้ ้ ง 4 ขั้นยบเที ยอดขาย ขั้นแนะนํา

ขั้นเจริ ญเติบโต

ขั้นอิ่มตัว

ขั้นถดถอย

ระยะเวลา

ภาพที่ 3 ขั้นตอนของวัฏจักรชีวติ ผลิตภัณฑ์

ภาพที่ 3 ขั้นตอนของวัฏจักรชีวติ ผลิตภัณฑ์

110

1. ขั้นแนะนํา (Introduction) เป็ นขั้นที่ยอดขายจะเพิ่มขึ้นอย่างช้า ๆ เนื่ องจากเป็ นช่วงเริ่ มต้น โดยย่านการค้าบน ถนนธนาลั ยหลั และในปี พ.ศ.่ม2549 ถือาว่งช้ าเป็านจุๆดเริเนื่ ม่ต้อนงจาก ทางการค้าของ ้ งที่ 2 สิ้ นสุ ดลง ในปีนพ.ศ. 1. งขัจากสงครามโลกครั ขั้นที2488 ่ยอดขายจะเพิ ขึ้นอย่ ้ นแนะน�ำ (Introduction) เป็ ย่านนี ความเจริ ค่อยๆานการค้ เพิ่มขึ้น จนถึ งประมาณ พ.ศ.2501จากการเสด็ จฯ เยือนเชียงรายครั จ เป็ นช่้ ซึว่ งงเริ โดยย่ าบนถนนธนาลั ยหลังจากสงครามโลกครั สิ้ นสุ ดลง ่ มต้นญได้ ้ งที้่ ง2แรกของพระบาทสมเด็ พระเจ้พ.ศ. าอยูห่ 2488 ัวฯ และสมเด็ จพระนางเจ้ าพระบรมราชิ ญก็ได้เพิ่มมากขึ งถือว่าประมาณปี ้ นตามลํ ในปี และในปี พ.ศ. 2549 ถือว่าเป็นนีนจุาถดเริความเจริ าของย่ านนีา้ดัซึบ่ งจึความเจริ ญ พ.ศ. ่ มต้นทางการค้ 2489 –พ.ศ. 2505อยูใ่ นขั้นแนะนํา ได้ ค่อยๆ เพิ่มขึ้น จนถึงประมาณ พ.ศ.2501จากการเสด็จฯ เยือนเชี ยงรายครั้งแรกของ 2. ขั้นเจริ ญเติบโต (Growth) ในขั้นนี้ ลกั ษณะของยอดขายจะเพิ่มสู งขึ้นอย่างรวดเร็ ว เนื่องจากธุ รกิจเป็ นที่รู้จกั พระบาทสมเด็ จพระเจ้าอยูห่ วั ฯ และสมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถ ความเจริ ญก็ได้ มากขึ้น โดยมีผซู ้ ้ื อเพิ่มมากขึ้น ซึ่ งทําให้มีผเู้ ข้ามาลงทุนเพิ่มมากขึ้น โดยในช่วงนี้ ยา่ นการค้าบนถนนธนาลัยมีกิจการที่ทาํ เพิ จึงถือว่าประมาณปี นขั้นงแนะน� ่มมากขึ การค้ ามากขึ้ ้น นเรืตามล� ่ อย ๆ ำเนืดั่ อบงจากความเป็ นย่านการค้าพ.ศ.2489 ที่สาํ คัญที่สุด–พ.ศ. ของเชีย2505อยู งรายจึงเป็ใ่ นแรงดึ ดูดให้มำีผทู้ ี่สนใจเข้ามาลงทุน จํานวนมาก และยิ 2. ขัง่้ นมีเจริ ญเติานวนมาก บโต (Growth) ในขั นี้ลกั เษณะของยอดขายจะเพิ ขึ้นอย่างพ.ศ.2506 กิจการจํ ผูซ้ ้ื อก็ยงิ่ เพิม่ มากขึ้น้ นหากวิ คราะห์จากปัจจัยต่าง ๆ แล้วเห็่มนสูว่งาประมาณปี รวดเร็ ว เนืย่า่อนการค้ งจากธุาบนถนนธนาลั รกิจเป็ นที่รยู ้จอยูกั ใ่ มากขึ ู ้ ้ื อเพิ่มมากขึ้น ซึ่ งท�ำให้มีผเู ้ ข้ามาลงทุน – พ.ศ. 2525 นขั้นเจริ้ นญโดยมี เติบโต ผซ 3. ้ นขั้นโดยในช่ อิ่มตัว (Maturity) ยอดขายในขั อตั ราการเติ บโตทีา่ลมากขึ ดลง เนื้ น่ อเรื งจากความต้ ้ นนี้ เพิ่มขึ้นแต่เยพิมี่มในมี เพิ่มมากขึ วงนี้ ยา่ นการค้ าบนถนนธนาลั กิจการที ่ทำ� การค้ ่ อย ๆ องการ ผลิตภัณฑ์ได้เพิ่มจนถึงขีดสุ ดแล้ว และยอดขายเริ่ มคงที่จากนั้นในช่วงท้ายของขั้นตอนนี้ ยอดขายเริ่ มลดลง ซึ่ งย่านการค้า บนถนนธนาลัยในช่วงหลังปี พ.ศ. 2525 ย่านการค้าอื่น ๆ ในตัวเมืองเชียงรายเริ่ มกลายเป็ นคู่แข่งที่สําคัญมากขึ้นเรื่ อย ๆ วารสารวิทยาการจั ดการ ทยาลัยขราชภั เชียงงราย โดยเฉพาะย่ านการค้ าบริมหาวิ เวณสถานี นส่ งฎแห่ ใหม่ที่มีสิ่งดึ งดูดมากกว่า ทั้งร้านค้าที่หลากหลาย โรงแรมที่ทนั สมัย เช่น ปีท่ี 6 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถนุ ายน 2554) โรงแรมเวียงอิ นทร์ โรงแรมวังคํา รวมทั้งมี โรงภาพยนต์เชี ยงรายรามา 1และเชี ยงรายรามา 2 และภายหลังย่านนี้ ช่วง


เนื่ องจากความเป็ นย่านการค้าที่ส�ำคัญที่สุดของเชี ยงรายจึงเป็ นแรงดึงดูดให้มีผทู ้ ี่สนใจ เข้ามาลงทุนจ�ำนวนมาก และยิง่ มีกิจการจ�ำนวนมาก ผูซ้ ้ือก็ยง่ิ เพิม่ มากขึ้น หากวิเคราะห์จาก ปั จจัยต่าง ๆ แล้วเห็นว่าประมาณปี พ.ศ.2506 – พ.ศ. 2525 ย่านการค้าบนถนนธนาลัย อยูใ่ นขั้นเจริ ญเติบโต 3. ขั้นอิ่มตัว (Maturity) ยอดขายในขั้นนี้ เพิ่มขึ้นแต่เพิ่มในมีอตั ราการเติบโต ที่ลดลง เนื่ องจากความต้องการผลิตภัณฑ์ได้เพิ่มจนถึงขีดสุ ดแล้ว และยอดขายเริ่ มคงที่ จากนั้นในช่วงท้ายของขั้นตอนนี้ ยอดขายเริ่ มลดลง ซึ่ งย่านการค้าบนถนนธนาลัยในช่วง หลังปี พ.ศ. 2525 ย่านการค้าอื่น ๆ ในตัวเมืองเชียงรายเริ่ มกลายเป็ นคู่แข่งที่สำ� คัญมากขึ้น เรื่ อย ๆ โดยเฉพาะย่านการค้าบริ เวณสถานีขนส่ งแห่งใหม่ที่มีส่ิ งดึงดูดมากกว่า ทั้งร้านค้า ที่ ห ลากหลาย โรงแรมที่ ท ัน สมัย เช่ น โรงแรมเวี ย งอิ น ทร์ โรงแรมวัง ค�ำ รวมทั้ง มี โรงภาพยนตร์เชียงรายรามา 1 และเชียงรายรามา 2 และภายหลังย่านนี้ช่วงกลางคืนยังเป็ น ที่จบั จ่ายสิ นค้าที่เรี ยกว่าเชี ยงรายไนท์บาซา ดังนั้นหากวิเคราะห์จากปั จจัยต่าง ๆ แล้ว เห็นว่าประมาณปี พ.ศ.2526 – พ.ศ. 2540 ย่านการค้าบนถนนธนาลัยอยูใ่ นขั้นอิ่มตัว โดย เห็นว่าช่วงประมาณปี พ.ศ.2526 – พ.ศ. 2530 เป็ นช่วงที่การเติบโตเริ่ มชะลอตัวลง ประมาณ ปี พ.ศ.2531 – พ.ศ. 2535 เป็ นช่วงที่ยา่ นการค้าบนถนนธนาลัยเติบโตสู งสุ ดซึ่ งเป็ นช่วงที่ เศรษฐกิจของประเทศไทยดีที่สุด และประมาณปี พ.ศ.2535 – พ.ศ. 2540 การเติบโตของ ย่านการค้าบนถนนธนาลัยเริ่ มลดลงเนื่องจากย่านการค้าอื่นๆ ในเชียงรายมีมากขึ้นเรื่ อยๆ 4. ขั้นถดถอย (Decline) ในขั้นนี้ ยอดขายลดลง เนื่ องจากธุ รกิจผ่านระยะเวลา มานาน ท�ำให้เกิดความล้าสมัย ประกอบกับคู่แข่งขันมีจำ� นวนมากขึ้น จากการวิเคราะห์ เห็นว่าหลังปี พ.ศ.2540 ย่านการค้าบนถนนธนาลัยถือว่าเข้าสู่ ข้ นั ถดถอย โดยความส�ำคัญ ในฐานะแหล่งการค้าส�ำคัญที่สุดของเชี ยงรายถูกลดบทบาทลงไป ทั้งนี้ ความทันสมัย ของย่านธนาลัยไม่สามารถสูค้ ู่แข่งขันได้ ขณะเดียวกันย่านการค้าที่เป็ นคู่แข่งขันมีมากขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิง่ การเปิ ดกิจการบิ๊กซี ซูปเปอร์เซ็นเตอร์ในกลางปี พ.ศ.2540 ในเชียงราย ซึ่ งเป็ นแหล่งจับจ่ายที่ได้รับความนิยมอย่างมาก ท�ำให้ลูกค้าในย่านธนาลัยลดลง รวมทั้ง ไนท์บาซาบริ เวณสถานี ขนส่ งก็ได้รับความนิ ยมมากขึ้นเรื่ อย ๆ กิจการต่าง ๆ หันมาให้ ความสนใจในการลงทุนในย่านสถานีขนส่งนี้อย่างมาก เช่นการลงทุนเปิ ดกิจการของสิ นค้า หรื อบริ การที่มีชื่อเสี ยงระดับประเทศ เช่ น เดอะพิชซา คอมพานี ไอศครี มสเวนเซ่ น ร้ า นจ�ำ หน่ า ยผลิ ต ภัณ ฑ์ กี ฬ าอดิ ด าส ฯลฯ ซึ่ งในขณะที่ ย่ า นการค้า อื่ น ๆ ได้รั บ ความสนใจในการค้าการลงทุ นมากขึ้ น ท�ำให้ย่านการค้าบนถนนธนาลัยกลับได้รับ ความสนใจลดลง Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.6 No. 1 (January - June 2011)

111


การศึ กษาถึ งการเปลี่ ยนแปลงทางด้านการค้าการลงทุ นของธุ รกิ จย่านถนน ธนาลัยในรอบ 60 ปี (พ.ศ.2489-2550) ท�ำให้ทราบถึงการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นกับ การค้าการลงทุนตั้งแต่ช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 จนถึงปี พ.ศ. 2550 และการศึกษา ถึงปั จจัยที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงการค้าการลงทุนของธุ รกิจย่านถนนธนาลัย ท�ำให้ ทราบว่ า มี ปั จ จัย ใดที่ ส่ ง ผลต่ อ การเปลี่ ย นแปลงดัง กล่ า ว ดัง นั้ น ข้อ เสนอแนะที่ มี ผูท้ ี่มีส่วนเกี่ยวข้องกับถนนสายนี้ มีดงั นี้ 1. เนื่องจากย่านการค้าที่เป็ นคู่แข่งขันของธุรกิจย่านถนนธนาลัยมีมากขึ้น ท�ำให้ บทบาททางด้านเศรษฐกิ จและการค้าของย่านการค้านี้ ลดลงอย่างมาก การที่ จะท�ำให้ ย่านการค้าบนถนนธนาลัยยังมีบทบาทส�ำคัญต่อไป เห็นควรสร้างจุดเด่นให้เป็ นย่านธุรกิจ เฉพาะด้านใดด้านหนึ่ งที่โดดเด่น เช่นปั จจุบนั ย่านธุ รกิจบนถนนธนาลัยแม้ในภาพรวม จะถู ก ลดบทบาทลงไปแต่ ถ นนธนาลัย ยัง มี ค วามส�ำ คัญ ที่ เ ป็ นย่า นของร้ า นทอง โดย ในปัจจุบนั มีร้านทองบนถนนธนาลัย จ�ำนวน 15 แห่ง และตั้งอยูบ่ ริ เวณใกล้กนั โดยมีจำ� นวน ถึง 14 ร้านที่อยูใ่ นบล็อก C (ทั้งนี้ยงั ไม่รวมร้านทองอีกหลายร้านที่อยูบ่ นถนนสุ ขสถิตซึ่ ง อยูใ่ กล้ ๆ กัน) ดังนั้นธนาลัยควรจะสร้างจุดเด่นโดยเป็ นย่านธุรกิจด้านใดด้านหนึ่งเพิม่ เติม เช่นเดียวกับย่านร้านทองบนถนนเยาวราช ดังนั้นประเภทของกิจการที่มีอยูจ่ ำ� นวนมาก บนถนนธนาลัยเช่น ส�ำนักงานทนายความมีถึง 9 แห่ง หรื อร้านจ�ำหน่ายแว่นตามี 5 แห่ง ซึ่ งมากกว่าทุกย่านในเชียงราย ซึ่ งสามารถสร้างจุดเด่นให้เป็ นย่านธุ รกิจเฉพาะจะท�ำให้ เกิดความสนใจมากขึ้น เช่นในตัวเมืองเชียงรายหากนึกถึงย่านรถมอเตอร์ไซค์จะอยูใ่ นย่าน สี่ แยกประตูสลี และหากนึกถึงย่านธุรกิจรถยนต์ส่วนใหญ่จะอยูใ่ นย่านถนนซุปเปอร์ไฮเวย์ เป็ นต้น 2. เนื่องจากถนนธนาลัยเป็ นย่านประวัติศาสตร์ทางการค้าของเชียงราย และยังมี ร้านค้าที่ยงั คงสภาพดั้งเดิมเหมือนกับหลายสิ บปี ที่ผา่ นมา เช่นร้านซีเปี ยว ร้านฮิมกี่ โรงแรม เผ่าวัฒนา ร้ านกาแฟอุดมมิ ตร ร้ านสุ วิรุฬชาไทย ร้ านเรื อนชัยโอสถ รวมทั้งร้ านทอง สายอุทยั ซึ่ งเป็ นอาคารพาณิ ชย์หลังแรกๆ ในถนนธนาลัย สิ่ งเหล่านี้ สามารถท�ำให้เป็ น แหล่งท่องเที่ ยวในเชิ งประวัติศาสตร์ ทางการค้าของเชี ยงราย โดยส่ งเสริ มให้อนุ รักษ์ รู ปแบบของตัวอาคาร หรื อรู ปแบบของกิจการแบบดั้งเดิม ซึ่ งจะเป็ นจุดดึงดูดความสนใจ ของนักท่องเที่ยว ในรู ปแบบของ City Tour โดยน�ำเสนอเรื่ องราวเชิ งประวัติศาสตร์ ทางการค้าในรู ปแบบสื่ อต่าง ๆ ผ่านหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยวต่อไป

112

วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปีท่ี 6 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถนุ ายน 2554)


รายการอ้ างอิง กฤษฎา กฤษณะเศรณี (,มปป). พ่ อฟ้าหลวง บันทึกแห่ งประวัตศิ าสตร์ ครั้งเสด็จประพาส ภาคเหนือ ในปี พ.ศ 2501, RICH PUBLISHING . คณะอาจารย์โครงการสนับสนุ นการเพิ่มวุฒิของบุคลากรสู่ ระดับบัณฑิตศึกษา สถาบัน ราชภัฏเชียงราย(2543). เชียงรายใน 100 ปี ทีล่ ่ วงแล้ ว. สถาบันราชภัฏเชียงราย, ฑูรย์ เหลียวรุ่ งเรื องและคณะ(2547). โครงการเผยแพร่ เส้ นทางท่ องเทีย่ วสถาปัตยกรรมเชิง ประวัตศิ าสตร์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ . มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. บุญเสริ ม สาตราภัย และจักรพงษ์ ค�ำบุญเรื อน(มปป). เอกสารและภาพประกอบลานนา ไทยในอดีต. เชียงใหม่. มปป ปรี ชา ศรี วาลัย(2543). สงครามโลกครั้งที่ 2 . กรุ งเทพมหานคร . โอเดียนสโตร์ . สุ ภ างค์ จัน ทวานิ ช (2549). ส� ำ เพ็ง ประวั ติ ศ าสตร์ ชุ ม ชนชาวจี น ในกรุ ง เทพฯ, เลค แอนด์ ฟาวด์เท่น พริ้ นท์ติ้ง จ�ำกัด. หนังสื ออนุสรณ์พิธีพระราชทานดินฝังศพ,คุณพ่อประสพ จงสุ ทธนามณี ต.ม.,พ.ศ 2548 ไชยนารายณ์,ปี ที่ 28 ฉบับที่ 6 http://www.bus.ubu.ac.th/1701101.html

Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.6 No. 1 (January - June 2011)

113


ภาคผนวก

ภาพที่ 1 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ฯ พร้อมด้วยสมเด็จพระนางเจ้า พระบรมราชินีนาถ ทรงเสด็จฯประพาสเหนือเป็ นครั้งแรกและได้เสด็จฯ มายังเชียงราย ในวันที่ 10 มีนาคม พ.ศ.2501 โดยรถยนต์พระที่นงั่ ผ่านถนนธนาลัย กลางเมืองเชียงราย ที่มีประชาชนมารอรับเสด็จอย่างคับคัง่

ภาพที่ 2 ตัวอย่างโฆษณาในปี พ.ศ. 2494 ของร้านค้าที่ต้ งั อยูใ่ นย่านการค้าถนนธนาลัย 114

วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปีท่ี 6 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถนุ ายน 2554)


ภาพที่ 3 เหตุการณ์ไฟไหม้ตลาดสดและร้านค้าในย่านถนนธนาลัยในปี พ.ศ. 2494

ภาพที่ 4 บรรยากาศหน้าโรงภาพยนตร์สุริวงศ์ แหล่งบันเทิงบนถนนธนาลัยในอดีต ภาพนี้ถ่ายในปี พ.ศ. 2506 โดยในสมัยนั้นรถ 3 ล้อรับจ้างยังเป็ นที่นิยมอย่างมาก Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.6 No. 1 (January - June 2011)

115


ภาพที่ 5 ถนนธนาลัยบริ เวณ 4 แยกสรรพสามิตประมาณปี พ.ศ. 2492 ในภาพที่เห็น ด้านซ้ายมือบนที่เป็ นที่ลอ้ มรั้วคือที่ต้ งั สรรพสามิตจังหวัดเชียงราย โดยเห็นถึงวิถีชีวติ ที่ผคู ้ นยังนิยมใช้รถจักรยานและถนนยังไม่มีรถพลุกพล่านเช่นปั จจุบนั

ภาพที่ 6 ถนนธนาลัยบริ เวณ 4 แยกสรรพสามิตอีกมุมหนึ่ง ในภาพที่เห็นด้านขวามือ ที่เป็ นที่ลอ้ มรั้วคือที่ต้ งั สรรพสามิตจังหวัดเชียงราย ส่ วนบริ เวณข้างรั้วเป็ นภาพ โต๊ะขายของ ที่พิงเก็บไว้น้ นั เป็ นที่ต้ งั ของตลาดสดเล็กๆ ในตอนเย็น 116

วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปีท่ี 6 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถนุ ายน 2554)


ภาพที่ 7 ภาพเปรี ยบเทียบถนนธนาลัยที่ถ่ายในมุมเดียวกัน (จุดสังเกตคือรางน�้ำฝนด้านมุมซ้ายบน) โดยภาพด้านบนถ่ายในปี พ.ศ. 2504 ส่ วนภาพด้านล่างถ่ายในปี พ.ศ. 2548 ห่างกัน 44 ปี โดยมีอาคารไม้ 2 ชั้น ตรงกลางภาพคือร้านซีเปี ยวที่ตวั อาคารยังไม่เปลี่ยนแปลง ส่ วนบริ เวณรอบข้างได้เปลี่ยนแปลงไปมาก Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.6 No. 1 (January - June 2011)

117


ผลกระทบของรายจ่ ายภาครัฐและภาคการลงทุน ต่ อการเจริญเติบโตของเศรษฐกิจไทย* The Effect of Government Expenditures and Private Investment on Thai Economic Growth บทคัดย่ อ

สมภูมิ แสวงกุล**

การวิจยั ครั้งนี้ มีวตั ถุประสงค์เพื่อศึกษา ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจของรายจ่าย ภาครัฐ รายจ่ายลงทุนภาคเอกชน และผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ โดยอาศัยข้อมูล อนุกรมเวลารายไตรมาสระหว่างปี พ.ศ.2539-2553 จากส�ำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการ เศรษฐกิจและสังคมแห่ งชาติ และใช้แบบจ�ำลองทางเศรษฐมิติ Vector Autoregressive Model (VAR) ในการวิเคราะห์หาความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร ผลการวิจ ยั พบว่า พลวัตเศรษฐกิ จไทยเป็ นไปตามแนวคิ ดของเคนส์ อย่าง เห็นได้ชดั จากผลของการแทรกแซงระบบเศรษฐกิจโดยรายจ่ายของภาครัฐในช่วงที่ผา่ นมา มีส่วนส�ำคัญต่อการเพิ่มขึ้นของผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ มากกว่ารายจ่ายลงทุน ของภาคเอกชน ค�ำส� ำคัญ : รายจ่ายภาครัฐ รายจ่ายลงทุนภาคเอกชน การเจริ ญเติบโตของเศรษฐกิจไทย

* เนื้อหาในบทความวิจัยนี้ เป็นส่วนหนึ่งของ งานวิจัยของผู้เขียนเรื่อง “ความสัมพันธ์ของการใช้จ่ายภาครัฐ การลงทุนภาคเอกชน และผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ” และบทความนี้ได้ปรับปรุงขึ้นจากบทความที่ เคยน�ำเสนอในการประชุมวิชาการและน�ำเสนอผลงานวิจยั ครัง้ ที่ 1 "การวิจยั สูก่ ารพัฒนาสังคม" คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย วันที่ 1-2 เมษายน พ.ศ.2554 ** ศิลปศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาประชากรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (2552) ปัจจุบันเป็นอาจารย์ ประจ�ำสาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ธุรกิจ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา.

118

วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปีท่ี 6 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถนุ ายน 2554)


ABSTRACT This research aimed to study the economic relationship between government expenditures, private investment and gross domestic product at 1988 prices (GDP). The study was conducted on by using the quarterly time series data during the period of 19962010, from Office of The National Economic and Social Development Board. The study used Econometric model: Vector Autoregressive Model (VAR) to estimate the relationship of these variables. The results shown that Thailand’s economic dynamics has been influenced statistically significant changes by the Keynesian’s Economics thought. The intervening by using government expenditures influenced matters for Thailand’s economic dynamics or GDP more than private investment over the past years. Keywords : government expenditures, private investment, Thai economic growth

บทน�ำ นับตั้งแต่เคนส์ (John Maynard Keynes) นักเศรษฐศาสตร์ชาวอังกฤษได้เขียน หนังสื อชื่ อ "The General Theory of Employment, Interest and Money" ขึ้นมาในปี ค.ศ. 1936 (วันรักษ์ มิ่งมณี นาคิน, 2548) ซึ่ งมีนยั ของเนื้ อหาส�ำคัญที่แสดงถึงแนวคิด ทางเศรษฐศาสตร์ ที่ขดั แย้งอย่างมากกับแนวคิดก่อนหน้าของส�ำนักคลาสสิ ก (classical school) ที่พฒั นามาก่อนเกือบศตวรรษ โดยนักเศรษฐศาสตร์ ยคุ ก่อนให้ความส�ำคัญกับ ระบบตลาดเสรี (free market) และคัดค้านการเข้าไปแทรกแซงระบบเศรษฐกิจของภาครัฐ เนื่องจากมีความเชื่อว่า กลไกราคาหรื อระบบตลาดสามารถท�ำงานได้อย่างมีประสิ ทธิภาพ ท�ำให้ระบบเศรษฐกิจบรรลุถึงเป้ าหมายได้โดยตัวเอง โดยการแทรกแซงของภาครัฐจะ ก่อให้เกิดความบิดเบือนขึ้นในระบบตลาด อย่างไรก็ดี จากปั ญหาเศรษฐกิจโลกที่ตกต�่ำ เป็ นเวลานานดังที่เกิดขึ้นในยุคนั้นท�ำให้เคนส์มีความเชื่อว่า ระบบเศรษฐกิจไม่สามารถ จัดการตัวเองได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ เนื่ องจากเศรษฐกิจในสภาวะที่ตกต�่ำจะก่อให้เกิด ปั ญหาการว่างงานขึ้ นได้เป็ นระยะเวลานาน อันมี สาเหตุส่วนหนึ่ งมาจากการปรั บตัว ของราคาหรื อ ค่ า จ้างในตลาดแรงงานมี ล กั ษณะเป็ น sticky price หรื อมี ค วามหนื ด ไม่สามารถปรับขึ้นลงได้อย่างรวดเร็ ว จนกระทัง่ สามารถดึงดูดให้นายจ้างท�ำการจ้างงาน แรงงานทั้งหมดในระบบเศรษฐกิจได้ ซึ่งจะมีผลท�ำให้ระบบเศรษฐกิจขาดก�ำลังซื้อ ส่ งผล Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.6 No. 1 (January - June 2011)

119


ให้เกิ ดอุปทานส่ วนเกิ นขึ้นและเกิ ดเป็ นวงจรให้เศรษฐกิ จยิ่งตกต�่ำเป็ นระยะเวลานาน หากไม่มีการแทรกแซงจากภาครั ฐซึ่ งถื อว่าเป็ นหน่ วยเศรษฐกิ จที่ มีกำ� ลังซื้ อมากที่ สุด ในระบบเศรษฐกิ จ ด้ว ยเหตุ น้ ี เคนส์ จึ ง เชื่ อ ว่า การใช้จ่ า ยของภาครั ฐ (government expenditure) จะสามารถลดอุปทานหรื อผลผลิตส่วนเกินที่เกิดขึ้น และท�ำให้ระบบเศรษฐกิจ ฟื้ นตัวในที่สุด ซึ่งแนวคิดของเคนส์ได้ถกู น�ำไปใช้แก้ปัญหาเศรษฐกิจในขณะนั้นและมีผล ท�ำให้เศรษฐกิจโลกฟื้ นตัวขึ้นในที่สุด ด้วยเหตุน้ ี แนวคิดของเคนส์จึงได้รับการยอมรับและถูกน�ำมาใช้อย่างกว้างขวาง ในปัจจุบนั รวมถึงประเทศไทยเอง ก็ถือได้วา่ เป็ นประเทศหนึ่งที่ได้รับอิทธิพลจากแนวคิด ของเคนส์ เช่ นกันในการเสริ มสร้างความเจริ ญเติบโตทางเศรษฐกิ จตลอดกว่าทศวรรษ ที่ผา่ นมา แม้วา่ สัดส่วนการเข้าไปมีส่วนร่ วมในระบบเศรษฐกิจในรู ปการใช้จ่ายของรัฐบาล (government expenditure) มีไม่มากนัก เมื่อเปรี ยบเทียบกับการลงทุนของภาคเอกชน (private investment) ซึ่งมีสดั ส่ วนมากในระบบเศรษฐกิจในช่วงที่ผา่ นมาก็ตาม แต่จากข้อมูลในช่วงภายหลังวิกฤตการณ์ทางเศรษฐกิจปี พ.ศ.2540 เราสามารถ เห็นแนวโน้มการเพิ่มขึ้นของรายจ่ายภาครัฐได้อย่างชัดเจนมากขึ้น กล่าวคือ สัดส่ วนของ รายจ่ายโดยรวมภาครัฐในปัจจุบนั ปี พ.ศ.2553 ได้เพิม่ ขึ้นจากช่วงก่อนเกิดวิกฤตปี พ.ศ.2539 เท่ากับร้อยละ 18.47 ขณะที่สดั ส่ วนการลงทุนภาคเอกชนลดลงร้อยละ 28.07 (ส�ำนักงาน คณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, 2554) อย่างไรก็ดี เมื่อพิจารณาใน รายละเอียดแล้ว พบว่า รายจ่ายของภาครัฐที่มีสัดส่ วนสู งขึ้นนั้นคือ รายจ่ายประจ�ำ อัน ประกอบด้วย เงินเดือนและค่าจ้าง ค่าซื้อสิ นค้าและบริ การ ซึ่ งเพิ่มขึ้นถึงร้อยละ 74.65 ใน ขณะเดียวกัน รายจ่ายลงทุนซึ่ งมีผลต่อศักยภาพการขยายตัวทางเศรษฐกิจของประเทศใน อนาคตนั้น กลับมีสดั ส่ วนลดลงร้อยละ 26.9 ในช่วงเวลาดังกล่าว ดังนั้น ผูว้ จิ ยั จึงมีความสนใจที่จะวิเคราะห์ถึงบทบาทของภาครัฐและภาคเอกชน ต่อเศรษฐกิจไทยผ่านมุมมองด้านการลงทุน เพื่อให้เห็นศักยภาพทางเศรษฐกิจโดยรวม ของประเทศในอนาคต ทั้งนี้โดยมีการจ�ำแนกผลของความสัมพันธ์ระหว่างรายจ่ายประเภท ต่างๆของภาครัฐ อันได้แก่ รายจ่ายประจ�ำและรายจ่ายลงทุน ที่มีต่อการเปลี่ยนแปลง เศรษฐกิจไทยในระยะยาวด้วย ซึ่ งจะท�ำให้สามารถน�ำไปเป็ นแนวทางก�ำหนดนโยบาย ด้านรายจ่ายของภาครัฐได้อย่างเหมาะสมต่อไป

120

วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปีท่ี 6 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถนุ ายน 2554)


วัตถุประสงค์ การวิจยั

เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างรายจ่ายภาครัฐ รายจ่ายลงทุนภาคเอกชน และ ผลิตภัณฑ์ มวลรวมภายในประเทศ

การทบทวนวรรณกรรมทีเ่ กีย่ วข้ อง

รายจ่ายภาครัฐ (government expenditure) เป็ นองค์ประกอบหนึ่ งของรายจ่าย มวลรวม (aggregate expenditure) นอกเหนือจากรายจ่ายบริ โภค รายจ่ายลงทุน การส่ งออก และการน�ำเข้าสิ นค้าบริ การ ตามแนวคิดของเคนส์ ที่ มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงรายได้ ประชาชาติ หรื อความเจริ ญเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศ โดยทัว่ ไปการใช้จ่ายของ ภาครัฐ เป็ นรายจ่ายประเภทอิสระ (autonomous expenditure) ไม่ข้ ึนอยูก่ บั ตัวแปรอื่นๆ แต่จะเป็ นไปตามนโยบายของภาครัฐที่ได้วางเป้ าหมายเอาไว้ หรื อเป็ นตัวแปรเชิงนโยบาย (policy variable) ซึ่ งผลของรายจ่ายภาครัฐจะส่ งผลต่อการขยายตัวทางเศรษฐกิ จโดย ผ่านการใช้จ่ายของรัฐโดยตรงและอีกส่ วนหนึ่งผ่านการกระตุน้ การบริ โภคและการลงทุน ของภาคเอกชนในลักษณะ Crowding in ในรอบถัดๆ ไป ส�ำหรับโครงสร้างรายจ่ายภาครัฐ หากจ�ำแนกตามกิจกรรมทางเศรษฐกิจ สามารถ จ�ำแนกได้เป็ น 2 ประเภท กล่าวคือ ก) รายจ่ ายทัว่ ไปหรื อรายจ่ ายประจ�ำ ประกอบด้วย เงินเดือนและค่าจ้าง (Wages and Salaries) และรายจ่ายในการซื้ อสิ นค้าและบริ การ ที่ไม่เป็ นสิ นทรัพย์ประเภททุน (Expenditure on goods and services) ข) รายจ่ า ยลงทุ น ซึ่ ง หมายถึ ง รายจ่ า ยส�ำ หรั บ ซื้ อ หรื อ ลงทุ น ในโครงการ เพื่อให้ได้มาซึ่ งครุ ภณั ฑ์ ที่ดิน และสิ่ งก่อสร้างเพื่อการสะสมทุน เป็ นต้น ส�ำหรั บงานวิจยั ที่ ได้ทำ� การทบทวนมาส่ วนใหญ่ ได้ให้ขอ้ สรุ ปที่ ชัดเจนว่า รายจ่ายภาครัฐและการลงทุนของภาคเอกชนมีผลต่อการเปลี่ยนแปลงรายได้ประชาชาติ หรื อผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ อาทิ ณัฐิกานต์ วรสง่าศิลป์ (2551) ได้ทำ� การประเมินขนาดของการตอบสนองของ ผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ ต่อการใช้จ่ายของรัฐบาลประเภทต่างๆ ด้วยแบบจ�ำลอง Vector Auto Regression ซึ่ งผลการศึกษาพบว่า รายจ่ายประจ�ำ และรายจ่ายลงทุนนั้น มีตวั คูณทางการคลัง (fiscal multiplier) มากกว่า 1 เนื่ องจากเป็ นลักษณะของรายจ่าย ที่ก่อให้เกิดอุปสงค์สืบเนื่ อง นอกจากนี้ ผูว้ ิจยั ยังเสนอแนะให้ภาครัฐเพิ่มประสิ ทธิ ภาพ การใช้จ่ายต่อระบบเศรษฐกิจ ด้วยการเน้นรายจ่ายที่ทำ� ให้เกิด Productivity และกระตุน้ Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.6 No. 1 (January - June 2011)

121


การลงทุนเป็ นหลัก โดยมีการจัดล�ำดับความส�ำคัญของการใช้จ่าย รวมถึงการมีกฎหมาย และฐานข้อมูลเพื่อใช้กำ� กับและตรวจสอบการใช้เงินให้รัดกุม รณชิ ต สมมิตร (2550) ท�ำการศึกษาบทบาทของการใช้จ่ายภาครัฐต่อตัวแปร ทางเศรษฐกิจ มหภาคของประเทศไทย อันประกอบด้วย ผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ ภาษี อัตราดอกเบี้ย การบริ โภคของภาคเอกชน และการลงทุนของภาคเอกชน โดยอาศัย วิธีการ Cointegration และ Error Correction ซึ่ งผลการศึกษาพบว่า รายจ่ายของภาครัฐ มี ผลกระทบในระยะยาวต่ อการเปลี่ ยนแปลงของผลิ ตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ มากที่สุด รองมาได้แก่ การลงทุนของภาคเอกชน การบริ โภคของภาคเอกชน ภาษี และ อัตราดอกเบี้ย ตามล�ำดับ งานวิจยั ข้างต้นบางส่ วนได้มุ่งที่จะศึกษารายจ่ายภาครัฐแต่ละประเภทโดยตรง ในขณะที่บางส่ วนได้ทำ� การศึกษาเปรี ยบเทียบกับรายจ่ายอื่นๆตามแนวคิดของเคนส์ แต่ก็ มิ ไ ด้ศึ ก ษาไปในรายละเอี ย ดของรายจ่ า ยภาครั ฐ แต่ ล ะประเภท เพื่ อ เปรี ย บเที ย บกับ ตัวแปรอื่นๆ ผูว้ จิ ยั จึงได้นำ� มาประยุกต์ใช้เป็ นกรอบแนวคิดในการศึกษาครั้งนี้

วิธีดำ� เนินการวิจยั

การวิจยั ครั้ งนี้ อาศัยวิธีการศึ กษาซึ่ งประกอบด้วย ข้อมูลและตัวแปรที่ ใช้ใน การศึกษา แบบจ�ำลองที่ใช้ในการศึกษา และการวิเคราะห์ขอ้ มูล ดังต่อไปนี้ ข้ อมูลและตัวแปรทีใ่ ช้ ในการศึกษา การวิจยั ครั้งนี้อาศัยข้อมูลทุติยภูมิประเภทอนุกรมเวลา (Secondary time series data) เป็ นข้อ มู ล รายไตรมาสตั้ง แต่ ไ ตรมาสที่ ห นึ่ ง ปี พ.ศ.2539 จนถึ ง ไตรมาสที่ สี่ ปี พ.ศ.2553 (รวมทั้งสิ้ น 60 ข้อมูล) ซึ่งได้มาจากการรวบรวมของส�ำนักงานคณะกรรมการ พัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) ส�ำหรับรายละเอียดของตัวแปรและข้อมูลที่ใช้ศึกษา ประกอบด้วย - รายจ่ายภาครัฐ (Government Expenditures) ประกอบด้วย (1) ตัวแปรรายจ่ายบริ โภคทัว่ ไปของภาครัฐ (LnGEN_G) ได้แก่ ข้อมูล General Government Consumption Expenditure at 1988 Prices (2) ตัวแปรรายจ่ายลงทุนของภาครัฐ (LnGI) ได้แก่ ข้อมูล Gross Fixed Capital Formation at 1988 Prices (Public) 122

วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปีท่ี 6 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถนุ ายน 2554)


(1) ตัวแปรรายจ่ายบริ โภคทัว่ ไปของภาครัฐ (LnGEN_G) ได้แก่ ข้อมูล General Government Consumption Expenditure at 1988 Prices (2) ตัวแปรรายจ่ายลงทุนของภาครัฐ (LnGI) ได้แก่ ข้อมูล Gross Fixed Capital Formation at 1988 Prices (Public) - ตัวแปรรายจ่ายลงทุนของภาคเอกชน (Private Investments: LnPI) ได้แก่ ข้อมูล - ตัวFixed แปรรายจ่ ายลงทุFormation นของภาคเอกชน (Private Gross Capital at 1988 PricesInvestments: (Private) LnPI) ได้แก่ ข้อมูล Gross Fixed Capital Formation at 1988 Prices (Private) - ตัวแปรผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ (LnGDP) ได้แก่ ข้อมูล Gross - ตัวแปรผลิ ตภัณฑ์atม1988 วลรวมภายในประเทศ (LnGDP) ได้แก่ ข้อมูล Gross Domestic Product at 1988 Prices Domestic Product Prices

แบบจ�ำลองทีใ่ ช้ ในการศึกษา ช้ ในการศึ กษา ำลองทางเศรษฐมิติ VAR (Vector Autoregressive Model) แบบจําลองที ผูว้ จิ ยั ใ่ ได้ นำ� เอาแบบจ� จิ ยั ได้นาํ เอาแบบจํ ติ VAR (Vector Autoregressive มพันธ์ของรายจ่าย มาศึผูกว้ ษาความสั มพันธ์าลองทางเศรษฐมิ ของรายจ่ายภาครั ฐ การลงทุ นภาคเอกชน Model) และผลิมาศึ ตภักณษาความสั ฑ์มวลรวม ภาครั ภายในประเทศ ฐ การลงทุ นภาคเอกชน ตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ งมี ความเหมาะสมสํ าหรั บ ตัวแปรที่ มีลกั ษณะ ซึ่ งมีคและผลิ วามเหมาะสมส� ำหรับตัวแปรที่มีลกั ซึ่ษณะสั มพันธ์กนั เองในแบบ สัมพันจ�ธ์ำกลอง นั เองในแบบจํ าลอง Variables) (EndogenousเพืVariables) รรลุวตั ถุขปองการศึ ระสงค์ขกองการศึ กษา โดยสามารถเขี (Endogenous อ่ ให้บรรลุเพืว่อตั ให้ ถุปบระสงค์ ษา โดยสามารถเขี ยน ยนให้อยูใ่ น รู ปของเมทริ ซ์ในรู ปของ Reduce นี้ ให้อยูกใ่ นรู ปของเมทริ กซ์ใForm นรู ปได้ ของดังReduce Form ได้ ดังนี้ LnGDPt LnPIt = LnGIt LnGEN_Gt

A10 A11(L) A12(L) A20 + A21(L) A22(L) A30 A31(L) A32(L) A40 A41(L) A42(L)

. . . .

A1n(L) A2n(L) A3n(L) A4n(L)

LnGDPt-i LnPIt-i + LnGIt-i LnGEN_Gt-i

e1t e2t e3t e4t

โดยที่ Aij (L) คือ The Polinomials in the Lag Operator L

โดยที่ Aij (L) คือ The Polinomials in the Lag Operator L

จากสมการจะให้เห็นว่า ค่าของตัวแปรหนึ่ งจะถูกกําหนดจากค่าในอดีต (Lagged Values) ทั้งจากตัวของมันเอง

จากสมการจะให้ นว่าาค่หนดให้ าของตัจวาํ นวน แปรหนึ หนดจากค่ าในอดีต (Laggedบายพฤติกรรม และตัว แปรอื่นๆในแบบจํ าลอง ดังนั้นเห็การกํ Lag่ งทีจะถู ่มากขึก้ ก� นำจะทํ าให้ความสามารถในการอธิ Values) ทั้งจากตั เองและตั วแปรอื่นForm ๆในแบบจ� ดังนั้น การก� เชิงพลวั ตของแบบจํ าลองวของมั VAR นในรู ปของ Reduced สู งขึ้นำลอง แต่ในขณะเดี ยวกันำหนดให้ Degree จofำ� นวน Freedom จะลดลง Lag ที ่ ม ากขึ น จะท� ำ ให้ ค วามสามารถในการอธิ บ ายพฤติ ก รรมเชิ ง พลวั ต ของแบบจ� ำ ลอง ้ เนื่ องจากค่า สัมประสิ ทธิ์ ที่ถูกประมาณค่าจะสู งขึ้น ทําให้ผลการประมาณมีความน่าเชื่อถือลดลง ดังนั้น เราจึง ต้องหา ปของโดยพิ Reduced Form าสูสถิงขึต้ นิต่างๆ แต่กล่ ในขณะเดี วกัน Degree จํานวนVAR Lag ทีในรู ่เหมาะสม จารณาจากค่ าวคือ ถ้ายขนาดของตั วอย่าof งมีขFreedom นาดเล็ก (จํจะลดลง านวน 30 ตัวอย่าง) การ ์ เนื ่ อ งจากค่ า สั ม ประสิ ท ธิ ท ่ ี ถ ก ู ประมาณค่ า จะสู ง ขึ น ท� ำ ให้ ผ ลการประมาณมี ค วามน่ า ่อถือ ามีความ ้ เลือกจํานวน lag จาก AIC (Akaike information criterion) และ FPE (Final prediction error) จะทําให้กเชืารประมาณค่ เราจึ ต้อางหาจ� ที้่เนหมาะสม ารณาจากค่ าสถิติต่างๆ กล่information าวคือ criterion) ถูกต้อลดลง งมากทีดั่สุงดนัสํ้ นาหรั บตังวอย่ งขนาดำนวน 60 ตัวLag อย่างนั การเลือกจํโดยพิ านวนจlag จาก HQ (Hannan-Quinn ถ้ากขนาดของตั างมีขกต้นาดเล็ ก ่ส(จ�ุ ดเช่ำนวน 30บ ตัAIC วอย่และ าง)SICการเลื อกจ�and ำนวน lag จาก AIC จะทําให้ ารประมาณค่วามีอย่ ความถู องมากที นเดียวกั (Asghar bid 2007) (Akaike information criterion) และ FPE (Final prediction error) จะท�ำให้การประมาณค่า มีความถูกต้องมากที่สุด ส�ำหรับตัวอย่างขนาด 60 ตัวอย่างนั้น การเลือกจ�ำนวน lag จาก HQ (Hannan-Quinn information criterion) จะท�ำให้การประมาณค่ามีความถูกต้อง มากที่สุดเช่นเดียวกับ AIC และ SIC (Asghar and bid 2007)

Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.6 No. 1 (January - June 2011)

123


การวิเคราะห์ ข้อมูล VAR เป็ นแบบจ�ำลองที่ใช้กนั อย่างแพร่ หลายในงานศึกษาตัวแปรที่มีลกั ษณะเป็ น พลวัต หรื อ เป็ นตัว แปรอนุ ก รมเวลา เนื่ อ งจากผูศ้ ึ ก ษาไม่ จ ำ� เป็ นต้อ งทราบลัก ษณะ ความสัมพันธ์ที่แท้จริ ง ของตัวแปรต่างๆ ในแบบจ�ำลอง โดยเพียงแต่ทราบว่าตัวแปรต่างๆ ที่ ใช้ในการศึกษามีความเกี่ ยวข้องกันในทางทฤษฎี และมีความเกี่ ยวข้องกับค่าในอดี ต (Lagged value) ก็สามารถน�ำมาวิเคราะห์ได้ อย่างไรก็ดี แบบจ�ำลอง VAR ก็ไม่ได้แสดงความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรต่างๆ อย่างชัดเจน ดังนั้น จึงต้องอาศัยการวิเคราะห์อื่นๆ เข้ามาศึกษาเพิ่มเติม เพื่อแสดงให้เห็น ถึงความสัมพันธ์ระหว่าง ตัวแปรในภาพรวมได้อย่างชัดเจนมากขึ้น อันได้แก่ การวิเคราะห์ การตอบสนองของตัวแปร (Impulse Response Function) และการวิเคราะห์ขนาดของ อิทธิพลของตัวแปรโดยการแยกส่วนความแปรปรวน (Variance Decomposition) ดังต่อไปนี้ - การวิเคราะห์การตอบสนองของตัวแปร (Impulse Response Function: IRF) เป็ นวิธีที่จะช่วยวัดการเปลี่ยนแปลงของตัวแปรซึ่ งวัดในรู ป One Standard Deviation ว่ามีผลกระทบต่อตัวแปรอื่นๆ ในระบบทั้งในช่วงเวลาเดียวกันและช่วงเวลาในอนาคต อย่างไร หรื อกล่าวได้วา่ เป็ นการวัดผลกระทบจาก Shock ของตัวแปรใดๆ ในแบบจ�ำลอง ที่มีต่อตัวแปรอื่นๆ ในช่วงเวลาเดียวกันและช่วงเวลาต่างๆ ในอนาคต - การวิเคราะห์ขนาดของอิทธิพลของตัวแปรโดยการแยกส่ วนความแปรปรวน (Variance Decomposition: VD) เป็ นการวิเคราะห์วา่ ในช่วงเวลาหนึ่งความผันผวนของ ตัวแปร Endogenous ตัวหนึ่งๆ จะมีอิทธิพลมาจากความผันผวนในตัวเองและตัวแปรอื่นๆ เป็ นสัดส่ วนเท่าใด ดังนั้น การน�ำเอาวิธีการวิเคราะห์การตอบสนองของตัวแปร และการวิเคราะห์ ขนาดของอิ ทธิ พลของตัวแปรโดยการแยกส่ วนความแปรปรวน มาใช้ในงานศึ กษา แบบจ�ำ ลอง VAR ซึ่ งจะท�ำ ให้ ท ราบทั้ง ทิ ศ ทางและขนาดของผลกระทบที่ เ กิ ด ขึ้ น ของตัวแปรที่สนใจศึกษาต่อตัวแปรอื่นๆได้ชดั เจนมากขึ้น ส�ำหรับการวิเคราะห์ VAR นั้น ประกอบไปด้วย ขั้นตอนดังต่อไปนี้ 1) การทดสอบ unit root ของตัวแปร เพื่อพิจารณาความหยุดนิ่ งของข้อมูล (stationary) เพื่อหลีกเลี่ยงปั ญหาความสัมพันธ์ลวง (spurious relationship) ของตัวแปร ต่างๆ ในแบบจ�ำลอง โดยอาศัยวิธีการ Augmented Dickey-Fuller test (ADF) ซึ่ งหากเป็ น ข้อมูลไม่หยุดนิ่ง (non-stationary) ก็จะท�ำการ difference ตัวแปรเพื่อให้ขอ้ มูลมีความนิ่ง ซึ่งตัวแปรที่ทำ� การ difference แล้วมีความนิ่งที่ลำ� ดับ p เราจะเรี ยกว่า I(p)หรื อ Integrated 124

วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปีท่ี 6 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถนุ ายน 2554)


order pth 2) การเลือก lag หรื อความล่าช้าที่เหมาะสมของตัวแปร 3) การทดสอบความสัมพันธ์เชิงดุลยภาพระยะยาว (Cointegration test) ในกรณี ข้อมูลของตัวแปรมีลกั ษณะไม่หยุดนิ่ง เพื่อใช้เป็ นเกณฑ์ตดั สิ นใจในการเลือกแบบจ�ำลอง ระหว่า ง VAR หรื อ VEC (Vector Error Correction) เนื่ อ งจากในกรณี ที่ ต ัว แปร มีความสัมพันธ์ในระยะยาวต่อกัน การใช้แบบจ�ำลอง VEC จะให้ผลหรื อข้อสรุ ปมากกว่า โดยการทดสอบความสัมพันธ์ระยะยาว ในการศึกษานี้ได้ใช้วธิ ีการ Johansen Cointegration Test (Johansen 1988) เพื่อหาจ�ำนวนของความสัมพันธ์ Cointegration 4) การประมาณค่าแบบจ�ำลองด้วย VAR หรื อ VEC 5) การประมาณค่า Impulse Response Function (IRF) และ Forecast-Error Variance Decomposition (VD) นอกจากนี้ ผูว้ ิ จ ัย จะได้ท ำ� การตรวจสอบทิ ศ ทางความสัม พัน ธ์ ข องตัว แปร ในแบบจ�ำลองด้วยว่า มีความสัมพันธ์กนั แบบทิศทางเดี ยวหรื อสองทิศทาง โดยอาศัย รู ปแบบการทดสอบ Granger Causality Test

ผลการวิจยั

จากผลการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างรายจ่ายภาครัฐ การลงทุนภาคเอกชน และผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ สามารถแสดงเป็ นล�ำดับขั้นตอนต่างๆ ดังต่อไปนี้ การทดสอบความหยุดนิ่งของข้ อมูล (stationary) ผลการทดสอบคุณสมบัติ stationary ด้วยวิธีการ Augmented Dickey-Fuller test (ADF) ที่ค่าระดับ level พบว่า ข้อมูลของตัวแปรทั้งหมดมีลกั ษณะไม่หยุดนิ่ ง จึงน�ำเอา ตัวแปรทั้งหมดมาท�ำการหาผลต่างครั้งที่หนึ่ง (first difference) และท�ำการทดสอบอีกครั้ง จึ งพบว่า ข้อมูลมี ลกั ษณะ stationary จึ งสรุ ปได้ว่าตัวแปร LnGDP LnPI LnGI และ LnGEN_G เป็ นตัวแปร I(1) (ตารางที่ 1)

Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.6 No. 1 (January - June 2011)

125


ตารางที่ 1 ผลการทดสอบความหยุดนิ่งของข้อมูล Level ตัวแปร Constant Constant without trend with trend LnGDP

-0.49296

First Difference None

-3.739732* 1.145669

None -12.36046**

LnPI -1.726726 -2.896258 -0.405675 -3.411181** LnGI -3.952407** -4.136715** -0.249129 -9.101775** LnGEN_G -1.510795 -5.681588** 0.877386 9.017819** ที่มา : จากการค�ำนวณ หมายเหตุ : ** แสดงถึง นัยส�ำคัญของค่าสถิติที่ระดับ 0.01 * แสดงถึง นัยส�ำคัญของค่าสถิติที่ระดับ 0.05 การเลือก lag ทีเ่ หมาะสมของตัวแปรและการทดสอบ Cointegration ตัวแปรต่างๆในระบบเศรษฐกิจล้วนมีระยะเวลาในการส่ งผลต่อตัวแปรอื่นๆ ในแบบจ�ำลอง หรื อมีความล่าช้าในการรับรู ้ผลกระทบที่เกิดขึ้น ดังนั้น การประมาณค่า แบบจ�ำลอง VAR จึงจ�ำเป็ นต้องหาจ�ำนวน lag ที่เหมาะสมก่อน โดยข้อมูลในการวิเคราะห์ ครั้งนี้มีจำ� นวนทั้งสิ้ น 60 ข้อมูล จึงพิจารณาค่าสถิติต่างๆ (ตารางที่ 2) พบว่า จ�ำนวน lag ที่เหมาะสมในการศึกษาครั้งนี้เท่ากับ 3 ตารางที่ 2 ค่าสถิติต่างๆในการพิจารณาจ�ำนวน lag ที่เหมาะสม Lag LR FPE AIC SC 0 NA 6.44e-09 -7.509562 -7.362230 1 135.6862 7.32e-10 -9.686075 -8.949414 2 115.7191 1.02e-10 -11.66502 -10.33903 3 62.00693* 4.18e-11* -12.58479* -10.66947* 4 14.88839 5.32e-11 -12.39459 -9.889939 5 23.63620 5.11e-11 -12.51824 -9.424267 ที่มา : จากการค�ำนวณ หมายเหตุ : * แสดงถึง จ�ำนวน lag ที่เหมาะสม 126

วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปีท่ี 6 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถนุ ายน 2554)

HQ -7.452742 -9.401974 -11.15364 -11.84613* -11.42864 -11.32502


ส� ำ หรั บ ผลการทดสอบความสั ม พัน ธ์ เ ชิ ง ดุ ล ยภาพระยะยาวของตัว แปร ในแบบจ�ำลอง พบว่า มีความสัมพันธ์แบบ cointegration ต่อกัน (ตารางที่ 3) ตารางที่ 3 ผลการทดสอบความสัมพันธ์เชิงดุลยภาพในระยะยาว Hypothesized No. Of CE(s) Eigenvalue None * At most 1 * At most 2 * At most 3 *

0.480134 0.391459 0.292079 0.104700

Trace Statistic

0.05 Critical Value

0.05 Max-Eigen Critical Statistic Value

88.37928 47.85613 52.39912 9.79707 25.08108 15.49471 6.082815 3.841466

35.98016 27.31805 18.99826 6.082815

27.58434 21.13162 14.26460 3.841466

ที่มา : จากการค�ำนวณ หมายเหตุ : * แสดงถึ ง นัย ส�ำคัญ ของค่ าสถิ ติ ที่ระดับ 0.05 (โดย Trace test และ Max-eigenvalue test แสดงถึง 4 cointegrating eqns.) เช่ นนี้ จึ งสามารถประมาณค่าในแบบจ�ำลองด้วยวิธีการของ VAR ซึ่ งแสดง ความสัมพันธ์ในระยะยาวของตัวแปรต่างๆ ในแบบจ�ำลองได้ ดังตารางต่อไปนี้ ตารางที่ 4 ผลการประมาณค่าแบบจ�ำลอง VAR ตัวแปร Δ(LnGDPt-1)

Δ(LnGDPt-2)

Δ(LnGDPt-3)

Δ(LnGDP) 0.034994 (0.17569) [ 0.19919] -0.631733 (0.17149) [-3.68380] -0.461240 (0.20158) [-2.28811]

Δ(LnPI) 1.426751 (0.52837) [ 2.70027] -0.864798 (0.51575) [-1.67677] -1.234088 (0.60625) [-2.03560]

Δ(LnGI) Δ(LnGEN_G) -1.476015 -0.486235 (1.00436) (0.47414) [-1.46961] [-1.02551] 2.209519 -0.395532 (0.98037) (0.46281) [ 2.25376] [-0.85462] -0.437038 0.378686 (1.15240) (0.54403) [-0.37924] [ 0.69608]

Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.6 No. 1 (January - June 2011)

127


ตารางที่ 4 (ต่อ) ตัวแปร Δ(LnPIt-1)

Δ(LnPIt-2)

Δ(LnPIt-3)

Δ(LnGIt-1)

Δ(LnGIt-2)

Δ(LnGIt-3)

Δ(LnGEN_Gt-1)

Δ(LnGEN_Gt-2)

128

Δ(LnGDP) 0.073664 (0.05179) [ 1.42232] 0.138129 (0.05389) [ 2.56332] 0.100624 (0.04656) [ 2.16094] 0.046561 (0.02342) [ 1.98769] 0.021876 (0.02481) [ 0.88167] -0.003294 (0.02270) [-0.14508] 0.062877 (0.05029) [ 1.25039] -0.000841 (0.05845) [-0.01440]

วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปีท่ี 6 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถนุ ายน 2554)

Δ(LnPI) 0.095058 (0.15576) [ 0.61028] 0.490614 (0.16206) [ 3.02730] 0.330431 (0.14004) [ 2.35950] 0.114398 (0.07045) [ 1.62382] -0.189938 (0.07462) [-2.54540] -0.146649 (0.06828) [-2.14782] 0.015342 (0.15123) [ 0.10144] -0.024527 (0.17577) [-0.13954]

Δ(LnGI) Δ(LnGEN_G) 0.424924 0.362292 (0.29608) (0.13977) [ 1.43516] [ 2.59198] -0.420530 -0.103194 (0.30806) (0.14543) [-1.36510] [-0.70959] 0.610826 -0.056692 (0.26620) (0.12567) [ 2.29460] [-0.45112] -0.554901 -0.055507 (0.13392) (0.06322) [-4.14368] [-0.87801] -0.487100 -0.125170 (0.14184) (0.06696) [-3.43411] [-1.86930] -0.632443 -0.118305 (0.12979) (0.06127) [-4.87295] [-1.93088] 0.033997 -0.769645 (0.28747) (0.13571) [ 0.11826] [-5.67124] -0.088777 -0.578253 (0.33412) (0.15773) [-0.26570] [-3.66605]


ตารางที่ 4 (ต่อ) ตัวแปร Δ(LnGEN_Gt-3)

Δ(LnGDP)

Δ(LnPI)

Δ(LnGI)

-0.033338 0.223607 0.179842 (0.04912) (0.14772) (0.28079) [-0.67876] [ 1.51375] [ 0.64049] C 0.016373 0.001414 -0.014064 (0.00465) (0.01399) (0.02658) [ 3.52091] [ 0.10109] [-0.52903] R-squared 0.841481 0.744371 0.875725 Adj. R-squared 0.797243 0.673032 0.841043 Sum sq. resides 0.018060 0.163351 0.590226 S.E. equation 0.020494 0.061635 0.117159 F-statistic 19.02169 10.43435 25.25049 Log likelihood 145.6430 83.98120 48.01227 Akaike AIC -4.737251 -2.535043 -1.250438 Schwarz SC -4.267080 -2.064872 -0.780267 Mean dependent 0.007139 -0.006945 -0.007197 S.D. dependent 0.045513 0.107789 0.293857 Determinant resid covariance 2.64E-11 (dof adj.) Determinant resid covariance 9.17E-12 Log likelihood 393.7709 Akaike information criterion -12.20610 Schwarz criterion -10.32542 ที่มา : จากการค�ำนวณ หมายเหตุ : ค่าในวงเล็บ ( ) แสดงถึง Standard errors ค่าในวงเล็บ [ ] แสดงถึง t-statistics

Δ(LnGEN_G)

-0.449365 (0.13256) [-3.39002] 0.029619 (0.01255) [ 2.36012] 0.896256 0.867304 0.131539 0.055309 30.95684 90.04603 -2.751644 -2.281473 0.008325 0.151832

Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.6 No. 1 (January - June 2011)

129


ผลการประมาณค่าในตารางที่ 4 สามารถน�ำมาเขี ยนเป็ นสมการผลิ ตภัณฑ์ มวลรวมภายในประเทศได้ ดังนี้ Δ(LnGDP) = 0.0163 + 0.0349*Δ(LnGDPt-1) - 0.6317*Δ(LnGDPt-2) - 0.4612*Δ(LnGDPt-3) + 0.0736*Δ(LnPIt-1) + 0.1381*Δ(LnPIt-2) + 0.1006*Δ(LnPIt-3) + 0.0465*Δ(LnGIt-1) + 0.0218*Δ(LnGIt-2) - 0.0032*Δ(LnGIt-3) + 0.0628*Δ(LnGEN_ Gt-1) - 0.0008*Δ (LnGEN_Gt-2) - 0.0333*Δ(LnGEN_Gt-3) จากสมการดัง กล่ า ว แสดงให้ เ ห็ น ว่ า การเปลี่ ย นแปลงของตัว แปรต่ า งๆ อันประกอบด้วย ตัวแปรรายจ่ายทัว่ ไป และรายจ่ายลงทุนของภาครัฐ รวมถึงรายจ่ายลงทุน ของภาคเอกชน ล้วนส่ งผลในทิ ศทางบวกต่อการเปลี่ ยนแปลงในผลิ ตภัณฑ์มวลรวม ภายในประเทศ หรื ออีกนัยหนึ่งก็คือ รายจ่ายของภาครัฐและรายจ่ายลงทุนของภาคเอกชน มีความสัมพันธ์ในระยะยาวกับผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศในทิศทางเดียวกัน นัน่ เอง อย่างไรก็ตาม ด้วยวิธีการวิเคราะห์ทางสถิติที่กล่าวมาข้างต้น หากกรณี ที่ตวั แปร ในแบบจ�ำลองมีความสัมพันธ์ในระยะยาวต่อกันแล้ว การใช้แบบจ�ำลอง (Vector Error Correction: VEC) จะให้ผลหรื อข้อสรุ ปมากกว่า ด้วยเหตุน้ ี ผูว้ จิ ยั จึงท�ำการประมาณค่า ตัวแปรใหม่ดว้ ยแบบจ�ำลอง VEC เพื่อน�ำมาวิเคราะห์การตอบสนอง (Impulse Response Function) และขนาดของอิ ท ธิ พ ลโดยการแยกส่ ว นความแปรปรวน (Variance Decomposition) ของตัวแปรอื่นๆในแบบจ�ำลองที่มีต่อผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ เพื่ อ ให้ ท ราบถึ ง บทบาทของภาครั ฐ และเอกชนได้อ ย่า งชัด เจนมากขึ้ น ซึ่ งปรากฏ ผลการศึกษาในแต่ละส่ วน ดังต่อไปนี้ ผลการประมาณค่าการตอบสนองของตัวแปร (Impulse Response Function) ผลการวิเคราะห์ (ภาพที่ 1) พบว่า การ shock สะสมของตัวแปรทั้งสองของ รายจ่ า ยภาครั ฐ จะส่ ง ผลกระทบให้เกิ ด การเปลี่ ย นแปลงต่ อระดับ ผลิ ตภัณ ฑ์ม วลรวม ภายในประเทศในทิศทางบวกอย่างชัดเจน ซึ่งหมายความว่า การเปลี่ยนแปลงของรายจ่าย ภาครัฐ ทั้งประเภทรายจ่ายทัว่ ไป (LnGEN_G) และรายจ่ายลงทุน (LnGI) ที่มากขึ้นจะมีผล ท�ำให้ผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ (LnGDP) เพิม่ ขึ้นด้วย ในขณะที่การ shock สะสม ของตัวแปรรายจ่ายลงทุนของภาคเอกชน (LnPI) เกือบจะไม่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงของ ผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศเลย

130

วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปีท่ี 6 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถนุ ายน 2554)


ของรายจ่ายภาครัฐ ทั้งประเภทรายจ่ายทัว่ ไป (LnGEN_G) และรายจ่ายลงทุน (LnGI) ที่มากขึ้นจะมีผลทําให้ผลิตภัณฑ์มวล รวมภายในประเทศ (LnGDP) เพิ่มขึ้นด้วย ในขณะที่การ shock สะสมของตัวแปรรายจ่ายลงทุนของภาคเอกชน (LnPI) เกือบจะไม่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงของผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศเลย Accumulated Response of D(LNGDP) to D(LNPI)

Accumulated Response of D(LNGDP) to D(LNGI)

Accumulated Response of D(LNGDP) to D(LNGEN_G)

.20

.20

.20

.15

.15

.15

.10

.10

.10

.05

.05

.05

.00

.00

-.05

1

2

3

4

5

6

7

8

9

10 11 12

-.05

.00

1

2

3

4

5

6

7

8

9

10 11 12

-.05

1

2

3

4

5

6

7

8

9

10 11 12

ภาพที่ 1: ผลกระทบจากความผันผวนของรายจ่ายทัว่ ไปและรายจ่ายลงทุนของภาครัฐ ภาพที่ 1 : ผลกระทบจากความผันผวนของรายจ่ายทัว่ ไปและรายจ่ายลงทุนของ รายจ่ายลงทุนภาคเอกชน ที่มีต่อผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ ที่มา: จากการคําภาครั นวณ ฐ รายจ่ า ยลงทุ น ภาคเอกชน ที่ มี ต่ อ ผลิ ต ภัณ ฑ์ ม วลรวม

ภายในประเทศ ที่มา : จากการค�ำนวณ

ผลการวิเคราะห์ ขนาดของอิทธิพลของตัวแปรโดยการแยกส่ วนความแปรปรวน (Variance Decomposition) เมื่อพิจารณาขนาดผลกระทบของตัวแปรรายจ่ายภาครัฐและภาคเอกชนต่อผลผลิต มวลรวมภายในประเทศ (LnGDP) โดยการแยกส่ ผลการวิวเนความแปรปรวน คราะห์ ขนาดของอิ ท ธิ พ ลของตั ว แปรโดยการแยกส่ ว นความแปรปรวน ่ (ภาพที่ 2) พบว่า อิทธิ พลของตัวแปรต่างๆที่มีตอ LnGDP จะเริ่ มมากขึ้นและมี (Variance Decomposition) เสถียรภาพเมื่อเวลาผ่ านไป โดยความผันผวนของผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ จะขึ้นอยูก่ บั รายจ่ายลงทุนของภาครัฐ อยละ 18 และรายจ่ายทัว่ ไปของภาครั ฐ (LnGI) ประมาณร้ 6 ตามลําดับ ในขณะที ่รายจ่ายต (LnGI) มากทีเมื่สุดอ่ ประมาณร้ พิจารณาขนาดผลกระทบของตั วแปรรายจ่ ายภาครัอฐยละ และภาคเอกชนต่ อผลผลิ ลงทุนของภาคเอกชน (LnPI) มีสัดส่ วนเพียงประมาณร้อยละ 2 เท่านั้น

มวลรวมภายในประเทศ (LnGDP) โดยการแยกส่ วนความแปรปรวน (ภาพที่ 2) พบว่า อิทธิ พลของตัวแปรต่างๆที่มีต่อ LnGDP จะเริ่ มมากขึ้นและมีเสถียรภาพเมื่อเวลาผ่านไป โดยความผันผวนของผลิ ตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ จะขึ้ นอยู่กบั รายจ่ ายลงทุ น ของภาครัฐ (LnGI) มากที่สุด ประมาณร้อยละ 18 และรายจ่ายทัว่ ไปของภาครัฐ (LnGI) ประมาณร้อยละ 6 ตามล�ำดับ ในขณะที่รายจ่ายลงทุนของภาคเอกชน (LnPI) มีสดั ส่วนเพียง ประมาณร้อยละ 2 เท่านั้น

Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.6 No. 1 (January - June 2011)

131


Percent D(LNGDP) variance duedue to D(LNGDP) Percent D(LNGDP) variance to D(LNGDP) 100 80 60 40 20 0

80

80

60

60

40

40

20

20 1

0

Percent D(LNGDP) variance duedue to D(LNPI) Percent D(LNGDP) variance to D(LNPI) 100

100

2 1

3 2

4 3

5 4

6 5

7 6

8 7

9 10 11 12 8 9 10 11 12

Percent D(LNGDP) variance duedue to D(LNGI) Percent D(LNGDP) variance to D(LNGI)

0

100 80 60 40 20 1

0

2 1

3 2

100 100

80 80

80 80

60 60

60 60

40 40

40 40

20 20

20 20

1

0

21

32

43

54

65

76

87

98 10 9 11 10 12 11 12

5 4

6 5

7 6

8 7

9 10 11 12 8 9 10 11 12

Percent D(LNGDP) variance duedue to D(LNGEN_G) Percent D(LNGDP) variance to D(LNGEN_G)

100 100

0

4 3

0

1

0

21

32

43

54

65

76

87

98 10 9 11 10 12 11 12

ภาพที ่ 2: ่ 2:ส่ วนประกอบของความผั นผวนในผลิ ตภัตณภัฑ์ณมฑ์วลรวมภายในประเทศ ภาพที ส่ วนประกอบของความผั นผวนในผลิ มวลรวมภายในประเทศ ที่มทีา:่มจากการคํ ่ 2านวณ : านวณ ส่วนประกอบของความผันผวนในผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ า: ภาพที จากการคํ

ที่มา : จากการค�ำนวณ

ผลการทดสอบ Granger Causality TestTest ผลการทดสอบ Granger Causality Granger ผลการทดสอบ Granger Causality Testาลอง ผลการทดสอบ Causality ของตั วแปรทั ณ ระดั บความเชื ่อมัอน่ มั95% ที่ lag อันอัดันบดั2บ 2 ้ งหมดในแบบจํ ผลการทดสอบ Granger Causality ของตั วแปรทั าลอง ณ ระดั บความเชื น่ 95% ที่ lag ้ งหมดในแบบจํ ผลการทดสอบ Granger หมดในแบบจ� ำลอง ณ ระดั บ(Ln_GDP) ยใช้ ตวั แปรในลั ก ษณะ FirstFirst Difference ่ 5) ่Causality ทํ5)าให้ ตผลิภัตณภั้ งฑ์ณ มฑ์วลรวมภายในประเทศ (Ln_GDP) มี มี โดยใช้ ตวั แปรในลั กษณะ Difference(ตารางที (ตารางที ทําสให้รุ ปสของตั รุได้ปวได้า่ ววผลิา่แปรทั มวลรวมภายในประเทศ ความเชื ่ อ มั น 95% ที ่ lag อั น ดั บ 2 โดยใช้ ต ว ั แปรในลั ก ษณะ First Difference (ตารางที ่ 5) ่บรายจ่ ามสั มพัมนพัธ์นแบบสองทิ ศทางกั ายภาครั ฐ ทัฐ้ งประเภทรายจ่ ายทัายทั ว่ ไปว่ ไป (LnGEN_G) และรายจ่ ายลงทุ น (LnGI) ในขณะ ความสั ธ์แบบสองทิ ศทางกั บรายจ่ ายภาครั ทั้งประเภทรายจ่ (LnGEN_G) และรายจ่ ายลงทุ น (LnGI) ในขณะ ่ ท� ำ ให้ ส รุ ป ได้ ว า ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ม วลรวมภายในประเทศ (Ln_GDP) มี ค วามสั ม พั น ธ์ แ บบ งผลแบบทิ ศ ทางเดี ย ว ในลั ก ษณะที ่ ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ ม วลรวมภายในประเทศมี ผ ลต่ อ รายจ่ า ยลงทุ น ภาคเอกชน (LnPI) เท่ า นั น ที่ส่งผลแบบทิศทางเดียว ในลักษณะที่ผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศมีผลต่อรายจ่ายลงทุนภาคเอกชน (LnPI) เท่้ านั้น

สองทิศทางกับรายจ่ายภาครัฐ ทั้งประเภทรายจ่ายทัว่ ไป (LnGEN_G) และรายจ่ายลงทุน (LnGI) ในขณะที่ส่งผลแบบทิศทางเดียว ในลักษณะที่ผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ มีผลต่อรายจ่ายลงทุนภาคเอกชน (LnPI) เท่านั้น

132

วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปีท่ี 6 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถนุ ายน 2554)


ตารางที่ 5 ผลการทดสอบ Granger Causality Dependent Variable Excluded Δ(Δ LnPI) Δ(Δ LnGDP) Δ(ΔLnGI) Δ(Δ LnGDP) Δ(ΔLnGEN_G) Δ(Δ LnGDP) Δ(Δ LnGDP) All Δ(Δ LnGDP) Δ(Δ LnPI) Δ(ΔLnGI) Δ(Δ LnPI) Δ(ΔLnGEN_G) Δ(Δ LnPI) All Δ(Δ LnPI) Δ(Δ LnGDP) Δ(ΔLnGI) Δ(ΔLnGI) Δ(Δ LnPI) Δ(ΔLnGEN_G) Δ(ΔLnGI) All Δ(ΔLnGI) Δ(ΔLnGEN_G) Δ(Δ LnGDP) Δ(Δ LnPI) Δ(ΔLnGEN_G) Δ(ΔLnGEN_G) Δ(ΔLnGI) All Δ(ΔLnGEN_G) ** แสดงถึง นัยส�ำคัญของค่าสถิติที่ระดับ 0.01 * แสดงถึง นัยส�ำคัญของค่าสถิติที่ระดับ 0.05

Chi-sq 4.052295 7.267924* 10.49764** 19.92987** 76.20002** 6.815022* 3.633851 105.9187** 298.3684** 25.30714** 0.896296 388.7864** 141.9574** 22.71705** 15.71127** 199.5848**

สรุปและอภิปรายผล

ผลการวิจยั ข้างต้นสรุ ปได้วา่ รายจ่ายภาครัฐ ต่างมีความสัมพันธ์ซ่ ึ งกันและกัน กับผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ โดยการเปลี่ยนแปลงของรายจ่ายลงทุนภาครัฐ จะมีผลท�ำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศมากที่สุด รองมา คือ รายจ่ายบริ โภคทัว่ ไปของภาครัฐ ซึ่งการเปลี่ยนแปลงของรายจ่ายภาครัฐทั้งสองประเภท ดังกล่าวจะท�ำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงต่อระดับผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศในทิศทาง เดียวกัน ส�ำหรับการเปลี่ยนแปลงรายจ่ายลงทุนของภาคเอกชน เกื อบจะไม่มีผลท�ำให้ เกิดการเปลี่ยนแปลงของผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศในช่วงที่ผา่ นมาเลย (ภายหลัง ช่วงวิกฤตการณ์เศรษฐกิจ) Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.6 No. 1 (January - June 2011)

133


ผลการวิจยั ทั้งหมดจึ งแสดงให้เห็ นว่า การด�ำเนิ นกิ จกรรมทางเศรษฐกิ จของ ภาครัฐในช่วงที่ผา่ นมา มีส่วนส�ำคัญในการเสริ มสร้างเศรษฐกิจไทย และท�ำให้ทราบว่า การพัฒนาเศรษฐกิจไทยเป็ นไปตามแนวคิดของเคนส์ซ่ ึ งก็คือ การยอมรับบทบาทภาครัฐ ในการเข้ามาแทรกแซงกิจกรรมทางเศรษฐกิจของประเทศอย่างชัดเจน

ข้ อเสนอแนะ

ผลการวิจยั ชี้ให้เห็นว่า รายจ่ายลงทุนของภาครัฐจะยังคงมีบทบาทหลักในการ เสริ มสร้างเศรษฐกิจของประเทศไทยในอนาคตตามแนวคิดของเคนส์ โดยสิ่ งที่ภาครัฐ ควรให้ความส�ำคัญก็คือ การจัดสรรทรัพยากรระหว่างรายจ่ายบริ โภคทัว่ ไป (เงินเดือนและ ค่าจ้าง ค่าซื้ อสิ นค้าและบริ การ) และรายจ่ายลงทุนให้เป็ นไปอย่างเหมาะสม รวมถึงการ เร่ งส่ งเสริ มการลงทุนของภาคเอกชน เพื่อสร้างความเข้มแข็งให้แก่ระบบเศรษฐกิจไทย มากขึ้นในอนาคต ภายใต้กลไกการแข่งขันในระบบตลาดเสรี ซึ่ งจ�ำเป็ นจะต้องด�ำเนินการ ควบคู่กนั ไป เนื่ องด้วยการวิจยั ครั้งนี้ ช่วยให้เห็นภาพรวมของพฤติกรรมในระบบเศรษฐกิจ การวิจยั ในอนาคต ผูว้ ิจยั จึงควรศึกษาเชิ งลึกในแต่ละภาคส่ วนเศรษฐกิ จ ซึ่ งจะช่วยให้ เกิดประโยชน์ในทางปฏิบตั ิมากยิง่ ขึ้น

134

วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปีท่ี 6 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถนุ ายน 2554)


รายการอ้ างอิง ณัฐิกานต์ วรสง่าศิลป์ . (2551). เครื่องชี้แรงกระตุ้นและตัวคูณทางการคลังของไทย. ธนาคาร แห่งประเทศไทย : กรุ งเทพมหานคร. รณชิต สมมิตร. (2550). บทบาทของการใช้ จ่ายภาครัฐต่ อตัวแปรทางเศรษฐกิจมหภาคของ ประเทศไทย. วิทยานิ พนธ์ปริ ญญาเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. วันรักษ์ มิ่งมณี นาคิน. (2548). หลักเศรษฐศาสตร์ มหภาค. พิมพ์ครั้งที่ 13. กรุ งเทพมหานคร : ส�ำนักพิมพ์ธรรมศาสตร์. ส�ำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2554). รายงานผลิตภัณฑ์ มวลรวมภายในประเทศ ไตรมาสที่ 4/2553. (ออนไลน์). แหล่งที่มา : http://www. nesdb.go.th/Default.aspx?tabid=95. ค้นเมื่อวันที่ 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2554. Asghar Zahid and Abid Irum. (2007). Performance of lag length selection criteria in three different situation. Quaid-i-Azam University Islamabad, Pakistan. Johansen, S.Statistical. (1988). Analysis of Cointegration Vectors. Journal of Economics Dynamics and Control.

Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.6 No. 1 (January - June 2011)

135


ปัญหาและแนวทางการพัฒนาของกลุ่มอาชีพ ในเขตเทศบาลต�ำบลแม่ สรวย อ�ำเภอแม่ สรวย จังหวัดเชียงราย Problems and Solutions for Occupational Group’ Self- Development Held in Mae Suai Municiapality, Mae Suai District, Chiangrai Province นงนุช ศรี ธิ* ยงยุทธ ชัยรั ตนาวรรณ**

บทคัดย่ อ บทความนี้มีวตั ถุประสงค์เพือ่ ศึกษาปัญหาและแนวทางการพัฒนาของกลุม่ อาชีพ ในเขตเทศบาลต�ำบลแม่สรวย อ�ำเภอแม่สรวย จังหวัดเชียงราย โดยเก็บรวบรวมข้อมูลจาก ประธาน คณะกรรมการ และสมาชิกกลุ่มอาชีพ 12 กลุ่มอาชีพ รวมทั้งสิ้ น 36 คน ผลการ ศึกษาพบว่า ปัญหาการพัฒนาของกลุ่มอาชีพในเขตเทศบาลต�ำบลแม่สรวย อ�ำเภอแม่สรวย จังหวัดเชียงราย คือด้านการผลิต พบปัญหาขาดแคลนทรัพยากร วัตถุดิบ และแรงงานที่ใช้ ในการด�ำเนินการผลิต วัตถุดิบมีราคาแพง สมาชิกขาดความรู ้ความเข้าใจในกระบวนการ ผลิต ขาดทักษะและความช�ำนาญ ขาดแหล่งเรี ยนรู ้และแหล่งข้อมูลในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ และบรรจุภณ ั ฑ์รูปแบบใหม่ สิ นค้ามีคุณภาพไม่ตรงตามความต้องการของผูซ้ ้ื อ สิ นค้า ไม่เป็ นที่รู้จกั ทัว่ ไป และสิ นค้าไม่มีมาตรฐานรับรองหรื อ อย. จึ งท�ำให้ลูกค้าไม่มนั่ ใจ ในคุณภาพของสิ นค้า ส่ วนด้านการตลาด พบปั ญหากลุ่มอาชี พไม่มีตลาดรองรับสิ นค้า ที่แน่นอน ไม่มีการขยายตลาด เพราะมีคู่แข่งขันมาก และขายสิ นค้าได้ไม่แน่นอน ส่ งผล ให้รายได้ไม่แน่ นอนตามไปด้วย ด้านการบริ หารจัดการกลุ่ม พบปั ญหาสมาชิ ก ขาด การมีส่วนร่ วมในการปฏิบตั ิงาน ไม่ค่อยให้ความร่ วมมือ ขาดความสามัคคี ไม่รับฟั ง ความคิดเห็นของผูอ้ นื่ เกิดการแบ่งแยกกัน สมาชิกไม่รู้สึกถึงการเป็ นเจ้าของร่ วมกัน สมาชิก * บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (สาขาการจัดการทั่วไป) มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย (2554) ปัจจุบัน ท�ำงาน ต�ำแหน่งผู้อ�ำนวยการกองคลังเทศบาลต�ำบลแม่สรวย ** Ph.D.(Business Administration) สถาบันการศึกษานานาชาติ มหาวิทยาลัยรามค�ำแหง (2549) ปัจจุบนั เป็นอาจารย์ประจ�ำโปรแกรมวิชาการจัดการทัว่ ไป คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย

136

วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปีท่ี 6 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถนุ ายน 2554)


ขาดการฝึ กฝนถ่ายทอด และพัฒนาทักษะในการปฏิบตั ิงาน และ ด้านการเงิน พบปั ญหา สภาพคล่องทางการเงิน เงินทุนหมุนเวียนไม่เพียงพอในการด�ำเนิ นการผลิต ต้นทุนสู ง สิ นค้าที่ฝากขายเก็บเงินได้ชา้ มากบางกลุ่มผลิตสิ นค้าได้จำ� นวนน้อยไม่ตรงตามเป้ าหมาย และความต้องการของลูกค้า และบางกลุ่มผลิตได้จำ� นวนมากแต่ขายได้จำ� นวนน้อย แนวทางการพัฒนาของกลุ่มอาชีพในเขตเทศบาลต�ำบลแม่สรวย อ�ำเภอแม่สรวย จังหวัดเชี ยงราย พบว่า ด้านการผลิต กลุ่มอาชี พควรใช้ทรัพยากรภายในท้องถิ่น เพื่อ ลดต้นทุน ใช้แรงงานจากสมาชิ กในกลุ่มเอง ใช้ความรู ้ และภูมิปัญญาท้องถิ่น มุ่งเน้น ผลิตสิ นค้าที่มีคุณภาพและได้รับการยอมรับให้เป็ นสิ นค้า OTOP ของชุมชน ส่ วนด้าน การตลาด มีแนวทาง คือ ควรมุ่งเน้นการผลิตสิ นค้าเพื่อตลาดในชุมชน โดยให้สมาชิ ก ในกลุ่มใช้ เพื่อให้สามารถน�ำไปประชาสัมพันธ์เพื่อนบ้าน และญาติพี่นอ้ งในชุมชน เพื่อ ให้ได้การยอมรับในตัวสิ นค้า จึงขยายตลาดออกไปสู่ ภายนอก ด้านการบริ หารจัดการ มีแนวทาง คือ ผูน้ ำ� และคณะกรรมการกลุ่ม ควรมีความเข้มแข็งและเสี ยสละ มีการก�ำหนด กฎระเบียบข้อบังคับของกลุ่มและแบ่งแยกหน้าที่ความรับผิดชอบที่ชดั เจน รวมถึงมุ่งเน้น ให้สมาชิ กเคารพปฏิ บตั ิ ตามกฎระเบี ยบ มี ความสามัคคี มี การเชื่ อมโยงเครื อข่ ายกับ หน่ วยงานภาครัฐต่างๆ มีการแลกเปลี่ยนความคิดเห็ น มีส่วนร่ วมในการวางแผนงาน โครงการของกลุ่มในระยะยาว เพื่อให้กลุ่มมีแนวทางในการปฏิบตั ิงาน และ ด้านการเงิน มีแนวทาง คือ ควรแก้ไขสภาพคล่องทางการเงินของกลุ่ม โดยพึ่งพาตนเองให้มากที่สุด จากการระดมทุนลงหุน้ เพือ่ ไม่ให้มีการกูย้ มื เงินจากหน่วยงานอื่น มีการจัดท�ำบัญชีให้เป็ น ปัจจุบนั และชี้แจงให้สมาชิกได้รับทราบ จัดสรรเงินบางส่วนเพือ่ เป็ นต้นทุนและเงินส�ำรอง ใช้จ่ายในกรณี ฉุกเฉิ น และมีการแบ่งปันผลประโยชน์ที่เป็ นธรรม เสมอภาค และทัว่ ถึง ค�ำส� ำคัญ : ปั ญหาและแนวทางการแก้ไข, กลุ่มอาชีพ

Abstract The purposes of this study aimed to investigate the problems and solutions for the occupational group’ self-development held in Mae Suai District, Chiangrai Province in terms of their production, marketing, financial, and organizational administrations. For data gathering, 36 respondents out of the 12 occupational groups living in the area of Mae Suai Municiapality, Mae Suai District, Chiangrai Province were randomly sampled. The findings of the study revealed that the problems of the occupational group’ Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.6 No. 1 (January - June 2011)

137


self-development held in Mae Suai Municiapality, Mae Suai District, Chiangrai Province revealed that their inadequate and expensive amounts of natural resources and labor forces used for goods production, non-skilled human resources and understandings of goods production, no indigenous centers and databases related to new product packaging and product designs, as well as the buyers’ no brand-named and disqualified quality of required products were mostly seen in terms of their production. As their occupational group’ no sales distributors and marketing expansion together with their uncertain numbers of goods distribution causing the underestimated amounts of their incomes were mostly seen in terms of their marketing, the staffs’ no participation in their working operations, no organizational cooperation, no unity, no ideas-sharing, as well as the staffs’ no awareness of ownership, no transferring practices, and no self-development on working performances were mostly seen in terms of their organizational administration. Also, their insufficient amounts of refunding supports served for goods production, its high rates of costs and late payments, some occupational group’ fewer numbers of targeted and required goods as well as their outnumbers of products with its no sales distribution were mostly seen in terms of their financial aspects. In terms of the solutions for the occupational group’ self-development held in Mae Suai Municiapality, Mae Suai District, Chiangrai Province, it was suggested that the provisions for the enhancement of their local natural resources utilization served for their cost reduction, their job employment, their implications of knowledge and local wisdoms, as well as their guaranteed OTOP ’s of quality be all required in terms of the production, in terms of the marketing, it was also recommended that the provisions for the enhancement of not only their staffs’ purchases of their own products sold in their communities, but also the goods promotion for their neighbors, and relatives were needed for their guaranty of goods quality and business expansion, in terms of the organizational administration, it was advised that the provisions for the enhancement of their community leaders’ and committees’ organizational strength and contribution, their stricter regulations served for their duties and job descriptions, the staffs’ good manners on their organizational regulations and unity, as well as their working cooperation with other governmental organizations, their ideas-sharing , and networking participation in 138

วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปีท่ี 6 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถนุ ายน 2554)


long-term project planning management were all required for their on-going strategies for working operations, and in terms of the financial aspects, it was suggested that the provisions for the enhancement of the occupational group’ self-assistances on effective financial management taken from their stock investment, the other financial institutions’ no loans, as well as their self-accounting reports informed for their staffs, standby budgeting allocation supported for their costs and refunding budgets, and their fair beneficiaries were all needed. Keywords : Problems and Solutions, Occupational group' self deployment

บทน�ำ

แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 10 (พ.ศ. 2550 – 2554) ได้ให้ ความส�ำคัญกับการสร้ างรากฐานที่ มน่ั คงภายในประเทศ ประการหนึ่ ง คือ การสร้ าง ความมัน่ คงของเศรษฐกิจในชุมชนด้วยการบูรณาการกระบวนการผลิต บนฐานศักยภาพ และความเข้มแข็งของชุมชนอย่างสมดุล เน้นการผลิตเพือ่ การบริ โภคอย่างพอเพียงภายใน ชุมชน สนับสนุ นให้ชุมชนมีการรวมกลุ่มในรู ปสหกรณ์ กลุ่มอาชี พ สนับสนุ นการน�ำ ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมท้องถิ่นมาใช้ในการสร้างสรรค์ คุณค่าสิ นค้า บริ การ และสร้าง ความร่ วมมือกับภาคเอกชน ในการลงทุนสร้างอาชีพ และรายได้ที่มีการจัดสรรประโยชน์ ที่เป็ นธรรมแก่ชุมชน รวมทั้งสร้างระบบบ่มเพาะวิสาหกิ จชุ มชน ควบคู่กบั การพัฒนา ความรู ้ดา้ นการจัดการ การตลาด และทักษะในการประกอบอาชีพ องค์ก รปกครองส่ ว นท้อ งถิ่ น ในฐานะหน่ ว ยงานที่ อ ยู่ใ กล้ชิ ด กับ ประชาชน ส่ วนใหญ่ของประเทศ รับทราบถึงปั ญหาความต้องการต่าง ๆ ของประชาชนในพื้นที่ เป็ นอย่างดี จึงมีบทบาทส�ำคัญต่อการพัฒนาเศรษฐกิจในระดับชุมชน ซึ่งเป็ นภารกิจหน้าที่ ที่สำ� คัญประการหนึ่ งขององค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่น ประกอบกับกฎหมายได้กำ� หนด อ� ำ นาจหน้ า ที่ ขององค์ ก รปกครองส่ วนท้ อ งถิ่ นในด้ า นการส่ งเสริ มอาชี พ ตามพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. 2496 มาตรา 51 ภายใต้บงั คับแห่งกฎหมาย เทศบาลต�ำบล อาจจัดท�ำกิจการใด ๆ ในเขตเทศบาลที่บำ� รุ งและส่ งเสริ มการท�ำมาหากินของราษฎร โดย แผนปฏิ บตั ิ การก�ำหนดขั้นตอนการกระจายอ�ำนาจให้แก่ องค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่ น ได้กำ� หนด ให้กรมการพัฒนาชุมชน กรมส่ งเสริ มการเกษตร กรมส่ งเสริ มอุตสาหกรรม ถ่ายโอนภารกิจด้านการพัฒนาอาชีพ ให้แก่ เทศบาล องค์การบริ หารส่ วนต�ำบล องค์การ Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.6 No. 1 (January - June 2011)

139


บริ หารส่ วนจังหวัด เช่ น งานส่ งเสริ มการพัฒนาอาชี พแก่ กลุ่มอาชี พ การสนับสนุ น ทุนด�ำเนินการกลุ่มออมทรัพย์เพือ่ การผลิต การส่ งเสริ มอาชีพด้านการเกษตร งานฝึ กอาชีพ อุตสาหกรรมในครอบครัวและหัตถกรรมไทย เป็ นต้น โดยก�ำหนดประเภทของกลุ่มงาน ภารกิ จถ่ายโอนดังกล่าว เป็ นหน้าที่ ที่องค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่ นเลื อกท�ำโดยอิ สระ การส่ งเสริ มอาชีพให้แก่ประชาชน มีเป้ าหมายส�ำคัญเพื่อยกระดับและพัฒนาคุณภาพชีวติ ของประชาชนในท้องถิ่นโดยการเพิ่มรายได้ ลดรายจ่ายและเพิ่มศักยภาพของชุมชนให้มี ความสามารถในการพึ่งพาตนเองได้ มีคุณภาพชี วิตที่ดีและเหมาะสมตามแนวปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง ให้ประชาชนได้มีการรวมกลุ่มและพัฒนากลุ่มอาชีพ ให้มีความสามารถ ในการผลิตการตลาด และการบริ หารจัดการกลุ่มให้มีความเข้มแข็งต่อไป (กระทรวง มหาดไทย กรมส่ งเสริ มการปกครองท้องถิ่น. 2550 : 1-3) กลุ่มอาชี พในเขตเทศบาลต�ำบลแม่สรวย ก่อตั้งจากการรวมตัวของประชาชน ในเขตพื้นที่เทศบาลต�ำบลแม่สรวย และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นซึ่งเล็งเห็นความส�ำคัญ ของการสร้ างความเข้มแข็งทั้งทางด้านสังคมและเศรษฐกิ จของชุ มชน รวมถึงการลด รายจ่ายเพิ่มรายได้ และเป็ นการใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ ซึ่ งจะส่ งเสริ มคุณภาพชีวิต ที่ดีข้ ึน เพื่อน�ำไปสู่ สงั คมที่เรี ยกว่า สังคมอยูด่ ี มีสุข ซึ่ งปั จจุบนั กลุ่มอาชีพในเขตเทศบาล ต�ำบลแม่ สรวย มี จำ� นวนทั้งสิ้ น 12 กลุ่ ม (เทศบาลต�ำบลแม่ สรวย. 2553 : 1-2) คื อ กลุ่ ม ผูป้ ลู ก กระเที ย ม กลุ่ ม เพาะเห็ ด นางฟ้ า กลุ่ ม น�้ำ พริ ก ตาแดง กลุ่ ม แม่ ค รู แ ปรรู ป ผลิตภัณฑ์อาหาร กลุ่มท�ำแคบหมู กลุ่มกระเทียมดอง กลุ่มท�ำขนมทองม้วน กลุ่มน�้ำดื่ม สมุนไพร กลุ่มน�้ำดื่มจอมแจ้ง กลุ่มปุ๋ ยชี วภาพ กลุ่มตัดเย็บผ้าห่ ม และกลุ่มพรมเช็ดเท้า โดยมีเทศบาลต�ำบลแม่สรวย ให้การส่ งเสริ มสนับสนุนในด้านเงินทุน โดยให้กลุ่มอาชีพ ดังกล่าวกูย้ ืมเงิ นทุนโดยไม่คิดดอกเบี้ ย ทั้งนี้ เทศบาลต�ำบลแม่สรวย ได้ต้ งั เป้ าหมาย ให้ชุมชนสามารถลดรายจ่ายเพิม่ รายได้ในครัวเรื อน รวมถึงชุมชนมีความเข้มแข็งและพึ่งพา ตนเองได้ เพื่อให้สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของผูบ้ ริ หารเทศบาลต�ำบลแม่สรวย และแผน พัฒนาสามปี (พ.ศ. 2553-2555) ของเทศบาลต�ำบลแม่สรวย ยุทธศาสตร์ พฒั นาด้าน การท่องเที่ยว เศรษฐกิจ พาณิ ชย์ การเกษตร และอุตสาหกรรม ซึ่ งปั จจุบนั การด�ำเนินงาน ของกลุ่มอาชีพยังไม่เป็ นไปตามเป้ าหมาย ดัง นั้น การศึ ก ษาครั้ งนี้ จึ ง มุ่ ง เน้น ศึ ก ษาปั ญ หาและแนวทางการพัฒ นาของ กลุม่ อาชีพในเขตเทศบาลต�ำบลแม่สรวย เพือ่ หาแนวทางการแก้ไขปัญหาการบริ หารจัดการ ของกลุ่ม ทั้งนี้เพือ่ ให้ได้แนวทางในการบริ หารจัดการกลุ่มอาชีพให้เกิดประสิ ทธิภาพ และ หน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้อง สามารถน�ำผลการศึกษาไปเป็ นแนวทางในการแก้ไขปั ญหา ของกลุ่มอาชีพ เพื่อให้สามารถผลักดันให้เป็ นวิสาหกิจชุมชนต่อไป 140

วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปีท่ี 6 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถนุ ายน 2554)


วัตถุประสงค์ ของการศึกษา

1. เพื่อศึกษาปัญหาของกลุ่มอาชีพในเขตเทศบาลต�ำบลแม่สรวย อ�ำเภอแม่สรวย จังหวัดเชียงราย 2. เพื่อศึกษาแนวทางการพัฒนาของกลุ่มอาชี พในเขตเทศบาลต�ำบลแม่สรวย อ�ำเภอแม่สรวย จังหวัดเชียงราย

แนวคิดทีเ่ กีย่ วข้ อง แนวคิดการรวมกลุ่ม จีรพรรณ กาญจนจิตรา (2540 : 189) ได้ให้ความหมายของกลุม่ ว่า กลุม่ คือ บุคคล รวมกันตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป มีกิจกรรมร่ วมกันที่ช้ ีให้เห็นถึงวัตถุประสงค์ มีการปฏิสมั พันธ์กนั มีความผูกพันว่าเป็ นพวกเดียวกัน ทั้งกลุม่ และบุคคลแยกกันไม่ได้ จะต้องเกี่ยวข้องสัมพันธ์ กัน มีความสนใจร่ วมกัน และมีพฤติกรรมตามบทบาทและหน้าที่ของสมาชิก กลุ่มเหล่านี้ เป็ นหน่วยสังคมขั้นพื้นฐานที่จะเสริ มบุคลิกภาพและอุดมการณ์ของบุคคล แนวคิดเกีย่ วกับปัญหาของการบริหารจัดการธุรกิจ การบริ หารจัดการธุรกิจไม่ใช่เรื่ องง่าย เพราะมีหลายกลุม่ ที่เริ่ มต้นด�ำเนินงานแล้ว ท�ำได้ไม่นานก็ตอ้ งล้มเลิก โดยมีปัญหาหลัก (ใจมนัส พลอยดี. 2541 : 144 - 164) ดังนี้ 1. ปั ญหาด้านการผลิตสิ นค้า 2. ปั ญหาด้านการตลาด 3. ปั ญหาด้านการบริ หาร 4. ปั ญหาด้านการเงิน แนวคิดเกีย่ วกับปัจจัยแห่ งความส� ำเร็จและล้ มเหลวในการด�ำเนินธุรกิจชุ มชน ปั จจัยที่นำ� ไปสู่ ความส�ำเร็ จและความล้มเหลวในการด�ำเนิ นธุ รกิ จชุ มชนมีอยู่ 4 ประการ (ใจมนัส พลอยดี. 2541 : 144 - 164) คือ 1. ปั จจัยด้านการเงินหรื อเงินทุน กลุม่ กิจกรรมทางเศรษฐกิจที่ใช้เงินทุนของตนเอง ไม่ตอ้ งกูห้ นี้ยมื สิ น ไม่ตอ้ งจ่าย ดอกเบี้ยส�ำหรับเงินลงทุน มีโอกาสที่จะประสบความส�ำเร็ จในการด�ำเนิ นงานมากกว่า การพึ่งเงินกูโ้ ดยไม่มีทุนสะสมของตนเองเป็ นการชี้ วา่ องค์กรเศรษฐกิจนั้นยังพึ่งตนเอง Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.6 No. 1 (January - June 2011)

141


ไม่ได้ ซึ่งขัดกับหลักการธุรกิจชุมชนที่ตอ้ งการพึ่งตนเอง กลุ่มกิจกรรมเศรษฐกิจที่สามารถ พึ่งตนเองด้านเงินทุน หรื อสามารถระดมทุนจากชุมชนได้เองจึงมีโอกาสที่จะอยูไ่ ด้ และ เติบโตได้มากกว่ากลุ่มที่พ่ ึงเงินทุนจากการกูย้ มื 2. ปั จจัยด้านการตลาด กลุม่ ธุรกิจชุมชนที่ประสบความส�ำเร็จจะเป็ นกลุม่ ที่มีคคู่ า้ ที่แน่นอนและเพียงพอ คู่คา้ ที่เป็ น ผูค้ า้ ส่ งที่รับสิ นค้าคราวละมาก ๆ ออกไปจ�ำหน่าย ส่ วนด้านค้าปลีกไม่มีคู่คา้ ที่ แ น่ น อน แต่ ต ้อ งมี ม ากเพี ย งพอ ธุ ร กิ จ ชุ ม ชนที่ มี ผ ลผลิ ต ไม่ ม ากโดยทัว่ ไปจะอาศัย ตลาดค้าปลีกเป็ นส�ำคัญ แต่ถา้ หากเป็ นผูผ้ ลิตสิ นค้าจ�ำนวนมาก จ�ำเป็ นต้องอาศัยเครื อข่าย ของผูค้ า้ ส่ งด้วย แต่กลุ่มธุ รกิ จชุ มชนที่ ไม่มีตลาดแน่ นอน เข้าไม่ถึงตลาด จะประสบ ความล้มเหลวในที่สุด 3. ปั จจัยด้านการผลิต ความได้เปรี ยบในเชิงเปรี ยบเทียบที่พจิ ารณาจากวัตถุดิบ ทักษะ และความช�ำนาญ ของผูท้ ำ � การผลิต นับได้วา่ เป็ นปัจจัยที่สำ� คัญพอ ๆ กับโอกาสทางตลาด 4. ปั จจัยด้านบริ หารและจัดการ ด้านระบบเงิน ระบบงาน และระบบบุคลากร ระดมทุนและสะสมทุน การบริ หาร กระแสเงินไหลเข้าและกระแสเงินไหลออก ควบคุมดูแลไม่ให้เกิดการขาดสภาพคล่อง ใช้จ่ายเงินไปในทางที่ก่อประโยชน์ให้แก่กลุ่มมากที่สุด

วิธีดำ� เนินการศึกษา ประชากรและกลุ่มตัวอย่ าง ประชากรที่ ใช้ในการศึ กษาในครั้ งนี้ คือ กลุ่มอาชี พจ�ำนวน 12 กลุ่ม ได้แก่ กลุม่ ผูป้ ลูกกระเทียม กลุม่ เพาะเห็ดนางฟ้ า กลุม่ น�้ำพริ กตาแดง กลุม่ แม่ครู แปรรู ปผลิตภัณฑ์ อาหาร กลุ่มท�ำแคบหมู กลุ่มกระเทียมดอง กลุ่มท�ำขนมทองม้วน กลุ่มน�้ำดื่มสมุนไพร กลุ่มน�้ำดื่มจอมแจ้ง กลุ่มปุ๋ ยชีวภาพ กลุ่มตัดเย็บผ้าห่ม และกลุ่มพรมเช็ดเท้า กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการสัมภาษณ์ ประกอบด้วย ประธาน คณะกรรมการ และ สมาชิ ก กลุ่ ม อาชี พ 12 กลุ่ ม อาชี พ ในเขตเทศบาลต�ำ บลแม่ ส รวย อ�ำ เภอแม่ ส รวย จังหวัดเชียงราย โดยใช้วธิ ีการสุ่ มตัวอย่างแบบเจาะจง (Purposive Sampling) จากประธาน คณะกรรมการ และสมาชิกกลุ่มอาชีพ กลุ่มละ 1 คน รวมจ�ำนวนทั้งสิ้ น 36 คน

142

วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปีท่ี 6 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถนุ ายน 2554)


ผูเ้ ข้า ร่ ว มการสนทนากลุ่ ม ประกอบด้ว ย นายกเทศมนตรี ต ำ� บลแม่ ส รวย นัก วิ ช าการพัฒ นาชุ ม ชนช�ำ นาญการ นัก พัฒ นาชุ ม ชน ประธานและคณะกรรมการ กลุ่มปุ๋ ยชี วภาพ หมู่ที่ 12 และประธานและคณะกรรมการกลุ่มน�้ำพริ กตาแดง หมู่ที่ 5 รวมจ�ำนวนทั้งสิ้ น 11 คน มีรายชื่อดังนี้ 1. นายวีรธรรม ปัญจขันธ์ นายกเทศมนตรี ตำ� บลแม่สรวย 2. นายปรี ชา ปวงค�ำ นักวิชาการพัฒนาชุมชนช�ำนาญการ ส�ำนักงานพัฒนาชุมชน จังหวัดเชียงราย 3. นายยุทธพงษ์ สุ ริยะวงค์ นักวิชาการพัฒนาชุมชนช�ำนาญการ ส�ำนักงานพัฒนาชุมชน จังหวัดเชียงราย 4. นายกรนิต อุศาวดี นักวิชาการพัฒนาชุมชนช�ำนาญการ ส�ำนักงานพัฒนาชุมชน อ�ำเภอเมืองเชียงราย 5. นางสาวชฎาธาร สิ ทธิโท นักพัฒนาชุมชน ส�ำนักงานเทศบาลต�ำบลแม่สรวย 6. นายอุดม พุทธะ ประธานกลุ่มปุ๋ ยชีวภาพ หมู่ที่ 12 7. นางดาหวัน ถาริ ยะ คณะกรรมการกลุ่มปุ๋ ยชีวภาพ หมู่ที่ 12 8. นายสุ ชาติ ฉัตรแก้วทศพร คณะกรรมการกลุ่มปุ๋ ยชีวภาพ หมู่ที่ 12 9. นางสมหมาย ชัยเลิศ ประธานกลุ่มน�้ำพริ กตาแดง หมู่ที่ 5 10. นางบัวจันทร์ ใหญ่หลวง คณะกรรมการกลุ่มน�้ำพริ กตาแดง หมู่ที่ 5 11. นางแดง ก�ำแพง คณะกรรมการกลุ่มน�้ำพริ กตาแดง หมู่ที่ 5 เกณฑ์การคัดเลือกกลุม่ อาชีพเพือ่ เข้าร่ วมการสนทนากลุม่ พิจารณาจากกลุม่ อาชีพ ที่ประสบความส�ำเร็ จได้รับการยอมรับให้เป็ นสิ นค้า OTOP มีตลาดรองรับที่แน่ นอน สมาชิ กให้ความร่ วมมือในการบริ หารจัดการกลุ่ม คณะกรรมการกลุ่มมีความเข้มแข็ง เสี ยสละ ท�ำงานด้วยความโปร่ งใส และกลุ่มมีเงินทุนหมุนเวียน โดยไม่มีการกูย้ มื เงินจาก หน่วยงานราชการ เครื่องมือทีใ่ ช้ ในการศึกษา เครื่ องมือที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ประกอบด้วยแบบสัมภาษณ์ชนิดมีโครงสร้าง แน่นอน (Structured Interview) ซึ่งเป็ นการสัมภาษณ์ที่ผสู ้ มั ภาษณ์จะต้องถามค�ำถามตาม ที่กำ� หนดไว้ล่วงหน้าในแบบสัมภาษณ์ (Interview Schedule) และ การสนทนากลุ่ม (Focus Group Discussion) เป็ นการน�ำข้อมูลเกี่ยวกับปัญหาและแนวทางการพัฒนาของกลุ่มอาชีพ ในเขตเทศบาลต�ำบลแม่สรวย อ�ำเภอแม่สรวย จังหวัดเชี ยงราย ที่ได้จากการตอบแบบ Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.6 No. 1 (January - June 2011)

143


สัมภาษณ์ในประเด็นเกี่ ยวกับปั ญหาและแนวทางการพัฒนาการบริ หารจัดการ 4 ด้าน ประกอบด้วย ด้านการผลิต ด้านการตลาด ด้านการบริ หารจัดการกลุ่ม และด้านการเงิน มา ประมวลผลเชิงคุณภาพ โดยการจัดสนทนากลุ่ม (Focus Group) เพื่อหาแนวทางทางการ พัฒนาของกลุ่มอาชีพในเขตเทศบาลต�ำบลแม่สรวย อ�ำเภอแม่สรวย จังหวัดเชียงราย

ผลการศึกษา

1. ปัญหาของกลุ่มอาชีพในเขตเทศบาลต�ำบลแม่ สรวย อ�ำเภอแม่ สรวย จังหวัด เชียงราย จากการสัมภาษณ์ประธาน คณะกรรมการ และสมาชิกกลุม่ อาชีพในเขตเทศบาล ต�ำบลแม่สรวย อ�ำเภอแม่สรวย จังหวัดเชียงราย พบปัญหา ด้านการผลิต ด้านการตลาด ด้านการบริ หารจัดการกลุม่ และด้านการเงิน ของกลุม่ อาชีพในเขตเทศบาลต�ำบลแม่สรวย ดังนี้ 1.1 กลุ่มปลูกพืช ประกอบด้วย กลุ่มผูป้ ลูกกระเทียม และ กลุ่มเพาะเห็ดนางฟ้ า ด้านการผลิต พบปัญหาการด�ำเนินการผลิต คือ บางฤดูกาลวัตถุดิบมีไม่เพียงพอ หายาก และมี ราคาแพง จึงต้องไปหาซื้ อวัตถุดิบนอกท้องถิ่น ซึ่ งท�ำให้ตน้ ทุนด้านการผลิตเพิ่มมากขึ้น สมาชิ กขาดความรู ้ ความเข้าใจในกระบวนการผลิต ขาดแหล่งเรี ยนรู ้ และแหล่งข้อมูล ในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ ขาดทักษะและความช�ำนาญ จึงไม่มีการพัฒนาสิ นค้าและบรรจุ ภัณฑ์ ซึ่ งส่ งผลให้สินค้ามีคุณภาพไม่ตรงตามความต้องการของผูซ้ ้ื อ รวมทั้งผลิตสิ นค้า ได้นอ้ ยไม่เพียงพอต่อความต้องการของตลาด ดังนั้นกลุ่มอาชีพจึงต้องการให้หน่วยงาน ราชการเข้ามาให้ความรู ้ทางวิชาการเพิ่มเติม โดยจัดอบรมวิธีการผลิต สาธิ ต และพัฒนา สิ นค้ารู ปแบบใหม่ๆ อย่างต่อเนื่อง เพื่อให้ได้ผลผลิตที่ดีข้ ึนและจ�ำนวนมากขึ้น ด้านการตลาด พบปั ญ หาไม่ มี ต ลาดรองรั บ ผลิ ต ภัณ ฑ์ที่ แ น่ น อนและไม่ มี ก ารขยายตลาด ขาดสถานที่วางสิ นค้าจ�ำหน่าย จึงต้องการให้หน่วยงานราชการเข้ามาช่วยเหลือด้านการ หาตลาดรองรับสิ นค้า ส่ วนกลุ่มที่มีตลาดรองรับสิ นค้าที่แน่นอน ก็ไม่สามารถผลิตสิ นค้า ได้เพียงพอกับความต้องการของตลาด เพราะบางครั้งผลผลิตไม่เป็ นไปตามที่คาดการณ์ เอาไว้

144

วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปีท่ี 6 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถนุ ายน 2554)


ด้านการบริ หารจัดการกลุ่ม พบปั ญหาเกี่ยวกับสมาชิกบางคนลงทะเบียนเข้าหุ น้ เป็ นสมาชิก แต่ไม่เข้าร่ วม การผลิตกับกลุม่ และกฎระเบียบบางข้อไม่สามารถใช้บงั คับได้ เช่น หากสมาชิกไม่เข้าร่ วม ประชุมเกิน 3 ครั้ง จะตัดออกจากการเป็ นสมาชิก แต่กลุ่มไม่ทำ � เนื่องจากเป็ นเครื อญาติกนั จึงต้องการให้หน่ วยงานราชการเข้ามาช่วยเหลือฝึ กอบรมสร้างความเข้มแข็งให้สมาชิ ก ในกลุ่ม ด้านการเงิน กลุม่ ส่วนใหญ่พบปัญหาด้านสภาพคล่องทางการเงิน เพราะต้นทุนสูง ได้ผลผลิต น้อยไม่ตรงตามเป้ าหมายและความต้องการของลูกค้า ไม่คุม้ กับต้นทุนที่จ่ายไป รวมทั้ง เงิ นลงทุนไม่เพียงพอ จึ งต้องการให้เทศบาลเข้ามาช่ วยเหลือเพิ่มจ�ำนวนเงิ นกูย้ ืม และ ขยายเวลาในการช�ำระเงินคืน เพื่อกลุ่มจะได้ขยายการผลิตและรับสมาชิกเพิ่มขึ้นอีก ส่ วน เรื่ องของการค�ำนวณต้นทุนก�ำไร สมาชิ กกลุ่มใช้วิธีการง่ายๆ เพราะจ�ำนวนเงินไม่มาก รวมทั้งมีเลขาของกลุ่มเป็ นผูจ้ ดั ท�ำบัญชีรายรับ-รายจ่าย และงบการเงิน และรายงานให้ สมาชิกกลุ่มทราบเป็ นประจ�ำ 1.2 กลุ่ ม แปรรู ป ประกอบด้ ว ย กลุ่ ม แม่ ค รู แปรรู ปผลิ ต ภัณ ฑ์ อ าหาร, กลุ่ ม ท�ำ แคบหมู , กลุ่ ม กระเที ย มดอง, กลุ่ ม ท�ำ ขนมทองม้ว น, กลุ่ ม น�้ำ ดื่ ม สมุ น ไพร, กลุ่มน�้ำดื่มจอมแจ้ง (ยกเว้นกลุ่มน�้ำพริ กตาแดง และกลุ่มปุ๋ ยชีวภาพ) ด้านการผลิต กลุม่ อาชีพส่วนใหญ่พบปัญหาขาดแคลนวัตถุดิบ และวัตถุดิบมีราคาแพง ต้องไป หาซื้ อวัตถุดิบนอกท้องถิ่น ท�ำให้ตน้ ทุนด้านการผลิตเพิ่มมากขึ้น สมาชิกขาดทักษะและ ความช�ำนาญในการผลิต จึงไม่มีการพัฒนาสิ นค้าและบรรจุภณ ั ฑ์ รวมถึงขาดโรงเรื อน ที่ สะอาดและเหมาะสมและจากการน�ำเครื่ องจักรมาใช้ในการผลิ ตพบปั ญหาเกี่ ยวกับ วิธีการใช้ ต้นทุนเพิม่ ขึ้น และบางกลุ่มขาดแคลนเครื่ องจักร รวมถึงกลุ่มขาดความมัน่ ใจใน คุณภาพของสิ นค้า เนื่ องจากสิ นค้ายังไม่ได้รับการรับรองจากหน่วยงานที่เชื่อถือได้ เช่น อ.ย. ดังนั้นกลุ่มอาชีพจึงต้องการให้หน่วยงานราชการเข้ามาสนับสนุนอุปกรณ์ที่ทนั สมัย ในการผลิต รวมถึงโรงเรื อน และให้ความรู ้ ค�ำแนะน�ำในการผลิตที่ทนั สมัยและต่อเนื่อง ด้านการตลาด กลุ่มอาชี พส่ วนใหญ่ไม่มีตลาดรองรั บสิ นค้าที่ แน่ นอน ไม่มีการขยายตลาด จึ งต้องการให้หน่ วยงานราชการเข้ามาช่ วยเหลือในการหาตลาดรองรับสิ นค้าเพิ่มเติม สร้างเครื อข่าย ช่วยประชาสัมพันธ์ และจัดหาสถานทีจ่ ดั จ�ำหน่ายสินค้าของกลุม่ ประจ�ำต�ำบล Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.6 No. 1 (January - June 2011)

145


ด้านการบริ หารจัดการกลุ่ม สมาชิกกลุ่มมีการแบ่งแยกกัน ขาดความสามัคคี และขาดจิตส�ำนึ กถึงการเป็ น เจ้าของร่ วมกัน สมาชิกบางคนแยกตัวออกไปท�ำเอง เนื่องจากเห็นว่าได้รับค่าแรงและก�ำไร จากกลุ่มไม่คุม้ ค่า รวมถึงสมาชิ กละเลย ไม่สนใจ ไม่ปฏิบตั ิตามกฎระเบียบข้อบังคับ ของกลุ่ม ดังนั้นทางกลุ่มจึงต้องการให้หน่วยงานราชการจัดเจ้าหน้าที่มาอบรมให้ความรู ้ เพื่อให้สมาชิกเห็นถึงความส�ำคัญของการรวมกลุ่ม ด้านการเงิน พบปัญหาการขาดสภาพคล่องทางการเงิน เนื่องจากการน�ำสิ นค้าไปฝากขายและ เก็บ เงิ น ได้ไ ม่ ค รบ และสิ่ ง ที่ ก ลุ่ ม ต้อ งการให้ห น่ ว ยงานราชการเข้า มาช่ ว ยเหลื อ คื อ เพิ่มจ�ำนวนเงินกู้ และเพิ่มระยะเวลาการให้กจู้ าก 1 ปี เป็ น 2 ปี 1.3. กลุ่มหัตถกรรม ประกอบด้วย กลุ่มตัดเย็บผ้าห่ม และกลุ่มพรมเช็ดเท้า ด้านการผลิต พบปั ญหาการขาดแคลนวัตถุดิบ จึ งต้องไปซื้ อจากนอกชุ มชน ท�ำให้ตน้ ทุน ในเรื่ องของค่าขนส่ งเพิ่มมากขึ้น รวมทั้งสมาชิกที่เป็ นแรงงานไม่เข้าใจวิธีการ ขั้นตอน ในการผลิต ขาดฝี มือขาดทักษะในการปฏิบตั ิงาน ขาดแคลนเครื่ องจักรที่ใช้ในการผลิต ขาดการพัฒนาสิ นค้าในรู ปแบบใหม่ ๆ ซึ่งจากปัญหาที่พบ จึงต้องการให้หน่วยงานราชการ เข้ามาช่ วยในการพัฒนาฝี มื อทักษะของแรงงานให้มีคุณภาพได้มาตรฐานมากยิ่งขึ้ น สนับสนุ นเครื่ องจักรเพิ่มเติม รวมทั้งสนับสนุ นโรงเรื อนส�ำหรับเก็บวัตถุดิบและสิ นค้า ส�ำเร็ จรู ป และให้คำ� แนะน�ำจนกว่ากลุ่มจะมีความเข้มแข็ง ด้านการตลาด พบปั ญหา ผลิตสิ นค้าได้นอ้ ยกว่าความต้องการของตลาด จากการขาดแคลน แรงงานที่มีฝีมือและขาดเครื่ องจักรในการผลิต จึงไม่มีการขยายตลาด โดยทางกลุม่ ต้องการ ให้หน่วยงานราชการเข้ามาช่วยหาตลาดรองรับสิ นค้าเพิ่มเติม ออกแบบสิ นค้าให้สวยงาม น่าใช้และมีเอกลักษณ์เฉพาะตัว และประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนทัว่ ไปได้รู้จกั สิ นค้า ด้านการบริ หารจัดการกลุ่ม พบปั ญหา คือ สมาชิกของกลุ่มขาดความรู ้สึกการเป็ นเจ้าของร่ วมกัน ขาดความ กระตือรื อร้นในการรวมกลุ่ม ไม่มีที่ทำ� การกลุ่ม สมาชิกละเลยกฎระเบียบ ข้อบังคับ ดังนั้น กลุ่มจึงต้องการให้หน่วยงานราชการเข้ามาช่วยจัดอบรมให้ความรู ้ความเข้าใจแก่สมาชิก ให้เล็งเห็นถึงความส�ำคัญของการรวมกลุ่ม

146

วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปีท่ี 6 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถนุ ายน 2554)


ด้านการเงิน พบปัญหา คือ รายได้นอ้ ย จึงท�ำให้ขาดสภาพคล่องทางการเงิน ไม่มีความสามารถ จ่ายค่าแรงงานให้แก่สมาชิก มีเงินทุนหมุนเวียนไม่เพียงพอ จึงต้องการให้หน่วยงานราชการ เข้ามาช่วยในการเพิ่มเงินกูย้ มื และขยายเวลาการให้กยู้ มื เงิน ส� ำหรับกลุ่มน�ำ้ พริกตาแดง และกลุ่มปุ๋ ยชีวภาพ จากการสั มภาษณ์ ไม่ พบปัญหา ด้ านการผลิต ด้ านการตลาด ด้ านการบริหารจัดการกลุ่ม ด้ านการเงิน เป็ นสิ นค้ า OTOP ระดับ 4 ดาว และกลุ่มยังมีความเข้ มแข็ง ผู้ศึกษาจึงน�ำมาเป็ นกลุ่มตัวอย่ างเพื่อใช้ ใน การสนทนากลุ่ม เพือ่ หาแนวทางแก้ ไขปัญหาให้ แก่ กลุ่มอาชีพอืน่ ๆ และจากการสนทนา กลุ่มปรากฏผล ดังนี้ การสนทนากลุม่ เรื่ องปัญหาและแนวทางการพัฒนาของกลุม่ อาชีพในเขตเทศบาล ต�ำบลแม่สรวย อ�ำเภอแม่สรวย จังหวัดเชี ยงราย ครั้งนี้ ผูศ้ ึกษาได้ทำ� การสนทนากลุ่ม โดยใช้วิธีการสุ่ มแบบเจาะจง (Purposive Sampling) จากนายกเทศมนตรี ตำ� บลแม่สรวย นักวิชาการพัฒนาชุมชนช�ำนาญการ นักพัฒนาชุมชน รวมทั้งประธานและคณะกรรมการ กลุ่มน�้ำพริ กตาแดง หมู่ที่ 5 และกลุ่มปุ๋ ยชีวภาพ หมู่ที่ 12 ในเขตเทศบาลต�ำบลแม่สรวย อ�ำเภอแม่สรวย จังหวัดเชี ยงราย รวมจ�ำนวนทั้งสิ้ น 11 คน และนอกจากนี้ มีสมาชิ ก กลุ่ ม อาชี พ อื่ น ๆ เข้า ร่ ว มฟั ง การสนทนากลุ่ ม ในครั้ งนี้ อี ก ด้ว ย โดยจัด สนทนากลุ่ ม ณ สวนน�้ำสรวย เทศบาลต�ำบลแม่สรวย ในวันเสาร์ที่ 12 มีนาคม พ.ศ. 2553 เพื่อสนทนา เกี่ ยวกับความส�ำเร็ จจากการด�ำเนิ นการด้านการผลิต ด้านการตลาด ด้านการบริ หาร จัดการกลุ่ม ด้านการเงิน และยังได้รับการยอมรับเป็ นสิ นค้า OTOP ระดับ 4 ดาว และ การสร้างความเข้มแข็งของกลุ่มอาชีพ เพื่อหาแนวทางในการแก้ไขปั ญหาของกลุ่มอาชีพ ในเขตเทศบาลต�ำบลแม่สรวย อ�ำเภอแม่สรวย จังหวัดเชียงรายที่พบจากการด�ำเนินงานของ กลุ่มอาชีพที่ผา่ นมา รวมถึงผูศ้ ึกษาได้นำ� ปั ญหาที่พบจากการสัมภาษณ์สมาชิกกลุ่มอาชีพ ต่างๆ รวมจ�ำนวน 10 กลุ่ม ซึ่งเป็ นข้อมูลปัญหาและแนวทางการพัฒนาการบริ หารจัดการ 4 ด้าน ประกอบด้วย ด้านการผลิ ต ด้านการตลาด ด้านการบริ หารจัดการกลุ่ม และ ด้านการเงิน มาเป็ นหัวข้อในการสนทนา โดยผลการสนทนากลุ่มมีดงั นี้ กลุม่ น�้ำพริ กตาแดง สรุ ปได้วา่ กลุม่ น�้ำพริ กตาแดงส่งเสริ มให้สมาชิกปลูกวัตถุดิบ ไว้ผลิตสิ นค้าเอง เพื่อลดต้นทุนการผลิต ทั้งเรื่ องของราคาวัตถุดิบและการลดค่าขนส่ ง โดยมีการผลิตน�้ำพริ กตามค�ำสัง่ ของลูกค้าและตามปริ มาณความต้องการของตลาด มุ่งเน้น ผลิตน�้ำพริ กให้มีรสชาติและรู ปแบบตามความต้องการของผูบ้ ริ โภค ไม่ใส่ สารกันบูด รวม Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.6 No. 1 (January - June 2011)

147


ทั้งมีการปรับปรุ งคุณภาพของสิ นค้าและพัฒนารู ปแบบการบรรจุภณั ฑ์เพือ่ เพิม่ มูลค่าสิ นค้า อย่างต่อเนื่อง จึงท�ำให้สินค้ามีความเป็ นเอกลักษณ์ ได้มาตรฐานตามการรับรองคุณภาพ จาก อย. และได้รับการยอมรับให้เป็ นสิ นค้า OTOP ระดับ 4 ดาว ซึ่งจากการที่น้ ำ� พริ กตาแดง เป็ นวัฒนธรรมการกิ นของคนที่อาศัยอยู่ภาคเหนื อของประเทศไทย จึ งท�ำให้ทางกลุ่ม สามารถหาตลาดรองรับได้เอง รวมถึงมีการขยายตลาดทั้งตลาดภายในและตลาดภายนอก ได้อย่างรวดเร็ ว นอกจากนี้ ทางกลุ่มมีระเบียบข้อบังคับ มีการแบ่งหน้าที่กนั อย่างชัดเจน และมีการเชื่อมโยงเครื อข่ายกับเครื อข่ายกลุ่มอาชีพอ�ำเภอต่าง ๆ โดยผ่านส�ำนักงานพัฒนา ชุ มชนอ�ำเภอแม่สรวยเป็ นผูป้ ระสานงาน และมี การระดมเงิ นทุนจากสมาชิ กเพื่อให้มี เงินทุนหมุนเวียน โดยไม่มีการกูย้ มื เงินจากหน่วยงานราชการหรื อหน่วยงานอื่น กลุ่มปุ๋ ยชีวภาพ สรุ ปได้วา่ กลุ่มปุ๋ ยชีวภาพมีการส�ำรวจทรัพยากรในชุมชนและ จัด ท�ำ เป็ นฐานข้อ มู ล เพื่ อ การบริ ห ารจัด การ จึ ง สามารถใช้วตั ถุ ดิ บ ในท้อ งถิ่ น ให้เ กิ ด ประโยชน์สูงสุ ด สามารถขยายอัตราการผลิ ตให้เพียงพอกับความต้องการของตลาด ภายนอกชุมชน จึงท�ำให้มีตลาดรองรับสิ นค้าที่แน่นอน ซึ่งเป็ นผลมาจากการจ�ำหน่ายสิ นค้า ให้สมาชิกในกลุ่มใช้ เพื่อให้สามารถน�ำไปประชาสัมพันธ์บอกเพื่อนบ้าน และญาติพี่นอ้ ง ในชุมชน เพื่อให้ได้การยอมรับในตัวสิ นค้า รวมถึงทางกลุ่มมีประธานกลุ่มที่มีความรู ้ ความเข้าใจในการบริ หารจัดการกลุ่ม จึงมีการจัดท�ำแผน การด�ำเนิ นงาน จัดท�ำระเบียบ ข้อ บัง คับ ที่ ชัด เจน และมอบหมายหน้า ที่ ค วามรั บ ผิ ด ชอบให้แ ก่ ค ณะกรรมการและ สมาชิกกลุม่ ได้อย่างถูกต้องตามความเหมาะสมของแต่ละบุคคล รวมทั้งคณะกรรมการกลุม่ มีความเข้มแข็ง เสี ยสละ และท�ำงานด้วยความโปร่ งใส จึงท�ำให้มีผเู ้ ข้าร่ วมเป็ นสมาชิกกลุม่ จ�ำนวนมาก สามารถระดมทุนให้กบั ทางกลุ่ม โดยไม่มีการกูย้ ืมเงิ นจากเทศบาลหรื อ หน่วยงานอื่น และสามารถจัดสรรปันผลคืนให้แก่สมาชิกทุกปี ในเดือนมิถุนายน 2. แนวทางการพั ฒ นาของกลุ่ ม อาชี พ ในเขตเทศบาล ต� ำ บลแม่ ส รวย อ�ำเภอแม่ สรวย จังหวัดเชียงราย แนวทางการแก้ไขปั ญหาเพื่อการพัฒนาของกลุ่มอาชีพน�้ำพริ กตาแดงจนได้รับ ความส�ำเร็ จเป็ นสิ นค้า OTOP ระดับ 4 ดาว และความเข้มแข็งของกลุ่มอาชีพปุ๋ ยชีวภาพ รวมถึงความสามารถบริ หารจัดการ ด้านการผลิต ด้านการตลาด ด้านการบริ หารจัดการกลุม่ และด้านการเงินอย่างมีประสิ ทธิภาพ ของทั้งสองกลุม่ ที่สามารถน�ำไปปรับใช้ในการพัฒนา กลุ่มอาชีพอื่นๆ มีดงั นี้

148

วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปีท่ี 6 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถนุ ายน 2554)


2.1 ด้านการผลิต กลุ่มเกิดจากชุมชนที่มีวฒั นธรรมอยูก่ นั แบบเครื อญาติ รักใคร่ มีความสามัคคี การต้องการใช้ชีวติ แบบเศรษฐกิจพอเพียง สมาชิกในกลุ่มมีความสนใจและให้ความสนใจ ในกิจกรรมต่างๆ เหมือนกัน รวมถึงการค�ำนึงถึงสุ ขภาพ สิ่ งแวดล้อม และการใช้ทรัพยากร ที่มีอยูใ่ นพื้นที่ให้เกิดประโยชน์สูงที่สุด กล่าวคือ ควรใช้ทรัพยากรภายในท้องถิ่น เพื่อ ลดต้นทุน ใช้แรงงานจากสมาชิ กในกลุ่มเอง ใช้ความรู ้ และภูมิปัญญาท้องถิ่น มุ่งเน้น ผลิตสิ นค้าที่มีคุณภาพจนได้รับการยอมรับให้เป็ นสิ นค้า OTOP ของชุมชน 2.2 ด้านการตลาด ควรตั้งเป้ าหมายของกลุ่ม คือ มุ่งเน้นการผลิตสิ นค้าเพื่อตลาดในชุมชน โดย ให้สมาชิกในกลุ่มใช้ เพื่อให้สามารถน�ำไปประชาสัมพันธ์บอกเพื่อนบ้าน และญาติพี่นอ้ ง ในชุมชน เพื่อให้ได้การยอมรับในตัวสิ นค้า จึงขยายตลาดออกไปสู่ ภายนอก 2.3 ด้านการบริ หารจัดการ การบริ หารจัดการกลุม่ ถือว่าเป็ นสิ่งส�ำคัญในการผลักดันให้กลุม่ ประสบผลส�ำเร็จ ซึ่ งความเข้มแข็งของกลุ่มจะมี มากน้อยเพียงใดขึ้นอยู่กบั ตัวแปรหลายประการ ได้แก่ ความเข้มแข็งและเสี ยสละของผูน้ ำ� กลุ่มและคณะกรรมการกลุ่ม การก�ำหนดกฎระเบียบ ข้อบังคับของกลุ่มอย่างชัดเจน รวมถึงสมาชิกเคารพปฏิบตั ิตามกฎระเบียบ มีความสามัคคี การแบ่งแยกหน้าที่ความรับผิดชอบที่ชดั เจน มีการเชื่อมโยงเครื อข่ายกับหน่วยงานภาครัฐ ต่างๆ ที่คอยให้คำ� ปรึ กษาแนะน�ำ มีการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น มีส่วนร่ วมในการคิด และ วางแผนงานโครงการของกลุ่มในระยะยาว เพือ่ ให้กลุ่มมีแนวทางในการปฏิบตั ิงาน ขอรับ การสนับสนุนและเงินอุดหนุนจากหน่วยงานราชการต่างๆ 2.4 ด้านการเงิน การแก้ไขสภาพคล่องทางการเงินของกลุม่ โดยพึ่งพาตนเองให้มากที่สุด จากการ ระดมทุนลงหุน้ เพือ่ ไม่ให้มีการกูย้ มื เงินจากหน่วยงานอื่น มีการจัดท�ำบัญชีให้เป็ นปัจจุบนั มีการชี้แจงให้สมาชิกได้รับทราบ สามารถค�ำนวณต้นทุนและก�ำไร จัดสรรเงินบางส่ วน เพื่อเป็ นต้นทุ นและเงิ นส�ำรองใช้จ่ายในกรณี ฉุกเฉิ น และมี การแบ่งปั นผลประโยชน์ ที่เป็ นธรรม เสมอภาค และทัว่ ถึง

Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.6 No. 1 (January - June 2011)

149


อภิปรายผล

1. ปัญหาการพัฒนาของกลุ่มอาชีพในเขตเทศบาลต�ำบลแม่สรวย อ�ำเภอแม่สรวย จังหวัดเชียงราย 1.1 ด้า นการผลิ ต จากผลการศึ ก ษาพบว่า กลุ่ ม อาชี พ ที่ พ บปั ญ หาเกี่ ย วกับ การขาดแคลนทรัพยากร วัตถุดิบ และแรงงานที่ใช้ในการด�ำเนินการผลิต วัตถุดิบหายาก มีราคาแพง ท�ำให้ตน้ ทุนด้านการผลิตเพิ่มมาก ได้แก่ กลุ่มผูป้ ลูกกระเทียม กลุ่มเพาะเห็ด และกลุ่มท�ำแคบหมู นอกจากนี้ ยงั พบปั ญหาด้านการผลิ ตเกี่ ยวกับสมาชิ กขาดความรู ้ ความเข้าใจในกระบวนการผลิต ขาดทักษะและความช�ำนาญ ส่ งผลให้สินค้ามีคุณภาพ ไม่ตรงตามความต้องการของผูซ้ ้ื อ ไม่มีการพัฒนาสิ นค้า และบรรจุภณ ั ฑ์รูปแบบใหม่ ซึ่ งกลุ่มที่พบปั ญหา คือ กลุ่มเพาะเห็ด และกลุ่มแม่ครู แปรรู ปผลิตภัณฑ์อาหาร ทั้งนี้อาจ เป็ นเพราะว่า การจัดตั้งกลุ่มขึ้นในครั้งแรกขาดการวางแผน หรื อก�ำหนดเป้ าหมายของกลุ่ม ให้ชดั เจน รวมถึงขาดการตรวจสอบทักษะในกระบวนการผลิตของแรงงานของกลุ่ม และ มุ่ ง เน้ น ผลิ ต สิ น ค้า เลี ย นแบบกลุ่ ม อื่ น ที่ ป ระสบผลส� ำ เร็ จ ซึ่ งในกระบวนการผลิ ต ประกอบด้วยปั จจัยหลายเรื่ องทั้งเรื่ องของวัตถุดิบที่กลุ่มไม่ได้ศึกษามาก่อนว่า ในท้องถิ่น มีวตั ถุดิบหรื อไม่ รวมถึงความรู ้ความเข้าใจในขั้นตอนการผลิต ซึ่งอาจเนื่องมาจากขาดการ ประสานกับหน่วยงานของรัฐที่จะเข้ามาช่วยเหลือให้การฝึ กอบรมหรื อให้คำ� แนะน�ำเพิม่ เติม รวมถึงการพัฒนาสิ นค้าและบรรจุภณ ั ฑ์รูปแบบใหม่ จึงท�ำให้กลุ่มอาชีพพบปั ญหาส�ำคัญ ด้านการผลิตในเรื่ องขาดแคลนวัตถุดิบในท้องถิ่น จนต้องไปหาซื้ อภายนอกท้องถิ่น และ ปั ญหาขาดแคลนแรงงานที่มีทกั ษะ สอดคล้องกับ จุลศักดิ์ ชาญณรงค์ (2546 : 15-16) ที่กล่าวถึงปั ญหาและปั จจัยที่มีผลต่อความส�ำเร็ จหรื อล้มเหลวของการประกอบธุรกิจของ องค์กรชุ มชน คือ ด้านการผลิต ซึ่ งมักจะประสบปั ญหาการขาดแคลนวัตถุดิบ สิ นค้า ขาดคุณภาพไม่ตรงตามมาตรฐาน ขาดแคลนแรงงานระดับฝี มือ และมีแรงงานค่อนข้างต�่ำ ส่วนปัญหาเกี่ยวกับสิ นค้าไม่มีมาตรฐานรับรองหรื อ อย. จึงท�ำให้ลกู ค้าไม่มนั่ ใจในคุณภาพ ของสิ นค้า กลุ่มอาชีพที่พบปัญหา คือ กลุ่มกระเทียมดอง และกลุ่มน�้ำดื่มสมุนไพร ดังนั้น กลุ่มอาชีพจึงต้องการให้หน่วยงานราชการที่เกี่ยวข้องเข้ามาให้ความรู ้ทางวิชาการเพิม่ เติม โดยจัดอบรมวิธีการผลิต สาธิต และพัฒนาสิ นค้ารู ปแบบใหม่ๆ อย่างต่อเนื่อง เพื่อให้ได้ ผลผลิตที่ดีข้ ึนและจ�ำนวนมากขึ้น 1.2 ด้านการตลาด จากผลการศึกษาพบว่า ปัจจุบนั กลุม่ อาชีพส่วนใหญ่ไม่มีตลาด รองรับสิ นค้าที่แน่นอน มีลกู ค้าจ�ำนวนน้อยและมีตลาดในวงแคบ ๆ ซึ่ งได้แก่ กลุ่มผูป้ ลูก 150

วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปีท่ี 6 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถนุ ายน 2554)


กระเทียม กลุม่ เพาะเห็ด กลุม่ กระเทียมดอง กลุม่ ท�ำขนม และกลุม่ น�้ำดื่มสมุนไพร ส่วนกลุม่ อาชี พที่ไม่มีการขยายตลาด เพราะมีคู่แข่งขันมาก โดยเฉพาะคู่แข่งขันจากกลุ่มอาชี พ ในท้องถิ่นอื่น จึงท�ำให้ขายสิ นค้าได้ไม่แน่นอน ส่ งผลให้รายได้ไม่แน่นอนตามไปด้วย ได้แก่ กลุ่มท�ำแคบหมู ดังนั้น กลุ่มอาชีพจึงต้องการให้หน่วยงานราชการเข้ามาช่วยเหลือ และแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับการหาตลาดรองรับสิ นค้าที่ใหญ่ข้ ึน โดยเฉพาะตลาดขายส่ ง และ สร้างเครื อข่าย ขยายตลาดออกนอกพื้นที่ต่างอ�ำเภอ จังหวัดอื่น ๆ หรื อภาคอื่น ๆ ให้กลุ่ม สามารถผลิตสิ นค้าหรื อมีงานให้ทำ� ตลอดปี ทั้งนี้อาจเป็ นเพราะว่า ปัจจุบนั ทางภาครัฐได้มี การสนับสนุนส่ งเสริ มให้ทุกชุมชนมีการรวมกลุม่ อาชีพเพือ่ การผลิต ซึ่งท�ำให้แต่ละชุมชน ต่างพยายามจัดตั้งกลุม่ อาชีพขึ้น จึงท�ำให้มีกลุม่ อาชีพที่ซ้ ำ� ซ้อนกันหลายชุมชน รวมถึงกลุม่ ขาดการสร้ างเครื อข่ายด้านการตลาดกับกลุ่ มอาชี พอื่ น จากการที่ สมาชิ กขาดความรู ้ ความเข้าใจในการสร้างเครื อข่าย จึงท�ำให้การขยายตลาดออกสู่ ภายนอกท�ำได้ยาก และ ส่ งผลให้แต่ละกลุ่มอาชี พมีคู่แข่งขันจ�ำนวนมาก และไม่สามารถหาตลาดรองรับสิ นค้า ทั้งตลาดค้าปลีกและตลาดค้าส่ งที่แน่นอนได้ สอดคล้องกับ จุลศักดิ์ ชาญณรงค์ (2546 : 15-16) ที่กล่าวถึงปัญหาและปัจจัยที่มีผลต่อความส�ำเร็ จหรื อล้มเหลวของการประกอบการ ธุรกิจขององค์กรชุมชน คือ ด้านการตลาดเกี่ยวกับการไม่มีตลาดรองรับที่แน่นอน และยัง สอดคล้องกับงานวิจยั ของ มัณฑนา ข�ำหาญ (2547) ที่ได้ศึกษาระบบการบริ หารจัดการ ธุ รกิ จชุ มชนท้องถิ่ น หนึ่ งต�ำบลหนึ่ งผลิ ตภัณฑ์ จังหวัดเชี ยงใหม่ ผลการศึ กษาพบว่า ด้านการตลาด พบปัญหาเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ทุกกลุ่มมีการแข่งขันมากขึ้น 1.3 ด้านการบริ หารจัดการกลุม่ จากผลการศึกษาพบว่า พบปัญหาด้านการบริ หาร จัดการกลุ่มเกี่ยวกับการมีส่วนร่ วมในการปฏิบตั ิงานของสมาชิ ก เพราะสมาชิ กไม่ค่อย ให้ความร่ วมมื อ ขาดความสามัคคี ไม่รับฟั งความคิ ดเห็ นของผูอ้ ื่ น จึ งท�ำให้เกิ ดการ แบ่งแยกกัน ทั้งนี้ อาจเป็ นเพราะว่า กลุ่มขาดผูน้ ำ� ที่มีประสิ ทธิ ภาพ จึงท�ำให้กลุ่มเกิดการ แบ่งแยก รวมถึงการรวมตัวของกลุ่มอาชี พบางกลุ่มเป็ นการรวมกลุ่มแบบหลวม ๆ ซึ่ ง สมาชิ กบางรายได้รับเงิ นอุดหนุ นและเงิ นให้กูย้ ืมจากหน่ วยงานราชการตามที่ ตนเอง ต้องการแล้ว จึงขาดความสนใจ และความใส่ ใจในเรื่ องของกลุ่มอีก สอดคล้องกับ ณรงค์ เพ็ชรประเสริ ฐ (2542 : 124 -138,177-181) ที่ได้กล่าวถึง ปัจจัยแห่งความส�ำเร็จและล้มเหลว ของธุรกิจชุมชน ประกอบด้วย ปั จจัยด้านผูน้ ำ � ทั้งนี้เนื่องจากสังคมไทยมีลกั ษณะเชื่อคน มากกว่าระบบ ดังนั้นหากผูน้ ำ� เป็ นที่ไว้วางใจของสมาชิ ก มีวิสัยทัศน์ มีความสามารถ ในการน�ำ มี ค วามเสี ย สละ เป็ นต้น ธุ รกิ จ ชุ ม ชนก็จะมี โ อกาสประสบความส�ำ เร็ จได้ นอกจากนี้ยงั พบปั ญหาด้านการบริ หารจัดการกลุ่ม คือ สมาชิกไม่รู้สึกถึงการเป็ นเจ้าของ Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.6 No. 1 (January - June 2011)

151


ร่ ว มกัน ซึ่ งกลุ่ ม ที่ พ บปั ญ หา คื อ กลุ่ ม ท�ำ แคบหมู กลุ่ ม กระเที ย มดอง กลุ่ ม ท�ำ ขนม กลุ่มตัดเย็บผ้าห่ม และกลุ่มพรมเช็ดเท้า ทั้งนี้อาจเป็ นเพราะว่า บางกลุ่มใช้เงินของตนเอง ในการลงทุนเพียงส่ วนเดียว โดยส่ วนใหญ่เป็ นเงินที่ราชการสนับสนุนให้ หรื อบางกลุ่ม ไม่ได้ใช้เงินของตนเองในการลงทุน แต่เป็ นเงินที่ราชการสนับสนุนให้ท้ งั หมด หรื ออาจ เป็ นเพราะว่าในการจัดตั้งกลุ่มมิได้เป็ นความต้องการที่แท้จริ งของกลุ่ม แต่ต้ งั กลุ่มขึ้นเพื่อ ต้องการเงินสนับสนุนจากทางราชการเท่านั้นเอง นอกจากนี้ยงั พบปั ญหาของสมาชิกกลุ่ม อาชี พส่ วนใหญ่ขาดการฝึ กฝน ถ่ายทอด และพัฒนาทักษะในการปฏิบตั ิงาน เพราะใช้ ภูมิปัญญาท้องถิ่ น และทักษะที่ มีติดตัวมาเท่ านั้น จึ งท�ำให้การปฏิ บตั ิ งานไม่ ประสบ ผลส�ำเร็ จตามเป้ าหมายที่ต้ งั ไว้ ทั้งนี้ อาจเป็ นเพราะว่า ส่ วนราชการที่ให้ทางกลุ่มกูย้ มื เงิน เพื่อจัดตั้งกลุ่มอาชีพ ขาดการติดตามประเมินผลการด�ำเนินงานและผลการใช้จ่ายเงินเพื่อ น�ำมาเป็ นข้อมูลในการสนับสนุน แก้ไข หรื อให้คำ� แนะน�ำ เพือ่ แก้ไขปัญหาให้กบั ทางกลุ่ม ในอนาคต รวมถึงสมาชิกของกลุ่มอาชีพส่ วนใหญ่มีอาชีพหลักเป็ นของตนเอง จึงท�ำให้ มีเวลาให้กบั กลุ่มอาชีพน้อย ไม่สามารถปฏิบตั ิงานของกลุ่มได้อย่างเต็มที่ รวมทั้งไม่มีเวลา ในการฝึ กฝนและพัฒนาทักษะในการปฏิบตั ิงาน จึงท�ำให้สมาชิกของกลุ่มอาชีพพบปัญหา ด้านการบริ หารจัดการกลุ่ม สอดคล้องกับงานวิจยั ของ เอนก เหลาโชติ (2547) ที่ได้ศึกษา การบริ หารจัดการธุรกิจชุมชน : กรณี ศึกษากลุม่ หัตถกรรมตุก๊ ตาราชบุรี ผลการศึกษาพบว่า ปั จจัยเกี่ยวข้องกับการบริ หารจัดการของกลุ่มฯ ประกอบด้วย การมีส่วนร่ วมของสมาชิก และยังสอดคล้องกับ ปาริ ชาติ วลัยเสถียร และคนอื่นๆ (2542 : 229 - 232) ที่ได้อธิบาย หลักการส่ งเสริ มการรวมกลุ่ม ซึ่ งจัดเป็ นพื้นฐานของการเสริ มสร้างกลุ่มและเครื อข่าย ไว้วา่ ประกอบด้วย ความสัมพันธ์ที่ดีตอ่ กัน การที่กลุม่ มีความสามัคคีกลมเกลียว ช่วยกันคิด ช่วยกันท�ำ จะท�ำให้งานกลุ่มส�ำเร็ จตามวัตถุประสงค์ที่ตอ้ งการ 1.4 ด้านการเงิน จากผลการศึกษาพบว่า พบปั ญหาด้านการเงินเกี่ยวกับสภาพ คล่องทางการเงิน โดยมีเงินทุนหมุนเวียนไม่เพียงพอในการด�ำเนินการผลิต เนื่องจากต้นทุน สูง ท�ำให้ไม่สามารถซื้อวัตถุดิบเพือ่ น�ำมาผลิตได้ครั้งละมาก ๆ รวมทั้งสิ นค้าที่ฝากขายเก็บ เงินได้ชา้ มาก และพบปัญหาในปี ที่ผา่ นมาบางกลุ่มผลิตสิ นค้าได้จำ� นวนน้อย ไม่ตรงตาม เป้ าหมายและความต้อ งการของลู ก ค้า หรื อ บางกลุ่ ม ผลิ ต ได้จ ำ� นวนมาก แต่ ข ายได้ จ�ำนวนน้อย จึงท�ำให้มีกำ� ไรจากการด�ำเนินงานไม่ตรงตามเป้ าหมายที่กำ� หนดไว้ ซึ่งกลุ่มที่ พบปัญหา ได้แก่ กลุ่มผูป้ ลูกกระเทียม กลุ่มเพาะเห็ด กลุ่มท�ำขนม และกลุ่มน�้ำดื่มสมุนไพร ทั้งนี้ อาจเป็ นเพราะว่า สภาพคล่องทางการเงิ นและการมี เงิ นทุ นหมุนเวียนที่ เพียงพอ มีความส�ำคัญต่อจ�ำนวนของสิ นค้าที่ผลิตได้ ซึ่ งหากทางกลุ่มมีสภาพคล่องทางการเงิน 152

วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปีท่ี 6 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถนุ ายน 2554)


ก็จะท�ำให้การด�ำเนิ นงานประสบความส�ำเร็ จตามเป้ าหมายที่ต้ งั ไว้ ดังนั้นสมาชิกกลุ่มจึง ต้องการให้หน่วยงานราชการเข้ามาช่วยเหลือด้านการเงิน คือ ต้องการให้เทศบาลเพิ่มเงิน ลงทุนโดยให้กยู้ มื เพิ่มให้เพียงพอต่อความต้องการของกลุ่ม เพื่อกลุ่มจะได้ขยายการผลิต และต้องการให้เทศบาลขยายระยะเวลาการให้กูย้ มื เงินให้ยาวนานขึ้นกว่าเดิม สอดคล้อง กับงานวิจยั ของ มัณฑนา ข�ำหาญ (2547) ที่ได้ศึกษาระบบการบริ หารจัดการธุรกิจชุมชน ท้องถิ่น หนึ่ งต�ำบลหนึ่ งผลิตภัณฑ์ จังหวัดเชี ยงใหม่ ผลการศึกษาพบว่า ด้านการเงิ น ส่ วนใหญ่ยงั ประสบปั ญหาในด้านเงินทุนหมุนเวียน ซึ่ งหากได้รับการสนับสนุนที่จริ งจัง จากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องสม�่ำเสมอให้กบั ชุมชนในท้องถิ่นอย่างเสมอภาคก็สามารถที่จะ พัฒนากลุ่มการผลิตให้ได้คุณภาพของผลิตภัณฑ์มากยิง่ ขึ้น 2. แนวทางการพัฒนาของกลุ่มอาชี พในเขตเทศบาลต�ำบลแม่ สรวย อ�ำเภอ แม่ สรวย จังหวัดเชียงราย 2.1 ด้านการผลิต จากผลการศึกษาพบว่า กลุ่มเกิดจากชุมชนที่มีวฒั นธรรมอยูก่ นั แบบเครื อ ญาติ รั ก ใคร่ มี ค วามสามัค คี การต้อ งการใช้ชี วิ ต แบบเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง สมาชิกในกลุ่มมีความสนใจและให้ความสนใจในกิจกรรมต่างๆ เหมือนกัน ทั้งนี้อาจเป็ น เพราะว่า ความสนใจในกิจกรรมต่างๆ ที่เหมือนกันจะส่งผลต่อการท�ำงานที่มีประสิ ทธิภาพ รวมถึงการมีความรักใคร่ และความสามัคคี จะส่ งผลให้การด�ำเนิ นงานของกลุ่มนั้นๆ ประสบผลส�ำเร็จตามเป้ าหมายของกลุม่ ที่ต้งั ไว้ สอดคล้องกับหลักการส่งเสริ มการรวมกลุม่ ซึ่ งจัดเป็ นพื้นฐานของการเสริ มสร้างกลุ่มและเครื อข่ายของ ปาริ ชาติ วลัยเสถียร และ คนอื่นๆ (2542 : 229 - 232) ที่ได้อธิ บายหลักการส่ งเสริ มการรวมกลุ่ม ประกอบด้วย ความสัมพันธ์ที่ดีตอ่ กัน การที่กลุม่ มีความสามัคคีกลมเกลียว ช่วยกันคิด ช่วยกันท�ำ จะท�ำให้ งานกลุ่มส�ำเร็ จตามวัตถุประสงค์ที่ตอ้ งการ นอกจากนี้ดา้ นการผลิตที่มีความส�ำคัญที่กลุ่ม ควรให้ความสนใจ คือ การค�ำนึงถึงสุ ขภาพ สิ่ งแวดล้อม การใช้ทรัพยากรที่มีอยูใ่ นท้องถิ่น ให้เกิ ดประโยชน์สูงสุ ด เพื่อลดต้นทุน ใช้แรงงานจากสมาชิ กในกลุ่ม ใช้ความรู ้ และ ภูมิปัญญาท้องถิ่น และมุ่งเน้นการผลิตสิ นค้าที่มีคุณภาพจนได้รับการยอมรับให้เป็ นสิ นค้า OTOP ของชุมชน ทั้งนี้อาจเป็ นเพราะว่า การใช้ทรัพยากรในท้องถิ่นให้เกิดประโยชน์สูงสุด และการใช้แรงงานจากสมาชิกของกลุ่ม ท�ำให้กลุ่มเกิดความได้เปรี ยบทางด้านการผลิต โดยสามารถลดต้นทุนด้านวัตถุดิบ ด้านการขนส่ง ด้านแรงงาน รวมถึงด้านเวลา ซึ่งจะท�ำให้ การด�ำ เนิ น การผลิ ตมี ประสิ ทธิ ภ าพ และส่ ง ผลให้สิ นค้า ที่ ผ ลิ ต มี คุ ณ ภาพตามไปด้วย สอดคล้องกับงานวิจยั ของ จิตต์ใส แก้วบุญเรื อง (2546) ได้ทำ� การศึกษาการด�ำเนิ นงาน โครงการหนึ่ งต�ำบลหนึ่ งผลิตภัณฑ์ที่ประสบความส�ำเร็ จในจังหวัดล�ำปาง ผลการศึกษา พบว่า ด้านการผลิตวัตถุดิบของชุมชนเป็ นผลผลิตทางการเกษตรหรื อทรัพยากรธรรมชาติ Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.6 No. 1 (January - June 2011)

153


ภายในชุมชนมากที่สุด 2.2 ด้านการตลาด จากผลการศึกษาพบว่า ควรมุ่งเน้นการผลิตสิ นค้าเพื่อตลาด ในชุมชน โดยให้สมาชิกในกลุ่มใช้ เพื่อให้สามารถน�ำไปประชาสัมพันธ์บอกเพื่อนบ้าน และญาติพนี่ อ้ งในชุมชน เพือ่ ให้ได้การยอมรับในตัวสิ นค้า จึงขยายตลาดออกไปสู่ภายนอก ทั้ง นี้ อาจเป็ นเพราะว่า ปั จ จุ บ ัน ทางกลุ่ ม ไม่ มี ต ลาดรองรั บ สิ น ค้า ที่ แ น่ น อน มี ลู ก ค้า จ�ำนวนน้อยและมีตลาดในวงแคบ ๆ ดังนั้นการมุ่งเน้นการตลาดของกลุ่ม จึงต้องอาศัย การค้าปลีกเป็ นส�ำคัญ เพื่อให้ผบู ้ ริ โภคโดยทัว่ ไปยอมรับในตัวสิ นค้าก่อน จึงจะสามารถ ขยายตลาดออกไปสู่ภายนอกได้ ซึ่งถือเป็ นปัจจัยส�ำคัญต่อการบริ หารจัดการด้านการตลาด เพื่อความส�ำเร็ จของกลุ่มต่อไป สอดคล้องกับแนวคิดเกี่ยวกับปั จจัยที่นำ� ไปสู่ ความส�ำเร็ จ และความล้มเหลวในการด�ำเนินธุรกิจชุมชนของใจมนัส พลอยดี (2541 : 144 – 164) ซึ่ ง ประกอบด้วย ปั จจัยด้านการตลาด โดยกลุ่มธุรกิจชุมชนที่ประสบความส�ำเร็ จจะเป็ นกลุ่ม ที่มคี คู่ า้ ที่แน่นอนและเพียงพอ ถึงแม้วา่ ด้านค้าปลีกไม่มคี คู่ า้ ที่แน่นอน แต่ตอ้ งมีมากเพียงพอ ธุรกิจชุมชนที่มีผลผลิตไม่มากโดยทัว่ ไปจะอาศัยตลาดค้าปลีกเป็ นส�ำคัญ 2.3 ด้านการบริ หารจัดการ จากผลการศึกษาพบว่า แนวทางการพัฒนาด้านการ บริ หารจัด การถื อ ว่ า เป็ นสิ่ ง ส� ำ คัญ ในการผลัก ดัน ให้ ก ลุ่ ม ประสบผลส� ำ เร็ จ และมี ความเข้ม แข็ ง ประกอบด้ว ย ความเข้ม แข็ ง และความเสี ย สละของผู ้น�ำ กลุ่ ม และ คณะกรรมการกลุ่ม การก�ำหนดกฎระเบียบข้อบังคับของกลุ่มอย่างชัดเจน รวมถึงสมาชิก เคารพปฏิบตั ิตามกฎระเบียบ มีความสามัคคี มีการแบ่งแยกหน้าที่ความรับผิดชอบที่ชดั เจน และมีการเชื่อมโยงเครื อข่ายกับหน่วยงานภาครัฐต่างๆ ที่คอยให้คำ� ปรึ กษาแนะน�ำ ทั้งนี้ อาจเป็ นเพราะว่ า ผูน้ �ำ กลุ่ ม และคณะกรรมการกลุ่ ม ที่ มี ค วามเข้ม แข็ง และเสี ย สละ จะด�ำเนิ นงานของกลุ่ มอย่างเต็มที่ ส่ งผลให้งานมี ประสิ ทธิ ภาพ รวมทั้งการก�ำหนด กฎระเบี ย บข้อ บัง คับ และแบ่ ง แยกหน้ า ที่ ค วามรั บ ผิ ด ชอบอย่ า งชัด เจน จะท�ำ ให้ การปฏิบตั ิงานเป็ นไปด้วยความเรี ยบร้อย และการเชื่อมโยงเครื อข่ายและประสานงานกับ หน่ วยงานภาครั ฐ จะส่ งผลต่ อความเข้มแข็งและการพัฒนากลุ่มอาชี พอย่างต่ อเนื่ อง สอดคล้องกับงานวิจยั ของ เอนก เหลาโชติ (2547) ที่ได้ศึกษาการบริ หารจัดการธุรกิจชุมชน : กรณีศึกษากลุม่ หัตถกรรมตุก๊ ตาราชบุรี ผลการศึกษาพบว่า ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการบริ หาร จัดการของกลุ่มฯ และส่ งผลดีต่อการพัฒนากลุ่มอย่างต่อเนื่อง จนถึงปัจจุบนั ประกอบด้วย การมีส่วนร่ วมของสมาชิก ความเป็ นผูน้ ำ � และระเบียบข้อบังคับของกลุ่ม นอกจากนี้แนวทางการพัฒนาด้านการบริ หารจัดการกลุม่ เรื่ องที่มีความส�ำคัญ คือ สมาชิ กมีการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น มีส่วนร่ วมในการคิด และวางแผนงานโครงการ 154

วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปีท่ี 6 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถนุ ายน 2554)


ของกลุม่ ในระยะยาว เพือ่ ให้กลุม่ มีแนวทางในการปฏิบตั ิงาน ขอรับการสนับสนุนและเงิน อุดหนุ นจากหน่ วยงานราชการต่างๆ ทั้งนี้ อาจเป็ นเพราะว่า การวางแผนงานโครงการ ด้านต่างๆ ของกลุ่ม ก่อนการปฏิบตั ิจริ ง จะท�ำให้คณะกรรมการและสมาชิกกลุ่มมีแนวทาง ในการปฏิบตั ิงานที่ชดั เจน ซึ่งจะท�ำให้สามารถด�ำเนินงานได้ตรงตามกรอบและเป้ าหมาย ที่กำ� หนดไว้ สอดคล้องกับงานวิจยั ของ สวนีย ์ วัลค�ำ และคณะ (2542) ที่ได้ทำ� การศึกษา ปั จจัยที่ มีผลต่อความส�ำเร็ จหรื อไม่ส�ำเร็ จของการพัฒนากลุ่มอาชี พ กลุ่มทอผ้าย้อมสี ธรรมชาติบา้ นด่าน ต�ำบลเชียงหวาง อ�ำเภอเพ็ญ จังหวัดอุดรธานี โดยผลการศึกษาพบว่า ปั จจัยที่มีผลต่อความส�ำเร็ จหรื อไม่ส�ำเร็ จของการพัฒนากลุ่มอาชี พ คือ มีการวางแผน ในการด�ำเนินกิจกรรม 2.4 ด้า นการเงิ น จากผลการศึ ก ษาพบว่ า แนวทางการแก้ไ ขสภาพคล่ อ ง ทางการเงินของกลุ่มโดยพึ่งพาตนเองให้มากที่สุด จากการระดมทุนลงหุน้ เพือ่ ไม่ให้มีการ กู้ยืม เงิ น จากหน่ ว ยงานอื่ น มี ก ารจัด ท�ำ บัญ ชี ใ ห้เ ป็ นปั จ จุ บ ัน มี ก ารชี้ แจงให้ส มาชิ ก ได้รับทราบ สามารถค�ำนวณต้นทุนและก�ำไร จัดสรรเงินบางส่ วนเพื่อเป็ นต้นทุนและ เงินส�ำรองใช้จ่ายในกรณีฉุกเฉิน และมีการแบ่งปันผลประโยชน์ที่เป็ นธรรม เสมอภาค และ ทัว่ ถึง ทั้งนี้อาจเป็ นเพราะว่า การแก้ไขสภาพคล่องทางการเงิน โดยการพึ่งพาตนเองจาก การระดมทุ น ลงหุ ้น ของสมาชิ ก ในกลุ่ ม เพื่ อ ไม่ ใ ห้มี ก ารกู้ยืม เงิ น จากหน่ ว ยงานอื่ น นั้น เป็ นการแก้ไขปั ญหาในระยะยาว เพื่อความยัง่ ยืนของกลุ่ม รวมทั้งการจัดท�ำบัญชี ให้เป็ นปั จจุ บนั และมี การชี้ แจงให้สมาชิ กได้รับทราบ เป็ นปั จจัยที่ มีความส�ำคัญต่ อ ความส�ำเร็ จของกลุ่ม และส่ งผลให้กลุ่มมีความเข้มแข็ง สอดคล้องกับงานวิจยั ของ รุ่ งทิพย์ เสมอเชื้ อ (2551) ที่ ไ ด้ศึ ก ษาการบริ ห ารจัด การธุ ร กิ จ ชุ ม ชนของกลุ่ ม อาชี พ ไม้ก วาด ลายดอกแก้ว : กรณี ศึกษา ต�ำบลดงสุ วรรณ อ�ำเภอดอกค�ำใต้ จังหวัดพะเยา ผลการศึกษา พบว่า การบริ หารจัดการด้านการเงินและบัญชี ได้แก่ โครงสร้างเงินทุน สภาพคล่อง ทางการเงิน การจัดท�ำบัญชีและงบการเงิน โดยภาพรวมมีการบริ หารจัดการอยูใ่ นระดับ มากที่สุด เมื่อพิจารณาในแต่ละรายการ พบว่า รายการที่มีคา่ เฉลี่ยสูงสุ ด คือ การจัดท�ำบัญชี และงบการเงิ น และยังสอดคล้องกับแนวคิ ดเกี่ ยวกับปั จจัยที่ นำ� ไปสู่ ความส�ำเร็ จและ ความล้มเหลวในการด�ำเนิ นธุ รกิจชุมชนของ ใจมนัส พลอยดี (2541 : 144 - 164) ซึ่ ง ประกอบด้วย ปั จจัยด้านการเงินหรื อเงินทุน คือ กลุ่มกิจกรรมทางเศรษฐกิจที่ใช้เงินทุน ของตนเอง ไม่ ตอ้ งกู้หนี้ ยืมสิ น ไม่ ตอ้ งจ่ ายดอกเบี้ ยส�ำหรั บเงิ นลงทุ น มี โอกาสที่ จะ ประสบความส�ำเร็ จในการด�ำเนิ นงานมากกว่าการพึ่งเงินกูโ้ ดยไม่มีทุนสะสมของตนเอง กล่าวคือ กลุม่ กิจกรรมเศรษฐกิจที่สามารถพึ่งตนเองด้านเงินทุน หรื อสามารถระดมทุนจาก ชุมชนได้เองจึงมีโอกาสที่จะอยูไ่ ด้ และเติบโตได้มากกว่ากลุ่มที่พ่ ึงเงินทุนจากการกูย้ มื Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.6 No. 1 (January - June 2011)

155


รายการอ้ างอิง กระทรวงมหาดไทย กรมส่ งเสริ มการปกครองท้องถิ่น. (2550). มาตรฐานการส่ งเสริ ม อาชีพ. กรุ งเทพมหานคร : กระทรวงฯ. จิ ตต์ใส แก้วบุญเรื อง. (2546). การด�ำเนินงานโครงการหนึ่งต�ำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ ที่ ประสบความส� ำเร็ จในจังหวัดล�ำปาง. การศึกษาอิสระ บธ.ม. (บริ หารธุ รกิจ) เชียงใหม่ : มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. จุลศักดิ์ ชาญณรงค์. (2546). การศึ กษาโครงสร้ างองค์ กรธุ รกิจชุ มชน : กรณีศึกษา กลุ่ มแม่ บ้ านผลิ ต ภั ณ ฑ์ กล้ วยจั ง หวั ด นนทบุ รี . กรุ งเทพมหานคร : ทบวงมหาวิทยาลัย. ใจมนัส พลอยดี. (2541). แนวคิดธุรกิจชุมชน. กรุ งเทพมหานคร : เอดิสนั เพรส โปรดักส์. ณรงค์ เพ็ชรประเสริ ฐ. (2542). ธุรกิจชุ มชน เส้ นทางที่เป็ นไปได้ . กรุ งเทพมหานคร : ส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจยั . ปาริ ชาติ วลัยเสถียร และคณะ. (2542). รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการวิจยั เรื่องกระบวนการ และเทคนิคการท�ำงานของนักพัฒนา. กรุ งเทพมหานคร : ส�ำนักงานกองทุน สนับสนุนการวิจยั . มัณฑนา ขำ� หาญ. (2547). การศึกษาระบบการบริหารจัดการธุรกิจชุมชนท้องถิน่ หนึง่ ต�ำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ จังหวัดเชี ยงใหม่ . วิทยานิ พนธ์ กศ.ม. (อุตสาหกรรมศึกษา) พิษณุโลก : มหาวิทยาลัยนเรศวร. รุ่ งทิ พย์ เสมอเชื้ อ. (2551). การบริ หารจัดการธุ รกิจชุ มชนของกลุ่มอาชี พไม้ กวาด ลายดอกแก้ ว : กรณีศึกษา ต�ำบลดงสุ วรรณ อ�ำเภอดอกค�ำใต้ จังหวัดพะเยา. วิทยานิพนธ์ บธ.ม. (การจัดการทัว่ ไป) กรุ งเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยราชภัฏ เชียงราย. สวนีย ์ วัลค�ำ และคณะ. (2542). การประเมินผลยุทธศาสตร์ เศรษฐกิจชุ มชนพึง่ ตนเอง. อุดรธานี : ส�ำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดอุดรธานี. เอนก เหลาโชติ. (2547). การบริหารจัดการธุรกิจชุมชน : กรณีศึกษากลุ่มหัตถกรรมตุ๊กตา ราชบุ รี . วิ ท ยานิ พ นธ์ ศษ.ม. (การศึ ก ษาผู ้ใ หญ่ แ ละการศึ ก ษาต่ อ เนื่ อ ง) กรุ งเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยศิลปากร.

156

วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปีท่ี 6 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถนุ ายน 2554)


บทแนะน�ำหนังสื อ Good to Great* โดย สุภทั ณี เปี่ ยมสุวรรณกิจ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชี ยงราย การที่จะท�ำให้องค์กรหรื อบริ ษทั ประสบความส�ำเร็ จก้าวไปสู่ การเป็ นบริ ษทั ที่ยงิ่ ใหญ่และยัง่ ยืนนั้น วินยั เป็ นเรื่ องที่สำ� คัญมากดังจะเห็นได้จากตัวอย่างในเรื่ อง Good to Great หนังสื อเล่มนี้กล่าวถึงหลักการว่าด้วยการก้าวจากบริ ษทั ที่ดีไปสู่บริ ษทั ที่ยงิ่ ใหญ่ เป็ นเรื่ องเกี่ยวกับการยกระดับบริ ษทั หรื อองค์กรให้กา้ วไปสู่ ความยิง่ ใหญ่ (Good to Great) มันจึงไม่ใช่แค่หนังสื อที่กล่าวถึงการแก้ไขปั ญหาทางธุรกิจ กลยุทธ์ การวางแผนที่ทำ� ให้ บริ ษทั ประสบความส�ำเร็จเพียงแค่ชวั่ คราวแล้วหายไปแต่มนั คือการค้นหาสิ่ งที่สร้างองค์กร ทัว่ ไปให้กา้ วไปสู่ ความยิง่ ใหญ่ที่ยง่ั ยืน Good to Great เป็ นงานวิจยั และหนังสื อที่เขียนโดย จิมส์ คอลลินส์ และทีมวิจยั 21 คน ใช้เวลาในการวิจยั และเขียน 5 ปี งานวิจยั ฉบับนี้ตอบค�ำถามว่า “เหตุใดบริ ษทั ทัว่ ไป ไม่สามารถเป็ นบริ ษทั ที่ยง่ิ ใหญ่ได้” งานวิจยั เริ่ มด้วยการเลือก 28 บริ ษทั จากตลาดทรัพย์ โดยเป็ นบริ ษทั Good to Great 11 บริ ษทั อีก 17 บริ ษทั เป็ นเปรี ยบเทียบ จิมส์ คอลลินส์ ใช้ระเบี ยบวิธีวิจยั เพื่อเปรี ยบเที ยบเป็ นคู่ และสรุ ปได้ว่าองค์กรส่ วนใหญ่ไม่ สามารถ ก้าวกระโดดไปสู่ ความส�ำเร็ จที่ยงิ่ ใหญ่ได้ เพราะติดอยูก่ บั “กับดักแห่งความส�ำเร็ จ” นั้นคือ การที่องค์กรนั้นเห็นว่าองค์กรของตนดีแล้ว (Good is an enemy of Great ) จึงไม่ได้ทำ� การ พัฒนาต่อและสุ ดท้ายก็ติดกับดักแห่ งความส�ำเร็ จท�ำให้หลายบริ ษทั ไม่สามารถพัฒนา ไปเป็ นบริ ษทั Good to Great ซึ่งก็คือที่มาของชื่อหนังสื อ Good to Great การวิจยั ในครั้งนี้ มีคำ� ถามที่สำ� คัญคือ ลักษณะร่ วมของบริษัทที่ยงิ่ ใหญ่ ที่ท�ำให้ บริษทั เหล่ านีแ้ ตกต่ างจากบริษทั เปรียบเทียบคืออะไร จากการวิจยั พบว่า ปัจจัยทีท่ ำ� ให้ บริษทั ทีด่ กี ลายมาเป็ นบริษทั ทีย่ งิ่ ใหญ่ ได้ น้ันเกิด จากวินัย 3 ด้ านดังนี้ วินัยในด้ านคน วินัยในด้ านความคิด และวินัยในด้ านการปฏิบัต ิ * Jim Collins. Good to Great. Harper Business, 2001 Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.6 No. 1 (January - June 2011)

157


วินยั ในด้านคนนั้น จิมส์ คอลลินส์ กล่าวถึง ผูน้ ำ� ระดับ 5 และ ใครเป็ นผูท้ ำ� วิ านคนนั ้ น จิมส์ คอลลินส์ กล่าวถึง ผู้นําระดับ และ ใครเป็ นผู้ทาํ ก่ อนทีจ่ ะคิดว่ าจะทําอะไร ก่อนที่จะคินดยั ว่ในด้ าจะท� ำอะไร ผูผู้ น้ นําระดั จะมีบุคบลิุคกลิทวิ ลกั ลษณ์ คือเป็คือนคนอ่ อนน้ออนน้ มถ่ออมตนและมี ความเป็ นมืออาชี พ �ำระดับ บ 5ผูผูน้ น้ าํ ำ� ระดั ระดับบ 5 จะมี กทวิ กั ษณ์ เป็ นคนอ่ มถ่อมตนและ ่งมัอน่ อาชี ความมุนมื ที่จะสร้ นให้ากงความยิ บั บริ ษทั พวกเขามี ความมุ น่ ทีก่จบั ะทํ ่งใหญ่​่งแมัละยั มีคือคมีวามเป็ พ างความยิ คือมีความมุ น่ ทีง่ ่จยืะสร้ ง่ ยืน่งมัให้ บริาทุษกทั อย่างเพื่อสร้าง ่งใหญ่และยั บริ ษทั ให้ยคงิ่ ใหญ่ งปั นษความดี างานให้ เพื่อนร่ วมงาน แต่ถา้ งาน พวกเขามี วามมุไม่ง่ มัวา่ น่ จะยากลํ ที่จะท�ำาบากเพี ทุกอย่ยางใด งเพือ่ จะแบ่ สร้างบริ ทั ให้ยคงิ่ วามชอบในการทํ ใหญ่ไม่วา่ จะยากล� ำบากเพี ยงใด ล้มเหลวพวกเขาจะรั ผิดชอบ โดยไม่โทษคนอื บ ตระหนั กว่าความสํ าเร็ จที่ยิ่งใหญ่ไม่ได้เกิ ดจาก จะแบ่ งปั นความดีคบวามชอบในการท� ำงานให้่นเพืผู่อน้ นร่าํ ระดั วมงาน แต่ถา้ งานล้ มเหลวพวกเขาจะ าํ คนเดียโวในช่ วงเวลาเดี าเร็ จกอัว่นาความส� เกิดจากความพยายามของผู รันํบ้ ามืผิอดของผู ชอบน้ โดยไม่ ทษคนอื ่น ผูน้ ยำ� วแต่ ระดัเป็บน5ความสํ ตระหนั ำเร็ จที่ยงิ่ ใหญ่ไม่ไน้ ด้าํ เหลายรุ กิดจาก่ น ดังนั้นก่อนที่ ั ผูน้ าํ ระดั บ วงเวลาเดี จะสร้างกลไกที ํ ให้เกิดความก้ วผูส้ ื บทอดตําแหน่งเพื่อ น�จะออกจากบริ ยวในช่ ยวแต่เป็่ทานความส� ำเร็ จาอัวหน้ นเกิาดโดยเขาจะวางตั จากความพยายามของ ้ ำมือของผูน้ ษำ� ทคนเดี าเร็ จที่ น่ยิ่งใหญ่ ไป แตกต่างจากผู ไปเมืบ่อผู5น้ าํจะสร้ เหล่านีา้ ยงกลไกที งั อยูใ่ นบริ่ ทษำ� ทั ให้เขาจะทํ ผูความสํ น้ ำ� หลายรุ ดังนัก้ นว่ก่าในรุ อนที่ นถั่ จดะออกจากบริ ษทั น้ ผูาํ น้ ทั�ำว่ ระดั เกิ ด าให้บริ ษทั มี ชื่อเสี ยงมากในระยะเวลาหนึ ่ งแต่วเมืผู่อส้ ผูื บน้ ทอดต� าํ เหล่าำนีแหน่ ษทั ไปจะก่ ดความเสี ยหายให้ บั บริ ษทั ในระยะ ้ ออกจากบริ ่ นถัดกไป ความก้ าวหน้าโดยเขาจะวางตั งเพือ่ ความส� ำเร็จอทีให้่ยงิ่ เกิใหญ่ กว่าในรุ ยาวเพราะพวกเขาไม่ สร้างผลงานอย่ แตกต่ างจากผูน้ ำ� ทัว่ได้ไปเมื ่อผูน้ ำ� เหล่าางต่นี้ยองเนื ั อยู่องใ่ นบริ ษทั เขาจะท�ำให้บริ ษทั มีชื่อเสี ยงมากใน ่จะคิานีด้ ว่อาอกจากบริ จะทําอะไรษทั ในบริ ษทั อGood Great ยหายให้ ผูน้ าํ ให้คกวามสํ ใครเป็่ งแต่ นผูเ้ ทมืํา่อก่ผูอน้ นที ระยะเวลาหนึ ำ� เหล่ ไปจะก่ ให้เกิดtoความเสี บั บริาษคัทั ญกับทรัพยากร บุ ค คล ต้อ งเลื อ กคนที่ คิ ด ว่ า ใช่ได้เข้สาร้มาในบริ ษัท ส่างต่ ว นคนที ในระยะยาวเพราะพวกเขาไม่ างผลงานอย่ อเนื่อง่ ไ ม่ ใ ช่ ต้อ งเอาออก คนที่ ใ ช่ คื อ คนที่ มี ค วามรั ก ่ ความเป็to น่ (Commitment) วินำยั อะไร (Discipline)ที นเลิGreat ศ บริ ษทผูั Good (Passion)ความมุ ใครเป็่งมันผู ้ ท� ำ ก่ อ นที่ จและความมี ะคิ ด ว่ า จะท� ในบริ่จษะมุัท่งสูGood น้ �ำ to Greatจะ จ้างพนั กงานที สู งพเข้ยากรบุ ามาทํางาน คือ ผูท้ ี่จะทํ ิ่ งที่เป็ นประโยชน์ ให้ ความส� ำคัญ่มกัีวินบยั ทรั คคลลัต้กอษณะของพนั งเลือกคนทีก่คงานที ิดว่า ่มใช่ีวินเข้ยั าก็มาในบริ ษทั าแต่ ส่วสนคนที ่ไม่ใช่ ต่อบริ ษทั ตอ้ งสั่ง การบั บที่เข้มกงวดไม่ ใช่สิ่งจําความมุ เป็ นสําหรั กงานที่มีวนิ ยั ่งมับน่ พนั(Commitment) ต้โดยไม่ องเอาออก คนทีง่ใคัช่บคและกฎระเบี ือ คนที่มีคยวามรั (Passion) และ า งจากผู น ้ า ํ บริ ษ ท ั ทั ว ไปมั ก เข้ า ใจว่ า การเปลี ่ ย นแปลงให้ อ งค์ ก รเป็ น บริ ษ ท ั ที ่ ย ง ิ ใหญ่ ไ ด้น้ นั ขั้นตอนแรก ต่ ่ ่ ความมีวินยั (Discipline) ที่จะมุ่งสู่ ความเป็ นเลิศ บริ ษทั Good to Great จะจ้างพนักงาน าหนดทิ สัยทัศน์กใงานที หม่ให้่มกีวบั น ให้คนในองค์กรปฏิบตั ิ ทีที่​่มควรทํ ีวนิ ยั าสูคืงอเข้การกํ ามาท� ำงานศลัทางและวิ กษณะของพนั ิ องค์ ยั ก็คกือร พร้ ผูท้ อี่จมทั ะท�้ งำวางยุ แต่สท่ิ งธศาสตร์ ที่เป็ นประโยชน์

ตามให้บรรลุตามวิสัยทัศน์ที่ต้ งั ไว้ แต่งานวิจยั ครั้งนี้ พบว่าบริ ษทั ที่ยิ่งใหญ่ ให้ความสําคัญกับการบริ หารคนให้ เหมาะสมกับงาน (Put the right man in the right job) จิม คอลลินส์ เปรี ยบบริ ษทั เป็ นรถบัส คัน ผูน้ าํ ต้องเลือก วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย 158 คนที านั้นขึ้-นมิรถบั ส และคั ปีท่ี 6่เหมาะสมเท่ ฉบับที่ 1 (มกราคม ถนุ ายน 2554)ดคนที่ไม่เหมาะสมลงจากรถไป เพราะเมื่อรถบัสจะไปในทิศทางใดถ้าคน บนรถเต็มใจ ไม่วา่ รถจะเปลี่ยนเส้นทางอย่างไรก็ไม่มีปัญหา เปรี ยบได้กบั องค์กรหากมีทีมงานที่เหมาะสมและมี


ต่ อบริ ษทั โดยไม่ ตอ้ งสั่ง การบังคับและกฎระเบี ยบที่ เข้มงวดไม่ ใช่ สิ่งจ�ำเป็ นส�ำหรั บ พนักงานที่มีวนิ ยั ต่างจากผูน้ ำ� บริ ษทั ทัว่ ไปมักเข้าใจว่า การเปลี่ยนแปลงให้องค์กรเป็ นบริ ษทั ที่ยงิ่ ใหญ่ได้น้ นั ขั้นตอนแรกที่ควรท�ำคือการก�ำหนดทิศทางและวิสยั ทัศน์ใหม่ให้กบั องค์กร พร้ อ มทั้ง วางยุท ธศาสตร์ ใ ห้ค นในองค์ก รปฏิ บ ัติ ต ามให้บ รรลุ ต ามวิ สั ย ทัศ น์ ที่ ต้ งั ไว้ แต่งานวิจยั ครั้งนี้ พบว่าบริ ษทั ที่ย่ิงใหญ่ ให้ความส�ำคัญกับการบริ หารคนให้เหมาะสม กับงาน (Put the right man in the right job) จิม คอลลินส์ เปรี ยบบริ ษทั เป็ นรถบัส 1 คัน ผูน้ ำ� ต้องเลื อกคนที่ เหมาะสมเท่านั้นขึ้นรถบัส และคัดคนที่ ไม่เหมาะสมลงจากรถไป เพราะเมื่อรถบัสจะไปในทิศทางใดถ้าคนบนรถเต็มใจ ไม่วา่ รถจะเปลี่ยนเส้นทางอย่างไร ก็ไม่มีปัญหา เปรี ยบได้กบั องค์กรหากมีทีมงานที่เหมาะสมและมีคุณภาพ ก็จะร่ วมกัน ก�ำหนดวิสัยทัศน์และปฏิบตั ิงานตามวิสัยทัศน์ที่วางร่ วมกัน ผูน้ ำ� บริ ษทั Good to Great บริ หารคนอย่างเข้มงวดแต่ไม่โหดร้ าย คื อต้องยึดมัน่ ในมาตรฐานการท�ำงาน จัดคน ให้เหมาะสมกับงานการตัดสิ นใจต้องเด็ดขาดและรวดเร็ว ใช้คนที่เก่งที่สุด ไปท�ำงานที่เป็ น โอกาสที่สำ� คัญที่สุด อย่าจ้างคนเก่งไว้แก้ปัญหา และจากงานวิจยั พบว่า “คน ไม่ใช่ ทรัพย์สิน ที่ส�ำคัญที่สุด หากแต่ เป็ นคนที่เหมาะสมกับงานต่ างหากที่เป็ นทรั พย์ สินที่มีค่าที่สุด” ดังนั้นผูน้ ำ� จึงควรเลือกใช้คนให้เหมาะกับงาน วินยั ในด้านความคิดนั้น จิม คอลลินส์เสนอ 2 แนวคิดคือ กล้ าเผชิญความจริงที่ โหดร้ าย และ แนวคิดแบบตัวเม่ น กล้ าเผชิ ญความจริ งที่โหดร้ าย ผูน้ ำ� ต้องแสดงให้ผูใ้ ต้บงั คับบัญชาเห็ นว่าเขา กล้าเผชิ ญความจริ งและยอมรั บความล้มเหลวได้ เพราะหากผูน้ ำ� ไม่ยอมรั บความจริ ง ผูใ้ ต้บงั คับบัญชาอาจบิดเบือนข้อมูลเพราะไม่กล้ารายงานข้อเท็จจริ งให้ผบู ้ ริ หารทราบ ซึ่ง จะก่อให้เกิดผลเสี ยกับบริ ษทั ได้ ผูน้ ำ� ต้องฝึ กฝนให้ยอมรับกับความจริ งและพร้อมที่จะ ทบทวน ปรับเปลี่ยนวิธีการให้สอดคล้องกับสภาพในโลกแห่งความเป็ นจริ ง และต้องสร้าง บรรยากาศให้องค์กรมีการพูดและยอมรับความจริ งกันให้เป็ นวัฒนธรรมองค์กร ปลูกฝัง ให้ทกุ คนเคารพและรับฟังและยอมรับความคิดเห็นของทุกคนในองค์กร ผูน้ ำ� จะสร้างกลไก ธงแดง คือต้องเข้าถึงทุกข้อมูล อย่าละเลยข้อมูลเล็กน้อย เพราะอาจก่อให้เกิดความเสี ยหาย แก่องค์กรได้ เมื่อผูน้ ำ� พร้อมเผชิญหน้ากับความเป็ นจริ งที่โหดร้ายแล้ว สิ่ งที่จะท�ำให้องค์กร นั้น ยื น หยัด อยู่ไ ด้โ ดยไม่ ห วัน่ ไหวคื อ ความศรั ท ธา ผูน้ �ำ จะต้อ งสร้ า งขวัญ ก�ำ ลัง ใจ คอยกระตุน้ ให้ทุกคนในองค์กรฮึ กเหิ ม กล้าเผชิ ญกับปั ญหาและมองถึ งเป้ าหมาย คื อ ความส�ำเร็ จขององค์กร Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.6 No. 1 (January - June 2011)

159


แล้ว สิ่ งที่จะทําให้องค์กรนั้นยืนหยัด อยูไ่ ด้โดยไม่หวัน่ ไหวคือความศรัทธา ผูน้ าํ จะต้องสร้างขวัญ กําลังใจ คอ กระตุน้ ให้ทุกคนในองค์กรฮึกเหิ ม กล้าเผชิญกับปัญหาและมองถึงเป้ าหมาย คือ ความสําเร็ จขององค์กร แบบตัดวแบบตั เม่ น วนิเม่ทนานกรี กโบราณกล่ าวไว้าววไว้ า่ “หมาจิ ้หลายเรื ่ อง ่ อเม่ง นรู้เพียงเรื่ องเดีย ้งจอกรอบรู แนวคิดแนวคิ นิทานกรี กโบราณกล่ วา่ “หมาจิ ้หลายเรื ้งจอกรอบรู ่ม โดยที แต่เป็ นเรืเม่​่ อนงใหญ่ ๆ”่ องเดีเปรียว แต่ ยบเหมื 2 กลุ ่กลุ่มอหมาจิ นพวกที ีเป้ าหมายหลายอย่ างในเวล รู ้เพียงเรื เป็ นอนคน เรื่ องใหญ่ ๆ” เปรี ยบเหมื นคน้ง2จอก กลุ่มเป็โดยที ่กลุ่ม่มหมาจิ ้งจอก นพวกที่มีเป้ าหมายหลายอย่ งในเวลาเดี ยวกันและมองโลกซั ไม่เคยบู รณาการ ่มตัวเม่น คือพวกที่ท เดียวกันเป็และมองโลกซั บซ้อน แต่ไม่เาคยบู รณาการและไม่ มีวิสัยทัศน์ทบี่เซ้ป็อนน แต่ เอกภาพ ส่ วนกลุ น์ทายี่เป็ด้นวเอกภาพ ตัวเม่น คือพวกที่ทำ� เรื่ องซับซ้อนให้เป็ นเรื่ องง่าย เรื่ องซับและไม่ ซ้อนให้มเีวป็สิ นยั เรืทั่ อศงง่ ยความคิส่ดวทีนกลุ ่เป็ นม่ ระบบ ด้วแนวคิ ยความคิ ดที่เป็วนเม่ระบบ ดแบบตั นเป็ นแนวความคิดที่เรี ยบง่าย ชัดเจน ซึ่ งเกิดจากความเข้าใจอย่างลึกซึ้ งใน แนวคิดแบบตัวเม่นเป็ นแนวความคิดที่เรี ยบง่าย ชัดเจน ซึ่ งเกิดจากความเข้าใจ 3 เรื่ อง ที่เกี่ยวเนื่องกันเหมือนวงกลม 3 วง ที่ตดั กัน ได้แก่ อะไรคือสิ่ งที่คุณทําได้ดีที่สุด อะไรคือพลังขับเคลื่อ อย่างลึกซึ้ งใน 3 เรื่ อง ที่เกี่ยวเนื่องกันเหมือนวงกลม 3 วง ที่ตดั กัน ได้แก่ อะไรคือสิ่ งที่คุณ เครื่ องจักรเศรษฐกิจของคุณ และ สิ่ งที่คุณรักที่จะทําคืออะไร ท�ำได้ดีที่สุด อะไรคือพลังขับเคลื่อนเครื่ องจักรเศรษฐกิจของคุณ และสิ่ งที่คุณรักที่จะท�ำ คืออะไร สิ่ งที่ทาํ ให้คุณ รักงานที่ทาํ

สิ่ งที่คุณทําได้ ดีที่สุด

สิ่ งที่ขบั เคลื่อน เครื่ องจักร

แนวความคิดแบบตัวเม่น ไม่ใช่เรื่ องเกี่ยวกับการตั้งเป้ าหมายที่จะเป็ นสิ่ งที่ดีที่สุด แนวความคิดแบบตัวเม่น ไม่ใช่เรื่ องเกี่ยวกับการตั้งเป้ าหมายที่จะเป็ นสิ่ งที่ดีที่สุด ไม่ใช่กลยุทธ์ที่เป็ น ไม่ใช่กลยุทธ์ที่เป็ นที่หนึ่ง ไม่ใช่แผนเพือ่ ความเป็ นสุดยอด แต่คือการท�ำความเข้าใจว่าอะไร หนึ่ง ไม่คืใอช่สิแงผนเพื ่อความเป็ นสุ ดยอด แต่คือการทําความเข้าใจว่าอะไร คือสิ่ งที่คจุณริ งทํอะไรคื าได้ดีทอี่สสิุ ดง อะไรคือสิ่ งที่ต ่ ที่คุณท�ำได้ดีที่สุด อะไรคือสิ่ งที่ตวั ขับเคลื่อนบริ ษทั ของคุณอย่างแท้ ่ ขับเคลื่อทีนบริ ษ ท ั ของคุ ณ อย่ า งแท้ จ ริ ง อะไรคื อ สิ ง ที ่ ค ุ ณ มี ใ จรั ก ที ่ จ ะทํ า ่ ่คุณมีใจรักที่จะท�ำ การที่ จะเป็ นบริ ษทั ที่ ยิ่งใหญ่ ได้ไม่ จำ� เป็ นต้องอยู่ในอุ ตสาหกรรมที่ ยิ่งใหญ่ พวกเขาท�ำได้ดีเพราะมีความเข้าใจอย่างลึกซึ้ ง มีความรักในสิ่ งที่ทำ � และจะท�ำในสิ่ งที่รัก นั่นคื อบริ ษทั Good to Great ก�ำหนดเป้ าหมาย และกลยุทธ์ของตนบนพื้นฐานของ ความเข้าใจ จากการวิจยั พบว่ามีบริ ษทั ไม่กี่รายที่มีวินยั ค้นพบแนวคิดแบบตัวเม่น และ บริ ษทั ที่จะมีวนิ ยั ในการยึดมัน่ แนวคิดแบบตัวเม่นยิง่ น้อยกว่า วินยั ในด้านการปฏิบตั ิน้ นั จิม คอลลินส์เสนอแนวคิด วัฒนธรรมแห่ งวินัย และ เทคโนโลยีในฐานะตัวเร่ ง

160

วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปีท่ี 6 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถนุ ายน 2554)


วัฒนธรรมแห่ งวินัย ในตอนแรกนั้นคอลลิ นส์ และที มวิจยั ของเขาไม่ได้ให้ ความสนใจเกี่ยวกับเรื่ องวัฒนธรรมแห่งวินยั เลยเพราะบริ ษทั ทัว่ ไปแสดงให้เห็นว่าบริ ษทั ของตนมีวนิ ยั เช่นเดียวกับบริ ษทั Good to Great แต่เมื่อศึกษาไปแล้วปรากฏว่า วัฒนธรรม แห่ งของบริ ษทั Good to Great และบริ ษทั ทัว่ ไปนั้นแตกต่างกันมากและเป็ นเรื่ องที่ ส�ำคัญมากที่ จะให้บริ ษทั นั้นเป็ น บริ ษทั Good to Great การสร้ างผลงานที่ ยิ่งใหญ่ ให้ยง่ั ยืนนั้น ต้องสร้างวัฒนธรรมองค์กรคือคนในองค์กรต้องมีวินยั ในตัวเอง และยึดมัน่ อยูภ่ ายในวงกลมสามวง วัฒนธรรมของความมีวินยั มีลกั ษณะส�ำคัญคือคนยึดมัน่ อยูใ่ น ระบบแต่มีเสรี ภาพ และมี ความผิดชอบภายใต้กรอบของระบบ วัฒนธรรมไม่ได้เป็ น เรื่ องของการท�ำงานเท่านั้น แต่เกี่ยวข้องกับการสรรหาคนที่มีวนิ ยั ซึ่งสามารถสร้างความคิด ที่มีวินยั เพื่อให้เกิดการท�ำงานอย่างมีวินยั อย่าเอาวัฒนธรรมของความมีวินยั ไปปนกับ ความมีวินยั ที่เกิดจากลักษณะเผด็จการ เป็ นแนวความคิดที่ต่างกันมาก ผูน้ ำ� ที่ใช้อำ� นาจ สร้ า งวินัย มัก จะไม่ ส ามารถสร้ า งผลงานที่ ย งั่ ยืน ได้ ความมี วินัย ที่ ส�ำ คัญ ที่ สุ ด ในการ สร้างผลงานที่ยงั่ ยืน คือ การยึดมัน่ กับแนวความคิดแบบตัวเม่น และพร้อมที่จะปฏิเสธ โอกาสอื่น ๆ ที่อยูน่ อกขอบเขตของวงกลมสามวง เทคโนโลยีในฐานะแรงเฉื่อย ผูน้ ำ� บริ ษทั Good to Great คิดต่างไปจากผูน้ ำ� บริ ษทั ทัว่ ไปในเรื่ องเทคโนโลยีพวกเขาไม่ตามแฟชัน่ หรื อเห่อเทคโนโลยีใหม่ แต่จะน�ำเทคโนโลยี มาใช้หลังจากผ่านการคิ ดพิจารณาเลื อกสรรอย่างรอบคอบแล้ว เพราะตระหนักดี ว่า เทคโนโลยีเป็ นแค่ตวั เร่ งความเร็ว แต่ไม่ใช่ตวั สร้างการเปลี่ยนแปลง เหตุผลง่ายๆ ก็คือ คุณ ไม่อาจใช้เทคโนโลยีได้ดีที่สุด จนกว่าคุณจะรู ้วา่ เทคโนโลยีใดเหมาะสมกับคุณ กล่าวคือ สอดคล้องกับการคิดแบบตัวเม่น บริ ษทั Good to Great ใช้เทคโนโลยีเป็ นตัวเร่ งแรงเฉื่ อย ไม่ใช่ตวั สร้างแรงเฉื่ อย ไม่มีบริ ษทั ยิง่ ใหญ่รายใด เริ่ มต้นกระบวนการเปลี่ยนแปลงด้วย เทคโนโลยี แต่ทุกบริ ษทั กลายเป็ นผูบ้ ุกเบิกการใช้เทคโนโลยีทนั ทีที่พบว่า เทคโนโลยีน้ นั อยู่ในขอบเขตของวงกลมสามวง ผูน้ ำ� บริ ษทั Good to Great จะพิจารณาเทคโนโลยี ด้วยความสุ ขมุ รอบคอบและสร้างสรรค์ พวกเขาจะลงมือท�ำก็ต่อเมื่อรู ้วา่ ต้องการท�ำอะไร และจะปรั บ ปรุ ง บริ ษ ทั ได้อ ย่า งไร ตรงข้า ม ปฏิ กิ ริ ย าของบริ ษ ทั ทั่ว ไปจะนั่ง ไม่ ติ ด ด้วยความกลัวในสิ่ งที่พวกเขาไม่เข้าใจ และกลัวว่าจะถูกบริ ษทั อื่นแซงหน้าตัวเองและ ถูกทอดทิ้งอยูข่ า้ งหลัง ตัวอย่างเช่น เกิดฟองสบู่เทคโนโลยี ในช่วงปลายทศวรรษ 1990 ในครั้งนั้น บริ ษทั ทัว่ ไปเปลี่ยนเทคโนโลยีอย่างเร่ งด่วนด้วยกลัวว่าจะตกยุค ในขณะที่บริ ษทั Good to Great นิ่ ง สงบ วางเฉย และก้า วเดิ น ไปข้า งหน้า อย่า งเงี ย บๆและมั่น คง ด้วยความมีวนิ ยั สู ง ยึดมัน่ ในหลักการพื้นฐานของตนและรักษาความสมดุลไว้ ในขณะที่ บริ ษทั ทัว่ ไปซึ่ งไร้หลักการจะตกต�่ำลงหรื อด้อยประสิ ทธิภาพเหมือนเดิม Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.6 No. 1 (January - June 2011)

161


สิ่ งที่บริ ษทั Good to Great ใช้ในการพัฒนาบริ ษทั คือการใช้ทฤษฎีล้อเฟื อง คือ การสะสมพลัง เมื่อมองจากภายนอกแล้วบริ ษทั Good to Great มีการเปลี่ยนแปลงอย่าง ก้า วกระโดด แต่ จ ากมุ ม มองของคนภายในจะเห็ น ว่ า เกิ ด ขึ้ น อย่า งค่ อ ยเป็ นค่ อ ยไป คนในบริ ษทั บางส่ วนไม่รู้ตวั ด้วยซ�้ำว่ามี การเปลี่ ยนแปลง จนกระทัง่ หันกลับไปมอง แล้วพบว่าได้มีความเปลี่ ยนแปลงเกิ ดขึ้ นแล้ว ในการด�ำเนิ นงานทุ กบริ ษทั จะพบกับ ความกดดันที่ถาโถมเข้ามา บริ ษทั ที่อดทนและมีวินยั เท่านั้นที่จะสะสมแรงเฉื่ อยเพื่อไป ให้ถึงจุดก้าวกระโดดได้ การเปลี่ยนแปลงไปสู่ บริ ษทั ที่ยิ่งใหญ่น้ นั เกิดจากกระบวนการ สัง่ สมของทุกขั้นตอน ทุกปฏิบตั ิการและทุกการตัดสิ นใจ รวมกันขึ้นเพือ่ เป็ นผลงานที่ยง่ั ยืน และโดดเด่ น โดยใช้แ นวคิ ด เดี ย วกับ การผลัก ล้อ เฟื องขนาดใหญ่ ที่ ต ้อ งใช้แ รงมาก ในตอนแรกเพื่อสะสมแรงเฉื่ อยไว้ จนกระทัง่ ถึงจุดหนึ่งที่ลอ้ เฟื องจะสามารถหมุนไปได้ อย่างรวดเร็ วแม้ว่าจะใส่ แรงเพิ่มเข้าไปอีกเพียงเล็กน้อย ความส�ำเร็ จเกิ ดขึ้นได้จากการ ปรับปรุ งและสร้างผลงานที่ดีอย่างต่อเนื่องสม�่ำเสมอ สอดคล้องกับแนวความคิดที่เรี ยกว่า “อ�ำนาจของล้อเฟื อง” ซึ่งสิ่ งนี้เป็ นสิ่ งส�ำคัญที่บริ ษทั Good to Great ใช้ในการกระตุน้ ให้ คนมีความผูกพันและเข้าร่ วมในการเปลี่ยนแปลงได้โดยไม่ตอ้ งประกาศเป้ าหมาย เพียงแค่ ให้พนักงานในบริ ษทั ประเมินแรงเฉื่ อยของล้อเฟื องและแปรศักยภาพให้กลายเป็ นผลงาน ซึ่ งก็คื อเป้ าหมายของการท�ำงานอยู่แล้ว เพราะทุ กคนต้องการเป็ นส่ วนหนึ่ งของที ม ที่มีความส�ำเร็ จ ต้องการสร้างผลงานที่มองเห็นและจับต้องได้ พนักงานของบริ ษทั Good to Great รักษาค่านิยมหลัก และเป้ าหมายหลักของ องค์ก รคื อ การประสานกัน อย่า งมหัศ จรรย์ร ะหว่า ง “การรั ก ษาค่ า นิ ย มหลัก กับ การ สร้างความก้าวหน้า” พนักงานทุกคนจะตั้งค�ำถามกับตัวเองว่า “อะไรคือสิ่ งที่คุณรู ้สึกว่า เป็ นความผูกพันที่ตอ้ งสร้างความยิง่ ใหญ่” เมื่อตอบค�ำถาม นี้ได้แล้ว จะพบว่าไม่เพียงแต่ จะพัฒนางานไปสู่ ความยิง่ ใหญ่ได้ แต่ชีวติ จะยิง่ ใหญ่ดว้ ย เพราะคนเราจะมีชีวติ ที่ยงิ่ ใหญ่ โดยปราศจากงานที่มีความหมายไม่ได้ เราจะมีความสุ ขเมื่อมีส่วนในการสร้างสิ่ งที่ดีเลิศ ที่เป็ นประโยชน์ต่อผูอ้ ื่น จะเห็นได้วา่ แนวคิดส�ำคัญใน Good to Great ก็คือ วินยั นั้นเอง ซึ่ งเราสามารถน�ำ แนวคิดนี้ ไปสร้างความยิง่ ใหญ่ให้กบั บริ ษทั องค์กรและยังสามารถน�ำไปปรับใช้กบั งาน วิชาการได้อีกด้วย เช่น การท�ำวิทยานิ พนธ์ และ ดุษฎีนิพนธ์ จากสถิติในทางวิชาการ เราจะพบว่ามีนกั ศึกษาประมาณร้อยละ 70 ที่เรี ยนไม่จบเพราะ ท�ำเล่มวิทยานิ พนธ์ หรื อ ดุษฎี นิพนธ์ไม่ส�ำเร็ จ อันเนื่ องจากการผลัดวันประกันพรุ่ งและหลายๆ ครั้งที่นกั ศึกษา มีแรงฮึดที่จะท�ำให้สำ� เร็ จแต่ประกายความคิดนี้มกั จะอยูไ่ ม่นาน เพราะนักศึกษามักจะท�ำ 162

วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปีท่ี 6 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถนุ ายน 2554)


ไม่ต่อเนื่อง เลิกท�ำ ด้วยข้ออ้างสารพัด หากเราน�ำวินยั และ ทฤษฎีลอ้ เฟื องไปประยุกต์ใช้ อย่างต่อเนื่องด้วยความมีวนิ ยั ในช่วงแรกนักศึกษาอาจจะรู ้สึกท�ำงานเหนื่อยและหนักมาก เปรี ยบดังการหมุนล้อเฟื องขนาดใหญ่ที่ตอ้ งใช้แรงมากเพือ่ สะสมแรงเฉื่อยไว้ จนถึงจุดหนึ่ง การออกแรงเพียงเล็กน้อยก็สามารถหมุนล้อเฟื องไปได้อย่างรวดเร็ว ถ้านักศึกษาปฏิบตั ิตาม แนวความคิดนี้อย่างต่อเนื่องเป็ นประจ�ำสม�่ำเสมอด้วยความมีวนิ ยั เมื่อรู ้ตวั อีกครั้งก็พบว่า คุณส�ำเร็ จการศึกษาแล้ว นั้นคือการสร้างความยิง่ ใหญ่ให้ตนเองด้วยการชนะตนเอง

Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.6 No. 1 (January - June 2011)

163


หลักเกณฑ์และการเตรียมต้นฉบับส�ำหรับการเสนอบทความเพือ่ เผยแพร่ ใน “วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย” นโยบายการจัดพิมพ์ วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย เป็นวารสารวิชาการที่ พิมพ์ออกเผยแพร่ปีการศึกษาละ 2 เล่ม (มกราคม-มิถุนายน และ กรกฎาคม-ธันวาคม) คณะวิทยาการจัดการจัดพิมพ์ขึ้นเพื่อเป็นสื่อกลางในการแสดงความคิดเห็นและเผยแพร่ ผลงานทางวิชาการในสาขาการบริหารธุรกิจ การจัดการ เศรษฐศาสตร์ และนิเทศศาสตร์ หรือสาขาอื่นที่มีความเกี่ยวข้อง

เรื่องเสนอเพื่อตีพิมพ์ ผลงานทางวิชาการทีร่ บั ตีพมิ พ์มี 2 ลักษณะคือ เป็นบทความวิชาการ (article) หรือบทความวิจัย (research article) บทความที่เสนอเพื่อตีพิมพ์จะต้องไม่เคยตีพิมพ์ เผยแพร่ในวารสารใดมาก่อน และไม่อยู่ในระหว่างการพิจารณาของวารสารอื่น บทความ ที่น�ำเสนอเพื่อตีพิมพ์จะต้องผ่านการกลั่นกรองและพิจารณาจากผู้ทรงคุณวุฒิ (Peer Review) ในสาขาที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ หั ว ข้ อ ของบทความนั้ น ๆ ซึ่ ง แต่ ง ตั้ ง โดย คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย โดยกองบรรณาธิการสงวนสิทธิใ์ นการ แก้ไขบทความตามความเหมาะสม

ลักษณะของบทความ เป็นบทความวิชาการหรือบทความวิจัยที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับการค้นคว้า การวิจัย การวิเคราะห์วจิ ารณ์หรือเสนอแนวคิดใหม่ดา้ นบริหารธุรกิจ การจัดการ เศรษฐศาสตร์ และ นิเทศศาสตร์ ซึ่งแบ่งได้ 2 ประเภทคือ

164

วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปีท่ี 6 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถนุ ายน 2554)


บทความวิ ช าการ หมายถึ ง งานเขี ย นที่ น�ำเสนอองค์ ค วามรู ้ ใ หม่ ใ นสาขา บริหารธุรกิจ การจัดการ เศรษฐศาสตร์ และนิเทศศาสตร์ ที่มีการวิเคราะห์หรือวิจารณ์ ประเด็นต่างๆ ตามหลักวิชาการ โดยผู้เขียนสามารถแสดงทัศนะทางวิชาการของตนเอง อย่างชัดเจน บทความวิจัย หมายถึง รายงานผลการศึกษาค้นคว้าวิจัยด้านบริหารธุรกิ​ิจ การจัดการ เศรษฐศาสตร์ และนิเทศศาสตร์ทไี่ ด้ท�ำการศึกษาโดยผ่านกระบวนการวิเคราะห์ ด้วยระเบียบวิธีวิจัยที่ถูกต้องจนได้องค์ความรู้ใหม่

การเตรียมต้นฉบับ บทความวิชาการหรือบทความวิจยั อาจน�ำเสนอเป็นภาษาไทยหรือภาษาอังกฤษ ก็ได้ ให้พิมพ์ต้นฉบับด้วยกระดาษ เอ 4 หน้าเดียว โดยใช้ฟอนท์ Angsana New ขนาด 14 (ส�ำหรับชื่อเรื่องภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ให้ใช้ฟอนท์ Angsana New ขนาด 18 ส่วนหัวข้อต่างๆ ให้ใช้ Angsana New ขนาด 16) ความยาวประมาณ 15-20 หน้า โดย บทความทุกประเภทต้องมีส่วนประกอบ ดังนี้

1. ชื่อเรื่อง (ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ)

2. ชือ่ ผูเ้ ขียน (ครบทุกคน กรณีทเี่ ขียนหลายคน ให้เขียนบรรทัดถัดจากชือ่ เรือ่ ง ภาษาอังกฤษ โดยให้เขียนไว้ชิดด้านขวาของหน้า ให้ท�ำตัวเอียง ตัวอักษร ขนาด 14) 3. วุฒกิ ารศึกษาขัน้ สูงสุด สาขาวิชาและสถาบันทีส่ �ำเร็จการศึกษา และต�ำแหน่ง ทางวิชาการ (ถ้ามี)

4. สถานทีท่ �ำงานปัจจุบนั หรือหน่วยงานทีส่ งั กัด (เช่น สาขาวิชา/ภาควิชา คณะ)

(ข้อ 3 และข้อ 4 ให้ผเู้ ขียนท�ำเชิงอรรถไว้ทา้ ยชือ่ ผูเ้ ขียนในหน้าแรกของบทความ)

5. บทคัดย่อทัง้ ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ โดยในท้ายบทคัดย่อภาษาไทยให้ใส่ ค�ำส�ำคัญ ของเรื่อง และท้ายบทคัดย่อภาษาอังกฤษให้ใส่ Keywords ด้วย บทความวิชาการหรือบทความวิจัยต้องมีส่วนประกอบเพิ่มเติม คือ ต้องมี บทคัดย่อ(abstract) ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ โดยบทคัดย่อแต่ละภาษาต้องมี ความยาวอย่างละไม่เกินครึ่งหน้ากระดาษ เอ 4 โครงสร้างของบทความวิชาการควร Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.6 No. 1 (January - June 2011)

165


ประกอบด้วย บทน�ำ เนื้อหาบทความ บทสรุปและรายการเอกสารอ้างอิง ส่วนบทความ วิจัยควรประกอบด้วยบทน�ำ แนวคิดและทฤษฎี วิธีการศึกษา ผลการศึกษา อภิปรายผล ข้อเสนอแนะและรายการเอกสารอ้างอิง ภาพประกอบและตารางควรมีเฉพาะทีจ่ �ำเป็น ให้มหี มายเลขก�ำกับภาพและตาราง ตามล�ำดับ ภาพจะต้องชัดเจน แสดงเนือ้ หาส�ำคัญของเรือ่ ง ค�ำอธิบายและตารางให้อธิบาย ด้วยข้อความกะทัดรัดและชัดเจน การใช้ภาษาในบทความ การเขียนควรใช้ภาษาที่ถูกต้อง เข้าใจง่ายและกะทัดรัด โดยค�ำศัพท์ให้อ้างอิงตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตสถาน การใช้ค�ำศัพท์บัญญัติทาง วิชาการควรใช้ควบคู่กับศัพท์ภาษาอังกฤษ กรณีที่เป็นชื่อเฉพาะหรือค�ำแปลจากภาษา ต่างประเทศที่ปรากฏครั้งแรกในบทความ ควรพิมพ์ภาษาเดิมของชื่อนั้นๆ ก�ำกับไว้ใน วงเล็บ และควรรักษาความสม�่ำเสมอในการใช้ค�ำศัพท์ การใช้ตัวย่อโดยตลอดบทความ

การอ้างอิงและการเขียนเอกสารอ้างอิง กรณีผู้เขียนต้องระบุแหล่งที่มาของข้อมูลในเนื้อเรื่องให้ใช้วิธีการอ้างอิงในส่วน ของเนือ้ เรือ่ งแบบนาม-ปี (author-date in text citation) โดยระบุชอื่ ผูแ้ ต่งทีอ่ า้ งถึง(ถ้า เป็นคนไทยระบุทั้งชื่อและนามสกุล) พร้อมปีที่พิมพ์เอกสารไว้ข้างหน้าหรือข้างหลัง ข้อความที่ต้องการอ้างอิงเพื่อบอกแหล่งที่มาของข้อความนั้นและควรระบุเลขหน้าของ เอกสารที่อ้างอิง กรณีที่อ้างมาแบบค�ำต่อค�ำต้องระบุเลขหน้าของเอกสารที่อ้างอิงทุกครั้ง และให้มรี ายการเอกสารอ้างอิงส่วนท้ายเรือ่ ง (reference) โดยการรวบรวมรายการเอกสาร ทั้งหมดที่ผู้เขียนอ้างอิงในการเขียนบทความให้จัดเรียงรายการตามล�ำดับตัวอักษรผู้แต่ง ภายใต้หวั ข้อรายการเอกสารอ้างอิงส�ำหรับบทความภาษาไทย และให้ใช้ค�ำว่า Reference ส�ำหรับบทความทีน่ �ำเสนอเป็นภาษาอังกฤษ โดยให้ใช้รปู แบบการเขียนเอกสารอ้างอิงแบบ APA (American Psychology Association) ดังตัวอย่างการเขียน ดังนี้

1. หนังสือ ชื่อผู้แต่ง. (ปีที่พิมพ์). ชื่อเรื่อง. ครั้งที่พิมพ์ (กรณีถ้าพิมพ์มากกว่าครั้งที่ 1). สถานที่พิมพ์ : ส�ำนักพิมพ์.

166

วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปีท่ี 6 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถนุ ายน 2554)


ธีรยุทธ บุญมี. (2547). ประชาสังคม . กรุงเทพฯ : สายธาร. Millo, Nancy. (2002). Bioanalytical Chemistry. Hoboken, New Jersey : John Wiley & Sons. (กรณี หนังสือที่มีผู้แต่งมากกว่า 3 คน) ธนิต สุวรรณเมนะ และคณะ.(2546). คู่มือเตรียมสอบ สตง.ปี 2546. กรุงเทพมหานคร : สถาบันติวนิติธนิต. Longley, Paul A. and others. (2005). Geographic Information Systems and Science. 2nd ed. Southern Gate, Chichester : Johe Wiley & Sons. (กรณีผู้แต่งที่เป็นสถาบันหรือสิ่งพิมพ์ที่ออกในนามหน่วยงานราชการ องค์การ สมาคม บริษัท ห้างร้าน ฯลฯ) กรมศิลปากร. (2547). สตรีสำ� คัญในประวัตศิ าสตร์ไทย. กรุงเทพมหานคร : กรมฯ. United Nations Development Programme. (2004). Thailand ‘s Response to HIV/AIDS : Progress and Challenges. Bangkok : United Nations Development Programme. (กรณี หนังสือแปล) ออเร็นจ, คาโรไลน์. (2545). 25 ข้อทีไ่ ม่ควรผิดพลาดส�ำหรับครูยคุ ใหม่, แปล จาก 25 Biggest Mistakes Teachers Make and How to Avoid Them โดย คัดคนางค์ มณีศรี. กรุงเทพมหานคร : เบรนเน็ท.

2.บทความในวารสาร หนังสือพิมพ์และหนังสือเล่ม 2.1 บทความในวารสาร ชื่อ-นามสกุลผู้เขียนบทความ.(ปีที่พิมพ์). “ชื่อบทความ,” ชื่อวารสาร. ปีที่หรือ เล่มที่ : เลขหน้า. Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.6 No. 1 (January - June 2011)

167


จักรพงษ์ วรรณชนะ.(2549). “สารคดี-กิจกรรมเยาวชน : โครงการสร้างสรรค์ ศิลป์เพือ่ เยาวชนผูป้ ระสบภัยสึนามิ,” สกุลไทย. 52,267: 80-81,97. 2.2 บทความ ข่าว หรือคอลัมน์จากหนังสือพิมพ์ ชื่อผู้เขียน. “ชื่อบทความหรือชื่อหัวข้อในคอลัมน์,” ชื่อหนังสือพิมพ์. วันที่/ เดือน/ปี : เลขหน้า. สุจิตต์ วงษ์เทศ. “กระทะปฏิวัติอาหารไทย,” มติชน. 22 กันยายน 2548 : 34 2.3 บทความในหนังสือรวมเล่ม ชื่อผู้เขียน. (ปีที่พิมพ์). “ชื่อบทความ,” ใน ชื่อหนังสือ. บรรณาธิการ โดย ชื่อ บรรณาธิการ. เลขหน้า. สถานที่พิมพ์ : ส�ำนักพิมพ์. ส. บุบผานุวง. (2548) “สองเอื้อยน้อง,” ใน พลิกแผ่นดิน ปลิ้นแผ่นฟ้า วรรณกรรมลาว รางวัลซีไรท์, บรรณาธิการ โดย วีระพงษ์ มีสถาน. หน้า 22-33. กรุงเทพมหานคร : มติชน.

3. เอกสารที่ไม่เป็นเล่ม เช่น เอกสารประกอบค�ำสอน แผ่นพับ ให้ระบุ ค�ำบอกเล่าลักษณะของสิ่งพิมพ์นั้นไว้หลังชื่อเรื่อง มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย. (2547). รายงานการประเมินตนเอง ระบบ มาตรฐานสากลของประเทศไทย.(แผ่นพับ). เชียงราย : มหาวิทยาลัยฯ.

4. ข้อมูลออนไลน์ หรือสารนิเทศบนอินเตอร์เน็ต ชือ่ ผูแ้ ต่ง นามสกุล.(ปีทสี่ บื ค้น). ชือ่ เรือ่ ง. (ประเภทของสือ่ ทีเ่ ข้าถึง). แหล่งทีม่ า หรือ Available: ชื่อของแหล่งที่มา/ชื่อแหล่งย่อย. สืบค้นเมื่อ (วัน เดือนปีที่สืบค้น) สุชาดา สีแสง.(2548). อาหารพื้นเมืองไทย. (ออนไลน์). แหล่งที่มา: http:// ittm.dtam.moph.go.th/data_articles/thai_food/ สืบค้นเมื่อ 1 กันยายน 2550. 168

วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ปีท่ี 6 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถนุ ายน 2554)


การส่งต้นฉบับ

ให้ส่งต้นฉบับบทความ จ�ำนวน 2 ชุด พร้อมแผ่นซีดีที่มีไฟล์ต้นฉบับบทความ ไปที่ กองบรรณาธิการ “วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย” คณะ วิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย 80 หมู่ 9 ต.บ้านดู่ อ.เมือง จ.เชียงราย 57100 (ให้ผู้เขียนแนบชื่อ ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์และอีเมลแอดเดรสที่กองบรรณาธิการ สามารถติดต่อได้สะดวกมาด้วย)

Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University Vol.6 No. 1 (January - June 2011)

169



...................................... หมายเลขสมาชิก (สำ�หรับเจ้าหน้าที่)

ใบสมัครสมาชิก วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย ข้าพเจ้ามีความประสงค์ขอสมัครเป็นสมาชิก วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัย ราชภัฏเชียงราย โดยสมัครเป็นสมาชิกรายปี เป็นระยะเวลา...............ปี เริม่ ตัง้ แต่ฉบับที่ ..................... เดือน...........................พ.ศ..........ถึงฉบับที.่ ........เดือน............................พ.ศ............... ให้ออกใบเสร็จรับเงินในนาม................................................................................ โดยจัดส่งวารสารมาที่ ชื่อ(บุคคลหรือหน่วยงาน)................................................. ที่อยู่.......................................................................................................................... ................................................................................................................................. โทรศัพท์................................................โทรสาร........................................... พร้อมกันนี้ข้าพเจ้าได้ส่งธนาณัติ เป็นจำ�นวนเงิน...........................................บาท (.....................................................................................................................) โดยสั่งจ่าย นางสุรีรัตน์ ศรีทะแก้ว ปณ. บ้านดู่ อ.เมือง จ.เชียงราย 57100

ลงชื่อ............................................................... วันที่......... เดือน.......................... ปี................

วารสารวิทยาการจัดการ มีก�ำ หนดออกเป็นราย 6 เดือน คือ เดือนมกราคม-มิถนุ ายน และ เดือนกรกฎาคม-ธันวาคม อัตราสมาชิก ฉบับละ 90 บาท / ปีละ 180 บาท




Chiangrai Rajabhat University ป จจัยทางด านการรณรงค ทางการเมืองที่มีผลต อการตัดสินใจ ลงคะแนนเสียงเลือกตั้งนายกเทศมนตรีนครเชียงใหม ขวัญฟ า ศรีประพันธ ดูหนังด วยแว นทฤษฎี : แนวคิดเบื้องต นของการวิเคราะห ภาพยนตร กําจร หลุยยะพงศ กลยุทธ การสื่อสารเพื่อการบริหารจัดการแหล งนํ้าแบบมีส วนร วมของชุมชน ในพื้นที่ลุ มนํ้าแม ห าง อําเภอเวียงชัย จังหวัดเชียงราย เสริมศิริ นิลดํา และชัยยงค นาสมทรง การเปลี่ยนแปลงทางด านการค าการลงทุนในจังหวัดเชียงราย รอบ 60 ป (พ.ศ.2489-2550) : กรณีศึกษาการเปลี่ยนแปลงทางด านการค า การลงทุนของธุรกิจย านถนนธนาลัย เฉลิมชัย คําแสน ผลกระทบของรายจ ายภาครัฐและภาคการลงทุนต อการเจริญเติบโต ทางเศรษฐกิจของไทย สมภูมิ แสวงกุล ป ญหาและแนวทางการพัฒนาของกลุ มอาชีพในเขตเทศบาลตําบลแม สรวย อําเภอแม สรวย จังหวัดเชียงราย นงนุช ศรีธิ และยงยุทธ ชัยรัตนาวรรณ บทแนะนําหนังสือ เรื่อง “Good to Great” แนะนําโดย สุภัทณี เป ยมสุวรรณกิจ

คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย 80 หมู 9 ตำาบลบ้านดู อำาเภอเมือง จังหวัดเชียงราย 57100 Chiangrai Rajabhat University 80 Moo 9 T.Bandoo A.Muang Chiangrai Thailand 57100 Tel. 0-5377-6016 Fax. 0-5377-6057

ราคา 90 บาท


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.