คู่มือวิทยานิพนธ์การศึกษาอิสระ (6 หน่วยกิต) และการศึกษาอิสระ (3 หน่วยกิต)

Page 1



(1) คํานํา คูมือวิทยานิพนธ การศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) และการศึกษาอิสระ (3 หนวยกิต) ฉบับนี้ เปนฉบับปรับปรุงครั้งที่ 4 ประจําปการศึกษา พ.ศ. 2553 บัณฑิตวิทยาลัยไดมีคําสั่งแตงตั้ง คณะทํางานซึ่งเปนผูแทนจากหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษาของมหาวิทยาลัย ประกอบดวย ผูชว ย ศาสตราจารย ดร.ชุติระ ระบอบ อาจารยดร.สุณี ชาญณรงค อาจารย ดร.วรรณรัตน รัตนวรางค อาจารย ดร.ปนหทัย ศุภเมธาพร อาจารย ดร. ปวีณา วองตระกูล อาจารย ดร.ลั่นทม จอนจวบทรง อาจารย ดร.จตุรงค บุณยรัตนสุนทร อาจารย ดร.วิชุดา กิจธรธรรม และอาจารย ฤทธิชัย เตชะมหัทธ นันท โดยมี ผูชวยคณบดีบัณฑิตวิทยาลัยและเลขานุการบัณฑิตวิทยาลัย เปน เลขานุการและ ผูชวยเลขานุการ ตามลําดับ เพื่อทําหนาที่ปรับปรุงคูมือใหทันสมัย บัณฑิตวิทยาลัยจึงใคร ขอขอบพระคุณคณะทํางานเปนอยางสูงไว ณ โอกาสนี้ ในครั้งนี้ไดมีการปรับปรุงเนื้อหาของคูมือใหทันสมัยยิ่งขึ้น ทั้งในเรื่อง บทนํา ขั้นตอนการ ทําวิทยานิพนธและการศึกษาอิสระ การเขียนเคาโครง สวนประกอบของวิทยานิพนธและ การศึกษาอิสระ วิธีการพิมพเปนรายงาน วิธีการอางอิง การเขียนบรรณานุกรม และจรรยาบรรณ นักวิจัย ตลอดจนตัวอยางการพิมพวิทยานิพนธและการศึกษาอิสระในภาคผนวกที่ 1, 2 และ 3 ตอนทานเลม ทั้งนี้เพื่อชวยใหนักศึกษา หรือ นักวิจัยรุนใหมสามารถอานและทําความเขาใจได โดยงายกับการศึกษาทั้ง 3 ระดับ ไมวา จะเปน วิทยานิพนธ การศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) หรือ การศึกษาอิสระ (3 หนวยกิต) ตลอดจนขั้นตอนตาง ๆ ในการดําเนินงานทําการศึกษาเพื่อให บรรลุเปาหมายและประสบความสําเร็จ โดยคํานึงถึงคุณภาพเปนสิ่งสําคัญ นอกจากนี้บัณฑิตวิทยาลัยไดนําคูมือขึ้นไวบนเวบไซตของบัณฑิตวิทยาลัย ที่ URL: grad.hcu.ac.th เพื่อชวยใหนักศึกษาสามารถเขาถึงไดโดยงาย สะดวก และประหยัด ทั้งยังชวย ประหยัดการใชกระดาษ และรักษาสิ่งแวดลอมอีกทางหนึ่งดวย บัณฑิตวิทยาลัยหวังเปนอยางยิ่งวา คูมือฉบับนี้จะชวยใหนักศึกษาสามารถทําวิทยานิพนธ การศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) และการศึกษาอิสระ (3 หนวยกิต) อยางมีคุณภาพ ไดมาตรฐาน และเปนที่ยอมรับทางวิชาการในที่สุด บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ กุมภาพันธ 2554



บทที่ 1 บทนํา 1.1 ความหมายของวิทยานิพนธ การศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) และการศึกษาอิสระ (3-4 หนวยกิต) การศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษามีจุดมุงหมายเพื่อสรางบุค ลากรที่มีค วามชํานาญในดาน วิชาการหรือวิชาชีพชั้นสูง รวมถึงการสรางองคความรูใหมทจี่ ะเปนประโยชนตอสังคมในภาพรวม ดังนั้นการศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษาจึงมุงหวังให ผูเรียนมีความรู ประสบการณ และทักษะการ วิจัยเบี้องตน ซึ่งทุกหลักสูตรในระดับบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ ไดระบุ เปนเงื่อนไขไววา นักศึกษาในระดับ บัณฑิตศึก ษาทุกคนจะตองทําการศึกษาหรือวิจัยในหัวขอที่ สําคัญและนาสนใจจนเสร็จสมบูรณ จึงจะสําเร็จเปนมหาบัณฑิต ไดอยางเต็มภาคภูมิใจ เมื่อทําการศึกษาหรือวิจัยสําเร็จเรียบรอยแลว จะดองทํารายงานผลงานโดยจัดพิมพเปน รูปเลมอยางชัดเจน และเรียกรายงานการศึกษาหรือการวิจัยซึ่งเปนสวนหนึ่งของการศึกษาในระดับ บัณฑิตศึกษานี้วา วิทยานิพนธ หรือ การศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) หรือ การศึกษาอิสระ (3 หนวยกิต) สําหรับการศึ ก ษาในระดับ บัณ ฑิ ต ศึก ษา มหาวิทยาลัย หัว เฉียวเฉลิ มพระเกี ยรติ ได กํ าหนดให นักศึกษาเลือกศึกษาได 1 ใน 3 ระดับนี้ โดยขึ้นอยูกับเงื่อนไขและความพรอมของแตละหลักสูตร รวมทั้งความตองการของผูเรียน เปนสําคัญ ดังนั้น วิทยานิพนธ หรือ การศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) หรือ การศึกษาอิสระ (3 หนวยกิต) จึงหมายถึง รายงานการศึกษาหรือวิจัยในหัวขอที่สําคัญและนาสนใจจนเสร็จสมบูรณครบถวนตาม ขั้นตอนระเบียบวิธีวิจัยที่ดี (ซึง่ มีรายละเอียดแตกตางกันในเรื่องขนาดและคุณภาพของผลงานที่ได จากการศึกษา จําแนกเปน 3 ระดับ ดังจะไดกลาวตอไป) การศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษาทุกหลักสูตรของมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ มี แผนการศึกษาใหเลือกเรียนได 2 แผน คือ แผน ก. และ แผน ข. ดังแสดงในตารางที่ 1-1 นักศึกษาทุกหลักสูตรที่เลือกเรียนแผน ก. ตองทําวิทยานิพนธ (12-15 หนวยกิต) สําหรับนักศึกษาที่เลือกเรียนแผน ข. จะเลือกทําการศึกษาอิสระ ซึ่งมีจํานวนหนวยกิต แตกตางกันตามแตหลักสูตร อาทิเชน


2

หลักสูตรสังคมสงเคราะหศาสตรมหาบัณฑิต (Master of Social Work, MSW) สามารถเลือก ทําการศึกษาอิสระ (3 หนวยกิต) หลักสูตรพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน (Master of Nursing Sciences, MNS) จะตองทําการศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) หลักสูตรการจัดการมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการอุตสาหกรรม (Master of Management, MM) จะตองทําการศึกษาอิสระ (3 หนวยกิต) และหลั ก สู ต รศิล ปศาสตรมหาบัณ ฑิต สาขาวิช าวรรณคดีจี น สมั ยใหม และร ว มสมั ย (Master of Arts, MA) จะตองทําการศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) เปนตน ตารางที่ 1-1 แผนการศึกษาในแตละหลักสูตรของบัณฑิตวิทยาลัย (จํานวนหนวยกิต)

แผนการศึกษา 1. หลั ก สู ต รสั ง คมสงเคราะห ศ าสตรมหาบั ณ ฑิ ต 2. หลั ก สู ต รบริ ห ารธุ ร กิ จ มหาบั ณ ฑิ ต 3. หลักสูตรการจัดการมหาบัณฑิต (สาขาวิชาการจัดการอุตสาหกรรม) 4. หลั ก สู ตรพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต (สาขาวิชาการพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน) 5. หลั ก สู ตรพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต (สาขาวิชาการพยาบาลผูใหญ) 6. หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (สาขาวิชาวรรณคดีจีนสมัยใหมและรวมสมัย) 7. หลักสูตรเภสัชศาสตรมหาบัณฑิต (สาขาวิชาเทคโนโลยีเภสัชกรรม)

8. หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (สาขาวิชาวิทยาศาสตรเครื่องสําอาง) 9. หลักสูตรนิเทศศาสตรมหาบัณฑิต (สาขาวิชาการสื่อสารสุขภาพ) 10. หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (สาขาวิชาการสื่อสารภาษาไทยเปนภาษาที่สอง) 11. หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (สาขาวิชาภาษาอังกฤษระดับสูงเพื่อการสื่อสาร) 12. หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (สาขาวิชาการจัดการสิ่งแวดลอมและความปลอดภัย) 13. หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (สาขาวิชาจีนศึกษา) 14. หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (สาขาวิชาการสอนภาษาจีน) 13. หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (สาขาวิชาภาษาจีนเพื่อการสื่อสารเชิงธุรกิจ)

แผน ก. วิทยา นิพนธ

แผน ข. การศึกษา อิสระ

12 12 12 12 12 12 15 15 12 12 12 12 12 12 12

3 3 3 6 6 6 6 6 6 6 6 6 6 6 6


3

1.2 ความแตกตางของวิทยานิพนธ การศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) และการศึกษาอิสระ (3 หนวยกิต) วิทยานิพนธ การศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) และการศึกษาอิสระ (3-4 หนวยกิต) ของ มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ มีรูปแบบและการจัดทําคลายคลึงกัน คือ ยึดหลักของระเบียบ วิธีการวิจัยที่ดี (Research Methodology) อยางไรก็ตาม ผลงานทั้งสามระดับนี้ นอกจากมีความแตกตาง กันในดานคุณภาพและปริมาณของการวิจัย ซึ่งรวมถึงความละเอียด ลุมลึกและความแมนยําของ ผลงานแลว ยัง มีความแตกตางในเรื่องจํานวนหนว ยกิต ระยะเวลาในการศึกษา และการสอบ ปองกัน ดังแสดงในตารางที่ 1-2 ตารางที่ 1-2 ความแตกตางระหวางวิทยานิพนธ และการศึกษาอิสระ

ประเภท วิทยานิพนธ (แผน ก.) การศึกษา อิสระ (แผน ข.) การศึกษาอิสระ (แผน ข.)

จํานวน หนวยกิต 12-15 6

3

ระยะเวลาในการศึกษา

การสอบปองกัน

ไมเกิน 5 ป นับจากภาคการศึกษาแรก ที่เขาศึกษา ไมเกิน 5 ป นับจากภาคการศึกษาแรก ที่เขาศึกษา

มีกรรมการผูทรงคุณวุฒิภายนอกรวม เปนกรรมการสอบ มีคณะกรรมการผูทรงคุณวุฒิเปน กรรมการสอบ

ภายใน 1 ภาคการศึกษา นับจากไดรับ มีการประเมินในชั้นเรียนโดย การอนุมัติจากอาจารยที่ปรึกษา คณะกรรมการซึ่งไดรับการแตงตั้ง จากคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย

ในการทําผลงานทั้ง 3 ระดับนี้ จะถือวา วิทยานิพนธ เปนรายงานที่สมบูรณที่สุด รองลงมา คือ การศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) และตามดวยการศึกษาอิสระ (3 หนวยกิต) ดังมีรายละเอียด ดังนี้ วิทยานิพนธ (12-15 หนวยกิต) หมายถึง รายงานการศึกษาวิจัยทางวิชาการที่มีระเบียบวิธี วิจัยที่ดีและมีคุณภาพสูงทางวิชาการ ประกอบดวย - หัวขอในการศึกษาที่ชัดเจน


4

- การทบทวนวรรณกรรมที่มีก ารวิเคราะหและสังเคราะหแนวคิด ทฤษฎี และ ผลงานวิจัยที่เกี่ยวของ เพื่อใหเห็นความสัมพัน ธกับประเด็นที่จะศึก ษาอยางชัดเจน จนสามารถ กําหนดกรอบแนวความคิดของการวิจัยได - การตั้งสมมติฐาน (ถามี) - การพัฒนาและทดสอบความถูกตองและแมนยําของเครื่องมือ - การกําหนดประชากรและเลือกกลุมตัวอยางและการเก็บขอมูลอยางเปนระบบ - การวิเคราะหขอมูลที่ถูกตองตามหลักสถิติ - การสรุปและเสนอแนะที่สอดคลองกับผลการวิจัย โดยมีเปาหมายสูงสุดอันเปนผลมาจากการศึกษาในระดับวิทยานิพนธ คือ การสราง องคความรูใหม ที่มีคุณคาและเกิดประโยชนตอสังคมและประเทศตอไป การศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) มีรูปแบบและการดําเนินงานคลายกับวิทยานิพนธแตแตกตาง กันในดานความลุมลึก และความเขมขนทางวิชาการที่นอยกวาและยืดหยุนไดมากกวาในระดับของ วิทยานิพนธ กลาวคือ ในการศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) มีการกําหนดกรอบแนวคิด การทบทวนแนวคิด ทฤษฎี หรือ วรรณกรรมที่เกี่ยวของ ซึ่งอาจทําอยางกวาง ๆ เพื่อใหเห็นความเชื่อมโยงเกี่ยวกับ ประเด็นที่จะศึกษา และอาจไมจําเปนตองตั้งสมมติฐานในการศึกษา การศึกษาอิสระ (3 หนวยกิต) หมายถึง รายงานผลการศึกษาคนควา โดยมีลักษณะการ จัดการเรียนการสอนถือเปนอีกหนึ่งวิชาที่ตองการใหนักศึกษาไดฝกหัดทําผลงานทางวิชาการขั้นตน เพื่อใหเกิดความรูความเขาใจ และทักษะในการวิจัยมากยิ่งขึ้น ทั้งยังกําหนดเวลาที่ตองทําการศึกษา และจัดทํารายงานใหเสร็จสิ้นภายใน 1 ภาคการศึก ษา มีการประเมินแบบรายวิชาทั่ว ไป โดย คณะกรรมการซึ่งไดรับการแตงตั้งจากคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย นอกจากความเขมขน ทางวิชาการและจํานวนหนวยกิตดังที่ไ ดก ลาวมาแลว ยังมีค วาม แตกตางในเรื่องของการสอบอีกดวย ผูที่เลือกทําวิทยานิพนธและการศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) จะตองทําการสอบปองกันเมื่อทําผลงานเสร็จเปนที่เรียบรอยแลว โดยคณะกรรมการสอบปองกัน ประกอบดวยอาจารยที่ปรึกษา อาจารยที่ปรึกษารวม (ถามี) อาจารยประจําหรืออาจารยพิเศษที่แตงตั้ง โดยคณบดีบัณฑิตวิทยาลัยเปนผูสอบ ในกรณีที่เปนวิทยานิพนธ คณะกรรมการสอบปองกันจะตองประกอบดวย ผูทรงคุณวุฒิ ภายนอก อยางนอย 1 ทาน มารวมเปนกรรมการสอบปองกัน แตการสอบปองกันการศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) ไมจําเปนตองมีผูทรงคุณวุฒิภายนอกมารวมเปนกรรมการสอบปองกัน


5

สําหรับการศึกษาอิสระ (3 หนวยกิต) ซึ่งถือเปนหนึ่งรายวิชา มีการสอบในชั้นเรียน และมี การประเมินผลเชนเดียวกับรายวิชาทั่วไป โดยคณะกรรมการซึ่งไดรับการแตงตั้งจากคณบดีบัณฑิต วิทยาลัย นอกจากนี้ผลการประเมินวิทยานิพนธและการศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) จะเปน S หรือ U (satified หรือ unsatisfied) เทานั้น ขณะที่การศึกษาอิสระ (3-4 หนวยกิต) ผลการประเมินเปนระดับ คะแนน (Grade) 8 ระดับ ซึ่งมีแตมระดับคะแนนคลายกับรายวิชาทั่วไป คือ A, B+, B, C+, C, D+, D, และ F อยางไรก็ตาม ไมวานักศึกษาจะเลือกทําวิทยานิพนธ การศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) หรือ การศึกษาอิสระ (3-4 หนวยกิต) ผลการศึกษาในครั้งนี้ถือเปนโอกาสอันดีที่นักศึกษาจะไดรับการ ฝกฝนใหเปนนักวิจัยที่ดี ที่ตองทําการวางแผนการศึกษาวิจัย รูจักการคิดเชิงวิเคราะหอยางมีระบบ มี เหตุผล มีนิสัยรักการศึกษาคนควา อันเปนคุณสมบัติที่พึงประสงคของผูที่เปนมหาบัณฑิต 1.3 คุณลักษณะที่ดีของวิทยานิพนธ การศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) และการศึกษาอิสระ (3 หนวยกิต) ดวยเหตุที่วิทยานิพนธ การศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) และการศึกษาอิสระ (3 หนวยกิต) เปน สวนหนึ่งของการศึกษาในระดับมหาบัณฑิต ดังนั้น แนวคิดเกี่ยวกับคุณลักษณะที่ดีของวิทยานิพนธ การศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) และการศึกษาอิสระ (3 หนวยกิต) ที่พึงปรารถนาจึงเปนประเด็นที่ นักศึกษาควรตระหนักถึงและวางแผนไวลว งหนาวา ทําอยางไรจึงจะทําใหวิทยานิพนธ การศึกษา อิสระ (6 หนวยกิต) และการศึกษาอิสระ (3 หนวยกิต) ของตนมีคุณภาพเปนที่ยอมรับในทางวิชาการ และสามารถนําไปอางอิงในการศึกษาวิจัยของผูอื่นตอไปได วิทยานิพนธ การศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) และการศึกษาอิสระ (3 หนวยกิต) มีบทบาทสําคัญ ตอนักศึกษาและตอผูอื่นอยางนอย 2 ประการ คือ ประการแรก เปน การเพิ่มพูนความรู ทักษะ และประสบการณใ นการผลิตผลงานทาง วิชาการให กับ นัก ศึ ก ษา โดยมีค ณาจารย เป น ที่ป รึก ษา พร อมทั้ งมี ค ณะกรรมการคอยติด ตาม พิจารณาและประเมินผล เพื่อใหไดผลงานทีด่ ีมีคุณภาพ ประการที่สอง เปนประโยชนแกผูอื่นที่สนใจสามารถนําผลที่ไดจากการศึกษาไปใชใ น การศึกษา อางอิง ตอยอด ขยายองคความรูใหม ๆ หรือ นําไปประยุกตใชในการแกไขและปรับปรุง ปญหา หรือ นําไปพัฒนาใหเกิดประโยชนตอไปได


6

คุณ ลัก ษณะที่ดีข องวิทยานิพนธ การศึก ษาอิสระ (6 หนว ยกิต ) และการศึก ษาอิสระ (3 หนวยกิต) มีดังนี้ 1.3.1 ประโยชนที่ไดรับ งานวิทยานิพนธ การศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) และการศึกษาอิสระ (3 หนวยกิต) ที่นักศึกษาจัดทําขึ้น ควรเปนเรื่องที่สําคัญและนาสนใจ มีประโยชนหรือนําไปตอยอด ได จึงควรมีวัตถุประสงคที่ชัดเจน และตอบคําถามไดวา “ทําเพื่ออะไร” หรือ ประโยชนที่คาดวาจะ ไดรับมีอยางไรบาง ในกรณีที่จุดมุงหมายและประโยชนที่คาดวาจะไดรับยังไมชัดเจน นักศึก ษาควรไดรับ คําปรึกษาจากอาจารยที่ปรึกษาเพื่อพิจารณา ปรับปรุง และแกไขเปนอันดับแรก 1.3.2 การสรางองคความรูใหม การผลิตผลงานทางวิชาการเปนวิธีการสําคัญวิธีหนึ่งในการ สรางองคความรู (Body of knowledge) ซึ่งเปนผลมาจากการสั่งสมของการแสวงหา การคนพบ และ ประสบการณข องสมาชิก ในสัง คมนั้น ๆ การศึก ษาหรือการวิจ ัย ไมว า จะเปน วิท ยานิพ นธ การศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) หรือ การศึกษาอิสระ (3 หนวยกิต) ลวนมีโอกาสสําคัญในการสราง องคความรูใหมใหมีคุณคาและเกิดประโยชนแกสังคม ในทางตรงกันขามการผลิตผลงานที่ไดจากการศึกษาหรือการวิจัยที่นําเอาองคความรูเดิม ของผูอื่นมาทําซ้ํา มาปรับปรุง หรือ แกไขเพียงเล็ก นอย เชน การเปลี่ยนพื้นที่หรือเปลี่ยนกลุม ตัวอยาง ที่ไมทําใหผลการศึกษาวิจัยเปลี่ยนแปลงไปจากเดิมมากนัก จึงไมนับวาเปนวิทยานิพนธ การศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) และการศึกษาอิสระ (3 หนวยกิต) ที่พึงปรารถนา 1.3.3 ความสอดคลองที่ชัดเจนของหัวขอกับแนวคิดและทฤษฎี วิทยานิพนธ การศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) และการศึกษาอิสระ (3 หนวยกิต) ที่ดี ควรมีการศึกษาคนควาแนวคิดและทฤษฎีที่ เกี่ยวของกับหัวขอของผลงานที่ศึกษาหรือวิจัยอยางกวางขวางและลึกซึ้ง รวมถึงการวิเคราะหและ สังเคราะหใหเกิดกรอบแนวคิดของงานดวยตัวผูทําการศึกษาเอง มิใ ชเพี ยงแคคัด ลอกและนํามาเรียงตอกัน เทานั้น ควรเรียบเรียงดว ยสํานวนของตนเอง เพื่อใหตกผลึกในแนวคิดถึงปญหางานที่ศึกษาที่แทจริง ทั้งยังแสดงถึงความตั้งใจจริง ใฝรู ขวนขวาย คนหาองคความรูที่เกี่ยวของ ซึ่งจะเปนประโยชนโดยตรงกับผูศึกษาหรือวิจัย และทําใหเกิดความ ชัดเจนในหัวขอเรื่อง ซึ่งจะเปนประโยชนในการวิเคราะห และอภิปรายผล และสงผลถึงคุณภาพของ วิทยานิพนธ การศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) และการศึกษาอิสระ (3 หนวยกิต) ของนักศึกษาอีกทาง หนึ่งดวย 1.3.4 ความถูก ตอ งและนาเชื่อ ถื อ ของระเบีย บวิธีวิจัย ในการศึก ษาหรื อการวิจัย ควร ดําเนินการโดยยึดหลักระเบียบวิธีวิจัยที่ดี ตั้งแต การตั้งคําถามการวิจัย การสรางกรอบแนวคิด หรือ การ สรางกรอบการอธิบายในระดับทฤษฎีที่มีตอปรากฏการณที่ตั้งใจจะศึกษา การตั้งสมมติฐาน (ถามี) การ


7

ออกแบบการวิจัย การสุมตัวอยาง การเก็บรวบรวมขอมูล การวิเคราะหขอมูล และการนําเสนอ งานวิจัย ระเบียบวิธีวิจัยที่ดีควรเนนความถูกตอง (validity) และเชื่อถือได (reliability) ควรมีขั้นตอน ที่เ รี ย บง าย ไม ค วรให ยุ ง ยากหรื อ สลับ ซั บ ซ อ นเกิ น ความจํ า เป น แต ทั้ งนี้ ขึ้ น อยู กับ ประเภท จุดมุงหมาย และชนิดของผลงานอีกดวย 1.3.5 ความครอบคลุมของเนื้อหา รายงานที่ศึกษาควรมีเนื้อหาที่ครอบคลุมประเด็นตาง ๆ ที่ เกี่ยวของอยางครบถวน และตองมีความลึกซึ้ง คมชัดในประเด็นที่เปนจุดเนนของหัวขอวิทยานิพนธ การศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) และการศึกษาอิสระ (3-4 หนวยกิต) อยางมีคุณภาพ ผานการวิเคราะห และสังเคราะหอยางดี ไมฉาบฉวย รวบรัด จนทําใหละทิ้งหรือขามขั้นตอนที่สําคัญของงานที่ศึกษา หรือวิจัย หรือนําเสนอผลงานที่คลุมเครือ ไมชัดเจน 1.3.6 จริยธรรมในการวิจัย งานที่ศึกษาหรือวิจัยควรเปนงานที่นักศึกษาคิดคนปญหาขึ้นมา เอง หรือ เปนการทํางานรวมระหวางนักศึกษากับอาจารยที่ปรึกษา ไมซ้ําซอนกับผลงานของผูอื่น ควรเคารพในหลักมนุษยธรรมในระหวางการดําเนินงาน ไมสงผลกระทบในทางลบตอกลุมตัวอยาง ที่เปนมนุษย หากนักศึกษาสามารถทําใหวิทยานิพนธ การศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) และการศึกษาอิสระ (3 หนวยกิต) มีคุณลักษณะทั้ง 6 ขอดังกลาวนี้ได ผลงานของนักศึกษาก็จะไดรับการยอมรับในทาง วิชาการ และจะมีคุณคายิ่งตอการเสริมสรางและพัฒนาองคความรูใหม ๆ ใหกับสังคมไทย


บทที่ 2 ขั้นตอนการทําวิทยานิพนธ เพื่อใหการทําวิทยานิพนธของหลักสูตรมหาบัณฑิตเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ บรรลุ เปาหมายของการจัดการเรียนการสอน บัณฑิตวิทยาลัยจึงออกประกาศที่ 021/2543 กําหนดแนว ปฏิบัติขั้นตอนการทําวิทยานิพนธ สําหรับทุกหลักสูตรของบัณฑิตศึกษา 2.1 ขั้นตอนการทําวิทยานิพนธ ในการดําเนินงานจัดทําวิทยานิพนธ มี 4 ขั้นตอนใหญ ๆ ดังนี้ 1. การคนหาหัวขอวิทยานิพนธและการเลือกอาจารยที่ปรึกษา 2. การจัดทําและการสอบเคาโครง 3. การจัดทํารายงานและการสอบปองกันวิทยานิพนธ 4. การจัดทํารูปเลมฉบับสมบูรณ I. การคนหา ‘หัวขอ’ วิทยานิพนธและการเลือก ‘อาจารยที่ปรึกษา’ เนื่องจากทุกหลักสูตรของบัณฑิต วิทยาลัย มหาวิทยาลัยหัว เฉียวเฉลิมพระเกียรติ ระบุใ ห นักศึกษาตองจัดทําผลงานวิชาการหนึ่งเรื่อง เพื่อเปนการฝกฝนทักษะการทําผลงานวิชาการ และเปน สวนหนึ่งของการศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา ในแผน ก. ระบุใหนักศึกษาจะตองจัดทําวิทยานิพนธ ซึ่งนักศึก ษาอาจเริ่มตนคน หาหัวขอที่ตนเองสนใจตั้งแตเริ่มเขาศึกษา โดยคณะกรรมการประจํา หลัก สูตรจะเปน ผูกําหนดใหมีการเลือกแผนการเรียนหลังจากที่เขาศึกษาแลว ไมต่ํากวา 2 ภาค การศึกษา (ดังแสดงในแผนภูมิที่ 2.1) 1) การคนหาหัวขอวิทยานิพนธ ในทางปฏิบัติ การคนหาหัวขอวิทยานิพนธนี้ ควรเริ่มตนดวยการคนควาเอกสารวิชาการตาง ๆ หรือทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวของกับหัวขอวิทยานิพนธที่นาสนใจ ควรเปนหัวขอเรื่องที่สําคัญ นาสนใจ และมีความเปนไปไดในทางปฏิบัติจนเสร็จสมบูรณ พรอมทั้งกอใหเกิดผลงานที่มีคุณคา และเกิดประโยชนในเชิงวิชาการและ/หรือในทางปฏิบัติ และจะตองเกี่ยวของกับเนื้อหาสาระวิชา ของแตละหลักสูตรอีกดวย


9

แผนภูมิที่ 2.1 ขั้นตอนการทําวิทยานิพนธ

ขั้นตอนการทําวิทยานิพนธ I. การคนหา ‘หัวขอ’ วิทยานิพนธ และการเลือก ‘อาจารยที่ปรึกษา’ 1) การคนหาหัวขอวิทยานิพนธ 2) การเลือกอาจารยที่ปรึกษา (และอาจารยที่ปรึกษารวม-ถามี) 3) การยื่นคํารองและแสดงความจํานงขอทําวิทยานิพนธ 4) การพิจารณาอนุมัติหัวขอวิทยานิพนธ 5) การแตงตั้งอาจารยที่ปรึกษาและคณะกรรมการกลั่นกรองเคาโครง 6) การลงทะเบียนวิทยานิพนธ II. การจัดทําและการสอบ ‘เคาโครง’ 1) การเขียนเคาโครงวิทยานิพนธ 2) การยื่นคํารองแสดงความจํานงขอสอบเคาโครงวิทยานิพนธ 3) การสอบกลั่นกรองเคาโครง 4) เงื่อนเวลาในการสอบเคาโครง III. การจัดทํารายงานและการสอบปองกัน ‘วิทยานิพนธ’ 1) การทําวิทยานิพนธ 2) การยื่นคํารองแสดงความจํานงขอสอบปองกัน 3) การสอบปองกันวิทยานิพนธ IV. การจัดทํา ‘รูปเลม’ ฉบับสมบูรณ และการตีพิมพเผยแพรผลงาน 1) การปรับปรุงแกไขวิทยานิพนธ 2) การจัดทํารูปเลม 3) การจัดทําบทความและการตีพิมพเผยแพรผลงาน


10

2) การเลือกอาจารยที่ปรึกษา (และอาจารยที่ปรึกษารวม) เมื่อไดหัวขอวิทยานิพนธแลว ใหนําหัวขอเหลานี้ไปปรึกษาหารือกับคณาจารยในหลักสูตร ถึงความสําคัญ ความนาสนใจ และความเปนไปไดของการทําวิทยานิพนธในหัวขอดังกลาว พรอม ทั้งขอหารือเพื่อเลือกอาจารยที่ปรึกษาไปในคราวเดียวกัน ในการเลือกอาจารยที่ปรึกษา นักศึกษาควรพิจารณาถึงความสนใจและความเชี่ยวชาญของ อาจารยที่ปรึกษาในสาขาวิชาเดียวกันหรือเกี่ยวของกับหัวขอวิทยานิพนธเปนอันดับแรก พรอมทั้ง พิจารณาปจจัยอื่นๆ ของอาจารยที่ปรึกษารวมดวย เชน ดานบุคลิกภาพ ทัศนคติ ลักษณะการให คําปรึกษา ความพรอมในการใหคําปรึกษา ภาระงานของอาจารยที่ปรึกษา เนื่องจากในการทํา วิทยานิพนธของนักศึกษาจะมีอาจารยที่ปรึกษาเปนพี่เลี้ยง เปนที่ปรึกษา และเปนผูชี้แนะ เพื่อให วิทยานิพนธครั้งนี้ประสบความสําเร็จบรรลุตามเปาหมายพรอมๆกับการสรางทัศนคติและทักษะใน กระบวนการวิจัยที่ดีใหกบั นักศึกษาไปในคราวเดียวกัน ดังนั้น อาจารยที่ปรึกษาจึงเปนผูที่มีบทบาทที่สําคัญตอความสําเร็จในการทําวิทยานิพนธ ของนักศึกษา ทั้งในดานกระบวนการวิจัยที่ดีและเปนการเรียนการสอนเพื่อใหเกิดความรู ความ เขาใจ และเกิดทักษะในกระบวนการวิจัยอีกดวย อนึ่งในการเลือกอาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธนี้ ควรเปนไปดวยความสมัครใจของทั้งสอง ฝาย และควรเปนเรื่องที่อาจารยมีความสนใจหรือมีความชํานาญเฉพาะในสาขานั้น ๆ อาจารยที่ปรึกษารวม (ถามี) อยางไรก็ตามในบางครั้งทั้งนักศึกษาและอาจารยที่ปรึกษา (หลัก) อาจมีความรูและ ประสบการณไมครอบคลุมอยางทั่วถึงในหัวขอวิทยานิพนธ ซึ่งอาจขอหารือแตงตั้งอาจารยที่ปรึกษา รวมเพิ่มเติมไดอีก 1-2 ทาน ตามความเหมาะสม เพื่อใหเกิดความสมบูรณของวิทยานิพนธ ดวยความ เห็นชอบทั้งสองฝาย คือ จากอาจารยที่ปรึกษาหลักและนักศึกษารวมกัน 3) การยื่นคํารองและแสดงความจํานงขอทําวิทยานิพนธ เมือ่ นักศึกษาไดหัวขอวิทยานิพนธ อาจารยที่ปรึกษาและอาจารยที่ปรึกษารวม(ถามี) และได ลงรายวิชาครบถวนตามหลักสูตร (ยกเวนรายวิชาวิทยานิพนธ) โดยมีเกรดเฉลี่ยสะสมไมต่ํากวา 3.00 นักศึกษาจะตองยื่นคํารองขอลงทะเบียน (บ-1) และคํารองแสดงความจํานงขอทําวิทยานิพนธ พรอม เสนอหัวขอวิทยานิพนธ และอาจารยที่ปรึกษาตามแบบฟอรมที่กําหนด (บ-2) ลวงหนาไมนอยกวา 30 วัน กอนการลงทะเบียนวิชาวิทยานิพนธ 4) การพิจารณาอนุมัติหัวขอวิทยานิพนธ เมื่อไดรับคํารอง คณะกรรมการประจําหลักสูตร จะพิจารณาใหความเห็นชอบหัวขอ วิทยานิพนธพรอมทั้งเสนอแตงตั้งอาจารยที่ปรึกษาและอาจารยที่ปรึกษารวมวิทยานิพนธ (ถามี)


11

5) การแตงตั้งอาจารยที่ปรึกษาและคณะกรรมการกลั่นกรองเคาโครง เมื่อผานการเห็นชอบของคณะกรรมการประจําหลักสูตร แลว บัณฑิตวิทยาลัยจะประกาศ แตงตั้งอาจารยที่ปรึกษา อาจารยที่ปรึกษารวม (ถามี) และคณะกรรมการกลั่นกรองเคาโครง 6) การลงทะเบียนวิทยานิพนธ นักศึกษาลงทะเบียนเรียน 12-15 หนวยกิต ในรายวิชาวิทยานิพนธ ตามความเหมาะสมและ เงื่อนไขการลงทะเบียนของแตละหลักสูตร II. การจัดทําและการสอบ ‘เคาโครง’ 1) การเขียนเคาโครงวิทยานิพนธ เมื่อหัวขอวิทยานิพนธผานการเห็นชอบของคณะกรรมการประจําหลักสูตรฯแลว นักศึกษา เริ่มเขียนเคาโครง (รายละเอียดดูในบทที่ 3) ภายใตการกํากับดูแลของอาจารยที่ปรึกษาอยางใกลชิด จนเสร็จเรียบรอย พรอมทําการสอบเคาโครง 2) การยื่นคํารองแสดงความจํานงขอสอบเคาโครงวิทยานิพนธ นักศึกษายื่นคํารองแสดงความจํานงขอสอบกลั่นกรองเคาโครงตามแบบฟอรมกําหนด (บ-3) ตอบัณฑิตวิทยาลัย โดยผานความเห็นชอบของอาจารยที่ปรึกษา 3) การสอบกลั่นกรองเคาโครงวิทยานิพนธ ในการสอบกลั่นกรองเคาโครงวิทยานิพนธ นักศึกษาจะตองเตรียมการนําเสนอเคาโครง วิทยานิพนธดวยปากเปลาตอหนาคณะกรรมการกลั่นกรองเคาโครงวิทยานิพนธ เมื่อผานการสอบ กลั่นกรอง และไดดําเนินการแกไข (ถามี) พรอมทั้งจัดทําเคาโครงฉบับสมบูรณตามขอแนะนําของ คณะกรรมการประจําหลักสูตร สงใหบัณฑิตวิทยาลัย 4) เงื่อนเวลาในการสอบเคาโครงวิทยานิพนธ นักศึกษาตองสอบกลั่นกรองเคาโครงวิทยานิพนธ ใหเสร็จสิ้นภายในภาคการศึกษาแรกที่ ลงทะเบียนรายวิชาวิทยานิพนธ ในกรณีที่นักศึกษาไมสามารถดําเนินการใหเสร็จสิ้นภายในเวลาที่ กําหนด นักศึกษาตองยืน่ คํารองขอผอนผันเปนคราวๆ ไป (โดยใชแบบฟอรม บ-9) ในกรณีที่นักศึกษาสอบกลั่นกรองเคาโครงวิทยานิพนธ “ไมผาน” นักศึกษาตองยื่นคํารอง โดยใชแบบฟอรมที่กําหนด (บ-8) พรอมแนบความคิดเห็นของคณะกรรมการกลั่นกรองเคาโครงตอ ผูอํานวยการสํานักทะเบียนและประมวลผล โดยผานความเห็นชอบของอาจารยที่ปรึกษา ประธาน หลักสูตร และคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย


12

III. การจัดทําและการสอบปองกัน ‘วิทยานิพนธ’ 1) การทําวิทยานิพนธ หลังจากที่ผานการสอบกลั่นกรองเคาโครงเปนที่เรียบรอย นักศึกษาลงมือทําวิทยานิพนธ ตามขอแนะนําของคณะกรรมการตอไป โดยทําการทดลองหรือรวบรวมขอมูล วิเคราะหขอมูล สรุป และรายงานผลการศึกษา ตามกระบวนการทําวิทยานิพนธของแตละหลักสูตร พรอมทั้งทําการพิมพ ในรูปแบบตามที่กําหนดในคูมือของบัณฑิตวิทยาลัย (บทที่ 4 และ 5) 2) การยื่นคํารองแสดงความจํานงขอสอบปองกันวิทยานิพนธ เมื่อนักศึกษาพรอมและไดรับความเห็นชอบจากอาจารยที่ปรึกษาแลว นักศึกษาจะตองยื่นคํา รองแสดงความจํานงขอสอบปองกันวิทยานิพนธ พรอมขอแตงตั้งคณะกรรมการสอบปองกันตาม แบบฟอรม บ-5 พรอมทั้งนัดหมายอาจารยที่ปรึกษาและคณะกรรมการเพื่อกําหนดวันและเวลา สอบปองกัน 3) การสอบปองกันวิทยานิพนธ บัณฑิตวิทยาลัยแตงตั้งคณะกรรมการสอบปองกันวิทยานิพนธตามระเบียบของ มหาวิทยาลัย ในกรณีของการสอบปองกันวิทยานิพนธ ประกอบดวยประธานหลักสูตร อาจารยที่ ปรึกษาและกรรมการผูทรงคุณวุฒิภายนอกมหาวิทยาลัยมารวมเปนกรรมการสอบดวย นักศึกษาตองเสนอรูปเลมของวิทยานิพนธ ซึ่งประกอบดวยรายงานและบทคัดยอที่ไดรับ ความเห็นชอบจากอาจารยที่ปรึกษาตอคณะกรรมการสอบปองกันทุกคนกอนวันสอบอยางนอย 2 สัปดาห ในการสอบปองกันวิทยานิพนธ นักศึกษาจะตองนําเสนอในรูปของการสอบปากเปลาตอ คณะกรรมการสอบปองกันวิทยานิพนธ ในกรณีที่สอบปองกันวิทยานิพนธ “ไมผาน” นักศึกษาจะตองทําการแกไขปรับปรุงให สมบูรณ เพื่อยื่นความจํานงขอสอบปองกันใหมเปนครั้งสุดทาย IV. การจัดทํา ‘รูปเลม’ ฉบับสมบูรณ และการตีพิมพเผยแพรผลงาน 1) การปรับปรุงแกไขวิทยานิพนธ ในกรณีที่คณะกรรมการอนุมัติให “ผาน” การสอบปองกัน นักศึกษาตองทําการแกไขรูปเลม ตามขอเสนอแนะ(ถามี) และสงรายงานฉบับรางที่แกไขแลวเสนอใหคณะกรรมการสอบปองกันทุก ทานเพื่อลงนามใหความเห็นชอบแลวจึงนําตนฉบับรายงานที่ปรับปรุงแกไขแลว สงใหกับบัณฑิต วิทยาลัย เพื่อทําการตรวจสอบมาตรฐานรูปเลม และการพิมพกอนนําไปเขาเลม (โดยใชแบบฟอรม บ-7)


13

2) การจัดทํารูปเลม นักศึกษาจัดทํารูปเลมฉบับสมบูรณสงมอบใหบัณฑิตวิทยาลัยจํานวน 3 เลม 3) การจัดทําบทความและการตีพิมพเผยแพรผลงาน นักศึกษาจะตองจัดทําบทความวิชาการจากการทําวิทยานิพนธ เพื่อตีพิมพเผยแพรผลงานใน วารสารทางวิชาการ 1 ชิ้น สงหลักฐานแสดงการตอบรับหรือเลมวารสารฉบับที่ตีพิมพผลงานมอบ ใหบัณฑิตวิทยาลัย การสําเร็จการศึกษา นักศึกษาสําเร็จการศึกษาในภาคการศึกษานั้น ไดก็ตอเมื่อนักศึกษาไดนําเสนอ คณะกรรมการสอบปองกันเพื่อลงนามใหความเห็นชอบกอนวันปดภาคการศึกษาในแตละภาค การศึกษา นอกจากนี้นักศึกษาจะตองมีสถานภาพเปนนักศึกษาอยูในวันที่สงรูปเลมฉบับสมบูรณ ในกรณีที่วิทยานิพนธยังไมเสร็จสมบูรณ ใหกําหนดสัญลักษณ P และจะเปลี่ยนเปน S (สอบผาน) หรือ U (สอบไมผาน) ภายหลังเมื่อเสร็จสมบูรณแลว 2.2 ขั้นตอนการทํา ‘การศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต)’ ในการจัดทําการศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) มีขั้นตอนในการดําเนินการคลายคลึงกับการจัดทํา วิทยานิพนธ ซึ่งประกอบดวย 4 ขั้นตอนใหญ เชนเดียวกัน ดังนี้ I. การคนหา ‘หัวขอ’ งานวิจัยและการเลือก ‘อาจารยที่ปรึกษา’ II. การจัดทําและการสอบ ‘เคาโครง’ III. การจัดทํารายงานและการสอบปองกัน ‘การศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต)’ IV. การจัดทํา ‘รูปเลม’ ฉบับสมบูรณ (ดังแสดงในแผนภูมิที่ 2.2) I. การคนหา ‘หัวขอ’ การศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) และการเลือก ‘อาจารยที่ปรึกษา’ 1) การคนหาหัวขอ การศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) ถานักศึกษาเลือกเรียนใน แผน ข. และหลักสูตรกําหนดใหลงทะเบียนการศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) นักศึกษาอาจเริ่มตนคนหาหัวขอของการศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) ที่ตนเองสนใจตั้งแต เริ่มเขาศึกษา หรือ อยางชาเมื่อนักศึกษาสอบผานรายวิชามาแลวไมต่ํากวา 18 หนวยกิต


14

แผนภูมิที่ 2.2 ขั้นตอนการทําการศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต)

ขั้นตอนการทําการศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) I. การคนหา ‘หัวขอ’ งานวิจัยและการเลือก ‘อาจารยที่ปรึกษา’ 1) การคนหาหัวของานวิจัย 2) การเลือกอาจารยที่ปรึกษา (และอาจารยที่ปรึกษารวม-ถามี) 3) การยื่นคํารองและแสดงความจํานงขอทําการศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) 4) การพิจารณาอนุมัติหัวขอการศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) 5) การแตงตั้งอาจารยที่ปรึกษาและคณะกรรมการกลั่นกรองเคาโครง 6) การลงทะเบียนเรียนการศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) II. การจัดทําและการสอบ ‘เคาโครง’ 1) การเขียนเคาโครงงานวิจัย 2) การยื่นคํารองแสดงความจํานงขอสอบเคาโครงงานวิจัย 3) การสอบกลั่นกรองเคาโครง 4) เงื่อนเวลาในการสอบเคาโครง III. การจัดทํารายงานและการสอบปองกัน ‘การศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต)’ 1) การทํารายงานการศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) 2) การยื่นคํารองแสดงความจํานงขอสอบปองกัน 3) การสอบปองกันการศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) IV. การจัดทํา ‘รูปเลม’ ฉบับสมบูรณ 1) การปรับปรุงแกไขการศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) 2) การจัดรูปเลม


15

หัวขอการศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) ในทางปฏิบัติการคนหาหัวขอการศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) ควรเริ่มตนจากการคนควา เอกสารวิชาการตาง ๆ หรือ การทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวของกับหัวของานวิจัยที่นาสนใจเลือกมา ทําเปนการศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) ของตนเอง ซึ่งควรเปนหัวขอเรื่องที่สําคัญและนาสนใจ มีความ เปนไปไดในทางปฏิบัติที่สามารถดําเนินการทําวิจัยจนสําเร็จสมบูรณ พรอมทั้งกอใหเกิดผลงานวิจัย ที่มีคุณคาและเกิดประโยชนในเชิงวิชาการและ/หรือในทางปฏิบัติ และจะตองเกี่ยวของและสัมพันธ สอดคลองกับเนื้อหาสาระวิชาของแตละหลักสูตรอีกดวย 2) การเลือกอาจารยที่ปรึกษา (และอาจารยที่ปรึกษารวม-ถามี) เมื่อไดหัวขอหรือประเด็นงานวิจัยที่นาสนใจแลว ควรนําหัวขอ หรือ ประเด็นงานวิจัยนี้ไป ปรึกษาหารือกับคณาจารยในหลักสูตร เพื่อหารือถึงความสําคัญ ความนาสนใจ และความเปนไปได ของการทําการวิจัยในหัวขอดังกลาว พรอมทั้งทาบทามอาจารยที่ปรึกษาไปในคราวเดียวกัน ในการเลือกอาจารยที่ปรึกษา นักศึกษาควรพิจารณาถึงความสนใจและความเชี่ยวชาญของ อาจารยที่ปรึกษาในสาขาวิชาเดียวกันหรือเกี่ยวของกับหัวขอของการศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) เปน อันดับแรก พรอมทั้งพิจารณาปจจัยอื่น ๆ ของอาจารยที่ปรึกษารวมดวย เชน ดานบุคลิกภาพ ทัศนคติ ลักษณะการใหคําปรึกษา ความพรอมในการใหคําปรึกษา ภาระงานของอาจารยที่ปรึกษา เปนตน ทั้งนี้เพราะในการทําการศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) ของนักศึกษาจะมีอาจารยที่ปรึกษา เปนพี่เลี้ยง เปนที่ปรึกษา และเปนผูชี้แนะ เพื่อใหงานวิจัยครั้งนี้ประสบความสําเร็จบรรลุตามเปาหมาย พรอม ๆ กับการสรางทัศนคติและทักษะในงานวิจยั ที่ดีใหกับนักศึกษาไปในคราวเดียวกันนี้ดวย ดังนั้นอาจารยที่ปรึกษาจึงเปนผูที่มีบทบาทสําคัญตอความสําเร็จของงานวิจัย ทั้งในดาน ขบวนการทํางานวิจัยที่ดีและเปนการเรียนการสอนเพื่อใหเกิดความรู ความเขาใจ และเกิดทักษะใน งานวิจัยอีกดวย อนึ่งในการเลือกอาจารยที่ปรึกษาการศึกษาอิสระ 6 หนวยกิตนี้ ควรเปนไปดวยความสมัครใจ และความพรอมของทั้งสองฝาย ควรเปนเรื่องที่อาจารยมีความสนใจหรือมีความชํานาญในสาขานั้น ๆ เฉพาะ และมีความพรอมในการใหคําปรึกษาการทําการศึกษาอิสระนี้ไดอยางดี อาจารยที่ปรึกษารวม (ถามี) ในบางครั้งทั้งนักศึกษาและอาจารยที่ปรึกษาอาจมีความรูและประสบการณไมครอบคลุม อยางทั่วถึงในหัวขอเรื่องงานวิจัยนี้ อาจทาบทามอาจารยที่ปรึกษารวมเพิ่มเติมไดอีก 1-2 ทาน ตาม ความเหมาะสม ทั้งนี้เพื่อใหเกิดความสมบูรณของงานวิจัยยิ่งขึ้น


16

3) การยื่นคํารองและแสดงความจํานงขอทําการศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) เมื่อนักศึกษาไดหัวขอเรื่องงานวิจัย อาจารยที่ปรึกษา (อาจารยที่ปรึกษารวม-ถามี) และไดลง รายวิชาครบถวนตามหลักสูตร (ยกเวนรายวิชาการศึกษาอิสระ 6 หนวยกิต) โดยมีแตมเฉลี่ยสะสมไม ต่ํากวา 3.00 แลว นักศึกษาจะตองยื่นคํารองขอลงทะเบียน (บ-1) และคํารองแสดงความจํานงขอ ทําการศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) พรอมเสนอหัวขอศึกษา และอาจารยที่ปรึกษาตามแบบฟอรมที่ กําหนด (บ-2) ลวงหนาไมนอยกวา 30 วัน กอนการลงทะเบียนการศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) 4) การพิจารณาอนุมัติหัวขอการศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) เมื่อไดรับคํารอง คณะกรรมการประจําหลักสูตรฯจะพิจารณาใหความเห็นชอบหัวขอ การศึกษาอิสระ 6 หนวยกิตพรอมทั้งเสนอแตงตั้งอาจารยที่ปรึกษา 5) การแตงตั้งอาจารยที่ปรึกษาและคณะกรรมการกลั่นกรองเคาโครง เมื่อหัว ขอการศึก ษาอิสระผานการเห็น ชอบของคณะกรรมการประจําหลั ก สูต รฯ แล ว บัณฑิตวิทยาลัยจะประกาศแตงตั้งอาจารยที่ปรึกษา (อาจารยที่ปรึกษารวม-ถามี) และคณะกรรมการ กลั่นกรองเคาโครง 6) การลงทะเบียนการศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) นักศึกษาลงทะเบียน 6 หนวยกิต ในรายวิชาการศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) ทั้งนี้เปนไปตาม ความเหมาะสมและเงื่อนไขการลงทะเบียนของแตละหลักสูตร II. การจัดทําและการสอบ ‘เคาโครง’ 1) การเขียนเคาโครงการศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) เมื่อหัวขอของการศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) ไดผานการเห็นชอบของคณะกรรมการประจํา หลักสูตรฯ แลว นักศึกษาก็เริ่มเขียนเคาโครง (รายละเอียดดูในบทที่ 3) ภายใตการดูแลของอาจารยที่ ปรึกษาอยางใกลชิด จนเสร็จเรียบรอยและพรอมที่จะสอบเคาโครง 2) การยื่นคํารองแสดงความจํานงขอสอบเคาโครงการศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) นักศึกษาก็ยื่นคํารองแสดงความจํานงขอสอบกลั่นกรองเคาโครงตามแบบฟอรมกําหนด (บ3) 3) การสอบกลั่นกรองเคาโครง การสอบกลั่นกรองเคาโครงเปนการสอบโดยใหนักศึกษานําเสนอเคาโครงตอคณะกรรมการ กลั่นกรองเคาโครง เมื่อนักศึก ษาผานการสอบเคาโครงและไดดําเนินการแกไข (ถามี ) พรอมทั้ง จัดทําเคาโครงฉบับสมบูรณตามขอแนะนําของคณะกรรมการฯ สงแกบัณฑิตวิทยาลัยเรียบรอยแลว นักศึกษาสามารถดําเนินงานวิจัยในขั้นตอนตอไป


17

4) เงื่อนเวลาในการสอบเคาโครง นักศึกษาตองสอบกลั่นกรองเคาโครงใหเสร็จสิ้นในภาคการศึกษาแรกที่ลงทะเบียนวิชา การศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) ในกรณีที่นักศึกษาไมสามารถดําเนินการดังกลาวใหเสร็จสิ้นได ภายในเวลาที่กําหนด (ภาคเรียนแรกที่ลงทะเบียน) นักศึกษาตองยื่นคํารองขอผอนผันเปนคราว ๆ ไป (บ-9) III. การจัดทํารายงานและการสอบปองกัน ‘การศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต)’ 1) การทํารายงานการศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) หลังจากที่ผานการสอบกลั่นกรองเคาโครงและแกไขตามคําแนะนําของกรรมการฯ เปนที่ เรียบรอย นักศึกษาสามารถดําเนินการทําการศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) ในขั้นตอนตอไป ดวยการ เก็บและรวบรวมขอมูล วิเคราะหขอมูล สรุปและรายงานผลการศึกษา (บทที่ 4 และ 5) ตาม กระบวนการทําการศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) ของแตละหลักสูตร พรอมทั้งทําการพิมพในรูปแบบ ตามที่กําหนดในคูมือของบัณฑิตวิทยาลัย 2) การยื่นคํารองแสดงความจํานงขอสอบปองกัน เมื่อนักศึกษาพรอมและไดรับความเห็นชอบจากอาจารยที่ปรึกษาในการเขาสอบปองกันแลว นักศึกษาจะตองยื่นคํารองแสดงความจํานงขอสอบปองกัน พรอมขอแตงตั้งคณะกรรมการสอบ ปองกันตามแบบฟอรมที่กําหนด (บ-5) พรอมทั้งนัดหมายอาจารยที่ปรึกษาและคณะกรรมการเพื่อ กําหนดวันและเวลาสอบปองกัน 3) การสอบปองกันการศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) ในการนี้บัณฑิตวิทยาลัยแตงตั้งคณะกรรมการสอบปองกันการศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต ) ตามระเบียบของมหาวิทยาลัย ซึ่งเปนกรรมการผูทรงคุณวุฒิจากภายในหรือภายนอกมหาวิทยาลัย มารวมเปนกรรมการสอบดวยก็ได นักศึกษาตองเสนอรูปเลมของการศึกษาอิสระซึ่งประกอบดวยรายงานและบทคัดยอที่ไดรับ ความเห็นชอบจากอาจารยที่ปรึกษาตอคณะกรรมการสอบทุกคนกอนวันสอบอยางนอย 2 สัปดาห ในกรณีที่สอบปองกัน “ไมผาน” ในกรณีที่ไมผานการสอบปองกัน นักศึกษาจะตองทําการแกไขปรับปรุงใหสมบูรณขึ้น เพื่อ ยื่นความจํานงขอสอบปองกันใหมเปนโอกาสสุดทาย


18

IV. การจัดทํา ‘รูปเลม’ ฉบับสมบูรณ 1) การปรับปรุงแกไขการศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) ในกรณีที่คณะกรรมการอนุมัติใหผานการสอบปองกัน นักศึกษาตองแกไข (ถามี) และสง รายงานฉบับรางเสนอใหคณะกรรมการสอบปองกันทุกทานเพื่อลงนามใหความเห็นชอบแลวจึงนํา ตนฉบับรายงานที่ปรับปรุงแกไขแลวตามขอเสนอแนะของคณะกรรมการจํานวน 1 เลม ใหกับ บัณฑิตวิทยาลัย เพื่อทําการตรวจสอบมาตรฐาน รูปเลมและการพิมพกอนนําไปเขาเลม (แบบฟอรม บ-7) 2) การจัดรูปเลม จัดทํารูปเลมฉบับสมบูรณสงมอบใหบัณฑิตวิทยาลัย การจบการศึกษา ในกรณีที่ทําการศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) จะถือวา นักศึกษาจบการศึกษาในภาคการศึกษา นั้น ๆ ก็ตอเมื่อนักศึกษาไดนําเสนอคณะกรรมการสอบปองกันเพื่อลงนามใหความเห็นชอบ และ ผานการสอบประมวลความรูกอนวันปดภาคเรียนในแตละภาคนั้น นอกจากนี้นักศึกษาจะตองมีสถานภาพเปนนักศึกษาอยูในวันที่สงรุปเลมฉบับสมบูรณ ในกรณีที่การศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) ยังไมเสร็จสมบูรณ ใหกําหนดสัญลักษณ P และจะ เปลี่ยนเปน S (สอบผาน) หรือ U (สอบไมผาน) ภายหลังเมื่อเสร็จสมบูรณแลว

ความแตกตางระหวาง ‘วิทยานิพนธ’ และ ‘การศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต)’ จึงเห็นไดวา โดยภาพรวมแลวการศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) มีความคลายคลึงกับวิทยานิพนธ มาก แตมีความตางกันบางบางประการ (ดังแสดงในตารางที่ 3 หนา 22) ซึ่งพอจะแยกเปนประเด็น และสรุปไดดังนี้ 1. การเลือกเรียน ผูที่ประสงคลงทะเบียนวิทยานิพนธจะตองเปนผูที่เลือกเรียนใน แผน ก. และผูที่ประสงคลงเรียนวิชาการศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) จะตองเปนผูที่เลือกเรียนใน แผน ข. ของ แตละหลักสูตร 2. จํานวนหนวยกิต ผูที่เลือกทําการศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) จะตองลงทะเบียน จํานวน 6 หนวยกิต ในขณะที่ผูที่เลือกวิทยานิพนธจะตองลงทะเบียน จํานวน 12 หนวยกิต 3. ในการสอบกลั่นกรองเคาโครง ทั้งวิทยานิพนธและการศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) จะตอง ผานการสอบกลั่นกรองเคาโครงเหมือนกัน แตถาสอบวิทยานิพนธ ‘ไมผาน’ จะตองเปลี่ยนการ


19

ลงทะเบียนวิทยานิพนธ เปนการศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) แทน แตในกรณีที่สอบการศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) ‘ไมผาน’ จะตองทําการแกไขปรับปรุงตามความเห็นของกรรมการกลั่นกรองใหเรียบรอย 4. ในการสอบปองกัน ซึง่ ทั้งวิทยานิพนธและการศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) ก็ระบุใหมีการ ผานการสอบปองกันเชนกัน แตถาเปนการสอบปองกันการศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) ไมจําเปนตอง มีก รรมการผู ทรงคุณ วุฒิ จ ากภายนอกมหาวิ ทยาลั ย มารว มเป น กรรมการสอบป องกั น เหมื อ น วิทยานิ พนธ ในกรณี ข องการสอบปองกัน การศึ ก ษาอิส ระ (6 หนว ยกิ ต ) อาจเปน กรรมการ ผูทรงคุณวุฒิจากภายในหรือภายนอกมหาวิทยาลัยก็ได แตการสอบปองกันวิทยานิพนธจะตองมี กรรมการผูทรงคุณวุฒิจากภายนอกมหาวิทยาลัยมารวมเปนกรรมการสอบปองกันดวยทุกครั้ง 5. การสอบประมวลความรู ในรายที่เลือกทําการศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) จะตองทําการ สอบประมวลความรูหลังจากจัดทําการศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) เปนที่เรียบรอยแลว ตางจากผูที่ เลือกวิทยานิพนธ หรือ แผน ก. ที่อาจจะตองสอบผานการประมวลความรูกอนที่จ ะลงทะเบียน วิทยานิพนธหรือไม ทั้งนี้ขึ้นอยูกับเงื่อนไขของแตละหลักสูตร 6. การจัดทําบทความและการตีพิมพเผยแพรผลงาน นักศึกษาที่เลือกวิทยานิพนธจะตอง จัดทําบทความวิชาการจากการทําวิทยานิพนธเพื่อตีพิมพเผยแพรผลงานในวารสารทางวิชาการ 1 ชิ้น พรอมกับรูปเลมฉบับสมบูรณ ในขณะที่นักศึกษาที่เลือกเรียนแผน ข. ไมจําเปนตองการจัดทํา บทความวิชาการจากการศึกษาอิสระเพื่อตีพิมพเผยแพรผลงานของตนเองดังเชนนักศึกษาในแผน ก 2.3 ขั้นตอนการทํา ‘การศึกษาอิสระ (3 หนวยกิต)’ บางหลักสูตรไดกําหนดใหแผน ข. มีการศึกษาอิสระ (3 หนวยกิต) ซึ่งตองลงทะเบียนและ ศึก ษาใหเ สร็ จ สิ้ น ภายใน 1 ภาคการศึก ษานั้น ๆ ซึ่ งมี ขั้น ตอนในการดํา เนิ น การคล ายคลึ งกั บ วิทยานิพนธและการศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) คือ ยึดหลักระเบียบการวิจัยที่ดี แตมีการดําเนินการ เรียนการสอนเหมือนอีก หนึ่งรายวิชา คือ ไมตองสอบเคาโครง การสอบประเมิน เปนการสอบ ประเมินในชั้นเรียนโดยอาจารยที่ปรึกษาและ/หรือคณาจารยรายวิชา และผลการประเมินไดเกรด (A, B+, B, C+, C, D+, D หรือ F) ในขั้ น ตอนการจั ด ทํ า การศึ ก ษาอิ ส ระ (3 หน ว ยกิ ต ) มีก ารดํ า เนิ น การคล า ยคลึ ง กั บ วิทยานิพนธและการศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) แตไมตองสอบเคาโครงเหมือนการจัดทําวิทยานิพนธ และการศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) ดังนั้นในการจัดทําการศึกษาอิสระ (3 หนวยกิต) จึงประกอบดวย 3 ขั้นตอน ดังนี้ I. การคนหา ‘หัวขอ’ การศึกษาอิสระ (3 หนวยกิต) และการเลือก ‘อาจารยที่ปรึกษา’


20

II. การจัดทําและการสอบปองกัน ‘การศึกษาอิสระ (3 หนวยกิต)’ III. การจัดทํา ‘รูปเลม’ ฉบับสมบูรณ (ดังแสดงในแผนภูมิที่ 2.3) I. การคนหา ‘หัวขอ’ การศึกษาอิสระ (3 หนวยกิต) และการเลือก ‘อาจารยที่ปรึกษา’ 1) การคนหาหัวขอการศึกษาอิสระ (3 หนวยกิต) การเรียนรายวิชาการศึกษาอิสระ (3 หนว ยกิต ) ในแผน ข. ระบุใหนักศึก ษาจะตองศึกษา คนควาอิสระโดยจัดทํางานวิจัยขึ้นมาหนึ่งชิ้น ซึ่งนักศึกษาอาจเริ่มตนคนหาหัวขอที่ตนเองสนใจ ตั้งแตเริ่มเขาศึกษา หรือ อยางชาเมื่อนักศึกษาสอบผานรายวิชามาแลวไมต่ํากวา 18 หนวยกิต หัวขอการศึกษาอิสระ (3 หนวยกิต) ในทางปฏิบัติ การคนหาหัวขอการศึกษาอิสระ (3 หนวยกิต) ควรเริ่มตนดวยการคนควา เอกสารวิชาการตาง ๆ หรือ ทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวของกับหัวของานวิจัย ซึ่งควรเปนหัวขอเรื่อง ที่สําคัญ นาสนใจ และมีค วามเปน ไปไดใ นทางปฏิบัติใ นการทําวิจัยจนเสร็จ สมบูร ณ พรอมทั้ง กอใหเกิดผลงานวิจัยที่ดี มีคุณคา และเกิดประโยชนในเชิงวิชาการและ/หรือในทางปฏิบัติ และ จะตองเกี่ยวของกับเนื้อหาสาระวิชาของแตละหลักสูตรอีกดวย 2) การเลือกอาจารยที่ปรึกษา เมื่อไดหัว ขอหรือประเด็น ที่ส นใจแลว ก็ค วรนําไปหารือกั บคณาจารยใ นหลัก สูต ร เพื่ อ ปรึก ษาถึงความสําคัญ ความนาสนใจ และความเปน ไปไดข องการทําการวิจัยในหัว ขอดังกลาว พรอมทั้งทาบทามอาจารยที่ปรึกษาไปในคราวเดียวกัน ในการเลือกอาจารยที่ปรึกษา นักศึกษาควรพิจารณาถึงความสนใจและความเชี่ยวชาญของ อาจารยที่ปรึกษาในสาขาวิชาเดียวกันหรือเกี่ยวของกับหัวขอวิทยานิพนธเปนอันดับแรก พรอมทั้ง พิจารณาปจจัยอื่น ๆ ของอาจารยที่ปรึกษารวมดวย เชน ดานบุค ลิกภาพ ทัศนคติ ลักษณะการให คําปรึกษา ความพรอมในการใหคําปรึกษา ภาระงานของอาจารยที่ปรึกษา เปนตน ทั้งนี้เพราะในการ ทําวิทยานิพนธของนักศึกษาจะมีอาจารยที่ปรึกษา เปนพี่เลี้ยง เปนที่ปรึกษา และเปนผูชี้แนะ เพื่อให งานวิจัยครั้งนี้ประสบความสําเร็จบรรลุตามเปาหมาย พรอม ๆ กับการสรางทัศนคติและทักษะใน งานวิจัยที่ดีใหกับนักศึกษาไปในคราวเดียวกันนี้ดวย ดังนั้นอาจารยที่ปรึกษาจึงเปนผูที่มีบทบาทที่สําคัญตอความสําเร็จของงานวิจัย ทั้งในดาน ขบวนการทํางานวิจัยที่ดีและเปนการเรียนการสอนเพื่อใหเกิดความรู ความเขาใจ และเกิดทักษะใน งานวิจัยอีกดวย


21

อนึ่ง ในการเลือกอาจารยที่ปรึกษา ควรเปนไปดวยความสมัครใจของทั้งสองฝาย และควร เปนเรื่องที่อาจารยมีความสนใจหรือมีความชํานาญในสาขานั้น ๆ เฉพาะ 3) การยื่นคํารองและแสดงความจํานงขอทําการศึกษาอิสระ (3 หนวยกิต) เมื่อนักศึกษาไดหัวขอเรื่อง อาจารยที่ปรึกษา และไดลงรายวิชาครบถวนตามหลักสูตร (ยกเวน รายวิชาการศึกษาอิสระ 3 หนวยกิต) โดยมีแตมเฉลี่ยสะสมไมต่ํากวา 3.00 นักศึกษาจะตองยื่นคํารอง ขอลงทะเบียน (บ-1) และคํารองแสดงความจํานงขอทําการศึกษาอิสระ (3 หนวยกิต) พรอมเสนอ หัวขอศึกษา และอาจารยที่ปรึกษาตามแบบฟอรมที่กําหนด (บ-2) ลวงหนาไมนอยกวา 30 วัน กอน การลงทะเบียนวิชาการศึกษาอิสระ (3 หนวยกิต) 4) การพิจารณาอนุมัติหัวขอการศึกษาอิสระ (3 หนวยกิต) เมื่อไดรับคํารอง คณะกรรมการประจําหลักสูตรฯจะพิจารณาใหความเห็นชอบหัวขอวิจัย พรอมทั้งเสนอแตงตั้งอาจารยที่ปรึกษา 5) การแตงตั้งอาจารยที่ปรึกษาและคณะกรรมการการศึกษาอิสระ (3 หนวยกิต) เมื่อหัวขอการศึกษาอิสระผานการเห็นชอบของคณะกรรมการประจําหลักสูตรแลว บัณฑิต วิทยาลัยจะประกาศแตงตั้งอาจารยที่ปรึกษาและคณะกรรมการการศึกษาอิสระ (3 หนวยกิต) 6) การลงทะเบียนเรียนการศึกษาอิสระ (3 หนวยกิต) นักศึกษาลงทะเบียนเรียน 3 หนวยกิต ในรายวิชาการศึกษาอิสระ (3 หนวยกิต) ทั้งนี้ทั้งนั้น เปนไปตามความเหมาะสมและเงื่อนไขการลงทะเบียนของแตละหลักสูตร II. การจัดทําและการประเมินผล ‘การศึกษาอิสระ (3 หนวยกิต)’ 1) การจัดทําการศึกษาอิสระ (3 หนวยกิต) เมื่อผานการเห็นชอบของคณะกรรมการประจําหลักสูตรฯแลว นักศึกษาก็เริ่มเขียนเคาโครง (จะกลาวโดยละเอียดใน บทที่ 3) ภายใตการดูแลของอาจารยที่ปรึกษาอยางใกลชิด จนเสร็จเรียบรอย หลังจากที่จัดทําเคาโครงเปนที่เรียบรอย นักศึกษาก็สามารถดําเนินขั้นตอนตอไป ไมวาจะ เปน การพัฒนาเครื่องมือหรือแบบสอบถาม การเก็บและรวบรวมขอมูล วิเคราะหขอมูล สรุปและ รายงานผลการศึกษา (บทที่ 4 และ 5) ตามกระบวนการทําการศึกษาอิสระ (3 หนวยกิต) ของแตละ หลักสูตร พรอมทั้งทําการพิมพในรูปแบบตามที่กําหนดในคูมือของบัณฑิตวิทยาลัย


22

แผนภูมิที่ 2.3 ขั้นตอนการทําการศึกษาอิสระ (3 หนวยกิต)

ขั้นตอนการทําการศึกษาอิสระ (3 หนวยกิต)

I. การคนหา ‘หัวขอ’ วิจัยและการเลือก ‘อาจารยที่ปรึกษา’ 1) การคนหาหัวขอวิจัย 2) การเลือกอาจารยที่ปรึกษา 3) การยื่นคํารองและแสดงความจํานงขอทําการศึกษาอิสระ (3 หนวยกิต) 4) การพิจารณาอนุมัติการศึกษาอิสระ (3 หนวยกิต) 5) การแตงตั้งอาจารยที่ปรึกษาและคณะกรรมการสอบปองกัน 6) การลงทะเบียนเรียนการศึกษาอิสระ (3 หนวยกิต) II. การจัดทําและการประเมินผล ‘การศึกษาอิสระ (3 หนวยกิต) 1) การจัดทําการศึกษาอิสระ (3 หนวยกิต) 2) การประเมินผลการศึกษาอิสระ (3 หนวยกิต) III. การจัดทํา ‘รูปเลม’ ฉบับสมบูรณ 1) การปรับปรุงแกไขการศึกษาอิสระ (3 หนวยกิต) 2) การจัดรูปเลม 2) การประเมินผลการศึกษาอิสระ (3 หนวยกิต) คณาจารยประจําวิชาจะกําหนดวันสอบการศึกษาอิสระ (3 หนวยกิต) ซึ่งเปนการนําเสนอ ดวยปากเปลาของนักศึกษาในงานวิจัยที่ไดดําเนินงานตลอดทั้งภาคการศึกษาตอคณะกรรมการสอบ การศึกษาอิสระ (3 หนวยกิต)


23

นักศึกษาตองเสนอรูปเลมรายงานและบทคัดยอ ที่ไดรับความเห็นชอบจากอาจารยที่ปรึกษา ตอคณะกรรมการสอบทุกคนกอนวันสอบอยางนอย 2 สัปดาห 3) ในกรณีที่ ‘ไมผาน’ การประเมินผลการศึกษาอิสระ (3 หนวยกิต) ในกรณีที่สอบไมผาน นักศึกษาจะตองลงทะเบียนการศึกษาอิสระ (3 หนวยกิต) ใหมอีกครั้ง III. การจัดทํา ‘รูปเลม’ ฉบับสมบูรณ 1) การปรับปรุงแกไขการศึกษาอิสระ (3 หนวยกิต) ในกรณีที่คณะกรรมการอนุมัติใหผา นการสอบ นักศึกษาตองแกไข (ถามี) และสงรายงาน 1 เลม ใหกับเลขานุการบัณฑิตวิทยาลัย เพื่อทําการตรวจสอบมาตรฐาน รูปเลมและการพิมพกอน นําไปเขาเลม (แบบฟอรม บ-7) 2) การจัดรูปเลม จัดทํารูปเลมฉบับสมบูรณสงมอบใหบัณฑิตวิทยาลัย ขอแตกตางระหวางวิทยานิพนธ การศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) และการศึกษาอิสระ (3 หนวย กิต) (ดังแสดงในตารางที่ 3.1) การศึกษาอิสระ (3 หนวยกิต) มีประเด็นที่แตกตางจากวิทยานิพนธและการศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) คือ แผนการศึกษา จํานวนหนวยกิต ขั้นตอนการประเมินการเรียนการสอนซึ่งเหมือนกับ รายวิชาทั่วไป ไมวาจะเปนการสอบเคาโครง การประเมินรายวิชา และระยะเวลาในการศึกษา ผูที่เลือกเรียนใน แผน ข. จะตองเลือกเรียนวิชาการศึกษาอิสระ (3 หนวยกิต) และลงทะเบียน จํานวน 3 หรือ 4 หนวยกิต ในขั้นตอนการประเมินรายวิชานี้ การจัดทําการศึกษาอิสระ (3 หนวยกิต) ไมจําเปนตองมี ขั้นตอนการสอบเคาโครงดวยคณะกรรมการฯ เหมือนกับวิทยานิพนธและการศึกษาอิสระ (6 หนวย กิต) แตเปนบทบาทหนาที่ของนักศึกษารวมกับอาจารยที่ปรึกษาในการรวมกันเพื่อพัฒนาเคา โครงการศึกษาอิสระ (3 หนวยกิต) การประเมินและระยะเวลาที่ใชในรายวิชาการศึกษาอิสระ (3 หนวยกิต) จะเหมือนกับ รายวิชาทั่วไป คือ เปนการประเมินในชั้นเรียนโดยอาจารยที่ปรึกษาและ/หรือคณาจารยประจําวิชา และใหผลการประเมินเปนเกรด (A, B+, B, C+, C, D+, D หรือ F) ในขณะที่วิทยานิพนธและ การศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) จะแสดงผลเปน S หรือ U ในเรื่องระยะเวลาในการศึกษา การจัดทําการศึกษาอิสระ (3 หนวยกิต)จะตองจัดทําใหเสร็จ สมบูรณภายใน 1 ภาคการศึกษาเหมือนการเรียนในวิชาทั่วไป


24

นอกจากนี้เมื่อจัดทํารูปเลมของการศึกษาอิสระ (3 หนวยกิต) เปนที่เรียบรอยแลว จะตองเขา สอบประมวลความรูใหผาน จึงจะถือวา จบการศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษาอยางสมบูรณ ตารางที่ 3.1 ขอแตกตางระหวางวิทยานิพนธ การศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) และการศึกษาอิสระ (3 หนวยกิต) ประเภท แผนการศึกษา จํานวนหนวยกิต การสอบเคาโครง ถาสอบเคาโครง ‘ไมผาน’ การสอบปองกัน

การจัดทําบทความและ การตีพิมพเผยแพร ผลงาน ระยะเวลาในการศึกษา

เกรดที่ไดรับ การสอบประมวลความรู

การศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) (แผน ก.) (แผน ข.) 12-15 6 สอบ สอบ ตองเปลี่ยนจากวิทยานิพนธ แกไขปรับปรุงตาม ไปเปนการศึกษาอิสระ ความเห็นของกรรมการฯ (6 หนวยกิต) มีกรรมการผูทรงคุณวุฒิ มีคณะกรรมการ ภายนอกรวมเปนกรรมการ ผูทรงคุณวุฒิเปนกรรมการ สอบ สอบ วิทยานิพนธ

ตองจัดทําบทความวิชาการ จากการทําวิทยานิพนธเพื่อ ตีพิมพเผยแพรผลงานทาง วิชาการ 1 ชิ้น ไมเกิน 5 ป นับจากภาค การศึกษาแรกที่เขาศึกษา

ไมจําเปนตองการจัดทํา บทความวิชาการจาก การศึกษาอิสระเพื่อตีพิมพ เผยแพร ไมเกิน 5 ป นับจากภาค การศึกษาแรกที่เขาศึกษา

S หรือ U

S หรือ U

จะตองสอบกอน ลงทะเบียนวิทยานิพนธ หรือไมขึ้นอยูกับเงื่อนไข ของแตละหลักสูตร

หลังจากการทํา การศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต)

การศึกษาอิสระ (3 หนวยกิต) (แผน ข.) 3 ไมสอบ แกไขปรับปรุงตาม ความเห็นของกรรมการฯ มีการประเมินในชั้นเรียน โดยคณะกรรมการซึ่ง แตงตั้งจากคณบดีบัณฑิต วิทยาลัย ไมจําเปนตองการจัดทํา บทความวิชาการจาก การศึกษาอิสระเพื่อตีพิมพ เผยแพร ภายใน 1 ภาคการศึกษา นับ จากไดรับการอนุมัติจาก อาจารยที่ปรึกษา A, B+, B, C+, C, D+, D, หรือ F หลังจากการทํา การศึกษาอิสระ (3 หนวยกิต)


บทที่ 3 การเขียนเคาโครงวิทยานิพนธ การเขียนเคาโครงวิทยานิพนธ เปนขั้นตอนสําคัญอีกขั้นตอนหนึ่งที่นักศึกษาตองกระทํา ภายหลังจากที่ไดหัวขอวิทยานิพนธแลว ความสําคัญของการเขียนเคาโครงวิทยานิพนธ นอกจาก เพื่อเสนอตอคณะกรรมการกลั่นกรองเคาโครงฯ ใหพิจารณาวาเหมาะสมหรือไม และควรแกไขหรือ ปรับปรุงอยางไรแลว ยังเปนการวางกรอบและแนวทางการศึกษาเพื่อใหบรรลุเปาหมาย มิให เบี่ยงเบนไปจากขอตกลงตามที่ไดรับความเห็นชอบจากคณะกรรมการกลั่นกรองเคาโครงดวย ดังนั้นจึงอาจกลาวไดวา ‘เคาโครงวิทยานิพนธ’ จึงเปรียบเสมือน ‘แผนงานของ วิทยานิพนธ’ ที่ระบุความเปนมาหรือมีหลักการและเหตุผลอยางไรจึงตองทําการศึกษาครั้งนี้ มี วัตถุประสงคหรือเปาหมายอยางไร หรือตองการศึกษาหาคําตอบใหกับปญหาอะไร รวมทั้งขอบเขต วิทยานิพนธอยางไร เปนตน เคาโครงวิทยานิพนธประกอบดวย 3 บท คือ บทที่ 1 บทนํา บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎี และการ ทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวของ และบทที่ 3 ระเบียบวิธีการศึกษา ซึ่งทั้ง 3 บทนี้ เปนสวนตนสวน หนึ่งของรายงานวิทยานิพนธ ในขั้นตอนการเขียนเคาโครงนี้เปนเหมือนการเขียนแผนงานวาจะ ดําเนินงานเพื่อใหบรรลุเปาหมาย หรือตอบปญหาที่ศึกษาไดอยางไร เปนแผนที่คาดวาจะลงมือ ปฏิบัติในอนาคต ยังไมไดลงมือทําหรือเก็บขอมูลจริง ดังนั้นเคาโครงวิทยานิพนธ จึงนําเสนอในมิติ ของการวางแผนวาจะลงมือกระทํางานอยางไรบาง รายละเอียดเกี่ยวกับการเขียนทั้ง 3 บท มีพอ สังเขป ดังนี้ บทที่ 1 บทนํา 1.1 ความเปนมาและความสําคัญของปญหา 1.2 วัตถุประสงคของการศึกษา 1.3 ขอบเขตของการศึกษา 1.4 คํานิยามศัพทหรือคํานิยามเชิงปฏิบัติการ (ถามี) 1.5 ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวของ 2.1 แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวของ 2.2 กรอบแนวคิดในการศึกษา 2.3 สมมติฐานในการศึกษา (ถามี)


26

บทที่ 3 ระเบียบวิธีการศึกษา 3.1 ประชากรและกลุมตัวอยาง 3.2 เครื่องมือที่ใชเก็บขอมูล 3.3 การทดสอบความแมนตรง และความเชื่อถือไดของเครื่องมือ 3.4 การเก็บรวบรวมขอมูล 3.5 การวิเคราะหขอมูล 3.6 ระยะเวลาที่ใชในการศึกษา 3.7 ขอจํากัดของการศึกษา (ถามี) ในแตละหัวขอมีคําอธิบายในรายละเอียดดังตอไปนี้


27

บทที่ 1 บทนํา 1.1 ความเปนมาและความสําคัญของปญหา ความเปนมาและความสําคัญของปญหานี้เปนสวนประกอบสําคัญสวนแรกของเคาโครง วิทยานิพนธ ซึง่ จะเปนสวนที่กําหนดแนวทางกวางๆ ทั่วไปเกี่ยวกับเรือ่ งที่จะทําการศึกษา โดย ชี้ใหเห็นถึงความสําคัญของประเด็นหรือปญหาที่เลือก คําถามเกี่ยวกับปญหา วัตถุประสงค สมมติฐาน รวมทั้งประโยชนที่พึงจะไดรับจากการศึกษา แนวทางการเขียนความเปนมาและความสําคัญของปญหา สิ่งแรกที่นักศึกษาตองกลาวถึง คือ เหตุผลที่ตนเลือกศึกษาเรื่องนั้น หรือ อีกนัยหนึ่ง ก็คือ แสดงถึงความสําคัญของเรื่องที่เลือกศึกษา นั้น โดยเฉพาะอยางยิ่งตองอธิบายใหไดวา ปญหาหรือเรื่องดังกลาว มีที่มา มีเหตุผล มีความจําเปน และมีความสําคัญอยางไร จึงควรคาแกการศึกษาหาคําตอบตอปญหานี้ การเขียนความเปนมาและความสําคัญของปญหา ในบางกรณีอาจตองกลาวถึงความเปนมา ของปญหาหรือเรื่องที่จะศึกษา บรรยายอยางยอ ถึงสภาพแวดลอม ที่เกี่ยวของ หรือ อาจตองอางถึง ผลการศึกษาวิจัยในเรื่องทํานองนีว้ า ไดผลประการใด และยังมีจุดออน ขอควรแกไข หรือ ประเด็น ที่ควรศึกษาเพิ่มเติมรวมทัง้ ศึกษาในตางเวลา หรือ ตางพื้นที่ทางภูมิศาสตร เพื่อใหไดความรูท ี่ สมบูรณยิ่งขึ้น กลาวอีกนัยหนึ่งก็คือ เปนการหาชองวาง (gap) ของเรื่องที่ศึกษา การเขียนขอความขางตนนี้สามารถเขียนได 2 ลักษณะ คือ ลักษณะหนึ่งเปนขอความใน ทางบวก กลาวคือระบุวา ปญหาหรือเรื่องที่จะศึกษานั้นมีความสําคัญอยางไร อีกลักษณะหนึ่งเปน ขอความในทางลบ กลาวคือระบุวา ถาหากไมทําการศึกษาในปญหานั้น แลวจะเกิดผลเสียอะไรบาง การที่จะเลือกเขียนขอความในลักษณะใดนั้น ไมมีกฎเกณฑหรือกติกาตายตัว แตจะขึ้นอยูกับความ สันทัดและความพอใจของผูศึกษาเอง รวมทั้งขึ้นอยูกับลักษณะของปญหาหรือเรื่องที่จะศึกษาดวย กลาวโดยสรุป ในสวนของความเปนมาและความสําคัญของปญหา เปนสวนที่บรรยายเพื่อ โนมนาวความคิดของผูอานใหคลอยตาม และเห็นความสําคัญ ความนาสนใจ และประโยชนที่ไดรับ จากการหาคําตอบของประเด็นหรือปญหาที่จะทําการศึกษาใหได


28

1.2 วัตถุประสงคของการศึกษา ลักษณะที่สําคัญของการเขียนวัตถุประสงค คือ จะตองระบุใหชัดเจนวา ในการศึกษา จะตองการบรรลุวัตถุประสงคใดบาง โดยจะตองเชื่อมโยงกับหัวขอ ความสําคัญของปญหา และ ขอบเขตของการศึกษาที่เขียนไวในตอนตน และตอบคําถามหรือปญหาในการศึกษาและสอดคลอง กับกรอบแนวคิดที่กําหนดไว การกําหนดวัตถุประสงคหรือเปาหมายของการศึกษาใหชัดเจนไวในตอนตนเชนนี้จะชวย ใหการเขียนสมมติฐาน ประโยชนที่จะไดรับ ตลอดจนการเก็บรวบรวมขอมูลเปนไปไดอยางตรง ประเด็น ในบางกรณีอาจมีการระบุเปน ‘วัตถุประสงคหลัก’ และแตกแยกเปน ‘วัตถุประสงคยอย’ เพิ่มเติม เพื่อครอบคลุมเปาหมายของการศึกษาทั้งหมด 1.3 ขอบเขตของการศึกษา เมื่อนําเสนอความสําคัญของปญหา หรือเรื่องที่จะทําการศึกษาแลว ตองระบุถึงขอบเขตของ การศึกษาตามหัวขอเรื่องหรือปญหาที่แจงไวตอนตน การกําหนดขอบเขตของการศึกษานี้เปนสิ่ง สําคัญอยางมากสําหรับการศึกษา เพราะเปนสิ่งที่ชี้ใหเห็นถึงความเปนไปไดของโครงการ วิทยานิพนธ ไดเปนอยางดี โดยทั่วไปแลวขอบเขตของการศึกษาจะกระทําใน 2 ระดับ คือระดับหนึ่งเปนขอบเขตที่ กําหนดไวในหัวเรื่องเลย อีกระดับหนึ่งเปนขอบเขตที่กําหนดในรายละเอียดของเคาโครง วิทยานิพนธ การกําหนดขอบเขตไวในหัวเรื่องอาจทําไดบางแตอาจทําไดไมสมบูรณ โดยเฉพาะใน กรณีที่มีขอบเขตหรือขอจํากัดอยูหลายประการ ตัวอยางเชน ชื่อเรื่อง “การศึกษาทัศนคติของเยาวชน ที่มีตอผูสูงอายุ : ศึกษาเฉพาะกรณีของเยาวชนในเขตกรุงเทพมหานคร” ซึ่งถาหากตองการจะ กําหนดขอบเขตใหมากกวานี้ในหัวเรื่อง ก็จะทําใหหัวเรื่องยาวมากทําใหไมเหมาะสม การที่จะ กําหนดขอบเขตของการศึกษาไวในหัวเรื่องหรือไวในเคาโครงนั้นยังขึ้นอยูกับวัตถุประสงคหรือ เปาหมายที่จะทําการศึกษาดวย กลาวคือ ถาการศึกษานั้นตองการศึกษาปญหาหรือเรื่องโดยทั่วไป เพื่อหาขอสรุปหรือพิสูจนสมมติฐานที่เปนหลักการ โดยทั่วไป กรณีเชนนี้ก็ไมควรจํากัดขอบเขตไว ในหัวเรื่องการศึกษา แตในทางตรงกันขาม หากการศึกษาประสงคจะใหไดผลเพื่อตอบคําถาม หรือ พิสจู นสมมติฐานในประเด็นที่เฉพาะเจาะจงบางอยาง กรณีเชนนี้สมควรจะใหหัวเรื่องสื่อ ความหมายในการจํากัดขอบเขตการศึกษาไวดวย


29

การกําหนดขอบเขตของการศึกษานี้ หมายรวมถึงการที่จะใหความหมายและขอคิดเกี่ยวกับ ปญหาหรือเรื่องที่จะทําการศึกษานั้น ชัดเจนเหมาะสมยิ่งขึ้น ดังนั้นขอบเขตของการศึกษาในที่นี้จึง อาจหมายรวมถึง (ก) ขอบเขตในทางวิชาการหรือทางทฤษฎี ไดแก การกําหนดขอสมมติบางประการ เพื่อใหการศึกษาเปนไปได เชน การตั้งขอสมมติฐานเกี่ยวกับคานิยมของวัยรุน ใน การศึกษาเพื่อทดสอบพฤติกรรมการบริโภคสินคาฟุมเฟอยของวัยรุน เปนตน หรือ ในการศึกษานี้ผูศึกษาสนใจที่จะนําเอาทฤษฎีใดมาใช (อาจมีหลายทฤษฎี) เปนการ เลือกทฤษฎีใดทฤษฎีหนึ่งเฉพาะ (ข) ขอบเขตในทางภูมิศาสตร ไดแก การกําหนดเลือกศึกษาเฉพาะภูมิภาค เฉพาะจังหวัด เฉพาะเขต เปนตน (ค) ขอบเขตเกี่ยวกับระยะเวลา ไดแก การเลือกศึกษาเฉพาะชวงระยะเวลาหรือกําหนด ระยะเวลา เชน ระหวาง พ.ศ. 2504 - 2544 หรือระหวางชวงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 1 – ฉบับที่ 8 เปนตน (ง) อื่นๆ เชน ขอบเขตทางกฎหมาย ขอบเขตทางประชากร กลุมตัวอยาง ขอบเขตในมิติ ตางๆ ทางสังคม เปนตน ในสวนของการกําหนดขอบเขตของการศึกษานี้ นักศึกษาควรกําหนดขอบเขตของปญหา หรือเรื่องที่จะศึกษาใหชดั เจน กระทัดรัดไดใจความ และเปนไปไดมากที่สุดเทาที่จะทําได แตก็ตอง ระวังไมใหเปนการกําหนดขอบเขตของการศึกษาจนกระทั่งไมอาจไดผลการศึกษาที่มีคุณคาที่ ชัดเจน 1.4 คํานิยามศัพทหรือคํานิยามเชิงปฏิบัติการ (ถามี) โดยปกติแลวการกําหนดคํานิยามศัพทในเคาวิทยานิพนธนั้น จะกระทําเฉพาะกรณีที่มี คําศัพทบางคําในเคาโครงเปนคําที่มิไดเปนที่เขาใจกันโดยทั่วไป เชน คําวา กระบวนทัศน ความ แปลกแยก ภาวะถดถอย เปนตน นอกจากนี้ยังรวมถึงศัพทหรือวลีที่อาจเขาใจไดหลายๆ ลักษณะ และ/หรือจะนิยามขึ้นใหมเปนการเฉพาะสําหรับวิทยานิพนธนี้เทานั้น เชน ครัวเรือน ประชากรใน วัยแรงงาน รายได เปนตน อยางไรก็ตาม นักศึกษาควรเขาใจวา โดยปกติแลวจะไมนิยมนิยามศัพทหรือวลีใดๆ ไว ใน เคาโครงวิทยานิพนธ ยกเวนเฉพาะในกรณีที่ถาหากไมนิยามไวใหชัดเจนแลว อาจมีผลใหผูอาน เขาใจผิดหรือสําคัญผิดในสาระสําคัญของเคาโครงวิทยานิพนธเทานั้น


30

นอกจากนั้น อาจเปนการนิยามตัวแปรที่ตองการศึกษาก็ได 1.5 ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ ประเด็นนี้อาจกลาวไดวา เปนประเด็นที่สําคัญมากอีกประเด็นหนึ่งในเคาโครงวิทยานิพนธ ก็ได เพราะจะเปนขอที่ใชประเมินวา วิทยานิพนธนี้มีผลทีจ่ ะนําไปใชใหเกิดประโยชนไดมากนอย เพียงใด ประโยชนที่คาดวาจะไดรับแตกตางจากวัตถุประสงคของการศึกษา กลาวคือ ในแงของ วัตถุประสงคนั้นจะระบุวา การศึกษาเรื่องนั้นๆ จะใหผลในเรื่องใดบาง ซึ่งจะตอบปญหาของ วิทยานิพนธไดวาที่เราสงสัยใครรู สนใจและทําการศึกษา จะใหผลใดๆ ปรากฎออกมาบาง แตในแง ของประโยชนที่คาดวาจะไดรับนี้จะระบุวา เมื่อทําศึกษาและไดผลดังที่คาดหมายตามวัตถุประสงค นั้นแลว จะนําผลที่ไดรับนี้ไปใชทําอะไรไดบาง หรืออาจกลาวไดวา ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ เปนสวนตอของวัตถุประสงค เมื่อไดผลการศึกษาที่บรรลุวัตถุประสงคแลว ผลลัพทนี้จะนําไปใช ประโยชนอะไรไดบาง ดังนั้นนักศึกษาจึงควรเขียนใหชัดเจนใหไดวางานที่ตนทํานั้นจะใหผลไดที่ เปนประโยชนในแงใด เพียงใด อยางไร


31

บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวของ ในบทนี้ควรจัดลําดับการเขียนเปน 3 ประเด็น คือ แนวคิดทฤษฎีและการทบทวน วรรณกรรมที่เกี่ยวของ หลักการและเหตุผลหรือกรอบแนวคิดในการศึกษา และสมมติฐานใน การศึกษา (ถามี) แตละประเด็นมีแนวทางดังนี้ 2.1 แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวของ นักศึกษาตองบรรยายถึงแนวคิด ทฤษฎี และการทบทวนวรรณกรรมตางๆ ที่เกี่ยวของกับ หัวขอวิทยานิพนธที่มีผูทําการศึกษาหรือคิดคนเอาไว ซึ่งเปนที่ยอมรับกันโดยทั่วไปแลว มีลักษณะ เปนไปในทํานองของการทบทวนวรรณกรรม หรือ วรรณกรรมปริทัศน (literature reviews) วัตถุประสงคของการทบทวนวรรณกรรมนี้เพื่อสํารวจความรู แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัย ที่เกี่ยวของวา มีคําตอบที่ผูอื่นไดเคยเผยแพรตีพิมพไวสําหรับเรื่องที่เปนปญหาของงานที่ศึกษาหรือ ยัง ซึ่งถามีคําตอบชัดเจนแลวก็ไมมีเหตุผลใดที่จะตองไปทําการศึกษาซ้ําใหเปนการเสียเวลาโดย เปลาประโยชน แตถายังไมมีคําตอบทีช่ ัดเจนในคําถามดังกลาว ก็จะเปนโอกาสอันดีทจี่ ะได ทําการศึกษาตอไป พรอมกันนี้ การทบทวนวรรณกรรมจะทําใหเขาใจในแนวคิดและทฤษฎีที่ เกี่ยวของกับคําถามที่ตองการทราบ และสงผลใหเกิดการสังเคราะหตัวแปรและเสนทาง ความสัมพันธจนพัฒนาเปนแนวคิดในการศึกษา ตลอดจนการตั้งสมมติฐานของการศึกษาอีกดวย การบรรยายในสวนนีเ้ ปนเรื่องของศิลปะของผูศ ึกษาแตละคนอยางแทจริง เพราะวิธีการ เขียนวรรณกรรมปริทัศนนั้นมีรูปแบบแตกตางกันไป และโดยปกติมักจะเขียนโดยผูกเรื่องทั้งหมด ใหเขาแนวทางที่ตองการเสียกอน แลวจึงเขียนบรรยายไปตามแนวทางนั้นโดยยกทฤษฎี แนวคิด หรือ ผลการวิจัยมาสนับสนุน ดังนั้นความสามารถในการผูกเรื่องโยงเขาหาประเด็นหลักของงานที่ จะทํา และหาทฤษฎีแนวคิดตางๆ มาสนับสนุนนั้นจึงเปนเรื่องเฉพาะตัว อยางไรก็ดี วิธีหนึ่งที่ควรจะหลีกเลี่ยง ก็คือ การเขียนโดยบรรยายถึงทฤษฎีแตละทฤษฎี แนวคิดแตละแนวคิด หรือผลงานวิจัยแตละเรื่อง เรียงตามลําดับเรื่อยไป จนในที่สุดหาความตอเนื่อง ผสมผสานกลมเกลียวไมได ปญหาที่นักศึกษามักจะพบบอยๆ คือ ไมสามารถหาแนวคิดทฤษฎีที่สอดคลองกับประเด็น ที่จะศึกษา เพราะไมมีทฤษฎีวาดวยการนั้น หรือไมเคยมีแนวคิดอยางนั้นๆ หรือไมเคยมีผูทํา


32

การศึกษาเรื่องนั้นๆ มากอนเลย อันที่จริงปญหานี้เปนเรื่องปกติธรรมดา เพราะถาหากวามีทฤษฎี หรือแนวคิดตรงกับเรื่องที่จะศึกษาอยูแนชัดแลว หรือมีผูทําการศึกษาในเรื่องนั้นๆ ไวแลว ก็ไม นาจะมีเหตุผลที่จะตองทําการศึกษาในเรื่องนั้นใหซ้ําซอนอีก นักศึกษาจึงควรเขาใจวา แนวคิด ทฤษฎี หรือผลงานวิจัยโดยตรง หากเปนเพียงสิ่งที่มีสวนเขามาสนับสนุนการวางรากฐานแนวคิดใน การศึกษาครั้งนี้ และเปนสวนที่จะกําหนดแนวความคิดของการศึกษาที่จะเขียนในลําดับถัดไปใหมี น้ําหนักขึ้น ทั้งนี้เพราะโดยปกติแลว เรามักจะไดแนวคิดที่จะทําการศึกษาในเรื่องหนึ่งมาจาก แนวคิดทฤษฎี หรือผลการวิจัยของผูอื่นที่ไดทําขึ้นไวแลวทั้งนั้น อาจมีทฤษฎีอยูแลวแตเราเห็นวา นาจะทดสอบใหม อาจมีแนวคิดอยูแลว แตเราอยากวิเคราะหใหม โดยการเปลี่ยนขอสมมติบางอยาง หรืออาจมีผลงานวิจัยอยูแลว แตเราเห็นวายังไมเหมาะสมถูกตอง เราจึงอยากจะทําการศึกษาใหม 2.2 กรอบแนวคิดในการศึกษา หลังจากศึกษาแนวคิด ทฤษฎี ทบทวนวรรณกรรม และงานวิจัยที่เกี่ยวของแลว นักศึกษา จะตองทําการสรุปประเด็นสําคัญ เพื่อนํามาผูกและสรางใหเปนกรอบแนวคิดในการศึกษา กรอบ แนวคิดนี้หากเปนการศึกษาเชิงปริมาณ ตองแสดงถึงความสัมพันธของตัวแปรตางๆ แตถาเปน การศึกษาเชิงคุณภาพ ตองแสดงประเด็นที่จะทําการศึกษาใหชัดเจนดังตัวอยางที่แสดงไวใน ภาคผนวก 2.3 สมมติฐานในการศึกษา (ถามี) สมมติฐาน หมายถึง สิ่งที่ตั้งเปนเปาหมายไวลวงหนาวา การศึกษานี้ตองการตอบคําถาม หรือพิสูจนอะไร หรือสิ่งที่คาดวาจะไดรับเมื่อเสร็จสิ้นการศึกษา งานวิทยานิพนธทุกเรื่องควรจะมี สมมติฐานที่แนชัดอยูดวย แตการตั้งสมมติฐานนั้นไมจําเปนตองตั้งเปนสมมติฐานทางสถิติเสมอไป อาจตั้งสมมติฐานเชิงบรรยายก็ได หากวิทยานิพนธนั้นเปนเชิงวิเคราะห สมมติฐานนั้นจึงอาจเปนได ทั้งสมมติฐานที่เฉพาะเจาะจง หรือ อาจตั้งเปนสมมติฐานอยางกวาง ๆ ไมเฉพาะเจาะจงก็ได การตั้งสมมติฐานนั้นจะงายถาหากขอบเขต วัตถุประสงคของการศึกษา และกรอบแนวคิด ไดตั้งไวอยางดีและเหมาะสมตั้งแตตน เพราะสมมติฐานนั้นจะตองตัง้ ขึ้นใหสอดคลองและเพื่อที่จะ ไดทําการศึกษาตรงเปาหมาย วัตถุประสงคภายใตขอบเขตและกรอบแนวคิดที่กําหนดไวเปนอยางดี


33

บทที่ 3 ระเบียบวิธีการศึกษา ในบทนี้นักศึกษาจะตองระบุใหชัดเจนวา การศึกษานี้เปนการศึกษาแบบใด กลาวคือเปน การศึกษาเชิงปริมาณ การศึกษาเชิงคุณภาพ หรือการทดลองนอกจากนี้อาจระบุในรายละเอียด เพิ่มเติมเพื่อขยายความชนิดของการศึกษาใหชัดเจนยิ่งขึ้น รวมถึงการออกแบบระเบียบวิธีใน การศึกษาในประเด็นตาง ๆ ดังตอไปนี้ 3.1 ประชากรและกลุมตัวอยาง ควรเลือกประชากรที่ใชในการศึกษาใหชัดเจน ซึ่งเปนผูใหขอมูลหรือใหผลการศึกษาที่ ถูกตองและแมนยําตรงกับคําถามของการศึกษา จึงเปนเหตุผลสําคัญวาทําไมจึงตองศึกษาประชากร กลุมนี้ อยางไรก็ตามในการศึกษาจริงอาจเลือกศึกษาในประชากรทั้งหมด หรือเลือกตัวแทนจาก ประชากร หรือ กลุมตัวอยาง เพื่อเปนผูใหขอมูลหรือผลของการศึกษาแทนประชากรทั้งหมดได ในการเลือกตัวแทนหรือกลุมตัวอยางออกมาจากประชากรมีหลากหลายวิธี ทั้งนี้จะเลือกใช วิธีใดก็ตาม ที่สําคัญคือผลของการเลือกจะตองใหไดกลุมตัวอยางที่มีปริมาณเพียงพอในการที่จะ เปนตัวแทนที่ดีของประชากร การศึกษาเชิงทําการทดลอง ควรระบุถึงรูปแบบที่ทําการศึกษาใหชัดเจนวาเปนการทําการ ทดลองเรื่องใด เพื่อศึกษาถึงปจจัยใด หรือตองการพิสูจนหรือตอบคําถามใด 3.2 เครื่องมือที่ใชเก็บขอมูล การศึกษาเชิงปริมาณ/คุณภาพ ควรระบุชนิดของเครื่องมือที่ใชในการเก็บขอมูล ตัวอยางเชน แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ แบบทดสอบ เครื่องบันทึกเสียง สมุดจดบันทึก เปนตน สําหรับแบบสอบถาม แบบสัมภาษณ และแบบทดสอบควรอธิบายถึงสวนประกอบของเนื้อหาวามีกี่ สวน มีรายละเอียดอยางไรบาง อนึ่งเนื้อหาสวนนี้ควรสอดคลองกับวัตถุประสงคและกรอบแนวคิด ของการศึกษา สวนการศึกษาเชิงการทดลองนั้นใหระบุวัตถุดิบ สารเคมีแหลงที่มาใหชัดเจน


34

3.3 การทดสอบความแมนตรง และความเชื่อถือไดของเครื่องมือ วิธีวิเคราะหผลหรือการประเมินผล ตองแสดงใหเห็นถึงวิธีการพัฒนาเครื่องมือที่ใชใน การศึกษา และการทดสอบเครื่องมือทั้งในดานความแมนตรง (validity) และความเชื่อถือได (reliability) ใหอยูในระดับที่นาพอใจกอนทําการเก็บรวบรวมขอมูลจริง หรือมีการทดสอบตาม ความแมนตรงและความนาเชื่อถือของวิธีวิเคราะหหรือการประเมินหรืออาจจะอางอิงจากวิธีที่มี ผูอื่นเคยตีพิมพเผยแพรแลว รวมทั้งตําราตางๆ 3.4 การเก็บรวบรวมขอมูล ควรระบุรายละเอียดของการเก็บขอมูลใหชัดเจนวาไดมีการเก็บขอมูลอยางไร เชน การ สัมภาษณเชิงลึก การสัมภาษณดวยตนเอง การนําแบบสอบถามใหกลุมตัวอยางตอบดวยตนเอง หรือ มีผูอนื่ ชวยเหลือ กลาวคือ เปนการอธิบายใหผูอานเขาใจชัดเจนเกี่ยวกับวิธีการเก็บ วันและเวลาที่เก็บ ลักษณะของการเก็บ สถานที่เก็บ เปนตน 3.5 การวิเคราะหขอมูล การอธิบายวิธีการวิเคราะหขอมูลในเคาโครงอาจจะกลาวอยางกวางๆ หรือโดยละเอียดก็ได ขึ้นอยูกับวานักศึกษาเองเตรียมวางแผนการลวงหนาไวอยางไร และหัวเรื่องที่ทําการศึกษานั้นเอื้อให กําหนดแนวทางไดมากนอยเพียงใด อยางนอยที่สุดในแนวทางการวิเคราะหนี้ควรระบุวาจะใช วิธีการพิสูจนสมมติฐานอยางไร ใชเทคนิคการวิเคราะหแบบใด เปนตนวา วิเคราะหโดยใชแนวคิด ทฤษฎีใด หรือวิเคราะหเชิงเสนตรง หรืออื่น ๆ นอกจากนี้ ควรจะระบุเหตุผลประกอบวาเลือกใช เทคนิคนั้นๆ เพราะเหตุใด รวมทั้งมีขอสมมติและขอจํากัดประการใดบางหรือไม อยางไรก็ดี แนวทางในการวิเคราะหดังกลาวมานี้มิไดเปนขอผูกมัดผูศ ึกษาวาในการศึกษาจริงจะตองวิเคราะห ตามแนวนี้เทานั้น เพราะเหตุวาในการศึกษาจริง อาจพบปญหาบางอยาง หรือมีเหตุการณบางอยางที่ ไมอาจวิเคราะหตามแนวทางนั้นๆ ก็เปนได และการเปลี่ยนแปลงปรับปรุงแนวทางที่เหมาะสมใน ขั้นศึกษาจริงจึงเปนไปได วิธีการวิเคราะห เชน การใชโปรแกรมสําเร็จรูปคอมพิวเตอร การใช เทคนิคหรือวิธีการเชิงปริมาณ


35

3.6 ระยะเวลาที่ใชในการศึกษา นักศึกษาตองระบุถึงสิ่งที่จะดําเนินการและระยะเวลาที่ใชในการดําเนินการ นับตั้งแตการ คนควาขอมูล ทบทวนวรรณกรรม การเตรียมเคาโครง การสรางเครื่องมือ การเก็บขอมูล เปนตน โดยปกติจะจัดทําเปนตารางหรือแผนภูมิ 3.7 ขอจํากัดของการศึกษา (ถามี) การทําวิทยานิพนธนั้นถาหากนักศึกษาพบวามีขอจํากัดก็ควรจะเขียนขอจํากัดไวดวย ทั้งนี้ เพราะการที่นักศึกษาไมเขียนถึงขอจํากัดหรือเตรียมอุดชองโหวตางๆ ไว จะทําใหเขาใจไดวา นักศึกษาไมทราบถึงปญหาอุปสรรคและรายละเอียดปลีกยอยที่ตนทําการศึกษาดีพอ หรือไมทราบ วางานของตนขาดความสมบูรณที่ใดบาง ดังนั้นการแสดงวานักศึกษาไดคิดรอบคอบถึงประเด็น ปญหาขอจํากัด และชองโหวตางๆ ใหไดมากที่สุดหรือทั้งหมด จึงเปนสิ่งที่ดีและพึงกระทําแตตอง ระวัง ไมควรเขียนถึงขอจํากัดในลักษณะที่เปนการปกปองตนเอง จนกระทั่งทําใหคุณคาของ วิทยานิพนธหมดสิ้นไปเพราะมีขอจํากัดมากจนทําอะไรไมได การนําเคาโครงการศึกษาไปเปนสวนหนึ่งของรายงานฉบับสมบูรณ อนึ่ง การจัดทําเคาโครง หรือแผนงานการศึกษา ซึ่งประกอบดวย บทที่ 1 – 3 นี้ สามารถนํา ทั้ง 3 บทนี้ไปเปนสวนแรกของรูปเลมรายงานฉบับสมบูรณ เมื่อเสร็จสิ้นการศึกษาและจัดทําตอใน บทที่ 4 ผลการศึกษา และบทที่ 5 การอภิปรายผลการศึกษา อยางไรก็ตามการนําสวนของเคาโครง ไปใชในรายงานฉบับสมบูรณจะตองปรับเนื้อหาตางๆ ใหทันสมัยทันตอเหตุการณ และเปนไปตาม ความเปนจริงของการศึกษา เพราะวาเมื่อเวลาผานไปอาจมีเนื้อหาความรูที่ทันสมัยยิ่งขึ้น และในการ ทําการศึกษาจริงอาจแตกตางคลาดเคลื่อน หรืออาจตองปรับใหเขากับสถานการณจริง ซึ่งอาจตาง จากที่เคยวางแผนไวก็เปนได


บทที่ 4 สวนประกอบของวิทยานิพนธ ในการจัดพิมพรูปเลมวิทยานิพนธ มีสวนประกอบใหญๆ แบงออกไดเปน 2 สวน คือ 4.1 สวนเนื้อหาของการศึกษา 4.2 สวนประกอบของรายงานฉบับสมบูรณ 4.1 สวนเนื้อหาของการศึกษา สวนที่เปนเนื้อหาของการศึกษาโดยตรง นิยมเรียบเรียงและแบงเปนบท (Chapter) ตามลําดับดังนี้ บทที่ 1 บทนํา บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวของ บทที่ 3 ระเบียบวิธีการศึกษา บทที่ 4 ผลการศึกษา บทที่ 5 สรุปผลการศึกษา อภิปรายผลและขอเสนอแนะ บรรณานุกรม ภาคผนวก (ถามี) ในบางกรณีการแบงเปนบทๆ อาจแตกตางไปจากนี้ ขึ้นอยูกับเนื้อหา ความเหมาะสม และ ความปรารถนาของผูศึกษา ตัวอยางเชน ผลการศึกษาในบางครั้งอาจมีเนื้อหาหลายประเด็นและมี ปริมาณมาก ซึ่งอาจแยกผลการศึกษา (บทที่ 4) ออกเปนหลายบทก็ได หรือ ผูศ ึกษาบางทานอาจแยก บทที่ 5 สรุปผลการศึกษา อภิปรายผล ขอเสนอแนะ (Conclusion, Discussion & Recommendations) ออกไปเปน 2 บท ไดแก บทที่ 5 อภิปรายผล (Discussion) และบทที่ 6 สรุปผลการศึกษาและ ขอเสนอแนะ (Conclusion & Recommendations) เปนตน ซึ่งจะขอกลาวทั้ง 7 สวน พอสังเขปดังนี้ (แสดงตัวอยางทั้งหมดไวในภาคผนวก ดานทายเลม) 4.1.1 บทนํา (Introduction) เปนชื่อของบทที่ 1 กลาวถึงความเปนมา และความสําคัญของ ปญหา วัตถุประสงค ขอบเขต คํานิยามศัพท และประโยชนทคี่ าดวาจะไดรับ


37

4.1.2 แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวของ (Literature Reviews) มักจัดใหเปนบทที่ 2 ซึ่ง เกี่ยวกับวรรณกรรมปริทัศนที่เกี่ยวของ ทฤษฎี แนวคิด งานวิจัยที่เกี่ยวของกับเรื่องที่ศึกษา 4.1.3 ระเบียบวิธีการศึกษา (Methodology) เปนบทที่บรรยายถึงวิธีการที่ใชในการศึกษาโดย ละเอียดวามีขั้นตอนในการทําอยางไรบาง แตละขั้นตอนใชเอกสารขอมูลหรือเครื่องมือประเภทใด ชนิดใด เอกสารขอมูลหรือเครื่องมือนั้นๆ ไดมาอยางไร ตลอดจนการวิเคราะหขอมูล 4.1.4 ผลการศึกษา (Results) เปนการนําผลที่ไดจากการเก็บและวิเคราะหขอมูล ซึ่งอาจ นําเสนอในรูปของการบรรยายเปนขอความ ตาราง กราฟ และแผนภูมิ โดยเนนการนําเสนอผล การศึกษาที่ชัดเจน เขาใจไดงาย 4.1.5 สรุ ป ผลการศึ ก ษา อภิ ป รายผล ข อ เสนอแนะ (Conclusion, Discussion & Recommendations) ในบทนี้จะเริ่มตนดวยการสรุปผลการศึกษาจากขอมูลที่นําเสนอในบทของผล การศึกษาเฉพาะที่สําคัญ แลวจึงอภิปรายผลที่ไดเมื่อเปรียบเทียบกับการศึกษาของผูอื่นที่เกี่ยวของ ใกลเคียงกัน และความเห็นของผูทําการศึกษาตอประเด็นเหลานี้ ตามดวยขอจํากัดของการศึกษาครั้ง นี้ (ถามี) และจะสรุปดวยขอเสนอแนะจากตัวผูที่ทําการศึกษา โดยเฉพาะสําหรับผูที่ตองการศึกษา ตอยอดในประเด็นเหลานี้ตอไป ตลอดจนประโยชนในทางประยุกตผลการศึกษาที่ได 4.1.6 บรรณานุกรม (Bibliography) ในวิทยานิพนธ หรือ การศึกษาอิสระ แตละเรื่องจะตอง มีรายการอางอิง อันไดแก แหลงขอมูลที่ใชอางอิงทั้งหมด ซึ่งประกอบดวย รายชื่อหนังสือ วารสาร ของผูแตงทั้งภาษาไทยและภาษาตางประเทศ website ตางๆ บรรณานุกรมจะอยูตอจากสวนเนื้อเรื่อง และกอนภาคผนวก (จะกลาวถึงวิธีการเขียนอางอิงและบรรณานุกรมในบทที่ 6 และ7) 4.1.7 ภาคผนวก (Appendix) คือ ขอความที่ไมสามารถบรรจุอยูในสวนเนื้อหา แตเปนสวน ที่เสริมใหเกิดความเขาใจชัดเจนขึ้น ภาคผนวกเปนขอมูลที่ใชในการเขียนวิทยานิพนธ หรือ การศึกษาอิสระ แตไมไดอางอิงโดยตรงหรือไมสมควรอางอิงในสวนเนื้อหา เพราะมีความยาวมาก หรือไมเหมาะสมแกการพิมพไวในสวนเนื้อหา หนาแรกของภาคผนวกใหขึ้นหนาใหมมีคําวา ‘ภาคผนวก’ อยูกลางหนากระดาษ ในกรณีที่ มีหลายภาคผนวกใหใชเปนผนวก ก ผนวก ข ผนวก ค แตละภาคผนวกใหขึ้นหนาใหม


38

อนึ่ง บทคัดยอ ซึ่งเปนสวนหนึ่งที่สําคัญที่สรุปผลการศึกษาทั้งหมดไวในเนื้อความ 1-2 หนา จะไมปรากฏในสวนนี้ แตนิยมจัดทําไวในสวนหนาของรูปเลมถัดจากหนาปกและหนาอนุมัติ บทที่ 1-3 อันไดแก บทนํา แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวของ และระเบียบวิธีการศึกษา จะเปนในลักษณะเดียวกันกับเคาโครงงานวิทยานิพนธ แตอาจตองปรับใหเนื้อหาทันสมัย และแสดง ระเบียบวิธีการศึกษาจริงที่ไดดําเนินการไป เพื่อใหเหมาะสมกับเปนรายงานการศึกษาทั้งหมด 4.2 สวนประกอบของรายงานฉบับสมบูรณ ในสวนนี้จะประกอบดวยทั้งสวนนําและสวนปดทายของรายงานฉบับสมบูรณ ซึ่งสวนนํา จะประกอบดวย หนาปก หนาอนุมัติ บทคัดยอ กิตติกรรมประกาศ สารบัญ สารบัญอื่น ๆ (ถามี) และ คําอธิบายสัญลักษณและคํายอ (ถามี) ซึ่งทั้ง 7 สวนนี้อยูดานหนาและเรียงตามลําดับ กอนสวนเนื้อหา ของการศึกษา และจะตอทายปดเลมดวย ประวัติผูเขียน เปนอันจบรายงานฉบับสมบูรณ ดังมี รายละเอียด ดังนี้ 4.2.1 หนาปก (Cover) หมายถึง หนาที่ระบุชื่อหัวเรื่องของวิทยานิพนธ หรือการศึกษาอิสระ ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ชื่อพรอมนามสกุลของผูเขียน และใหใชคํานําหนานาม เชน นาย นางสาว นาง และไมตองเขียนคุณวุฒิใดๆ ไวทายชื่อ เพราะรายละเอียดดังกลาวจะปรากฏอยูใน ประวัติผูเขียนอยูทายเลม แตถามียศ ฐานันดรศักดิ์ หรือสมณศักดิ์ก็ใหใสไวดวย 4.2.2 หนาอนุมัติ (Approved Page) ของวิทยานิพนธ ถาเขียนเปนภาษาไทย ใหเขียนหนา อนุมัติเปนภาษาไทย ถาเขียนวิทยานิพนธเปนภาษาอังกฤษหรือภาษาตางประเทศอื่นใด ก็ใหเขียน หนาอนุมัติเปนภาษาที่ใชเขียนวิทยานิพนธนั้น ๆ 4.2.3 บทคัดยอ (Abstract) เปนสวนที่สําคัญที่สุดสวนหนึ่งของวิทยานิพนธ เนื่องจากเปน การสรุปผลการศึกษาที่ทําใหผูอานทราบถึงเนื้อหาของวิทยานิพนธ หรืองานทั้งหมดอยางสั้นและ กระทัดรัด สวนประกอบของบทคัดยอที่สําคัญ มีดังนี้ วัตถุประสงค และขอบเขตของการศึกษา วิธี การศึกษา รวมถึงเครื่องมือที่ใช วิธีการเก็บขอมูล จํานวนและลักษณะของกลุมที่ศึกษา ผลการศึกษา รวมถึงระดับนัยสําคัญทางสถิติ (ถามีการทดสอบ) ลักษณะของบทคัดยอที่ดี ควรมีลักษณะดังนี้


39

- เปนการเขียนรอยแกวตอเนื่องกันไป หลีกเลี่ยงการใชเลขลําดับขอหรือยอหนา - ความถูกตอง โดยระบุจุดประสงคและเนื้อหาของเรื่องตามที่ปรากฏในเลม - ความสมบูรณ เชน คํายอ คําที่ไมคุนเคย ใหเขียนเต็มเมื่อกลาวถึงครั้งแรก ไมจําเปนตอง อางเอกสารอางอิง ยกตัวอยาง ยกขอความ สมการ ตาราง หรือ ภาพวาดใดๆ - การกําหนด คําสําคัญ (Key Words) ในบทคัดยอ สําหรับทําดรรชนีเพื่อการสืบคน สามารถใชพจนานุกรมราชบัณฑิตยสถาน หรือ Dictionary ซึ่งเปนที่ยอมรับกันทั่วไปเปนแนวทาง ในการสะกดคํา - ควรใชคําเฉพาะทีก่ ระชับ ชัดเจน ประโยคแตละประโยคมีความหมาย โดยเฉพาะประโยคนํา พยายามเขียนใหสั้นที่สุด - ความนาอานและราบรื่น ควรคํานึงถึงหลักการใชภาษาตามความเหมาะสม ในกรณีที่เขียน บทคัดยอเปนภาษาตางประเทศ ใหคํานึงถึงการใชกาล (Tense) ใหถูกตองตามมาตรฐานที่ใชกันใน แตละสาขาวิชา ตัวอยางเชน สมาคมจิตวิทยาอเมริกัน (APA) กําหนดไววาเมื่อกลาวถึง วัตถุประสงค สมมติฐาน วิธศี ึกษา และการทดสอบใหใชอดีตกาล (Past Tense) ในสวนทีเ่ ปน รายงานผล การศึกษา สรุป และประยุกตผลการศึกษา ใหใชปจจุบันกาล (Present Tense) ใหถูกตอง 4.2.4 กิตติกรรมประกาศ (Acknowledgements) คือ ขอความกลาวขอบคุณผูช วยเหลือและ ใหความรวมมือในการศึกษาเพื่อเขียนวิทยานิพนธ เปนการแสดงถึงจรรยาบรรณทางวิชาการที่ผศู ึกษา ควรถือปฏิบัติ 4.2.5 สารบัญ (Index) เปนรายการที่แสดงถึงสวนประกอบทั้งหมดของวิทยานิพนธ โดย เรียงตามลําดับเลขหนา 4.2.6 สารบัญอื่นๆ (Other Index-ถามี) เชน สารบัญตาราง สารบัญภาพ หรือสารบัญแผนภูมิ เปนสวนบอกเลขหนาของตาราง ภาพ หรือแผนภูมิทั้งหมดที่มีอยู 4.2.7 คําอธิบายสัญลักษณและคํายอ (Symbol & Abbreviate-ถามี) เปนสวนอธิบายถึง สัญลักษณและคํายอตางๆ ที่ใช ทั้ง 7 สวนนี้เปนสวนที่อยูดานหนา โดยเรียงลําดับจาก 4.2.1 ถึง 4.2.7 และอยูกอนสวน เนื้อหาของการศึกษาทั้งหมด (4.1.1-4.1.7) และจะตามดวยสวนปดทายหรือหนาสุดทายของรายงาน ฉบับสมบูรณ ซึ่งไดแก ประวัติผูเขียน


40

4.2.8 ประวัติผูเขียน (Biography) ประวัติผูเขียนใหเขียนเปนประเด็น โดยแยกเปนขอ ๆ ดังนี้ - ชื่อนามสกุล พรอมคํานําหนา ไดแก นาย นางสาว นาง ถามียศ ฐานันดรศักดิ์ สมณศักดิ์ หรือตําแหนงทางวิชาการ ก็ใหใสไวดวย - วัน เดือน ป และสถานที่เกิด - วุฒิการศึกษาตั้งแตขั้นปริญญาบัณฑิตหรือเทียบเทาขึ้นไป สถานศึกษา และปการศึกษาที่ สําเร็จการศึกษา - ประสบการณ ผลงานทางวิชาการ รางวัลทางวิชาการ รางวัลหรือทุนการศึกษาเฉพาะที่ สําคัญ - ตําแหนงและสถานที่ทํางานของผูเขียน


บทที่ 5 วิธีการพิมพวิทยานิพนธ เพื่อใหการพิมพวิทยานิพนธมีความเปนระเบียบและเหมาะสม ดังตอไปนีอ้ ยางเครงครัด

ควรปฏิบัติตามวิธีการ

5.1 ตัวพิมพและกระดาษที่ใชพิมพ ใหใชตัวพิมพจากคอมพิวเตอร โดยตัวอักษรเปนสีดําและเปนตัวพิมพแบบเดียวกันทั้งเลม ใชอักษร Angsana new ขนาด 16 points ยกเวนขอความที่ตองการเนน เชน หัวขอเชิงอรรถ หรือ บรรณานุกรม สําหรับกระดาษที่ใชพิมพใหใชกระดาษปอนดไมมีบรรทัดชนิด 80 แกรม ขนาด A-4 ยี่หอ อะไรก็ได โดยใหพิมพเพียงหนาเดียว การใชตัวเลขในการพิมพไมวาจะอยูในเนื้อเรื่องหรือการลําดับหนาบทหรือหัวขอก็ตาม จะ ใชตัวเลขไทยหรืออารบิกก็ได แตตองใชอยางเดียวกันโดยตลอดทั้งเลม 5.2 การเวนขอบของกระดาษและการขึ้นบรรทัดใหม หัวกระดาษตอนบนและขอบซายมือใหเวนที่วางไวประมาณ 11/2 นิ้ว ตอนลางและขอบ ขวามือเวนไวประมาณ 1 นิ้ว ถาพิมพคําสุดทายไมจบในบรรทัดนั้น ๆ ใหยกคํานั้นทั้งคําไปพิมพใน บรรทัดถัดไป หามนําสวนทายของคําไปพิมพในบรรทัดใหม เชน คําวา ปรารถนา หามแยกบรรทัด เปน ปรา-รถนา หรือ มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ หามแยกเปน มหาวิทยาลัยหัว-เฉียว เฉลิมพระเกียรติ 5.3 การเวนระยะการพิมพ การเวนระยะระหวางบรรทัดใหเวน 1 บรรทัด สวนการยอหนาใหเวนระยะจากแนวปกติ ซายมือประมาณ 1/2 นิ้ว และตองใหเหมือนกันหมดทั้งเลม และระยะการพิมพของแตละประโยค หรือ วลีใช 1 เคาะ และตองใหเหมือนกันทั้งเลม


42

5.4 การขึ้นหนาใหม ถาพิมพมาถึงบรรทัดสุดทายของหนากระดาษและจะตองขึ้นหนาใหม แตมีขอความเหลือ อีกเพียงบรรทัดเดียวก็จะจบยอหนาเดิม ใหพิมพตอไปในหนาเดิมจนจบยอหนา แลวจึงขึ้นยอหนา ใหมในหนาถัดไป แตถาจะตองขึ้นยอหนาใหมแตมีเนื้อที่เหลือใหพิมพไดอีกเพียงบรรทัดเดียวในหนานั้น ให ยกยอหนานั้นไปตั้งตนพิมพในหนาถัดไป 5.5 การลําดับหนา ในการลําดับหนาทั้งหมดอาจจะแบงออกไดเปน 5.5.1 การลําดับหนาของสวนนํา ซึ่งประกอบดวย หนาอนุมัติ (Approved Page) บทคัดยอ (Abstract) กิตติกรรมประกาศ (Acknowledgements) สารบัญ (Index) สารบัญอื่น ๆ (Other Index-ถา มี) และคําอธิบายสัญลักษณและคํายอ (Symbol & Abbreviate-ถามี) ใหใชตัวเลขในเครื่องหมายวงเล็บ (1), (2), (3), ... หรือ (๑), (๒), (๓), … โดยพิมพไวตรงกลางกระดาษหางจากขอบบนของกระดาษ 1 /2 นิ้ว 5.5.2 การลําดับหนาที่เหลือ ซึ่งไดแก สวนที่เปนเนือ้ หาของการศึกษา ซึ่งประกอบดวย บท นํา (Introduction) ทบทวนวรรณกรรม (Literature Reviews) ระเบียบวิธีการศึกษา (Method) ผล การศึกษา (Results) สรุปผลการศึกษา อภิปรายผล และขอเสนอแนะ (Conclusion, Discussion & Recommendations) บรรณานุกรม (Bibliography) และภาคผนวก (Appendix) (ถามี) รวมถึง สวนทาย ไดแก ประวัติผูเขียน (Biography) ใหพิมพตัวเลขโดยไมตองมีวงเล็บที่มุมขวาบน หางจาก ขอบบนของกระดาษ 1 นิ้ว และหางจากขอบขวา 1 นิ้ว 5.6 การพิมพบทและหัวขอในบท 5.6.1 บท เมื่อขึ้นบทใหมใหขึ้นหนาใหมทุกครั้ง และตองมีเลขลําดับบท โดยพิมพคําวา “บทที.่ .......” ไวที่กลางหนากระดาษหางจากขอบบน 11/2 นิ้ว บรรทัดตอมาใหพิมพชื่อบทไวที่กลาง หนากระดาษเชนเดียวกัน โดยใหเวนระยะหางจากบทที่ ...... 2 บรรทัด


43

ถาชื่อบทนั้นยาวเกินกวา 1 บรรทัด หรือ มากกวา 48 ตัวอักษร ใหแบงเปน 2-3 บรรทัดตาม ความเหมาะสม โดยใหพิมพเรียงลงมาในลักษณะของสามเหลี่ยมหัวกลับ ไมตองขีดเสนใตชื่อบท แตใหใช ตัวเนนขอความ หรือ ตัวเขม (bold) ตอจากนั้นจึงจะเริ่มพิมพเนื้อเรื่องตอไปหางจากชื่อบท 2 บรรทัด 5.6.2 หัวขอใหญและหัวขอยอย การพิมพหัวขอใหญ หมายถึง หัวขอสําคัญในแตละบทให ใชตัวเนนขอความ หรือ ตัวเขม (bold)โดยพิมพไวกลางหนากระดาษ ถาหัวขอใหญนั้นไมไดอยู บนสุดของกระดาษใหเวนระยะ 1 บรรทัดกอนและจึงคอยขึ้นหัวขอใหญ แตถาหากขึ้นหัวขอใหญ แลวมีที่วางสําหรับพิมพ เนื้อเรื่องไดไมมากกวา 1 บรรทัด ก็ใหยกหัวขอนั้นไปอยูในหนาถัดไป ถาในหัวขอใหญยังมีหัวขอยอยอีก ใหพิมพหัวขอยอยดังกลาวไวที่ยอหนาใหม โดยเวน ระยะพอสมควร และหากมีหัวขอยอยลงไปอีกก็ใหขึ้นบรรทัดใหมเวนระยะใหเยื้องกับหัวขอใหญ ลําดับกอนหนานั้น โดยใชหลักเกณฑของการใหเลขกํากับ 5.6.3 การใหเลขกํากับ การใหเลขกํากับหัวขอในแตละบทใหเริ่มจากหมายเลข 1, 2, 3, … ตามลําดับในหัวขอใหญ และหัวขอยอยที่อยูภายใตหัวขอใหญที่ 1 ใหเปน 1.1, 1.2, 1.3 ... และหาก ยังมีหัวขอยอยในขอ 1.1 อีกก็ใหเปน 1.1.1, 1.1.2, 1.1.3 … (หากเกินกวา 3 ตัวเลขขึ้นไป ควรใช 1) หรือ (1) แทน) 5.7 การพิมพตาราง การพิมพตาราง ใหพิมพคําวา ตารางพรอมทั้งเลขกํากับ เชน ตารางที่ 1.1 หรือ ตารางที่ 1 ไวตรงกลาง หางจากขอบซายและขอบขวาเทากัน และหางจากขอความตอนบนกอนขึ้นตาราง 2 บรรทัดในบรรทัดตอมาถัดจากชื่อตารางใหเวน 1 บรรทัด ถาหากชื่อ ตารางยาวเกินกวา 1 บรรทัด ใหพิมพบรรทัดตอมาในลักษณะของสามเหลี่ยมหัวกลับเชนเดียวกันกับชื่อบท ในกรณีที่ตารางมีความยาวเกินกวาหนึ่งหนา ตองระบุ “ตารางที่ X (ตอ)” ไวที่ดานบนของ ตารางสวนที่เกินและขึ้นหนาใหมเสมอ โดยไมตองระบุชื่อตาราง เมื่อจบตารางใหเวน 2 บรรทัดแลวจึงพิมพขอความตอไป


44

5.8 แหลงอางอิงและเชิงอรรถของตาราง ใหลงแหลงอางอิงที่ใตตาราง โดยพิมพไวใตตารางหางจากตาราง 1 บรรทัด ในกรณีที่มี เชิงอรรถหรือมีหมายเหตุสําหรับตารางนั้น ใหพิมพหมายเหตุถัดจากแหลงอางอิงลงมา โดยเวน 1 บรรทัด เมื่อจบเชิงอรรถใหเวน 2 บรรทัดแลวจึงพิมพขอความตอไป ขนาดของตารางไมควรใหญเกินกวาหนากระดาษเวนแตจําเปน ถาตารางใหญเกินกวาครึ่ง หนาและตองพิมพแยกในอีกหนาหนึ่งตางหาก ใหพิมพชื่อตารางและแหลงอางอิงตางๆ โดยจัดให ทั้งหมดอยูกลางหนากระดาษ ในเนื้อเรื่องหากมีการอางอิงถึงตารางใด ก็ใหอางถึงเลขกํากับตารางนั้นดวยทุกครั้ง 5.9 การพิมพบรรณานุกรม ใหพิมพคําวา บรรณานุกรม ไวตรงกลางบรรทัดบนสุดของหนาแรกของบรรณานุกรม โดยพิมพหางจากขอบบน 11/2 นิ้ว ตอจากนั้นใหเวน 2 บรรทัด แลวพิมพรายละเอียดของ บรรณานุกรม โดยแยกตามประเภทของเอกสารดังนี้ ก. หนังสือ ข. บทความ (ในวารสารหรือหนังสือ) ค. เอกสารอื่นๆ (วิทยานิพนธ จุลสาร เอกสารอัดสําเนาตาง ๆ) ง. การสัมภาษณ จ. สิ่งพิมพ อิเล็กทรอนิกส ฉ. โสตทัศนวัสดุ ใหพิมพเอกสารแตละประเภท โดยแยกตามประเภทดังกลาวขางตน ในกรณีที่มีเอกสารจํานวนไมมาก จะใชวิธีเรียงตามลําดับตัวอักษรของชื่อผูแตงหรือชื่อ เรื่อง โดยไมแยกประเภทของเอกสารก็ได และหากเอกสารภาษาตางประเทศดวย ใหพิมพแยก ตางหากจากภาษาไทยโดยใหถือหลักการเดียวกับเอกสารภาษาไทย 5.10 ภาคผนวก หนาแรกของภาคผนวกใหขึ้นหนาใหมมีคําวา ภาคผนวกอยูกลางหนากระดาษ และให ลําดับเลขหนาตอเนื่องกันไป หนาถัดไปใหพิมพคําวา ภาคผนวก ก ไวตรงกลางของบรรทัดบนสุด


45

หางจากบน 11/2 นิ้ว บรรทัดตอมาใหพิมพชื่อภาคผนวกโดยเวนจากบรรทัดบน 2 บรรทัด ถาชื่อยาว เกิน 1 บรรทัด ใหปฏิบัติเชนเดียวกับการพิมพชื่อบท (พิมพเรียงกันลงมาในลักษณะของสามเหลี่ยม หัวกลับ) ตอจากชื่อภาคผนวกใหเวน 2 บรรทัดพิมพแลวจึงพิมพขอความตอไป ถามีหลายภาคผนวก ใหขึ้นหนาใหมทุกภาคผนวก โดยใหเรียงตามลําดับอักษร ภาคผนวก ก ภาคผนวก ข ภาคผนวก ค เรื่อยไป


บทที่ 6 วิธีการอางอิง การเขียนรายงานในระดับบัณฑิตศึกษาไมวาจะเปนวิทยานิพนธ หรือ การศึกษาอิสระ โดย ปกติแลวจะตองใชขอมูลทางวิชาการ ตลอดจนแนวความคิด ทฤษฎีจากแหลงขอมูลตาง ๆ ทั้ง ภายในและภายนอกที่เปนของผูอื่น โดยมีวัตถุประสงคเพื่อใชประกอบ หรือ สนับสนุนการเขียน รายงานการศึกษานั้นใหมีความนาเชื่อถือมากยิ่งขึ้น จึงตองมีรูปแบบการพิมพที่เปนแบบแผนในการ เขียนอางอิง หรือ การเชิงอรรถ อันเปนการแสดงใหเห็นวาไดมีการศึกษาคนควา สรุป วิเคราะห สังเคราะห โดยมีหลักฐานแสดงแหลงที่มาของขอมูล โดยทําใหเปนไปตามหลักเกณฑในการเขียน หรือพิมพไดอยางถูกตอง นอกจากการระบุถึงแหลงที่มาของขอมูลแลว การอางอิงยังจะชวยให ผูอานไดทราบถึงแหลงที่มาตาง ๆ และสามารถตรวจสอบหลักฐานเดิม เพื่อศึกษาคนควาเพิ่มเติม อีกทั้งยังเปนการใหเกียรติกับเจาของผลงานเดิม นับเปนมารยาทที่ดีที่ควรกระทํา และเปนผูที่มี จรรยาบรรณอีกดวย 6.1 การอางอิงและประเภทการอางอิง 6.1.1 การอางอิง (Citation) เปนการบันทึกที่มาของแหลงขอมูล หรือขอความที่ยกมากลาว อาง โดยการสรุปความ ถอดความ หรือ คัดลอกความ รวมทั้งขอเท็จจริงตาง ๆ เชน ตัวเลข สถิติ รูปภาพ แผนภูมิ เปนตน ที่ไดนํามาจากแหลงขอมูลตาง ๆ เพื่อใชประกอบและ/หรือสนับสนุน วิทยานิพนธ หรือ การศึกษาอิสระ 6.1.2 ประเภทของการอางอิง การอางอิงในวิทยานิพนธและการศึกษาอิสระที่เปนที่สากลนิยมมี 2 ประเภทใหญ ๆ คือ 1) การอางอิงแทรกในเนื้อหา เปนการอางอิงแหลงที่มาเกี่ยวกับแหลงสารสนเทศ หรือ ทรัพยากรสารสนเทศที่ใชในการอางอิงแทรกหรือปนไปกับเนื้อหา ที่เรียกวา นาม-ป (Name-Year) 2) การอางอิงแยกจากเนื้อหา เปนการอางอิงที่ระบุแหลงที่มาเกี่ยวกับแหลงสารสนเทศ หรือ ทรัพยากรสารสนเทศที่ใชในการอางอิง การอธิบายขยายความเนื้อหาซึ่งไมสามารถแทรกในเนื้อหา ได หรือ โยงไปยังบทหรือหนาอื่น ๆ การอางอิงแบบนี้มักอยูตอนลางของหนา ที่เรียกวา เชิงอรรถ (footnote)


47

6.2 การอางอิงนาม-ป การอางอิงแบบนาม-ป เปนการอางอิงแหลงที่มาของเนื้อหา ทฤษฎี แนวคิด หรือ คัดลอก ขอความบางสวนมาโดยตรง โดยเขียนหรือพิมพแหลงที่มาอยูในเครื่องหมายวงเล็บ ( ) แทรกอยู กอนหรือตอจากเนื้อหาที่มีการนําเอาขอมูลนั้นมาอางอิง ปจจุบันการอางอิงดวยวิธีนี้ไดรับความสนใจและเปนที่นิยมกันมากที่สุด เพราะงายตอการ เขียนหรือพิมพ สะดวก และประหยัด แตขอเสีย คือ ผูอานจะเกิดความรําคาญที่ตองสะดุดเปนชวง ๆ เนื่องจากมีการอางอิงแทรกเปนระยะ ๆ และผูอานไมทราบรายละเอียดในทันที ตองเสียเวลาเปดไป ดูหนาบรรณานุกรม 6.2.1 ตําแหนงการพิมพอางอิงแบบนาม-ป การอางอิงแบบนาม-ปอาจขึ้นตนขอความ หรือตอนทายขอความก็ไดแลวแตความเหมาะสม โดยยึดหลักเกณฑดังตอไปนี้ (1) สรุปเนื้อหาหรือแนวคิด ผลงานวิจัยเรื่องความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ตรวจคนเขาเมือง ฝายตรวจ ยานพาหนะทางอากาศ ทาอากาศยานกรุงเทพ พบวา ความพึงพอใจโดยสวนรวมอยูในเกณฑ ปานกลาง (จํากัด จูสนิท. 2535) (2) อางชื่อผูแตงกอนสรุปเนื้อหาหรือแนวคิด จากงานวิจัยของ จํากัด จูสนิท (2535) ในเรื่องความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ ตรวจคนเขาเมือง ฝายตรวจยานพาหนะทางอากาศ ทาอากาศยานกรุงเทพ พบวา ความพึงพอใจ โดยสวนรวมอยูในเกณฑปานกลาง (3) คัดลอกเนื้อหาหรือแนวคิด ปจจุบันระบบการศึกษาไดเปลี่ยนจากการสอนแบบบรรยาย โดยใหนักเรียนจดจําและ ทองจํามาเนนหนักในทางทีจ่ ะสงเสริมใหนักเรียนรูจักศึกษาคนควาดวยตนเอง (นวนิตย อินทรามะ. 2542 : 17-18)


48

(4) อางชื่อผูแตงกอนเนื้อหาหรือแนวคิดที่คัดลอกมา นวนิตย อินทรามะ (2542 : 17-18) กลาววาในปจจุบันระบบการศึกษาไดเปลี่ยนจาก การสอนแบบบรรยาย โดยใหนักเรียนจดจําและทองจํามาเนนหนักในทางที่จะสงเสริมให นักเรียนรูจักศึกษาคนควาดวยตนเอง

(5) ถาสรุปประเด็นหรือเนื้อหา ใหระบุแตเพียงชื่อผูแตง และปพ.ศ. โดยไมตองระบุ หมายเลขหนา 6.2.2 รูปแบบการอางอิงแบบนาม-ป การอางอิงแบบนี้แตกตางกันออกไปตามประเภทของแหลงขอมูลที่นํามาใช อันไดแก 1. หนังสือ สิ่งพิมพที่จัดทําเปนเลม ไดแก หนังสือตําราวิชาการ หนังสือความรูทั่วไป หนังสืออางอิง วิทยานิพนธ รายงานการวิจัย เอกสารการประชุมสัมมนา รายงานประจําป หนังสือ แปล ฯลฯ โดยทั่วไปมีรูปแบบ องคประกอบ และการพิมพ ดังนี้ (ผูแตง.//ปที่พิมพ/:/เลขหนาที่ใชในการอางอิง) หมายเหตุ : 1) เครื่องหมาย “/” หมายถึง การเวน 1 ระยะ หรือ 1 เคาะ 2) ระหวางชื่อและนามสกุล เวน 1 เคาะ 1) ผูแตง หมายถึง บุคคลที่เปนผูผ ลิต ผูใหขอมูล ผูรับผิดชอบ ผูแปล ผูใหสัมภาษณ รวมทั้ง หนวยงานของราชการ หรือ นิติบุคคล ซึ่งมักปรากฏอยูในหนาปก หรือ หนาปกใน 1.1) ผูแตงคนเดียว ชาวไทย พิมพชื่อและนามสกุลตามปกติ ถึงแมวาจะเขียนเปน ภาษาตางประเทศก็ตาม เพราะถือวาเปนที่ยอมรับกันแลววาในประเทศไทยใชเชนนี้ สวนคํานําหนา นาม (นาย นางสาว นาง) คํานําหนาทางวิชาการ (ศาสตราจารย รองศาสตราจารย ผูชวย ศาสตราจารย) คํานําหนาวิชาชีพ (นายแพทย แพทยหญิง เภสัชกร นายสัตวแพทย ทันตแพทย ฯลฯ) ยศทหาร/ตํารวจ (รอยเอก พันโท พันตรี ฯลฯ) ไมตองพิมพคํานําหนานาม คํานําหนาทางวิชาการ คํา นําหนาวิชาชีพ และยศทหารตํารวจ เชน (ยืน ภูวรวรรณ. 2548 : 20)


49

(เปรม ติณสูลานนท. 2545 : 50) (Ma-Yuree Nokyoongthong. 1977 : 25-28) สําหรับผูที่มีคํานําหนานามเนื่องจากลําดับชั้นทางพระราชวงศ สมณศักดิ์ บรรดาศักดิ์ และ ฐานะสตรีที่ไดรับเครื่องราชอิสริยาภรณชั้นสูง ใหพิมพคําหนานามกอนชื่อตามปกติ ดังนี้ (สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี. 2547 : 55) (ม.ร.ว. ถนัดศรี สวัสดิวัฒน. 2545 : 60) (พระยาอนุมานราชธน. 2497 : 20-25) (พระราชวรมุน.ี 2546 : 18-19) (คุณหญิงพรทิพย โรจนสุนันท. 2546 : 46) 1.2) ผูแตงคนเดียว หลายเรื่อง ปพิมพเดียวกัน เมื่อนํามาอางอิงไมพรอมกัน ใหเพิ่ม ตัวอักษร ก ข ค ง... ตามลําดับ สําหรับภาษาไทย สวนภาษาตางประเทศใหใชตัวอักษรพิมพเล็ก a b c d…ตามลําดับ โดยพิมพไวหลังปที่พิมพ ดังนี้ (เจาพระยาทิพากรวงศ. 2540ก : 127-128) (เจาพระยาทิพากรวงศ. 2540ข : 137-140) (Nirdgren. 1992a : 364-472) (Nirdgren. 1992b : 36-47) 1.3) ผูแตงคนเดียว หลายเรื่อง ปพิมพตางกัน เมื่อนํามาอางอิงพรอมกัน ใหพิมพชื่อผูแตง ครั้งแรก ปที่พิมพ และเลขหนาที่อางอิง คั่นดวยเครื่องหมายอัฒภาค (;) ตามดวยปที่พิมพ และเลข หนาที่อางอิงของรายการถัดไปจนครบ เชน (เจาพระยาทิพากรวงศ. 2540 : 127-128 ; 2543 : 137-140) (Nirdgren. 1992 : 364-472 ; 2000 : 36-47 ; 2003 : 19) 1.4) ผูแตงชาวตางประเทศ ซึ่งเปนชาวตะวันตกหรือชาติที่นิยมเรียกชื่อสกุลเปนทางการ ใหพิมพเฉพาะชื่อสกุลเทานั้น เชน (เชลดอน. 2549 : 15) (Smith. 1999 : 61) ถาผูแตงชาวตางประเทศที่มีชื่อสกุลเหมือนกัน (ชือ่ สกุลซ้ํากัน) ใหพิมพชื่อตน อักษรยอ ชื่อกลาง (ถามี) เพื่อปองกันการสับสนวาขอมูลนั้นเปนของผูใด เชน (John M. Smith. 1999 : 20) (Adam J. Smith. 1999 : 20)


50

1.5) ผูแตง 2 คน ใหระบุชื่อผูแตงคนแรก เชื่อมดวยคําวา “และ” หรือ “and” เวน 1 ระยะ กอนและหลังคําดังกลาว ตามดวยชื่อผูแตงคนที่ 2 เชน (มานิจ ประเสริฐสุวรรณ และ สุพัตรา สุภาพ. 2548 : 55) (Kennedy and Rywin. 2002 : 25-29) 1.6) ผูแตง 3 คน ใหระบุชื่อผูแตงคนที่ 1 คั่นดวยเครื่องหมายจุลภาค (,) เวน 1 ระยะตาม ดวยชือ่ ผูแตงคนที่ 2 เชื่อมดวยคําวา “และ” หรือ “and” เวน 1 ระยะกอนและหลังคําดังกลาว ตาม ดวยชื่อผูแตงคนที่ 3 (วัลลภ สวัสดิวัลลภ, สุเวช ณ หนองคาย และ นารีรัตน เทียมเมือง. 2540 : 40-41) (Kahn, Kennedy and Starski. 1999 : 16) 1.7) ผูแตงมากกวา 3 คน ใหระบุชื่อผูแตงคนแรกตามดวยคําวา “และคณะ” หรือ “และ คนอื่น ๆ” สวนภาษาตางประเทศ “and others” หรือ “et al” (et alli) (วัลลภ สวัสดิวัลลภ และคณะ. 2545 : 47) (Molen and Others. 2000 : 40) 1.8) นามแฝง หรือนามปากกา ใหระบุตามที่ปรากฏ เชน (ส. ศิวรักษ. 2545 : 56) (น ณ ปากน้ํา. 2548 : 66-69) 1.9) ผูแตงที่เปนหนวยงาน หรือนิติบุคคล ใหระบุชื่อหนวยงาน หรือ นิติบุคคล หาก แหลงที่มานั้นมีหนวยงานใหญและหนวยงานยอย ใหระบุหนวยงานใหญกอน เวน 2 ระยะ แลวตาม ดวยหนวยงานยอย เชน (กระทรวงสาธารณสุข. 2552 : 25) (มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ บัณฑิตวิทยาลัย. 2544 : 28-29) 2) ปที่พิมพ หมายถึง ปที่ผลิต ปที่สรางหรือเผยแพร ใหระบุเฉพาะเลขป พ.ศ. หรือ ป ค.ศ. หรือ ปที่จดลิขสิทธิ์ หรือ ระบุอักษรยอวา “ม.ป.ป.” (ไมปรากฏปที่พิมพ) หรือ “n.d.” (no date) สวน ที่มีการระบุเดือนปที่พิมพ ใหพิมพชื่อเดือนเต็ม สําหรับที่มีการระบุ “วันเดือนปที่พิมพ วันเดือนปที่ ทําการสัมภาษณ” ใหพิมพวันเดือนปตามลําดับ เชน (นาย ต. 11-17 มกราคม 2548 : 24) 3) เลขหนาที่ใชในการอางอิง ใหระบุเฉพาะหมายเลขหนาที่ใชในการอางอิง โดยมี เครื่องหมายจุดคู (:) คั่น เวน 1 ระยะ กอนและหลังเครื่องหมายดังกลาว


51

2. หนังสือที่ไมปรากฏผูแตง ใหระบุชื่อเรื่องแทนผูแตง โดยพิมพชื่อเรื่องดวยตัวหนา (ชื่อเรื่อง.//ปที่พิมพ/:/เลขหนาที่ใชในการอางอิง) (อลังการแผนดินวัฒนธรรม. 2543 : 132) (เอกสารประกอบการเรียนวิชาสารนิเทศกับการศึกษาคนควา. 2538 : 194) 3. บทความในวารสารหรือหนังสือพิมพ ใหพิมพชื่อบทความในเครื่องหมายอัญประกาศ (“ชื่อบทความ”//(วัน)เดือนปที่พิมพ/:/เลขหนาที่ใชในการอางอิง) (“Y2K กับผลกระทบตอซอฟตแวรคอมพิวเตอร” ธันวาคม 2541 : 20-32) 4. พาดหัวขาวหรือหัวขอขาวหนังสือพิมพ ใหพิมพพาดหัวขาวหรือหัวขอขาวใน เครื่องหมายอัญประกาศ (“พาดหัวขาวหรือหัวขอขาว”//วันเดือนปที่พิมพ/:/เลขหนาที่ใชในการอางอิง) (“เชื่อมทุกขอมูลดวย Metadata ศักยภาพใหมที่นาจับตามอง” 27 พฤษภาคม-2 มิถุนายน 2545 : 17, 18) 5. การสัมภาษณ ระบุชื่อผูใหสัมภาษณ วันเดือนปที่ทําการสัมภาษณ และคําวาสัมภาษณ (ชื่อผูใหสัมภาษณ.//วันเดือนปที่ทําการสัมภาษณ/:/สัมภาษณ) (พรรณศิริ แจมอรุณ. 20 เมษายน 2553 : สัมภาษณ) 6. วัสดุไมตีพิมพ ไดแก แถบบันทึกเสียง (tape cassette) แผนที่ (map) ไมโครฟลม (microfilm) ไมโครฟช (microfich) แถบวิดีทศั น (video tape cassette) ซีดี (CD=compact disc) วี


52

ซีดี (VCD=video compact disc) ภาพนิ่ง (slide) ภาพเลื่อน (filmstrip) ฯลฯ ใหระบุชื่อผูผลิต ปที่ ผลิต และประเภทของวัสดุ (ผูผลิต.//ปที่ผลิต/:/ประเภทวัสดุไมตีพิมพ) (สิปปนนท เกตุทัต. 2536 : แถบบันทึกเสียง) (แผนที่กรุงเทพมหานคร. 2523 : แผนที)่ (“นิทานโบราณวาดวยราชสีหกับชาง” กรกฎาคม 2417 : ไมโครฟลม) (หนอนพยาธิในประเทศไทย. 2518 : ภาพยนตร) (Collins Cobuild on CD-ROM. n.d. : CD) (Burke. January-February 1992 : CD-ROM) 7. อินเทอรเน็ต (Internet) และฐานขอมูลอิเล็กทรอนิกสออนไลน (ผูผลิต.//ปที่ผลิตหรือปที่เผยแพร)/:/ออนไลน) (ปรันยา ม.ป.ป. : ออนไลน) (James. 1992 : Online) (Norstrom Personal Touch America. 1998 : Online) หมายเหตุ: ถาเปนชื่อหนวยงาน เชน (กระทรวงพาณิชย. 2553: Online) 8. แหลงสารสนเทศทุติยภูมิ ใหระบุแหลงอางอิงปฐมภูมิกอน ตามดวยคําวา “อางถึงใน” หรือ “Cited in” เวน 2 ระยะ ตามดวยแหลงสารสนเทศทุติยภูมิ (ผูแตง.//ปที่พิมพ/:/เลขหนาที่ใชในการอางอิง//อางถึงใน//ผูแตง.//ปที่พิมพ/:/ เลขหนาที่ใชในการอางอิง) (ประภาศรี สีหอําไพ. 2535 : 164 อางถึงใน เสถียร โพธินันทะ. 2496 : 27)


53

6.3 เชิงอรรถ เชิงอรรถ (Footnote) เปนการอธิบายขอความที่นอกเหนือจากเนื้อหา หรือ อธิบายขอความ บางตอน เพื่อใหเกิดความเขาใจแจมแจงและนาเชื่อถือมากยิ่งขึน้ หรือ รายละเอียดเพิ่มเติมขอความ บางแหงในวิทยานิพนธ หรื อการศึกษาอิสระ โดยนํามาเขียนหรือพิมพไวที่สวนลางของหนา 6.3.1 ประเภทของเชิงอรรถ เชิงอรรถแบงออกเปน 2 ชนิด คือ 1. เชิงอรรถขยายความหรือเสริมความ (Content Footnote) เปนเชิงอรรถที่อธิบายคํา ความหมาย หรือ อธิบายขยายความเพิ่มเติม ทําใหผูอานเขาใจเนื้อหาไดมากยิ่งขึ้น

พวกแขกอินเดียเขามาทํามาหากินในเมืองไทยมากในรัชกาลนี้ ตามที่ปรากฏใน หนังสือพิมพบางกอกกาเลนเดอร ใน พ.ศ. 2405 พอคาแขกรวมกลุมกับอยูที่ตึกขาว และตึกแดง2 ริมแมน้ําเจาพระยาฝงตะวันตกใกลกับตลาดสมเด็จเจาพระยาวังนอย ทั้งตึกขาวและตึกแดงมีโรงเก็บสินคา… ---------------------------------------2 บริเวณที่เรียกวาตึกขาวตึกแดงคือที่ในบริเวณถนนทาดินแดงในปจจุบันเยื้องกับ ทาน้ําราชวงศ

2. เชิงอรรถโยง (Cross-reference Footnote) เปนเชิงอรรถที่ชี้แนะหรือโยงใหผูอานหา รายละเอียดเพิ่มเติมจากสวนอื่นหรือหนาอื่นที่เขียนไว เพื่อลดความซ้ําซอนหรือไมตองกลาวซ้ําอีก

2.6 สามารถใชรหัสในเขตขอมูลที่มีคาคงที3่ เพื่อการจํากัดการคน เพื่อเก็บสถิติเพื่อสราง แฟมขอมูลเฉพาะกิจและอื่นๆ --------------------------------------3 ดูคําอธิบายเขตขอมูลที่มีคาคงที่ในหนา 28


54

6.3.2 หลักการเขียนหรือพิมพเชิงอรรถ 1) แยกเนื้อหากับเชิงอรรถใหอยูคนละสวนโดยขีดเสนคั่นขวางจากขอบซายประมาณครึ่ง หนา และหางจากบรรทัดสุดทายของเนื้อหา 2 บรรทัด เชิงอรรถหางจากเสนขวางนี้ 1 บรรทัด 2) เวนระยะหางจากขอบซายมือ 1 แทป (1 Tab) ตามดวยเครื่องหมาย ประจําเชิงอรรถนั้นๆ โดยยกระดับสูงครึ่งบรรทัดเหนือตัวอักษร เครื่องหมายประจําในเชิงอรรถกับเนื้อหาตองตรงกัน 3) การพิมพเชิงอรรถแตละรายการใหพิมพบรรทัดตามปกติ และควรใหอยูในหนาเดียวกับ เนื้อหานั้น ไมใหเขียนหรือพิมพตอในหนาถัดไป สําหรับเชิงอรรถที่มีมากกวาหนึ่งบรรทัด บรรทัด ถัดมาใหพิมพชิดซายโดยไมตองเวนวรรค 4) เชิงอรรถที่มีมากกวา 1 รายการ แตละรายการใหพิมพบรรทัดหางกันตามปกติ 5) หากเนื้อหาไมเต็มหนา ใหพิมพเชิงอรรถในสวนลางของหนากระดาษ 6) เชิงอรรถทั้งหมดตองนําไปทํารายการอางอิง 6.3.3 รูปแบบการลงรายการเชิงอรรถ 1) หนังสือ หมายเลข

ผูแตง.//(ปที่พิมพ)//ชื่อเรื่อง.//หนา/เลขหนาที่ใชในการอางอิง.

1

กีรติ บุญเจือ. (2528) ตรรกวิทยาทั่วไป. หนา 22. 2 หลวงวิจิตรวาทการ. (2529) มันสมอง. หนา 78-80. 3 พุทธทาสภิกขุ. (2528) สมถวิลปสนาสําหรับยุคปรมาณู. หนา 60. 4 John Rex. (1980) Key Problems of Sociological Theory. p 80. 5 สมาคมหองสมุดแหงประเทศไทย. (2538) ทําเนียบนามหองสมุดเฉพาะใน ประเทศไทย. หนา 3-9. 2) หนังสือแปล หมายเลข

ผูแตง.//(ปที่พิมพ)//ชื่อเรื่อง.//แปลโดย//ชื่อผูแปล.//หนา/เลขหนาที่ใชในการ

อางอิง. 1

ลารี่ ลอง และ แนนซี่ ลอง. (2543) เทคโนโลยีคอมพิวเตอรและสารสนเทศ. แปลโดย ลานนา ดวงสิงห. หนา 3.


55 2

เดือน บุนนาค, ผูแปล. (2543) เศรษฐศาสตร. หนา 3. 3) หนังสือที่ไมปรากฏผูแตง หมายเลข

ชื่อเรื่อง.//(ปที่พิมพ)//หนา/เลขหนาที่ใชในการอางอิง.

1

เอกสารประกอบการเรียนวิชาสารนิเทศกับการศึกษาคนควา. (2538) หนา 194. 4) หนังสือที่รวบรวมบทความ หมายเลข

ผูแตง.//(ปที่พิมพ)//”ชื่อบทความหรือชื่อตอนหรือชื่อบท”//ใน// ชื่อเรื่อง.//หนา/เลขหนาที่ใชในการอางอิง. 1

วัลลภ สวัสดิวัลลภ. (2540) “การเขียนรายงานและภาคนิพนธ” ใน สารนิเทศเพื่อการศึกษาคนควา. หนา 135. 2 Fred J. Tichner. (1981) “Apprenticeship and Employee Training” in The New Encyclopedia Britannica, Macropedia v. 1. p 1018-1023. 5) บทความวารสาร หมายเลข

ผูแตง.//(เดือนปที่พิมพ)//”ชื่อบทความ”//ชื่อวารสาร.//ปที่หรือเลมที/่ (ฉบับที่)/ หนา/เลขหนาที่ใชในการอางอิง. 1

มณฑล พจนพรวัฒนา. (กุมภาพันธ 2545) “จับตา Mobile Banding” Internet Magzaine. 7 (2) หนา 20. 2 Kirk Doran. (January 1996) “Unified Disparity : Theory and Practice of Union Listing” Computer in Libraries. 16 (1) p 39. 6) หนังสือพิมพ หมายเลข

ผูแตง.//(วันเดือนปที่พิมพ)//”หัวขอขาวหรือหัวขอในคอลัมน หรือชื่อบทความ”//ชื่อหนังสือพิมพ.//หนา/เลขหนาที่ใชในการอางอิง.


56 1

พิชัย ทองดีเลิศ. (27 พฤษภาคม-2 มิถุนายน 2545) “การทําธุรกรรมทางการ เรียนยุค IT” Telecom Journal. หนา 20. 2 D. Goldman. (21 May 1985) “New Focus on Multiple Personality” New York Time. p 22. 7) การสัมภาษณ หมายเลข

ชื่อผูใหสัมภาษณ//เปนผูใหสัมภาษณ//ชื่อผูสัมภาษณ//เปน ผูสัมภาษณ//ที… ่ (สถานที่ทําการสัมภาษณ)//เมื่อ…(วันเดือนปที่ทําการสัมภาษณ) 1

ฤทธิชัย เตชะมหัทธนันท เปนผูใหสัมภาษณ สุรชัย พิชญพิสิฐานนท เปนผู สัมภาษณ ที่คณะศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ เมื่อวันที่ 20 พฤษภาคม 2549. 8) วัสดุไมตีพิมพ หมายเลข

1

ผูแตง.//(ปที่ผลิต)//ชื่อเรื่อง.//[ประเภทวัสดุไมตีพิมพ]

สิ ปปนนท เกตุ ทัต . (2536) บทบาทของนัก วิ จัย ในสั ง คมปจ จุ บัน .

[แถบบันทึกเสียง] 2

แผนที่กรุงเทพมหานคร. (2523) [แผนที]่ 3 “นิทานโบราณวาดวยราชสีหกับชาง” (กรกฎาคม 2417) ดรุโณวาท. [ไมโครฟลม] 4

หนอนพยาธิในประเทศไทย. (2518) [ภาพนิ่ง] 5 สมโภชกรุงรัตนโกสินทร. (2525) [ภาพนิ่ง] 6 Collins Cobuild on CD-ROM. (n.d) [CD] 9) อินเทอรเน็ต หมายเลข

ผูแตง.//(ปที่สรางหรือเผยแพร)//”ชื่อบทความ(ถามี)”//ชื่อเรื่องหรือ วารสาร.//[ออนไลน] 1

ปรัยา. (ม.ป.ป.) “หองสมุดมีชีวิต” [ออนไลน] 2 Norstrom Personal Touch America. (1998) [Online]


57 3

T. Jefferson. (1989) The Declaration of the Independence. [Online] 10) แหลงทุติยภูมิหรือแหลงรอง (Secondary Sources) หมายถึง ขอความ หรือ แนวคิดนั้นไมไดนําจากตนแหลง แตพบจากแหลงที่มีผูนํามาอางอิงไวอีกทีหนึ่ง ใหอางอิงแหลง ทุติยภูมิกอนแลวตามดวยแหลงปฐมภูมิ หมายเลข

ผูแตง.//(ปที่พิมพ)//ชื่อเรื่อง.//หนา/เลขหนาที่ใชในการอางอิง//อางถึงใน ผู แตง.//(ปที่พิมพ)//ชื่อเรื่อง.//หนา/เลขหนาที่ใชในการอางอิง 1

ประภาศรี สีหอําไพ. (2535) พื้นฐานการศึกษาทางศาสนาและวัฒนธรรม. หนา 164 อางถึงใน เสถียร โพธินันทะ. (2496) ประวัติพระพุทศาสนา. หนา 27. 6.3.4 หลักเกณฑการลงสวนตาง ๆ ในเชิงอรรถ 1) ชื่อผูแตง ผูใหสัมภาษณ 1.1) ผูแตงคนเดียวชาวไทย ไมตองระบุคํานําหนานาม คํานําหนาทางวิชาการ คํานําหนา ทางวิชาชีพ ยศทหาร/ตํารวจ ยกเวน คํานําหนานามเนื่องจากลําดับชั้นทางพระราชวงศ สมณศั ก ดิ์ บรรดาศั ก ดิ์ และฐานะสตรี ที่ ไ ด รั บ เครื่ อ งราชอิ ส ริ ย าภรณ ชั้ น สู ง สว นชาวตางประเทศใหระบุ ชื่อและนามสกุลเหมือนคนไทย เชน ยืน ภูวรวรรณ ม.ร.ว.ถนัดศรี สวัสดิวัฒน สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี พระยาอนุมานราชธน ทานผูหญิงวิริยะ ชวกุล ซิดนีย อี. เชดอน Harrold A. Robbins 1.2) ผูแตง 2 คน ใหระบุชื่อผูแตงคนแรก ตามดวยคําวา “และ” หรือ “and” กอนและ หลังคําดังกลาว เวน 1 ระยะ แลวตามดวยชื่อผูแตงคนที่ 2 มานิจ ประเสริฐสุวรรณ และ สุพัตรา สุภาพ John F. Kennedy and Lew Rywin


58

1.3) ผูแตง 3 คน ใหระบุชื่อผูแตงคนที่ 1 คั่นดวยเครื่องหมายจุลภาค (,) เวน 1 ระยะ ตามดวยชื่อผูแตงคนที่ 2 เชื่อมดวยคําวา “และ” หรือ “and” กอนและหลังคําดังกลาว เวน 1 ระยะ แลวตามดวยชื่อผูแตงคนที่ 3 วัลลภ สวัสดิวัลลภ, สุเวช ณ หนองคาย และ นารีรัตน เทียมเมือง. Michel A. Kahn, Kathleen Kennedy and Allan Starski. 1.4) ผูแตงมากกวา 3 คน ใหระบุชื่อผูแตงคนแรก ตามดวยคําวา “และคณะ” หรือ “et al” (et alli) หรือ “และคนอื่น ๆ“ หรือ “and others” โดยใหเลือกใชอยางใดอยางหนึ่ง วัลลภ สวัสดิวัลลภ และคณะ Gerald R. Molen and Others 1.5) ผูแตงที่เปนหนวยงาน ใหระบุชื่อหนวยงาน หากแหลงที่มานั้นมีหนวยงานใหญ และหนวยงานยอย ใหระบุหนวยงานใหญกอน เวน 2 ระยะ แลวตามดวยหนวยงานยอย เชน กระทรวงสาธารณสุข มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ บัณฑิตวิทยาลัย 1.6) นามแฝงหรือนามปากกา ใหระบุนามแฝงหรือนามปากกาตามที่ปรากฏ เชน ส. ศิวรักษ น. ปากน้ํา 2) ปที่พิมพ ปที่ผลิต ปที่สรางหรือเผยแพร ใหระบุเฉพาะหมายเลขเทานั้น หากมีเดือน ให พิมพชื่อเดือนเต็ม และหากมีวันที่ใหระบุวันที่ดวย หากไมพบระบุ “ม.ป.ป.” (ไมปรากฏปที่พิมพ) หรือ “n.d.” (no date) 3) ชื่อบทความ ชื่อตอน ชื่อบท พาดหัวขาว หัวขอในคอลัมน ใหพิมพในเครื่องหมาย อัญประกาศ (“………”) เชน “พาณิชยอิเล็กทรอนิกสประเด็นสุดฮิตของมหกรรมสัมมนาแหงสหัสวรรษ” “The role of technology in the future of libraries” 4) ชื่อเรื่อง ชื่อวารสาร ชื่อหนังสือพิมพ ใหขีดเสนใต หรือพิมพตัวหนา ภาษาตางประเทศ ใหใชอักษรตัวใหญเฉพาะตัวแรกของทุกคํา ยกเวน คํานําหนานาม คําบุพบท คําสันธาน ซึ่งอยู ภายในชื่อเรื่องใหใชอักษรตัวเล็ก เชน The Element of Research 5) เลขหนาที่ใชในการอางอิง ใหพิมพคําวา “หนา” หรือ “p” (Page) กอนและหลังคําหรือ อักษรยอดังกลาว


59

6) ประเภทวัสดุไมตีพิมพ และเว็บไซต ใหระบุประเภทวัสดุนั้น ๆ ในเครื่องหมาย วงเล็บ เหลี่ยม “[……….]” ไดแก แถบบันทึกเสียง ภาพนิ่ง วีดิทัศน แถบบันทึกภาพ ไมโครฟลม CD-ROM VCD DVD ฯลฯ สวนเว็บไซตใหระบุคําวา “ออนไลน” หรือ “Online” เปนตน

ตารางที่ 6.1 เปรียบเทียบการอางอิงแบบเชิงอรรถและการอางอิงแบบนาม-ป เชิงอรรถ 1. มีกฎเกณฑการเขียนซับซอนมากกวา 2. ยุงยากตอการเขียนหรือพิมพรายงาน เพราะ ตองคอยระวังในเรื่องการเวนหนากระดาษ ดานลางใหเพียงพอตอการเขียนรายการอางอิง 3. ขอความที่ตองการเนนวาอางอิงมาจาก ทรัพยากรสารสนเทศหลายรายการ ไมสะดวก ตอการลงรายการอางอิงแบบเชิงอรรถ 4. การอานเนื้อหารายงานเปนไปโดยราบรื่น ไมสะดุด เพราะสวนของรายการอางอิงจะอยู ที่สวนลางของหนากระดาษ 5. ทราบรายละเอียดของทรัพยากรสารสนเทศ ที่อางถึงไดทันที เพราะจะปรากฏอยูดานลาง ของหนากระดาษ

นาม-ป 1. มีกฎเกณฑการเขียนไมซับซอน 2. ทําไดงายและสะดวก เพราะเขียนหรือพิมพ แทรกในเนื้อหาไดเลย จึงไมตองคอยระวัง เรื่องการเวนเนื้อที่กระดาษ 3. ขอความที่เนนวาอางอิงมาจากทรัพยากร สารสนเทศหลายรายการ ใชวิธีการนี้ได สะดวก 4. การอานเนื้อหารายงานสะดุดในชวงทีม่ ี รายการอางอิง โดยเฉพาะถามีการอางอิง ทรัพยากรสารสนเทศหลายๆ รายการ 5. ถาตองการทราบรายละเอียดของทรัพยากร สารสนเทศที่นํามาอางอิง จะตองเสียเวลาพลิก ไปดูหนาบรรณานุกรม


บทที่ 7 การเขียนบรรณานุกรม เมื่อทําการอางอิงแหลงที่มาของเนื้อหา ทฤษฎี และ/หรือแนวคิดในวิทยานิพนธ หรือ การศึกษาอิสระ ไมวาจะดวยวิธีการอางอิงแบบใดก็ตาม เมื่อเรียบเรียงเนือหาทุกบทจนครบถวนและ เสร็จเรียบรอยแลว ขั้นตอนสุดทาย คือ นําการอางอิงทั้งหมดมาจัดทําบรรณานุกรม (Bibliography) หรือ รายการอางอิง (Cited References) โดยจัดเรียงลําดับอักษรตามพจนานุกรมฉบับ ราชบัณฑิตยสถาน หรือ Dictionary ที่เปนที่ยอมรับทั่วไป และแยกภาษาของบรรณานุกรมไวเปน สวนประกอบตอนทายเลม 7.1 บรรณานุกรมและประเภทของบรรณานุกรม บรรณานุกรม (Bibliographies) หมายถึง รายชื่อแหลงขอมูลประเภทตางๆ ที่นํามาใชใน การทําวิทยานิพนธ หรือการศึกษาอิสระ ประเภทของบรรณานุกรม บรรณานุกรมอาจแบงตามลักษณะของการจัดทําได 3 ประเภท คือ 1) บรรณานุกรมแบบสมบูรณ (Exhaustive Bibliographies) เปนรายชื่อแหลงขอมูลที่ นํามาใชทั้งหมด ไมวาจะมากหรือนอยก็ตาม จะอางอิงหรือไมอางอิงก็ตาม โดยไมคํานึงถึงวา จะมี ความสําคัญตองานเขียนมากหรือนอยเพียงใด การทําลักษณะนี้มุงเนนความสมบูรณของ บรรณานุกรม เพื่อประโยชนในการศึกษาคนควาเพิ่มเติม 2) บรรณานุกรมเลือกสรร (Selected Bibliographies) เปนรายชื่อแหลงขอมูลที่นํามาใช เฉพาะเลมที่ไดรับการพิจารณาคัดเลือกแลววา มีความสําคัญและเปนประโยชนตองานเขียนจริง ๆ เทานั้น มุงเนนความถูกตอง เชื่อถือได ทันสมัย และเปนที่ยอมรับของนักวิชาการเปนสําคัญ สวนมากจะมีบรรณนิทัศน (Annotation) ซึ่งกลาวถึงเรื่องยอๆ ของแหลงขอมูล หรือ มีการวิจารณ ประกอบทาย บรรณานุกรมประเภทนี้นับวา เปนวิธีการที่อํานวยความสะดวกใหผูอานไดทราบ ขอบเขตและคุณคาของแหลงขอมูล 3) บรรณานุกรมอางอิง (Literature Bibliographies) เปนรายชื่อแหลงขอมูลที่นํามาใช อางอิงในเนื้อหาทั้งหมด ปจจุบันมักเรียกวา รายการอางอิงหรือเอกสารอางอิง (Cited References or References)


61

7.2 รูปแบบ องคประกอบ และการพิมพบรรณานุกรม บรรณานุกรมมีรูปแบบ องคประกอบ และการพิมพแตกตางกันออกไปตามประเภทของ แหลงขอมูล โดยมีรายละเอียดตาง ๆ ดังนี้ 1) หนังสือ สิ่งพิมพที่จัดทําเปนเลม มีรูปแบบ องคประกอบ และการพิมพดังนี้

ผูแตง.//(ปที่พิมพ)//ชื่อเรื่อง.//ครั้งที่พิมพ.//สถานที่พิมพ/:/ผูรับผิดชอบในการพิมพ.

กีรติ บุญเจือ. (2528) ตรรกวิทยาทั่วไป. กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพแหงจุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย พุทธทาสภิกขุ. (2528) สมถวิปสนาสําหรับยุคปรมาณู. กรุงเทพมหานคร : มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. สมาคมหองสมุดแหงประเทศไทย. (2538) ทําเนียบนามหองสมุดเฉพาะในประเทศไทย. กรุงเทพมหานคร : สมาคม. หลวงวิจิตรวาทการ. (2529) มันสมอง. กรุงเทพมหานคร : โอเดียนสโตร. อุดม เชยกีวงศ และ นคร จิโรจพันธุ. (2526) สหกรณผูบริโภค. กรุงเทพมหานคร : โอเดียนสโตร. Rex, John. (1980) Key Problems of Sociological Theory. New York : McGraw-Hill. UNESCO. (1980) Unesco Worldwide Action in Education. France : Unesco. 2) หนังสือแปลที่มีผูแตงเดิม ผูแตง.//(ปที่พิมพ)//ชื่อเรื่อง.//ครั้งที่พิมพ.//แปลโดย//ชื่อผูแปล.//สถานที่พิมพ/:/ ผูรับผิดชอบในการพิมพ. ลอง, ลารี่ และ ลอง, แนนซี.่ (2543) เทคโนโลยีคอมพิวเตอรและสารสนเทศ. แปลโดย ลานนา ดวงสิงห. กรุงเทพมหานคร : เพียรสัน เอ็ดดูเคชั่น อินโดไซนา.


62

หนังสือแปลที่ไมมีผูแตงเดิม ชื่อผูแปล,/ผูแปล//(ปที่พิมพ)//ชื่อเรื่อง.//ครั้งที่พิมพ.//สถานที่พิมพ/:/ผูรับผิดชอบ ในการพิมพ. เดือน บุนบาค, ผูแปล. (2543) เศรษฐศาสตร. พิมพครั้งที่ 3. กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพมหาวิทยาธรรมศาสตร. 3) หนังสือที่ไมปรากฏผูแตง ชื่อเรื่อง.//(ปที่พิมพ)//ครั้งที่พิมพ.//สถานที่พิมพ/:/ผูรับผิดชอบในการพิมพ. กฎหมายตราสามดวง. (2520) พระนคร : องคการคาคุรุสภา. เอกสารประกอบการเรียนวิชาสารนิเทศกับการศึกษาคนควา. (2538) กรุงเทพมหานคร : ภาควิชาบรรณารักษศาสตร คณะมนุษยศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. 4) หนังสือรวมบทความวิชาการ รวมบทคัดยอวิทยานิพนธ ตําราวิชาการที่มีผูแตงหลายคน ผูแตง.//(ปทพี่ ิมพ)//”ชื่อบทความหรือชื่อตอนหรือชื่อบท”//ใน//ชื่อเรื่อง.// ชื่อบรรณาธิการหรือผูรวบรวม (ถามี).//หนาที่ปรากฏชื่อบทความหรือชื่อตอน หรือชื่อบท.//ครั้งที่พิมพ.//สถานที่พิมพ/:/ผูรับผิดชอบในการพิมพ. วัลลภ สวัสดิวัลลภ. (2540) “การเขียนรายงานและภาคนิพนธ” ใน สารนิเทศเพื่อการศึกษา คนควา. พิมพครั้งที่ 2 แกไขปรับปรุงและเพิ่มเติม. หนา 77-171. นครปฐม : ภาควิชา บรรณารักษศาสตร คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร สถาบันราชภัฏนครปฐม. Tichner, Fred J. (1981) ”Apprenticeship and Employee Training” in The New Encyclopedia Britannica, Macropedia V 1. page 1018-1023. Chicago : Encyclopedia Britannica.


63

5) เอกสารการประชุมหรือสัมมนาทางวิชาการ ผูแตง.//(ปที่พิมพ)//”ชื่อเรื่องหรือชื่อบท/ชื่อตอนในเอกสารการประชุมหรือสัมมนา”// ใน//ชื่อเรื่องการประชุม/สัมมนา.//ขอความเกี่ยวกับการจัดประชุมหรือสัมมนา// ชื่อบรรณาธิการหรือผูรวบรวม (ถามี).//หนาที่ปรากฏชื่อบทความหรือชื่อตอน หรือชื่อบท.//ครั้งที่พิมพ.//สถานที่พิมพ/:/ผูรับผิดชอบในการพิมพ. กานตมณี ศักดิ์เจริญ. “วิธีอานหนังสือและการอานหนังสือใหฟง” ใน การประชุมใหญสามัญ ประจําป 2552 และการประชุมวิชาการเรื่อง การอานเพื่อพัฒนาชาติ วันที่ 8-11 ธันวาคม 2552 ณ โรงแรมแอมบาสซาเดอร กรุงเทพมหานคร จัดโดยสมาคมหองสมุดแหงประเทศ ไทยในพระบรมราชูปถัมภสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี. หนา 4351. กรุงเทพมหานคร : หางหุนสวนจํากัด รวิน พริ้นติ้ง กรุป. จีรเดช มโนสรอย, สุดา เสาวคนธ และ อภิญญา มโนสรอย. (2543) “หญาหวาน (Stevia)” ใน การสัมมนาทางวิชาการเรื่อง เทคโนโลยีชีวภาพเภสัชกรรม ครั้งที่ 2 เรื่องการวิจัยและ พัฒนาผลิตภัณฑธรรมชาติเพื่อการแพทยแผนไทย. หนา 42-50. เชียงใหม : ศูนยวิจัยและ พัฒนาวัตถุดิบยา เครื่องสําอาง และผลิตภัณฑธรรมชาติ สถาบันวิจัยและพัฒนา วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเชียงใหม. 6) บทความวารสาร ผูแตง.//(เดือนปที่พิมพ)//“ชื่อบทความ”//ชื่อวารสาร.//ปที่หรือเลมที่/(ฉบับที่)/ หนา/เลขหนาที่ปรากฏบทความ.

“การบรรเลงดนตรีไทยตามประเพณี” (มกราคม 2553) วารสารวัฒนธรรมไทย. 49 (1) หนา 20-24. นครชัย เผื่อนปฐม. (มกราคม-มีนาคม 2540) “การคนหาทางการแพทยใน World Wide Web” สงขลานครินทรเวชสาร. 15 (1) หนา 27-34. Buracom, Ponlapat. (2002) “Social responsibilities of business : evidence and explanations” Thai Journal of Public Administration. 1 page 103-122.


64

Doran, Kirk. (January 1996) “Unified disparity : theory and practice of union listing” Computer in Libraries. 16 (1) page 39-45. 7) หนังสือพิมพ ผูแตง.//(วันเดือนปที่พิมพ)//“พาดหัวขาว/หัวขอขาว/หัวขอในคอลัมน/ชื่อบทความ” ชื่อหนังสือพิมพ.//หนา/เลขหนาทีป่ รากฏพาดหัวขอขาว หัวขอขาว หัวขอใน คอลัมน หรือชื่อบทความ. พิชัย ทองดีเลิศ. (27 พฤษภาคม – 2 มิถุนายน) “การทําธุรกรรมทางการเรียนยุค IT” Telecom Journal. หนา 20. 8) วิทยานิพนธ ผูแตง.//(ปที่พิมพ)//ชื่อเรื่อง.//วิทยานิพนธ//อักษรยอชื่อปริญญา//(ภาควิชาหรือ สาขาวิชา)//สถานที่พิมพ/:/บัณฑิตวิทยาลัย//ชื่อมหาวิทยาลัย.

สุภา ฉายแสง. (2543) การออกแบบและพัฒนาระบบสารสนเทศผูปวยนอกของสถานพยาบาล รัฐวิสาหกิจ. วิทยานิพนธ วท.ม. (สาขาวิชาวิทยาศาสตรคอมพิวเตอร) กรุงเทพมหานคร : บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. 9) การสัมภาษณ ชื่อผูใหสัมภาษณ//เปนผูใหสัมภาษณ//ชื่อผูสัมภาษณ//เปนผูสัมภาษณ//ที… ่ (สถานที่ทําการสัมภาษณ)//เมื่อ…(วันเดือนปที่ทําการสัมภาษณ)

สมปอง อนเดช เปนผูใหสัมภาษณ ศุจิกา ดวงมณี เปนผูสัมภาษณ ที่มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิม พระเกียรติ เมื่อวันที่ 28 พฤษภาคม 2553.


65

10) วัสดุไมตีพิมพ ผูผ ลิต.//(ปที่ผลิต)//ชื่อเรื่อง.//[ประเภทวัสดุไมพิมพ]//สถานที่ผลิต/:/ผูรับผิดชอบ ในการผลิต. หนอนพยาธิในประเทศไทย. (2518) [ภาพยนตร] กรุงเทพมหานคร : คอมมิวนิเคชั่น เอดส อินเตอรเนชั่น. สายหยุด นิยมวิภาต, ผูบรรยาย. (2537) ประเด็นปญหาการวิจัยทางการพยาบาลคลินิก. [เทปโทรทัศน] ขอนแกน : คณะพยาบาลศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน. 11) เว็บไซต (Web Site) ในเว็บไซตมีสิ่งพิมพอิเล็กทรอนิกสตางๆ มากมาย ไมวาจะเปน หนังสือ วารสาร หนังสือพิมพ หรือเปนบทความที่ผลิตขึ้นเพื่อเผยแพรบนเว็บไซต ผูแตง.//(ปที่สรางหรือเผยแพร)//“ชื่อบทความ (ถามี)”//ชื่อเรื่อง.//[ออนไลน]// แหลงที่มา/:/ที่อยูของเว็บไซต//(วันเดือนปที่ทําการสืบคน)

เวบไซตที่เปนหนังสือ Norstrom Personal Touch America. (1998) [Online] Available : http://www.npta.com (14 November 2000) เวบไซตที่เปนบทความวารสาร James, J. S. (1992) “Alpha-APA : New Anti-HIV Compound” AIDS Treatment News. [Online] Available : gopher.tc.umm.edu/Libraries/Newspapers,Magazine and Newsletters/MedicalPublications/AIDSNews/lssure (18 September 2000) เวบไซตที่เปนหนังสือพิมพ ประเวศ วะสี. (2 ธันวาคม 2548) “การจัดการความรูกระบวนการปลดปลอยมนุษย” ประชาไท. [ออนไลน] แหลงที่มา : http://www.prachatai.com/05web/th/home/ index.php (19 เมษายน 2549)


66

บทความที่เว็บไซตจัดทําและเผยแพร “การบริหารความรู = Knowledge Management” (ม.ป.ป.) [ออนไลน] แหลงที่มา : http://elib.fda.moph.go.th/Planweb/PlanWebpage/Km-2nd3.html (20 เมษายน 2549) 12) แหลงทุติยภูมิหรือแหลงรอง ใหระบุแหลงทุติยภูมิกอน เวน 2 ระยะ กอนและหลังคําวา “อางถึงใน” หรือ “Cited in” ตามดวยแหลงปฐมภูมิ รูปแบบ องคประกอบ และการพิมพมีดังนี้ ผูแตง.//(ปที่พิมพ)//ชื่อเรื่อง.//ครั้งที่พิมพ(ถามี).//สถานที่พิมพ/:/ผูรับผิดชอบใน การพิมพ//อางถึงใน//ผูแตง.//(ปที่พิมพ)//ชื่อเรื่อง.//ครั้งที่พิมพ(ถามี).// สถานที่พิมพ/:/ผูรับผิดชอบในการพิมพ. แมนมาส ชวลิต. (2509) ประวัติหอสมุดแหงชาติ. พระนคร : กรมศิลปากร อางถึงใน สมเด็จกรมพระยาดํารงราชานุภาพ. (2459) ตํานานหอพระสมุด หอพระมณเฑียรธรรม หอวชิรญาณ หอพุทธศาสนสังคหะ และหอสมุดสําหรับพระนคร. พระนคร : โรงพิมพ โสภณพิพรรฒธนากร. 7.3 หลักเกณฑการลงรายละเอียดสวนตางๆ ในบรรณานุกรม หลักเกณฑการลงรายละเอียดตางๆ ในบรรณานุกรม มีดังนี้ 1) ชื่อผูแตง ผูใหสัมภาษณ ใหใชหลักเกณฑเดียวกับการอางอิง ยกเวน ชาวตางประเทศให พิมพชื่อสกุลตามดวยเครื่องหมายจุลภาค (,) เวน 1 ระยะ ตามดวยชื่อตน (อาจเปนอักษรยอ) เวน 1 ระยะ ตามดวยชื่อกลาง (ถามี) ปดทายดวยเครื่องหมายมหัพภาค (.) เวน 2 ระยะ 2) ปที่พิมพ ปที่ผลิต ปที่สรางหรือเผยแพร วันเดือนปที่พิมพหรือสัมภาษณ ใหพิมพไวใน เครื่องหมายวงเล็บ (...) หลังเครื่องหมายเวน 2 ระยะ 3) ชื่อบทความ ชื่อตอน ชื่อบท พาดหัวขาว หัวขอขาว หัวขอในคอลัมน ใหพิมพไวใน เครื่องหมายอัญประกาศ “....” หลังเครื่องหมายเวน 2 ระยะ 4) ชื่อเรื่อง ชื่อวารสาร ชื่อหนังสือพิมพ ใหขีดเสนใตหรือพิมพดวยตัวหนา ตามดวย เครื่องหมายมหัพภาค เวน 2 ระยะ


67

5) หนาที่ปรากฏบทความ ชื่อตอน ชื่อบท ขาว หัวขอในคอลัมน กอนระบุเลขหนาใหระบุ คําวา “หนา” หรือ “page” ตามดวยเลขหนาที่ปรากฏตัง้ แตตนจนจบ เชน หนา 20 page 19-24 เปน ตน กรณีที่เนื้อหาไมไดจบในหนาเดียว ใหระบุหนาแรก ตามดวยเครื่องหมายจุลภาค เวน 1 ระยะ ตามดวยหมายเลขหนาสิ้นสุด ปดทายดวยเครื่องหมายมหัพภาค 6) ครั้งที่พิมพ ถาเปนการพิมพครั้งแรกไมตองระบุ จะระบุก็ตอเมื่อเปนการพิมพครั้งที่ 2 เปนตนไป พรอมทั้งขอความที่เกี่ยวของ เชน พิมพครั้งที่ 2 พิมพครั้งที่ 3 แกไข พิมพครั้งที่ 4 ปรับปรุงเพิ่มเติม พิมพครั้งที่ 5 แกไขปรับปรุงเพิ่มเติม 2nd 3rd 4th ed rev. เปนตน ตามดวย เครื่องหมายมหัพภาค เวน 2 ระยะ 7) ประเภทวัสดุไมตีพิมพหรือเวบไซต ใหพิมพในเครื่องหมายวงเล็บเหลี่ยม เวน 2 ระยะ 8) สถานที่พิมพ หรือสถานที่ผลิต หมายถึง ชื่อจังหวัด ชื่อเมือง ชื่อรัฐ ที่ผูรับผิดชอบในการ พิมพนั้นตั้งอยู เชน กรุงเทพมหานคร ขอนแกน เชียงใหม New York London Paris เปนตน ถาไมปรากฏสถานที่พิมพหรือสถานที่ผลิตใหระบุอักษรยอ ม.ป.ท. (ไมปรากฏสถานที่ พิมพ) หรือ n.pl. (no place) ตามดวยเครื่องหมายทวิภาค (:) เวน 1 ระยะกอนและหลังเครื่องหมาย ดังกลาว 9) ผูรับผิดชอบในการพิมพหรือการผลิต หมายถึง สํานักพิมพ โรงพิมพ หนวยงาน หรือ นิติบุคคล ตามดวยเครื่องหมายมหัพภาค 9.1) สํานักพิมพ ใหระบุเฉพาะชื่อสํานักพิมพเทานั้น เชน บริษัท สํานักพิมพแม็ค จํากัด ใหระบุวา สํานักพิมพแม็ค เปนตน สวนสํานักพิมพของสถาบันการศึกษาเพื่อมิใหเกิดความสับสนวาเปนสิ่งพิมพของ สถาบันการศึกษาใหระบุคําวา “สํานักพิมพ” ดวย เชน สํานักพิมพมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร เปนตน 9.2) โรงพิมพ ใหระบุคําวา “โรงพิมพ” ดวย เชน โรงพิมพแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย โรงพิมพคุรุสภาลาดพราว เปนตน 9.3) หนวยงานราชการ ใหระบุชื่อหนวยงานราชการที่ปรากฏ หากมีหนวยงานใหญ และหนวยงานยอย ใหระบุหนวยงานยอย เวน 2 ระยะ ตามดวยหนวยงานใหญ ในกรณีที่หนวยงาน ราชการเปนทั้งผูแตงและผูรับผิดชอบในการพิมพ ในสวนของผูรับผิดชอบในการพิมพใ หระบุ เฉพาะคํานําหนานามหนวยงานเทานั้น เชน กระทรวง กรม กอง สํานัก สํานักงาน เปนตน 9.4) ไมปรากฏผูรับผิดชอบในการพิมพหรือการผลิต ใหระบุอักษรยอ “ม.ป.พ.” หรือ “n.p.” (no publisher) 10) แหลงที่มา ถาเปนเว็บไซต ใหระบุคําวา “แหลงที่มา” หรือ “Available” ตามดวย เครื่องหมายจุดคู เวน 1 ระยะ กอนและหลังเครื่องหมายดังกลาว แลวตามดวยแหลงที่มา เชน


68

แหลงที่มา : http://www.hcu.ac.th/journal/ndex.htm Available : gopher.tc.umm.edu/Libraries/Newspapers, Magazine and Newsletters /Medicalpublications/AIDSNews/Issue 11) หนาที่ปรากฏบทความ ชื่อตอน ชื่อบท ขาว หัวขอในคอลัมน ใหระบุเลขหนาที่ ปรากฏตั้งแตตนจนจบ กอนระบุเลขหนาใหระบุคําวา “หนา” หรือ “p” (Page) เชน หนา 20 p 19-24 เปน ตน ในกรณีที่มีเนื้อหาของบทความ หรือ ขาวตอในหนาอื่น ใหร ะบุหนาแรก ตามดว ย เครื่องหมายจุลภาค เวน 1 ระยะ ตามดวยหมายเลขหนาสิ้นสุด ปดทายดวยเครื่องหมายมหัพภาค 12) วันเดือนที่ทําการสืบคน ใชสําหรับเว็บไซตเทานั้น โดยพิมพวันเดือนปที่ทําการสืบคน ในเครื่องหมายวงเล็บ เชน (19 เมษายน 2549) (19 April 2006) เปนตน


บทที่ 8 จรรยาบรรณนักวิจัย1 8.1 ความเปนมา ปจ จุบัน นี้ผลการวิจัยมีค วามสําคัญตอการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมเปนอยางยิ่ง หาก งานวิจัย ที่ปรากฏสูสาธารณชน มีความเที่ยงตรง นําเสนอสิ่งที่เปนความจริงสะทอนใหเห็นสภาพ ปญหาที่เกิดขึ้น อยางแทจริง ก็จะนําไปสูการแกไขปญหาไดตรงจุดและมีประสิทธิภาพ การที่จะใหไดมาซึ่งงานวิจัยที่ดี มีคุณภาพ จําเปนตองมีสวนประกอบสําคัญหลายประการ นอกจากการดําเนินตามระเบียบวิธีการวิจัยอยางมีคุณภาพแลว คุณธรรม หรือ จรรยาบรรณของ นักวิจัยเปนปจจัยสําคัญยิ่งประการหนึ่งที่สําคัญยิ่ง คณะกรรมการสภาวิ จั ย แห ง ชาติ สาขาสั ง คมวิ ท ยา มี ต ระหนั ก ถึ ง ความสํ า คั ญ ของ จรรยาบรรณ นักวิจัยดังกลาว จึงไดริเริ่มดําเนินการยกรางจรรยาบรรณนักวิ จัยเพื่อเปนมาตรฐาน เดียวกันทั้งประเทศ เพื่อใหนักวิจัย นักวิชาการ ในสาขาวิชาการตางๆ สามารถนําไปปฏิบัติได โดย ผานกระบวนการขอรับความคิดเห็นจากนักวิจัย ผูทรงคุณวุฒิในสาขาวิชาตางๆ และไดปรับปรุงให เหมาะสม รัดกุม ชัดเจน จนกระทั่งไดรับความเห็นชอบจากคณะกรรมการบริหารสภาวิจัยแหงชาติ ประกาศใหเปนหลักเกณฑควรประพฤติของนักวิจัยทั่วไป 8.2 วัตถุประสงค เพื่อเปนแนวทางในการประพฤติปฏิบัติของนักวิจัยทั่วไป โดยมีลักษณะเปนขอพึงสังวรณ มากกวาจะเปนขอบังคับ อันจะนําไปสูการเสริมสรางจรรยาบรรณในหมูนักวิจัยตอไป

1

คัดลอกจาก คณะกรรมการสภาวิจัยแหงชาติ. (2554) “จริยธรรมของนักวิจัย” http://www.nrct.go.th/downloads/d20100604113504.pdf. [ออนไลน]


70

8.3 นิยาม นักวิจัย หมายถึง ผูที่ดําเนินการคนควาหาความรูอยางเปนระบบ เพื่อตอบประเด็นที่สงสัย โดย มีระเบียบวิธีอันเปนที่ยอมรับในแตละศาสตรที่เกี่ยวของ ซึ่งครอบคลุมทั้งแนวคิด มโนทัศน และวิธีการที่ใช ในการรวบรวมและวิเคราะหขอมูล จรรยาบรรณ หมายถึง หลักความประพฤติอันเหมาะสมแสดงถึงคุณธรรมและจริยธรรมใน การประกอบอาชีพ ที่กลุมบุคคลแตละสาขาชีพประมวลขึ้นไวเปนหลัก เพื่อใหสมาชิกในสาขา วิชาชีพนั้นๆ ยึดถือปฏิบัติ เพื่อรักษาชื่อเสียงและสงเสริมเกียรติคุณของสาขาวิชาชีพของตน จรรยาบรรณนักวิจัย หมายถึง หลักเกณฑควรประพฤติปฏิบัติของนักวิจัยทั่วไป เพื่อใหการ ดําเนิน งานวิจัยตั้งอยูบนพื้น ฐานของจริยธรรมและหลัก วิชาการที่เหมาะสม ตลอดจนประกัน มาตรฐาน ของการศึกษาคนควาใหเปนไปอยางสมศักดิศ์ รีและเกียรติภูมิของนักวิจัย . 8.4 จรรยาบรรณนักวิจัยและ แนวทางปฏิบัติ ขอ 1 นักวิจัยตองซื่อสัตยและมีคณ ุ ธรรมในทางวิชาการและการจัดการ นักวิจัยตองมีความซื่อสัตยตอตนเองไมนําผลงานของผูอื่นมาเปนของตนไมลอกเลียนงาน ของผูอื่น ตองใหเกียรติและอางถึงบุคคลหรือแหลงที่มาของขอมูลที่นํามาใชในงานวิจัย ตองซื่อตรง ตอการแสวงหาทุน วิจัยและมีความเปนธรรมเกี่ยวกับผลประโยชนที่ไดจากการวิจัย แนวทางปฏิบัติ 1.1 นักวิจัยตองมีความซื่อสัตยตอตนเองและผูอื่น 1.1.1 นักวิจัยตองมีความซื่อสัตยในทุกขั้นตอนของกระบวนการวิจัย ตั้งแตการ เลือกเรื่องที่จะทําวิจัย การ เลือกผูเขารวมทําวิจัย การดําเนินการวิจัย ตลอดจนการนําผลงานวิจัยไป ใชประโยชน 1.1.2 นักวิจัยตองใหเกียรติผูอื่น โดยการอางถึงบุคคลหรือแหลงที่มาของขอมูล และความคิดเห็นที่นํามาใชในงานวิจัย 1.2 นักวิจัยตองซื่อตรงตอการแสวงหาทุนวิจัย 1.2.1 นักวิจัยตองเสนอขอมูลและแนวคิดอยางเปดเผยและตรงไปตรงมาในการ เสนอโครงการวิจัยเพื่อขอรับทุน 1.2.2 นักวิจัยตองเสนอโครงการวิจัยดวยความซื่อสัตยโดยไมขอทุนซ้ําซอน 1.3 นักวิจัยตองมีความเปนธรรมเกี่ยวกับผลประโยชนที่ไดจากการวิจัย


71

1.3.1 นักวิจัยตองจัดสรรสัดสวนของผลงานวิจัยแกผูรวมวิจัยอยางยุติธรรม 1.3.2 นักวิจัยตองเสนอผลงานอยางตรงไปตรงมาโดยไมนําผลงานของผูอื่นมาอาง วาเปนของตน ขอ 2 นักวิจัยตองตระหนักถึงพันธกรณีในการทําวิจยั ตามขอตกลงที่ทําไวกับหนวยงานที่ สนับสนุนการวิจัยและตอหนวยงานที่ตน สังกัด นักวิจัยตองปฏิบัติตามพันธกรณีและขอตกลงการวิจัยที่ผูเกี่ยวของทุกฝายยอมรับรวมกัน อุทิศ เวลาทํางานวิจัยใหไดผลดีที่สุดและเปนไปตามกําหนดเวลา มีความรับผิดชอบไมละทิ้งงาน ระหวางดําเนินการ แนวทางปฏิบัติ 2.1 นักวิจัยตองตระหนักถึงพันธกรณีในการทําวิจัย 2.1.1 นักวิจัยตองศึกษาเงื่อนไข และกฎเกณฑของเจาของทุนอยางละเอียด รอบคอบ เพื่อปองกัน ความขัดแยงที่จะเกิดขึ้นในภายหลัง 2.1.2 นักวิจัยตองปฏิบัติตามเงื่อนไข ระเบียบและกฎเกณฑ ตามขอตกลงอยาง ครบถวน 2.2 นักวิจัยตองอุทิศเวลาทํางานวิจัย 2.2.1 นักวิจัยตองทุมเทความรูค วามสามารถและเวลาใหกับการทํางานวิจัย เพื่อให ไดมาซึ่ง ผลงานวิจัยที่มีคุณภาพและเปนประโยชน 2.3 นักวิจัยตองมีความรับผิดชอบในการทําวิจัย 2.3.1 นักวิจัยตองมีความรับผิดชอบ ไมละทิ้งงานโดยไมมีเหตุผลอันควร และสง งานตามกําหนดเวลา ไมทําผิดสัญญาขอตกลงจนกอใหเกิดความเสียหาย 2.3.2 นักวิจัยตองมีความรับผิดชอบในการจัดทํารายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ เพื่อ ใหผลอันเกิดจาก การวิจัยไดถูกนําไปใชประโยชนตอไป ขอ 3 นักวิจัยตองมีพื้นฐานความรูในสาขาวิชาการที่ทําวิจัย นัก วิจัยตองมีพื้น ฐานความรูใ นสาขาวิชาการที่ทําวิจัยอยางเพียงพอและมีค วามรูค วาม ชํานาญหรือ มีประสบการณ เกี่ยวเนื่องกับเรื่องที่ทําวิจัย เพื่อนําไปสูงานวิจัยที่มีคุณภาพ และเพื่อ ปองกันปญหาการ วิเคราะห การตีความ หรือการสรุปที่ผิดพลาด อันอาจกอใหเกิดความเสียหายตอ งานวิจัย


72

แนวทางปฏิบัติ 3.1 นักวิจัยตองมีพื้นฐานความรูค วามชํานาญหรือประสบการณเกี่ยวกับเรื่องที่ทําวิจัยอยาง เพียงพอเพื่อ นําไปสูงานวิจัยที่มีคุณภาพ 3.2 นักวิจัยตองรักษามาตรฐานและคุณภาพของงานวิจัยในสาขาวิชาการนั้น ๆ เพื่อปองกัน ความเสียหายตอ วงการวิชาการ ขอ 4 นักวิจัยตองมีความรับผิดชอบตอสิ่งที่ศึกษาวิจัย ไมวาเปนสิ่งที่มีชีวิตหรือไมมีชีวิต นักวิจัยตองดําเนินการดวยความรอบคอบระมัดระวัง และเที่ยงตรงในการทําวิจัยที่เกี่ยวของ กับคน สัตว พืช ศิลปวัฒนธรรม ทรัพยากร และสิ่งแวดลอม มีจิตสํานึกและปณิธานที่จะอนุรักษ ศิลปวัฒนธรรม ทรัพยากรและสิ่งแวดลอม แนวทางปฏิบัติ 4.1 การใชคนหรือสัตวเปนตัวอยางทดลอง ตองทําในกรณีที่ไมมีทางเลือกอื่นเทานั้น 4.2 นักวิจัยตองดําเนิน การวิจัยโดยมีจิตสํานึกที่จะไมกอความเสี ยหายตอคน สัต ว พืช ศิลปวัฒนธรรม ทรัพยากร และสิ่งแวดลอม 4.3 นักวิจัยตองมีความรับผิดชอบตอผลที่จะเกิดแกตนเอง กลุมตัวอยางที่ใชในการศึกษา และสังคม ขอ 5 นักวิจัยตองเคารพศักดิศ์ รี และสิทธิของมนุษยที่ใชเปนตัวอยางในการวิจัย นักวิจัยตองไมคํานึงถึงผลประโยชนทางวิชาการจนละเลย และขาดความเคารพในศักดิ์ศรี ของเพื่อน มนุษยตองถือเปนภาระหนาที่ที่จะอธิบายจุดมุงหมายของการวิจัยแกบุคคลที่เปนกลุม ตัวอยาง โดยไมหลอกลวงหรือบีบบังคับ และไมละเมิดสิทธิสวนบุคคล แนวทางปฏิบัติ 5.1 นักวิจัยตองมีความเคารพในสิทธิ ของมนุษยที่ใชในการทดลองโดยตองไดรับความ ยินยอมกอนทําการวิจัย 5.2 นักวิจัยตองปฏิบัติตอมนุษยและสัตวที่ใชในการทดลองดวยความเมตตา ไมคํานึงถึงแต ผลประโยชนทางวิชาการจนเกิดความเสียหายที่อาจกอใหเกิดความขัดแยง 5.3 นักวิจัยตองดูแลปกปองสิทธิประโยชนและรักษาความลับของกลุมตัวอยางที่ใชในการ ทดลอง


73

ขอ 6 นักวิจัยตองมีอิสระทางความคิด โดยปราศจากอคติในทุกขั้นตอนของการทําวิจัย นักวิจัยตองมีอิสระทางความคิด ตองตระหนัก วา อคติสว นตน หรือ ความลําเอียงทาง วิชาการ อาจสงผลใหมีการบิดเบือนขอมูลและขอคนพบทางวิชาการ อันเปนเหตุใหเกิดผลเสียหาย ตองานวิจัย แนวทางปฏิบัติ 6.1 นักวิจัยตองมีอิสระทางความคิด ไมทํางานวิจัยดวยความเกรงใจ 6.2 นักวิจัยตองปฏิบัติงานวิจัยโดยใชหลักวิชาการเปนเกณฑและไมมีอคติมาเกี่ยวของ 6.3 นักวิจัยตองเสนอผลงานวิจัยตามความเปนจริง ไมจงใจเบี่ยงเบนผลการวิจัย โดยหวัง ผลประโยชนสวนตน หรือ ตองการสรางความเสียหายแกผูอื่น ขอ 7 นักวิจัยพึงนําผลงานวิจัยไปใชประโยชนในทางที่ชอบ นักวิจัยพึงเผยแพรผลงานวิจัยเพื่อประโยชนทางวิชาการและสังคมไมขยายผลขอคนพบจน เกิดความ เปนจริง และไมใชผลงานวิจัยไปในทางมิชอบ แนวทางปฏิบัติ 7.1 นักวิจัยพึงมีความรับผิดชอบและรอบคอบในการเผยแพรผลงานวิจัย 7.2 นักวิจัยพึงเผยแพรผลงานวิจัยโดยคํานึงถึงประโยชนทางวิชาการ และสังคม ไมเผยแพร ผลงานวิจัยเกิน ความเปนจริงโดยเห็นแกประโยชนสวนตนเปนที่ตั้ง 7.3 นักวิจัยพึงเสนอผลงานวิจัยตามความเปนจริงไมขยายผลขอคนพบโดยปราศจากการ ตรวจสอบ ยืนยัน ในทางวิชาการ ขอ 8 นักวิจัยพึงเคารพความคิดเห็นทางวิชาการของผูอ ื่น นักวิจัยพึงมีใจกวาง พรอมที่จะเปดเผยขอมูลและขั้นตอนการวิจัยยอมรับฟงความคิดเห็น และเหตุผลทางวิชาการของผูอื่น และพรอมที่จะปรับปรุงแกไขงานวิจัยของตนใหถูกตอง แนวทางปฏิบัติ 8.1 นักวิจัยพึงมีมนุษยสัมพันธที่ดี ยินดีแลกเปลี่ยนความคิดเห็น และสรางความเขาใจใน งานวิจัยกับเพื่อน รวมงานและนักวิชาการอื่นๆ 8.2 นักวิจัยพึงยอมรับฟง แกไขการทําวิจัยและการเสนอผลงานวิจัยตามขอแนะนําที่ดี เพื่อ สรางความรูที่ ถูกตองและสามารถนําผลงานวิจัยไปใชประโยชนได


74

ขอ 9 นักวิจัยพึงมีความรับผิดชอบตอสังคมทุกระดับ นักวิจัยมีจิตสํานึกที่จะอุทิศกําลังสติปญญาในการทําวิจัย เพื่อความกาวหนาทางวิชาการ เพื่อความ เจริญและประโยชนสุขของสังคมและมวลมนุษยชาติ แนวทางปฏิบัติ 9.1 นักวิจัยพึงไตรตรองหาหัวขอการวิจัยดวยความรอบคอบและทําการวิจัยดวยจิตสํานึกที่ จะอุทิศกําลัง ปญญาของตนเพื่อความกาวหนาทางวิชาการ เพื่อความเจริญของสถาบันและ ประโยชนสุขตอสังคม 9.2 นักวิจัยพึงรับผิดชอบในการสรางสรรคผลงานวิชาการเพือ่ ความเจริญของสังคม ไมทํา การวิจัยที่ขัดกับ กฎหมาย ความสงบเรียบรอยและศีลธรรมอันดีของประชาชน 9.3 นักวิจัยพึงพัฒนาบทบาทของตนใหเกิดประโยชนยิ่งขึ้นและอุทิศเวลา น้ําใจ กระทําการ สงเสริมพัฒนาความรูจิตใจ พฤติกรรมของนักวิจัยรุนใหมใหมีสวนสรางสรรคความรูแกสงั คม สืบไป



ภาคผนวกที่ 1 ตัวอยางวิทยานิพนธ


การศึกษาปจจัยทํานายการเกิดภาวะแทรกซอนของผูเปนเบาหวานในชุมชน ภายใตทฤษฎีการพยาบาลของคิง A STUDY OF PREDICTABLE FACTORS OF DIABETES MELLITUS COMPLICATION IN THE COMMUNITY UNDER KING’ S NURSING THEORY

โดย นางสาวจิราพร เดชมา

วิทยานิพนธนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ พ.ศ. 2553


วิทยานิพนธ

ชื่อนักศึกษา รหัสประจําตัว สาขาวิชา ปการศึกษา

การศึกษาปจจัยทํานายการเกิดภาวะแทรกซอนของผูเปนเบาหวาน ในชุมชนภายใตทฤษฎีการพยาบาลของคิง A Study of Predictable Factors of Diabetes Mellitus Complication in the Community Under King’s Nursing Theory นางสาวจิราพร เดชมา 494029 การพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน 2553

บัณ ฑิต วิทยาลัย มหาวิทยาลัยหั ว เฉี ยวเฉลิมพระเกี ยรติ และสํานั ก งานคณะกรรมการ การอุดมศึก ษา ไดตรวจสอบและอนุมัติใ หวิทยานิพนธฉ บับนี้ เปน สว นหนึ่งของการศึกษาตาม หลักสูตรพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต เมื่อวันที่ 28 เมษายน พ.ศ. 2553 __________________________________คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย

(ผูช วยศาสตราจารยพรรณราย แสงวิเชียร) คณะกรรมการสอบวิทยานิพนธ ________________________ประธานกรรมการ (ผูชวยศาสตราจารย ดร.หทัยชนก บัวเจริญ) ___________________________________กรรมการและอาจารยที่ปรึกษาหลัก

(ผูชวยศาสตราจารย ดร.วนิดา ดุรงคฤทธิชัย) ________________________กรรมการและอาจารยที่ปรึกษารวม (อาจารย ดร.วิชุดา กิจธรธรรม) ________________________กรรมการผูทรงคุณวุฒิ (นายแพทยเจษฎา พันธวาศิษฎ)

จากสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา


(1) วิทยานิพนธ

ชื่อนักศึกษา รหัสประจําตัว สาขาวิชา ปการศึกษา

การศึกษาปจจัยทํานายการเกิดภาวะแทรกซอนของผูเปนเบาหวานในชุมชน ภายใตทฤษฎีการพยาบาลของคิง A Study of Predictable Factors of Diabetes Mellitus Complication in the Community Under King’s Nursing Theory นางสาวจิราพร เดชมา 494029 การพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน 2553 บทคัดยอ

การวิจัย เชิงสํารวจครั้งนี้ มีวัต ถุประสงคเพื่อศึก ษาปจ จัยทํานายภาวะแทรกซอนผูเปน เบาหวานชนิดที่ 2 ในชุมชนภายใตทฤษฎีการพยาบาลของคิง กลุมตัวอยาง คือ ผูเปนเบาหวานชนิด ที่ 2 ที่มีภาวะแทรกซอนและมีอายุ 35 ปขึ้นไปในอําเภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม จํานวน 300 คน เครื่องมือที่ใชเปนแบบสัมภาษณ ที่สรางตามแนวคิดระบบบุคคล ระบบระหวางบุคคลและระบบ สังคมของคิง วิเคราะหขอมูลดวยคาเฉลี่ย สวนเบี่ยงเบนมาตรฐานและการวิเคราะหถดถอยแบบ ขั้นตอน ผลการวิจัย พบวา กลุมตัวอยางสว นมากเปน เพศหญิง อายุร ะหวาง 56 – 65 ป สําเร็จ การศึกษาระดับประถมศึกษา ไมไดประกอบอาชีพ รายไดของครอบครัวเฉลี่ยตอเดือน 5,001 – 10,000 บาท จํานวนสมาชิกในครอบครัว 3 – 5 คน ปวยดวยโรคเบาหวานมานาน 1 – 5 ป มีการรับรู บทบาทของครอบครัว บทบาทของชุมชนและบทบาทของพยาบาลในการจัด การโรคเบาหวาน มากที่สุด รองลงมา คือ การรับรูตอโรคและความรุน แรงของโรค และความเครียดการจัด การ ความเครียดนอยที่สุด ภาวะแทรกซอนที่ศึกษามีทั้งหมด 4 ปจจัย คือ น้ําตาลในเลือดสูง ภาวะแทรกซอนทางตา ทางไต ทางระบบประสาทและการเกิดแผลที่เทา ผลปรากฏวาปจจัยที่สามารถทํานายการเกิดภาวะ


(2) น้ําตาลในเลือดสูง คือ ความสามารถในการควบคุมโรคของตนเอง โดยอธิบายการเปลี่ยนแปลงของ น้ําตาลในเลือดไดรอยละ 3.0 ปจจัยที่สามารถทํานายภาวะแทรกซอนทางตา คือ ระยะเวลาที่เปน โรค โดยอธิบายการเกิด ภาวะแทรกซอนทางตาไดรอยละ 1.5 ปจ จัยที่สามารถทํานายการเกิด ภาวะแทรกซอนทางไต คือ ฐานะทางเศรษฐกิจและระยะเวลาที่เปนโรคเบาหวาน โดยฐานะทาง เศรษฐกิจ อธิบายการเกิดภาวะแทรกซอนทางไตไดรอยละ 9.8 และระยะเวลาที่เปนโรคเบาหวาน อธิบายการเกิด ภาวะแทรกซอนทางไตไดรอยละ 11.9 ป จ จัยที่สามารถทํา นายการเกิด ภาวะ แทรกซอนทางระบบประสาทและการเกิด แผลที่ เทา คือ อายุ การรับ รูตอบทบาทของคนใน ครอบครัว ในการจัด การเบาหวานใหผูเปน เบาหวานและความเครียด โดยอายุ อธิบ ายการเกิ ด ภาวะแทรกซอนทางระบบประสาทและการเกิดแผลที่เทาไดรอยละ 2.6 การรับรูตอบทบาทของคน ในครอบครัว อธิบายการเกิดภาวะแทรกซอนทางระบบประสาท และการเกิดแผลที่เทาไดรอยละ 4.2 สวนความเครียด อธิบายการเกิดภาวะแทรกซอนทางระบบประสาทและการเกิดแผลที่เทาได รอยละ 5.5 ขอเสนอแนะจากการศึกษา พยาบาลเวชปฏิบัติชุมชนและบุคลากรสุขภาพ ควรนําปจจัยที่มี อิทธิพลตอการเกิดภาวะแทรกซอนจากโรคเบาหวานมาออกแบบระบบการใหบริก ารสุขภาพแก กลุมเสี่ยงและกลุมผูเปนเบาหวานที่อาจเกิดภาวะแทรกซอน โดยเนนการมีสวนรวมของครอบครัว ผูนําชุมชน บุคลากรสุขภาพ รวมถึงอาสาสมัครสาธารณสุข ออกแบบการเยี่ยมบานโดยเนนสราง การรับรูที่ถูกตองของคนในครอบครัวในการประเมินความรูความเขาใจปญหา และความตองการ การมีสว นรว มในการดูแลผูเปน เบาหวานในครอบครัว รวมทั้งนํ าขอมูลสว นที่ ประเมิน ไดม า วางแผนการพยาบาลและประเมินผล ซึ่งจะทําใหไดนวัตกรรมการเยี่ยมบานกลุมเสี่ยงที่ใชทฤษฎี การพยาบาลของคิงเปนฐานในการดูแล


(3) Thesis Title

A Study of Predictable Factors of Diabetes Mellitus Complication in the Community under King’s Theory

By

Miss. Jiraporn Dechma

Identification No.

494029

Degree

Master of Nursing Science Program (M.N.S)

Major

Community Nurse Practitioner

Academic Year

2010

ABSTRACT

The survey research objectives was to examine the predictive factors of complication of Diabetes Mellitus patients in community under King’s Nursing Theory. The sample included 300 diabetes types 2 patients with complications, aged of 35 years or higher, in Nakornchaisri, Nakornprathom province. The questionnaire was enquired about personal information, and heath behaviors related to individual, interpersonal, and social system in King’s Nursing Theory. The data were analyzed by Mean, Standard deviation, and stepwise regression analysis. The results have shown that respondents mainly were female, age ranged between 56-65 years, primary school level, unemployed, income ranged 5,001-10,000 baht monthly, family member ranged 3-5 persons. A length of sickness with diabetes was 1-5 years. The diabetes patients had the highest level of health behaviors for preventing complication in interpersonal level, followed by individual and social level, respectively. The studied complications of Diabetes Mellitus patients were blood sugar level, eye complication, renal complication, nervous complication, and footsore. The predictive factor for


(4) blood sugar level was patient’s care ability in diabetes complications. When patient’s care ability in diabetes complications increased in 1 point, the blood sugar can be reduced 2.337 points. It can explain the changing of blood sugar by 3.0%. The predictive factor for eye complication from diabetes was a length of diseases. When a length of disease was one point or higher, the eye complication was increased 0.009 point. It can explain eye complication by 1.5%. The predictive factors for renal complication were economic status and length of disease. If the economic status of diabetic patients improved 1 point, the rental complication increased by 2.538 point. It can explained the renal complication by 9.8%. When a length of disease increased by 1 point, the rental complication increased by 0.018 point, while the length of disease can explain the onset of renal complication by 11%. The predictive factor for nervous complication included age and perception of family member’s role in diabetes management and stress. When the age increased for one point, the nervous complication was increased by 0.007 point. It can explain the nervous complication by 2.6%. While the family member’s role in diabetes management increased by 1 point, the nervous complication was decreased by 0.016 point. It can explain the nervous complication by 4.2%. When the diabetes patients’ stress increased by 1 point, the nervous complication increased by 0.116 point. It can explain the nervous complication by 5.5%. The results suggested that the community nurse practitioners and health personnel should take those significant factors for designing health care service system by empowering family members, community leaders, health personnel, and health community volunteers to help the recipient who risk to have diabetes complications. In addition, home health care plan should be designed by stress the assessment of perception of family members in management involve them in taking care of the diabetes patients. Further, the innovation from home visit based on King’s Nursing Theory should be created from home health care plan design.


(5) กิตติกรรมประกาศ วิทยานิพนธฉ บั บนี้ สํา เร็จ ไดดว ยความกรุณ าของ อาจารย ดร.นภาพร แกว นิ มิต ชั ย อาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธ ที่ไดเสียสละเวลาใหคําปรึกษา แนะนํา และตรวจแกไขขอบกพรอง ตาง ๆ จนกระทั่งวิทยานิพนธฉ บับนี้สําเร็จลุลวงดว ยความสมบูร ณค รบถวน ผู วิจัยจึงขอกราบ ขอบพระคุณเปนอยางสูงมา ณ ที่นี้ ขอกราบขอบพระคุณ อาจารย ดร. ยุวดี เกตสัมพันธ อาจารยที่ปรึกษารวม ที่ไดกรุณาให ขอเสนอแนะที่เปนประโยชนตอผูวิจัย และตรวจแกไขขอบกพรองตาง ๆ ขอขอบพระคุณอาจารยบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ ทุกทานที่ได ประสิทธิประสาทความรูแกผูวิจัย ขอขอบพระคุณผูทรงคุณวุฒิที่ไดตรวจเครื่องมือที่ใชในการวิจัยในครั้งนี้ ขอขอบคุณกลุมตัวอยางโรงพยาบาลหัวเฉียวที่กรุณาใหผูวิจัยไดเก็บขอมูลในการวิจัยครั้งนี้ ขอขอบคุณ คุณพรพล คงอิ่ม คุณกัลยาณี อางสกุล และคุณรุงนภา สงาแสง ที่ไดใ ห ความชวยเหลือเปนอยางดีในการวิจัยครั้งนี้ ทายนี้ ขอกราบขอบพระคุณ คุณพอคุณแม ที่ใหความหวงใย และเปนกําลังใจใหกับผูวิจัย มาตลอด และขอบคุณนองสาว เพื่อน ๆ นักศึกษาสาขาวิชาการจัดการระบบสุขภาพ รุน 1 ที่เปน กําลังใจ รวมทั้งคุณเปมิกา ธนะพุฒิธาดา ที่เปนผูจัดพิมพวิทยานิพนธ และเปนกําลังใจแกผูวิจัยมา โดยตลอด

ณภัทร ธนะพุฒินาท


(6) สารบัญ หนา บทคัดยอ.................................................................................................................................. (1) Abstract................................................................................................................................... (3) กิตติกรรมประกาศ................................................................................................................... (5) สารบัญ..................................................................................................................................... (6) สารบัญตาราง............................................................................................................................ (8) สารบัญแผนภูมิ........................................................................................................................ (9) สารบัญภาพ.............................................................................................................................. (10) บทที่ 1. บทนํา 1.1 ความเปนมาและความสําคัญของปญหา.............................................................. 1.2 วัตถุประสงคของการวิจัย....................................................................................... 1.3 ขอบเขตในการวิจัย................................................................................................ 1.4 นิยามตัวแปร........................................................................................................ 2. วรรณกรรมและงานวิจัยที่เกี่ยวของ 2.1 โรคเบาหวาน....................................................................................................... 2.2 ภาวะแทรกซอนของโรคเบาหวาน...................................................................... 2.3 ปจจัยเสี่ยงตอการเกิดภาวะแทรกซอนของโรคเบาหวานตามกรอบทฤษฎี การพยาบาลของคิง.............................................................................................. 2.4 การประเมินภาวะแทรกซอนของระบบประสาทสวนปลายโดยการตรวจเทา..... 2.5 บทบาทพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชนในการจัดการภาวะแทรกซอนของ โรคเบาหวานในชุมชน......................................................................................... 2.6 กรอบแนวคิดในการวิจัย......................................................................................

1 9 9 9

14 19 32 47 51 54

3. วิธีดําเนินงานวิจัย 3.1 ประชากรและกลุมตัวอยาง............................................................. 55


(7) สารบัญ (ตอ) หนา 3.2 เครื่องมือที่ใชในการวิจัย........................................................................................ 56 3.3 การเก็บรวบรวมขอมูล......................................................................................... 59 3.4 การวิเคราะหขอมูล............................................................................................... 62 4. ผลการศึกษา 4.1 ลักษณะทั่วไปและขอมูลสุขภาพของผูเปนเบาหวานชนิดที่ 2 ในชุมชน............... 4.2 การรับรูของผูเปนเบาหวานชนิดที่ 2 ตอโรคความรุนแรงของโรค บทบาท ของครอบครัว บทบาทของชุมชน และบทบาทในการจัดการโรคเบาหวาน รวมทั้งความเครียด การจัดการความเครียดและระดับความเครียด....................... 4.3 การตรวจรางกาย................................................................................................... 4.4 การศึกษาคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธระหวางตัวแปร........................................... 4.5 การศึกษาปจจัยทํานายการเกิดภาวะแทรกซอนในผูเปนเบาหวานชนิดที่ 2 ในชุมชน................................................................................................................ 5. สรุปผลการวิจัย อภิปราย และขอเสนอแนะ 5.1 สรุปผลการวิจัย.................................................................................................... 5.2 อภิปรายผลการวิจัย................................................................................................ 5.3 ขอเสนอแนะ......................................................................................................... บรรณานุกรม............................................................................................................................ ภาคผนวก ผนวก ก. คําชี้แจงและการพิทักษสิทธิกลุมตัวอยางในการเขารวมวิจัย...................... ผนวก ข. ขอตกลงเบื้องตนของการใชสถิติการวิเคราะหถดถอยแบบขั้นตอน........... ผนวก ค. รายชื่อผูทรงคุณวุฒิตรวจสอบเครื่องมือที่ใชเก็บรวบรวมขอมูล................. ประวัติผูเขียน...........................................................................................................................

65

71 78 84 84

89 93 98 100 110 121 128 129


(8) สารบัญตาราง ตารางที่ หนา 4.1 ขอมูลทั่วไปและขอมูลสุขภาพของผูเปนเบาหวานชนิดที่ 2 ในชุมชน จําแนกตาม จํานวนและรอยละ................................................................................................... 66 4.2 จํานวน รอยรอยละ คาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของผูเปนเบาหวาน ชนิดที่ 2 ในชุมชน จําแนกตามการรับรูของผูเปนเบาหวาน....................................... 74 4.3 จํานวน รอยละ คาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของผูเปนเบาหวานชนิดที่ 2 ในชุมชน จําแนกตามการรับรูบทบาทของครอบครัว บทบาทของชุมชน และ บทบาทของพยาบาลในการจัดการโรคเบาหวาน..................................................... 75 4.4 จํานวน รอยละ คาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของผูเปนเบาหวาน ชนิดที่ 2 ในชุมชน จําแนกตามการรับรูบทบาทของชุมชนในการจัดการโรคเบาหวาน......... 77 4.5 จํานวน รอยละ คาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของผูเปนเบาหวานชนิดที่ 2 ในชุมชน ตามความเครียด การจัดการความเครียด และระดับความเครียดของ ผูเปนเบาหวาน......................................................................................................... 77 4.6 จํานวน รอยละ คาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของผูเปนเบาหวานชนิดที่ 2 ในชุมชน จําแนกตามการตรวจรางกาย...................................................................................... 80


(9) สารบัญแผนภูมิ แผนภูมิที่ หนา 2.1 กรอบแนวคิดในการวิจัย............................................................................................. 54


(10) สารบัญภาพ ภาพที่ หนา 2.1 การเกิดภาวะแทรกซอนจากโรคเบาหวาน.................................................................. 24 2.2 อุปกรณการตรวจเทาโมโนฟลาเมนท......................................................................... 48 2.3 ตําแหนงการตรวจสอบประสาทรับความรูสึกที่เทา.................................................... 49 2.4 วิธีการตรวจสอบประสาทความรูสึกที่เทาดวยโมโนฟลาเมนท.................................. 50


บทที่ 1 บทนํา 1.1 ความเปนมาและความสําคัญของปญหา เบาหวานเปนโรคเรื้อรังที่เปนปญหาสาธารณสุขที่สําคัญ เพราะจํานวนผูปวยที่มากขึ้นและ ผลกระทบของโรค ซึ่งกอใหเกิดการสูญเสียทางเศรษฐกิจของบุคคล ครอบครัว และของรัฐ ทําให ผูเปนโรคนี้มีคุณภาพชีวิตที่ลดลง โดยเฉพาะจากภาวะแทรกซอนตาง ๆ ที่มักเกิดขึ้นตามมาและยาก ตอการรักษา เชน ความผิดปกติของปลายระบบประสาท จอประสาทตาเสื่อม โรคหลอดเลือดหัวใจ และสมอง โรคไต รวมถึงแผลบริเวณเทา (วรรณี นิธิยานันท และคณะ. 2550) จากการศึกษาของ องคการอนามัยโลกและมูลนิธิเบาหวานนานาชาติ (International Diabetes Federation : IDF) พบวา ปจจุบันมีผูเปนเบาหวานราว 246 ลานคนทั่วโลก และจะเพิ่มเปน 2 เทาตัวในอีก 20 ปขางหนา ซึ่งสว นใหญจะเปน การเพิ่มขึ้นในประเทศกําลังพัฒ นา (ธงชัย ประฏิภาณวัต. 2550) ในป พ.ศ. 2546-2548 พบวา ทั่วโลกมีประชากรปวยเปนโรคเบาหวานจํานวน 150 ลานคน สูงกวาที่คาดการณ ไวถึง 26 ลานคน และเสียชีวิตสูงมากถึง 3.2 ลานคนตอป โดยมีอัตราเสียชีวิต 6 คนตอนาที ขณะที่ป พ.ศ. 2550 พบผู ป ว ยโรคนี้ เ พิ่ม ขึ้ น 1 คนในทุก ๆ 5 วิ น าที และเสี ยชี วิ ต แล ว เกื อ บ 4 ล า นคน สวนขอมูลจากสหพันธเบาหวานนานาชาติ ไดคาดการณไววาจํานวนผูที่เปนโรคเบาหวานจะเพิ่ม เปน 380 ลานคนในป พ.ศ. 2568 ในจํานวนนี้ 4 ใน 5 เปนชาวเอเชีย (สํานักงานกองทุนสนับสนุน และสรางเสริมสุขภาพ. 2550) โดยพบวา ในประเทศอินเดียมีจํานวนผูเปนเบาหวานมากที่สุด คือ 79.4 ลานคน รองลงมา คือ จีน 42.3 ลานคน และสหรัฐอเมริกา 30.3 ลานคน (เอี่ยมศิริ กิจประเสริฐ. 2550) สําหรับประเทศสหรัฐอเมริกา นั้นพบวา ผูเปนเบาหวานมีจํานวนเพิ่มขึ้นรอยละ 5.9 (ฉัตรชัย ศรีบัณฑิต. 2551) ในประเทศไทยนั้นโรคเบาหวานเปนปญหาสาธารณสุขสําคัญเชนเดียวกับระดับสากล เนื่องจากเปนสาเหตุการเจ็บปวยและการตายที่สําคัญของคนไทย รวมทั้งอัตราความชุกมีแนวโนม สูงขึ้นเปนลําดับ (สถิติการเฝาระวังโรค สํานักระบาดวิทยา. 2549) โดยในชวงป พ.ศ. 2546-2548 พบวา มีผูเสียชีวิตจากโรคเบาหวานปละ 200,000 คน (เยาวรัตน ปรปกษขาม และคณะ. 2549) ในป 2550 มีประมาณ 400,000 ราย เสียชีวิตแลวเกือบ 8,000 คน และจากการศึกษาของ วิโรจน เจียมจรัส


54 2.6 กรอบแนวคิดในการวิจัย แผนภูมิที่ 2.1 กรอบแนวคิดที่ใชในการวิจัย

ระบบบุคคล - อายุ - เพศ - ระดับการศึกษา - ฐานะทางเศรษฐกิจ - ระยะเวลาที่เปนโรคเบาหวาน - ระดับน้ําตาลในเลือด - การรับรูเกี่ยวกับโรค - ความสามารถในการควบคุมโรคของ ตนเอง

- ภาวะน้ําตาลในเลือดสูง - ภาวะแทรกซอนทางตา

ระบบระหวางบุคคล - การรับรูตอบทบาทของคนใน ครอบครัวในการจัดการเบาหวาน ใหผูเปนเบาหวาน - การรับรูตอบทบาทของพยาบาลใน การจัดการเบาหวานใหผูเปนเบาหวาน

ระบบสังคม - บทบาท อํานาจหนาทีท่ างสังคม - ความเครียด

- ภาวะแทรกซอนทางไต - ภาวะแทรกซอนทางระบบ ประสาทและการเกิดแผลที่เทา


66 กลุมตัวอยางสวนใหญรักษาโรคเบาหวาน โดยใชสิทธิหลักประกันสุขภาพถวนหนา/สิทธิ ประกันสังคม/สิทธิผูสูงอายุ (รอยละ 77.7) รองลงมา คือ ใชสิทธิราชการ (รอยละ 17.0) และเสีย คารักษาเอง (รอยละ 4.3) ผูเปนเบาหวานโดยมากเปนหัวหนาครอบครัว (รอยละ 38.0) รองลงมา คือ เปนสมาชิก (รอยละ 32.0) และแมบาน (รอยละ 30.0) ผูที่มีอํานาจหรือมีบทบาทมากที่สุดในบาน คือ ตัวผูเปน เบาหวานเอง (รอยละ 52.4) ลูกหลาน (รอยละ 30.3) และคูสมรส (รอยละ 14.3) และครึ่งหนึ่งจะ เปนผูดูแลตนเอง (รอยละ 55.0) รองลงมา ลูกหลานเปนผูดูแล (รอยละ 34.0) และสามีหรือภรรยา เปนผูดูแล (รอยละ 10.4) กลุมตัวอยางเกือบทั้งหมดเคยไดรับความรูเรื่องโรคเบาหวาน (รอยละ 97.0) โดยไดรับ ความรูจากบุคลากรทางการแพทยเปนหลัก (รอยละ 92.7) รองลงมา คือ จากเอกสารหรือคูมือหรือ แผนพับ (รอยละ 14.7) และวิทยุ/โทรทัศน (รอยละ 8.0) สวนใหญออกกําลังกาย (รอยละ 74.0) โดย เดินเร็วมากที่สุด (รอยละ 36.50) รองลงมา คือ กายบริหาร (รอยละ 24.77) และวิ่งเหยาะ (รอยละ 13.98) จํานวนครั้งที่ออกกําลังกายในแตละสัปดาหที่มากที่สุด คือ 3-4 ครั้ง (รอยละ 48.64) รองลงมา คือ 1-2 ครั้ง (รอยละ 44.54) และ 5-7 ครั้ง (รอยละ 6.82) ระยะเวลาที่ใชออกกําลังกาย แตละครั้ง คือ 30 นาที (รอยละ 37.72) รองลงมา คือ 15 นาที (รอยละ 32.28) และนอยกวา 15 นาที (รอยละ 12.28)

ตารางที่ 4.1 ขอมูลทั่วไปและขอมูลสุขภาพของผูเปนเบาหวานชนิดที่ 2 ในชุมชน จําแนกตามจํานวนและรอยละ

ขอมูลทั่วไปและขอมูลสุขภาพ

จํานวน

รอยละ

รวม

92 208 300

30.70 69.30 100.00

เพศ ชาย หญิง


67 ตารางที่ 4.1 (ตอ)

ขอมูลทั่วไปและขอมูลสุขภาพ อายุ (ป) 35 – 55 ป 56 – 75 ป 76 – 96 ป รวม สถานภาพสมรส โสด คู หมาย หยา แยก รวม ศาสนา พุทธ คริสต รวม ระดับการศึกษา ไมไดเรียน ประถมศึกษา มัธยมศึกษา ประกาศนียบัตร/อนุปริญญา ปริญญาตรี รวม

จํานวน

รอยละ

82 177 41 300

27.30 59.10 13.60 100.00

25 211 56 8 300

8.30 70.30 18.70 2.70 100.00

299 1 300

99.70 0.30 100.00

27 212 38 8 15 300

9.00 70.60 12.70 2.70 5.00 100.00


100 บรรณานุกรม กาญจนา ประสารปราน. (2535) ความสัมพันธระหวางความสามารถในการดูแลตนเองกับ พฤติกรรมการดูแลตนเองเกี่ยวกับการควบคุมอาหารในผูปวยเบาหวาน. วิทยานิพนธ วท.ม. (สาขาวิชาพยาบาลศาสตร) กรุงเทพมหานคร : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล. กันต เชิญรุงโรจน. (2550) รายงานลการสํารวจพฤติกรรมเสี่ยงโรคไมติดตอและการบาดเจ็บ. กรุงเทพมหานคร : สํานักงานโรคไมติดตอ กระทรวงสาธารณสุข. กระทรวงสาธารณสุข. (2549) ขอมูลโรคไมติดตอและบาดเจ็บ. นนทบุรี : กระทรวงสาธารณสุข. กระทรวงสาธารณสุข. (2550) โรคเรื้อรังภัยคุกคามสุขภาพคนไทย. นนทบุรี : กระทรวงสาธารณสุข. กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข. (2549) วารสารสุขภาพจิตแหงประเทศไทย. 14 (3) หนา 199-200. เกศินี ไขนิล. (2536) ความสัมพันธระหวางความเชื่อดานสุขภาพกับพฤติกรรมการดูแลตนเอง ของหญิงตั้งครรภเบาหวาน. วิทยานิพนธ วท.ม. (สาขาวิชาการพยาบาลศาสตร) กรุงเทพมหานคร : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล. จารุนันทร สมณะ. (2541) การสอนอยางมีแบบแผนและการเยี่ยมบานที่มีผลตอการลดระดับ น้ําตาลในเลือดและควบคุมภาวะแทรกซอนของผูปวยเบาหวานโรงพยาบาลแมออน จังหวัดเชียงใหม. วิทยานิพนธ ส.ม. (สาธารณสุขศาสตร) เชียงใหม : มหาวิทยาลัยเชียงใหม. จิรประภา ภาวิไล. (2535) การศึกษาการรับรูตอภาวะสุขภาพ พฤติกรรมการดูแลตนเองและ ภาวะสุขภาพของผูปวยภายหลังการผาตัดเปลี่ยนลิ้นหัวใจ. วิทยานิพนธ วท.ม. (สาขาวิชาพยาบาลศาสตร) กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยมหิดล. จิรพงศ อุกะโชค. (2543) แผลที่เทาเหตุเกิดโรคเบาหวานอีก 20 ป. นนทบุรี : โรงพยาบาล นนทเวช. ฉวีวรรณ ทองสาร. (2550) การพัฒนาแนวปฏิบัติการพยาบาลเพื่อการจัดการตนเองในการบริโภค อาหารของผูปวยเบาหวานชนิดที่ 2 ที่ไมสามารถควบคุมระดับน้ําตาลในเลือด. สารนิพนธ พย.ม. (สาขาการพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน) นครศรีธรรมราช : มหาวิทยาลัย วลัยลักษณ. ฉัตรชัย ศรีบัณฑิต. (2551) เบาหวานนับวันกลายเปนโรคยอดฮิต. [ออนไลน] แหลงที่มา : http://www.absolute-health.org/doc-003.htm (17 กรกฎาคม 2553)


101 บรรณานุกรม (ตอ) ฉัตรวลัย ใจอารีย. (2533) ความสัมพันธระหวางการสนับสนุนทางสังคม พฤติกรรมการดูแล สุขภาพกับคุณภาพชีวิตของผูปวยหัวใจวายเลือดคั่ง. วิทยานิพนธ วท.ม. (สาขาพยาบาลศาสตร) กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยมหิดล. ชัชลิต รัตรสาร. (2546) INTENSIVE THERAPY OF TYPE 2 DIABETES. สงขลา : ภาควิชาอายุรศาสตร คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร. ชัยชาญ ดีโรจนวงศ และ กอบชัย พัววิไล. (2546) การวินิจฉัยและจําแนกโรคเบาหวาน. ตําราโรคเบาหวาน สมาคมตอมไรทอแหงประเทศไทย กรุงเทพมหานคร. มหาวิทยาลัยมหิดล : เรือนแกวการพิมพ. เชิดศักดิ์ แวดประเสริฐ และ สาธิต นฤภัย. (2550) เครื่องวัดความดันโลหิต. [ออนไลน] แหลงที่มา : http//www.medi.moph.go.th/education/Tpum.pdf (11 กรกฎาคม 2553) ดรุณี ชุณหะวัต.ิ (2551) การดูแลผูปวยเรื้อรังแบบมีสวนรวม : มิตรภาพบําบัด. กรุงเทพมหานคร : ภาควิชาพยาบาลศาสตร คณะแพทยศาสตร โรงพยาบาลรามาธิบดี. ทิพวรรณ วัฒนเวช. (2548) อิทธิพลของปจจัยคัดสรรและพฤติกรรมการดูแลตนเองตออาการ ทองอืดของผูปวย หลังผาตัดชองทอง. [ออนไลน] แหลงที่มา : http://www.sirirajmedj.com/ content.php?content_id=86 (10 เมษายน 2553) เทพ หิมะทองคํา และคณะ. (2548) ความรูเรื่องเบาหวานฉบับสมบูรณ. กรุงเทพมหานคร : วิทยพัฒน. ธงชัย ประฏิภาณวัตร. (2550) “หลักการดูแลรักษาผูปวยเบาหวาน” อายุรศาสตรอีสาน. 6 (3) หนา 78-93. ธนวรรณ เมาฬีทอง. (2551) การพัฒนาแนวทางการปฏิบัติเพื่อสรางความตระหนักรูในการ ปองกันภาวะน้ําตาลในเลือดต่ําของผูปวยเบาหวานชนิดที่ 2 ในศูนยสุขภาพชุมชน. วิทยานิพนธ พย.ม. (สาขาวิชาการพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน) สมุทรปราการ : มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ. นิตยา แยมมี. (2550) แนวปฏิบัติการพยาบาลผูปวยโรคไตเรื้อรังระยะที่ 2 จากเบาหวาน เพื่อชะลอการเสื่อมของไต. วิทยานิพนธ พย.ม. (สาขาวิชาการพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน) สมุทรปราการ : มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ. เนติ สุขสมบูรณ และคณะ. (2548) ระบบการใชยาในโรงพยาบาลเพื่อความปลอดภัยของผูปวย. : กรุงเทพมหานคร หนวยงานเภสัชกรรม.



ภาคผนวกที่ 2 ตัวอยางการศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต)


ปจจัยที่มีอิทธิพลตอผูบริจาคโลหิตประจําในการเปนผูบริจาคเซลลตนกําเนิด FACTORS INFLUENCING REPEATED BLOOD DONORS FOR BECOMING BONE MARROW DONORS

โดย นางสาวศิริเพ็ญ จันทจร

การศึกษาอิสระนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการระบบสุขภาพ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ พ.ศ. 2550


ปจจัยที่มีอิทธิพลตอผูบริจาคโลหิตประจําในการเปนผูบริจาค เซลลตนกําเนิด Factors Influencing Repeated Blood Donors for Becoming Bone Marrow Donors ชื่อนักศึกษา นางสาวศิริเพ็ญ จันทจร รหัสประจําตัว 464061 สาขาวิชา การจัดการระบบสุขภาพ ปการศึกษา 2549 ______________________________________________________________________________ การศึกษาอิสระ

บัณ ฑิต วิท ยาลัย มหาวิท ยาลั ยหั ว เฉีย วเฉลิม พระเกีย รติ ไดต รวจสอบและอนุ มัติ ใ ห การศึกษาอิสระฉบับนี้ เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต เมื่อวันที่ 29 ธันวาคม พ.ศ.2549 _________________________________________คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย (ผูชวยศาสตราจารยพรรณราย แสงวิเชียร)

คณะกรรมการสอบการศึกษาอิสระ _________________________________________อาจารยที่ปรึกษา (อาจารย ดร.วิรัตน ทองรอด) _________________________________________กรรมการ (รองศาสตราจารย ดร.ปราโมทย ทองกระจาย) _________________________________________กรรมการ (ผูชวยศาสตราจารยเสาวลักษณ ลักษมีจรัลกุล)


(1) การศึกษาอิสระ

ชื่อนักศึกษา รหัสประจําตัว สาขาวิชา ปการศึกษา

ปจจัยที่มีอิทธิพลตอผูบริจาคโลหิตประจําในการเปนผูบ ริจาค เซลลตนกําเนิด Factors Influencing Repeated Blood Donors for Becoming Bone Marrow Donors นางสาวศิริเพ็ญ จันทจร 464061 การจัดการระบบสุขภาพ 2549 บทคัดยอ

การศึกษาอิสระนี้เปนการศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพที่มีวัตถุประสงค เพื่อศึกษาเหตุผล ทัศนคติ และแรงจูงใจในการบริจาคเซลลตนกําเนิดของผูบริจาคโลหิตประจําและปญหา อุปสรรค พรอมทั้ง เสนอแนวทางในการเพิ่มจํานวนผูบริจาคเซลลตนกําเนิด จากกลุมผูบริจาคโลหิตประจํา ซึ่งเปนผู บริจาคโลหิต 2 ครั้งขึน้ ไป เปนผูใหขอมูลหลัก 3 กลุมไดแก กลุมที่ 1 กลุมผูบริจาคโลหิตประจํา ที่ ยังไมไดลงทะเบียนเปนผูบริจาคเซลลตนกําเนิด จํานวน 16 ราย กลุมที่ 2 กลุมผูบริจาคโลหิตประจํา ที่ลงทะเบียนเปนผูบริจาคเซลลตนกําเนิดแลวจํานวน 6 ราย และกลุมที่ 3 กลุมผูบริจาคโลหิตประจํา ที่ลงทะเบียนเปนผูบริจาคเซลลตนกําเนิดและไดบริจาคเซลลตนกําเนิดแลว จํานวน 2 ราย ทําการ รวบรวมขอมูลโดยใชวิธีสัมภาษณเชิงลึก และการสังเกต หลังจากไดขอมูลครบตามประเด็น ที่ ตองการจึงทําการวิเคราะหเนื้อหาดวยการถอดขอความจากเครื่องบันทึกเสียงแบบคําตอคําและทํา การวิเคราะหขอมูล ผลการศึก ษาพบวาผูใ ห ขอมูลหลัก เปน เพศหญิ ง รอยละ 58.33 เพศชาย รอยละ 41.67 มีอายุเฉลี่ย 28.92±5.52ป การศึกษาระดับปริญญาตรีรอยละ 66.67 และสถานภาพทางครอบครัวรอย ละ 70.83 เปนโสด ผูใหขอมูลหลักรอยละ 33.33 มาบริจาคโลหิต 1 ครั้งตอป และรอยละ 29.17 มา บริจาคโลหิต 2 ครั้งตอป เหตุผลที่มาบริจาคโลหิตประจํา รอยละ 41.67 มีความเชื่อดานจิตใจที่อยาก ชวยเหลือผูอื่น รอยละ 33.33 มีความเชื่อดานสุขภาพรางกายที่ดีขึ้น ผูใหขอมูลหลักกลุมที่ 1 นั้นรอย ละ 31.25 ไมเคยรูเรื่องเกีย่ วกับเซลลตนกําเนิดเลย แตกลุมที่ 2 และกลุมที่ 3 นั้นรูเรื่องเกี่ยวกับเซลล ตนกําเนิดแลว โดยที่ผูใหขอมูลที่รับรูแลวนั้น รอยละ 31.58 รูจากแผนพับประชาสัมพันธ, รอยละ 26.31 รู จ ากอิ น เตอร เ นต, ร อ ยละ 26.31 รู จ ากโทรทั ศ น แ ละร อ ยละ 10.53 รู จ ากเจ า หน า ที่ ประชาสัมพันธ ผูใหขอมูลหลักในกลุมที่ 1 ยังมีความรูและความเขาใจในเรื่องเซลลตนกําเนิดไม


(2) เพียงพอ แตก ลุมที่ 2 และกลุมที่ 3 ทราบและเขาใจขอมูลเกี่ยวกับเซลลตนกําเนิดและการบริจาค เซลลตนกําเนิดมากกวาทั้งในเรื่องของประโยชน คุณสมบัติรวมถึงวิธี การบริจาคเซลลตนกําเนิด สวนเหตุผลที่สนใจทําใหลงทะเบียนเพื่อบริจาคเซลลตนกําเนิด พบวาผูใหขอมูลหลักกลุมที่ 1 รอย ละ 50.00 สนใจเพราะอยากชวยเหลือผูอื่น และรอยละ 37.50 เขาใจถึงความตองการใชเซลลตน กําเนิดในการรักษาผูปวย กลุมที่ 2 รอยละ 50.00 ลงทะเบียนเพราะมีความรูเดิมจากอาชีพการงานทํา ใหมีความเขาใจ และเห็นถึงประโยชนของเซลลตนกําเนิด จึงบริจาคเซลลตนกําเนิด รอยละ 33.33 อยากชวยเหลือผูอื่น กลุมที่ 3 ยิน ยอมบริจาคเซลลตนกําเนิด เนื่องจากอยากชวยเหลือผูอื่นและมี ความรูในเรื่องเซลลตนกําเนิดเปนอยางดี และเหตุผลที่จะทําใหผูบริจาคโลหิตไมสนใจลงทะเบียน เปนผูบริจาคเซลลตนกําเนิดนั้น มีเหตุผลมาจากการขาดความรู และความเขาใจ ซึ่งหากผูบริจาค โลหิตมีความรูและความเขาใจเรื่องเกี่ยวกับเซลลตนกําเนิดตนแลว สวนใหญจะตัดสินใจลงทะเบียน เปน ผูบ ริจ าคเซลลต น กําเนิ ด ปจ จัยดานครอบครัว สั งคม และเศรษฐกิจ นั้น มีส ว นรว มในการ ตัดสินใจ สาเหตุ ข องป ญ หาการเพิ่ ม จํ า นวนผู บ ริ จ าคเซลล ต น กํ า เนิ ด พบว า ผู ใ ห ข อ มู ล หลั ก มีค วามคิด เห็น วารอยละ 37.50 เกิด จากความไม รู รอยละ 25.00 เกิด จากความไมเ ขาใจ และ รอยละ 33.33 เกิดจากความรูสึกกลัว โดยรวมแลวเกิดจากความไมรู ไมเขาใจเรื่องของการบริจาค เซลล ต น กํ า เนิ ด อย า งเพี ย งพอ การแก ไ ขป ญ หาและรณรงค เพื่ อ การเพิ่ ม จํ า นวนผู บ ริ จ าค เซลล ต น กํ า เนิ ด ผูใ ห ข อ มู ลหลั ก ทั้ ง 3 กลุ ม ให ค วามเห็ น ไปในทางเดี ย วกัน ว า แนวทางที่ 1 ต อ งจั ด การด า นการประชาสั ม พั น ธ การเพิ่ ม ช อ งทางการสื่ อ ประชาสั ม พั น ธ รวมถึ ง การประชาสัมพัน ธ ไปยังสว นภูมิภาคใหมากขึ้น แนวทางที่ 2 การขอความรวมมือกับบุคลากร ภายในสนับสนุน ในการประชาสัมพัน ธ เชิญชวนผูบริจาคโลหิตมาบริจาคเซลลตนกําเนิด และ ขอความรวมมือจากหนวยงานในภาครัฐและภาคเอกชน เพื่อตั้งเปนโครงการหรือชมรมผูบริจาค เซลล ต น กํ า เนิ ด เพื่ อ ช ว ยส ง เสริ ม การประชาสั ม พั น ธ และแนวทางสุ ด ท า ยการช ว ยเหลื อ ดานงบประมาณและกําลังคน ซึง่ ตองขอการสนับสนุนจากหนวยงานตาง ๆ ทั้งภาครัฐและเอกชนให เขามาชวยเหลือ


(3) Title By Identification No. Degree Major Academic Year

Factors Influencing Repeated Blood Donors for Becoming Bone Marrow Donors Miss. Siripen Chanthachorn 464061 Master of Sciences (M.S.) Health System Management 2006 ABSTRACT

This independent study was a qualitative research in order to study the reasons, attitudes, motivations, problems / obstacles, and ways to increase the quantity of bone marrow donors deriving from repeated blood donors who had donated their blood more than 2 times. 24 repeated blood donors were selected as key informants for this study by chance. They were divided into 3 groups:- Group I, 16 repeated blood donors who had not registered to be bone marrow donors yet ; group II, 6 repeated blood donors who had already registered to be bone marrow donors ; and group III, 2 repeated blood donors who had already registered to be bone marrow donors, and donated their bone marrow already. The data were collected by using in-depth interviews and observations. After receiving the complete data according to the raised issues, the data were analyzed by the content analysis methodology. The findings of this study were as followed : 58.33% of key informants were female, their average age was 28.92+5.52 years old, 66.67% graduated at undergraduate level, and 70.83% were single. 33.33% had donated their blood 1 time per year and 29.17% had done 2 times per year. For the reasons of repeated blood donation, 41.67% of them believed that it was good to help other people, 33.33% believed that it was good for their health. 31.25% of group I had not heard about the bone marrow donation before, but group II and III had already known. 31.58% of the ones who had already known about the bone marrow got the knowledge from the brochures, 26.31% from the internet, 26.31% from the television, and 10.53% from public relation (PR) personnel, the knowledge and understanding of key informants in group I were poor while the other groups were good including the benefit, the characteristic of donors and the


(4) method of bone marrow donation. And the reasons, why they were interested in registering, were found that 50.00% in group I wanted to help other people, and 37.50% had realized the lack of the bone marrow to cure the patients. 50.00% of group II registered because they were health professionals and known bone marrow, and, thus, they were willing to donate their bone marrow. And 33.33% of them wanted to help other people. Group III, they donated bone marrow because they wanted to help other people and they had known well about the bone marrow. On the contrary, the reasons why the blood donors were not interested in registering to be the bone marrow donors were the lack of knowledge and understanding. If the blood donors had had sufficient knowledge and understanding about the bone marrow, most of them would have registered to be the bone marrow donors. The other factors to make decision in donating their bone marrow were their family, society, and economic situation. The problems/obstacles on the increasing of the quantity of the bone marrow donors were found that 37.50% of the blood donors had insufficient knowledge about the bone marrow, 25.00% had no understanding and 33.33% were discouraging to donate it. The problems were, in general, caused by the insufficient knowledge about the bone marrow. The solution and the campaigns for increasing the quantity of the bone marrow donors were stated from the opinions of all 3 groups in the same way as followed: 1) Increasing the PR achieves, more media and channels of advertising especially to the up country region. 2) Cooperating with the donation officers to persuade the blood donors to register as bone marrow donors. 3) The budget and manpower supports of both government and private sectors.


(5) กิตติกรรมประกาศ การศึกษาอิสระฉบับนี้สําเร็จไดดวยความกรุณาของอาจารย ดร.วิรัตน ทองรอด อาจารยที่ ปรึกษาการศึกษาอิสระที่ไดเสียสละเวลาใหคําปรึกษาแนะนํา ตรวจแกไขขอบกพรองตาง ๆ และให ขอคิดเห็นที่เปนประโยชนอยางมากในการทําการวิจัย ตลอดทั้ง รศ.ดร.ปราโมทย ทองกระจาย และ ผศ.เสาวลักษณ ลักษมีจ รัลกุล ที่ไดกรุณ าใหขอเสนอแนะที่เปนประโยชนตอผูวิจัย ทําให การศึกษาอิสระเลมนี้สําเร็จลุลวงดวยดี กราบขอบพระคุณ ผูใหขอมูลหลัก ทุก ทานที่ก รุณ าใหค วามรว มมือและใหขอมูลที่เปน ประโยชนในการวิจัยครั้งนี้ ทายสุดนี้ผูเขียนกราบขอบพระคุณบิดา มารดา และสมาชิกทุกคนในครอบครัว รวมทั้ง เพื่อนรวมงานที่ซึ่งไดสนับสนุนใหกําลังใจและชวยเหลือในการวิจัยครั้งนี้ตลอดมา ศิริเพ็ญ จันทจร


(6) สารบัญ

บทคัดยอภาษาไทย…………………………………………………………………… Abstract…………………………………………………………………………….... กิตติกรรมประกาศ……………………………………………………………………. สารบัญ………….......………………………………………………………………... สารบัญตาราง……...……………………………………………………………........ สารบัญแผนภูมิ………....……………………………………………………………. สารบัญภาพ.......................................................................................................

หนา (1) (3) (5) (6) (8) (10) (11)

บทที่ 1. บทนํา 1.1 ความเปนมาและความสําคัญของปญหา………………………………… 1.2 คําถามในการวิจัย………………………………...................………….. 1.3 วัตถุประสงคของการวิจัย…………………………… ...………………… 1.4 สมมติฐานการวิจัย............................................................................. 1.5 ขอบเขตการวิจัย……………………………………...…....……………. 1.6 ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ.................................................................. 1.7 นิยามเฉพาะของคําศัพทในการวิจัย……………………………………... 1.8 กรอบแนวคิดของการวิจัย...................................................................

1 3 3 3 4 4 4 5

2. เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ 2.1 ทฤษฎีและแนวคิดเกี่ยวกับเซลลตนกําเนิด..………………………………. 2.2 ทฤษฎีและแนวคิดเกี่ยวกับการบริจาคโลหิต/เซลลตนกําเนิด..…………… 2.3 ทฤษฎีและแนวคิดเกี่ยวกับทัศนคติและแรงจูงใจเกี่ยวกับ การบริจาคเซลลตนกําเนิด.....................................................………… 2.4 งานวิจัยที่เกี่ยวของกับแรงจูงใจ.......………………………………………

6 16 23 34


(7) สารบัญ (ตอ) บทที่ 3. วิธีดําเนินการวิจัย 3.1 ประชากรและกลุมตัวอยางที่ศึกษา..……………………………………... 3.2 เครื่องมือที่ใชในการวิจัย…………………………......…………………… 3.3 การเก็บรวบรวมขอมูล……………………..…………………………….. 3.4 จริยธรรมในการวิจัยและการพิทักษสิทธิ์กลุมตัวอยาง............................ 3.5 การวิเคราะหขอมูล………………..……………………………………… 3.6 ความเชื่อถือไดของขอมูล……………..….………………………………. 4. ผลการวิจัย 4.1 ขอมูลสวนบุคคลทั่วไป..…………………………………………………. 4.2 ความรู ความเขาใจเกี่ยวกับเซลลตนกําเนิดและการบริจาคเซลลตนกําเนิด 4.3 ทัศนคติและแรงจูงใจตอการบริจาคเซลลตนกําเนิด............................... 4.4 ปญหาและอุปสรรคในการเพิ่มจํานวนผูบริจาคเซลลตนกําเนิด............... 4.5 แนวทางการแกไขปญหาการเพิ่มจํานวนผูบริจาคเซลลตนกําเนิด........... 5. สรุปอภิปรายผลและขอเสนอแนะ 5.1 สรุป................................................................................................ 5.2 อภิปรายผล.................………………………………………………… 5.3 ขอเสนอแนะ...............………………………………………………… 5.4 ประสบการณที่ไดรับ……………………………………………………. 5.5 ขอจํากัดการวิจัย..........................…………………………………….. 5.6 ขอเสนอแนะในการวิจัยครั้งตอไป....................................................... บรรณานุกรม………………………………………………………………………… ภาคผนวก ผนวก ก. แนวทางการสัมภาษณ………………………………...........……….. ผนวก ข. หนังสือยินยอมเขารวมการวิจัย ………………………………........... ประวัติผูเขียน.………………………………………………………………………..

หนา 35 35 37 39 39 40

43 56 62 70 74

82 85 93 94 95 95 96 103 105 108


(8) สารบัญตาราง ตารางที่ 2.1 2.2 4.1 4.2

ประเภทของทฤษฎีแรงจูงใจ................................………………………… ทฤษฎีลําดับขั้นความตองการของมาสโลว……...………………………… ลักษณะทั่วไปของผูใหขอมูลหลักทั้ง 3 กลุม............................................ ลักษณะทั่วไปของผูใหขอมูลหลัก เปรียบเทียบทั้ง 3 กลุม โดยแบงตาม เพศของผูใหขอมูลหลัก.......................................................................... 4.3 ลักษณะทั่วไปของผูใหขอมูลหลัก เปรียบเทียบทั้ง 3 กลุม โดยแบงตาม ชวงอายุของผูใหขอมูลหลัก.................................................................. 4.4 ลักษณะทั่วไปของผูใหขอมูลหลัก เปรียบเทียบทั้ง 3 กลุม โดยแบงตาม ระดับการศึกษาของผูใหขอมูลหลัก....................................................... 4.5 ลักษณะทั่วไปของผูใหขอมูลหลัก เปรียบเทียบทั้ง 3 กลุม โดยแบงตาม สถานภาพทางครอบครัวของผูใหขอมูลหลัก........................................... 4.6 ลักษณะทั่วไปของผูใหขอมูลหลัก เปรียบเทียบทั้ง 3 กลุม โดยแบงตาม ลักษณะอาชีของผูใหขอมูลหลัก............................................................ 4.7 ลักษณะทั่วไปของผูใหขอมูลหลัก เปรียบเทียบทั้ง 3 กลุม โดยแบงตาม รายไดตอเดือนของผูใหขอมูลหลัก....................................................... 4.8 จํานวนและความถี่ของการบริจาคโลหิตและเหตุผลของการบริจาคโลหิต ประจําของผูใหขอมูลหลักทั้ง 3 กลุม..................................................... 4.9 จํานวนและความถี่ของการบริจาคโลหิตของผูใหขอมูลหลัก เปรียบเทียบทั้ง 3 กลุม......................................................................... 4.10 รอยละของเหตุผลของการบริจาคโลหิตของผูใหขอมูลหลัก เปรียบเทียบทั้ง 3 กลุม........................................................................ 4.11 แหลงขอมูลที่รับรูเกี่ยวกับการบริจาคเซลลตนกําเนิดของผูใหขอมูลหลัก ทั้ง 3 กลุม.......................................................................................... 4.12 จํานวนผูใหขอมูลที่รับรูเกี่ยวกับการบริจาคเซลลตนกําเนิดของผูใหขอมูลหลัก เปรียบเทียบทั้ง 3 กลุม....................................................................... 4.13 รอยละของแหลงขอมูลที่ผูใหขอมูลหลักรับรูเกี่ยวกับเซลลตนกําเนิดของ ผูใหขอมูลหลักเปรียบเทียบทั้ง 3 กลุม..................................................

หนา 27 28 44 45 46 46 47 48 48 50 51 53 58 59 60


(9) สารบัญตาราง (ตอ) ตารางที่ หนา 4.14 เหตุผลที่สนใจ/ไมสนใจลงทะเบียนเปนผูบริจาคเซลลตนกําเนิดของ ผูใหขอมูลหลักทั้ง 3 กลุม...................................................................... 63 4.15 จํานวนของเหตุผลที่สนใจ/ไมสนใจลงทะเบียนเปนผูบริจาคเซลลตนกําเนิด ของผูใหขอมูลหลักเปรียบเทียบทั้ง 3 กลุม.............................................. 64 4.16 ปจจัยภายนอกที่สงผลตอการตัดสินใจบริจาคเซลลตนกําเนิดของผูใหขอมูลหลัก ทั้ง 3 กลุม............................................................................................ 68 4.17 สาเหตุของปญหาการเพิ่มจํานวนผูบริจาคเซลลตนกําเนิดของผูใหขอมูลหลัก ทั้ง 3 กลุม.................................................................. ......................... 71 4.18 สาเหตุของปญหาการเพิ่มจํานวนผูบริจาคเซลลตนกําเนิดของผูใหขอมูลหลัก เปรียบเทียบทั้ง 3 กลุม........................................................................... 72 4.19 แนวทางการแกไขปญหาการเพิ่มจํานวนผูบริจาคเซลลตนกําเนิดของ ผูใหขอมูลหลักทั้ง 3 กลุม....................................................................... 75 4.20 แนวทางการมีสวนรวมในการสงเสริมการบริจาคเซลลตนกําเนิด ของผูใหขอมูลหลักทั้ง 3 กลุม................................................................. 80


(10) สารบัญแผนภูมิ แผนภูมิที่ 1.1 กรอบแนวคิดของการศึกษาวิจัย........................................................... 2.1 ความสัมพันธระหวางทฤษฎีเนื้อหาของแรงจูงใจ………………….........

หนา 5 30


(11) สารบัญภาพ ภาพที่ 2.1 ลักษณะการเก็บเซลลตนกําเนิดดวยเครื่อง Automated Blood Cell Separator 2.2 ลักษณะการคืนเซลลตนกําเนิดใหผูปวยทางหลอดเลือดดํา………………… 2.3 ลักษณะการเจาะเก็บเซลลตนกําเนิดบริเวณไขกระดูกชวงสะโพก................

หนา 20 21 22


108 ประวัติผูเขียน ชื่อ-สกุล วัน เดือน ปเกิด ที่อยู ประวัติการศึกษา พ.ศ. 2544 พ.ศ. 2546 ประวัติการทํางาน พ.ศ.2545

นางสาวศิริเพ็ญ จันทจร 27 กรกฎาคม 2523 66/1 หมู 7 ซอยกันเอง ถนนปูเจาสมิงพราย ตําบลสําโรงใต อําเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ วิทยาศาตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ รุนที่ 7 เขาศึกษาตอระดับมหาบัณฑิตสาขาการจัดการระบบสุขภาพ มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ

นักเทคนิคการแพทยประจําหองปฎิบัติการดานเนื้อเยื่อ ศูนยบริการโลหิตแหงชาติ สภากาชาดไทย ตําแหนงและสถานที่ทํางานในปจจุบัน พ.ศ. 2548 - ปจจุบัน นักเทคนิคการแพทยประจําหองปฎิบัติการ บริษัทไทย สเตมไลฟ จํากัด กรุงเทพมหานคร



ภาคผนวกที่ 3 ตัวอยางการศึกษาอิสระ (3 หนวยกิต)


การพัฒนากิจกรรมทางการตลาดสําหรับสถาบันอุดมศึกษาเอกชนของไทย MARKETING ACTIVITY DEVELOPMENT FOR PRIVATE HIGHER EDUCATION INSTITUTIONS OF THAILAND

โดย นางสาวกันตฤทัย เมฆสุทร

การศึกษาอิสระนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ พ.ศ. 2553


การพัฒนากิจกรรมทางการตลาดสําหรับสถาบันอุดมศึกษาเอกชนของ ไทย Marketing Activity Development for Private Higher Education Institutions of Thailand ชื่อนักศึกษา นางสาวกันตฤทัย เมฆสุทร รหัสประจําตัว 516027 หลักสูตร บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต ปการศึกษา 2553 ______________________________________________________________________________ การศึกษาอิสระ

บัณ ฑิต วิท ยาลัย มหาวิท ยาลั ยหั ว เฉีย วเฉลิม พระเกีย รติ ไดต รวจสอบและอนุ มัติ ใ ห การศึกษาอิสระฉบับนี้ เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต เมื่อวันที่ 3 พฤศจิกายน พ.ศ.2553 _________________________________________คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย (ผูชวยศาสตราจารยพรรณราย แสงวิเชียร)

คณะกรรมการสอบการศึกษาอิสระ _________________________________________อาจารยที่ปรึกษา (อาจารย ดร. พวงชมพู โจนส) _________________________________________กรรมการ (ผูชวยศาสตราจารย สถาพร ปนเจริญ) _________________________________________กรรมการ (อาจารยรุงฤดี รัตนวิไล)


(1) การศึกษาอิสระ

ชื่อนักศึกษา รหัสประจําตัว หลักสูตร ปการศึกษา

การพัฒนากิจกรรมทางการตลาดสําหรับสถาบันอุดมศึกษาเอกชนของไทย Marketing Activity Development for Private Higher Education Institutions of Thailand นางสาวกันตฤทัย เมฆสุทร 516027 บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต 2553 บทคัดยอ

การศึกษางานวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาปจจัยที่มีอิทธิพลตอการเลือกเขาศึกษา กิจกรรมทางการตลาดที่นักเรียนและอาจารยแนะแนวใหความสําคัญ และทัศนคติข องอาจารย แนะแนวตอสถาบัน อุด มศึก ษาเอกชน เครื่องมือที่ใ ชใ นการเก็บรวบรวมข อมูลสําหรับการวิจัย เชิงปริมาณ ไดแก แบบสอบถาม โดยสอบถามจากนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย จํานวน 413 ชุด การวิเคราะหขอมูลใช สถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistics) และใชส ถิต ิเ ชิง อนุม าน (Inferential Statistics) การวิจัยครั้งนี้กําหนดความมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 สวนการวิจัย เชิงคุณภาพดําเนินการสัมภาษณอาจารยแนะแนว จํานวน 6 ราย ผลการศึกษา พบวาผูตอบแบบสอบถามสวนใหญเปนผูหญิง อายุ 17 ป มีระดับผลการเรียน 3.00 – 3.50 ศึกษาอยูระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 สังกัดโรงเรียนประเภทรัฐบาล มีภูมิลําเนาอาศัยอยู ภาคใต มีรายไดรวมตอเดือนของครอบครัวเฉลี่ย 10,001–15,000 บาท กรณีที่สอบเขามหาวิทยาลัย ของรั ฐ บาลไม ไ ด จะเลื อ กมหาวิ ท ยาลั ย เอกชนรองลงมา โดยเลื อ กมหาวิ ท ยาลั ย หั ว เฉี ย ว เฉลิมพระเกียรติเปนอันดับหนึ่ง รองลงมาคือ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ นักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย ส ว นใหญ ใ ห ค วามวนใจเข า ร ว มกิ จ กรรมทางการตลาด คื อ การเข า เยี่ ย มชมมหาวิ ท ยาลั ย (Open House) และบุค คลที่มีอิทธิพลตอการตัด สิน ใจ คือ ตัว ของนัก เรียนเอง ในการประเมิน ความสามารถของนักเรียนพบวานักเรียนประเมินตนเองวามีความสามารถปานกลาง และปจจัยที่มี อิทธิพลที่สงผลตอการเลือกสถาบันอุด มศึกษาเอกชนในทุก ปจ จัย ผลการเปรียบเทียบปจ จัยที่มี อิ ท ธิ พ ลที่ ส ง ผลต อ การเลื อ กสถาบั น อุ ด มศึ ก ษาเอกชน จํ า แนกตามข อ มู ล ส ว นบุ ค คล พบว า กลุมตัวอยางที่มีเพศ ภูมิภาคที่อาศัย แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และเกรด เฉลี่ยสะสม รายไดรวมตอเดือนของครอบครัวไมแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และขอมูลสวนบุคลจําแนกตามเพศ เกรดเฉลี่ยสะสมสงผลตอการเลือกประเภทสถาบันอุดมศึกษา


(2) แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ร ะดับ 0.05 จําแนกตามภูมิภาคที่อาศัย และรายไดรวมตอ เดือนของครอบครัวสงผลตอการเลือกประเภทสถาบันอุดมศึกษาไมแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทาง สถิติที่ร ะดับ 0.05 และการประเมิน ความสามารถตนเองตอการเขารวมกิจ กรรมทางการตลาดที่ สถาบันอุดมศึกษาเอกชนจัดขึ้น มีความสัมพันธแบบแปรผกผันตามกัน สวนการสัมภาษณอาจารย แนะแนวเกี่ยวกับทัศนคติของอาจารยแนะแนวตอสถาบันอุดมศึกษาเอกชน พบวา อาจารยแนะแนว มีทัศนคติในดานบวกตอสถาบันอุดมศึกษาเอกชนในดานความไววางใจและเชื่อมั่นความมีชื่อเสียง และการไดรับการยอมรับมาตรฐานความทันสมัย หลัก สูตรสาขาวิชาที่หลากหลาย มีสื่ออุปกรณ การเรียนการสอนที่ทัน สมัย และอาจารยใหการดูแลนักศึกษาเปนอยางดี รวมถึงการจัด กิจกรรม ทางการตลาดที่สถาบันอุดมศึกษาเอกชนควรจัด กิจกรรมมากที่สุดใหกับนักเรียน ซึ่งจะสงผลตอ การตัดสินใจเลือกสถาบันอุดมศึกษาเอกชน คือ กิจกรรมเยี่ยมชมมหาวิทยาลัย (Open House) และ ควรมีการเสริมทักษะความรูที่เปนประโยชนตอการสอนของอาจารยแนะแนวดวย


(3) กิตติกรรมประกาศ การศึกษาอิสระฉบับนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต ไดสําเร็จลุลวงดวยดี ดวยความกรุณาเปนอยางยิ่งของอาจารยที่ปรึกษา อาจารย ดร. พวงชมพู โจนส และคุณ นิชาภา จุลประยูร ซึ่งไดเสี ยสละเวลาอัน มีคาในการใหคําปรึก ษาและคําแนะนําแกไข ขอบกพรองรวมทั้ง ขอคิดเห็นตาง ๆ อันเปนประโยชน จนทําใหการศึกษาอิสระฉบับนี้สําเร็จลงได ดวยดี ผูวิจัยขอกราบขอบพระคุณอยางสูงไว ณ ที่นี้ ขอขอบพระคุณ มหาวิทยาลัยหัว เฉียวเฉลิม พระเกียรติเปน อยางสูงที่ใ หโ อกาสและให การสนับสนุน ทําใหผูวิจัยไดรับการสนับสนุน ทุน การศึก ษาในครั้งนี้ และจะขอระลึก ถึงดว ย ความซาบซึ้งตลอดไป ขอกราบขอบพระคุณคณาจารยคณะบริหารธุร กิจ มหาวิทยาลัยหัว เฉียว เฉลิมพระเกียรติและคณาจารยจากมหาวิทยาลัยตาง ๆ ที่ใ หคําแนะนําสั่งสอน ตลอดระยะเวลาที่ ผูท ําการศึกษา ผูวิจัยไดรับความชวยเหลืออยางดียิ่งจากผูบังคับบัญชา และเพื่อนรวมงานจากมหาวิทยาลัย หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ และมหาวิทยาลัยกรุงเทพ คุณชัยรถ หมอเมือง และคุณ บุบผา กลิ่นพุฒ ที่ชว ยสนับสนุน ในการทําวิจัยการศึก ษาอิสระนี้ และขอขอบคุณ เจาหนาที่จ ากบัณ ฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยหัว เฉียวเฉลิมพระเกียรติที่ชวยอํานวยความสะดวกในการติดตอประสานงาน และ ขอบคุณเพื่อน ๆ นักศึกษา M.B.A.12 ที่คอยชวยเหลือคอยใหกําลังใจและเปนที่ปรึกษาใหแกผูวิจัย ตลอดมา ทายสุดนี้ ขอกราบขอบพระคุณ คุณพอ คุณแม รวมทั้งทุกคนในครอบครัวที่ไดใหทั้งความ รัก ความหวงใย อันเปนสิ่งสําคัญที่ทําใหผูวิจัยมีกําลังใจในการศึกษามาโดยตลอด ผูวิจัยหวังเปน อยางยิ่งวาการศึกษาอิสระฉบับนี้จ ะเปน ประโยชนแกผูสนใจศึกษาคนควาหาความรูเพิ่มเติมใน โอกาสตอไป

กันตฤทัย เมฆสุทร


(4) สารบัญ หนา (1) บทคัดยอ…………………………………………………………………………………….. กิตติกรรมประกาศ………………….………………………………………….…………….. (3) สารบัญ..................................................................................................................................... (4) (6) สารบัญตาราง........................................................................................................................... (8) สารบัญแผนภูมิ........................................................................................................................ บทที่ 1. บทนํา 1.1 ความเปนมาและความสําคัญของปญหา.............................................................. 1.2 วัตถุประสงคในการศึกษา.................................................................................... 1.3 ขอบเขตในการศึกษา........................................................................................... 1.4 นิยามศัพทที่ใชในการศึกษาวิจัย.......................................................................... 1.5 ประโยชนทคี่ าดวาจะไดรับจากการศึกษา............................................................

1 5 6 6 7

2. แนวคิด ทฤษฎี และงานการวิจัยที่เกี่ยวของ 2.1 แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับแรงจูงใจ........................................................................... 2.2 แนวคิดเรื่องปจจัยที่เปนแรงจูงใจในการศึกษาตอ................................................ 2.3 แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับการตัดสินใจ..................................................................... 2.4 แนวคิดทฤษฎีระบบ............................................................................................. 2.5 แนวคิดเรื่องทัศนคติ............................................................................................ 2.6 ปจจัยเกี่ยวกับการตัดสินใจศึกษาตอ.................................................................... 2.7 งานวิจัยที่เกี่ยวของ............................................................................................... 2.8 กรอบแนวคิดในการศึกษา................................................................................... 2.9 สมมติฐานในการศึกษา........................................................................................

9 14 15 18 20 21 24 26 27


(5) สารบัญ (ตอ) บทที่ หนา 3. วิธีการดําเนินการวิจัย 3.1 ขอมูลและแหลงขอมูล......................................................................................... 28 3.2 ประชากรและกลุมตัวอยาง.................................................................................. 29 3.3 เครื่องมือที่ใชในการรวบรวมขอมูล..................................................................... 31 3.4 การสรางและพัฒนาเครื่องมือ.............................................................................. 34 3.5 การเก็บรวบรวมขอมูล......................................................................................... 35 3.6 การวิเคราะหขอมูล.............................................................................................. 35 3.7 ระยะเวลาที่ใชในการศึกษาวิจัย........................................................................... 36 4. ผลการศึกษา 4.1 การวิเคราะหขอมูลโดยใชสถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistic).................... 4.2 ผลการทดสอบสมมติฐานโดยใชสถิติเชิงอนุมาน (Inferential Statistic)……….. 4.3 ขอมูลเบื้องตนของผูถูกสัมภาษณ........................................................................ 4.4 ผลการสัมภาษณของอาจารยแนะแนวการศึกษา.................................................. 5. สรุปผลการศึกษา อภิปรายผล และขอเสนอแนะ 5.1 สรุปผลการศึกษา................................................................................................. 5.2 อภิปรายผล.......................................................................................................... 5.3 ขอจํากัดของการวิจัย............................................................................................ 5.4 ขอเสนอแนะ........................................................................................................ บรรณานุกรม............................................................................................................................ ภาคผนวก ผนวก ก. ภาพตัวอยางกิจกรรมทางการตลาด.............................................................. ผนวก ข. แบบสอบถามการวิจัยเชิงปริมาณ................................................................ ผนวก ค. แบบสอบถามการวิจัยเชิงคุณภาพ................................................................ ประวัติผูเขียน...........................................................................................................................

39 50 62 62

71 75 78 78 81 84 87 92 95


(6) สารบัญตาราง ตารางที่ หนา 1.1 ขอมูลจํานวนสถาบันอุดมศึกษาที่สังกัดสํานักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา............ 2 1.2 ขอมูลจํานวนสถาบันอุดมศึกษาเอกชนจําแนกภูมิภาคตามที่ตั้งของสถาบัน (รวมวิทยาเขต)……………………………………………………………………. 3 2.1 จํานวนกลุมตัวอยางจําแนกตามภูมิภาค.................................................................... 31 3.1 ระยะเวลาดําเนินการ................................................................................................. 37 4.1 จํานวนและรอยละจําแนกตามเพศของกลุมตัวอยาง………………………………. 39 4.2 จํานวนและรอยละจําแนกตามอายุของกลุมตัวอยาง................................................. 39 4.3 จํานวนและรอยละจําแนกตามระดับผลการเรียนของกลุมตัวอยาง........................... 40 4.4 จํานวนและรอยละจําแนกตามระดับชั้นการศึกษาของกลุมตัวอยาง......................... 40 4.5 จํานวนและรอยละจําแนกตามโปรแกรมที่ศึกษาของกลุมตัวอยาง........................... 41 4.6 จํานวนและรอยละจําแนกตามประเภทของโรงเรียนกลุมตัวอยาง............................ 41 4.7 จํานวนและรอยละจําแนกตามภูมิภาคที่อาศัยของกลุมตัวอยาง................................ 42 4.8 จํานวนและรอยละจําแนกตามรายไดรวมตอเดือนของครอบครัวกลุมตัวอยาง…… 42 4.9 จํานวนและรอยละของกลุมตัวอยางที่เลือกประเภทของสถาบันอุดมศึกษา.............. 43 4.10 จํานวนและรอยละของการเลือกสถาบันอุดมศึกษาเอกชนของกลุมตัวอยาง............ 44 4.11 จํานวนและรอยละจําแนกตามกิจกรรมทางการตลาดที่กลุมตัวอยางใหความสนใจ 45 4.12 จํานวนและรอยละจําแนกตามบุคคลที่มีอิทธิพลตอการตัดสินใจเลือก สถาบันอุดมศึกษาของกลุมตัวอยาง.......................................................................... 45 4.13 คาเฉลี่ยของกลุมตัวอยางแสดงถึงการประเมินตนเองกอนการตัดสินใจเลือก สถาบันอุดมศึกษาเอกชน........................................................................................................................ 46 4.14 ระดับความสําคัญที่มีอิทธิพลตอการตัดสินใจเลือกสถาบันอุดมศึกษาเอกชน.......... 48 4.15 ความสัมพันธระหวางเพศกับปจจัยที่มีอิทธิพลตอการเลือก สถาบันอุดมศึกษาเอกชน.......................................................................................... 51 4.16 ความสัมพันธระหวางเกรดเฉลี่ยสะสมกับปจจัยที่มีอิทธิพลตอการเลือก สถาบันอุดมศึกษาเอกชน.......................................................................................... 52 4.17 ความสัมพันธระหวางภูมิภาคที่อาศัยกับปจจัยที่มีอิทธิพลตอการเลือก สถาบันอุดมศึกษาเอกชน………………………………..………………………… 53


(7) สารบัญตาราง (ตอ) ตารางที่ หนา 4.18 การทดสอบรายคูของภูมิภาคที่อาศัยกับปจจัยที่มีอิทธิพลตอการเลือก สถาบันอุดมศึกษาเอกชนดานคาใชจายและทุนการศึกษา......................................... 54 4.19 การทดสอบรายคูของภูมิภาคที่อาศัยกับปจจัยที่มีอิทธิพลตอการเลือก สถาบันอุดมศึกษาเอกชนดานอิทธิพลที่เกี่ยวของกับการตัดสินใจ........................... 55 4.20 ความสัมพันธระหวางรายไดรวมตอเดือนของครอบครัวกับปจจัยที่มีอิทธิพลตอ การเลือกสถาบันอุดมศึกษาเอกชน........................................................................... 56 4.21 การทดสอบรายคูของรายไดรวมตอเดือนของครอบครัวกับปจจัยที่มีอิทธิพลตอ การเลือกสถาบันอุดมศึกษาเอกชน ดานคาใชจายและทุนการศึกษา......................... 57 4.22 ความสัมพันธระหวางขอมูลสวนบุคคลที่แตกตางกันสงผลตอการเลือกประเภท ของสถาบันการศึกษา............................................................................................... 59 4.23 ความสัมพันธระหวางความสามารถของนักเรียนกับการเขารวมกิจกรรม ทางการตลาดที่สถาบันอุดมศึกษาเอกชนจัดขึ้น........................................................ 60 4.24 รายละเอียดของผูตอบแบบสัมภาษณ....................................................................... 62 5.1 สรุปผลการวิเคราะหและทดสอบสมมติฐานขอมูลสวนบุคคลที่แตกตางกันสงผล ตอการใหความสําคัญกับปจจัยที่มีอิทธิพลตอการเลือกสถาบันอุดมศึกษาเอกชน.... 73 5.2 ขอมูลสวนบุคคล ไดแก เพศ เกรดเฉลี่ยสะสม ภูมิภาคที่อาศัย และรายไดรวมตอ เดือนของครอบครัวที่แตกตางกันสงผลตอการเลือกประเภทสถาบันอุดมศึกษา...... 73


(8) สารบัญแผนภูมิ แผนภูมิที่ หนา 1.1 ขอมูลจํานวนนักศึกษาใหมของสถาบันอุดมศึกษาเอกชนบางแหง ตั้งแตปการศึกษา 2549 – 2553............................................................................... 4 2.1 ทฤษฎีลําดับขั้นความตองการของมาสโลว............................................................ 11 2.2 องคประกอบของระบบ......................................................................................... 19 2.3 กรอบแนวคิด......................................................................................................... 26


95 ประวัติผูเขียน ชื่อ - สกุล วัน เดือน ปเกิด ที่อยูปจจุบัน ประวัติการศึกษา พ.ศ. 2540 พ.ศ. 2551 ประวัติการทํางาน พ.ศ. 2544 – 2552

นางสาวกันตฤทัย เมฆสุทร 22 ตุลาคม 2522 399/38 หมูที่ 8 ถนนปูเจาสมิงพราย ตําบลสําโรงกลาง อําเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ 10130 คณะบริหารธุรกิจ สาขาวิชาการเงิน มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ เขาศึกษาตอปริญญาโทหลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ

นักวิชาการการศึกษาแผนกรับนักศึกษา สํานักทะเบียนและประมวลผล มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ ตําแหนงและสถานที่ทํางานในปจจุบัน พ.ศ. 2553 – ปจจุบัน หัวหนาแผนกรับนักศึกษา สํานักทะเบียนและประมวลผล มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.