(1) คํานํา คูมือวิทยานิพนธ การศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) และการศึกษาอิสระ (3 หนวยกิต) ฉบับนี้ เปนฉบับปรับปรุงครั้งที่ 4 ประจําปการศึกษา พ.ศ. 2553 บัณฑิตวิทยาลัยไดมีคําสั่งแตงตั้ง คณะทํางานซึ่งเปนผูแทนจากหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษาของมหาวิทยาลัย ประกอบดวย ผูชว ย ศาสตราจารย ดร.ชุติระ ระบอบ อาจารยดร.สุณี ชาญณรงค อาจารย ดร.วรรณรัตน รัตนวรางค อาจารย ดร.ปนหทัย ศุภเมธาพร อาจารย ดร. ปวีณา วองตระกูล อาจารย ดร.ลั่นทม จอนจวบทรง อาจารย ดร.จตุรงค บุณยรัตนสุนทร อาจารย ดร.วิชุดา กิจธรธรรม และอาจารย ฤทธิชัย เตชะมหัทธ นันท โดยมี ผูชวยคณบดีบัณฑิตวิทยาลัยและเลขานุการบัณฑิตวิทยาลัย เปน เลขานุการและ ผูชวยเลขานุการ ตามลําดับ เพื่อทําหนาที่ปรับปรุงคูมือใหทันสมัย บัณฑิตวิทยาลัยจึงใคร ขอขอบพระคุณคณะทํางานเปนอยางสูงไว ณ โอกาสนี้ ในครั้งนี้ไดมีการปรับปรุงเนื้อหาของคูมือใหทันสมัยยิ่งขึ้น ทั้งในเรื่อง บทนํา ขั้นตอนการ ทําวิทยานิพนธและการศึกษาอิสระ การเขียนเคาโครง สวนประกอบของวิทยานิพนธและ การศึกษาอิสระ วิธีการพิมพเปนรายงาน วิธีการอางอิง การเขียนบรรณานุกรม และจรรยาบรรณ นักวิจัย ตลอดจนตัวอยางการพิมพวิทยานิพนธและการศึกษาอิสระในภาคผนวกที่ 1, 2 และ 3 ตอนทานเลม ทั้งนี้เพื่อชวยใหนักศึกษา หรือ นักวิจัยรุนใหมสามารถอานและทําความเขาใจได โดยงายกับการศึกษาทั้ง 3 ระดับ ไมวา จะเปน วิทยานิพนธ การศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) หรือ การศึกษาอิสระ (3 หนวยกิต) ตลอดจนขั้นตอนตาง ๆ ในการดําเนินงานทําการศึกษาเพื่อให บรรลุเปาหมายและประสบความสําเร็จ โดยคํานึงถึงคุณภาพเปนสิ่งสําคัญ นอกจากนี้บัณฑิตวิทยาลัยไดนําคูมือขึ้นไวบนเวบไซตของบัณฑิตวิทยาลัย ที่ URL: grad.hcu.ac.th เพื่อชวยใหนักศึกษาสามารถเขาถึงไดโดยงาย สะดวก และประหยัด ทั้งยังชวย ประหยัดการใชกระดาษ และรักษาสิ่งแวดลอมอีกทางหนึ่งดวย บัณฑิตวิทยาลัยหวังเปนอยางยิ่งวา คูมือฉบับนี้จะชวยใหนักศึกษาสามารถทําวิทยานิพนธ การศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) และการศึกษาอิสระ (3 หนวยกิต) อยางมีคุณภาพ ไดมาตรฐาน และเปนที่ยอมรับทางวิชาการในที่สุด บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ กุมภาพันธ 2554
บทที่ 1 บทนํา 1.1 ความหมายของวิทยานิพนธ การศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) และการศึกษาอิสระ (3-4 หนวยกิต) การศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษามีจุดมุงหมายเพื่อสรางบุค ลากรที่มีค วามชํานาญในดาน วิชาการหรือวิชาชีพชั้นสูง รวมถึงการสรางองคความรูใหมทจี่ ะเปนประโยชนตอสังคมในภาพรวม ดังนั้นการศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษาจึงมุงหวังให ผูเรียนมีความรู ประสบการณ และทักษะการ วิจัยเบี้องตน ซึ่งทุกหลักสูตรในระดับบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ ไดระบุ เปนเงื่อนไขไววา นักศึกษาในระดับ บัณฑิตศึก ษาทุกคนจะตองทําการศึกษาหรือวิจัยในหัวขอที่ สําคัญและนาสนใจจนเสร็จสมบูรณ จึงจะสําเร็จเปนมหาบัณฑิต ไดอยางเต็มภาคภูมิใจ เมื่อทําการศึกษาหรือวิจัยสําเร็จเรียบรอยแลว จะดองทํารายงานผลงานโดยจัดพิมพเปน รูปเลมอยางชัดเจน และเรียกรายงานการศึกษาหรือการวิจัยซึ่งเปนสวนหนึ่งของการศึกษาในระดับ บัณฑิตศึกษานี้วา วิทยานิพนธ หรือ การศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) หรือ การศึกษาอิสระ (3 หนวยกิต) สําหรับการศึ ก ษาในระดับ บัณ ฑิ ต ศึก ษา มหาวิทยาลัย หัว เฉียวเฉลิ มพระเกี ยรติ ได กํ าหนดให นักศึกษาเลือกศึกษาได 1 ใน 3 ระดับนี้ โดยขึ้นอยูกับเงื่อนไขและความพรอมของแตละหลักสูตร รวมทั้งความตองการของผูเรียน เปนสําคัญ ดังนั้น วิทยานิพนธ หรือ การศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) หรือ การศึกษาอิสระ (3 หนวยกิต) จึงหมายถึง รายงานการศึกษาหรือวิจัยในหัวขอที่สําคัญและนาสนใจจนเสร็จสมบูรณครบถวนตาม ขั้นตอนระเบียบวิธีวิจัยที่ดี (ซึง่ มีรายละเอียดแตกตางกันในเรื่องขนาดและคุณภาพของผลงานที่ได จากการศึกษา จําแนกเปน 3 ระดับ ดังจะไดกลาวตอไป) การศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษาทุกหลักสูตรของมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ มี แผนการศึกษาใหเลือกเรียนได 2 แผน คือ แผน ก. และ แผน ข. ดังแสดงในตารางที่ 1-1 นักศึกษาทุกหลักสูตรที่เลือกเรียนแผน ก. ตองทําวิทยานิพนธ (12-15 หนวยกิต) สําหรับนักศึกษาที่เลือกเรียนแผน ข. จะเลือกทําการศึกษาอิสระ ซึ่งมีจํานวนหนวยกิต แตกตางกันตามแตหลักสูตร อาทิเชน
2
หลักสูตรสังคมสงเคราะหศาสตรมหาบัณฑิต (Master of Social Work, MSW) สามารถเลือก ทําการศึกษาอิสระ (3 หนวยกิต) หลักสูตรพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน (Master of Nursing Sciences, MNS) จะตองทําการศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) หลักสูตรการจัดการมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการอุตสาหกรรม (Master of Management, MM) จะตองทําการศึกษาอิสระ (3 หนวยกิต) และหลั ก สู ต รศิล ปศาสตรมหาบัณ ฑิต สาขาวิช าวรรณคดีจี น สมั ยใหม และร ว มสมั ย (Master of Arts, MA) จะตองทําการศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) เปนตน ตารางที่ 1-1 แผนการศึกษาในแตละหลักสูตรของบัณฑิตวิทยาลัย (จํานวนหนวยกิต)
แผนการศึกษา 1. หลั ก สู ต รสั ง คมสงเคราะห ศ าสตรมหาบั ณ ฑิ ต 2. หลั ก สู ต รบริ ห ารธุ ร กิ จ มหาบั ณ ฑิ ต 3. หลักสูตรการจัดการมหาบัณฑิต (สาขาวิชาการจัดการอุตสาหกรรม) 4. หลั ก สู ตรพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต (สาขาวิชาการพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน) 5. หลั ก สู ตรพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต (สาขาวิชาการพยาบาลผูใหญ) 6. หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (สาขาวิชาวรรณคดีจีนสมัยใหมและรวมสมัย) 7. หลักสูตรเภสัชศาสตรมหาบัณฑิต (สาขาวิชาเทคโนโลยีเภสัชกรรม)
8. หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (สาขาวิชาวิทยาศาสตรเครื่องสําอาง) 9. หลักสูตรนิเทศศาสตรมหาบัณฑิต (สาขาวิชาการสื่อสารสุขภาพ) 10. หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (สาขาวิชาการสื่อสารภาษาไทยเปนภาษาที่สอง) 11. หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (สาขาวิชาภาษาอังกฤษระดับสูงเพื่อการสื่อสาร) 12. หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (สาขาวิชาการจัดการสิ่งแวดลอมและความปลอดภัย) 13. หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (สาขาวิชาจีนศึกษา) 14. หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (สาขาวิชาการสอนภาษาจีน) 13. หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (สาขาวิชาภาษาจีนเพื่อการสื่อสารเชิงธุรกิจ)
แผน ก. วิทยา นิพนธ
แผน ข. การศึกษา อิสระ
12 12 12 12 12 12 15 15 12 12 12 12 12 12 12
3 3 3 6 6 6 6 6 6 6 6 6 6 6 6
3
1.2 ความแตกตางของวิทยานิพนธ การศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) และการศึกษาอิสระ (3 หนวยกิต) วิทยานิพนธ การศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) และการศึกษาอิสระ (3-4 หนวยกิต) ของ มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ มีรูปแบบและการจัดทําคลายคลึงกัน คือ ยึดหลักของระเบียบ วิธีการวิจัยที่ดี (Research Methodology) อยางไรก็ตาม ผลงานทั้งสามระดับนี้ นอกจากมีความแตกตาง กันในดานคุณภาพและปริมาณของการวิจัย ซึ่งรวมถึงความละเอียด ลุมลึกและความแมนยําของ ผลงานแลว ยัง มีความแตกตางในเรื่องจํานวนหนว ยกิต ระยะเวลาในการศึกษา และการสอบ ปองกัน ดังแสดงในตารางที่ 1-2 ตารางที่ 1-2 ความแตกตางระหวางวิทยานิพนธ และการศึกษาอิสระ
ประเภท วิทยานิพนธ (แผน ก.) การศึกษา อิสระ (แผน ข.) การศึกษาอิสระ (แผน ข.)
จํานวน หนวยกิต 12-15 6
3
ระยะเวลาในการศึกษา
การสอบปองกัน
ไมเกิน 5 ป นับจากภาคการศึกษาแรก ที่เขาศึกษา ไมเกิน 5 ป นับจากภาคการศึกษาแรก ที่เขาศึกษา
มีกรรมการผูทรงคุณวุฒิภายนอกรวม เปนกรรมการสอบ มีคณะกรรมการผูทรงคุณวุฒิเปน กรรมการสอบ
ภายใน 1 ภาคการศึกษา นับจากไดรับ มีการประเมินในชั้นเรียนโดย การอนุมัติจากอาจารยที่ปรึกษา คณะกรรมการซึ่งไดรับการแตงตั้ง จากคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย
ในการทําผลงานทั้ง 3 ระดับนี้ จะถือวา วิทยานิพนธ เปนรายงานที่สมบูรณที่สุด รองลงมา คือ การศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) และตามดวยการศึกษาอิสระ (3 หนวยกิต) ดังมีรายละเอียด ดังนี้ วิทยานิพนธ (12-15 หนวยกิต) หมายถึง รายงานการศึกษาวิจัยทางวิชาการที่มีระเบียบวิธี วิจัยที่ดีและมีคุณภาพสูงทางวิชาการ ประกอบดวย - หัวขอในการศึกษาที่ชัดเจน
4
- การทบทวนวรรณกรรมที่มีก ารวิเคราะหและสังเคราะหแนวคิด ทฤษฎี และ ผลงานวิจัยที่เกี่ยวของ เพื่อใหเห็นความสัมพัน ธกับประเด็นที่จะศึก ษาอยางชัดเจน จนสามารถ กําหนดกรอบแนวความคิดของการวิจัยได - การตั้งสมมติฐาน (ถามี) - การพัฒนาและทดสอบความถูกตองและแมนยําของเครื่องมือ - การกําหนดประชากรและเลือกกลุมตัวอยางและการเก็บขอมูลอยางเปนระบบ - การวิเคราะหขอมูลที่ถูกตองตามหลักสถิติ - การสรุปและเสนอแนะที่สอดคลองกับผลการวิจัย โดยมีเปาหมายสูงสุดอันเปนผลมาจากการศึกษาในระดับวิทยานิพนธ คือ การสราง องคความรูใหม ที่มีคุณคาและเกิดประโยชนตอสังคมและประเทศตอไป การศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) มีรูปแบบและการดําเนินงานคลายกับวิทยานิพนธแตแตกตาง กันในดานความลุมลึก และความเขมขนทางวิชาการที่นอยกวาและยืดหยุนไดมากกวาในระดับของ วิทยานิพนธ กลาวคือ ในการศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) มีการกําหนดกรอบแนวคิด การทบทวนแนวคิด ทฤษฎี หรือ วรรณกรรมที่เกี่ยวของ ซึ่งอาจทําอยางกวาง ๆ เพื่อใหเห็นความเชื่อมโยงเกี่ยวกับ ประเด็นที่จะศึกษา และอาจไมจําเปนตองตั้งสมมติฐานในการศึกษา การศึกษาอิสระ (3 หนวยกิต) หมายถึง รายงานผลการศึกษาคนควา โดยมีลักษณะการ จัดการเรียนการสอนถือเปนอีกหนึ่งวิชาที่ตองการใหนักศึกษาไดฝกหัดทําผลงานทางวิชาการขั้นตน เพื่อใหเกิดความรูความเขาใจ และทักษะในการวิจัยมากยิ่งขึ้น ทั้งยังกําหนดเวลาที่ตองทําการศึกษา และจัดทํารายงานใหเสร็จสิ้นภายใน 1 ภาคการศึก ษา มีการประเมินแบบรายวิชาทั่ว ไป โดย คณะกรรมการซึ่งไดรับการแตงตั้งจากคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย นอกจากความเขมขน ทางวิชาการและจํานวนหนวยกิตดังที่ไ ดก ลาวมาแลว ยังมีค วาม แตกตางในเรื่องของการสอบอีกดวย ผูที่เลือกทําวิทยานิพนธและการศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) จะตองทําการสอบปองกันเมื่อทําผลงานเสร็จเปนที่เรียบรอยแลว โดยคณะกรรมการสอบปองกัน ประกอบดวยอาจารยที่ปรึกษา อาจารยที่ปรึกษารวม (ถามี) อาจารยประจําหรืออาจารยพิเศษที่แตงตั้ง โดยคณบดีบัณฑิตวิทยาลัยเปนผูสอบ ในกรณีที่เปนวิทยานิพนธ คณะกรรมการสอบปองกันจะตองประกอบดวย ผูทรงคุณวุฒิ ภายนอก อยางนอย 1 ทาน มารวมเปนกรรมการสอบปองกัน แตการสอบปองกันการศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) ไมจําเปนตองมีผูทรงคุณวุฒิภายนอกมารวมเปนกรรมการสอบปองกัน
5
สําหรับการศึกษาอิสระ (3 หนวยกิต) ซึ่งถือเปนหนึ่งรายวิชา มีการสอบในชั้นเรียน และมี การประเมินผลเชนเดียวกับรายวิชาทั่วไป โดยคณะกรรมการซึ่งไดรับการแตงตั้งจากคณบดีบัณฑิต วิทยาลัย นอกจากนี้ผลการประเมินวิทยานิพนธและการศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) จะเปน S หรือ U (satified หรือ unsatisfied) เทานั้น ขณะที่การศึกษาอิสระ (3-4 หนวยกิต) ผลการประเมินเปนระดับ คะแนน (Grade) 8 ระดับ ซึ่งมีแตมระดับคะแนนคลายกับรายวิชาทั่วไป คือ A, B+, B, C+, C, D+, D, และ F อยางไรก็ตาม ไมวานักศึกษาจะเลือกทําวิทยานิพนธ การศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) หรือ การศึกษาอิสระ (3-4 หนวยกิต) ผลการศึกษาในครั้งนี้ถือเปนโอกาสอันดีที่นักศึกษาจะไดรับการ ฝกฝนใหเปนนักวิจัยที่ดี ที่ตองทําการวางแผนการศึกษาวิจัย รูจักการคิดเชิงวิเคราะหอยางมีระบบ มี เหตุผล มีนิสัยรักการศึกษาคนควา อันเปนคุณสมบัติที่พึงประสงคของผูที่เปนมหาบัณฑิต 1.3 คุณลักษณะที่ดีของวิทยานิพนธ การศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) และการศึกษาอิสระ (3 หนวยกิต) ดวยเหตุที่วิทยานิพนธ การศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) และการศึกษาอิสระ (3 หนวยกิต) เปน สวนหนึ่งของการศึกษาในระดับมหาบัณฑิต ดังนั้น แนวคิดเกี่ยวกับคุณลักษณะที่ดีของวิทยานิพนธ การศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) และการศึกษาอิสระ (3 หนวยกิต) ที่พึงปรารถนาจึงเปนประเด็นที่ นักศึกษาควรตระหนักถึงและวางแผนไวลว งหนาวา ทําอยางไรจึงจะทําใหวิทยานิพนธ การศึกษา อิสระ (6 หนวยกิต) และการศึกษาอิสระ (3 หนวยกิต) ของตนมีคุณภาพเปนที่ยอมรับในทางวิชาการ และสามารถนําไปอางอิงในการศึกษาวิจัยของผูอื่นตอไปได วิทยานิพนธ การศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) และการศึกษาอิสระ (3 หนวยกิต) มีบทบาทสําคัญ ตอนักศึกษาและตอผูอื่นอยางนอย 2 ประการ คือ ประการแรก เปน การเพิ่มพูนความรู ทักษะ และประสบการณใ นการผลิตผลงานทาง วิชาการให กับ นัก ศึ ก ษา โดยมีค ณาจารย เป น ที่ป รึก ษา พร อมทั้ งมี ค ณะกรรมการคอยติด ตาม พิจารณาและประเมินผล เพื่อใหไดผลงานทีด่ ีมีคุณภาพ ประการที่สอง เปนประโยชนแกผูอื่นที่สนใจสามารถนําผลที่ไดจากการศึกษาไปใชใ น การศึกษา อางอิง ตอยอด ขยายองคความรูใหม ๆ หรือ นําไปประยุกตใชในการแกไขและปรับปรุง ปญหา หรือ นําไปพัฒนาใหเกิดประโยชนตอไปได
6
คุณ ลัก ษณะที่ดีข องวิทยานิพนธ การศึก ษาอิสระ (6 หนว ยกิต ) และการศึก ษาอิสระ (3 หนวยกิต) มีดังนี้ 1.3.1 ประโยชนที่ไดรับ งานวิทยานิพนธ การศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) และการศึกษาอิสระ (3 หนวยกิต) ที่นักศึกษาจัดทําขึ้น ควรเปนเรื่องที่สําคัญและนาสนใจ มีประโยชนหรือนําไปตอยอด ได จึงควรมีวัตถุประสงคที่ชัดเจน และตอบคําถามไดวา “ทําเพื่ออะไร” หรือ ประโยชนที่คาดวาจะ ไดรับมีอยางไรบาง ในกรณีที่จุดมุงหมายและประโยชนที่คาดวาจะไดรับยังไมชัดเจน นักศึก ษาควรไดรับ คําปรึกษาจากอาจารยที่ปรึกษาเพื่อพิจารณา ปรับปรุง และแกไขเปนอันดับแรก 1.3.2 การสรางองคความรูใหม การผลิตผลงานทางวิชาการเปนวิธีการสําคัญวิธีหนึ่งในการ สรางองคความรู (Body of knowledge) ซึ่งเปนผลมาจากการสั่งสมของการแสวงหา การคนพบ และ ประสบการณข องสมาชิก ในสัง คมนั้น ๆ การศึก ษาหรือการวิจ ัย ไมว า จะเปน วิท ยานิพ นธ การศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) หรือ การศึกษาอิสระ (3 หนวยกิต) ลวนมีโอกาสสําคัญในการสราง องคความรูใหมใหมีคุณคาและเกิดประโยชนแกสังคม ในทางตรงกันขามการผลิตผลงานที่ไดจากการศึกษาหรือการวิจัยที่นําเอาองคความรูเดิม ของผูอื่นมาทําซ้ํา มาปรับปรุง หรือ แกไขเพียงเล็ก นอย เชน การเปลี่ยนพื้นที่หรือเปลี่ยนกลุม ตัวอยาง ที่ไมทําใหผลการศึกษาวิจัยเปลี่ยนแปลงไปจากเดิมมากนัก จึงไมนับวาเปนวิทยานิพนธ การศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) และการศึกษาอิสระ (3 หนวยกิต) ที่พึงปรารถนา 1.3.3 ความสอดคลองที่ชัดเจนของหัวขอกับแนวคิดและทฤษฎี วิทยานิพนธ การศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) และการศึกษาอิสระ (3 หนวยกิต) ที่ดี ควรมีการศึกษาคนควาแนวคิดและทฤษฎีที่ เกี่ยวของกับหัวขอของผลงานที่ศึกษาหรือวิจัยอยางกวางขวางและลึกซึ้ง รวมถึงการวิเคราะหและ สังเคราะหใหเกิดกรอบแนวคิดของงานดวยตัวผูทําการศึกษาเอง มิใ ชเพี ยงแคคัด ลอกและนํามาเรียงตอกัน เทานั้น ควรเรียบเรียงดว ยสํานวนของตนเอง เพื่อใหตกผลึกในแนวคิดถึงปญหางานที่ศึกษาที่แทจริง ทั้งยังแสดงถึงความตั้งใจจริง ใฝรู ขวนขวาย คนหาองคความรูที่เกี่ยวของ ซึ่งจะเปนประโยชนโดยตรงกับผูศึกษาหรือวิจัย และทําใหเกิดความ ชัดเจนในหัวขอเรื่อง ซึ่งจะเปนประโยชนในการวิเคราะห และอภิปรายผล และสงผลถึงคุณภาพของ วิทยานิพนธ การศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) และการศึกษาอิสระ (3 หนวยกิต) ของนักศึกษาอีกทาง หนึ่งดวย 1.3.4 ความถูก ตอ งและนาเชื่อ ถื อ ของระเบีย บวิธีวิจัย ในการศึก ษาหรื อการวิจัย ควร ดําเนินการโดยยึดหลักระเบียบวิธีวิจัยที่ดี ตั้งแต การตั้งคําถามการวิจัย การสรางกรอบแนวคิด หรือ การ สรางกรอบการอธิบายในระดับทฤษฎีที่มีตอปรากฏการณที่ตั้งใจจะศึกษา การตั้งสมมติฐาน (ถามี) การ
7
ออกแบบการวิจัย การสุมตัวอยาง การเก็บรวบรวมขอมูล การวิเคราะหขอมูล และการนําเสนอ งานวิจัย ระเบียบวิธีวิจัยที่ดีควรเนนความถูกตอง (validity) และเชื่อถือได (reliability) ควรมีขั้นตอน ที่เ รี ย บง าย ไม ค วรให ยุ ง ยากหรื อ สลับ ซั บ ซ อ นเกิ น ความจํ า เป น แต ทั้ งนี้ ขึ้ น อยู กับ ประเภท จุดมุงหมาย และชนิดของผลงานอีกดวย 1.3.5 ความครอบคลุมของเนื้อหา รายงานที่ศึกษาควรมีเนื้อหาที่ครอบคลุมประเด็นตาง ๆ ที่ เกี่ยวของอยางครบถวน และตองมีความลึกซึ้ง คมชัดในประเด็นที่เปนจุดเนนของหัวขอวิทยานิพนธ การศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) และการศึกษาอิสระ (3-4 หนวยกิต) อยางมีคุณภาพ ผานการวิเคราะห และสังเคราะหอยางดี ไมฉาบฉวย รวบรัด จนทําใหละทิ้งหรือขามขั้นตอนที่สําคัญของงานที่ศึกษา หรือวิจัย หรือนําเสนอผลงานที่คลุมเครือ ไมชัดเจน 1.3.6 จริยธรรมในการวิจัย งานที่ศึกษาหรือวิจัยควรเปนงานที่นักศึกษาคิดคนปญหาขึ้นมา เอง หรือ เปนการทํางานรวมระหวางนักศึกษากับอาจารยที่ปรึกษา ไมซ้ําซอนกับผลงานของผูอื่น ควรเคารพในหลักมนุษยธรรมในระหวางการดําเนินงาน ไมสงผลกระทบในทางลบตอกลุมตัวอยาง ที่เปนมนุษย หากนักศึกษาสามารถทําใหวิทยานิพนธ การศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) และการศึกษาอิสระ (3 หนวยกิต) มีคุณลักษณะทั้ง 6 ขอดังกลาวนี้ได ผลงานของนักศึกษาก็จะไดรับการยอมรับในทาง วิชาการ และจะมีคุณคายิ่งตอการเสริมสรางและพัฒนาองคความรูใหม ๆ ใหกับสังคมไทย
บทที่ 2 ขั้นตอนการทําวิทยานิพนธ เพื่อใหการทําวิทยานิพนธของหลักสูตรมหาบัณฑิตเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ บรรลุ เปาหมายของการจัดการเรียนการสอน บัณฑิตวิทยาลัยจึงออกประกาศที่ 021/2543 กําหนดแนว ปฏิบัติขั้นตอนการทําวิทยานิพนธ สําหรับทุกหลักสูตรของบัณฑิตศึกษา 2.1 ขั้นตอนการทําวิทยานิพนธ ในการดําเนินงานจัดทําวิทยานิพนธ มี 4 ขั้นตอนใหญ ๆ ดังนี้ 1. การคนหาหัวขอวิทยานิพนธและการเลือกอาจารยที่ปรึกษา 2. การจัดทําและการสอบเคาโครง 3. การจัดทํารายงานและการสอบปองกันวิทยานิพนธ 4. การจัดทํารูปเลมฉบับสมบูรณ I. การคนหา ‘หัวขอ’ วิทยานิพนธและการเลือก ‘อาจารยที่ปรึกษา’ เนื่องจากทุกหลักสูตรของบัณฑิต วิทยาลัย มหาวิทยาลัยหัว เฉียวเฉลิมพระเกียรติ ระบุใ ห นักศึกษาตองจัดทําผลงานวิชาการหนึ่งเรื่อง เพื่อเปนการฝกฝนทักษะการทําผลงานวิชาการ และเปน สวนหนึ่งของการศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา ในแผน ก. ระบุใหนักศึกษาจะตองจัดทําวิทยานิพนธ ซึ่งนักศึก ษาอาจเริ่มตนคน หาหัวขอที่ตนเองสนใจตั้งแตเริ่มเขาศึกษา โดยคณะกรรมการประจํา หลัก สูตรจะเปน ผูกําหนดใหมีการเลือกแผนการเรียนหลังจากที่เขาศึกษาแลว ไมต่ํากวา 2 ภาค การศึกษา (ดังแสดงในแผนภูมิที่ 2.1) 1) การคนหาหัวขอวิทยานิพนธ ในทางปฏิบัติ การคนหาหัวขอวิทยานิพนธนี้ ควรเริ่มตนดวยการคนควาเอกสารวิชาการตาง ๆ หรือทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวของกับหัวขอวิทยานิพนธที่นาสนใจ ควรเปนหัวขอเรื่องที่สําคัญ นาสนใจ และมีความเปนไปไดในทางปฏิบัติจนเสร็จสมบูรณ พรอมทั้งกอใหเกิดผลงานที่มีคุณคา และเกิดประโยชนในเชิงวิชาการและ/หรือในทางปฏิบัติ และจะตองเกี่ยวของกับเนื้อหาสาระวิชา ของแตละหลักสูตรอีกดวย
9
แผนภูมิที่ 2.1 ขั้นตอนการทําวิทยานิพนธ
ขั้นตอนการทําวิทยานิพนธ I. การคนหา ‘หัวขอ’ วิทยานิพนธ และการเลือก ‘อาจารยที่ปรึกษา’ 1) การคนหาหัวขอวิทยานิพนธ 2) การเลือกอาจารยที่ปรึกษา (และอาจารยที่ปรึกษารวม-ถามี) 3) การยื่นคํารองและแสดงความจํานงขอทําวิทยานิพนธ 4) การพิจารณาอนุมัติหัวขอวิทยานิพนธ 5) การแตงตั้งอาจารยที่ปรึกษาและคณะกรรมการกลั่นกรองเคาโครง 6) การลงทะเบียนวิทยานิพนธ II. การจัดทําและการสอบ ‘เคาโครง’ 1) การเขียนเคาโครงวิทยานิพนธ 2) การยื่นคํารองแสดงความจํานงขอสอบเคาโครงวิทยานิพนธ 3) การสอบกลั่นกรองเคาโครง 4) เงื่อนเวลาในการสอบเคาโครง III. การจัดทํารายงานและการสอบปองกัน ‘วิทยานิพนธ’ 1) การทําวิทยานิพนธ 2) การยื่นคํารองแสดงความจํานงขอสอบปองกัน 3) การสอบปองกันวิทยานิพนธ IV. การจัดทํา ‘รูปเลม’ ฉบับสมบูรณ และการตีพิมพเผยแพรผลงาน 1) การปรับปรุงแกไขวิทยานิพนธ 2) การจัดทํารูปเลม 3) การจัดทําบทความและการตีพิมพเผยแพรผลงาน
10
2) การเลือกอาจารยที่ปรึกษา (และอาจารยที่ปรึกษารวม) เมื่อไดหัวขอวิทยานิพนธแลว ใหนําหัวขอเหลานี้ไปปรึกษาหารือกับคณาจารยในหลักสูตร ถึงความสําคัญ ความนาสนใจ และความเปนไปไดของการทําวิทยานิพนธในหัวขอดังกลาว พรอม ทั้งขอหารือเพื่อเลือกอาจารยที่ปรึกษาไปในคราวเดียวกัน ในการเลือกอาจารยที่ปรึกษา นักศึกษาควรพิจารณาถึงความสนใจและความเชี่ยวชาญของ อาจารยที่ปรึกษาในสาขาวิชาเดียวกันหรือเกี่ยวของกับหัวขอวิทยานิพนธเปนอันดับแรก พรอมทั้ง พิจารณาปจจัยอื่นๆ ของอาจารยที่ปรึกษารวมดวย เชน ดานบุคลิกภาพ ทัศนคติ ลักษณะการให คําปรึกษา ความพรอมในการใหคําปรึกษา ภาระงานของอาจารยที่ปรึกษา เนื่องจากในการทํา วิทยานิพนธของนักศึกษาจะมีอาจารยที่ปรึกษาเปนพี่เลี้ยง เปนที่ปรึกษา และเปนผูชี้แนะ เพื่อให วิทยานิพนธครั้งนี้ประสบความสําเร็จบรรลุตามเปาหมายพรอมๆกับการสรางทัศนคติและทักษะใน กระบวนการวิจัยที่ดีใหกบั นักศึกษาไปในคราวเดียวกัน ดังนั้น อาจารยที่ปรึกษาจึงเปนผูที่มีบทบาทที่สําคัญตอความสําเร็จในการทําวิทยานิพนธ ของนักศึกษา ทั้งในดานกระบวนการวิจัยที่ดีและเปนการเรียนการสอนเพื่อใหเกิดความรู ความ เขาใจ และเกิดทักษะในกระบวนการวิจัยอีกดวย อนึ่งในการเลือกอาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธนี้ ควรเปนไปดวยความสมัครใจของทั้งสอง ฝาย และควรเปนเรื่องที่อาจารยมีความสนใจหรือมีความชํานาญเฉพาะในสาขานั้น ๆ อาจารยที่ปรึกษารวม (ถามี) อยางไรก็ตามในบางครั้งทั้งนักศึกษาและอาจารยที่ปรึกษา (หลัก) อาจมีความรูและ ประสบการณไมครอบคลุมอยางทั่วถึงในหัวขอวิทยานิพนธ ซึ่งอาจขอหารือแตงตั้งอาจารยที่ปรึกษา รวมเพิ่มเติมไดอีก 1-2 ทาน ตามความเหมาะสม เพื่อใหเกิดความสมบูรณของวิทยานิพนธ ดวยความ เห็นชอบทั้งสองฝาย คือ จากอาจารยที่ปรึกษาหลักและนักศึกษารวมกัน 3) การยื่นคํารองและแสดงความจํานงขอทําวิทยานิพนธ เมือ่ นักศึกษาไดหัวขอวิทยานิพนธ อาจารยที่ปรึกษาและอาจารยที่ปรึกษารวม(ถามี) และได ลงรายวิชาครบถวนตามหลักสูตร (ยกเวนรายวิชาวิทยานิพนธ) โดยมีเกรดเฉลี่ยสะสมไมต่ํากวา 3.00 นักศึกษาจะตองยื่นคํารองขอลงทะเบียน (บ-1) และคํารองแสดงความจํานงขอทําวิทยานิพนธ พรอม เสนอหัวขอวิทยานิพนธ และอาจารยที่ปรึกษาตามแบบฟอรมที่กําหนด (บ-2) ลวงหนาไมนอยกวา 30 วัน กอนการลงทะเบียนวิชาวิทยานิพนธ 4) การพิจารณาอนุมัติหัวขอวิทยานิพนธ เมื่อไดรับคํารอง คณะกรรมการประจําหลักสูตร จะพิจารณาใหความเห็นชอบหัวขอ วิทยานิพนธพรอมทั้งเสนอแตงตั้งอาจารยที่ปรึกษาและอาจารยที่ปรึกษารวมวิทยานิพนธ (ถามี)
11
5) การแตงตั้งอาจารยที่ปรึกษาและคณะกรรมการกลั่นกรองเคาโครง เมื่อผานการเห็นชอบของคณะกรรมการประจําหลักสูตร แลว บัณฑิตวิทยาลัยจะประกาศ แตงตั้งอาจารยที่ปรึกษา อาจารยที่ปรึกษารวม (ถามี) และคณะกรรมการกลั่นกรองเคาโครง 6) การลงทะเบียนวิทยานิพนธ นักศึกษาลงทะเบียนเรียน 12-15 หนวยกิต ในรายวิชาวิทยานิพนธ ตามความเหมาะสมและ เงื่อนไขการลงทะเบียนของแตละหลักสูตร II. การจัดทําและการสอบ ‘เคาโครง’ 1) การเขียนเคาโครงวิทยานิพนธ เมื่อหัวขอวิทยานิพนธผานการเห็นชอบของคณะกรรมการประจําหลักสูตรฯแลว นักศึกษา เริ่มเขียนเคาโครง (รายละเอียดดูในบทที่ 3) ภายใตการกํากับดูแลของอาจารยที่ปรึกษาอยางใกลชิด จนเสร็จเรียบรอย พรอมทําการสอบเคาโครง 2) การยื่นคํารองแสดงความจํานงขอสอบเคาโครงวิทยานิพนธ นักศึกษายื่นคํารองแสดงความจํานงขอสอบกลั่นกรองเคาโครงตามแบบฟอรมกําหนด (บ-3) ตอบัณฑิตวิทยาลัย โดยผานความเห็นชอบของอาจารยที่ปรึกษา 3) การสอบกลั่นกรองเคาโครงวิทยานิพนธ ในการสอบกลั่นกรองเคาโครงวิทยานิพนธ นักศึกษาจะตองเตรียมการนําเสนอเคาโครง วิทยานิพนธดวยปากเปลาตอหนาคณะกรรมการกลั่นกรองเคาโครงวิทยานิพนธ เมื่อผานการสอบ กลั่นกรอง และไดดําเนินการแกไข (ถามี) พรอมทั้งจัดทําเคาโครงฉบับสมบูรณตามขอแนะนําของ คณะกรรมการประจําหลักสูตร สงใหบัณฑิตวิทยาลัย 4) เงื่อนเวลาในการสอบเคาโครงวิทยานิพนธ นักศึกษาตองสอบกลั่นกรองเคาโครงวิทยานิพนธ ใหเสร็จสิ้นภายในภาคการศึกษาแรกที่ ลงทะเบียนรายวิชาวิทยานิพนธ ในกรณีที่นักศึกษาไมสามารถดําเนินการใหเสร็จสิ้นภายในเวลาที่ กําหนด นักศึกษาตองยืน่ คํารองขอผอนผันเปนคราวๆ ไป (โดยใชแบบฟอรม บ-9) ในกรณีที่นักศึกษาสอบกลั่นกรองเคาโครงวิทยานิพนธ “ไมผาน” นักศึกษาตองยื่นคํารอง โดยใชแบบฟอรมที่กําหนด (บ-8) พรอมแนบความคิดเห็นของคณะกรรมการกลั่นกรองเคาโครงตอ ผูอํานวยการสํานักทะเบียนและประมวลผล โดยผานความเห็นชอบของอาจารยที่ปรึกษา ประธาน หลักสูตร และคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย
12
III. การจัดทําและการสอบปองกัน ‘วิทยานิพนธ’ 1) การทําวิทยานิพนธ หลังจากที่ผานการสอบกลั่นกรองเคาโครงเปนที่เรียบรอย นักศึกษาลงมือทําวิทยานิพนธ ตามขอแนะนําของคณะกรรมการตอไป โดยทําการทดลองหรือรวบรวมขอมูล วิเคราะหขอมูล สรุป และรายงานผลการศึกษา ตามกระบวนการทําวิทยานิพนธของแตละหลักสูตร พรอมทั้งทําการพิมพ ในรูปแบบตามที่กําหนดในคูมือของบัณฑิตวิทยาลัย (บทที่ 4 และ 5) 2) การยื่นคํารองแสดงความจํานงขอสอบปองกันวิทยานิพนธ เมื่อนักศึกษาพรอมและไดรับความเห็นชอบจากอาจารยที่ปรึกษาแลว นักศึกษาจะตองยื่นคํา รองแสดงความจํานงขอสอบปองกันวิทยานิพนธ พรอมขอแตงตั้งคณะกรรมการสอบปองกันตาม แบบฟอรม บ-5 พรอมทั้งนัดหมายอาจารยที่ปรึกษาและคณะกรรมการเพื่อกําหนดวันและเวลา สอบปองกัน 3) การสอบปองกันวิทยานิพนธ บัณฑิตวิทยาลัยแตงตั้งคณะกรรมการสอบปองกันวิทยานิพนธตามระเบียบของ มหาวิทยาลัย ในกรณีของการสอบปองกันวิทยานิพนธ ประกอบดวยประธานหลักสูตร อาจารยที่ ปรึกษาและกรรมการผูทรงคุณวุฒิภายนอกมหาวิทยาลัยมารวมเปนกรรมการสอบดวย นักศึกษาตองเสนอรูปเลมของวิทยานิพนธ ซึ่งประกอบดวยรายงานและบทคัดยอที่ไดรับ ความเห็นชอบจากอาจารยที่ปรึกษาตอคณะกรรมการสอบปองกันทุกคนกอนวันสอบอยางนอย 2 สัปดาห ในการสอบปองกันวิทยานิพนธ นักศึกษาจะตองนําเสนอในรูปของการสอบปากเปลาตอ คณะกรรมการสอบปองกันวิทยานิพนธ ในกรณีที่สอบปองกันวิทยานิพนธ “ไมผาน” นักศึกษาจะตองทําการแกไขปรับปรุงให สมบูรณ เพื่อยื่นความจํานงขอสอบปองกันใหมเปนครั้งสุดทาย IV. การจัดทํา ‘รูปเลม’ ฉบับสมบูรณ และการตีพิมพเผยแพรผลงาน 1) การปรับปรุงแกไขวิทยานิพนธ ในกรณีที่คณะกรรมการอนุมัติให “ผาน” การสอบปองกัน นักศึกษาตองทําการแกไขรูปเลม ตามขอเสนอแนะ(ถามี) และสงรายงานฉบับรางที่แกไขแลวเสนอใหคณะกรรมการสอบปองกันทุก ทานเพื่อลงนามใหความเห็นชอบแลวจึงนําตนฉบับรายงานที่ปรับปรุงแกไขแลว สงใหกับบัณฑิต วิทยาลัย เพื่อทําการตรวจสอบมาตรฐานรูปเลม และการพิมพกอนนําไปเขาเลม (โดยใชแบบฟอรม บ-7)
13
2) การจัดทํารูปเลม นักศึกษาจัดทํารูปเลมฉบับสมบูรณสงมอบใหบัณฑิตวิทยาลัยจํานวน 3 เลม 3) การจัดทําบทความและการตีพิมพเผยแพรผลงาน นักศึกษาจะตองจัดทําบทความวิชาการจากการทําวิทยานิพนธ เพื่อตีพิมพเผยแพรผลงานใน วารสารทางวิชาการ 1 ชิ้น สงหลักฐานแสดงการตอบรับหรือเลมวารสารฉบับที่ตีพิมพผลงานมอบ ใหบัณฑิตวิทยาลัย การสําเร็จการศึกษา นักศึกษาสําเร็จการศึกษาในภาคการศึกษานั้น ไดก็ตอเมื่อนักศึกษาไดนําเสนอ คณะกรรมการสอบปองกันเพื่อลงนามใหความเห็นชอบกอนวันปดภาคการศึกษาในแตละภาค การศึกษา นอกจากนี้นักศึกษาจะตองมีสถานภาพเปนนักศึกษาอยูในวันที่สงรูปเลมฉบับสมบูรณ ในกรณีที่วิทยานิพนธยังไมเสร็จสมบูรณ ใหกําหนดสัญลักษณ P และจะเปลี่ยนเปน S (สอบผาน) หรือ U (สอบไมผาน) ภายหลังเมื่อเสร็จสมบูรณแลว 2.2 ขั้นตอนการทํา ‘การศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต)’ ในการจัดทําการศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) มีขั้นตอนในการดําเนินการคลายคลึงกับการจัดทํา วิทยานิพนธ ซึ่งประกอบดวย 4 ขั้นตอนใหญ เชนเดียวกัน ดังนี้ I. การคนหา ‘หัวขอ’ งานวิจัยและการเลือก ‘อาจารยที่ปรึกษา’ II. การจัดทําและการสอบ ‘เคาโครง’ III. การจัดทํารายงานและการสอบปองกัน ‘การศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต)’ IV. การจัดทํา ‘รูปเลม’ ฉบับสมบูรณ (ดังแสดงในแผนภูมิที่ 2.2) I. การคนหา ‘หัวขอ’ การศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) และการเลือก ‘อาจารยที่ปรึกษา’ 1) การคนหาหัวขอ การศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) ถานักศึกษาเลือกเรียนใน แผน ข. และหลักสูตรกําหนดใหลงทะเบียนการศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) นักศึกษาอาจเริ่มตนคนหาหัวขอของการศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) ที่ตนเองสนใจตั้งแต เริ่มเขาศึกษา หรือ อยางชาเมื่อนักศึกษาสอบผานรายวิชามาแลวไมต่ํากวา 18 หนวยกิต
14
แผนภูมิที่ 2.2 ขั้นตอนการทําการศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต)
ขั้นตอนการทําการศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) I. การคนหา ‘หัวขอ’ งานวิจัยและการเลือก ‘อาจารยที่ปรึกษา’ 1) การคนหาหัวของานวิจัย 2) การเลือกอาจารยที่ปรึกษา (และอาจารยที่ปรึกษารวม-ถามี) 3) การยื่นคํารองและแสดงความจํานงขอทําการศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) 4) การพิจารณาอนุมัติหัวขอการศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) 5) การแตงตั้งอาจารยที่ปรึกษาและคณะกรรมการกลั่นกรองเคาโครง 6) การลงทะเบียนเรียนการศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) II. การจัดทําและการสอบ ‘เคาโครง’ 1) การเขียนเคาโครงงานวิจัย 2) การยื่นคํารองแสดงความจํานงขอสอบเคาโครงงานวิจัย 3) การสอบกลั่นกรองเคาโครง 4) เงื่อนเวลาในการสอบเคาโครง III. การจัดทํารายงานและการสอบปองกัน ‘การศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต)’ 1) การทํารายงานการศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) 2) การยื่นคํารองแสดงความจํานงขอสอบปองกัน 3) การสอบปองกันการศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) IV. การจัดทํา ‘รูปเลม’ ฉบับสมบูรณ 1) การปรับปรุงแกไขการศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) 2) การจัดรูปเลม
15
หัวขอการศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) ในทางปฏิบัติการคนหาหัวขอการศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) ควรเริ่มตนจากการคนควา เอกสารวิชาการตาง ๆ หรือ การทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวของกับหัวของานวิจัยที่นาสนใจเลือกมา ทําเปนการศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) ของตนเอง ซึ่งควรเปนหัวขอเรื่องที่สําคัญและนาสนใจ มีความ เปนไปไดในทางปฏิบัติที่สามารถดําเนินการทําวิจัยจนสําเร็จสมบูรณ พรอมทั้งกอใหเกิดผลงานวิจัย ที่มีคุณคาและเกิดประโยชนในเชิงวิชาการและ/หรือในทางปฏิบัติ และจะตองเกี่ยวของและสัมพันธ สอดคลองกับเนื้อหาสาระวิชาของแตละหลักสูตรอีกดวย 2) การเลือกอาจารยที่ปรึกษา (และอาจารยที่ปรึกษารวม-ถามี) เมื่อไดหัวขอหรือประเด็นงานวิจัยที่นาสนใจแลว ควรนําหัวขอ หรือ ประเด็นงานวิจัยนี้ไป ปรึกษาหารือกับคณาจารยในหลักสูตร เพื่อหารือถึงความสําคัญ ความนาสนใจ และความเปนไปได ของการทําการวิจัยในหัวขอดังกลาว พรอมทั้งทาบทามอาจารยที่ปรึกษาไปในคราวเดียวกัน ในการเลือกอาจารยที่ปรึกษา นักศึกษาควรพิจารณาถึงความสนใจและความเชี่ยวชาญของ อาจารยที่ปรึกษาในสาขาวิชาเดียวกันหรือเกี่ยวของกับหัวขอของการศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) เปน อันดับแรก พรอมทั้งพิจารณาปจจัยอื่น ๆ ของอาจารยที่ปรึกษารวมดวย เชน ดานบุคลิกภาพ ทัศนคติ ลักษณะการใหคําปรึกษา ความพรอมในการใหคําปรึกษา ภาระงานของอาจารยที่ปรึกษา เปนตน ทั้งนี้เพราะในการทําการศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) ของนักศึกษาจะมีอาจารยที่ปรึกษา เปนพี่เลี้ยง เปนที่ปรึกษา และเปนผูชี้แนะ เพื่อใหงานวิจัยครั้งนี้ประสบความสําเร็จบรรลุตามเปาหมาย พรอม ๆ กับการสรางทัศนคติและทักษะในงานวิจยั ที่ดีใหกับนักศึกษาไปในคราวเดียวกันนี้ดวย ดังนั้นอาจารยที่ปรึกษาจึงเปนผูที่มีบทบาทสําคัญตอความสําเร็จของงานวิจัย ทั้งในดาน ขบวนการทํางานวิจัยที่ดีและเปนการเรียนการสอนเพื่อใหเกิดความรู ความเขาใจ และเกิดทักษะใน งานวิจัยอีกดวย อนึ่งในการเลือกอาจารยที่ปรึกษาการศึกษาอิสระ 6 หนวยกิตนี้ ควรเปนไปดวยความสมัครใจ และความพรอมของทั้งสองฝาย ควรเปนเรื่องที่อาจารยมีความสนใจหรือมีความชํานาญในสาขานั้น ๆ เฉพาะ และมีความพรอมในการใหคําปรึกษาการทําการศึกษาอิสระนี้ไดอยางดี อาจารยที่ปรึกษารวม (ถามี) ในบางครั้งทั้งนักศึกษาและอาจารยที่ปรึกษาอาจมีความรูและประสบการณไมครอบคลุม อยางทั่วถึงในหัวขอเรื่องงานวิจัยนี้ อาจทาบทามอาจารยที่ปรึกษารวมเพิ่มเติมไดอีก 1-2 ทาน ตาม ความเหมาะสม ทั้งนี้เพื่อใหเกิดความสมบูรณของงานวิจัยยิ่งขึ้น
16
3) การยื่นคํารองและแสดงความจํานงขอทําการศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) เมื่อนักศึกษาไดหัวขอเรื่องงานวิจัย อาจารยที่ปรึกษา (อาจารยที่ปรึกษารวม-ถามี) และไดลง รายวิชาครบถวนตามหลักสูตร (ยกเวนรายวิชาการศึกษาอิสระ 6 หนวยกิต) โดยมีแตมเฉลี่ยสะสมไม ต่ํากวา 3.00 แลว นักศึกษาจะตองยื่นคํารองขอลงทะเบียน (บ-1) และคํารองแสดงความจํานงขอ ทําการศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) พรอมเสนอหัวขอศึกษา และอาจารยที่ปรึกษาตามแบบฟอรมที่ กําหนด (บ-2) ลวงหนาไมนอยกวา 30 วัน กอนการลงทะเบียนการศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) 4) การพิจารณาอนุมัติหัวขอการศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) เมื่อไดรับคํารอง คณะกรรมการประจําหลักสูตรฯจะพิจารณาใหความเห็นชอบหัวขอ การศึกษาอิสระ 6 หนวยกิตพรอมทั้งเสนอแตงตั้งอาจารยที่ปรึกษา 5) การแตงตั้งอาจารยที่ปรึกษาและคณะกรรมการกลั่นกรองเคาโครง เมื่อหัว ขอการศึก ษาอิสระผานการเห็น ชอบของคณะกรรมการประจําหลั ก สูต รฯ แล ว บัณฑิตวิทยาลัยจะประกาศแตงตั้งอาจารยที่ปรึกษา (อาจารยที่ปรึกษารวม-ถามี) และคณะกรรมการ กลั่นกรองเคาโครง 6) การลงทะเบียนการศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) นักศึกษาลงทะเบียน 6 หนวยกิต ในรายวิชาการศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) ทั้งนี้เปนไปตาม ความเหมาะสมและเงื่อนไขการลงทะเบียนของแตละหลักสูตร II. การจัดทําและการสอบ ‘เคาโครง’ 1) การเขียนเคาโครงการศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) เมื่อหัวขอของการศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) ไดผานการเห็นชอบของคณะกรรมการประจํา หลักสูตรฯ แลว นักศึกษาก็เริ่มเขียนเคาโครง (รายละเอียดดูในบทที่ 3) ภายใตการดูแลของอาจารยที่ ปรึกษาอยางใกลชิด จนเสร็จเรียบรอยและพรอมที่จะสอบเคาโครง 2) การยื่นคํารองแสดงความจํานงขอสอบเคาโครงการศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) นักศึกษาก็ยื่นคํารองแสดงความจํานงขอสอบกลั่นกรองเคาโครงตามแบบฟอรมกําหนด (บ3) 3) การสอบกลั่นกรองเคาโครง การสอบกลั่นกรองเคาโครงเปนการสอบโดยใหนักศึกษานําเสนอเคาโครงตอคณะกรรมการ กลั่นกรองเคาโครง เมื่อนักศึก ษาผานการสอบเคาโครงและไดดําเนินการแกไข (ถามี ) พรอมทั้ง จัดทําเคาโครงฉบับสมบูรณตามขอแนะนําของคณะกรรมการฯ สงแกบัณฑิตวิทยาลัยเรียบรอยแลว นักศึกษาสามารถดําเนินงานวิจัยในขั้นตอนตอไป
17
4) เงื่อนเวลาในการสอบเคาโครง นักศึกษาตองสอบกลั่นกรองเคาโครงใหเสร็จสิ้นในภาคการศึกษาแรกที่ลงทะเบียนวิชา การศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) ในกรณีที่นักศึกษาไมสามารถดําเนินการดังกลาวใหเสร็จสิ้นได ภายในเวลาที่กําหนด (ภาคเรียนแรกที่ลงทะเบียน) นักศึกษาตองยื่นคํารองขอผอนผันเปนคราว ๆ ไป (บ-9) III. การจัดทํารายงานและการสอบปองกัน ‘การศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต)’ 1) การทํารายงานการศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) หลังจากที่ผานการสอบกลั่นกรองเคาโครงและแกไขตามคําแนะนําของกรรมการฯ เปนที่ เรียบรอย นักศึกษาสามารถดําเนินการทําการศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) ในขั้นตอนตอไป ดวยการ เก็บและรวบรวมขอมูล วิเคราะหขอมูล สรุปและรายงานผลการศึกษา (บทที่ 4 และ 5) ตาม กระบวนการทําการศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) ของแตละหลักสูตร พรอมทั้งทําการพิมพในรูปแบบ ตามที่กําหนดในคูมือของบัณฑิตวิทยาลัย 2) การยื่นคํารองแสดงความจํานงขอสอบปองกัน เมื่อนักศึกษาพรอมและไดรับความเห็นชอบจากอาจารยที่ปรึกษาในการเขาสอบปองกันแลว นักศึกษาจะตองยื่นคํารองแสดงความจํานงขอสอบปองกัน พรอมขอแตงตั้งคณะกรรมการสอบ ปองกันตามแบบฟอรมที่กําหนด (บ-5) พรอมทั้งนัดหมายอาจารยที่ปรึกษาและคณะกรรมการเพื่อ กําหนดวันและเวลาสอบปองกัน 3) การสอบปองกันการศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) ในการนี้บัณฑิตวิทยาลัยแตงตั้งคณะกรรมการสอบปองกันการศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต ) ตามระเบียบของมหาวิทยาลัย ซึ่งเปนกรรมการผูทรงคุณวุฒิจากภายในหรือภายนอกมหาวิทยาลัย มารวมเปนกรรมการสอบดวยก็ได นักศึกษาตองเสนอรูปเลมของการศึกษาอิสระซึ่งประกอบดวยรายงานและบทคัดยอที่ไดรับ ความเห็นชอบจากอาจารยที่ปรึกษาตอคณะกรรมการสอบทุกคนกอนวันสอบอยางนอย 2 สัปดาห ในกรณีที่สอบปองกัน “ไมผาน” ในกรณีที่ไมผานการสอบปองกัน นักศึกษาจะตองทําการแกไขปรับปรุงใหสมบูรณขึ้น เพื่อ ยื่นความจํานงขอสอบปองกันใหมเปนโอกาสสุดทาย
18
IV. การจัดทํา ‘รูปเลม’ ฉบับสมบูรณ 1) การปรับปรุงแกไขการศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) ในกรณีที่คณะกรรมการอนุมัติใหผานการสอบปองกัน นักศึกษาตองแกไข (ถามี) และสง รายงานฉบับรางเสนอใหคณะกรรมการสอบปองกันทุกทานเพื่อลงนามใหความเห็นชอบแลวจึงนํา ตนฉบับรายงานที่ปรับปรุงแกไขแลวตามขอเสนอแนะของคณะกรรมการจํานวน 1 เลม ใหกับ บัณฑิตวิทยาลัย เพื่อทําการตรวจสอบมาตรฐาน รูปเลมและการพิมพกอนนําไปเขาเลม (แบบฟอรม บ-7) 2) การจัดรูปเลม จัดทํารูปเลมฉบับสมบูรณสงมอบใหบัณฑิตวิทยาลัย การจบการศึกษา ในกรณีที่ทําการศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) จะถือวา นักศึกษาจบการศึกษาในภาคการศึกษา นั้น ๆ ก็ตอเมื่อนักศึกษาไดนําเสนอคณะกรรมการสอบปองกันเพื่อลงนามใหความเห็นชอบ และ ผานการสอบประมวลความรูกอนวันปดภาคเรียนในแตละภาคนั้น นอกจากนี้นักศึกษาจะตองมีสถานภาพเปนนักศึกษาอยูในวันที่สงรุปเลมฉบับสมบูรณ ในกรณีที่การศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) ยังไมเสร็จสมบูรณ ใหกําหนดสัญลักษณ P และจะ เปลี่ยนเปน S (สอบผาน) หรือ U (สอบไมผาน) ภายหลังเมื่อเสร็จสมบูรณแลว
ความแตกตางระหวาง ‘วิทยานิพนธ’ และ ‘การศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต)’ จึงเห็นไดวา โดยภาพรวมแลวการศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) มีความคลายคลึงกับวิทยานิพนธ มาก แตมีความตางกันบางบางประการ (ดังแสดงในตารางที่ 3 หนา 22) ซึ่งพอจะแยกเปนประเด็น และสรุปไดดังนี้ 1. การเลือกเรียน ผูที่ประสงคลงทะเบียนวิทยานิพนธจะตองเปนผูที่เลือกเรียนใน แผน ก. และผูที่ประสงคลงเรียนวิชาการศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) จะตองเปนผูที่เลือกเรียนใน แผน ข. ของ แตละหลักสูตร 2. จํานวนหนวยกิต ผูที่เลือกทําการศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) จะตองลงทะเบียน จํานวน 6 หนวยกิต ในขณะที่ผูที่เลือกวิทยานิพนธจะตองลงทะเบียน จํานวน 12 หนวยกิต 3. ในการสอบกลั่นกรองเคาโครง ทั้งวิทยานิพนธและการศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) จะตอง ผานการสอบกลั่นกรองเคาโครงเหมือนกัน แตถาสอบวิทยานิพนธ ‘ไมผาน’ จะตองเปลี่ยนการ
19
ลงทะเบียนวิทยานิพนธ เปนการศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) แทน แตในกรณีที่สอบการศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) ‘ไมผาน’ จะตองทําการแกไขปรับปรุงตามความเห็นของกรรมการกลั่นกรองใหเรียบรอย 4. ในการสอบปองกัน ซึง่ ทั้งวิทยานิพนธและการศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) ก็ระบุใหมีการ ผานการสอบปองกันเชนกัน แตถาเปนการสอบปองกันการศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) ไมจําเปนตอง มีก รรมการผู ทรงคุณ วุฒิ จ ากภายนอกมหาวิ ทยาลั ย มารว มเป น กรรมการสอบป องกั น เหมื อ น วิทยานิ พนธ ในกรณี ข องการสอบปองกัน การศึ ก ษาอิส ระ (6 หนว ยกิ ต ) อาจเปน กรรมการ ผูทรงคุณวุฒิจากภายในหรือภายนอกมหาวิทยาลัยก็ได แตการสอบปองกันวิทยานิพนธจะตองมี กรรมการผูทรงคุณวุฒิจากภายนอกมหาวิทยาลัยมารวมเปนกรรมการสอบปองกันดวยทุกครั้ง 5. การสอบประมวลความรู ในรายที่เลือกทําการศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) จะตองทําการ สอบประมวลความรูหลังจากจัดทําการศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) เปนที่เรียบรอยแลว ตางจากผูที่ เลือกวิทยานิพนธ หรือ แผน ก. ที่อาจจะตองสอบผานการประมวลความรูกอนที่จ ะลงทะเบียน วิทยานิพนธหรือไม ทั้งนี้ขึ้นอยูกับเงื่อนไขของแตละหลักสูตร 6. การจัดทําบทความและการตีพิมพเผยแพรผลงาน นักศึกษาที่เลือกวิทยานิพนธจะตอง จัดทําบทความวิชาการจากการทําวิทยานิพนธเพื่อตีพิมพเผยแพรผลงานในวารสารทางวิชาการ 1 ชิ้น พรอมกับรูปเลมฉบับสมบูรณ ในขณะที่นักศึกษาที่เลือกเรียนแผน ข. ไมจําเปนตองการจัดทํา บทความวิชาการจากการศึกษาอิสระเพื่อตีพิมพเผยแพรผลงานของตนเองดังเชนนักศึกษาในแผน ก 2.3 ขั้นตอนการทํา ‘การศึกษาอิสระ (3 หนวยกิต)’ บางหลักสูตรไดกําหนดใหแผน ข. มีการศึกษาอิสระ (3 หนวยกิต) ซึ่งตองลงทะเบียนและ ศึก ษาใหเ สร็ จ สิ้ น ภายใน 1 ภาคการศึก ษานั้น ๆ ซึ่ งมี ขั้น ตอนในการดํา เนิ น การคล ายคลึ งกั บ วิทยานิพนธและการศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) คือ ยึดหลักระเบียบการวิจัยที่ดี แตมีการดําเนินการ เรียนการสอนเหมือนอีก หนึ่งรายวิชา คือ ไมตองสอบเคาโครง การสอบประเมิน เปนการสอบ ประเมินในชั้นเรียนโดยอาจารยที่ปรึกษาและ/หรือคณาจารยรายวิชา และผลการประเมินไดเกรด (A, B+, B, C+, C, D+, D หรือ F) ในขั้ น ตอนการจั ด ทํ า การศึ ก ษาอิ ส ระ (3 หน ว ยกิ ต ) มีก ารดํ า เนิ น การคล า ยคลึ ง กั บ วิทยานิพนธและการศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) แตไมตองสอบเคาโครงเหมือนการจัดทําวิทยานิพนธ และการศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) ดังนั้นในการจัดทําการศึกษาอิสระ (3 หนวยกิต) จึงประกอบดวย 3 ขั้นตอน ดังนี้ I. การคนหา ‘หัวขอ’ การศึกษาอิสระ (3 หนวยกิต) และการเลือก ‘อาจารยที่ปรึกษา’
20
II. การจัดทําและการสอบปองกัน ‘การศึกษาอิสระ (3 หนวยกิต)’ III. การจัดทํา ‘รูปเลม’ ฉบับสมบูรณ (ดังแสดงในแผนภูมิที่ 2.3) I. การคนหา ‘หัวขอ’ การศึกษาอิสระ (3 หนวยกิต) และการเลือก ‘อาจารยที่ปรึกษา’ 1) การคนหาหัวขอการศึกษาอิสระ (3 หนวยกิต) การเรียนรายวิชาการศึกษาอิสระ (3 หนว ยกิต ) ในแผน ข. ระบุใหนักศึก ษาจะตองศึกษา คนควาอิสระโดยจัดทํางานวิจัยขึ้นมาหนึ่งชิ้น ซึ่งนักศึกษาอาจเริ่มตนคนหาหัวขอที่ตนเองสนใจ ตั้งแตเริ่มเขาศึกษา หรือ อยางชาเมื่อนักศึกษาสอบผานรายวิชามาแลวไมต่ํากวา 18 หนวยกิต หัวขอการศึกษาอิสระ (3 หนวยกิต) ในทางปฏิบัติ การคนหาหัวขอการศึกษาอิสระ (3 หนวยกิต) ควรเริ่มตนดวยการคนควา เอกสารวิชาการตาง ๆ หรือ ทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวของกับหัวของานวิจัย ซึ่งควรเปนหัวขอเรื่อง ที่สําคัญ นาสนใจ และมีค วามเปน ไปไดใ นทางปฏิบัติใ นการทําวิจัยจนเสร็จ สมบูร ณ พรอมทั้ง กอใหเกิดผลงานวิจัยที่ดี มีคุณคา และเกิดประโยชนในเชิงวิชาการและ/หรือในทางปฏิบัติ และ จะตองเกี่ยวของกับเนื้อหาสาระวิชาของแตละหลักสูตรอีกดวย 2) การเลือกอาจารยที่ปรึกษา เมื่อไดหัว ขอหรือประเด็น ที่ส นใจแลว ก็ค วรนําไปหารือกั บคณาจารยใ นหลัก สูต ร เพื่ อ ปรึก ษาถึงความสําคัญ ความนาสนใจ และความเปน ไปไดข องการทําการวิจัยในหัว ขอดังกลาว พรอมทั้งทาบทามอาจารยที่ปรึกษาไปในคราวเดียวกัน ในการเลือกอาจารยที่ปรึกษา นักศึกษาควรพิจารณาถึงความสนใจและความเชี่ยวชาญของ อาจารยที่ปรึกษาในสาขาวิชาเดียวกันหรือเกี่ยวของกับหัวขอวิทยานิพนธเปนอันดับแรก พรอมทั้ง พิจารณาปจจัยอื่น ๆ ของอาจารยที่ปรึกษารวมดวย เชน ดานบุค ลิกภาพ ทัศนคติ ลักษณะการให คําปรึกษา ความพรอมในการใหคําปรึกษา ภาระงานของอาจารยที่ปรึกษา เปนตน ทั้งนี้เพราะในการ ทําวิทยานิพนธของนักศึกษาจะมีอาจารยที่ปรึกษา เปนพี่เลี้ยง เปนที่ปรึกษา และเปนผูชี้แนะ เพื่อให งานวิจัยครั้งนี้ประสบความสําเร็จบรรลุตามเปาหมาย พรอม ๆ กับการสรางทัศนคติและทักษะใน งานวิจัยที่ดีใหกับนักศึกษาไปในคราวเดียวกันนี้ดวย ดังนั้นอาจารยที่ปรึกษาจึงเปนผูที่มีบทบาทที่สําคัญตอความสําเร็จของงานวิจัย ทั้งในดาน ขบวนการทํางานวิจัยที่ดีและเปนการเรียนการสอนเพื่อใหเกิดความรู ความเขาใจ และเกิดทักษะใน งานวิจัยอีกดวย
21
อนึ่ง ในการเลือกอาจารยที่ปรึกษา ควรเปนไปดวยความสมัครใจของทั้งสองฝาย และควร เปนเรื่องที่อาจารยมีความสนใจหรือมีความชํานาญในสาขานั้น ๆ เฉพาะ 3) การยื่นคํารองและแสดงความจํานงขอทําการศึกษาอิสระ (3 หนวยกิต) เมื่อนักศึกษาไดหัวขอเรื่อง อาจารยที่ปรึกษา และไดลงรายวิชาครบถวนตามหลักสูตร (ยกเวน รายวิชาการศึกษาอิสระ 3 หนวยกิต) โดยมีแตมเฉลี่ยสะสมไมต่ํากวา 3.00 นักศึกษาจะตองยื่นคํารอง ขอลงทะเบียน (บ-1) และคํารองแสดงความจํานงขอทําการศึกษาอิสระ (3 หนวยกิต) พรอมเสนอ หัวขอศึกษา และอาจารยที่ปรึกษาตามแบบฟอรมที่กําหนด (บ-2) ลวงหนาไมนอยกวา 30 วัน กอน การลงทะเบียนวิชาการศึกษาอิสระ (3 หนวยกิต) 4) การพิจารณาอนุมัติหัวขอการศึกษาอิสระ (3 หนวยกิต) เมื่อไดรับคํารอง คณะกรรมการประจําหลักสูตรฯจะพิจารณาใหความเห็นชอบหัวขอวิจัย พรอมทั้งเสนอแตงตั้งอาจารยที่ปรึกษา 5) การแตงตั้งอาจารยที่ปรึกษาและคณะกรรมการการศึกษาอิสระ (3 หนวยกิต) เมื่อหัวขอการศึกษาอิสระผานการเห็นชอบของคณะกรรมการประจําหลักสูตรแลว บัณฑิต วิทยาลัยจะประกาศแตงตั้งอาจารยที่ปรึกษาและคณะกรรมการการศึกษาอิสระ (3 หนวยกิต) 6) การลงทะเบียนเรียนการศึกษาอิสระ (3 หนวยกิต) นักศึกษาลงทะเบียนเรียน 3 หนวยกิต ในรายวิชาการศึกษาอิสระ (3 หนวยกิต) ทั้งนี้ทั้งนั้น เปนไปตามความเหมาะสมและเงื่อนไขการลงทะเบียนของแตละหลักสูตร II. การจัดทําและการประเมินผล ‘การศึกษาอิสระ (3 หนวยกิต)’ 1) การจัดทําการศึกษาอิสระ (3 หนวยกิต) เมื่อผานการเห็นชอบของคณะกรรมการประจําหลักสูตรฯแลว นักศึกษาก็เริ่มเขียนเคาโครง (จะกลาวโดยละเอียดใน บทที่ 3) ภายใตการดูแลของอาจารยที่ปรึกษาอยางใกลชิด จนเสร็จเรียบรอย หลังจากที่จัดทําเคาโครงเปนที่เรียบรอย นักศึกษาก็สามารถดําเนินขั้นตอนตอไป ไมวาจะ เปน การพัฒนาเครื่องมือหรือแบบสอบถาม การเก็บและรวบรวมขอมูล วิเคราะหขอมูล สรุปและ รายงานผลการศึกษา (บทที่ 4 และ 5) ตามกระบวนการทําการศึกษาอิสระ (3 หนวยกิต) ของแตละ หลักสูตร พรอมทั้งทําการพิมพในรูปแบบตามที่กําหนดในคูมือของบัณฑิตวิทยาลัย
22
แผนภูมิที่ 2.3 ขั้นตอนการทําการศึกษาอิสระ (3 หนวยกิต)
ขั้นตอนการทําการศึกษาอิสระ (3 หนวยกิต)
I. การคนหา ‘หัวขอ’ วิจัยและการเลือก ‘อาจารยที่ปรึกษา’ 1) การคนหาหัวขอวิจัย 2) การเลือกอาจารยที่ปรึกษา 3) การยื่นคํารองและแสดงความจํานงขอทําการศึกษาอิสระ (3 หนวยกิต) 4) การพิจารณาอนุมัติการศึกษาอิสระ (3 หนวยกิต) 5) การแตงตั้งอาจารยที่ปรึกษาและคณะกรรมการสอบปองกัน 6) การลงทะเบียนเรียนการศึกษาอิสระ (3 หนวยกิต) II. การจัดทําและการประเมินผล ‘การศึกษาอิสระ (3 หนวยกิต) 1) การจัดทําการศึกษาอิสระ (3 หนวยกิต) 2) การประเมินผลการศึกษาอิสระ (3 หนวยกิต) III. การจัดทํา ‘รูปเลม’ ฉบับสมบูรณ 1) การปรับปรุงแกไขการศึกษาอิสระ (3 หนวยกิต) 2) การจัดรูปเลม 2) การประเมินผลการศึกษาอิสระ (3 หนวยกิต) คณาจารยประจําวิชาจะกําหนดวันสอบการศึกษาอิสระ (3 หนวยกิต) ซึ่งเปนการนําเสนอ ดวยปากเปลาของนักศึกษาในงานวิจัยที่ไดดําเนินงานตลอดทั้งภาคการศึกษาตอคณะกรรมการสอบ การศึกษาอิสระ (3 หนวยกิต)
23
นักศึกษาตองเสนอรูปเลมรายงานและบทคัดยอ ที่ไดรับความเห็นชอบจากอาจารยที่ปรึกษา ตอคณะกรรมการสอบทุกคนกอนวันสอบอยางนอย 2 สัปดาห 3) ในกรณีที่ ‘ไมผาน’ การประเมินผลการศึกษาอิสระ (3 หนวยกิต) ในกรณีที่สอบไมผาน นักศึกษาจะตองลงทะเบียนการศึกษาอิสระ (3 หนวยกิต) ใหมอีกครั้ง III. การจัดทํา ‘รูปเลม’ ฉบับสมบูรณ 1) การปรับปรุงแกไขการศึกษาอิสระ (3 หนวยกิต) ในกรณีที่คณะกรรมการอนุมัติใหผา นการสอบ นักศึกษาตองแกไข (ถามี) และสงรายงาน 1 เลม ใหกับเลขานุการบัณฑิตวิทยาลัย เพื่อทําการตรวจสอบมาตรฐาน รูปเลมและการพิมพกอน นําไปเขาเลม (แบบฟอรม บ-7) 2) การจัดรูปเลม จัดทํารูปเลมฉบับสมบูรณสงมอบใหบัณฑิตวิทยาลัย ขอแตกตางระหวางวิทยานิพนธ การศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) และการศึกษาอิสระ (3 หนวย กิต) (ดังแสดงในตารางที่ 3.1) การศึกษาอิสระ (3 หนวยกิต) มีประเด็นที่แตกตางจากวิทยานิพนธและการศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) คือ แผนการศึกษา จํานวนหนวยกิต ขั้นตอนการประเมินการเรียนการสอนซึ่งเหมือนกับ รายวิชาทั่วไป ไมวาจะเปนการสอบเคาโครง การประเมินรายวิชา และระยะเวลาในการศึกษา ผูที่เลือกเรียนใน แผน ข. จะตองเลือกเรียนวิชาการศึกษาอิสระ (3 หนวยกิต) และลงทะเบียน จํานวน 3 หรือ 4 หนวยกิต ในขั้นตอนการประเมินรายวิชานี้ การจัดทําการศึกษาอิสระ (3 หนวยกิต) ไมจําเปนตองมี ขั้นตอนการสอบเคาโครงดวยคณะกรรมการฯ เหมือนกับวิทยานิพนธและการศึกษาอิสระ (6 หนวย กิต) แตเปนบทบาทหนาที่ของนักศึกษารวมกับอาจารยที่ปรึกษาในการรวมกันเพื่อพัฒนาเคา โครงการศึกษาอิสระ (3 หนวยกิต) การประเมินและระยะเวลาที่ใชในรายวิชาการศึกษาอิสระ (3 หนวยกิต) จะเหมือนกับ รายวิชาทั่วไป คือ เปนการประเมินในชั้นเรียนโดยอาจารยที่ปรึกษาและ/หรือคณาจารยประจําวิชา และใหผลการประเมินเปนเกรด (A, B+, B, C+, C, D+, D หรือ F) ในขณะที่วิทยานิพนธและ การศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) จะแสดงผลเปน S หรือ U ในเรื่องระยะเวลาในการศึกษา การจัดทําการศึกษาอิสระ (3 หนวยกิต)จะตองจัดทําใหเสร็จ สมบูรณภายใน 1 ภาคการศึกษาเหมือนการเรียนในวิชาทั่วไป
24
นอกจากนี้เมื่อจัดทํารูปเลมของการศึกษาอิสระ (3 หนวยกิต) เปนที่เรียบรอยแลว จะตองเขา สอบประมวลความรูใหผาน จึงจะถือวา จบการศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษาอยางสมบูรณ ตารางที่ 3.1 ขอแตกตางระหวางวิทยานิพนธ การศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) และการศึกษาอิสระ (3 หนวยกิต) ประเภท แผนการศึกษา จํานวนหนวยกิต การสอบเคาโครง ถาสอบเคาโครง ‘ไมผาน’ การสอบปองกัน
การจัดทําบทความและ การตีพิมพเผยแพร ผลงาน ระยะเวลาในการศึกษา
เกรดที่ไดรับ การสอบประมวลความรู
การศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต) (แผน ก.) (แผน ข.) 12-15 6 สอบ สอบ ตองเปลี่ยนจากวิทยานิพนธ แกไขปรับปรุงตาม ไปเปนการศึกษาอิสระ ความเห็นของกรรมการฯ (6 หนวยกิต) มีกรรมการผูทรงคุณวุฒิ มีคณะกรรมการ ภายนอกรวมเปนกรรมการ ผูทรงคุณวุฒิเปนกรรมการ สอบ สอบ วิทยานิพนธ
ตองจัดทําบทความวิชาการ จากการทําวิทยานิพนธเพื่อ ตีพิมพเผยแพรผลงานทาง วิชาการ 1 ชิ้น ไมเกิน 5 ป นับจากภาค การศึกษาแรกที่เขาศึกษา
ไมจําเปนตองการจัดทํา บทความวิชาการจาก การศึกษาอิสระเพื่อตีพิมพ เผยแพร ไมเกิน 5 ป นับจากภาค การศึกษาแรกที่เขาศึกษา
S หรือ U
S หรือ U
จะตองสอบกอน ลงทะเบียนวิทยานิพนธ หรือไมขึ้นอยูกับเงื่อนไข ของแตละหลักสูตร
หลังจากการทํา การศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต)
การศึกษาอิสระ (3 หนวยกิต) (แผน ข.) 3 ไมสอบ แกไขปรับปรุงตาม ความเห็นของกรรมการฯ มีการประเมินในชั้นเรียน โดยคณะกรรมการซึ่ง แตงตั้งจากคณบดีบัณฑิต วิทยาลัย ไมจําเปนตองการจัดทํา บทความวิชาการจาก การศึกษาอิสระเพื่อตีพิมพ เผยแพร ภายใน 1 ภาคการศึกษา นับ จากไดรับการอนุมัติจาก อาจารยที่ปรึกษา A, B+, B, C+, C, D+, D, หรือ F หลังจากการทํา การศึกษาอิสระ (3 หนวยกิต)
บทที่ 3 การเขียนเคาโครงวิทยานิพนธ การเขียนเคาโครงวิทยานิพนธ เปนขั้นตอนสําคัญอีกขั้นตอนหนึ่งที่นักศึกษาตองกระทํา ภายหลังจากที่ไดหัวขอวิทยานิพนธแลว ความสําคัญของการเขียนเคาโครงวิทยานิพนธ นอกจาก เพื่อเสนอตอคณะกรรมการกลั่นกรองเคาโครงฯ ใหพิจารณาวาเหมาะสมหรือไม และควรแกไขหรือ ปรับปรุงอยางไรแลว ยังเปนการวางกรอบและแนวทางการศึกษาเพื่อใหบรรลุเปาหมาย มิให เบี่ยงเบนไปจากขอตกลงตามที่ไดรับความเห็นชอบจากคณะกรรมการกลั่นกรองเคาโครงดวย ดังนั้นจึงอาจกลาวไดวา ‘เคาโครงวิทยานิพนธ’ จึงเปรียบเสมือน ‘แผนงานของ วิทยานิพนธ’ ที่ระบุความเปนมาหรือมีหลักการและเหตุผลอยางไรจึงตองทําการศึกษาครั้งนี้ มี วัตถุประสงคหรือเปาหมายอยางไร หรือตองการศึกษาหาคําตอบใหกับปญหาอะไร รวมทั้งขอบเขต วิทยานิพนธอยางไร เปนตน เคาโครงวิทยานิพนธประกอบดวย 3 บท คือ บทที่ 1 บทนํา บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎี และการ ทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวของ และบทที่ 3 ระเบียบวิธีการศึกษา ซึ่งทั้ง 3 บทนี้ เปนสวนตนสวน หนึ่งของรายงานวิทยานิพนธ ในขั้นตอนการเขียนเคาโครงนี้เปนเหมือนการเขียนแผนงานวาจะ ดําเนินงานเพื่อใหบรรลุเปาหมาย หรือตอบปญหาที่ศึกษาไดอยางไร เปนแผนที่คาดวาจะลงมือ ปฏิบัติในอนาคต ยังไมไดลงมือทําหรือเก็บขอมูลจริง ดังนั้นเคาโครงวิทยานิพนธ จึงนําเสนอในมิติ ของการวางแผนวาจะลงมือกระทํางานอยางไรบาง รายละเอียดเกี่ยวกับการเขียนทั้ง 3 บท มีพอ สังเขป ดังนี้ บทที่ 1 บทนํา 1.1 ความเปนมาและความสําคัญของปญหา 1.2 วัตถุประสงคของการศึกษา 1.3 ขอบเขตของการศึกษา 1.4 คํานิยามศัพทหรือคํานิยามเชิงปฏิบัติการ (ถามี) 1.5 ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวของ 2.1 แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวของ 2.2 กรอบแนวคิดในการศึกษา 2.3 สมมติฐานในการศึกษา (ถามี)
26
บทที่ 3 ระเบียบวิธีการศึกษา 3.1 ประชากรและกลุมตัวอยาง 3.2 เครื่องมือที่ใชเก็บขอมูล 3.3 การทดสอบความแมนตรง และความเชื่อถือไดของเครื่องมือ 3.4 การเก็บรวบรวมขอมูล 3.5 การวิเคราะหขอมูล 3.6 ระยะเวลาที่ใชในการศึกษา 3.7 ขอจํากัดของการศึกษา (ถามี) ในแตละหัวขอมีคําอธิบายในรายละเอียดดังตอไปนี้
27
บทที่ 1 บทนํา 1.1 ความเปนมาและความสําคัญของปญหา ความเปนมาและความสําคัญของปญหานี้เปนสวนประกอบสําคัญสวนแรกของเคาโครง วิทยานิพนธ ซึง่ จะเปนสวนที่กําหนดแนวทางกวางๆ ทั่วไปเกี่ยวกับเรือ่ งที่จะทําการศึกษา โดย ชี้ใหเห็นถึงความสําคัญของประเด็นหรือปญหาที่เลือก คําถามเกี่ยวกับปญหา วัตถุประสงค สมมติฐาน รวมทั้งประโยชนที่พึงจะไดรับจากการศึกษา แนวทางการเขียนความเปนมาและความสําคัญของปญหา สิ่งแรกที่นักศึกษาตองกลาวถึง คือ เหตุผลที่ตนเลือกศึกษาเรื่องนั้น หรือ อีกนัยหนึ่ง ก็คือ แสดงถึงความสําคัญของเรื่องที่เลือกศึกษา นั้น โดยเฉพาะอยางยิ่งตองอธิบายใหไดวา ปญหาหรือเรื่องดังกลาว มีที่มา มีเหตุผล มีความจําเปน และมีความสําคัญอยางไร จึงควรคาแกการศึกษาหาคําตอบตอปญหานี้ การเขียนความเปนมาและความสําคัญของปญหา ในบางกรณีอาจตองกลาวถึงความเปนมา ของปญหาหรือเรื่องที่จะศึกษา บรรยายอยางยอ ถึงสภาพแวดลอม ที่เกี่ยวของ หรือ อาจตองอางถึง ผลการศึกษาวิจัยในเรื่องทํานองนีว้ า ไดผลประการใด และยังมีจุดออน ขอควรแกไข หรือ ประเด็น ที่ควรศึกษาเพิ่มเติมรวมทัง้ ศึกษาในตางเวลา หรือ ตางพื้นที่ทางภูมิศาสตร เพื่อใหไดความรูท ี่ สมบูรณยิ่งขึ้น กลาวอีกนัยหนึ่งก็คือ เปนการหาชองวาง (gap) ของเรื่องที่ศึกษา การเขียนขอความขางตนนี้สามารถเขียนได 2 ลักษณะ คือ ลักษณะหนึ่งเปนขอความใน ทางบวก กลาวคือระบุวา ปญหาหรือเรื่องที่จะศึกษานั้นมีความสําคัญอยางไร อีกลักษณะหนึ่งเปน ขอความในทางลบ กลาวคือระบุวา ถาหากไมทําการศึกษาในปญหานั้น แลวจะเกิดผลเสียอะไรบาง การที่จะเลือกเขียนขอความในลักษณะใดนั้น ไมมีกฎเกณฑหรือกติกาตายตัว แตจะขึ้นอยูกับความ สันทัดและความพอใจของผูศึกษาเอง รวมทั้งขึ้นอยูกับลักษณะของปญหาหรือเรื่องที่จะศึกษาดวย กลาวโดยสรุป ในสวนของความเปนมาและความสําคัญของปญหา เปนสวนที่บรรยายเพื่อ โนมนาวความคิดของผูอานใหคลอยตาม และเห็นความสําคัญ ความนาสนใจ และประโยชนที่ไดรับ จากการหาคําตอบของประเด็นหรือปญหาที่จะทําการศึกษาใหได
28
1.2 วัตถุประสงคของการศึกษา ลักษณะที่สําคัญของการเขียนวัตถุประสงค คือ จะตองระบุใหชัดเจนวา ในการศึกษา จะตองการบรรลุวัตถุประสงคใดบาง โดยจะตองเชื่อมโยงกับหัวขอ ความสําคัญของปญหา และ ขอบเขตของการศึกษาที่เขียนไวในตอนตน และตอบคําถามหรือปญหาในการศึกษาและสอดคลอง กับกรอบแนวคิดที่กําหนดไว การกําหนดวัตถุประสงคหรือเปาหมายของการศึกษาใหชัดเจนไวในตอนตนเชนนี้จะชวย ใหการเขียนสมมติฐาน ประโยชนที่จะไดรับ ตลอดจนการเก็บรวบรวมขอมูลเปนไปไดอยางตรง ประเด็น ในบางกรณีอาจมีการระบุเปน ‘วัตถุประสงคหลัก’ และแตกแยกเปน ‘วัตถุประสงคยอย’ เพิ่มเติม เพื่อครอบคลุมเปาหมายของการศึกษาทั้งหมด 1.3 ขอบเขตของการศึกษา เมื่อนําเสนอความสําคัญของปญหา หรือเรื่องที่จะทําการศึกษาแลว ตองระบุถึงขอบเขตของ การศึกษาตามหัวขอเรื่องหรือปญหาที่แจงไวตอนตน การกําหนดขอบเขตของการศึกษานี้เปนสิ่ง สําคัญอยางมากสําหรับการศึกษา เพราะเปนสิ่งที่ชี้ใหเห็นถึงความเปนไปไดของโครงการ วิทยานิพนธ ไดเปนอยางดี โดยทั่วไปแลวขอบเขตของการศึกษาจะกระทําใน 2 ระดับ คือระดับหนึ่งเปนขอบเขตที่ กําหนดไวในหัวเรื่องเลย อีกระดับหนึ่งเปนขอบเขตที่กําหนดในรายละเอียดของเคาโครง วิทยานิพนธ การกําหนดขอบเขตไวในหัวเรื่องอาจทําไดบางแตอาจทําไดไมสมบูรณ โดยเฉพาะใน กรณีที่มีขอบเขตหรือขอจํากัดอยูหลายประการ ตัวอยางเชน ชื่อเรื่อง “การศึกษาทัศนคติของเยาวชน ที่มีตอผูสูงอายุ : ศึกษาเฉพาะกรณีของเยาวชนในเขตกรุงเทพมหานคร” ซึ่งถาหากตองการจะ กําหนดขอบเขตใหมากกวานี้ในหัวเรื่อง ก็จะทําใหหัวเรื่องยาวมากทําใหไมเหมาะสม การที่จะ กําหนดขอบเขตของการศึกษาไวในหัวเรื่องหรือไวในเคาโครงนั้นยังขึ้นอยูกับวัตถุประสงคหรือ เปาหมายที่จะทําการศึกษาดวย กลาวคือ ถาการศึกษานั้นตองการศึกษาปญหาหรือเรื่องโดยทั่วไป เพื่อหาขอสรุปหรือพิสูจนสมมติฐานที่เปนหลักการ โดยทั่วไป กรณีเชนนี้ก็ไมควรจํากัดขอบเขตไว ในหัวเรื่องการศึกษา แตในทางตรงกันขาม หากการศึกษาประสงคจะใหไดผลเพื่อตอบคําถาม หรือ พิสจู นสมมติฐานในประเด็นที่เฉพาะเจาะจงบางอยาง กรณีเชนนี้สมควรจะใหหัวเรื่องสื่อ ความหมายในการจํากัดขอบเขตการศึกษาไวดวย
29
การกําหนดขอบเขตของการศึกษานี้ หมายรวมถึงการที่จะใหความหมายและขอคิดเกี่ยวกับ ปญหาหรือเรื่องที่จะทําการศึกษานั้น ชัดเจนเหมาะสมยิ่งขึ้น ดังนั้นขอบเขตของการศึกษาในที่นี้จึง อาจหมายรวมถึง (ก) ขอบเขตในทางวิชาการหรือทางทฤษฎี ไดแก การกําหนดขอสมมติบางประการ เพื่อใหการศึกษาเปนไปได เชน การตั้งขอสมมติฐานเกี่ยวกับคานิยมของวัยรุน ใน การศึกษาเพื่อทดสอบพฤติกรรมการบริโภคสินคาฟุมเฟอยของวัยรุน เปนตน หรือ ในการศึกษานี้ผูศึกษาสนใจที่จะนําเอาทฤษฎีใดมาใช (อาจมีหลายทฤษฎี) เปนการ เลือกทฤษฎีใดทฤษฎีหนึ่งเฉพาะ (ข) ขอบเขตในทางภูมิศาสตร ไดแก การกําหนดเลือกศึกษาเฉพาะภูมิภาค เฉพาะจังหวัด เฉพาะเขต เปนตน (ค) ขอบเขตเกี่ยวกับระยะเวลา ไดแก การเลือกศึกษาเฉพาะชวงระยะเวลาหรือกําหนด ระยะเวลา เชน ระหวาง พ.ศ. 2504 - 2544 หรือระหวางชวงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 1 – ฉบับที่ 8 เปนตน (ง) อื่นๆ เชน ขอบเขตทางกฎหมาย ขอบเขตทางประชากร กลุมตัวอยาง ขอบเขตในมิติ ตางๆ ทางสังคม เปนตน ในสวนของการกําหนดขอบเขตของการศึกษานี้ นักศึกษาควรกําหนดขอบเขตของปญหา หรือเรื่องที่จะศึกษาใหชดั เจน กระทัดรัดไดใจความ และเปนไปไดมากที่สุดเทาที่จะทําได แตก็ตอง ระวังไมใหเปนการกําหนดขอบเขตของการศึกษาจนกระทั่งไมอาจไดผลการศึกษาที่มีคุณคาที่ ชัดเจน 1.4 คํานิยามศัพทหรือคํานิยามเชิงปฏิบัติการ (ถามี) โดยปกติแลวการกําหนดคํานิยามศัพทในเคาวิทยานิพนธนั้น จะกระทําเฉพาะกรณีที่มี คําศัพทบางคําในเคาโครงเปนคําที่มิไดเปนที่เขาใจกันโดยทั่วไป เชน คําวา กระบวนทัศน ความ แปลกแยก ภาวะถดถอย เปนตน นอกจากนี้ยังรวมถึงศัพทหรือวลีที่อาจเขาใจไดหลายๆ ลักษณะ และ/หรือจะนิยามขึ้นใหมเปนการเฉพาะสําหรับวิทยานิพนธนี้เทานั้น เชน ครัวเรือน ประชากรใน วัยแรงงาน รายได เปนตน อยางไรก็ตาม นักศึกษาควรเขาใจวา โดยปกติแลวจะไมนิยมนิยามศัพทหรือวลีใดๆ ไว ใน เคาโครงวิทยานิพนธ ยกเวนเฉพาะในกรณีที่ถาหากไมนิยามไวใหชัดเจนแลว อาจมีผลใหผูอาน เขาใจผิดหรือสําคัญผิดในสาระสําคัญของเคาโครงวิทยานิพนธเทานั้น
30
นอกจากนั้น อาจเปนการนิยามตัวแปรที่ตองการศึกษาก็ได 1.5 ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ ประเด็นนี้อาจกลาวไดวา เปนประเด็นที่สําคัญมากอีกประเด็นหนึ่งในเคาโครงวิทยานิพนธ ก็ได เพราะจะเปนขอที่ใชประเมินวา วิทยานิพนธนี้มีผลทีจ่ ะนําไปใชใหเกิดประโยชนไดมากนอย เพียงใด ประโยชนที่คาดวาจะไดรับแตกตางจากวัตถุประสงคของการศึกษา กลาวคือ ในแงของ วัตถุประสงคนั้นจะระบุวา การศึกษาเรื่องนั้นๆ จะใหผลในเรื่องใดบาง ซึ่งจะตอบปญหาของ วิทยานิพนธไดวาที่เราสงสัยใครรู สนใจและทําการศึกษา จะใหผลใดๆ ปรากฎออกมาบาง แตในแง ของประโยชนที่คาดวาจะไดรับนี้จะระบุวา เมื่อทําศึกษาและไดผลดังที่คาดหมายตามวัตถุประสงค นั้นแลว จะนําผลที่ไดรับนี้ไปใชทําอะไรไดบาง หรืออาจกลาวไดวา ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ เปนสวนตอของวัตถุประสงค เมื่อไดผลการศึกษาที่บรรลุวัตถุประสงคแลว ผลลัพทนี้จะนําไปใช ประโยชนอะไรไดบาง ดังนั้นนักศึกษาจึงควรเขียนใหชัดเจนใหไดวางานที่ตนทํานั้นจะใหผลไดที่ เปนประโยชนในแงใด เพียงใด อยางไร
31
บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวของ ในบทนี้ควรจัดลําดับการเขียนเปน 3 ประเด็น คือ แนวคิดทฤษฎีและการทบทวน วรรณกรรมที่เกี่ยวของ หลักการและเหตุผลหรือกรอบแนวคิดในการศึกษา และสมมติฐานใน การศึกษา (ถามี) แตละประเด็นมีแนวทางดังนี้ 2.1 แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวของ นักศึกษาตองบรรยายถึงแนวคิด ทฤษฎี และการทบทวนวรรณกรรมตางๆ ที่เกี่ยวของกับ หัวขอวิทยานิพนธที่มีผูทําการศึกษาหรือคิดคนเอาไว ซึ่งเปนที่ยอมรับกันโดยทั่วไปแลว มีลักษณะ เปนไปในทํานองของการทบทวนวรรณกรรม หรือ วรรณกรรมปริทัศน (literature reviews) วัตถุประสงคของการทบทวนวรรณกรรมนี้เพื่อสํารวจความรู แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัย ที่เกี่ยวของวา มีคําตอบที่ผูอื่นไดเคยเผยแพรตีพิมพไวสําหรับเรื่องที่เปนปญหาของงานที่ศึกษาหรือ ยัง ซึ่งถามีคําตอบชัดเจนแลวก็ไมมีเหตุผลใดที่จะตองไปทําการศึกษาซ้ําใหเปนการเสียเวลาโดย เปลาประโยชน แตถายังไมมีคําตอบทีช่ ัดเจนในคําถามดังกลาว ก็จะเปนโอกาสอันดีทจี่ ะได ทําการศึกษาตอไป พรอมกันนี้ การทบทวนวรรณกรรมจะทําใหเขาใจในแนวคิดและทฤษฎีที่ เกี่ยวของกับคําถามที่ตองการทราบ และสงผลใหเกิดการสังเคราะหตัวแปรและเสนทาง ความสัมพันธจนพัฒนาเปนแนวคิดในการศึกษา ตลอดจนการตั้งสมมติฐานของการศึกษาอีกดวย การบรรยายในสวนนีเ้ ปนเรื่องของศิลปะของผูศ ึกษาแตละคนอยางแทจริง เพราะวิธีการ เขียนวรรณกรรมปริทัศนนั้นมีรูปแบบแตกตางกันไป และโดยปกติมักจะเขียนโดยผูกเรื่องทั้งหมด ใหเขาแนวทางที่ตองการเสียกอน แลวจึงเขียนบรรยายไปตามแนวทางนั้นโดยยกทฤษฎี แนวคิด หรือ ผลการวิจัยมาสนับสนุน ดังนั้นความสามารถในการผูกเรื่องโยงเขาหาประเด็นหลักของงานที่ จะทํา และหาทฤษฎีแนวคิดตางๆ มาสนับสนุนนั้นจึงเปนเรื่องเฉพาะตัว อยางไรก็ดี วิธีหนึ่งที่ควรจะหลีกเลี่ยง ก็คือ การเขียนโดยบรรยายถึงทฤษฎีแตละทฤษฎี แนวคิดแตละแนวคิด หรือผลงานวิจัยแตละเรื่อง เรียงตามลําดับเรื่อยไป จนในที่สุดหาความตอเนื่อง ผสมผสานกลมเกลียวไมได ปญหาที่นักศึกษามักจะพบบอยๆ คือ ไมสามารถหาแนวคิดทฤษฎีที่สอดคลองกับประเด็น ที่จะศึกษา เพราะไมมีทฤษฎีวาดวยการนั้น หรือไมเคยมีแนวคิดอยางนั้นๆ หรือไมเคยมีผูทํา
32
การศึกษาเรื่องนั้นๆ มากอนเลย อันที่จริงปญหานี้เปนเรื่องปกติธรรมดา เพราะถาหากวามีทฤษฎี หรือแนวคิดตรงกับเรื่องที่จะศึกษาอยูแนชัดแลว หรือมีผูทําการศึกษาในเรื่องนั้นๆ ไวแลว ก็ไม นาจะมีเหตุผลที่จะตองทําการศึกษาในเรื่องนั้นใหซ้ําซอนอีก นักศึกษาจึงควรเขาใจวา แนวคิด ทฤษฎี หรือผลงานวิจัยโดยตรง หากเปนเพียงสิ่งที่มีสวนเขามาสนับสนุนการวางรากฐานแนวคิดใน การศึกษาครั้งนี้ และเปนสวนที่จะกําหนดแนวความคิดของการศึกษาที่จะเขียนในลําดับถัดไปใหมี น้ําหนักขึ้น ทั้งนี้เพราะโดยปกติแลว เรามักจะไดแนวคิดที่จะทําการศึกษาในเรื่องหนึ่งมาจาก แนวคิดทฤษฎี หรือผลการวิจัยของผูอื่นที่ไดทําขึ้นไวแลวทั้งนั้น อาจมีทฤษฎีอยูแลวแตเราเห็นวา นาจะทดสอบใหม อาจมีแนวคิดอยูแลว แตเราอยากวิเคราะหใหม โดยการเปลี่ยนขอสมมติบางอยาง หรืออาจมีผลงานวิจัยอยูแลว แตเราเห็นวายังไมเหมาะสมถูกตอง เราจึงอยากจะทําการศึกษาใหม 2.2 กรอบแนวคิดในการศึกษา หลังจากศึกษาแนวคิด ทฤษฎี ทบทวนวรรณกรรม และงานวิจัยที่เกี่ยวของแลว นักศึกษา จะตองทําการสรุปประเด็นสําคัญ เพื่อนํามาผูกและสรางใหเปนกรอบแนวคิดในการศึกษา กรอบ แนวคิดนี้หากเปนการศึกษาเชิงปริมาณ ตองแสดงถึงความสัมพันธของตัวแปรตางๆ แตถาเปน การศึกษาเชิงคุณภาพ ตองแสดงประเด็นที่จะทําการศึกษาใหชัดเจนดังตัวอยางที่แสดงไวใน ภาคผนวก 2.3 สมมติฐานในการศึกษา (ถามี) สมมติฐาน หมายถึง สิ่งที่ตั้งเปนเปาหมายไวลวงหนาวา การศึกษานี้ตองการตอบคําถาม หรือพิสูจนอะไร หรือสิ่งที่คาดวาจะไดรับเมื่อเสร็จสิ้นการศึกษา งานวิทยานิพนธทุกเรื่องควรจะมี สมมติฐานที่แนชัดอยูดวย แตการตั้งสมมติฐานนั้นไมจําเปนตองตั้งเปนสมมติฐานทางสถิติเสมอไป อาจตั้งสมมติฐานเชิงบรรยายก็ได หากวิทยานิพนธนั้นเปนเชิงวิเคราะห สมมติฐานนั้นจึงอาจเปนได ทั้งสมมติฐานที่เฉพาะเจาะจง หรือ อาจตั้งเปนสมมติฐานอยางกวาง ๆ ไมเฉพาะเจาะจงก็ได การตั้งสมมติฐานนั้นจะงายถาหากขอบเขต วัตถุประสงคของการศึกษา และกรอบแนวคิด ไดตั้งไวอยางดีและเหมาะสมตั้งแตตน เพราะสมมติฐานนั้นจะตองตัง้ ขึ้นใหสอดคลองและเพื่อที่จะ ไดทําการศึกษาตรงเปาหมาย วัตถุประสงคภายใตขอบเขตและกรอบแนวคิดที่กําหนดไวเปนอยางดี
33
บทที่ 3 ระเบียบวิธีการศึกษา ในบทนี้นักศึกษาจะตองระบุใหชัดเจนวา การศึกษานี้เปนการศึกษาแบบใด กลาวคือเปน การศึกษาเชิงปริมาณ การศึกษาเชิงคุณภาพ หรือการทดลองนอกจากนี้อาจระบุในรายละเอียด เพิ่มเติมเพื่อขยายความชนิดของการศึกษาใหชัดเจนยิ่งขึ้น รวมถึงการออกแบบระเบียบวิธีใน การศึกษาในประเด็นตาง ๆ ดังตอไปนี้ 3.1 ประชากรและกลุมตัวอยาง ควรเลือกประชากรที่ใชในการศึกษาใหชัดเจน ซึ่งเปนผูใหขอมูลหรือใหผลการศึกษาที่ ถูกตองและแมนยําตรงกับคําถามของการศึกษา จึงเปนเหตุผลสําคัญวาทําไมจึงตองศึกษาประชากร กลุมนี้ อยางไรก็ตามในการศึกษาจริงอาจเลือกศึกษาในประชากรทั้งหมด หรือเลือกตัวแทนจาก ประชากร หรือ กลุมตัวอยาง เพื่อเปนผูใหขอมูลหรือผลของการศึกษาแทนประชากรทั้งหมดได ในการเลือกตัวแทนหรือกลุมตัวอยางออกมาจากประชากรมีหลากหลายวิธี ทั้งนี้จะเลือกใช วิธีใดก็ตาม ที่สําคัญคือผลของการเลือกจะตองใหไดกลุมตัวอยางที่มีปริมาณเพียงพอในการที่จะ เปนตัวแทนที่ดีของประชากร การศึกษาเชิงทําการทดลอง ควรระบุถึงรูปแบบที่ทําการศึกษาใหชัดเจนวาเปนการทําการ ทดลองเรื่องใด เพื่อศึกษาถึงปจจัยใด หรือตองการพิสูจนหรือตอบคําถามใด 3.2 เครื่องมือที่ใชเก็บขอมูล การศึกษาเชิงปริมาณ/คุณภาพ ควรระบุชนิดของเครื่องมือที่ใชในการเก็บขอมูล ตัวอยางเชน แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ แบบทดสอบ เครื่องบันทึกเสียง สมุดจดบันทึก เปนตน สําหรับแบบสอบถาม แบบสัมภาษณ และแบบทดสอบควรอธิบายถึงสวนประกอบของเนื้อหาวามีกี่ สวน มีรายละเอียดอยางไรบาง อนึ่งเนื้อหาสวนนี้ควรสอดคลองกับวัตถุประสงคและกรอบแนวคิด ของการศึกษา สวนการศึกษาเชิงการทดลองนั้นใหระบุวัตถุดิบ สารเคมีแหลงที่มาใหชัดเจน
34
3.3 การทดสอบความแมนตรง และความเชื่อถือไดของเครื่องมือ วิธีวิเคราะหผลหรือการประเมินผล ตองแสดงใหเห็นถึงวิธีการพัฒนาเครื่องมือที่ใชใน การศึกษา และการทดสอบเครื่องมือทั้งในดานความแมนตรง (validity) และความเชื่อถือได (reliability) ใหอยูในระดับที่นาพอใจกอนทําการเก็บรวบรวมขอมูลจริง หรือมีการทดสอบตาม ความแมนตรงและความนาเชื่อถือของวิธีวิเคราะหหรือการประเมินหรืออาจจะอางอิงจากวิธีที่มี ผูอื่นเคยตีพิมพเผยแพรแลว รวมทั้งตําราตางๆ 3.4 การเก็บรวบรวมขอมูล ควรระบุรายละเอียดของการเก็บขอมูลใหชัดเจนวาไดมีการเก็บขอมูลอยางไร เชน การ สัมภาษณเชิงลึก การสัมภาษณดวยตนเอง การนําแบบสอบถามใหกลุมตัวอยางตอบดวยตนเอง หรือ มีผูอนื่ ชวยเหลือ กลาวคือ เปนการอธิบายใหผูอานเขาใจชัดเจนเกี่ยวกับวิธีการเก็บ วันและเวลาที่เก็บ ลักษณะของการเก็บ สถานที่เก็บ เปนตน 3.5 การวิเคราะหขอมูล การอธิบายวิธีการวิเคราะหขอมูลในเคาโครงอาจจะกลาวอยางกวางๆ หรือโดยละเอียดก็ได ขึ้นอยูกับวานักศึกษาเองเตรียมวางแผนการลวงหนาไวอยางไร และหัวเรื่องที่ทําการศึกษานั้นเอื้อให กําหนดแนวทางไดมากนอยเพียงใด อยางนอยที่สุดในแนวทางการวิเคราะหนี้ควรระบุวาจะใช วิธีการพิสูจนสมมติฐานอยางไร ใชเทคนิคการวิเคราะหแบบใด เปนตนวา วิเคราะหโดยใชแนวคิด ทฤษฎีใด หรือวิเคราะหเชิงเสนตรง หรืออื่น ๆ นอกจากนี้ ควรจะระบุเหตุผลประกอบวาเลือกใช เทคนิคนั้นๆ เพราะเหตุใด รวมทั้งมีขอสมมติและขอจํากัดประการใดบางหรือไม อยางไรก็ดี แนวทางในการวิเคราะหดังกลาวมานี้มิไดเปนขอผูกมัดผูศ ึกษาวาในการศึกษาจริงจะตองวิเคราะห ตามแนวนี้เทานั้น เพราะเหตุวาในการศึกษาจริง อาจพบปญหาบางอยาง หรือมีเหตุการณบางอยางที่ ไมอาจวิเคราะหตามแนวทางนั้นๆ ก็เปนได และการเปลี่ยนแปลงปรับปรุงแนวทางที่เหมาะสมใน ขั้นศึกษาจริงจึงเปนไปได วิธีการวิเคราะห เชน การใชโปรแกรมสําเร็จรูปคอมพิวเตอร การใช เทคนิคหรือวิธีการเชิงปริมาณ
35
3.6 ระยะเวลาที่ใชในการศึกษา นักศึกษาตองระบุถึงสิ่งที่จะดําเนินการและระยะเวลาที่ใชในการดําเนินการ นับตั้งแตการ คนควาขอมูล ทบทวนวรรณกรรม การเตรียมเคาโครง การสรางเครื่องมือ การเก็บขอมูล เปนตน โดยปกติจะจัดทําเปนตารางหรือแผนภูมิ 3.7 ขอจํากัดของการศึกษา (ถามี) การทําวิทยานิพนธนั้นถาหากนักศึกษาพบวามีขอจํากัดก็ควรจะเขียนขอจํากัดไวดวย ทั้งนี้ เพราะการที่นักศึกษาไมเขียนถึงขอจํากัดหรือเตรียมอุดชองโหวตางๆ ไว จะทําใหเขาใจไดวา นักศึกษาไมทราบถึงปญหาอุปสรรคและรายละเอียดปลีกยอยที่ตนทําการศึกษาดีพอ หรือไมทราบ วางานของตนขาดความสมบูรณที่ใดบาง ดังนั้นการแสดงวานักศึกษาไดคิดรอบคอบถึงประเด็น ปญหาขอจํากัด และชองโหวตางๆ ใหไดมากที่สุดหรือทั้งหมด จึงเปนสิ่งที่ดีและพึงกระทําแตตอง ระวัง ไมควรเขียนถึงขอจํากัดในลักษณะที่เปนการปกปองตนเอง จนกระทั่งทําใหคุณคาของ วิทยานิพนธหมดสิ้นไปเพราะมีขอจํากัดมากจนทําอะไรไมได การนําเคาโครงการศึกษาไปเปนสวนหนึ่งของรายงานฉบับสมบูรณ อนึ่ง การจัดทําเคาโครง หรือแผนงานการศึกษา ซึ่งประกอบดวย บทที่ 1 – 3 นี้ สามารถนํา ทั้ง 3 บทนี้ไปเปนสวนแรกของรูปเลมรายงานฉบับสมบูรณ เมื่อเสร็จสิ้นการศึกษาและจัดทําตอใน บทที่ 4 ผลการศึกษา และบทที่ 5 การอภิปรายผลการศึกษา อยางไรก็ตามการนําสวนของเคาโครง ไปใชในรายงานฉบับสมบูรณจะตองปรับเนื้อหาตางๆ ใหทันสมัยทันตอเหตุการณ และเปนไปตาม ความเปนจริงของการศึกษา เพราะวาเมื่อเวลาผานไปอาจมีเนื้อหาความรูที่ทันสมัยยิ่งขึ้น และในการ ทําการศึกษาจริงอาจแตกตางคลาดเคลื่อน หรืออาจตองปรับใหเขากับสถานการณจริง ซึ่งอาจตาง จากที่เคยวางแผนไวก็เปนได
บทที่ 4 สวนประกอบของวิทยานิพนธ ในการจัดพิมพรูปเลมวิทยานิพนธ มีสวนประกอบใหญๆ แบงออกไดเปน 2 สวน คือ 4.1 สวนเนื้อหาของการศึกษา 4.2 สวนประกอบของรายงานฉบับสมบูรณ 4.1 สวนเนื้อหาของการศึกษา สวนที่เปนเนื้อหาของการศึกษาโดยตรง นิยมเรียบเรียงและแบงเปนบท (Chapter) ตามลําดับดังนี้ บทที่ 1 บทนํา บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวของ บทที่ 3 ระเบียบวิธีการศึกษา บทที่ 4 ผลการศึกษา บทที่ 5 สรุปผลการศึกษา อภิปรายผลและขอเสนอแนะ บรรณานุกรม ภาคผนวก (ถามี) ในบางกรณีการแบงเปนบทๆ อาจแตกตางไปจากนี้ ขึ้นอยูกับเนื้อหา ความเหมาะสม และ ความปรารถนาของผูศึกษา ตัวอยางเชน ผลการศึกษาในบางครั้งอาจมีเนื้อหาหลายประเด็นและมี ปริมาณมาก ซึ่งอาจแยกผลการศึกษา (บทที่ 4) ออกเปนหลายบทก็ได หรือ ผูศ ึกษาบางทานอาจแยก บทที่ 5 สรุปผลการศึกษา อภิปรายผล ขอเสนอแนะ (Conclusion, Discussion & Recommendations) ออกไปเปน 2 บท ไดแก บทที่ 5 อภิปรายผล (Discussion) และบทที่ 6 สรุปผลการศึกษาและ ขอเสนอแนะ (Conclusion & Recommendations) เปนตน ซึ่งจะขอกลาวทั้ง 7 สวน พอสังเขปดังนี้ (แสดงตัวอยางทั้งหมดไวในภาคผนวก ดานทายเลม) 4.1.1 บทนํา (Introduction) เปนชื่อของบทที่ 1 กลาวถึงความเปนมา และความสําคัญของ ปญหา วัตถุประสงค ขอบเขต คํานิยามศัพท และประโยชนทคี่ าดวาจะไดรับ
37
4.1.2 แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวของ (Literature Reviews) มักจัดใหเปนบทที่ 2 ซึ่ง เกี่ยวกับวรรณกรรมปริทัศนที่เกี่ยวของ ทฤษฎี แนวคิด งานวิจัยที่เกี่ยวของกับเรื่องที่ศึกษา 4.1.3 ระเบียบวิธีการศึกษา (Methodology) เปนบทที่บรรยายถึงวิธีการที่ใชในการศึกษาโดย ละเอียดวามีขั้นตอนในการทําอยางไรบาง แตละขั้นตอนใชเอกสารขอมูลหรือเครื่องมือประเภทใด ชนิดใด เอกสารขอมูลหรือเครื่องมือนั้นๆ ไดมาอยางไร ตลอดจนการวิเคราะหขอมูล 4.1.4 ผลการศึกษา (Results) เปนการนําผลที่ไดจากการเก็บและวิเคราะหขอมูล ซึ่งอาจ นําเสนอในรูปของการบรรยายเปนขอความ ตาราง กราฟ และแผนภูมิ โดยเนนการนําเสนอผล การศึกษาที่ชัดเจน เขาใจไดงาย 4.1.5 สรุ ป ผลการศึ ก ษา อภิ ป รายผล ข อ เสนอแนะ (Conclusion, Discussion & Recommendations) ในบทนี้จะเริ่มตนดวยการสรุปผลการศึกษาจากขอมูลที่นําเสนอในบทของผล การศึกษาเฉพาะที่สําคัญ แลวจึงอภิปรายผลที่ไดเมื่อเปรียบเทียบกับการศึกษาของผูอื่นที่เกี่ยวของ ใกลเคียงกัน และความเห็นของผูทําการศึกษาตอประเด็นเหลานี้ ตามดวยขอจํากัดของการศึกษาครั้ง นี้ (ถามี) และจะสรุปดวยขอเสนอแนะจากตัวผูที่ทําการศึกษา โดยเฉพาะสําหรับผูที่ตองการศึกษา ตอยอดในประเด็นเหลานี้ตอไป ตลอดจนประโยชนในทางประยุกตผลการศึกษาที่ได 4.1.6 บรรณานุกรม (Bibliography) ในวิทยานิพนธ หรือ การศึกษาอิสระ แตละเรื่องจะตอง มีรายการอางอิง อันไดแก แหลงขอมูลที่ใชอางอิงทั้งหมด ซึ่งประกอบดวย รายชื่อหนังสือ วารสาร ของผูแตงทั้งภาษาไทยและภาษาตางประเทศ website ตางๆ บรรณานุกรมจะอยูตอจากสวนเนื้อเรื่อง และกอนภาคผนวก (จะกลาวถึงวิธีการเขียนอางอิงและบรรณานุกรมในบทที่ 6 และ7) 4.1.7 ภาคผนวก (Appendix) คือ ขอความที่ไมสามารถบรรจุอยูในสวนเนื้อหา แตเปนสวน ที่เสริมใหเกิดความเขาใจชัดเจนขึ้น ภาคผนวกเปนขอมูลที่ใชในการเขียนวิทยานิพนธ หรือ การศึกษาอิสระ แตไมไดอางอิงโดยตรงหรือไมสมควรอางอิงในสวนเนื้อหา เพราะมีความยาวมาก หรือไมเหมาะสมแกการพิมพไวในสวนเนื้อหา หนาแรกของภาคผนวกใหขึ้นหนาใหมมีคําวา ‘ภาคผนวก’ อยูกลางหนากระดาษ ในกรณีที่ มีหลายภาคผนวกใหใชเปนผนวก ก ผนวก ข ผนวก ค แตละภาคผนวกใหขึ้นหนาใหม
38
อนึ่ง บทคัดยอ ซึ่งเปนสวนหนึ่งที่สําคัญที่สรุปผลการศึกษาทั้งหมดไวในเนื้อความ 1-2 หนา จะไมปรากฏในสวนนี้ แตนิยมจัดทําไวในสวนหนาของรูปเลมถัดจากหนาปกและหนาอนุมัติ บทที่ 1-3 อันไดแก บทนํา แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวของ และระเบียบวิธีการศึกษา จะเปนในลักษณะเดียวกันกับเคาโครงงานวิทยานิพนธ แตอาจตองปรับใหเนื้อหาทันสมัย และแสดง ระเบียบวิธีการศึกษาจริงที่ไดดําเนินการไป เพื่อใหเหมาะสมกับเปนรายงานการศึกษาทั้งหมด 4.2 สวนประกอบของรายงานฉบับสมบูรณ ในสวนนี้จะประกอบดวยทั้งสวนนําและสวนปดทายของรายงานฉบับสมบูรณ ซึ่งสวนนํา จะประกอบดวย หนาปก หนาอนุมัติ บทคัดยอ กิตติกรรมประกาศ สารบัญ สารบัญอื่น ๆ (ถามี) และ คําอธิบายสัญลักษณและคํายอ (ถามี) ซึ่งทั้ง 7 สวนนี้อยูดานหนาและเรียงตามลําดับ กอนสวนเนื้อหา ของการศึกษา และจะตอทายปดเลมดวย ประวัติผูเขียน เปนอันจบรายงานฉบับสมบูรณ ดังมี รายละเอียด ดังนี้ 4.2.1 หนาปก (Cover) หมายถึง หนาที่ระบุชื่อหัวเรื่องของวิทยานิพนธ หรือการศึกษาอิสระ ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ชื่อพรอมนามสกุลของผูเขียน และใหใชคํานําหนานาม เชน นาย นางสาว นาง และไมตองเขียนคุณวุฒิใดๆ ไวทายชื่อ เพราะรายละเอียดดังกลาวจะปรากฏอยูใน ประวัติผูเขียนอยูทายเลม แตถามียศ ฐานันดรศักดิ์ หรือสมณศักดิ์ก็ใหใสไวดวย 4.2.2 หนาอนุมัติ (Approved Page) ของวิทยานิพนธ ถาเขียนเปนภาษาไทย ใหเขียนหนา อนุมัติเปนภาษาไทย ถาเขียนวิทยานิพนธเปนภาษาอังกฤษหรือภาษาตางประเทศอื่นใด ก็ใหเขียน หนาอนุมัติเปนภาษาที่ใชเขียนวิทยานิพนธนั้น ๆ 4.2.3 บทคัดยอ (Abstract) เปนสวนที่สําคัญที่สุดสวนหนึ่งของวิทยานิพนธ เนื่องจากเปน การสรุปผลการศึกษาที่ทําใหผูอานทราบถึงเนื้อหาของวิทยานิพนธ หรืองานทั้งหมดอยางสั้นและ กระทัดรัด สวนประกอบของบทคัดยอที่สําคัญ มีดังนี้ วัตถุประสงค และขอบเขตของการศึกษา วิธี การศึกษา รวมถึงเครื่องมือที่ใช วิธีการเก็บขอมูล จํานวนและลักษณะของกลุมที่ศึกษา ผลการศึกษา รวมถึงระดับนัยสําคัญทางสถิติ (ถามีการทดสอบ) ลักษณะของบทคัดยอที่ดี ควรมีลักษณะดังนี้
39
- เปนการเขียนรอยแกวตอเนื่องกันไป หลีกเลี่ยงการใชเลขลําดับขอหรือยอหนา - ความถูกตอง โดยระบุจุดประสงคและเนื้อหาของเรื่องตามที่ปรากฏในเลม - ความสมบูรณ เชน คํายอ คําที่ไมคุนเคย ใหเขียนเต็มเมื่อกลาวถึงครั้งแรก ไมจําเปนตอง อางเอกสารอางอิง ยกตัวอยาง ยกขอความ สมการ ตาราง หรือ ภาพวาดใดๆ - การกําหนด คําสําคัญ (Key Words) ในบทคัดยอ สําหรับทําดรรชนีเพื่อการสืบคน สามารถใชพจนานุกรมราชบัณฑิตยสถาน หรือ Dictionary ซึ่งเปนที่ยอมรับกันทั่วไปเปนแนวทาง ในการสะกดคํา - ควรใชคําเฉพาะทีก่ ระชับ ชัดเจน ประโยคแตละประโยคมีความหมาย โดยเฉพาะประโยคนํา พยายามเขียนใหสั้นที่สุด - ความนาอานและราบรื่น ควรคํานึงถึงหลักการใชภาษาตามความเหมาะสม ในกรณีที่เขียน บทคัดยอเปนภาษาตางประเทศ ใหคํานึงถึงการใชกาล (Tense) ใหถูกตองตามมาตรฐานที่ใชกันใน แตละสาขาวิชา ตัวอยางเชน สมาคมจิตวิทยาอเมริกัน (APA) กําหนดไววาเมื่อกลาวถึง วัตถุประสงค สมมติฐาน วิธศี ึกษา และการทดสอบใหใชอดีตกาล (Past Tense) ในสวนทีเ่ ปน รายงานผล การศึกษา สรุป และประยุกตผลการศึกษา ใหใชปจจุบันกาล (Present Tense) ใหถูกตอง 4.2.4 กิตติกรรมประกาศ (Acknowledgements) คือ ขอความกลาวขอบคุณผูช วยเหลือและ ใหความรวมมือในการศึกษาเพื่อเขียนวิทยานิพนธ เปนการแสดงถึงจรรยาบรรณทางวิชาการที่ผศู ึกษา ควรถือปฏิบัติ 4.2.5 สารบัญ (Index) เปนรายการที่แสดงถึงสวนประกอบทั้งหมดของวิทยานิพนธ โดย เรียงตามลําดับเลขหนา 4.2.6 สารบัญอื่นๆ (Other Index-ถามี) เชน สารบัญตาราง สารบัญภาพ หรือสารบัญแผนภูมิ เปนสวนบอกเลขหนาของตาราง ภาพ หรือแผนภูมิทั้งหมดที่มีอยู 4.2.7 คําอธิบายสัญลักษณและคํายอ (Symbol & Abbreviate-ถามี) เปนสวนอธิบายถึง สัญลักษณและคํายอตางๆ ที่ใช ทั้ง 7 สวนนี้เปนสวนที่อยูดานหนา โดยเรียงลําดับจาก 4.2.1 ถึง 4.2.7 และอยูกอนสวน เนื้อหาของการศึกษาทั้งหมด (4.1.1-4.1.7) และจะตามดวยสวนปดทายหรือหนาสุดทายของรายงาน ฉบับสมบูรณ ซึ่งไดแก ประวัติผูเขียน
40
4.2.8 ประวัติผูเขียน (Biography) ประวัติผูเขียนใหเขียนเปนประเด็น โดยแยกเปนขอ ๆ ดังนี้ - ชื่อนามสกุล พรอมคํานําหนา ไดแก นาย นางสาว นาง ถามียศ ฐานันดรศักดิ์ สมณศักดิ์ หรือตําแหนงทางวิชาการ ก็ใหใสไวดวย - วัน เดือน ป และสถานที่เกิด - วุฒิการศึกษาตั้งแตขั้นปริญญาบัณฑิตหรือเทียบเทาขึ้นไป สถานศึกษา และปการศึกษาที่ สําเร็จการศึกษา - ประสบการณ ผลงานทางวิชาการ รางวัลทางวิชาการ รางวัลหรือทุนการศึกษาเฉพาะที่ สําคัญ - ตําแหนงและสถานที่ทํางานของผูเขียน
บทที่ 5 วิธีการพิมพวิทยานิพนธ เพื่อใหการพิมพวิทยานิพนธมีความเปนระเบียบและเหมาะสม ดังตอไปนีอ้ ยางเครงครัด
ควรปฏิบัติตามวิธีการ
5.1 ตัวพิมพและกระดาษที่ใชพิมพ ใหใชตัวพิมพจากคอมพิวเตอร โดยตัวอักษรเปนสีดําและเปนตัวพิมพแบบเดียวกันทั้งเลม ใชอักษร Angsana new ขนาด 16 points ยกเวนขอความที่ตองการเนน เชน หัวขอเชิงอรรถ หรือ บรรณานุกรม สําหรับกระดาษที่ใชพิมพใหใชกระดาษปอนดไมมีบรรทัดชนิด 80 แกรม ขนาด A-4 ยี่หอ อะไรก็ได โดยใหพิมพเพียงหนาเดียว การใชตัวเลขในการพิมพไมวาจะอยูในเนื้อเรื่องหรือการลําดับหนาบทหรือหัวขอก็ตาม จะ ใชตัวเลขไทยหรืออารบิกก็ได แตตองใชอยางเดียวกันโดยตลอดทั้งเลม 5.2 การเวนขอบของกระดาษและการขึ้นบรรทัดใหม หัวกระดาษตอนบนและขอบซายมือใหเวนที่วางไวประมาณ 11/2 นิ้ว ตอนลางและขอบ ขวามือเวนไวประมาณ 1 นิ้ว ถาพิมพคําสุดทายไมจบในบรรทัดนั้น ๆ ใหยกคํานั้นทั้งคําไปพิมพใน บรรทัดถัดไป หามนําสวนทายของคําไปพิมพในบรรทัดใหม เชน คําวา ปรารถนา หามแยกบรรทัด เปน ปรา-รถนา หรือ มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ หามแยกเปน มหาวิทยาลัยหัว-เฉียว เฉลิมพระเกียรติ 5.3 การเวนระยะการพิมพ การเวนระยะระหวางบรรทัดใหเวน 1 บรรทัด สวนการยอหนาใหเวนระยะจากแนวปกติ ซายมือประมาณ 1/2 นิ้ว และตองใหเหมือนกันหมดทั้งเลม และระยะการพิมพของแตละประโยค หรือ วลีใช 1 เคาะ และตองใหเหมือนกันทั้งเลม
42
5.4 การขึ้นหนาใหม ถาพิมพมาถึงบรรทัดสุดทายของหนากระดาษและจะตองขึ้นหนาใหม แตมีขอความเหลือ อีกเพียงบรรทัดเดียวก็จะจบยอหนาเดิม ใหพิมพตอไปในหนาเดิมจนจบยอหนา แลวจึงขึ้นยอหนา ใหมในหนาถัดไป แตถาจะตองขึ้นยอหนาใหมแตมีเนื้อที่เหลือใหพิมพไดอีกเพียงบรรทัดเดียวในหนานั้น ให ยกยอหนานั้นไปตั้งตนพิมพในหนาถัดไป 5.5 การลําดับหนา ในการลําดับหนาทั้งหมดอาจจะแบงออกไดเปน 5.5.1 การลําดับหนาของสวนนํา ซึ่งประกอบดวย หนาอนุมัติ (Approved Page) บทคัดยอ (Abstract) กิตติกรรมประกาศ (Acknowledgements) สารบัญ (Index) สารบัญอื่น ๆ (Other Index-ถา มี) และคําอธิบายสัญลักษณและคํายอ (Symbol & Abbreviate-ถามี) ใหใชตัวเลขในเครื่องหมายวงเล็บ (1), (2), (3), ... หรือ (๑), (๒), (๓), … โดยพิมพไวตรงกลางกระดาษหางจากขอบบนของกระดาษ 1 /2 นิ้ว 5.5.2 การลําดับหนาที่เหลือ ซึ่งไดแก สวนที่เปนเนือ้ หาของการศึกษา ซึ่งประกอบดวย บท นํา (Introduction) ทบทวนวรรณกรรม (Literature Reviews) ระเบียบวิธีการศึกษา (Method) ผล การศึกษา (Results) สรุปผลการศึกษา อภิปรายผล และขอเสนอแนะ (Conclusion, Discussion & Recommendations) บรรณานุกรม (Bibliography) และภาคผนวก (Appendix) (ถามี) รวมถึง สวนทาย ไดแก ประวัติผูเขียน (Biography) ใหพิมพตัวเลขโดยไมตองมีวงเล็บที่มุมขวาบน หางจาก ขอบบนของกระดาษ 1 นิ้ว และหางจากขอบขวา 1 นิ้ว 5.6 การพิมพบทและหัวขอในบท 5.6.1 บท เมื่อขึ้นบทใหมใหขึ้นหนาใหมทุกครั้ง และตองมีเลขลําดับบท โดยพิมพคําวา “บทที.่ .......” ไวที่กลางหนากระดาษหางจากขอบบน 11/2 นิ้ว บรรทัดตอมาใหพิมพชื่อบทไวที่กลาง หนากระดาษเชนเดียวกัน โดยใหเวนระยะหางจากบทที่ ...... 2 บรรทัด
43
ถาชื่อบทนั้นยาวเกินกวา 1 บรรทัด หรือ มากกวา 48 ตัวอักษร ใหแบงเปน 2-3 บรรทัดตาม ความเหมาะสม โดยใหพิมพเรียงลงมาในลักษณะของสามเหลี่ยมหัวกลับ ไมตองขีดเสนใตชื่อบท แตใหใช ตัวเนนขอความ หรือ ตัวเขม (bold) ตอจากนั้นจึงจะเริ่มพิมพเนื้อเรื่องตอไปหางจากชื่อบท 2 บรรทัด 5.6.2 หัวขอใหญและหัวขอยอย การพิมพหัวขอใหญ หมายถึง หัวขอสําคัญในแตละบทให ใชตัวเนนขอความ หรือ ตัวเขม (bold)โดยพิมพไวกลางหนากระดาษ ถาหัวขอใหญนั้นไมไดอยู บนสุดของกระดาษใหเวนระยะ 1 บรรทัดกอนและจึงคอยขึ้นหัวขอใหญ แตถาหากขึ้นหัวขอใหญ แลวมีที่วางสําหรับพิมพ เนื้อเรื่องไดไมมากกวา 1 บรรทัด ก็ใหยกหัวขอนั้นไปอยูในหนาถัดไป ถาในหัวขอใหญยังมีหัวขอยอยอีก ใหพิมพหัวขอยอยดังกลาวไวที่ยอหนาใหม โดยเวน ระยะพอสมควร และหากมีหัวขอยอยลงไปอีกก็ใหขึ้นบรรทัดใหมเวนระยะใหเยื้องกับหัวขอใหญ ลําดับกอนหนานั้น โดยใชหลักเกณฑของการใหเลขกํากับ 5.6.3 การใหเลขกํากับ การใหเลขกํากับหัวขอในแตละบทใหเริ่มจากหมายเลข 1, 2, 3, … ตามลําดับในหัวขอใหญ และหัวขอยอยที่อยูภายใตหัวขอใหญที่ 1 ใหเปน 1.1, 1.2, 1.3 ... และหาก ยังมีหัวขอยอยในขอ 1.1 อีกก็ใหเปน 1.1.1, 1.1.2, 1.1.3 … (หากเกินกวา 3 ตัวเลขขึ้นไป ควรใช 1) หรือ (1) แทน) 5.7 การพิมพตาราง การพิมพตาราง ใหพิมพคําวา ตารางพรอมทั้งเลขกํากับ เชน ตารางที่ 1.1 หรือ ตารางที่ 1 ไวตรงกลาง หางจากขอบซายและขอบขวาเทากัน และหางจากขอความตอนบนกอนขึ้นตาราง 2 บรรทัดในบรรทัดตอมาถัดจากชื่อตารางใหเวน 1 บรรทัด ถาหากชื่อ ตารางยาวเกินกวา 1 บรรทัด ใหพิมพบรรทัดตอมาในลักษณะของสามเหลี่ยมหัวกลับเชนเดียวกันกับชื่อบท ในกรณีที่ตารางมีความยาวเกินกวาหนึ่งหนา ตองระบุ “ตารางที่ X (ตอ)” ไวที่ดานบนของ ตารางสวนที่เกินและขึ้นหนาใหมเสมอ โดยไมตองระบุชื่อตาราง เมื่อจบตารางใหเวน 2 บรรทัดแลวจึงพิมพขอความตอไป
44
5.8 แหลงอางอิงและเชิงอรรถของตาราง ใหลงแหลงอางอิงที่ใตตาราง โดยพิมพไวใตตารางหางจากตาราง 1 บรรทัด ในกรณีที่มี เชิงอรรถหรือมีหมายเหตุสําหรับตารางนั้น ใหพิมพหมายเหตุถัดจากแหลงอางอิงลงมา โดยเวน 1 บรรทัด เมื่อจบเชิงอรรถใหเวน 2 บรรทัดแลวจึงพิมพขอความตอไป ขนาดของตารางไมควรใหญเกินกวาหนากระดาษเวนแตจําเปน ถาตารางใหญเกินกวาครึ่ง หนาและตองพิมพแยกในอีกหนาหนึ่งตางหาก ใหพิมพชื่อตารางและแหลงอางอิงตางๆ โดยจัดให ทั้งหมดอยูกลางหนากระดาษ ในเนื้อเรื่องหากมีการอางอิงถึงตารางใด ก็ใหอางถึงเลขกํากับตารางนั้นดวยทุกครั้ง 5.9 การพิมพบรรณานุกรม ใหพิมพคําวา บรรณานุกรม ไวตรงกลางบรรทัดบนสุดของหนาแรกของบรรณานุกรม โดยพิมพหางจากขอบบน 11/2 นิ้ว ตอจากนั้นใหเวน 2 บรรทัด แลวพิมพรายละเอียดของ บรรณานุกรม โดยแยกตามประเภทของเอกสารดังนี้ ก. หนังสือ ข. บทความ (ในวารสารหรือหนังสือ) ค. เอกสารอื่นๆ (วิทยานิพนธ จุลสาร เอกสารอัดสําเนาตาง ๆ) ง. การสัมภาษณ จ. สิ่งพิมพ อิเล็กทรอนิกส ฉ. โสตทัศนวัสดุ ใหพิมพเอกสารแตละประเภท โดยแยกตามประเภทดังกลาวขางตน ในกรณีที่มีเอกสารจํานวนไมมาก จะใชวิธีเรียงตามลําดับตัวอักษรของชื่อผูแตงหรือชื่อ เรื่อง โดยไมแยกประเภทของเอกสารก็ได และหากเอกสารภาษาตางประเทศดวย ใหพิมพแยก ตางหากจากภาษาไทยโดยใหถือหลักการเดียวกับเอกสารภาษาไทย 5.10 ภาคผนวก หนาแรกของภาคผนวกใหขึ้นหนาใหมมีคําวา ภาคผนวกอยูกลางหนากระดาษ และให ลําดับเลขหนาตอเนื่องกันไป หนาถัดไปใหพิมพคําวา ภาคผนวก ก ไวตรงกลางของบรรทัดบนสุด
45
หางจากบน 11/2 นิ้ว บรรทัดตอมาใหพิมพชื่อภาคผนวกโดยเวนจากบรรทัดบน 2 บรรทัด ถาชื่อยาว เกิน 1 บรรทัด ใหปฏิบัติเชนเดียวกับการพิมพชื่อบท (พิมพเรียงกันลงมาในลักษณะของสามเหลี่ยม หัวกลับ) ตอจากชื่อภาคผนวกใหเวน 2 บรรทัดพิมพแลวจึงพิมพขอความตอไป ถามีหลายภาคผนวก ใหขึ้นหนาใหมทุกภาคผนวก โดยใหเรียงตามลําดับอักษร ภาคผนวก ก ภาคผนวก ข ภาคผนวก ค เรื่อยไป
บทที่ 6 วิธีการอางอิง การเขียนรายงานการศึกษาวิจัยไมวาจะเปนวิทยานิพนธ หรือการศึกษาอิสระ โดยปกติแลวจะ ตองใชขอมูลทางวิชาการ ตลอดจนแนวความคิด ทฤษฎีจากแหลงขอมูลตางๆ ทั้งภายในและภายนอกที่ เปนของผูอื่น โดยมีวัตถุประสงคเพื่อใชประกอบหรือสนับสนุนการเขียนรายงานการศึกษาวิจัยนัน้ ใหมี ความนาเชื่อถือมากยิ่งขึ้น จึงตองมีรูปแบบการพิมพที่เปนแบบแผนในการเขียนอางอิง (Citation) และ หรือการเชิงอรรถอันเปนการแสดงใหเห็นวาไดมกี ารศึกษาคนควา สรุป วิเคราะห สังเคราะห โดยมี หลักฐานแสดงแหลงที่มาของขอมูล โดยทําใหเปนไปตามหลักเกณฑในการเขียนหรือพิมพไดอยาง ถูกตอง นอกจากการระบุถึงแหลงที่มาของขอมูลแลว การอางอิงยังจะชวยใหผูอานไดทราบถึง แหลงที่มาตางๆ และสามารถตรวจสอบหลักฐานเดิม เพื่อศึกษาคนควาเพิ่มเติม อีกทั้งยังเปนการให เกียรติกับเจาของผลงานเดิมนับเปนมารยาทที่ดีที่ควรกระทํา และเปนจรรยาบรรณในการวิจยั อีกดวย 6.1 การอางอิงและประเภทการอางอิง การอางอิง (Citation) เปนการบันทึกที่มาของแหลงขอมูล หรือขอความที่ยกมากลาวอาง โดย การสรุปความ ถอดความ หรือคัดลอกความ รวมทั้งขอเท็จจริงตางๆ เชน ตัวเลข สถิติ รูปภาพ แผนภูมิ เปนตน ที่ไดนาํ มาจากแหลงขอมูลตางๆ เพือ่ ใชประกอบและ/หรือสนับสนุนวิทยานิพนธ หรือการศึกษา อิสระ ประเภทของการอางอิง การอางอิงในวิทยานิพนธและการศึกษาอิสระที่เปนที่สากลนิยมมี 2 ประเภทใหญ ๆ คือ 1. การอางอิงแทรกในเนื้อหา เปนการอางอิงแหลงที่มาเกีย่ วกับแหลงสารสนเทศหรือทรัพยากร สารสนเทศที่ใชในการอางอิงแทรกหรือปนไปกับเนื้อหา ที่เรียกวา นาม-ป (Name-Year) 2. การอางอิงแยกจากเนื้อหา เปนการอางอิงที่ระบุแหลงทีม่ าเกี่ยวกับแหลงสารสนเทศหรือ ทรัพยากรสารสนเทศที่ใชในการอางอิง การอธิบายขยายความเนื้อหาซึง่ ไมสามารถแทรกในเนื้อหาได หรือ โยงไปยังบทหรือหนาอืน่ ๆ การอางอิงแบบนี้มักอยูตอนลางของหนา ที่เรียกวา เชิงอรรถ
41 6.2 การอางอิงนาม-ป การอางอิงแบบนาม-ป เปนการอางอิงแหลงที่มาของเนื้อหา ทฤษฎี แนวคิด หรือ คัดลอก ขอความบางสวนมาโดยตรง โดยเขียนหรือพิมพแหลงทีม่ าอยูในเครื่องหมายวงเล็บ ( ) แทรกอยูก อน หรือตอจากเนือ้ หาที่มีการนําเอาขอมูลนั้นมาอางอิง ปจจุบันการอางอิงดวยวิธีนี้ไดรับความสนใจและเปนที่นยิ มกันมากที่สุด เพราะงายตอการเขียน หรือพิมพ สะดวก และประหยัด แตขอเสียก็คือ ผูอานจะเกิดความรําคาญที่ตองสะดุดเปนชวงๆ เนื่องจากมีการอางอิงแทรกเปนระยะๆ และผูอานไมทราบรายละเอียดในทันที ตองเสียเวลาเปดไปดู หนาบรรณานุกรม 6.2.1 ตําแหนงการพิมพอางอิงแบบนาม-ป การอางอิงแบบนาม-ปอาจขึน้ ตนขอความ หรือตอนทายขอความก็ไดแลวแตความเหมาะสม โดย ยึดหลักเกณฑดงั ตอไปนี้ (1) สรุปเนื้อหา หรือแนวคิด ผลงานวิจัยเรื่องความพึงพอใจในการปฏิบตั ิงานของเจาหนาที่ตรวจคนเขาเมือง ฝายตรวจ ยานพาหนะทางอากาศ ทาอากาศยานกรุงเทพ พบวา ความพึงพอใจโดยสวนรวมอยูในเกณฑ ปานกลาง (จํากัด จูสนิท. 2535) (2) อางชื่อผูแ ตงกอนสรุปเนือ้ หา หรือแนวคิด จากงานวิจยั ของ จํากัด จูสนิท (2535) ในเรื่องความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ ตรวจคนเขาเมือง ฝายตรวจยานพาหนะทางอากาศ ทาอากาศยานกรุงเทพ พบวา ความพึงพอใจ โดยสวนรวมอยูในเกณฑปานกลาง (3) คัดลอกเนื้อหา หรือแนวคิด ปจจุบันระบบการศึกษาไดเปลี่ยนจากการสอนแบบบรรยาย โดยใหนกั เรียนจดจําและ ทองจํามาเนนหนักในทางที่จะสงเสริมใหนักเรียนรูจกั ศึกษาคนควาดวยตนเอง (นวนิตย อินทรามะ. 2542 : 17-18)
วันเสารที่ ๓ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๔
42 (4) อางชื่อผูแ ตงกอนเนื้อหา หรือแนวคิดทีค่ ัดลอกมา นวนิตย อินทรามะ (2542 : 17-18) กลาววาในปจจุบนั ระบบการศึกษาไดเปลี่ยนจาก การสอนแบบบรรยาย โดยใหนักเรียนจดจําและทองจํามาเนนหนักในทางที่จะสงเสริมให นักเรียนรูจักศึกษาคนควาดวยตนเอง
6.2.2 รูปแบบการอางอิงแบบนาม-ป การอางอิงแบบนี้แตกตางกันออกไปตามประเภทของแหลงขอมูลที่นํามาใช อันไดแก 1. หนังสือ สิ่งพิมพที่จัดทําเปนเลม ไดแก ตําราวิชาการ หนังสือความรูทั่วไป หนังสืออางอิง หนังสือวิทยานิพนธ รายงานการวิจัย เอกสารการประชุม/สัมมนา รายงานประจําป หนังสือแปล ฯลฯ โดยทั่วไปมีรูปแบบ องคประกอบ และการพิมพดังนี้ (ผูแตง.//ปที่พิมพ/:/เลขหนาที่ใชในการอางอิง) หมายเหตุ : เครื่องหมาย “/” หมายถึง การเวน 1 ระยะ หรือ 1 เคาะ ระหวางชื่อและนามสกุล เวน 2 ระยะ 1) ผูแตง หมายถึง บุคคลที่เปนผูผลิต ผูใหขอมูล ผูรับผิดชอบ ผูแปล ผูใหสัมภาษณ รวมทั้ง หนวยงานของราชการ หรือนิติบุคคล ซึ่งมักปรากฏอยูในหนาปก หรือหนาปกใน 1.1) ผูแตงคนเดียว ชาวไทย พิมพชื่อและนามสกุลตามปกติ ถึงแมวา จะเขียนเปนภาษาตางประเทศก็ตาม เพราะถือวาเปนที่ยอมรับกันแลววาในประเทศไทยใชเชนนี้ สวนคํานําหนานามบอกเพศ (นาย นางสาว นาง) คํานําหนาทางวิชาการ (ศาสตราจารย รองศาสตราจารย ผูชวยศาสตราจารย) คุณวุฒิ (ดร.) คํานําหนาวิชาชีพ (นายแพทย แพทยหญิง เภสัชกร นายสัตวแพทย ทันตแพทย ฯลฯ) ยศทหาร/ ตํารวจ (พลเอก พลโท พลตรี ฯลฯ) ไมตองพิมพคํานําหนานาม คํานําหนาทางวิชาการ คํานําหนาวิชาชีพ และยศทหารตํารวจ ยกเวน ยศสูงสุด คือ จอมพล เชน รศ. ดร. นวนิตย อินทรามะ เขียน นวนิตย อินทรามะ นายแพทยสาทิส อินทรกําแหง เขียน สาทิส อินทรกําแหง พ.อ. เปรม ติณสูลานนท เขียน เปรม ติณสูลานนท Ma-Yuree Nokyoongthong วันเสารที่ ๓ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๔
43 1.2) ผูแตงที่มีคํานําหนานามเนื่องจากลําดับชัน้ ทางฐานันดรศักดิ์ บรรดาศักดิ์ และฐานะ สตรีที่ไดรับเครื่องราชอิสริยาภรณชนั้ สูง ใหพิมพคําหนานามกอนชื่อตามปกติ ดังนี้ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหวั ภูมิพลอดุลยเดช สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี สมเด็จกรมพระยาดํารงราชานุภาพ ม.ล. บุญเหลือ เทพยสุวรรณ ม.ร.ว. ถนัดศรี สวัสดิวัฒน พระยาอนุมานราชธน คุณหญิงพรทิพย โรจนสุนันท คุณหญิงจินตนา ยศสุนทร คุณรัญจวน อินทรกําแหง 1.3) ผูแตงเปนพระสงฆ สวนใหญมกั ใชชื่อเดิมและฉายาทางพระ เชน พระไพศาล วิสาโล หากมียศทางพระหรือที่เรียกวา “สมณศักดิ”์ เชน พระราชวรมุนี พระพรหมคุณาภรณ เปนตน สวนพระ บางรูปยังมีการใสชื่อเดิม และ/หรือฉายาในเครื่องหมายวงเล็บตอทายสมณศักดิ์ ทั้งนี้เพื่อใหทราบวาใน พระรูปใด เชน สมเด็จพระสังฆราชเจากรมหลวงวชิรญาณวงศ (หมอมราชวงศ ชื่น สุจิตฺโต) สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (ปลด กิตฺติโสภโณ) สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (จวน อุฏฐายี มหาเถร) สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (วาสนมหาเถร) สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช (เจริญ สุวัฑฒโน) พระประยุทธ ปยุตโฺ ต (นามเดิม ประยุทธ อารยางกูร) หรือที่รูจักกันดีทั่วไปในนามปากกา "ป.อ. ปยุตฺโต" ทานไดรับเลือ่ นสมณศักดิ์ตามลําดับดังนี้ พ.ศ. 2512 พระศรีวิสุทธิโมลี (ประยุทธ ปยุตฺโต) พ.ศ. 2516 พระราชวรมุนี (ประยุทธ ปยุตฺโต) พ.ศ. 2530 พระเทพเวที (ประยุทธ ปยุตฺโต) พ.ศ. 2536 พระธรรมปฎก (ประยุทธ ปยุตโฺ ต) พ.ศ. 2547 พระพรหมคุณาภรณ (ประยุทธ ปยุตฺโต)
วันเสารที่ ๓ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๔
44 1.4) ผูแตงคนเดียว หลายเรื่อง ปพิมพเดียวกัน เมื่อนํามาอางอิงไมพรอมกัน ใหเพิม่ ตัวอักษร ก ข ค ง... ตามลําดับ สําหรับภาษาไทย สวนภาษาตางประเทศใหใชตัวอักษรพิมพเล็ก a b c d… ตามลําดับ โดยพิมพไวหลังปที่พิมพ ดังนี้ (เจาพระยาทิพากรวงศ. 2540ก : 127-128) (เจาพระยาทิพากรวงศ. 2540ข : 137-140) (Nirdgren. 1992a : 364-472) (Nirdgren. 1992b : 36-47) 1.5) ผูแตงคนเดียว หลายเรื่อง ปพิมพตางกัน เมื่อนํามาอางอิงพรอมกัน ใหพมิ พชื่อผูแตง ครั้งแรก ปที่พิมพ และเลขหนาที่อางอิง คั่นดวยเครื่องหมายอัฒภาค (;) ตามดวยปทพี่ ิมพ และเลขหนาที่ อางอิงของรายการถัดไปจนครบ เชน (เจาพระยาทิพากรวงศ. 2540 : 127-128 ; 2543 : 137-140) (Nirdgren. 1992 : 364-472 ; 2000 : 36-47 ; 2003 : 19) 1.6) ผูแตงชาวตางประเทศ ซึ่งเปนชาวตะวันตกหรือชาติที่นิยมเรียกชื่อสกุลเปนทางการ ให พิมพเฉพาะชือ่ สกุลเทานั้น เชน (เชลดอน. 2549 : 15) (Smith. 1999 : 61) ถาผูแตงชาวตางประเทศที่มีชื่อสกุลเหมือนกัน (ชื่อสกุลซ้ํากัน) ใหพมิ พชื่อตน อักษรยอ ชื่อ กลาง (ถามี) เพื่อปองกันการสับสนวาขอมูลนั้นเปนของผูใด เชน (John M. Smith. 1999 : 20) (Adam J. Smith. 1999 : 20) 1.7) ผูแตง 2 คน ใหระบุชื่อผูแตงคนแรก เวน 1 ระยะ เชื่อมดวยคําวา “และ” หรือ “and” เวน 1 ระยะกอนและหลังคําดังกลาว ตามดวยชือ่ ผูแตงคนที่ 2 เชน (มานิจ ประเสริฐสุวรรณ และสุพัตรา สุภาพ. 2548 : 55) (Kennedy and Rywin. 2002 : 25-29) 1.8) ผูแตง 3 คน ใหระบุชื่อผูแตงคนที่ 1 คั่นดวยเครื่องหมายจุลภาค (,) เวน 1 ระยะตามดวย ชื่อผูแตงคนที่ 2 เชื่อมดวยคําวา “และ” หรือ “and” เวน 1 ระยะกอนและหลังคําดังกลาว ตามดวยชื่อ ผูแตงคนที่ 3 ดังตัวอยาง วันเสารที่ ๓ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๔
45 (วัลลภ สวัสดิวัลลภ, สุเวช ณ หนองคาย และนารีรัตน เทียมเมือง. 2540 : 40-41) (Kahn, Kennedy and Starski. 1999 : 16) 1.9) ผูแตงมากกวา 3 คน ใหระบุชื่อผูแตงคนแรกตามดวยคําวา “และคนอื่น ๆ” หรือ “และ คณะ” สวนภาษาตางประเทศ “and others” หรือ “et al” (et alli) (วัลลภ สวัสดิวัลลภ และคณะ. 2545 : 47) (Molen and Others. 2000 : 40) 1.10) นามแฝง หรือนามปากกา ใหระบุตามที่ปรากฏ เชน (ส. ศิวรักษ. 2545 : 56) (น ณ ปากน้ํา. 2548 : 66-69) 1.11) ผูแตงที่เปนหนวยงาน หรือนิติบุคคล ผูเขียน หรือผูจัดทํา หรือผูเผยแพรขอมูลที่เปน หนวยงาน หรือนิติบุคคล ไดแก หนวยราชการ สถาบัน สมาคม สโมสร องคการ บริษัท หางหุนสวน ใหระบุชื่อหนวยงาน หรือนิติบุคคลนั้นๆ แทนชื่อบุคคล หากหนวยงานนั้นมีชื่อหนวยงานใหญและ หนวยงานยอย ใหเขียนชื่อหนวยงานใหญกอนแลวตามดวยหนวยงานลําดับรอง และตามดวยหนวยงาน ยอย ถาเปนสิ่งพิมพของหนวยราชการใหใสชื่อหนวยงานที่มีฐานะอยางนอยที่สุดเปนกรม หรือ เทียบเทากรมเปนหลัก แลวตามดวยหนวยงานลําดับรองและลําดับยอย เวน 2 ระยะคั่นระหวาง หนวยงานแตละระดับ ดังตัวอยาง กรมสรรพากร กองนโยบายและแผนงาน ฝายเอกสารเผยแพรและแนวปฏิบตั ิ สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย คณะอักษรศาสตร ภาควิชาบรรณารักษศาสตร ธนาคารแหงประเทศไทย สมาคมการจัดการธุรกิจแหงประเทศไทย สมาคมประกันวินาศภัย คณะอนุกรรมการคนควาและวิชาการ กระทรวงสาธารณสุข กระทรวงสาธารณสุข สํานักงานปลัดกระทรวง กองการพยาบาล มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ บัณฑิตวิทยาลัย สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจยั
วันเสารที่ ๓ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๔
46 สําหรับองคการระหวางประเทศที่ใชชื่อยอและเปนที่รูจกั กันโดยทัว่ ไป ใหระบุชื่อยอของ องคการนั้น เชน UNESCO WHO WTO UNCTAD เปนตน 2) ปที่พิมพ หมายถึง ปที่ผลิต ปที่สราง หรือเผยแพร ใหระบุเฉพาะหมายเลขป พ.ศ. หรือ ป ค.ศ. หรือปที่จดลิขสิทธิ์ หรือระบุอักษรยอวา “ม.ป.ป.” (ไมปรากฏปที่พิมพ) หรือ “n.d.” (no date) ใน กรณีที่ไมปรากฏปที่พิมพ สวนที่มีการระบุเดือนปทพี่ มิ พ ใหพิมพชอื่ เดือนเต็ม หากที่มีการระบุ “วันเดือนปทพี่ ิมพ วัน เดือนปที่ปที่ทาํ การสัมภาษณ” ใหพิมพวนั เดือนปตามลําดับ หลังปทพี่ ิมพใสเครื่องหมายทวิภาค (:) เวน 1 ระยะ กอนและหลังเครื่องหมายดังกลาว เชน (นาย ต. 11-17 มกราคม 2548 : 24) (วิรัตน ทองรอด. มีนาคม 2553 : 27) 3) เลขหนาที่ใชในการอางอิง ใหระบุเฉพาะหมายเลขหนาที่ใชในการอางอิง 2. หนังสือที่ไมปรากฏผูแตง ใหระบุชื่อเรือ่ งแทนผูแตง โดยพิมพชื่อเรือ่ งดวยตัวหนา หลังชื่อ เรื่องใสเครื่องหมายมหัพภาค (.) เวน 2 ระยะ ตามดวยปที่พิมพ และเลขหนาที่ใชในการอางอิง (ชื่อเรื่อง.//ปที่พิมพ/:/เลขหนาที่ใชในการอางอิง) (อลังการแผนดินวัฒนธรรม. 2543 : 132) (เอกสารประกอบการเรียนวิชาสารนิเทศกับการศึกษาคนควา. 2538 : 194) 3. บทความในวารสารหรือหนังสือพิมพ บทความสวนใหญที่ปรากฏชื่อผูแตงใหระบุดังนี้ (ชื่อผูแตง//(วัน)เดือนปที่พมิ พ/:/เลขหนาที่ใชในการอางอิง) (ประเวศ วะสี. 27 สิงหาคม – 2 กันยายน 2553 : 10) (นิธิ เอียวศรีวงศ. กันยายน 2543 : 7)
วันเสารที่ ๓ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๔
47 ในกรณีที่ไมปรากฏชื่อผูแตงใหพิมพชื่อบทความแทนชื่อผูแตงในเครื่องหมายอัญประกาศ “........” (“ชื่อบทความ”//(วัน)เดือนปที่พิมพ/:/เลขหนาที่ใชในการอางอิง) (“โสดกกกธม” 25 กันยายน 2552 : 18) 4. พาดหัวขาวหรือหัวขอขาวหนังสือพิมพ ใหพิมพพาดหัวขาวหรือหัวขอขาวในเครื่องหมาย อัญประกาศเชนเดียวกับบทความที่ไมปรากฏผูแตง (“พาดหัวขาวหรือหัวขอขาว”//วันเดือนปที่พิมพ/:/เลขหนาที่ใชในการอางอิง) (“เชื่อมทุกขอมูลดวย Metadata ศักยภาพใหมที่นาจับตามอง” 27 พฤษภาคม-2 มิถุนายน 2545 : 17, 18) (“แนวโนมใหม “การเมือง” กรณีเขื่อนปากมูล” 17–23 มิถุนายน 2543) 5. การสัมภาษณ ระบุชื่อผูใหสัมภาษณ วันเดือนปที่ทําการสัมภาษณ และคําวาสัมภาษณ (ชื่อผูใหสมั ภาษณ.//วันเดือนปที่ทําการสัมภาษณ/:/สัมภาษณ) (พรรณศิริ แจมอรุณ. 20 เมษายน 2553 : สัมภาษณ) 6. วัสดุไมตพี มิ พ ไดแก แถบบันทึกเสียง (Tape Cassette) แผนที่ (Map) ไมโครฟลม (Microfilm) ไมโครฟช (Microfiche) แถบวิดีทัศน (Video Tape Cassette) ซีดี (CD=Compact Disc) วีซีดี (VCD=Video Compact Disc) ภาพนิ่ง (Slide) ภาพเลื่อน (Filmstrip) ฯลฯ ใหระบุชื่อผูผลิต ปที่ผลิต และประเภทของวัสดุ (ผูผลิต.//ปที่ผลิต/:/ประเภทวัสดุไมตีพิมพ) (สิปปนนท เกตุทัต. 2536 : แถบบันทึกเสียง)
วันเสารที่ ๓ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๔
48 ในกรณีที่ไมปรากฏชื่อผูผลิตใหใสชื่อเรื่องแทนชื่อผูผลิต ดังตัวอยาง (แผนที่กรุงเทพมหานคร. 2523 : แผนที)่ (นิทานโบราณวาดวยราชสีหก ับชาง. กรกฎาคม 2417 : ไมโครฟลม) (หนอนพยาธิในประเทศไทย. 2518 : ภาพยนตร) (Collins Cobuild on CD-ROM. n.d. : CD) (Burke. January-February 1992 : CD-ROM) 7. อินเทอรเน็ต (Internet) และฐานขอมูลอิเล็กทรอนิกสออนไลน (ผูผลิต.//ปที่ผลิตหรือปที่เผยแพร)/:/ออนไลน) (James. 1992 : Online) (ปรนั ยา ม.ป.ป. : ออนไลน) (Norstrom Personal Touch America. 1998 : Online) 8. การอางเอกสารที่อางถึงในเอกสารอื่น ถาตองการอางเอกสารที่ผูแตงไดอางถึงในงานของตน การอางเชนนีถ้ ือวา มิไดเปนการอางถึงเอกสารนั้นโดยตรง ใหระบุนามผูแตงของเอกสารทั้งสองรายการ โดยระบุนามผูแ ตงและปพิมพของเอกสารอันดับแรก ตามดวยคําวา “อางถึงใน” หรือ “cited in” แลว ระบุนามผูแตงของเอกสารอันดับรองและปพิมพ (ผูแตง.//ปที่พิมพ/:/เลขหนาที่ใชในการอางอิง//อางถึงใน//ผูแตง.//ปที่พิมพ/:/ เลขหนาที่ใชในการอางอิง) ตัวอยาง …แทจริงประโยชนที่หอพระสมุดสําหรับพระนครจะทําใหแกบานเมืองได ไมใชแตรวม หนังสือเก็บไวเปนสมบัติของบานเมืองอยางเดียว ถาหากสามารถตรวจสอบหนังสืออันเปนเหตุใหเกิด วิชาความรู พิมพใหแพรหลายได ยังเปนประโยชนยิ่งขึ้นเหมือนกับแจกจายสมบัตินนั้ ไปใหถึงมหาชน อีกชั้นหนึ่ง กรรมการจึงเห็นเปนขอสําคัญมาแตแรกตั้งหอพระสมุดสําหรับพระนคร ซึ่งหอพระสมุด ควรเอาเปนธุระในเรื่องพิมพหนังสือดวย (สมเด็จกรมพระยาดํารงราชานุภาพ. 2495 อางถึงใน แมนมาส ชวลิต. 2509)
วันเสารที่ ๓ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๔
49 ถาเอกสารอันดับรองไมไดระบุปที่พิมพของเอกสารอันดับแรกใหลงรายการดังนี้ (พระยาอนุมานราชธน อางถึงใน สายจิตต เหมินทร. 2507) (Bradford cited in Deutsch. 1943) ถากลาวถึงนามเจาของเอกสารอันดับแรกในเนื้อหาอยูแลวก็ลงแตเพียงปที่พิมพ (ถามี) ของ เอกสารอันดับแรก และชื่อเอกสารอันดับรองไวในเครื่องหมายวงเล็บ เชน สมเด็จกรมพระยาดํารงราชานุภาพไดทรงรายงานถึงจํานวนหนังสือไทยที่มีอยูในหอพระสมุด สําหรับพระนคร ในป พ.ศ. 2459 ดังนี้คือ… (2459 อางถึงใน แมนมาส ชวลิต. 2509) พระยาอนุมานราชธนในเรื่อง แหลมอินโดจีนสมัยโบราณ (สายจิตต เหมรินทร. 2507)… เรื่อง The Journals of Gamaliel Bradford, 1883-1932 (Deutsch. 1943) ไดรายงาน… หรือ Bradford (Deutsch. 1943) ไดกลาวถึงในการเดินทางตอนหนึ่งวา… 6.3 เชิงอรรถ เชิงอรรถ (Footnote) เปนการอธิบายขอความที่นอกเหนือจากเนื้อหา หรืออธิบายขอความบาง ตอน เพื่อใหเกิดความเขาใจแจมแจงและนาเชื่อถือมากยิ่งขึ้น หรือรายละเอียดเพิ่มเติมขอความบางแหง ในวิทยานิพนธ หรือการศึกษาอิสระ โดยนํามาเขียนหรือพิมพไวที่สว นลางของหนา 6.3.1 ประเภทของเชิงอรรถ เชิงอรรถแบงออกเปน 2 ประเภท คือ 1. เชิงอรรถขยายความหรือเสริมความ (Content Footnote) เปนเชิงอรรถที่อธิบายคํา ความหมาย หรืออธิบายขยายความเพิ่มเติมทําใหผูอานเขาใจเนื้อหาไดมากยิ่งขึน้
พวกแขกอินเดียเขามาทํามาหากินในเมืองไทยมากในรัชกาลนี้ ตามที่ปรากฏใน หนังสือพิมพบางกอกกาเลนเดอร ใน พ.ศ. 2405 พอคาแขกรวมกลุมกับอยูที่ตึกขาว และตึกแดง* ริมแมน้ําเจาพระยาฝง ตะวันตกใกลกับตลาดสมเด็จเจาพระยาวังนอย ทั้งตึกขาวและตึกแดงมีโรงเก็บสินคา… ---------------------------------------วันเสารที่ ๓ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๔
50 *
บริเวณที่เรียกวาตึกขาวตึกแดงคือที่ในบริเวณถนนทาดินแดงในปจจุบนั เยื้องกับ ทาน้ําราชวงศ 2. เชิงอรรถโยง (Cross-reference Footnote) เปนเชิงอรรถทีช่ ี้แนะหรือโยงใหผูอานหา รายละเอียดเพิม่ เติมจากสวนอื่น หรือหนาอืน่ ที่เขียนไว เปนการลดความซ้ําซอนหรือไมตองกลาวซ้ําอีก
2.6 สามารถใชรหัสในเขตขอมูลที่มีคาคงที*่ เพื่อการจํากัดการคน เพือ่ เก็บสถิติเพื่อสราง แฟมขอมูลเฉพาะกิจและอืน่ ๆ --------------------------------------* ดูคําอธิบายเขตขอมูลที่มีคาคงที่ในหนา 28
6.3.2 หลักการเขียนหรือพิมพเชิงอรรถ 1) แยกเนื้อหากับเชิงอรรถใหอยูคนละสวนโดยขีดเสนคัน่ ขวางจากขอบซายประมาณครึ่งหนา และหางจากบรรทัดสุดทายของเนื้อหาสองบรรทัด เชิงอรรถหางจากเสนขวางนี้สองบรรทัด 2) เวนระยะหางจากขอบซายมือ 1 แทป (1 Tab) ตามดวยเครื่องหมายดอกจัน (*) ประจําเชิงอรรถ นั้นๆ โดยยกระดับสูงครึ่งบรรทัดเหนือตัวอักษร เครื่องหมายประจําในเชิงอรรถกับเนื้อหาตองตรงกัน 3) การพิมพเชิงอรรถแตละรายการใหพิมพบรรทัดตามปกติ และควรใหอยูในหนาเดียวกับ เนื้อหานัน้ ไมใหเขียนหรือพิมพตอในหนาถัดไป สําหรับเชิงอรรถที่มีมากกวาหนึ่งบรรทัด บรรทัดถัด มาใหพิมพชดิ ซายโดยไมตองเวนวรรค 4) เชิงอรรถที่มีมากกวา 1 รายการ แตละรายการใหพิมพบรรทัดหางกันตามปกติ 5) หากเนื้อหาไมเต็มหนา ใหพิมพเชิงอรรถในสวนลางของหนากระดาษ 6.4 การองอิงแบบแวนคูเวอร การเขียนวิทยานิพนธและการศึกษาอิสระทางดานวิทยาศาสตรการแพทย จําเปนตองมีขอมูลมา ใชอางอิงหรือใชประกอบการเขียนเนื้อหา หรือเปนหลักฐานแสดงวาวิทยานิพนธหรือการศึกษาอิสระ นั้นมีเหตุผลทีน่ าเชื่อถือได และเอกสารที่นาํ มาอางอิงจะตองใหขอมูล รายละเอียดที่ชดั เจนเพียงพอที่ วันเสารที่ ๓ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๔
51 ผูสนใจสามารถติดตามคนหาขอมูลที่อางถึงหรือเกี่ยวของไดถูกตอง ซึ่งการเขียนอางอิงทางดาน วิทยาศาสตรการแพทยนนั้ สวนใหญใชรูปแบบแวนคูเวอร (Vancouver Style) 6.4.1 การอางอิงตามแบบแวนคูเวอร ใหเรียงลําดับของเอกสารตามลําดับเลขที่ที่มีการอางถึงใน เนื้อหาของวิทยานิพนธหรือการศึกษาอิสระ และหมายเลขที่อางถึงในเนื้อหาเรื่องนั้นๆ ตองตรงกับ หมายเลขที่กํากับไวในเอกสารอางอิงดวย โดยเรียงลําดับจากหมายเลข 1 ไปจนถึงหมายเลขสุดทาย คือ 1, 2, 3, 4, 5... โดยยกระดับสูงครึ่งบรรทัดเหนือตัวอักษร ทายชื่อผูแตง หนวยงาน หรือขอความที่นํามา อางอิง 6.4.2 หลักการทั่วไป 1) การอางอิงในสวนเนื้อหา ไมวาจะเปนตัวเนื้อหาเอง ตาราง และรูปภาพประกอบ ตางๆ ควรอยูในรูปตัวยกเปนเลขอารบิค และควรเรียงลําดับกอน-หลังตามลําดับที่อางถึงทั้งในสวน อางอิงและเอกสารอางอิง Once a source has been cited, the same number is used in all subsequent references. No distinction is made between print and electronic references when citing within the text.15 The incidence of the syndrome was rare.12 (fig 4) 2) ในกรณีที่มกี ารกลาวถึงชือ่ ผูแตงในขอความไวแลว ใหระบุหมายเลขกํากับดวย และ แมจะมีการอางถึงอีกกี่ครั้งในขอความตอมา ก็ใหระบุเลขลําดับที่เดิมเสมอ เชน เคอรติส ชโรเดอร1 ประธานคณะกรรมการ ของโรงพยาบาล และ แพทริค ดาวนนิ่ง2 ผูอํานวยการดานบริหาร บริษัท โกลบัล แคร โซลูชั่นส เปนผูมาใหรายละเอียดวา ระบบนี้จะทําใหผูมา ใชบริการไดรบั ความเชื่อถือและไววางใจไดมากเพียงใด และดวยปณิธานที่มุงเนนพัฒนาบริการ สาธารณสุขใหมีประสิทธิภาพสูงขึ้น เคอรติส ชโรเดอร1 จึงไดนําระบบ Hospital 2000 ซึ่งเปนระบบ สารสนเทศสําหรับโรงพยาบาลที่ไดรับการออกแบบและพัฒนาอยางสมบูรณ โดยบริษัท โกบัล แคร โซลูชั่นส ทํางานบนพื้นฐานของ Microsoft Windows 2000 และ Microsoft SQL Server เทคโนโลยี สารสนเทศที่ทันสมัยนี่เองที่ทําใหโรงพยาบาลบํารุงราษฎรตัดสินใจเลือกใช 3) การอางอิงหลายรายการในคราวเดียวกัน ใหพิมพแตละรายการแลวคั่นดวยเครื่อง จุลภาค (,) ดังตัวอยาง
วันเสารที่ ๓ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๔
52 เจาะรูเล็กๆ บนตัวฟนแลวฝงเข็มที่มีลวดผูอยูที่ปลายขางหนึ่งลงไป1, 12 ปจจุบันไมใชวิธีนี้แลว เนื่องจากทําใหเสียเนื้อฟนและอาจเปนอันตรายตอฟนอีกดวย Several recent studies3, 4, 15, 16 have suggested that... 4) การอางอิงตอเนื่องกันตั้งแตลําดับแรกจนถึงลําดับสุดทาย ใหพิมพหมายเลขและคัน่ ดวยเครื่องหมายยัตภิ ังค (-) เชน ปจจัยสําคัญทีม่ ีผลตอความตองการศึกษาตอเนื่องคือ ประสบการณทาํ งาน ความเชีย่ วชาญ ความรูพื้นฐาน ระดับการฝกอบรมและประเภทสาขาเฉพาะทางของแพทยและทันตแพทย1-4 As previously reported,3-8 there have been many cases where patients have recovered. 5) การอางอิงที่มีเลขหนาในขอความที่อางถึงโดยเฉพาะเกี่ยวกับแหลงที่มาของคําพูด ขอมูล หรือสถิติตัวเลข มีรูปแบบดังตอไปนี้ ผูปวยเหลานี้พบวาไมมีสัญญาณของอาการคลื่นไส. 3 (p21), 4 Westman5 (pp 3-5), 9 reported 8 cases where vomiting occurred. The incidence of the syndrome was rare.12 (fig4) 6) หลีกเลี่ยงการอางอิงเอกสารติดตอสื่อสารระหวางบุคคล (personal communication) ไมวาจะเปนการสนทนา จดหมาย ไปรษณียอิเล็กทรอนิกส เวนแตวาเปนขอมูลที่สําคัญที่คนไมพบจาก สิ่งตีพิมพตางๆ กรณีนี้ควรอางอิงชื่อบุคคล และวันที่ที่ติดตอสื่อสารภายในวงเล็บดวย ดังตัวอยาง การสนทนา (Conversation) In a conversation with a colleague from the School of Population Health (Jameson LI 2002, oral communication, 7th August)... จดหมาย (Letter) As stated in a letter from B.J. Samuels, MD, in July 2002... ไปรษณียอิเล็กทรอนิกส หรือจดหมายอิเล็กทรอนิกส (Electronic Mail OR E-mail) Smith P. New research projects in gastroenterology [online]. E-mail to Matthew Hart (mh@hospital.wa.gov.au) 2000 Feb 5 [cited 2000 Mar 17]. 6.4.3 เครื่องหมายตางๆ ที่ใชในการอางอิงแบบแวนคูเวอร การอางอิงตามรูปแบบของแวนคู เวอร เครื่องหมายมีความสําคัญมาก การอางอิงโดยใชเลขลําดับที่มีกฎทั่วไปวาใหใสหลังเครื่องหมาย มหัพภาค (.) และจุลภาค (,) แตใสกอนหรือหนาเครื่องหมายทวิภาค (:) และอัฒภาค (;) เชน วันเสารที่ ๓ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๔
53 The presence of these Phenolic compound has been widely reported as compositions in various products, such apple juice,1 sherry wine vinegar,3 apple cider4 and Sicilian olive oil.5
วันเสารที่ ๓ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๔
บทที่ 7 การเขียนบรรณานุกรม เมื่อทําการเรียบเรียงเนื้อหาและอางอิงแหลงที่มาของขอมูล ทฤษฎี และ/หรือแนวคิดใน วิทยานิพนธ หรือการศึกษาอิสระ ทุกบทจนครบถวนและเสร็จเรียบรอยแลว ขั้นตอนสุดทาย คือ นํา อางอิงทั้งหมดมาจัดทําบรรณานุกรม (Bibliography) หรือรายการอางอิง (Cited References) โดยจัด เรียงลําดับอักษรตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน หรือ Dictionary ที่เปนที่ยอมรับทั่วไป และ แยกภาษาของบรรณานุกรมไวเปนสวนประกอบตอนทายเลม 7.1 บรรณานุกรมและประเภทของบรรณานุกรม บรรณานุกรม (Bibliographies) หมายถึง รายชื่อแหลงขอมูลประเภทตางๆ ที่นํามาใชในการทํา วิทยานิพนธ หรือการศึกษาอิสระ ประเภทของบรรณานุกรม บรรณานุกรมอาจแบงตามลักษณะของการจัดทําได 3 ประเภท คือ 1) บรรณานุกรมแบบสมบูรณ (Exhaustive Bibliographies) เปนรายชือ่ แหลงขอมูลที่ นํามาใช ทั้งหมด ไมวาจะมากหรือนอยก็ตาม จะอางอิงหรือไมอางอิงก็ตาม โดยไมคํานําถึงวาจะมีความสําคัญตอ งานเขียนมากหรือนอยเพียงใด การทําลักษณะนี้มุงเนนความสมบูรณของบรรณานุกรมเพื่อประโยชน ในการศึกษาคนควาเพิ่มเติม 2) บรรณานุกรมเลือกสรร (Selected Bibliographies) เปนรายชื่อแหลงขอมูลที่นํามาใชเฉพาะ เลมที่ไดรับการพิจารณาคัดเลือกแลววามีความสําคัญและเปนประโยชนตองานเขียนจริงๆ เทานั้น มุงเนนความถูกตอง เชื่อถือได ทันสมัยและเปนที่ยอมรับของนักวิชาการเปนสําคัญ สวนมากจะมีบรรณ นิทัศน (Annotation) ซึ่งกลาวถึงเรื่องยอๆ ของแหลงขอมูล หรือมีการวิจารณประกอบทาย บรรณานุกรมประเภทนี้นับวาเปนวิธีการที่อํานวยความสะดวกใหผูอานไดทราบขอบเขตและคุณคาของ แหลงขอมูล 3) บรรณานุกรมอางอิง (Literature Bibliographies) เปนรายชื่อแหลงขอมูลที่นํามาใชอางอิง ในเนื้อหาทั้งหมด ปจจุบันมักเรียกวา รายการอางอิงหรือเอกสารอางอิง (Cited References OR Referneces)
วันเสารที่ ๓ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๔
54
7.2 รูปแบบ องคประกอบ และการพิมพบรรณานุกรม บรรณานุกรมมีรูปแบบ องคประกอบ และการพิมพแตกตางกันออกไปตามประเภทของ แหลงขอมูล โดยมีรายละเอียดตางๆ ดังนี้ 1) หนังสือ สิ่งพิมพที่จัดทําเปนเลม ไดแก ตําราวิชาการ หนังสือความรูทั่วไป หนังสืออางอิง รายงานการวิจยั รายงานประจําป หนังสือแปล ฯลฯ มีรูปแบบ องคประกอบ และการพิมพดังนี้ ผูแตง.//(ปที่พิมพ)//ชื่อเรื่อง.//ครั้งที่พิมพ.//สถานที่พิมพ/:/ผูรับผิดชอบในการพิมพ.
กีรติ บุญเจือ. (2528) ตรรกวิทยาทั่วไป. กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพแหงจุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย สถาบันวิจยั ทรัพยากรทางน้ํา. (2550) รายงานประจําป 2549. กรุงเทพมหานคร : สถาบัน มหาวิทยาลัย. พุทธทาสภิกขุ. (2528) สมถวิปสนาสําหรับยุคปรมาณู. กรุงเทพมหานคร : มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. ราชบัณฑิตยสถาน. (2546) พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542. กรุงเทพมหานคร : นานมีบุคส. สมพร พุทธาพิทักษผล. (2549) รายงานการวิจัย โครงการวิจัยและพัฒนาตนแบบแหลงสารสนเทศดิจิทัลสูหองสมุดชุมชนพระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัวพระผูทรง พากเพียรเรียนรูตลอดชีวิต. กรุงเทพมหานคร : สํานักบรรณสารสนเทศ มหาวิทยาลัย สุโขทัยธรรมธิราช. สมาคมหองสมุดแหงประเทศไทย. (2538) ทําเนียบนามหองสมุดเฉพาะในประเทศไทย. กรุงเทพมหานคร : สมาคม. หลวงวิจิตรวาทการ. (2529) มันสมอง. กรุงเทพมหานคร : โอเดียนสโตร. อุดม เชยกีวงศ และ นคร จิโรจพันธุ. (2526) สหกรณผบู ริโภค. กรุงเทพมหานคร : โอเดียนสโตร. Rex, John. (1980) Key Problems of Sociological Theory. New York : McGraw-Hill. UNESCO. (1980) Unesco Worldwide Action in Education. France : Unesco.
วันเสารที่ ๓ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๔
55
2) หนังสือแปลที่มีผูแตงเดิม ผูแตง.//(ปที่พิมพ)//ชื่อเรื่อง.//ครั้งที่พิมพ.//แปลโดย//ชื่อผูแปล.//สถานที่พิมพ/:/ ผูรับผิดชอบในการพิมพ. ลอง, ลารี่ และ ลอง, แนนซี่. (2543) เทคโนโลยีคอมพิวเตอรและสารสนเทศ. แปลโดย ลานนา ดวงสิงห. กรุงเทพมหานคร : เพียรสัน เอ็ดดูเคชั่น อินโดไซนา. หนังสือแปลทีไ่ มมีผูแตงเดิม ชื่อผูแปล,/ผูแปล//(ปที่พิมพ)//ชื่อเรื่อง.//ครั้งที่พิมพ.//สถานที่พิมพ/:/ผูรับผิดชอบ ในการพิมพ. เดือน บุนบาค, ผูแปล. (2543) เศรษฐศาสตร. พิมพครั้งที่ 3. กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพมหาวิทยาธรรมศาสตร. 3) หนังสือที่ไมปรากฏผูแตง ชื่อเรื่อง.//(ปที่พิมพ)//ครั้งที่พิมพ.//สถานที่พิมพ/:/ผูรับผิดชอบในการพิมพ. กฎหมายตราสามดวง. (2520) พระนคร : องคการคาคุรุสภา. เอกสารประกอบการเรียนวิชาสารนิเทศกับการศึกษาคนควา. (2538) กรุงเทพมหานคร : ภาควิชาบรรณารักษศาสตร คณะมนุษยศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. 4) หนังสือรวมบทความวิชาการ รวมบทคัดยอวิทยานิพนธ ตําราวิชาการที่มีผูแตงหลายคน ผูแตง.//(ปที่พิมพ)//“ชื่อบทความหรือชื่อตอนหรือชื่อบท”//ใน//ชื่อเรื่อง.// ชื่อบรรณาธิการหรือผูรวบรวม (ถามี).//หนาที่ปรากฏชื่อบทความหรือชื่อตอน หรือชื่อบท.//ครั้งที่พิมพ.//สถานที่พิมพ/:/ผูรับผิดชอบในการพิมพ.
วันเสารที่ ๓ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๔
56
วัลลภ สวัสดิวัลลภ. (2540) “การเขียนรายงานและภาคนิพนธ” ใน สารนิเทศเพื่อการศึกษา คนควา. พิมพครั้งที่ 2 แกไขปรับปรุงและเพิ่มเติม. หนา 77-171. นครปฐม : ภาควิชา บรรณารักษศาสตร คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร สถาบันราชภัฏนครปฐม. Tichner, Fred J. (1981) ”Apprenticeship and Employee Training” in The New Encyclopedia Britannica, Macropedia V 1. page 1018-1023. Chicago : Encyclopedia Britannica. 5) เอกสารการประชุมหรือสัมมนาทางวิชาการ ผูแตง.//(ปที่พิมพ)//”ชื่อเรื่องหรือชื่อบท/ชื่อตอนในเอกสารการประชุมหรือสัมมนา”// ใน//ชื่อเรื่องการประชุม/สัมมนา.//ขอความเกี่ยวกับการจัดประชุมหรือสัมมนา// ชื่อบรรณาธิการหรือผูรวบรวม (ถามี).//หนาที่ปรากฏชื่อบทความหรือชื่อตอน หรือชื่อบท.//ครั้งที่พิมพ.//สถานที่พิมพ/:/ผูรับผิดชอบในการพิมพ. กานตมณี ศักดิ์เจริญ. “วิธีอา นหนังสือและการอานหนังสือใหฟง” ใน การประชุมใหญสามัญ ประจําป 2552 และการประชุมวิชาการเรื่อง การอานเพื่อพัฒนาชาติ วันที่ 8-11 ธันวาคม 2552 ณ โรงแรมแอมบาสซาเดอร กรุงเทพมหานคร จัดโดยสมาคมหองสมุดแหงประเทศ ไทยในพระบรมราชูปถัมภสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี. หนา 4351. กรุงเทพมหานคร : รวิน พริ้นติ้ง กรุป. จีรเดช มโนสรอย, สุดา เสาวคนธ และ อภิญญา มโนสรอย. (2543) “หญาหวาน (Stevia)” ใน การสัมมนาทางวิชาการเรื่อง เทคโนโลยีชีวภาพเภสัชกรรม ครั้งที่ 2 เรื่องการวิจัยและ พัฒนาผลิตภัณฑธรรมชาติเพื่อการแพทยแผนไทย. หนา 42-50. เชียงใหม : ศูนยวิจยั และ พัฒนาวัตถุดิบยา เครื่องสําอาง และผลิตภัณฑธรรมชาติ สถาบันวิจัยและพัฒนา วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเชียงใหม. 6) บทความวารสาร ผูแตง.//(เดือนปที่พิมพ)//“ชื่อบทความ”//ชื่อวารสาร.//ปที่หรือเลมที่/(ฉบับที่)/ หนา/เลขหนาที่ปรากฏบทความ.
วันเสารที่ ๓ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๔
57
“การบรรเลงดนตรีไทยตามประเพณี” (มกราคม 2553) วารสารวัฒนธรรมไทย. 49 (1) หนา 20-24. นครชัย เผื่อนปฐม. (มกราคม-มีนาคม 2540) “การคนหาทางการแพทยใน World Wide Web” สงขลานครินทรเวชสาร. 15 (1) หนา 27-34. Buracom, Ponlapat. (2002) “Social responsibilities of business : evidence and explanations” Thai Journal of Public Administration. 1 page 103-122. Doran, Kirk. (January 1996) “Unified disparity : theory and practice of union listing” Computer in Libraries. 16 (1) page 39-45. 7) หนังสือพิมพ ผูแตง.//(วันเดือนปที่พิมพ)//“พาดหัวขาว/หัวขอขาว/หัวขอในคอลัมน/ชื่อบทความ” ชื่อหนังสือพิมพ.//หนา/เลขหนาที่ปรากฏพาดหัวขอขาว หัวขอขาว หัวขอใน คอลัมน หรือชื่อบทความ. พิชัย ทองดีเลิศ. (27 พฤษภาคม – 2 มิถุนายน) “การทําธุรกรรมทางการเรียนยุค IT” Telecom Journal. หนา 20. “Let your calls for peace be heard” (10 March 2010) The Nation. page 1, 15. 8) วิทยานิพนธ ผูแตง.//(ปที่พิมพ)//ชื่อเรื่อง.//วิทยานิพนธ//อักษรยอชื่อปริญญา//(ภาควิชาหรือ สาขาวิชา)//สถานที่พิมพ/://บัณฑิตวิทยาลัย//ชื่อมหาวิทยาลัย.
สุภา ฉายแสง. (2543) การออกแบบและพัฒนาระบบสารสนเทศผูปวยนอกของสถานพยาบาล รัฐวิสาหกิจ. วิทยานิพนธ วท.ม. (สาขาวิชาวิทยาศาสตรคอมพิวเตอร) กรุงเทพมหานคร : บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.
วันเสารที่ ๓ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๔
58
Fernando, R. Lalitha S. (2003) Management Entrepreneurship in the Sri Lanka Administrative Service : A Multidisciplinary Perspective. Dissertation Ph. D. (Development Administration) Bangkok : School of Public Administration, National Institute of Development Administration. 9) สัมภาษณ ชื่อผูใหสัมภาษณ//เปนผูใหสัมภาษณ//ชื่อผูสัมภาษณ//เปนผูสัมภาษณ//ที่… (สถานที่ทําการสัมภาษณ)//เมื่อ…(วันเดือนปที่ทําการสัมภาษณ)
สมปอง อนเดช เปนผูใหสัมภาษณ ศุจิกา ดวงมณี เปนผูสัมภาษณ ที่มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิม พระเกียรติ เมื่อวันที่ 28 พฤษภาคม 2553. 10) วัสดุไมตพี ิมพ ผูผลิต.//(ปที่ผลิต)//ชื่อเรื่อง.//[ประเภทวัสดุไมพิมพ]//สถานที่ผลิต/:/ผูรับผิดชอบ ในการผลิต. บริษัท ทีวีบูรพา จํากัด. (2553) “ลวดทองแดง” [ซีดี] กรุงเทพมหานคร : บริษัท. หนอนพยาธิในประเทศไทย. (2518) [ภาพยนตร] กรุงเทพมหานคร : คอมมิวนิเคชัน่ เอดส อินเตอรเนชั่น. สมโภชกรุงรัตนโกสินทร 200 ป. (2525) [ภาพนิ่ง] กรุงเทพมหานคร : อริยะภาพ. สายหยุด นิยมวิภาต, ผูบรรยาย. (2537) ประเด็นปญหาการวิจัยทางการพยาบาลคลินิก. [เทปโทรทัศน] ขอนแกน : คณะพยาบาลศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน. 11) เว็บไซต (Web Site) ในเว็บไซตมีสิ่งพิมพอิเล็กทรอนิกสตางๆ มากมาย ไมวาจะเปน หนังสือ วารสาร หนังสือพิมพ หรือเปนบทความที่ผลิตขึ้นเพื่อเผยแพรบนเว็บไซต
วันเสารที่ ๓ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๔
59
ผูแตง.//(ปที่สรางหรือเผยแพร)//“ชื่อบทความ (ถามี)”//ชือ่ เรื่อง.//[ออนไลน]// แหลงที่มา/:/ที่อยูของเว็บไซต//(วันเดือนปที่ทําการสืบคน)
หนังสือ Norstrom Personal Touch America. (1998) [Online] Available : http://www.npta.com (14 November 2000) บทความวารสาร James, J. S. (1992) “Alpha-APA : New Anti-HIV Compound” AIDS Treatment News. [Online] Available : gopher.tc.umm.edu/Libraries/Newspapers,Magazine and Newsletters/MedicalPublications/AIDSNews/lssure (18 September 2000) หนังสือพิมพ ประเวศ วะสี. (2 ธันวาคม 2548) “การจัดการความรูกระบวนการปลดปลอยมนุษย” ประชาไท. [ออนไลน] แหลงที่มา : http://www.prachatai.com/05web/th/home/ index.php (19 เมษายน 2549) บทความที่เว็บไซตจัดทําและเผยแพร “การบริหารความรู = Knowledge Management” (ม.ป.ป.) [ออนไลน] แหลงที่มา : http://elib.fda.moph.go.th/Planweb/PlanWebpage/Km-2nd3.html (20 เมษายน 2549) เอกสารฉบับเต็มที่อยูในรูปแฟมขอมูลแบบตางๆ เชน PDF WORD PPT เปนตน “เอกลักษณของวัฒนธรรมไทย” (ม.ป.ป.) [WORD เอกสารออนไลน] แหลงที่มา : http://www.baanjomyut.com/library/thai_culture3/06.html (12 มีนาคม 2553) Merkle, Ralph. (n.d.) “Nanotechnology” [HTML Document Online] Available : http://www.zyvex.com/nano (12 March 2010)
วันเสารที่ ๓ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๔
60
12) ฐานขอมูลออนไลน (Database Online) เปนแหลงจัดเก็บเอกสารอิเล็กทรอนิกสที่มที ั้ง วิทยานิพนธ งานวิจยั บทความวิจัย ฯลฯ โดยใหขอมูลที่เปนบรรณานุกรม บรรณานุกรมพรอม สาระสังเขป/บทคัดยอ หรือบรรณานุกรม สาระสังเขป/บทคัดยอ และเอกสารฉบับเต็ม ผูแตง.//(ปที่พมิ พ)//”ชื่อบทความ”//ชื่อเรื่อง/ชื่อวารสาร.//ปที่//(ฉบับที่)//เลขหนา.// [ชนิดของแฟมขอมูล เอกสารออนไลน]//จากฐานขอมูล/:/ชื่อฐานขอมูล.// หมายเลขประจํางานนิพนธ/:/หมายเลข.//แหลงที่มา/:/ที่อยูของเว็บไซตของ ฐานขอมูล//(วันเดือนปที่ทําการสืบคน)
วิทยานิพนธฉบับเต็ม Meyer, Martin S. (2003) Between Technology and Science : Exploring an Emerging Field. Dissertation Ph.D. Brighton, East Sussex : University of Sussex Brighton. [PDF Document Online] Database from : Dissertation.com Available : http://www.dissertation.com/book.php?method=ISBN&book=1581122535 (12 March 2010) งานวิจยั เอกสารฉบับเต็ม วีระศักดิ์ จงสุวิวัฒนวงศ. (2540) รายงานการวิจัยเรื่อง สารสนเทศสาธารณสุขภาคใต พ.ศ. 2539 สงขลา : มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตหาดใหญ. [PDF เอกสารออนไลน] จากฐานขอมูล : ฐานขอมูล TDC แหลงที่มา : http://tdc.thailis.or.th/tdc/browse.php? option= show&browse_type=title&titleid=116828&query=สารสนเทศ&s_mode=any &date_field=&date_start=&date_end=&limit_lang=&limited_lang_code=&order=& order_by=&order_type=&result_id=6&maxid=13 (12 มีนาคม 2553) บทความวิจยั ฉบับเต็ม “Potential applications of nanotechnologies to Parkinson's disease therapy” (July 2008) Parkinsonism & Related Disorders. 14 (5) page 383-392. [Online] Database from : ScienceDirect. Available : http://www.sciencedirect.com/science?_ob=ArticleURL &_udi=B6TB9-4S0PX7V-2&_user=8284186&_coverDate= 07%2F31%2F2008&_alid วันเสารที่ ๓ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๔
61
=1239837980&_rdoc=1&_fmt=high&_orig=search&_cdi=5137&_sort=r&_docanchor= &view=c&_ct=42345&_acct=C000067710&_version=1&_urlVersion=0&_userid =8284186&md5=645b0bea27172c4ef5b922b5f10a8022 (3 March 2010) บทคัดยอ McNulty, John A., Sonntag, Beth and Sinacore, James M. (January-February 2009) “Evaluation of Computer-Aided Instruction in a gross anatomy course : a six-year study” Anatomical Sciences Education. 2 (1) page 2-8. [Online] Abstract from : ERIC. Item : EJ858973. Available : http://www.eric.ed.gov/ERICWebPortal/Home.portal ;jsessionid=LXJN9kL3qcGkqlg3nWYY4X1KWS9l7hrqJQv4VW37NnJBv3f8T0nM!886415974?_nfpb=true&ERICExtSearch_SearchValue_0=CAI&ERICExtSearch_ SearchType_0=kw&_pageLabel=ERICSearchResult&newSearch=true&rnd=126 8205901067&searchtype=keyword (10 March 2010) 13) แหลงทุติยภูมิหรือแหลงรอง ใหระบุแหลงทุติยภูมกิ อ น เวน 2 ระยะ กอนและหลังคําวา “อางถึงใน” หรือ “Cited in” ตามดวยแหลงปฐมภูมิ รูปแบบ องคประกอบ และการพิมพมีดังนี้ ผูแตง.//(ปที่พิมพ)//ชื่อเรื่อง.//ครั้งที่พิมพ(ถามี).//สถานที่พิมพ/:/ผูรับผิดชอบใน การพิมพ//อางถึงใน//ผูแตง.//(ปที่พิมพ)//ชื่อเรื่อง.//ครั้งที่พิมพ(ถามี).// สถานที่พิมพ/:/ผูรับผิดชอบในการพิมพ. แมนมาส ชวลิต. (2509) ประวัติหอสมุดแหงชาติ. พระนคร : กรมศิลปากร อางถึงใน สมเด็จกรมพระยาดํารงราชานุภาพ. (2459) ตํานานหอพระสมุด หอพระมณเฑียรธรรม หอวชิรญาณ หอพุทธศาสนสังคหะ และหอสมุดสําหรับพระนคร. พระนคร : โรงพิมพ โสภณพิพรรฒธนากร. 7.3 หลักเกณฑการลงรายละเอียดสวนตางๆ ในบรรณานุกรม 7.3.1 หลักเกณฑการลงรายการตางๆ ของเอกสารหรือสิ่งพิมพที่เปนเลมในบรรณานุกรมมีดังนี้ 1) ชื่อผูแตง ผูร วบรวม ผูเรียบเรียง ผูผ ลิต ผูแปล บรรณาธิการ ชาวไทยใหใชหลักเกณฑ เดียวกับการอางอิง ยกเวน ชาวตางประเทศใหพิมพชื่อสกุลตามดวยเครือ่ งหมายจุลภาค (,) เวน 1 ระยะ วันเสารที่ ๓ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๔
62
ตามดวยชื่อตน (อาจเปนอักษรยอ) เวน 1 ระยะ ตามดวยชื่อกลาง (ถามี) ปดทายดวยเครื่องหมาย มหัพภาค (.) เวน 2 ระยะ เชน Eberhart, Richard Fernando, R. Lalitha S. Feuchtwanger, F. Deci, E. L. สําหรับผูรวบรวม ผูเรียบเรียง (complier) ผูแปล (Translator) บรรณาธิการ (Editor) ใหใช หลักเกณฑเดียวกับการอางอิง และใหระบุคําดังกลาวหลังชื่อผูแตง หลังคําดังกลาวใหใสเครื่องหมาย มหัพภาค เชน สุพิชา สินดําริห, บรรณาธิการ. พรรณี รองโสภา, ผูเรียบเรียง. ทรงวิทย แกวศรี , ผูรวบรวม. Schulenburg, Sonja, Editor. 2) ปที่พิมพ/ผลิต ปที่สราง/เผยแพร วันเดือนปที่พมิ พ เดือนปที่พิมพ วันเดือนปที่ทาํ การ สัมภาษณ ใหพิมพเฉพาะปที่พิมพ/ผลิต ปที่สราง/เผยแพร สวนที่มีเดือนใหพิมพชื่อเดือนเต็ม หากมี วันที่ใหระบุวนั ที่ดวย ทั้งหมดใหใสไวในเครื่องหมายวงเล็บ (...) หลังเครื่องหมายเวน 2 ระยะ 3) ชื่อบทความ ชื่อตอน ชื่อบท พาดหัวขาว หัวขอขาว หัวขอในคอลัมน ใหลงตามที่ ปรากฏในหนาสารบัญ หนาบทความวารสาร หรือหนาหนังสือพิมพ ภาษาตางประเทศใหขึ้นตนชื่อดวย อักษรตัวใหญเฉพาะคําแรก หากชื่อบทความมีคําที่เปนชื่อบุคคล ชื่อสถานที่ ชื่อหนวยงาน ชื่อประเทศ หรือชื่อเฉพาะก็ใหขึ้นตนดวยอักษรตัวใหญ ยกเวน คํานําหนา (Articles) บุรพบท (Prepositions) หรือ สันธาน (Conjunctions) ใหพิมพดวยตัวอักษรปกติ เวนแตจะเปนคําแรก ถามีชื่อเรื่องยอย (Subtitle) อยู หลังเครื่องหมายวรรคตอนก็ใหพิมพตัวอักษรปกติ และถาในชื่อบทความ ชื่อตอน ชื่อบท พาดหัวขาว หัวขอขาว หัวขอในคอลัมนมีเครื่องหมายวรรคตอนอยางไรก็ใหลงรายการไปตามนัน้ โดยพิมพไวใน เครื่องหมายอัญประกาศ “....” หลังเครื่องหมายเวน 2 ระยะ เชน “Ex-military men steer clear of UDD protest they will never achieve victory, says Gen Panlop” “Junta's election law-not so free, fair or inclusive” 4) ชื่อเรื่อง ชื่อรายงานการประชุม/สัมมนา ชื่อวารสาร ชื่อหนังสือพิมพ ใหลงชื่อเรือ่ งชื่อ รายงานการประชุม/สัมมนา ชื่อวารสาร หรือหนังสือพิมพที่ปรากฏในหนาปกหรือหนาปกใน สวนชื่อ ภาษาตางประเทศใหขึ้นตนชือ่ เรื่องของทุกคําดวยอักษรตัวใหญ ยกเวน คํานําหนานาม บุรพบท หรือ สันธาน ใหพมิ พดวยตัวอักษรปกติ เวนแตจะเปนคําแรก ถามีชื่อเรื่องยอย (Subtitle) อยูหลังเครื่องหมาย วันเสารที่ ๓ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๔
63
วรรคตอนก็ใหขึ้นตนอักษรตัวแรกของชื่อเรื่องยอยดวยอักษรตัวใหญและถาในชื่อเรือ่ งมีเครื่องหมาย วรรคตอนอยางไรก็ใหลงรายการไปตามนัน้ โดยพิมพดว ยตัวหนา จบชื่อเรื่องตามดวยเครื่องหมาย มหัพภาค เวน 2 ระยะ เชน ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ 1 : แนวคิด-ทฤษฎี กลุมวิชาพาณิชยกรรม การศึกษาตาม อัธยาศัย. Manipulation of the Spine, Thorax and Pelvis : an Osteopathic Perspective. ในกรณีที่เปนเอกสารประกอบการบรรยาย ประชุม สัมมนา ใหระบุชอื่ เรื่องพรอมทั้ง ขอความเกี่ยวกับการจัดบรรยาย ประชุม สัมมนา ไดแก ครั้งที่จัดบรรยาย ประชุม สัมมนา หนวยงานที่ จัดบรรยาย ประชุม สัมมนา วันเดือนป สถานที่จัดบรรยาย ประชุม สัมมนา ฯลฯ ทั้งนี้ใหเปนไปตามที่ ปรากฏในหนาปกใน เชน การประชุมเชิงปฏิบัติการงานบริการโลหิตระดับชาติ พ.ศ. 2550 จัดขึ้นเมื่อ 21 มีนาคม 2550 ณ ชั้น 9 อาคารเฉลิมพระเกียรติบรมราชินีนาถ ศูนยบริการโลหิตแหงชาติ สภากาชาด ไทย จัดโดย คณะอนุกรรมการวิชาการในคณะกรรมการจัดหาและสงเสริมผูใหโลหิตแหง สภากาชาดไทย รวมกับ ศูนยบริการโลหิตแหงชาติ สภากาชาดไทย. คําวา “วารสาร” ที่เปนสวนหนึ่งของชื่อวารสารภาษาไทยใหใชคําเต็ม คือ วารสาร เชน วารสาร สงขลานครินทร สวนตางประเทศอาจใชชื่อยอที่ถูกตองของวารสารนั้นๆ ได เชน IEEE Trans. On Compt. เปนตน ทั้งนีใ้ หเปนไปตามที่ปรากฏในวารสาร เว็บไซตหรือฐานขอมูล 5) หนาที่ปรากฏบทความ ชือ่ ตอน ชื่อบท ขาว หัวขอในคอลัมน กอนระบุเลขหนาใหระบุคําวา “หนา” หรือ “page” ตามดวยเลขหนาที่ปรากฏตั้งแตตนจนจบ เชน หนา 20 page 19-24 เปนตน กรณีที่ เนื้อหาไมไดจบในหนาเดียว ใหระบุหนาแรก ตามดวยเครื่องหมายจุลภาค เวน 1 ระยะ ตามดวย หมายเลขหนาสิ้นสุด ปดทายดวยเครื่องหมายมหัพภาค 6) ครั้งที่พิมพ การพิมพครั้งแรกไมตองระบุ ใหระบุการพิมพครั้งที่ 2 เปนตนไป พรอมทั้ง ขอความที่เกี่ยวของ เชน พิมพครั้งที่ 2 พิมพครั้งที่ 3 แกไข พิมพครั้งที่ 4 ปรับปรุงเพิ่มเติม พิมพครัง้ ที่ 5 แกไขปรับปรุงเพิ่มเติม 2nd 3rd 4th ed rev. เปนตน ตามดวยเครื่องหมายมหัพภาค เวน 2 ระยะ วันเสารที่ ๓ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๔
64
7) สถานที่พิมพ หรือสถานที่ผลิต หมายถึง ชื่อจังหวัด ชื่อเมือง ชื่อรัฐ ที่ผูรับผิดชอบในการ พิมพนั้นตั้งอยู เชน กรุงเทพมหานคร ขอนแกน เชียงใหม New York London Paris เปนตน หากชื่อ เมืองซ้ํากันกับประเทศอื่นใหระบุชื่อประเทศดวย ถาไมปรากฏสถานที่พิมพหรือสถานที่ผลิตใหระบุอกั ษรยอ ม.ป.ท. (ไมปรากฏสถานที่พิมพ) หรือ n.pl. (no place) ตามดวยเครื่องหมายทวิภาค (:) เวน 1 ระยะกอนและหลังเครื่องหมายดังกลาว 8) ผูรับผิดชอบในการพิมพหรือการผลิต หมายถึง สํานักพิมพ โรงพิมพ หนวยงาน หรือ นิติบุคคล ตามดวยเครื่องหมายมหัพภาค 8.1) สํานักพิมพ (Publisher) ใหระบุเฉพาะชื่อสํานักพิมพเทานั้น ไมตองใสคําวา สํานักพิมพ บริษัท...จํากัด หางหุนสวนจํากัด Publisher Co._Inc. Co._Ltd. เชน บริษัทประชาชาง ใหระบุ ประชาชาง สํานักพิมพโอเดียนสโตร ใหระบุ โอเดียนสโตร บริษัทศรีสยามการพิมพ ใหระบุ ศรีสยามการพิมพ บริษัท อมรินทรพริ้นทติ้งแอนดพลับลิ่งชิ่ง จํากัด (มหาชน) ใหระบุ อมรินทรพริ้นทติ้งแอนดพลับลิ่งชิ่ง หางหุนสวนจํากัด แกรนดเอ็นจิเนียริ่ง ใหระบุ แกรนดเอ็นจิเนียริ่ง McGraw-Hill Company ใหระบุ McGraw-Hill HarperCollins Publisher ใหระบุ HarperCollin สวนสํานักพิมพของสถาบันการศึกษาเพื่อมิใหเกิดความสับสนวาเปนสิ่งพิมพของ สถาบันการศึกษาใหระบุคําวา “สํานักพิมพ” “Press” หรือ “Publisher” ดวย สํานักพิมพมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร. สํานักพิมพมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สํานักพิมพแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. Cambridge University Press. Oxford University Press. 8.2) โรงพิมพ (Press) ใหระบุคําวา “โรงพิมพ” หรือ “Press” ดวย เชน โรงพิมพแหง จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย โรงพิมพคุรุสภาลาดพราว The Nation Academies Press เปนตน 8.3) หนวยงานหรือนิติบคุ คล ใหระบุชื่อหนวยงานหรือนิติบุคคลที่ปรากฏ เชน กระทรวงวัฒนธรรม. กลุมสถาบันแพทยศาสตร. มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ. วันเสารที่ ๓ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๔
65
มูลนิธิกองทุนการศึกษาเพื่อการพัฒนา. สมาคมการพิมพไทย. สถาบันทดสอบทางการศึกษาแหงชาติ. สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา. หากมีหนวยงานใหญและหนวยงานยอย ใหระบุหนวยงานยอย เวน 2 ระยะ ตามดวยหนวยงาน ใหญ ตามดวยเครื่องหมายมหัพภาค (.) ดังตัวอยาง บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม. หอสมุดแหงชาติ กรมศิลปากร. ในกรณีที่หนวยงานหรือนิตบิ คุ คลเปนทั้งผูแตงและผูรับผิดชอบในการพิมพ ในสวนของ ผูรับผิดชอบในการพิมพใหระบุเฉพาะคํานําหนานามหนวยงานเทานัน้ เชน กระทรวง กรม กอง สํานัก สํานักงาน เปนตน สวนนิตบิ ุคคล ไดแก สมาคม บริษัท หางหุนสวน หางหุนสวนจํากัด มูลนิธิ สถาบัน ฯลฯ 8.4) ไมปรากฏผูรับผิดชอบในการพิมพหรือการผลิต ใหระบุอกั ษรยอ “ม.ป.พ.” หรือ “n.p.” (no publisher) 7.3.2 หลักเกณฑการลงรายการตางๆ ของวัสดุไมตพี ิมพในบรรณานุกรมมีดังนี้ รายละเอียดในสวนของผูผลิต ปที่ผลิต ชื่อเรื่อง สถานที่ผลิต และผูรับผิดชอบในการผลิต ใหใช หลักเกณฑเชนเดียวกับสิ่งพิมพเปนเลม แตเพิ่มเติมประเภทของวัสดุไมตีพิมพในวงเล็บเหลี่ยม หลังชื่อ เรื่อง เชน [วีซีดี] [แถบบันทึกเสียง] [ซีด-ี รอม] [ภาพยนตร] [แผนที่] [ไมโครฟช] [ไมโครฟลม] เปนตน 7.3.3 หลักเกณฑการลงรายการตางๆ ของการสัมภาษณในบรรณานุกรมมีดังนี้ 1) ผูสัมภาษณ ใหใชหลักเกณฑเดียวกับการอางอิง หลังชื่อใหระบุคําวา เปนผูใหสัมภาษณ เวน 2 ระยะ 2) ชื่อผูสัมภาษณ ใหใชหลักเกณฑเดียวกับการอางอิง หลังชื่อใหระบุคาํ วา เปนผูสัมภาษณ 3) ที่ ใหระบุสถานที่ที่ทําการสัมภาษณ 4) เมื่อ ใหระบุวันเดือนปที่ทาํ การสัมภาษณ ตามดวยเครือ่ งหมายมหัพภาค
วันเสารที่ ๓ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๔
66
7.3.4. หลักเกณฑการลงรายการตางๆ ของเว็บไซตในบรรณานุกรมมีดงั นี้ 1) การลงรายละเอียดในสวนของผูแตง วันเดือนป ชื่อบทความ ชื่อเรื่อง ปที่ ฉบับที่ เลขหนา ใหเปนไปตามหลักเกณฑของหนังสือ วารสาร หนังสือพิมพ วิทยานิพนธ 2) ชนิดของแฟมขอมูล เชน PDF HTML PPS PPT WORD RTF ตามที่ปรากฏในเว็บไซต และ คําวา “เอกสาร” หรือ “Document” รวมทั้งคําวา “ออนไลน” หรือ “Online” ในเครื่องหมายวงเล็บ เชน [PDF Document Online] [PPT Document Online] [WORD Document Online] [PDF เอกสาร ออนไลน] [PPT เอกสารออนไลน] [WORD เอกสารออนไลน] เปนตน นอกนัน้ ใหใชคําวา [ออนไลน] หรือ [Online] หลังคําดังกลาวเวน 2 ระยะ 3) แหลงที่มา กอนระบุแหลงที่มาใหใสคําวา แหลงที่มา ตามดวยเครื่องหมายทวิภาค เวน 1 ระยะกอนและหลังเครื่องหมายดังกลาว พิมพที่อยูของเว็บไซต (URL ทีอ่ ยูในชอง Address บน Web Browser) เวน 2 ระยะ 4) วันเดือนปที่ทําการสืบคนในเครื่องหมายวงเล็บ 7.3.5 หลักเกณฑการลงรายการตางๆ ของฐานขอมูลออนไลนในบรรณานุกรมมีดังนี้ 1) การลงรายละเอียดอื่นๆ ไดแก ผูแตง วันเดือนป ชื่อบทความ ชื่อเรื่อง ปที่ ฉบับที่ เลขหนา ให เปนไปตามหลักเกณฑของหนังสือ วารสาร วิทยานิพนธ 2) ชนิดของแฟมขอมูล ใหระบุชนิดของแฟมขอมูล เชน PDF HTML PPS PPT WORD RTF ตามที่ปรากฏในฐานขอมูล และคําวา “เอกสาร” หรือ “Document” รวมทั้งคําวา “ออนไลน” หรือ “Online” ในเครื่องหมายวงเล็บ เชน [PDF Document Online] [PPT Document Online] [WORD Document Online] [PDF เอกสารออนไลน] [PPT เอกสารออนไลน] [WORD เอกสารออนไลน] เปน ตน นอกนัน้ ใหใชคําวา [ออนไลน] หรือ [Online] 3) ฐานขอมูล ใหระบุคําวา “จากฐานขอมูล” หรือ “Database from” คั่นดวยเครื่องหมายทวิภาค เวน 1 ระยะทั้งกอนและหลังเครื่องหมาย ตามดวยชื่อฐานขอมูลที่ทําการสืบคน เชน Database from : ABI. Database from : Dissertation.com. Database from : ERIC. Database from : Kosmet. Database from : ProQuest. Database from : ScienceDirect. เปนตน หลังชื่อฐานขอมูลใสเครื่องหมายมหัพภาค เวน 2 ระยะ 4) บทคัดยอ ในกรณีที่ฐานขอมูลออนไลนนั้นใหเฉพาะบทคัดยอเพียงอยางเดียว ใหระบุคําวา “บทคัดยอจาก” หรือ “Abstract from” แทนที่ฐานขอมูล คั่นดวยเครื่องหมายทวิภาค (:) เวน 1 ระยะกอน และหลังเครื่องหมาย ตามดวยชื่อฐานขอมูลแลวตามดวยเครื่องหมายมหัพภาค เวน 2 ระยะ เชน วันเสารที่ ๓ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๔
67
บทคัดยอจาก : ฐานขอมูลวิทยานิพนธไทย. Abstract From : Disseration.com. 5) รายการ ใหระบุคําวา “รายการ” หรือ “Item” ตามดวยเครื่องหมายทวิภาค (:) เวน 1 ระยะทั้ง กอนและหลังเครื่องหมาย จากนั้นใหระบุอกั ษรยอและหมายเลขของเอกสารฉบับนั้น เชน Item : EJ 497895 Item : UMI No. 9315947 Item : DOI 10.1016/j.parkreldis.2007.11.012 เปนตน 6) แหลงที่มา ใหระบุคําวา “แหลงที่มา” หรือ “Available” ตามดวยเครือ่ งหมายทวิภาค (:) เวน 1 ระยะทั้งกอนและหลังเครือ่ งหมายดังกลาว แลวตามดวยที่อยูของฐานขอมูลออนไลน เชน แหลงที่มา : http://www.hcu.ac.th/journal/ndex.htm Available : gopher.tc.umm.edu/Libraries/Newspapers, Magazine and Newsletters /Medicalpublications/AIDSNews/Issue 7) วันเดือนทีท่ ําการสืบคน ใหพิมพวันเดือนปที่ทําการสืบคนไวในเครื่องหมายวงเล็บ เชน (19 เมษายน 2549) (19 April 2006) เปนตน
วันเสารที่ ๓ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๔
7. 4 บรรณานุกรมแบบแวนคูเวอร การเขียนวิทยานิพนธหรือการศึกษาอิสระทางดานวิทยาศาสตรการแพทยนั้น ตองมีการนํา เอกสารมาอางอิง ซึ่งสวนใหญจะเปนหนังสือวารสารวิชาการ รายงานการประชุมสัมมนา วิทยานิพนธ หนังสือพิมพ และสื่ออิเล็กทรอนิกสตางๆ แตละประเภทมีวิธีเขียนในรูปแบบที่แตกตางกันไป หลักเกณฑและแบบแผนของการเขียนบรรณานุกรมแบบแวนคูเวอร ใหทําตามลําดับดังนี้ 1. เรียงลําดับรายการบรรณานุกรมตามลําดับหมายเลขที่ไดกํากับไวภายในเนื้อหาที่ไดอางถึงใน วิทยานิพนธหรือการศึกษาอิสระ 2. ไมตองแยกภาษาและประเภทของรายการบรรณานุกรม 3. พิมพหมายเลขของทุกรายการใหชิดกับขอบกระดาษดานซาย 4. ถาขอความในบรรณานุกรมขอใดขอหนึ่งมีความยาวมากกวาหนึ่งบรรทัดใหพิมพบรรทัด ถัดไปโดยการยอหนาครึ่งนิว้ (1 Tab) รูปแบบการเขียนบรรณานุกรมวารสาร หมายเลข. ชื่อผูแตง. ชื่อบทความในวารสาร. ชื่อยอหรือชื่อเต็มวารสาร ป เดือน วันที(่ ถามีหรือ ตองการระบุ);วารสารพิมพเปนเลมที่(ฉบับที่):เลขหนาแรก–หนาสุดทายของบทความที่อางถึง. วารสาร มีการเรียงลําดับขอมูลที่สําคัญดังนี้ 1) หมายเลข ใหพิมพหมายเลขอารบิกตามปกติ และระบุใหตรงกับการอางอิงในเนื้อหา โดยไม เลือกภาษาและประเภทของเอกสาร 2) ชื่อผูแตง อาจมีทั้งที่เปนบุคคล คณะทํางาน กลุมงาน หรือหนวยงาน อาจเขียนคนเดียว หรือ หลายคนก็ได ถาเปนชาวไทยใหเขียนแบบไทยคือชื่อตัว ตามดวยชื่อสกุล ไมมีคํานําหนา ปดทายดวย เครื่องหมายมหัพภาค (.) ดังตัวอยาง รวิชุดา บรรจงมณี. ผูแตงเปนชาวตางประเทศใหขึ้นตนดวยชือ่ สกุล (last name) ตามดวยชือ่ ยอ (initials) ของชื่อ ตนและชื่อกลาง (ถามี) โดยเขียนติดกันไมมีเครื่องหมายมหัพภาคคั่น เชน Halpern SD. Ubel PA. Caplan AL.
2
ผูแตงมี 6 คนหรือนอยกวา 6 คน ใหระบุชื่อทุกคนแตละชื่อคั่นดวยเครื่องหมายจุลภาค (,) ดังตัวอยาง พงศภารดี เลาหะเกษตริน, สุพัตรา แสงรุจิ, บรรจง คําหอม. Smith AK, Jones BC. ผูแตงมีมากกวา 6 คนขึน้ ไป ใหระบุเฉพาะ 6 คนแรก แตละคนคั่นดวยเครื่องหมายจุลภาค (,) สุดทายตามดวยคําวา “และคณะ” สําหรับภาษาไทย ปดทายดวยเครื่องหมายมหัพภาค สวนภาษา ตางประเทศใหพิมพอักษรยอ et al. (et alli) หลังคําและอักษรยอนีใ้ หเวน 1 ระยะ เชน อภิชาต โอฬารรัตนชัย, ธีระพร วุฒยวนิช, ประสงค ตูจินดา, ประพุทธ ศิริปุณย, อุรพล บุญ ประกอบ, วีระพล จันทรดียิ่ง และคณะ. Smith AK, Jones BC, Blogg TC, Ashe PT, Fauci AS, Wilson JD, et al. ผูแตงเปนหนวยงาน ใหระบุชื่อหนวยงานเปนหลัก กระทรวงสาธารณสุข. ธนาคารแหงประเทศไทย. สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจยั . สมาคมการจัดการธุรกิจแหงประเทศไทย. The Cardiac Society of Australia and New Zealand. Diabetes Prevention Program Research Group. หากหนวยงานนั้นมีชื่อหนวยงานยอย หนวยงานลําดับรอง และหนวยงานใหญ ใหเขียนชื่อ หนวยงานยอย หนวยงานลําดับรอง และตามดวยหนวยงานใหญ กองการพยาบาล สํานักงานปลัดกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข. ภาควิชาบรรณารักษศาสตร คณะอักษรศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. คณะอนุกรรมการคนควาและวิชาการ สมาคมประกันวินาศภัย. บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ. Department of General Practice Royal Adelaide Hospital University of Adelaide. ถาสิ่งพิมพเปนของหนวยราชการใหใสชอื่ หนวยงานทีม่ ีฐานะอยางนอยที่สุดเปนกรม หรือ เทียบเทากรมเปนหลัก ตามดวยหนวยงานลําดับรองและลําดับยอย หลังชื่อใหใสเครือ่ งหมายจุลภาคคั่น ระหวางหนวยงาน ปดทายดวยเครื่องหมายมหัพภาค ดังตัวอยาง ฝายเอกสารเผยแพรและแนวปฏิบัติ กองนโยบายและแผนงาน กรมสรรพากร. คู่มือวิทยานิพนธ์ฯ 2554
วันเสาร์ที่ 3 ธันวาคม พ.ศ. 2554
3
องคการระหวางประเทศที่ใชชื่อยอและเปนที่รูจักกันโดยทั่วไป ใหระบุชื่อยอขององคการนั้น เชน UNESCO WHO WTO UNCTAD เปนตน ในกรณีที่ไมมผี ูแตง ใหใสชอื่ บทความแทนชื่อผูแตง ดังตัวอยาง 21st century heart solution may have a sting in the tail. BMJ. 2002;325(73):184. 3) ชื่อบทความ ไมตองทําตัวหนา ตัวเอน หรือขีดเสนใต และถาเปนชือ่ เรื่องภาษาอังกฤษให พิมพอักษรตัวพิมพใหญเฉพาะตัวแรกที่ขึ้นตนชื่อเรื่องเทานั้น ยกเวน ชื่อเฉพาะ หรือคําที่จําเปนตองใช ตัวพิมพใหญ แลวจบดวยเครื่องหมายมหัพภาค ตัวอยาง กาวเชิงรุกยุคเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร. Independent nursing intervention. Validation of an immunoassay for measurement of plasma total homocysteine. The impact of drugs other than alcohol and tobacco on the health of Western Australians. 4) ชื่อวารสาร สําหรับวารสารภาษาตางประเทศใหใสเฉพาะชื่อยอเทานั้น และยอตามแบบที่ วารสารแตละชื่อกําหนดไวเปนมาตรฐานสากล ชื่อยอวารสารตางๆ สืบคนไดจาก http://library. caltech.edu/reference/abbreviations/ หรือจากเว็บไซตอนื่ ๆ เมื่อจบสวนที่เปนชื่อวารสาร เวน 1 ระยะ ดังตัวอยาง J Chromatogr A Anal Chem Acta Food Chem Br J Pharmacol Eur J Pharmacol J Nurs Educ วารสารใดไมมีการกําหนดชื่อยอไวอยางเปนทางการ สวนใหญจะเปนวารสารภาษาไทย ให พิมพตามที่ปรากฏที่หนาปก ดังตัวอยาง จุฬาลงกรณเวชสาร ไทยเภสัชสาร ศรีนครินทรวิโรฒเภสัชสาร ไทยเภสัชสารและวิทยาการสุขภาพ ถามีคําวา “วารสาร” ที่เปนสวนหนึ่งของชือ่ ใหพิมพคําเต็ม คือ “วารสาร” แลวตามดวยชื่อ วารสาร ดังตัวอยาง วารสารเภสัชศาสตรมหาวิทยาลัยมหิดล วารสารสงเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดลอม วารสารสมาคมเทคนิคการแพทยแหงประเทศไทย
คู่มือวิทยานิพนธ์ฯ 2554
วันเสาร์ที่ 3 ธันวาคม พ.ศ. 2554
4
5) ปที่พิมพวารสาร ระบุวันเดือนปที่พิมพดวยถาจําเปน การยอเดือนในภาษาอังกฤษใหยอ 3 ตัวอักษร โดยไมใสเครื่องหมายมหัพภาคขางหลังคํายอ เชน Jan Mar Jun เปนตน หลังปที่พิมพใส เครื่องหมายอัฒภาคไมเวนระยะ เชน 16 Jun 1998; 29 Mar 2001; แตโดยทั่วไประบุเพียงปเทานัน้ เชน 1998; 2001; เปนตน 6) เลมที่ (Volume) และฉบับที่ (Issue number) ใหดูหลักเกณฑดานลาง วารสารที่เรียงลําดับหนาตอเนื่องกันตลอดทั้งป ใหระบุเฉพาะหมายเลขเลมที่ตามดวย เครื่องหมายทวิภาค (:) ไมเวนระยะและไมจําเปนตองระบุฉบับที่ ดังตัวอยาง 2000;32: 1988;75: 2009;48: วารสารที่เรียงลําดับหนาไมตอเนื่องกันทั้งป ใหระบุหมายเลขฉบับที่ไวในเครื่องหมายวงเล็บ ดังนี้ 12(5): หมายความวา พิมพเปนเลมที่ 12 ฉบับที่ 5 และตามดวยเครื่องหมายทวิภาค ทั้ง 3 สวนไมมี การเวนระยะ กรณีที่ไมมีเลมที่พิมพ มีแตฉบับที่พิมพ (issue with no volume) ใหระบุเฉพาะฉบับที่ใน เครื่องหมายวงเล็บ ตามดวยเครื่องหมายทวิภาค (:) ไมเวนระยะ ดังตัวอยาง 2002;(401):230-8. ฉบับเสริมของเลมที่ (Volume with supplement) ใหพิมพคําวา “ฉบับเสริม” สําหรับภาษา ตางประเทศใหพิมพคํายอวา “Suppl” (Supplement) เวน 1 ระยะ ตามดวยหมายเลขฉบับเสริม ทั้งนี้ให พิมพตามหลังหมายเลขเลมที่ ดังตัวอยาง 2002;42 Suppl 2:S93-9. ฉบับเสริมของฉบับที่พิมพ (issue with supplement) ใหพิมพเชนเดียวกับหลักเกณฑขางตน แตยายไปอยูตามหลังหมายเลขฉบับที่ในเครื่องหมายวงเล็บ ดังตัวอยาง 2002;58(12 Suppl 7):S6-12. เลมที่พิมพแบงเปนตอนๆ (volume with part) ภาษาไทยใหพิมพคําวา “ตอนที่” สวน ภาษาตางประเทศใหพิมพอกั ษรยอวา “Pt” (Part) ตามดวยหมายเลขของตอนที่ในเครือ่ งหมายวงเล็บ ตอจากหมายเลขเลมที่ ดังตัวอยาง 2002;83(Pt 2):491-5. ฉบับที่พิมพแบงเปนตอนๆ (issue with part) ใหพิมพเชนเดียวกับหลักเกณฑขางตน แตยายไป อยูตามหลังหมายเลขฉบับที่ในเครื่องหมายวงเล็บ ดังตัวอยาง 2002;13(9 Pt 1):923-8. กรณีที่วารสารนั้นไมแบงยอยเปนทั้งปที่พมิ พ หรือฉบับที่พิมพ (no volume or issue) ใหพิมพ หมายเลขหนาตอจากปที่พิมพวารสาร ดังตัวอยาง Jun 2002:1-6. 1993:325-33.
คู่มือวิทยานิพนธ์ฯ 2554
วันเสาร์ที่ 3 ธันวาคม พ.ศ. 2554
5
กรณีเปนคอลัมนเฉพาะ ซึ่งไมจัดเปนนิพนธตนฉบับ อาจแสดงชนิดของเอกสารไดตามความ จําเปนภายในเครื่องหมายวงเล็บเหลี่ยม [ ] เชน บทบรรณาธิการ, จดหมาย, หรือบทคัดยอ ดังตัวอยาง 1. Coffee drinking and cancer of the pancreas [editorial]. BMJ 1981;283:628. 2. Tor M, Turker H. International approaches to the prescription of long-term oxygen therapy [letter]. Eur Respir J 2002;20(1):242. 3. Lofwall MR, Strain EC, Brooner RK, Kindbom KA, Bigelow GE. Characteristics of older methadone maintenance (MM) patients [abstract]. Drug Alcohol Depend 2002;66 Suppl 1:S105. 7) จํานวนหนา (Page number) ระบุเฉพาะหมายเลขหนาโดยไมตองมีคําวา “หนา” หรือ “page” และหลีกเลี่ยงการใชเลขหนาซ้ํา เชน หนา 25-29 เปน 25-9 เปนตน จบรายการดวยเครื่องหมาย มหัพภาค ดังตัวอยาง 1998;32:415-21. 16 Jun 1998;32(5):415-21. กรณีที่เลขหนาเปนอักษรหรืออักษรโรมันใหพิมพตามที่ปรากฏ ดังตัวอยาง 2554;7:ก-ง. 2554;7(4):ก-จ. 2002;16:iii-v. 2002;16(2):iii-v. หากมีตวั อักษรปรากฏพรอมกับหมายเลขหนา ใหพิมพตามที่ปรากฏ ดังตัวอยาง 2002;66 Suppl 1:S93-9. ใหสังเกตวาไมมีการเวนวรรคระหวางเครือ่ งหมายอัฒภาคและทวิภาค ในการระบุเลมที่ ฉบับที่ และเลขหนา ตัวอยางบรรณานุกรมบทความวารสาร 1. วันชัย วัฒนศัพท. อุบัติการณความปวดในผูปวยโรคมะเร็ง. วารสารโรคมะเร็ง 2535;18:46-69. 2. วันเพ็ญ บุญประกอบ. การเลี้ยงดูลูกกับสุขภาพจิต. วารสารสมาคมจิตแพทยแหงประเทศไทย 2544;46(1):55-7. 3. Russell FD, Coppell AL, Davenport AP. In vitro enzymatic processing of radiolabelled big ET-1 in human kidney as a food ingredient. Biochem Pharmachol 1998;55:697-701. 4. Russell FD, Coppell AL, Davenport AP. In vitro enzymatic processing of radiolabelled big ET-1 in human kidney as a food ingredient. Biochem Pharmacol 1 Mar 1998;55(5):697-701. 5. Rose ME, Huerbin MB, Melick J, Marion DW, Palmer AM, Schiding JK, et al. Regulation of interstitial excitatory amino acid concentrations after cortical contusion injury. Brain Res 2002;935(1-2):40-6. คู่มือวิทยานิพนธ์ฯ 2554
วันเสาร์ที่ 3 ธันวาคม พ.ศ. 2554
6
6. Geraud G, Spierings EL, Keywood C. Tolerability and safety of frovatriptan with short- and longterm use for treatment of migraine and in comparison with sumatriptan. Headache 2002;42 Suppl 2:S93-9. 7. Glauser TA. Integrating clinical trial data into clinical practice. Neurology 2002;58(12 Suppl 7):S6-12. 8. Abend SM, Kulish N. The psychoanalytic method from an epistemological viewpoint. Int J Psychoanal 2002;83(Pt 2):491-5. 9. Ahrar K, Madoff DC, Gupta S, Wallace MJ, Price RE, Wright KC. Development of a large animal model for lung tumors. J Vasc Interv Radiol 2002;13(9 Pt 1):923-8. 10. Banit DM, Kaufer H, Hartford JM. Intraoperative frozen section analysis in revision total joint arthroplasty. Clin Orthop 2002;(401):230-8. 11. Outreach: bringing HIV-positive individuals into care. HRSA Careaction Jun 2002:1-6. 12. Browell DA, Lennard TW. Immunologic status of the cancer patient and the effects of blood transfusion on antitumor responses. Curr Opin Gen Surg 1993:325-33. 13. Tor M, Turker H. International approaches to the prescription of long-term oxygen therapy [letter]. Eur Respir J 2002;20(1):242. รูปแบบบรรณานุกรมหนังสือ หมายเลข. ชื่อผูแตง/ชื่อบรรณาธิการ/ชื่อผูเรียบเรียง//ชื่อองคกรในนามผูแตง. ชื่อเรื่อง: ชื่อเรื่องรอง (ถามี). ชื่อบรรณาธิการ(ถามี). ครั้งที่พิมพ. สถานที่หรือเมืองที่พิมพ: สํานักพิมพ; ปที่พิมพ. หนา. (ชื่อชุด; ชื่อตอนหรือตอนที่หรือ vol). หนังสือ มีการเรียงลําดับขอมูลดังนี้ 1) หมายเลข ใหพิมพหมายเลขอารบิกตามปกติ และระบุใหตรงกับการอางอิงในเนื้อหา โดย ไมเลือกภาษาและประเภทของเอกสาร ดังตัวอยาง 2) ชื่อผูแตง บรรณาธิการ ผูร วบรวม หรือชื่อหนวยงานในนามผูแตง ใชหลักเกณฑเดียวกับ บทความในวารสาร ถาผูแตงเปนบรรณาธิการหนังสือภาษาไทยใหระบุชื่อบรรณาธิการตามดวยเครื่องหมายจุลภาค (,) เวน 1 ระยะ แลวพิมพคําวา “บรรณาธิการ” หรือ “ผูรวบรวม” สําหรับภาษาไทย “editor(s)” หรือ “compiler” สําหรับภาษาตางประเทศ ทั้งนีบ้ รรณาธิการอาจมีคนเดียวหรือหลายคน ใหหลักเกณฑผูแตง
คู่มือวิทยานิพนธ์ฯ 2554
วันเสาร์ที่ 3 ธันวาคม พ.ศ. 2554
7
เดียวกับบทความวารสาร ดังตัวอยาง สุพิชา สอนดําริห, บรรณาธิการ. Smith AK, Jones BC, editors. ถาหนังสือเลมนั้นมีทั้งชื่อผูแตงและบรรณาธิการ ใหระบุชื่อผูแตงตามปกติ สวนชื่อ บรรณาธิการนําไปไวหลังชื่อเรื่อง ดังตัวอยาง 1. ประภาวดี สืบสนธิ์. สารสนเทศในบริบทสังคม. กิ่งแกว อวมศรี, บรรณาธิการ. พิมพครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร: สมาคมหองสมุดแหงประเทศไทยฯ; 2543. 2. Breedlove GK, Schorfheide AM. Adolescent pregnancy. Wieczorek RR, editor. 2nd ed. White Plains (NY): March of Dimes Education Services; 2001. ผูแตงเปนหนวยงานและเปนผูพิมพ ใหใชหลักเกณฑเดียวกันกับผูแตงบทความวารสาร 3. Department of General Practice Royal Adelaide Hospital University of Adelaide. Compendium of research and practice development, 1999-2000. Adelaide (Australia): Adelaide University; 2001. 4. สถาบันประสาทวิทยา กรมการแพทย กระทรวงสาธารณสุข. แนวทางการรักษาทางทันตกรรม ผูปวยโรคหลอดเลือดสมอง = Clinical dental practice guideline for stroke. นนทบุร:ี สถาบัน กรม กระทรวง; 2546. หนังสือที่ไมมผี ูแตง ใหพิมพชื่อหนังสือในตําแหนงของผูแ ตง ดังตัวอยาง 5. The Oxford concise medical dictionary. 6th ed. Oxford: Oxford University Press; 2003. p. 26. 3) ชื่อหนังสือ เขียนชื่อเต็ม ไมมีการขีดเสนใต ไมพิมพตวั เอนหรือตัวหนา ชื่อเรื่องภาษาอังกฤษ ใชตัวพิมพใหญเฉพาะอักษรตัวแรกของคําแรกหรือคําที่เปนชื่อเฉพาะเทานั้น เมื่อจบชื่อเรื่องใส เครื่องหมายมหัพภาค เวน 1 ระยะกอนพิมพขอมูลตอไป ดังตัวอยาง การพัฒนาหลักสูตรการแพทยแผนไทย พ.ศ. 2544 วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัด พิษณุโลก. Medical microbiology. ถามีชื่อเรื่องรอง ใหพิมพชื่อเรื่องหลักตามดวยเครื่องหมายทวิภาค (:) ไมเวนระยะ หลัง เครื่องหมาย เวน 1 ระยะ ตามดวยชื่อเรื่องรอง ดังตัวอยาง 1 ทศวรรษ สวทช.: กาวใหมของคนไทยกับวัสดุทางการแพทย. คู่มือวิทยานิพนธ์ฯ 2554
วันเสาร์ที่ 3 ธันวาคม พ.ศ. 2554
8
The economics of health and wellness: anthropological perspectives. 4) จํานวนเลม (Volume) หนังสือบางชื่อเรื่องมีความยาวมากเกินกวาจะจบในเลมเดียวได จึง ตองพิมพมากกวา 1 เลม หากใชเปนหลักฐานในการเขียนหมดทุกเลมใหพิมพจํานวนเลมทั้งหมดของ หนังสือเรื่องนัน้ ไวดวย เชน 2 Vols. หรือ 3 เลม. เปนตน แตหากอางเพียงเลมใดเลมหนึ่ง ใหพิมพเฉพาะ เลมที่อาง เชน Vol 2. หรือ เลม 3. เปนตน ทั้งนี้ใหพมิ พตอจากชื่อเรื่อง เวน 1 ระยะ ตามดวยจํานวนเลม ดังตัวอยาง 1. พรเทพ เทียนสิวากุล, บรรณาธิการ. โลหิตวิทยาคลินกิ ชั้นสูง 2 เลม. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพแหง จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย; 2541. 2. Bucholz RW, Heckman JD, editors. Rockwood and Green’s Fractures in adults. Vol 2. 5th ed. Philadelphia: Lippincott Williams & Wilkins; 2001. 3. สาขาวิทยาศาสตรสุขภาพ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. เอกสารการสอนชุดวิชาอนามัยแมและ เด็กและการวางแผนครอบครัว หนวยที่ 1-8. พิมพครั้งที่ 10. นนทบุร:ี สํานักพิมพมหาวิทยาลัย สุโขทัยธรรมาธิราช; 2544. 5) ครั้งที่พิมพ (Edition) ถามีการจัดพิมพมากกวา 1 ครั้ง ใหระบุพิมพครัง้ ที่ 2 เปนตนไป ใหพิมพคําวา “พิมพครั้งที่” สําหรับภาษาอังกฤษใชอักษรยอ “ed.” (Edition) ตามดวยหมายเลขครั้งที่ พิมพ จบทายดวยเครื่องหมายมหัพภาค หลังเครื่องหมายเวน 1 ระยะ ดังตัวอยาง พิมพครั้งที่ 8. 3rd ed. หากครั้งที่พิมพนั้นเปนการพิมพพิเศษ เชน ฉบับแกไขเพิ่มเติม (revised edition) ฉบับรวบรัด (abridged edition) ฉบับขยายความ (enlarged edition) ฉบับตัดทอน (expurgated edition) ฉบับประณีต (deluxe edition) เปนตน ใหพิมพคําดังกลาวตอจากหมายเลขครั้งที่พิมพ สําหรับภาษาตางประเทศใหใช อักษรยอ เชน “rev.” “enl.” จบดวยเครื่องหมายมหัพภาค (.) หลังเครื่องหมายเวน 1 ระยะ เชน พิมพครั้งที่ 2 ฉบับแกไขปรับปรุง. 4th ed. rev. and enl. หนังสือที่พิมพซ้ํา (reprint) แสดงวาไมไดมีการแกไขเพิ่มเติม จึงเหมือนกับการพิมพครั้งกอน ทุกประการ สวน edition คือการพิมพที่มีการปรับปรุงเปลี่ยนแปลง ดังนั้นถาเปนการพิมพซ้ําก็ไมตอ ง ระบุลงไป 6) สถานที่พิมพ ใหระบุเฉพาะชื่อมลรัฐ เมือง จังหวัด ไมใสชื่อประเทศ เชน กรุงเทพมหานคร: New York: Alabama: New Jersey: เปนตน สํานักพิมพทปี่ รากฏอยูในหลายเมืองเรียงกัน ใหใสชื่อเมืองที่เริ่มตนเปนชื่อแรก ชื่อสํานักพิมพ = John Wiley & Sons คู่มือวิทยานิพนธ์ฯ 2554
วันเสาร์ที่ 3 ธันวาคม พ.ศ. 2554
9
ชื่อสถานที่พิมพ = New York y Chichester y Brisbane y Toronto y Singapore ใหพิมพชื่อสถานที่พิมพดังตัวอยาง New York: John Wiley & Sons; 1989. สถานที่พิมพไมใชเมืองใหญ ใหพิมพชื่อเมืองตามดวยเครื่องหมายจุลภาค เวน 1 ระยะ ตามดวย ชื่อยอของมลรัฐ เมืองปดทายดวยเครื่องหมายทวิภาค (:) ดังตัวอยาง Hartford, CN: ชื่อเมืองซ้ํากันใหระบุชื่อประเทศดวย หลังชื่อเมืองที่มีการระบุประเทศใหใสเครื่องจุลภาค หลัง สถานที่พิมพตามดวยเครื่องหมายทวิภาค ดังตัวอยาง Kyoto, Japan: ไมปรากฏสถานที่พิมพ ใหพมิ พอักษรยอ ม.ป.ท. (ไมปรากฏสถานที่พิมพ) สําหรับ ภาษาตางประเทศใหใชอกั ษร n.p. ยอมาจาก No Place 7) ผูรับผิดชอบในการพิมพ หมายถึง โรงพิมพ สํานักพิมพ หนวยงาน นิติบุคคล สมาคมองคกร ฯลฯ ใหระบุชอื่ เต็มของผูรับผิดชอบในการพิมพโดยไมตอ งมีคําใดๆ อยูขางหนาหรือตอทายแลวตาม ดวยเครื่องหมายอัฒภาค (;) ยกเวน โรงพิมพหรือสํานักพิมพของสถาบันการศึกษา ตองระบุคํานําหนาไว ดวย ดังตัวอยาง เรือนแกวการพิมพ; Williams & Wilkins; โรงพิมพแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย; สํานักพิมพมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช; หนังสือบางเลมมีทั้งสํานักพิมพ (publishing office) และโรงพิมพ (printing office) ใหใช สํานักพิมพ เวนแตไมปรากฏชื่อสํานักพิมพจึงใชโรงพิมพแทน ชื่อสํานักพิมพที่มีคําวา and company, and sons, หรือ Inc., Ltd. ภาษาไทยคือ คําวา สํานักพิมพ, บริษัท, หางหุน สวน, จํากัด เปนตน ใหตัดคําเหลานี้ทิ้งไป หากหนังสือเลมนั้นเปนสิ่งพิมพรัฐบาล ใหลงชื่อหนวยราชการที่รับผิดชอบการจัดทําหนังสือ นั้น เปนผูพิมพ แมจะมีชื่อสํานักพิมพ/โรงพิมพก็ตาม เชน กองทันตสาธารณสุข กรมการแพทย กระทรวงสาธารณสุข; เปนตน หากไมปรากฏผูรับผิดชอบในการพิมพระบุอักษรยอ ม.ป.พ. (ไมปรากฏผูรับผิดชอบในการ พิมพ) สําหรับภาษาตางประเทศใหใชอกั ษร n.pb.; ยอมาจาก No Publisher
คู่มือวิทยานิพนธ์ฯ 2554
วันเสาร์ที่ 3 ธันวาคม พ.ศ. 2554
10
8) ปที่พิมพ ระบุเฉพาะหมายเลขปที่พิมพตามดวยเครื่องหมายมหัพภาค เชน 2546. หรือ 2008. หนังสือที่นํามาอางอิงไมปรากฏปที่พิมพ ใหใสอักษรยอ ม.ป.ป. ยอมาจาก ไมปรากฏปที่พิมพ สําหรับภาษาตางประเทศใหใชอักษร n.d. ยอมาจาก No date หนังสือภาษาตางประเทศทีม่ ีการจดลิขสิทธิ์ใหใชปลิขสิทธิ์แทนปที่พิมพได เชน ©1989 ใหพมิ พ 1989. เปนตน หากหนังสือเลมนัน้ จดปลิขสิทธิ์ทุกปใหใชปลิขสิทธิ์ลาสุดในการลงรายการ Copyright © 2010 2009 2008 2007 2006 2005 2004 by John Wiley & Sons, Inc. ใหพิมพป 2010. เปนตน 9) หนาที่อางถึง ถาจําเปนตองระบุใหพิมพดังนี้ หนังสือภาษาไทย ใหพมิ พคําวา “หนา” เวน 1 ระยะ ตามดวยหมายเลขหนาที่อางถึงและใชตัวเต็มสําหรับหนาแรก และหลีกเลีย่ งการใชเลขหนาซ้ํา สําหรับหนาสุดทาย ดังตัวอยาง หนา 122-9. (หมายถึง หนา 122-129) ภาษาอังกฤษใหพิมพอักษรยอ “p.” (page) เวน 1 ระยะ ตามดวยเลขหนาเชนเดียวกับคําอธิบาย ดานบน ดังตัวอยาง p. 122-9. หากขอความที่ตองการอางอิงอยูคนละบท เลขหนาไมตอเนื่อง ใหพมิ พดังตัวอยาง หนา 24, 30-5. p. 345, 351-6. กรณีที่เลขหนาเปนอักษรหรืออักษรโรมันใหพิมพตามที่ปรากฏ ดังตัวอยาง หนา ก-ค. p. iii-v. หากมีตวั อักษรปรากฏพรอมกับหมายเลขหนา ใหพิมพตามที่ปรากฏ ดังตัวอยาง p. S93-9. 10) หนังสือทีพ่ ิมพเปนชุด (ถามี) ใหระบุชอื่ ชุดในเครื่องหมายวงเล็บ หากมีชื่อตอนหลังชื่อชุด ใสเครื่องหมายอัฒภาค (;) เวน 1 ระยะ ตามดวยชื่อตอน ดังตัวอยาง (ชุดฉันรักกรุงเทพมหานคร; ตอนพระอาทิตยขึ้นที่ถนนสีลม) (Harvard cold war studies book series) หากหนังสือชุดนั้นมีเลมที่ (Volume) ใหระบุคําวา “เลมที่” หรือคํายอ “vol” เวน 1 ระยะ ตาม ดวยหมายเลข ดังตัวอยาง (หนังสือชุดบานเล็ก เลม 2) (Annals of the New York academy of sciences; vol 288)
คู่มือวิทยานิพนธ์ฯ 2554
วันเสาร์ที่ 3 ธันวาคม พ.ศ. 2554
11
ตัวอยางบรรณานุกรมหนังสือ 1. ทิพยภา เชษฐเชาวลิต. จิตวิทยาพัฒนาการสําหรับพยาบาล. กรุงเทพมหานคร: ชานเมืองการพิมพ; 2543. 2. สมหวัง พิธิยานุวฒ ั น, บรรณาธิการ. รวมบทความทางการประเมินโครงการ. พิมพครั้งที่ 6. กรุงเทพมหานคร: สํานักพิมพแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย; 2544. 3. อัมพรพรรณ ธีรานุตร, วาสนา รวยสูงเนิน, นงลักษณ เมธากาญจนศักดิ,์ ดลวิวัฒน แสนโสม, สันต ใจยอดศิลป, ดํารัส ตรีโกศล และคณะ, บรรณาธิการ. คูมือการดูแลผูปวยโรคเรื้อรังที่บาน. ขอนแกน: คณะพยาบาลศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน; 2553. 4. Zandan JW. Human development. 5th ed. New York: McGraw Hill; 1999. 5. Getzen TE. Health economics: fundamental of funds. New York: John Wiley & Sons; 1997. p. 22-5. 6. Hoppert M. Microscopic techniques in biotechnology. Weinheim: Wiley-VCH; 2003. 7. Storey KB, editor. Functional metabolism: regulation and adaptation. Hoboken, NJ: J. Wiley & Sons; 2004. 8. Advanced Life Support Group. Acute medical emergencies: the practical approach. London: BMJ Books; 2001. 454 p. 9. American Occupational Therapy Association, Ad Hoc Committee on Occupational Therapy Manpower. Occupational therapy manpower: a plan for progress. Rockville, MD: The Association; 1985 Apr. 84 p. 10. National Lawyer's Guild AIDs Network (US); National Gay Rights Advocates (US). AIDS practice manual: a legal and educational guide. 2nd ed. San Francisco: The Network; 1988. บทหนึ่งในหนังสือ หรือบทความในหนังสือ หมายเลข. ชื่อผูแตง. ชื่อบท/ชื่อบทความ. ใน: ชื่อบรรณาธิการ, บรรณาธิการ(ถามี). ชื่อหนังสือ. ครั้งที่พิมพ. สถานที่พิมพ: ชื่อสํานักพิมพ; ปที่พิมพ. หนา เลขหนา ของบทหรือบทความ. รายละเอียดใหใชหลักเกณฑเดียวกับหนังสือ และเพิ่มเติมคําวา “ใน” และเครื่องหมายทวิภาค ไมเวนวรรค ตอจากชื่อบท/ชือ่ บทความ
คู่มือวิทยานิพนธ์ฯ 2554
วันเสาร์ที่ 3 ธันวาคม พ.ศ. 2554
12
ตัวอยาง 1. สุพิศ จึงพาณิชย. Oral cavity & teeth. ใน: วิญู มิตรานันท, บรรณาธิการ. พญาธิวิทยา กายวิภาค. กรุงเทพมหานคร: โอเอสพรินติ้งเฮาส; 2538. หนา 659-78. 2. Meltzer PS, Kallioniemi A, Trent JM. Chromosome alterations in human solid tumors. In: Vogelstein B, Kinzler KW, editors. The genetic basis of human cancer. New York: McGrawHill; 2002. p. 93-113. พจนานุกรม ใชหลักเกณฑเดียวกับหนังสือ ชื่อผูแตง. ชื่อพจนานุกรม. พิมพครั้งที่. เมืองหรือสถานที่พิมพ: สํานักพิมพ; ปที่พิมพ. หนา. 1. ราชบัณฑิตยสถาน. พจนุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542. กรุงเทพมหานคร: นานมีบุคพับ ลิเคชันส; 2546. หนา 88. 2. Stedman’s medical dictionary. 26th ed. Baltimore: Williams & Wilkins; 1995. Apraxia; p. 119-20. เอกสารประกอบการประชุม (conference proceedings) กําหนดใหลงรายการบรรณานุกรม ดังนี้ หมายเลข. ชื่อบรรณาธิการ, บรรณาธิการ. ชื่อเรื่อง. ชื่อการประชุม. ครั้งที่ประชุม. วันเดือนป หรือปเดือนวัน พรอมรายละเอียดอื่นๆ (ถามี); สถานที่ประชุม: ผูรับผิดชอบในการพิมพ; ปที่พิมพ. ชื่อชุด (ถามี). รายละเอียดตางๆ ใหใชหลักเกณฑเดียวกันกับหนังสือ และใหเพิ่มเติมขอมูลเกี่ยวกับการ ประชุมสัมมนา เชน ชื่อการสัมมนา สถานที่ วัน เดือน ป ที่มกี ารสัมมนา ดังตัวอยาง 1. บุญชู กุลประดิษฐารมย, บรรณาธิการ. Laser surgey and medicine. การประชุมวิชาการและ เชิงปฏิบัติการ คณะแพทยศาสตรโรงพยาบาลรามธิบดี; วันที่ 26-28 กุมภาพันธ 2539; ณ หองประชุมชัน้ 5 ศูนยการแพทยสิริกิต; 2539. 2. Vivian VL, editor. Child abuse and neglect: a medical communication response. Proceedings of the First AMA National Conference on Child Abuse and Neglect; 1984 March 30-31; Chicago. Chicago: American Medical Association; 1985. 3. กรมประชาสงเคราะห, กองสวัสดิการสงเคราะห. รายงานการประชุมสัมมนาชมรมผูสูงอายุทั้ง ประเทศ ครั้งที่ 3 เรื่อง บทบาทของชมรมผูสูงอายุกับการดําเนินงานของสภาผูสูงอายุแหง ประเทศไทย; 23-25 มีนาคม 2531. ม.ป.ท.; ม.ป.ป. คู่มือวิทยานิพนธ์ฯ 2554
วันเสาร์ที่ 3 ธันวาคม พ.ศ. 2554
13
บทความในเอกสารสรุปผลการประชุม (conference paper) กําหนดใหลงรายการบรรณานุกรม ดังนี้ หมายเลข. ชื่อผูรายงาน. ชื่อบทความ. ใน: ชื่อบรรณาธิการ, บรรณาธิการ. ชื่อการประชุม; ครั้งที่ประชุม. วันเดือนป หรือปเดือนวัน พรอมรายละเอียดอื่นๆ (ถามี); สถานที่ ประชุม: ผูรับผิดชอบในการพิมพ; ปที่พิมพ. หนา. รายละเอียดตางๆ ใหใชหลักเกณฑเดียวกันกับหนังสือ และใหเพิ่มเติมขอมูลเกี่ยวกับการ ประชุมสัมมนาเชนเดียวกับเอกสารการประชุมหรือรายงานการประชุม รวมทั้งหนาทีป่ รากฏบทความ ดังตัวอยาง 1. พิทักษ พุทธวรชัย, กิตติ บุญเลิศนิรันดร, ทนงศักดิ์ มณีวรรณ, พองาม เดชคํารณ, นภา ขันสุภา. การใชเอทธีฟอนกระตุนการสุกของพริก. ใน: เอกสารการประชุมสัมมนาทางวิชาการ สถาบัน เทคโนโลยีราชมงคล ครั้งที่ 15 สถาบันวิจยั และพัฒนา สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล. กรุงเทพมหานคร: สถาบันวิจยั และพัฒนา สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล; 2541. หนา 142-9. 2. ประมวล วีรุตมเสน. การปฏิสนธินอกรางกาย และการยายฝากตัวออนในคน. ใน : อุกฤษต เปลงวาณิช, เสบียง ศรีวรรณบูรณ, มลินี มาลากุล, บรรณาธิการ. การประชุมใหญทางวิชาการ ฉลอง 100 ป คณะแพทยศาสตร ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล. กรุงเทพมหานคร: คณะ แพทยศาสตรศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล; 2534. หนา 5-7. 3. Christensen S, Oppacher F. An analysis of Koza's computational effort statistic for genetic programming. In: Foster JA, Lutton E, Miller J, Ryan C, Tettamanzi AG, editors. Genetic programming. EuroGP 2002: Proceedings of the 5th European Conference on Genetic Programming; 2002 Apr 3-5; Kinsdale, Ireland. Berlin: Springer; 2002. p.182-91. ขอสังเกต: ตัวอยางในขอ 15-17 และ 18-20 มีความคลายคลึงกันมาก แตตัวอยางในขอ 18-20 เปนผลสรุปของการประชุมซึ่งมีบรรณาธิการมาตรวจสอบเรียบเรียงอีกตอหนึ่ง ทําใหมีความนาเชือ่ ถือ กวาตัวอยางในขอ 15-17 รายงานการวิจยั (Research Report) กําหนดใหลงรายการบรรณานุกรมดังนี้ หมายเลข. ชื่อผูวิจัย/ชื่อหนวยงาน. ชื่อเรื่อง. สถานที่พิมพ: ผูรับผิดชอบในการพิมพ; ปที่พิมพ. ชื่อชุด (ถามี). หมายเลขลําดับรายงานการวิจัย
คู่มือวิทยานิพนธ์ฯ 2554
วันเสาร์ที่ 3 ธันวาคม พ.ศ. 2554
14
1. ศุภวัลย พลายนอย, เนาวรัตน พลายนอย. รายงานการวิจัยเรื่อง คานิยมตอการมีบุตรและความคิดเห็น ที่มีตอภาวะเจริญพันธของคนชราที่ไดรับการสงเคราะหจากรัฐ. นครปฐม: ภาควิชา ศึกษาศาสตร คณะสังคมศาสตรและมนุษยศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล; 2525. 2. World Health Organization0. Safe use of pesticides; Third report of the WHO expert committee on vector biology and control. Geneva: WHO; 1979. WHO technical report series. No. 634. 3. Khodel J, Saengtienchai C, Sittitrai W. Comparative study of the elderly in Asia views of the populace. Ann Arbor, MI: Population Studies Centre, University of Michigan; 1992. 92-20 Research report. The living arrangement of elderly in Thailand. 4. Akutsu T. Total heart replacement device. Bethesda, MD: National Institute of Health, National Heart and Lung Institute; 1974. Report No.: NIH-NHLI-69-2185-4. รายงานทางวิทยาศาสตรหรือรายงานทางเทคนิค (scientific or technical report) มี 2 รูปแบบ คือ ฉบับที่จัดพิมพโดยผูอุปถัมภ และจัดพิมพโดยหนวยงานที่จัดทํารายงาน รายละเอียดตางๆ ใหใช หลักเกณฑเดียวกันกับหนังสือ และใหเพิ่มเติมขอมูลเกี่ยวกับรายงาน เชน ฉบับของรายงาน วันเดือนป หรือปเดือนวันที่จัดทํารายงาน หมายเลขรายงาน หมายเลขเอกสารรายงาน รวมทั้งชือ่ หนวยงานที่ จัดพิมพรายงานฉบับดังกลาว ดังตัวอยาง 1) รายงานทางวิทยาศาสตรหรือรายงานทางเทคนิคที่จัดพิมพโดยเจาของทุน (Issue by funding) หมายเลข. ชื่อผูเขียน. ชื่อเรื่อง. สถานที่พิมพ: ผูรับผิดชอบในการพิมพ; ปที่พิมพ. หมายเลขรายงานทางวิทยาศาสตรหรือรายงานทางเทคนิค. 1. Yen GG. (Oklahoma State University, School of Electrical and Computer Engineering, Stillwater, OK). Health monitoring on vibration signatures. Final report. Arlington, VA: Air Force Office of Scientific Research (US), Air Force Research Laboratory; 2002 Feb. Report No.: AFRLSRBLTR020123. Contract No.: F496209810049. รายงานทางวิทยาศาสตรหรือรายงานทางเทคนิคที่จัดพิมพโดยหนวยงานที่จัดทํารายงาน (Issue by performing agency) หมายเลข. ชื่อผูเขียน/บรรณาธิการ. ชื่อเรื่อง. สถานที่พิมพ: ผูรับผิดชอบในการพิมพ; ปที่พิมพ. หมายเลขรายงานทางวิทยาศาสตรหรือรายงานทางเทคนิค. หนวยงาน ผูจัดทํารายงาน. คู่มือวิทยานิพนธ์ฯ 2554
วันเสาร์ที่ 3 ธันวาคม พ.ศ. 2554
15
1. Russell ML, Goth-Goldstein R, Apte MG, Fisk WJ. Method for measuring the size distribution of airborne Rhinovirus. Berkeley (CA): Lawrence Berkeley National Laboratory, Environmental Energy Technologies Division; 2002 Jan. Report No.: LBNL49574. Contract No.: DEAC0376SF00098. Sponsored by the Department of Energy. วิทยานิพนธ มี 2 รูปแบบคือ ฉบับตีพิมพ และฉบับที่มาจากฐานขอมูล 1) ฉบับตีพิมพ (Thesis in print: Published) รายละเอียดใหดูการลงรายการบรรณานุกรม หนังสือ แตเพิม่ เติมระดับของวิทยานิพนธที่ตอทายชื่อเรือ่ งในเครื่องหมายวงเล็บเหลี่ยม คือ ดุษฎีนพิ นธ (Dissertation) วิทยานิพนธ (Thesis) หรือสารนิพนธ ตามที่นํามาใชอางอิงในเนื้อหา สวนสถานที่พมิ พ ใหพิมพชื่อจังหวัด มลรัฐ เมืองที่ตั้งของสถาบันการศึกษา ชื่อสถาบันใหใสเฉพาะชื่อมหาวิทยาลัยเทานั้น ปที่พิมพหมายถึงปที่จบการศึกษา หมายเลข. ชื่อผูนิพนธ. ชื่อวิทยานิพนธ: ชื่อเรื่องรอง [คําระบุระดับของวิทยานิพนธ]. สถานที่พิมพ: ชื่อสถาบันการศึกษา; ปที่พิมพ. ตัวอยางบรรณานุกรมวิทยานิพนธฉบับตีพมิ พ 1. พรพิมล แกวกมล. ความรูค วามสะดวกใจและการตอบสนองของบิดามารดาเกี่ยวกับพัฒนาการทาง เพศของวัยรุน [วิทยานิพนธ]. เชียงใหม: มหาวิทยาลัยเชียงใหม; 2539. 2. Borkowski MM. Infant sleep and feeding: a telephone survey of Hispanic Americans [dissertation]. Mount Pleasant, MI: Central Michigan University; 2002. 2) ฐานขอมูลฉบับเต็ม (Thesis from a full text database) หมายเลข. ชื่อผูนิพนธ. ชื่อวิทยานิพนธ: ชื่อเรื่องรอง [คําระบุระดับวิทยานิพนธ]. สถานที่พิมพ: ชื่อสถาบันการศึกษา; ปที่พิมพ. จากแหลงที่มา: ชื่อแหลงที่มาของ ฐานขอมูลวิทยานิพนธ. 5. Gethin, A. Poor suburbs and poor health: exploring the potential of a vocational approach to reducing health disadvantage in Australian cities. [dissertation]. Sydney: University of Western Sydney; 2007. Available from: Australasian Digital Theses Program.
คู่มือวิทยานิพนธ์ฯ 2554
วันเสาร์ที่ 3 ธันวาคม พ.ศ. 2554
16
หนังสือพิมพ มีทั้งขาวและบทความ การระบุขอมูลรายละเอียดตางๆ ที่ปรากฏในหนังสือพิมพ มีดังนี้ หมายเลข. ชื่อผูแตง. พาดหัวขาว/หัวขอขาว/บทความ. ชือ่ หนังสือพิมพ ปเดือนวัน; หนา. สวนของฉบับ:หมายเลขหนา (คอลัมน หมายเลข (ถามี)). 1. พรรณี รุงรัตน. สทศ ตั้งทีมพัฒนาขอสอบระดับชาติมนั่ ใจคุณภาพ. เดลินิวส 12 พฤษภาคม 2548; หนา 1. 2. Lee G. Hospitalizations tied to ozone pollution: study estimates 50,000 admission annually. The Washington Post 21 Jun 1996; Sect. A:3(col. 5). สิทธิบัตร (Patent) กําหนดรายการบรรณานุกรมที่มาจากสิทธิบัตร ดังนี้ หมายเลข. ชื่อผูจดสิทธิบัตร. ชื่อสิ่งประดิษฐ. ประเทศที่จดสิทธิบัตร หมายเลขของ สิทธิบัตร. วันเดือนปหรือปเดือนวันที่ไดรบั การจดสิทธิบัตร. 1. สาธิต เกษมสันต. กรรมวิธีในการทําแอบโซลูตอัลกอฮอร. สิทธิบัตรไทย เลขที่ 77. 4 กุมภาพันธ 2526 2. Buchanan, RA. Extraction of rubber or rubberlike substances from fibrous plant materials. US Patent 4,136,131. 23 Jan 1979. 3. Harrod JF, Knight AR, McIntyre JS, inventors. Dow Chemical Company, assignee. Expoxidation process. US Patent 3,654,317. 4 Apr 1972. เอกสารที่ยังไมตีพิมพ/รอการตีพิมพ (In Press) ใหเขียนรายการบรรณานุกรมตามรูปแบบของ หนังสือหรือบทความวารสารแลวแตกรณี ในตอนทายใหระบุคําวา “กําลังพิมพ” หรือ “in press” (ใน ระบบ NLM ชอบใชคําวา “forthcoming” เพราะไมแนวาเอกสารนั้นๆ จะไดรับการตีพิมพทั้งหมดใน ทุกหัวขอ) ดังตัวอยาง 1. วิโรจน ไววานิชกิจ. กรณีศึกษาที่เปนปญหาในการตรวจวัดทางชีวเคมี. จุฬาลงกรณเวชสาร. กําลังพิมพ 2545. 2. Tian D, Araki H, Stahl E, Bergelson J, Kreitman M. Signature of balancing selection in Arabidopsis. Proc Natl Acad Sci U S A. In press 2002.
คู่มือวิทยานิพนธ์ฯ 2554
วันเสาร์ที่ 3 ธันวาคม พ.ศ. 2554
17
วัสดุไมตพี ิมพ (Unpublished materials) ไดแก โสตทัศนวัสดุประเภท สไลด เทปบันทึกเสียง ฟลมสตริป ภาพยนตร รายการวิทยุ รายการวิทยุโทรทัศน เทปบันทึกภาพ แฟมขอมูลและโปรแกรม คอมพิวเตอร หมายเลข. ชื่อผูผลิต, หนาที่รับผิดชอบ. ชื่อเรื่อง [ชนิดของสื่อ]. สถานที่ผลิต; หนวยงาน ที่ผลิต/เผยแพร; ปที่ผลิต. 1. ชิษณุสรร สวัสดิวัตน, พะงา วิริยะพานิช, ผูจัดทํา. Zone electrophoresis [สไลด]. กรุงเทพมหานคร: ภาควิชาชีวเคมี คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล; 2526. 2. พจน สารสิน, ผูพูด. ความอยูรอดของเศรษฐกิจไทย [บทวิทยุ]. กรุงเทพมหานคร: สถานีวิทยุ กระจายเสียงแหงประเทศไทย; 13 เมษายน 2520. 3. มาลัย วรจิตร, ผูจัดทํา. การแบงแบคทีเรียตามการยอมแกรม [เทปบันทึกภาพ]. กรุงเทพมหานคร: คณะแพทยศาสตร โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล; 2536. 4. สุนันทา วิบลู ยจันทร, ผูจัดทํา. กรดและเบสอินทรีย = Organic acid and organic base [เทปบันทึกภาพ]. กรุงเทพมหานคร: ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล; 2529. 5. Lynn, SS, producer, Getchell F, writer. AIDS epidemic: the physician’s role [video recording]. Cleveland, OH: Academy of Medicine of Cleveland; 1987. 6. Alan WB, compiler. Using the oscilloscope [slide]. London: The Slide Centre; 1984. 7. Hemodynamics III: the ups and downs of hemodynamics [computer program]. Version 2.2 Orlando, FL: Computerized Educational System; 1993. สื่ออิเล็กทรอนิกส การเขียนบรรณานุกรมจากเว็บไซตบางครั้งจะมีปญหาเรื่องความไมถาวรของ URL หรือการเปลี่ยนแปลงเนื้อหาบางสวน ทําใหการเชือ่ มโยงไปสูเอกสารเพื่อตรวจสอบหรือคนควา เพิ่มเติมในภายหลังทําไดยากหรือทําไมไดเลย ดังนัน้ เพือ่ แกปญหาดังกลาว จึงตองลงวันเดือนปที่เขาใช เว็บไซตนนั้ ๆ และใหพิมพหรือทําสําเนาเอกสารเก็บไวทกุ ครั้ง การเขียนบรรณานุกรมสื่ออิเล็กทรอนิกสมีการระบุขอมูลรายละเอียดตางๆ โดยใหขอมูลที่ สําคัญเชนเดียวกับวารสารและหนังสือ กลาวคือนอกจากตองระบุชื่อผูแตง ชื่อเรื่อง ปที่พิมพ สถานที่ พิมพแลว ตองมีขอมูลเว็บไซต หรือชื่อวารสาร ชื่อหนังสืออิเล็กทรอนิกส หรือชื่อฐานขอมูลที่สืบคนมา ได รวมทั้งวันเดือนปที่ทําการสืบคน ทั้งนี้เพราะแหลงขอมูลเหลานี้อาจมีการเปลี่ยนแปลงหรือปรับปรุง ในระยะเวลาหนึ่ง
คู่มือวิทยานิพนธ์ฯ 2554
วันเสาร์ที่ 3 ธันวาคม พ.ศ. 2554
18
บทความวารสารบนอินเทอรเน็ต หมายเลข. ชื่อผูแตง. ชื่อบทความ. ชื่อยอวารสารอิเล็กทรอนิกส [สิ่งพิมพออนไลน]. เดือนป(ถามี) [เขาถึง วันเดือนป];เลมที่(ฉบับที่): สืบคนจาก: URL คําอธิบาย: หมายเลขลําดับบรรณานุกรม ตามดวยเครื่องหมายมหัพภาค เวน 1 ระยะ ชื่อผูแตง ตามดวยเครื่องหมายมหัพภาค เวน 1 ระยะ ชื่อบทความ ตามดวยเครื่องหมายมหัพภาค เวน 1 ระยะ ชื่อยอวารสารอิเล็กทรอนิกส เวน 1 ระยะ แลวพิมพคําวา “สิ่งพิมพออนไลน” หรือ “serial online” สําหรับภาษาตางประเทศ ในเครื่องหมายวงเล็บเหลี่ยม [ ] เดือนปของวารสาร(ถามี) ตามดวยวันเดือนปที่ทําการสืบคนโดยพิมพไวในเครื่องหมายวงเล็บ เหลี่ยม ตอดวยเครื่องหมายอัฒภาคโดยไมเวนวรรค หมายเลขเลมที่และหมายเลขฉบับที่ในเครื่องหมายวงเล็บ ตามดวยเครื่องหมายทวิภาคไมเวน วรรค ปดทายดวยแหลงที่สืบคน ดวยการระบุคาํ วา “สืบคนจาก” หรือ “Available from” ตามดวย เครื่องหมายทวิภาคโดยไมวรรค แลวเวน 1 ระยะ แลวพิมพ URL ที่ทําการเผยแพรเอกสาร 1. Abood S. Quality improvement initiative in nursing homes: the ANA acts in an advisory role. Am J Nurs [serial online]. Jun 2002 [cited 2002 Aug 12];102(6): Available from: http://www.nursingworld.org/AJN/ 2002/june/Wawatch.htm บทความบนอินเทอรเน็ต เปนบทความที่โฮมเพจ/เว็บไซตนั้นจัดทําขึน้ เพื่อเผยแพรบน อินเทอรเน็ต หมายเลข. ชื่อผูแตง. ชื่อบทความ [บทความออนไลน]. [ระบุวันเดือนปที่มีการสง บทความ/การสราง/การปรับปรุงบนอินเทอรเน็ต; วัน เดือน ปที่ทําการสืบคน]; สืบคนจาก: URL คําอธิบาย: หมายเลขลําดับบรรณานุกรม ตามดวยเครื่องหมายมหัพภาค เวน 1 ระยะ ชื่อผูแตง ตามดวยเครื่องหมายมหัพภาค เวน 1 ระยะ คู่มือวิทยานิพนธ์ฯ 2554
วันเสาร์ที่ 3 ธันวาคม พ.ศ. 2554
19
ชื่อบทความ เวน 1 ระยะ แลวพิมพคําวา “บทความออนไลน” หรือ “article online” สําหรับ ภาษาตางประเทศ ในเครื่องหมายวงเล็บเหลี่ยม [ ] ตามดวยเครื่องหมายมหัพภาค เวน 1 ระยะ ระบุวันเดือนปที่มีการสงบทความ/การสราง/การปรับปรุงบนอินเทอรเน็ต ตามดวยเครื่องหมาย อัฒภาค เวน 1 ระยะ วันเดือนปที่ทําการเขาถึง กอนระบุวนั เดือนปใหพมิ พคําวา “เขาถึง” หรือ “Cited” ในเครื่องหมายวงเล็บเหลี่ยมตามดวยเครื่องหมายมหัพภาค วันเดือนปทที่ ําการสืบคนพิมพไวใน เครื่องหมายวงเล็บเหลี่ยม ตอดวยเครื่องหมายอัฒภาคโดยไมเวนวรรค ปดทายดวยแหลงที่สืบคน ดวยการพิมพคําวา “สืบคนจาก” หรือ “Available from” ตามดวย เครื่องหมายทวิภาคโดยไมวรรค แลวเวน 1 ระยะ แลวพิมพ URL ที่ทําการเผยแพรเอกสาร ตัวอยาง 1. กรมเจรจาการคาระหวางประเทศ. ผลกระทบจากการทํา FTA [บทความออนไลน]. [9 มิ.ย. 2552: เขาถึง 21 มีนาคม 2553]; สืบคนจาก: http://www.thaifta.com/thaifta/Home/%E0%B8%9A% E0%B8%97%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%95%E0% B8%B2%E0%B8%87/tabid/62/ctl/Details/mid/433/ItemID/5186/Default.aspx หนังสือ (Monograph) บนอินเทอรเน็ต ใหระบุรายละเอียดเชนเดียวกับหนังสือฉบับที่ตีพิมพ แตใหเพิ่มเติม “หนังสือบนอินเทอรเน็ต” หรือ “monograph on the Internet” หลังชื่อเรื่องในเครื่องหมาย วงเล็บเหลี่ยมตามดวยเครื่องหมายมหัพภาค หลังปที่พิมพใหระบุวันเดือนปที่ทําการเขาถึงโฮมเพจ/ เว็บไซต กอนพิมพวนั เดือนปใหพิมพคําวา “เขาถึง” หรือ “Cited” ตามดวยวันที่สืบคนในเครื่องหมาย วงเล็บเหลี่ยมและตามดวยเครื่องหมายมหัพภาค ปดทายดวยแหลงทีส่ ืบคน ดวยการระบุคําวา “สืบคน จาก” หรือ “Available from” ตามดวยเครื่องหมายทวิภาคโดยไมวรรค แลวเวน 1 ระยะ แลวพิมพ URL ที่ทําการเผยแพรเอกสาร ดังตัวอยาง 1. Foley KM, Gelband H, editors. Improving palliative care for cancer [monograph on the Internet]. Washington: National Academy Press; 2001 [cited 2002 Jul 9]. Available from: http://www.nap.edu/books/0309074029/html หนังสือพิมพ หมายเลข. ชื่อผูแตง. “พาดหัวขาว/หัวขอขาว/บทความ” ชื่อหนังสือพิมพ [อินเทอรเน็ต]. วันเดือนปของหนังสือพิมพ [เขาถึง วันเดือนป]; ชื่อคอลัมน/ชื่อสวนของ หนังสือพิมพ: สืบคนจาก: URL
คู่มือวิทยานิพนธ์ฯ 2554
วันเสาร์ที่ 3 ธันวาคม พ.ศ. 2554
20
3. Drivers told: “Don’t use Clem7 tunnel”. The Courier Mail [Internet]. 16 Mar 2010 [cited 16 Mar 2010]; Available from: http://www.couriermail.com.au/news/car-with-flat-tyre-thefirst-to-cause-problems-in-clem7-tunnel/story-e6freon6-1225841179464 4. Sack K. With Medicaid cuts, doctors and patients drop out. The New York Times [Internet]. 16 Mar 2010 [cited 16 Mar 2010]; Health:A1. Available from: http://www.nytimes. com/2010/03/16/health/policy/16medicaid.html?ref=health โฮมเพจ/เว็บไซต ระบุชื่อโฮมเพจ/เว็บไซตเวน 1 ระยะ ตามดวยคําวา “โฮมเพจ/เว็บไซตบนอินเทอรเน็ต” หรือ “homepage on the Internet” ในเครื่องหมายวงเล็บเหลี่ยมตามดวยเครื่องหมายมหัพภาค หลังปที่พิมพใหระบุวนั เดือนปที่มี “การปรับปรุง” โฮมเพจ/เว็บไซต ตามดวยเครื่องหมาย อัฒภาค เวน 1 ระยะ ตามดวยวันเดือนปที่ทาํ การเขาถึง กอนระบุวนั เดือนปใหพมิ พคําวา “เขาถึง” หรือ “Cited” ในเครื่องหมายวงเล็บเหลี่ยมตามดวยเครื่องหมายมหัพภาค ปดทายดวยแหลงที่สืบคน ดวยการระบุคาํ วา “สืบคนจาก” หรือ “Available from” ตามดวย เครื่องหมายทวิภาคโดยไมวรรค แลวเวน 1 ระยะ แลวพิมพ URL ที่ทําการเผยแพรเอกสาร ดังตัวอยาง 5. Cancer-Pain.org [homepage on the Internet]. New York: Association of Cancer Online Resources; c2000-01 [updated 16 May 2002; cited 9 Jul 2002]; Available from: http://www.cancer-pain. org 6. American Medical Association [homepage on the Internet]. Chicago: The Association; c1995-2002 [updated 2001 Aug 23; cited 12 Aug 2002]; AMA Office of Group Practice Liaison; Available from: http://www.ama-assn.org/ama/pub/category/ 1736.html
คู่มือวิทยานิพนธ์ฯ 2554
วันเสาร์ที่ 3 ธันวาคม พ.ศ. 2554
21
ฐานขอมูลบนอินเทอรเน็ต หมายเลข. ชื่อผูแตง. ชื่อเรื่อง [ฐานขอมูลอินเทอรเน็ต]. สถานที่ผลิต: ผูรับผิดชอบในการ ผลิต. ปที่ผลิต [เขาถึง วันเดือนป]; สืบคนจาก: URL 1. Who's Certified [database on the Internet]. Evanston, IL: The American Board of Medical Specialists. c2000 [cited 8 Mar 2001]; Available from: http://www.abms.org/newsearch.asp 2. Jablonski S. Online Multiple Congential Anomaly/Mental Retardation (MCA/MR) Syndromes [database on the Internet]. Bethesda, MD: National Library of Medicine, US; c1999 [updated 20 Nov 2001; cited 12 Aug 2002]; Available from: http://www.nlm.nih.gov/ mesh/jablonski/syndrome_title.html สวนหนึ่งของฐานขอมูลบนอินเทอรเน็ต (Part of a database on the Internet) หมายเลข. ชื่อผูแตง. ชื่อเรื่อง [ฐานขอมูลอินเทอรเน็ต]. สถานที่ผลิต: ผูรับผิดชอบในการ ผลิต. ปที่ผลิต [เขาถึง วันเดือนป]; สืบคนจาก: URL ชื่อหนวยงานที่ผลิต ฐานขอมูลพรอมหมายเลขเอกสารอิเล็กทรอนิกส. 3. MeSH Browser [database on the Internet]. Bethesda, MD: National Library of Medicine (US); 2002 [cited 24 Jul 2008]; Available from: http://www.nlm.nih.gov/cgi/mesh/2008/ MB_cgi?mode=&index=16408&view=concept MeSH Unique ID: D017418. ซีดี-รอม (CD-ROM) หมายเลข. ชื่อผูแตง. ชื่อเรื่อง [ซีดี-รอม]. สถานที่ผลิต: ผูรับผิดชอบในการผลิต. ปที่ผลิต. 1. Anderson SC, Poulsen KB. Anderson's electronic atlas of hematology [CD-ROM]. Philadelphia: Lippincott Williams & Wilkins; 2002. 2. การสื่อสารแหงประเทศไทย. สื่อโลกถึงไทย สื่อใจถึงคุณ. [ซีดี-รอม]. กรุงเทพมหานคร: การสื่อสารแหงประเทศ; 2539.
คู่มือวิทยานิพนธ์ฯ 2554
วันเสาร์ที่ 3 ธันวาคม พ.ศ. 2554
บทที่ 8 จรรยาบรรณนักวิจัย1 8.1 ความเปนมา ปจ จุบัน นี้ผลการวิจัยมีค วามสําคัญตอการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมเปนอยางยิ่ง หาก งานวิจัย ที่ปรากฏสูสาธารณชน มีความเที่ยงตรง นําเสนอสิ่งที่เปนความจริงสะทอนใหเห็นสภาพ ปญหาที่เกิดขึ้น อยางแทจริง ก็จะนําไปสูการแกไขปญหาไดตรงจุดและมีประสิทธิภาพ การที่จะใหไดมาซึ่งงานวิจัยที่ดี มีคุณภาพ จําเปนตองมีสวนประกอบสําคัญหลายประการ นอกจากการดําเนินตามระเบียบวิธีการวิจัยอยางมีคุณภาพแลว คุณธรรม หรือ จรรยาบรรณของ นักวิจัยเปนปจจัยสําคัญยิ่งประการหนึ่งที่สําคัญยิ่ง คณะกรรมการสภาวิ จั ย แห ง ชาติ สาขาสั ง คมวิ ท ยา มี ต ระหนั ก ถึ ง ความสํ า คั ญ ของ จรรยาบรรณ นักวิจัยดังกลาว จึงไดริเริ่มดําเนินการยกรางจรรยาบรรณนักวิ จัยเพื่อเปนมาตรฐาน เดียวกันทั้งประเทศ เพื่อใหนักวิจัย นักวิชาการ ในสาขาวิชาการตางๆ สามารถนําไปปฏิบัติได โดย ผานกระบวนการขอรับความคิดเห็นจากนักวิจัย ผูทรงคุณวุฒิในสาขาวิชาตางๆ และไดปรับปรุงให เหมาะสม รัดกุม ชัดเจน จนกระทั่งไดรับความเห็นชอบจากคณะกรรมการบริหารสภาวิจัยแหงชาติ ประกาศใหเปนหลักเกณฑควรประพฤติของนักวิจัยทั่วไป 8.2 วัตถุประสงค เพื่อเปนแนวทางในการประพฤติปฏิบัติของนักวิจัยทั่วไป โดยมีลักษณะเปนขอพึงสังวรณ มากกวาจะเปนขอบังคับ อันจะนําไปสูการเสริมสรางจรรยาบรรณในหมูนักวิจัยตอไป
1
คัดลอกจาก คณะกรรมการสภาวิจัยแหงชาติ. (2554) “จริยธรรมของนักวิจัย” http://www.nrct.go.th/downloads/d20100604113504.pdf. [ออนไลน]
70
8.3 นิยาม นักวิจัย หมายถึง ผูที่ดําเนินการคนควาหาความรูอยางเปนระบบ เพื่อตอบประเด็นที่สงสัย โดย มีระเบียบวิธีอันเปนที่ยอมรับในแตละศาสตรที่เกี่ยวของ ซึ่งครอบคลุมทั้งแนวคิด มโนทัศน และวิธีการที่ใช ในการรวบรวมและวิเคราะหขอมูล จรรยาบรรณ หมายถึง หลักความประพฤติอันเหมาะสมแสดงถึงคุณธรรมและจริยธรรมใน การประกอบอาชีพ ที่กลุมบุคคลแตละสาขาชีพประมวลขึ้นไวเปนหลัก เพื่อใหสมาชิกในสาขา วิชาชีพนั้นๆ ยึดถือปฏิบัติ เพื่อรักษาชื่อเสียงและสงเสริมเกียรติคุณของสาขาวิชาชีพของตน จรรยาบรรณนักวิจัย หมายถึง หลักเกณฑควรประพฤติปฏิบัติของนักวิจัยทั่วไป เพื่อใหการ ดําเนิน งานวิจัยตั้งอยูบนพื้น ฐานของจริยธรรมและหลัก วิชาการที่เหมาะสม ตลอดจนประกัน มาตรฐาน ของการศึกษาคนควาใหเปนไปอยางสมศักดิศ์ รีและเกียรติภูมิของนักวิจัย . 8.4 จรรยาบรรณนักวิจัยและ แนวทางปฏิบัติ ขอ 1 นักวิจัยตองซื่อสัตยและมีคณ ุ ธรรมในทางวิชาการและการจัดการ นักวิจัยตองมีความซื่อสัตยตอตนเองไมนําผลงานของผูอื่นมาเปนของตนไมลอกเลียนงาน ของผูอื่น ตองใหเกียรติและอางถึงบุคคลหรือแหลงที่มาของขอมูลที่นํามาใชในงานวิจัย ตองซื่อตรง ตอการแสวงหาทุน วิจัยและมีความเปนธรรมเกี่ยวกับผลประโยชนที่ไดจากการวิจัย แนวทางปฏิบัติ 1.1 นักวิจัยตองมีความซื่อสัตยตอตนเองและผูอื่น 1.1.1 นักวิจัยตองมีความซื่อสัตยในทุกขั้นตอนของกระบวนการวิจัย ตั้งแตการ เลือกเรื่องที่จะทําวิจัย การ เลือกผูเขารวมทําวิจัย การดําเนินการวิจัย ตลอดจนการนําผลงานวิจัยไป ใชประโยชน 1.1.2 นักวิจัยตองใหเกียรติผูอื่น โดยการอางถึงบุคคลหรือแหลงที่มาของขอมูล และความคิดเห็นที่นํามาใชในงานวิจัย 1.2 นักวิจัยตองซื่อตรงตอการแสวงหาทุนวิจัย 1.2.1 นักวิจัยตองเสนอขอมูลและแนวคิดอยางเปดเผยและตรงไปตรงมาในการ เสนอโครงการวิจัยเพื่อขอรับทุน 1.2.2 นักวิจัยตองเสนอโครงการวิจัยดวยความซื่อสัตยโดยไมขอทุนซ้ําซอน 1.3 นักวิจัยตองมีความเปนธรรมเกี่ยวกับผลประโยชนที่ไดจากการวิจัย
71
1.3.1 นักวิจัยตองจัดสรรสัดสวนของผลงานวิจัยแกผูรวมวิจัยอยางยุติธรรม 1.3.2 นักวิจัยตองเสนอผลงานอยางตรงไปตรงมาโดยไมนําผลงานของผูอื่นมาอาง วาเปนของตน ขอ 2 นักวิจัยตองตระหนักถึงพันธกรณีในการทําวิจยั ตามขอตกลงที่ทําไวกับหนวยงานที่ สนับสนุนการวิจัยและตอหนวยงานที่ตน สังกัด นักวิจัยตองปฏิบัติตามพันธกรณีและขอตกลงการวิจัยที่ผูเกี่ยวของทุกฝายยอมรับรวมกัน อุทิศ เวลาทํางานวิจัยใหไดผลดีที่สุดและเปนไปตามกําหนดเวลา มีความรับผิดชอบไมละทิ้งงาน ระหวางดําเนินการ แนวทางปฏิบัติ 2.1 นักวิจัยตองตระหนักถึงพันธกรณีในการทําวิจัย 2.1.1 นักวิจัยตองศึกษาเงื่อนไข และกฎเกณฑของเจาของทุนอยางละเอียด รอบคอบ เพื่อปองกัน ความขัดแยงที่จะเกิดขึ้นในภายหลัง 2.1.2 นักวิจัยตองปฏิบัติตามเงื่อนไข ระเบียบและกฎเกณฑ ตามขอตกลงอยาง ครบถวน 2.2 นักวิจัยตองอุทิศเวลาทํางานวิจัย 2.2.1 นักวิจัยตองทุมเทความรูค วามสามารถและเวลาใหกับการทํางานวิจัย เพื่อให ไดมาซึ่ง ผลงานวิจัยที่มีคุณภาพและเปนประโยชน 2.3 นักวิจัยตองมีความรับผิดชอบในการทําวิจัย 2.3.1 นักวิจัยตองมีความรับผิดชอบ ไมละทิ้งงานโดยไมมีเหตุผลอันควร และสง งานตามกําหนดเวลา ไมทําผิดสัญญาขอตกลงจนกอใหเกิดความเสียหาย 2.3.2 นักวิจัยตองมีความรับผิดชอบในการจัดทํารายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ เพื่อ ใหผลอันเกิดจาก การวิจัยไดถูกนําไปใชประโยชนตอไป ขอ 3 นักวิจัยตองมีพื้นฐานความรูในสาขาวิชาการที่ทําวิจัย นัก วิจัยตองมีพื้น ฐานความรูใ นสาขาวิชาการที่ทําวิจัยอยางเพียงพอและมีค วามรูค วาม ชํานาญหรือ มีประสบการณ เกี่ยวเนื่องกับเรื่องที่ทําวิจัย เพื่อนําไปสูงานวิจัยที่มีคุณภาพ และเพื่อ ปองกันปญหาการ วิเคราะห การตีความ หรือการสรุปที่ผิดพลาด อันอาจกอใหเกิดความเสียหายตอ งานวิจัย
72
แนวทางปฏิบัติ 3.1 นักวิจัยตองมีพื้นฐานความรูค วามชํานาญหรือประสบการณเกี่ยวกับเรื่องที่ทําวิจัยอยาง เพียงพอเพื่อ นําไปสูงานวิจัยที่มีคุณภาพ 3.2 นักวิจัยตองรักษามาตรฐานและคุณภาพของงานวิจัยในสาขาวิชาการนั้น ๆ เพื่อปองกัน ความเสียหายตอ วงการวิชาการ ขอ 4 นักวิจัยตองมีความรับผิดชอบตอสิ่งที่ศึกษาวิจัย ไมวาเปนสิ่งที่มีชีวิตหรือไมมีชีวิต นักวิจัยตองดําเนินการดวยความรอบคอบระมัดระวัง และเที่ยงตรงในการทําวิจัยที่เกี่ยวของ กับคน สัตว พืช ศิลปวัฒนธรรม ทรัพยากร และสิ่งแวดลอม มีจิตสํานึกและปณิธานที่จะอนุรักษ ศิลปวัฒนธรรม ทรัพยากรและสิ่งแวดลอม แนวทางปฏิบัติ 4.1 การใชคนหรือสัตวเปนตัวอยางทดลอง ตองทําในกรณีที่ไมมีทางเลือกอื่นเทานั้น 4.2 นักวิจัยตองดําเนิน การวิจัยโดยมีจิตสํานึกที่จะไมกอความเสี ยหายตอคน สัต ว พืช ศิลปวัฒนธรรม ทรัพยากร และสิ่งแวดลอม 4.3 นักวิจัยตองมีความรับผิดชอบตอผลที่จะเกิดแกตนเอง กลุมตัวอยางที่ใชในการศึกษา และสังคม ขอ 5 นักวิจัยตองเคารพศักดิศ์ รี และสิทธิของมนุษยที่ใชเปนตัวอยางในการวิจัย นักวิจัยตองไมคํานึงถึงผลประโยชนทางวิชาการจนละเลย และขาดความเคารพในศักดิ์ศรี ของเพื่อน มนุษยตองถือเปนภาระหนาที่ที่จะอธิบายจุดมุงหมายของการวิจัยแกบุคคลที่เปนกลุม ตัวอยาง โดยไมหลอกลวงหรือบีบบังคับ และไมละเมิดสิทธิสวนบุคคล แนวทางปฏิบัติ 5.1 นักวิจัยตองมีความเคารพในสิทธิ ของมนุษยที่ใชในการทดลองโดยตองไดรับความ ยินยอมกอนทําการวิจัย 5.2 นักวิจัยตองปฏิบัติตอมนุษยและสัตวที่ใชในการทดลองดวยความเมตตา ไมคํานึงถึงแต ผลประโยชนทางวิชาการจนเกิดความเสียหายที่อาจกอใหเกิดความขัดแยง 5.3 นักวิจัยตองดูแลปกปองสิทธิประโยชนและรักษาความลับของกลุมตัวอยางที่ใชในการ ทดลอง
73
ขอ 6 นักวิจัยตองมีอิสระทางความคิด โดยปราศจากอคติในทุกขั้นตอนของการทําวิจัย นักวิจัยตองมีอิสระทางความคิด ตองตระหนัก วา อคติสว นตน หรือ ความลําเอียงทาง วิชาการ อาจสงผลใหมีการบิดเบือนขอมูลและขอคนพบทางวิชาการ อันเปนเหตุใหเกิดผลเสียหาย ตองานวิจัย แนวทางปฏิบัติ 6.1 นักวิจัยตองมีอิสระทางความคิด ไมทํางานวิจัยดวยความเกรงใจ 6.2 นักวิจัยตองปฏิบัติงานวิจัยโดยใชหลักวิชาการเปนเกณฑและไมมีอคติมาเกี่ยวของ 6.3 นักวิจัยตองเสนอผลงานวิจัยตามความเปนจริง ไมจงใจเบี่ยงเบนผลการวิจัย โดยหวัง ผลประโยชนสวนตน หรือ ตองการสรางความเสียหายแกผูอื่น ขอ 7 นักวิจัยพึงนําผลงานวิจัยไปใชประโยชนในทางที่ชอบ นักวิจัยพึงเผยแพรผลงานวิจัยเพื่อประโยชนทางวิชาการและสังคมไมขยายผลขอคนพบจน เกิดความ เปนจริง และไมใชผลงานวิจัยไปในทางมิชอบ แนวทางปฏิบัติ 7.1 นักวิจัยพึงมีความรับผิดชอบและรอบคอบในการเผยแพรผลงานวิจัย 7.2 นักวิจัยพึงเผยแพรผลงานวิจัยโดยคํานึงถึงประโยชนทางวิชาการ และสังคม ไมเผยแพร ผลงานวิจัยเกิน ความเปนจริงโดยเห็นแกประโยชนสวนตนเปนที่ตั้ง 7.3 นักวิจัยพึงเสนอผลงานวิจัยตามความเปนจริงไมขยายผลขอคนพบโดยปราศจากการ ตรวจสอบ ยืนยัน ในทางวิชาการ ขอ 8 นักวิจัยพึงเคารพความคิดเห็นทางวิชาการของผูอ ื่น นักวิจัยพึงมีใจกวาง พรอมที่จะเปดเผยขอมูลและขั้นตอนการวิจัยยอมรับฟงความคิดเห็น และเหตุผลทางวิชาการของผูอื่น และพรอมที่จะปรับปรุงแกไขงานวิจัยของตนใหถูกตอง แนวทางปฏิบัติ 8.1 นักวิจัยพึงมีมนุษยสัมพันธที่ดี ยินดีแลกเปลี่ยนความคิดเห็น และสรางความเขาใจใน งานวิจัยกับเพื่อน รวมงานและนักวิชาการอื่นๆ 8.2 นักวิจัยพึงยอมรับฟง แกไขการทําวิจัยและการเสนอผลงานวิจัยตามขอแนะนําที่ดี เพื่อ สรางความรูที่ ถูกตองและสามารถนําผลงานวิจัยไปใชประโยชนได
74
ขอ 9 นักวิจัยพึงมีความรับผิดชอบตอสังคมทุกระดับ นักวิจัยมีจิตสํานึกที่จะอุทิศกําลังสติปญญาในการทําวิจัย เพื่อความกาวหนาทางวิชาการ เพื่อความ เจริญและประโยชนสุขของสังคมและมวลมนุษยชาติ แนวทางปฏิบัติ 9.1 นักวิจัยพึงไตรตรองหาหัวขอการวิจัยดวยความรอบคอบและทําการวิจัยดวยจิตสํานึกที่ จะอุทิศกําลัง ปญญาของตนเพื่อความกาวหนาทางวิชาการ เพื่อความเจริญของสถาบันและ ประโยชนสุขตอสังคม 9.2 นักวิจัยพึงรับผิดชอบในการสรางสรรคผลงานวิชาการเพือ่ ความเจริญของสังคม ไมทํา การวิจัยที่ขัดกับ กฎหมาย ความสงบเรียบรอยและศีลธรรมอันดีของประชาชน 9.3 นักวิจัยพึงพัฒนาบทบาทของตนใหเกิดประโยชนยิ่งขึ้นและอุทิศเวลา น้ําใจ กระทําการ สงเสริมพัฒนาความรูจิตใจ พฤติกรรมของนักวิจัยรุนใหมใหมีสวนสรางสรรคความรูแกสงั คม สืบไป
ภาคผนวกที่ 1 ตัวอยางวิทยานิพนธ
การศึกษาปจจัยทํานายการเกิดภาวะแทรกซอนของผูเปนเบาหวานในชุมชน ภายใตทฤษฎีการพยาบาลของคิง A STUDY OF PREDICTABLE FACTORS OF DIABETES MELLITUS COMPLICATION IN THE COMMUNITY UNDER KING’ S NURSING THEORY
โดย นางสาวจิราพร เดชมา
วิทยานิพนธนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ พ.ศ. 2553
วิทยานิพนธ
ชื่อนักศึกษา รหัสประจําตัว สาขาวิชา ปการศึกษา
การศึกษาปจจัยทํานายการเกิดภาวะแทรกซอนของผูเปนเบาหวาน ในชุมชนภายใตทฤษฎีการพยาบาลของคิง A Study of Predictable Factors of Diabetes Mellitus Complication in the Community Under King’s Nursing Theory นางสาวจิราพร เดชมา 494029 การพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน 2553
บัณ ฑิต วิทยาลัย มหาวิทยาลัยหั ว เฉี ยวเฉลิมพระเกี ยรติ และสํานั ก งานคณะกรรมการ การอุดมศึก ษา ไดตรวจสอบและอนุมัติใ หวิทยานิพนธฉ บับนี้ เปน สว นหนึ่งของการศึกษาตาม หลักสูตรพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต เมื่อวันที่ 28 เมษายน พ.ศ. 2553 __________________________________คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย
(ผูช วยศาสตราจารยพรรณราย แสงวิเชียร) คณะกรรมการสอบวิทยานิพนธ ________________________ประธานกรรมการ (ผูชวยศาสตราจารย ดร.หทัยชนก บัวเจริญ) ___________________________________กรรมการและอาจารยที่ปรึกษาหลัก
(ผูชวยศาสตราจารย ดร.วนิดา ดุรงคฤทธิชัย) ________________________กรรมการและอาจารยที่ปรึกษารวม (อาจารย ดร.วิชุดา กิจธรธรรม) ________________________กรรมการผูทรงคุณวุฒิ (นายแพทยเจษฎา พันธวาศิษฎ)
จากสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา
(1) วิทยานิพนธ
ชื่อนักศึกษา รหัสประจําตัว สาขาวิชา ปการศึกษา
การศึกษาปจจัยทํานายการเกิดภาวะแทรกซอนของผูเปนเบาหวานในชุมชน ภายใตทฤษฎีการพยาบาลของคิง A Study of Predictable Factors of Diabetes Mellitus Complication in the Community Under King’s Nursing Theory นางสาวจิราพร เดชมา 494029 การพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน 2553 บทคัดยอ
การวิจัย เชิงสํารวจครั้งนี้ มีวัต ถุประสงคเพื่อศึก ษาปจ จัยทํานายภาวะแทรกซอนผูเปน เบาหวานชนิดที่ 2 ในชุมชนภายใตทฤษฎีการพยาบาลของคิง กลุมตัวอยาง คือ ผูเปนเบาหวานชนิด ที่ 2 ที่มีภาวะแทรกซอนและมีอายุ 35 ปขึ้นไปในอําเภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม จํานวน 300 คน เครื่องมือที่ใชเปนแบบสัมภาษณ ที่สรางตามแนวคิดระบบบุคคล ระบบระหวางบุคคลและระบบ สังคมของคิง วิเคราะหขอมูลดวยคาเฉลี่ย สวนเบี่ยงเบนมาตรฐานและการวิเคราะหถดถอยแบบ ขั้นตอน ผลการวิจัย พบวา กลุมตัวอยางสว นมากเปน เพศหญิง อายุร ะหวาง 56 – 65 ป สําเร็จ การศึกษาระดับประถมศึกษา ไมไดประกอบอาชีพ รายไดของครอบครัวเฉลี่ยตอเดือน 5,001 – 10,000 บาท จํานวนสมาชิกในครอบครัว 3 – 5 คน ปวยดวยโรคเบาหวานมานาน 1 – 5 ป มีการรับรู บทบาทของครอบครัว บทบาทของชุมชนและบทบาทของพยาบาลในการจัด การโรคเบาหวาน มากที่สุด รองลงมา คือ การรับรูตอโรคและความรุน แรงของโรค และความเครียดการจัด การ ความเครียดนอยที่สุด ภาวะแทรกซอนที่ศึกษามีทั้งหมด 4 ปจจัย คือ น้ําตาลในเลือดสูง ภาวะแทรกซอนทางตา ทางไต ทางระบบประสาทและการเกิดแผลที่เทา ผลปรากฏวาปจจัยที่สามารถทํานายการเกิดภาวะ
(2) น้ําตาลในเลือดสูง คือ ความสามารถในการควบคุมโรคของตนเอง โดยอธิบายการเปลี่ยนแปลงของ น้ําตาลในเลือดไดรอยละ 3.0 ปจจัยที่สามารถทํานายภาวะแทรกซอนทางตา คือ ระยะเวลาที่เปน โรค โดยอธิบายการเกิด ภาวะแทรกซอนทางตาไดรอยละ 1.5 ปจ จัยที่สามารถทํานายการเกิด ภาวะแทรกซอนทางไต คือ ฐานะทางเศรษฐกิจและระยะเวลาที่เปนโรคเบาหวาน โดยฐานะทาง เศรษฐกิจ อธิบายการเกิดภาวะแทรกซอนทางไตไดรอยละ 9.8 และระยะเวลาที่เปนโรคเบาหวาน อธิบายการเกิด ภาวะแทรกซอนทางไตไดรอยละ 11.9 ป จ จัยที่สามารถทํา นายการเกิด ภาวะ แทรกซอนทางระบบประสาทและการเกิด แผลที่ เทา คือ อายุ การรับ รูตอบทบาทของคนใน ครอบครัว ในการจัด การเบาหวานใหผูเปน เบาหวานและความเครียด โดยอายุ อธิบ ายการเกิ ด ภาวะแทรกซอนทางระบบประสาทและการเกิดแผลที่เทาไดรอยละ 2.6 การรับรูตอบทบาทของคน ในครอบครัว อธิบายการเกิดภาวะแทรกซอนทางระบบประสาท และการเกิดแผลที่เทาไดรอยละ 4.2 สวนความเครียด อธิบายการเกิดภาวะแทรกซอนทางระบบประสาทและการเกิดแผลที่เทาได รอยละ 5.5 ขอเสนอแนะจากการศึกษา พยาบาลเวชปฏิบัติชุมชนและบุคลากรสุขภาพ ควรนําปจจัยที่มี อิทธิพลตอการเกิดภาวะแทรกซอนจากโรคเบาหวานมาออกแบบระบบการใหบริก ารสุขภาพแก กลุมเสี่ยงและกลุมผูเปนเบาหวานที่อาจเกิดภาวะแทรกซอน โดยเนนการมีสวนรวมของครอบครัว ผูนําชุมชน บุคลากรสุขภาพ รวมถึงอาสาสมัครสาธารณสุข ออกแบบการเยี่ยมบานโดยเนนสราง การรับรูที่ถูกตองของคนในครอบครัวในการประเมินความรูความเขาใจปญหา และความตองการ การมีสว นรว มในการดูแลผูเปน เบาหวานในครอบครัว รวมทั้งนํ าขอมูลสว นที่ ประเมิน ไดม า วางแผนการพยาบาลและประเมินผล ซึ่งจะทําใหไดนวัตกรรมการเยี่ยมบานกลุมเสี่ยงที่ใชทฤษฎี การพยาบาลของคิงเปนฐานในการดูแล
(3) Thesis Title
A Study of Predictable Factors of Diabetes Mellitus Complication in the Community under King’s Theory
By
Miss. Jiraporn Dechma
Identification No.
494029
Degree
Master of Nursing Science Program (M.N.S)
Major
Community Nurse Practitioner
Academic Year
2010
ABSTRACT
The survey research objectives was to examine the predictive factors of complication of Diabetes Mellitus patients in community under King’s Nursing Theory. The sample included 300 diabetes types 2 patients with complications, aged of 35 years or higher, in Nakornchaisri, Nakornprathom province. The questionnaire was enquired about personal information, and heath behaviors related to individual, interpersonal, and social system in King’s Nursing Theory. The data were analyzed by Mean, Standard deviation, and stepwise regression analysis. The results have shown that respondents mainly were female, age ranged between 56-65 years, primary school level, unemployed, income ranged 5,001-10,000 baht monthly, family member ranged 3-5 persons. A length of sickness with diabetes was 1-5 years. The diabetes patients had the highest level of health behaviors for preventing complication in interpersonal level, followed by individual and social level, respectively. The studied complications of Diabetes Mellitus patients were blood sugar level, eye complication, renal complication, nervous complication, and footsore. The predictive factor for
(4) blood sugar level was patient’s care ability in diabetes complications. When patient’s care ability in diabetes complications increased in 1 point, the blood sugar can be reduced 2.337 points. It can explain the changing of blood sugar by 3.0%. The predictive factor for eye complication from diabetes was a length of diseases. When a length of disease was one point or higher, the eye complication was increased 0.009 point. It can explain eye complication by 1.5%. The predictive factors for renal complication were economic status and length of disease. If the economic status of diabetic patients improved 1 point, the rental complication increased by 2.538 point. It can explained the renal complication by 9.8%. When a length of disease increased by 1 point, the rental complication increased by 0.018 point, while the length of disease can explain the onset of renal complication by 11%. The predictive factor for nervous complication included age and perception of family member’s role in diabetes management and stress. When the age increased for one point, the nervous complication was increased by 0.007 point. It can explain the nervous complication by 2.6%. While the family member’s role in diabetes management increased by 1 point, the nervous complication was decreased by 0.016 point. It can explain the nervous complication by 4.2%. When the diabetes patients’ stress increased by 1 point, the nervous complication increased by 0.116 point. It can explain the nervous complication by 5.5%. The results suggested that the community nurse practitioners and health personnel should take those significant factors for designing health care service system by empowering family members, community leaders, health personnel, and health community volunteers to help the recipient who risk to have diabetes complications. In addition, home health care plan should be designed by stress the assessment of perception of family members in management involve them in taking care of the diabetes patients. Further, the innovation from home visit based on King’s Nursing Theory should be created from home health care plan design.
(5) กิตติกรรมประกาศ วิทยานิพนธฉ บั บนี้ สํา เร็จ ไดดว ยความกรุณ าของ อาจารย ดร.นภาพร แกว นิ มิต ชั ย อาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธ ที่ไดเสียสละเวลาใหคําปรึกษา แนะนํา และตรวจแกไขขอบกพรอง ตาง ๆ จนกระทั่งวิทยานิพนธฉ บับนี้สําเร็จลุลวงดว ยความสมบูร ณค รบถวน ผู วิจัยจึงขอกราบ ขอบพระคุณเปนอยางสูงมา ณ ที่นี้ ขอกราบขอบพระคุณ อาจารย ดร. ยุวดี เกตสัมพันธ อาจารยที่ปรึกษารวม ที่ไดกรุณาให ขอเสนอแนะที่เปนประโยชนตอผูวิจัย และตรวจแกไขขอบกพรองตาง ๆ ขอขอบพระคุณอาจารยบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ ทุกทานที่ได ประสิทธิประสาทความรูแกผูวิจัย ขอขอบพระคุณผูทรงคุณวุฒิที่ไดตรวจเครื่องมือที่ใชในการวิจัยในครั้งนี้ ขอขอบคุณกลุมตัวอยางโรงพยาบาลหัวเฉียวที่กรุณาใหผูวิจัยไดเก็บขอมูลในการวิจัยครั้งนี้ ขอขอบคุณ คุณพรพล คงอิ่ม คุณกัลยาณี อางสกุล และคุณรุงนภา สงาแสง ที่ไดใ ห ความชวยเหลือเปนอยางดีในการวิจัยครั้งนี้ ทายนี้ ขอกราบขอบพระคุณ คุณพอคุณแม ที่ใหความหวงใย และเปนกําลังใจใหกับผูวิจัย มาตลอด และขอบคุณนองสาว เพื่อน ๆ นักศึกษาสาขาวิชาการจัดการระบบสุขภาพ รุน 1 ที่เปน กําลังใจ รวมทั้งคุณเปมิกา ธนะพุฒิธาดา ที่เปนผูจัดพิมพวิทยานิพนธ และเปนกําลังใจแกผูวิจัยมา โดยตลอด
ณภัทร ธนะพุฒินาท
(6) สารบัญ หนา บทคัดยอ.................................................................................................................................. (1) Abstract................................................................................................................................... (3) กิตติกรรมประกาศ................................................................................................................... (5) สารบัญ..................................................................................................................................... (6) สารบัญตาราง............................................................................................................................ (8) สารบัญแผนภูมิ........................................................................................................................ (9) สารบัญภาพ.............................................................................................................................. (10) บทที่ 1. บทนํา 1.1 ความเปนมาและความสําคัญของปญหา.............................................................. 1.2 วัตถุประสงคของการวิจัย....................................................................................... 1.3 ขอบเขตในการวิจัย................................................................................................ 1.4 นิยามตัวแปร........................................................................................................ 2. วรรณกรรมและงานวิจัยที่เกี่ยวของ 2.1 โรคเบาหวาน....................................................................................................... 2.2 ภาวะแทรกซอนของโรคเบาหวาน...................................................................... 2.3 ปจจัยเสี่ยงตอการเกิดภาวะแทรกซอนของโรคเบาหวานตามกรอบทฤษฎี การพยาบาลของคิง.............................................................................................. 2.4 การประเมินภาวะแทรกซอนของระบบประสาทสวนปลายโดยการตรวจเทา..... 2.5 บทบาทพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชนในการจัดการภาวะแทรกซอนของ โรคเบาหวานในชุมชน......................................................................................... 2.6 กรอบแนวคิดในการวิจัย......................................................................................
1 9 9 9
14 19 32 47 51 54
3. วิธีดําเนินงานวิจัย 3.1 ประชากรและกลุมตัวอยาง............................................................. 55
(7) สารบัญ (ตอ) หนา 3.2 เครื่องมือที่ใชในการวิจัย........................................................................................ 56 3.3 การเก็บรวบรวมขอมูล......................................................................................... 59 3.4 การวิเคราะหขอมูล............................................................................................... 62 4. ผลการศึกษา 4.1 ลักษณะทั่วไปและขอมูลสุขภาพของผูเปนเบาหวานชนิดที่ 2 ในชุมชน............... 4.2 การรับรูของผูเปนเบาหวานชนิดที่ 2 ตอโรคความรุนแรงของโรค บทบาท ของครอบครัว บทบาทของชุมชน และบทบาทในการจัดการโรคเบาหวาน รวมทั้งความเครียด การจัดการความเครียดและระดับความเครียด....................... 4.3 การตรวจรางกาย................................................................................................... 4.4 การศึกษาคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธระหวางตัวแปร........................................... 4.5 การศึกษาปจจัยทํานายการเกิดภาวะแทรกซอนในผูเปนเบาหวานชนิดที่ 2 ในชุมชน................................................................................................................ 5. สรุปผลการวิจัย อภิปราย และขอเสนอแนะ 5.1 สรุปผลการวิจัย.................................................................................................... 5.2 อภิปรายผลการวิจัย................................................................................................ 5.3 ขอเสนอแนะ......................................................................................................... บรรณานุกรม............................................................................................................................ ภาคผนวก ผนวก ก. คําชี้แจงและการพิทักษสิทธิกลุมตัวอยางในการเขารวมวิจัย...................... ผนวก ข. ขอตกลงเบื้องตนของการใชสถิติการวิเคราะหถดถอยแบบขั้นตอน........... ผนวก ค. รายชื่อผูทรงคุณวุฒิตรวจสอบเครื่องมือที่ใชเก็บรวบรวมขอมูล................. ประวัติผูเขียน...........................................................................................................................
65
71 78 84 84
89 93 98 100 110 121 128 129
(8) สารบัญตาราง ตารางที่ หนา 4.1 ขอมูลทั่วไปและขอมูลสุขภาพของผูเปนเบาหวานชนิดที่ 2 ในชุมชน จําแนกตาม จํานวนและรอยละ................................................................................................... 66 4.2 จํานวน รอยรอยละ คาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของผูเปนเบาหวาน ชนิดที่ 2 ในชุมชน จําแนกตามการรับรูของผูเปนเบาหวาน....................................... 74 4.3 จํานวน รอยละ คาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของผูเปนเบาหวานชนิดที่ 2 ในชุมชน จําแนกตามการรับรูบทบาทของครอบครัว บทบาทของชุมชน และ บทบาทของพยาบาลในการจัดการโรคเบาหวาน..................................................... 75 4.4 จํานวน รอยละ คาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของผูเปนเบาหวาน ชนิดที่ 2 ในชุมชน จําแนกตามการรับรูบทบาทของชุมชนในการจัดการโรคเบาหวาน......... 77 4.5 จํานวน รอยละ คาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของผูเปนเบาหวานชนิดที่ 2 ในชุมชน ตามความเครียด การจัดการความเครียด และระดับความเครียดของ ผูเปนเบาหวาน......................................................................................................... 77 4.6 จํานวน รอยละ คาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของผูเปนเบาหวานชนิดที่ 2 ในชุมชน จําแนกตามการตรวจรางกาย...................................................................................... 80
(9) สารบัญแผนภูมิ แผนภูมิที่ หนา 2.1 กรอบแนวคิดในการวิจัย............................................................................................. 54
(10) สารบัญภาพ ภาพที่ หนา 2.1 การเกิดภาวะแทรกซอนจากโรคเบาหวาน.................................................................. 24 2.2 อุปกรณการตรวจเทาโมโนฟลาเมนท......................................................................... 48 2.3 ตําแหนงการตรวจสอบประสาทรับความรูสึกที่เทา.................................................... 49 2.4 วิธีการตรวจสอบประสาทความรูสึกที่เทาดวยโมโนฟลาเมนท.................................. 50
บทที่ 1 บทนํา 1.1 ความเปนมาและความสําคัญของปญหา เบาหวานเปนโรคเรื้อรังที่เปนปญหาสาธารณสุขที่สําคัญ เพราะจํานวนผูปวยที่มากขึ้นและ ผลกระทบของโรค ซึ่งกอใหเกิดการสูญเสียทางเศรษฐกิจของบุคคล ครอบครัว และของรัฐ ทําให ผูเปนโรคนี้มีคุณภาพชีวิตที่ลดลง โดยเฉพาะจากภาวะแทรกซอนตาง ๆ ที่มักเกิดขึ้นตามมาและยาก ตอการรักษา เชน ความผิดปกติของปลายระบบประสาท จอประสาทตาเสื่อม โรคหลอดเลือดหัวใจ และสมอง โรคไต รวมถึงแผลบริเวณเทา (วรรณี นิธิยานันท และคณะ. 2550) จากการศึกษาของ องคการอนามัยโลกและมูลนิธิเบาหวานนานาชาติ (International Diabetes Federation : IDF) พบวา ปจจุบันมีผูเปนเบาหวานราว 246 ลานคนทั่วโลก และจะเพิ่มเปน 2 เทาตัวในอีก 20 ปขางหนา ซึ่งสว นใหญจะเปน การเพิ่มขึ้นในประเทศกําลังพัฒ นา (ธงชัย ประฏิภาณวัต. 2550) ในป พ.ศ. 2546-2548 พบวา ทั่วโลกมีประชากรปวยเปนโรคเบาหวานจํานวน 150 ลานคน สูงกวาที่คาดการณ ไวถึง 26 ลานคน และเสียชีวิตสูงมากถึง 3.2 ลานคนตอป โดยมีอัตราเสียชีวิต 6 คนตอนาที ขณะที่ป พ.ศ. 2550 พบผู ป ว ยโรคนี้ เ พิ่ม ขึ้ น 1 คนในทุก ๆ 5 วิ น าที และเสี ยชี วิ ต แล ว เกื อ บ 4 ล า นคน สวนขอมูลจากสหพันธเบาหวานนานาชาติ ไดคาดการณไววาจํานวนผูที่เปนโรคเบาหวานจะเพิ่ม เปน 380 ลานคนในป พ.ศ. 2568 ในจํานวนนี้ 4 ใน 5 เปนชาวเอเชีย (สํานักงานกองทุนสนับสนุน และสรางเสริมสุขภาพ. 2550) โดยพบวา ในประเทศอินเดียมีจํานวนผูเปนเบาหวานมากที่สุด คือ 79.4 ลานคน รองลงมา คือ จีน 42.3 ลานคน และสหรัฐอเมริกา 30.3 ลานคน (เอี่ยมศิริ กิจประเสริฐ. 2550) สําหรับประเทศสหรัฐอเมริกา นั้นพบวา ผูเปนเบาหวานมีจํานวนเพิ่มขึ้นรอยละ 5.9 (ฉัตรชัย ศรีบัณฑิต. 2551) ในประเทศไทยนั้นโรคเบาหวานเปนปญหาสาธารณสุขสําคัญเชนเดียวกับระดับสากล เนื่องจากเปนสาเหตุการเจ็บปวยและการตายที่สําคัญของคนไทย รวมทั้งอัตราความชุกมีแนวโนม สูงขึ้นเปนลําดับ (สถิติการเฝาระวังโรค สํานักระบาดวิทยา. 2549) โดยในชวงป พ.ศ. 2546-2548 พบวา มีผูเสียชีวิตจากโรคเบาหวานปละ 200,000 คน (เยาวรัตน ปรปกษขาม และคณะ. 2549) ในป 2550 มีประมาณ 400,000 ราย เสียชีวิตแลวเกือบ 8,000 คน และจากการศึกษาของ วิโรจน เจียมจรัส
54 2.6 กรอบแนวคิดในการวิจัย แผนภูมิที่ 2.1 กรอบแนวคิดที่ใชในการวิจัย
ระบบบุคคล - อายุ - เพศ - ระดับการศึกษา - ฐานะทางเศรษฐกิจ - ระยะเวลาที่เปนโรคเบาหวาน - ระดับน้ําตาลในเลือด - การรับรูเกี่ยวกับโรค - ความสามารถในการควบคุมโรคของ ตนเอง
- ภาวะน้ําตาลในเลือดสูง - ภาวะแทรกซอนทางตา
ระบบระหวางบุคคล - การรับรูตอบทบาทของคนใน ครอบครัวในการจัดการเบาหวาน ใหผูเปนเบาหวาน - การรับรูตอบทบาทของพยาบาลใน การจัดการเบาหวานใหผูเปนเบาหวาน
ระบบสังคม - บทบาท อํานาจหนาทีท่ างสังคม - ความเครียด
- ภาวะแทรกซอนทางไต - ภาวะแทรกซอนทางระบบ ประสาทและการเกิดแผลที่เทา
66 กลุมตัวอยางสวนใหญรักษาโรคเบาหวาน โดยใชสิทธิหลักประกันสุขภาพถวนหนา/สิทธิ ประกันสังคม/สิทธิผูสูงอายุ (รอยละ 77.7) รองลงมา คือ ใชสิทธิราชการ (รอยละ 17.0) และเสีย คารักษาเอง (รอยละ 4.3) ผูเปนเบาหวานโดยมากเปนหัวหนาครอบครัว (รอยละ 38.0) รองลงมา คือ เปนสมาชิก (รอยละ 32.0) และแมบาน (รอยละ 30.0) ผูที่มีอํานาจหรือมีบทบาทมากที่สุดในบาน คือ ตัวผูเปน เบาหวานเอง (รอยละ 52.4) ลูกหลาน (รอยละ 30.3) และคูสมรส (รอยละ 14.3) และครึ่งหนึ่งจะ เปนผูดูแลตนเอง (รอยละ 55.0) รองลงมา ลูกหลานเปนผูดูแล (รอยละ 34.0) และสามีหรือภรรยา เปนผูดูแล (รอยละ 10.4) กลุมตัวอยางเกือบทั้งหมดเคยไดรับความรูเรื่องโรคเบาหวาน (รอยละ 97.0) โดยไดรับ ความรูจากบุคลากรทางการแพทยเปนหลัก (รอยละ 92.7) รองลงมา คือ จากเอกสารหรือคูมือหรือ แผนพับ (รอยละ 14.7) และวิทยุ/โทรทัศน (รอยละ 8.0) สวนใหญออกกําลังกาย (รอยละ 74.0) โดย เดินเร็วมากที่สุด (รอยละ 36.50) รองลงมา คือ กายบริหาร (รอยละ 24.77) และวิ่งเหยาะ (รอยละ 13.98) จํานวนครั้งที่ออกกําลังกายในแตละสัปดาหที่มากที่สุด คือ 3-4 ครั้ง (รอยละ 48.64) รองลงมา คือ 1-2 ครั้ง (รอยละ 44.54) และ 5-7 ครั้ง (รอยละ 6.82) ระยะเวลาที่ใชออกกําลังกาย แตละครั้ง คือ 30 นาที (รอยละ 37.72) รองลงมา คือ 15 นาที (รอยละ 32.28) และนอยกวา 15 นาที (รอยละ 12.28)
ตารางที่ 4.1 ขอมูลทั่วไปและขอมูลสุขภาพของผูเปนเบาหวานชนิดที่ 2 ในชุมชน จําแนกตามจํานวนและรอยละ
ขอมูลทั่วไปและขอมูลสุขภาพ
จํานวน
รอยละ
รวม
92 208 300
30.70 69.30 100.00
เพศ ชาย หญิง
67 ตารางที่ 4.1 (ตอ)
ขอมูลทั่วไปและขอมูลสุขภาพ อายุ (ป) 35 – 55 ป 56 – 75 ป 76 – 96 ป รวม สถานภาพสมรส โสด คู หมาย หยา แยก รวม ศาสนา พุทธ คริสต รวม ระดับการศึกษา ไมไดเรียน ประถมศึกษา มัธยมศึกษา ประกาศนียบัตร/อนุปริญญา ปริญญาตรี รวม
จํานวน
รอยละ
82 177 41 300
27.30 59.10 13.60 100.00
25 211 56 8 300
8.30 70.30 18.70 2.70 100.00
299 1 300
99.70 0.30 100.00
27 212 38 8 15 300
9.00 70.60 12.70 2.70 5.00 100.00
100 บรรณานุกรม กาญจนา ประสารปราน. (2535) ความสัมพันธระหวางความสามารถในการดูแลตนเองกับ พฤติกรรมการดูแลตนเองเกี่ยวกับการควบคุมอาหารในผูปวยเบาหวาน. วิทยานิพนธ วท.ม. (สาขาวิชาพยาบาลศาสตร) กรุงเทพมหานคร : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล. กันต เชิญรุงโรจน. (2550) รายงานลการสํารวจพฤติกรรมเสี่ยงโรคไมติดตอและการบาดเจ็บ. กรุงเทพมหานคร : สํานักงานโรคไมติดตอ กระทรวงสาธารณสุข. กระทรวงสาธารณสุข. (2549) ขอมูลโรคไมติดตอและบาดเจ็บ. นนทบุรี : กระทรวงสาธารณสุข. กระทรวงสาธารณสุข. (2550) โรคเรื้อรังภัยคุกคามสุขภาพคนไทย. นนทบุรี : กระทรวงสาธารณสุข. กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข. (2549) วารสารสุขภาพจิตแหงประเทศไทย. 14 (3) หนา 199-200. เกศินี ไขนิล. (2536) ความสัมพันธระหวางความเชื่อดานสุขภาพกับพฤติกรรมการดูแลตนเอง ของหญิงตั้งครรภเบาหวาน. วิทยานิพนธ วท.ม. (สาขาวิชาการพยาบาลศาสตร) กรุงเทพมหานคร : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล. จารุนันทร สมณะ. (2541) การสอนอยางมีแบบแผนและการเยี่ยมบานที่มีผลตอการลดระดับ น้ําตาลในเลือดและควบคุมภาวะแทรกซอนของผูปวยเบาหวานโรงพยาบาลแมออน จังหวัดเชียงใหม. วิทยานิพนธ ส.ม. (สาธารณสุขศาสตร) เชียงใหม : มหาวิทยาลัยเชียงใหม. จิรประภา ภาวิไล. (2535) การศึกษาการรับรูตอภาวะสุขภาพ พฤติกรรมการดูแลตนเองและ ภาวะสุขภาพของผูปวยภายหลังการผาตัดเปลี่ยนลิ้นหัวใจ. วิทยานิพนธ วท.ม. (สาขาวิชาพยาบาลศาสตร) กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยมหิดล. จิรพงศ อุกะโชค. (2543) แผลที่เทาเหตุเกิดโรคเบาหวานอีก 20 ป. นนทบุรี : โรงพยาบาล นนทเวช. ฉวีวรรณ ทองสาร. (2550) การพัฒนาแนวปฏิบัติการพยาบาลเพื่อการจัดการตนเองในการบริโภค อาหารของผูปวยเบาหวานชนิดที่ 2 ที่ไมสามารถควบคุมระดับน้ําตาลในเลือด. สารนิพนธ พย.ม. (สาขาการพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน) นครศรีธรรมราช : มหาวิทยาลัย วลัยลักษณ. ฉัตรชัย ศรีบัณฑิต. (2551) เบาหวานนับวันกลายเปนโรคยอดฮิต. [ออนไลน] แหลงที่มา : http://www.absolute-health.org/doc-003.htm (17 กรกฎาคม 2553)
101 บรรณานุกรม (ตอ) ฉัตรวลัย ใจอารีย. (2533) ความสัมพันธระหวางการสนับสนุนทางสังคม พฤติกรรมการดูแล สุขภาพกับคุณภาพชีวิตของผูปวยหัวใจวายเลือดคั่ง. วิทยานิพนธ วท.ม. (สาขาพยาบาลศาสตร) กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยมหิดล. ชัชลิต รัตรสาร. (2546) INTENSIVE THERAPY OF TYPE 2 DIABETES. สงขลา : ภาควิชาอายุรศาสตร คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร. ชัยชาญ ดีโรจนวงศ และ กอบชัย พัววิไล. (2546) การวินิจฉัยและจําแนกโรคเบาหวาน. ตําราโรคเบาหวาน สมาคมตอมไรทอแหงประเทศไทย กรุงเทพมหานคร. มหาวิทยาลัยมหิดล : เรือนแกวการพิมพ. เชิดศักดิ์ แวดประเสริฐ และ สาธิต นฤภัย. (2550) เครื่องวัดความดันโลหิต. [ออนไลน] แหลงที่มา : http//www.medi.moph.go.th/education/Tpum.pdf (11 กรกฎาคม 2553) ดรุณี ชุณหะวัต.ิ (2551) การดูแลผูปวยเรื้อรังแบบมีสวนรวม : มิตรภาพบําบัด. กรุงเทพมหานคร : ภาควิชาพยาบาลศาสตร คณะแพทยศาสตร โรงพยาบาลรามาธิบดี. ทิพวรรณ วัฒนเวช. (2548) อิทธิพลของปจจัยคัดสรรและพฤติกรรมการดูแลตนเองตออาการ ทองอืดของผูปวย หลังผาตัดชองทอง. [ออนไลน] แหลงที่มา : http://www.sirirajmedj.com/ content.php?content_id=86 (10 เมษายน 2553) เทพ หิมะทองคํา และคณะ. (2548) ความรูเรื่องเบาหวานฉบับสมบูรณ. กรุงเทพมหานคร : วิทยพัฒน. ธงชัย ประฏิภาณวัตร. (2550) “หลักการดูแลรักษาผูปวยเบาหวาน” อายุรศาสตรอีสาน. 6 (3) หนา 78-93. ธนวรรณ เมาฬีทอง. (2551) การพัฒนาแนวทางการปฏิบัติเพื่อสรางความตระหนักรูในการ ปองกันภาวะน้ําตาลในเลือดต่ําของผูปวยเบาหวานชนิดที่ 2 ในศูนยสุขภาพชุมชน. วิทยานิพนธ พย.ม. (สาขาวิชาการพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน) สมุทรปราการ : มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ. นิตยา แยมมี. (2550) แนวปฏิบัติการพยาบาลผูปวยโรคไตเรื้อรังระยะที่ 2 จากเบาหวาน เพื่อชะลอการเสื่อมของไต. วิทยานิพนธ พย.ม. (สาขาวิชาการพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน) สมุทรปราการ : มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ. เนติ สุขสมบูรณ และคณะ. (2548) ระบบการใชยาในโรงพยาบาลเพื่อความปลอดภัยของผูปวย. : กรุงเทพมหานคร หนวยงานเภสัชกรรม.
ภาคผนวกที่ 2 ตัวอยางการศึกษาอิสระ (6 หนวยกิต)
ปจจัยที่มีอิทธิพลตอผูบริจาคโลหิตประจําในการเปนผูบริจาคเซลลตนกําเนิด FACTORS INFLUENCING REPEATED BLOOD DONORS FOR BECOMING BONE MARROW DONORS
โดย นางสาวศิริเพ็ญ จันทจร
การศึกษาอิสระนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการระบบสุขภาพ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ พ.ศ. 2550
ปจจัยที่มีอิทธิพลตอผูบริจาคโลหิตประจําในการเปนผูบริจาค เซลลตนกําเนิด Factors Influencing Repeated Blood Donors for Becoming Bone Marrow Donors ชื่อนักศึกษา นางสาวศิริเพ็ญ จันทจร รหัสประจําตัว 464061 สาขาวิชา การจัดการระบบสุขภาพ ปการศึกษา 2549 ______________________________________________________________________________ การศึกษาอิสระ
บัณ ฑิต วิท ยาลัย มหาวิท ยาลั ยหั ว เฉีย วเฉลิม พระเกีย รติ ไดต รวจสอบและอนุ มัติ ใ ห การศึกษาอิสระฉบับนี้ เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต เมื่อวันที่ 29 ธันวาคม พ.ศ.2549 _________________________________________คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย (ผูชวยศาสตราจารยพรรณราย แสงวิเชียร)
คณะกรรมการสอบการศึกษาอิสระ _________________________________________อาจารยที่ปรึกษา (อาจารย ดร.วิรัตน ทองรอด) _________________________________________กรรมการ (รองศาสตราจารย ดร.ปราโมทย ทองกระจาย) _________________________________________กรรมการ (ผูชวยศาสตราจารยเสาวลักษณ ลักษมีจรัลกุล)
(1) การศึกษาอิสระ
ชื่อนักศึกษา รหัสประจําตัว สาขาวิชา ปการศึกษา
ปจจัยที่มีอิทธิพลตอผูบริจาคโลหิตประจําในการเปนผูบ ริจาค เซลลตนกําเนิด Factors Influencing Repeated Blood Donors for Becoming Bone Marrow Donors นางสาวศิริเพ็ญ จันทจร 464061 การจัดการระบบสุขภาพ 2549 บทคัดยอ
การศึกษาอิสระนี้เปนการศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพที่มีวัตถุประสงค เพื่อศึกษาเหตุผล ทัศนคติ และแรงจูงใจในการบริจาคเซลลตนกําเนิดของผูบริจาคโลหิตประจําและปญหา อุปสรรค พรอมทั้ง เสนอแนวทางในการเพิ่มจํานวนผูบริจาคเซลลตนกําเนิด จากกลุมผูบริจาคโลหิตประจํา ซึ่งเปนผู บริจาคโลหิต 2 ครั้งขึน้ ไป เปนผูใหขอมูลหลัก 3 กลุมไดแก กลุมที่ 1 กลุมผูบริจาคโลหิตประจํา ที่ ยังไมไดลงทะเบียนเปนผูบริจาคเซลลตนกําเนิด จํานวน 16 ราย กลุมที่ 2 กลุมผูบริจาคโลหิตประจํา ที่ลงทะเบียนเปนผูบริจาคเซลลตนกําเนิดแลวจํานวน 6 ราย และกลุมที่ 3 กลุมผูบริจาคโลหิตประจํา ที่ลงทะเบียนเปนผูบริจาคเซลลตนกําเนิดและไดบริจาคเซลลตนกําเนิดแลว จํานวน 2 ราย ทําการ รวบรวมขอมูลโดยใชวิธีสัมภาษณเชิงลึก และการสังเกต หลังจากไดขอมูลครบตามประเด็น ที่ ตองการจึงทําการวิเคราะหเนื้อหาดวยการถอดขอความจากเครื่องบันทึกเสียงแบบคําตอคําและทํา การวิเคราะหขอมูล ผลการศึก ษาพบวาผูใ ห ขอมูลหลัก เปน เพศหญิ ง รอยละ 58.33 เพศชาย รอยละ 41.67 มีอายุเฉลี่ย 28.92±5.52ป การศึกษาระดับปริญญาตรีรอยละ 66.67 และสถานภาพทางครอบครัวรอย ละ 70.83 เปนโสด ผูใหขอมูลหลักรอยละ 33.33 มาบริจาคโลหิต 1 ครั้งตอป และรอยละ 29.17 มา บริจาคโลหิต 2 ครั้งตอป เหตุผลที่มาบริจาคโลหิตประจํา รอยละ 41.67 มีความเชื่อดานจิตใจที่อยาก ชวยเหลือผูอื่น รอยละ 33.33 มีความเชื่อดานสุขภาพรางกายที่ดีขึ้น ผูใหขอมูลหลักกลุมที่ 1 นั้นรอย ละ 31.25 ไมเคยรูเรื่องเกีย่ วกับเซลลตนกําเนิดเลย แตกลุมที่ 2 และกลุมที่ 3 นั้นรูเรื่องเกี่ยวกับเซลล ตนกําเนิดแลว โดยที่ผูใหขอมูลที่รับรูแลวนั้น รอยละ 31.58 รูจากแผนพับประชาสัมพันธ, รอยละ 26.31 รู จ ากอิ น เตอร เ นต, ร อ ยละ 26.31 รู จ ากโทรทั ศ น แ ละร อ ยละ 10.53 รู จ ากเจ า หน า ที่ ประชาสัมพันธ ผูใหขอมูลหลักในกลุมที่ 1 ยังมีความรูและความเขาใจในเรื่องเซลลตนกําเนิดไม
(2) เพียงพอ แตก ลุมที่ 2 และกลุมที่ 3 ทราบและเขาใจขอมูลเกี่ยวกับเซลลตนกําเนิดและการบริจาค เซลลตนกําเนิดมากกวาทั้งในเรื่องของประโยชน คุณสมบัติรวมถึงวิธี การบริจาคเซลลตนกําเนิด สวนเหตุผลที่สนใจทําใหลงทะเบียนเพื่อบริจาคเซลลตนกําเนิด พบวาผูใหขอมูลหลักกลุมที่ 1 รอย ละ 50.00 สนใจเพราะอยากชวยเหลือผูอื่น และรอยละ 37.50 เขาใจถึงความตองการใชเซลลตน กําเนิดในการรักษาผูปวย กลุมที่ 2 รอยละ 50.00 ลงทะเบียนเพราะมีความรูเดิมจากอาชีพการงานทํา ใหมีความเขาใจ และเห็นถึงประโยชนของเซลลตนกําเนิด จึงบริจาคเซลลตนกําเนิด รอยละ 33.33 อยากชวยเหลือผูอื่น กลุมที่ 3 ยิน ยอมบริจาคเซลลตนกําเนิด เนื่องจากอยากชวยเหลือผูอื่นและมี ความรูในเรื่องเซลลตนกําเนิดเปนอยางดี และเหตุผลที่จะทําใหผูบริจาคโลหิตไมสนใจลงทะเบียน เปนผูบริจาคเซลลตนกําเนิดนั้น มีเหตุผลมาจากการขาดความรู และความเขาใจ ซึ่งหากผูบริจาค โลหิตมีความรูและความเขาใจเรื่องเกี่ยวกับเซลลตนกําเนิดตนแลว สวนใหญจะตัดสินใจลงทะเบียน เปน ผูบ ริจ าคเซลลต น กําเนิ ด ปจ จัยดานครอบครัว สั งคม และเศรษฐกิจ นั้น มีส ว นรว มในการ ตัดสินใจ สาเหตุ ข องป ญ หาการเพิ่ ม จํ า นวนผู บ ริ จ าคเซลล ต น กํ า เนิ ด พบว า ผู ใ ห ข อ มู ล หลั ก มีค วามคิด เห็น วารอยละ 37.50 เกิด จากความไม รู รอยละ 25.00 เกิด จากความไมเ ขาใจ และ รอยละ 33.33 เกิดจากความรูสึกกลัว โดยรวมแลวเกิดจากความไมรู ไมเขาใจเรื่องของการบริจาค เซลล ต น กํ า เนิ ด อย า งเพี ย งพอ การแก ไ ขป ญ หาและรณรงค เพื่ อ การเพิ่ ม จํ า นวนผู บ ริ จ าค เซลล ต น กํ า เนิ ด ผูใ ห ข อ มู ลหลั ก ทั้ ง 3 กลุ ม ให ค วามเห็ น ไปในทางเดี ย วกัน ว า แนวทางที่ 1 ต อ งจั ด การด า นการประชาสั ม พั น ธ การเพิ่ ม ช อ งทางการสื่ อ ประชาสั ม พั น ธ รวมถึ ง การประชาสัมพัน ธ ไปยังสว นภูมิภาคใหมากขึ้น แนวทางที่ 2 การขอความรวมมือกับบุคลากร ภายในสนับสนุน ในการประชาสัมพัน ธ เชิญชวนผูบริจาคโลหิตมาบริจาคเซลลตนกําเนิด และ ขอความรวมมือจากหนวยงานในภาครัฐและภาคเอกชน เพื่อตั้งเปนโครงการหรือชมรมผูบริจาค เซลล ต น กํ า เนิ ด เพื่ อ ช ว ยส ง เสริ ม การประชาสั ม พั น ธ และแนวทางสุ ด ท า ยการช ว ยเหลื อ ดานงบประมาณและกําลังคน ซึง่ ตองขอการสนับสนุนจากหนวยงานตาง ๆ ทั้งภาครัฐและเอกชนให เขามาชวยเหลือ
(3) Title By Identification No. Degree Major Academic Year
Factors Influencing Repeated Blood Donors for Becoming Bone Marrow Donors Miss. Siripen Chanthachorn 464061 Master of Sciences (M.S.) Health System Management 2006 ABSTRACT
This independent study was a qualitative research in order to study the reasons, attitudes, motivations, problems / obstacles, and ways to increase the quantity of bone marrow donors deriving from repeated blood donors who had donated their blood more than 2 times. 24 repeated blood donors were selected as key informants for this study by chance. They were divided into 3 groups:- Group I, 16 repeated blood donors who had not registered to be bone marrow donors yet ; group II, 6 repeated blood donors who had already registered to be bone marrow donors ; and group III, 2 repeated blood donors who had already registered to be bone marrow donors, and donated their bone marrow already. The data were collected by using in-depth interviews and observations. After receiving the complete data according to the raised issues, the data were analyzed by the content analysis methodology. The findings of this study were as followed : 58.33% of key informants were female, their average age was 28.92+5.52 years old, 66.67% graduated at undergraduate level, and 70.83% were single. 33.33% had donated their blood 1 time per year and 29.17% had done 2 times per year. For the reasons of repeated blood donation, 41.67% of them believed that it was good to help other people, 33.33% believed that it was good for their health. 31.25% of group I had not heard about the bone marrow donation before, but group II and III had already known. 31.58% of the ones who had already known about the bone marrow got the knowledge from the brochures, 26.31% from the internet, 26.31% from the television, and 10.53% from public relation (PR) personnel, the knowledge and understanding of key informants in group I were poor while the other groups were good including the benefit, the characteristic of donors and the
(4) method of bone marrow donation. And the reasons, why they were interested in registering, were found that 50.00% in group I wanted to help other people, and 37.50% had realized the lack of the bone marrow to cure the patients. 50.00% of group II registered because they were health professionals and known bone marrow, and, thus, they were willing to donate their bone marrow. And 33.33% of them wanted to help other people. Group III, they donated bone marrow because they wanted to help other people and they had known well about the bone marrow. On the contrary, the reasons why the blood donors were not interested in registering to be the bone marrow donors were the lack of knowledge and understanding. If the blood donors had had sufficient knowledge and understanding about the bone marrow, most of them would have registered to be the bone marrow donors. The other factors to make decision in donating their bone marrow were their family, society, and economic situation. The problems/obstacles on the increasing of the quantity of the bone marrow donors were found that 37.50% of the blood donors had insufficient knowledge about the bone marrow, 25.00% had no understanding and 33.33% were discouraging to donate it. The problems were, in general, caused by the insufficient knowledge about the bone marrow. The solution and the campaigns for increasing the quantity of the bone marrow donors were stated from the opinions of all 3 groups in the same way as followed: 1) Increasing the PR achieves, more media and channels of advertising especially to the up country region. 2) Cooperating with the donation officers to persuade the blood donors to register as bone marrow donors. 3) The budget and manpower supports of both government and private sectors.
(5) กิตติกรรมประกาศ การศึกษาอิสระฉบับนี้สําเร็จไดดวยความกรุณาของอาจารย ดร.วิรัตน ทองรอด อาจารยที่ ปรึกษาการศึกษาอิสระที่ไดเสียสละเวลาใหคําปรึกษาแนะนํา ตรวจแกไขขอบกพรองตาง ๆ และให ขอคิดเห็นที่เปนประโยชนอยางมากในการทําการวิจัย ตลอดทั้ง รศ.ดร.ปราโมทย ทองกระจาย และ ผศ.เสาวลักษณ ลักษมีจ รัลกุล ที่ไดกรุณ าใหขอเสนอแนะที่เปนประโยชนตอผูวิจัย ทําให การศึกษาอิสระเลมนี้สําเร็จลุลวงดวยดี กราบขอบพระคุณ ผูใหขอมูลหลัก ทุก ทานที่ก รุณ าใหค วามรว มมือและใหขอมูลที่เปน ประโยชนในการวิจัยครั้งนี้ ทายสุดนี้ผูเขียนกราบขอบพระคุณบิดา มารดา และสมาชิกทุกคนในครอบครัว รวมทั้ง เพื่อนรวมงานที่ซึ่งไดสนับสนุนใหกําลังใจและชวยเหลือในการวิจัยครั้งนี้ตลอดมา ศิริเพ็ญ จันทจร
(6) สารบัญ
บทคัดยอภาษาไทย…………………………………………………………………… Abstract…………………………………………………………………………….... กิตติกรรมประกาศ……………………………………………………………………. สารบัญ………….......………………………………………………………………... สารบัญตาราง……...……………………………………………………………........ สารบัญแผนภูมิ………....……………………………………………………………. สารบัญภาพ.......................................................................................................
หนา (1) (3) (5) (6) (8) (10) (11)
บทที่ 1. บทนํา 1.1 ความเปนมาและความสําคัญของปญหา………………………………… 1.2 คําถามในการวิจัย………………………………...................………….. 1.3 วัตถุประสงคของการวิจัย…………………………… ...………………… 1.4 สมมติฐานการวิจัย............................................................................. 1.5 ขอบเขตการวิจัย……………………………………...…....……………. 1.6 ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ.................................................................. 1.7 นิยามเฉพาะของคําศัพทในการวิจัย……………………………………... 1.8 กรอบแนวคิดของการวิจัย...................................................................
1 3 3 3 4 4 4 5
2. เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ 2.1 ทฤษฎีและแนวคิดเกี่ยวกับเซลลตนกําเนิด..………………………………. 2.2 ทฤษฎีและแนวคิดเกี่ยวกับการบริจาคโลหิต/เซลลตนกําเนิด..…………… 2.3 ทฤษฎีและแนวคิดเกี่ยวกับทัศนคติและแรงจูงใจเกี่ยวกับ การบริจาคเซลลตนกําเนิด.....................................................………… 2.4 งานวิจัยที่เกี่ยวของกับแรงจูงใจ.......………………………………………
6 16 23 34
(7) สารบัญ (ตอ) บทที่ 3. วิธีดําเนินการวิจัย 3.1 ประชากรและกลุมตัวอยางที่ศึกษา..……………………………………... 3.2 เครื่องมือที่ใชในการวิจัย…………………………......…………………… 3.3 การเก็บรวบรวมขอมูล……………………..…………………………….. 3.4 จริยธรรมในการวิจัยและการพิทักษสิทธิ์กลุมตัวอยาง............................ 3.5 การวิเคราะหขอมูล………………..……………………………………… 3.6 ความเชื่อถือไดของขอมูล……………..….………………………………. 4. ผลการวิจัย 4.1 ขอมูลสวนบุคคลทั่วไป..…………………………………………………. 4.2 ความรู ความเขาใจเกี่ยวกับเซลลตนกําเนิดและการบริจาคเซลลตนกําเนิด 4.3 ทัศนคติและแรงจูงใจตอการบริจาคเซลลตนกําเนิด............................... 4.4 ปญหาและอุปสรรคในการเพิ่มจํานวนผูบริจาคเซลลตนกําเนิด............... 4.5 แนวทางการแกไขปญหาการเพิ่มจํานวนผูบริจาคเซลลตนกําเนิด........... 5. สรุปอภิปรายผลและขอเสนอแนะ 5.1 สรุป................................................................................................ 5.2 อภิปรายผล.................………………………………………………… 5.3 ขอเสนอแนะ...............………………………………………………… 5.4 ประสบการณที่ไดรับ……………………………………………………. 5.5 ขอจํากัดการวิจัย..........................…………………………………….. 5.6 ขอเสนอแนะในการวิจัยครั้งตอไป....................................................... บรรณานุกรม………………………………………………………………………… ภาคผนวก ผนวก ก. แนวทางการสัมภาษณ………………………………...........……….. ผนวก ข. หนังสือยินยอมเขารวมการวิจัย ………………………………........... ประวัติผูเขียน.………………………………………………………………………..
หนา 35 35 37 39 39 40
43 56 62 70 74
82 85 93 94 95 95 96 103 105 108
(8) สารบัญตาราง ตารางที่ 2.1 2.2 4.1 4.2
ประเภทของทฤษฎีแรงจูงใจ................................………………………… ทฤษฎีลําดับขั้นความตองการของมาสโลว……...………………………… ลักษณะทั่วไปของผูใหขอมูลหลักทั้ง 3 กลุม............................................ ลักษณะทั่วไปของผูใหขอมูลหลัก เปรียบเทียบทั้ง 3 กลุม โดยแบงตาม เพศของผูใหขอมูลหลัก.......................................................................... 4.3 ลักษณะทั่วไปของผูใหขอมูลหลัก เปรียบเทียบทั้ง 3 กลุม โดยแบงตาม ชวงอายุของผูใหขอมูลหลัก.................................................................. 4.4 ลักษณะทั่วไปของผูใหขอมูลหลัก เปรียบเทียบทั้ง 3 กลุม โดยแบงตาม ระดับการศึกษาของผูใหขอมูลหลัก....................................................... 4.5 ลักษณะทั่วไปของผูใหขอมูลหลัก เปรียบเทียบทั้ง 3 กลุม โดยแบงตาม สถานภาพทางครอบครัวของผูใหขอมูลหลัก........................................... 4.6 ลักษณะทั่วไปของผูใหขอมูลหลัก เปรียบเทียบทั้ง 3 กลุม โดยแบงตาม ลักษณะอาชีของผูใหขอมูลหลัก............................................................ 4.7 ลักษณะทั่วไปของผูใหขอมูลหลัก เปรียบเทียบทั้ง 3 กลุม โดยแบงตาม รายไดตอเดือนของผูใหขอมูลหลัก....................................................... 4.8 จํานวนและความถี่ของการบริจาคโลหิตและเหตุผลของการบริจาคโลหิต ประจําของผูใหขอมูลหลักทั้ง 3 กลุม..................................................... 4.9 จํานวนและความถี่ของการบริจาคโลหิตของผูใหขอมูลหลัก เปรียบเทียบทั้ง 3 กลุม......................................................................... 4.10 รอยละของเหตุผลของการบริจาคโลหิตของผูใหขอมูลหลัก เปรียบเทียบทั้ง 3 กลุม........................................................................ 4.11 แหลงขอมูลที่รับรูเกี่ยวกับการบริจาคเซลลตนกําเนิดของผูใหขอมูลหลัก ทั้ง 3 กลุม.......................................................................................... 4.12 จํานวนผูใหขอมูลที่รับรูเกี่ยวกับการบริจาคเซลลตนกําเนิดของผูใหขอมูลหลัก เปรียบเทียบทั้ง 3 กลุม....................................................................... 4.13 รอยละของแหลงขอมูลที่ผูใหขอมูลหลักรับรูเกี่ยวกับเซลลตนกําเนิดของ ผูใหขอมูลหลักเปรียบเทียบทั้ง 3 กลุม..................................................
หนา 27 28 44 45 46 46 47 48 48 50 51 53 58 59 60
(9) สารบัญตาราง (ตอ) ตารางที่ หนา 4.14 เหตุผลที่สนใจ/ไมสนใจลงทะเบียนเปนผูบริจาคเซลลตนกําเนิดของ ผูใหขอมูลหลักทั้ง 3 กลุม...................................................................... 63 4.15 จํานวนของเหตุผลที่สนใจ/ไมสนใจลงทะเบียนเปนผูบริจาคเซลลตนกําเนิด ของผูใหขอมูลหลักเปรียบเทียบทั้ง 3 กลุม.............................................. 64 4.16 ปจจัยภายนอกที่สงผลตอการตัดสินใจบริจาคเซลลตนกําเนิดของผูใหขอมูลหลัก ทั้ง 3 กลุม............................................................................................ 68 4.17 สาเหตุของปญหาการเพิ่มจํานวนผูบริจาคเซลลตนกําเนิดของผูใหขอมูลหลัก ทั้ง 3 กลุม.................................................................. ......................... 71 4.18 สาเหตุของปญหาการเพิ่มจํานวนผูบริจาคเซลลตนกําเนิดของผูใหขอมูลหลัก เปรียบเทียบทั้ง 3 กลุม........................................................................... 72 4.19 แนวทางการแกไขปญหาการเพิ่มจํานวนผูบริจาคเซลลตนกําเนิดของ ผูใหขอมูลหลักทั้ง 3 กลุม....................................................................... 75 4.20 แนวทางการมีสวนรวมในการสงเสริมการบริจาคเซลลตนกําเนิด ของผูใหขอมูลหลักทั้ง 3 กลุม................................................................. 80
(10) สารบัญแผนภูมิ แผนภูมิที่ 1.1 กรอบแนวคิดของการศึกษาวิจัย........................................................... 2.1 ความสัมพันธระหวางทฤษฎีเนื้อหาของแรงจูงใจ………………….........
หนา 5 30
(11) สารบัญภาพ ภาพที่ 2.1 ลักษณะการเก็บเซลลตนกําเนิดดวยเครื่อง Automated Blood Cell Separator 2.2 ลักษณะการคืนเซลลตนกําเนิดใหผูปวยทางหลอดเลือดดํา………………… 2.3 ลักษณะการเจาะเก็บเซลลตนกําเนิดบริเวณไขกระดูกชวงสะโพก................
หนา 20 21 22
108 ประวัติผูเขียน ชื่อ-สกุล วัน เดือน ปเกิด ที่อยู ประวัติการศึกษา พ.ศ. 2544 พ.ศ. 2546 ประวัติการทํางาน พ.ศ.2545
นางสาวศิริเพ็ญ จันทจร 27 กรกฎาคม 2523 66/1 หมู 7 ซอยกันเอง ถนนปูเจาสมิงพราย ตําบลสําโรงใต อําเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ วิทยาศาตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ รุนที่ 7 เขาศึกษาตอระดับมหาบัณฑิตสาขาการจัดการระบบสุขภาพ มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ
นักเทคนิคการแพทยประจําหองปฎิบัติการดานเนื้อเยื่อ ศูนยบริการโลหิตแหงชาติ สภากาชาดไทย ตําแหนงและสถานที่ทํางานในปจจุบัน พ.ศ. 2548 - ปจจุบัน นักเทคนิคการแพทยประจําหองปฎิบัติการ บริษัทไทย สเตมไลฟ จํากัด กรุงเทพมหานคร
ภาคผนวกที่ 3 ตัวอยางการศึกษาอิสระ (3 หนวยกิต)
การพัฒนากิจกรรมทางการตลาดสําหรับสถาบันอุดมศึกษาเอกชนของไทย MARKETING ACTIVITY DEVELOPMENT FOR PRIVATE HIGHER EDUCATION INSTITUTIONS OF THAILAND
โดย นางสาวกันตฤทัย เมฆสุทร
การศึกษาอิสระนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ พ.ศ. 2553
การพัฒนากิจกรรมทางการตลาดสําหรับสถาบันอุดมศึกษาเอกชนของ ไทย Marketing Activity Development for Private Higher Education Institutions of Thailand ชื่อนักศึกษา นางสาวกันตฤทัย เมฆสุทร รหัสประจําตัว 516027 หลักสูตร บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต ปการศึกษา 2553 ______________________________________________________________________________ การศึกษาอิสระ
บัณ ฑิต วิท ยาลัย มหาวิท ยาลั ยหั ว เฉีย วเฉลิม พระเกีย รติ ไดต รวจสอบและอนุ มัติ ใ ห การศึกษาอิสระฉบับนี้ เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต เมื่อวันที่ 3 พฤศจิกายน พ.ศ.2553 _________________________________________คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย (ผูชวยศาสตราจารยพรรณราย แสงวิเชียร)
คณะกรรมการสอบการศึกษาอิสระ _________________________________________อาจารยที่ปรึกษา (อาจารย ดร. พวงชมพู โจนส) _________________________________________กรรมการ (ผูชวยศาสตราจารย สถาพร ปนเจริญ) _________________________________________กรรมการ (อาจารยรุงฤดี รัตนวิไล)
(1) การศึกษาอิสระ
ชื่อนักศึกษา รหัสประจําตัว หลักสูตร ปการศึกษา
การพัฒนากิจกรรมทางการตลาดสําหรับสถาบันอุดมศึกษาเอกชนของไทย Marketing Activity Development for Private Higher Education Institutions of Thailand นางสาวกันตฤทัย เมฆสุทร 516027 บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต 2553 บทคัดยอ
การศึกษางานวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาปจจัยที่มีอิทธิพลตอการเลือกเขาศึกษา กิจกรรมทางการตลาดที่นักเรียนและอาจารยแนะแนวใหความสําคัญ และทัศนคติข องอาจารย แนะแนวตอสถาบัน อุด มศึก ษาเอกชน เครื่องมือที่ใ ชใ นการเก็บรวบรวมข อมูลสําหรับการวิจัย เชิงปริมาณ ไดแก แบบสอบถาม โดยสอบถามจากนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย จํานวน 413 ชุด การวิเคราะหขอมูลใช สถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistics) และใชส ถิต ิเ ชิง อนุม าน (Inferential Statistics) การวิจัยครั้งนี้กําหนดความมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 สวนการวิจัย เชิงคุณภาพดําเนินการสัมภาษณอาจารยแนะแนว จํานวน 6 ราย ผลการศึกษา พบวาผูตอบแบบสอบถามสวนใหญเปนผูหญิง อายุ 17 ป มีระดับผลการเรียน 3.00 – 3.50 ศึกษาอยูระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 สังกัดโรงเรียนประเภทรัฐบาล มีภูมิลําเนาอาศัยอยู ภาคใต มีรายไดรวมตอเดือนของครอบครัวเฉลี่ย 10,001–15,000 บาท กรณีที่สอบเขามหาวิทยาลัย ของรั ฐ บาลไม ไ ด จะเลื อ กมหาวิ ท ยาลั ย เอกชนรองลงมา โดยเลื อ กมหาวิ ท ยาลั ย หั ว เฉี ย ว เฉลิมพระเกียรติเปนอันดับหนึ่ง รองลงมาคือ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ นักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย ส ว นใหญ ใ ห ค วามวนใจเข า ร ว มกิ จ กรรมทางการตลาด คื อ การเข า เยี่ ย มชมมหาวิ ท ยาลั ย (Open House) และบุค คลที่มีอิทธิพลตอการตัด สิน ใจ คือ ตัว ของนัก เรียนเอง ในการประเมิน ความสามารถของนักเรียนพบวานักเรียนประเมินตนเองวามีความสามารถปานกลาง และปจจัยที่มี อิทธิพลที่สงผลตอการเลือกสถาบันอุด มศึกษาเอกชนในทุก ปจ จัย ผลการเปรียบเทียบปจ จัยที่มี อิ ท ธิ พ ลที่ ส ง ผลต อ การเลื อ กสถาบั น อุ ด มศึ ก ษาเอกชน จํ า แนกตามข อ มู ล ส ว นบุ ค คล พบว า กลุมตัวอยางที่มีเพศ ภูมิภาคที่อาศัย แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และเกรด เฉลี่ยสะสม รายไดรวมตอเดือนของครอบครัวไมแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และขอมูลสวนบุคลจําแนกตามเพศ เกรดเฉลี่ยสะสมสงผลตอการเลือกประเภทสถาบันอุดมศึกษา
(2) แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ร ะดับ 0.05 จําแนกตามภูมิภาคที่อาศัย และรายไดรวมตอ เดือนของครอบครัวสงผลตอการเลือกประเภทสถาบันอุดมศึกษาไมแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทาง สถิติที่ร ะดับ 0.05 และการประเมิน ความสามารถตนเองตอการเขารวมกิจ กรรมทางการตลาดที่ สถาบันอุดมศึกษาเอกชนจัดขึ้น มีความสัมพันธแบบแปรผกผันตามกัน สวนการสัมภาษณอาจารย แนะแนวเกี่ยวกับทัศนคติของอาจารยแนะแนวตอสถาบันอุดมศึกษาเอกชน พบวา อาจารยแนะแนว มีทัศนคติในดานบวกตอสถาบันอุดมศึกษาเอกชนในดานความไววางใจและเชื่อมั่นความมีชื่อเสียง และการไดรับการยอมรับมาตรฐานความทันสมัย หลัก สูตรสาขาวิชาที่หลากหลาย มีสื่ออุปกรณ การเรียนการสอนที่ทัน สมัย และอาจารยใหการดูแลนักศึกษาเปนอยางดี รวมถึงการจัด กิจกรรม ทางการตลาดที่สถาบันอุดมศึกษาเอกชนควรจัด กิจกรรมมากที่สุดใหกับนักเรียน ซึ่งจะสงผลตอ การตัดสินใจเลือกสถาบันอุดมศึกษาเอกชน คือ กิจกรรมเยี่ยมชมมหาวิทยาลัย (Open House) และ ควรมีการเสริมทักษะความรูที่เปนประโยชนตอการสอนของอาจารยแนะแนวดวย
(3) กิตติกรรมประกาศ การศึกษาอิสระฉบับนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต ไดสําเร็จลุลวงดวยดี ดวยความกรุณาเปนอยางยิ่งของอาจารยที่ปรึกษา อาจารย ดร. พวงชมพู โจนส และคุณ นิชาภา จุลประยูร ซึ่งไดเสี ยสละเวลาอัน มีคาในการใหคําปรึก ษาและคําแนะนําแกไข ขอบกพรองรวมทั้ง ขอคิดเห็นตาง ๆ อันเปนประโยชน จนทําใหการศึกษาอิสระฉบับนี้สําเร็จลงได ดวยดี ผูวิจัยขอกราบขอบพระคุณอยางสูงไว ณ ที่นี้ ขอขอบพระคุณ มหาวิทยาลัยหัว เฉียวเฉลิม พระเกียรติเปน อยางสูงที่ใ หโ อกาสและให การสนับสนุน ทําใหผูวิจัยไดรับการสนับสนุน ทุน การศึก ษาในครั้งนี้ และจะขอระลึก ถึงดว ย ความซาบซึ้งตลอดไป ขอกราบขอบพระคุณคณาจารยคณะบริหารธุร กิจ มหาวิทยาลัยหัว เฉียว เฉลิมพระเกียรติและคณาจารยจากมหาวิทยาลัยตาง ๆ ที่ใ หคําแนะนําสั่งสอน ตลอดระยะเวลาที่ ผูท ําการศึกษา ผูวิจัยไดรับความชวยเหลืออยางดียิ่งจากผูบังคับบัญชา และเพื่อนรวมงานจากมหาวิทยาลัย หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ และมหาวิทยาลัยกรุงเทพ คุณชัยรถ หมอเมือง และคุณ บุบผา กลิ่นพุฒ ที่ชว ยสนับสนุน ในการทําวิจัยการศึก ษาอิสระนี้ และขอขอบคุณ เจาหนาที่จ ากบัณ ฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยหัว เฉียวเฉลิมพระเกียรติที่ชวยอํานวยความสะดวกในการติดตอประสานงาน และ ขอบคุณเพื่อน ๆ นักศึกษา M.B.A.12 ที่คอยชวยเหลือคอยใหกําลังใจและเปนที่ปรึกษาใหแกผูวิจัย ตลอดมา ทายสุดนี้ ขอกราบขอบพระคุณ คุณพอ คุณแม รวมทั้งทุกคนในครอบครัวที่ไดใหทั้งความ รัก ความหวงใย อันเปนสิ่งสําคัญที่ทําใหผูวิจัยมีกําลังใจในการศึกษามาโดยตลอด ผูวิจัยหวังเปน อยางยิ่งวาการศึกษาอิสระฉบับนี้จ ะเปน ประโยชนแกผูสนใจศึกษาคนควาหาความรูเพิ่มเติมใน โอกาสตอไป
กันตฤทัย เมฆสุทร
(4) สารบัญ หนา (1) บทคัดยอ…………………………………………………………………………………….. กิตติกรรมประกาศ………………….………………………………………….…………….. (3) สารบัญ..................................................................................................................................... (4) (6) สารบัญตาราง........................................................................................................................... (8) สารบัญแผนภูมิ........................................................................................................................ บทที่ 1. บทนํา 1.1 ความเปนมาและความสําคัญของปญหา.............................................................. 1.2 วัตถุประสงคในการศึกษา.................................................................................... 1.3 ขอบเขตในการศึกษา........................................................................................... 1.4 นิยามศัพทที่ใชในการศึกษาวิจัย.......................................................................... 1.5 ประโยชนทคี่ าดวาจะไดรับจากการศึกษา............................................................
1 5 6 6 7
2. แนวคิด ทฤษฎี และงานการวิจัยที่เกี่ยวของ 2.1 แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับแรงจูงใจ........................................................................... 2.2 แนวคิดเรื่องปจจัยที่เปนแรงจูงใจในการศึกษาตอ................................................ 2.3 แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับการตัดสินใจ..................................................................... 2.4 แนวคิดทฤษฎีระบบ............................................................................................. 2.5 แนวคิดเรื่องทัศนคติ............................................................................................ 2.6 ปจจัยเกี่ยวกับการตัดสินใจศึกษาตอ.................................................................... 2.7 งานวิจัยที่เกี่ยวของ............................................................................................... 2.8 กรอบแนวคิดในการศึกษา................................................................................... 2.9 สมมติฐานในการศึกษา........................................................................................
9 14 15 18 20 21 24 26 27
(5) สารบัญ (ตอ) บทที่ หนา 3. วิธีการดําเนินการวิจัย 3.1 ขอมูลและแหลงขอมูล......................................................................................... 28 3.2 ประชากรและกลุมตัวอยาง.................................................................................. 29 3.3 เครื่องมือที่ใชในการรวบรวมขอมูล..................................................................... 31 3.4 การสรางและพัฒนาเครื่องมือ.............................................................................. 34 3.5 การเก็บรวบรวมขอมูล......................................................................................... 35 3.6 การวิเคราะหขอมูล.............................................................................................. 35 3.7 ระยะเวลาที่ใชในการศึกษาวิจัย........................................................................... 36 4. ผลการศึกษา 4.1 การวิเคราะหขอมูลโดยใชสถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistic).................... 4.2 ผลการทดสอบสมมติฐานโดยใชสถิติเชิงอนุมาน (Inferential Statistic)……….. 4.3 ขอมูลเบื้องตนของผูถูกสัมภาษณ........................................................................ 4.4 ผลการสัมภาษณของอาจารยแนะแนวการศึกษา.................................................. 5. สรุปผลการศึกษา อภิปรายผล และขอเสนอแนะ 5.1 สรุปผลการศึกษา................................................................................................. 5.2 อภิปรายผล.......................................................................................................... 5.3 ขอจํากัดของการวิจัย............................................................................................ 5.4 ขอเสนอแนะ........................................................................................................ บรรณานุกรม............................................................................................................................ ภาคผนวก ผนวก ก. ภาพตัวอยางกิจกรรมทางการตลาด.............................................................. ผนวก ข. แบบสอบถามการวิจัยเชิงปริมาณ................................................................ ผนวก ค. แบบสอบถามการวิจัยเชิงคุณภาพ................................................................ ประวัติผูเขียน...........................................................................................................................
39 50 62 62
71 75 78 78 81 84 87 92 95
(6) สารบัญตาราง ตารางที่ หนา 1.1 ขอมูลจํานวนสถาบันอุดมศึกษาที่สังกัดสํานักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา............ 2 1.2 ขอมูลจํานวนสถาบันอุดมศึกษาเอกชนจําแนกภูมิภาคตามที่ตั้งของสถาบัน (รวมวิทยาเขต)……………………………………………………………………. 3 2.1 จํานวนกลุมตัวอยางจําแนกตามภูมิภาค.................................................................... 31 3.1 ระยะเวลาดําเนินการ................................................................................................. 37 4.1 จํานวนและรอยละจําแนกตามเพศของกลุมตัวอยาง………………………………. 39 4.2 จํานวนและรอยละจําแนกตามอายุของกลุมตัวอยาง................................................. 39 4.3 จํานวนและรอยละจําแนกตามระดับผลการเรียนของกลุมตัวอยาง........................... 40 4.4 จํานวนและรอยละจําแนกตามระดับชั้นการศึกษาของกลุมตัวอยาง......................... 40 4.5 จํานวนและรอยละจําแนกตามโปรแกรมที่ศึกษาของกลุมตัวอยาง........................... 41 4.6 จํานวนและรอยละจําแนกตามประเภทของโรงเรียนกลุมตัวอยาง............................ 41 4.7 จํานวนและรอยละจําแนกตามภูมิภาคที่อาศัยของกลุมตัวอยาง................................ 42 4.8 จํานวนและรอยละจําแนกตามรายไดรวมตอเดือนของครอบครัวกลุมตัวอยาง…… 42 4.9 จํานวนและรอยละของกลุมตัวอยางที่เลือกประเภทของสถาบันอุดมศึกษา.............. 43 4.10 จํานวนและรอยละของการเลือกสถาบันอุดมศึกษาเอกชนของกลุมตัวอยาง............ 44 4.11 จํานวนและรอยละจําแนกตามกิจกรรมทางการตลาดที่กลุมตัวอยางใหความสนใจ 45 4.12 จํานวนและรอยละจําแนกตามบุคคลที่มีอิทธิพลตอการตัดสินใจเลือก สถาบันอุดมศึกษาของกลุมตัวอยาง.......................................................................... 45 4.13 คาเฉลี่ยของกลุมตัวอยางแสดงถึงการประเมินตนเองกอนการตัดสินใจเลือก สถาบันอุดมศึกษาเอกชน........................................................................................................................ 46 4.14 ระดับความสําคัญที่มีอิทธิพลตอการตัดสินใจเลือกสถาบันอุดมศึกษาเอกชน.......... 48 4.15 ความสัมพันธระหวางเพศกับปจจัยที่มีอิทธิพลตอการเลือก สถาบันอุดมศึกษาเอกชน.......................................................................................... 51 4.16 ความสัมพันธระหวางเกรดเฉลี่ยสะสมกับปจจัยที่มีอิทธิพลตอการเลือก สถาบันอุดมศึกษาเอกชน.......................................................................................... 52 4.17 ความสัมพันธระหวางภูมิภาคที่อาศัยกับปจจัยที่มีอิทธิพลตอการเลือก สถาบันอุดมศึกษาเอกชน………………………………..………………………… 53
(7) สารบัญตาราง (ตอ) ตารางที่ หนา 4.18 การทดสอบรายคูของภูมิภาคที่อาศัยกับปจจัยที่มีอิทธิพลตอการเลือก สถาบันอุดมศึกษาเอกชนดานคาใชจายและทุนการศึกษา......................................... 54 4.19 การทดสอบรายคูของภูมิภาคที่อาศัยกับปจจัยที่มีอิทธิพลตอการเลือก สถาบันอุดมศึกษาเอกชนดานอิทธิพลที่เกี่ยวของกับการตัดสินใจ........................... 55 4.20 ความสัมพันธระหวางรายไดรวมตอเดือนของครอบครัวกับปจจัยที่มีอิทธิพลตอ การเลือกสถาบันอุดมศึกษาเอกชน........................................................................... 56 4.21 การทดสอบรายคูของรายไดรวมตอเดือนของครอบครัวกับปจจัยที่มีอิทธิพลตอ การเลือกสถาบันอุดมศึกษาเอกชน ดานคาใชจายและทุนการศึกษา......................... 57 4.22 ความสัมพันธระหวางขอมูลสวนบุคคลที่แตกตางกันสงผลตอการเลือกประเภท ของสถาบันการศึกษา............................................................................................... 59 4.23 ความสัมพันธระหวางความสามารถของนักเรียนกับการเขารวมกิจกรรม ทางการตลาดที่สถาบันอุดมศึกษาเอกชนจัดขึ้น........................................................ 60 4.24 รายละเอียดของผูตอบแบบสัมภาษณ....................................................................... 62 5.1 สรุปผลการวิเคราะหและทดสอบสมมติฐานขอมูลสวนบุคคลที่แตกตางกันสงผล ตอการใหความสําคัญกับปจจัยที่มีอิทธิพลตอการเลือกสถาบันอุดมศึกษาเอกชน.... 73 5.2 ขอมูลสวนบุคคล ไดแก เพศ เกรดเฉลี่ยสะสม ภูมิภาคที่อาศัย และรายไดรวมตอ เดือนของครอบครัวที่แตกตางกันสงผลตอการเลือกประเภทสถาบันอุดมศึกษา...... 73
(8) สารบัญแผนภูมิ แผนภูมิที่ หนา 1.1 ขอมูลจํานวนนักศึกษาใหมของสถาบันอุดมศึกษาเอกชนบางแหง ตั้งแตปการศึกษา 2549 – 2553............................................................................... 4 2.1 ทฤษฎีลําดับขั้นความตองการของมาสโลว............................................................ 11 2.2 องคประกอบของระบบ......................................................................................... 19 2.3 กรอบแนวคิด......................................................................................................... 26
95 ประวัติผูเขียน ชื่อ - สกุล วัน เดือน ปเกิด ที่อยูปจจุบัน ประวัติการศึกษา พ.ศ. 2540 พ.ศ. 2551 ประวัติการทํางาน พ.ศ. 2544 – 2552
นางสาวกันตฤทัย เมฆสุทร 22 ตุลาคม 2522 399/38 หมูที่ 8 ถนนปูเจาสมิงพราย ตําบลสําโรงกลาง อําเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ 10130 คณะบริหารธุรกิจ สาขาวิชาการเงิน มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ เขาศึกษาตอปริญญาโทหลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ
นักวิชาการการศึกษาแผนกรับนักศึกษา สํานักทะเบียนและประมวลผล มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ ตําแหนงและสถานที่ทํางานในปจจุบัน พ.ศ. 2553 – ปจจุบัน หัวหนาแผนกรับนักศึกษา สํานักทะเบียนและประมวลผล มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ