จาก'เล
สู่จาน
A Guide to Sustainable Seafood
guidebook10_FINAL_EDIT(4Sep15)21.00.indd 1
9/4/58 BE 9:21 PM
เรื่อง
ปัญหาในท้องทะเลไทย
หน้า
4
การประมงแบบไหน คือวายร้ายทำ�ลายท้องทะเล
5
แค่กินอย่างรับผิดชอบก็ปกป้องทะเลได้!
6
"อย่าทานพวกหนูเลย" คำ�ขอร้องจากลูกปลา
7
เติมรักให้ทะเลด้วยการเลี่ยงกินปลาเหล่านี้
8
กุ้ง หอย ปู ปลา ไซส์ไหนดี
10
แหล่งชิม ช้อป สไตล์ รัก'เล
13
เคล็ดลับ ก้นครัว
28
30
8 วิธีปกป้องทะเลง่ายๆ ที่ใครๆ ก็ทำ�ได้
guidebook10_FINAL_EDIT(4Sep15)21.00.indd 2
9/4/58 BE 9:21 PM
รู้ไหมว่าอาหารทะเลที่คุณกินมาจากไหน? หลายคนอาจยังไม่รู้ว่าก่อนที่ปลาหรืออาหารทะเลจะเดินทางมาถึงจานอาหารของคุณนั้น อาจมาจากการทำ�ประมงที่ทำ�ลายระบบนิเวศทางทะเลอย่างไรบ้าง สิ่งเหล่านี้เป็นเหตุผลที่เราควรถามไถ่ถึงแหล่งที่มาของอาหารทะเลที่คุณกิน เพราะเราอาจกำ�ลังมีส่วนทำ�ให้เกิดวิกฤตในท้องทะเลโดยไม่รู้ตัว บางทีหนังสือเล่มเล็กเล่มนี้อาจช่วยเปลี่ยนมุมมองของคุณในการบริโภคอาหารทะเล และหันมาร่วมปกป้องทะเลด้วยการกินอาหารทะเลทีม ่ าจากการทำ�ประมงอย่างยัง ่ ยืน เพื่อสุขภาพของคุณและท้องทะเลของเราทุกคน
จากเลสู่จาน เรื่อง : รัตนศิริ กิตติก้องนภางค์์ บรรณาธิการ : อัญชลี พิพัฒนวัฒนากุล / สมฤดี ปานะศุทธะ / วิริยา กิ่งวัชระพงศ์ ภาพ : กานต์ วรรธนะพินทุ / อธิษฐ์ พีระวงศ์เมธา (หน้า 4) / รัตนศิริ กิตติก้องนภางค์ (หน้า 14) / เริงชัย คงเมือง (หน้า 25) คอมพิวเตอร์กราฟฟิก : รตยา อยู่บ้านคลอง ที่ปรึกษาด้านคอมพิวเตอร์กราฟฟิก : ภุชงค์ แซ่เล้า ทบทวนเนื้อหาโดย : บรรจง นะแส นายกสมาคมรักษ์ทะเลไทย / ดร. ชวลิต วิทยานนท์ ผู้เชี่ยวชาญอาวุโส แผนกสิ่งแวดล้อม Mekong River Commission Secretariat ปีที่จัดพิมพ์ : พ.ศ. 2558 กรีนพีซ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (สำ�นักงานประเทศไทย) 1371 อาคารแคปปิตอล ชั้น จี ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400 www.greenpeace.or.th
guidebook10_FINAL_EDIT(4Sep15)21.00.indd 3
พิมพ์ด้วยกระดาษรีไซเคิล และน้ำ�หมึกจากถั่วเหลือง
9/4/58 BE 9:21 PM
4
ปัญหาในท้องทะเลไทย ทะเลไทยตลอดพืน ้ ทีช ่ ายฝัง ่ ทะเล 23 จังหวัด มีความหลากหลายของทรัพยากรทางทะเล แต่ขณะนี้ทะเลไทยกำ�ลังเผชิญกับวิกฤตและ ปลาของเรากำ�ลังลดน้อยลงไปทุกที เมื่อปี พ.ศ.2504 เรืออวนลากสามารถ จับสัตว์น�ำ้ ในอ่าวไทยได้ชว่ั โมงละ 298 กิโลกรัม ต่อมาเมือ ่ พ.ศ.2555 ลดลงเหลือชัว ่ โมงละ 18.2 กิโลกรัมเท่านั้น* ซึ่งปริมาณปลาที ่ จับได้ยง ั เป็นลูกปลาเศรษฐกิจทีย ่ ง ั โตไม่เต็มวัย ถึงร้อยละ 34.47 ทั้งนี้การที่ปัจจุบันมี ปริมาณการจับปลาสูงนั้น ไม่ใช่เพราะปลา ในทะเลไทยมีจ�ำ นวนมากขึน ้ แต่เป็นเพราะใช้ วิธก ี ารประมงแบบทำ�ลายล้างทีม ่ ง ุ่ กวาดล้าง
guidebook10_FINAL_EDIT(4Sep15)21.00.indd 4
สัตว์ทุกชนิดไม่ใช่เฉพาะในกลุ่มสัตว์น้ำ� เป้าหมาย ส่วนใหญ่ผลพวงจากการทำ�ประมง แบบทำ�ลายล้างนั้นล้วนเป็นลูกปลาที่ยังโต ไม่เต็มวัย ไม่เหมาะแก่การนำ�มาบริโภค จึงถูก นำ�ไปทำ�อาหารสัตว์เท่านั้นซึ่งถือว่าเป็นการ ทำ�ลายระบบนิเวศและความยัง ่ ยืนอย่างรุนแรง
ยังไม่สายทีจ ่ ะช่วยท้องทะเล ด้วยการเลือก ทานอาหารทะเลอย่างรับผิดชอบ พลังจาก ผู้บริโภคสามารถกำ�หนดทิศทางและสร้าง การเปลี่ยนแปลงได้ด้วยการสนับสนุน การประมงอย่างยัง ่ ยืน ทีไ่ ม่ท�ำ ร้ายทัง ้ สุขภาพ ของคุณและท้องทะเล! *ข้อมูลอ้างอิงจากรายงานประจำ�ปี 2555 กรมประมง: www.fisheries.go.th/marine/FormDownload/ANNUAL%20REPORT%202012.pdf
9/4/58 BE 9:21 PM
การประมงแบบไหน คือวายร้ายทำ�ลายท้องทะเล
เรืออวนลาก
เรืออวนลาก : ตัวการทำ�ลายระบบนิเวศทาง ทะเลมากที่สุด โดยเครื่องมือประมงมีลักษณะ คล้ายถุง ใช้เรือลากอวนให้เคลื่อนที่ไปข้างหน้า อย่างต่อเนื่อง ลากตั้งแต่พื้นทะเลไปจนถึงผิวน้ำ� ซึ่ง 2 ใน 3* ของสัตว์น้ำ�ที่จับมาได้ไม่ใช่สัตว์น้ำ� เป้าหมาย ยังไม่โตเต็มวัย และเสีย ่ งต่อการสูญพันธุ์ ระบบนิเวศหน้าดินเสียหายเหมือนกับถูกรถไถ กวาดหน้าดิน บ้างก็ใช้เรือลากสองลำ� เรียกว่าเรือ
เรืออวนรุน : คล้ายกับเรืออวนลาก แตกต่างกันที่ เรืออวนรุนจะดันหน้าดินขณะเคลื่อนที่ไปข้างหน้า โดยใช้อวนประกบกับคันรุน เนื่องจากไม่สามารถ
อวนลากคู ่
เรืออวนรุน
ทำ�การประมงในระดับน้ำ�ลึกกว่า 15 เมตรได้จึง มักพบในน้ำ�ตื้น ทำ�ลายหน้าดินใกล้บริเวณชายฝั่ง ทะเล นิยมใช้เพื่อจับกุ้ง เคย ปลากะตัก หมึก แต่ เนื่องจากปากอวนที่เปิดสูงขึ้นมาจนถึงกลางน้ำ� จึงทำ�ให้จับสัตว์น้ำ�ที่ไม่ใช่เป้าหมายมาด้วย
เครือ ่ งมือจับปลากะตักประกอบ แสงไฟล่อในเวลากลางคืน
เครื่องมือจับปลากะตักประกอบแสงไฟล่อ
ในเวลากลางคืน : เรือจับปลากะตักประกอบแสงไฟ ล่อปลาในเวลากลางคืน ที่ใช้ร่วมกับอวนที่มีขนาด ตาถี่ ทำ�ให้ปลาเศรษฐกิจชนิดอืน ่ ซึง ่ ไม่ใช่ปลาเป้าหมาย และโดยส่วนใหญ่สต ั ว์น�ำ้ วัยอ่อนถูกจับติดขึน ้ ไปด้วย เรือปัน ่ ไฟปลากะตักแบ่งได้เป็น 3 ชนิดคือ เรือจับปลา กะตักปัน ่ ไฟแบบใช้อวนล้อม เรือจับปลากะตักปัน ่ ไฟ แบบอวนช้อน (หรืออวนยก) และเรือจับปลากะตัก ปั่นไฟแบบใช้อวนครอบ (หรืออวนมุ้ง)
เครื่องมือคราดหอยลาย : ตัวร้ายที่สร้าง
เรือคราดหอยลาย
บาดแผลให้กบ ั ชาวประมงพืน ้ บ้านมากทีส ่ ด ุ เมือ ่ มีการ ทำ�ประมงคราดหอยซ้�ำ แล้วซ้�ำ เล่าจะทำ�ให้ตะกอนดิน บริเวณพื้นท้องน้ำ�ฟุ้งกระจายเป็นบริเวณกว้าง ระบบนิเวศหน้าดินเสียหาย สัตว์น้ำ�วัยอ่อนที่อาศัย อยู่ในชั้นตะกอนดินไม่สามารถมีชีวิตอยู่ได้้ ทำ�ให้ สัตว์น้ำ�ลดน้อยลง ส่งผลให้ชาวประมงพื้นบ้านที่ ทำ�ประมงชายฝั่งจับปลาได้น้อยลงเช่นกัน
รูอ ้ ย่างนีแ้ ล้ว ก่อนเลือกซือ ้ อาหารทะเล ลองไถ่ถามทีม ่ าและเครือ ่ งมือประมงทีใ่ ช้จบ ั สักนิด อุดหนุนผลิตภัณฑ์ที่รับรองว่าอาหารทะเลมาจากการประมงแบบไม่ทำ�ลายล้าง และไม่ซื้อ สัตว์น้ำ�ที่ไม่โตเต็มวัย เพื่อไม่สนับสนุนการทำ�ร้ายทะเลด้วยเครื่องมือเหล่านี้ *ข้อมูลอ้างอิงจาก: Chantawong, T. 1993. Monitoring in Phang-Nga Bay. Technical Paper No. 17/1993 Marine Resources Survey Unit Andaman Sea, Fishery Department Center, Marine Division, Department of Fisheries, Thailand. pp16.
guidebook10_FINAL_EDIT(4Sep15)21.00.indd 5
5
9/4/58 BE 9:21 PM
6
แค่กน ิ อย่างรับผิดชอบ ก็ปกป้องทะเลได้!
ผูบ ้ ริโภคมีพลังในการสร้างการเปลีย ่ นแปลง มากกว่าทีค ่ ด ิ เพราะหากผูบ ้ ริโภครวมตัวกัน ไม่เลือกซื้อผลิตภัณฑ์หรืออาหารทะเลที่มา จากการทำ�ประมงทำ�ลายล้าง ผู้จับก็จะ ยุติการการจับสัตว์น้ำ�นั้นหรือปรับเปลี่ยน วิธีการจับที่เป็นมิตรกับทะเลมากขึ้น ส่วน ผู้ผลิตอาหารทะเลกระป๋องก็จะต้องดำ�เนิน ธุรกิจด้วยความโปร่งใสและสามารถตรวจสอบ ย้อนกลับได้ถง ึ แหล่งทีม ่ าของวัตถุดบ ิ และ มีการจ้างงานอย่างเป็นธรรม นอกจาก การกินแล้ว ผู้บริโภคยังต้องดูแลไม่ปล่อย ให้กระบวนการจับปลามาเปลี่ยนแปลงและ ทำ�ลายท้องทะเลของเรา 1.เลือกทานอาหารทะเลที่จับจากการ ทำ�ประมงแบบยั่งยืน การเลือกกินปลาของเรามีสว่ นช่วยดูแล ท้องทะเลได้ดว ้ ยการถามถึงทีม ่ าของอาหาร ทะเล และสนับสนุนอาหารทะเลจากประมง พืน ้ บ้านที่ทำ�ประมงอย่างอนุรักษ์และฟื้นฟู และไม่ใช้เครื่องมือทำ�ลายล้าง
guidebook10_FINAL_EDIT(4Sep15)21.00.indd 6
2. เลือกซื้อสัตว์น้ำ�ที่โตเต็มวัย ไม่ทานลูกปลา ลูกกุ้ง หมึกไข่ และปูไข่ นอกกระดอง เพือ ่ เป็นการอนุรก ั ษ์ เปิดโอกาส ให้สัตว์น้ำ�ได้ขยายพันธุ์ และเพิ่มมูลค่าทาง เศรษฐกิจ 3. ไม่เลือกทานสัตว์น้ำ�ใกล้สูญพันธุ์ เช่น ฉลามต่างๆ กระเบนราหู ม้าน้ำ� ปลา นกแก้ว ปลาทูน่าครีบน้ำ�เงิน และวาฬทุก สายพันธุ์ 4. ถามถึงที่มาของสัตว์น้ำ�ก่อนซื้อ ว่ามาจากแหล่งไหน ประมงด้วยเครือ ่ งมือ อะไร ใช้สารเคมีอะไรบ้างในการเก็บรักษา และขนส่ง แม้บางครั้งอาจไม่ได้คำ�ตอบ แต่เป็นการกระทุ้งถามต่อผูข ้ ายและพ่อค้า คนกลาง แสดงถึงสิง ่ ทีผ ่ บ ู้ ริโภคต้องการ
เรือ ่ งกินเป็นเรือ ่ งง่าย และการกินอาหารทะเล อย่างรับผิดชอบก็ไม่ใช่เรือ ่ งยากเกินความ สามารถ ร่วมกันสร้างจิตสำ�นึกร่วมกันระหว่าง คนกินปลาและคนจับปลา ให้คนจับปลาคำ�ถึง ถึงสุขภาพที่ดีของท้องทะเลและผู้กิน เพื่อ รักษาให้ทะเลของเราอุดมสมบูรณ์ตลอดไป ข้อมูลอ้างอิง: www.iucnredlist.org
9/4/58 BE 9:21 PM
“อย่าทานพวกหนูเลย” คำ�ขอร้องจากลูกปลา
ลูกปลาหลายชนิดถูกเปลี่ยนชื่อและนำ�มา
เพือ ่ ความอุดมสมบูรณ์ของทะเลและอาหาร
ขายในท้องตลาด ทีจ ่ ริงแล้วลูกปลาเหล่านัน ้
ของเรา หรือจะเพียงแค่รสอร่อยชัว ่ ครู่ แต่
ไม่ใช่สต ั ว์น�ำ้ สายพันธุข ์ นาดเล็ก แต่เป็นลูกปลา
ทำ�ให้ท้องทะเลต้องเสียความสมดุลจาก
เศรษฐกิจที่ยังมีขนาดเล็กถูกจับมาด้วย
การกินที่ขาดความตระหนักรู้ของเรา
เครื่องมือประมงทำ�ลายล้าง เช่น อวนตาถี ่ ซึง ่ คนรักอาหารทะเลอาจยังไม่รว้ ู า่ ได้กน ิ ลูกปลา เหล่านี้ และทำ�ลายระบบสำ�คัญของห่วงโซ่ อาหารโดยไม่รู้ตัว ปลาทูแก้ว: ลูกปลาทูตว ั เล็กทีถ ่ ก ู นำ�มาต้ม แล้วตากขายนีก ้ �ำ ลังได้รบ ั ความนิยม บ้างก็ นำ�มาขายเพียงถุงละ 50-80 บาท เต็มไปด้วย ลูกปลาทูเล็กๆ อัดแน่นในถุง หากปล่อยให้ พวกเขาโตมูลค่าจะทวีคูณเพิ่มขึ้นมหาศาล ซึ่งลูกปลาทู 1,000 ตัว/กิโลกรัม สามารถ โตได้ถึง 100 เท่าในเวลา 7-8 เดือน โดย ตัวเต็มวัยมีขนาด 10-15 ตัว/กิโลกรัม ปลาข้าวสาร ปลาฉิ้งฉ้าง: ปลาเหล่านี้ เป็นลูกปลากะตัก อันที่จริงแล้วขนาดที่พบ ได้ในประเทศไทยนั้นเติบโตได้สูงสุดมีขนาด ใหญ่ถึง 10-15 เซนติเมตร แต่ลูกปลากะตัก เหล่านี้ถูกนำ�มาขายถุงหนึ่งหลายร้อยหลาย พันตัว อ้างว่ามีแคลเซียมสูง เราสามารถ เลือกกินปลาบุตรี หรือปลาขี้เก๊ะซึ่งเป็นปลา ขนาดเล็ก มีแคลเซียมสูงแทนได้ ปูมา้ ในส้มตำ�: เลือกทานส้มตำ�ปูมา้ ทีใ่ ช้ปู ตัวโตเต็มวัยเท่านัน ้ เมนูสม ้ ตำ�ปูมา้ ในบางร้าน อาจเลือกใช้ลูกปูม้าซึ่งถือเป็นการตัดวงจร ชีวต ิ ของปู หากเราปล่อยให้ปม ู โี อกาสโตเต็มวัย จะสามารถให้กำ�เนิดลูกปูได้อีกนับแสนตัว
หากไม่มีผู้ซื้อ ก็จะไม่มีผู้นำ�มาขาย และ ชาวประมงทีจ ่ บ ั มาอย่างไร้ความรับผิดชอบ ก็จะเลิกจับ ขึน ้ อยูก ่ บ ั คุณแล้วทีจ ่ ะเลือกให้ โอกาสสัตว์น�ำ้ เหล่านีไ้ ด้เติบโตขยายพันธุ์
guidebook10_FINAL_EDIT(4Sep15)21.00.indd 7
7
9/4/58 BE 9:21 PM
8
เติมรักให้ทะเล ด้วยการเลีย ่ งกินปลาเหล่านี้ มหาสมุทรมีระบบนิเวศทางทะเลที่ หลากหลายและสิ่งมีชีวิตทุกชนิดต่าง มีความเชือ ่ มโยงและพึง ่ พาอาศัยกัน สิง ่ เล็กๆ น้อยๆ ที่คนรักอาหารทะเล ทำ�ได้คือไม่กินอาหารทะเลที่มาจาก สัตว์น้ำ�เหล่านี้ ฉลาม: ผูบ ้ ริโภคบางกลุม ่ มีความ เชือ ่ เกี่ยวกับการบริโภคหูฉลามว่า เป็นเมนูบำ�รุงสุขภาพ แต่ในความเป็น จริงแล้วหูฉลามหนึ่งชามมีคุณค่าทาง โภชนาการเท่ากับไข่เป็ดเพียงหนึ่งฟอง เท่านั้น1 ฉลามเป็นผูล ้ า่ แห่งท้องทะเล การฆ่า ฉลามจึงทำ�ให้ระบบนิเวศทางทะเลเสีย สมดุลเพราะเป็นการตัดวงจรผูล ้ า่ อันดับ สูงสุด ในทุกๆปีมีฉลามจำ�นวนราวกว่า 73 ล้านตัวถูกฆ่าเพื่อเป็นอาหาร2 จน ทำ�ให้ฉลามตกอยู่ในภาวะใกล้สูญพันธุ์
guidebook10_FINAL_EDIT(4Sep15)21.00.indd 8
ปลากระเบนราหู (แมนตา): ถูกจัดในบัญชีแดงของไทย (IUCN Red List, Thailand) ในประเภท "มีแนว โน้มใกล้สญ ู พันธุ์ (Vulnerable : VU)" เนือ ่ งจากขยายพันธุย ์ ากเมื่อเทียบกับ สัตว์น้ำ�สายพันธุ์อื่น โดยตัวเมียต้อง มีอายุ 10 ปี จึงเริ่มผสมพันธุ์ได้ ใช้ เวลาตั้งครรภ์นาน 1 ปี และให้ก�ำ เนิดลูก ครัง ้ ละ 1 ตัวเท่านั้น หลังกำ�เนิดลูก จะต้องพักฟื้นอีก 2-5 ปี จนกว่าจะ เริ่มผสมพันธุ์ได้ใหม่ ดังนั้นการจับ ปลากระเบนราหูไป 1 ตัว เท่ากับต้อง ใช้เวลาอีกหลายปีเพื่อจะได้ประชากร มาทดแทน3
9/4/58 BE 9:21 PM
ปลานกแก้ว: ปลานกแก้วมี ความสำ�คัญในแนวปะการัง โดยช่วยควบคุมปริมาณ สาหร่ายในแนวปะการัง และ ขับถ่ายออกมาเป็นทรายละเอียด ช่วยเพิ่มปริมาณเม็ดทรายในทะเล หมุนเวียนแร่ธาตุในแนวปะการัง เรียกได้ว่าเป็นผู้พิทักษ์แนวปะการัง ตัวจริง ปลาทูน่าครีบน้ำ�เงิน: ปลาทูน่าที่ มีราคาสูงถึงหลักล้านพันธุ์นี้เป็นที่ ต้องการอย่างมากในวงการซูชิ หรือ ที่เรียกว่า “ฮอนมากุโร” โดยถูกล่าเพื่อ อาหารจานหรูของมนุษย์จนเกือบใกล้ สูญพันธุ์ และการประมงทูน่านั้นมัก เป็นประมงแบบทำ�ลายล้าง ที่มีผลพวง คือการจับสัตว์น้ำ�ที่ไม่ใช่สัตว์เป้าหมาย เช่น ฉลาม
ปูไข่นอกกระดอง ปลา กุ้ง และ หมึกที่มีไข่: หากเรากินแม่พันธุ์สัตว์น้ำ� เหล่านี้จะเป็นการตัดวงจรการเกิดของ สัตว์น�ำ้ อีกหลายหมืน ่ หลายแสนตัว และ ทำ�ให้ปริมาณปลาลดลงเนื่องจากไม่มี โอกาสได้ขยายพันธุ์ 1
อ้างอิง nutritiondata.self.com อ้างอิง ocean.si.edu และ งานวิจย ั Marine Policy: sciencedirect.com/science/article/pii/S0308597X13000055 3 ข้อมูลจาก mantatrust.org/in-the-field/Thailand 2
เอ็นหอยจอบ: การทำ�ประมงเพือ ่ เอา เอ็นหอยมาทำ�อาหารมีเบื้องหลังที่ ทำ�ร้ายท้องทะเล ด้วยการขุดเอาหอย ขึ้นมา เลือกตัดเฉพาะเอ็นของหอยจอบ ทิง ้ เปลือกและเนือ ้ ลงทะเล ส่งผลให้น�ำ ้ ทะเล เน่าเสีย ทิ้งให้ทะเลเต็มไปด้วยเศษซาก ของเปลือกหอยและตะกอนดิน
guidebook10_FINAL_EDIT(4Sep15)21.00.indd 9
ข้อมูลอ้างอิง: www.iucnredlist.org
9
9/4/58 BE 9:21 PM
10
กุง ้ หอย ปู ปลา ไซส์ไหนดี
กินอย่างรับผิดชอบ กินสัตว์น้ำ�โตเต็มวัย ขนาดสัตว์น�ำ้ ทีแ่ นะนำ�ให้บริโภคคือขนาดโตเต็มวัยและมีความยาวแรกเริม ่ ทีจ ่ ะสามารถสืบพันธุ์ ได้เพื่อเปิดโอกาสให้สัตว์น้ำ�มีการขยายพันธุ์และหลีกเลี่ยงการตัดวงจรชีวิตของสัตว์น้ำ�
กุง ้ แชบ๊วย (Penaeus Merguiensis) 14-15 cm. กุง ้ ก้ามกราม (Macrobrahim Roesenbergii) 13-31 cm.
ปลาทู (Rastrelliger Brachysoma) 16 cm. ปลากระบอกดํา (Chelon Subviridis) 15 cm.
guidebook10_FINAL_EDIT(4Sep15)21.00.indd 10
ปลากะพงขาว (Lates-Calcarifer) 30-50 cm.
9/4/58 BE 9:21 PM
หมึกหอม (Sepistenthis Lessoniana) 15-20 cm.
ปูมา้ (Portunus Pelagicus) 14 cm. (กระดอง)
ปูด�ำ , ปูทะเล (Scylla Serrata) 9 cm. ขึน ้ ไป (กระดอง)
หมึกกล้วย (Loligo Duvauceli) 9-10 cm.
ลำ�ดับ
ขนาดโตเต็มวัย (เซนติเมตร ขึน ้ ไป)
ชือ ่
1
ปลาทู (Rastrelliger Brachysoma)
2
ปลากะพงขาว (Lates-Calcarifer)
3
ปลากระบอกดํา (Chelon Subviridis)
4
ปูม้า (Portunus Pelagicus)
ประมาณ 14 (กระดอง)
5
ปูดำ�, ปูทะเล (Scylla Serrata)
9 ขึน ้ ไป (กระดอง)
6
หมึกหอม (Sepistenthis Lessoniana)
7
หมึกกล้วย (Loligo Duvauceli)
9-10
8
กุ้งแชบ๊วย (Penaeus Merguiensis)
14-15
9
กุ้งก้ามกราม (Macrobrahim Roesenbergii)
13-31
guidebook10_FINAL_EDIT(4Sep15)21.00.indd 11
16 30-50 15
15-20ุ
รวบรวมข้อมูลอ้างอิง: www.greenpeace.or.th/s/fish-size-reference
11
9/4/58 BE 9:21 PM
12
่ แหลง
• ซัน โทริ : จ.เชียงใหม่
• โครงการประมงพื้นบ้าน สัตว์น้ำ�อินทรีย์ : กทม. • โบ.ลาน : กทม. • ครัวใส่ใจ : กทม. • โครงการประมงพื้นบ้าน สัตว์น้ำ�อินทรีย์ แพปลา ชุมชนแหลมผักเบี้ย : จ.เพชรบุรี
• ร้านคนจับปลา : จ.ประจวบคีรีขันธ์
• ร้านครัวลุงป๊อด : จ.ชุมพร • โครงการประมงพืน ้ บ้าน สัตว์น�ำ้ อินทรีย์ ชุมชนบ้านหินร่ม : จ.พังงา • ชุมชนบ้านในไร่ : จ.พังงา • โครงการประมงพื้นบ้าน สัตว์น้ำ�อินทรีย์ แหลมสัก : จ.กระบี่ • โครงการประมงพื้นบ้าน สัตว์น้ำ�อินทรีย์ แพปลา ชุมชนบ้านช่องฟืน : จ.พัทลุง • ร้านสวัสดิการ เชตห้ามล่าสัตว์ป่า ทะเลสาบสงขลา : จ.สงขลา
guidebook10_FINAL_EDIT(4Sep15)21.00.indd 12
• โครงการประมงพืน ้ บ้าน สัตว์น�ำ้ อินทรีย์ แพชุมชน บ้านคูคุด : จ.สงขลา
9/4/58 BE 9:21 PM
ป ้ อ ช ิ ม ช ่ ลง 'เล ั สไตลร์ ก
5 แนวทางสู่ร้านอาหาร
และชุมชนประมงยั่งยืน
ทางออกในการปกป้อ
อย่างเราช่วยสนับสน
งท้องทะเลที่คนกิน
ุนได้ ซึ่งจาก’เล สู่จาน มีข้อคำ�นึงในการเลือกส รรดังนี้
1) สัตว์น้ำ�ที่ได้มาต้องม าจากการทำ�ประมงอย ่างรับผิดชอบต่อ สิ่งแวดล้อม ซึ่งก็คือ ไม่ ใช้เครื่องมือทำ�ประมงแบ บทำ�ลายล้าง เช่น เรืออวนลาก เรืออว นรุน เครื่องมือจับปลาก ะต ักประกอบ แสงไฟล่อในเวลากลางค ืน เรือคราดหอยลาย 2). ไม่ใช้สารเคมีในการ จับสัตว์น้ำ� เช่น ไม่ใช้ยาเบ ื่อในการจับ ปลาและ ไม่ใช้ฟอร์มาล ีนในกระบวนการเก็บรัก ษา 3) รู้แหล่งที่มาของอาหา รทะเล ระบุได้ว่าจับมาจา กที่ไหน 4). ตรวจสอบได้ว่าใคร เป็นผู้จับ 5) ไม่มีเมนูสัตว์น้ำ�ใกล ้สูญพันธุ์ หรือสัตว์น้ำ�ปร ะจำ�ถิ่นที่ตกอยู่ ในความเสี่ยงต่อการส ูญพันธุ์ รวมถึงไม่มีเมน ูสัตว์น้ำ�ที่ไม่ควร บริโภค หมายเหต:ุ ชุมชนและร้ านอาหารในหนง ั สือเล่มนีเ้ ป็นเพียงตว ั อยา่ งส่วนหนึง ของชุมชนและร้านอาหา ่ รทีส ่ นับสนน ุ การประมงแบบยัง ่ ยืนจากการรวบรวม ข้อมูลในปพ ี .ศ. 2558
guidebook10_FINAL_EDIT(4Sep15)21.00.indd 13
13
9/4/58 BE 9:21 PM
14
อาหารทะเลออร์แกนิคจากโครงการ จากทะเลสาบสงขลา: กุง ้ ก้ามกราม ปลาขีต ้ ง ั กุง ้ กุลาลาย ปลาดุกทะเล ปลากระบอก ปลาช่อน จากบ้านแหลมผักเบีย ้ จ.เพชรบุร:ี ปูมา้ ปลาทรายหรือปลาเห็ดโคน ปลาสาก หรือปลาน้�ำ ดอกไม้ ปลาสละ ปลากุเรา จากอ่าวพังงา จ.พังงา: กุ้งแชบ๊วย
โครงการประมงพืน ้ บ้าน สัตว์น�ำ้ อินทรีย์ (สำ�นักงานใหญ่กรุงเทพฯ) “ทางเลือกใหม่ของผูบ ้ ริโภค ทีใ่ ส่ใจสุขภาพ และร่วมอนุรก ั ษ์ทะเลไทย” มูลนิธส ิ ายใยแผ่นดินร่วมกับชุมชนประมง ชายฝัง ่ 5 หมูบ ่ า้ น ในเขตจังหวัดเพชรบุรี สงขลา พัทลุง พังงา และกระบี่ ได้พฒ ั นา อาหารทะเลออร์แกนิคทีร่ บ ั รองโดยสำ�นักงาน มาตรฐานเกษตรอินทรีย์ (มกท.) ทางเลือกใหม่ ของผูบ ้ ริโภคทีใ่ ส่ใจสุขภาพ และต้องการมี ส่วนร่วมในการอนุรก ั ษ์ทะเลไทย อาหารทะเลออร์แกนิคได้มาจากการทำ�ประมง ที่รับผิดชอบต่อระบบนิเวศทางทะเลของ ชาวประมงชายฝัง ่ ทีร่ วมตัวกันอนุรก ั ษ์ ทรัพยากรทะเล จับได้จากแหล่งประมงที่ ปลอดจากแหล่งมลพิษ ไม่มก ี ารใช้สารเคมี ในการรักษาสภาพให้ดส ู ดใหม่ และตรวจสอบ ย้อนกลับได้วา่ ใครเป็นผูจ ้ บ ั ถือเป็นสือ ่ กลาง การกินอาหารทะเลทีร่ บ ั ผิดชอบต่อสิง ่ แวดล้อม บอกเล่าวิถช ี าวประมงพืน ้ บ้านในฐานะผูผ ้ ลิตที่ มีคณ ุ ภาพ และผูพ ้ ท ิ ก ั ษ์ทะเลให้กบ ั สังคมไทย ชาวประมงกว่า 400 ชีวต ิ ใน 5 หมูบ ่ า้ น เป็นเจ้าของตลาดอาหารทะเลออร์แกนิคของ
guidebook10_FINAL_EDIT(4Sep15)21.00.indd 14
โครงการ ซึง ่ นอกจากชาวประมงจะมีรายได้ท่ี เพิม ่ ขึน ้ แล้ว รายได้สว่ นหนึง ่ ยังถูกจัดสรรเพือ ่ พัฒนาสวัสดิการชุมชน การจัดการตลาด และจัดกิจกรรมอนุรก ั ษ์ทรัพยากรชายฝัง ่ ใน แต่ละชุมชนอีกด้วย พบกับอาหารทะเลออร์แกนิคของโครงการ ประมงพืน ้ บ้าน-สัตว์น�ำ้ อินทรียไ์ ด้ท่ี Gateway เอกมัย โครงการประมงพืน ้ บ้าน สัตว์น�ำ้ อินทรีย์ :
141 ซอยลาดพร้าว 48 แยก 5-1 ถ.สุทธิสาร แขวงสามเสนนอก เขตห้วยขวาง กทม. 10310 โทร. 090-004-2401 กรุณาโทรเพือ ่ สอบถามสินค้า บริการส่ง อีเมล pla.organic@gmail.com www.greennet.or.th www.facebook.com/pla.organic
9/4/58 BE 9:21 PM
โครงการประมงพืน ้ บ้าน สัตว์น�ำ้ อินทรีย์ แพปลาชุมชนแหลมผักเบีย ้ เพชรบุรี ความหวังในการฟื้นฟูท้องทะเล ความอุดมสมบูรณ์ของทะเลเมืองเพชร ได้ถูกฟื้นฟูโดยชาวประมงหญิงกลุ่มหนึ่ง แพปลาชุมชนแหลมผักเบีย ้ ตัง ้ อยูด ่ ว้ ยความหวัง ของชุมชนชาวประมงในการฟื้นฟูความ อุดมสมบูรณ์สู่ท้องทะเล เมื่อจำ�นวนเรือเพิ่มขึ้นและใช้เครื่องมือ ประมงแบบทำ�ลายล้างมากขึ้น ทำ�ให้เกิด วิกฤตสัตว์น้ำ�ในช่วงก่อนปี 2551 ทำ�ให้ จับปลาได้เหลือเพียงวันละ 3-5 กิโลกรัม จน เรือบางลำ�ต้องเลิกทำ�ประมง แต่ด้วยความ ร่วมมือของชุมชนและเครือข่าย ทะเลของ แหลมผักเบี้ยจึงฟื้นตัวขึ้นด้วยธนาคารปู บ้านปลาซั้งไม้ไผ่ และวิถีการทำ�ประมง อย่างรับผิดชอบต่อทะเล เพราะอวนปูที่นี่ ขนาดเล็กที่สุดคือ 8 เซนติเมตร ซึ่งถือว่า เป็นอวนที่มีขนาดตาใหญ่ ทำ�ให้ลูกปูไม่ถูก จับขึ้นมาด้วย การรวมตัวจัดตั้งเป็นแพปลาชุมชน สามารถแก้ไขปัญหาการถูกกดราคาจาก
พ่อค้าคนกลาง สัตว์น้ำ�ที่จับมายังสามารถ ตรวจสอบย้อนกลับได้วา่ ใครเป็นผูจ ้ บ ั มาขาย ทีน ่ ม ่ี ป ี ลาหลากหลายถึงกว่า 30 ชนิด ทีถ ่ ก ู จับ มาอย่างรับผิดชอบ ส่งตรงให้ถง ึ มือคนกิน พร้อมกับฝากความหวังให้คนกินเลือกกินปลาที่ ไม่ได้มาจากการทำ�ร้ายท้องทะเลเช่นกัน แพปลาชุมชนแหลมผักเบีย ้ : หมู่ 1 ต.แหลมผักเบีย ้
อ.บ้านแหลม เพชรบุรี (คุณบังอร) กรุณาโทรเพือ ่ สอบถามสินค้า บริการส่งผ่านโครงการประมงพืน ้ บ้าน-สัตว์น�ำ้ อินทรีย์ โทร. 090-004-2401
อร่อยประจำ�ถิน ่ : ปลากระบอก ปลาเห็ดโคน ปลาสาก ปลากุเรา ปูมา้
guidebook10_FINAL_EDIT(4Sep15)21.00.indd 15
15
9/4/58 BE 9:22 PM
16 โครงการประมงพืน ้ บ้าน สัตว์น�ำ้ อินทรีย์ แพปลาชุมชนบ้านช่องฟืน พัทลุง ลิ้มรสปลาสามน้ำ� จากการอนุรักษ์ของชุมชน เคยกินปลาจากทะเลสาบสงขลาไหม? ต้อง ลองสักครัง ้ แล้วจะติดใจปลาทะเลสาบรสหวานที่ ไม่สามารถหากินได้จากที่อื่น! ความพิเศษของทะเลสาบสงขลา คืออาหาร ทะเลที่ถูกขนานนามว่าเป็น “ปลาสามน้ำ�” ผสม ผสานกันระหว่างน้ำ�จืด น้ำ�เค็ม และน้ำ�กร่อย ในช่วงฤดูที่แตกต่างกันออกไป ทว่าทะเลสาบ สงขลาในพื้นที่อำ�เภอปากพะยูนแห่งนี้ มีจุดเด่น ที่กุ้งหัวมันการันตีความอร่อยด้วยการส่งออก ไปมาเลเซียเป็นประจำ� และที่อร่อยไม่แพ้กันคือ ปลาดุกทะเลที่ได้ชื่อว่าเป็น “ราชินีทะเลสาบ” ความอุดมสมบูรณ์ของบ้านช่องฟืนใน ปัจจุบันอาจดูไม่น่าเชื่อว่าที่แห่งนี้เคยเกิดวิกฤต สัตว์น้ำ�หายไป แต่หลังจากการอนุรักษ์ฟื้นฟู ของชุมชน และการกำ�หนดเขตอนุรักษ์บ้าน ช่องฟืนโดยชุมชนและภาครัฐ สัตว์น้ำ�ของบ้าน ช่องฟืนก็ค่อยๆ กลับมา ปลาบางพันธุ์ที่เคย หายไป อาทิ ปลากะทิ และปลาแมว ก็กลับมา เช่นกัน ในขณะที่พื้นที่ข้างเคียงไม่มีปลา สิ่ง สำ�คัญคือ ภูมิปัญญาท้องถิ่นกับเครื่องมือ
guidebook10_FINAL_EDIT(4Sep15)21.00.indd 16
ประมงที่จับเฉพาะสัตว์น้ำ�เป้าหมาย อาทิ การใช้ ไซนอน หรือลอบนอน เพื่อจับปลาดุกทะเล ใช้ไซ ตู้เพื่อจับกุ้งหัวมัน เป็นต้น เพราะทางชุมชนมี แนวคิดร่วมกันว่า “จับไม่เลือกไม่ใช่เรา” ไม่ใช่เรื่องง่ายกว่าที่ชุมชนจะฟื้นฟูท้องทะเล จนกลับมาอุดมสมบูรณ์ สำ�หรับคนถนัดกิน อย่างพวกเราเพียงแค่เลือกซื้อเลือกกินเฉพาะ ปลาตัวใหญ่ก็เป็นการช่วยอนุรักษ์แล้ว แพปลาชุมชนบ้านช่องฟืน พัทลุง :
หมู่ 2 ต.เกาะหมาก อ.ปากพะยูน จ.พัทลุง กรุณาโทรเพือ ่ สอบถามสินค้า บริการส่งผ่านโครงการประมงพืน ้ บ้าน-สัตว์น�ำ้ อินทรีย ์ โทร. 090-004-2401
อร่อยประจำ�ถิน ่ : กุง ้ หัวมัน ปลาดุกทะเล (ม.ค.-เม.ย.) กุง ้ ก้ามกราม ปลาหัวโม่ง ปลาขีเ้ ก๊ะ (พ.ย.-เม.ย.) ปลากระบอก (ทัง ้ ปี)
9/4/58 BE 9:22 PM
อร่อยประจำ�ถิ่น : ปลากระพงขาว ปลาครูดคราด ปลาช่อนทะเล (ม.ค.-มิ.ย.) ปลาทู (ม.ค.-เม.ย.) ปลาสีเสียด ปลามง (ม.ค.-เม.ย.) ปลากุเรา ปลาเก๋าแดง ปลาเก๋าดำ� (ก.ย.-ธ.ค.) ปลาโคบ (ปลาประจำ�ถิ่น มีทั้งปี ลักษณะคล้ายปลาหลังเขียว)
โครงการประมงพืน ้ บ้าน สัตว์น�ำ้ อินทรีย์ แหลมสัก กระบี่ อยากให้คนภาคอื่นมีอาหารทะเลดีๆ กินจากกระบี่ ดินแดนทีไ่ ด้ชอ ่ื ว่าเป็นมรกตแห่งอันดามันนี้ ไม่ได้เลื่องชื่อเพียงแค่ความสวยงามของ ท้องทะเล แต่ยง ั มอบอาหารทะเลอันโอชะให้แก่ เราได้ทาน โดยเฉพาะอย่างยิ่งที่อ่าวลึก จังหวัดกระบี่ ลองแวะมากินปลาทูทอด กรอบๆ กับน้ำ�ชุบ หรือน้ำ�พริกกระปิสักถ้วย รับรองว่าอร่อยมาก! ความอุดมสมบูรณ์ของทะเลอ่าวลึกทำ�ให้ ชุมชนชาวประมงแห่งนีท ้ �ำ ประมงได้ทง ้ั ปี แตกต่างกันเพียงชนิดของปลาในแต่ละฤดูกาล แต่กว่าจะได้มาซึง ่ ความอุดมสมบูรณ์เช่นนี้ พี่น้องชาวอ่าวลึกได้ร่วมกันปกป้องทะเล กันมาอย่างเข้มแข็ง เนื่องจากในอดีตเคยมี เรืออวนลาก และอวนรุนลักลอบทำ�ประมง กลายเป็นความขัดแย้งที่รุนแรงระหว่าง ผู้ที่ทำ�ประมงอย่างรับผิดชอบและไร้ความ รับผิดชอบ จวบจนวันนี้ อ่าวลึกไม่มีการใช้ อวนรุน หรืออวนลากอีกต่อไป มีเพียงแค่อวน ตาใหญ่ขนาด 3.5 เซนติเมตรขึ้นไป
guidebook10_FINAL_EDIT(4Sep15)21.00.indd 17
ปลาหลากชนิดจากกระบี่ อร่อยส่งตรง ไปถึงกรุงเทพฯ แล้ว และหากคุณได้แวะมาทีน ่ ่ี ลองถือโอกาสท่องเรือออกไปตามผืนน้ำ� คุณอาจได้พบกับวาฬบรูด้า และโลมาสีชมพู ก็เป็นได้ กลุม ่ ชาวประมงพืน ้ บ้านสัตว์น�ำ้ อินทรียแ์ หลมสัก :
ชุมชนทรายทอง ต.แหลมสัก อ.อ่าวลึก กระบี่ 81110 กรุณาโทรเพือ ่ สอบถามสินค้าบริการส่งผ่าน โครงการประมงพืน ้ บ้าน-สัตว์น�ำ้ อินทรีย์ โทร. 090-004-2401
17
9/4/58 BE 9:22 PM
18 โครงการประมงพื้นบ้าน สัตว์น้ำ�อินทรีย์ แพชุมชนบ้านคูขุด สงขลา
กุ้งก้ามกรามตัวเท่าฝ่ามือ ทีเด็ดจากทะเลสาบสงขลา
ทะเลสาบสงขลา คือบ้านของนกนานาพันธุ์ และเป็นที่มาของอาหารทะเลแสนอร่อยจาก แพปลาชุมชนบ้านคูขุด ทะเลสาบสงขลาเคยถูกคุกคามด้วยน้�ำ เสีย จากชุมชน และโรงงานอุตสาหกรรม สัตว์น�ำ้ ทีเ่ คยมีหลากหลายถึงกว่า 700 ชนิด ลดลง เหลือแค่ 100-200 ชนิด ภาครัฐและชุมชน บ้านคูขุดจึงร่วมมือกันพื้นฟูทะเลสาบ ด้วยการกำ�หนดให้เป็นเขตห้ามล่าสัตว์ ป่าทะเลสาบสงขลา มีการแบ่งเขตห้ามจับ สัตว์น้ำ� ห้ามทำ�ประมงก่อนได้รับอนุญาต ทรัพยากรในทะเลสาบจึงเริม ่ ฟืน ้ ตัว ต่อมา ทางชุมชนได้รวมตัวกันจัดตัง ้ เป็นแพปลาชุมชน เพื่อแก้ปัญหาการถูกกดราคา อีกทั้งยัง เป็นการเพิ่มความมีจิตสำ�นึกในชุมชน เกิด การร่วมมือฟื้นฟูสร้างธนาคารกุ้ง มีการใช้ ภูมิปัญญาท้องถิ่นในการทำ�ประมง สร้าง กติกาชุมชน เช่น ใช้ไซกุง ้ ทีม ่ ข ี นาดตาอวน 5.5 เซนติเมตรเพือ ่ จับกุง ้ ก้ามกราม อร่อยประจำ�ถิ่น : กุ้งหัวมัน กุ้งก้ามกราม
เรื่องราวของการจับอย่างมีจิตสำ�นึก และรับผิดชอบต่อท้องทะเลเช่นนี้ ทำ�ให้คนกิน อย่างเราอยากกินด้วยความรับผิดชอบ เช่นกัน แพปลาชุมชนบ้านคูขด ุ สงขลา : หมู่ 4 ต.คูขด ุ
อ.สทิงพระ จ.สงขลา กรุณาโทรเพือ ่ สอบถามสินค้า บริการส่งผ่านโครงการประมงพื้นบ้าน-สัตว์น้ำ� อินทรีย์ โทร. 090-004-2401
(ก.ค.-ต.ค.) กุ้งกุลาดำ� ปลากระบอก ปลาดุกทะเล ปลาขี้ขม ปลากะตัก ปลาขี้ตัง ปลาช่อนทะเล (พ.ค.-ธ.ค.)
guidebook10_FINAL_EDIT(4Sep15)21.00.indd 18
9/4/58 BE 9:22 PM
โครงการประมงพื้นบ้าน สัตว์น้ำ�อินทรีย์ ชุมชนบ้านหินร่ม พังงา ปลาเล็ก ไม่จบ ั ไม่ขาย ไม่กน ิ กุง ้ แชบ๊วยทีน ่ ่ี ตัวโตหวานอร่อยมาก! ชุมชนบ้านหินร่มยึดมัน ่ ในกฎกติกาชุมชน ทีม ่ ง ุ่ หมายไม่ท�ำ ร้ายท้องทะเล อาทิ การ ใช้อวนกุง ้ ขนาด 4.2 เซนติเมตร การงม หอยแครง หอยคราง และหอยจุบ ๊ แจงด้วย มือ การไม่จบ ั หอยชักตีนขนาดเล็กกว่า 6 เซนติเมตร การทำ�ประมงของชุมชนบ้าน หินร่มนัน ้ สืบทอดกันมายาวนานนับร้อย ปี พร้อมกับยึดคติวา่ ถ้าประมงอย่างรับ ผิดชอบลูกหลานก็จะมีกน ิ อย่างทีเ่ รามีกน ิ มากว่าร้อยปีแล้ว ก่อนทีจ ่ ะหล่อหลอมมาเป็น ชุมชนทีเ่ ข้มแข็งและสามารถอนุรก ั ษ์ทอ ้ งทะเล ได้อย่างต่อเนือ ่ งดังทุกวันนี้ พวกเขาได้ผา่ น เรือ ่ งราวการต่อสูก ้ บ ั เรืออวนรุนและอวนลาก ทีเ่ ข้ามารุกราน จนสามารถผลักดันออก เป็นกติกาชุมชนให้เขตอ่าวพังงาเป็นเขต ปลอดเรืออวนลากและอวนรุน “ถ้าเราตีความหมายของอาหารทะเลว่า คือทรัพยากรทีเ่ รารับผิดชอบร่วมกัน ผมว่า ในอนาคตคนจะได้กน ิ อาหารทะเลทีม ่ ค ี ณ ุ ภาพ แน่นอน” ชาวประมงพืน ้ บ้านชุมชนบ้านหินร่ม กล่าวไว้
guidebook10_FINAL_EDIT(4Sep15)21.00.indd 19
อร่อยประจำ�ถิน ่ : กุง ้ แชบ๊วยตัวใหญ่ ปลากระบอก ปลาหลังเขียว ปลาทู หอยชักตีน หอยแครง หอยครัง หอยจุบ ๊ แจง (งมด้วยมือ) ชุมชนบ้านหินร่ม : 4/28 หมู่ 2 หินร่ม ต.คลองเคียน
อ.ตะกัว ่ ป่า จ.พังงา กรุณาโทรเพือ ่ สอบถามสินค้า บริการส่งผ่านโครงการประมงพืน ้ บ้าน-สัตว์น�ำ ้ อินทรีย์ โทร. 090-004-2401
19
9/4/58 BE 9:22 PM
20
ชุมชนบ้านในไร่ พังงา
การออกหาปลามีเครื่องมือแค่ อวนกับไฟ ความสวยของทะเลสีฟ้า และความอุดม สมบูรณ์ของสัตว์น้ำ�แห่งนี้ ไม่ได้เกิดขึ้นด้วย ความบังเอิญ แต่ถูกรักษาไว้ด้วยชุมชน บ้านในไร่ ผูท ้ �ำ ประมงด้วยวิถอ ี นุรก ั ษ์ทอ ้ งทะเล ชุมชนประมงบ้านในไร่ได้สืบทอดอาชีพ และภูมป ิ ญ ั ญากันมาตัง ้ แต่รน ุ่ ปูร่ น ุ่ ย่า รวมถึง มีขอ ้ ตกลงกันว่าจะไม่ใช้เครือ ่ งมือประมงแบบ ทำ�ลายล้าง และไม่ใส่สารฟอร์มาลีน เพราะ รูว ้ า่ จะทำ�ร้ายท้องทะเลและคนกิน จึงเลือกใช้ อวนเฉพาะชนิดปลา หากจับปลาตัวเล็กมาได้ ก็จะนำ�มาเลีย ้ งจนกว่าจะโตในกระชัง ทีแ่ พปลา แห่งนี้ ปลามงตัวใหญ่ขนาดความยาวเท่า ท่อนแขน ปลาข้างไฝ ปลาครูดคราด กุ้ง หมึกหอม หมึกกระดองตัวโต มักขายได้ หมดวันต่อวัน คนกินจึงมั่นใจได้ว่าได้ปลา ที่สดและปลอดสารพิษร้อยเปอร์เซ็นต์ อร่อยประจำ�ถิน ่ : ปลามง ปลาเก๋า ปลาครูดคราด ปลาข้างไฝ ปลามงแซ่ ปลาอีโต้มอญ หมึกหอม
guidebook10_FINAL_EDIT(4Sep15)21.00.indd 20
ชุมชนบ้านในไร่ : ชุมชนบ้านในไร่ ต.นาเตย
อ.ท้ายเหมือง จ.พังงา โทร. 087-278-1290 (คุณหนับ)
9/4/58 BE 9:22 PM
คลองเคียน ซีฟด ู้ พังงา จริงใจต่อคนกิน จริงจังต่อสุขภาพท้องทะเล ผืนมหาสมุทรอันกว้างใหญ่ยังต้องการ ชาวประมงที่ใส่ใจในการจับปลา เช่นเดียวกับ ร้านอาหารใส่ใจในสุขภาพของผู้กินที่อยู่คู่ ชุมชน ท่ามกลางทะเลและป่าชายเลนที่อุดม สมบูรณ์ของอ่าวพังงา ยังมีร้านอาหาร คลองเคียนซีฟู้ดที่ปรุงอาหารทะเลให้ทาน กันอย่างสดๆ เรียกได้ว่าสาวอวน ตกเบ็ด กันมาได้สดๆ ก็นำ�เข้าห้องครัวทำ�เมนู จานเด็ดได้ทันที อาหารทะเลทั้งหมดของที่นี่ได้จากชุมชน ประมง ไม่ได้รับมาจากตลาด และไม่ผ่าน พ่อค้าคนกลาง โดยความอุดมสมบูรณ์ ที่ทะเลมอบให้นั้นมีมากมาย ไม่ว่าจะเป็น ปลาทราย ปลาเก๋า ปลากระพงแดง ปลากระบอก หมึก กุ้ง หอยโข่ง และหอย ชักตีนในป่าชายเลน ลูกค้าของร้านนี้บ้าง ก็มาจากกรุงเทพฯ กระบี่ ภูเก็ตและจังหวัด อื่นๆ เพื่อมาอิ่มเอมกับอาหารทะเลที่นี ่ โดยเฉพาะ
คลองเคียนซีฟู๊ด : 42/6 หมู่ 1 ต.คลองเคียน
อ.ตะกัว ่ ทุง ่ พังงา โทร. 093-620-0170, 098-036-6896 facebook.com/klongkeanseafood
เมนูแนะนำ� : ปลาทอดทะเลโหด หมึกต้มน้ำ�ดำ� น้ำ�พริกปลาทู พร้อมผักเคียงท้องถิ่น ยำ�ผักหวาน กะทิสดซีฟู้ด เมนูที่คนรักผักหวานไม่ควรพลาด
guidebook10_FINAL_EDIT(4Sep15)21.00.indd 21
21
9/4/58 BE 9:22 PM
22
โบ.ลาน กรุงเทพฯ การกิ น ควรสร้ า งผลกระทบ ต่อธรรมชาติให้น้อยที่สุด
บ้านสวยลักษณะโบราณหลังใหญ่ กลางกรุงในซอยสุขุมวิท 53 แห่งนี้ คือ ร้าน โบ.ลาน ร้านอาหารไทยแท้ที่ตกแต่งตาม สไตล์ตะวันตก รังสรรค์ความอร่อยด้วย เชฟหญิงฝีมือดีกรีระดับโลก เชฟโบ ที่ได้รับ รางวัล เชฟหญิงที่ดีที่สุดในเอเชีย ปี 2556 อีกสิ่งที่น่าหลงใหลของร้านโบ.ลาน คือ แนวคิดอาหารทีท ่ �ำ ร้ายโลกน้อยทีส ่ ด ุ เป็นหัวใจ สำ�คัญ ด้วยหลักการเลือกสิง ่ ทีด ่ ใี ห้กบ ั คนกิน โดยที่มีเกษตรและประมงอินทรีย์เป็นสิ่ง ตอบโจทย์องค์รวมได้ทง ้ั หมด คือทัง ้ ผูผ ้ ลิต และผูบ ้ ริโภคไม่ยง ุ่ เกีย ่ วกับสารเคมี ไม่ท�ำ ลาย สิ่งแวดล้อม บรรยากาศร่มเย็นของร้านโบ.ลาน อบอวลไปด้วยความพิถพ ี ถ ิ น ั ในการเลือกเฟ้น วัตถุดบ ิ มาทำ�อาหาร โดยร้อยละ 80-90 ของ วัตถุดบ ิ เป็นอาหารออร์แกนิค และทีส ่ �ำ คัญคือ ใช้อาหารทะเลที่ส่งตรงจากมือชาวประมง ผ่านโครงการประมงพืน ้ บ้าน-สัตว์น�ำ้ อินทรีย์ และร้านคนจับปลา และไม่ใช้กุ้งจากฟาร์มที่มี สารเคมีและทำ�ลายหน้าดิน สิง ่ ทีน ่ า่ สนใจทีส ่ ด ุ ของร้าน คือการเปลีย ่ น เมนูทก ุ สามเดือนเปลีย ่ นไปตามฤดูกาล เชฟโบ แนะนำ�ให้เรากินปลาในหน้าหนาว จะได้ชิม
guidebook10_FINAL_EDIT(4Sep15)21.00.indd 22
รสชาติปลาทูที่เนื้อแน่นอร่อยมัน ส่วนผัก เหมาะที่จะกินหน้าฝนซึ่งเป็นช่วงที่พืชพรรณ เจริญเติบโตดี และหน้าร้อนต้องไม่พลาดผลไม้ ด้วยประการทั้งปวง เซฟโบได้ให้แง่คิดดีๆ ว่า “ผู้บริโภคควร ตระหนักและรู้ที่มาของสิ่งที่บริโภค เพราะ ต้นทุนทางสิ่งแวดล้อมตีค่าไม่ได้ สิ่งที่เรา กินเราใช้อยู่ไม่ควรสิ้นสุดแค่ยุคของเรา กินอย่างพอเพียงก็จะอยู่ได้” โบ.ลาน : 24 สุขม ุ วิท 53 คลองตันเหนือ วัฒนา
กรุงเทพฯ 10110 โทร.02-260-2962 อีเมล booking@bolan.co.th www.bolan.co.th กรุณาโทรเพือ ่ สอบถามเมนู หรือสำ�รองโต๊ะ
เมนูแนะนำ� : นำ�พ ้ ริกมันกุง ้ สูตรชาววัง เสิรฟ ์ กับกุง ้ อบเกลือ และปลาทรายทอด
9/4/58 BE 9:23 PM
เมนูแนะนำ� : หลนปลาทู ปลาทอดขมิน ้ เห็ดผัดฉ่า ไข่เจียวทรงเครือ ่ ง
ครัวใส่ใจ กรุงเทพฯ ใส่ใจในอาหารทะเลทีค ่ ณ ุ กินวันนี้ เพือ ่ ความยัง ่ ยืนของท้องทะเล
จะมีสักกี่คนที่พร้อมทำ�อาหารให้เรากิน อย่าง “ใส่ใจ” ..ครัวใส่ใจ คือร้านอาหาร บรรยากาศสงบใจกลางกรุง ซอยวิภาวดี 22 ความอบอุ่นของครัวใส่ใจคือการมอบ ความอิ่มท้องที่ใส่ใจถึงสุขภาพของคนกิน ด้วยการคัดสรรวัตถุดิบในการทำ�อาหาร ที่ล้วนเป็นออร์แกนิค เพื่อคนกินและความ ยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม แนวคิดด้านการสรรหาอาหารของทางร้าน นั้นคือการใส่ใจในหลายๆ มุม ไม่ใช่แค่เรื่อง สุขภาพของผู้บริโภค แต่ยังคำ�นึงและเน้น เรื่องของวัตถุดิบ กรรมวิธีการทำ� ภาชนะ ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ควบคู่ไปกับการ เกื้อกูลสิ่งแวดล้อมให้ยั่งยืน อาหารทะเล ของครัวใส่ใจจึงเลือกรับปลาเฉพาะปลาที่ ชาวประมงเป็นผูจ้ บ ั มาตามฤดูกาล โดยซือ ้ ผ่าน โครงการประมงพื้นบ้าน-สัตว์น้ำ�อินทรีย์ และร้านคนจับปลา ซึง ่ จะไม่ผา่ นพ่อค้าคนกลาง นอกจากนี้ยังมั่นใจได้ว่าปลาทุกตัวจับขึ้นมา สดๆ จากทะเล ไม่ผ่านการแช่ฟอร์มาลีน “คนกินจะได้ของดี จะต้องมาจาก สิ่งแวดล้อมที่ดี และมีกระบวนการผลิตที่ เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม” นี่คือแนวคิดจาก
guidebook10_FINAL_EDIT(4Sep15)21.00.indd 23
คุณชรินา ง่วนสำ�อางค์ เจ้าของครัวใส่ใจ หลังอิ่มยังสามารถเดินเยี่ยมชมแปลงผัก ไร้สารเคมี กับแม่ไก่อารมณ์ดีได้ และบาง โอกาสก็มีเวิร์คช็อปน่าสนุกให้ได้เติมเต็ม ความรู้ด้วยเช่นกัน ครัวใส่ใจ : ซอยวิภาวดี 22 (ลัดไปลาดพร้าว)
ถนนวิภาวดีรง ั สิต โทร.02-938-8534, 087-915-3440 อีเมล saijai.healthyfood@gmail.com saijaihealthyfood.com กรุณาโทรเพือ ่ สอบถามเมนู หรือสัง ่ ปิน ่ โต ส่งนอกสถานที่
23
9/4/58 BE 9:23 PM
24
ครัวลุงป๊อด ชุมพร ออกเรือเอง ขายเอง ดูแลทั้งท้องทะเลและคนกิน
ร้านอาหารตลอดแนวหาดบ่อเมาของ อำ�เภอปะทิว ทะเลชุมพร ส่วนใหญ่แล้วเป็น ร้านอาหารที่รับมาจากเรือของชาวประมง โดยตรง แต่ร้านที่โดดเด่นและเก่าแก่ที่คุณ ไม่ควรพลาด คือ ร้านอาหารครัวลุงป๊อด ที่มอบความอร่อยที่เป็นมิตรต่อทะเลมานาน ออกเรือเอง จับเอง ทำ�อาหารให้คนกินได้อม ่ิ อย่างมีสข ุ ตลอดระยะเวลา 15 ปี ลุงป๊อดได้ ออกทะเลหาปลา และปรุงอาหารเพือ ่ คนกิน เขาจึงเป็นผูท ้ เ่ี ข้าใจทะเลเป็นอย่างดี และส่งไม้ตอ ่ ให้กบ ั ลูกชายเป็นผูห ้ าปลาแทน หากไม่ได้ออก หาปลาเองก็ซื้อปลาจากเรือประมงพืน ้ บ้าน โดยตรง ทีแ่ ห่งนีอ ้ ด ุ มสมบูรณ์ไปด้วยปลา ประจำ�ถิน ่ หลากชนิดอย่าง ปลามง ปลาซีจ ่ น ้ิ ปลาโฉม(ปลาโฉมงาม) ปลาเก๋า ปลาอินทรีย์ และปลากระบอก เมนูเด็ดที่คุณไม่ควรพลาด คือ หอยกระต่าย ซึง ่ หากินได้แค่เพียงในทะเล ชุมพรแถบนีเ้ ท่านัน ้ หอยกระต่ายจะพบมาก ในช่วงเดือนพฤษภาคมถึงสิงหาคม รสชาติมี เนื้อหวาน นิ่ม ไม่เหนียว คล้ายหอยแครงแต่ไม่ เหม็นคาว แนะนำ�ว่าให้สั่งเมนูลวกจิ้มที่อร่อย เด็ดมาก
guidebook10_FINAL_EDIT(4Sep15)21.00.indd 24
ในร้านอาหารบรรยากาศสงบริมทะเลเช่นนี ้ ความเป็นกันเองกับธรรมชาติกำ�ลังพูดคุย และบอกคุณว่า ในแต่ละฤดูกาลและแต่ละพืน ้ ที่ นั้นมีอะไรพิเศษกว่าที่อื่น และทะเลยังมีอะไร อีกมากให้คุณลิ้มลองและสัมผัส ครัวลุงป๊อด : 66 หมู่ 6 ต.ชุมโค อ.ปะทิว
ชุมพร 86160 โทร. 077-512-065, 088-447-9366 เมนูแนะนำ� : หอยกระต่ายลวกจิม ้ กุง ้ สามรส ปูมา้ นึง ่ ปลาหมึกต้มหวาน เมีย ่ งปลาโฉม ราดด้วยซอสมะขามและสมุนไพร
9/4/58 BE 9:23 PM
ซัน โทริ เชียงใหม่ ปลาตกเบ็ดจากทะเล สู่ซาซิมิ ที่เชียงใหม่
ใช่วา่ อยูเ่ มืองเหนือห่างไกลจากทะเลจะไม่มี โอกาสได้อร่อยกับอาหารทะเลจากการประมง ยัง ่ ยืน เพราะทีร่ า้ นซัน โทริ ได้สง ่ ตรงปลาทะเล สดๆ จากเบ็ดของชาวประมงสูค ่ นรักปลาดิบ ที่เชียงใหม่! เชฟสมบัติ ทรายกองคำ� เจ้าของร้าน ซัน โทริรง ั สรรค์ปลาดิบแสนอร่อยด้วยการ ไปเลือกปลาเองถึงชลบุรี จากการตกเบ็ด ของชาวประมง ปลาที่ได้มาจึงเป็นปลาที่มี ขนาดใหญ่ โตเต็มวัย ปลาแต่ละชิน ้ แต่ละคำ�จึง มีแต่ความสด เนื้อหวาน ไม่เหม็นคาว ร้านซัน โทริ เปิดเพียง 4 วันต่อสัปดาห์ เนื่องจากเชฟสมบัติไปหาปลาสดที่ศรีราชา เมนูอาหารของร้านไม่มีกำ�หนดตายตัว แน่นอนว่าจะมีปลาชนิดใด แต่จะเปลี่ยนไป ตามชนิดของปลาที่จับได้ “ร้านอาหารและผูบ ้ ริโภคเองสามารถช่วย กันได้ หากเราไม่ซอ ้ื เขาก็จะสงสัยว่าทำ�ไมไม่ซอ ้ื และจะตระหนักถึงปัญหา ที่สำ�คัญคนกิน ต้องมีจิตสำ�นึกตระหนักถึงที่มาของปลา ว่ามาจากไหน จับมาอย่างไร” คุณสมบัติ
guidebook10_FINAL_EDIT(4Sep15)21.00.indd 25
เมนูแนะนำ� : ซาซิมิรวม ปลาย่างเกลือ
เจ้าของร้านซัน โทริ ฝากถึงแง่คด ิ เล็กๆ น้อยๆ ในพลังของผูบ ้ ริโภคทีส ่ ร้างการเปลีย ่ นแปลงได้ อิม ่ เอม ทะเลเป็นสุข..ซาซิมแิ ต่ละคำ�ของคุณ นอกจากจะได้มาจากการคัดเลือกปลาด้วยมือ อย่างมีคุณภาพแล้ว แต่ละคำ�ยังเป็นการ สนับสนุนการประมงอย่างรับผิดชอบทีป ่ กป้อง ท้องทะเลอีกด้วย! ซัน โทริ : 248/16 ถนน มณีนพรัตน์ ( สหศรีภม ู เิ พลส
ช้างเผือก) ต.ศรีภม ู ิ อ.เมือง เชียงใหม่ 50200 โทร. 087-023-8898 (กรุณาโทรเพือ ่ สอบถาม เมนูล่วงหน้า) facebook.com/pagessuntori เวลาเปิดร้าน : วันเสาร์-อังคาร 11.00-14.00 และ 17.00-22.00 หยุดวันพุธถึงศุกร์ เนือ ่ งจากพ่อครัว ไปหาปลาสดทีศ ่ รีราชา
25
9/4/58 BE 9:23 PM
26
ร้านสวัสดิการ เขตห้ามล่าสัตว์ปา่ ทะเลสาบสงขลา กินปลาชมนกริมทะเลสาบสงขลา
กว่า 18 ปี ที่ร้านสวัสดิการอยู่เคียงคู ่ ทะเลสาบสงขลา และมอบอาหารทะเลดีๆ จากแพปลาและชาวประมงที่จับได้จาก ทะเลสาบสงขลา ซึ่งเป็นผลผลิตจากเรือ ประมงพื้นบ้านที่ไม่ทำ�ร้ายทะเล เนื่องจาก มีการจำ�กัดการใช้เครื่องมือประมง และ ช่วงเวลาประมง ร้านสวัสดิการจึงดีต่อ ชุมชน ต่อท้องทะเล และต่อคนกิน นอกจาก อาหารทะเลประมงอินทรียแ์ ล้ว ร้านสวัสดิการ ยังปลูกผักสำ�หรับปรุงอาหารเอง โดยมีทั้ง โหระพา ตะไคร้ คะน้า ผักบุ้ง มะเขือพวง แคสีแดง และอืน ่ ๆ ตามฤดูกาล เราจึงสามารถ ลิ้มรสปลาสามน้ำ�เนื้อหวานมัน ระหว่างที่ รื่นรมย์กับบรรยากาศริมทะเลสาบสงขลา ได้อย่างมั่นใจว่าอาหารทะเลที่เรากินนั้นดี ต่อสุขภาพ อีกทั้งยังส่งเสริมชาวประมง ผู้ช่วยอนุรักษ์ท้องทะเล ร้านอาหารสวัสดิการ เขตห้ามล่าสัตว์ปา่ ทะเลสาบสงขลา : เมนูแนะนำ� : กุง ้ ต้มน้�ำ ผึง ้ แกงส้มปลาขีต ้ ง ั ยอดมะพร้าว ปลามีหลังผัดเผ็ด (ปลาดุกทะเล) น้�ำ พริกกุง ้ สด
guidebook10_FINAL_EDIT(4Sep15)21.00.indd 26
ต.คูขด ุ อ.สทิงพระ จ.สงขลา เปิดทุกวัน 8.30-17.00 น. โทร. 093-721-1722
9/4/58 BE 9:23 PM
ผลิตภัณฑ์แนะนำ� : อาหารทะเลสดตามฤดูกาล: ปลา กุง ้ ปู ปลาหมึก อาหารทะเลแปรรูป: ปลาหวาน ปลาเค็ม กะปิ กุง ้ แห้ง
ร้านคนจับปลา ประจวบคีรข ี น ั ธ์
อาหารสำ�เร็จรูป: ปลาจิม ้ กุง ้ แช่น�ำ้ ปลา ปลาทูตม ้ หวาน
จากชาวประมง ตรงสู่ผู้บริโภค
ร้านคนจับปลา เป็นร้านทีเ่ กิดขึน ้ จากรวมตัว ของสมาคมรักษ์ทะเลไทย สมาคมสมาพันธ์ ชาวประมงพืน ้ บ้านแห่งประเทศไทย และชาวประมง พื้นบ้าน เพื่อแก้ปัญหาการถูกกดราคา โดย สินค้าของร้านมาจากการประมงอย่างอนุรก ั ษ์ และฟื้นฟูทะเลควบคู่กันไปของชาวประมง จากอ่าวต่างๆ ของไทย ไร้สารเคมีอย่าง ฟอร์มาลีน และยาฆ่าแมลง ตลอดทุกขัน ้ ตอน ตัง ้ แต่การจับ แปรรูป ไปจนถึงการเก็บรักษา เพื่อรอจำ�หน่าย โดยทางร้านจะใช้วิธีแพ็ค แบบสูญญากาศ และเก็บรักษาด้วยน้ำ�แข็ง เท่านัน ้ นอกจากนีท ้ างร้านยังขายเฉพาะปลาที่ จับได้ตามฤดูกาลอีกด้วย “การเรียนรูแ้ ละสนับสนุนสัตว์น�ำ ้ ทีจ ่ บ ั มาจาก เครื่องมือประมงที่ไม่ทำ�ลายล้างก็สามารถ ช่วยอนุรักษ์ทะเลอย่างยั่งยืนได้แล้ว หาก ผู้บริโภคพยายามหาสินค้าที่มีคุณภาพ ปลอดสารฟอร์มาลีน จะทำ�ให้ชาวประมง ตระหนักว่ามีคนต้องการสินค้าเหล่านี้ และ หันไปใช้เครื่องมือที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ถ้าผูบ ้ ริโภครูจ้ ก ั กินอย่างรับผิดชอบ ชาวประมง ก็จะหาอย่างรับผิดชอบเช่นกัน ถ้าสองส่วน รับผิดชอบและเข้าใจไปด้วยกัน ก็จะสร้างสังคม ที่มีทรัพยากรยั่งยืนในอนาคตได้” ตัวแทน ของร้านคนจับปลาได้กล่าวถึงพลังของ
guidebook10_FINAL_EDIT(4Sep15)21.00.indd 27
ผู้บริโภค เรียกได้ว่าเป็นร้านที่ขายสินค้า ประมงอินทรียท ์ ไ่ ี ม่ท�ำ ร้ายท้องทะเล คนจับปลา และคนกิน ครบทั้งวงจร! ร้านคนจับปลา : ถ.เพชรเกษมฝัง ่ ขาเข้ากทม.
สีแ่ ยกบ่อนอก ต.บ่อนอก อ.เมือง ประจวบคีรข ี น ั ธ์ โทร. 098-921-1284 จังหวัดนครศรีธรรมราช โทร. 086-952-5258 จังหวัดสตูล โทร. 083-169-0503 อีเมล fisher.folk@hotmail.com www.facebook.com/khon.jab.pla.fisherfolk Root Garden : ทองหล่อ ซอย 3 กรุงเทพมหานคร
วันศุกร์ เวลา 16.00 น.-19.00 น, ถึงวันอาทิตย์ เวลา 10.00 น.-18.00 น. ร้าน Lemon Farm : สาขาพาราไดซ์ พาร์ค ชัน ้ G
โทร. 02-787-1319
27
9/4/58 BE 9:23 PM
28
guidebook10_FINAL_EDIT(4Sep15)21.00.indd 28
9/4/58 BE 9:23 PM
เคล็ดลับ ก้นครัว ัย
เลือกซื้ออย่างไรให้ปลอดภ
อร์มาลีน - สัตว์น้ำ�ที่ผ่านการแช่สารฟ างกระดูก ข้ ขอบ ยาก ก ะสุ ารจ เมื่อปรุงอาห เนื้อจะเละ จะมีสีแดงตลอด และถ้าสุก
หมึก
ีเยื่อหุ้มเพื่อ - ควรเลือกซื้อหมึกที่ยังคงม กขาว ตาหมึก รฟอ นสา า ผ่ ก หมึ � นำ ป้องกันการ กต้องติดกัน ต้องใส หัวและลำ�ตัวของหมึ ึกควรมีสภาพ เนื้อหมึกต้องแน่น หนวดหม ธรรมชาติ ถุงน้ำ� สมบูรณ์ ต้องมีกลิ่นคาวตาม แตกหรือฉีกขาด ไม่ ณ์ หมึกควรอยู่สภาพสมบูร
ปลา
่ี ดจะต้อง ้ ปลาทู: ปลาทูทส ื กซือ ี ารเลอ - วิธก งจนเกินไป ข็ แ ไม่ ว ตั ตาใสไม่แดง เหงือกสีแดง ปดาห์ โดย สั ง ่ นึ ห ้ ดได - ปลาสามารถเก็บให้ส เกลือที ่ โรย ง แข็ � ำ ้ น ้ รใช ไม่ใช้สารเคมี ด้วยกา ส่ถุงก่อน ใ จุ บรร โดย น ็ มเย น้ำ�แข็งเพื่อเก็บควา แช่น้ำ�แข็งเพื่อไม่ให้เนื้อช้ำ� ให้เนื้อปลาเป็น - การเก็บเข้าช่องแข็งจะทำ� น้ำ�แข็ง ไม่อร่อย
guidebook10_FINAL_EDIT(4Sep15)21.00.indd 29
ปู
- การซื้อปูสดควรเลือกท ี่น้ำ�หนักปู เนื่องจาก ปูที่ถูกจับขึ้นมาจากทะเล นานจะไม่กินอาหาร เนื้อจึงจะไม่แน่น
หอย
- วิธีการเตรียมหอยตล ับ-หอยหวาน-หอยชัก ตีน ก่อนปรุง คือแช่ห อยในน้ำ�เค็มและทุบพร ิก สดประมาณ 5 เม็ด/น้ำ� 1 ลิตร แช่ประมาณ 30 นาทีเพื่อให้หอยคายทร ายและโคลน
กุ้ง
- วิธีการเลือกซื้อกุ้ง: ตา ใส เปลือกมีสีคราม ใสแน่น หัวและตัวติดกัน ไม่หลุดหรือหลวม สัน หลังใส - วิธีการแยกกุ้งเลี้ยงก ับกุ้งธรรมชาติ กุ้ง เลี้ยงจะมองเห็นเส้นสีด ำ�ที่สันหลัง เนื่องจาก มีการตกค้างของอาห ารสำ�เร็จรูปในทางเดิน อาหาร ส่วนกุ้งจับจาก ธรรมชาติจะสันหลังจะ ใสเพราะกินอาหารจากธ รรมชาติ - กุ้งที่ผ่านการแช่ฟอร์ มาลีนเนื้อจะด้านไม่มี รสชาติ
ไตล์กระบี่
ือน้ำ�พริกกะปิส
วิธีทำ�”น้ำ�ชุบ” หร
ใส่กะปิ ดง ตำ�ให้ละเอียด - พริกสด หอมแ ตามชอบ รส ง รุ ตาลนิดหน่อยป บีบมะนาว ใส่น้ำ� ว เท่านี้ก็อร่อยแล้ ข้อมูลอ้างจากเครือข่ายประมงพืน ้ บ้านและร้านอาหาร (www.greenpeace.or.th/s/fish-size-reference)
29
9/4/58 BE 9:23 PM
30
8 วิธี
ปกป้องทะเลง่ายๆ ทีใ่ ครๆ ก็ท�ำ ได้
1. เลือกใช้ผลิตภัณฑ์ทำ�ความสะอาดที่เป็นมิตร ต่อสิ่งแวดล้อม
ไม่วา่ คุณจะอยูใ่ กล้หรือไกลจากทะเล ทุกสิง ่ ทุกอย่างทีเ่ ราใช้ใน ชีวต ิ ประจำ�วันนัน ้ จะไหลลงสู่ทะเลในที่สุด
2. ลดการใช้พลังงาน
งานฟอสซิลทำ�ให้ ์ ากการเผาผลาญพลัง จ ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด งก์ตอนที่เป็น ารังฟอกขาว ทำ�ให้แพล น้ำ�ทะเลเป็นกรด เกิดปะก ลากหลายวิธีที่คุณ ารถเจริญเติบโตได้ มีห อาหารของปลาไม่สาม ักรยาน เดิน ใช้รถ รประหยัดพลังงาน ขี่จ สามารถช่วยได้โดยกา ุนพลังงานหมุนเวียน สาธารณะ และสนับสน
3. ลดการใช้พลา
สติก
ปลายทางของขย ะจากบ้านคณ ุ อาจ อยใู่ นทอ ้ งสต ั ว์น�ำ้ ใตท ้ ะเล คุณสามารถ ช่วยชวี ต ิ สัตว์เหลา่ นีไ้ ด้โดย การลดใช้ พลาสติก การลด ใชพ ้ ลาสตก ิ หนง ่ึ ครง ้ั อาจชว่ ยชวี ต ิ สัตว์ได้หนึง ่ ตัว
guidebook10_FINAL_EDIT(4Sep15)21.00.indd 30
9/4/58 BE 9:23 PM
างถูกวิธี
4. แยกขยะอันตรายและกำ�จัดอย่
นลงสู่แหล่งน้ำ�
เพราะสารเคมีเหล่านี้อาจปนเปื้อ
าด
6. ไม่สนับสนุนผ ลิตภัณฑ์ที่ ทำ�ร้ายทะเล
ะที่ชายห
ย 5. เก็บข
้ว ใหญ่แล ะเลส่วน ขยะในท ชายหาด ต้นจาก มีจุดเริ่ม นละชิ้น กันเก็บค ย ว ่ ช ณ ุ หากค ขึ้น ะสะอาด งเราก็จ ทะเลขอ
เลก ิ บรโิ ภคซุปหูฉลา ม รวมถง ึ การซอ ้ื ผลิตภัณฑ์ที่ท ำ�มาจาก กระดองเต่า หา งปลากระเบน กระดูกวาฬ ประก ารัง ฯลฯ
ว์น้ำ�
ีสุขโดยไม่ทำ�ร้ายสัต
7. เที่ยวทะเลอย่างม
้ำ� ตว์น้ำ� หรือนำ�สัตว์น ปะการัง ให้อาหารสั หลีกเลี่ยงการสัมผัส ง รอ ื ไม่ครอบค ้ อ ่ี ยู่ รักทะเลของแทค ่ ฐานทอ เคลื่อนย้ายจากถิน
8. เข้าร่วมกลุ่ม I love My Ocean ร่วมติดตามข้อมูลข่าวสารที่เป็นมิตรกับท้องทะเล และ แลกเปลีย ่ นความรูก ้ บ ั กลุม ่ คนรักทะเลได้ท่ี
facebook.com/groups/ILoveMyOcean หรือ www.greenpeace.or.th/oceans พลังเล็กๆ ของเรา หากรวมกันจะเป็นพลังที่ยิ่งใหญ่ที่สามารถ ปกป้องสิ่งที่เรารักได้
guidebook10_FINAL_EDIT(4Sep15)21.00.indd 31
31
9/4/58 BE 9:23 PM
ขอขอบคุณคนรักทะเลทุกคนที่เอื้อเฟื้อแบ่งปันข้อมูล สำ�หรับหนังสือเล่มนี้ มูลนิธิสายใยแผ่นดิน โครงการประมงพื้นบ้าน-สัตว์น้ำ�อินทรีย์ สมาคมรักษ์ทะเลไทย พี่น้องเครือข่ายประมงพื้นบ้านทุกท่าน ร้านอาหารทุกร้านที่สนับสนุนการประมงที่เป็นมิตรต่อทะเล
guidebook10_FINAL_EDIT(4Sep15)21.00.indd 32
คนจับปลาที่ใส่ใจต่อท้องทะเล และคนกินปลาทุกคนที่กินอย่างรับผิดชอบ การเลือกซือ ้ เลือกกินอาหารทะเลของคุณ สามารถปกป้องทะเลได้
ดาวน์โหลดจากเลสูจ ่ าน ฟรี
9/4/58 BE 9:23 PM